รายงานประจำปี 2553

Page 1



สารบัญ

วิสัยทัศน์และพันธกิจ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 ผลการดำ�เนินงานของธนาคารย้อนหลัง �������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 4 สารจากประธานกรรมการธนาคาร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 คณะกรรมการธนาคาร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 36 ข้อมูลประวัติกรรมการ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 38 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 48 ทีมงานผู้บริหาร. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 50 โครงสร้างองค์กร. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 54 ภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ของไทย. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 56 คำ�อธิบายและการวิเคราะห์งบการเงิน 5������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������59 กลยุทธ์องค์กรและการประกอบธุรกิจ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 70 การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยงที่สำ�คัญ ����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 76 บรรษัทภิบาลและโครงสร้างการจัดการ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 80 โครงสร้างผู้ถือหุ้น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 111 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 112 รายงานคณะกรรมการสรรหากำ�หนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล �������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 113 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1 14 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 117 งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 118 รายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำ�รงเงินกองทุน ���������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 218 ข้อมูลบริษัท. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 249 การลงทุนของธนาคารทหารไทยในบริษัทอื่น. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 250 ที่ตั้งสาขาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 251 ที่ตั้งสาขาในเขตภูมิภาค . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 258 สาขาในต่างประเทศ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 266 สำ�นักงานแลกเปลี่ยนเงิน ������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������ 267 ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 271 ธนาคารตัวแทนในต่างประเทศ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 272


2

|

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3

วิ สั ย ทั ศ น์ แ ล ะ พั น ธ กิ จ

วิ สั ย ทั ศ น์ :

To be the lead bank with w financial sol ธนาคารไทยชั้นนำ� มาตรฐานระดับโลก

พั น ธ กิ จ :

01

เข้าใจลูกค้าและนำ�เสนอบริการทางการเงิน ที่มีคุณภาพสูง เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง คว า ม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ ค ว า ม มุ่ ง ห ว ัง ข อ ง ลู ก ค้ า

02

เพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ยั่ ง ยื น


วิ สั ย ทั ศ น์ แ ล ะ พั น ธ กิ จ

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

ding Thai orld-class lutions 03

เชื่อมั่นและพัฒนาให้พนักงาน แสดงความสามารถอย่างเต็มที่ แ ล ะ ใ ห้ ผล ต อ บ แ ท น ต า ม ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น

04

สร้างคุณค่าให้กับสังคม แ ล ะ ดำ� เ นิ น ง าน ต า ม ห ลั ก บ รร ษั ท ภิ บ า ล

|

3


4

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3

ผ ล ก า ร ด �ำ เ นิ น ง า น ข อ ง ธ น า ค า ร ย้ อ น ห ลั ง

|

ผลการดำ�เนินงานของธนาคารย้อนหลัง (หน่วย: ล้านบาท)

(งบการเงินรวม)

2553

2552

2551

2550

2549

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

18,499 6,240 12,259 1,654 10,605 6,966 14,346 3,225 14 9 3,202

20,481 8,074 12,407 2,627 9,780 10,077 17,859 1,998 33 20 1,945

29,242 13,359 15,883 5,076 10,807 6,647 17,114 340 87 106 147

33,813 17,282 16,531 30,983 (14,452) 6,434 35,459 (43,477) 132 136 (43,745)

36,159 20,970 15,189 13,013 2,176 6,209 20,430 (12,045) 200 113 (12,358)

363,742 589,592 413,116 539,737 49,772 83

369,063 543,142 407,776 496,385 46,682 75

427,582 601,573 450,297 556,939 44,543 91

468,921 622,026 465,462 577,641 43,751 634

546,152 751,810 568,467 703,877 47,422 511

0.07

0.05

0.01

(2.60)

(0.86)

รายการสำ�คัญในงบกำ�ไรขาดทุน รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ สำ�รองหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิหลังหักสำ�รอง รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรสุทธิ รายการสำ�คัญในงบดุล เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ รวมสินทรัพย์ เงินฝาก รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรต่อหุ้นพื้นฐาน (บาท) กำ�ไรสุทธิและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิและส่วนต่างรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล

ล้านบาท

ล้านบาท

10,000 0.3% 0

147

-25.1%

-10,000

6.6%

4.3%

0% 1,945

3,202

-20%

-60%

-30,000 -40,000

-96.0% -43,745

-50,000 2549

18,000 15,189

15,000

7%

16,531 15,883

6% 12,407 12,259

12,000

-40%

-12,358

-20,000

20%

2550

2551

2552

4%

9,000 2.1%

2.4%

2.6%

2.2%

2.2%

3%

-80%

6,000

-100%

3,000

1%

-120%

0

0%

2%

2549

2553

กำ�ไรสุทธิ (แกนซ้าย) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (แกนขวา)

5%

2550

2551

2552

2553

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ (แกนซ้าย) ส่วนต่างรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล (แกนขวา)


ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ข อ ง ธ น า ค า ร ย้ อ น ห ลั ง

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

|

(หน่วย: ล้านบาท)

2553

2552

2551

2550

2549

อัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ ความสามารถในการทำ�กำ�ไร อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ต้นทุนต่อรายได้ ส่วนต่างรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล

6.6% 0.6% 74.6% 2.3%

4.3% 0.3% 79.4% 2.2%

0.3% 0.0% 76.0% 2.6%

-96.0% -6.4% 152.5% 2.4%

-25.1% -1.7% 95.5% 2.1%

ฐานะสภาพคล่อง อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาก สัดส่วนเงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์ต่อเงินฝาก

87.9% 46.3%

90.3% 49.5%

94.2% 38.6%

99.9% 41.6%

95.2% 25.9%

ความเพียงพอของเงินกองทุน เงินกองทุนชั้นที่หนึ่ง อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น

11.3%* 16.6%*

12.3%* 17.0%*

12.3% 16.8%

10.5% 14.4%

7.3% 10.4%

คุณภาพสินทรัพย์ อัตราส่วนสินเชื่อด้อยคุณภาพต่อเงินให้สินเชื่อ อัตราส่วนสำ�รองฯ ต่อสินเชื่อด้อยคุณภาพ สัดส่วนสำ�รองส่วนเกินต่อสินเชื่อปกติ มูลค่าหุ้นตามบัญชี จำ�นวนพนักงาน จำ�นวนสาขา จำ�นวนตู้ ATM

8.3% 57.0% 2.3% 1.15 8,750 455 2,300

12.7% 57.7% 2.5% 1.09 8,236 483 2,257

14.3% 65.8% 2.2% 1.03 9,039 470 1,949

16.1% 68.1% 3.0% 1.02 8,700 470 1,714

11.3% 51.3% 0.5% 2.59 9,077 464 1,751

หมายเหตุ: * ตามเกณฑ์ Basel II

อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนรวมต่อสินทรัพย์เสี่ยง 18%

16.8%

16% 10.4%

10%

60% 50%

12.3%

12.3%

10.5%

8% 6%

16.6%

14.4%

14% 12%

17.0%

สัดส่วนเงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์และเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาก

40% 11.3%

30%

7.3%

20%

4%

10%

2% 0%

0 2549

2550

2551

เงินกองทุนรวมต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1

2552

102% 100% 49.5% 46.3% 98% 41.6% 38.6% 96% 95.2% 94% 94.2% 92% 90.3% 25.9% 90% 87.9% 88% 86% 84% 82% 80% 99.9%

2553

2549

2550

2551

2552

2553

สัดส่วนเงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์ (แกนซ้าย) สัดส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาเก (แกนขวา)

5


6

|

สารจากประธานกรรมการธนาคาร

สารจากประธานกรรมการธนาคาร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

ปี 2553 เป็ น ปี ที่ มี ค วามสำ � คั ญ ต่ อ ประเทศไทยและธนาคารทหารไทย เป็ น อย่ า งยิ่ ง เนื่ อ งจากเป็ น ช่ ว งที่ ป ระเทศไทยฝ่ า วิ ก ฤตทางการเมื อ งและ สร้ า งความเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ได้ ถึ ง ร้ อ ยละ 7.8 เมื่ อ เที ย บกั บ ติ ด ลบ ร้อยละ 2.3 ในปีที่ผ่านมา เช่นเดียวกัน ธนาคารทหารไทยไม่เพียงแต่มี กำ�ไรสุทธิ 3,202 ล้านบาท (สามพันสองร้อยสองล้านบาท) หรือ เติบโต ถึงร้อยละ 64.6 เท่านั้น แต่ยังได้ล้างขาดทุนสะสมคงค้างที่สะสมมาตั้งแต่ วิกฤตการเงินในครั้งก่อนอีกด้วย ทั้ ง นี้ ป ระเทศไทยและธนาคารทหารไทยมี ค วามเข้ ม แข็ ง มากขึ้ น หลั ง จาก เผชิญกับความท้าทายครั้งสำ �คัญ ธนาคารได้เสริมสร้างความแข็งแกร่ง จากความสำ�เร็จในการวางรากฐานในระยะแรกของ TMB Transformation ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างปี 2551- 2552 ในปี 2553 สินเชื่อคุณภาพดีของธนาคาร เติบโตถึงร้อยละ 4.2 และธนาคารสามารถลดมูลค่าสินเชื่อด้อยคุณภาพ ลงได้อีก 18,048 ล้านบาท (หนึ่งหมื่นแปดพันสี่สิบแปดล้านบาท) ทำ�ให้ สินทรัพย์ด้อยคุณภาพลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 8.3 ของสินเชื่อรวม ซึ่งเป็น แนวโน้มที่พัฒนาต่อเนื่องไปสู่ระดับมาตรฐานของตลาด นอกจากนี้เพื่อ ให้สอดคล้องกับแผน TMB Transformation ระยะที่สอง คือ “การสร้าง ความแตกต่างและเติบโตด้วยคุณภาพ” ธนาคารได้ลงทุนในการเสริมสร้าง ความสามารถในการสร้างฐานลูกค้าคุณภาพดีเพื่อขยายฐานในการรองรับ การเติบโตอย่างยั่งยืนของธนาคารในอนาคต ซึ่งเห็นได้จากผลประกอบการ ของธนาคารที่แสดงให้เห็นถึงความสำ�เร็จของธนาคารในรอบปีที่ผ่านมา ความสำ�เร็จของธนาคารด้านผลิตภัณฑ์ทางการเงิน การปรับปรุงคุณภาพ การให้บริการ และความนิยมในแบรนด์ที่เพิ่มขึ้น ทำ�ให้ธนาคารสามารถ สร้ า งความแตกต่ า งที่ มี คุ ณ ค่ า ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า และพั ฒ นาตลาดได้ ม ากขึ้ น ธนาคารได้รางวัลอันทรงเกียรติจาก FIIA (Financial Insights Innovation

สารจากประธานกรรมการธนาคาร

|

7

Awards) จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินซึ่งเปลี่ยนโฉมตลาดและ พฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภค ในขณะเดี ย วกั น ธนาคารได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการ ตอบแทนสังคมผ่านโครงการ “ไฟ ฟ้า” ซึ่งให้โอกาสพนักงานธนาคารและ ผู้ มี จิ ต อาสาในสั ง คมร่ ว มกั น แบ่ ง ปั น ความรู้ แ ละทั ก ษะการดำ � รงชี วิ ต แก่ เยาวชนในชุมชนที่มีรายได้น้อย เราให้ความสำ�คัญกับการมีบรรษัทภิบาลที่ดีเป็นอย่างยิ่ง โดยในปี 2553 คณะกรรมการธนาคาร ได้เพิ่มมาตรฐานด้านบรรษัทภิบาลของธนาคาร เพื่ อ ให้ ธ นาคารมี ก ารกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ไปตาม มาตรฐานที่ดีที่สุด ธนาคารมีความยินดีที่จะแจ้งว่าในปี 2553 ธนาคาร ทหารไทยได้ รั บ ผลประเมิ น ในระดั บ “ดี เ ลิ ศ ” ซึ่ ง เป็ น ระดั บ สู ง สุ ด อี ก ครั้ ง จากสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย ภายใต้ ก ารสนั บ สนุ น ของ SEC และ SET ซึ่งตอกย้ำ�เจตนารมณ์ของธนาคารในการสร้างสรรค์ สิ่งที่ดีให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย คณะกรรมการธนาคารใคร่ ข อขอบพระคุ ณ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ ค วาม ไว้ ว างใจและสนั บ สนุ น ธนาคารอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดระยะเวลาแห่ ง การ เปลี่ยนแปลงที่ผ่านมา และขอขอบพระคุณลูกค้าผู้มีอุปการะคุณทุกท่านที่ ให้โอกาสธนาคารได้ ให้บริการและนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่มีความแตกต่างและ มีคุณภาพที่ทำ�ให้ชีวิตดีขึ้น เรามั่นใจว่าด้วยการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องของ ท่านทั้งหลายและความอุทิศทุ่มเทจากพนักงานและผู้บริหารของธนาคาร จะทำ�ให้วิสัยทัศน์ของธนาคารที่มุ่งจะเป็น “ธนาคารไทยชั้นนำ � มาตรฐาน ระดับโลก” นั้นไม่ไกลเกินเอื้อมอย่างแน่นอน

เสาวนีย์ กมลบุตร ประธานกรรมการธนาคาร


8

|

ส า ร จ า ก ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

เมื่อลูกค้าบุคคลและลูกค้าธุรกิจมอบความไว้วางใจให้สถาบันการเงินดูแล เงินของพวกเขา ลูกค้าย่อมอุ่นใจได้เมื่อสถาบันการเงินมีความมั่นคง การมี ธนาคารที่แข็งแกร่งอยู่เคียงข้างหมายถึงเสถียรภาพ ความสบายใจ และ ความมั่นใจในอนาคต จากพื้นฐานที่มั่นคงเราเดินหน้าพัฒนาให้ธนาคารทหารไทยเข้มแข็งยิ่งขึ้น ทุกวัน เราเริ่มด้วยการสร้างทีมงานที่ประกอบด้วยพนักงาน 8,600 คนให้ เข้มแข็ง จึงทำ�ให้เราสามารถสร้างความแข็งแกร่งอย่างต่อเนือ่ งด้านฐานะการเงิน ให้ธนาคารซึ่งเป็นตัวชี้วัดหลักสำ�หรับทุกธนาคาร แต่ยังมีองค์ประกอบอื่นอีก ที่จะทำ�ให้เราเป็นธนาคารที่แข็งแกร่งและมั่นคง การยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ทำ�ให้เราเข้าใจลูกค้าในแต่ละกลุ่มซึ่งมีความต้องการบริการทางการเงินที่ แตกต่างกันทำ�ให้เราสร้างนวัตกรรมทางการเงินที่สร้างคุณค่าแก่ลูกค้าได้ อย่างแท้จริง ประกอบกับการพัฒนาประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานทำ�ให้ ธนาคารทหารไทยเข้มแข็งขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น ธนาคารยังได้พัฒนาแบรนด์ เพิ่ม ความสามารถในการแข่งขันในตลาดการเงินในประเทศไทยที่มีการแข่งขันสูง นอกจากนี้ธนาคารยังมีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนอีกด้วย

สร้างความเข้มแข็งทางการเงิน ในปี 2553 ธนาคารทหารไทยได้สร้างผลกำ �ไรอย่างต่อเนื่อง เรามีกำ�ไร สุทธิ 3,202 ล้านบาท (สามพันสองร้อยสองล้านบาท) คิดเป็นอัตราเติบโต ร้ อ ยละ 64.6 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2552 ปี นี้ นั บ เป็ น ปี ที่ ส ามติ ด ต่ อ กั น ที่ เ รามี ผลกำ�ไร นับตั้งแต่การปรับปรุงโครงสร้างเงินทุนในเดือนธันวาคม 2550 แนวโน้ ม เช่ น นี้ เ ป็ น สั ญ ญาณที่ เ ด่ น ชั ด ที่ บ อกถึ ง ความแข็ ง แกร่ ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่างต่อเนื่องของธนาคารทหารไทย ผลกำ�ไรของธนาคารทหารไทยเพิ่มขึ้นเนื่องจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ การเพิ่มขึ้น ของอัตราส่วนต่างดอกเบี้ยสุทธิ (Net Interest Margin) และรายได้ที่มิใช่ ดอกเบี้ย (Core non-interest Income) พร้อมกับต้นทุนความเสี่ยงที่ลดลง เหล่านี้เป็นตัวขับเคลื่อนหลักให้ผลกำ�ไรของธนาคารเพิ่มขึ้น ในช่วงปี 2553 เราเน้นการเติบโตอย่างมีคุณภาพ เราลดสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) และสินทรัพย์รอการขาย (NPA) จากการปรับโครงสร้างหนี้ และการขาย สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) และสินทรัพย์รอการขาย (NPA) เหล่านั้น

ส า ร จ า ก ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

|

9

สัดส่วนสินเชื่อด้อยคุณภาพลดลงจากร้อยละ 14.3 ในปี 2551 และ ร้อยละ 12.7 ในปี 2552 มาเป็นร้อยละ 8.3 ในปี 2553 และมีอัตราส่วนสำ�รอง หนี้ที่สงสัยว่าจะสูญ (Loan Loss Reserve Ratio) สูงถึงร้อยละ 159 ตาม ข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย ในขณะเดียวกัน ด้วยการบริหาร ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ธนาคารทหารไทยสามารถลดการก่อตัวของ สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ให้เหลือน้อยที่สุด ที่สำ�คัญธนาคารได้ล้างขาดทุน สะสมจำ�นวน 101,600 ล้านบาท (หนึ่งแสนหนึ่งพันหกร้อยล้านบาท) และส่วน ต่�ำ กว่ามูลค่าหุน้ สุทธิจ�ำ นวน 303,000 ล้านบาท (สามแสนสามพันล้านบาท) ทำ� ให้งบการเงินของธนาคารแข็งแรงขึ้นและอยู่ในสถานะที่สามารถจ่ายเงินปันผล ได้เป็นครั้งแรกในรอบ 14 ปี หากได้รับการอนุมัติจากธนาคารแห่งประเทศไทย คณะกรรมการธนาคาร และผู้ถือหุ้น ธนาคารทหารไทยมุ่งมั่นที่จะสร้างผลกำ�ไรที่เติบโตอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นสิ่งที่ สำ�คัญเป็นอย่างยิ่งต่อผู้ถือหุ้นและพนักงานและยังช่วยเพิ่มความเข้มแข็งให้ กับภาคธนาคารพาณิชย์ของประเทศไทยโดยรวมอีกด้วย พื้นฐานทางการเงิน ที่มั่นคงของเราทำ�ให้เราสามารถพัฒนาความสัมพันธ์กับลูกค้าให้แน่นแฟ้น ขึ้นไปอีก ในฐานะที่เป็นสถาบันการเงินชั้นนำ� ธนาคารทหารไทยจะมีบทบาท อย่างยิ่งในการพัฒนาระบบการเงินไทยที่นับวันจะมีการเชื่อมต่อระหว่าง สถาบันเพิ่มมากขึ้นด้วย กล่าวได้ว่า ปี 2553 เป็นปีที่สินเชื่อของธนาคารทหารไทยมีการเติบโตอย่าง มีคุณภาพ สินเชื่อคุณภาพดีโดยรวมเติบโตขึ้นจากปี 2552 ด้วยอัตรา ประมาณร้อยละ 4.2 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินเชื่อเอสเอ็มอีและสินเชื่อไม่มีหลัก ประกันสำ�หรับลูกค้าบุคคลที่เติบโตถึงร้อยละ 13 และร้อยละ 40 ตามลำ�ดับ และปริมาณธุรกิจต่างประเทศ (Trade Finance) โตขึ้นกว่าร้อยละ 300 นี่เป็น ตัวอย่างส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าองค์ประกอบสินเชื่อโดยรวมของธนาคาร มี ค วามหลากหลายมากขึ้ น กว่ า เดิ ม ที่ มี สิ น เชื่ อ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ เ ป็ น หลั ก นอกจากนี้ระหว่างปี 2553 ธนาคารได้ดำ�เนินการหลายด้านไปพร้อมๆ กัน เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่สินเชื่อโดยรวม โดยธนาคารได้ลดจำ�นวนสินเชื่อ ด้อยคุณภาพลงประมาณ 18,048 ล้านบาท (หนึ่งหมื่นแปดพันสี่สิบแปดล้าน บาท) ซึ่งหากธนาคารมิได้ดำ�เนินการลดสินเชื่อด้อยคุณภาพลง อัตราเติบโต ของสินเชื่อรวมของธนาคารจะสูงกว่าร้อยละ 10


10

|

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3

ส า ร จ า ก ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

ในขณะเดียวกัน ความสามารถในการเพิ่มรายได้ค่าธรรมเนียมของธนาคาร ได้พัฒนาขึ้นอย่างมาก การปรับปรุงการบริการด้านธุรกิจต่างประเทศและ ตลาดทุนทำ�ให้ปริมาณธุรกิจจากกลุ่มลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่เพิ่มจำ�นวนขึ้น อย่างมาก ในขณะที่ธุรกิจรายย่อย มีรายได้สูงขึ้นจากธุรกิจตัวแทนประกัน บริการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องกับ เงินฝาก โดยหากไม่นับรวมรายการพิเศษต่างๆ ที่เกิดขึ้น รายได้หลักที่มิใช่ ดอกเบี้ยของธนาคารเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.16 เมื่อเทียบกันปีต่อปี ณ สิ้นปี 2553 สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ฟิทช์ เรทติ้ง (Fitch Rating) ได้ปรับแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของธนาคารจากเดิมซึ่งเป็นลบ เป็น “มี เสถียรภาพ” ซึ่งเป็นผลมาจากมีเครือข่ายการดำ�เนินงานธุรกิจครอบคลุม ทั่วประเทศที่มีขนาดพอสมควร มีระดับเงินทุนที่แข็งแกร่ง มีความสามารถ ในการทำ�กำ�ไรและมีคุณภาพของสินทรัพย์ดีขึ้น ทั้งนี้ ฟิทช์เรทติ้งยังได้ระบุ ในรายงานอีกว่าธนาคารทหารไทยมีการปรับปรุง ประสิทธิภาพการบริหาร ความเสี่ยงโดยมีนโยบายและมาตรฐานสินเชื่อที่เข้มงวดขึ้นและระบบการ บริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมยิ่งขึ้นด้วย

สร้างความเข้มแข็งด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ในปี 2553 ธนาคารทหารไทยนำ�ตลาดด้วยผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ ทางการเงินที่โดดเด่น ได้แก่ บัญชีออมทรัพย์ฟรีค่าธรรมเนียม (No Fee Savings Account) บัตรเดบิต โน ลิมิต (No Limit Debit Card) โอดี ไม่ต้องใช้หลักประกัน (No Asset OD) สินเชื่อด่วนที่ให้วงเงินสูงถึง 3 เท่า ของหลักประกัน (3X Express Loan) สำ�หรับลูกค้าเอสเอ็มอี และบริการของ สาขาที่ลูกค้าไม่ต้องกรอกสลิป (No Slip) ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่ชนะรางวัล FIIA (Financial Insights Innovation Awards) ซึ่งเป็นรางวัลด้านการสร้าง ความผูกพันกับลูกค้า ในระดับภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก ด้วยความมุ่งมั่นในฐานะที่เป็นธนาคารที่ยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ธนาคาร ทหารไทยได้ ย กระดั บ การให้ บ ริ ก ารในช่ ว งปี ที่ ผ่ า นมา เราปรั บ ปรุ ง ระบบ ปฏิบัติการศูนย์บริการลูกค้ารายย่อย (Retail Call Center Platform) ให้ มีการเชื่อ มโยงทั่วถึง เว็บพอร์ ทัลของธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ของลูกค้า ธุ ร กิ จ ทำ � ให้ ธ นาคารประสานกั บ ลู ก ค้ า ได้ โ ดยตรงในทุ ก ๆ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ หลักของลูกค้าธุรกิจรายใหญ่ นอกจากนี้ เรายังเป็นธนาคารแห่งแรกที่ นำ�นวัตกรรมซัพพลายเชนโซลูชั่น (Supply Chain Solutions) ที่ดีที่สุด ออกสู่ตลาดซึ่งทำ�ให้ธนาคารทหารไทยแตกต่างจากคู่แข่งอย่างชัดเจน ธนาคารทหารไทยจะยั ง คงนำ � ตลาดด้ ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารที่ ต รงกั บ ความต้องการของลูกค้าต่อไป ในอนาคตอันใกล้นี้เราจะใช้ระบบงานพิจารณา อนุมัติสินเชื่อรายย่อย (Loan Origination) ที่จะทำ�ให้เราสามารถอนุมัติ สิ น เชื่ อ รายย่ อ ยภายในเวลาประมาณหนึ่ ง ชั่ ว โมงแทนที่ จ ะใช้ เ วลาเป็ น วั น เช่ น ในอดี ต สิ่ ง สำ � คั ญ ที่ ทำ � ให้ เ ราดำ � รงไว้ ซึ่ ง บริ ก ารทางการเงิ น ที่ มี คุณภาพสูง คือ การจัดโครงสร้างองค์กรที่มีลูกค้าเป็นศูนย์กลางที่ทำ�ให้

พนักงานทุกๆ คนเห็นชัดถึงความเชื่อมโยงของงานที่ทำ�กับความพึงพอใจ ของลูกค้า และเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพที่ทำ�ให้ธนาคารทหารไทยสามารถ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่เหนือความคาดหมายของลูกค้าและส่งเสริม ให้คุณภาพชีวิตของลูกค้าดีขึ้น

สร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง ธนาคารทหารไทยเริ่ ม การเปลี่ ย นแปลงสู่ ก ารเป็ น องค์ ก รที่ ยึ ด ลู ก ค้ า เป็ น ศูนย์กลางนับตั้งแต่ปี 2551 เราได้ปรับปรุงระบบการบริหารทรัพยากร บุคคลในทุกด้าน เราได้เริ่มต้นรณรงค์สร้างวัฒนธรรมองค์กร TMB Way ที่ ทำ�ให้บุคลากรของเรามุ่งมั่นทำ�สิ่งที่ดีขึ้นและง่ายขึ้นสำ�หรับลูกค้าของเรา ธนาคารได้ดำ�เนินการให้พนักงานดำ�เนินชีวิตในแนวทางเดียวกันกับองค์กร บนรากฐานของวั ฒ นธรรม TMB Way ซึ่ ง ทำ � ให้ พ นั ก งานมี วั ฒ นธรรม องค์ ก รร่ ว มกั น และพู ด ภาษาเดี ย วกั น TMB Way มุ่ ง ให้ พ นั ก งานเข้ า ถึ ง ค่านิยมองค์กร ซึ่งประกอบด้วย “การยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง” “ยึดมั่น ในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง” “มุ่ ง มั่ น สร้ า งความสำ � เร็ จ ” “สื่ อ สารอย่ า งเปิ ด กว้ า ง” และ “รู้จักบริหารความเสี่ยง” ธนาคารเห็นคุณค่าและให้รางวัลบุคลากร และที ม งานที่ ทำ� งานตามแนวทางของ TMB Way เรามี ก ารมอบรางวั ล จากคณะประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Chief Recognition Award) ให้แก่ ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ “TMB Way” ที่มีความโดดเด่นทุกเดือน และมอบ รางวัลใหญ่ซึ่งเป็นรางวัลจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO Recognition Award) แก่ความคิดริเริ่มที่เกิดจากการทำ�งานร่วมกันเป็นทีมข้ามสายงาน ที่ธนาคารทหารไทย เราปลูกฝังการมุ่งสู่ความสำ�เร็จและเสริมสร้างความ พร้อมให้กับพนักงานที่มีความสามารถสูงได้พัฒนาศักยภาพเพื่อให้ก้าวหน้า ยิ่งขึ้นไป รางวัล TMB Way Award ประจำ�ปี 2553 ได้แสดงให้เห็นตัวอย่าง การริเริ่มที่เป็นเลิศถึงสองร้อยผลงานที่บุคลากรทั่วทั้งธนาคารร่วมมือกัน สร้างขึ้นเพื่อให้ธนาคารบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาบริการใหม่ๆ สำ�หรับ ลูกค้า ผู้ชนะรางวัล TMB Way Award ประจำ�ปี 2553 ได้แก่ “สินเชื่อ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่อนุมัติและเบิกจ่ายภายใน 15 วัน” ที่เป็น ผลิตภัณฑ์ที่ผลักดันให้ธนาคารทหารไทยขึ้นเป็นธนาคารชั้นนำ�สำ�หรับลูกค้า เอสเอ็ ม อี เพราะเราเชื่ อ ว่ า พนั ก งานเป็ น ทรั พ ยากรที่ สำ � คั ญ ที่ สุ ด เราจึ ง สร้ า งสิ่ ง แวดล้ อ มในการทำ � งานที่ ทำ � ให้ บุ ค ลากรของเราสามารถทำ � งาน ได้อย่างเต็มศักยภาพและมีความก้าวหน้าในอาชีพอย่างแท้จริง พั ฒ นาการด้ า นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรบุ ค คลในรอบปี ที่ ผ่ า นมา ได้ ป รากฎผลที่ เ ป็ น รู ป ธรรมในเรื่ อ งคะแนนความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รของ พนั ก งาน ในปี 2553 คะแนนความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รของพนั ก งานที่ จัดทำ�โดย Gallup แสดงให้เห็นว่าความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน เพิ่มขึ้นอย่างมากจากระดับ 13 เปอร์เซ็นไทล์ ในปี 2552 ขึ้นมาเป็นระดับ 70 เปอร์เซ็นไทล์ ในปี 2553 เมื่อเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลองค์กรทั่วโลก ของ Gallup พบว่า ระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคาร


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

ทหารไทยใกล้เคียงกับองค์กรระดับโลกมากขึ้น ตามความเห็น Gallup คะแนน ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รของพนั ก งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของธนาคารภายในระยะ เวลา 1 ปีนี้โดยปกติสำ�หรับองค์กรทั่วไปจะต้องใช้เวลา 4 ปีในการเลื่อน ลำ�ดับคะแนนมาอยู่ที่ระดับเดียวกัน

สร้างแบรนด์ที่เข้มแข็ง หัวใจสำ�คัญของแบรนด์ธนาคารทหารไทยคือบุคลากรของธนาคาร ในช่วง ปลายปี 2553 เราได้เปิดเผยปรัชญา “Make THE Difference” ให้แก่ พนั ก งานของธนาคารทหารไทย 8,600 คนทั่ ว ประเทศ และธนาคารจะ เผยแพร่ปรัชญา “Make THE Difference” ซึ่งเป็นจุดยืนของแบรนด์ ธนาคารทหารไทยต่อสาธารณะในช่วงไตรมาสแรกของปี 2554 โดยเชื่อมั่นว่า Make THE Difference จะทำ�ให้พนักงานของเราทุ่มเทเพื่อบรรลุเป้าหมาย ของธนาคารที่ จ ะให้ บ ริ ก ารที่ ดี ที่ สุ ด แก่ ลู ก ค้ า ในขณะเดี ย วกั น ยั ง ท้ า ทาย มาตรฐานของวงการธนาคารด้ ว ยการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารทาง การเงินที่เป็นประโยชน์กับลูกค้าที่ไม่เคยมีในระบบมาก่อน แบรนด์ ธ นาคารทหารไทยเป็ น ตั ว แทนคำ� มั่ น สั ญ ญาในด้ า นความเป็ น เลิ ศ กับลูกค้าของเรา แบรนด์ที่เข้มแข็งจะรักษาฐานลูกค้าปัจจุบันและสร้างฐาน ลู ก ค้ า ใหม่ ซึ่ ง จะทำ � ให้ ส ถานะของธนาคารในตลาดมี ค วามเข้ ม แข็ ง ขึ้ น แบรนด์ของเราเข้มแข็งขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงปี 2553 จากการสำ�รวจที่ จั ด ทำ � ขึ้ น ในเดื อ นกั น ยายน แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การปฏิ เ สธแบรนด์ ล ดลงเป็ น ร้อยละ 2 จากร้อยละ 29 ในเดือนมิถุนายน 2552 และการตอบรับแบรนด์ ธนาคารทหารไทยก้าวกระโดดจากระดับร้อยละ 31 ในเดือนมิถุนายน 2552 ขึ้นมาเป็นร้อยละ 79 สิ่งที่ธนาคารทหารไทยได้ทำ�ในปีที่ผ่านมาได้รับความสนใจอย่างยิ่ง สังคม กำ�ลังตระหนักว่าธนาคารได้สร้างผลงานมากเพียงไรในช่วงปีทผี่ า่ นมา ธนาคาร ได้รับการกล่าวถึงในวาระสำ�คัญมากมาย รวมทั้งการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ การเปลี่ยนแปลงองค์กรธุรกิจ การนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ปลอดค่าธรรมเนียม กลายเป็นมาตรฐานใหม่ในธุรกิจและธนาคารยังได้มีส่วนในการผลักดันให้เกิด การขยายตัวของธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ทั่วประเทศไทย ผมและคณะผู้บริหารระดับสูงซึ่งประกอบด้วยประธานเจ้าหน้าที่บริหารทุกคน ได้จัดโปรแกรมเดินสายเพื่อพบพนักงานทั่วประเทศ 46 ครั้งตลอดปี 2553 และต้นปี 2554 การพบปะกับพนักงานเป็นกลุ่มเล็กภายใต้บรรยากาศที่ เป็นกันเองซึ่งกระตุ้นให้เกิดการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เป้าหมาย ของงานคือสร้างความเข้าใจในปรัชญาของ Make THE Difference แก่ พนักงานและนำ�เสนอแก่นแท้ของแบรนด์ (ฺBrand DNA) ซึ่งได้แก่ “ทัศนคติ ทำ�ไมจะเป็นไปไม่ได้” “จริงใจ” “ฉลาด รู้จริง” และ “ง่าย ใช้งานได้จริง” ซึ่ง ธนาคารจะเผยแพร่ปรัชญา Make THE Difference ซึ่งเป็นจุดยืนของ แบรนด์ ธ นาคารทหารไทยให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก อย่ า งกว้ า งขวางในไตรมาสแรก ของปี 2554

ส า ร จ า ก ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

|

11

สร้างจิตสำ�นึกในการช่วยให้ชุมชนแข้มแข็ง ในฐานะพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ธนาคารทหารไทยมีส่วนร่วม ในการสร้างและเพิ่มความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่เราอาศัยอยู่ ผ่านโครงการหลัก คือ โครงการกิจกรรมสังคม “ไฟ ฟ้า” ซึ่งเป็นนวัตกรรมกิจกรรมสังคมที่ ธนาคารริเริ่มขึ้นในช่วงต้นปี 2553 โครงการ “ไฟ ฟ้า” ใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือ ในการเรียนรู้ และมีอาสาสมัครของธนาคารกว่า 100 คน ช่วยเหลือเยาวชน ที่มีศักยภาพสูงจำ�นวน 150 คน ที่มาจากชุมชนผู้มีรายได้น้อยได้พัฒนา ตนเองเพื่อให้สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นแก่ชุมชนของตนเองได้ เราจะขยายโครงการ “ไฟ ฟ้า” อีก 2 แห่งในปี 2554 นอกจากนี้ ธนาคารยังได้ ดำ�เนินกิจกรรมสังคมอื่นๆเช่น การมอบทุนการศึกษาระดับปริญญาตรีแก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเงินและการธนาคาร เพื่อร่วมสร้างบุคลากรทางการเงินและการธนาคารรุ่นใหม่ การมอบทุนการ ศึกษาแก่บุตรหลานข้าราชการทหาร การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย การให้ การสนับสนุนทางการเงินแก่โครงการด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม อย่างมีประสิทธิภาพ และการร่วมมือกับธนาคารโลกในการบริการโครงการ ลดและเลิกการใช้สารทำ�ลายโอโซนในชั้นบรรยากาศอีกด้วย

สร้างมาตรฐานบรรษัทภิบาลที่ดี ธนาคารทหารไทยมุ่งมั่นในการดำ�เนินงานด้วยมาตรฐานบรรษัทภิบาลที่สูง บรรษัทภิบาลที่ดีเป็นพื้นฐานที่จะนำ�ธนาคารไปสู่ประสิทธิภาพ ความโปร่งใส นโยบายการบริหารจัดการ และระบบที่สร้างความไว้วางใจและความมั่นใจ ในหมู่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ถือประโยชน์ร่วมอื่นๆ ซึ่งประกอบด้วย ลูกค้า รวมถึงผู้ฝากเงิน พนักงาน ผู้กำ�กับการปฏิบัติงานและสังคม บรรษัทภิบาล เป็นสิ่งหนึ่งที่ช่วยเพิ่มมูลค่าแก่ธนาคารและช่วยรักษาการเติบโตของธนาคาร ให้ยั่งยืน ในปี 2553 คณะกรรมการธนาคารได้ปรับปรุงมาตรฐานบรรษัทภิบาลของ ธนาคารทหารไทยให้ดียิ่งขึ้นโดยสะท้อนให้เห็นปรัชญาดังกล่าวมาในข้างต้น เพื่ อ ทำ � ให้ มั่ น ใจว่ า เส้ น ทางสู่ เ ป้ า หมายที่ ว างไว้ ข องธนาคารนั้ น ได้ รั บ การ ควบคุมเพื่อผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ด้วยการกำ�กับดูแลกิจการที่เข้มแข็งซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานที่สูง ที่สุดตามแบบแผนทั้งในและต่างประเทศ ธนาคารทหารไทยจะดำ�เนินงานที่จะ สร้างสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดต่อลูกค้า พนักงาน ผู้ถือหุ้น และสังคมโดยสร้าง ความเจริญเติบโตที่ยั่งยืน

บุญทักษ์ หวังเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


• •

Make THE Difference

คำ� ถ � ม :

whY Make The difference? ทำาไม ต้อง แตกต่าง ? ค ำ� ต อ บ :

เรายอมรับว่า TMB ไม่ใช่ธนาคารใหญ่ ทั้งขนาด และระดับสินทรัพย์ ... แต่ปรากฏการณ์ที่ธนาคารขนาดใหญ่ต้องหันหลังมามอง ทำาให้ลูกค้าจำานวนมาก พ�ดถึงและเดินเข้าหา จนพนักงานและผู้ถือหุ้นภูมิใจได้ เกิดจากการมองมิติของคำาว่า “ขนาด” อย่างแตกต่างของเรา เรารู้สึกยินดีที่ขนาดองค์กรของเราไม่ใหญ่เกินไป ... TMB จึงเข้าถึงความต้องการที่ละเอียดอ่อนของลูกค้าได้ แม้ ในจุดที่คนอื่นมองไม่เห็น เรารู้สึกดีใจที่หัวใจนักสู้ของเรามีพลัง ... ทำาให้ TMB กล้าทำาให้ทุกสิ่งเป็นไปได้ สำาหรับลูกค้าของเรา ดังนั้นเมื่อใครๆ ถามผมว่า “ทำาไม TMB ต้องแตกต่าง?” ผมจะนึกถึงคำาว่า “โอกาส” ที่ควรจะมีมากกว่าหนึ่งทาง และ มีคำาว่า “ดีขึ้น” เกิดขึ้นเสมอ เรา Make THE Difference เพื่อสร้างโอกาส ให้ตัวเองได้ยืนขึ้นอย่างสง่างาม และมอบโอกาสสำาคัญให้ลูกค้าของเรา ได้พบกับสิ่งที่ดีที่สุดเสมอนั่นเอง บุญทักษ์ หวังเจริญ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร



• •

ผลการดำ�เนินงาน

คำ�ถ า ม :

WHAT DIFFERE CAN MAKE TH DIFFERENCE  เราสร้างผลต่างจากการสร้างความแตกต่างได้มากแค่ไหน ?


DIFFERENCE HE E ?


• •

ผลการดำาเนินงาน

คำ�ต อ บ :

ผลต่างจากความร่วมมือในการสร้าง THE Difference ของพวกเราชาว TMB มิ ได้เพียง ถูกวัดด้วยมูลค่าที่มากขึ้นหรือน้อยลง ทั้งยังไม่ ได้เห็นผลเป็นแค่กราฟหรือเปอร์เซ็นต์ แต่เป็นสิ่งที่เกินความคาดหวังของลูกค้า และท้าทายตลาดอย่างมีนัยสำาคัญ ลูกค้าของเรา จะได้รับการตอบสนองความต้องการอย่างที่ ไม่เคยมีมาก่อน เพราะเราไม่ ได้สร้างแค่ คำาว่า “ดี” “ดีขึ้น” หรือ “ดีมาก”

เราสร้างคำาว่า “ เป็นไปได้ ”


ผ ล ก ำา ไ ร

3,202 ล านบาท

ในป 2553 ธนาคารทหารไทยมีกำาไรสุทธิ 3,202 ล้านบาท ซึ่งป นี้เป็นป ที่สามติดต่อกัน ที่เรามีผลกำาไร และเราเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากการเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนต่าง ดอกเบี้ยสุทธิและรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย

2008 2009 2010

3,202 ล้าน

เ ติ บ โ ต ขึ้ น

64.6%

และยังคงเติบโตต่อไป เติบโตอย่างมีคุณภาพด้วยผลกำาไรที่เติบโตขึ้น 64.6 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับป 2552


• •

บุคลากร

คำ�ถ า ม :

HOW DO 8,6 EMBRACE ONE ONE DNA? ทำ�อย่างไรให้คน 8,600 คน คิด... เห็น... และเป็น... เหมือนกัน ?


00 PEOPLE ONE CULTURE,


• •

บุคลากร

คำ�ต อ บ :

เราจะหวังผลลัพธ์ที่แตกต่างได้อย่างไร ถ้ายังคงคิด เห็น และเป็นอย่างเดิม? เราต้องเปลี่ยน DNA ในเลือด ปรับโฟกัสใหม่ให้สายตา และลงมือทำ� ด้วยหัวสมองและหัวใจ ทั้งลูกค้า คู่ค้า ผู้ถือหุ้น หรือแม้กระทั่งคู่แข่ง... จะต้องมองเราเปลี่ยนไป และรอคอยสิ่งใหม่ที่เราจะทำ�ให้เขาและตลาด เพราะสิ่งที่เราสร้างไม่ใช่เพียง “เหตุการณ์ที่เปลี่ยนไป” แต่จะเป็น “ปรากฏการณ์ที่แตกต่าง” เราจะไม่หยุดแค่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้ตัวเอง แต่เรากำ�ลังสร้าง วัฒนธรรมองค์กรใหม่ด้วย “พลังที่แตกต่าง” เพื่อให้ลูกค้าของเรา มิตรของเรา ตลอดจนถึงสังคมทั้งระบบได้รับรู้ว่า

นี่แหละ คือ... TMB WAY


คะแนนความผูกพันต่อองค์กรที่

70 เปอร เซ็นไทล

จากการสำารวจโดย Gallup พบว่า คะแนนความ ผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเพิ่มขึ้นอย่างมาก จากระดับ 13 เปอร์เซ็นไทล์ ในป 2552 ขึ้นมาเป็น ระดับ 70 เปอร์เซ็นไทล์ ในป 2553 ซึ่งใกล้เคียงกับ องค์กรระดับโลก

โปรแกรมเดินสายเพื่อพบพนักงาน

46 ครั้ง

คณะผู้บริหารระดับสูงได้จัดโปรแกรมเดินสาย เพื่อพบพนักงาน 8,600 คน ทั่วประเทศ 46 ครั้ง


• •

บุคลากร

>

ดีเอ็นเอของเรา

Make THE Difference เพราะเราเชื่อว่าทุกคนสามารถเปลี่ยนสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้นได้ ด้วยมุ่งหวังให้บริการและทำ�ให้คุณภาพชีวิตของลูกค้าดีขึ้น “Why not? ” Attitude

Genuine

ถามตัวเองเสมอว่า ทำ�ไมจะเป็นไปไม่ได้?

จริงใจ

• ท้าทายกฏเกณฑ์ • ไม่พอใจกับสิ่งที่เป็นอยู่ และความเคยชินกับที่ ทำ�ตามกันมา • กล้าทำ�สิ่งที่แตกต่างเพื่อประโยชน์สูงสุดของลูกค้า • เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และพัฒนาตัวเองตลอดเวลา

• เปิดเผย โปร่งใส • รับฟัง ใส่ใจ และเข้าใจความต้องการของลูกค้าเสมอ • ยึดผลประโยชน์ และความต้องการของลูกค้าเป็นสำ�คัญ • ปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้าเสมือนเป็นของเราเอง

▼ ▼ >

วัฒนธรรมองค์กรของเร า

TMB Way วัฒนธรรมองค์กรของ TMB คือการเชื่อถือ และยึดมั่นศรัทธา ในทัศนคติต่อการปฏิบัติงานในทิศทางเดียวกัน Customer Centricity

Open Communications High Performance

ยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง

สื่อสารอย่างเปิดกว้าง

มุ่งมั่นสร้างความส�ำ เร็จ

ธุรกิจของ TMB เกี่ยวข้องกับการบริการ เป็นหัวใจสำ�คัญ ดังนั้น ลูกค้าจึงเปรียบ เสมือนคนพิเศษของเรา เพราะเหตุนี้ พนักงานของ TMB จึงทำ�งานด้วย ทัศนคติที่ว่าลูกค้าเป็นความรับผิดชอบ ของทุกคน เราต้องช่วยกันคิด ช่วยกัน ทำ�งาน เพื่อสร้างความประทับใจและ มอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า ของเรา

เปิดใจเต็มที่ในการสื่อสารซึ่งกันและกัน กล้าที่จะเสนอแนะอย่างสร้างสรรค์ และตรงไปตรงมา ขณะเดียวกันก็พร้อม ที่จะเปิดใจรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สิ่งเหล่านี้จะทำ�ให้ TMB เป็นองค์กรที่มี การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ อยู่เสมอและสามารถ นำ�มาพัฒนาปรับปรุงการทำ�งานของ เราให้ดียิ่งขึ้น

มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมายอย่างเต็มที่ ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน ทำ�งานเป็นทีม โดยคำ�นึงถึง ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว เพื่อผลลัพธ์ที่ได้ คือ งานที่สำ�เร็จ และมีมาตรฐานสูง ซึ่งจะเกิดประโยชน์ ต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น TMB ผู้ถือหุ้น พนักงาน รวมทั้ง สังคม


Intelligent

Simple & Easy

ฉลาด รู้จริง

ง่าย ใช้งานได้จริง

• ชำ�นาญในสิ่งที่ทำ�อยู่ • รู้ว่าใครคือกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย • เข้าใจว่าเขามีความต้องการอย่างไร • เข้าใจผลิตภัณฑ์ บริการ และบทบาทหน้าที่ของเรา เพื่อนำ�เสนอสิ่งที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า • นำ�เสนอสินค้า และบริการที่ตรงกับความต้องการ ของลูกค้าในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต • เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เสมอ

• มองหาทางออก มากกว่าตั้งปัญหา • สื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย • ให้ข้อมูลที่ลูกค้าต้องการ ไม่ยัดเยียดข้อมูลที่ไม่จำ�เป็น • รู้จักรับมือกับการเปลี่ยนแปลง • ให้บริการที่ได้มาตรฐานอย่างเสมอต้นเสมอปลาย • สร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า • ให้บริการที่สะดวก รวดเร็ว เกินความคาดหวังของลูกค้า

Risk Management

Integrity

รู้จักบริหารความเสี่ยง

ยึดมั่นในความถูกต้อง

สิ่งสำ�คัญที่สุดสำ�หรับธุรกิจของ TMB คือการบริหารความเสี่ยง เป็นหน้าที่ของเราทุกคนในทุกๆ หน่วยงาน ต้องทำ�งานด้วย ความเข้าใจในผลลัพธ์และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยง หลากหลายรูปแบบ เพราะถ้า พนักงานมีประสบการณ์ ในด้าน การบริหารความเสี่ยง มากขึ้นก็สามารถใช้ความรู้ความเข้าใจ ในการจัดการความเสี่ยงทเี่กิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่นในความสำ�เร็จของธุรกิจ และเชื่อมั่นใน TMB มากขึ้นตามไปด้วย

ความถูกต้องและความซื่อสัตย์ ถือเป็นสิ่งสำ�คัญที่ พนักงาน TMB ทุกคนต้องมี การทำ�งานทุกอย่างต้องคำ�นึงถึงสิ่งเหล่านี้ เป็นอันดับแรก เช่นเดียวกันกับการรักษาคำ�มั่นสัญญาที่ให้ ไว้ กับลูกค้า เป็นเรื่องที่ทุกคน ต้องปฏิบัติ เพราะลูกค้าจะกลับมา ใช้บริการอีก หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับ ว่าพนักงานจริง ใจและใส่ใจ กับเขามากแค่ไหน


• •

ผลิตภัณฑ์และบริการ

คำ�ถ า ม :

HOW DO WE INVENTORS OU OF BANKERS เราสร้างนายธนาคารที่มีหัวใจสร้างสรรค์ ได้อย่างไร?


MAKE OUT ERS?


• •

ผลิตภัณฑ์และบริการ

คำ�ต อ บ :

ในหัวของนักประดิษฐ์นั้นจะเกิดสิ่งสร้างสรรค์ ใหม่ๆ อยู่เสมอ ด้วยความเชื่อว่า

เมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนโจทย์ ให้ทุกวัน เราจะยังใช้คำาตอบเดิมได้อย่างไร ทำาไมนักการธนาคารจะมีความคิดแบบนี้ ไม่ ได้? TMB ได้พ�สูจน์แล้ว จากการเป็นผู้พลิกโฉม และผู้นำาในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการทางด้านการเงินที่มีความโดดเด่นและแตกต่าง ที่โดนใจลูกค้า ด้วยประโยชน์ที่จับต้องได้อย่างแท้จริง ผลลัพธ์ของผลิตภัณฑ์และบริการ จึงเพ�่มค่าทว�คูณ ทั้งมูลค่าทางการบัญชีของเรา และคุณค่าทางจิตใจของลูกค้า อย่างประมาณค่ามิ ได้


FIIA รางวัลด้านการสร้างความผูกพัน

กับลูกค้า

ผลิตภัณฑ์เงินฝากของธนาคารทหารไทย ได้รางวัล FIIA ด้านการสร้างความผูกพันกับ ลูกค้าในระดับภูมิภาคเอเซียแปซิฟิค

การตอบรับแบรนด์ที่

79%

2009 2010

31%

79%

ในฐานะผู้นำาด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ทาง การเงิน การตอบรับแบรนด์ธนาคารทหารไทย ก้าวกระโดดจาก 31% เป็น 79% ในป 2553 ในขณะที่การปฏิเสธแบรนด์ลดลงจาก 29% มาอยู่ที่ระดับ 2%


••

ผลิตภัณฑ และบร�การ

คําถามง ายๆ จากใจลูกค า ที่ไม มีใครเคยถาม

แ ต T M B ต อ บ ส น อ ง ด ว ย ผ ลิ ต ภั ณ ฑ แ ล ะ บ ร� ก า ร แบบ Make THE Difference

บัญชีเง�นฝากออมทรัพย

ทีเอ็มบี

ฟร�

ค าธรรมเนียม (TMB No Fee Savings Account)

บัตรเดบิต

ทีเอ็มบี

โน ลิมิต (TMB No Limit Debit Card)

บัญชีเง�นฝากประจํา

ทีเอ็มบี

อัพ แอนด อัพ (TMB Up & Up Term Deposit)

เรารู ว าในแต ละเดือนลูกค าต องเสียค าธรรมเนียมในการฝาก ถอน จ าย โอน ไม ใช น อย และความเคยชินที่ต องจ ายค าธรรมเนียมเหล านั้น ก็ทําให ไม เคยมี ใครเคยคิดถามว า ทําไมต องจ าย ? ทีเอ็มบี จ�งเลือกที่จะ Make THE Difference ด วยการตอบคําถามที่ ไม มีใครกล าเอ ยถึง ด วยบัญชี TMB No Fee เพ�่อช วยตัดค าธรรมเนียม และตัดคําถามว า ทําไม? จากใจลูกค าของเรา

ทําไมต องเสียค าธรรมเนียมในการกดเง�นของตัวเองด วยล ะ? เพ�ยงเพราะกดเง�นสดจากตู เอทีเอ็ม ต างธนาคาร ต างเขต เท านั้นหร�อ? ทีเอ็มบี ขอตอบคําถามนี้ด วยเหตุผลจากใจลูกค า ด วยบัตร TMB No Limit บัตรเดียวที่ไม ยอมให อะไรมาลิมิตชีว�ตลูกค า ไม ว าจะกดเง�นจากตู เอทีเอ็ม ของธนาคารใด เขตใดก็ตาม ก็ ไม ต องเสียค าธรรมเนียมอย างไร เหตุผล อีกต อไป

หลายๆ ครั้ง ลูกค าก็มีความจําเป นที่ต องถอนเง�นจากบัญชีเง�นฝากประจํา แต ทําไมเขาต องถูกลดดอกเบี้ยที่ควรได รับ หร�อบางครั้งถึงกับไม ได เลย ทีเอ็มบี เข าใจ และฉีกกฏบัญชีเง�นฝากประจํา แม ต องถอนก อน ดอกเบี้ย ก็ ไม ลด ถอนช วงไหนก็ ได ดอกเบี้ยช วงนั้น กับบัญชีเง�นฝากประจํา ทีเอ็มบี อัพ แอนด อัพ


บัตรเครดิต

ทีเอ็มบี

ทําไมถึงต องเสียดอกเบี้ยบัตรเครดิตสูงลิบ และค าธรรมเนียมสูงๆ ในการเบิกถอนเง�นสดผ านตู เอทีเอ็มทุกครั้ง เพ�ยงเพ�่อจะได คะแนนสะสม ที่เราไม เคยใช

(TMB So Chill Credit Card)

ทีเอ็มบี จ�งสร างสรรค บัตรเครดิตสําหรับคนฉลาดใช เง�น และมีอิสระใน การเลือกสิทธิประโยชน แบบชิลด ชิลด ด วย TMB So Chill บัตรเครดิต ใบเดียวที่ให ดอกเบี้ยต่ํา และไม มีค าธรรมเนียมการเบิกถอนเง�นสด

โซชิลล

บร�การ

บั ญ ชี เ ง�น เ ดื อ น ทีเอ็มบี

ทร� - ดี

(TMB 3D Salary)

สินเชื่อ

บัญชีเง�นเดือนเป นแค บัญชีแบนๆ ที่บร�ษัทบังคับให เป ด เพ�่อรอรับเง�นเดือน เข าและถอนออกเท านั้นหร�อ? ทีเอ็มบี ไม เชื่อว าเป นได แค นั้น เราจ�งสร างสรรค มิติให บัญชีเง�นเดือน ด วยสิทธิประโยชน และข อเสนอดีๆ มากมายจนสัมผัสได ช วยลูกค าประหยัด ค าธรรมเนียมในการทําธุรกรรมต างๆ และยังช วยเพ��มทางเลือกทางการเง�น ให ตรงกับไลฟ สไตล ของลูกค าที่สุด

3 เท าด วน

หากธุรกิจมีแนวโน มเจร�ญเติบโต เจ าของธุรกิจมั่นใจและทุ มเทเต็มที่ แต กลับหมดโอกาสขยายกิจการ เพราะหลักประกันน อยและทุนหมุนเว�ยนต่ํา แค นั้น จร�งๆ หร�อ?

(TMB 3X Express Credit)

แต ทีเอ็มบี เชื่อมั่นในศักยภาพของลูกค าเอสเอ็มอีของเรา จ�งสนับสนุน และให สินเชื่อสูงสุดถึง 3 เท าของมูลค าหลักประกัน ป ดป ญหารุงรัง เพ�่อเป ดโอกาสรุ งเร�องให ลูกค าธุรกิจได เติบโตเต็มกําลัง

ทีเอ็มบี เอสเอ็มอี

สินเชื่อ

ทีเอ็มบี

เคร�อข าย ธุรกิจการค า (TMB Supply Chain and Business Portal)

เมื่อขนาดธุรกิจใหญ ข�้น ธุรกรรมทางการเง�นมากข�้น ซัพพลายเออร รายเล็กรายน อยเป นร อยเจ า แปลว าต องทํางานยุ ง และ ยากข�้น เสมอไปหร�อเปล า? ทีเอ็มบี เข าใจและต องการช วยให การทํางานของลูกค าองค กรขนาดใหญ เหล านี้ง ายข�้น ด วย TMB Supply Chain and Business Portal ที่ถูก พัฒนาข�้นมาเพ�่อช วยอํานวยความสะดวก และทําให ธุรกรรมทางการเง�น ต างๆ ระหว างผู ซื้อและผู ขาย ดําเนินไปอย างมีประสิทธิภาพมากข�้น


• •

ความรับผิดชอบต่อสังคม

คำ�ถ า ม :

HOW DO WE PEOPLE TO M DIFFERENCE  เราจะจุดพลังผู้คน เพื่อเปลี่ยนให้สังคมดีขึ้นได้อย่างไร ?


EMPOWER MAKE THE DIFFERENCE ?


••

ความรับผิดชอบต อสังคม

คําต อ บ :

ม นุ ษ ย ทุ ก ค น มี พ ลั งใ น ตัวที่จะเปลี่ยนโลกให ดีข�้นได เพ�ยงแต เขาจะพบกุญแจเป ดข�มพลังในตัวเองมาใช ได หร�อไม ?

TMB มุ งสร างพลังและแรงบันดาลใจจากข างในคนเล็กๆ สู สังคมใหญ ข างนอก ด วยการปลดพันธนาการข อจํากัด อย างละเอียดอ อน รู จร�ง อีกทั้งต อยอดพลังบวก แห งจ�นตนาการ ด วยความรู และการฝ กฝน เพราะเมื่อเราจ�ดประกายให พลังในตัวเขา ลุกโชนข�้นได ความสว างนั้นก็จะเกิดข�้นในคน และ สังคมอย างแท จร�งและยั่งยืน


ป จ จ� บั น มี เ ย า ว ช น ร ว ม โ ค ร ง ก า ร

150 คน

ตั้งแต โครงการ "ไฟ ฟ า" เป ดตัวในเดือน เมษายน 2553 มีเยาวชนเข าร วมโครงการแล ว 150 คน และกําลังขยายจํานวนเพ��มข�้น

ผลสํารวจจาก ACNielsen ในป 2553 พบว า 99% ของผู ปกครองเห็นด วยกับโครงการ "ไฟ ฟ า" โดย 73% เห็นว ามีประโยชน อย างยิ�ง และ 27% เห็นว ามีประโยชน ต อเยาวชน


• •

ความรับผิดชอบต่อสังคม อาสาสมัครทีเอ็มบี เด็กๆ ไฟ ฟ้า และ คนในชุมชนร่วมกันเปลี่ยนกำ�แพงใหม่ ให้ชุมชนถวัลย์ศักดิ์


สนุกกับแรลลี่ “สามัคคีเก็บขยะ” ร่วมกันทำ�ความสะอาด ชุมชนอุทัยรัตน์ ถวัลย์ศักดิ์ และวัดไผ่ตัน

พนักงานทีเอ็มบีร่วมส่งเสริมโครงการ “ไฟ ฟ้า” ในงาน ไฟ ฟ้า เฟสติวัล

“ไฟ ฟ้า” จุดประกายสร้างสรรค์ผ่านกิจกรรมศิลปะและ ทักษะการดำ�รงชีวิต


36

|

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 3

คณะกรรมการธนาคาร

คณะกรรมการธนาคาร

07

05

09

12 10

04

01

06

02 01

11

08

นางเสาวนีย์ กมลบุตร

02

นายกฤษฎา อุทยานิน

08

ประธานกรรมการ

กรรมการ

03

07

กรรมการ

พลเอก ประยุทธ์​์ จันทร์โอชา นายวอน นิเจล ริกเตอร์ กรรมการ


คณะกรรมการธนาคาร

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

03 ดร.วิจิตร

04 นายฟิลลิป

05 นายอวิรุทธ์

06 นายวิลเล็ม

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

สุพินิจ

09 นายอมร

อัศวานันท์ กรรมการ

จี.เจ.อี.โอ. ดามัส

10 นายคริสโตเฟอร์

จอห์น คิง กรรมการ

วงศ์พุทธพิทักษ์

11 นายธารา

ธีรธนากร กรรมการ

|

เฟรดเดอริค นาเจล

12 นายบุญทักษ์

หวังเจริญ

กรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

37


38

|

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

ข้อมูลประวัติกรรมการ

นางเสาวนีย์ กมลบุตร อายุ 58 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% ประธานกรรมการธนาคาร คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - ปริญญาโท บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิจัยตลาดทุน (วตท.) - Senior Executive Program (Kellogg - ศศินทร์) - หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.39) - The Management Development Program, Wharton School - Director Certification Program, Role of the Compensation Committee, Role of the Chairman Program และ Financial Institutions Governance Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น พ.ค. 2553 - ปัจจุบัน กรรมการการประปาส่วนภูมิภาค ต.ค. 2552 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงการคลัง เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำากัด (มหาชน) พ.ย. 2551 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร สำานักงานความร่วมมือพัฒนา เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) (สพพ.) ต.ค. 2551 - ก.ย. 2552 ผู้ตรวจราชการกระทรวง (ผู้ตรวจราชการ 10) สำานักงานปลัดกระทรวงการคลัง 2547 - ต.ค. 2551 กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการกิจการ สัมพันธ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 2550 - ก.ย. 2551 ที่ปรึกษาด้านประสิทธิภาพ กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง 2550 - เม.ย. 2551 กรรมการตรวจสอบ บริษัท เคทีบี ลิสซิ่ง จำากัด 2548 - เม.ย. 2551 กรรมการ บริษัท เคทีบี ลิสซิ่ง จำากัด 2547 - มี.ค. 2550 รองอธิบดี กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 3


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำา กั ด ( ม ห า ช น )

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อายุ 57 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า - หลักสูตรเสนาธิการทหารบก โรงเรียนเสนาธิการทหารบก - หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น ต.ค. 2553 - ปัจจุบัน ผู้บัญชาการทหารบก ต.ค. 2552 - ก.ย. 2553 รองผู้บัญชาการทหารบก 2551 - 2552 เสนาธิการทหารบก 2550 - เม.ย. 2553 กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการ กำากับดูแลกิจการ บริษัท ไทยออยล์ จำากัด (มหาชน) 2549 - 2551 กรรมการอิสระ การไฟฟ้านครหลวง 2549 - 2551 แม่ทัพภาคที่ 1 กองทัพบก 2549 - 2551 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

|

39


40

|

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

ดร.วิจิตร สุพินิจ อายุ 69 ปี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ คุณวุฒิทางการศึกษา -- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัย รามคำ�แหง -- MA (Economics), Yale University, USA -- BA (Economics) (Honors), The University of Manchester, UK -- Southend College of Technology, UK -- หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร -- หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) -- Director Accreditation Program, Audit Committee Program และ Role of the Chairman Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทำ�งาน เม.ย. 2551 - ปัจจุบัน  ประธานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต) 2550 - ปัจจุบัน  คณบดี บัณฑิตวิทยาลัยบริหารธุรกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยสยาม 2549 - ปัจจุบัน  ประธานกรรมการ บริษัท จีสตีล จำ�กัด (มหาชน) 2549 - ปัจจุบัน  ที่ปรึกษา สมาคมไทย-ลาว เพื่อมิตรภาพ 2548 - ปัจจุบัน  กรรมการ มูลนิธิกองทุนเพื่อการพัฒนาตลาดทุน 2541 - ปัจจุบัน  กรรมการ สถาบันนโยบายสังคมและเศรษฐกิจ (ISEP) 2536 - ปัจจุบัน  กรรมการ มูลนิธิวัดแก้วพิจิตร ปราจีนบุรี 2533 - ปัจจุบัน  กรรมการ มูลนิธิป๋วย อึ้งภากรณ์ 2549 - 2550  ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำ�กัด 2548 - 2550  ประธานกรรมการ มูลนิธิตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2547 - 2550  ประธานกรรมการ บริษัท ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 2546 - 2550  ประธานกรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน กระทรวงการคลัง 2546 - 2550  ประธานกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2546 - 2550  ประธานกรรมการ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 2546 - 2550  ประธานกรรมการ เซทเทรด ดอทคอม จำ�กัด 2546 - 2550  ประธานกรรมการ บริษัท แฟมิลี่โนฮาว จำ�กัด 2546 - 2550  กรรมการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ 2546 - 2549  กรรมการ คณะกรรมการกำ�กับนโยบายด้านรัฐวิสาหกิจ 2546 - 2549  กรรมการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2536 - 2539  ประธานกรรมการ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำ�เข้าแห่งประเทศไทย 2536 - 2539  ผู้ว่าการและประธานกรรมการ ธนาคารแห่งประเทศไทย

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำา กั ด ( ม ห า ช น )

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

นายฟิลิป จี.เจ.อี.โอ. ดามัส อายุ 60 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0.0028% กรรมการธนาคาร ประธานกรรมการบริหาร กรรมการสรรหา กำาหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - MBA (Accounting & International Finance), Columbia University, New York, USA - Military Service, Belgian Army - Advanced Automatics, Ecole Nationale de l’Aéronautique et de l’Espace, Toulouse, France - Ingénieur Civil Electricien Mécanicien, Université Libre de Bruxelles, Brussels, Belgium - Directors Refresher Program, ING Vysya Bank Ltd. (India) ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น มี.ค.2554 - ปัจจุบัน Independent director, METROCOM Bank in Kazakhstan 2549 - ปัจจุบัน Vice Chairman of the Board, ING Vysya Bank Ltd. (India) ต.ค. 2549 - ปัจจุบัน Director, ING Mauritius 2544 - ม.ค. 2553 Director, ING Asia Private Bank (Singapore) พ.ย. 2551 - พ.ย. 2552 CEO, Retail and Banking Asia, ING Group (Singapore) 2548 - 2551 CEO, Retail Banking Asia, Global Private Banking & ING Trust, ING Group (Singapore)

|

41


42

|

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 3

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ อายุ 62 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร ประธานกรรมการสรรหา กำาหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - MBA, New York University, USA - ปริญญาตรี บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Director Certification Program และหลักสูตรบทบาท คณะกรรมการในการกำาหนดนโยบายค่าตอบแทน สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น ส.ค. 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำากัด มี.ค. 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ มาร์เก็ตติ้ง จำากัด ส.ค. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำากัด 2551 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา สำานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไชน่าทาวน์ คอมมิวนิตี้ ดีเวลอปเมนท์ จำากัด 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท สยามไพโอเนียร์เธอราพิวติกส์ จำากัด 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท วังลดาวัลย์ จำากัด 2549 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท ปูนซิเมนต์ ไทย จำากัด (มหาชน) 2549 - ปัจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำากัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำากัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำากัด 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท วังสินทรัพย์ จำากัด 2538 - ปัจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท เทเวศประกันภัย จำากัด (มหาชน) 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท นว 84 จำากัด 2546 - ก.ค. 2552 กรรมการบริหาร บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำากัด 2550 - มิ.ย. 2552 ประธานกรรมการ บริษัท หินอ่อน จำากัด 2549 - 2552 ผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการกองทุน และคณะ กรรมการจัดการลงทุน กองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ 2550 - 2551 กรรมการ บริษัทการบินไทย จำากัด (มหาชน) 2548 - 2551 ผู้ช่วยผู้อำานวยการ สำานักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์ 2544 - 2551 ประธานกรรมการ บริษัท ไอทีวัน จำากัด


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำา กั ด ( ม ห า ช น )

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

|

43

นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล อายุ 54 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสินเชื่อ คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - Master of Economics, University of Amsterdam, Netherlands - Bachelor Degree, University of Amsterdam, Netherlands - Corporate Governance, Indian Institute of Management Centre for Corporate Governance & Citizenship ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น ม.ค. 2551 - ปัจจุบัน CEO & Board Member, ING Bank A.S. (Turkey) 2549 - ปัจจุบัน Commissioner, PT ING Securities Indonesia มี.ค. 2551 - ม.ค. 2553 Chairman, ING Asia Private Bank Ltd. (Singapore) 2548 - ม.ค. 2553 Director and Chairman of Risk Manangement Review Committee, ING Vysya Bank Ltd. (India) 2548 - ม.ค. 2553 Director, ING Asia Private Bank Ltd. (Singapore) 2548 - ธ.ค. 2552 CEO & Head of Wholesale Banking, Asia, ING Bank N.V. (Singapore)


44

|

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

นายกฤษฎา อุทยานิน อายุ 51 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร ประธานกรรมการสินเชื่อ กรรมการบริหาร กรรมการสรรหา กำาหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - MSc. (Fiscal Studies), University of Bath, UK - เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย - หลักสูตรวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร - Executive Program, Kellogg School of Management, USA - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบัน วิทยาการตลาดทุน (วตท.) - Director Certification Program, Director Accreditation Program และ Role of the Compensation Committee สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น เม.ย.2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ข้อมูล เครดิตแห่งชาติ จำากัด 2550 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บรรษัท ตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย 2550 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการเงิน (เศรษฐกรผู้ทรงคุณวุฒิ) สำานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 2548 - ธ.ค. 2552 กรรมการ ธนาคารสินเอเซีย จำากัด (มหาชน) 2548 - มี.ค. 2552 ที่ปรึกษา บริษัท ข้อมูล เครดิตแห่งชาติ จำากัด 2548 - 2550 รองผู้อำานวยการ สำานักงาน เศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 3


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

|

45

นายวอน นิเจล ริกเตอร์ อายุ 55 ปี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร กรรมการบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา -- BA (Honors) First Class (Business Studies), London Southbank, UK -- Corporate Finance Diploma, London Business School, UK -- General Management Program Cedep and Management in International Banking Cedep, Insead, Fountainbleu, France -- Directors Colloquium on Corporate Governance, International Financial Reporting Standards (IFRS) and its implications on Indian Banking Sector and Director's Liabilities and Competition Law from ING Vysya Bank India -- Legal Developments in Corporate Governance, Accounting and Finance Developments, Developments in Directors and Officers, Insurance and Regulator Update - APRA from ING Direct Australia ประสบการณ์การทำ�งาน ก.พ. 2553 - ปัจจุบัน  Non Executive Director, Member of Audit Committee and Risk Committee, ING Bank (Australia) Ltd. ม.ค. 2553 - ปัจจุบัน  CEO, ING Banking Asia ก.ย. 2552 - ปัจจุบัน  Member of Corporate Governance Committee, Member of Board Credit Committee, Chairman of Risk Management and Review Committee, ING Vysya Bank Ltd. (India) มิ.ย. 2552 - ปัจจุบัน  Non Executive Director, ING Vysya Bank Ltd. (India) 2540 - ปัจจุบัน  Member of Leadership Council, ING Group N.V. ก.พ. 2549 - เม.ย. 2552  Managing Director & CEO, ING Vysya Bank Ltd. (India) 2540 - ก.พ. 2549  Chief Executive, ING Bank (Australia) Ltd.

นายอมร อัศวานันท์ อายุ 62 ปี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร กรรมการบริหาร กรรมการสินเชื่อ กรรมการบริหารความเสี่ยง คุณวุฒิทางการศึกษา -- MBA, Bowling Green State University, Ohio, USA -- ปริญญาตรี บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- Stanford-NUS Executive Program, Stanford University ร่วมกับ National University of Singapore -- Changing Organizational Behavior Program, Wharton School, University of Pennsylvania, USA -- Director Accreditation Program และ CEO Performance Evaluation สถาบัน ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทำ�งาน มิ.ย. 2552 - ปัจจุบัน  กรรมการ คณะกรรมการร่างแผนพัฒนาสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ กระทรวงการคลัง (ปี 2552 - 2556) มี.ค. 2549 - ปัจจุบัน  กรรมการตรวจสอบ บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จำ�กัด (มหาชน) 2548 - ปัจจุบัน  กรรมการอิสระ บริษัท กรุงเทพ โสภณ จำ�กัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน  กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน  ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ประชาอาภรณ์ จำ�กัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน  กรรมการตรวจสอบ บริษัท ฟาร์อีสท์ ดีดีบี จำ�กัด (มหาชน) 2531 - ปัจจุบัน  กรรมการอิสระ บริษัท บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร์ จำ�กัด 2546 - มี.ค.2549  ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จำ�กัด (มหาชน)


46

|

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 3

นายธารา ธีรธนากร อายุ 54 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ

นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง อายุ 66 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคาร กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา กำาหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล กรรมการอิสระ คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - Bachelor of Laws (LL.B) (Honors), University of Bristol, UK - Postgraduate Practical Certificate in Law, University of Singapore - Director Certification Program สถาบันส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น มิ.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท คิงฟิชเชอร์โฮลดิ้งส์ จำากัด มิ.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เซ้าท์อีสต์เอเชี่ยนแพคเกจจิ่งแอนด์ แคนนิ่ง จำากัด มิ.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โอเชียนนิคแคนเนอรี่ จำากัด มิ.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เคเอฟฟู้ดส์ จำากัด 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ซิงเกอร์ ประเทศไทย จำากัด (มหาชน) 2535 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ทิวาธาร จำากัด

คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - ปริญญาโท บริหารการจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ - M.S. (Chemical Engineering), Stanford University, USA - ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเหรียญทอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) - หลักสูตรโครงการพัฒนาผู้นำาระดับสากล, Harvard Business School, USA - Director Accreditation Program และ Director Certification Program สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ มูลนิธิเพื่อสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ม.ค.2553 - มิ.ย.2553 กรรมการ ด้านสำารวจและผลิตปิโตรเลียม สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย 2551 - มิ.ย.2553 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เชฟรอน ปิโตรเลียม (ประเทศไทย) จำากัด 2551 - มิ.ย.2553 กรรมการ บริษัท เชฟรอน อิเล็คทริคซิตี้ (ประเทศไทย) จำากัด 2550 - มิ.ย.2553 กรรมการ บริษัท เชฟรอน เอ็นเนอร์จี ดิเวลลอปเม้นท์ (ประเทศไทย) จำากัด 2549 - มิ.ย.2553 กรรมการ บริษัท ไตร เอนเนอจี้ จำากัด 2549 - มิ.ย.2553 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เชฟรอนปัตตานี จำากัด 2549 - มิ.ย.2553 รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท เชฟรอนเอเซียเซาท์ จำากัด 2549 - มิ.ย.2553 คณะกรรมการสภาที่ปรึกษา สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย 2549 - มิ.ย.2553 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เชฟรอนออฟชอร์ ประเทศไทย จำากัด 2549 - มิ.ย.2553 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เชฟรอน บล็อค บี 8/32 (ประเทศไทย) จำากัด 2548 - มิ.ย.2553 กรรมการ บริษัท เชฟรอนออฟชอร์ ประเทศไทย จำากัด 2548 - มิ.ย.2553 กรรมการ บริษัท เชฟรอนบล็อค บี 8/32 (ประเทศไทย) จำากัด 2548 - มิ.ย.2553 สมาชิก คณะกรรมการบริหาร เชฟรอน คอร์ปอเรชั่น สหรัฐอเมริกา 2548 - มิ.ย.2553 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำารวจ และผลิต จำากัด 2548 - มิ.ย.2553 กรรมการ บริษัท บี 8/32 พาร์ทเนอร์ จำากัด 2547 - มิ.ย.2553 คณะกรรมการสภาที่ปรึกษา สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 - มิ.ย.2553 คณะกรรมการอำานวยการ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย 2541 - มิ.ย.2553 กรรมการ บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำารวจและผลิต จำากัด 2551 - ธ.ค.2552 ประธานกรรมการ ด้านสำารวจและผลิตปิโตรเลียม สถาบัน ปิโตรเลียม แห่งประเทศไทย 2549 - มิ.ย.2552 รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท เชฟรอน นิวเวนเจอร์ (ประเทศไทย) จำากัด (เลิกกิจการ)


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำา กั ด ( ม ห า ช น )

ข้ อ มูล ป ร ะ วั ติ ก ร ร ม ก า ร

|

47

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ อายุ 54 ป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 0% กรรมการธนาคารและประธาน เจ้​้าหน้าที่บริหาร กรรมการบริหาร กรรมการสินเชื่อ กรรมการบริหารความเสี่ยง คุณวุฒิท�งก�รศึกษ� - MBA (Finance and International Business), New York University, USA - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรม เคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Director Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ประสบก�รณ์ก�รทำ�ง�น ก.ค. 2551 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารทหารไทย จำากัด (มหาชน) 2525 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เบญจบุญเอ็นเตอร์ ไพรส์ จำากัด 2542 - 2550 รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคาร กสิกรไทย จำากัด (มหาชน)


48

|

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3

ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

06

04

07 01

01 นายบุญทักษ์

05

02

หวังเจริญ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

03

05 นายปิติ

ตัณฑเกษม

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธุรกิจขนาดใหญ่

04 นายมิฮาล

ยาน ซูเรค

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ลูกค้ารายย่อย

02 นายบาร์ท

เอฟ.เอ็ม. เฮลเลแมนส์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านบริหารความเสี่ยง

06 นายสยาม

ประสิทธิศิริกุล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม

03 นายไซมอน

แพทริค แอนดรูวส์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านปฏิบัติการ

07 นายถนอมศักดิ์

โชติกประกาย

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านการเงิน


ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ� กั ด ( ม ห า ช น )

|

49

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

นายบาร์ท เอฟ.เอ็ม. เฮลเลแมนส์

นายไซมอน แพทริค แอนดรูวส์

นายมิฮาล ยาน ซูเรค

กรรมการธนาคาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสินเชื่อ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านบริหารความเสี่ยง อายุ 55 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านปฏิบัติการ อายุ 45 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ลูกค้ารายย่อย อายุ 39 ปี

คุณวุฒิทางการศึกษา -- Bachelor in Applied Economics, Catholic University of Leuven, Belgium

คุณวุฒิทางการศึกษา -- MBA in Banking and Finance, University of Technology, Sydney, AUS.

ประสบการณ์ทำ�งาน 2551 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2542 – 2550 รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทำ�งาน 2551 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารด้านบริหารความเสี่ยง ธนาคาร ทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2548 – 2551 Managing Director, Head Credit Capitals, ING Bank, Amsterdam, The Natherlands 2546 – 2548 Managing Director, ING Vysya Bank Ltd. 2542 – 2545 Deputy Managing Director and BBL representative, The Vysya Bank Ltd.

ประสบการณ์ทำ�งาน 2552 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารด้านปฏิบัติการ ธนาคาร ทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2548 – 2552 Risk Director, ING DIRECT (UK) 2537 – 2548 Head of Direct Sales and Operations, ING DIRECT (Australia)

คุณวุฒิทางการศึกษา -- Master of Science, Economic Sciences, University of Warsaw and Columbia University, Poland

นายปิติ ตัณฑเกษม

นายสยาม ประสิทธิศิริกุล

นายถนอมศักดิ์ โชติกประกาย

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธุรกิจขนาดใหญ่ อายุ 40 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม อายุ 41 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านการเงิน อายุ 47 ปี

(แต่งตั้ง 14 กรกฎาคม 2551)

อายุ 54 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา -- ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ค -- ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

คุณวุฒิทางการศึกษา คุณวุฒิทางการศึกษา -- ปริญญาเอก Strategic -- ปริญญาโท Finance, The Management, Bangkok University Peter F. Drucker Center, The and The University of Nebraska, Claremont Graduate School, Thailand, Lincoln, NE, USA. California, USA ประสบการณ์ทำ�งาน 2551 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารธุรกิจขนาดใหญ่ ธนาคาร ทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2550 – 2551 First Senior Vice President, Segment Head of Large Corporate Clients at Kasikorn Bank Pcl

ประสบการณ์ทำ�งาน 2551 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2550 – 2551 First Vice President, Head of Supply Chain Financing and Head of Cash Management Department at Kasikorn Bank Pcl

คุณวุฒิทางการศึกษา -- Master of Business Administration, University of Eastern Michigan, USA. ประสบการณ์ทำ�งาน 2552 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารด้านการเงิน ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2539 – 2552 Director & Chief Financial Officer, Standard Chartered Bank (Thai) 2534 – 2539 Business Planning & Analysis Manager, American Express (Thai) Co.,Ltd. 2532 – 2534 Manager, J. Film Process Co., Ltd.

ประสบการณ์ทำ�งาน 2552 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารลูกค้ารายย่อย ธนาคาร ทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2547 – 2552 Vice President of the Management Board, ING Bank Slaski 2541 – 2552 Vice President of the Management Board, ING Nationale-Nederlanden Poland Life Insurance Company


50

|

ที ม ง า น ผู บ ร� ห า ร

ทีมงานผู บร�หาร

สายงาน CEO ยืนจากซ ายไปขวา

ภารไดย ธีระธาดา สายงานสื่อสารและภาพลักษณ องค กร ดร.เอกพล ณ สงขลา สายงานกลยุทธ องค กร พ�ระ ชินวรรณบุตร สายงานตรวจสอบ ม.ล.อยุทธ ไชยันต สายงานบรรษัทภิบาล นั่ง

บุญทักษ หวังเจร�ญ ประธานเจ าหน าที่บร�หาร

บร�หารด านการเง�น จากซ ายไปขวา

แวววลัย วัฒนา สายงานควบคุมทางการเง�น ถนอมศักดิ์ โชติกประกาย ประธานเจ าหน าที่บร�หารด านการเง�น อภิรดี ล่ําซํา สายงานบร�หารเง�น อาว�วรรณ ตั้งตรงจ�ตร สายงานวางแผนและว�เคราะห การเง�น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ํา ป 2 5 5 3


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ํา กั ด ( ม ห า ช น )

บร�หารด านปฏิบัติการ ยืนจากซ ายไปขวา

สายพ�น กิตติพรพ�มล สายงานเทคโนโลยี Jean-Pierre Nelissen บร�หารโครงการและกระบวนการธนาคาร มนตร� ถิรศักดิ์ธนา ระบบสารสนเทศเพ�่อการบร�หารจัดการ นั่งจากซ ายไปขวา

ชมภูนุช ปฐมพร สายงานบร�การส วนกลาง Simon Patrick Andrews ประธานเจ าหน าที่บร�หารด านปฏิบัติการ

บร�หารด านบร�หารความเสี่ยง จากซ ายไปขวา

ว�ภาพร เตชะไมตร�จ�ตต สายงานว�เคาระห ความเสี่ยงและนโยบาย ม.ล.ศิร�วรรณ เกษมสันต สายงานกํากับการปฏิบัติงาน จามร� อนันต ณัฐศิร� สอบทานสินเชื่อ Bart Hellemans ประธานเจ าหน าที่บร�หารด านบร�หารความเสี่ยง Martin Alan Searle สายงานสินเชื่อธุรกิจรายย อยและเอสเอ็มอี สุรเกียรติ วงศ วาสิน สายงานบร�หารความเสี่ยงด านปฏิบัติการ Fabienne Leone Louise Marie Libert สายงานบร�หารความเสี่ยงสินเชื่อเชิงกลยุทธ อุทุมพร คุณากร สายงานสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ และพัฒนา สินทรัพย สมศักดิ์ วรว�จักษณ สายงานกฏหมาย อรนุช ตันติเมธ สายงานบร�หารความเสี่ยงด านตลาด

ที ม ง า น ผู บ ร� ห า ร

|

51


52

|

ที ม ง า น ผู บ ร� ห า ร

บร�หารลูกค ารายย อย จากซ ายไปขวา

อูรชา พงษ วัฒนา สายงานธุรกิจสินเชื่อไม มีหลักประกัน ประดิษฐ เลี่ยวศิร�กุล สายงานธุรกิจสาขา Willem Feyo Alexander Baron Van Heemstra สายงานธุรกิจสินเชื่อมีหลักประกัน กมลวรรณ อิ�มฤทัยเจร�ญโชค ธุรกิจหลักประกัน กาญจนา โรจวทัญู สายงานส งเสร�มการตลาดลูกค ารายย อย Michal Szczurek ประธานเจ าหน าที่บร�หารลูกค ารายย อย ลือชา ศุกรเสพย สายงานบร�หารช องทางบร�การ Tamara Van Den Ban สายงานผลิตภัณฑ เง�นฝากและการชําระเง�น

บร�หารธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย อม ยืนจากซ ายไปขวา

ปณิชา บุรพรัตน บร�หารธุรกิจสายงานลูกค าเอสเอ็มอี ป ติ กระแสเศียร สายงานธุรกิจลูกค าเอสเอ็มอีขนาดกลาง ปพนธ มังคละธนะกุล สายงานธุรกิจลูกค าเอสเอ็มอีขนาดเล็ก พงษ ศักดิ์ ตัณฑ ไพโรจน สินเชื่อเคร�อข ายธุรกิจการค า นั่ง

สยาม ประสิทธิศิร�กุล ประธานเจ าหน าที่บร�หารธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย อม

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ํา ป 2 5 5 3


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ํา กั ด ( ม ห า ช น )

บร�หารธุรกิจขนาดใหญ ยืนจากซ ายไปขวา

วัลลภา โปษยานนท สายงานบร�หารความสัมพันธ ลูกค าธุรกิจ ขนาดใหญ ศรัณย ภู พัฒน สายงานธุรกิจตลาดเง�น ศักดิ์ดา พงศ เจร�ญยง สายงานบร�หารความสัมพันธ ลูกค าธุรกิจ ขนาดใหญ เชาวพัฒน เลิศวงศ เสถียร การตลาดธุรกิจขนาดใหญ พัชนี ว องศิลป วัฒนา สายงานธุรกรรมทางการเง�น นั่งจากซ ายไปขวา

Sandra Yiu

สายงานผลิตภัณฑ ธุรกรรมสินเชื่อ

โสภณ กล วยไม ณ อยุธยา สายงานบร�หารความสัมพันธ ลูกค าธุรกิจทหาร ว�กรานต ปวโรจน กิจ สายงานบร�หารความสัมพันธ ลูกค าธุรกิจ ขนาดใหญ ดร.ป ติ ตัณฑเกษม ประธานเจ าหน าที่บร�หารธุรกิจขนาดใหญ

ที ม ง า น ผู บ ร� ห า ร

|

53


54

|

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 3

โ ค ร ง ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร

โครงสร้างองค์กร

คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการสรรหา กำหนดค าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

คณะกรรมการสินเชื่อ ประธานเจ าหน าที่บร�หาร

ประธานเจ าหน าที่บร�หาร ลูกค ารายย อย

ประธานเจ าหน าที่บร�หาร ธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย อม

ประธานเจ าหน าที่บร�หาร ธุรกิจขนาดใหญ

สายงานธุรกิจสาขา

สายงานธุรกิจลูกค า เอสเอ็มอี ขนาดกลาง

สายงานบร�หาร ความสัมพันธ ลูกค าธุรกิจขนาดใหญ 1

สายงาน กลยุทธ องค กร

สายงานบร�หาร ความสัมพันธ ลูกค าธุรกิจขนาดใหญ 2

สายงาน ทรัพยากรบุคคล

สายงานส งเสร�มการตลาด ลูกค ารายย อย สายงานธนบดีธนกิจ สายงานบร�หารช อง ทางการบร�การ สายงานธุรกิจสินเชื่อ ไม มีหลักประกัน สายงานธุรกิจสินเชื่อ มีหลักประกัน สายงานผลิตภัณฑ เง�นฝาก และการชำระเง�น บร�หาร Direct Business วางแผนธุรกิจและ ว�เคราะห ข อมูล

สายงานธุรกิจลูกค า เอสเอ็มอี ขนาดเล็ก บร�หารผลการดำเนินการ และบร�การลูกค าเอสเอ็มอี สินเชื่อเคร�อข าย ธุรกิจการค า

สายงานบร�หาร ความสัมพันธ ลูกค าธุรกิจทหาร สายงานผลิตภัณฑ ธุรกรรมสินเชื่อ 1 สายงานผลิตภัณฑ ธุรกรรมสินเชื่อ 2 สายงานธุรกรรม ทางการเง�น สายงานธุรกิจตลาดเง�น ผลิตภัณฑ สินเชื่อธุรกิจ การตลาดธุรกิจขนาดใหญ บร�หารธุรกิจสายงานลูกค า ธุรกิจขนาดใหญ

สายงาน บรรษัทภิบาล สายงานสื่อสารและ ภาพลักษณ องค กร


โ ค ร ง ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำา กั ด ( ม ห า ช น )

คณะกรรมการบร�หาร

คณะกรรมการบร�หารความเสี่ยง

|

คณะกรรมการตรวจสอบ สายงานตรวจสอบ

ประธานเจ าหน าที่บร�หาร ด านบร�หารความเสี่ยง

ประธานเจ าหน าที่บร�หาร ด านการเง�น

ประธานเจ าหน าที่บร�หาร ด านปฏิบัติการ

สายงานสินเชื่อธุรกิจ ขนาดใหญ และ พัฒนาสินทรัพย

สายงานควบคุมทางการเง�น

สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

สายงานวางแผนและ ว�เคราะห ทางการเง�น

สายงานปฏิบัติการ และการบร�การ

สายงานบร�หารเง�น

สายงานบร�การส วนกลาง

พัฒนาระบบวัดผล การดำเนินงาน

ระบบสารสนเทศ เพ�่อการบร�หารจัดการ

สายงานสินเชื่อธุรกิจ รายย อยและเอสเอ็มอี สายงานบร�หารความเสี่ยง ด านตลาด สายงานบร�หารความเสี่ยง ด านปฏิบัติการ สายงานว�เคราะห ความเสี่ยง และนโยบาย สายงานบร�หารความเสี่ยง สินเชื่อเชิงกลยุทธ สายงานกำกับ การปฏิบัติงาน สายงานกฎหมาย สอบทานสินเชื่อ ว�เคราะห ความเสี่ยงมหภาค

บร�หารโครงการและ กระบวนการธนาคาร

55


56

|

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ป   2 5 5 3

ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ธ น า ค า ร พ า ณิ ช ย ์ ข อ ง ไ ท ย

ภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ของไทย ภาวะเศรษฐกิจปี 2553 เศรษฐกิจไทย ปี 2553 สามารถพลิกฟื้นจากการหดตัวในปีก่อนหน้ากลับ มาขยายตัวอย่างแข็งแกร่งที่ร้อยละ 7.8 โดยแรงขับเคลื่อนหลักมาจากภาค การส่งออกที่ขยายตัวในอัตราสูงตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียและประเทศตลาดเกิดใหม่ ประกอบกับ การบริ โ ภคและการลงทุ น ภาคเอกชนขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งชั ด เจนตาม ความเชื่ อ มั่ น ที่ ป รั บ สู ง ขึ้ น ภายหลั ง เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบทางการเมื อ ง คลี่ ค ลายลง ทั้ ง หมดนี้ นำ � ไปสู่ ก ารขยายกำ � ลั ง การผลิ ต ในหลายสาขา อุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมส่งออก เพื่อรองรับความต้องการ ที่สูงขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก สอดคล้องกับการได้รับปัจจัย หนุนจากอัตราดอกเบี้ยที่ยังอยู่ในระดับต่ำ� แม้ว่าจะเริ่มเข้าสู่วงจรขึ้นตาม แรงกดดันของเงินเฟ้อก็ตาม ในขณะที่การแข็งค่าของเงินบาท ยังคงเป็นไป ตามทิศทางค่าเงินในภูมิภาค และยังไม่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกในปีนี้ อย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ รวมถึ ง ปั ญ หาอุ ท กภั ย ที่ ค รอบคลุ ม หลายพื้ น ที่ ส่ ง ผล กระทบต่อเศรษฐกิจในวงจำ�กัดเท่านั้น

แนวโน้มเศรษฐกิจในปี 2554 การขยายตัวอย่างแข็งแกร่งของเศรษฐกิจไทยในปี 2553 จะเป็นแรงส่งที่สำ�คัญ ทำ�ให้เศรษฐกิจในปี 2554 มีแนวโน้มเติบโตได้ต่อเนื่อง แต่จะเป็นไปในอัตรา ชะลอลงที่ร้อยละ 3.6 โดยแรงขับเคลื่อนหลักที่สำ�คัญมาจากการบริโภคและ การลงทุนที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง จากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและ สภาพแวดล้อมการลงทุนที่ปรับตัวดีขึ้น รวมทั้งมาตรการลดค่าครองชีพ ผ่านโครงการประชาวิวัฒน์ของภาครัฐ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีแนว โน้มขยายตัวมากขึ้นเพื่อรองรับการเลือกตั้งที่คาดว่าจะมีขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง

ในขณะที่ ภ าคการส่ ง ออกมี แ นวโน้ ม ขยายตั ว แต่ จ ะแผ่ ว ลงตามทิ ศ ทาง เศรษฐกิจและการค้าโลกที่คาดว่าจะอยู่ในทิศทางชะลอตัวเข้าสู่สภาวะปรกติ จากการที่ ภ าวะเศรษฐกิ จ ประเทศหลั ก โดยเฉพาะสหรั ฐ ฯ ฟื้ น ตั ว อย่ า ง เปราะบาง และวิกฤติหนี้สาธารณะของกลุ่มสหภาพยุโรป มีแนวโน้มขยาย วงกว้ า งมากขึ้ น รวมทั้ ง ได้ รั บ ผลกระทบจากเงิ น บาทที่ มี แ นวโน้ ม แข็ ง ค่ า อย่างต่อเนื่อง อันเกิดจากความไม่สมดุลของเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลให้มีเงินทุนไหลเข้าในภูมิภาคเอเชียรวมถึง ไทยมากขึ้น โดยคาดว่าอัตราแลกเปลี่ยนจะเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 30-28.50 บาทต่ อ ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯขณะที่ ร าคาน้ำ� มั น ในตลาดโลกและราคาพื ช ผล ที่มีแนวโน้มปรับสูงขึ้น รวมทั้งการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำ�ทั่วประเทศ จะทำ�ให้ แรงกดดันด้านอัตราเงินเฟ้อเพิ่มสูงขึ้น โดยคาดว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน จะอยู่ที่ร้อยละ 2-3 -ผลกระทบดังกล่าวทำ�ให้ดอกเบี้ยนโยบายมีแนวโน้ม ปรับสูงขึ้นจากร้อยละ 2.00 เป็นร้อยละ 3.00-3.25 ณ สิ้นปี

ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ในปี 2553 ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ในประเทศปี 2553 ขยายตัวจากสิ้นปี 2552 โดย สินทรัพย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 13 เป็น 11.7 ล้านล้านบาท ส่วนสินเชื่อ และเงินฝาก สูงขึ้นร้อยละ 11 และ 5 สู่ 7.4 ล้านล้านบาทเท่าๆกัน สอดคล้องกับเศรษฐกิจ ที่มีการขยายตัวอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง อย่างไรก็ดี แม้ว่าสินเชื่อจะเร่งตัว มากกว่ า เงิ น ฝาก และทำ � ให้ อั ต ราส่ ว นสิ น เชื่ อ ต่ อ เงิ น ฝากโดยเฉลี่ ย สู ง ขึ้ น เป็นร้อยละ 98 แต่สภาพคล่องในระบบเฉลี่ยทั้งปียังอยู่ที่ 1.2 ล้านล้าน บาท ใกล้เคียงกันกับปีก่อนหน้า เนื่องจากธนาคารพาณิชย์มีช่องทางระดม เงินฝากจากการกู้ยืมผ่านตั๋วแลกเงินและหุ้นกู้มากขึ้น ทำ�ให้อัตราส่วนสินเชื่อ ต่อเงินฝากรวมเงินกู้ยืม อยู่ในระดับเฉลี่ยเพียงร้อยละ 83.8 สำ�หรับเงิน กองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง สูงขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 16.2 สินเชื่อบุคคลธรรมดาซึ่งคิดเป็นร้อยละ 24 ของสินเชื่อรวม ขยายตัวจาก สิ้นปีก่อนเกือบร้อยละ 18.3 ขณะที่สินเชื่อ SME และ สินเชื่อธุรกิจขนาด ใหญ่ ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 33 และ 43 เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.6 และ 10.8 ตาม ลำ�ดับ ทั้งนี้ หากพิจารณาการเติบโตของสินเชื่อตามธุรกิจหลัก พบว่า สินเชื่อ ก่อสร้างและการผลิตเติบโตประมาณร้อยละ 6 สินเชื่อภาคบริการได้แก่ ขนส่งและโรงแรมเติบโตร้อยละ 4 ขณะที่สินเชื่อค้าส่งค้าปลีกและ สินเชื่อเกษตร เติบโตร้อยละ 10 และ 12 ตามลำ�ดับ สำ�หรับสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์ยัง หดตัวร้อยละ 3 ด้านสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ณ สิ้นปี 2553 ลดลงกว่า 6 หมื่นล้านบาท จากสิ้นปี 2552 เช่นเดียวกับ Gross NPL ratio ที่ลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 3.57 ธุรกิจทีม่ ี NPL ratio อยูใ่ นระดับสูงร้อยละ 10 คือ ก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ส่วนภาคการผลิตและค้าส่งค้าปลีก มี NPL ratio ร้อยละ 8 และ 5 ตามลำดับ ขณะที่ NPL ratio ของสินเชื่อภาคบริการและเกษตร อยู่ที่ร้อยละ 7 และ 8 (ข้อมูล ณ สิ้นกันยายน 53) ผลการดำเนินงานในปี 2553 สามารถทำกำไรสุทธิได้ถึง 123,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันกับปีก่อนร้อยละ 33 โดยรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล สุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 9 ส่วนรายได้จากค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 สำหรับ อัตราดอกเบี้ยสุทธิเฉลี่ย (Net Interest Margin - NIM) ทำได้ในระดับร้อยละ 3.10 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2552 ที่ร้อยละ 3.08 ซึ่งเป็นผลจากดอกเบี้ยที่ เริ่มปรับขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ตามอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่เปลี่ยนแปลง จากร้อยละ 1.25 ที่คงตัวมาตั้งแต่เดือนเมษายนปี 2552 จนถึงเดือนมิถุนายน 2553 เป็นร้อยละ 1.75 ณ สิ้นไตรมาสสาม และ ร้อยละ 2.00 ณ สิ้นปี

ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ธ น า ค า ร พ า ณิ ช ย ์ ข อ ง ไ ท ย

|

57


58

|

ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ธ น า ค า ร พ า ณิ ช ย ์ ข อ ง ไ ท ย

แนวโน้มธุรกิจธนาคารพาณิชย์ปี 2554 ในปี 2554 มีบริบทสำคัญๆ ที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจธนาคารพาณิชย์ คือ 1. การคุ้ ม ครองเงิ น ฝากตามพระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครองเงิ น ฝาก จะเริ่ ม กำหนดเพดานการคุ้มครองขั้นสูงสุดที่ 50 ล้านบาท ต่อรายต่อธนาคาร ตั้งแต่ 11 สิงหาคม 2554 จนถึง 10 สิงหาคม 2555 (โดยหลังจากนั้น จะคุ้มครองเงินฝากสูงสุด ไม่เกิน 1 ล้านบาทต่อรายต่อธนาคาร) จาก ข้อมูลที่แสดงว่า บัญชีเงินฝากที่มากกว่า 50 ล้านบาท กระจุกตัวอยู่ใน ธนาคารขนาดใหญ่ประมาณร้อยละ 66 โดยอีกร้อยละ 24 และ 10 เป็นของธนาคารขนาดกลางและเล็ก ตามลำดับ ซึ่งสัดส่วนดังกล่าวนี้ น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไป โดยลูกค้าธนาคารขนาดใหญ่น่าจะกระจาย เงิ น ไปยั ง ธนาคารขนาดเล็ ก และกลางมากขึ้ น ซึ่ ง อาจทำให้ ธ นาคาร ขนาดใหญ่ต้องดำเนินกลยุทธ์เรียกเงินฝากรายย่อยมากขึ้น เพื่อรักษา อัตราการเติบโตของเงินฝากรวมของธนาคาร 2. การปล่อยสินเชื่อให้ ไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น โดยเป็นแรงสนับสนุน จากมาตรการบรรเทาการแข็งค่าของเงินบาทจาก ธปท. รวมถึงการ สร้ า งโอกาสและความพร้ อ มต่ อ การเกิ ด ขึ้ น ของประชาคมอาเซี ย นใน ปี 2558 และการหาแหล่งต้นทุนแรงงานราคาถูกเพื่อสร้างความสามารถ ในการแข่งขันให้มากขึ้นชดเชยแนวโน้มการแข็งค่าของเงินบาท ซึ่งล้วน แล้วแต่ที่จะทำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องให้ความสำคัญในการประเมิน ความเสี่ยงระดับมหภาคของต่างประเทศมากขึ้นกว่าเดิม

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

3. รัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทยให้ความสำคัญต่อ การให้เงินกู้แก่ ลูกค้าระดับฐานราก (Microfinance Lending) และได้เป็นแผนงานหลัก ในแผนแม่บทการพัฒนาสถาบันการเงินระยะที่ 2 (พ.ศ. 2553-2557) ไปรษณีย์ ไทยได้รับเลือกให้เป็นช่องทางหลักในการกระจายเงินกู้ระดับ ฐานรากเพราะมีเครือข่ายกว้างขวาง และ จะเริ่มให้กู้ในไตรมาสแรกของ ปี 2554 โดยได้ความสนับสนุนจากธนาคารอาคารสงเคราะห์อีกด้วย แผนงานนี้จะทำให้เกิดการแข่งขันเพิ่มขึ้นในธุรกิจเงินกู้เพื่อการบริโภค 4. จากแรงกดดันจากรัฐบาลในช่วงครึ่งหลังของปี 2553 ธนาคารตกลง ที่ จ ะลดค่ า ธรรมเนี ย มบางรายกายในการโอนเงิ น ข้ า มธนาคารทาง อิเล็กทรอนิกส์ รัฐบาลให้ความชัดเจนว่า จะยังคงต้องการให้ธนาคาร ลดค่ า ธรรมเนี ย มธุ ร กรรมของลู ก ค้ า ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ร ายได้ จ าก ค่าธรรมเนียมลดลง โดยภาพรวม ธนาคารพาณิ ช ย์ ยั ง คงแข่ ง ขั น กั น สู ง เพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าให้ ได้มากที่สุด โดยใช้กลยุทธ์ที่สร้างความสะดวกและออก ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าในสายตาลูกค้าเป็นหลัก เพื่อสร้างฐานลูกค้าให้เข้มแข็ง สินเชื่อโดยรวมมีแนวโน้มสูงที่จะเติบโตได้ ในระดับร้อยละ 8 ส่วนเงินฝาก จะยั ง เติ บ โตในระดั บ ต่ ำ ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 5 เนื่ อ งจากผู้ อ อมมี ท างเลื อ กใน การออมมากขึ้นกว่าการฝากเงิน


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

|

59

คำอธิบายและการวิเคราะห์งบการเงิน บทสรุปผู้บริหาร ปี 2553 ธนาคารสามารถทำกำไรสุทธิอย่างต่อเนื่อง โดยมีกำไรสุทธิรวม ของธนาคารและบริษัทย่อยจำนวน 3,202 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 64.6 จากปี 2552 และมีผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.3 เป็นร้อยละ 6.6 ซึ่งเป็นการเติบโตอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ การปรับปรุงโครงสร้างเงินทุนในเดือนธันวาคม 2550 ส่วนต่างของดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิที่สูงขึ้นและการเพิ่มขึ้นของรายได้ ที่มิใช่ดอกเบี้ยหลัก รวมทั้งต้นทุนความเสี่ยงที่ต่ำลง เป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ ธนาคารมีกำไรมากขึ้น ในปี 2553 ส่วนต่างดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 2.26 ในปีก่อน เป็นร้อยละ 2.31 ส่วนรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยหลัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 โดยความสามารถในการหารายได้ค่าธรรมเนียมของ ธนาคารเพิ่ ม ขึ้ น จากบริ ก ารธุ ร กิ จ ต่ า งประเทศและค่ า ธรรมเนี ย มจาก ผลิตภัณฑ์เพื่อลูกค้ารายย่อย รายได้จากการปริวรรตเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.9 ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากปริ ม าณธุ ร กิ จ ที่ ม ากขึ้ น จากศู น ย์ ใ ห้ บ ริ ก ารเงิ น ตรา ต่างประเทศรายย่อย รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจาก บริการธุรกิจต่างประเทศที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ตลอดปี 2553 ธนาคารได้เน้นเรื่องการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ สินเชื่อ ที่ก่อให้เกิดรายได้รวม (Performing loans) เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 จากปี 2552 หรือร้อยละ 5.5 หากไม่รวมผลกระทบจากการทำ settlement ของสินเชื่อ ที่โอนไปยัง บสก. นอกจากนี้ ธนาคารเพิ่มความแข็งแกร่งของคุณภาพ สินเชื่อรวมด้วยการลดปริมาณสินเชื่อที่มีคุณภาพอ่อนแอ และหากไม่รวมการ ดำเนินการที่กล่าวมา ธนาคารมีการเจริญเติบโตของสินเชื่อคุณภาพรวม มากกว่าร้อยละ 10

ในส่วนการจัดการสินเชื่อด้อยคุณภาพ และสินทรัพย์รอการขายของธนาคาร นัน้ ได้มกี ารจัดการโดยการแก้ปญ ั หาหนีแ้ ละการตัดจำหน่าย อัตราส่วนสินเชือ่ ที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้ลดลงอย่างต่อเนือ่ งจากร้อยละ 14.3 ในปี 2551 เป็นร้อยละ 12.7 ในปี 2552 และอยู่ที่ร้อยละ 8.3 ในปี 2553 พร้อมกับการตั้งสำรองหนี้ สูญและหนี้สงสัยจะสูญอยู่ที่ร้อยละ 159 ของเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย ในขณะเดียวกัน ธนาคารก็ลดการเกิดสินเชื่อด้อยคุณภาพด้วยการจัดการ ความเสี่ยงที่เข้มงวดขึ้น สินทรัพย์รอการขายลดลงจาก 19,260 ล้านบาท ในปี 2551 เป็น 11,132 ล้านบาทในปี 2552 และ 6,436 ล้านบาท ในปี 2553 นอกจากนี้ ธนาคารยังได้ล้างขาดทุนสะสม และส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นสุทธิ ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง บั ญ ชี ใ นส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น การจั ด การดั ง กล่ า วทำให้ งบการเงิ น ของธนาคารมี ค วามแข็ ง แกร่ ง และอยู่ ใ นสถานะที่ ส ามารถจ่ า ย เงินปันผลได้ หากได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการธนาคารและผู้ถือหุ้น และเป็นไปตามกฎเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย สถานะทางการเงินของธนาคารปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ธนาคารมีเงิน กองทุนชั้นที่ 1 และอัตราส่วนเงินกองทุนรวมทั้งสิ้นในปี 2553 สูงเท่ากับร้อยละ 11.3 และร้อยละ 16.6 เมื่อเทียบกับเกณฑ์อัตราขั้นต่ำของธนาคารแห่ง ประเทศไทยที่ร้อยละ 4.25 และร้อยละ 8.50 ตามลำดับ ธนาคารยังดำรง สถานะสภาพคล่ อ งที่ แ ข็ ง แกร่ ง โดยมี สิ น ทรั พ ย์ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ ที่ มี สภาพคล่ อ งสู ง และมี ค วามเสี่ ย งต่ ำ ในอั ต ราที่ สู ง และอั ต ราส่ ว นสิ น เชื่ อ ต่ อ เงินฝากอยู่ที่ระดับร้อยละ 87.9

ตาราง 1: ผลการดำเนินงานปี 2553 กำไรสุทธิและผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนทั้งสิ้น

3,500

18%

3,202

3,000 2.500 1,945

2,000

6.6%

1,500 1,000

4.3%

500

ล้านบาท

2552

20% 18% 16% 14% 12% 10% 8% 6% 4% 2% 0%

2553

██ กำไรสุทธิ (แกนซ้าย)

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (แกนขวา) หมายเหตุ : งบการเงินรวม

17.13% 16.59%

16% 14% 12%

12.31% 11.33%

10% 2552

2553

เงินกองทุนทั้งสิ้น อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 หมายเหตุ : งบเฉพาะธนาคาร


60

|

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ตาราง 2: ผลการดำเนินงานปี 2553 (ต่อ) เงินให้สินเชื่อรวมและอัตราส่วนการเติบโต 400,000

สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) อัตราส่วน NPL 5%

368,092 363,177 -1.3%

350,000

0%

55,000

54,095 12.7%

14% 12%

50,000

10% 8.3%

45,000 -5%

6%

40,000

300,000 -10%

36,047 35,000

-15%

250,000 2552

2553

██ เงินให้สินเชื่อ (แกนซ้าย)

อัตราการเปลี่ยนแปลง (แกนขวา)

30,000

0%

ล้านบาท

2552

2553

██ สินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (แกนซ้าย)

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

อัตราส่วน NPL (แกนขวา) หมายเหตุ : งบการเงินรวม

ตาราง 3: ผลการดำเนินงานปี 2553 (ต่อ) อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาก

โครงสร้างเงินฝาก

100%

100%

90%

4% 2%

-13.2%

ล้านบาท

8%

10.5%

9.6%

39.0%

36.6%

50.5%

53.8%

80%

90.3% 87.9%

60% 40%

80%

20% 70%

0% 2552

2553

2552

2553

██ อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาก

█  กระแสรายวัน █ ออมทรัพย์ █ เงินฝากประจำ

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

หมายเหตุ : งบเฉพาะธนาคาร

การวิเคราะห์ผลประกอบการ ธนาคารทหารไทยและบริษัทย่อย (ธนาคาร) มีกำไรสุทธิรวมในปี 2553 จำนวน 3,202 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 64.6 หรือ 1,257 ล้านบาท เมื่อเทียบกับกำไรสุทธิรวมจำนวน 1,945 ล้านบาทในปี 2552 ในขณะเดียวกัน ผลตอบแทนต่ อ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ได้ เ พิ่ ม ขึ้ น เป็ น ร้ อ ยละ 6.6 ในปี 2553 จากร้อยละ 4.3 ในปี 2552 ความสามารถในการทำกำไรที่ดีขึ้นสะท้อนให้ เห็นถึงศักยภาพในการสร้างกำไรของธนาคารอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่วนใหญ่

เป็ น ผลมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได้ มิ ใ ช่ ด อกเบี้ ย หลั ก จากการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยการเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและกำไรจาก การปริ ว รรตและจากการลดลงของค่ า ใช้ จ่ า ยที่ มิ ใ ช่ ด อกเบี้ ย และการตั้ ง สำรองหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญน้อยลงจากคุณภาพสินเชื่อที่ดีขึ้น การ ดำเนินธุรกิจหลักของธนาคารที่ดีขึ้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ตาราง 4: กำไรสุทธิ

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

61

ตาราง 5: ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

3,500

3,202

8%

3,000

6.6%

2,500 2,000

|

6%

1,945

4.3%

1,500 4%

1,000 500

2%

0

ล้านบาท

2552

2553

2552

2553

██ กำไรสุทธิ

██ ผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

ตาราง 6: งบกำไรขาดทุน (งบการเงินรวม) เปลี่ยนแปลง (หน่วย : ล้านบาท) รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ สำรองหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิหลังหักสำรอง รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ - ภาษีเงินได้ - ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไรสุทธิ

2553 18,499 6,240 12,259 1,654 10,605 6,966 14,346 3,225 14 9 3,202

2552 20,481 8,074 12,407 2,628 9,780 10,077 17,858 1,999 33 20 1,945

จำนวน (1,982) (1,834) (148) (973) 825 (3,111) (3,512) 1,226 (20) (11) 1,257

ร้อยละ -9.7% -22.7% -1.2% -37.0% 8.4% -30.9% -19.7% 61.3% -58.4% -55.4% 64.6%

หมายเหตุ: งบการเงินรวม

รายได้ดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ธนาคารมีรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลรวม จำนวน 18,499 ล้านบาท ลดลง 1,982 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.7 จากปี 2552 เป็นผลจากรายได้ดอกเบี้ย จากเงินให้สินเชื่อลดลงร้อยละ 9.7 เป็นจำนวน 15,810 ล้านบาท ในปี 2553 ทั้งนี้เป็นผลจากการปรับปรุงพอร์ตสินเชื่อ รายได้จากการลงทุนลดลงจำนวน 320 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.3 ซึ่งเป็นผลจากการลดลงของเงินลงทุน

ตาราง 7: รายได้ดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 25,000 20,481

18,499

20,000 15,000 8,074

10,000

6,240 5,000

ในขณะเดียวกัน ธนาคารมีค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยรวมเป็นจำนวน 6,240 ล้านบาท ในปี 2553 ลดลง 1,834 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 22.7 ส่วนใหญ่เนื่องจาก ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินฝากลดลงจำนวน 1,483 ล้านบาท หรือร้อยละ 25.5 และ ดอกเบี้ยจากเงินกู้ยืมระยะสั้นลดลงจำนวน 231 ล้านบาท หรือร้อยละ 42.1

0

ล้านบาท

2552

█  รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล █ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

2553


62

|

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ

ค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ

ธนาคารมีรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิจำนวน 12,259 ล้านบาท ลดลง เล็กน้อยจำนวน 148 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.2 จากปี 2552 โดยมีสาเหตุหลัก มาจากการปรับตัวลดลงของปริมาณสินเชื่อ ซึ่งเป็นผลมาจากการปรับพอร์ต สินเชื่อและรายได้จากเงินลงทุนที่ลดลง อย่างไรก็ตามส่วนต่างดอกเบี้ยและ เงินปันผลสุทธิของธนาคารและบริษัทย่อยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.26 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 2.31 ในปี 2553 โดยเป็นผลมาจากต้นทุนการเงินลดลง

จากการบริหารสินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ที่มีประสิทธิภาพ ธนาคารตั้ง ค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญในปี 2553 ลดลงจำนวน 973 ล้านบาท หรือ ลดลงร้อยละ 37.0 จากจำนวน 2,628 ล้านบาท เป็นจำนวน 1,654 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจากการตั้งค่าเผื่อฯ สำหรับสินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้และ สำรองทั่วไปที่ลดลง

ตาราง 8: รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ และส่วนต่างดอกเบี้ย 15,000

ตาราง 9: ค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ 5%

3,000

3%

2,000

2%

1,000

12,407 12,259 10,000

5,000

1,654

2.31%

2.26%

0

1%

ล้านบาท

2,628

2552

2553

██ รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ (แกนซ้าย) ส่วนต่างของดอกเบี้ยและเงินปันผล (แกนขวา)

0

ล้านบาท

2552

2553

██ ค่าเผื่อหนี้สญและหนี้สงสัยจะสูญ

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

ตาราง 10 : รายได้ดอกเบี้ย และค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย เปลี่ยนแปลง (หน่วย : ล้านบาท) รายได้ดอกเบี้ยเงินให้สินเชื่อ รายได้ดอกเบี้ยรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน รายได้จากเงินลงทุน รวมรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินรับฝาก ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะสั้น ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะยาว รวมค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ หมายเหตุ : งบการเงินรวม

2553 15,810 771 1,918 18,499 4,344 93 318 1,486 6,240 12,259

2552 17,506 737 2,238 20,481 5,827 158 549 1,540 8,074 12,407

จำนวน (1,697) 34 (320) (1,982) (1,483) (65) (231) (54) (1,834) (148)

ร้อยละ -9.7% 4.7% -14.3% -9.7% -25.5% -41.1% -42.1% -3.5% -22.7% -1.2%


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย

ตาราง 11: รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย

ธนาคารและบริษัทย่อยมีรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยจำนวน 6,966 ล้านบาท ลดลงจำนวน 3,111 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 30.9 จากปี 2552 โดยมีสาเหตุหลักมาจากในปี 2552 ธนาคารได้บันทึกกำไรจาก การซื้ อ คื น ตราสารหนี้ ด้ อ ยสิ ท ธิ ที่ มี ลั ก ษณะคล้ า ยทุ น และกำไรจากการปิ ด สั ญ ญาอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ผูกติดกับตราสารหนี้ อย่างไรก็ตาม รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยซึ่งเกิดจากการดำเนินธุรกิจหลักของธนาคาร ซึ่งประกอบด้วยรายได้ค่าธรรมเนียมและกำไรจากการปริวรรต เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 เป็นจำนวน 6,087 ล้านบาท ทั้งนี้ค่าธรรมเนียมรวมคิดเป็นจำนวน 4,803 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.4 จากปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของบริการธุรกิจต่างประเทศ (Trade finance) และค่าธรรมเนียมจาก ผลิตภัณฑ์บัตรเครดิต ค่าธรรมเนียมจากการขาย Bancassurance และการจัดการกองทุน ส่วนกำไร จากการปริวรรตเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.9 โดยเป็นผลมาจากปริมาณธุรกิจที่เพิ่มขึ้นจากศูนย์ ให้บริการ เงินตราต่างประเทศรายย่อย รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจากการให้บริการธุรกิจ ต่างประเทศที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น

12,000

10,077 10,000

8,000 6,966

6,000

ล้านบาท

2552

2553

██  รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

ตาราง 12: รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย เปลี่ยนแปลง (หน่วย : ล้านบาท) กำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ค่าธรรมเนียมและบริการ การรับรอง รับอาวัล และค้ำประกัน อื่น ๆ กำไรจากการปริวรรต กำไรจากการขายสินทรัพย์ รายได้อื่น รวมรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย หมายเหตุ : งบการเงินรวม

2553 157 36 4,803 337 4,466 1,284 0 686 6,966

2552 14 95 4,514 425 4,089 1,012 0 4,443 10,077

จำนวน 143 (59) 289 (88) 377 273 0 (3,757) (3,111)

ร้อยละ 1030.8% -62.3% 6.4% -20.7% 9.2% 26.9% N/A -84.6% -30.9%

|

63


64

|

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย ธนาคารและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยในปี 2553 จำนวน 14,346 ล้านบาท ลดลงจำนวน 3,512 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.7 จากปี 2552 เนื่องมาจากการลดลงของค่าใช้จ่ายพนักงาน การลดลง ของขาดทุนจากด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขายและทรัพย์สินอื่น ๆ และการลดลงของขาดทุนจากการ ประมาณหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ค่าใช้จ่ายพนักงานลดลงร้อยละ 10.4 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ซึ่งในปี 2552 ธนาคารได้บันทึกค่าใช้จ่าย โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนดโดยสมัครใจจำนวนประมาณ 1,300 ล้านบาท อย่างไรก็ตามในปี 2553 ธนาคารมีค่าใช้จ่ายจากโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด จำนวน 165 ล้านบาทและค่าใช้จ่ายการตลาด 302 ล้านบาท รวมทั้งค่าใช้จ่ายจากโครงการปรับแนวทางบริหารพนักงานบริการ

ตาราง 13: ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย 18,000

17,858

16,000

14,346 14,000

ในปี 2553 การขาดทุนจากการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขายลดลงจำนวน 1,789 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 65.4 เมื่อเทียบกับปีก่อนซึ่งในปี 2552 นั้น ธนาคารได้จำหน่ายทรัพย์สินรอการขายจำนวน 4,400 ล้านบาท ทำให้ธนาคารตั้งขาดทุนจากด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขายและทรัพย์สินอื่น ๆ จำนวน 12,000 ล้านบาท 2552 2553 1,551 ล้านบาท ขาดทุนจากประมาณการหนี้สินอื่น ลดลงจำนวน 1,148 ล้านบาท หรือร้อยละ 371.2 จากการกลับรายการขาดทุนจากประมาณการหนี้สินอื่น จำนวน 831 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลจากการทำ ██  ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย Settlement ของสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ระหว่างธนาคารกับบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ หมายเหตุ : งบการเงินรวม จำกัด (บสก.) ตาราง 14 : ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย เปลี่ยนแปลง (หน่วย : ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าตอบแทนกรรมการ ขาดทุนจากด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขายและ ทรัพย์สินอื่น ๆ เงินนำส่งเข้ากองทุนเพื่อการฟื้นฟู ขาดทุนจากประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ ด้อยคุณภาพ ขาดทุนจากประมาณการหนี้สินอื่น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย หมายเหตุ : งบการเงินรวม

2553 5,861 2,907 628 1,424 30 948

2552 6,543 2,688 672 1,333 27 2,737

จำนวน (682) 219 (44) 91 3 (1,789)

ร้อยละ -10.4% 8.1% -6.5% 6.8% 11.5% -65.4%

1,613 (839)

1,745 309

(132) (1,148)

-7.6% -371.2%

(547) 2,321 14,346

(380) 2,183 17,858

(168) 138 (3,512)

N/A 6.3% -19.7%


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

สถานะทางการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 589,592 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 จาก 543,142 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งนี้ เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของรายการระหว่างธนาคารและการลงทุน เงินให้สินเชื่อ ยังคงเป็นสัดส่วนที่ใหญ่ที่สุดของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ คิดเป็นร้อยละ 65.2 ของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ในปี 2553 เทียบกับร้อยละ 69.2 ในปี 2552 ในขณะที่เงินลงทุนและรายการระหว่างธนาคารคิดเป็นร้อยละ 17.0 และร้อยละ 15.2 ของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ตามลำดับ ตาราง 15: โครงสร้างสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ 100.0%

60.0% 40.0% 17.0%

15.4%

0.0%

65

ร้อยละ 5.5 นอกจากนี้ในระหว่างปี 2553 ธนาคารได้สร้างความแข็งแกร่ง ของคุ ณ ภาพสิ น เชื่ อ รวมด้ ว ยการลดปริ ม าณสิ น เชื่ อ ที่ มี คุ ณ ภาพอ่ อ นแอ ซึ่ ง หากไม่ นั บ รวมผลกระทบของการดำเนิ น การดั ง กล่ า ว ธนาคารจะมี สินเชื่อที่ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 ธนาคารมีสัดส่วนสินเชื่อแบ่งตามประเภทธุรกิจออกเป็นดังนี้ สินเชื่อธุรกิจ รายใหญ่ ร้อยละ 51.2 สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ร้อยละ 29.6 และสินเชื่อลูกค้ารายย่อยร้อยละ 19.1 ของสินเชื่อรวม หากแบ่งตามประเภท ผลิตภัณฑ์ ธนาคารมีเงินให้กู้ยืมมีระยะเวลา (Term loan) และตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory note) ร้อยละ 72.7 สินเชื่อเบิกเกินบัญชี ร้อยละ 15.1 และสินเชื่อ ธุรกิจต่างประเทศ ร้อยละ 8.8 ของสินเชื่อรวม

65.2%

69.2%

80.0%

20.0%

|

12.5%

15.2%

2.8%

2.6%

2552

2553

█ เงินสด █ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน █ เงินลงทุน █ เงินให้สินเชื่อ

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

* ในเดือนธันวาคม 2553 ธนาคารได้ทำ Early settlement ของการโอนสินเชื่อ ด้อยคุณภาพไปยังบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (บสก.) ซึ่งผลจากการดำเนินการดังกล่าว ทำให้ตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกโดย บสก. จำนวน 19,712 ล้านบาทซึ่งถูกบันทึกลงบัญชีในส่วนของสินเชื่อที่ก่อให้เกิด รายได้ลดลงเป็น 15,681 ล้านบาท ทำให้สินเชื่อที่ก่อให้เกิดรายได้ของธนาคาร ลดลงจำนวน 4 พันล้านบาท หมายเหตุ: (1) สินเชื่อในกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ หมายถึง สินเชื่อซึ่งให้แก่ลูกค้าที่มีรายได้ ต่อปีรวม ตั้งแต่ 500 ล้านบาทขึ้นไป (2) สินเชื่อในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หมายถึง สินเชื่อซึ่งให้แก่ ลูกค้าที่มีรายได้ต่อปีรวมน้อยกว่า 500 ล้านบาท (3) สินเชื่อในกลุ่มธุรกิจรายย่อย หมายถึง เงินให้สินเชื่อแก่บุคคลธรรมดา

เงินให้สินเชื่อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีเงินให้สินเชื่อรวมจำนวน 363,177 ตาราง 16: เงินให้สินเชื่อ ล้านบาท ลดลงคิดเป็นร้อยละ 1.3 จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สาเหตุหลัก มาจาก (1) สินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non–performing loans) ลดลง 400,000 368,092 ประมาณ 18,000 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการขายสินเชื่อด้อยคุณภาพ 363,177 ประมาณ 9.3 พันล้านบาทในไตรมาสที่ 2 ของปี 2553 การแก้ปัญหาหนี้ด้อย 350,000 คุณภาพ และการตัดจำหน่ายสินเชื่อด้อยคุณภาพ (2) *การลดลงของสินเชื่อ ที่ก่อให้เกิดรายได้ (Performing loans) จำนวน 4 พันล้านบาทเนื่องจาก การทำ Early settlement ของสินเชื่อที่เกิดจากธนาคารโอนสินทรัพย์ 300,000 ด้อยคุณภาพไปยังบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (บสก.) ซึ่งรายการได้จบลงในเดือนธันวาคม 2553 อย่างไรก็ตามการลดลงดังกล่าว ถูกชดเชยด้วยการเพิ่มขึ้นของสินเชื่อที่ก่อให้เกิดรายได้จากทุกกลุ่มลูกค้า 250,000 ล้านบาท

ทั้ ง นี้ สิ น เชื่ อ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 4.2 และหากไม่ นั บ รวม ผลกระทบของการ Early settlement ดั ง กล่ า วจะคิ ด เป็ น การเพิ่ ม ขึ้ น

██

2552

เงินให้สินเชื่อ

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

2553


66

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ตาราง 17: เงินให้สินเชื่อแยกตามประเภทธุรกิจ

เงินลงทุนสุทธิ ธนาคารมีเงินลงทุนสุทธิจำนวน 94,538 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.0 จาก 82,194 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซึ่งเป็น การเพิ่ ม ขึ้ น ในส่ ว นของเงิ น ลงทุ น ระยะยาวที่ ล งทุ น ในพั น ธบั ต รรั ฐ บาล โดยที่เงินลงทุนระยะสั้นมีจำนวน 46,249 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 48.9 ของเงินลงทุนทั้งหมด ในขณะที่เงินลงทุนระยะยาวมีจำนวน 48,289 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 51.1 ทั้งนี้เงินลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในตราสารหนี้ ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นเงินลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ธนาคารมีการสำรองค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนจำนวน 1,090 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1,293 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตามลำดับ

|

สินเชื่อลูกค า รายย อย 19.1%

ธันวาคม 2553 สินเชื่อกลุ มธุรกิจ ขนาดใหญ 51.2%

สินเชื่อกลุ มธุรกิจ ขนาดกลาง และขนาดย อม 29.6%

สินเชื่อลูกค า รายย อย 18.4%

ธันวาคม 2552 ตาราง 19: เงินลงทุนสุทธิ

สินเชื่อกลุ มธุรกิจ ขนาดใหญ 50.2%

สินเชื่อกลุ มธุรกิจ ขนาดกลาง และขนาดย อม 31.4%

100,000 80,000 60,000

ตาราง 18: เงินให้สินเชื่อแยกตามประเภทผลิตภัณฑ์

72.7%

อื่นๆ

3.4%

ธั น วาคม 2552 7.6%

OD 10.1%

อื่นๆ

2.5%

เงินลงทุนระยะสั้น █ เงินลงทุนระยะยาว █ เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม

59,365 46,249

0

สินเชื่อและ ตั๋วสัญญาแลกเง�น

OD 15.1%

22,358

20,000

ธั น วาคม 2553

8.8%

สินเชื่อธุรกรรม ระหว างประเทศ

471 48,289

40,000

สินเชื่อธุรกรรม ระหว างประเทศ

94,538 82,194

สินเชื่อและ ตั๋วสัญญาแลกเง�น

79.7%

ล้านบาท

2552

2553

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินมีจำนวน 84,625 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 18,010 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 27.0 จาก ณ สิ้นปี 2552 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของธุรกรรมในตลาดซื้อคืนซึ่งเป็น การบริหารสภาพคล่องของธนาคาร คุณภาพสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีสินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Nonperforming loans) ประเภทจัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และ จัดชั้นสงสัยจะสูญ จำนวน 36,047 ล้านบาท ลดลง 18,048 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับ 54,095 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สาเหตุหลัก มาจากการจำหน่ายสินเชื่อด้อยคุณภาพจำนวน 9.3 พันล้านบาทในไตรมาส ที่ 2 ของปี 2553 การแก้หนี้ของสินเชื่อด้อยคุณภาพรายใหญ่และการตัด


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

จำหน่าย อัตราส่วนสินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของธนาคารลดลงเหลือ ร้อยละ 8.3 จากร้อยละ 12.7 ในปี 2552 โดยมีค่าเผื่อหนี้สูญและสงสัย จะสูญและค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้จำนวน 20,546 ล้านบาทและมีอัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อที่ไม่ก่อ ให้เกิดรายได้ที่ร้อยละ 57.0 เทียบกับร้อยละ 57.7 ในปี 2552 ตาราง 20: สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) และสัดส่วน NPL 60,000 50,000

80%

40,000

14% 12.7%

40,000 30,000

12% 36,047

ตาราง 22: ทรัพย์สินรอการขายและสัดส่วน ต่อสินทรัพย์รวม 15,000 11,132

70%

30,000

20,000

6%

10,000

4%

20,000

57.7%

2.0%

10,000

60%

50%

ล้านบาท 2552 2553 ██  ค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (แกนซ้าย) อัตราส่วนการตั้งค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัย จะสูญต่อสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (แกนขวา)

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

สัดส่วนเงินฝากประเภทกระแสรายวันและออมทรัพย์ (CASA) มีสัดส่วนร้อยละ 46.4 ของเงินฝากทั้งหมด ลดลงจากร้อยละ 49.6 ณ สิ้นปี 2552 การลดลง ของสัดส่วน CASA เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินฝากที่มีกำหนดระยะเวลา ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากความสำเร็ จ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ งิ น ฝากของธนาคาร เช่ น

2%

6,436

5,000

1.1%

57.0%

ล้านบาท 2552 2553 ██  สินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (แกนซ้าย) สัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ต่อสินเชื่อรวม (แกนขวา)

การจัดหาเงินทุนและสภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีหนี้สินรวมจำนวน 539,737 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.7 เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2552 โดยสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้น ของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ในขณะที่เงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2552 เป็น 413,115 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการ เพิ่มขึ้นของเงินฝากประเภทมีกำหนดระยะเวลา เงินฝากยังคงเป็นสัดส่วน ที่ใหญ่ที่สุดของหนี้สินที่มีดอกเบี้ยโดยคิดเป็นร้อยละ 83.0 ของหนี้สินที่มี ดอกเบี้ย ส่วนเงินกู้ยืมและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินมีสัดส่วน ร้อยละ 12.5 และ 4.5 ของหนี้สินที่มีดอกเบี้ยตามลำดับ

3%

10,000

20,546

8%

4%

31,208

10% 8.3%

67

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีทรัพย์สินรอการขายสุทธิจำนวน 6,436 ล้านบาท ลดลงอย่างมากจาก 11,132 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ปัจจัยหลักของการลดลงเกิดจากการจำหน่ายทรัพย์สินรอการขาย ระหว่างปี 2553 ทั้งนี้ธนาคารยังคงมีแผนที่จะลดทรัพย์สินรอการขายอย่าง ต่อเนื่องจากนโยบายที่เข้มงวด

ตาราง 21: ค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ และอัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ ต่อสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ 16%

54,095

|

1,000

ล้านบาท

1% 0%

2552

2553

██ ทรัพย์สินรอการขาย (แกนซ้าย)

สัดส่วนต่อสินทรัพย์รวม (แกนขวา) หมายเหตุ : งบการเงินรวม

เงินฝากประจำดอกเบี้ยด่วน และเงินฝากประจำ “Up and Up” ในขณะที่ เงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้นเป็น 62,104 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22.6 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โดยมีสาเหตุหลักมาจากการ ออกตั๋วแลกเงินจำนวน 11,131 ล้านบาทในไตรมาสที่ 4 ปี 2553 ระหว่างปี 2553 ธนาคารมีฐานะสภาพคล่องที่แข็งแกร่งอย่างต่อเนื่อง และมี สินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ที่มีสภาพคล่องสูงและความเสี่ยงต่ำเป็นสัดส่วน ที่สูง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีสินทรัพย์สภาพคล่อง (เงินสด, รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน และเงินลงทุนระยะสั้น) คิดเป็นร้อยละ 26.1 ของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ทั้งหมด เทียบกับร้อยละ 26.5 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนในพันธบัตร รั ฐ บาล ด้ ว ยฐานะสภาพคล่ อ งที่ แ ข็ ง แกร่ ง ธนาคารมี สั ด ส่ ว นสิ น เชื่ อ ต่ อ เงินฝากร้อยละ 87.9 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เทียบกับร้อยละ 90.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552


68

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

|

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ตาราง 23: โครงสร้างหนี้สินที่มีดอกเบี้ย

ตาราง 24: เงินฝากและสัดส่วนบัญชีกระแสรายวัน และออมทรัพย์

100.0%

450,000

5.5% 5.4% 2.1%

5.2% 7.3% 4.5%

80.0%

60% 407,776

400,000 49.6%

50% 46.4%

87.0%

350,000

40%

300,000

30%

250,000

20%

83.0%

20.0% 0.0%

100% 90.3%

413,115

60.0% 40.0%

ตาราง 25: อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาก

87.9%

80%

60%

40%

█ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

ล้านบาท 2552 2553 2552 2553 ██ เงินฝาก (แกนซ้าย) อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝาก สัดส่วนบัญชีกระแสรายวันและออมทรัพย์ (แกนขวา) หมายเหตุ : งบการเงินรวม

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

หมายเหตุ : งบการเงินรวม

2552

2553

█ เงินกู้ระยะยาว █ เงินกู้ระยะสั้น

ส่วนทุนและความเพียงพอของเงินกองทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีส่วนของผู้ถือหุ้นของงบการเงินรวม จำนวน 49,855 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยสาเหตุหลักมาจากกำไรที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 ที่ผ่านมา ธนาคารได้รับการอนุมัติจากที่ประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น ในการปรับปรุงบัญชีในส่วนผู้ถือหุ้นด้วยการลดพาร์จาก 10 บาทต่อหุ้น เป็น 0.95 บาทต่อหุ้น และล้างขาดทุนสะสม ทำให้ธนาคารมี ความคล่องตัวในการจ่ายเงินปันผล (ทั้งนี้ต้องเป็นตามที่กฎหมายกำหนด)

ธนาคารดำรงฐานะเงินกองทุนที่แข็งแกร่ง โดยมีอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น ตามเกณฑ์ Basel II ที่ร้อยละ 16.59 และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่หนึ่ง ร้อยละ 11.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทยที่กำหนดให้ดำรง อั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ต่ อ สิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย งไม่ ต่ ำ กว่ า ร้ อ ยละ 8.5 และเป็ น เงิ น กองทุ น ชั้ น ที่ ห นึ่ ง ไม่ ต่ ำ กว่ า ร้ อ ยละ 4.25 ตามลำดั บ การลดลงของ อัตราส่วนเงินกองทุน เนื่องจากระดับสินทรัพย์เสี่ยงที่สูงขึ้น โดยที่การลดลง ดังกล่าวได้รับการชดเชยด้วยการเพิ่มขึ้นของเงินกองทุนชั้นที่ 2 กล่าวคือ ในเดื อ นเมษายน 2553 ธนาคารได้ อ อกจำหน่ า ยหุ้ น กู้ ด้ อ ยสิ ท ธิ จ ำนวน 8 พันล้านบาท เพื่อทดแทนส่วนที่ ไถ่ถอนจำนวน 4.9 พันล้านบาทในเดือน มีนาคม 2553 เป็นผลให้เงินกองทุนเพิ่มขึ้นสุทธิจำนวน 3.1 พันล้านบาท

ตาราง 26: อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 และเกณฑ์ขั้นต่ำของธนาคารแห่งประเทศไทย

ตาราง 27: อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น และเกณฑ์ขั้นต่ำของธนาคารแห่งประเทศไทย

14%

18%

12%

12.31% 11.33%

14%

10% 8%

10%

6% 4%

17.13% 16.59%

4.25%

4.25%

8.50%

8.50%

6%

2% 0%

2% 2552

██

เงินกองทุนชั้นที่ 1 เกณฑ์ ธปท.

หมายเหตุ : งบเฉพาะธนาคาร

2553

2552

2553

██ การดำรงเงินกองทุนทั้งสิ้น

เกณฑ์ ธปท. หมายเหตุ : งบเฉพาะธนาคาร


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ค ำ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง บ ก า ร เ งิ น

การปรับปรุงงบการเงิน งบการเงินของธนาคารและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2552 มีการปรับปรุงเกี่ยวกับ การรับรู้เงินลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ 2 กองทุน ได้แก่ กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์เดอะคอลัมน์ และกองทุนรวมสยามรีสอร์ท 1) จากวิธี

69

|

ส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน และ 2) จัดประเภทของเงินลงทุนจากการลงทุน ในบริษัทร่วมเป็นการลงทุนทั่วไป ซึ่งการปรับปรุงดังกล่าวสอดคล้องกับ สาระสำคัญของการทำรายการ ทั้งนี้ผลกระทบต่องบการเงินสามารถสรุป ได้ตามตารางด้านล่าง

สรุปผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงิน งบดุล (หน่วย : ล้านบาท) สินทรัพย์ เงินลงทุน เงินลงทุนระยะยาวสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมสุทธิ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสะสม ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม) งบกำไรขาดทุน (หน่วย : ล้านบาท) รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล เงินลงทุน รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม รวม

31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม หลังปรับปรุง ก่อนปรับปรุง เปลี่ยนแปลง

งบการเงินเฉพาะ หลังปรับปรุง ก่อนปรับปรุง เปลี่ยนแปลง

22,358 472

21,226 2,114

1,132 -1,642

21,694 605

20,562 1,737

1,132 -1,132

-101,559

-101,048

-511

-101,742

-101,742

-

31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม หลังปรับปรุง ก่อนปรับปรุง เปลี่ยนแปลง

งบการเงินเฉพาะ หลังปรับปรุง ก่อนปรับปรุง เปลี่ยนแปลง

2,238

2,165

73

-

-

-

95 2,333

267 2,432

-172 -99

-

-

-


70

|

ก ล ยุ ท ธ์ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

กลยุทธ์องค์กรและการประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน์และเป้าหมายทางกลยุทธ์

เป็น “ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐาน ระดับโลก”

เป็นธนาคารชั้นนำที่มีกำไรเติบโตอย่างต่อเนื่อง ให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ต่อลูกค้าในระยะยาว ปลูกฝังวัฒนธรรมการยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ตระหนักถึงความสำคัญของพันธมิตรทางธุรกิจ

เราบรรลุกลยุทธ์ของเราได้อย่างไร

การใช้เงินฝากเป็นตัวนำ

ธนาคารทหารไทยมุ่งเน้นที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่แนบแน่นกับลูกค้าโดยผ่านบัญชีเงินฝากที่ลูกค้าใช้ทำธุรกรรม ต่างๆ ซึ่งช่วยให้ธนาคารเข้าใจความต้องการลูกค้าได้ดีขึ้น และสามารถนำความเข้าใจเหล่านั้นมานำเสนอบริการที่ มีคุณค่าและตอบสนองความต้องการทางการเงินของลูกค้าได้​้

การสร้างความเป็นเลิศ ทางการบริการและการดำเนินงาน

ธนาคารทหารไทย เชื่อมั่นว่าการให้บริการที่มีลูกค้าเป็นศูนย์กลางเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสร้างความสัมพันธ์ เชิงธุรกิจที่ยั่งยืน ธนาคารจึงมุ่งเน้นในการพัฒนาความเป็นเลิศด้านบริการและการดำเนินงานแบบครบวงจรในวิธีที่ สะท้อนค่านิยมของแบรนด์ธนาคารทหารไทย ผ่านขั้นตอนกระบวนการดำเนินงานต่างๆ บุคลากร ตลอดจนช่องทาง การให้บริการทั้งหมดของธนาคาร

การให้บริการทางการเงิน ที่มีมูลค่าเพิ่ม

ธนาคารทหารไทยมุ่งเน้นการนำเสนอทางเลือกใหม่ของการให้บริการทางการเงินที่ตรงกับความต้องการของ ลูกค้าและถูกมองข้ามโดยธนาคารอื่นๆ เช่น ธนาคารได้ลงทุนในเชิงยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนธุรกิจของลูกค้า ในการให้บริการ ซัพพลายเชนโซลูชั่น ซึ่งจะทำให้เครือข่ายธุรกิจของลูกค้าสามารถบริหารจัดการเงินทุนและ ธุรกรรมต่างๆ ได้ดีขึ้น ในขณะเดียวกัน ธนาคารก็สามารถปรับปรุงทางด้านผลตอบแทนและการบริหารความเสี่ยง ของทั้งเครือข่ายธุรกิจนั้นๆ ได้ด้วย

สนับสนุนโดยวัฒนธรรมและวิธีการทำงานของธนาคาร

แบรนด์ของธนาคารทหารไทย “Make THE Difference”

คุณลักษณะของแบรนด์ของธนาคาร 4 ประการ คือ “จริงใจ” นำเสนอและให้บริการทางการเงินที่คำนึงถึงผลประโยชน์ของลูกค้าเป็นอันดับแรก “ง่าย ใช้งานได้จริง” ทำให้การใช้บริการทางการเงินต่างๆ ของธนาคารเป็นเรื่องง่ายสำหรับลูกค้า “ฉลาด รู้จริง” เข้าใจลูกค้าเป็นอย่างดีเพื่อสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่ตรงกับความต้องการทาง การเงินของลูกค้า “ถามตัวเองเสมอว่าทำไมจะเป็นไปไม่ได้” เราท้าทายมาตรฐานและกฎเกณฑ์เดิมๆ ด้วยนวัตกรรมทางการเงิน ที่สร้างสรรค์และมีคุณค่าแก่ลูกค้าอย่างแท้จริง


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ก ล ยุ ท ธ์ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

|

71

ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐานระดับโลก

การใช้เงินฝากเป็นตัวนำ

การสร้างความเป็นเลิศ ทางการบริการและการดำเนินงาน

การให้บริการทางการเงิน ที่มีมูลค่าเพิ่ม

ผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (งบการเงินรวม)

ส่วนแบ่งตลาดเงินฝาก(2) (งบการเงินเฉพาะกิจการ)

ความผูกพันของลูกค้าต่อองค์กร (เปอร์เซ็นไทล์)

รายได้หลักที่ไม่ใช่ดอกเบี้ย/ รายได้ทั้งหมด (งบการเงินรวม)(5)

8% 6% 4%

6.6% 4.2%

2% 0%

2552 2553

79% 56%

80% 60%

4%

40%

2%

20%

0%

2552 2553

0%

59%

63%

30% 20%

24% 18%

10% 2552 2553

0%

2552 2553

8% 6%

0%

2552 2553

70%

60%

6.0%

5.9%

2552 2553

ส่วนแบ่งทางการตลาดสินเชื่อ สำหรับลูกค้ารายย่อย(4) (งบการเงินเฉพาะกิจการ) 3%

2.3%

2.1%

2%

40%

(1)

6.1%

2%

80%

0%

6.1%

4%

ความผูกพันของพนักงาน ต่อองค์กร (เปอร์เซ็นไทล์)

20%

6%

ส่วนแบ่งทางการตลาด สินเชื่อสำหรับลูกค้าธุรกิจ(3) (งบการเงินเฉพาะกิจการ)

การตอบรับแบรนด์ ธนาคารทหารไทย(1) 100% 80% 60% 40% 20% 0%

8%

13%

2552 2553

1% 0%

2552 2553

“นี่เป็นธนาคารแห่งเดียวที่ข้าพเจ้าจะพิจารณา + นี่เป็นหนึ่งใน 2 – 3 ธนาคารที่ข้าพเจ้าจะพิจารณา + นี่เป็นหนึ่งในธนาคารที่ข้าพเจ้าจะพิจารณา” เงินฝากของธนาคารทหารไทยและตั๋วแลกเงิน (3) คำนวณจากสินเชื่อที่ก่อให้เกิดรายได้เพื่อลูกค้าขนาดกลางและขนาดย่อมและลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ของธนาคารทหารไทย(ไม่รวมสินเชื่อเพื่อลูกค้าสถาบันการเงิน) / สินเชื่อเพื่อลูกค้าขนาดกลางและขนาดย่อมและลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่จากธนาคารพาณิชย์ทั้งหมด (ไม่รวมสินเชื่อเพื่อลูกค้ารายย่อยและลูกค้าสถาบันการเงิน) (4) คำนวณจากสินเชื่อที่ก่อให้เกิดรายได้เพื่อลูกค้ารายย่อยของธนาคารทหารไทย / สินเชื่อเพื่อลูกค้ารายย่อยจากธนาคารพาณิชย์ทั้งหมด (5) รายได้หลักที่ไม่ใช่ดอกเบี้ย = ค่าธรรมเนียมและบริการ + รายได้จากอัตราแลกเปลี่ยน (2)


72

|

ก ล ยุ ท ธ์ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

Transformation Program ของธนาคารทหารไทย เพื่อให้ธนาคารทหารไทยเป็นองค์กรที่ยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลางและมุ่งเน้น การทำงานที่มีประสิทธิภาพสูง ธนาคารทหารไทยได้ดำเนินการตามโครงการ Transformation Program ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะ โดยโครงการนี้จะส่งผลดีต่อ

ธนาคารในทุกๆ ด้าน ช่วยเพิ่มมูลค่าแก่ผู้ถือผลประโยชน์ร่วมทุกฝ่าย ทั้งลูกค้า ผู้ถือหุ้น พนักงานและสังคมไทยโดยรวม

ระยะ

ผลงานหลัก

สถานภาพ

การสร้างรากฐานที่แข็งแกร่ง

การปรับโครงสร้างองค์กร การปรับโครงสร้างธุรกิจสาขา การปรับปรุงขั้นตอนการทำงานครบวงจร การปรับเปลี่ยนด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล การปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการบริหาร ความเสี่ยง

เสร็จสมบูรณ์ คุ ณ ภาพสิ น ทรั พ ย์ โ ดยรวมได้ รั บ การ ปรับปรุงให้ดีขึ้น ความผู ก พั น ของพนั ก งานต่ อ องค์ ก ร เพิ่มขึ้นอย่างมาก

การเป็นเลิศทางด้านบริการและการดำเนินงาน การให้บริการทางการเงินที่เป็นนวัตกรรมที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี การพัฒนาคุณภาพช่องทางบริการให้ดีขึ้น การสร้างแบรนด์ธนาคารทหารไทยให้แข็งแรงขึ้น

เป็นไปตามแผน ความผูกพันของลูกค้าต่อองค์กรเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญ ผลิตภัณฑ์ของธนาคารกลายเป็นมาตรฐาน ของอุตสาหกรรม เช่น สินเชื่อสามเท่าด่วน สำหรั บ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและ ขนาดย่อม และทีเอ็มบีอัพแอนด์อัพ บัญชี เงินฝากประจำ การยอมรับในแบรนด์ธนาคารทหารไทยอยู่ ในระดับใกล้เคียงกันกับธนาคารชั้นนำ

สร้างมาตรฐานใหม่สำหรับการให้บริการแก่ลูกค้า สร้างมาตรฐานใหม่สำหรับการให้บริหารจัดการ ทางการเงิน บริการทางการเงินครบวงจรจากกลุ่มธนาคารทหารไทย ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า

ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นไป

01 02

การสร้างความแตกต่าง และเติบโตอย่างมีคุณภาพ

03

การสร้างเป็นผู้นำในตลาด


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

การธนาคารเพื่อลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ ความตั้งใจของธนาคาร: มี จุ ด ยื น ที่ แ ตกต่ า งในฐานะธนาคารไทยที่ ส ามารถให้ บ ริ ก ารออกไปได้ ทั่วโลกผ่านพันธมิตรทางกลยุทธ์ของธนาคาร สร้างความสัมพันธ์ ในระยะยาวกับลูกค้า เป็นพันธมิตรทางธุรกิจที่ได้รับความเชื่อถือและให้บริการที่เป็นมิตรและมี ประสิทธิภาพ เราวางแผนเพื่อบรรลุความตั้งใจนี้อย่างไร: ใช้ประโยชน์ทางด้านเครือข่าย โครงสร้างพื้นฐาน และนวัตกรรมทาง การเงินจากความสัมพันธ์กับพันธมิตรทางกลยุทธ์ สร้างความสัมพันธ์ผ่านการให้บริการทางการเงินซึ่งเหมาะสมกับแต่ละ ประเภทธุรกิจ และมีบริการด้านธุรการรมการเงิน (Transactional Banking) ที่เป็นเลิศ เพิ่มการให้บริการซัพพลายเชนโซลูชั่น (Supply Chain Solution) ในฐานะที่เป็นบริการเพิ่มมูลค่าที่สำคัญ

ก ล ยุ ท ธ์ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

|

73

ผลงานเด่นของปี 2553 ลูกค้าธุรกิจรายใหญ่ถือเป็นแหล่งรายได้สำคัญของธนาคารทหารไทย โดย สินเชื่อของลูกค้ากลุ่มนี้คิดเป็นสัดส่วนถึงประมาณร้อยละ 50 ของจำนวน สินเชือ่ ทัง้ หมดของธนาคาร ในปี 2553 ธนาคารประสบความสำเร็จในการขยาย ฐานลูกค้าที่มีความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องกับธนาคารอีกประมาณ 300 ราย ในขณะเดียวกันธนาคารได้ทำการปรับลดสินเชื่อที่ให้กับลูกค้าบางกลุ่มที่มี ความเสี่ยงสูงออกด้วย โดยหากไม่รวมถึงการลดสินเชื่อที่มีความเสี่ยงสูง เหล่านี้ ยอดสินเชือ่ รวมของธนาคารจะเติบโตถึงร้อยละ 15 เมือ่ เทียบกับปี 2552

การบริการธุรกิจต่างประเทศ และผลิตภัณฑ์ตลาดทุนนับเป็นบริการที่เพิ่ม มูลค่าที่สำคัญสำหรับกลุ่มลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ โดยธนาคารมีการพัฒนา หลายประการเพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจว่ า บริ ก ารของธนาคารสามารถตอบ โจทย์ความต้องการของลูกค้าได้ ในปี 2553 ยอดการใช้บริการธุรกิจต่าง ประเทศของธนาคารมีมูลค่าสูงขึ้นถึงร้อยละ 290 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2552 นอกจากนี้ ธนาคารยังได้นำเสนอผลิตภัณฑ์และการให้บริการใหม่ๆ แก่ลูกค้า เช่น Trade on Demand และการเตรียมเอกสาร (Document Preparation) บทนำ สำหรับผลิตภัณฑ์ตลาดทุนก็เช่นกัน ธนาคารได้ทำงานร่วมกับพันธมิตรทาง การธนาคารเพื่ อ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ แบ่ ง ออกเป็ น กลุ่ ม ย่ อ ย 2 กลุ่ ม ซึ่ ง ทำให้ กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ นำเสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น ในตลาด ธนาคารทหารไทยสามารถให้บริการที่ดีขึ้น ตามความต้องการของลูกค้า หลากหลายชนิ ด ส่ ง ผลให้ ธ นาคารประสบความสำเร็ จ ในการเติ บ โตถึ ง ที่แตกต่างกัน ร้อยละ 165 เมื่อเทียบกับปี 2552 1. การธนาคารสำหรับลูกค้าธุรกิจ Corporate Banking (CB) ให้บริการ การให้บริการที่เพิ่มมูลค่าให้แก่ลูกค้าของธนาคารล่าสุดคือ บริการซัพพลาย บริษัทที่มียอดขายต่อปีระหว่าง 500 – 5,000 ล้านบาท เชนโซลูชั่น (Supply Chain Solution) ที่ช่วยให้ลูกค้าของธนาคารสามารถ 2. การธนาคารสำหรับลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ Multi-Corporate Banking จัดการกระแสเงินสดและงบดุลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยบริการดังกล่าว (MB) ให้บริการบริษัทที่มียอดขายต่อปีสูงกว่า 5,000 ล้านบาท ได้รับการสนับสนุนที่ดีจากเครือข่ายธุรกิจขนาดใหญ่จำนวน 17 เครือข่าย ลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่เหล่านี้มีส่วนร่วมในทุกๆ ส่วนของระบบเศรษฐกิจไทย รวมทั้งตัวแทนจำหน่ายจำนวน 500 ราย ส่งผลให้เกิดยอดวงเงินสินเชื่อถึง และธนาคารนำเสนอบริการทางการเงินที่ครอบคลุม ผ่านทางเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร 6,000 ล้านบาท นอกจากนี้ ธนาคารมีการเปิดศูนย์ธุรกิจเพิ่มขึ้นอีก 16 แห่ง ความสัมพันธ์ลูกค้า (Relationship Manager)ที่ดูแลลูกค้าเป็นรายเฉพาะ ในย่านธุรกิจหลักๆ ทั่วประเทศไทย เพื่อให้ลูกค้าสามารถติดต่อธนาคาร และได้ รั บ การสนุ บ สนุ น จากช่ อ งทางการให้ บ ริ ก ารทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ได้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น (e-channels) ศู น ย์ บ ริ ก ารทางโทรศั พ ท์ ส ำหรั บ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ บริการธุรกิจต่างประเทศและผลิตภัณฑ์ตลาดทุนทำให้ธนาคารมีรายได้ที่ไม่ได้ เครือข่ายสาขาและเครื่องเอทีเอ็ม มาจากดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นถึงประมาณร้อยละ 15 ของตลอดทั้งปี 2553 ซึ่งแสดง บริการที่ธนาคารให้แก่ลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ ได้แก่ สินเชื่อเป็นทุนหมุนเวียนและทุนระยะกลางถึงระยะยาว บัญชีกระแสรายวันและออมทรัพย์ บริการธุรกิจต่างประเทศ สินเชื่อสำหรับเครือข่ายธุรกิจการค้า ผลิตภัณฑ์ตลาดทุน บริการด้านวาณิชธนกิจ บริการตัวแทนและหลักทรัพย์ บริการที่มีเครือข่ายทั่วโลก

ถึงการให้คำมั่นสัญญาของธนาคารทหารไทย ที่มุ่งมั่นที่จะเข้าใจและให้บริการ ตามความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี

แผนงานสำหรับปี 2554 เสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ พั น ธมิ ต รทางกลยุ ท ธ์ ม ากขึ้ น เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ลู ก ค้ า โดยการเข้ า ถึ ง เครื อ ข่ า ยทั่ ว โลก นวัตกรรมทางการเงิน และบริการของไอเอ็นจี เข้าถึงลูกค้าใหม่เพิม่ ขึน้ ผ่านทางบริการธุรกรรมทางการเงิน (Transactional Banking) ที่ยอดเยี่ยมและบริการทางการเงินอื่นๆ ของธนาคารที่แบ่งตาม ความต้องการของกลุ่มธุรกิจของลูกค้า ทำให้ลูกค้าติดต่อธนาคารได้ง่ายขึ้นโดยใช้ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์ บริการทางโทรศัพท์สำหรับลูกค้าธุรกิจ (Corporate Call Center) และ เครือข่ายสาขาของธนาคารที่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ


74

|

ก ล ยุ ท ธ์ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

การธนาคารเพื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ความตั้งใจของธนาคาร: เป็นธนาคารเพื่อกลุ่มลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมชั้นนำของ ประเทศไทย สร้างคุณค่าที่แท้จริงโดยการยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง อีกทั้งมีความเข้าใจ อย่างถ่องแท้ในธุรกิจและความต้องการของลูกค้า เราวางแผนเพื่อบรรลุความตั้งใจนี้อย่างไร: ให้บริการแก่ลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในระดับที่เทียบเท่ากับ ลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ ให้ทางเลือกนวัตกรรมด้านสินเชื่อ ซึ่งปกติเป็นความต้องการหลักของ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพผ่านเครือข่าย สาขาและช่องทางอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่สะดวกสบาย

บทนำ ธนาคารทหารไทยให้ความสำคัญกับกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เนือ่ งจากกลุม่ ดังกล่าวมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยและเป็นกลุม่ ที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการทางการเงินอย่างแท้จริง ธนาคารได้ จำแนกกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมออกเป็นสองกลุ่มที่มีลักษณะ ความต้องการบริการจากธนาคารที่ต่างกันดังนี้ คือ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ผลงานเด่นของปี 2553 จากการวิจัยและการรับฟังความคิดเห็นของลูกค้า ธนาคารพบว่า การมี หลักประกันไม่เพียงพอเป็นอุปสรรคใหญ่ของลูกค้าในการยื่นขอสินเชื่อจาก ธนาคารพาณิชย์ทั่วไป เพื่อช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวให้แก่ลูกค้า ธนาคารจึง ออกผลิตภัณฑ์สินเชื่อสามเท่าด่วนเมื่อต้นปี 2553 เพื่อเป็นแหล่งเงินทุน อีกแห่งหนึ่งแก่ลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ได้รับการตอบรับที่ดียิ่งจากลูกค้า และในเวลาต่อมาไม่นานนัก คู่แข่งหลายราย ได้ออกผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันออกสู่ตลาดอีกด้วย การออกผลิตภัณฑ์ ดังกล่าวเป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า ธนาคารมีความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าที่จะ พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆเพื่อช่วยขจัดความท้าทายและอุปสรรคที่ลูกค้าธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มกำลั ง เผชิ ญ อยู่ ในช่ ว งครึ่ ง หลั ง ของปี 2553 ธนาคารได้ อ อกผลิ ต ภั ณ ฑ์ โอดี ไ ม่ ต้ อ งใช้ ห ลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง ช่ ว ยเสริ ม สร้ า ง ความแข็งแกร่งของธนาคารในกลุ่มลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ยิ่งขึ้นไปอีก ในด้ า นความประสิ ท ธิ ภ าพในการให้ บ ริ ก าร ธนาคารได้ คั ด เลื อ กและรั บ ผู้จัดการด้านพัฒนาธุรกิจและด้านการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าเข้า มาใหม่กว่า 250 อัตราเพื่อปรับปรุงให้สัดส่วนลูกค้าต่อพนักงานให้บริการมี ความเหมาะสมยิ่งขึ้น นอกจากนี้ เพื่อช่วยให้พนักงานบริหารความสัมพันธ์ กับลูกค้าได้มีเวลาพบปะกับลูกค้าเพิ่มขึ้นและปรับปรุงคุณภาพการบริการ ให้ดีขึ้น ธนาคารได้โยกย้ายงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานบริการลูกค้าทั้งหมดให้ ไปอยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายสนับสนุน

กิจการขนาดเล็กที่มียอดขายไม่เกิน 50 ล้านบาท กิจการขนาดกลางที่มียอดขายระหว่าง 50 ล้าน ถึง 500 ล้านบาท

นอกเหนือจากเครือข่ายสาขาที่มีอยู่ทั่วประเทศ ณ ปี 2553 ธนาคารมีศูนย์ ธุรกิจลูกค้าผู้ประกอบการจำนวน 50 แห่ง ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ทั่วประเทศ โดยถึงแม้ว่าโดยทั่วไปลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจะมีความต้องการ เพื่ออำนวยความสะดวกให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงบริการของธนาคารได้มากขึ้น ด้านผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินคล้ายคลึงกับลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ นอกจากนี้ ลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยังสามารถเข้าถึงบริการและ ธนาคารได้ดำเนินการวิจัยเชิงลึกด้านความต้องการของลูกค้าเพื่อเข้าใจ ทำธุรกรรมกับธนาคารได้อย่างปลอดภัยผ่านช่องทางบริการทางเลือกอื่นๆ ปั ญ หาและความต้ อ งการที่ แ ท้ จ ริ ง ของธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มได้ เช่น ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ และบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น อย่างถ่องแท้ยิ่งขึ้น และธนาคารได้วางคุณลักษณะที่มีคุณค่าต่อลูกค้าบน เนื่องจากความรู้ทางธุรกิจเป็นเครื่องมือสำคัญยิ่งที่ช่วยให้ลูกค้าประสบ พื้นฐานของความต้องการที่สำคัญของลูกค้า ดังนี้ ความสำเร็จทางธุรกิจ ในปี 2553 ธนาคารได้จัดสัมมนาทางวิชาการขึ้น ช่วยให้ลูกค้ามีเงินทุนที่พอเพียง มีความสัมพันธ์ที่ดี ให้บริการและความสะดวกในการติดต่อธนาคาร ให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ลูกค้า

หลายครั้งสำหรับลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทั่วประเทศไทยเพื่อ แบ่งปันข้อมูลในหัวข้อสำคัญเช่น สภาพเศรษฐกิจและการคาดการณ์ทาง เศรษฐกิจ ระบบการบริหารจัดการทางบัญชี และการสร้างประโยชน์จาก AFTA และ AEC สำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ธนาคารได้รับ ผลตอบรับที่ดียิ่งจากผู้เข้าร่วมสัมมนาดังกล่าวและทำให้ลูกค้ามองธนาคาร ว่าเป็นพันธมิตรที่น่าไว้วางใจ

แผนงานสำหรับปี 2554 ดำเนินการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อช่วยเหลือลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมที่ยังต้องการแหล่งเงินทุน ขยายช่องทางการให้บริการรวมไปถึงช่องทางที่เป็นทางเลือกใหม่ เพื่อให้ ลูกค้าสามารถเข้าถึงธนาคารได้มากขึ้นและพัฒนาคุณภาพการบริการ ให้ดีขึ้น


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

การธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย ความตั้งใจของธนาคาร: เป็นตัวเลือกอันดับที่ 1 ในการให้บริการด้านธุรกรรมทางการเงิน (Transactional Banking) สร้างคุณค่าแก่ลูกค้าโดยการนำเสนอผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความ ต้องการของลูกค้าเป็นรายบุคคล เราวางแผนเพื่อบรรลุความตั้งใจนี้อย่างไร: ให้ความสะดวกสบายในการทำธุรกรรมทางการเงินแก่ลูกค้าในราคาที่ เหมาะสม เพื่อให้ ได้มาซึ่งลูกค้าที่บัญชีมีการเคลื่อนไหวอย่างสม่ำเสมอ จัดหาช่องทางที่เป็นทางเลือกใหม่ๆซึ่งให้บริการที่ดีกว่า เพื่อให้ลูกค้า สามารถเข้าถึงบริการของธนาคารได้สะดวกรวดเร็ว พร้อมด้วยประโยชน์ ใช้สอยและความมีประสิทธิภาพ นำเสนอผลิตภัณฑ์และการให้บริการที่ถูกต้องในเวลาที่เหมาะสมผ่าน ระบบการบริการจัดการแผนงานทางการตลาดที่เป็นเลิศ

บทนำ ธนาคารทหารไทยให้บริการผลิตภัณฑ์เงินฝากและผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ที่หลากหลายแก่ลูกค้ารายย่อยผ่านเครือข่ายสาขาจำนวน 455 แห่ง ตู้เอทีเอ็ม อีกจำนวน 2,300 เครื่อง ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ทหารไทยเอ็มแบงก์กิ้ง และ ศูนย์บริการลูกค้าทางโทรศัพท์ (1558) เพื่อให้ธนาคารได้ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้ารายย่อยด้วยคุณภาพบริการระดับสูงสุดที่สามารถเป็น ไปได้ ธนาคารได้ทำการแบ่งกลุ่มลูกค้ารายย่อยออกเป็น 3 กลุ่มประกอบด้วย กลุ่มฐานะมั่งคั่ง กลุ่มรายได้ระดับกลาง และกลุ่มทั่วไป จากนั้น ธนาคารได้ แบ่งย่อยกลุ่มลูกค้าเหล่านี้ออกไปอีกตามสถานภาพรายบุคคลและในแต่ละ ช่วงชีวิต

ก ล ยุ ท ธ์ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

|

75

ผลงานเด่นของปี 2553 ธนาคารมีผลงานที่แข็งแกร่งโดยบรรลุเป้าหมายในการเป็นทางเลือกอันดับ 1 ในการให้บริการด้านธุรกรรมการเงิน (Transactional Banking) ในปี 2553 มีการเปิดบริการเดินบัญชีผ่านทั้งบัญชีออมทรัพย์และบัญชีกระแสรายวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 25 จากปี 2552 ส่งผลให้จำนวนลูกค้ารายย่อยของธนาคาร เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนกว่า 5 ล้านราย นอกจากนี้ ธนาคารได้ทำการปรับปรุง คุณภาพช่องทางบริการอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ทำให้ยอดธุรกรรมผ่านธนาคาร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 250 และธุ ร กรรมผ่ า นตู้ เ อที เ อ็ ม เพิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ 35 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ธนาคารทหารไทยได้ออกผลิตภัณฑ์ออมทรัพย์ออกมาอย่างต่อเนื่อง และ ให้ทางเลือกในการออมที่ยืดหยุ่นแก่ลูกค้า เช่น บัญชีเงินฝากประจำ ทีเอ็มบี อัพแอนด์อัพ และบัญชีเงินฝากประจำทีเอ็มบีดอกเบี้ยด่วน ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ประสบความสำเร็จในการดึงดูดเงินฝากใหม่เพิ่มขึ้น และธนาคารคู่แข่งได้ออก ผลิตภัณฑ์แบบเดียวกันในเวลาต่อมา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของ ผลิตภัณฑ์ของธนาคาร ผลิตภัณฑ์ บัตรเครดิต TMB So Chill เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่า เรายืนหยัดเพื่อให้บริการทางการเงินที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็นแนวคิดใหม่ด้านการให้กู้เงินโดยไม่ต้องมีหลักทรัพย์ ค้ำประกัน ซึ่งปิดช่องว่างระหว่างเครดิตการ์ดกับสินเชื่อบริโภคส่วนบุคคลที่ มีอยู่ในตลาด เงินกู้ ไม่ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันอื่นๆ ประกอบด้วย สินเชื่อ บุคคลวงเงินสำรองพร้อมใช้ และ สินเชื่อบุคคลเงินสดทันใจ มีการเติบโตด้วย ยอดขายที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 24 จากปี 2552

นอกจากนี้ ธนาคารยังมีความพยายามที่พัฒนาการประสบการณ์ที่ดีแก่ ภายใต้รูปแบบการจัดการกลุ่มลูกค้าที่ดีและเหมาะสม ธนาคารให้บริการทาง ลู ก ค้ า ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การพั ฒ นาในหลายด้ า น เช่ น การใช้ เ ครื่ อ งอ่ า น การเงินแก่ลูกค้ารายย่อยดังต่อไปนี้ บัตรประจำตัวประชาชนสำหรับการเปิดบัญชีใหม่ และการให้บริการฝาก บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน ออมทรัพย์ และ ฝากประจำ ถอนเงินโดยไม่ต้องใช้สลิป ซึ่งชนะเลิศรางวัล Financial Insight Innovation สินเชื่อที่อยู่อาศัย Award ด้านการสร้างความผูกพันกับลูกค้า ธนาคารได้ทำการยกระดับ สินเชื่อเพื่อการบริโภคที่ ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน เช่น เงินกู้ส่วน ศู น ย์ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ทางโทรศั พ ท์ (1558) ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางบริ ก าร เพื่อการบริโภคส่วนบุคคล และ บัตรเครดิต ที่สำคัญ ทำให้ธนาคารสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพบริการ บริการแลกเปลี่ยนเงินตรา ได้อย่างมากมาย การบริหารจัดการสินทรัพย์ ภายใต้การดำเนินงานของ TMB Asset แผนงานสำหรับปี 2554 Management จำกัด (TMBAM) และ บริษัท ING Funds (Thailand) ยังคงให้ความสำคัญกับคุณลักษณะที่จำเป็นต่อลูกค้า (Customer Value จำกัด (ING FUNDS) Preposition) ได้แก่ บริการให้บริการด้านธุรกรรมการเงินที่มีมาตรฐาน ประกันชีวิตและประกันภัยโดยความร่วมมือกับ ING Life Limited และ ระดับโลก เพื่อให้ความสะดวกในการดินบัญชีแก่ลูกค้า พร้อมกับการให้ บริษัทประกันภัยอื่นๆ บริการและผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าในด้านวิถีการ ดำรงชีวิต วงจรชีวิต และระดับฐานะ ตั้งเป้าหมายให้เงินกู้ที่ให้ดอกเบี้ยสูงเติบโตร้อยละ 35 และ เงินฝากเติบโตขึ้น ร้อยละ 15


76

|

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง แ ล ะ ปั จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ สํ า คั ญ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ การบริหารความเสี่ยงของธนาคารทหารไทย การบริหารความเสี่ยงเป็นพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจของธนาคารทหารไทย ทั้งนี้เพื่อให้ธนาคารสามารถเพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนที่เหมาะสมและยั่งยืน ต่อผู้ถือหุ้น ธนาคารมีการบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมความเสี่ยงที่สำคัญ ได้แก่ ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ และความเสี่ยงด้านอื่นๆ โดยมีกระบวนการในการบริหารความเสี่ยงที่ต้องสามารถระบุ ประเมินและวัด ความเสี่ยงทั้งในภาวะการณ์ปรกติและภาวะวิกฤติ มีการติดตามความเสี่ยง อย่างต่อเนื่องและมีกลไกในการควบคุมความเสี่ยง รวมทั้งจัดให้มีการรายงาน ความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอ ทันเหตุการณ์ และใช้ข้อมูลการบริหารความเสี่ยงที่ โปร่งใส

ธนาคารจัดให้มีโครงสร้างการกำกับดูแลความเสี่ยงเพื่อเสริมสร้างความ เข้ ม แข็ ง ในการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยคณะกรรมการธนาคารมี ห น้ า ที่ รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของธนาคาร คณะ กรรมการธนาคารได้กระจายอำนาจที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง แต่ ด้ า นให้ แ ก่ ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งชุ ด ย่ อ ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง มี หน้าที่รับผิดชอบในการจัดให้มี สนับสนุนให้มีการนำมาใช้ ทบทวน ควบคุม ดูแลและติดตาม การบริหารจัดการความเสี่ยงต่างๆ เช่น กลยุทธ์ ในการ บริหารความเสี่ยง นโยบายความเสี่ยง กรอบการปฏิบัติงาน และมาตรฐาน ในการทำงานที่มีความละเอียดเพียงพอ รวมถึงการกำหนดระดับความเสี่ยง และระดั บ การกระจุ ก ตั ว ของความเสี่ ย งที่ ธ นาคารยอมรั บ ได้ ทั้ ง นี้ คณะ กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งชุ ด ย่ อ ยต้ อ งดู แ ลให้ ก ารดำเนิ น การนั้ น ๆ ครอบคลุมทั้งธนาคารและกิจการในเครือของธนาคารอย่างเหมาะสม รวมทั้ง ต้องมั่นใจได้ว่ามีผู้รับผิดชอบที่เหมาะสมในการดูแลให้การดำเนินการต่างๆ เป็นไปอย่างเหมาะสม

คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการสินเชื่อ

ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

คณะพิจารณาสินเชื่อ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะนโยบายบริหารความเสี่ยง

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารความเสี่ยง

คณะปรับปรุงคุณภาพ สินเชื่อ 1 คณะปรับปรุงคุณภาพ สินเชื่อ 2 สายงานกลยุทธ์องค์กร

สายงานสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และพัฒนาสินทรัพย์ สายงานสินเชื่อรายย่อยและเอสเอ็มอี สายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงและนโยบาย

คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ คณะกรรมการบริหาร สินทรัพย์และหนี้สิน

สายงานบริหารความเสี่ยงสินเชื่อเชิงกลยุทธ์ สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาด สายงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ สายงานกำกับการปฏิบัติงาน สายงานกฎหมาย สอบทานสินเชื่อ วิเคราะห์ความเสี่ยงมหภาค

บุคลากร การกำกับดูแลด้านการบริหารความเสี่ยง กระบวนการ เครื่องมือ และระบบวัดระดับความเสี่ยง รวมทั้งจัดให้มีการอบรมแก่พนักงานขอธนาคาร เพื่อพัฒนาความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับมาตรฐาน

ธนาคารได้ผนวกการบริหารความเสี่ยงเข้ากับการดำเนินธุรกรรมประจำวัน และการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อสร้างความเหมาะสมระหว่างความเสี่ยงและ ผลตอบแทน รวมทั้งเสริมสร้างวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างรัดกุม และเข้มงวดในการทำงานด้วยความเข้าใจในผลลัพธ์และผลกระทบอันเกิดจาก ความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยงด้านสินเชื่อ

ธนาคารให้ความสำคัญและมุ่งมั่นในการพัฒนา ปรับปรุงประสิทธิภาพใน การบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนา

ธนาคารมีเป้าหมายในการบริหารความเสีย่ งด้านสินเชือ่ เพือ่ สร้างผลตอบแทน ที่เหมาะสมกับความเสี่ยง โดยการควบคุมความเสี่ยงด้านสินเชื่อให้อยู่ในระดับ ที่ธนาคารยอมรับได้ และสร้างความสามารถในการแข่งขันเชิงธุรกิจอย่าง


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ยั่งยืนโดยให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินธุรกิจและ การวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร ธนาคารตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล และทันกาลในสภาพการณ์ทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป จึงได้พัฒนาการกำกับ ดูแล นโยบาย แนวทางและมาตรฐาน การบริหารความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ซึ่งสะท้อนกฎเกณฑ์ทางการ สภาพแวดล้อมในการทำธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงบทเรียนจากประสบการณ์ ในอดีต อีกทั้งมีการบริหารความเสี่ยงใน เชิงรุก โดยกำหนดเงื่อนไขระดับความเสี่ยงด้านต่างๆ ที่ธนาคารยอมรับได้ ในแต่ละ portfolio เพื่อให้มั่นใจว่า ธุรกิจของธนาคารมีการขยายตัวภายใต้ ระดับความเสีย่ งและผลตอบแทนทีธ่ นาคารยอมรับได้ ในส่วนของการตัดสินใจ ทางด้านสินเชือ่ นัน้ ธนาคารได้ดำเนินการอย่างต่อเนือ่ งในการพัฒนาเครือ่ งมือ ที่ใช้ในการวัดความเสี่ยงโดยใช้ข้อมูลเชิงปริมาณที่ถูกต้อง มีการพัฒนาระบบ early warning system เพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการติดตามความเสี่ยงด้าน สินเชื่อ รวมทั้งมีการประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสินเชื่อและเงินกองทุนของ ธนาคารในกรณีภาวะวิกฤติต่างๆด้วย

ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญด้านสินเชื่อ คุณภาพสินเชื่อ ธนาคารบริหารคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อโดยติดตามและทบทวนสถานะของ ลูกหนี้หรือคู่สัญญาอย่างสม่ำเสมอ ธนาคารมีระบบ early warning system เพื่ อ ติ ด ตามลู ก หนี้ ซึ่ ง ยั ง เป็ น หนี้ ที่ มี คุ ณ ภาพดี แ ต่ อ าจได้ รั บ ผลกระทบ ในทางลบจากปั จ จั ย ต่ า งๆ ซึ่ ง อาจส่ ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพหนี้ มี ก ารกำหนด ให้ มี ก ารทบทวนและรายงานสถานะของลู ก หนี้ บ่ อ ยครั้ ง ยิ่ ง ขึ้ น กรณี เ ป็ น หนี้ด้อยคุณภาพซึ่งเป็นความเสี่ยงสำคัญของธนาคาร ธนาคารมีทีมงาน และคณะกรรมการแก้ ไขหนี้ด้อยคุณภาพ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับเงื่อนไขใน การปรับโครงสร้างหนี้ ธนาคารได้ตั้งสำรองส่วนเกินเพื่อรองรับส่วนสูญเสีย ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตกับหนี้คุณภาพดีนอกเหนือจากการตั้งสำรองเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญอย่างเพียงพอสำหรับความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตามเกณฑ์ ที่กำหนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคำนวณจากความน่าจะเป็นที่ ลูกหนี้ที่จะผิดนัดชำระหนี้ (probability of default) ของลูกหนี้ในแต่ละระดับ ความเสี่ยง ยอดหนี้เมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ (exposure at default) ตาม ประเภทของสินเชื่อ และความเสียหายเมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ (loss given default) ตามประเภทหลักประกัน การเสื่อมค่าของมูลค่าหลักประกัน เนื่องจากหลักประกันของสินเชื่อส่วนใหญ่ของธนาคารเป็นอสังหาริมทรัพย์ และทรัพย์สินอื่น ซึ่งมูลค่าของหลักประกันดังกล่าวอาจได้รับผลกระทบจาก สภาวะเศรษฐกิจของประเทศ การตกต่ำของภาคอสังหาริมทรัพย์อาจส่งผล ให้ มู ล ค่ า ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ ใ ช้ เ ป็ น หลั ก ประกั น สิ น เชื่ อ บางรายต่ ำ กว่ า หนี้ เ งิ น ต้ น ของสิ น เชื่ อ นั้ น ซึ่ ง อาจทำให้ ธ นาคารมี ส่ ว นสู ญ เสี ย เมื่ อ เกิ ด

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง แ ล ะ ปั จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ สํ า คั ญ

|

77

ปั ญ หาหนี้ ด้ อ ยคุ ณ ภาพ ธนาคารมี ก ารจั ด ทำนโยบายและวิ ธี ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ กำหนดแนวทางและมาตรฐานในการประเมินราคาหลักประกันตามหลักเกณฑ์ ของธนาคารแห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด โดยความถี่ในการประเมินราคา หลักประกันขึ้นกับคุณภาพของสินเชื่อ การกระจุกตัวของสินเชื่อ ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของสินเชื่อเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างหนึ่ง ในการบริหารความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ธนาคารบริหารและติดตามดูแลการ กระจุกตัวของสินเชื่อในแต่ละภาคธุรกิจ ประเทศคู่สัญญา และลูกหนี้รายใหญ่ โดยธนาคารได้ ก ำหนดเพดานความเสี่ ย งที่ ธ นาคารยอมรั บ ได้ ทั้ ง ในราย ภาคธุรกิจ และในแต่ละประเทศคู่สัญญา เพื่อบริหารความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่จะเกิดขึ้นในอนาคตให้มีการกระจายตัวอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ธนาคารยังได้กำหนดเพดานความเสี่ยงด้านสินเชื่อสำหรับลูกหนี้ รายใหญ่ ร วมผู้ เ กี่ ย วข้ อ งไว้ ด้ ว ยรวมทั้ ง มี ก ารติ ด ตามและรายงานสถานะ ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวด้านสินเชื่อต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อย่างสม่ำเสมอ

การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ธนาคารทหารไทยเชื่อว่าการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการที่มีประสิทธิผล จะช่วยให้กระบวนการทางธุรกิจดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและช่วยลดต้นทุน ด้านปฏิบัติการ ดังนั้นธนาคารจึงได้พัฒนาและปรับปรุงกรอบการบริหาร ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่า ความเสี่ยงด้าน ปฏิบัติการได้ถูกระบุ วัดผล ติดตาม รายงาน วิเคราะห์และควบคุมอย่างเป็น ระบบและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กรอบการดำเนินงานดังกล่าวครอบคลุม โครงสร้างการกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการโดยมีรูปแบบ การกำกับดูแลความเสี่ยงด้วยหลักการป้องกัน 3 ลำดับ (3 lines of defence risk governance model) และสอดคล้องกับแนวทาง COSO เพื่ อ เสริ ม สร้ า งวั ฒ นธรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ธนาคารได้ ก ำหนดให้ หน่วยงานธุรกิจและหน่วยงานสนับสนุนเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการบริหาร และควบคุมความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของหน่วยงานตนเอง ธนาคารฯ ได้ แต่งตั้งตัวแทนเพื่อสนับสนุนการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Unit Operational Risk Manager: UORM) ไว้ในแต่ละสายงานธุรกิจและสายงาน สนับสนุน ซึ่งเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยสายงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ เป็ น ผู้ ช่ ว ยสนั บ สนุ น การทำงานของ UORM ขณะที่ ส ายงานตรวจสอบ ทำหน้าที่เป็น “แนวป้องกันชั้นที่สาม” ภารกิจของสายงานตรวจสอบคือ การตรวจสอบโดยอิ ส ระเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มาตรการควบคุ ม ภายในซึ่ ง ดำเนิ น การโดยแนวป้ อ งกั น ชั้ น ที่ ห นึ่ ง และสอง ได้ รั บ การออกแบบอย่ า งดี และสามารถควบคุ ม ความเสี่ ย งในการทำธุ ร กิ จ ของธนาคารฯ อย่ า งมี


78

|

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง แ ล ะ ปั จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ สํ า คั ญ

ประสิทธิผล ทั้งนี้ สายงานตรวจสอบจะให้คำแนะนำที่เฉพาะเจาะจงเพื่อ ปรับปรุงระบบบรรษัทภิบาล กรอบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม เครื่องมือการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและการปรับลดความเสี่ยง ธนาคารได้ ก ำหนดระดั บ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ ส ำหรั บ ความเสี่ ย งด้ า น ปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ พิ จ ารณาความเสี ย หายที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ขึ้ น (โอกาสและ ผลกระทบ) โดยกำหนดระดั บ ดั ง กล่ า วจากข้ อ มู ล ในอดี ต ของธนาคาร ความแข็งแกร่งทางการเงิน และสภาพแวดล้อมการบริหารความเสี่ยงด้าน ปฏิบัติการโดยรวม ในกรณีความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นสูงเกินระดับ ที่ยอมรับได้นั้น ธนาคารฯจะกำหนดแผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อลดระดับ ความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้อย่างเหมาะสม

ธนาคารได้จัดทำนโยบาย มาตรฐานขั้นต่ำ และแนวทางปฏิบัติต่างๆ เพื่อ ใช้ ในการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการโดยครอบคลุมทุกกระบวนการ ดำเนินงานที่สำคัญ นอกจากนี้ธนาคารได้ ใช้เครื่องมือต่างๆ ในการ ระบุ ประเมิน ควบคุมและรายงานการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ได้แก่ การประเมินความเสี่ยงและการควบคุมด้วยตนเอง (Risk and Control Self Assessment : R&CSA) การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) ดัชนีชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญ (Key Risk Indicator : KRI) และการจัดการเหตุการณ์ความเสี่ยง (Incident Management) นอกเหนื อ จากเครื่ อ งมื อ การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก ารข้ า งต้ น ธนาคารฯ ยังจัดให้มีเครื่องมือสนับสนุนเพื่อให้เกิดกลไกการลดความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการที่สำคัญเพิ่มเติม ได้แก่ กระบวนการอนุมัติผลิตภัณฑ์และ บริการใหม่ (Product and Service Approval Process: PSAP) การ ติดตามความคืบหน้าของแผนการจัดการความเสี่ยง (Action Tracking) นโยบายบริหารความเสี่ยงจากการใช้บริการจากผู้ ให้บริการภายนอก / การให้บริการด้านสนับสนุนแก่บุคคลอื่น (Outsourcing / Insourcing Risk Management) และแผนรองรั บ การดำเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและแผน ฉุกเฉินด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (BCP / DRP)

ความเสี่ยงด้านตลาด

ฐานะความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านตลาดประกอบด้วยความเสี่ยงด้านราคาและสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านราคาคือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาตราสารทุน และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด ธนาคารมีหน่วยงานที่เป็นอิสระจากหน่วยงานธุรกิจสองหน่วยงาน ทำหน้าที่ บริหารจัดการความเสี่ยงด้านตลาด ได้แก่ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

และหนี้สิน และสายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาด หน่วยงานที่ทำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงด้านตลาด เป็นผู้รับผิดชอบ ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติที่กำหนดไว้ในนโยบาย ของธนาคาร สายงานบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นตลาดเป็ น ผู้ ดู แ ลระดั บ ความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ภ ายใต้ ร ะดั บ ความเสี่ ย งที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ และหากเห็ น ว่ า มี แนวโน้มที่จะเกิดความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญขึ้นในอนาคตอันใกล้ หรือเหตุการณ์ ความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบในทางลบต่อธนาคารจะต้องรายงานให้ผู้บริหาร ที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อดำเนินการแก้ ไขอย่างเหมาะสมและทันท่วงที สายงาน ธุรกิจตลาดเงินเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารและการทำธุรกรรมทางการค้า เพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนที่เหมาสมกับเงินลงทุน

ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง คือ ความเสี่ยงที่ธนาคารหรือบริษัทย่อยไม่ สามารถชำระหนี้สินได้เมื่อครบกำหนด เนื่องจากไม่สามารถจัดหาเงินสด ได้ทันเวลาและด้วยต้นทุนที่เหมาะสม คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และ หนี้ สิ น เป็ น ผู้ ก ำหนดกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ งของ ธนาคาร ซึ่งต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการธนาคาร สายงาน บริหารเงินได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน ให้ดำรงสภาพคล่องที่เหมาะสม สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดได้รับมอบอำนาจในการบริหารจัดการ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องและร่วมกับสายงานบริหารเงินในการทดสอบ ความเสีย่ งด้านสภาพคล่องในภาวะวิกฤติ (Stress Testing) ฐานะสภาพคล่อง ของธนาคารจะถูกทดสอบภายใต้สถานการณ์จำลองหลายรูปแบบ เพื่อ ประเมินว่าธนาคารจะอยู่ภายใต้ภาวะวิกฤติที่เกิดขึ้นเป็นเวลานานได้หรือไม่

แผนฉุกเฉิน ธนาคารมี แ ผนฉุ ก เฉิ น ซึ่ ง กำหนดขั้ น ตอนและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการบริ ห าร สภาพคล่ อ งในภาวะวิ ก ฤติ ทั้ ง นี้ ธ นาคารมี ก ารทบทวนและทดสอบแผน ฉุ กเฉินอย่างสม่ำเสมอเพื่ อ สร้ างความมั่นใจว่าธนาคารมีค วามพร้ อ มใน การรองรับภาวะวิกฤติด้านสภาพคล่องที่อาจเกิดขึ้นได้ สำหรับบริษัทอื่นในกลุ่มธุรกิจการเงินของธนาคารอันรวมถึง บริษัทบริหาร สินทรัพย์พญาไท จำกัด บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม ทหารไทย จำกัด และ บริษัทเดซิกนี ฟอร์อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด ธนาคารได้จัดให้มีนโยบาย ซึ่ ง กำหนดแนวทางปฏิ บั ติ ขั้ น ต่ ำ ในการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นตลาดและ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และเปิดให้บริษัทย่อยได้ใช้ดุลยพินิจในการพัฒนา นโยบายของตนเองให้สอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจภายใต้กรอบที่กำหนด


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบที่ควบคุม ธนาคาร และการดำเนินธุรกิจของธนาคาร ความเสี่ยงของการไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่สำคัญของธนาคารเกิดจากการ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของจากพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน ประกาศ และหนังสือเวียนของธนาคารแห่งประเทศไทย กฎหมายและกฎเกณฑ์ของธุรกิจ หลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง กำหนดพระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ประกาศและหนังสือเวียนที่ออกโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ คณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ พ ระราชบั ญ ญั ติ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง

ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง แ ล ะ ปั จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ สํ า คั ญ

|

79

เพื่ อ ให้ มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งในการปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ สายงานกำกับการปฏิบัติงานได้จัดให้มีเครื่องมือต่างๆ เช่น รายการกฎเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติ (Compliance Checklist) การให้คำปรึกษา และสรุปเวียนแจ้งกฎเกณฑ์ที่เปลี่ยนแปลง (Compliance Update) แผนการ ตรวจสอบและสอบทานการปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ การรายงานและการ ตรวจสอบธุ ร กรรมต้ อ งสงสั ย การรายงานการปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ (Compliance Report) ต่อผู้บริหารและคณะกรรมการ และการอบรม หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ โดยมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ในปี 2553 การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบที่ควบคุมธนาคารที่สำคัญในส่วน ของธุรกิจธนาคาร เกิดจากประกาศและหนังสือเวียนที่ออกโดยธนาคารแห่ง ประเทศไทยเพื่อกำกับดูแลการปฏิบัติตาม Basell II, Pillar II และกระบวนการ ประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน (ICAAP) ทั้งนี้หน่วยงานต่างๆ ของ ธนาคารได้มีการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของธนาคารแห่ง ประเทศไทยซึ่งได้กล่าวถึงไว้ในส่วนอื่นๆ ของรายงานประจำปีฉบับนี้ ในส่วน ของธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ นั้ น การเปลี่ ย นแปลงของกฎเกณฑ์ ที่ ส ำคั ญ ซึ่ ง มี ผลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ ผู้ ส นั บ สนุ น การขายและการรั บ ซื้ อ คื น หน่ ว ยลงทุ น ของธนาคารคือการจัดทำแบบประเมินลงทุน (Client Suitability) ของผู้ซื้อ หน่ ว ยลงทุ น ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ะให้ ธ นาคารวิ เ คราะห์ ค วามสามารถ ในการรั บ ความเสี่ ย งของลู ก ค้ า (risk appetite) ในการจั ด จำหน่ า ย กองทุนรวม ในเรื่องนี้สายงานกำกับการปฏิบัติงานได้มีการดำเนินการกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแบบประเมิน การชี้แจงกฎเกณฑ์ การอบรม เจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับกฎเกณฑ์ซึ่งจะบังคับใช้ในปี 2554 นี้ ในส่วนของกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน มีพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2552 ซึ่งบังคับใช้เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2553 โดยพระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจ 9 ประเภทต้องรายงานธุรกรรมเงินสดต่อสำนักงานป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน โดยจำนวนเงินที่ต้องรายงานกำหนดโดยกฎกระทรวงที่อยู่ใน ระหว่างร่าง ผลกระทบอยู่ส่วนของธนาคารคือการรายงานธุรกรรมเงินโอน ทางอิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภทโดยธนาคารอยู่ระหว่างเตรียมการจัดทำระบบ งานคอมพิวเตอร์เพื่อรองรับ นอกจากนี้สำนักงานป้องกันและปราบปราม การฟอกเงินได้มีการย้ำเตือนในเรื่องการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ในเรื่องการ รู้จักลูกค้า และการเก็บข้อมูลลูกค้าให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน เนื่องจาก ประเทศไทยมีกำหนดถูกประเมินความพร้อมของการปฏิบัติตามมาตรฐาน ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินของ FATF โดยธนาคารโลก (World Bank) และ IMF ซึ่งในการนี้ธนาคารมีการดำเนินการอย่างจริงจังและ ต่อเนื่องเพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์อย่างเคร่งครัด

ธนาคารตระหนักดีถึงความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่เกิดจาก การกำหนดแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจ การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ และการ ควบคุมเชิงกลยุทธ์ ที่ไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกองค์กร ธนาคารได้กำหนดวิสัยทัศน์ที่จะก้าวเป็น “ธนาคารไทยชั้นนำ มาตรฐาน ระดับโลก” โดยจัด “โครงสร้างองค์กรที่ยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง” พร้อมกับ การดำเนิ น กลยุ ท ธ์ ก ารใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ งิ น ฝากเป็ น ตั ว นำ (Deposit-Led Strategy) เพื่อสร้างฐานที่มั่นคงสำหรับการเติบโตอย่างยั่งยืน ธนาคารได้จัด ทำแผนกลยุทธ์ 5 ปีซึ่งกำหนดทิศทางการดำเนินธุรกิจที่ชัดเจนเพื่อมุ่งสู่ การเป็นผู้นำตลาดด้านเงินฝาก ธนาคารจะมีการปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์นี้ ให้ทันสมัยตามสิ่งแวดล้อมและตลาดในรายปี เพื่อที่จะบริหารความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม ธนาคารได้ปรับปรุงกระบวนการ ติดตามผลการดำเนินงานและควบคุมเชิงกลยุทธ์ นอกจากนี้ยังได้จัดให้มี การประชุมระหว่างผู้บริหารและหน่วยงานทางธุรกิจต่างๆ เพื่อติดตามผล การดำเนิ น งานอย่ า งสม่ ำ เสมอ พร้ อ มกั บ การเสนอแนวทางแก้ ไ ขหากไม่ สามารถดำเนินงานได้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และได้เริ่มพัฒนาระบบ เตือนความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic risk dashboard) เพื่อรายงาน ให้ผู้บริหารทราบและตระหนักถึงสถานะความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ตลอดจน การจัดทำการประเมินผลตนเอง (Control Self Assessment) ในความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์เป็นรายปี โดยรวมแล้วธนาคารมีความมุ่งมั่นที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการบริหาร ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ โดยเริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ระบวนการจั ด ทำแผนกลยุ ท ธ์ การจัดองค์กรและอัตรากำลัง การดำเนินโครงการต่าง ๆ ตลอดจนกระบวน การติดตามและควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกลยุทธ์หลักของธนาคาร และมีการทบทวนปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างสม่ำเสมอ


80

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

บรรษัทภิบาลและโครงสร้างการจัดการ รายงานการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ธนาคารทหารไทย จำกั ด (มหาชน) (“ธนาคาร”) ได้ ด ำเนิ น กิ จ การ โดยยึ ด หลั ก ปฏิ บั ติ ใ นการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามมาตรฐานในระดั บ สู ง ซึ่ ง หมายถึ ง การที่ ธ นาคารมี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โปร่ ง ใส และตรวจสอบได้ เพื่ อ ช่ ว ยสร้ า งความเชื่ อ มั่ น และความมั่ น ใจต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ผู้ ล งทุ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย (ลู ก ค้ า พนั ก งาน คู่ ค้ า เจ้ า หนี้ หน่ ว ยงานทางการ ผู้ ล งทุ น และสั ง คม) จึ ง กล่ า วได้ ว่ า แนวการ กำกับดูแลกิจการที่ดีเป็นการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มมูลค่า และส่งเสริม การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนแก่ธนาคาร การกำกับดูแลกิจการ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม บุคคลต่างๆ ซึ่งได้แก่ คณะกรรมการธนาคาร ฝ่ายจัดการของธนาคาร ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกราย ทั้งนี้ โครงสร้างการกำกับดูแลกิจการ ที่ ดี จ ะช่ ว ยให้ ธ นาคารสามารถกำหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมายทาง ธุรกิจ รวมทั้งวิธีการ กระบวนการและขั้นตอนในการดำเนินการให้บรรลุถึง วัตถุประสงค์และเป้าหมาย และแนวทางในการติดตามวัดผลการดำเนินงาน ของธนาคารว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ การกำกับดูแลกิจการ สามารถให้ สิ่ ง จู ง ใจที่ จ ะทำให้ ค ณะกรรมการและฝ่ า ยจั ด การของธนาคาร พยายามดำเนิ น งานให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายอั น เป็ น ประโยชน์ กั บ ธนาคารและ ผู้ ถื อ หุ้ น และช่ ว ยให้ ร ะบบการติ ด ตามและประเมิ น ผลงานเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล คณะกรรมการธนาคารได้ อ นุ มั ติ “นโยบายการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของ ธนาคาร” ซึ่งได้จัดทำเป็นลายลักษณ์อักษรและประกาศใช้โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรของธนาคารทุ ก ระดั บ ตั้ ง แต่ กรรมการธนาคาร ฝ่ า ยจั ด การ และพนั ก งาน พึ ง ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด และต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ คณะกรรมการธนาคารยั ง ได้ อ นุ มั ติ TMB Corporate Governance Framework ซึ่งเป็นกรอบโครงสร้างการกำกับดูแลกิจการ ของธนาคาร โดยเป็ น การกำหนดและแบ่ ง แยกขอบเขตอำนาจหน้ า ที่ แ ละ ความรั บ ผิ ด ชอบระหว่ า งคณะกรรมการธนาคาร กั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหาร (CEO) และฝ่ายจัดการให้มีความชัดเจนมากขึ้น โดยประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห าร (CEO) มี อ ำนาจหน้ า ที่ ใ นการบริ ห ารจั ด การกิ จ การต่ า งๆ ของ ธนาคารให้ เ ป็ น ไปตามนโยบาย กลยุ ท ธ์ และแผนงานต่ า งๆ ตามที่ คณะกรรมการธนาคารมอบหมาย นอกจากนี้ ธนาคารยังมีคณะประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร (Chief Executive Committee) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) และประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านต่างๆ (Chiefs) เป็นกรรมการ เพื่อทำหน้าที่บริหารและดำเนินงานของธนาคาร

ในแต่ ล ะวั น ตามแผนกลยุ ท ธ์ ทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว กำกั บ ดู แ ลให้ มี การทบทวนการดำเนิ น งานให้ บ รรลุ ต ามเป้ า หมาย และกลยุ ท ธ์ ข อง ธนาคาร พิจารณาเสนอต่อคณะกรรมการธนาคารเพื่อให้ความเห็นชอบ แผนธุรกิจ งบประมาณประจำปี และควบคุมจำนวนพนักงานให้เป็นไปตาม แผนอั ต รากำลั ง พิ จ ารณาและอนุ มั ติ ก ารลงทุ น โครงการสำคั ญ ต่ า งๆ ของธนาคาร ภาพลักษณ์องค์กร การสื่อสาร การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการดำเนิ น การเพื่ อ กอบกู้ ส ถานการณ์ ตลอดจนแก้ ไ ขปั ญ หาใน ภาวะการณ์ที่มีเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งพิจารณากลยุทธ์การดำเนินงานของ บริษัทในเครือและทบทวนผลการดำเนินงานของธนาคาร คณะกรรมการธนาคารได้ พ ยายามอย่ า งเต็ ม ที่ ที่ จ ะดู แ ลและติ ด ตามให้ มี การปฏิ บั ติ ต ามนโยบายและโครงสร้ างที่ กำหนดไว้ รวมทั้ ง มี ก ารทบทวน ปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น เหมาะสม และสอดคล้ อ งทั น ต่ อ สภาวการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งสม่ ำ เสมอ เพื่ อ ให้ ก ารนำไปปฏิ บั ติ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อธนาคาร ผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในปี 2553 ธนาคารยังคงมุ่งมั่นในการดำเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล ที่ ดี ด้ ว ยความโปร่ ง ใสและเป็ น ธรรม รวมถึ ง การมี เ จตนารมณ์ อั น แน่ ว แน่ ที่ จ ะพั ฒ นาการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของธนาคารให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง จากผล สำรวจการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทยโดยสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (สถาบัน IOD) ในปี 2553 ธนาคารได้ผลคะแนน อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” (Excellent) อย่างต่อเนื่อง โดยในปีที่ผ่านมาธนาคาร ได้ดำเนินธุรกิจภายใต้หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สรุปได้ดังนี้

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders) ผู้ ถื อ หุ้ น ในฐานะผู้ ที่ เ ป็ น เจ้ า ของธนาคารจะแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการให้ ท ำ หน้ า ที่ แ ทนตนและมี สิ ท ธิ ใ นการตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ สำคัญของธนาคาร ซึ่งธนาคารได้ถือปฏิบัติในสิทธิของผู้ถือหุ้น การส่งเสริม ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ใช้ สิ ท ธิ ข องตน และยึ ด มั่ น ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่าง เท่าเทียมกันตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ แ ห่ ง ประเทศไทย สำหรั บ บริษัทจดทะเบียนและหน่วยงานทางการที่เกี่ยวข้อง ธนาคารได้ อ ำนวยความสะดวกให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายได้ รั บ สิ ท ธิ พื้ น ฐาน ต่ า งๆ ได้ แ ก่ สิ ท ธิ ใ นการซื้ อ ขาย โอนหลั ก ทรั พ ย์ ที่ ต นถื อ อยู่ อ ย่ า งเป็ น อิ ส ระ และการดู แ ลรั ก ษาผลประโยชน์ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก กลุ่ ม ทั้ ง ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ รายย่อย บุคคลธรรมดา รวมถึงสถาบันด้วยความเสมอภาค เท่าเทียมกันในการได้รับข้อมูลข่าวสารของธนาคารที่ถูกต้องทันเวลา


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

81

ธนาคารได้กำหนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละ 1 ครั้ง ภายในเวลา ไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (31 ธันวาคม) และหาก มี ค วามจำเป็ น เร่ ง ด่ ว นต้ อ งเสนอวาระเป็ น กรณี พิ เ ศษซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ เกี่ยวข้องกับเงื่อนไข กฎเกณฑ์ หรือกฎหมายที่ใช้บังคับจะต้องได้รับอนุมัติ จากผู้ถือหุ้น ธนาคารจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป

ที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของธนาคาร มีกรรมการธนาคารเข้าร่วมประชุม จำนวน 8 คน

ในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น วาระการประชุ ม และเอกสารต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ธนาคารได้ น ำส่ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ล่ ว งหน้ า โดยอย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด ขั้ น ตอนการ ดำเนิ น การต่ า งๆ ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กำหนดของทางการทั้ ง ในเรื่ อ ง ระยะเวลาและความครบถ้ ว นของข้ อ มู ล ที่ ส่ ง ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ตามที่ ก ฎหมาย กำหนดเพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น มี เ วลาศึ ก ษาข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า งละเอี ย ด นอกจากนี้ ธนาคารยังได้อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นที่ ไม่สามารถ มาเข้ า ร่ ว มประชุ ม ได้ ด้ ว ยตนเอง โดยธนาคารได้ จั ด ให้ มี ก รรมการอิ ส ระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมอบฉันทะให้กับกรรมการอิสระดังกล่าวเข้าร่วมประชุมและ ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ถือหุ้นโดยครบถ้วน

การดำเนินการก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ ถื อ หุ้ น ของธนาคารทุ ก รายจะได้ รั บ ข้ อ มู ล รายละเอี ย ดที่ จ ำเป็ น และ เพี ย งพอเกี่ ย วกั บ วั น เวลา สถานที่ ป ระชุ ม และวาระการประชุ ม เป็ น การล่ ว งหน้ า โดยธนาคารได้ มี ก ารเผยแพร่ ข้ อ มู ล รายละเอี ย ดประกอบ การประชุ ม ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข องธนาคารล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ มี เ วลาศึ ก ษาข้ อ มู ล ประกอบการประชุ ม ล่ ว งหน้ า อย่ า งเพี ย งพอก่ อ นได้ รั บ ข้ อ มู ล ในรู ป แบบเอกสาร และมี ก ารจั ด ส่ ง เอกสารโดยธนาคารมอบหมายให้ บริ ษั ท ศู น ย์ รั บ ฝากหลั ก ทรั พ ย์ (ประเทศไทย) จำกั ด ซึ่ ง เป็ น นายทะเบี ย นหุ้ น ของธนาคาร เป็ น ผู้ ด ำเนิ น การจั ด ส่ ง เอกสารหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายพร้ อ มราย ละเอียดเกี่ยวกับวัน เวลา สถานที่ประชุม และข้อมูลประกอบการประชุม อย่ า งครบถ้ ว น ในหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม มี ก ารนำเสนอถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ และเหตุ ผ ล และความเห็ น ของคณะกรรมการในแต่ ล ะวาระ รวมทั้ ง รายละเอี ย ดข้ อ มู ล ประกอบการพิ จ ารณาในแต่ ล ะวาระอย่ า งครบถ้ ว น และเพี ย งพอต่ อ การตั ด สิ น ใจลงคะแนนในวาระต่ า งๆ โดยในแต่ ล ะวาระ มี ก ารระบุ ร ายละเอี ย ดให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบอย่ า งชั ด เจนว่ า เป็ น เรื่ อ งเสนอ เพื่ อ พิ จ ารณา หรื อ เพื่ อ ทราบ นอกจากนี้ ในหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ได้ มี การแจ้ ง รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ เอกสารหลั ก ฐานที่ จ ำเป็ น เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น นำมาแสดงตนในวันประชุมผู้ถือหุ้น

ธนาคารมี น โยบายจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งโปร่ ง ใส มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเป็ น ไปอย่ า งถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นตามข้ อ กำหนดและกฎเกณฑ์ ท างการ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง วาระการประชุ ม และเอกสารประกอบการประชุ ม ได้ มี ก าร จั ด ส่ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ล่ ว งหน้ า ตามเวลาที่ เ หมาะสมโดยมี ข้ อ มู ล เพี ย งพอ สำหรั บ การพิ จ ารณาและตั ด สิ น ใจของผู้ ถื อ หุ้ น ในการพิ จ ารณาลงมติ ใ น แต่ละวาระการประชุมโดยผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิได้เต็มที่ และในวันประชุม ธนาคารได้ จั ด ให้ มี ขั้ น ตอนการลงทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มประชุ ม อย่ า งเหมาะสม และจัดให้มีเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะ ที่เข้าร่วมประชุม ในปี 2553 ธนาคารได้จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น 2 ครั้ง ประกอบด้วย (1) การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2553 เมื่อวันศุกร์ที่ 23 เมษายน 2553 ณ ห้อง ออดิธอเรียม ชั้น 7 สำนักงานใหญ่ มีผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบ ฉันทะจากผู้ถือหุ้นลงทะเบียนเข้าประชุมจำนวน 1,805 ราย รวมจำนวนหุ้น 30,207,428,507 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 69.88 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่าย ได้แล้วทั้งหมดของธนาคาร มีกรรมการธนาคารเข้าร่วมประชุมจำนวน 9 คน (2) การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 มิถุนายน 2553 ณ ห้อง ออดิธอเรียม ชั้น 7 สำนักงานใหญ่ มีผู้ถือหุ้น และผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้นลงทะเบียนเข้าประชุมจำนวน 1,619 ราย รวมจำนวนหุ้น 32,158,724,297 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 73.88 ของจำนวนหุ้น

ทั้งนี้ การจัดประชุมผู้ถือหุ้นของธนาคารได้ถือปฏิบัติตามหลักการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี ดังต่อไปนี้

นอกจากนี้ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถมาเข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเอง ธนาคารได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถมอบฉั น ทะให้ ก รรมการอิ ส ระ หรื อ บุ ค คลใดๆ เข้ า ร่ ว มประชุ ม แทนตนได้ โ ดยใช้ ห นั ง สื อ มอบฉั น ทะที่ ธนาคารได้จัดส่งไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม

การดำเนินการในระหว่างการประชุมผู้ถือหุ้น ธนาคารได้ ด ำเนิ น การจั ด การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งโปร่ ง ใส เป็นธรรม และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายโดยเท่าเทียมกัน ธนาคารได้จัด ให้ มี ก ารอำนวยความสะดวกให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ รั บ มอบฉั น ทะ โดยจั ด เจ้ า หน้ า ที่ ล งทะเบี ย นแยกตามประเภทของผู้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ได้ แ ก่ มาประชุ ม ด้ ว ยตนเอง หรื อ เป็ น ผู้ รั บ มอบฉั น ทะ เพื่ อ ให้ ก ารลงทะเบี ย น เป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว และถู ก ต้ อ ง พร้ อ มจั ด ทำใบลงคะแนนในแต่ ล ะวาระ


82

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

การประชุ ม ให้ แ ก่ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ทุ ก ราย รวมถึ ง ธนาคารได้ อ ำนวย นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดให้มีการประเมินผลการจัดประชุมผู้ถือหุ้นของ ความสะดวกให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ม าประชุ ม ด้ ว ยการจั ด รถรั บ -ส่ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ธนาคาร เพื่ อ รวมรวมความคิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ า งๆ ของผู้ ถื อ หุ้ น ณ จุดต่าง ๆ ตลอดจนการจัดเตรียมพื้นที่จอดรถอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ ธนาคารจะได้นำข้อมูลไปใช้ ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดประชุม ผู้ ถื อ หุ้ น ของธนาคารในครั้ ง ต่ อ ๆไปให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ประโยชน์ ในการดำเนินการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2553 ประธานกรรมการ ต่อผู้ถือหุ้นมากยิ่งขึ้น ธนาคารทำหน้ า ที่ เ ป็ น ประธานในที่ ป ระชุ ม โดยมี ป ระธานคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ประธานคณะกรรมการบริหาร เลขานุ ก ารบริ ษั ท ได้ บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น โดยมี ก ารสรุ ป ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการสรรหา สาระสำคั ญ ของแต่ ล ะวาระที่ เ สนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ข้ อ ซั ก ถามของผู้ ถื อ หุ้ น กำหนดค่ า ตอบแทนและบรรษั ท ภิ บ าล เพื่ อ ทำหน้ า ที่ ชี้ แ จงและตอบข้ อ คำชี้แจงของคณะกรรมการธนาคาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตลอดจน ซั ก ถามในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และมี ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารด้ า นต่ า งๆ มติที่ประชุมพร้อมคะแนนเสียงอย่างถูกต้องครบถ้วนในทุกวาระ เข้าร่วมประชุมด้วย โดยก่อนเริ่มเข้าสู่การประชุมตามวาระ ประธานในที่ ประชุ ม ได้ ม อบหมายให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท เป็ น ผู้ ชี้ แ จงรายละเอี ย ดต่ า งๆ การดำเนินการภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้น ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบถึ ง วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการออกเสี ย งลงคะแนนในแต่ ล ะวาระ ภายหลั ง เสร็ จ สิ้ น การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำปี ธนาคารได้ น ำ และวิธีการนับคะแนนให้ผู้ถือหุ้นรับทราบอย่างชัดเจน และเพื่อให้ผู้ถือหุ้น รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ จ ะเสนอเพื่ อ รั บ รองในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ รั บ ความสะดวกมากยิ่ ง ขึ้ น ธนาคารได้ จั ด เจ้ า หน้ า ที่ เ พื่ อ ทำหน้ า ที่ ในครั้ ง ต่ อ ไป ส่ ง ให้ ห น่ ว ยงานทางการที่ เ กี่ ย วข้ อ งภายในระยะเวลาที่ การแปลเป็ น ภาษาอั ง กฤษระหว่ า งการประชุ ม เพื่ อ อำนวยความสะดวก กำหนด และได้ มี ก ารเผยแพร่ ใ นเว็ บ ไซต์ ข องธนาคารเพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ต่ า งชาติ นอกจากนี้ ธนาคารไม่ มี ก ารลิ ด รอนสิ ท ธิ ใ ดๆ ได้ รั บ ทราบ รวมถึ ง ได้ จั ด เก็ บ รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเป็ น ของผู้ถือหุ้นในการศึกษาสารสนเทศของธนาคาร เช่น ไม่แจกเอกสารที่มี ระบบเพื่อการตรวจสอบและอ้างอิงได้ ข้อมูลสำคัญเพิ่มเติมในที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างกะทันหัน ไม่เพิ่มวาระการ ประชุ ม หรื อ เปลี่ ย นแปลงข้ อ มู ล สำคั ญ โดยไม่ ไ ด้ แ จ้ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบ นอกจากนี้ ธนาคารได้ จั ด ให้ มี ก ารบั น ทึ ก ภาพบรรยากาศการประชุ ม ใน ล่วงหน้า และไม่จำกัดสิทธิในการเข้าประชุมของผู้ถือหุ้นที่มาเข้าร่วมประชุม รูปแบบ DVD เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ ไม่ ได้เข้าร่วมประชุมสามารถติดตามการ ประชุ ม ได้ โดยธนาคารได้ ป ระกาศแจ้ ง บนเว็ บ ไซต์ ข องธนาคารในการที่ ภายหลังจากเปิดการประชุมแล้ว เป็นต้น ผู้ถือหุ้นจะติดต่อขอรับ DVD ดังกล่าว ในระหว่ า งการประชุ ม ประธานได้ ด ำเนิ น การประชุ ม ตามระเบี ย บวาระ โดยในวาระใดที่ ก รรมการผู้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ มี ส่ ว น จากการดำเนินการดังกล่าว ธนาคารได้รับการประเมินคุณภาพการจัด เกี่ ย วข้ อ ง โดยเฉพาะวาระพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง กรรมการแทนกรรมการ ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2553 (Annual General Meeting: AGM) ซึ่ ง ต้ อ งออกตามวาระ ประธานจะแจ้ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบ และกรรมการ โดยสมาคมส่ ง เสริ ม ผู้ ล งทุ น ไทย อยู่ ใ นระดั บ “ดี เ ยี่ ย ม และ สมควร ท่านนั้นจะไม่ร่วมประชุมในวาระดังกล่าว นอกจากนี้ ธนาคารยังสนับสนุน เป็นตัวอย่าง” ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ใช้ สิ ท ธิ ล งคะแนนเสี ย ง ตลอดจนในระหว่ า งการประชุ ม ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ซั ก ถามคณะกรรมการในทุ ก วาระอย่ า งเต็ ม ที่ รวมทั้ ง 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ให้ ค วามสำคั ญ กั บ ข้ อ เสนอแนะหรื อ ข้ อ คิ ด เห็ น จากผู้ ถื อ หุ้ น โดยได้ มี (Equitable Treatment of Shareholders) การชี้แจงข้อซักถามที่สำคัญอย่างละเอียดชัดเจน และรับจะนำข้อคิดเห็น ธนาคารมี เ จตนารมณ์ ที่ มุ่ ง มั่ น ดำเนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ห ลั ก การกำกั บ ดู แ ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ไ ปพิ จ ารณาดำเนิ น การต่ อ ไป สำหรั บ การลงคะแนนและ กิ จ การที่ ดี โดยได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การนั บ คะแนนเสี ย ง ธนาคารได้ ด ำเนิ น การเป็ น ไปอย่ า งเปิ ด เผยและ สิ ท ธิ ข องตนจะได้ รั บ การปฏิ บั ติ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น ทั้ ง ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ โปร่งใส โดยการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในปี 2553 ธนาคารได้เชิญที่ปรึกษา ผู้ถือหุ้นรายย่อย นักลงทุน สถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยทุกราย กฎหมายจาก บริษัทวีระวงค์, ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำกัด และอาสา จะได้รับการปฏิบัติด้วยความเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน ซึ่งธนาคารได้มี สมั ค รจากผู้ ถื อ หุ้ น ทำหน้ า ที่ เ ป็ น สั ก ขี พ ยานในการตรวจสอบวิ ธี ก าร การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเสมอภาค ดังนี้ ลงคะแนน การเก็บบัตรลงคะแนน การนับคะแนน และการตรวจสอบผลการ ลงคะแนนในทุกวาระ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

การให้สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น ในการประชุมผู้ถือหุ้น ธนาคารได้ ให้สิทธิในการเข้าร่วมประชุมแก่ผู้ถือหุ้น ทุ ก รายอย่ า งเท่ า เที ย มกั น ธนาคารเปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถ มาเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ ด้ ว ยตนเอง สามารถมอบฉั น ทะให้ ผู้ อื่ น เข้าประชุมแทน โดยธนาคารได้จัดให้มีกรรมการอิสระ ซึ่งไม่มีส่วนได้เสีย ในวาระการประชุ ม เป็ น บุ ค คลที่ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถมอบฉั น ทะให้ เ ข้ า ประชุ ม และออกเสียงลงคะแนนแทน หรือผู้ถือหุ้นจะมอบฉันทะให้บุคคลอื่นมาเข้า ประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนด้วยก็ ได้เช่นกัน การให้สิทธิในการลงคะแนนเสียง ในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ธนาคารได้ ใ ห้ สิ ท ธิ ใ นการออกเสี ย งในที่ ป ระชุ ม เป็นไปตามจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง การออกเสี ย งลงคะแนนเป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว และการนั บ คะแนนเสี ย ง เป็นไปอย่างเปิดเผยถูกต้อง โดยธนาคารจะนับ 1 หุ้นเป็น 1 เสียง และถือ เสี ย งข้ า งมากเป็ น มติ ยกเว้ น มติ พิ เ ศษบางกรณี ที่ ก ฎหมายกำหนดให้ ถื อ คะแนนเสี ย งไม่ น้ อ ยกว่ า สามในสี่ ข องจำนวนเสี ย งทั้ ง หมดของผู้ ถื อ หุ้ น ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ในการลงคะแนนเสียง ธนาคาร จัดให้มีการใช้บัตรลงคะแนนแบบ 3 ช่อง คือ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงด ออกเสียง เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนนเสี ย งได้ ต ามที่ ต้ อ งการ โดย ธนาคารได้ จั ด เก็ บ บั ต รลงคะแนนเสี ย งจากผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายในทุ ก วาระ ที่มีการลงคะแนนเสียง และดำเนินการตรวจนับคะแนนด้วยระบบ Barcode ที่ มี ค วามรวดเร็ ว และถู ก ต้ อ ง นอกจากนี้ ในระหว่างการประชุมธนาคาร ได้ แ จ้ ง ผลคะแนนการออกเสี ย งให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบในแต่ ล ะวาระโดยแบ่ ง ผล คะแนนการออกเสียงเป็นจำนวนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และจำนวนบั ต รเสี ย รวมถึ ง ธนาคารได้ มี ก ารบั น ทึ ก มติ ที่ ป ระชุ ม ตามผล คะแนนของการออกเสี ย งในแต่ ล ะวาระไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร และเก็ บ บัตรลงคะแนนทุกใบเพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ สิทธิในการเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล ในการประชุมผู้ถือหุ้น ธนาคารได้มีวาระการพิจารณาเลือกตั้งกรรมการ ธนาคาร โดยธนาคารเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการ ที ล ะคน ซึ่ ง เป็ น การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ที่ ผู้ ถื อ หุ้ น มี สิ ท ธิ ที่ จ ะเลื อ กบุ ค คลที่ เ ห็ น ว่ า มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเข้ า มาทำหน้ า ที่ กรรมการเพื่ อ ดู แ ลรั ก ษาผลประโยชน์ ข องตนเอง ซึ่ ง ทำให้ เ กิ ด ความ หลากหลายและเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ธนาคาร ยั ง ได้ มี ว าระการนำเสนอค่ า ตอบแทนกรรมการเพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณา อนุมัติเป็นประจำทุกปีด้วย

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

83

การดูแลความขัดแย้งของผลประโยชน์ ธนาคารได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ เป็ น อย่ า งมากในการดู แ ลความขั ด แย้ ง ของ ผลประโยชน์ ทั้ ง ของธนาคารและบริ ษั ท ในเครื อ ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งรอบคอบ โปร่ ง ใส และเป็ น ธรรม รวมทั้ ง จั ด ให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล รายการต่ า งๆ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์และทันเวลา ตลอดจนดูแลส่งเสริมให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับให้ความสำคัญและไม่ปฏิบัติผิดกฎเกณฑ์ ของทางการที่เกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในการพิ จ ารณารายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ หรื อ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการระหว่ า งกั น นั้ น ธนาคารได้ ก ำหนด ให้ มี ก ารดำเนิ น การให้ ส อดคล้ อ งกั บ กฎเกณฑ์ ท างการและมาตรฐาน สากล โดยธนาคารเน้ น ให้ ก ารทำรายการลั ก ษณะดั ง กล่ า วเป็ น ไปตาม หลั ก เกณฑ์ ก ารดำเนิ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องธนาคาร ซึ่ ง จะพิ จ ารณารายการ เหล่ า นี้ เ สมื อ นเป็ น การทำรายการที่ ก ระทำกั บ บุ ค คลภายนอก โดยผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในรายการใดจะไม่ เ กี่ ย วข้ อ งในกระบวนการอนุ มั ติ ร ายการ ดั ง กล่ า ว และธนาคารจะมี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล เพื่ อ ความโปร่ ง ใสตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ธนาคารถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งจริ ง จั ง ในการที่ จ ะมิ ใ ห้ ธ นาคาร กรรมการและ/ หรื อ พนั ก งานนำข้ อ มู ล หรื อ ความลั บ ของลู ก ค้ า ไปใช้ ใ นการทำธุ ร กิ จ แข่งขันกับลูกค้าของธนาคาร และธนาคารไม่สนับสนุนให้พนักงานกระทำ การใดที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ รวมถึ ง การหา ประโยชน์ จ ากอำนาจหน้ า ที่ ใ นทางมิ ช อบ โดยธนาคารได้ ก ำหนดระเบี ย บ ปฏิ บั ติ ใ นเรื่ อ งดั ง กล่ า วอย่ า งชั ด เจน ประกอบด้ ว ย แนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การซื้ อ /ขายและลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ ธ นาคารสำหรั บ พนั ก งานธนาคาร และแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การซื้ อ /ขายหลั ก ทรั พ ย์ ใ นบั ญ ชี Watch List/ Restricted List และ Blackout Period สำหรับพนักงานธนาคาร ทั้งนี้ รวมถึงกรรมการของธนาคารด้วย นอกจากนี้ ในเรื่องการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน ธนาคารได้กำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่ทางการกำหนด โดยครบถ้ ว นเกี่ ย วกั บ การซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ และเปิ ด เผยข้ อ มู ล การถื อ หลักทรัพย์ รวมถึงรับทราบถึงข้อห้าม และบทลงโทษในการใช้ข้อมูลภายใน ธนาคารเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ ให้ตนเองหรือผู้อื่น และการนำข้อมูลไป เปิดเผยต่อสาธารณะชนก่อนเวลาอันควร


84

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

การให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการเสนอวาระการประชุมผู้ถือหุ้น และ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ ธนาคารได้ตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่าง เท่าเทียมกันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการกำกับดูแลกิจการที่ดี ธนาคารได้เปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับ การพิจารณาให้ดำรงตำแหน่งกรรมการล่วงหน้าก่อนที่จะมีการจัดประชุม สามัญผู้ถือหุ้น โดยธนาคารได้เผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ของธนาคาร เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นทราบถึงสิทธิและหลักเกณฑ์การพิจารณาของธนาคารอย่างชัดเจน รวมถึงการกำหนดระยะเวลาให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอวาระประชุมและเสนอชื่อ บุคคลได้เป็นการล่วงหน้า และแจ้งข้อมูลเผยแพร่ผ่านระบบข่าวของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้วย

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (Role of Stakeholders) ธนาคารได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ในการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได  เ สี ย ทุ ก กลุ  ม ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ผู้ ถื อ หุ้ น พนั ก งาน ลู ก ค้ า คู่ ค้ า และเจ้ า หนี้ ผู้ ล งทุ น หน่วยงานราชการ สังคม และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน ธนาคารจัดให้มีระบบการรับเรื่องร้องเรียนจากลูกค้าและดำเนินการแก้ ไข ปัญหาด้วยความยุติธรรมอย่างระมัดระวัง ธนาคารมีการเก็บรักษาข้อมูล ของลู ก ค้ า ไว้ เ ป็ น ความลั บ และปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขสั ญ ญาที่ ใ ห้ ไ ว  กั บ คู่ ค้ า อย่างเคร่งครัด ธนาคารดำเนินธุรกิจด้วยหลักการแข่งขันที่เป็นธรรมและ มีจริยธรรม ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างยุติธรรมและเสมอภาค โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาด้านการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มความรู้และประสิทธิภาพในการทำงาน ให้แก่พนักงานและมีการกำหนดผลตอบแทนที่เป็นธรรม รวมทั้งเสริมสร้าง วัฒนธรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดีขึ้นในองค์กร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

การว่าจ้าง แต่งตั้งและโยกย้ายพนักงานจะพิจารณาบนพื้นฐานของความ เป็นธรรมและการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ธนาคาร นอกจากนี้ ธนาคารมีความมุ่งมั่นที่จะให้มีการพัฒนาอบรมความรู้ความ สามารถให้ แ ก่ พ นั ก งานในการปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ธนาคาร รวมถึ ง จั ด ให้ พ นั ก งานมี โ อกาสก้ า วหน้ า ในหน้ า ที่ ก ารงานโดย ได้ รั บ ผลตอบแทนที่ ดี แ ละเหมาะสมอั น จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มแรงร่ ว มใจ ในการปฏิบัติงาน ลูกค้า: ธนาคารมุ่งเน้นการให้บริการโดยยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Customer Centricity) เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ของธนาคารได้ รั บ บริ ก ารและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ดี มีความหลากหลาย สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าแต่ละรายได้ เป็ น อย่ า งดี ตลอดจนสร้ า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า และรั ก ษา สัมพันธ์ภาพที่ดีแก่ลูกค้า

คู่ค้า: ในการดำเนินธุรกิจร่วมกับคู่ค้า ธนาคารจะให้ความสำคัญในการทำ ธุรกิจร่วมกันในระยะยาวและยั่งยืนในลักษณะการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจที่ ดีต่อกัน ธนาคารได้กำหนดนโยบายในการปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างชัดเจนทั้งใน ด้านการจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ การจ้าง การเช่า และเช่าซื้อทุกประเภท และมี การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์อย่างเป็นระเบียบรัดกุม เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม และเกิดประโยชน์สูงสุดร่วมกันทั้งในส่วนของคุณภาพ ราคา เงื่อนไขต่างๆ จากสินค้าและบริการต่างๆ โดยธนาคารมีแนวปฏิบัติต่อคู่ค้าดังต่อไปนี้ 1. พนักงานจัดหาและผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดหาต้องปฏิบัติหน้าที่ อย่างยุติธรรม ซื่อสัตย์ เป็นอิสระ และโปร่งใส ในการติดต่อและประสานงาน กับผู้ขาย เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มต่างได้รับสิทธิอย่างเต็มที่ เป็นธรรม และเหมาะสม 2. ห้ า มไม่ ใ ห้ พ นั ก งานจั ด หาและผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งรวมถึ ง สมาชิ ก โดยตรงของ ธนาคารได้ยึดถือปฏิบัติดังต่อไปนี้ ครอบครัว ซึ่งมีส่วนได้เสียกับการจัดซื้อและการจัดจ้างไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อมร่วมเป็นผู้พิจารณาการจัดหาครั้งนั้นๆ เช่น เป็นพนักงาน การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย กรรมการ หุ้นส่วนหรือ ที่ปรึกษาในบริษัทผู้ขาย ไม่ว่าจะได้รับค่าตอบแทน ผู้ถือหุ้น: ธนาคารมีเป้าหมายที่จะดำเนินธุรกิจให้มีผลประกอบการที่ดียิ่งขึ้น หรือไม่ก็ตาม และให้มีการเติบโตของผลตอบแทนที่ต่อเนื่องและยั่งยืนอันเป็นการเพิ่มมูล 3. ห้ า มไม่ ใ ห้ พ นั ก งานจั ด หาและผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งรวมถึ ง สมาชิ ก โดยตรงของ ค่าของธนาคารแก่ผู้ถือหุ้นให้สูงขึ้น ทั้งในรูปการเพิ่มมูลค่าหุ้นและการจ่าย ครอบครัว รับอามิสสินจ้างจากผู้ขายไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของ ค่านายหน้า เงิ น ปั น ผลที่ จู ง ใจเพื่ อ สร้ า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น รวมทั้ ง ค่าธรรมเนียม หรือสินน้ำใจ ดำเนินการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และเชื่อถือได้ต่อผู้ถือหุ้น 4. กรณี พ นั ก งานจั ด หาและผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งรวมถึ ง สมาชิ ก โดยตรงของ ครอบครัวจะรับของขวัญ และ/หรือของกำนัลจะต้องปฏิบัติตามระเบียบ พนั ก งาน: พนั ก งานเป็ น ทรั พ ยากรอั น มี ค่ า สู ง สุ ด และเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ สู่ เรื่อง การรับของขวัญ ของกำนัล (ACCEPTING GIFTS) ความสำเร็จของธนาคาร ธนาคารจึงได้มุ่งพัฒนาเสริมสร้างวัฒนธรรม 5. พนักงานจัดหาและผู้ที่เกี่ยวข้องรวมถึงสมาชิกโดยตรงของครอบครัว และบรรยากาศการทำงานที่ดี รวมทั้งส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ปฏิบัติต่อ ไม่ควรเป็นผู้ที่ได้กู้เงินจากหรือให้กู้ยืมแก่ผู้ขายปัจจุบันหรือผู้ขายที่กำลัง พนั ก งานด้ ว ยความสุ ภ าพและให้ ค วามเคารพต่ อ ความเป็ น ปั จ เจกชน เสนองานต่อธนาคาร


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

6. พนักงานจัดหาและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาต้องไม่เปิดเผยรายชื่อผู้ร่วม คัดเลือกผู้ขาย ราคา ข้อเสนอ หรือข้อมูลด้านเทคนิคของการจัดหา นอกเหนือจากข้อมูลสาธารณะ ของผู้เข้าร่วมคัดเลือกให้ผู้ที่ ไม่มีหน้าที่ รับผิดชอบโดยตรงหรือผู้เข้าร่วมคัดเลือกรายอื่นทราบ เพื่อป้องกันความ ไม่โปร่งใสของการคัดเลือกผู้ขายและเพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ผู้ขาย ทุกรายที่ได้เข้าร่วมในการเสนอราคา

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

85

ในด้านต่างๆ เช่นด้านศิลปะ ด้านดนตรี ด้านสันทนาการ และการเสริม ทักษะด้านวิชาการ เป็นต้น ในปี 2553 ธนาคารได้ดำเนินโครงการ CSR ดังนี้

โครงการเพื่อการพัฒนาสังคม โครงการไฟฟ้า โครงการแห่งการให้ที่ยั่งยืนของ TMB เพื่อเยาวชน: เพราะ การ “ให้” เพื่อคืนสิ่งดีๆกลับสู่สังคม เป็นสิ่งสำคัญ TMB จึงเปิดโครงการ “ไฟฟ้า” แห่งแรกบนถนนประดิพัทธ์ ในปี 2553 โดยมุ่งมอบโอกาสและ ปลูกฝังให้เยาวชนในชุมชนที่มีอายุ 12 – 17 ปี ได้รู้จักใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมด้านศิลปะ ด้านดนตรี กีฬา คอมพิวเตอร์ ศิลปะป้องกันตัว รวมถึง ทักษะด้านอาชีพ ทักษะ ด้านวิชาการ และทัศนคติในการดำรงชีวติ โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยใดๆ ทัง้ สิน้

เจ้าหนี้: ธนาคารมีนโยบายในการรักษาและปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้ อย่างเคร่งครัด โดยจะควบคุมดูแลให้มีการชำระคืนเงินกู้และดอกเบี้ยให้กับ เจ้าหนี้เงินกู้ยืมทุกประเภทอย่างครบถ้วนตามกำหนดเวลา และปฏิบัติตาม เงื่ อ นไขการกู้ ยื ม เงิ น ตามข้ อ ตกลงอย่ า งเคร่ ง ครั ด โดยไม่ ใ ช้ เ งิ น กู้ ยื ม ไปใน ทางที่ขัดต่อวัตถุประสงค์ ในการกู้ยืมเงิน นอกจากนี้ธนาคารจะดำเนินงาน เพื่ อ ให้ เ จ้ า หนี้ มั่ น ใจในฐานะทางการเงิ น และความสามารถในการชำระหนี้ ที่ดีของธนาคาร ตลอดจนมีการรายงานข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ที่ถูกต้อง ทุนการศึกษาบุตรข้าราชการทหาร: ธนาคารได้มีนโยบายมอบทุนการ และครบถ้วนแก่เจ้าหนี้ ศึกษาให้กับบุตรข้าราชการ ในสังกัดกระทรวงกลาโหม อันได้แก่ สำนักงาน ผู้ลงทุน: ธนาคารได้จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน ตามเวลาที่ ปลัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ โดยได้ดำเนินโครงการต่อเนื่องกันมาถึงปีที่ 47 ปีแล้ว เหมาะสมและเพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน สำหรับเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกบุตรข้าราชการของเหล่าทัพต่างๆ หน่วยงานราชการ: ธนาคารมุ่งมั่นดำเนินธุรกิจโดยปฏิบัติตามกฎหมาย และ/ ที่เข้ารับทุนของธนาคาร เหล่าทัพจะเป็นผู้พิจารณาดำเนินการเองทั้งสิ้น หรือข้อกำหนดของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี: ธนาคารตระหนักดีว่า การสร้างบุคลากร ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม: ธนาคารตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของการ ทางการเงินการธนาคารรุ่นใหม่ๆ ที่มีความรู้ความสามารถ เป็นอีกภาระ รับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) และมีความตั้งใจ หน้ าที่ รั บผิ ด ชอบหนึ่ ง ที่ สถาบั นทางการเงิ นเช่ น ธนาคาร พึ ง ยึ ด ถื อ และ ในการดำเนิ น การในเรื่ อ งดั ง กล่ า วอย่ า งจริ ง จั ง โดยจะเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว ม มุ่งมั่นอย่างจริงจัง ธนาคารทหารไทยจึงจัดให้มีการมอบทุนการศึกษาให้แก่ สนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ ในกิ จ กรรมต่ า งๆ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพของสั ง คมใน นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเงินการธนาคาร อาทิ ด้านต่างๆ รวมทั้งมีการติดตามผลเพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมต่อไป ธนาคาร เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ การบัญชี และวิทยาการจัดการ ได้จัดให้มีหน่วยงานภาพลักษณ์องค์กรและกิจกรรมสังคม สังกัดสายงาน ของมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สื่อสารและภาพลักษณ์องค์กร เพื่อทำหน้าที่ดูแลและส่งเสริมให้การดำเนิน โครงการและกิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของธนาคารเป็นไปอย่าง ธนาคารทหารไทยรวมน้ำใจช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ: จากเหตุการณ์ ต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ประโยชน์ ต่ อ สั ง คมโดยรวม ซึ่ ง ธนาคารได้ ต ระหนั ก ถึ ง อุทกภัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในเดือนตุลาคม 2553 ธนาคารได้ ความสำคั ญ ของการพั ฒ นาคุ ณ ภาพเยาวชนในสั ง คมไทย จึ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ของผู้ประสบภัย โดยสาขาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ได้ให้ความ เยาวชนได้ มี โ อกาสพั ฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละใช้ เ วลาว่ า งให้ เ กิ ด ช่วยเหลือฉุกเฉิน ด้วยการนำอาหารและเครื่องดื่มแจกจ่ายแก่ประชาชน ประโยชน์ ผ่านกิจกรรมศิลปะ ดนตรี ทักษะอาชีพ และอื่นๆ ที่หลากหลาย ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ใกล้เคียงสาขา นอกจากนี้ ธนาคารได้บริจาคเงินสมทบ โดยได้รับความร่วมมือจากพนักงาน ลูกค้า วิทยากรอาสา ศิลปิน และ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบอุ ท กภั ย โดยผ่ า นมู ล นิ ธิ ร าชประชานุ เ คราะห์ ใ น ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันนำความรู้และความสามารถถ่ายทอดให้เยาวชนอย่าง พระบรมราชูปถัมภ์ และเปิดบัญชี “TMB เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม” ต่อเนื่องภายใต้โครงการ “ไฟฟ้า” แหล่งเรียนรู้ศิลปะและกิจกรรมเพื่อพัฒนา เพื่อให้ลูกค้า พนักงาน และประชาชนได้ร่วมบริจาคเงิน โดยธนาคารฯ เยาวชน โดยมุ่งตอบสนองความสนใจของเยาวชนเพื่อให้สามารถใช้เวลาว่าง จะนำเงินที่ ได้รับจากการบริจาคส่งมอบให้แก่หน่วยงานที่ปฏิบัติหน้าที่ใน หลั ง เลิ ก เรี ย นและวั น หยุ ด ในการทำกิ จ กรรมและเรี ย นรู้ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทั้งหมด


86

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

โครงการเพื่อการพัฒนาสิ่งแวดล้อม โครงการด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ: ธนาคารทหารไทย ตระหนั ก ดี ยิ่ ง ถึ ง ความสำคั ญ ของการพั ฒ นา อุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศ ควบคู่กับการส่งเสริมการจัดการ ด้ า นพลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จึ ง ได้ ต อบสนอง แนวนโยบายของภาครั ฐ ในการเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้ แ ก่ ผู้ประกอบการ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในโครงการด้านการ อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานต่ า งๆ ของผู้ ป ระกอบการ ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ เ กิ ด การลด ต้ น ทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นพลั ง งาน เพิ่ ม รายได้ ผ ลตอบแทนให้ แ ก่ กิ จ การ ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันทางการค้า ในปี 2553 ธนาคารฯ ได้ร่วมมือกับสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการที่เป็นอาคารพาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรม ต่างๆ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์พลังงาน โดยใช้ระบบบริษัท จัดการพลังงาน Energy Service Company หรือ ESCO โดยธนาคารฯ จะเป็ น ผู้ ส นั บ สนุ น ด้ า นการเงิ น ให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการในการลงทุ น ด้ า น อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและพลั ง งานทดแทน ในวงเงิ น สิ น เชื่ อ ประมาณ 2,000 – 3,000 ล้ า นบาท ซึ่ ง ผู้ ป ระกอบการจะได้ รั บ ประโยชน์ ทั้ ง ในด้ า นการมี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน และผลดี ที่ เ กิ ด จาก กระบวนการผลิต คือ สามารถใช้พลังงานได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด ประหยัดพลังงาน และลดต้นทุนการผลิตไปพร้อมๆ กัน นอกจากนี้ ธนาคารยังได้รับความไว้วางใจในการทำหน้าที่เป็นกลไกหนึ่ง ของรัฐในการบริหารกองทุนและโครงการด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน และเป็นช่องทางของเงินสนับสนุนจากภาครัฐและองค์กรระหว่างประเทศ ในรู ป ของเงิ น กู้ อั ต ราดอกเบี้ ย พิ เ ศษและเงิ น ช่ ว ยเหลื อ ให้ เ ปล่ า ไปสู่ ผู้ประกอบการทั่วประเทศ ได้แก่ การร่วมมือกับธนาคารโลก กระทรวง การคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม ในการบริหารโครงการลดและเลิก การใช้ ส ารทำลายโอโซนในชั้ น บรรยากาศ (The Ozone Project Trust Fund) เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดซึ่งประเทศไทยได้ ให้สัตยาบัน เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกของอนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล ธนาคารได้ ด ำเนิ น โครงการลดและเลิ ก ใช้ ส ารทำลายโอโซน สำหรั บ ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมสารดับเพลิง อุตสาหกรรม โรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป ร้านซ่อมบำรุงและเติมน้ำยาแอร์รถยนต์ ร้านซ่อมบำรุงตู้เย็นและตู้แช่ เป็นต้น ธนาคารได้บริหารจัดการโครงการ นี้มาเป็นระยะเวลา 15 ปี และกำลังพิจารณาการร่วมมือกับธนาคารโลก ในการดำเนินโครงการด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการ อนุรักษ์ชั้นบรรยากาศต่อไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

การแจ้งเบาะแส หรือการร้องเรียน คณะกรรมการธนาคารได้อนุมัตินโยบายการแจ้งเบาะแส (Whistle Blowing Policy) ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่ ดูแลวิธีปฏิบัติในการแจ้งเบาะแส (Whistleblower Procedure) เพื่อให้ผู้ มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มของธนาคารสามารถติดต่อสื่อสาร แจ้งเบาะแส หรือ ร้องเรียนในการกระทำที่ ไม่ถูกต้อง เช่น การปฏิบัติผิดกฎหมาย กฎเกณฑ์ ของทางการ การกระทำผิดจรรยาบรรณ จริยธรรม การยักยอก การทุจริต โดยพนั ก งานหรื อ บุ ค คลอื่ น ๆ ที่ มี ค วามเสี ย หายที่ เ ป็ น ได้ ทั้ ง ตั ว เงิ น และ ไม่ เ ป็ น ตั ว เงิ น โดยผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย สามารถแจ้ ง เบาะแส หรื อ ร้ อ งเรี ย นได้ โดยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรหรือการแจ้งผ่านทางเว็บไซต์ของธนาคาร www.tmbbank.com ซึ่งข้อมูล หรือข้อร้องเรียนต่างๆ จะถูกส่งต่อให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการตรวจสอบและแก้ ไขอย่างรวดเร็ว และ จะมีการแจ้งกลับให้ทราบถึงการดำเนินการของธนาคาร รวมถึงธนาคาร จะเก็บชื่อและเรื่องของผู้ร้องเรียนไว้เป็นความลับ

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) ธนาคารได้จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และเพียงพอต่อผู้ลงทุน ในการตัดสินใจลงทุน โดยคณะกรรมการธนาคารมีหน้าที่จัดทำรายงาน อธิบายถึงผลการดำเนินงานของธนาคารและเหตุการณ์สำคัญในรอบปี เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ รั บ ทราบ ตลอดจนรั บ รองความถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นของ รายงานทางการเงินต่อผู้ถือหุ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และได้มีการเปิดเผยรายละเอียดในรายงานประจำปี รวมถึงธนาคารยัง ได้ จั ด ให้ มี ร ายงานความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการต่ อ รายงานทาง การเงินแสดงควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจำปีด้วย นอกจากการเปิดเผยรายงานทางการเงินและสารสนเทศอื่นๆ ตามที่กฎหมาย กำหนดแล้ว ธนาคารยังได้ให้ความสำคัญในเรื่องการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ของธนาคารต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชน อย่างรวดเร็ว โดย ธนาคารได้กำหนดให้หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) สังกัดสายงานกลยุทธ์องค์กร มีหน้าที่รับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูลต่อ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ อย่างชัดเจน โดยมีนโยบายและเ ป้าหมายที่จะมุ่งเน้นการเปิดเผยสารสนเทศ ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูล ทั่วไปของธนาคารให้แก่ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์และบริษัท จัดอันดับความน่าเชื่อถือ ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทันเหตุการณ์ และเป็นไปตามกฎหมายหรือกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจลงทุน ช่วยสร้างความเชื่อมั่น ภาพลักษณ์ที่ดี และความน่าเชื่อถือของธนาคารให้เกิดกับนักลงทุนและผู้ที่ เกี่ยวข้อง


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ทั้งนี้ ในปี 2553 ที่ผ่านมา ธนาคารได้พบและให้ข้อมูลต่อผู้เกี่ยวข้องในโอกาส สำคัญต่าง ๆ ดังนี้

โทรศัพท์ 02-299-2769, 02-299-1406 โทรสาร 02-299-2758

รูปแบบการเข้าพบ

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of the Board)

จำนวน ครั้ง

จำนวน บริษัท

จำนวน คน

การเข้าพบสัมภาษณ์ตัวต่อตัว

24

34

44

การประชุมทางโทรศัพท์

6

7

9

การจัดพบนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และนักลงทุนกลุ่มย่อย

3

88

109

การเดินทางไปพบผู้ถือหุ้น และนักลงทุน

5

69

73

รวม

38

198

235

นอกจากนี้ ธนาคารได้ มี ก ารเผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารของธนาคาร ผ่ า น ช่องทางต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กระทรวงพาณิชย์ หนังสือพิมพ์ / นิตยสาร โทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ เว็บไซต์ธนาคารทหารไทย การจัดประชุมและแถลงข่าวประชาสัมพันธ์ธนาคารทหารไทย (Press Release) บริการให้สอบถามข้อมูลทางอีเมล์ และบริการให้สอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์ ผู้สนใจสามารถสอบถามข้อมูลข่าวสารของธนาคารได้ที่ นักลงทุนสัมพันธ์ สายงานกลยุทธ์องค์กร ชั้น 28 สำนักงานใหญ่ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) โทรศัพท์ 02-299-1178 โทรสาร 02-299-1211 Email address : ir@tmbbank.com Website: http://www.tmbbank.com สอบถามข้อมูลผู้ถือหุ้น เลขานุการองค์กรและบริการผู้ถือหุ้น สายงานบรรษัทภิบาล ชั้น 28 สำนักงานใหญ่ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

|

87

คณะกรรมการธนาคารประกอบด้วย กรรมการอิสระ กรรมการที่ ไม่เป็น ผู้บริหาร และกรรมการที่เป็นผู้บริหาร ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่หลากหลาย โดยมีสัดส่วนที่เหมาะสมทั้งในด้านความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็น และการถ่วงดุลอำนาจการบริหารจัดการ รวมทั้งกรรมการของธนาคาร เป็ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญ ทั ก ษะและประสบการณ์ จากสาขาวิชาชีพต่างๆ ซึ่งกรรมการแต่ละท่านได้นำความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ต่างๆ มาใช้ ในการประชุมกรรมการ รวมทั้งได้ ให้ความ สำคัญและให้เวลาต่อธุรกิจของธนาคารเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การให้ เ วลาแก่ ก ารประชุ ม คณะกรรมการธนาคารและกรรมการชุ ด ย่ อ ย ชุ ด ต่ า งๆ อย่ า งเต็ ม ที่ เพื่ อ ให้ ก ารดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของธนาคารเป็ น ไปอย่ า ง มีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ธนาคาร คณะกรรมการธนาคารมี บ ทบาทที่ ส ำคั ญ ในการกำหนดวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละ พันธกิจของธนาคาร รวมทั้งการกำหนดนโยบาย เป้าหมายและทิศทางการ ดำเนิ น งานทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาวสอดคล้ อ งกั บ สภาวะเศรษฐกิ จ และ การแข่งขัน โดยนโยบายต่าง ๆ ที่กำหนดนั้นสามารถปฏิบัติได้จริงมีความ คล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ภายใต้ธุรกิจการเงินที่มีความ ซั บ ซ้ อ นและเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว รวมถึ ง มี แ นวทางการวั ด ผลการ ปฏิ บั ติ ง านที่ ชั ด เจน นอกจากนี้ คณะกรรมการยั ง ทำหน้ า ที่ ติ ด ตามให้ ฝ่ า ยจั ด การดำเนิ น งานตามนโยบายและแผนงานตามเป้ า หมายอย่ า งมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วยความโปร่งใส รวมถึงการติดตามเพื่อให้ มั่ น ใจว่ า การบริ ห ารความเสี่ ย งอยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสม โดยมี ร ะบบการ ตรวจสอบและควบคุ ม ภายในที่ ดี ซึ่ ง อยู่ ภ ายใต้ ก รอบของกฎหมายและ กฎเกณฑ์ต่างๆ ของทางการ นอกจากนี้ คณะกรรมการยั ง มี บ ทบาทที่ ส ำคั ญ ในการสรรหา ส่ ง เสริ ม และเสริมสร้างบุคลากรของธนาคารให้มีความรู้ความสามารถพร้อมด้วย ความมี จ ริ ย ธรรมในการปฏิ บั ติ ง าน และให้ ไ ด้ รั บ ผลตอบแทนที่ เ หมาะสม เพื่อรองรับการแข่งขันในตลาดการเงินและการขยายตัวของธนาคาร ทั้งนี้ เพื่อผลประโยชน์สูงสุดของธนาคาร ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม


88

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

โครงสร้างคณะกรรมการธนาคาร การประชุมคณะกรรมการธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการของธนาคารมีจำนวน 12 คน ธนาคารจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการธนาคารอย่ า งสม่ ำ เสมอเป็ น ประกอบด้วย ประจำทุกเดือน โดยมีการกำหนดวัน และเวลา ประชุมล่วงหน้าเพื่อให้กรรมการ สามารถจัดเวลาเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้ง นอกจากการประชุมตามปกติแล้ว กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 คน อาจจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม วาระพิ เ ศษขึ้ น ตามความจำเป็ น วาระการประชุ ม กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 7 คน กำหนดโดยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และเห็นชอบโดยประธานกรรมการ กรรมการอิสระ 4 คน เอกสารประกอบการประชุมจะจัดส่งให้กรรมการล่วงหน้าเพื่อให้กรรมการ ได้มีเวลาพิจารณาข้อมูลประกอบการตัดสินใจ โดยกรรมการแต่ละท่าน ธนาคารได้กำหนดโครงสร้างของคณะกรรมการธนาคาร พร้อมด้วยขอบเขต สามารถนำเสนอวาระเข้าประชุมได้ และใช้เวลาอย่างเต็มที่ในการพิจารณา หน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน โปร่งใส ไม่ทำให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือ เรื่องต่างๆ รวมถึงกรรมการแต่ละท่านสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่าง กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีอำนาจโดยไม่มีข้อจำกัด และเพื่อให้มีการถ่วงดุลอำนาจ เต็มที่และเป็นอิสระ กรรมการที่มีส่วนได้เสียในวาระใดจะไม่เข้าร่วมประชุม ที่เหมาะสม โครงสร้างคณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน และไม่ใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระนั้น ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอิสระใน 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมดตามที่ทางการกำหนดและมีคุณสมบัติ การพิจารณาเรื่องต่างๆ ประธานกรรมการเป็นผู้ประมวลข้อคิดเห็นและ ครบถ้ ว นถู ก ต้ อ งตามกฎหมายหรื อ ข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในปั จ จุ บั น โดย สรุปผลการพิจารณาของที่ประชุม ธนาคารได้ ก ำหนดคุ ณ สมบั ติ ก รรมการอิ ส ระให้ มี ค วามเข้ ม งวดกว่ า ที่ สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนด ทั้งนี้ กรรมการอิสระสามารถแสดงความเห็น ทั้งนี้ เมื่อสิ้นสุดการประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง เลขานุการคณะกรรมการ ได้โดยอิสระเป็นกลางเพื่อก่อประโยชน์สูงสุดต่อธนาคารและป้องกันมิให้เกิด ธนาคารได้จัดทำรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและได้มีการเสนอ ความขัดแย้งของผลประโยชน์ ให้ที่ประชุมรับรองในวาระแรกของการประชุมครั้งถัดไป ซึ่งรายงานการประชุม ที่ ได้รับการรับรองแล้ว เลขานุการคณะกรรมการธนาคารจะดำเนินการ เพื่ อ เป็ น การแบ่ ง เบาภาระการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการในการ จัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบและสะดวกในการสืบค้นอ้างอิงพร้อมสำหรับการ ดำเนินงาน กลั่นกรองหรือพิจารณาศึกษาเรื่องต่างๆ ที่สำคัญต่อธนาคาร ตรวจสอบได้ตลอดเวลา อย่างรอบคอบ คณะกรรมการจึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อ ทำหน้าที่ช่วยกำกับดูแลการดำเนินงานของธนาคารในด้านต่างๆ ให้เป็น การแต่งตั้งเลขานุการบริษัท ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ค วามโปร่ ง ใส โดยคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยมี คณะกรรมการธนาคารได้ แต่ ง ตั้ ง ม.ล.อยุ ทธ์ ไชยันต์ ผู้ ช่ ว ยกรรมการ อำนาจในการตัดสินใจแทนคณะกรรมการในบางกรณี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอำนาจ ผู้ จั ด การใหญ่ เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร สายงานบรรษั ท ภิ บ าล ดำรงตำแหน่ ง หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการแต่ละชุดที่ ได้รับมอบหมาย เลขานุการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อยของธนาคาร ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสินเชือ่ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เลขานุการบริษัทมีบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่ า ตอบแทนและบรรษั ท ภิ บ าล และอื่ น ๆ ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ กฎหมายที่ ก ำหนดและแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี (Best Practice) อี ก ทั้ ง ยั ง มี ห น้ า ที่ ใ นการกำกั บ ดู แ ล ติ ด ตามการดำเนิ น งานต่ า งๆ ของ ที่อาจกำหนดขึ้นตามความจำเป็น คณะกรรมการธนาคาร และธนาคารให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย คณะกรรมการธนาคารได้ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กกรรมการแต่ ล ะชุ ด โดย กฎเกณฑ์ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสนับสนุนให้การดำเนินงานของ พิจารณาถึงคุณวุฒิ ทักษะ และประสบการณ์ที่เหมาะสมในแต่ละด้านรวมถึง คณะกรรมการธนาคาร ฝ่ายจัดการ และธนาคารเป็นไปตามแนวทางการ| พิจารณาตามกฎเกณฑ์ทางการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีการกำหนดขอบเขต กำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) หน้าที่อย่างชัดเจนและมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอ โดยการประชุมแต่ละครั้ง กรรมการได้ ใ ห้ เ วลาอย่ า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ ติ ด ตามการดำเนิ น งานของธนาคาร บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ เป็นดังนี้ ในแต่ ล ะด้ า นให้ เ ป็ น ไปตามแผนงานพร้ อ มกั บ มี ร ายงานให้ ค ณะกรรมการ 1. บทบาทหน้าที่ต่อธนาคาร (1) ควบคุมและกำกับดูแลให้ธนาคารดำเนินธุรกิจในภาพรวมให้เป็นไปตาม ธนาคารเพื่อรับทราบอย่างสม่ำเสมอ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

กฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อกำหนดของหน่วยงานทางการที่เกี่ยวข้อง (2) ดูแลการจัดเก็บและรักษาเอกสารสำคัญธนาคาร อาทิ หนังสือรับรอง บริคณห์สนธิ ทะเบียนผู้ถือหุ้น ข้อบังคับ ใบอนุญาตต่างๆ และหนังสือ มอบอำนาจ เป็นต้น (3) ผลักดันแนวปฏิบัติต่างๆ เพื่อให้ธนาคารมีการจัดทำนโยบาย และมี การปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) และมีการทบทวนอยู่เสมอ

2. บทบาทหน้าที่ต่อคณะกรรมการ (1) เป็นที่ปรึกษาในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ หน้าที่ของคณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง (2) ดูแล และควบคุมให้ดำเนินการเรื่องการประชุมคณะกรรมการธนาคาร และคณะกรรมการชุดย่อยที่ตั้งโดยคณะกรรมการธนาคารให้มีการปฏิบั ติให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย ข้อบังคับธนาคาร กฎบัตรของแต่ ละคณะกรรมการและข้อพึงปฏิบัติที่ดี (Best Practice) (3) เป็นเลขานุการในการประชุมคณะกรรมการธนาคาร และคณะกรรมการ ชุดย่อยอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย รวมถึงคณะประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รวมถึงจัดทำรายงานการประชุมที่ถูกต้องครบถ้วน พร้อมแจ้งมติที่ประชุม ต่อผู้บริหารที่เกี่ยวข้องและมีการติดตามให้มีการปฏิบัติตาม (4) ดู แ ลการเปลี่ ย นแปลงกรรมการ และตรวจสอบคุ ณ สมบั ติ ก รรมการ ในกรณีมีการแต่งตั้งกรรมการใหม่ ตามข้อกำหนดของทางการ รวมถึง การขอความเห็นชอบต่อธนาคารแห่งประเทศไทย (5) สอบทานให้ ก รรมการธนาคารมี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตลอดระยะเวลา ในการดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการธนาคาร ตามข้อกำหนดของทางการ อยู่เสมอ (6) ดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในของกรรมการ (7) ส่งเสริมการพัฒนากรรมการ (8) จัดให้มีการประเมินตนเองของคณะกรรมการ (9) ดูแลให้กรรมการและผู้บริหาร ได้รับความคุ้มครองทางกฎหมายอย่าง ครบถ้ ว นในเรื่ อ งการประกั น ความรั บ ผิ ด ของกรรมการและผู้ บ ริ ห าร (Directors and Officers Liability Insurance: D&O Insurance) 3. บทบาทหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น (1) กำกับดูแลการจัดประชุมผู้ถือหุ้น ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย ข้อบังคับธนาคารและเป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมถึง ทำหน้าที่เป็นเลขานุการในการประชุมผู้ถือหุ้น (2) ดูแลเรื่องสิทธิของผู้ถือหุ้น และการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ถือหุ้น

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

89

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ ธนาคารกำหนดกระบวนการแต่ ง ตั้ ง กรรมการธนาคารอย่ า งชั ด เจนและ โปร่งใส โดยคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล มี หน้าที่พิจารณาสรรหาและกลั่นกรองผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเสนอต่อคณะ กรรมการธนาคารเพื่อพิจารณา ก่อนนำเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการธนาคารต่อไป ทั้งนี้ ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ นอกจาก จะต้องมีคุณสมบัติตามข้อกำหนดของธนาคาร และของทางการ รวมทั้งมี คุณสมบัติส่วนตนที่เหมาะสมแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่มีทักษะ ความรู้ ความ สามารถและประสบการณ์ ในการดำเนินธุรกิจ มีความเป็นผู้นำ พร้อมด้วย วิสัยทัศน์และความคิดเชิงกลยุทธ์ที่จะสามารถนำธนาคารไปสู่การเติบโต ที่ มั่ น คงและยั่ ง ยื น ตลอดจนสามารถอุ ทิ ศ เวลาเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของ ธนาคารด้วย ในกรณีตำแหน่งกรรมการธนาคารว่างลงก่อนครบวาระ คณะกรรมการ ธนาคารจะเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการที่จะมาดำรงตำแหน่งแทนโดยผ่านการ พิจารณาจากคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล โดยให้อยู่ในตำแหน่งเพียงเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน เว้นแต่ วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการ แทนนั้นจะต้องได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการอิสระ ธนาคารตระหนักดีว่า กรรมการอิสระมีส่วนสำคัญในการรักษาผลประโยชน์ ของธนาคารและผู้ถือหุ้นรายย่อย ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างความเป็นอิสระให้กับ คณะกรรมการและดู แ ลจั ด การเกี่ ย วกั บ ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ใ ห้ เป็นไปตามข้อกำหนดของทางการ รวมทั้งหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการธนาคารจึงได้กำหนดแนวทางในการพิจารณาเลือกกรรมการ อิ ส ระจากบุ ค คลในสาขาวิ ช าชี พ ต่ า งๆ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละประสบการณ์ ที่ เหมาะสม สามารถให้ความเห็นที่เป็นอิสระ รวมทั้งมีความเที่ยงธรรมในการ ปฏิบัติหน้าที่ โดยคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล จะเป็นผูพ้ จิ ารณาในเบือ้ งต้นก่อนนำเสนอคณะกรรมการธนาคารหรือผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) เป็นผู้แต่งตั้งกรรมการอิสระ โดยคุณสมบัติของกรรมการอิสระ ต้ อ งเป็ น ไปตามที่ ธ นาคารกำหนดซึ่ ง มี ค วามเข้ ม งวดกว่ า ข้ อ กำหนดของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หลักเกณฑ์การสรรหาผู้บริหารระดับสูง ในการแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่ระดับเจ้าหน้าที่บริหารสายงานขึ้นไป คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล จะมีหน้าที่สรรหา


90

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

และกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมทั้งภายนอกและภายในธนาคาร ที่จะดำรงตำแหน่ง และนำเสนอคณะกรรมการธนาคารเพื่อพิจารณาอนุมัติ แต่งตั้ง โดยกระบวนการเป็นไปตามข้อกำหนดและข้อบังคับของธนาคาร สำหรับการแต่งตั้งผู้บริหารระดับเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายงานลงมา ฝ่ายจัดการ จะเป็นผู้พิจารณาสรรหาและแต่งตั้งบุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งตามความ เหมาะสม ในกรณี ที่ บ างตำแหน่ ง ได้ มี ก ารกำหนดวาระการดำรงตำแหน่ ง ไว้ ชั ด เจน คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล จะดำเนินการ สรรหาเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 6 เดือนก่อนครบวาระ

การกำหนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ธนาคารมี น โยบายในการกำหนดค่ า ตอบแทนกรรมการและผู้ บ ริ ห ารที่ เหมาะสม มีความโปร่งใส และเพียงพอในการจูงใจและดำรงไว้ซึ่งกรรมการ และผู้บริหารที่มีความสามารถโดยค่าตอบแทนดังกล่าวธนาคารได้มีการ พิจารณาจากประสบการณ์ ความชำนาญ ความรู้ความสามารถ ความตั้งใจ และความทุ่ ม เทในการปฏิ บั ติ ง านประกอบกั บ ผลงานหรื อ คุ ณ ประโยชน์ ที่ กรรมการหรือผู้บริหารรายนั้นทำให้แก่ธนาคาร นอกจากนี้ ค่าตอบแทน กรรมการและผู้บริหารสามารถเทียบเคียงได้อย่างเหมาะสมกับอัตราทั่วไป ขององค์ ก รอื่ น ที่ อ ยู่ ใ นธุ ร กิ จ เดี ย วกั น แนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ ค่ า ตอบแทน กรรมการจะได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากผู้ ถื อ หุ้ น และมี ก ารเปิ ด เผยค่ า ตอบแทน กรรมการไว้ ในรายงานประจำปีตามที่ทางการกำหนด โดยหลักเกณฑ์การ กำหนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารเป็นดังต่อไปนี้ 1. ค่าตอบแทนสำหรับการเป็นกรรมการในคณะกรรมการธนาคาร และ คณะกรรมการชุดย่อยที่คณะกรรมการธนาคารแต่งตั้งขึ้นเพื่อมีหน้าที่และ ความรับผิดชอบในการควบคุมติดตามการดำเนินงานของธนาคารให้เป็น ไปตามนโยบายทีก่ ำหนด อันได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการสินเชื่อ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะ กรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล กำหนดไว้ดังนี้ 1.1 กรรมการที่เป็นบุคคลภายนอก ได้รับค่าตอบแทน ซึ่งประกอบด้วย เงินประจำตำแหน่ง (Retaining Fee) ค่าตอบแทนกรรมการ (Committee Fee) และค่าเบี้ยประชุมต่อครั้ง (Attendance Fee) 1.2 กรรมการที่เป็นพนักงานธนาคาร ไม่ได้รับค่าตอบแทน 2. ค่าตอบแทนผู้บริหาร ขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานของธนาคารและผลการ ปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

การควบคุมและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ระบบการควบคุ ม ภายในทั้ ง ในระดั บ บริ ห ารและระดั บ ปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า ผลประโยชน์ ข องลู ก ค้ า และ ธนาคารได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม คณะกรรมการได้มีการประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในของธนาคารอย่างสม่ำเสมอ โดยคณะ กรรมการธนาคารได้มอบหมายหน้าที่ให้คณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่ ในการสอบทานให้ธนาคารมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ที่เหมาะสม มีการปฏิบัติงานตามนโยบาย กฎระเบียบของธนาคาร และระเบียบ ข้อบังคับทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ธนาคารยั ง ได้ มี ส ายงานตรวจสอบเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการ พิจารณา และประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน พร้อมทั้ง เสนอรายละเอียดต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจำด้วย

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน การกำกับดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ออกโดยธนาคารของกรรมการ และผู้บริหาร ธนาคารได้กำหนดแนวปฏิบัติในเรื่องการซื้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ และผู้บริหารโดยได้กำหนดช่วงเวลาในการห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ ธนาคาร (Blackout Period) ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ข้ อ กำหนดของทางการ นอกจากนี้ กรรมการ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร (CEO) และประธาน เจ้าหน้าที่บริหารด้านต่างๆ รวมถึงผู้ดำรงตำแหน่งระดับผู้บริหารฝ่ายหรือ เทียบเท่าในสายงานควบคุมทางการเงิน และสายงานวางแผนและวิเคราะห์ ทางการเงิ น มี ห น้ า ที่ ต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานการถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ที่ ออกโดยธนาคาร ทั้งของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) รวมถึงรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ดังกล่าวทุกครั้งเมื่อมี การซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์นั้น ตามแบบรายงานและภายใน ระยะเวลาที่สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนด จรรยาบรรณกรรมการ กรรมการธนาคารเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในฐานะเป็นผู้นำธนาคารไปสู่ความ สำเร็จในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยเป็นผู้กำหนดแนวนโยบายและชี้นำ พฤติกรรมของบุคลากรในธนาคารให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง รวมถึงกำกับ ดู แ ลการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของธนาคารให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางการกำกั บ ดู แ ล กิจการที่ดี (Good Corporate Governance) คณะกรรมการธนาคาร จึงได้บัญญัติ “จรรยาบรรณกรรมการธนาคาร” ซึ่งครอบคลุมจริยธรรม


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

91

ในระดั บ สู ง เพื่ อ เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ส ำหรั บ พนั ก งานของธนาคารทุ ก ระดั บ การตัดสินใจทางธุรกิจ: โดยมีหลักสำคัญดังนี้ กรรมการจะต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต และกระทำการด้วยความ ระมัดระวัง (Duty of honesty and Duty of Care) ภายใต้กรอบและแนวทาง ความซื่อสัตย์สุจริตและความซื่อตรง: ของหลักการตัดสินใจหรือลงมติบนพื้นฐานข้อมูลที่เพียงพอมีความสมเหตุ กรรมการจะต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และความซื่ อ ตรง สมผล ในระดับที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการเงินและการธนาคารพึงมี ไม่แสวงหาประโยชน์ส่วนตน ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่เล่นพวกเล่นพ้อง และไม่เข้าไปมี ส่วนร่วมหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการตัดสินใจในธุรกรรม หรือกิจการใดๆ ที่ตน จรรยาบรรณพนักงานและจริยธรรมธุรกิจ และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา ธนาคาร มีหลักจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจที่เป็นไปตามกฎหมายใน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) รวมถึงต้องสอดส่อง การรายงานการกระทำที่ขัดหรือผิดต่อหลักเกณฑ์ กฎหมาย หรือกฎระเบียบ ดู แ ลไม่ ใ ห้ เ กิ ด การแทรกแซงการตั ด สิ น ใจใดๆ อั น จะทำให้ ธ นาคารเกิ ด ในด้านการจ้างงาน การรักษาความลับ การปกป้องและใช้ทรัพย์สินธนาคาร อย่างเหมาะสม ผลประโยชน์ทับซ้อน ธุรกรรมของผู้ที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวโยง ความเสียหาย กัน ความปลอดภัยส่วนบุคคล และธุรกรรมการเงินอื่นๆ ซึ่งกรรมการและ การรักษาความลับ: พนักงานต้องเข้าใจและปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณดังกล่าว กรรมการจะต้องรักษาข้อมูลที่เป็นความลับทางธุรกิจของธนาคารและข้อมูล ลูกค้าไม่ให้รั่วไหลไปยังบุคคลอื่น รวมทั้งไม่นำข้อมูลความลับของธนาคาร ธนาคารมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะดำเนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และมี จ ริ ย ธรรม และลูกค้าไปแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อบุคคลอื่น ทั้งโดยเจตนา ซึ่งนอกเหนือจากการที่ธนาคารกำหนดให้มีนโยบายการกำกับดูแลกิจการ และไม่เจตนา เว้นแต่จะได้รับการยินยอมจากธนาคารหรือเป็นไปตามกฎหมาย ของธนาคารแล้ว คณะกรรมการธนาคารได้จัดให้มีจรรยาบรรณพนักงาน ทั้งในระหว่างที่ดำรงตำแหน่ง หรือเมื่อพ้นจากตำแหน่งกรรมการของธนาคาร (Code of Conduct) เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งเนื้อหาหลักๆ ในจรรยาบรรณ ไปแล้วไม่เกิน 1 ปี ได้ครอบคลุมถึงประเด็นต่างๆ ที่สำคัญ ประกอบด้วย อาทิ ความซื่อสัตย์ การรักษาความลับ ความขัดแย้งของผลประโยชน์ การใช้ตำแหน่งหน้าที่ การเปิดเผยข้อมูลอันเกี่ยวเนื่องกับผลประโยชน์: ในทางมิชอบ การประพฤติตนไม่เหมาะสม เป็นต้น นอกจากนี้ คณะกรรมการ กรรมการจะต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ ตามที่ ได้รับ ธนาคารยังได้จัดให้มีคู่มือพนักงาน (Staff Handbook) เป็นลายลักษณ์อักษร มอบหมาย โดยยึดถือหลักการปฏิบัติหน้าที่มิให้เกิดความขัดแย้งทางผลป ซึ่งได้ปรับปรุงครั้งล่าสุดในปี 2552 โดยนำมาเรียบเรียงเป็นหมวดหมู่และ ระโยชน์ โดยต้องเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว และข้อมูลของผู้ที่เกี่ยวข้องกับตน กำหนดแนวทางปฏิบัติไว้อย่างชัดเจนเพื่อให้พนักงานทุกระดับยึดถือปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ของทางการและของธนาคาร รวมถึงเปิดเผยข้อมูลในเรื่องที่ อย่างเคร่งครัดและต่อเนื่อง เป็นหรืออาจจะเป็นความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับการดำเนินธุรกิจของ ธนาคาร ธนาคารได้ยึดหลักการดำเนินธุรกิจอย่างตรงไปตรงมาอยู่บนพื้นฐานของ การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐานของทางการและ นอกจากนี้การดำเนินการใดๆ ระหว่างธนาคารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ ของธนาคารเอง เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ลูกค้า ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย ธนาคาร ต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสม (arm’s length Basis) เพื่อหลีกเลี่ยง กลุ่มต่าง ๆ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น หรือถูกเข้าใจว่าเกิดขึ้น การพัฒนากรรมการ การดำเนินธุรกิจและธุรกรรมส่วนตัว: ธนาคารมีนโยบายในการส่งเสริมให้กรรมการเข้ารับการอบรมในหลักสูตร กรรมการจะต้องไม่ประกอบกิจการอันมีลักษณะอย่างเดียวกันและ/หรือเป็น ต่าง ๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ การแข่งขันกับกิจการของธนาคารไม่ว่าจะเป็นเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือ ของการเป็ น กรรมการ ได้ แ ก่ หลั ก สู ต รการเป็ น กรรมการบริ ษั ท ของ ประโยชน์ของบุคคลอื่นทั้งทางตรงและทางอ้อม หรือเข้าเป็นกรรมการของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) เช่น หลักสูตร Directors บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนอื่นที่ประกอบกิจการอันมีลักษณะเดียวกัน Certification Program (DCP) และหลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) เป็นต้น สำหรับกรรมการชาวต่างประเทศที่ ไม่ ได้พำนัก และ/หรือเป็นการแข่งขันกับกิจการของธนาคาร


92

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

อยู่ในประเทศไทยก็ ได้มีการเข้าอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ 1. การประเมินการปฏิบัติหน้าที่โดยรวมของคณะกรรมการทั้งคณะ (Board หน้าที่กรรมการจากต่างประเทศ ซึ่งเทียบเคียงได้กับหลักสูตรของสมาคม of Directors) ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่งช่วยให้กรรมการได้เข้าใจถึง 2. การประเมิ น การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยรวมของคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการตามแนวทางการกำกับดูแ แต่ละคณะ (Committees) ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ ลกิจการที่ดีให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ธนาคารยังมีการให้ความรู้ด้านต่างๆ ที่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสินเชื่อ คณะกรรมการสรรหา เกี่ยวข้องกับธุรกิจธนาคารและธุรกิจที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง กำหนดค่ า ตอบแทน และบรรษั ท ภิ บ าลและคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยง สำหรับกรรมการ รวมถึงกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ ธนาคารยังได้จัด เตรียมเอกสารคู่มือกรรมการ ซึ่งมีเนื้อหาต่าง ๆ ที่สำคัญเพื่อให้กรรมการ ทั้ ง นี้ ในการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการธนาคารและ ใหม่ ได้รับทราบถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนของทางการและ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยดั ง กล่ า ว จะประเมิ น โดยกรรมการทุ ก ท่ า น และ ในส่วนของธนาคารเอง โดยเลขานุการบริษัทจะจัดเอกสารและข้อมูลที่เป็น กรรมการธนาคารที่ ไปดำรงตำแหน่งกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ รวมถึงสรุปแนะนำลักษณะธุรกิจ ก็จะมีการประเมินแยกเป็นรายคณะ รวมถึงเลขานุการคณะกรรมการแต่ละ และแนวทางการดำเนินธุรกิจของธนาคารเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้น เสมือนการ คณะก็จะร่วมในการประเมินด้วย ปฐมนิเทศให้แก่กรรมการใหม่ โดยมีรายละเอียดเอกสารหลักอันได้แก่ 1. คู่มือกรรมการ ซึ่งรวบรวมเนื้อหาสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ โครงสร้างการจัดการของธนาคาร ของธนาคาร รวมถึงกฎเกณฑ์ของทางการที่เกี่ยวข้องกับการเป็นกรรม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) การธนาคารและอื่น ๆ 2. คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน ซึ่งมีเนื้อหาที่สำคัญ ๆ ได้แก่ บทบาทหน้าที่ โครงสร้างการจัดการของธนาคารประกอบด้วย คณะกรรมการธนาคาร และความรับผิดชอบของกรรมการและคณะกรรมการ แนวทางการปฏิบัติ และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยซึ่ ง แต่ ง ตั้ ง โดยคณะกรรมการธนาคาร ได้ แ ก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา หน้าที่ของกรรมการ และการรักษาสิทธิและการจัดประชุมผู้ถือหุ้น 3. เอกสารอื่นๆ ได้แก่ หนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับ รายงานประจำปี กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และ นโยบายการกำกับดูแลกิจการของธนาคาร และจรรยาบรรณของกรรมการ คณะกรรมการสินเชื่อ เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินงานในด้านต่างๆ รวมทั้ ง คู่ มื อ กรรมการสถาบั น การเงิ น และหนั ง สื อ /ประกาศของทาง และศึกษากลั่นกรองงานที่สำคัญเพื่อนำเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ การที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้ประมวลหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติที่กำหนด ธนาคาร ตลอดจนช่วยให้การดำเนินการต่างๆ ของธนาคารเป็นไปตาม โดยหน่วยงานที่กำกับดูแลธนาคาร ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจแก่ ก รรมการเกี่ ย วกั บ คณะกรรมการแต่ละคณะมีการแบ่งแยกอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ บทบาทหน้ า ที่ ข องกรรมการและการประกอบธุ ร กิ จ ของธนาคาร เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรอย่ า งชั ด เจน คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยประกอบด้ ว ย กรรมการที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์ที่ โดยปรับปรุงคู่มือดังกล่าวให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เหมาะสมกับความรับผิดชอบ โดยส่วนใหญ่เป็นกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ และกรรมการอิสระซึ่งมีความเป็นอิสระอย่างเต็มที่ในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ คณะกรรมการธนาคารได้จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานโดยตนเอ ได้รับมอบหมาย รวมทั้งยังเป็นการถ่วงดุลอำนาจของการกำกับดูแลกับการ งของคณะกรรมการธนาคาร (Self-Assessment) เป็นประจำ ทั้งนี้ เพื่อ บริหารจัดการอย่างเหมาะสม ช่วยให้คณะกรรมการได้มีโอกาสทบทวนบทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการที่ ผ่ า นมา รวมถึ ง ปั ญ หาอุ ป สรรคต่ า งๆ ในระหว่ า งปี องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการธนาคาร ซึง่ เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) กรรมการจะได้รับการเลือกตั้งโดยที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี โดย โดยแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ แบ่งออกเป็น กรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี ในแต่ละปีกรรมการจำนวน หนึ่งในสามของจำนวนกรรมการที่มีอยู่ทั้งหมดจะครบวาระการดำรงตำแหน่ง 2 ลักษณะ ประกอบด้วย


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

กรรมการธนาคารซึ่ ง ครบวาระการดำรงตำแหน่ ง อาจได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง กลับเข้ามาใหม่ได้ หากมีกรรมการลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระ คณะ กรรมการมีอำนาจแต่งตั้งบุคคลเข้ามาเป็นกรรมการแทนได้เพียงเท่าวาระ ที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน หากวาระของกรรมการเหลือน้อยกว่า สองเดือน บุคคลผู้เข้ามาเป็นกรรมการแทนนั้นจะต้องได้รับการเลือกตั้งจาก ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น คณะกรรมการมีหน้าที่คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคล ที่เหมาะสมเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถ เสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการได้โดยคณะกรรมการ ได้ จั ด ให้ มี ก ระบวนการสำหรั บ การเสนอชื่ อ และตรวจสอบคุ ณ สมบั ติ ข อง ผู้ถูกเสนอชื่อเพื่อเข้ารับตำแหน่งกรรมการ ในการกำหนดองค์ ป ระกอบของคณะกรรมการธนาคารและการคั ด เลื อ ก กรรมการใหม่ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ ซึ่ ง คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล (“คณะกรรมการสรรหาฯ”) จะพิจารณา เพื่อทบทวนหลักเกณฑ์ ในการคัดเลือกบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ และทบทวนองค์ ป ระกอบของคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ซึ่ ง คณะกรรมการ สรรหาฯ จะให้ ข้ อ เสนอแนะแก่ ค ณะกรรมการเพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการให้ ความเห็นเกี่ยวกับผู้ถูกเสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการแก่ผู้ถือหุ้น เป็นการล่วงหน้าก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น องค์ประกอบของคณะกรรมการธนาคารมีความเหมาะสม โดยประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีทักษะด้านวิชาชีพ ความเชี่ยวชาญด้านธุรกิจธนาคารและ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ความรู้ในหลากหลายอุตสาหกรรม มีความเชี่ยวชาญด้าน การเงินและการบริหารจัดการ ตลอดจนมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ กรรมการธนาคารยกเว้นประธานเจ้าหน้าที่บริหารต้องไม่เป็นพนักงานของ ธนาคารและไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของธนาคาร กรรมการเป็นผู้มี บทบาทสำคัญในฐานะผู้มีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลให้ธนาคารมีธรรมภิบาล ที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมายและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยกรรมการจะต้องอุทิศ เวลา ความตั้งใจ และกำลังความสามารถให้เพียงพอกับการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยหลักความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) และหลักความระมัดระวัง (Duty of Care) หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นโดย ไม่เข้าร่วมตัดสินใจในธุรกรรมใดๆ ที่ตนเองหรือผู้เกี่ยวข้องมีส่วนได้เสีย รวมถึงกรรมการมีบทบาทในการปกป้องรักษาชื่อเสียงที่ดีของธนาคาร คณะกรรมการธนาคารมีจำนวนทั้งสิ้น 12 คน ซึ่งสอดคล้องกับข้อบังคับของ ธนาคารโดยเป็นกรรมการอิสระจำนวน 4 คน ซึ่งคุณสมบัติของกรรมการ อิสระเป็นไปตามที่ธนาคารกำหนดซึ่งเข้มงวดกว่าข้อกำหนดของทางการ ทั้งนี้

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

93

องค์ประกอบของคณะกรรมการธนาคารจะต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของ ทางการ ประกอบด้วย ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ ธนาคารตระหนักดีว่ากรรมการอิสระมีส่วนสำคัญในการรักษาผลประโยชน์ ของธนาคารและผู้ถือหุ้นรายย่อย โดยการเสริมสร้างความเป็นอิสระให้กับ คณะกรรมการและดูแลจัดการเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็น ไปตามข้อกำหนดของทางการรวมทั้งหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะ กรรมการจึงมีแนวทางในการคัดเลือกกรรมการอิสระจากบุคคลในสาขา วิชาชีพต่างๆ ที่มีคุณสมบัติและประสบการณ์ที่เหมาะสม สามารถให้ความเห็น ที่เป็นอิสระและมีความเที่ยงธรรมในการปฏิบัติงาน โดยคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาลเป็นผู้พิจารณาในเบื้องต้นก่อนนำเสนอ คณะกรรมการธนาคารต่อไป คุณสมบัติกรรมการอิสระ ธนาคารได้กำหนดความหมายของ “กรรมการอิสระ” ให้หมายถึง กรรมการ ที่เป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้บริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถ ทำหน้าที่คุ้มครองผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกรายได้อย่าง เท่าเทียมกัน โดยธนาคารได้กำหนดให้มีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมดแต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน

นอกจากนี้ ธนาคารยังได้กำหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระให้เข้มงวดกว่า หลั ก เกณฑ์ ที่ ก ำหนดโดยสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ดังต่อไปนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ ธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อำนาจควบคุมของธนาคาร ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้อง ของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ป รึ ก ษาที่ ไ ด้ เ งิ น เดื อ นประจำ หรื อ ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม ของธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือของผู้มีอำนาจควบคุมของธนาคาร เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง (3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตาม กฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้ง คู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุม


94

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ของธนาคาร หรือบริษัทย่อย (4) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของธนาคาร ใน ลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำนาจควบคุมของ ผู้ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ ธนาคาร บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม ของธนาคาร เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อน ได้รับการแต่งตั้ง ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการทำรายการทางการค้าที่ กระทำเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือ ทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็น หลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้ ธนาคารหรื อ คู่ สั ญ ญามี ภ าระหนี้ ที่ ต้ อ งชำระต่ อ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ตั้ ง แต่ ร้ อ ยละสามของสิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ตั ว ตนสุ ท ธิ ข องธนาคารหรื อ ตั้ ง แต่ ยี่ สิ บ ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า ทั้งนี้ การคำนวณภาระหนี้ ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคำนวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการกำกั บ ตลาดทุ น ว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ ใ นการ ทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทาง ธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องธนาคาร บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของธนาคาร และไม่ เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำนาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของธนาคารสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง (6) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ ใดๆ ซึ่ ง รวมถึ ง การให้ บริ ก ารเป็ น ที่ ป รึ ก ษากฎหมายหรื อ ที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น ซึ่ ง ได้ รั บ ค่ า บริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม ของธนาคาร และไม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม หรื อ หุ้ น ส่ ว นของผู้ ใ ห้ บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง (7) ไ ม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนของกรรมการ ของธนาคาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือ หุ้นรายใหญ่ของธนาคาร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับ กิ จ การของธนาคาร หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย หรื อ ไม่ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นที่ มี นั ย ใน ห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ ได้รับเงินเดือนประจำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำนวน หุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งทั้ ง หมดของบริ ษั ท อื่ น ซึ่ ง ประกอบกิ จ การที่ มี สภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของธนาคาร หรือบริษัทย่อย (9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับ การดำเนินงานของธนาคาร

คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการธนาคารประกอบด้วยกรรมการจำนวน 12 คน โดยเป็นกรรม การที่เป็นผู้บริหารจำนวน 1 คน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารจำนวน 7 คน และกรรมการอิสระจำนวน 4 คน ดังนี้ ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน่ง

1. นางเสาวนีย์ กมลบุตร

ประธานกรรมการ

2. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา*

กรรมการ

3. นายฟิลลิป จี. เจ. อี. โอ. ดามัส กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 4. ดร.วิจิตร สุพินิจ

5.นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล

6. นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล กรรมการ และประธาน กรรมการบริหารความเสี่ยง 7. นายกฤษฎา อุทยานิน

กรรมการ และประธาน กรรมการสินเชื่อ

8. นายวอน นิเจล ริกเตอร์

กรรมการ

9. นายอมร อัศวานันท์

กรรมการ

10. นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

กรรมการอิสระ

11. นายธารา ธีรธนากร

กรรมการอิสระ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

12. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

กรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

หมายเหตุ : * เป็นกรรมการธนาคารตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2553 โดยมี ม.ล.อยุทธ์ ไชยันต์ ทำหน้าที่เป็นเลขานุการ โดยปกติคณะกรรมการธนาคารมีการประชุมเป็นประจำเดือนละ 1 ครั้ง หรือตามที่จำเป็น กรรมการผู้มีอำนาจลงนามแทนธนาคาร นางเสาวนีย์ กมลบุตร ประธานกรรมการ หรือ นายบุญทักษ์ หวังเจริญ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร หรื อ กรรมการสองคนลงลายมื อ ชื่ อ ร่ ว มกั น และประทับตราสำคัญของธนาคาร ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการธนาคารมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้

ด้านนโยบาย (1) กำหนดทิศทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ในภาพรวมของธนาคาร รวมทั้ง พิจารณาทบทวนและอนุมัตินโยบาย ทิศทางการดำเนินงาน แผนธุรกิจ และงบประมาณประจำปี (2) แต่งตั้งกรรมการจำนวนหนึ่งเป็นคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยส่งเสริม ประสิทธิภาพในการดำเนินกลยุทธ์และดำเนินกิจการของธนาคารตามที่ คณะกรรมการมอบหมาย (3) พิจารณาอนุมัติบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ตลอดจน องค์ ป ระกอบ รวมทั้ ง พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ มี นั ย สำคั ญ ต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อยที่มีการแต่งตั้งขึ้น (4) พิ จ ารณาทบทวนหนั ง สื อ บริ ค ณห์ ส นธิ แ ละข้ อ บั ง คั บ ของธนาคารให้ มี ความเหมาะสมและเป็นที่รับรู้ของผู้ถือหุ้น (5) พิจารณาแผนการเพิ่มทุน (6) ท บทวนและพิ จ ารณาอนุ มั ติ ธุ ร กรรมภายใต้ ข้ อ กำหนดของทางการ พิจารณาอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะ กรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และพิจารณาอนุมัติการ ให้สินเชื่อในปริมาณจำกัดแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องตามหลักเกณฑ์ของธนาคาร แห่งประเทศไทย (7) อ นุ มั ติ ว งเงิ น สิ น เชื่ อ ให้ กั บ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ เดี ย วกั น ที่ เ กิ น อำนาจอนุ มั ติ ข อง ฝ่ายจัดการ

|

95

ด้านการกำกับดูแลการบริหารงาน (1) ก ำกั บ ควบคุ ม ดู แ ลให้ ฝ่ า ยจั ด การดำเนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามวิ สั ย ทั ศ น์ นโยบาย และภารกิจทีค่ ณะกรรมการกำหนดให้ มีการดำเนินธุรกิจทีแ่ ข่งขัน ได้ดี ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อผลประโยชน์ สูงสุดของธนาคารและผู้ถือหุ้น (2) ดูแลให้ฝ่ายจัดการของธนาคารมีการกำหนดนโยบาย กระบวนการ และ การควบคุมด้านการบริหารความเสี่ยงประเภทต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยทบทวน และอนุ มั ติ น โยบายของธนาคารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารความเสี่ ย ง รวมทั้งทบทวนนโยบาย กลยุทธ์ การปฏิบัติจริงอย่างสม่ำเสมอ นโยบาย ที่ต้องพิจารณา ได้แก่ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ การตลาด การลงทุน การปฏิ บั ติ ง าน ชื่ อ เสี ย ง กฎหมาย การบริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น รวมถึ ง ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง ความเสี่ ย งของอั ต ราดอกเบี้ ย และด้านอื่นๆ ตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย (3) พจิ ารณาอนุมตั กิ ารมอบอำนาจซึง่ ผูกพันธนาคารกับบุคคลทีส่ าม รวมถึง การให้บุคคลที่สามปฏิบัติงานแทนธนาคาร (4) ดูแลให้ฝ่ายจัดการและคณะกรรมการชุดย่อยรายงานเรื่องที่สำคัญของ ธนาคารต่อคณะกรรมการอย่างทันเวลาและเหมาะสม (5) ติ ด ตามผลรายงานการประชุ ม และตรวจสอบผลการดำเนิ น งานของ คณะกรรมการชุดย่อยคณะต่างๆ (6) ทบทวนโครงสร้างองค์กรอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่าฝ่ายจัดการมี ขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจน ด้านการกำกับดูแลกิจการและการควบคุมภายใน (1) กำกับดูแลให้การบริหารธนาคารมีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี (2) พิ จ ารณารายงานการบริ ห าร และรายงานทางบั ญ ชี เ ป็ น ประจำทุ ก ไตรมาส (3) พิจารณาเพื่อให้มั่นใจว่า ธนาคารและฝ่ายจัดการได้มีการปฏิบัติตาม กฎข้อบังคับและนโยบายของทางการและของธนาคาร เช่น เรือ่ งระดับเงินทุน ที่เหมาะสม โดยจัดให้มีการกำกับดูแลเป็นประจำ (4) ดำเนินการให้ธนาคารมีระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มี ประสิทธิภาพ การตรวจสอบที่เพียงพอ รวมทั้งการแต่งตั้งและกำกับดูแล ให้คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ มีการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ (5) จัดให้มีนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี บทบัญญัติเกี่ยวกับจริยธรรม ทางธุรกิจ และจรรยาบรรณของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อเป็น แนวทางปฏิบัติภายในองค์กร


96

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(6) พ บปะผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เป็ น ประจำเพื่ อ ทบทวนนโยบาย สื่ อ สาร และ คณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะจะพิจารณาถึงความจำเป็น ประสบการณ์ ติดตามความคืบหน้าเกี่ยวกับการดำเนินเป้าหมายของธนาคาร รวมถึงให้ ของกรรมการ ประโยชน์ ความเหมาะสม รวมถึงพิจารณาตามกฎเกณฑ์ คำแนะนำและแนวปฏิบัติที่ดีแก่ฝ่ายจัดการตามสมควร ของทางการที่เกี่ยวข้อง ด้านการพนักงาน (1) พิ จ ารณาอนุ มั ติ การจ้ า ง การแต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย ถอดถอน กำหนด ผลตอบแทน กำหนดโทษทางวินัย เลิกจ้าง การลาออกของผู้บริหาร ระดับสูง รวมทั้งข้อเสนอของคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล (2) พิจารณาคัดเลือกและปรับเปลี่ยนผู้บริหารในระดับที่สำคัญตามความ จำเป็น รวมทั้งให้ธนาคารมีแผนการสืบทอดตำแหน่งผู้บริหารที่เหมาะสม รวมถึงผู้สืบทอดตำแหน่งมีคุณสมบัติที่เหมาะสมในการบริหารงานของ ธนาคาร (3) ดูแลให้สวัสดิการและผลตอบแทนของพนักงานมีความเหมาะสม สอดคล้อง กับเป้าหมาย กลยุทธ์ และเป็นไปตามข้อกำหนดทางการที่เกี่ยวข้อง (4) ประเมินผลงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านต่างๆ

คณะกรรมการชุดย่อยของธนาคารประกอบด้วย คณะกรรมการบริหาร

ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ธนาคารนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจหรือมอบอำนาจช่วงที่ทำให้ คณะกรรมการธนาคาร หรือผู้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการธนาคาร สามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ใน ประกาศของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำนักงาน ก.ล.ต.) หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับธนาคาร หรือบริษัทย่อยของธนาคาร ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการธนาคารพิจารณาอนุมัติไว้ คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการธนาคารเล็งเห็นประโยชน์ของการตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อทำหน้าที่ในการดูแล กลั่นกรองและให้คำปรึกษาแก่คณะกรรมการธนาคาร ในเรื่องที่ต้องใช้ความชำนาญเฉพาะด้าน โดยมีการกำหนดองค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ และขอบเขตการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อยอย่าง ชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ ได้กำหนดให้คณะกรรมการชุดย่อย รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการธนาคารด้วย

ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน่ง

1.นายฟิลลิป จี. เจ. อี. โอ. ดามัส

ประธานกรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

2. นายวอน นิเจล ริกเตอร์

กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

3. นายกฤษฎา อุทยานิน

กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

4. นายอมร อัศวานันท์

กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

5. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

กรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (กรรมการที่เป็นผู้บริหาร)

โดยมี ม.ล.อยุทธ์ ไชยันต์ ทำหน้าที่เป็นเลขานุการ คณะกรรมการบริหารมีการประชุมเดือนละ 2 ครั้ง หรือตามที่จำเป็น โดย คำสั่งของประธานคณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่ทบทวนการดำเนินธุรกิจในรายละเอียด โดย แบ่งตามกลุ่มธุรกิจและบริษัทย่อย ตั้งแต่การให้ความเห็นชอบแผนธุรกิจและ งบประมาณประจำปีของธนาคาร แผนการลงทุนในเบื้องต้นเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการธนาคาร รวมถึ ง ติ ด ตามผลการดำเนิ น งานตามสายงาน ธุรกิจ ฐานะการเงิน การลงทุนขนาดใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับแผนงานและกลยุ ทธ์ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารยังมีหน้าที่ติดตามดูแลความคืบหน้า การบริหารแบรนด์และการสื่อสารขององค์กร

ธนาคารจะมีการทบทวนกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยทุกปีโดยคณะ ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาลและอนุมัติโดยคณะ บริหารนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจหรือมอบอำนาจช่วงที่ทำให้ กรรมการธนาคาร ทั้ ง นี้ การพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ประธานและกรรมการใน คณะกรรมการบริ ห าร หรื อ ผู้ รั บ มอบอำนาจจากคณะกรรมการบริ ห าร


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

สามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ ในประกาศของสำนักงาน ก.ล.ต. หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับธนาคาร หรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการธนาคารพิจารณาอนุมัติไว้

คณะกรรมการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน่ง

1. ดร.วิจิตร สุพินิจ

ประธานกรรมการ (กรรมการอิ ส ระ โดยมี ค วามรู้ แ ละ ประสบการณ์เพียงพอที่สามารถทำ หน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงิน)

2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

กรรมการ (กรรมการอิ ส ระ โดยมี ค วามรู้ แ ละ ประสบการณ์เพียงพอที่สามารถทำ หน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงิน)

3. นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

กรรมการ (กรรมการอิสระ)

โดยมีนายพีระ ชินวรรณบุตร ทำหน้าที่เป็นเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง หรือตามที่จำเป็น โดยคำสั่งของประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ธนาคารมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ธนาคารมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และ ระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้งโยกย้าย เลิกจ้าง และประเมินผลงาน หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ธนาคารปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

|

97

กับธุรกิจของธนาคาร รวมทั้งพิจารณารายงานกำกับดูแลของหน่วยงาน กำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance function) 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่ เป็นผู้สอบบัญชีของธนาคาร และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม ด้วยเป็นประจำ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบการว่ า จ้ า งหรื อ การทำข้ อ ตกลงกั บ ผู้ ส อบ บัญชีในภารกิจอื่นที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ หรือนอกเหนือจากงานสอบบัญชี (audit-related and other services) 6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ ต่อธนาคาร 7. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ ในรายงาน ประจำปีของธนาคาร ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงาน ทางการเงินของธนาคาร (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของธนาคาร (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำหนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ หรื อ กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของธนาคาร (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุม ของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจาก การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) (ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการธนาคาร 8. ดำเนิ น การสอบสอบสวนโดยไม่ ชั ก ช้ า เมื่ อ ได้ รั บ แจ้ ง จากผู้ ส อบบั ญ ชี เกี่ยวกับพฤติการณ์อันควรสงสัย และรายงานผลการตรวจสอบเบื้องต้น ให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และ ผู้สอบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี และรายงานต่อคณะกรรมการธนาคาร เพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ ไข ภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบเห็ น สมควร ในกรณี ที่ คณะกรรมการตรวจสอบพบหรื อ มี ข้ อ สงสั ย ว่ า มี ร ายการหรื อ การ กระทำ ดังต่อไปนี้


98

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

(ก) ผลประโยชน์ทับซ้อน (ข) กรณีทุจริตหรือข้อบ่งชี้ว่าอาจมีการทุจริต หรือบกพร่องที่สำคัญ ในระบบควบคุมภายใน (ค) การปฏิบัติไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือข้อกำหนดของทางการที่เกี่ยวข้อง หากคณะกรรมการธนาคารหรื อ ผู้ บ ริ ห ารไม่ ด ำเนิ น การให้ มี ก าร ปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาตามที่คณะกรรมการตรวจสอบกำหนด คณะกรรมการตรวจสอบจะต้ อ งเปิ ด เผยการกระทำดั ง กล่ า วไว้ ในรายงานประจำปี และรายงานต่อธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 9. สอบทานความเหมาะสมของมาตรการและการดำเนินการแก้ ไขของฝ่าย จั ด การตามรายงานผลการตรวจสอบและการสั่ ง การของธนาคาร แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 10. ส อบทานความถู ก ต้ อ งน่ า เชื่ อ ถื อ ของรายงานทางการเงิ น ของบริ ษั ท ในเครือ การปฏิบัติตามนโยบายและมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ธนาคาร กำหนดขึ้น เพื่อให้บริษัทในเครือถือปฏิบัติ รวมทั้งที่เกี่ยวกับการควบคุม ภายในและการตรวจสอบ 11. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการธนาคารมอบหมายด้วยความเห็น ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 12. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่กฎหมายกำหนด

คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน่ง

1. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

ประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ)

2. นายฟิลลิป จี. เจ. อี. โอ. ดามัส กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร) 3. นายกฤษฎา อุทยานิน

กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

4. นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

กรรมการ (กรรมการอิสระ)

โดยมีนายอครินทร์ ภูรีสิทธิ์ ทำหน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล มีการประชุม ไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือตามที่จำเป็นโดยคำสั่งของประธานคณะกรรมการ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

สรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและ บรรษัทภิบาล ด้านสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน (1) กำหนดและทบทวนนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหากรรมการ ของธนาคาร และผู้บริหารระดับสูง เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร พิจารณาอนุมัติ (2) ก ลั่ น กรองรายชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเพื่ อ ดำรงตำแหน่ ง กรรมการของธนาคาร ผู้บริหารระดับสูง และกรรมการในกิจการที่ ธนาคารถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 50 เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร (3) ก ำหนดและทบทวนนโยบาย หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการจ่ า ย ค่าตอบแทน สวัสดิการ และผลประโยชน์อื่น รวมถึงจำนวนค่าตอบแทน และผลประโยชน์อื่นที่ให้แก่กรรมการและผู้บริหารระดับสูง โดยต้องมี หลั ก เกณฑ์ ที่ ชั ด เจน โปร่ ง ใส เพื่ อ เสนอต่ อ คณะกรรมการธนาคาร พิจารณาอนุมัติ (4) ดูแลให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูงของธนาคารได้รับผลตอบแทน ที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบที่มีต่อธนาคาร (5) ก ำหนดแนวทางการประเมิ น ผลงานของกรรมการ และผู้ บ ริ ห าร ระดับสูง เพื่อพิจารณาปรับผลตอบแทนประจำปี โดยคำนึงถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง รวมถึงให้ความสำคัญกับ การเพิ่มมูลค่าของส่วนของผู้ถือหุ้นในระยะยาวประกอบการพิจารณา ประเมินผลด้วย (6) ให้คำแนะนำคณะกรรมการธนาคารเกี่ยวกับแผนสืบทอดตำแหน่งของ ผู้บริหารระดับสูง (Succession Plan) ด้านบรรษัทภิบาล (1) ให้คำแนะนำคณะกรรมการธนาคารในการกำกับดูแลให้การดำเนินกิจการ ของธนาคาร และการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ ที่ธนาคารจัดตั้งขึ้น ผู้บริหาร รวมถึงพนักงาน เป็นไปตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งกำหนด ติดตาม และสื่อสาร แนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องธนาคารให้ ผู้ ที่ เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกธนาคารได้รับทราบ (2) กำหนดหลักเกณฑ์ข้อพึงปฏิบัติที่สำคัญของธนาคาร ตามหลักการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี (3) พิจารณาทบทวนนโยบาย หลักการ และแนวทางปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง อย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการเสนอแนะข้อกำหนดที่เกี่ยวกับจริยธรรมและ จรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

(4) ติดตามแนวทางการปฏิบัติของหน่วยราชการและที่เป็นสากลเกี่ยวกับ การกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อนำมาทบทวนและใช้ปฏิบัติอย่างเหมาะส มกับธนาคาร (5) กำกับดูแลให้หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีมีผลในทางปฏิบัติให้มีความ ต่อเนื่องและเหมาะสมกับธุรกิจของธนาคาร (6) รายงานต่อคณะกรรมการธนาคารเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของธนาคาร พร้อมความเห็นในแนวปฏิบัติและข้อเสนอแนะเพื่อแก้ ไข ปรับปรุงในประเด็นต่างๆ ตามความเหมาะสม พร้อมทั้งดูแลให้ธนาคาร มีการรายงานและเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการแก่หน่วยงานทางการ ผู้ถือหุ้น และสาธารณชนตามข้อกำหนดทางการ หรือตามความเหมาะสม

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ตำแหน่ง

1.นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล

ประธานกรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

คณะกรรมการสินเชื่อ

2. นายอมร อัศวานันท์

กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

ชื่อ-นามสกุล

3. นายธารา ธีรธนากร

กรรมการ (กรรมการอิสระ)

4. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (กรรมการที่เป็นผู้บริหาร)

โดยมีเจ้าหน้าที่บริหารสายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงและนโยบายทำหน้าที่ เลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมเดือนละ 1 ครัง้ หรือตามทีจ่ ำเป็น โดยคำสั่งของประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (1) อนุมัติกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงโดยรวมของธนาคาร (2) อนุมัตินโยบายกรอบการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง รวมถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างการบริหารความเสี่ยง (risk governance matters) ซึ่งทางการกำหนดให้ต้องได้รับอนุมัติจากคณะ กรรมการธนาคาร

99

(3) ให้ความเห็นต่อคณะกรรมการธนาคารในการอนุมัติระดับความเสี่ยงที่ ยอมรับได้โดยรวม (risk appetite) และการกระจุกตัวของความเสี่ยง (risk concentration) (4) อนุมัติอำนาจการจัดสรรวงเงินด้านความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในนโยบาย และกรอบการปฏิบัติงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (5) ทบทวนและกำกับดูแลความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของ ธนาคาร รวมทั้งการเตรียมความพร้อมของธนาคารในการปฏิบัติการต ามแนวทางของโครงการ Basel II (6) อนุมัติการแต่งตั้ง การทบทวนโครงสร้างและองค์ประกอบของกรรมการ และภาระหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะต่างๆ ในระดับ ของฝ่ายจัดการ (7) รายงานผลการบริหาร ประเด็นและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร ความเสี่ยง ให้แก่คณะกรรมการธนาคาร และคณะกรรมการตรวจสอบ อย่างเหมาะสม

ชื่อ-นามสกุล

5. นายบาร์ท เอฟ.เอ็ม. เฮลเลแมนส์ กรรมการ (ผู้บริหารธนาคาร)

|

1.นายกฤษฎา อุทยานิน

ตำแหน่ง

ประธานกรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

2. นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร) 3. นายอมร อัศวานันท์

กรรมการ (กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร)

4. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

กรรมการ/ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (กรรมการที่เป็นผู้บริหาร)

5. นายบาร์ท เอฟ.เอ็ม. เฮลเลแมนส์ กรรมการ (ผู้บริหารธนาคาร) โดยมีนายจรูญศักดิ์ เฮ้งตระกูล ทำหน้าที่เป็นเลขานุการ คณะกรรมการสินเชื่อมีการประชุมเดือนละ 2 ครั้ง หรือตามที่จำเป็น โดย คำสั่งของประธานคณะกรรมการสินเชื่อ ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสินเชื่อ (1) พิจารณาอนุมัติสินเชื่อที่เกินจากอำนาจอนุมัติของฝ่ายจัดการ


100

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

(2) พิจารณาอนุมัติการลงทุนในเรื่องที่เกี่ยวกับธุรกรรมปกติของธนาคาร และการปรับโครงสร้างหนี้ที่นอกเหนือจากอำนาจอนุมัติของฝ่ายจัดการ (3) พิจารณาทบทวนรายการสินเชื่อที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ขนาดกลางและ ขนาดใหญ่ (4) กำหนดและทบทวนกลยุทธ์และพัฒนาด้านสินเชื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย ของธนาคาร รวมถึงให้ความเห็นที่เหมาะสมแก่คณะกรรมการธนาคาร (5) ทบทวนสินเชื่อและการลงทุนของธนาคาร

คณะกรรมการต่างๆ และคณะทำงานอื่น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ดำเนิ น การสำหรั บ เหตุ ก ารณ์ ค วามเสี่ ย งที่ ไ ด้ รั บ รายงานรวมทั้ ง อนุ มั ติ ผลิตภัณฑ์ ใหม่

5. คณะพิจารณาสินเชื่อ มีภาระหน้าที่พิจารณาสินเชื่อของลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ และลูกค้าธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม ตามอำนาจอนุมัติ รวมทั้งกลั่นกรองเรื่องที่อยู่ใน อำนาจอนุมัติของคณะกรรมการธนาคารและคณะกรรมการสินเชื่อ

6. คณะกรรมการพิจารณาและอนุมัติผลการประเมินราคา 1. คณะประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีภาระหน้าที่อนุมัติรายชื่อผู้ประเมินราคาอิสระภายนอกนอก กำหนดระเบียบ มีภาระหน้าที่ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กำกับ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการประเมินราคาตามความเหมาะสม และอนุมัติ ดู แ ลให้ มี ก ารทบทวนการดำเนิ น งานให้ บ รรลุ ต ามเป้ า หมาย และกลยุ ท ธ์ ผลการประเมินราคาหรือผลการตีราคาทั้งที่ประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระ ของธนาคาร พิจารณาเสนอต่อคณะกรรมการธนาคารเพื่อให้ความเห็นชอบ ภายนอกและผู้ประเมินราคาภายใน สำหรับทุกมูลค่าสินทรัพย์ แผนธุรกิจ งบประมาณประจำปี และควบคุมจำนวนพนักงานให้เป็นไปตาม แผนอัตรากำลัง พิจารณาและอนุมัติการลงทุน โครงการสำคัญต่างๆ ของ 7. คณะปรับปรุงคุณภาพสินเชื่อ 1 ธนาคาร ภาพลั ก ษณ์ อ งค์ ก ร การสื่ อ สาร การโฆษณาประชาสั ม พั น ธ์ มี ภ าระหน้ า ที่ ท บทวนดู แ ล และพิ จ ารณาเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สิ น เชื่ อ ด้ อ ย และการดำเนิ น การ เพื่ อ กอบกู้ ส ถานการณ์ ตลอดจนแก้ ไ ขปั ญ หาใน คุณภาพและสินทรัพย์รอการขายตามอำนาจอนุมัติ รวมทั้งกลั่นกรองเรื่องที่ ภาวะการณ์ที่มีเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งพิจารณากลยุทธ์การดำเนินงานของ อยู่ในอำนาจอนุมัติของคณะกรรมการธนาคาร และคณะกรรมการสินเชื่อ บริษัทในเครือและทบทวนผลการดำเนินงาน 8. คณะปรับปรุงคุณภาพสินเชื่อ 2 2. คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน มี ภ าระหน้ า ที่ ท บทวนดู แ ล และพิ จ ารณาเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สิ น เชื่ อ ด้ อ ย มีภาระหน้าที่กำหนด วางกฎเกณฑ์และการปฏิบัติการในนโยบายที่เกี่ยวข้อง คุณภาพและสินทรัพย์รอการขายตามอำนาจอนุมัติ กับการบริหารสินทรัพย์ และหนี้สิน รวมทั้งให้ความเห็นชอบ / อนุมัติการทำ ทั้งนี้ คณะต่างๆ และเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจอนุมัติการให้สินเชื่อและการพัฒนา ธุรกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สินทรัพย์ตามวงเงินสินเชื่อ ประเภทธุรกิจ ประเภทหลักประกัน ภายใต้ขอบเขต 3. คณะนโยบายบริหารความเสี่ยง อำนาจอนุมัติจากคณะกรรมการธนาคาร มีภาระหน้าที่ประเมินความถูกต้องและความพอเพียงของการบริหารความ เสี่ ย งด้ า นสิ น เชื่ อ ทบทวนและรั บ รองหรื อ อนุ มั ติ น โยบายความเสี่ ย งด้ า น 9. คณะกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีและระบบงาน สินเชื่อ มาตรฐานการพิจารณาสินเชื่อ เกณฑ์การอนุมัติสินเชื่อสำหรับ มีภาระหน้าที่ให้ความเห็นชอบแผนกลยุทธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้มี ผลิตภัณฑ์ต่างๆ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติงาน ตามอำนาจอนุมัติที่ ได้รับ ความสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของธนาคาร รับทราบความก้าวหน้าทาง ด้านเทคโนโลยีที่สำคัญที่เกี่ยวกับธนาคาร รวมทั้งผลการบริหารและปฏิบัติ มอบหมาย การด้านเทคโนโลยี 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ มีภาระหน้าที่ พัฒนาเครื่องมือและเทคนิคเพื่อใช้ในการวัดความเสี่ยง อนุมัติ 10. คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล มาตรฐานขั้นต่ำและแนวทางการปฏิบัติงานของความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ มีภาระหน้าที่พิจารณาอนุมัติกรอบการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการบริหา กำหนดค่าเป้าหมายสำหรับดัชนีวัดความเสี่ยงหลัก กำหนด / ริเริ่มแผนการ รงานทรัพยากรบุคคล มาตรฐานการกำหนดค่าตอบแทน ระเบียบกฎเกณฑ์


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

แผนสืบทอดตำแหน่งของผู้บริหาร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การปรับ เงินเดือน การจ่ายโบนัสและเงินรางวัลของพนักงานระดับที่ต่ำกว่าเจ้าหน้าที่ บริหารสายงานและผู้บริหารระดับสูง อนุมัติโครงสร้างการจัดลำดับชั้นงาน (Job Grade) การจัดตำแหน่งตามลักษณะงาน (Functional Title) และ ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโครงการ HR Transformation รวมถึงโครงสร้าง การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและวัฒนธรรมองค์กร

11. คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำงาน มี ภ าระหน้ า ที่ พิ จ ารณานโยบายและแผนงานด้ า นความปลอดภั ย ในการ ทำงาน รวมถึงความปลอดภัยนอกงาน ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้าน ความปลอดภัย รวมทั้งการกำหนดระเบียบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อ มในการทำงานให้ เ ป็ น ไปตามกฎกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคม การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการธนาคารจะกำหนดวันประชุมล่วงหน้าทั้งปีเพื่อให้กรรมการ สามารถจัดเวลาเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้ง นอกจากนี้ อาจจัดให้มีการประชุม วาระพิเศษขึ้นตามความจำเป็นโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการ ธนาคาร วาระการประชุมกำหนด โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และเห็นชอบ โดยประธานกรรมการธนาคารโดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ชัดเจน และเลขานุการ

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

101

คณะกรรมการธนาคารจะส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร้ อ มระเบี ย บวาระ และเอกสารประกอบการประชุมให้แก่กรรมการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนการประชุม เว้นแต่ในกรณีจำเป็นเร่งด่วน เพื่อให้คณะกรรมการได้มี เวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ กรรมการแต่ละท่านสามารถนำเสนอ วาระอื่นๆ ต่อที่ประชุมได้ตามที่เห็นควร ในการประชุมแต่ละครั้ง กรรมการจะใช้เวลาในการพิจารณาและแสดงความ คิดเห็นอย่างเต็มที่และอิสระเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อธนาคาร ประธานกรรมการ ธนาคารเป็นผู้ประมวลข้อคิดเห็นและสรุปผลการพิจารณาของที่ประชุม โดยมี เลขานุการคณะกรรมการธนาคารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำรายงาน การประชุมเพื่อให้ที่ประชุมรับรอง รวมทั้งจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่าน การรับรองแล้วเพื่อใช้ในการอ้างอิง และพร้อมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ นอกจากนี้ กรรมการที่มีความเกี่ยวข้องกับวาระที่นำเสนอในที่ประชุมใด จะไม่เข้าร่วมในการพิจารณาและ/หรืออนุมัติวาระนั้นๆ และคณะกรรมการ มีโอกาสประชุมโดยไม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหารร่วมอยู่ในที่ประชุม เพื่อหารือ และพิจารณาการดำเนินงานของธนาคาร และฝ่ายจัดการ ในระหว่างเดือนมกราคม – ธันวาคม 2553 คณะกรรมการธนาคารมีการ ประชุมรวมทั้งสิ้น 15 ครั้ง โดยมีรายละเอียดการเข้าประชุมของคณะกรรมการ ธนาคาร และคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ ดังนี้


102

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

จำนวนครั้งของการเข้าประชุมของกรรมการธนาคาร ในแต่ละคณะ ระหว่างเดือนมกราคม – ธันวาคม 2553 (หน่วย: ครั้ง) ชื่อ-นามสกุล

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ธนาคาร บริหาร สินเชื่อ ตรวจสอบ

จำนวนการประชุมตั้งแต่ ม.ค. – ธ.ค. 53

15

22

21

12

คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหา กำหนด บริหาร ค่าตอบแทนและ ความเสี่ยง บรรษัทภิบาล

13

12

1. นางเสาวนีย์ กมลบุตร 15/15 2. พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา (1) (ถึง 30 กันยายน 2553)

1/11

3. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (2) 3/4 (ตั้งแต่ 7 ตุลาคม 2553) 4. นายฟิลลิป จี.เจ.อี.โอ. ดามัส

14/15

5. ดร.วิจิตร สุพินิจ

15/15

11/12

6. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

13/15

12/12

7. นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล

7/15

8/21

8. นายกฤษฎา อุทยานิน

14/15

17/22

20/21

9.นายวอน นิเจล ริกเตอร์

12/15

18/22

10.นายอมร อัศวานันท์

14/15

21/22 19/21

11.นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

12/15

12. นายธารา ธีรธนากร

14/15

13. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ 13/15

17/22

19/22

10/12

12/13 13/13 7/12

12/13 11/12

10/13

13/21

12/12 7/12

(1)

ปัจจุบันไม่ได้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการธนาคาร พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการธนาคาร โดยที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 9/2553 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 มีผลเมื่อ ธปท. อนุมัติ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2553

(2)

หมายเหตุ (1) นายฟิลลิป จี.เจ.อี.โอ. ดามัส เป็นกรรมการที่มิได้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย ในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 2/2553, 4/2553, 13/2553,17/2553 และ 21/2553 นายฟิลลิป จี.เจ.อี.โอ.ดามัส ร่วมในการประชุม ผ่านระบบ teleconferencing / videoconferencing (2) นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล เป็นกรรมการที่มิได้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย ในการประชุม คณะกรรมการสินเชื่อ ครั้งที่ 2/2553, 3/2553, 6/2553, 8/2553, 9/2553, 11/2553, 14/2553 และ 21/2553 และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2553, 2/2553 และ 3/2553 นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล ร่วมในการประชุมผ่านระบบ teleconferencing / videoconferencing (3) นายวอน นิเจล ริกเตอร์ เป็นกรรมการที่มิได้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย ในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 2/2553, 4/2553, 5/2553, 7/2553, 11/2553, 15/2553, 17/2553 และ 21/2553 นายวอน นิเจล ริกเตอร์ ร่วมในการประชุมผ่านระบบ teleconferencing / videoconferencing


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ธนาคารมีนโยบายกำหนดค่าตอบแทนของกรรมการให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม และสอดคล้องกับภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารธนาคาร ให้บรรลุเป้าหมาย ถูกต้องตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเป็นไปตาม ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ รวมทั้งอยู่ในระดับที่เทียบเคียง ได้ กั บ ธนาคารพาณิ ช ย์ อื่ น ทั้ ง นี้ คณะกรรมการธนาคารจะกำหนดค่ า ตอบแทนสำหรั บ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย หากมี ก ารแต่ ง ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม โดย ค่าตอบแทนที่กำหนดเพิ่มเติมดังกล่าวจะรวมอยู่ภายในจำนวนเงินที่ ได้รับ อนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น การกำหนดค่ า ตอบแทนกรรมการได้ ด ำเนิ น การไว้ อ ย่ า งอย่ า งชั ด เจนและ โปร่งใส โดยมีคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล ทำหน้าที่พิจารณาทบทวนค่าตอบแทนกรรมการ เสนอต่อคณะกรรมการ ธนาคาร เพื่อพิจารณาและขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นประจำทุกปี โดยได้กำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ดังนี้

ค่าตอบแทนรายเดือน เงินประจำตำแหน่ง (Retaining Fee): กรรมการที่ดำรงตำแหน่งจะได้รับ เงินประจำตำแหน่งเพียงตำแหน่งเดียว ค่าตอบแทนกรรมการ(Committee Fee): กรรมการจะได้รับค่าตอบแทน กรรมการสำหรับทุกคณะที่ดำรงตำแหน่ง ค่าเบี้ยประชุมต่อครั้ง (Attendance Fee): กรรมการจะได้รับค่าเบี้ยประชุม ทุกครั้งที่เข้าร่วมประชุม ค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นตัวเงิน ประกอบด้วย 1. เงินประจำตำแหน่ง (Retaining Fee) ประธาน - คณะกรรมการธนาคาร 1,800,000 บาทต่อปี - คณะกรรมการบริหาร 1,440,000 บาทต่อปี - คณะกรรมการสินเชื่อ 696,000 บาทต่อปี - คณะกรรมการตรวจสอบ 696,000 บาทต่อปี - คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน 696,000 บาทต่อปี และบรรษัทภิบาล - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 696,000 บาทต่อปี กรรมการ - คณะกรรมการธนาคาร 384,000 บาทต่อปี - คณะกรรมการบริหาร 422,400 บาทต่อปี - คณะกรรมการสินเชื่อ 374,400 บาทต่อปี - คณะกรรมการตรวจสอบ 374,400 บาทต่อปี

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

- คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 2. ค่าตอบแทนกรรมการ (Committee Fee) ประธาน - คณะกรรมการธนาคาร - คณะกรรมการบริหาร - คณะกรรมการสินเชื่อ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ - คณะกรรมการธนาคาร - คณะกรรมการบริหาร - คณะกรรมการสินเชื่อ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 3. ค่าเบี้ยประชุม (Attendance Fee) ประธาน - คณะกรรมการธนาคาร - คณะกรรมการบริหาร - คณะกรรมการสินเชื่อ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ - คณะกรรมการธนาคาร - คณะกรรมการบริหาร - คณะกรรมการสินเชื่อ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

|

103

374,400 บาทต่อปี 374,400 บาทต่อปี

1,800,000 1,440,000 696,000 696,000 696,000

บาทต่อปี บาทต่อปี บาทต่อปี บาทต่อปี บาทต่อปี

696,000 บาทต่อปี 384,000 422,400 374,400 374,400 374,400

บาทต่อปี บาทต่อปี บาทต่อปี บาทต่อปี บาทต่อปี

374,400 บาทต่อปี

40,000 บาทต่อครั้ง 40,000 บาทต่อครั้ง 32,400 บาทต่อครั้ง 32,400 บาทต่อครั้ง 32,400 บาทต่อครั้ง 32,400 บาทต่อครั้ง 30,000 บาทต่อครั้ง 31,200 บาทต่อครั้ง 24,600 บาทต่อครั้ง 24,600 บาทต่อครั้ง 24,600 บาทต่อครั้ง 24,600 บาทต่อครั้ง


104

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ในระหว่างเดือนมกราคม – ธันวาคม 2553 รายละเอียดค่าตอบแทนของกรรมการรวม 13 คน ในฐานะกรรมการธนาคาร และในฐานะกรรมการใน คณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ เป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 28,444,400 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ รายชื่อกรรมการ

รายละเอียด

1. นางเสาวนีย์ กมลบุตร

ได้รับค่าตอบแทนประธานกรรมการ จำนวนเงิน 4,200,000 บาท

2. พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา 1/ (ถึง 30 กันยายน 2553)

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร จำนวนเงิน 606,000 บาท

3. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 2/ (ตั้งแต่ 7 ตุลาคม 2553)

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร จำนวนเงิน 282,000 บาท

4. นายฟิลลิป จี.เจ.อี.โอ. ดามัส

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและ บรรษัทภิบาล จำนวน 5,033,600 บาท

5. ดร.วิจิตร สุพินิจ

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร และประธานกรรมการตรวจสอบ จำนวนเงิน 2,582,400 บาท

6. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร ประธานกรรมการสรรหา กำหนด ค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล และกรรมการ ตรวจสอบ จำนวน 3,256,800 บาท

7. นายวิลเล็ม เฟรดเดอริค นาเจล

ไม่ได้รับค่าตอบแทนตามเกณฑ์ของ ING Bank N.V.

8. นายกฤษฎา อุทยานิน

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร ประธานกรรมการสินเชื่อ กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหา กำหนด ค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล จำนวน 4,466,400 บาท

9. นายวอน นิเจล ริกเตอร์

ไม่ได้รับค่าตอบแทนตามเกณฑ์ของ ING Bank N.V.

10. นายอมร อัศวานันท์

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร กรรมการบริหาร กรรมการสินเชื่อ และกรรมการบริหารความเสี่ยง จำนวน 3,790,800 บาท

11. นายคริสโตเฟอร์ จอห์น คิง

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทนและบรรษัทภิบาล จำนวน 2,368,800 บาท

12. นายธารา ธีรธนากร

ได้รับค่าตอบแทนกรรมการธนาคาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง จำนวน 1,857,600 บาท

13. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

ไม่ได้รับค่าตอบแทนตามเกณฑ์ของธนาคาร

หมายเหตุ: (1)

ปัจจุบันไม่ได้ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการธนาคาร พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการธนาคาร โดยที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 9/2553 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 มีผลเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2553

(2)

ค่าตอบแทนอื่นๆ - ไม่มี -


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆและปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการลงทุน 1. รายการระหว่างกัน ความเห็นของคณะกรรมการต่อการควบคุมภายใน ธนาคารได้ ก ำหนดนโยบายและทิ ศ ทางการดำเนิ น งานของธนาคาร โดย ให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ระบบการควบคุ ม ภายในทั้ ง ในระดั บ บริ ห ารและระดั บ ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล เพื่อความมั่นใจว่าผลประโยชน์ของลูกค้าและ ธนาคารได้ รั บ การดู แ ลอย่ า งเหมาะสม โดยมี ค ณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่า ตอบแทนและบรรษั ท ภิ บ าลทำหน้ า ที่ ก ำกั บ ดู แ ลระบบการควบคุ ม ภายใน กระบวนการบริหารความเสี่ยงและการกำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ สายงานตรวจสอบได้ตรวจสอบการดำเนินงานของธนาคารและรายการ ระหว่างกัน สายงานตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานผลการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการธนาคารในการประชุมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2554 มี กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบร่วมประชุมด้วยทุกท่าน ได้พิจารณา ผลการประเมินระบบการควบคุมภายในของธนาคาร ซึ่งนำเสนอโดยเจ้าหน้าที่ บริหาร สายงานตรวจสอบ ในการประเมินผลดังกล่าว ผู้ตรวจสอบได้ พิ จ ารณาระบบการควบคุ ม ภายในของธนาคารตามองค์ ป ระกอบสำคั ญ 5 ประการ ได้ แ ก่ องค์ ก รและสภาพแวดล้ อ ม การบริ ห ารความเสี่ ย ง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารระบบสารสนเทศและการสื่อสาร ข้อมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการธนาคารรับทราบการประเมิน ระบบการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบ คณะกรรมการธนาคารได้รับทราบสถานะของระบบการควบคุมภายในของ ธนาคาร และได้ติดตามความคืบหน้าในการปรับปรุงปัจจัยแวดล้อมของ ระบบการควบคุมภายในโดยฝ่ายบริหาร นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้แนะนำให้ฝ่ายบริหารแก้ ไขการดำเนินงานตามข้อสังเกตจากการตรวจสอบ อย่างจริงจัง และรายงานความคืบหน้า ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการธนาคารเป็นประจำ คณะกรรมการธนาคารคงให้ความสำคัญ ในการส่งเสริมพัฒนาปรับปรุงระบบการควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพ และรัดกุมยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ธนาคารได้ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการกำกับดูแล ให้ปฎิบัติตามกฎเกณฑ์อย่างเคร่งครัด รวมถึงการควบคุมภายในที่เหมาะสม ตามข้อแนะนำของผู้ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ และหน่วยงานกำกับ ดูแลที่เกี่ยวข้อง

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

105

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหว่างกัน ธนาคารได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ และการทำรายการระหว่ า งกั น และรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามข้ อ กำหนด ของทางการ ธนาคารจึงได้กำหนดให้กรรมการและผู้บริหารระดับผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไปเปิดเผยข้อมูลความสัมพันธ์ หรือความเกี่ยวโยง ในกิจการที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวโยงกันเป็นประจำทุกไตรมาส และได้ จั ด ทำนโยบายรวมทั้ ง ระเบี ย บปฏิ บั ติ ใ นการทำธุ ร กรรมกั บ บุ ค คลที่ อาจมี ผ ลประโยชน์ ขั ด แย้ ง โดยในการพิ จ ารณาทำรายการกั บ บุ ค คลที่ มี ผลประโยชน์เกี่ยวข้อง หรือเกี่ยวโยงกัน ธนาคารจะดำเนินการด้วยหลัก ความเสมอภาคและยุติธรรม เช่นเดียวกับการทำธุรกรรมกับลูกค้าทั่วไป รวมทั้งกำหนดให้กรรมการและผู้บริหารที่มีส่วนได้เสียกับธุรกรรมดังกล่าว ต้องไม่มีส่วนร่วมในการอนุมัติรายการและไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม การให้สินเชื่อหรือลงทุนในกิจการที่ธนาคาร กรรมการ หรือผู้บริหารระดับสูง มี ผ ลประโยชน์ เ กี่ ย วข้ อ ง จะต้ อ งผ่ า นการพิ จ ารณาถึ ง ฐานะและผลการ ดำเนินงานหรือวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ต้องมีเงื่อนไขและราคา เหมือนลูกค้าทั่วไป มีการควบคุมปริมาณการให้สินเชื่อหรือลงทุนมิให้มี ปริมาณเกินสมควร และต้องผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการธนาคาร ด้วยมติเอกฉันท์โดยกรรมการหรือผู้บริหารที่เกี่ยวข้องต้องไม่มีส่วนร่วมใน การพิจารณาอนุมัติธุรกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ การอนุมัติดังกล่าวต้องเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ทางการที่เกี่ยวข้อง ธนาคารได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่ป้องกันและขจัด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยรายการที่อาจมีผลประโยชน์ขัดแย้งซึ่งมี ขนาดของรายการสู ง กว่ า เกณฑ์ ที่ ก ำหนดต้ อ งได้ รั บ การพิ จ ารณาจาก คณะกรรมการตรวจสอบว่าเป็นธรรมและไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ก่อนที่จะทำรายการ ธนาคารจะมีการเปิดเผยข้อมูลการทำธุรกรรมกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ เกี่ยวข้อง บุคคลที่เกี่ยวโยงกันรวมทั้งรายการระหว่างกันอย่างครบถ้วน โปร่งใส เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมาตรฐานการบัญชีกำหนด

การให้บุคคลซึ่งอาจมีความขัดแย้งถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 5 ในบริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม แทนการถือหุ้นของธนาคารโดยตรง ธนาคารไม่มีนโยบายให้บุคคลซึ่งมีความขัดแย้งถือหุ้นแทนธนาคาร เว้นแต่มี ความจำเป็นต้องถือหุ้นไว้เพื่อให้ถูกต้องตามกฎหมาย


106

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

2. ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) ธนาคารและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องธนาคาร ในรอบปี บั ญ ชี ที่ ผ่ า นมามี จ ำนวนเงิ น รวม 10,425,000 บาท สำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับ ผู้สอบบัญชีและสำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชี ที่ผ่านมามีจำนวนเงินรวม 1,238,000 บาท ค่าบริการอื่น (non-audit fee) ธนาคารและบริ ษั ท ย่ อ ยจ่ า ยค่ า ตอบแทนของงานบริ ก ารอื่ น ซึ่ ง ได้ แ ก่ การตรวจสอบพิ เ ศษ รายงานสรุ ป กำไรขั้ น ต้ น จากการดำเนิ น กิ จ การ แลกเปลี่ ย นตราสารและเงิ น ตราต่ า งประเทศ ตรวจสอบการให้ บ ริ ก าร โอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้แก่ ผู้สอบบัญชีของธนาคาร ซึ่งจะต้องจ่าย ในอนาคตอั น เกิ ด จากการตกลงที่ ยั ง ให้ บ ริ ก ารไม่ แ ล้ ว เสร็ จ ในรอบปี บั ญ ชี ที่ผ่านมา มีจำนวนเงินรวม 1,670,000 บาท

3. ข้อพิพากทางกฏหมาย

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

บางจากฯ”) เพื่ อ ขอซื้ อ น้ ำ มั น ไปจำหน่ า ย ซึ่ ง ธนาคารดี บี เ อส ไทยทนุ สาขาลาดพร้าว โดยนางภาณี บุนนาค (นางภาณี) ได้ออกหนังสือค้ำประกัน (L/G) ของ ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ เพื่อให้ หจก.หลวงบำรุง นำไปค้ำประกัน การซื้อขายน้ำมันกับ บมจ.บางจากฯ ภายในวงเงิน 200 ล้านบาท แต่ต่อมา บมจ.บางจากฯ แจ้งต่อ หจก.หลวงบำรุง ว่าไม่สามารถเปิดบัญชีการค้า เพื่อซื้อขายน้ำมันกับ หจก.หลวงบำรุงได้ เนื่องจากมีการตรวจสอบหนังสือ ค้ำประกันแล้วปรากฏว่า ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ มิได้เป็นผู้ออกหนังสือ ค้ ำ ประกั น ต่ อ มา ธนาคารดี บี เ อส ไทยทนุ ได้ ข อหนั ง สื อ ค้ ำ ประกั น คื น เพื่อนำไปดำเนินคดีอาญากับพนักงานของ ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ทั้งนี้ หจก.หลวงบำรุง จึงเห็นว่าการที่ ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ปฏิเสธว่ามิได้เป็น ผู้ออกหนังสือค้ำประกันถือว่าเป็นผู้ผิดนัดและผิดสัญญากับ หจก.หลวงบำรุง ทำให้ หจก.หลวงบำรุงเสียหาย ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ให้การต่อสู้คดีว่าหนังสือค้ำประกันดังกล่าวเป็น เอกสารปลอมที่ หจก.หลวงบำรุง ให้นางภาณี ผู้ช่วยผู้จัดการสาขาของ ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ทำขึ้น โดยธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ไม่ได้มอบอำนาจ ให้ น างภาณี ออกหนั ง สื อ ค้ ำ ประกั น ดั ง กล่ า วแต่ อ ย่ า งใด อี ก ทั้ ง ในคดี ที่ ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ร่วมกับพนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องนางภาณีเป็น คดีอาญานั้น คดีดังกล่าวได้ถึงที่สุดโดยศาลพิพากษาว่าหนังสือค้ำประกัน ดังกล่าวเป็นเอกสารปลอม ดังนั้น การที่ ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ แจ้งแก่ บมจ.บางจากฯ ว่า ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุมิได้เป็นผู้ออกหนังสือค้ำประกัน จึงไม่ได้เป็นการผิดสัญญาและมิได้ทำให้ หจก.หลวงบำรุง เสียหายแต่อย่างใด

ข้อพิพาทที่ธนาคารทหารไทยเป็นจำเลย ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2553 ธนาคารทหารไทย หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ยของ ธนาคารทหารไทย มี ข้ อ พิ พ าททางกฎหมายที่ ยั ง ไม่ สิ้ น สุ ด ซึ่ ง อาจมี ผลกระทบด้านลบต่อสินทรัพย์ของธนาคาร ที่มีจำนวนสูงกว่าร้อยละ 5 ของส่วนของผู้ถือหุ้นของธนาคาร ตามงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลา บัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำนวน 1 คดี โดยรายละเอียด ในวันที่ 29 ธันวาคม 2547 ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ได้มีคำพิพากษาเป็นคดี ของคดีสรุปได้ดังนี้ หมายเลขแดงที่ 10000/2547 ว่าหนังสือค้ำประกันฉบับที่ หจก.หลวงบำรุง นำมาฟ้องร้องเป็นหนังสือค้ำประกันที่ออกโดยนางภาณีโดยการทำปลอมขึ้น คดีพิพาทระหว่างห้างหุ้นส่วนจำกัดหลวงบำรุง กับธนาคารทหารไทย ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ มิได้มอบอำนาจให้นางภาณีกระทำการออกหนังสือ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2543 ห้างหุ้นส่วนจำกัดหลวงบำรุง (“หจก.หลวงบำรุง”) ค้ำประกันเช่นนั้นได้ ตลอดจนคดีอาญาที่ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ร่วมกับ ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ มีทุนจดทะเบียนจำนวน พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องนางภาณีเป็นคดีอาญานั้น คดีดังกล่าวได้ถึง 5 ล้านบาท เป็นโจทก์ยื่นฟ้องธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด (มหาชน) ที่สุดแล้ว โดยศาลพิพากษาว่าหนังสือค้ำประกันดังกล่าวเป็นเอกสารปลอม (ซึ่งปัจจุบันได้รวมกิจการกับธนาคารทหารไทยแล้ว สิทธิและหน้าที่ทั้งหมด ธนาคารดี บี เ อส ไทยทนุ มิ ไ ด้ อ อกหนั ง สื อ ค้ ำ ประกั น ตามฟ้ อ งให้ แ ก่ จึงเป็นของธนาคารทหารไทย) ในฐานะจำเลยที่ 1 กับกรรมการรวม 16 คน หจก.หลวงบำรุง ดังนั้น ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จึงไม่ต้องรับผิดตามหนังสือ ต่ อ ศาลแพ่ ง กรุ ง เทพใต้ ในข้ อ หาผิ ด สั ญ ญาค้ ำ ประกั น ละเมิ ด และเรี ย ก ค้ำประกันต่อ หจก.หลวงบำรุง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้จึงพิพากษายกฟ้อง ค่ า เสี ย หาย โดยมี ทุ น ทรั พ ย์ ฟ้ อ งจำนวนประมาณ 140,261 ล้ า นบาท ซึ่งศาลได้รับฟ้องเฉพาะ ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ เท่านั้น ส่วนกรรมการ ต่อมาเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2548 หจก.หลวงบำรุง ได้ยื่นอุทธรณ์คำพิพากษา ทั้งหมดศาลไม่รับฟ้อง ศาลชั้นต้น และเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2548 ธนาคารได้ยื่นคำแก้อุทธรณ์ ครั้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ศาลอุทธรณ์ ได้มีคำพิพากษายืนตาม ข้อพิพาทในคดีนี้สืบเนื่องจาก หจก.หลวงบำรุงได้ฟ้องว่า หจก.หลวงบำรุง ศาลชั้นต้น (พิพากษายกฟ้อง) ได้ติดต่อและตกลงกับบริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (“บมจ.


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ต่อมาเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2553 หจก.หลวงบำรุง ได้ยื่นฎีกาคำพิพากษา ของศาลอุทธรณ์, ขอทุเลาการบังคับคดี และขอดำเนินคดีอย่างคนอนาถา และเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2553 ธนาคารได้ยื่นคำแก้ฎีกา,คัดค้านคำขอ ทุเลาการบังคับคดีและคำขอดำเนินคดีอย่างคนอนาถา ปรากฎว่า เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 ศาลมีคำสั่งยกคำร้องขอดำเนินคดีอย่างคนอนาถา ของ หจก.หลวงบำรุง หากหจก.หลวงบำรุง ประสงค์จะยื่นฏีกาให้นำเงินมา วางค่าธรรมเนียมศาลในชั้นฏีกาภายใน 15 วัน นับแต่วันที่มีคำสั่ง มิฉะนั้น จะถื อ ว่ า หจก.หลวงบำรุ ง ไม่ ติ ด ใจฎี ก า วั น ที่ 22 พฤศจิ ก ายน 2553 หจก.หลวงบำรุงยื่นอุทธรณ์คำสั่งยกคำร้องขอดำเนินคดีอย่างคนอนาถาของ ศาลชั้นต้น ปัจจุบันยังไม่มีคำสั่งเกี่ยวกับการขอดำเนินคดีอย่างคนอนาถา ฝ่ายบริหารของธนาคารเห็นว่าการยื่นฎีกาดังกล่าวไม่มีเหตุผลสนับสนุน เพียงพอและเป็นไปได้ยากที่ หจก.หลวงบำรุง จะชนะคดี ฝ่ายบริหารจึง เชื่อว่าธนาคารจะไม่มีความรับผิดใดๆ ในกรณีนี้

ข้อพิพาทที่ธนาคารทหารไทยเป็นโจทก์ นอกจากคดีดังกล่าวข้างต้น ธนาคารทหารไทยมีข้อพิพาททางกฎหมาย จำนวน 1 คดี โดยในคดีนี้ ธนาคารมีฐานะเป็นโจทก์ ซึ่งธนาคารเห็นว่าควร แจ้งให้ผู้ลงทุนทราบ โดยรายละเอียดของคดีสรุปได้ดังนี้ คดีพิพาทระหว่างธนาคารทหารไทยกับบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (“บสท.”) เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2550 ธนาคารได้ยื่นฟ้องบรรษัทบริหารสินทรัพย์ ไทย (“บสท.”) และกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (“กองทุนฟื้นฟูฯ”) เป็นจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ตามลำดับต่อศาลแพ่ง ในข้อหา ผิดสัญญา ละเมิด ตั๋วเงิน อาวัล โดยมีทุนทรัพย์ที่ฟ้องร้องจำนวนประมาณ 7,196 ล้านบาท

ข้อพิพาทในคดีนีส้ บื เนือ่ งจากกรณีที่ ธนาคารดีบเี อส ไทยทนุ และบรรษัทเงินทุน อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ทำสัญญาโอนสินทรัพย์กับ บสท. ต่อมาเมื่อ มีการควบรวมกิจการกันระหว่างธนาคารทหารไทย ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สิทธิและหน้าที่ทั้งหมดภายใต้ สัญญาดังกล่าวจึงเป็นของธนาคารทหารไทย ต่อมา บสท. ได้มีหนังสือเพื่อขอปรับลดราคารับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ที่มีเครื่องจักรและ/หรือสินทรัพย์อื่นที่ ได้มีการจำนำเป็นประกัน เนื่องจาก หลักประกันที่มีเครื่องจักร และ/หรือสินทรัพย์อื่นที่ได้มีการจำนำเป็นประกันนั้น ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย โดยมิได้รับความยินยอมจากธนาคาร ซึ่งธนาคาร ได้มีหนังสือโต้แย้งการที่ บสท. จะดำเนินการปรับลดราคารับโอนสินทรัพย์ ด้อยคุณภาพดังกล่าวไว้แล้ว และเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2549 บสท. ได้แจ้ง ให้ธนาคารจัดส่งตั๋วสัญญาใช้เงินจำนวน 3 ฉบับ เป็นจำนวนเงินรวมประมาณ

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

107

6,525 ล้านบาท ให้แก่บสท. เนื่องจาก บสท. ประสงค์จะปรับจำนวนเงินและ ไถ่ถอนโดยการชำระหนี้บางส่วน โดย บสท. ตกลงจะออกและส่งมอบตั๋วสัญญา ใช้เงินฉบับใหม่ซึ่งมีกองทุนฟื้นฟูฯ เป็นผู้อาวัลให้แก่ธนาคาร โดยธนาคาร ได้จัดส่งตั๋วสัญญาให้เงินดังกล่าวให้แก่ บสท. อย่างไรก็ดี ปรากฏว่า บสท. กลับปฏิบัติผิดสัญญา กล่าวคือ บสท. ไม่ยอมออกและส่งมอบตั๋วสัญญาใช้ เงินฉบับใหม่โดยมีกองทุนฟื้นฟูฯ เป็นผู้อาวัลให้แก่ธนาคารแต่อย่างใด นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 บสท. ยังได้งดเว้นการใช้หนี้ จำนวนประมาณ 520 ล้านบาท ให้แก่ธนาคารและปฏิเสธการชำระหนี้บางส่วน พร้อมกับแจ้งยกเลิกตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับหนึ่ง ซึ่ง บสท.ได้ออกตั๋วสัญญา ใช้ เ งิ น ดั ง กล่ า วเพื่ อ ชำระราคาสำหรั บ การรั บ โอนสิ น ทรั พ ย์ ด้ อ ยคุ ณ ภาพ บางส่วน โดยมีกองทุนฟื้นฟูฯ เป็นผู้อาวัล เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2550 ธนาคารจึงได้ยื่นฟ้อง บสท. และกองทุนฟื้นฟูฯ ต่อศาลแพ่งเพื่อให้ศาลมีคำพิพากษา โดยมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ 1. ให้ บสท. ออกตั๋วสัญญาใชัเงินจำนวนประมาณ 4,432 ล้านบาท มีกำหนด วันถึงกำหนดใช้เงิน วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และชำระดอกเบี้ย ณ วันทำการสุดท้ายของทุกปีโดยมีกองทุนฟื้นฟูฯ เป็นผู้อาวัล และส่งมอบให้ ธนาคารในฐานะผู้รับเงิน หากไม่ดำเนินการให้ บสท. และกองทุนฟื้นฟูฯ ร่วมกันชำระเงินจำนวนดังกล่าวพร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันฟ้องเป็นต้นไป 2. ให้ บสท. ออกตั๋วสัญญาใช้เงินจำนวนประมาณ 2,027 ล้านบาท มีกำหนด วันถึงกำหนดใช้เงินวันที่ 31 ตุลาคม 2554 และชำระดอกเบี้ย ณ วันทำการ สุดท้ายของทุกปี โดยมีกองทุนฟื้นฟูฯ เป็นผู้อาวัล และส่งมอบให้ธนาคาร ในฐานะผู้รับเงิน หากไม่ดำเนินการให้ บสท. และกองทุนฟื้นฟูฯ ร่วมกัน ชำระเงินดังกล่าวพร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันฟ้องเป็นต้นไป 3. ให้ บสท. ออกตั๋วสัญญาใช้เงินจำนวนประมาณ 12 ล้านบาท มีกำหนด วันถึงกำหนดใช้เงินวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 และชำระดอกเบี้ย ณ วันทำการสุดท้ายของทุกปีโดยมีกองทุนฟื้นฟูฯ เป็นผู้อาวัล และส่งมอบให้ ธนาคารในฐานะผู้รับเงิน หากไม่ดำเนินการให้ บสท. และกองทุนฟื้นฟูฯ ร่วมกันชำระเงินจำนวนดังกล่าวพร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันฟ้องเป็นต้นไป 4. ให้ บสท. และกองทุนฟื้นฟูฯ ร่วมกันชำระเงินจำนวนประมาณ 520 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยคำนวณจากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากโดยเฉลี่ยจนถึงวันที่ยื่น ฟ้องคดีเป็นเงินประมาณ 15 ล้านบาท รวมเป็นเงินประมาณ 535 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันฟ้องเป็นต้นไป


108

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 ศาลแพ่งได้มีคำพิพากษาเป็นคดีหมายเลขแดงที่ 1681/2553 ว่า ให้ บสท.ออกตั๋วสัญญาใช้เงินจำนวน 3 ฉบับ ฉบับแรก จำนวนเงิน 4,431,879,337.93 บาท กำหนดใช้เงินวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ฉบับที่ 2 จำนวนเงิน 2,027,134,274.65 บาท กำหนดใช้เงินวันที่ 31 ตุลาคม 2554 และฉบับที่ 3 จำนวนเงิน 12,002,000 บาท กำหนดใช้เงิน วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 สถานที่ใช้เงิน ณ ที่ทำการของธนาคาร และชำระ ดอกเบี้ย ณ วันทำการสุดท้ายของทุกปี ในอัตราเฉลี่ยของดอกเบี้ยเงินฝาก ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเงินฝากทุกประเภท (รวมทั้งเงินฝากกระแสรายวัน) เฉพาะที่เป็นเงินบาทของธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) โดยคำนวณ เป็นรายไตรมาสตามปีปฎิทิน ให้ กองทุนฟื้นฟูฯ อาวัลตั๋วสัญญาใช้เงิน ดังกล่าวส่งมอบให้แก่ธนาคารในฐานะผู้รับเงิน กับให้ บสท.และ กองทุนฟื้นฟูฯ ร่ ว มกั น ใช้ ค่ า ฤชาธรรมเนี ย มแทนธนาคาร โดยกำหนดค่ า ทนายความ 200,000 บาท คำขออื่นนอกจากนี้ให้ยก. คำพิพากษาดังกล่าว ศาลได้ยกคำขอ ข้อ 4. ที่ขอให้ให้ บสท. และกองทุนฟื้นฟูฯ ร่วมกันชำระเงินจำนวนประมาณ 520 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยคำนวณ จากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากโดยเฉลี่ยจนถึงวันที่ยื่นฟ้องคดีเป็นเงินประมาณ 15 ล้านบาท รวมเป็นเงินประมาณ 535 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยนับแต่ วันฟ้องเป็นต้นไป โดยศาลเห็นว่าตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับดังกล่าวมีวันครบ กำหนดใช้เงินตามตั๋วสัญญาใช้เงินระบุไว้แน่นอนคือในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 และปัจจุบันธนาคารยังคงยึดถือตั๋วสัญญาใช้เงินไว้โดยยังไม่ส่งมอบคืน ให้ บสท. เมื่อนับถึงวันฟ้องตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับดังกล่าวจึงยังไม่ถึงกำหนด ใช้เงินธนาคารจึงยังไม่มีสิทธิฟ้อง บสท.และกองทุนฟื้นฟูฯ ในฐานะผู้อาวัล ในวันที่ 23 สิงหาคม 2553 ธนาคารจึงได้ยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาของศาลชั้น ต้น และในวันที่ 21 กันยายน 2553 บสท. และ กองทุนฟื้นฟูฯ ได้ยื่นอุทธรณ์ คำพิพากษาศาลชั้นต้นเช่นกัน ปัจจุบัน คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของ ศาลอุทธรณ์

4. นโยบายการจ่ายเงินปันผล นโยบายการจ่ายเงินปันผลของธนาคาร ธนาคารกำหนดการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นจากงบการเงินเฉพาะของ ธนาคาร การจ่ายเงินปันผลขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานของธนาคารและ เงื่อนไขต่าง ๆ ของกฎหมาย รวมถึงความเพียงพอของเงินกองทุนและการ จัดสรรเงินสำรองต่าง ๆ ของธนาคารด้วย นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผล ของธนาคารยังคงต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดชั้นและการกันเงินสำรองของสถาบันการเงิน ซึ่งกำหนดว่า

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ในระหว่างเวลาที่สถาบันการเงินยังไม่ ได้ตัดสินทรัพย์ที่เสียหายออกจาก บัญชีหรือยังกันเงินสำรองสำหรับสินทรัพย์ และภาระผูกพันที่อาจเสียหาย และไม่ เ สี ย หายไม่ ค รบทั้ ง จำนวน สถาบั น การเงิ น จะจ่ า ยเงิ น ปั น ผลหรื อ เงินตอบแทนอื่นใดแก่ผู้ถือหุ้นมิได้ และตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่ อ ง ข้ อ กำหนดเกี่ ย วกั บ การบั น ทึ ก บั ญ ชี ข องสถาบั น การเงิ น หมวด 8 นโยบายการจ่ายเงินปันผล กำหนดว่าสถาบันการเงินไม่ควรนำกำไรที่ยังไม่ เกิดขึ้นจริง หรือไม่มีกระแสเงินสดรับจริงมาใช้ในการจ่ายเงินปันผล เช่น กำไร ที่เกิดจากการตีราคาหลักทรัพย์เพื่อค้า (Mark to Market) และกำไรที่เกิด จากการโอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน เป็นต้น และสถาบันการเงิน ไม่ควรนำกำไรที่เกิดจากการขายทรัพย์สินที่มิได้มีการซื้อขายจริง ซึ่งมีผล ทำให้ ส ถาบั น การเงิ น มี ก ำไรสู ง กว่ า หรื อ ขาดทุ น ต่ ำ กว่ า กรณี ป กติ ม าใช้ ใ น การจ่ายเงินปันผล เช่น กำไรที่เกิดจากการขายทรัพย์สินรอการขายของ สถาบันการเงินที่มีเงื่อนไขให้สถาบันการเงินสามารถซื้อคืนหรือมีสิทธิซื้อคืน ทรัพย์สินนั้นได้ในอนาคต เป็นต้น

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการของ บริษัทนั้น เพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อให้ความเห็นชอบ ธนาคาร ไม่ได้มีการกำหนดอัตราส่วนในการจ่ายเงินปันผลไว้ โดยการจ่ายเงินปันผล ของบริษัทย่อยจะขึ้นอยู่กับผลประกอบการและแผนงานธุรกิจของแต่ละบริษัท และเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

5. การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน นโยบายและวิธีการดูแลผู้บริหารในการใช้ข้อมูลภายใน ธนาคารได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ในการดู แ ลเรื่ อ งการใช้ ข้ อ มู ล ภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลภายในที่ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ ซึ่งอาจมีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น ธนาคารจึงได้กำหนดให้งานงบการเงิน ฝ่ายงบการเงิน เป็นหน่วยงานเดียวที่ทำหน้าที่ในการนำส่งงบการเงินและ รายงานทางการเงินต่างๆ ต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และสำนักงาน ก.ล.ต. โดยได้ผ่านกระบวนการพิจารณาสอบทานความถูกต้อง ครบถ้วน จาก คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหารตามลำดับ ทั้งนี้ เพื่อให้ มั่นใจว่าข้อมูลภายในของธนาคารจะไม่ถูกเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกก่อน เวลาอันควร นอกจากนี้ เพื่ อ ให้ ก ารกำกั บ ดู แ ลเรื่ อ งการใช้ ข้ อ มู ล ภายในของธนาคาร เป็ น ไปตามกฏหมายและกฏระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และเป็ น ไปตามแนวทาง การกำกับดูแลกิจการที่ดี ธนาคารได้กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการกำกับ ดูแลการรับรู้ข้อมูลภายใน (Confidential and Insider Information) การใช้ ข้ อ มู ล ระหว่ า งหน่ ว ยงานต่ า งๆ (Chinese Wall) และการซื้ อ /


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ขายหลักทรัพย์ของพนักงาน (Insider Trading and Personal Account Dealing) เพื่อให้การเก็บรักษาข้อมูลภายในเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารได้ กำหนดแนวทางปฏิ บั ติ ใ นการซื้ อ /ขายและลงทุ นในหลั กทรั พ ย์ ธนาคาร เพื่อกำกับดูแลการซื้อ/ขายหลักทรัพย์ของพนักงาน เพื่อป้องกัน มิให้พนักงานซึ่งอยู่ในตำแหน่งหรือฐานะที่มีโอกาสล่วงรู้ข้อมูลภายในของ ธนาคารแสวงหาผลประโยชน์จากข้อมูลนั้นเพื่อตนเองและ/หรือเพื่อบุคคลอื่น โดยกำหนดให้พนักงานที่มีโอกาสได้รับข้อมูลภายในเป็นประจำ หรือบุคคล ที่ มี โ อกาสได้ รั บ ข้ อ มู ล ภายในเพี ย งบางโอกาส ห้ า มซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ธนาคารในช่วงเวลาที่กำหนด (Black-out period) ทั้งนี้ สายงานกำกับ การปฏิบัติงานจะทำหน้าที่ช่วยเหลือคณะผู้บริหาร ในการบังคับใช้และทบทวน นโยบาย รวมทั้งจัดให้มีกลไกที่เหมาะสมในการติดตามการดำเนินการให้เป็น ไปตามนโยบายดังกล่าว

มาตรการลงโทษ ธนาคารได้ ถื อ ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ มาตรการลงโทษเรื่ อ งการใช้ ข้ อ มู ล ภายใน ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 รวมถึง กฎเกณฑ์ทางการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ธนาคารได้กำหนดระเบียบ เกี่ยวกับการกระทำความผิดวินัยและการกระทำผิดจรรยาบรรณพนักงาน (Code of Conduct) เพื่อให้การปฏิบัติงานของผู้บริหารและพนักงาน เป็นไปด้วยความโปร่งใส ยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ และปฏิบัติต่อผู้มี ส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม

6. การควบคุมภายใน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นกรรมการอิสระ ไม่ ได้เป็น เจ้าหน้าที่บริหารและพนักงานธนาคาร ได้ปฏิบัติภาระกิจตามขอบเขตอำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และธนาคารแห่งประเทศไทย โดยสรุปสาระสำคัญ ดังนี้ 1. สอบทานให้ธนาคารมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ ธ นาคารมี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสมเพี ย งพอ และมีประสิทธิภาพ 3. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์ต่อ ธนาคาร 4. สอบทานให้ธนาคารปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

109

หลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของธนาคาร รวมทั้งพิจารณารายงานกำกับดูแลของหน่วยงาน กำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance function) โดยได้ให้ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายจัดการกำชับให้พนักงานปฏิบัติตามกฎหมาย 5. พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก และเสนอให้ ค ณะกรรมการและผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี และกำหนดค่ า สอบบั ญ ชี ป ระจำปี รวมทั้ ง พิ จ ารณาให้ ความเห็นชอบการว่าจ้างหรือการทำข้อตกลงกับผู้สอบบัญชีในภาระกิจ อื่นนอกเหนือจากงานสอบบัญชี 6. กำกับดูแลการปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายในของธนาคารอย่าง ใกล้ ชิ ด ตั้ ง แต่ ก ารอนุ มั ติ แ ผนงานการตรวจสอบและประเมิ น ผลการ ดำเนิ น งานด้ า นการตรวจสอบภายในของธนาคาร ดู แ ลให้ ส ายงาน ตรวจสอบสามารถปฎิบัติหน้าที่ได้อย่างอิสระ และมีทรัพยากรที่เหมาะสม และเพียงพอเพื่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตาม ข้อกำหนดของทางการ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 12 ครั้ง ในระหว่างปี 2553 การเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านได้รายงานไว้ในหัวข้อโครงสร้าง การถือหุน้ และการจัดการในรายงานประจำปี โดยรวม คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานและความร่วมมือด้วยดีจากฝ่ายจัดการ ของธนาคาร ทัง้ ได้เชิญผูเ้ กีย่ วข้องเข้าชีแ้ จงในทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ตามที่เห็นสมควรและจำเป็น คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบถามและรับ ฟังคำชี้แจงจากผู้บริหารและผู้สอบบัญชีในเรื่องความถูกต้องครบถ้วนของ งบการเงิน และความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่ารายงานการเงินดังกล่าว มีความ ถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญ และเชื่อถือได้ ตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป การเข้าทำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์มีความสมเหตุ สมผล และโดยส่วนใหญ่เป็นรายการธุรกิจปกติหรือสนับสนุนธุรกิจปกติ ซึ่ ง มี เ งื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไป ในรอบปี ที่ ผ่ า นมาคณะกรรมการตรวจสอบได้ แนะนำให้ฝ่ายจัดการแก้ ไขปรับปรุงการควบคุมภายในให้รัดกุมและเหมาะสม ยิ่งขึ้น คณะกรรมการธนาคารและผู้บริหารของธนาคาร ได้ ให้ความสำคัญ ต่อระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารงานตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาผลการปฏิบัติงานและ ความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สอบบัญชีภายนอกในปีที่ผ่านมาและ เห็นชอบในการเสนอรายชื่อผู้สอบบัญชีจากบริษัทสำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของธนาคารประจำปี 2554 ต่อคณะกรรมการ ธนาคารเพื่ อ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละ อนุมัติค่าสอบบัญชีต่อไป


110

|

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย 1. บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด กรรมการของบริษัท มี 5 คน ตามรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. นายบาร์ท เอฟ.เอ็ม. เฮลเลแมนส์ 2. นางสาวอุทุมพร คุณากร 3. นายมาร์ติน อเลน เชอร์ล 4. นายอนุพันธ์ ตั้งสง่า 5. นางณัฐยา บุญเจริญ 2. บริษัท เดซิกนี ฟอร์ อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด กรรมการบริษัทมี 3 คน ตามรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. นางสาวสาวิตรี ชัยชวลิต 2. นายธวัชชัย เตชะวัฒนวรรณา 3. นายสมศักดิ์ ขุนเจริญ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

3. บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนทหารไทย จำกัด กรรมการบริษัทมี 9 คน ตามรายชื่อต่อไปนี้ 1. นายสมจินต์ ศรไพศาล 2. นางศิริจันทร์ พิพิทวิทยากุล 3. นายจอห์น ไมเคิล แฟลนเดอร์ส 4. นายมิฮาล ยาน ซูเรค 5. นายลือชา ศุกรเสพย์ 6. นายเอกพล ณ สงขลา 7. นายประดิษฐ์ เลี่ยวศิริกุล 8. นางกาญจนา โรจวทัญญู 9. นางสาวอาวีวรรณ ตั้งตรงจิตร


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

โ ค ร ง ส ร้ า ง ผู้ ถื อ หุ ้น

|

111

โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นของธนาคารสูงสุด 10 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นครั้งล่าสุด เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2553 เพื่อสิทธิในการเข้าร่วมประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2553 ในวันที่ 24 มิถุนายน 2553 มีดังนี้ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

จำนวนหุ้นสามัญ (หุ้น)

คิดเป็นร้อยละ

1. กระทรวงการคลัง

11,364,272,005

26.11

2. ING Bank N.V.

10,970,893,359

25.20

3. DBS BANK A/C 003

2,977,989,892

6.84

4. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด

2,745,382,859

6.31

5. JPMorgan Special Situations(Mauritius) Limited

1,560,000,000

3.58

6. กองทัพบก

596,669,860

1.37

7. State Street Bank and Trust Company for London

425,307,542

0.98

8. บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด

334,693,724

0.77

9. Chase Nominees Limited 57

242,839,557

0.56

10. Somers (U.K.) Limited

188,088,200

0.43

ที่มา : ข้อมูลการปิดสมุดทะเบียนล่าสุด ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2553 ซึ่งจัดทำโดย บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด สามารถเรียกดู ได้จาก www.set.or.th

จำนวนหุ้นหรือผลกระทบต่อสิทธิในการออกเสียงของผู้ถือหุ้น จากการออกตราสารแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจาก หลักทรัพย์อ้างอิงไทย (NVDR) NVDR คือ ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงไทย ออกโดย “บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด (Thai NVDR Company Limited)” ซึ่ง เป็นบริษัทย่อยที่จัดตั้งขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้ถือ NVDR สามารถรับสิทธิประโยชน์ทางการเงิน (Financial Benefit) ได้ เสมื อ นลงทุ น ในหุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท จดทะเบี ย นทุ ก ประการไม่ ว่ า จะเป็ น เงิ น ปั น ผล สิ ท ธิ ใ นการจองซื้ อ หุ้ น เพิ่ ม ทุ น หรื อ ใบสำคั ญ แสดงสิ ท ธิ ใ นการ ซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) แต่จะไม่สามารถใช้สิทธิออกเสียงในการประชุม ผู้ถือหุ้น ยกเว้นกรณีการใช้สิทธิออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับการเพิกถอน หุ้นออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Delisting) ดังนั้น หากมีการนำหุ้นของธนาคารไปออก NVDR เป็นจำนวนมาก จะทำให้ จำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงของธนาคารลดลง และสิทธิในการออกเสียง ของผู้ถือหุ้นรายอื่นเพิ่มขึ้น

ณ วั น ที่ 8 มิ ถุ น ายน 2553 ซึ่ ง เป็ น วั น ปิ ด สมุ ด ทะเบี ย นพั ก การโอนหุ้ น ครั้งหลังสุด บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด มีหุ้นของธนาคารเป็นหลักทรัพย์ อ้างอิงสำหรับการออกใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์ อ้ า งอิ ง ไทย (Non-Voting Depository Receipt: NVDR) จำนวน 2,745,382,859 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 6.31 ของหุ้นสามัญที่ออกและ ชำระแล้วของธนาคาร อนึ่ง จำนวนหุ้นของธนาคารที่นำไปออก NVDR ไม่อยู่ในความควบคุมของธนาคาร ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบข้อมูลจำนวน หุ้นที่ถือโดย NVDR ได้จากเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ www.set.or.th/nvdr


112

|

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นกรรมการอิสระ ไม่ ได้เป็น เจ้าหน้าที่บริหารและพนักงานธนาคาร ได้ปฏิบัติภาระกิจตามขอบเขตอำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และธนาคารแห่งประเทศไทย โดยสรุปสาระสำคัญ ดังนี้ 1. สอบทานให้ธนาคารมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ ธ นาคารมี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสมเพี ย งพอ และมีประสิทธิภาพ 3. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์ต่อ ธนาคาร 4. สอบทานให้ธนาคารปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของธนาคาร รวมทั้งพิจารณารายงานกำกับดูแลของหน่วยงาน กำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance function) โดยได้ให้ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายจัดการกำชับให้พนักงานปฏิบัติตามกฎหมาย 5. พิจารณาคัดเลือก และเสนอให้คณะกรรมการและผู้ถือหุ้นแต่งตั้งผู้สอบ บัญชี และกำหนดค่าสอบบัญชีประจำปี รวมทั้งพิจารณาให้ความเห็นชอบ การว่าจ้างหรือการทำข้อตกลงกับผู้สอบบัญชีในภาระกิจอื่นนอกเหนือ จากงานสอบบัญชี 6. กำกับดูแลการปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายในของธนาคารอย่าง ใกล้ ชิ ด ตั้ ง แต่ ก ารอนุ มั ติ แ ผนงานการตรวจสอบและประเมิ น ผลการ ดำเนิ น งานด้ า นการตรวจสอบภายในของธนาคาร ดู แ ลให้ ส ายงาน ตรวจสอบสามารถปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งอิ ส ระ และมี ท รั พ ยากรที่ เหมาะสมและเพี ย งพอเพื่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ เป็นไปตามข้อกำหนดของทางการ

คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 12 ครั้ง ในระหว่างปี 2553 การเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านได้รายงานไว้ในหัวข้อการจัดการ ในรายงานประจำปี โดยรวม คณะกรรมการตรวจสอบได้รับข้อมูลเกี่ยวกับ การดำเนิ น งานและความร่ ว มมื อ ด้ ว ยดี จ ากฝ่ า ยจั ด การของธนาคาร ทั้ ง ได้ เ ชิ ญ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งเข้ า ชี้ แ จงในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบตาม ที่เห็นสมควรและจำเป็น คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบถามและรับฟัง คำชี้ แ จงจากผู้ บ ริ ห ารและผู้ ส อบบั ญ ชี ใ นเรื่ อ งความถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นของ งบการเงิ น และความเพี ย งพอในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ซึ่ ง คณะกรรมการ ตรวจสอบมี ค วามเห็ น สอดคล้ อ งกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี ว่ า รายงานการเงิ น ดั ง กล่ า ว มี ค วามถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรในสาระสำคั ญ และเชื่ อ ถื อ ได้ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป การเข้าทำรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ มี ค วามสมเหตุ ส มผล และโดยส่ ว นใหญ่ เ ป็ น รายการ ธุ ร กิ จ ปกติ ห รื อ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ซึ่ ง มี เ งื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไป ในรอบปี ที่ผ่านมาคณะกรรมการตรวจสอบได้แนะนำให้ฝ่ายจัดการแก้ ไขปรับปรุง การควบคุ ม ภายในให้ รั ด กุ ม และเหมาะสมยิ่ ง ขึ้ น คณะกรรมการธนาคาร และผู้บริหารของธนาคาร ได้ ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริ ห ารงานตามหลั ก การกำกั บ ดู แ ล กิจการที่ดี นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาผลการปฏิ บั ติ ง าน และความเป็ น อิ ส ระในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องผู้ ส อบบั ญ ชี ภ ายนอกในปี ที่ ผ่ า นมาและเห็ น ชอบในการเสนอรายชื่ อ ผู้ ส อบบั ญ ชี จ ากบริ ษั ท สำนั ก งาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของธนาคารประจำปี 2554 ต่อ คณะกรรมการธนาคารเพื่ อ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ผู้สอบบัญชีและอนุมัติค่าสอบบัญชีต่อไป

วิจิตร สุพินิจ ประธานกรรมการตรวจสอบ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า กํ า ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น แ ล ะ บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล

|

113

รายงานคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล คณะกรรมการธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ 2 ท่าน และกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน ในปี 2553 คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลได้มีการประชุมรวม 13 ครั้ง คณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ได้กำหนด นโยบาย หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง พิ จ ารณาและเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเพื่ อ ดำรงตำแหน่ ง กรรมการของธนาคาร ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง กำหนดนโยบายการจ่ า ย ค่ า ตอบแทนและผลประโยชน์ อื่ น รวมถึ ง จำนวนค่ า ตอบแทนและ ผลประโยชน์ อื่ น ที่ ใ ห้ ก รรมการและผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ดู แ ลกรรมการ และผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ให้ ไ ด้ รั บ ผลตอบแทนที่ เ หมาะสม กำหนดแนวทาง การประเมินผลงานของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง เพื่อพิจารณาปรับ ผลตอบแทนประจำปี กำหนดแผนสืบทอดตำแหน่งของผู้บริหารระดับสูง (Succession Planning)

สำหรับด้านบรรษัทภิบาล ช่วยกำกับดูแลให้การดำเนินกิจการของธนาคาร ที่ธนาคาร จัดตั้งขึ้น ให้ปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้ง ติ ด ตาม และสื่ อ สารแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง ธนาคารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกธนาคารได้รับทราบกำหนด หลั ก เกณฑ์ ข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ส ำคั ญ ของธนาคารตามหลั ก กการกำกั บ ดู แ ล กิจการที่ดี พิจารณาทบทวนนโยบาย หลักการ และแนวทางปฏิบัติงานที่ เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการเสนอแนะข้อกำหนดที่เกี่ยวกับจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ ติดตามแนวทางการปฏิบัติของสถาบัน การเงินต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ ที่ดี เพื่อนำมาทบทวนและใช้ปฏิบัติอย่างเหมาะสมกับธนาคาร นอกจากนั้น คณะกรรมการสรรหาฯ ยังทำหน้าที่กำกับดูแลให้หลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีมีผลในทางปฏิบัติให้มีความต่อเนื่องและเหมาะสมกับธุรกิจของธนาคาร โดยรายงานต่ อ คณะกรรมการธนาคารเกี่ ย วกั บ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ที่ดีของธนาคาร พร้อมความเห็นในแนวปฏิบัติและข้อเสนอแนะเพื่อแก้ ไข ปรับปรุงในประเด็นต่างๆ ตามความเหมาะสม

อวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ประธานคณะกรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

ฟิลลิป จี. เจ. อี. โอ. ดามัส กรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

กฤษฎา อุทยานิน กรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

คริสโตเฟอร์ จอห์น คิง์ กรรมการสรรหา กำหนดค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล


114

|

ร า ย ง า น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต่ อ ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการธนาคาร เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของธนาคาร งบการเงิน ดังกล่าวสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมตามหลักความ ระมัดระวังและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ และใช้ดุลยพินิจและประมาณการ ตามความจำเป็ น อย่ า งรอบคอบและสมเหตุ ส มผล รวมทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผย ข้อมูลสำคัญในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ งบการเงิน ดั ง กล่ า วได้ ผ่ า นการตรวจสอบและให้ ค วามเห็ น อย่ า งไม่ มี เ งื่ อ นไขจาก ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่เป็นอิสระ คณะกรรมการธนาคารได้ จั ด ให้ มี แ ละดำรงไว้ ซึ่ ง ระบบบริ ห ารความเสี่ ย ง ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการกำกับดูแลที่เหมาะสม และมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อมูลทางการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพี ย งพอที่ จ ะดำรงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น ของธนาคาร และป้ อ งกั น ความเสี่ยงจากการดำเนินงาน หรือการดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระ

สำคัญ ทั้งนี้ คณะกรรมการธนาคารได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระทั้งสิ้น เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของ รายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน และการเปิดเผยข้อมูลรายการ ที่เกี่ยวโยงกันอย่างครบถ้วน เพียงพอและเหมาะสม โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบได้ แ สดงความเห็ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งดั ง กล่ า วปรากฎไว้ ใ นรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำปีนี้แล้ว คณะกรรมการธนาคารมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในโดยรวมของ ธนาคารมีความเพียงพอและเหมาะสม ตลอดจนสามารถสร้างความเชื่อมั่น อย่ า งมี เ หตุ ผ ลต่ อ ความเชื่ อ ถื อ ได้ ข องงบการเงิ น ของธนาคาร สำหรั บ ปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

บุญทักษ์ หวังเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

เสาวนีย์ กมลบุตร ประธานกรรมการธนาคาร


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ก า ร

|

115

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ร า ย ง า น แ ล ะ ง บ ก า ร เ งิ น 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2



ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ข อ ง ผู้ ส อ บ บั ญ ช ี รับอ นุ ญ า ต

|

117

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและ งบกระแสเงิ น สดรวมสำหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น เดี ย วกั น ของแต่ ล ะปี ข องธนาคาร ทหารไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะ กิจการของธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของ กิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงิน เหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงิน ดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่าง มี เ หตุ ผ ลว่ า งบการเงิ น แสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระสำคั ญ หรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความ เหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการ ทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมิน ถึ ง ความเหมาะสมของการแสดงรายการที่ น ำเสนอในงบการเงิ น โดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสม ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการดำเนิ น งานและกระแสเงิ น สดสำหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วันเดียวกันของแต่ละปีของธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรใน สาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้า ขอให้สังเกตตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 38 ในปี 2553 ธนาคารฯได้ปรับปรุงการวัดมูลค่าเงินลงทุน และการรับรู้รายได้จาก เงินลงทุนในงบการเงินรวม เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะและเงื่อนไขของผล ตอบแทนที่ ได้รับจากการลงทุน โดยธนาคารฯได้ปรับปรุงงบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่นำมาแสดงเปรียบเทียบ ซึ่งข้าพเจ้า ได้ตรวจสอบและเห็นชอบกับการปรับปรุงดังกล่าว

รัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3734 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 24 กุมภาพันธ์ 2554


118

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

งบดุล

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย ณ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

2552

2553

2552

(ปรับปรุงใหม่)

สินทรัพย์ เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ในประเทศ มีดอกเบี้ย ไม่มีดอกเบี้ย ต่างประเทศ มีดอกเบี้ย ไม่มีดอกเบี้ย รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย - สุทธิ ภาระของลูกค้าจากการรับรอง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น - สุทธิ สินทรัพย์อนุพันธ์ทางการเงิน สินทรัพย์อื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

14,713,978,702

15,134,030,856

14,713,480,464

15,133,926,525

77,120,112,137 4,149,363,888

59,155,830,186 2,886,070,501

76,925,292,932 4,149,363,888

58,986,121,221 2,886,070,501

1,861,570,876 1,494,276,441 84,625,323,342

1,447,199,037 3,125,470,103 66,614,569,827

1,861,570,876 1,494,276,441 84,430,504,137

1,447,199,037 3,125,470,103 66,444,860,862

46,248,845,208 48,288,803,266 7,500 94,537,655,974

59,365,406,141 22,357,803,934 470,617,968 82,193,828,043

45,945,276,922 47,799,400,470 2,023,191,662 95,767,869,054

59,365,406,141 21,694,305,380 605,473,248 81,665,184,769

363,176,505,062 564,672,509 363,741,177,571 13, 34 (20,389,883,488) 14 (155,812,886) 343,195,481,197 15 6,435,549,461 26,162,740 16 12,115,962,510 19,304,416,689 59,988,168 17 793,480,956 9,244,296,113 18, 34 4,540,165,986 589,592,461,838

368,091,604,559 971,810,172 369,063,414,731 (30,995,310,499) (212,836,540) 337,855,267,692 11,132,193,552 50,643,261 13,219,972,134 9,490,722,960 59,988,168 868,829,077 3,015,291,930 3,507,063,041 543,142,400,541

361,119,388,397 564,701,277 361,684,089,674 (18,926,507,177) (155,812,886) 342,601,769,611 6,326,861,465 26,162,740 12,086,531,168 18,977,473,900 785,429,726 9,244,296,113 4,465,347,259 589,425,725,637

366,730,206,447 974,133,640 367,704,340,087 (29,548,185,438) (212,836,540) 337,943,318,109 10,756,889,666 50,643,261 13,178,000,853 9,168,713,135 853,811,088 3,015,291,930 3,426,524,048 541,637,164,246

8, 34

9.1 9.1 10 11, 34


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

119

งบดุล (ต่อ)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย ณ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

2552

2553

2552

(ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินรับฝาก เงินรับฝากที่เป็นเงินบาท เงินรับฝากที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รวมเงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ในประเทศ มีดอกเบี้ย ไม่มีดอกเบี้ย ต่างประเทศ มีดอกเบี้ย ไม่มีดอกเบี้ย รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว รวมเงินกู้ยืม ภาระของธนาคารจากการรับรอง ดอกเบี้ยค้างจ่าย ประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ ด้อยคุณภาพ ประมาณการหนี้สินอื่น เจ้าหนี้อื่น หนี้สินอนุพันธ์ทางการเงิน หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

19, 34

412,325,958,205 407,345,091,316 412,446,896,718 407,515,517,995 789,539,525 430,773,652 789,539,525 433,485,157 413,115,497,730 407,775,864,968 413,236,436,243 407,949,003,152 20, 34

16,652,044,459 684,977,731

7,198,980,726 432,412,297

16,652,044,459 684,977,731

7,198,980,726 432,412,297

5,821,511,491 332,330,280 23,490,863,961 3,725,315,242

2,864,422,874 242,108,602 10,737,924,499 4,957,974,454

5,821,511,491 332,330,280 23,490,863,961 3,725,315,242

2,864,422,874 242,108,602 10,737,924,499 4,957,974,454

36,372,727,257 25,731,551,256 62,104,278,513 26,162,740 1,138,512,988

25,081,094,337 25,554,727,337 50,635,821,674 50,643,261 938,770,073

36,386,727,257 25,731,551,256 62,118,278,513 26,162,740 1,138,556,638

25,092,594,337 25,554,727,337 50,647,321,674 50,643,261 938,807,733

21, 34

6,235,216,475 9,764,325,241 6,204,870,521 6,139,450,521 850,317,632 2,125,524,933 815,497,632 4,450,167,864 12,419,129,869 2,329,992,114 12,416,102,453 2,326,644,240 9,705,893,887 3,244,851,950 9,705,893,887 3,244,851,950 24, 34 6,926,195,369 3,823,554,900 6,897,724,151 3,703,636,546 539,737,384,406 496,385,248,067 539,775,701,981 495,146,425,894

6, 7, 22 23


120

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

งบดุล (ต่อ)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย ณ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

2552

2553

2552

(ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ (2552: 1,991,997,200 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) หุ้นสามัญ 44,108,738,479 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.95 บาท (2552: 41,716,741,279 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ (2552: 1,991,997,200 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) หุ้นสามัญ 43,528,738,479 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.95 บาท (2552: 41,536,741,279 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น - สุทธิ ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ทุนสำรองอื่น - การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย อื่น ๆ ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม) ส่วนของผู้ถือหุ้นของธนาคารฯ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

25

-

19,919,972,000

41,903,301,555 417,167,412,790

-

19,919,972,000

41,903,301,555 417,167,412,790

25

-

25 28 9.5 27

19,919,972,000

41,352,301,555 415,367,412,790 - (303,088,346,225) 4,783,699,224 65,774,370 33,903,639 19,258,527

5,155,120,474 58,324,421 11,815,598

-

19,919,972,000

41,352,301,555 415,367,412,790 - (303,088,346,225) 4,783,699,224 64,983,154 33,903,639 19,258,527

5,155,120,474 49,619,404 11,815,598

25 29

200,000,000 2,100,000,000 200,000,000 2,100,000,000 8,717,165,400 8,717,165,400 3,316,892,370 (101,558,851,572) 3,195,877,557 (101,742,021,089) 49,771,829,685 46,682,612,886 49,650,023,656 46,490,738,352 83,247,747 74,539,588 49,855,077,432 46,757,152,474 49,650,023,656 46,490,738,352 589,592,461,838 543,142,400,541 589,425,725,637 541,637,164,246


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

121

งบดุล (ต่อ)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย ณ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

2552

2553

2552

342,194,126 1,679,074,784 15,699,994,150 906,132,435,318

846,738,229 956,538,611 16,921,760,586 396,171,203,206

(ปรับปรุงใหม่)

รายการนอกงบดุล - ภาระผูกพันทั้งสิ้น การรับอาวัลตั๋วเงินและค้ำประกันการกู้ยืมเงิน ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้าที่ยังไม่ครบกำหนด เล็ตเตอร์ออฟเครดิต ภาระผูกพันอื่น

33.1, 34

342,194,126 1,679,074,784 15,699,994,150 906,132,435,318

บุญทักษ์ หวังเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

846,738,229 956,538,611 16,921,760,586 396,171,203,206

เสาวนีย์ กมลบุตร ประธานกรรมการธนาคาร


122

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

งบกำไรขาดทุน

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย

สํ า ห รั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

2552

2553

2552

(ปรับปรุงใหม่)

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล เงินให้สินเชื่อ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน รวมรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว รวมค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ โอนกลับขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิหลังหักหนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญและโอนกลับขาดทุนจาก การปรับโครงสร้างหนี้ รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย กำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน กำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทย่อย ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าธรรมเนียมและบริการ การรับรอง รับอาวัลและค้ำประกัน อื่น ๆ กำไรจากการปริวรรต กำไรจากการซื้อคืนตราสารหนี้ด้อยสิทธิ ที่มีลักษณะคล้ายทุน กำไรจากการยกเลิกสัญญาแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ยก่อนกำหนด รายได้อื่น รวมรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

15,809,816,378 771,200,585 1,918,456,627 18,499,473,590

17,506,409,697 736,730,586 2,238,094,243 20,481,234,526

15,565,454,628 768,651,630 2,195,615,344 18,529,721,602

17,351,836,312 733,570,776 2,481,981,410 20,567,388,498

4,343,628,455 93,047,856 317,860,262 1,485,600,281 6,240,136,854 12,259,336,736 1,710,725,052 (56,492,167)

5,827,094,860 157,919,996 549,164,123 1,539,600,114 8,073,779,093 12,407,455,433 2,845,855,199 (218,350,753)

4,344,111,926 93,047,856 318,051,629 1,294,934,281 6,050,145,692 12,479,575,910 1,105,567,561 (56,822,277)

5,828,079,106 157,919,996 549,670,446 1,343,600,114 7,879,269,662 12,688,118,836 2,931,375,578 (224,851,674)

10,605,103,851

9,779,950,987

11,430,830,626

9,981,594,932

157,130,331 35,760,393

13,896,172 94,814,249

(48,079,026) 140,161,176 -

31,122,994 (921,090,642) -

337,051,678 4,465,806,628 1,284,427,552

424,876,872 4,089,116,713 1,011,765,477

337,051,678 4,115,567,854 1,284,466,854

424,876,872 3,681,215,066 1,011,878,489

21

3,917,150

2,301,483,276

3,917,150

2,301,483,276

33.1

260,227,423 421,805,505 6,966,126,660

954,769,876 1,186,442,091 10,077,164,726

260,227,423 406,245,088 6,499,558,197

954,769,876 1,259,516,608 8,743,772,539

9.6 9.7 10


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

123

งบกำไรขาดทุน (ต่อ)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย

สํ า ห รั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

2552

2553

2552

(ปรับปรุงใหม่)

ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าตอบแทนกรรมการ ขาดทุนจากด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขาย และสินทรัพย์อื่น เงินสมทบสถาบันคุ้มครองเงินฝาก สำรองประมาณการหนี้สินจากการโอน สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (กลับรายการ) กลับรายการสำรองประมาณการหนี้สินอื่น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย กำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิ การแบ่งปันกำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นธนาคารฯ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นธนาคารฯ กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นธนาคารฯ

31

5,861,448,607 2,906,598,509 627,762,958 1,424,397,208 30,264,400

6,543,354,879 2,687,644,039 671,587,380 1,333,250,662 27,137,740

5,691,945,135 2,843,993,016 623,589,077 1,383,052,536 28,444,400

6,376,889,592 2,621,762,188 668,661,041 1,285,959,062 23,511,419

947,800,895 1,613,316,119

2,736,978,484 1,745,225,230

816,756,634 1,613,316,119

1,917,210,992 1,745,225,230

(839,018,462) (547,498,313) 2,320,834,507 14,345,906,428 3,225,324,083 14,378,489 3,210,945,594

309,331,339 (379,631,944) 2,184,072,148 17,858,949,957 1,998,165,756 33,453,766 1,964,711,990

(571,118,313) 2,236,018,080 14,665,996,684 3,264,392,139 3,264,392,139

310,000,000 (374,721,944) 2,102,597,608 16,677,095,188 2,048,272,283 2,048,272,283

3,202,237,435 8,708,159 3,210,945,594

1,945,180,145 19,531,845 1,964,711,990

3,264,392,139

2,048,272,283

0.07

0.05

0.08

0.05

0.07

0.04

0.07

0.05

32

บุญทักษ์ หวังเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

เสาวนีย์ กมลบุตร ประธานกรรมการธนาคาร


5,288,040,203 5,288,040,203 (132,919,729) (132,919,729) (132,919,729) 5,155,120,474 5,155,120,474 5,155,120,474 (371,421,250) (371,421,250) (371,421,250) 4,783,699,224

(303,088,346,225) (303,088,346,225) -

(303,088,346,225)

(303,088,346,225) (303,088,346,225) -

303,088,346,225 -

65,774,370

7,449,949

7,449,949 7,449,949

58,324,421 58,324,421

736,299,442 250,064,065 58,324,421

(486,235,377) (486,235,377)

(191,739,644) (191,739,644) 3,015,312 3,015,312

8,800,286 8,800,286

7,442,929

7,442,929 7,442,929

33,903,639 19,258,527

33,903,639 33,903,639

-

- 11,815,598 - 11,815,598

- 3,015,312 - 11,815,598

-

-

74,593,113 74,593,113

-

-

3,202,237,435 3,411,841,532

209,604,097 209,604,097

(2,100,000,000) (8,717,165,400) 101,663,902,410 200,000,000 (200,000,000) 200,000,000 3,316,892,370

-

-

2,100,000,000 8,717,165,400 (101,047,934,880) (510,916,692) 2,100,000,000 8,717,165,400 (101,558,851,572)

1,945,180,145 2,019,773,258 2,100,000,000 8,717,165,400 (101,558,851,572)

-

2,100,000,000 8,717,165,400 (103,166,427,235) (412,197,595) 2,100,000,000 8,717,165,400 (103,578,624,830)

ยังไม่ได้จัดสรร

49,771,829,685

33,903,639 3,202,237,435 3,089,216,799

(161,817,153) 7,449,949 7,442,929 (146,924,275)

47,193,529,578 (510,916,692) 46,682,612,886

736,299,442 1,945,180,145 2,139,932,906 46,682,612,886

(58,326,616) (486,235,377) 3,015,312 (541,546,681)

44,954,877,575 (412,197,595) 44,542,679,980

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ของธนาคารฯ

รวม

(58,326,616) (486,235,377) 3,015,312 (541,546,681)

(161,817,153) 7,449,949 7,442,929 (146,924,275)

83,247,747 49,855,077,432

33,903,639 8,708,159 3,210,945,594 8,708,159 3,097,924,958

-

74,539,588 47,268,069,166 - (510,916,692) 74,539,588 46,757,152,474

- 736,299,442 19,531,845 1,964,711,990 19,531,845 2,159,464,751 (36,500,043) (36,500,043) 74,539,588 46,757,152,474

-

91,507,786 45,046,385,361 - (412,197,595) 91,507,786 44,634,187,766

ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย ของบริษัทย่อย

(หน่วย: บาท)

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 -ตามที่รายงาน 435,287,384,790 ไว้เดิม ผลสะสมจากการปรับปรุงมูลค่าเงินลงทุน (หมายเหตุ 38) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - ปรับปรุงใหม่ 435,287,384,790 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน ส่วนต่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น รับรู้ส่วนต่ำกว่าทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า เงินลงทุนในงบกำไรขาดทุน กำไรสุทธิ - ปรับปรุงใหม่ รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ปรับปรุงใหม่ 435,287,384,790 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามที่รายงาน 435,287,384,790 ไว้เดิม ผลสะสมจากการปรับปรุงมูลค่าเงินลงทุน (หมายเหตุ 38) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ปรับปรุงใหม่ 435,287,384,790 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการจ่ายโบนัสในรูปแบบของ หุ้นสามัญสำหรับพนักงาน (หมายเหตุ 27) กำไรสุทธิ รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี ลดทุนและโอนกำไรสะสมที่จัดสรรแล้วเพื่อล้างส่วนต่ำกว่า (393,935,083,235) มูลค่าหุ้นและลดผลขาดทุนสะสม (หมายเหตุ 25) จัดสรรกำไรไปเป็นสำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 29) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 41,352,301,555

กำไร(ขาดทุน)สะสม ส่วนเกิน (ต่ำกว่า)ทุนจาก ทุนสำรองอื่น- ผลต่างจาก ส่วนเกินทุนจากการ การเปลี่ยนแปลง การจ่ายโดยใช้ การแปลงค่า จัดสรรแล้ว-สำรอง จัดสรรแล้วทุนที่ออกและชำระแล้ว ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น ตีราคาทรัพย์สิน มูลค่าเงินลงทุน หุ้นเป็นเกณฑ์ งบการเงิน ตามกฎหมาย สำรองอื่น

ส่วนของผู้ถือหุ้นของธนาคารฯ

งบการเงินรวม

|

สํ า ห รั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

124 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553


303,088,346,225 -

-

(393,935,083,235) 41,352,301,555

4,783,699,224

(371,421,250)

(371,421,250) (371,421,250)

(132,919,729) 5,155,120,474

435,287,384,790 (303,088,346,225) -

(132,919,729) (132,919,729)

5,288,040,203

-

-

435,287,384,790 (303,088,346,225)

64,983,154

15,363,750

15,363,750 15,363,750

736,299,442 240,807,798 49,619,404

(495,491,644) (495,491,644)

(191,188,394)

ส่วนเกิน (ต่ำกว่า)ทุนจาก การเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน

3,015,312 3,015,312

8,800,286

ผลต่างจาก การแปลงค่า งบการเงิน

7,442,929

7,442,929 7,442,929

33,903,639 19,258,527

33,903,639 33,903,639

-

- 3,015,312 - 11,815,598

-

-

ทุนสำรองอื่นการจ่ายโดยใช้ หุ้นเป็นเกณฑ์

งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไร(ขาดทุน)สะสม

(2,100,000,000) 200,000,000 200,000,000

-

-

2,100,000,000

-

2,100,000,000

ยังไม่ได้จัดสรร

74,593,113 74,593,113

3,264,392,139 3,473,996,236

209,604,097 209,604,097

(8,717,165,400) 101,663,902,410 (200,000,000) 3,195,877,557

-

-

2,048,272,283 2,122,865,396 8,717,165,400 (101,742,021,089)

-

8,717,165,400 (103,864,886,485)

จัดสรรแล้ว-สำรอง ตามกฎหมาย จัดสรรแล้ว-สำรองอื่น

49,650,023,656

33,903,639 3,264,392,139 3,159,285,304

(161,817,153) 15,363,750 7,442,929 (139,010,474)

736,299,442 2,048,272,283 2,233,768,777 46,490,738,352

(58,326,616) (495,491,644) 3,015,312 (550,802,948)

44,256,969,575

รวม

(หน่วย: บาท)

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น |

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน ส่วนต่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น รับรู้ส่วนต่ำกว่าทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ในงบกำไรขาดทุน กำไรสุทธิ รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตัดจำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการจ่ายโบนัสในรูปแบบของ หุ้นสามัญสำหรับพนักงาน (หมายเหตุ 27) กำไรสุทธิ รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี ลดทุนและโอนกำไรสะสมที่จัดสรรแล้วเพื่อล้างส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น และลดผลขาดทุนสะสม (หมายเหตุ 25) จัดสรรกำไรไปเป็นสำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 29) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

สํ า ห รั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

ส่วนเกินทุนจากการ ทุนที่ออกและชำระแล้ว ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น ตีราคาทรัพย์สิน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) 125


126

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

งบกระแสเงินสด

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย

สํ า ห รั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

งบการเงินรวม

2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบกำไรก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับเงิน (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและรายจ่ายตัดบัญชี ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุน กำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทย่อย ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการปรับมูลค่าเงินลงทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์รอการขายและสินทรัพย์อื่น ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ โอนกลับขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ กำไรจากการจำหน่ายอุปกรณ์ สำรองประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (กลับรายการ) กลับรายการสำรองประมาณการหนี้สินอื่น สำรองค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการจ่ายโบนัสในรูปแบบของหุ้นสามัญสำหรับพนักงาน กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกู้ยืมและตราสารอนุพันธ์ กำไรจากการซื้อคืนตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน รายได้อื่นจากการรับคืนภาษีเงินได้ รายได้ค้างรับอื่นเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอื่นเพิ่มขึ้น กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนเพื่อค้า เงินให้สินเชื่อ ทรัพย์สินรอการขาย ลูกหนี้อื่น สินทรัพย์อื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืมระยะสั้น ประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ประมาณการหนี้สินอื่น เจ้าหนี้อื่น หนี้สินอื่น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552 (ปรับปรุงใหม่) 3,225,324,083 1,998,165,756

3,264,392,139

2,048,272,283

1,241,968,845 14,360,000 434,781 947,800,895 (35,760,393) 1,710,725,052 (56,492,167) (5,099,622)

1,168,288,970 902,969,774 7,156,080 2,736,978,484 (94,814,249) 2,845,855,199 (218,350,753) (11,184,895)

1,218,620,681 226,360,000 (140,161,176) 434,781 816,756,634 1,105,567,561 (56,822,277) (7,383,195)

1,146,072,900 902,969,774 921,090,642 7,156,080 1,917,210,992 2,931,375,578 (224,851,674) (11,184,895)

(839,018,462) 309,331,339 (547,498,313) (379,631,944) 157,496,862 243,907,032 33,903,639 (159,048,187) (968,985,556) (409,734,328) (366,060,312) (3,917,150) (2,301,483,276) (98,982,052) (278,858,907) (50,765,955) (3,598,315) 993,585,514 327,936,784

(571,118,313) 157,496,862 33,903,639 (165,838,829) (409,734,328) (3,917,150) (98,982,052) (54,030,386) 992,642,350

310,000,000 (374,721,944) 243,907,032 (986,212,378) (366,060,312) (2,301,483,276) (278,858,907) (20,345,745) 331,097,308

6,119,283,042

6,308,186,941

6,195,433,458

(17,767,358,908) 5,715,183,610 (17,742,343,267) 598,699,519 5,906,005,308 598,699,519 (13,457,735,139) 35,082,558,541 (12,997,705,808) 4,450,904,030 3,844,455,906 4,315,696,349 1,591,599,006 1,558,978,310 1,388,293,876 393,545,779 1,868,965,214 391,604,902

5,682,649,867 5,906,005,308 35,609,839,352 3,480,755,965 1,539,478,897 1,859,882,522

5,917,621,211

5,339,632,762 (42,521,321,875) 12,752,939,462 1,438,744,745 (1,232,659,212) 1,660,643,149 11,598,006,324 (11,732,992,179) 73,823,697 (575,348,722) (899,407,166) 430,396,662 195,876,954 501,395,265 (2,435,193,471)

2553

2552

5,287,433,090 (42,611,153,518) 12,752,939,462 1,438,744,745 (1,232,659,212) 1,660,643,149 11,600,506,324 (11,746,492,179) (575,348,721) (899,407,166) 430,717,119 192,620,668 587,094,693 (2,486,060,069)


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย

สํ า ห รั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

เงินสดได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดจ่ายจากดอกเบี้ย เงินสดรับคืนจากภาษีเงินได้ เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากดอกเบี้ยและเงินปันผล ซื้อหลักทรัพย์เผื่อขาย ขายหลักทรัพย์เผื่อขาย ลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด เงินสดรับจากการไถ่ถอนตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด รับคืนมูลค่าหน่วยลงทุนและขายเงินลงทุนทั่วไป ลงทุนในบริษัทร่วม รับคืนมูลค่าหน่วยลงทุนและขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินปันผลรับจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ซื้ออาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อสิทธิการเช่า ซื้อสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากการจำหน่ายอุปกรณ์ เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดจ่ายเพื่อไถ่ถอนหุ้นกู้ เงินสดรับจากการออกจำหน่ายหุ้นกู้ด้อยสิทธิและ ตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน เงินสดจ่ายเพื่อไถ่ถอนหุ้นกู้ด้อยสิทธิและ ตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน เงินสดรับจากการออกจำหน่ายตั๋วแลกเงินระยะยาว จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบงบกระแสเงินสด รายการที่มิใช่เงินสด รับโอนทรัพย์สินรอการขายเพื่อรับชำระหนี้จากเงินให้สินเชื่อ รับชำระเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินจากการโอนขายสินทรัพย์ ด้อยคุณภาพและรับชำระหนี้จากเงินให้สินเชื่อ จ่ายชำระผลขาดทุนจากการแบ่งปันผลขาดทุนจากการโอนขาย สินทรัพย์ด้อยคุณภาพโดยหักกลบกับตั๋วสัญญาใช้เงินรับ ลดหนี้ให้แก่บริษัทย่อย (หมายเหตุ 7.2) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

127

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

2553

|

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553

2552

10,817,123,567 (12,259,336,736) 17,087,075,371 (4,589,649,000) 98,982,052 (118,501,676) 11,035,693,578

2552 (ปรับปรุงใหม่) 5,600,118,257 (12,407,455,434) 20,584,320,402 (7,395,152,363) 278,858,907 (105,531,756) 6,555,158,013

11,113,115,267 (12,479,575,910) 16,865,095,620 (4,590,317,847) 98,982,052 (97,432,315) 10,909,866,867

5,822,940,999 (12,688,118,837) 20,507,084,117 (7,396,617,702) 278,858,907 (80,682,709) 6,443,464,775

1,631,787,732 (134,566,822,588) 122,913,172,983 (23,112,047,598) 22,176,000,000 495,173,347 213,696,545 282,223,872 (665,408,217) (40,120,155) (257,767,558) 178,122,948 (10,751,988,689)

1,652,280,540 (155,402,405,303) 150,313,235,189 2,713,306,674 1,057,870,159 (34,481,100) 451,833,013 139,880,784 (504,470,019) (177,146,204) (412,919,720) 117,344,485 (85,671,502)

1,625,843,673 (133,966,822,588) 122,455,764,298 (23,112,047,598) 22,159,000,000 494,833,856 213,696,545 282,223,872 (655,723,047) (40,120,155) (257,518,713) 174,313,972 (10,626,555,885)

1,641,257,817 (155,302,405,303) 150,213,235,189 2,687,306,674 1,056,675,454 (34,481,100) 451,833,013 249,380,740 (497,811,691) (177,146,204) (412,140,692) 116,945,013 (7,351,090)

(1,139,881,583) (1,194,658,939) (2,040,110,000)

(1,138,454,840) (1,423,092,372) (702,380,000)

(1,139,881,583) (1,194,658,939) (2,040,110,000)

(1,138,454,840) (1,423,092,372) (702,380,000)

8,000,000,000

9,300,000,000

8,000,000,000

9,300,000,000

(8,079,499,450) 3,742,950,000 (711,199,972) (427,495,083) 7,442,929 15,134,030,856 14,713,978,702

(9,092,172,412) 436,990,000 (36,500,043) (2,655,609,667) 3,813,876,844 3,015,312 11,317,138,700 15,134,030,856

(8,079,499,450) 3,742,950,000 (711,199,972) (427,888,990) 7,442,929 15,133,926,525 14,713,480,464

(9,092,172,412) 436,990,000 (2,619,109,624) 3,817,004,061 3,015,312 11,313,907,152 15,133,926,525

2,060,122

46,933,901

2,060,122

46,933,901

2,204,446,513

5,808,805,175

2,178,451,627

5,682,594,666

3,020,000,000 -

-

4,030,622,012

-


128

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย สํ า ห รั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 3 แ ล ะ 2 5 5 2

1.

ข้อมูลทั่วไปของธนาคารฯ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) (“ธนาคารฯ ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลำเนาในประเทศไทย ธนาคารฯ ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ โดยมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่ 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ มีสาขา อยู่ทั่วทุกภูมิภาคในประเทศไทยรวมสำนักงานใหญ่ทั้งสิ้น 452 สาขา และสาขาต่างประเทศ 3 สาขา (31 ธันวาคม 2552: ในประเทศไทยทั้งสิ้น 483 สาขา และสาขาต่างประเทศ 3 สาขา) บริษัทย่อยทั้งหมดจัดตั้งเป็นบริษัทจำกัดตามกฎหมายไทยและประกอบกิจการในประเทศไทย โดยดำเนินธุรกิจหลักในการให้บริการด้านการบริหาร สินทรัพย์และการจัดการกองทุน

2.

เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน

2.1

เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และธนาคารฯ ได้นำมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ (ดูนโยบายบัญชีที่เกี่ยวข้องในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 4.18) มาถือปฏิบัติก่อน วันที่มีผลบังคับใช้ การแสดงรายการในงบการเงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย (“ธปท.”) เรื่อง “การจัดทำและการประกาศงบการเงิน ของธนาคารพาณิชย์และบริษัทโฮลดิ้งที่เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน” ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2551 และประกาศคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“กลต.”) ที่เกี่ยวข้อง งบการเงินนี้ ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 4 เรื่องนโยบายการบัญชี ที่สำคัญ งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่ธนาคารฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจากงบการเงินฉบับ ภาษาไทยนี้

2.2 (ก)

เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) และของบริษัทย่อย ดังต่อไปนี้ อัตราร้อยละของ อัตราร้อยละของการ สินทรัพย์ที่รวม ถือหุ้นโดยธนาคารฯ อยู่ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2553 2552 ลักษณะธุรกิจ บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ 100.00 100.00 บริษัท เดซิกนี ฟอร์ อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด ธุรกิจสนันสนุนสถาบันการเงิน 99.40 99.40 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนทหารไทย จำกัด ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน 75.00 75.00

อัตราร้อยละของ รายได้ที่รวมอยู่ใน งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

2553 0.43

2552 0.61

2553 1.14

2552 0.36

-

-

-

-

0.05

0.05

2.18

1.87


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

129

(ข)

ธนาคารฯ และบริษัทย่อยไม่ถือว่าการลงทุนในกองทุนรวมที่มีสัดส่วนการลงทุนเกินกว่าอัตรา ร้อยละ 50 ของหน่วยลงทุนที่ออกจำหน่ายและ ชำระแล้ว ของกองทุน เป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อย เนื่องจากธนาคารฯ ไม่มีอำนาจควบคุมหรือมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการเงินและ การดำเนินงานของกองทุนรวมดังกล่าว และในกรณีที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้หุ้นมาจากการปรับโครงสร้างหนี้ถึงแม้ว่าการได้มาดังกล่าวจะ ทำให้ธนาคารฯ และบริษัทย่อยถือหุ้นเกินกว่าอัตราร้อยละ 50 ของทุนออกจำหน่ายและชำระแล้วของบริษัทดังกล่าว เนื่องจากธนาคารฯ และ บริษัทย่อยมีความตั้งใจที่จะถือเงินลงทุนดังกล่าวเป็นการชั่วคราว

(ค)

ธนาคารฯ นำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ ได้มา (วันที่ธนาคารฯ มีอำนาจในการควบคุมบริษัทย่อย) จนถึงวันที่ธนาคารฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น

(ง)

งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สำคัญเช่นเดียวกันกับของ ธนาคารฯ

(จ)

ยอดคงค้างและรายการระหว่างกันที่มีสาระสำคัญของธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว เงินลงทุนในบริษัทย่อยใน บัญชีของธนาคารฯ ได้ตัดกับส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยแล้ว

(ฉ)

ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยคือจำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ ไม่ได้เป็นของธนาคารฯ และแสดงเป็นรายการแยก ต่างหากในงบกำไรขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลรวม

2.3

งบการเงินเฉพาะกิจการ ธนาคารฯ ได้จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน

3.

การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่

ในระหว่างปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ตามรายละเอียดข้างล่างนี้

(ก) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 (เว้นแต่แม่บทการบัญชีซึ่งมีผลบังคับใช้ทันที) แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) (ปรับปรุง 2552) การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) สัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) รายได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2552) ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27


130

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

`

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

เงินลงทุนในบริษัทร่วม การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า กำไรต่อหุ้น งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก การสำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์

(ข) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 ความช่วยเหลือจากรัฐบาล (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ฝ่ายบริหารของธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปี ที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีดังกล่าว ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ที่ฝ่ายบริหารคาดว่าจะมีผลกระทบต่องบการเงินอย่างเป็นสาระสำคัญใน ปีที่นำมาตรฐานการบัญชีดังกล่าวมาถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำหนดให้กิจการรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกิจการได้รับบริการจ้างงานจากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง กิ จ การจะต้ อ งประเมิ น และบั น ทึ ก หนี้ สิ น เกี่ ย วกั บ ผลประโยชน์ ข องพนั ก งานเนื่ อ งจากเกษี ย ณอายุ โดยใช้ ก ารคำนวณตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งในปัจจุบันธนาคารฯ และบริษัทย่อยรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานดังกล่าวเมื่อเกิดรายการ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวในปี 2554 จะทำให้กำไรสะสมยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ลดลงเป็นจำนวนเงิน 1,061 ล้านบาท และ 1,051 ล้านบาท ตามลำดับ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำหนดให้กิจการระบุผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดจากความแตกต่างของมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินระหว่างเกณฑ์ทางบัญชี และภาษีอากร เพื่อรับรู้ผลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ปัจจุบันฝ่ายบริหารของธนาคารฯ และบริษัทย่อยอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงินในปีที่เริ่มนำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ มาถือปฏิบัติ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

131

4.

นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

4.1

การรับรู้รายได้ รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล ธนาคารฯ และบริษัทย่อยใช้เกณฑ์คงค้างในการรับรู้รายได้ดอกเบี้ยและส่วนลดจากเงินให้สินเชื่อโดยธนาคารฯ ระงับการรับรู้รายได้ดอกเบี้ยสำหรับ เงินให้สินเชื่อที่ค้างชำระเกินกำหนด 3 เดือนนับจากวันที่ครบกำหนดชำระไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือไม่ การบันทึกรายได้ดอกเบี้ยหลังจากนั้นจะใช้ เกณฑ์เงินสดตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารฯ บันทึกยกเลิกรายได้ดอกเบี้ยค้างรับของเงินให้สินเชื่อที่ ได้บันทึกเป็นรายได้ออกจากบัญชีสำหรับลูกหนี้ที่ค้างชำระดอกเบี้ยเกินกว่า 3 เดือนนับจากวันที่ครบกำหนดชำระดอกเบี้ย และเมื่อเงินให้สินเชื่อถูกจัดชั้นสงสัยและสงสัยจะสูญตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารฯ รับรู้รายได้ดอกเบี้ยสำหรับลูกหนี้ภายหลังการปรับโครงสร้างหนี้ใหม่ตามเกณฑ์คงค้าง โดยอิงจากอัตราดอกเบี้ยที่ลูกหนี้ต้องจ่าย ชำระตามสัญญา ยกเว้นหนี้ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ที่อยู่ระหว่างการติดตามผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขการปรับโครงสร้างหนี้ใหม่ ซึ่งจะ รับรู้เป็นรายได้ดอกเบี้ยตามเกณฑ์เงินสดจนกว่าลูกหนี้จะปฏิบัติตามเงื่อนไขการปรับโครงสร้างหนี้ติดต่อกันไม่น้อยกว่าสามเดือนหรือสามงวด การชำระเงิน แล้วแต่ระยะเวลาใดจะนานกว่า ธนาคารฯ รับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากเงินลงทุนในตราสารหนี้ด้วยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุการลงทุนในตราสารหนี้ เงินปันผลบันทึกเป็นรายได้ในงบกำไรขาดทุนในวันที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีสิทธิได้รับเงินปันผล รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการรับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแล้ว

4.2

การรับรู้ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ธนาคารฯ และบริษัทย่อยใช้เกณฑ์คงค้างในการรับรู้ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยในงบกำไรขาดทุน

4.3

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดในมือ และรายการเงินสดระหว่างเรียกเก็บ

4.4

หลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญาขายคืน/หลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืน ธนาคารฯ มีการทำสัญญาซื้อหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายคืนหรือมีการทำสัญญาขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาซื้อคืนกับภาคเอกชนโดยมีการ กำหนดวันเวลา และราคาที่แน่นอนในอนาคต จำนวนเงินที่จ่ายสำหรับหลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญาขายคืนในอนาคตแสดงเป็นสินทรัพย์ภายใต้ บัญชี “รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - ด้านสินทรัพย์” หรือ “เงินให้สินเชื่อ” ขึ้นอยู่กับประเภทของคู่ค้าในงบดุล โดยหลักทรัพย์ภายใต้สัญญา ขายคืนดังกล่าวถือเป็นหลักประกัน ในขณะที่หลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืนในอนาคตแสดงเป็นหนี้สินภายใต้บัญชี “รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน - ด้านหนี้สิน” หรือ “เงินกู้ยืม” ขึ้นอยู่กับประเภทของคู่ค้าในงบดุลด้วยจำนวนเงินที่ ได้รับมาจากการขายหลักทรัพย์ดังกล่าว โดยหลักทรัพย์ภายใต้สัญญาซื้อคืนถือเป็นหลักประกัน ผลต่างระหว่างราคาซื้อและราคาขายจะถูกรับรู้ตามระยะเวลาของรายการซึ่งแสดงรวมอยู่ในดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจ่ายแล้วแต่กรณี


132

4.5

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

เงินลงทุน ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจัดประเภทเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุนในความต้องการของตลาดเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า หลักทรัพย์เผื่อขาย หรือตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด และจัดประเภทเงินลงทุนในตราสารทุนที่ ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดเป็นเงินลงทุนทั่วไปหรือเงินลงทุน ในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมแล้วแต่กรณี เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว มในงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การบั น ทึ ก บั ญ ชี โ ดยใช้ วิ ธี ร าคาทุ น สุ ท ธิ จ ากค่ า เผื่ อ การด้ อ ยค่ า ของเงิ น ลงทุ น ใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน เงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีส่วนได้เสียซึ่งเงินลงทุนจะถูกบันทึกครั้งแรกในราคาทุนที่ซื้อมาและจะปรับเพิ่ม(ลด) ด้วยส่วนได้เสียที่เกิดจากผลการดำเนินงานของบริษัทร่วมตามอัตราส่วนการลงทุนและปรับลดด้วยเงินปันผลรับ ในกรณีที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้หุ้นมาจากการปรับโครงสร้างหนี้ถึงแม้ว่าการได้มาดังกล่าวจะทำให้ธนาคารฯ และบริษัทย่อยถือหุ้นเกินกว่า อัตราร้อยละ 50 หรืออัตราร้อยละ 20 ของทุนชำระแล้วของบริษัทดังกล่าว ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจะไม่ถือเงินลงทุนดังกล่าวเป็นเงินลงทุนใน บริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมตามลำดับ เนื่องจากธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีความตั้งใจที่จะถือเงินลงทุนดังกล่าวเป็นการชั่วคราว และจะจัดประเภท เงินลงทุนดังกล่าวเป็นเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงวิธีราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ธนาคารฯ และบริษัทย่อยไม่ถือว่าการลงทุนในกองทุนรวมที่มีสัดส่วนการลงทุนตั้งแต่อัตราร้อยละ 50 หรืออัตราร้อยละ 20 ขึ้นไป เป็นเงินลงทุนใน บริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมตามลำดับ เนื่องจากธนาคารฯ ไม่มีอำนาจควบคุมหรือมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการเงินและการดำเนินงานของ กองทุนรวมดังกล่าวซึ่งอยู่ภายใต้การจัดการที่เป็นอิสระของผู้จัดการกองทุนตามรายละเอียดของโครงการจัดการกองทุนรวม และอยู่ภายใต้การ กำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาดซึ่งถือไว้เพื่อค้า จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้าและแสดงมูลค่าในราคา ยุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์บันทึกเป็นกำไรหรือขาดทุนในงบกำไรขาดทุน ตราสารหนี้ (รวมสิทธิที่จะได้รับชำระราคาโอนด้วยตั๋วสัญญาใช้เงินประเภทโอนเปลี่ยนมือไม่ได้และอาวัลโดยกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน (“กองทุนฟื้นฟูฯ”) ที่ได้รับจากการทำสัญญาโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่บรรษัทบริหารสินทรัพย์ ไทย (“บสท.”)) ซึ่งธนาคารฯ และบริษัทย่อยตั้งใจและสามารถถือจนครบกำหนด แสดงมูลค่าในราคาทุนตัดจำหน่ายและหักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อ หรือได้มากับมูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่ายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุที่เหลือของตราสารหนี้นับแต่วันได้มาหรือลงทุน ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้เพื่อค้าหรือถือไว้จนครบกำหนด จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์เผื่อขายและแสดงมูลค่าในราคายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ ได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง ยกเว้นขาดทุน จากการด้อยค่าของเงินลงทุน และกำไรหรือขาดทุนจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน จะรับรู้ในงบกำไรขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนที่ ไม่ใช่หลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาดหรือเงินลงทุนในหน่วยลงทุนที่มีเงื่อนไขการจ่ายผลตอบแทนในลักษณะ เดียวกันกับตราสารหนี้และที่ ไม่ได้ถือเป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม จัดประเภทเป็นเงินลงทุนทั่วไปแสดงวิธีราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อ การด้อยค่า (ถ้ามี)


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

133

มูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์ มูลค่ายุติธรรมสำหรับหลักทรัพย์เพื่อค้าและหลักทรัพย์เผื่อขายประเภทตราสารทุนในความต้องการของตลาดจะใช้ราคาเสนอซื้อครั้งสุดท้าย ณ วันทำการสุดท้ายของงวด มูลค่ายุติธรรมของหน่วยลงทุนใช้มูลค่าสินทรัพย์สุทธิที่ประกาศ ณ วันที่ในงบดุล มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารหนี้ประเภทตราสารหนี้ภาครัฐ คำนวณจากอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) หรือราคาที่ประกาศโดย สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารหนี้อื่นที่ออกจำหน่ายในประเทศ คำนวณโดยใช้ราคาตลาดที่ประเมินโดยสถาบัน ที่เชื่อถือได้หรืออัตราผลตอบแทน (Yield) ของตราสารหนี้นั้นหรือคำนวณจากเส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) ของสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ปรับด้วยปัจจัยความเสี่ยงตามความเหมาะสม การจำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจำหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคำนวณต้นทุนสำหรับเงินลงทุนที่จำหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยังถือ อยู่ใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

4.6

เงินให้สินเชื่อ เงินให้สินเชื่อแสดงเงินต้นไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ (ยกเว้นเงินเบิกเกินบัญชี) ส่วนลดของเงินให้สินเชื่อที่หักไว้ล่วงหน้าที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้แสดงเป็น รายการหักจากเงินให้สินเชื่อ เงินลงทุนในลูกหนี้ที่รับโอนมาเป็นเงินลงทุนในลูกหนี้ของบริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด (บริษัทย่อยของธนาคารฯ ) แสดงด้วยราคาทุนที่ จ่ายซื้อคงเหลือสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่าและค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ บริษัทย่อยได้ใช้วิธีการบัญชีเกี่ยวกับการโอนเปลี่ยน ประเภทสินทรัพย์ทางการเงินเพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด โดยบันทึกรายการโอนบัญชีเงินลงทุนในลูกหนี้ที่รับโอนมา เฉพาะรายที่ได้มีการปรับโครงสร้างหนี้แล้ว ไปเป็นบัญชีเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ โดยบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอน แต่ไม่เกินมูลค่า ตามบัญชีของเงินลงทุนในลูกหนี้ที่รับโอนมา ซึ่งมูลค่ายุติธรรมคำนวณจากมูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินที่คาดว่าจะได้รับคืนในอนาคตตามสัญญา ปรับโครงสร้างหนี้คิดลดด้วยอัตราคิดลดที่ทำให้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตเท่ากับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนใน ลูกหนี้ โดยผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีกับมูลค่ายุติธรรม ณ วันโอนนั้น แสดงเป็นขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ในงบกำไรขาดทุน

4.7

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และข้อกำหนดของธปท. ธนาคารฯ และบริษัทย่อยพิจารณาตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยพิจารณาเฉพาะเจาะจงตามลักษณะของสินเชื่อ และปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ความสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้ หลักประกัน ส่วนสูญเสียที่เกิดขึ้นในอดีต ประมาณการส่วนสูญเสีย ความเสี่ยงด้านเครดิตของลูกหนี้ และประสบการณ์ของฝ่ายบริหาร เป็นต้น สำหรับสินเชื่อที่จัดชั้นปกติและจัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ ธนาคารฯ พิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามลักษณะของสินเชื่อและจากปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ส่วนสูญเสียในอดีต ความเสี่ยงด้านเครดิตของลูกหนี้ และประสบการณ์ของฝ่ายบริหาร โดยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของสินเชื่อ ที่ก่อให้เกิดรายได้ ประกอบด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญขั้นต่ำที่คำนวณตามอัตราร้อยละที่ธปท.กำหนด และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญส่วนที่เกินกว่า อัตราขั้นต่ำดังกล่าวเพื่อครอบคลุมความเสียหายซึ่งได้เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้รับรายงาน


134

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

สำหรับสินเชื่อจัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัยจะสูญ ธนาคารฯ พิจารณาตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเป็นรายลูกหนี้ โดย พิจารณาเฉพาะเจาะจงตามลักษณะของสินเชื่อ และปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ความสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้ และหลักประกัน เป็นต้น โดยคำนวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 100 สำหรับส่วนของยอดหนี้คงค้างตามบัญชีที่เกินกว่ามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่า จะได้รับจากลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำหน่ายหลักประกันซึ่งเป็นไปตามวิธีการที่ธปท. กำหนด ในกรณีที่ ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีแผนเฉพาะเจาะจงในการบริหารจัดการกับสินเชื่อด้อยคุณภาพเฉพาะกลุ่ม เช่น การขายสินเชื่อด้อยคุณภาพ ธนาคารฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยตั้ ง ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ โดยพิ จ ารณาจากประมาณการมู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ จากการขายสิ น เชื่ อ ด้ อ ยคุ ณ ภาพ และอั ต รา ผลตอบแทนที่คาดหวังของนักลงทุน เป็นต้น ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งเพิ่มถือเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละงวดบัญชี ธนาคารฯ ตัดหนี้สูญกับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเมื่อธนาคารฯ ไม่สามารถเรียก หนี้คืนได้และหนี้สูญได้รับคืนจะบันทึกกลับบัญชีเพิ่มกับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

4.8

การปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจะบันทึกสินทรัพย์ที่รับโอนมาจากการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา ด้วยมูลค่ายุติธรรมหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายใน การขาย แต่ไม่สูงกว่ามูลหนี้ตามบัญชีบวกดอกเบี้ยที่ธนาคารฯ มีสิทธิได้รับตามกฎหมายที่ยังไม่ได้บันทึกบัญชี ในกรณีที่การปรับโครงสร้างหนี้ที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้ จะมีการคำนวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากลูกหนี้คิดลดด้วยอัตรา ดอกเบี้ยในตลาด ณ วันที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ ผลต่างของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตและมูลค่าตามบัญชีของเงิน ให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับจะถูกบันทึกเป็นค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้แสดงในงบดุล หลังจากนั้นธนาคารฯ และบริษัทย่อย จะทบทวนค่าเผื่อการปรับมูลค่าดังกล่าวโดยใช้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับตามระยะเวลาที่เหลืออยู่

4.9

ทรัพย์สินรอการขาย ทรัพย์สินรอการขายแสดงตามราคาทุน หรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้ ในงบกำไรขาดทุน กำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายจะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนเมื่อมีการจำหน่าย ราคาทุนของทรัพย์สินรอการขายกรณีที่ ได้มาจากการรับโอนชำระหนี้จากลูกหนี้ สำหรับทรัพย์สินรอการขายที่ลูกหนี้โอนให้เพื่อชำระหนี้ก่อน ปี 2545 ราคาทุนถือตามราคาที่ประเมินขึ้น หรือราคาตามบัญชีของลูกหนี้แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า สำหรับทรัพย์สินรอการขายที่ลูกหนี้โอนให้ เพื่อชำระหนี้ตั้งแต่ปี 2545 ราคาทุนถือตามมูลค่ายุติธรรมและหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายทางตรงในการขาย แต่ไม่เกินกว่ามูลหนี้ตามบัญชี บวกดอกเบี้ยที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีสิทธิได้รับตามกฎหมายที่ยังไม่ได้บันทึกบัญชี ราคาทุนของทรัพย์สินรอการขายกรณีที่ธนาคารฯ และ บริษัทย่อยเข้าซื้อจากการขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี ได้แก่ราคาที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยเข้าซื้อ บวกค่าใช้จ่ายในการรับโอนกรรมสิทธิ์ และหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายทางตรงในการขาย ธนาคารฯ และบริษัทย่อยพิจารณามูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับจากคุณภาพของทรัพย์สิน (ซึ่งพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ทำเลที่ตั้ง สาธารณูปโภค และศักยภาพในการใช้ประโยชน์ของทรัพย์สิน โดยธนาคารฯ และบริษัทย่อยจัดกลุ่มเป็นเกรด) ระยะเวลาการถือครอง และความต้องการของตลาด ทั้งนี้ในกรณีของรายการทรัพย์สินที่มีมูลค่าสูง ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจะทำการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหักประมาณค่าใช้จ่ายในการ ขายเป็นรายแปลง ส่วนที่เหลือจะพิจารณาเป็นรายกลุ่มตามคุณภาพของทรัพย์สิน และระยะเวลาการถือครอง โดยทรัพย์สินในแต่ละกลุ่มจะถูก กำหนดอัตราส่วนลดจากราคาประเมินของทรัพย์สินตามคุณภาพของทรัพย์สิน และระยะเวลาการถือครอง ซึ่งการกำหนดอัตราส่วนลดจะพิจารณา จากข้อมูลการขายทรัพย์สินรอการขายในอดีต และความต้องการของตลาด ทั้งนี้ในกรณีที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีแผนการขายทรัพย์สินรอ การขายเฉพาะรายหรือกลุ่มใด ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจะใช้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการขายหักด้วยประมาณการ ค่าใช้จ่ายในการขายสำหรับทรัพย์สินรอการขายเฉพาะรายหรือกลุ่มดังกล่าว


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

135

4.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาที่ตีใหม่หักค่าเผื่อการด้อยค่า(ถ้ามี) อาคารแสดงมูลค่าตามราคาที่ตีใหม่หักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) อุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ธนาคารฯ และบริษัทย่อยบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในราคาทุน ณ วันที่ได้สินทรัพย์มา หลังจากนั้นธนาคารฯ ได้จัดให้มีการ ประเมินราคาของที่ดินและอาคารอย่างสม่ำเสมอโดยผู้ประเมินราคาอิสระและบันทึกสินทรัพย์ดังกล่าวในราคาที่ตีใหม่ (ราคาที่ตีใหม่ หมายถึง มูลค่า ยุติธรรมประเมินขึ้นโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้เกณฑ์ราคาตลาดสำหรับสินทรัพย์ประเภทที่ดิน และเกณฑ์ราคาต้นทุนเปลี่ยนแทนหลังหัก ค่าเสื่อมราคาสำหรับสินทรัพย์ประเภทอาคาร) เพื่อมิให้ราคาตามบัญชี ณ วันที่ในงบดุลแตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างมีสาระสำคัญ ธนาคารฯ บันทึกส่วนต่างซึ่งเกิดจากการตีราคาสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ (ก)

ธนาคารฯ บันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน” ในส่วนของผู้ถือหุ้น ในงบดุล อย่างไรก็ตามหากสินทรัพย์นั้นเคยมีการตีราคาลดลงและธนาคารฯ ได้รับรู้ราคาที่ลดลงเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนแล้ว ส่วนที่เพิ่ม จากการตีราคาใหม่นี้จะถูกรับรู้เป็นรายได้ ไม่เกินจำนวนที่เคยลดลงซึ่งได้รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนปีก่อนแล้ว

(ข)

ธนาคารฯ รับรู้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ลดลงจากการตีราคาใหม่เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นั้นเคยมีการ ตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน” อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่จะถูก นำไปหักออกจาก “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน” ไม่เกินจำนวนซึ่งเคยตีราคาเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ชนิดเดียวกัน และส่วนที่เกินจะรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ที่อยู่ในงบกำไรขาดทุนคำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรือราคาที่ตีใหม่กรณีสินทรัพย์นั้นมีการตีราคาเพิ่ม โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ (ยกเว้นค่าเสื่อมราคาสำหรับสาขาต่างประเทศคำนวณในอัตราที่กฎหมายของแต่ละ ประเทศกำหนดในอัตราร้อยละ 20 และ 25 ต่อปี) ดังต่อไปนี้ อาคาร อุปกรณ์

50 ปี 3 - 10 ปี

ค่าเสื่อมราคาได้แสดงรวมอยู่ในงบกำไรขาดทุน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดิน สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง และงานระหว่างติดตั้ง กรณีสินทรัพย์ที่มีการตีราคาเพิ่มและใช้งานอยู่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ที่แสดงอยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้นจะทยอยตัดจำหน่ายโดยใช้วิธี เส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์นั้น และบันทึกโอนไปยังกำไรสะสมโดยตรง และเมื่อใดที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อย เลิกใช้งานหรือจำหน่ายสินทรัพย์ที่มีการตีราคาเพิ่ม ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ที่คงเหลืออยู่ ณ วันเลิกใช้งานหรือจำหน่ายจะถูกโอนไป ยังกำไรสะสมโดยตรง ธนาคารฯ และบริษัทย่อยตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ในอนาคตจากการใช้หรือการจำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลกำไรหรือขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์ (ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ ได้รับ จากการจำหน่ายสินทรัพย์กับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น) จะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนเมื่อธนาคารฯ ตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี


136

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

4.11 สิทธิการเช่า สิทธิการเช่าแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม โดยธนาคารฯ แสดงเป็นส่วนหนึ่งของรายการ “สินทรัพย์อื่น” ในงบดุล ค่าตัดจำหน่ายรับรู้ เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุสัญญาเช่า 4.12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมจากการซื้อส่วนได้เสียในบริษัทย่อย เกิดจากส่วนเกินของต้นทุนที่จ่ายซื้อสูงกว่ามูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ได้รับ ณ วันที่ซื้อ ค่าความนิยม แสดงในงบดุลด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า(ถ้ามี) ธนาคารฯ และบริษัทย่อยตัดจำหน่าย สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัดหรือมีอายุการให้ประโยชน์ที่ประมาณได้แน่นอนอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ของ สินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจะทบทวน ระยะเวลาการตัดจำหน่ายและวิธีการตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำหน่ายและขาดทุนจากการ ด้อยค่า (ถ้ามี) รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นได้แก่ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ ซึ่งธนาคารฯ และบริษัทย่อยตัดจำหน่ายตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ 5 ปี ไม่มี การตัดจำหน่ายสำหรับคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ที่อยู่ระหว่างการพัฒนา

4.13 ค่าเผื่อการด้อยค่า การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้ จะทำการประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ ค่าความนิยมและสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นที่มีอายุการใช้งานไม่จำกัดและสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนซึ่งยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จะมีการทดสอบการด้อยค่าทุกปี หรือหากมีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าเกิดขึ้นก่อน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุนเว้นแต่ในกรณีของที่ดิน และอาคารซึ่งใช้วิธีการตีราคาใหม่ และได้บันทึกส่วนเกินทุนจาก การตีราคาใหม่ไว้ ในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้ ในส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกินไปกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว้ สำหรับสินทรัพย์รายการเดียวกัน เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ดังกล่าวมี การด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ยอดขาดทุนจากการด้อยค่าที่บันทึกในงบกำไรขาดทุน เป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วใน งบกำไรขาดทุน


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

137

การคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของกลุ่มหลักทรัพย์ของธนาคารฯ และบริษัทย่อยที่ถือไว้จนกว่าจะครบกำหนด คำนวณโดยการหามูลค่าปัจจุบันของ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินให้กู้ยืมและลูกหนี้ คำนวณขึ้นตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 4.6 ถึง 4.8 มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย คำนวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึงราคาขายสุทธิของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้อัตราคิดลดก่อนคำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สำหรับสินทรัพย์ที่ ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสดที่สินทรัพย์นั้นมีความเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์ โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจำหน่าย สินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป และเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม การกลับรายการจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มีการกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่น ๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ในงบดุลว่ามีข้อบ่งชี้ที่แสดง ให้เห็นว่าขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่รับรู้ ในงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการ เปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน และจะถูกกลับรายการด้วยจำนวนที่ ไม่เกินไปกว่ามูลค่าตามบัญชีหลังหัก ค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจำหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน

4.14 ประมาณการหนี้สิน ประมาณการผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากภาระผูกพันที่มีความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารฯ ตั้งประมาณการหนี้สินสำหรับภาระผูกพันที่มีความเสี่ยงด้านเครดิต เช่น การค้ำประกันการกู้ยืม การอาวัล หรือภาระผูกพันที่สถาบัน การเงินไม่สามารถยกเลิกได้ เป็นต้น และลูกหนี้รายดังกล่าวถูก จัดชั้นเป็นสินทรัพย์จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ และสูญ โดยอัตรา การตั้งประมาณการหนี้สินสำหรับลูกหนี้แต่ละรายจะเท่ากับอัตราการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้รายเดียวกันนั้น และตั้งประมาณการ หนี้สินสำหรับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากภาระตามหนังสือค้ำประกันหากถูกเรียกร้อง ประมาณการหนี้สินอื่นๆ ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ ในงบดุล เมื่อมีภาระผูกพันตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือภาระผูกพันจากการ อนุมานที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชำระ


138

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถประมาณจำนวนภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจำนวนที่เป็นสาระสำคัญ ประมาณการ หนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจำนวนที่อาจประเมิน ได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน

4.15 ตราสารอนุพันธ์ ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า (Trading book) จะถูกบันทึกบัญชีเมื่อวันเริ่มแรกและภายหลังวันเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการวัด มูลค่ายุติธรรมบันทึกรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน กรณีตราสารอนุพันธ์มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ ธนาคารฯ ใช้ราคาตลาดเป็น มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ กรณีที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ มูลค่ายุติธรรมจะถูกคำนวณจากแบบจำลองโดยใช้ข้อมูลตลาดที่หาได้ จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ ราคาตลาดหรือข้อมูลตลาดที่หาได้จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ ได้มาจากราคาซื้อขายในตลาดอนุพันธ์ ราคาเสนอซื้อขายของ นายหน้า/ตัวแทน หรือราคาเสนอซื้อขายจากคู่สัญญา ตราสารอนุพันธ์เพื่อการบริหารความเสี่ยงของธนาคารฯ (Banking book) ที่มีลักษณะของดอกเบี้ย บันทึกตามวิธีเกณฑ์คงค้างเช่นเดียวกับ สินทรัพย์หรือหนี้สินที่ถูกป้องกันความเสี่ยง คือรับรู้รายได้ดอกเบี้ยหรือค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญา ส่วนรายการ ที่มีลักษณะของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจะบันทึกบัญชีโดยแปลงค่าด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด กำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น จากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน และทยอยรับรู้ผลต่างระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาซื้อขายล่วงหน้ากับ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันทำสัญญาเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามอายุของสัญญา

4.16 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราซื้อขายที่ธนาคารฯ กำหนดขึ้น ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงตามประกาศของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันนั้น กำไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน งบการเงินของสาขาต่างประเทศของธนาคารฯ แปลงค่าเป็นเงินบาทด้วยอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันสิ้นงวด ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่าบันทึกไว้เป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้นจนกว่าจะมีการจำหน่ายเงิน ลงทุนนั้นออกไป ยกเว้นสาขาเคย์แมน รับรู้ผลกำไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่างบการเงินของสาขาดังกล่าวในงบกำไรขาดทุน

4.17 ผลประโยชน์พนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคม และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง 4.18 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ รายจ่ายสำหรับโครงการจ่ายโบนัสในรูปแบบของหุ้นสามัญสำหรับพนักงานธนาคารฯ (โครงการฯ) รับรู้เมื่อได้รับบริการจากพนักงานแล้ว โดยธนาคารฯ วัดมูลค่าของรายจ่ายโครงการฯ โดยอ้างอิงกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให้ ณ วันที่ให้สิทธิ มูลค่ายุติธรรมของตราสารทุน ใช้ราคาเสนอซื้อครั้งสุดท้ายของหลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายจ่ายโครงการฯรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนโดยในขณะเดียวกันบันทึกเป็นส่วนเพิ่มใน “ทุนสำรองอื่น-การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์” ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตลอดระยะเวลาที่พนักงานต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขผลสำเร็จของงาน และ/หรือ เงื่อนไขของระยะเวลาการให้บริการโดยพนักงาน ที่กำหนดไว้ ในโครงการฯ ธนาคารฯ รับรู้รายจ่ายโครงการฯ สะสม ทุกวันที่ในงบดุลจนถึงวันที่ ได้รับสิทธิ โดยอ้างอิงตามจำนวนหุ้นสามัญที่


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

139

คาดว่าจะได้รับสิทธิทีป่ ระมาณการอย่างดีที่สุดโดยฝ่ายบริหารของธนาคารฯ การเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายโครงการฯสะสม ณ วันต้นงวดและวันสิน้ งวด รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายหรือโอนกลับค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน

4.19 ภาษีเงินได้ ธนาคารฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวข้อง 4.20 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับธนาคารฯ และบริษัทย่อย หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมธนาคารฯ หรือถูกธนาคารฯ ควบคุม ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับธนาคารฯ และบริษัทย่อย นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึ่งมีอิทธิพลอย่าง เป็นสาระสำคัญต่อธนาคารฯ และบริษัทย่อย ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของธนาคารฯ และบริษัทย่อย ที่มีอำนาจในการวางแผน และควบคุมการดำเนินงานของธนาคารฯ และบริษัทย่อย ตลอดทั้งสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลดังกล่าวและกิจการที่บุคคลดังกล่าวมี อำนาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม

5.

การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่มีความไม่แน่นอน เสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้

5.1

มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับหรือไม่สามารถหาราคาได้ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหาร ได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยคำนวณตามหลักเกณฑ์การประเมินมูลค่าที่เป็นที่ยอมรับกัน ทั่วไป ซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณมูลค่ายุติธรรมมาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคำนึงถึงสภาพคล่อง และข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว

5.2

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับเกิดจากการปรับมูลค่าของเงินให้สินเชื่อและลูกหนี้จากความเสี่ยงด้านเครดิตที่อาจเกิดขึ้น ฝ่ายบริหารได้ใช้หลักเกณฑ์การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของ ธปท. ซึ่งรวมถึงการใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก เงินให้สินเชื่อเมื่อลูกหนี้มีปัญหาในการจ่ายชำระคืนเงินต้นและ/หรือดอกเบี้ย โดยใช้การวิเคราะห์สถานะของลูกหนี้รายตัว ประวัติการชำระหนี้ของ ลูกหนี้ ประสบการณ์ ในการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ มูลค่าของหลักประกันและสภาวะเศรษฐกิจแวดล้อม อย่างไรก็ตาม การใช้ประมาณการและ ข้อสมมติฐานที่แตกต่างกัน อาจมีผลต่อจำนวนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ดังนั้นการปรับปรุงค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอาจมีขึ้นได้ในอนาคต

5.3

ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจะตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื่อฝ่ายบริหารใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำคัญและเป็นระยะเวลานานหรือเมื่อมีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า การที่จะสรุปว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าว ได้ลดลงอย่างมีสาระสำคัญหรือเป็นระยะเวลานานหรือข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าหรือไม่นั้นจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร


140

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

5.4

ค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขาย ธนาคารฯ และบริษัทย่อยพิจารณาค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขายเมื่อพบว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของทรัพย์สินมีมูลค่าลดลง กว่ามูลค่าตามบัญชี ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนจากการด้อยค่าโดยพิจารณาจากราคาประเมินล่าสุดของทรัพย์สิน ประเภทและคุณลักษณะของทรัพย์สินและแผนการขายทรัพย์สินรอการขาย อย่างไรก็ตาม การใช้ประมาณการและข้อสมมติฐานที่แตกต่างกันอาจ มีผลต่อค่าเผื่อการด้อยค่าได้ ดังนั้นการปรับปรุงค่าเผื่อการด้อยค่าอาจมีขึ้นในอนาคต

5.5

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา ในการคำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องทำการประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมื่อเลิกใช้งานของอาคาร และอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น ธนาคารฯ แสดงมูลค่าของที่ดินและอาคารด้วยราคาที่ตีใหม่ ซึ่งราคาที่ตีใหม่นี้ได้จากการประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระ โดยใช้เกณฑ์ราคาตลาด สำหรับสินทรัพย์ประเภทที่ดินและเกณฑ์ราคาต้นทุนเปลี่ยนแทนหลังหักค่าเสื่อมราคาสำหรับสินทรัพย์ประเภทอาคาร ซึ่งการประเมินมูลค่าดังกล่าว ต้องอาศัยข้อสมมติฐานและการประมาณการบางประการ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่า มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น

5.6

การรับรู้หรือตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สิน ในการพิจารณาการรับรู้หรือการตัดบัญชีสินทรัพย์และหนี้สินออกจากบัญชี ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาว่าธนาคารฯ และ บริษัทย่อยได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ ในสินทรัพย์และหนี้สินดังกล่าวแล้วหรือไม่ ถึงแม้ว่าฝ่ายบริหารจะได้ใช้ดุลยพินิจและข้อมูล ที่ดีที่สุดในสภาวะปัจจุบันในการประเมินความเสี่ยงและผลประโยชน์ ความเสี่ยงและผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจริงนั้นอาจแตกต่างไปจากที่ประมาณไว้

5.7

การถูกเรียกร้อง คดีฟ้องร้องและการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจาก (ก) การถูกเรียกร้อง (ข) การถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย และ (ค) ส่วนแบ่งผลขาดทุนจาก การโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจและข้อสมมติฐานหลายประการในการรับรู้ประมาณการหนี้สินในงบดุล อย่างไรก็ตาม ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากที่ได้มีการประมาณการไว้

6.

การโอนขายสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (“บสท.”) ตามเงื่อนไขของพระราชกำหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ ไทย พ.ศ. 2544 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ทำสัญญาโอนสินทรัพย์ กับ บสท. ในปี 2544 โดยธนาคารฯ และบริษัทย่อย (ในฐานะผู้โอน) ขายสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่ บสท. (ในฐานะผู้รับโอน) และได้รับชำระราคาโอนเป็นตั๋วสัญญา ใช้เงินจาก บสท. จากการโอนสินทรัพย์ดังกล่าว บสท. และผู้โอนจะต้องแบ่งปันผลกำไรหรือขาดทุนจากการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของ บสท. ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ณ สิ้นปีที่ 5 และสิ้นปีที่ 10 นับแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2544 ดังต่อไปนี้ กรณีที่มีผลขาดทุน ผลขาดทุนส่วนแรกจำนวนไม่เกินร้อยละ 20 ของราคาโอน ผู้โอนจะเป็นผู้รับผลขาดทุน ส่วนที่สองจำนวนไม่เกินร้อยละ 20 ของราคาโอน บสท. และผู้โอนจะแบ่งกันคนละครึ่ง ผลขาดทุนส่วนที่เหลือ บสท. จะรับไปทั้งหมด


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

141

กรณีที่มีผลกำไร ผลกำไรส่วนแรกจำนวนไม่เกินร้อยละ 20 ของราคาโอน บสท. และผู้โอนจะแบ่งกันคนละครึ่ง ทั้งนี้หากยังคงมีกำไรเหลืออีก ผู้โอนจะได้รับผลกำไรส่วนหลังนี้ในจำนวนที่ไม่เกินมูลหนี้ตามบัญชีหักด้วยราคาโอนและผลกำไรส่วนแรก ในปี 2549 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้รับแจ้งข้อมูลการแบ่งปันผลกำไรขาดทุนเบื้องต้นจาก บสท. ณ สิ้นสุดปีที่ 5 โดยธนาคารฯ และบริษัทย่อย มีผลขาดทุนจากการบริหารสินทรัพย์ที่โอนจำนวน 730 ล้านบาท นอกจากนี้ ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ธนาคารฯ ได้รับแจ้งจาก บสท. โดย บสท. ขอปรับราคาโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพส่วนที่มีเครื่องจักรจำนำเป็นหลักประกันจำนวน 4,341 ล้านบาท ซึ่งธนาคารฯ ได้ปฏิเสธรายการ ดังกล่าว เนื่องจากเป็นการปฏิบัติที่ ไม่เป็นไปตามสัญญาโอนสินทรัพย์ ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2544 จึงไม่มีผลบังคับตามกฎหมาย และธนาคารฯ ได้ดำเนินคดีตามกฎหมายกับ บสท. แล้ว ต่อมาเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 ศาลชั้นต้นได้มีคำพิพากษาให้ธนาคารฯ ชนะคดี ขณะนี้คดีอยู่ใน กระบวนการของศาลอุทธรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยประมาณการผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่ บสท. จากรายการข้างต้น คิดเป็นจำนวนเงินรวม 6,235 ล้านบาท และ 6,178 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : จำนวน 6,205 ล้านบาท และ 6,140 ล้านบาท ตามลำดับ) โดยมีรายละเอียดที่สำคัญต่อไปนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ประเมินมูลค่าปัจจุบันของผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการปันส่วนผลขาดทุน จากการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของ บสท. ณ สิ้นปีที่ 10 คิดเป็นจำนวน 1,618 ล้านบาท และ 1,561 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : จำนวน 1,588 ล้านบาท และ 1,523 ล้านบาท ตามลำดับ) ซึ่งพิจารณาจากรายงานผลการบริหารสินทรัพย์ของ บสท. และข้อมูลเกี่ยวกับการ บริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของธนาคารฯ ในอดีต โดยอัตราคิดลดที่ใช้ในการคำนวณหามูลค่าปัจจุบันของผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตเท่ากับผลตอบแทนของสินทรัพย์หรือตราสารทางการเงินที่มีความเสี่ยงคล้ายกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ ได้ประมาณการหนี้สินผลขาดทุนจากการขอปรับราคาโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพส่วนที่มี เครื่องจักรจำนำเป็นหลักประกันจำนวน 4,617 ล้านบาท (รวมดอกเบี้ยจำนวน 276 ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ ได้บันทึกมูลค่าปัจจุบันของผลขาดทุนที่คาดว่าจะได้รับปันส่วนจาก บสท.โดยรับรู้ เป็นดอกเบี้ยจ่ายในงบกำไรขาดทุนจำนวน 65 ล้านบาท และ 12 ล้านบาท ตามลำดับ

7.

บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด (“บบส. พญาไท” หรือ “บริษัทย่อย”) ซึ่งธนาคารฯ ถือหุ้นในอัตราประมาณร้อยละ 100 ของทุนชำระแล้ว ของบริษัทย่อยดังกล่าว บริษัทย่อยได้ดำเนินการจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2543 และได้จดทะเบียนกับธนาคาร แห่งประเทศไทย เพื่อประกอบธุรกิจการเงินเป็นบริษัทบริหารสินทรัพย์ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 เงื่อนไขในการโอนขายสินทรัพย์คือ ธนาคารฯ (ในฐานะผู้โอน) จะดำเนินการส่งมอบเอกสารสินทรัพย์ ให้แก่บริษัทย่อย (ในฐานะผู้รับโอน) ภายใน 30 วัน นับจากวันโอนสินทรัพย์ (วันที่ที่ระบุในหนังสือโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ) เว้นแต่คู่สัญญาจะตกลงขยายระยะเวลาออกไป ทั้งนี้ผู้โอนหรือ ผู้รับโอนมีสิทธิปรับปรุงราคาสินทรัพย์ ได้ โดยจะต้องดำเนินการภายในระยะเวลา 180 วันนับแต่วันโอนสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ ยังมีภาระผูกพันที่ต้องโอนสิทธิจำนองในหลักประกันของทรัพย์สินที่โอนขายดังกล่าว


142

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

7.1 การขายสินทรัพย์ของบบส. พญาไท ให้แก่ บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด 7.1.1 การโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพและการปรับราคาโอน เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2546 บบส. พญาไท ได้ทำสัญญาซื้อขายสินทรัพย์กับบริษัทบริหารสินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (“บสก.”) โดยกำหนด วันโอนสินทรัพย์คือวันที่ 30 กันยายน 2546 ทั้งนี้ การโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพและหลักประกันเป็นไปตามพระราชกำหนดบริษัทบริหาร สินทรัพย์ พ.ศ. 2541 โดยกำหนดราคาโอนสินทรัพย์ตามข้อตกลงของบริษัทย่อย และ บสก. ณ วันโอน บสก.ได้ชำระราคาโอนสินทรัพย์ ให้แก่บริษัทย่อย เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินประเภทเปลี่ยนมือได้ ออกให้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2546 เป็นจำนวน 19,533 ล้านบาท ซึ่งเป็นราคาโอนลูกหนี้ด้อยคุณภาพจำนวน 16,634 ล้านบาท (สินทรัพย์กลุ่มที่หนึ่งและกลุ่มที่สอง) และราคาโอนทรัพย์สินรอ การขายจำนวน 2,899 ล้านบาท (สินทรัพย์กลุ่มที่สาม) วันครบกำหนดชำระคืนเงินต้นตามตั๋วสัญญาใช้เงินคือวันที่ 30 กันยายน 2558 โดยมี อัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราเฉลี่ยของดอกเบี้ยเงินฝากถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักเงินฝากทุกประเภทเฉพาะที่เป็นเงินบาทของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ 5 แห่ง โดยดอกเบี้ยงวดแรกจะชำระในวันครบรอบปีที่ 6 นับจากวันที่ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน และงวดถัดไปจะชำระเมื่อครบกำหนด 1 ปี หลังจาก วันที่ชำระดอกเบี้ยงวดแรกไปจนถึงวันครบกำหนดของตั๋วสัญญาใช้เงิน ทั้งนี้ห้ามมิให้ บบส. พญาไท สลักหลังโอนตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับบุคคลใดๆ เว้นแต่เป็นการสลักหลังให้กับธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เท่านั้น หาก บสก.เลิกกิจการก่อนวันที่ตั๋วสัญญาใช้เงินครบกำหนด บสก. จะต้องโอนสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาซื้อขายและตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ นิติบุคคลที่บบส. พญาไท ให้ความเห็นชอบ บบส. พญาไท หรือ บสก. มีสิทธิปรับปรุงราคาสินทรัพย์ภายในระยะเวลา 180 วันนับแต่วันโอนสินทรัพย์ โดยบบส. พญาไท หรือ บสก. จะออกเป็น ตั๋วสัญญาใช้เงินเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงราคาดังกล่าว การโอนขายสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้กับ บสก. ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2546 จนถึง ณ วันสิ้นปี 2548 บบส. พญาไท ได้โอนขายสินทรัพย์ประเภท เงินลงทุนในลูกหนี้ เงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ทั้งที่มีหลักประกันและไม่มีหลักประกัน ทรัพย์สินรอการขาย และสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมให้กับ บสก. อีกจำนวน 179 ล้านบาท คิดเป็นราคาโอนรวมทั้งสิ้น 19,712 ล้านบาท โดยบบส. พญาไท ได้รับชำระราคาสินทรัพย์ที่โอนเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินประเภท เปลี่ยนมือได้และได้สลักหลังตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าวทั้งจำนวนโดยโอนให้กับธนาคารฯ เพื่อชำระเงินกู้ยืมระยะยาวที่บบส. พญาไท มีต่อธนาคารฯ บบส. พญาไท และบสก. ได้ดำเนินการปรับปรุงราคาขายระหว่างกันและรับคืนลูกหนี้ด้อยคุณภาพ และทรัพย์สินรอการขายเนื่องจากสาเหตุต่างๆ จนถึงสิ้นปี 2548 เป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 1,011 ล้านบาท ทั้งนี้ บบส. พญาไท ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บสก. จำนวนประมาณ 1,011 ล้านบาท เพื่อชำระการปรับราคาโอนและรับคืนสินทรัพย์ดังกล่าว ปัจจุบัน บบส. พญาไท รอออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บสก. จำนวน 4 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลต่าง ราคาจากการขายทรัพย์สินรอการขายในปี 2546 บบส. พญาไท ได้รับรู้ดอกเบี้ยจ่ายตั๋วสัญญาใช้เงินที่ออกให้แก่บสก.แล้ว สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นจำนวนเงินรวม 7 ล้านบาท และ 9 ล้านบาท ตามลำดับ โดยแสดงเป็นค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยในงบกำไรขาดทุน ในปี 2549 บบส. พญาไท และบสก. มีการจัดทำบันทึกการประชุมเกี่ยวกับรายละเอียดในการคำนวณค่าเสียหายที่บบส.พญาไท ต้องชดใช้ให้กับ บสก. ตามสัญญาซื้อขายสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ซึ่งทั้งสองฝ่ายตกลงจะขอให้มีการพิจารณาชดใช้ความเสียหายกันภายในสิ้นปีที่หก หรือสิ้นปี ที่สิบสอง โดยใช้วิธีหักกลบลบหนี้กับจำนวนเงินที่ บสก.จะต้องชำระตามตั๋วสัญญาใช้เงินตามที่ระบุในสัญญาซื้อขาย ลงวันที่ 3 กันยายน 2546 7.1.2 วิธีการคำนวณการแบ่งปันผลกำไรหรือขาดทุนจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่ บสก. การคำนวณกำไรขาดทุนจากการบริหารสินทรัพย์คำนวณจากมูลค่าสินทรัพย์ที่เรียกเก็บได้ซึ่งสะสมเฉพาะกรณีที่ลูกหนี้ ได้ชำระหนี้เสร็จสิ้นแล้ว ตามเกณฑ์เงินสดจนถึงวันคำนวณหักด้วยราคาสินทรัพย์ที่รับโอนและค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของบสก.ที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ที่รับโอนรวมทั้ง


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

143

ดอกเบี้ยของตั๋วสัญญาใช้เงิน และเมื่อสิ้นปีที่หกและสิ้นปีที่สิบสองนับแต่วันโอนสินทรัพย์ ให้รวมผลการบริหารงานสำหรับสินทรัพย์ที่บสก. รับโอนจาก บบส. พญาไท ตามสัญญานี้แล้วนำผลกำไรขาดทุนมาแบ่งปันระหว่าง บสก. กับ บบส. พญาไท ในกรณีที่มีการตีโอนทรัพย์สินชำระหนี้ ให้นับเฉพาะกรณีที่ได้จำหน่ายทรัพย์สินนั้นเพื่อชำระหนี้จนเสร็จสิ้นแล้วเท่านั้น การแบ่งปันผลกำไรขาดทุนจากการโอนสินทรัพย์ บบส. พญาไท และ บสก. ตกลงกันว่าการแบ่งปันผลกำไรขาดทุนจากการบริหารสินทรัพย์ เฉพาะสินทรัพย์กลุ่มที่หนึ่งและกลุ่มที่สองโดยให้มีการคำนวณเมื่อสิ้นปีที่หกและสิ้นปีที่สิบสองนับแต่วันโอนสินทรัพย์ กรณีที่มีผลกำไรสำหรับสินทรัพย์กลุ่มที่หนึ่งและกลุ่มที่สอง ผลกำไรส่วนแรกจำนวนไม่เกินร้อยละยี่สิบของราคาโอนสินทรัพย์ ให้บบส. พญาไท และบสก.แบ่งกันในอัตราร้อยละ 1:1 ผลกำไรส่วนที่เหลือ บบส. พญาไท จะได้รับทั้งหมด แต่ไม่เกินส่วนต่างระหว่างมูลค่าทางบัญชีและราคาโอนของ สินทรัพย์ ทั้งนี้หากมีผลกำไรส่วนที่เหลือเกินกว่าส่วนต่างดังกล่าวให้ บสก. ไปทั้งหมด กรณีที่มีผลขาดทุนสำหรับสินทรัพย์กลุ่มที่หนึ่ง บบส. พญาไท จะเป็นผู้รับผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบแรกและผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบ ถัดไปนั้น บบส. พญาไท และบสก.จะแบ่งรับไปในอัตรา 1:1 ส่วนผลขาดทุนที่เหลือให้บสก.เป็นผู้รับไปทั้งหมด กรณีที่มีผลขาดทุนสำหรับสินทรัพย์กลุ่มที่สอง (ก)

ในกรณีราคารับโอนไม่มีส่วนลด บบส. พญาไท จะเป็นผู้รับผลขาดทุนในอัตราร้อยละสามสิบแรก และผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบถัดไปนั้น บบส. พญาไท และบสก.จะแบ่งรับไปในอัตรา 1:1 ส่วนผลขาดทุนที่เหลือให้บสก.เป็นผู้รับไปทั้งหมด

(ข)

ในกรณีราคารับโอนมีส่วนลดร้อยละห้า บบส. พญาไท จะเป็นผู้รับผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบห้าแรก และผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบ ถัดไปนั้น บบส.พญาไทและบสก.จะแบ่งรับไปในอัตรา 1:1 ส่วนผลขาดทุนที่เหลือให้ บสก.เป็นผู้รับไปทั้งหมด

(ค)

ในกรณีราคารับโอนมีส่วนลดร้อยละสิบ บบส. พญาไท จะเป็นผู้รับผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบแรก และผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบ ถัดไปนั้น บบส. พญาไท และบสก.จะแบ่งรับไปในอัตรา 1:1 ส่วนผลขาดทุนที่เหลือให้ บสก.เป็นผู้รับไปทั้งหมด

(ง)

ในกรณีราคารับโอนมีส่วนลดร้อยละสิบห้า บบส. พญาไท จะเป็นผู้รับผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบแรก และผลขาดทุนในอัตราร้อยละยี่สิบ ถัดไปนั้น บบส. พญาไท และบสก.จะแบ่งรับไปในอัตรา 1:1 ส่วนผลขาดทุนที่เหลือให้ บสก.เป็นผู้รับไปทั้งหมด

7.1.3 ประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บบส. พญาไท ไม่มียอดคงค้างประมาณการหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่ บสก. เนื่องจาก บบส. พญาไท ได้ตกลงที่จะชำระผลขาดทุนแก่ บสก. ก่อนครบกำหนดสัญญาตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 7.1.4 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บบส. พญาไท ได้ประเมินมูลค่าปัจจุบันของผลขาดทุนที่คาดว่าจะได้รับการปันส่วนจาก บสก. ณ สิ้นปีที่สิบสองจำนวน 3,586 ล้านบาท ซึ่งพิจารณาจากรายงานผลการบริหารสินทรัพย์ของ บสก. และข้อมูลที่เกี่ยวกับการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของธนาคารฯ ในอดีต โดยอัตราคิดลดที่ใช้ ในการคำนวณหามูลค่าปัจจุบันของผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตเท่ากับผลตอบแทนของสินทรัพย์ หรือ ตราสารทางการเงินที่มีความเสี่ยงเช่นเดียวกัน จากการประเมินการแบ่งผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้น บบส.พญาไท จึงบันทึก เงินสดรับในระหว่างงวดจากการแบ่งปันผลกำไรเบื้องต้นจากบสก. ณ สิ้นสุดปีที่ 6 จำนวน 74 ล้านบาท เป็นส่วนหนึ่งของประมาณการหนี้สินจาก การโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ


144

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บบส.พญาไทได้บันทึกประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพเพิ่มขึ้นจากการ รับรู้ดอกเบี้ยจ่ายจำนวน 190 ล้านบาทและ 196 ล้านบาท ตามลำดับ ในงบกำไรขาดทุน

7.1.4 บันทึกข้อตกลงการแบ่งปันผลกำไรหรือขาดทุนจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่ บสก. ก่อนสิ้นปีที่สิบสอง เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 บบส.พญาไท และ บสก. ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับการแบ่งปันผลกำไรหรือขาดทุนระหว่างกันก่อนสิ้นปีที่ สิบสอง นับแต่วันทำสัญญาซื้อขายสินทรัพย์ โดยบบส.พญาไทยินยอมจ่ายชำระผลขาดทุนจำนวน 3,020 ล้านบาทให้แก่ บสก. และชำระคืนหนี้ ตั๋วสัญญาใช้เงินให้ที่ออกให้กับ บสก. จำนวนประมาณ 1,011 ล้านบาท จากการปรับราคาโอนและรับคืนสินทรัพย์ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อที่ 7.1.2 โดยหักกลบกับตั๋วสัญญาใช้เงินที่บสก.ต้องจ่ายชำระให้บบส.พญาไท จำนวนรวมทั้งสิ้น 19,712 ล้านบาท คงเหลือตั๋วสัญญาใช้เงิน ที่ บสก.ต้องจ่ายชำระให้บบส.พญาไท จำนวน 15,681 ล้านบาท โดยเป็นการออกตั๋วสัญญาใช้เงินฉบับใหม่โดยมีอายุของตั๋วสัญญาใช้เงินคงเหลือ เท่ากับฉบับเดิมและมีเงื่อนไขการชำระดอกเบี้ยและอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเดิมทุกประการ ทั้งนี้ บบส.พญาไท ได้สลักหลังตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าว ทั้งจำนวนและโอนให้กับธนาคารฯ เพื่อชำระเงินกู้ยืมที่มีต่อธนาคารฯ แล้วในวันที่ 28 ธันวาคม 2553 จากผลของบันทึกข้อตกลงดังกล่าว เป็นผลให้ ข้อตกลงในการแบ่งปันผลกำไรหรือขาดทุนระหว่าง บบส.พญาไท กับบสก. ตามสัญญาซื้อขายสินทรัพย์ฉบับลงวันที่ 3 กันยายน 2546 เป็นอันสิ้นสุดลง บบส.พญาไทจึงบันทึกโอนกลับประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่คงเหลืออยู่จำนวน 830 ล้านบาท ในงบกำไรขาดทุน 7.2

สัญญาปรับโครงสร้างหนี้ระหว่างธนาคารฯ และบบส.พญาไท เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ ได้ทำสัญญาปรับโครงสร้างหนี้กับบบส.พญาไท (บริษัทย่อย) เพื่อลดหนี้จำนวน 4,031 ล้านบาทให้แก่บริษัทย่อย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระราคาโอนสินทรัพย์ระหว่างบบส.พญาไท กับ บสก. ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อที่ 7.1.4 ผลของสัญญาดังกล่าวทำให้ธนาคารฯ บันทึกผลขาดทุนจากการลดหนี้จำนวน 4,031 ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนภายใต้ หัวข้อ “กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทย่อย”


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

8.

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

145

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) (หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 เมื่อ ทวงถาม มีระยะเวลา

ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยและกองทุนฟื้นฟูฯ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารอื่น บริษัทเงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ สถาบันการเงินอื่น รวมในประเทศ บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินในประเทศ - สุทธิ ต่างประเทศ เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินเยน เงินสกุลอื่น รวมต่างประเทศ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินต่างประเทศ - สุทธิ ในประเทศและต่างประเทศ - สุทธิ

31 ธันวาคม 2552 รวม

เมื่อ ทวงถาม มีระยะเวลา

รวม

4,116 34 -

4,400 36,683 30,571

8,516 36,717 30,571

2,852 35 -

7,800 32,071 19,260

10,652 32,106 19,260

35 4,185 4,185

356 5,040 77,050 89 (55) 77,084

356 5,075 81,235 89 (55) 81,269

31 2,918 2,918

208 59,339 182 (397) 59,124

239 62,257 182 (397) 62,042

1,142 111 744 1,997 1,997 6,182

1,326 40 1,366 (7) 1,359 78,443

2,468 111 784 3,363 (7) 3,356 84,625

2,651 282 414 3,347 3,347 6,265

1,178 48 1,226 1,226 60,350

3,829 282 462 4,573 4,573 66,615


146

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 เมื่อ ทวงถาม มีระยะเวลา

ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยและกองทุนฟื้นฟูฯ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารอื่น บริษัทเงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ สถาบันการเงินอื่น รวมในประเทศ บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินในประเทศ - สุทธิ ต่างประเทศ เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินเยน เงินสกุลอื่น รวมต่างประเทศ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินต่างประเทศ - สุทธิ ในประเทศและต่างประเทศ - สุทธิ

31 ธันวาคม 2552 รวม

เมื่อ ทวงถาม มีระยะเวลา

รวม

4,116 34 -

4,400 36,537 30,523

8,516 36,571 30,523

2,852 34 -

7,800 31,902 19,260

10,652 31,936 19,260

35 4,185 4,185

356 5,040 76,856 89 (55) 76,890

356 5,075 81,041 89 (55) 81,075

31 2,917 2,917

208 59,170 182 (397) 58,955

239 62,087 182 (397) 61,872

1,142 111 744 1,997 1,997 6,182

1,326 40 1,366 (7) 1,359 78,249

2,468 111 784 3,363 (7) 3,356 84,431

2,651 282 414 3,347 3,347 6,264

1,178 48 1,226 1,226 60,181

3,829 282 462 4,573 4,573 66,445


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

9.

เงินลงทุน

9.1

จำแนกตามประเภทของเงินลงทุน

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

147

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 ราคาทุน/ มูลค่า ราคาตามบัญชี ยุติธรรม

เงินลงทุนชั่วคราว หลักทรัพย์เพื่อค้า หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ หัก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หลักทรัพย์เพื่อค้า - สุทธิ หลักทรัพย์เผื่อขาย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ในประเทศ รวม บวก(หัก): ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาว หลักทรัพย์เผื่อขาย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ รวม บวก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดสุทธิ เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด ในประเทศ ต่างประเทศ รวม หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนทั่วไป - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ

31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน/ มูลค่า ยุติธรรม ราคาตามบัญชี

1,866 1,866

1,866 1,866

1,804 (1) 1,803

1,803 1,803

41,286 50 161 41,497 (2) (50) 41,445

41,283 162 41,445 41,445

35,747 50 35,797 13 (50) 35,760

35,760 35,760 35,760

2,938 2,938 46,249

14,318 309 14,627 64 (95) 14,596

21,802 21,802 59,365

14,318 278 14,596 14,596

7,738 342 8,080 40 (100) 8,020

31,894 31,894

12,188 12,188

2,712 32 2,744 (945) 1,799 48,289

3,266 32 3,298 (1,148) 2,150 22,358

7,756 264 8,020 8,020


148

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท)

เงินลงทุนชั่วคราว หลักทรัพย์เพื่อค้า หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ หัก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หลักทรัพย์เพื่อค้า - สุทธิ หลักทรัพย์เผื่อขาย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน รวม บวก(หัก): ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาว หลักทรัพย์เผื่อขาย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ รวม บวก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดสุทธิ เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด ในประเทศ ต่างประเทศ รวม หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนทั่วไป - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน/ มูลค่า ราคาทุน/ มูลค่า ราคาตามบัญชี ยุติธรรม ราคาตามบัญชี ยุติธรรม

1,866 1,866

1,866 1,866

1,804 (1) 1,803

1,803 1,803

41,286 50 41,336 (3) (50) 41,283

41,283 41,283 41,283

35,747 50 35,797 13 (50) 35,760

35,760 35,760 35,760

2,796 2,796 45,945

14,318 309 14,627 64 (95) 14,596

21,802 21,802 59,365

14,318 278 14,596 14,596

7,738 330 8,068 31 (95) 8,004

31,405 31,405

11,540 11,540

2,711 32 2,743 (945) 1,798 47,799

3,266 32 3,298 (1,148) 2,150 21,694

7,756 248 8,004 8,004


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

149

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีตั๋วสัญญาใช้เงินประเภทเปลี่ยนมือไม่ได้อาวัลโดยกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและ พัฒนาระบบสถาบันการเงินซึ่งธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้รับจากบรรษัทบริหารสินทรัพย์ ไทย (“บสท.”) เพื่อการชำระราคาโอนลูกหนี้และได้จัด ประเภทเป็นตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด จำนวน 8,495 ล้านบาท และ 8,869 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : จำนวน 7,864 ล้านบาท และ 8,221 ล้านบาท ตามลำดับ) โดยมีวันครบกำหนดชำระคืนในปี 2554 - 2558 และมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราเฉลี่ยของดอกเบี้ยเงินฝากเฉลี่ย ของธนาคารพาณิชย์ ไทยขนาดใหญ่ 5 แห่ง กำหนดชำระดอกเบี้ย ณ วันทำการสุดท้ายของปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ มีพันธบัตรที่ใช้วางเป็นประกันต่อศาล โดยมีมูลค่าที่ตราไว้จำนวน 29 ล้านบาท และ 11 ล้านบาท ตามลำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ มีหลักทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักประกันการทำธุรกรรมสัญญาซื้อคืนโดยมีมูลค่าที่ตราไว้จำนวน 10,749 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2552: ไม่มี)

9.2 จำแนกตามระยะเวลาคงเหลือของตราสารหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่มิได้ถือเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า ซึ่งจำแนกตามระยะเวลา คงเหลือของตราสารหนี้ได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 ครบกำหนดภายในระยะเวลา า รวม 1 ปี 1-5 ปี มากกว่ 5 ปี หลักทรัพย์เผื่อขาย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน รวม บวก(หัก): ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด รวมตราสารหนี้

41,286 14,318 50 41,336 14,318 (3) (50) 41,283 14,318

31 ธันวาคม 2552 ครบกำหนดภายในระยะเวลา า รวม 1 ปี 1-5 ปี มากกว่ 5 ปี

- 55,604 35,747 50 50 - 55,654 35,797 (3) 13 (50) (50) - 55,601 35,760

7,738 7,738 18 7,756

- 43,485 50 - 43,535 31 (50) - 43,516

2,938 20,185 11,709 34,832 21,802 8,854 2,938 20,185 11,709 34,832 21,802 8,854 44,221 34,503 11,709 90,433 57,562 16,610

3,334 33,990 3,334 33,990 3,334 77,506


150

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 ครบกำหนดภายในระยะเวลา ครบกำหนดภายในระยะเวลา มากกว่ า า รวม 1 ปี 1-5 ปี รวม 1 ปี 1-5 ปี มากกว่ 5 ปี 5 ปี หลักทรัพย์เผื่อขาย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน รวม บวก(หัก): ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด รวมตราสารหนี้

41,286 50 41,336 (3) (50) 41,283

14,318 14,318 14,318

-

55,604 50 55,654 (3) (50) 55,601

35,747 50 35,797 13 (50) 35,760

7,738 7,738 18 7,756

-

43,485 50 43,535 31 (50) 43,516

2,796 2,796 44,079

19,696 19,696 34,014

11,709 11,709 11,709

34,201 34,201 89,802

21,802 21,802 57,562

8,206 8,206 15,962

3,334 3,334 3,334

33,342 33,342 76,858

9.3 เงินลงทุนของกิจการที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ มีเงินลงทุนในกิจการที่ธนาคารฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไปของทุนชำระแล้วของกิจการ ดังกล่าวที่ไม่เข้าข่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม สรุปได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ กองทุนรวมและกลุ่มธุรกิจทางการเงิน อื่นๆ รวม หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุน - สุทธิ

31 ธันวาคม 2553 34 45 1,091 11 1,181 (41) 1,140

31 ธันวาคม 2552 34 45 1,290 11 1,380 (45) 1,335


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

151

9.4 เงินลงทุนในบริษัทที่มีปัญหาเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ มีเงินลงทุนในบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายถูกเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตราสารหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ บริษัทที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานต่อเนื่องของกิจการและบริษัทอื่นที่มี ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินเช่นเดียวกับบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายถูกเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน/ราคา ตามบัญชี

1. บริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายถูกเพิกถอนจากการ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนและตราสารหนี้ที่ผิด นัดชำระหนี้ 2. บริษัทที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานต่อเนื่อง ของกิจการและบริษัทอื่นที่มีผลการดำเนินงานและ ฐานะการเงิ น เช่ น เดี ย วกั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ เ ข้ า ข่ายถูกเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน รวม

9.5

มูลค่า ยุติธรรม

ค่าเผื่อ การด้อยค่า

ราคาทุน/ราคา ตามบัญชี

มูลค่า ยุติธรรม

ค่าเผื่อ การด้อยค่า

62

-

(62)

62

-

(62)

1,480 1,542

547 547

(933) (995)

1,576 1,638

439 439

(1,137) (1,199)

ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนมีดังต่อไปนี้

2553

2552

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552

19 68

39 28

19 67

39 20

87

67

86

59

(18)

(3)

(18)

(3)

(3) (21) 66

(6) (9) 58

(3) (21) 65

(6) (9) 50

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ตราสารหนี้ ตราสารทุน รวม ส่วนต่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ตราสารหนี้ ตราสารทุน รวม ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน - สุทธิ


152

9.6

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน (ไม่รวมที่เกิดจากบริษัทย่อยซึ่งแสดงแยกต่างหากในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 9.7) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน หลักทรัพย์เพื่อค้า หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป เงินลงทุนในบริษัทร่วม รวมกำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน ขาดทุนจากการจำหน่ายเงินลงทุน หลักทรัพย์เพื่อค้า หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป เงินลงทุนในบริษัทร่วม รวมขาดทุนจากการจำหน่ายเงินลงทุน ขาดทุนจากการปรับมูลค่า ขาดทุนจากการด้อยค่า กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน

9.7

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

12 157 238

85 775 287 1 1,148

69 157 8 234

85 775 286 18 1,164

(56) (11) (67) (14) 157

(130) (92) (1) (1) (224) (7) (903) 14

(56) (56) (226) (48)

(130) (92) (1) (223) (7) (903) 31

69

กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทย่อย กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทย่อยสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

ขาดทุนจากการด้อยค่า ขาดทุนจากการลดหนี้ให้บริษัทย่อย (หมายเหตุ 7.2) โอนกลับค่าเผื่อการด้อยค่า กำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทย่อย

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 (921) (4,031) 4,171 140 (921)

ณ วันที่ในงบดุล ฝ่ายบริหารของธนาคารฯ ได้พิจารณาและเห็นว่าบบส.พญาไท มีฐานะทางการเงินที่ดีขึ้น และคาดว่าจะมีความสามารถในการ ทำกำไรเพิ่มขึ้นภายหลังจากการชำระผลขาดทุนจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพให้แก่ บสก. ซึ่งเป็นข้อบ่งชี้ของการกลับรายการด้อยค่า ของเงินลงทุน ธนาคารฯ จึงโอนกลับค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนใน บบส.พญาไท ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปี 2553


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

153

10. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 (ปรับปรุงใหม่)

ยอดคงเหลือ ณ วันต้นปี ส่วนแบ่งกำไรตามวิธีส่วนได้เสียสำหรับปี ลงทุนเพิ่มระหว่างปี รายได้เงินปันผลสำหรับปี โอนกลับค่าเผื่อการด้อยค่า จำหน่ายเงินลงทุน/รับคืนมูลค่าหน่วยลงทุนระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปี

471 36 (282) (225) -

927 95 34 (140) (445) 471

605 1,835 (417) 2,023

998 34 (427) 605

ในเดือนกันยายน 2553 ธนาคารฯ ได้ขายเงินลงทุนในบริษัทไทยโอริกซ์ลิสซิ่ง จำกัด ในราคา 214 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์พญาไทได้เลิกกองทุนเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 โดยธนาคารฯ ได้รับเงินจากการคืนมูลค่าหน่วยลงทุนเป็นจำนวน 197 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี กองทุนรวมธุรกิจไทย 2 ได้เลิกกองทุนเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 โดยธนาคารฯ ได้รับเงินจากการคืนมูลค่าหน่วยลงทุนเป็นจำนวน 182 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และเงินปันผลรับสำหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ส่วนแบ่งกำไรจาก เงินลงทุนแสดงตาม เงินลงทุนในบริษัทร่วม สัดส่วนการถือหุ้น ทุนชำระแล้ว เงินลงทุนในราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม

2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

บริษัทร่วม บริษัทไทยโอริกซ์ลิสซิ่ง จำกัด บริษัท เมโทร เดซิกนี จำกัด กองทุนรวมธุรกิจไทย 2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์พญาไท เงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ

- 45.96 30.00 30.00 -

(ปรับปรุง ใหม่)

-

375 -

-

417 417

-

471 471

(ปรับปรุง ใหม่)

36 36

33 10 52 95


154

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สัดส่วนการถือหุ้น ทุนชำระแล้ว ราคาทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนแสดงตาม เงินปันผลรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม วิธีราคาทุน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม

2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

บริษัทย่อย บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด บริษัท เดซิกนี ฟอร์ อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ

100.00 100.00 1,070 1,070 3,870 3,870 (2,035) (3,870) 1,835 -

-

-

-

-

-

-

-

-

99.40 99.40

-

-

75.00 75.00

100

100

188 188 - 188 4,058 4,058 (2,035) (3,870) 2,023

188 188

-

109 109

-

375 -

- 417 - 417 4,058 4,475 (2,035) (3,870) 2,023

417 417 605

282 282 282

78 10 52 140 249

บริษัทร่วม - 45.96 บริษัทไทยโอริกซ์ลิสซิ่ง จำกัด บริษัท เมโทร เดซิกนี จำกัด 30.00 30.00 กองทุนรวมธุรกิจไทย 2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์พญาไท เงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ

-

-

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วมซึ่งธนาคารฯ สรุปมาจากงบการเงินที่จัดทำโดยฝ่ายบริหารของบริษัทร่วมดังกล่าว แต่ไม่ได้ปรับปรุงให้ แสดงข้อมูลตามสัดส่วนที่ถือหุ้นโดยธนาคารฯ (หน่วย: ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 สัดส่วนการถือหุ้น

สินทรัพย์รวม

หนี้สินรวม

สัดส่วนการถือหุ้น

(ร้อยละ)

บริษัทไทยโอริกซ์ลิสซิ่ง จำกัด บริษัท เมโทร เดซิกนี จำกัด

30.00

สินทรัพย์รวม

หนี้สินรวม

(ร้อยละ)

-

-

45.96 30.00

3,693 -

2,667 -

(หน่วย: ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทไทยโอริกซ์ลิสซิ่ง จำกัด บริษัท เมโทร เดซิกนี จำกัด กองทุนรวมธุรกิจไทย 2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์พญาไท

รายได้รวม 182 -

2552 กำไรสุทธิ 80 -

รายได้รวม 329 1,075 231

กำไรสุทธิ 82 939 171


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

155

งบกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ของบริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยมาจากงบการเงินที่ จัดทำโดยฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยดังกล่าว เปิดเผยตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทยมีดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 4,140 (910) รายการปรับกระทบกำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรม ดำเนินงาน หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) 148 (34) ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในลูกหนี้ (โอนกลับ) 457 (51) ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ 7 ขาดทุนจากการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขายและสินทรัพย์อื่น 131 820 โอนกลับประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (839) (1) สำรองประมาณการหนี้สินอื่น (โอนกลับ) 19 (5) รายได้จากการลดหนี้ให้โดยบริษัทใหญ่ (4,031) อื่น ๆ (7) (2) กำไร (ขาดทุน) จากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน 18 (176) สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินลงทุนในลูกหนี้ (693) 45 เงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ 382 216 ทรัพย์สินรอการขาย 135 390 ลูกหนี้อื่น 273 (12) สินทรัพย์อื่น (1) 5 หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้อื่น (45) 130 หนี้สินอื่น (5) (4) เงินสดได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 64 594 (รายได้) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยสุทธิ (59) 35 เงินสดรับจากดอกเบี้ย 242 185 เงินสดจ่ายดอกเบี้ย (16) (105) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 231 709 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายในการซื้อเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย (600) (100) เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย 458 100 เงินสดรับจากการไถ่ถอนตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด 17 26 อื่น ๆ (2) (2) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน (127) 24 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจ่ายชำระคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน (144) (843) เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (144) (843) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ (40) (110) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี 141 251 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 101 141


156

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

11. เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ 11.1 จำแนกตามประเภทสินเชื่อ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม เงินเบิกเกินบัญชี เงินให้กู้ยืม ตั๋วเงิน (1) อื่น ๆ รวม บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ

2553

2552

56,952 218,081 87,797 347 363,177 564 363,741 (20,390) (156) 343,195

39,376 236,753 91,771 192 368,092 971 369,063 (30,995) (213) 337,855

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552 56,839 216,488 87,574 218 361,119 565 361,684 (18,927) (156) 342,601

39,260 234,608 92,698 164 366,730 974 367,704 (29,548) (213) 337,943

(1)

สุทธิจากรายได้ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีรายได้รอตัดบัญชี จำนวน 12 ล้านบาท และ 12 ล้านบาท ตามลำดับ

11.2 จำแนกตามระยะเวลาที่เหลือของสัญญาการให้สินเชื่อ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม ไม่เกิน 1 ปี เกิน 1 ปี รวมเงินให้สินเชื่อ

2553 162,052 201,125 363,177

2552 153,036 215,056 368,092

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552 159,386 149,811 201,733 216,919 361,119 366,730


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

157

11.3 จำแนกตามสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของลูกหนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 เงินบาท เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินสกุลอื่น ๆ รวมเงินให้สินเชื่อ

ในประเทศ 344,634 11,247 965 356,846

ต่างประเทศ 5,161 1,106 64 6,331

31 ธันวาคม 2552 รวม 349,795 12,353 1,029 363,177

ในประเทศ 353,844 7,670 632 362,146

ต่างประเทศ 4,738 1,122 86 5,946

รวม 358,582 8,792 718 368,092

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 เงินบาท เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินสกุลอื่น ๆ รวมเงินให้สินเชื่อ

ในประเทศ 342,576 11,247 965 354,788

ต่างประเทศ 5,161 1,106 64 6,331

31 ธันวาคม 2552 รวม 347,737 12,353 1,029 361,119

ในประเทศ 352,482 7,670 632 360,784

ต่างประเทศ 4,738 1,122 86 5,946

รวม 357,220 8,792 718 366,730

11.4 จำแนกตามประเภทธุรกิจและการจัดชั้น (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 ปกติ

การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย อื่น ๆ รวมเงินให้สินเชื่อ

4,372 127,693 16,882 63,849 52,789 35,706 301,291

กล่าวถึง เป็นพิเศษ 454 16,572 1,891 4,929 1,539 454 25,839

ต่ำกว่า มาตรฐาน 79 3,042 1,057 508 298 184 5,168

สงสัย

สงสัยจะสูญ

42 698 619 55 429 109 1,952

1,522 15,868 3,056 3,996 3,157 1,328 28,927

รวม

6,469 163,873 23,505 73,337 58,212 37,781 363,177


158

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 ปกติ

การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย อื่น ๆ รวมเงินให้สินเชื่อ

4,198 100,019 14,382 58,967 52,900 36,049 266,515

กล่าวถึง เป็นพิเศษ 1,359 27,429 5,992 9,917 1,862 922 47,481

ต่ำกว่า มาตรฐาน 94 2,762 1,041 2,631 536 180 7,244

สงสัย

สงสัยจะสูญ

121 3,124 1,142 177 573 154 5,291

4,263 24,197 4,948 3,372 3,240 1,541 41,561

รวม

10,035 157,531 27,505 75,064 59,111 38,846 368,092

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 ปกติ

การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย อื่น ๆ รวมเงินให้สินเชื่อ

4,372 127,693 16,882 63,849 52,789 36,405 301,990

กล่าวถึง เป็นพิเศษ 454 16,572 1,891 4,929 1,539 454 25,839

ต่ำกว่า มาตรฐาน 79 3,042 1,057 508 298 184 5,168

สงสัย

สงสัยจะสูญ

42 698 619 55 429 109 1,952

1,437 14,690 2,395 3,840 3,157 651 26,170

รวม

6,384 162,695 22,844 73,181 58,212 37,803 361,119

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2552 ปกติ

การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย อื่น ๆ รวมเงินให้สินเชื่อ

4,198 100,019 14,382 58,967 52,900 36,063 268,529

กล่าวถึง เป็นพิเศษ 1,359 27,429 5,992 9,917 1,862 922 47,481

ต่ำกว่า มาตรฐาน 94 2,762 1,041 2,631 536 180 7,244

สงสัย

สงสัยจะสูญ

121 3,124 1,142 177 573 154 5,291

4,113 22,758 4,021 3,008 3,240 1,045 38,185

รวม

9,885 156,092 26,578 74,700 59,111 40,364 366,730


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

159

11.5 จำแนกตามประเภทการจัดชั้น ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ (ไม่รวมเงินให้สินเชื่อที่ให้แก่ธนาคารและตลาดเงิน - ด้านสินทรัพย์) จัดชั้นตามประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์การจัดชั้นและการกันสำรองของสถาบันการเงินดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 เงินให้สินเชื่อ มูลหนี้ และดอกเบี้ย หลังหัก ค้างรับ หลักประกัน(1)

อัตราที่ใช้ ในการตั้ง ค่าเผื่อ (ร้อยละ)

จัดชั้นปกติ 301,770 131,488 1 จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ 25,911 6,652 2 จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน 5,172 1,708 100 จัดชั้นสงสัย 1,953 276 100 จัดชั้นสงสัยจะสูญ 28,935 9,368 100 รวม 363,741 149,492 บวก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญส่วนที่เกินจากเกณฑ์ขั้นต่ำของธปท. รวม

เงินให้สินเชื่อ มูลหนี้ ค่าเผื่อหนี้ และดอกเบี้ย หลังหัก สงสัยจะสูญ(2) ค้างรับ หลักประกัน(1)

1,322 133 1,685 263 9,438 12,841 7,549 20,390

266,938 47,677 7,365 5,302 41,781 369,063

102,859 15,341 1,777 1,518 18,227 139,722

อัตราที่ใช้ ในการตั้ง ค่าเผื่อ (ร้อยละ)

1 2 100 100 100

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ

1,049 307 1,777 1,518 18,227 22,878 8,117 30,995

(1) ก ารกั น สำรองสำหรั บ มู ล หนี้ จั ด ชั้ น ต่ ำ กว่ า มาตรฐาน สงสั ย และสงสั ย จะสู ญ มู ล หนี้ ห ลั ง หั ก หลั ก ประกั น หมายถึ ง มู ล หนี้ ห ลั ง หั ก มู ล ค่ า ปั จ จุ บั น ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้ หรือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำหน่ายหลักประกัน (2) การกันสำรองสำหรับสินเชื่อที่ ได้รับการค้ำประกันโดยบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อมตามโครงการ Portfolio Guarantee Scheme เป็ น ไปตามประกาศธนาคารแห่ ง ประเทศไทย เรื่ อ งหลั ก เกณฑ์ ก ารกำกั บ ดู แ ลสิ น เชื่ อ ที่ ไ ด้ รั บ การค้ ำ ประกั น โดยบรรษั ท ประกั น สิ น เชื่ อ อุ ต สาหกรรม ขนาดย่อมแบบ Portfolio Guarantee Scheme

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 เงินให้สินเชื่อ มูลหนี้ และดอกเบี้ย หลังหัก ค้างรับ หลักประกัน(1)

อัตราที่ใช้ ในการตั้ง ค่าเผื่อ (ร้อยละ)

302,470 132,188 1 จัดชั้นปกติ 6,652 2 จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ 25,911 5,172 1,708 100 จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน 1,953 276 100 จัดชั้นสงสัย 26,178 8,366 100 จัดชั้นสงสัยจะสูญ 361,684 149,190 รวม บวก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญส่วนที่เกินจากเกณฑ์ขั้นต่ำของธปท. รวม

31 ธันวาคม 2552 เงินให้สินเชื่อ มูลหนี้ ค่าเผื่อหนี้ และดอกเบี้ย หลังหัก สงสัยจะสูญ(2) ค้างรับ หลักประกัน(1)

1,322 133 1,685 263 8,436 11,839 7,088 18,927

268,955 47,677 7,365 5,302 38,405 367,704

104,874 15,341 1,777 1,518 16,973 140,483

อัตราที่ใช้ ในการตั้ง ค่าเผื่อ (ร้อยละ)

1 2 100 100 100

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ

1,049 307 1,777 1,518 16,973 21,624 7,924 29,548

(1) การกันสำรองสำหรับมูลหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน สงสัย และสงสัยจะสูญ มูลหนี้หลังหักหลักประกัน หมายถึง มูลหนี้หลังหักมูลค่าปัจจุบันของกระแส เงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้ หรือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำหน่ายหลักประกัน (2) การกันสำรองสำหรับสินเชื่อที่ได้รับการค้ำประกันโดยบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อมตามโครงการ Portfolio Guarantee Scheme เป็น ไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์การกำกับดูแลสินเชื่อที่ได้รับการค้ำประกันโดยบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อมแบบ Portfolio Guarantee Scheme


160

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

11.6 เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย หมายถึง เงินให้สินเชื่อจัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ชั้นสงสัย ชั้นสงสัยจะสูญและชั้นสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อย มีเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ (รวมเงินให้สินเชื่อแก่ธนาคารและตลาดเงิน) สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพสุทธิ (เงินต้นสุทธิจาก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพสุทธิค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ เงินให้สินเชื่อรวมสุทธิค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ อัตราร้อยละของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพสุทธิ เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ (เงินต้น) เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ เงินให้สินเชื่อรวม อัตราร้อยละของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ

งบการเงินรวม(1) 31 ธันวาคม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552

24,689

32,726

22,935

30,604

424,975 5.81

405,967 8.06

423,920 5.41

405,860 7.54

36,047 436,333 8.26

54,095 427,337 12.66

33,290 434,276 7.67

50,719 425,976 11.91

(1) งบการเงินรวมแสดงยอดคงเหลือของธนาคารฯ และบริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด

เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ ได้โอนขายสินเชื่อด้อยคุณภาพให้แก่บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด โดยมีภาระเงินต้นประมาณ 1,410 ล้านบาท ทั้งนี้ ราคาโอนขายของสินเชื่อด้อยคุณภาพดังกล่าวมีมูลค่าประมาณ 397 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีสุทธิ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 ธนาคารฯ ได้โอนขายสินเชื่อด้อยคุณภาพให้แก่บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด โดยมีภาระเงินต้นประมาณ 550 ล้านบาท ทั้งนี้ ราคาโอนขายของสินเชื่อด้อยคุณภาพดังกล่าวมีมูลค่าประมาณ 320 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีสุทธิ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2553 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ลงนามในสัญญาซื้อขายสินเชื่อด้อยคุณภาพ ให้แก่บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (“บสก.”) โดยมีภาระเงินต้นประมาณ 9,400 ล้านบาท ทั้งนี้ ราคาโอนขายของสินเชื่อด้อยคุณภาพดังกล่าวมีมูลค่าประมาณ 2,500 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีสุทธิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ลงนามในสัญญาซื้อขายสินเชื่อด้อยคุณภาพและทรัพย์สินรอการขายให้แก่บริษัท บริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (“บสก.”) โดยแบ่งเป็นสินเชื่อด้อยคุณภาพประมาณ 15,000 ล้านบาท และเป็นทรัพย์สินรอการขายประมาณ 4,300 ล้านบาท ซึ่งเป็นราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและค่าเผื่อการด้อยค่า ทั้งนี้ ราคาขายของสินเชื่อด้อยคุณภาพและทรัพย์สิน รอการขาย ตามสัญญาซื้อขายดังกล่าวมีมูลค่าประมาณ 4,500 ล้านบาท และ 1,900 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีสุทธิ จากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ มีเงินให้สินเชื่อที่ระงับการรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง จำนวน 41,972 ล้านบาท และ 52,753 ล้านบาท ตามลำดับ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

161

11.7 การปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ทำสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา (เฉพาะรายที่มีส่วนสูญเสีย/ ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้) สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ จำนวน ราย

จำนวนเงิน ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้

จำนวน ราย

จำนวนเงิน ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้

รูปแบบการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้ รวม

94 94

7,843 7,843

4,419 4,419

92 92

7,841 7,841

4,417 4,417

ระยะเวลาของสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 - 10 ปี มากกว่า 10 ปี รวม

75 5 14 94

7,495 310 38 7,843

4,073 309 37 4,419

73 5 14 92

7,493 310 38 7,841

4,071 309 37 4,417

(หน่วย: ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ จำนวน ราย

จำนวนเงิน ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้

จำนวน ราย

จำนวนเงิน ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้

รูปแบบการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้ การปรับโครงสร้างหนี้ในหลายลักษณะ รวม

104 11 115

5,868 39 5,907

4,902 32 4,934

104 104

5,868 5,868

4,902 4,902

ระยะเวลาของสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 - 10 ปี มากกว่า 10 ปี รวม

89 14 12 115

3,803 1,592 512 5,907

2,922 1,500 512 4,934

78 14 12 104

3,764 1,592 512 5,868

2,890 1,500 512 4,902

ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้บันทึกขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ด้วยส่วนต่างของมูลค่าตามบัญชีสุทธิของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ และมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับคืน


162

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ธนาคารฯ และบริษัทย่อยวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินให้สินเชื่อที่ปรับโครงสร้างหนี้ กรณีเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขชำระหนี้ โดยใช้มูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตคิดลดด้วยดอกเบี้ยอัตราตลาด ข้อมูลสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ที่เกี่ยวข้องกับลูกหนี้ที่ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้มีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ 171 153 1,378 1,289 56 57

ดอกเบี้ยที่รับรู้ในงบกำไรขาดทุน เงินสดที่รับชำระจากลูกหนี้ โอนกลับขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้

สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ 261 257 1,523 1,455 218 225

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมียอดคงค้างของลูกหนี้ที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหาแล้ว ดังนี้

31 ธันวาคม 2553 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ

(หน่วย: ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2552 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ

จำนวนราย ยอดคงค้าง จำนวนราย ยอดคงค้าง จำนวนราย ยอดคงค้าง จำนวนราย ยอดคงค้าง

ลูกหนี้ที่มีการปรับโครงสร้างหนี้แล้ว

306

3,705

281

3,594

430

3,746

393

3,572

12. สินทรัพย์จัดชั้น สิ น ทรั พ ย์ จั ด ชั้ น ประกอบด้ ว ยเงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ เงิ น ให้ สิ น เชื่ อ และดอกเบี้ ย ค้ า งรั บ (รวมเงิ น ให้ สิ น เชื่ อ แก่ ธ นาคารและตลาดเงิ น ด้ า น สินทรัพย์) ทรัพย์สินรอการขาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จำแนกตามหลักเกณฑ์ที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดดังนี้


จัดชั้นปกติ จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย จัดชั้นสงสัยจะสูญ รวม

จัดชั้นปกติ จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย จัดชั้นสงสัยจะสูญ รวม

375,015 25,911 5,172 1,953 28,935 436,986

648 648

31 ธันวาคม 2553 ประเภทสินทรัพย์

1,857 1,857

3,146 3,146

375,715 25,911 5,172 1,953 26,178 434,929

1,729 1,729

648 648

เงินให้สินเชื่อ ที่ดิน เงินลงทุนใน และดอกเบี้ย ทรัพย์สิน อาคารและ หลักทรัพย์ ค้างรับ รอการขาย อุปกรณ์

1,111 1,111

เงินให้สินเชื่อ ที่ดิน เงินลงทุนใน และดอกเบี้ย ทรัพย์สิน อาคารและ หลักทรัพย์ ค้างรับ รอการขาย อุปกรณ์

31 ธันวาคม 2553 ประเภทสินทรัพย์

138 138

สินทรัพย์ อื่น

144 144

สินทรัพย์ อื่น 1,309 1,309

375,715 25,911 5,172 1,953 31,839 440,590

รวม

326,365 47,677 7,365 5,302 41,781 428,490

731 731

31 ธันวาคม 2552 ประเภทสินทรัพย์

2,920 2,920

5,174 5,174

328,382 47,677 7,365 5,302 38,405 427,131

2,885 2,885

731 731

เงินให้สินเชื่อ ที่ดิน เงินลงทุนใน และดอกเบี้ย ทรัพย์สิน อาคารและ หลักทรัพย์ ค้างรับ รอการขาย อุปกรณ์

งบการเงินเฉพาะกิจการ

375,015 25,911 5,172 1,953 32,695 440,746

รวม

31 ธันวาคม 2552 ประเภทสินทรัพย์ เงินให้สินเชื่อ ที่ดิน เงินลงทุนใน และดอกเบี้ย ทรัพย์สิน อาคารและ หลักทรัพย์ ค้างรับ รอการขาย อุปกรณ์

งบการเงินรวม

326,365 47,677 7,365 5,302 46,876 433,585

รวม

128 128

สินทรัพย์ อื่น

328,382 47,677 7,365 5,302 47,323 436,049

รวม

(หน่วย: ล้านบาท)

135 135

สินทรัพย์ อื่น

(หน่วย: ล้านบาท)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น |

163


164

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

13. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดต้นปี หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญได้รับคืน หนี้สูญตัดบัญชี ค่าเผื่อฯของลูกหนี้ส่วนที่โอนขาย ยอดปลายปี

ปกติ

กล่าวถึง เป็นพิเศษ

ต่ำกว่า มาตรฐาน

สงสัย

สงสัย จะสูญ

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ส่วนเกินจาก เกณฑ์ขั้นต่ำ ของธปท.

1,049 273 1,322

307 (174) 133

1,777 (92) 1,685

1,518 (1,255) 263

18,227 3,714 588 (5,714) (7,377) 9,438

8,117 22 (590) 7,549

รวม

30,995 2,488 588 (5,714) (7,967) 20,390 (หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

ปกติ

ยอดต้นปี หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญได้รับคืน หนี้สูญตัดบัญชี ค่าเผื่อฯ ของลูกหนี้ส่วนที่โอนขาย ยอดปลายปี

1,172 (123) 1,049

กล่าวถึง เป็นพิเศษ

ต่ำกว่า มาตรฐาน

สงสัย

สงสัย จะสูญ

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ส่วนเกินจาก เกณฑ์ขั้นต่ำ ของธปท.

378 (71) 307

4,001 (2,224) 1,777

2,490 (972) 1,518

29,378 6,182 807 (7,725) (10,415) 18,227

8,044 73 8,117

รวม

45,463 2,865 807 (7,725) (10,415) 30,995


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

165

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดต้นปี หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญได้รับคืน หนี้สูญตัดบัญชี ค่าเผื่อฯของลูกหนี้ส่วนที่โอนขาย ยอดปลายปี

ปกติ

กล่าวถึง เป็นพิเศษ

ต่ำกว่า มาตรฐาน

สงสัย

สงสัย จะสูญ

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ส่วนเกินจาก เกณฑ์ขั้นต่ำ ของธปท.

1,049 273 1,322

307 (174) 133

1,777 (92) 1,685

1,518 (1,255) 263

16,973 3,377 588 (5,713) (6,789) 8,436

7,924 (246) (590) 7,088

รวม

29,548 1,883 588 (5,713) (7,379) 18,927

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

ปกติ

ยอดต้นปี หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญได้รับคืน หนี้สูญตัดบัญชี ค่าเผื่อฯของลูกหนี้ส่วนที่โอนขาย ยอดปลายปี

1,172 (123) 1,049

กล่าวถึง เป็นพิเศษ

ต่ำกว่า มาตรฐาน

สงสัย

สงสัย จะสูญ

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ส่วนเกินจาก เกณฑ์ขั้นต่ำ ของธปท.

378 (71) 307

4,001 (2,224) 1,777

2,490 (972) 1,518

28,070 6,238 805 (7,725) (10,415) 16,973

7,821 103 7,924

รวม

43,932 2,951 805 (7,725) (10,415) 29,548

14. ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ยอดต้นปี ลดลงระหว่างปี ยอดปลายปี

2553 213 (57) 156

2552 453 (240) 213


166

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

15. ทรัพย์สินรอการขาย (หน่วย: ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น

ประเภททรัพย์สินรอการขาย ทรัพย์สินที่ได้จากการชำระหนี้ อสังหาริมทรัพย์ (1) ประเมินโดยผู้ประเมินภายใน ประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก สังหาริมทรัพย์ อื่น ๆ รวม บวก (หัก): ค่าเผื่อการด้อยค่า ทรัพย์สินรอการขาย - สุทธิ

จำหน่าย ยอดปลายปี ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น

13,792

2 (5,931)

162 98 14,052 (2,920) 11,132

(57) 736 (510) 738 (6,498) (904) 1,967 (166) (4,531)

7,863 2,948 4,915 105 324 8,292 (1,857) 6,435

จำหน่าย ยอดปลายปี

13,410

2 (5,757)

134 98 13,642 (2,885) 10,757

(57) 736 (510) 738 (6,324) (772) 1,928 (34) (4,396)

7,655 2,946 4,709 77 324 8,056 (1,729) 6,327

(1) เปิดเผยตามแนวนโยบายธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องแนวนโยบายการประเมินราคาหลักประกันและอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ได้มาจากการชำระหนี้ ของสถาบันการเงิน ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2552 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 เป็นต้นไป

(หน่วย: ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น

ประเภททรัพย์สินรอการขาย ทรัพย์สินที่ได้จากการชำระหนี้ อสังหาริมทรัพย์ (1) ประเมินโดยผู้ประเมินภายใน ประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก สังหาริมทรัพย์ อื่น ๆ รวม บวก (หัก): ค่าเผื่อการด้อยค่า ทรัพย์สินรอการขาย - สุทธิ

22,919

311 349 23,579 (4,319) 19,260

จำหน่าย ยอดปลายปี ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น

85 (9,212) 13,792 4,998 8,794 2 (151) 162 72 (323) 98 159 (9,686) 14,052 (2,651) 4,050 (2,920) (2,492) (5,636) 11,132

20,145

จำหน่าย ยอดปลายปี

85 (6,820)

237 1 (104) 349 72 (323) 20,731 158 (7,247) (3,913) (1,836) 2,864 16,818 (1,678) (4,383)

13,410 4,998 8,412 134 98 13,642 (2,885) 10,757

(1) เปิดเผยตามแนวนโยบายธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องแนวนโยบายการประเมินราคาหลักประกันและอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ได้มาจากการชำระหนี้ ของสถาบันการเงิน ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2552 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 เป็นต้นไป


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

167

ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้ตกลงโอนทรัพย์สินรอการขายให้แก่บสก. ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อที่ 11.6 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีทรัพย์สินรอการขายส่วนที่มีภาระผูกพันในการห้ามจำหน่ายหรือให้สิทธิแก่ ลูกหนี้ ในการซื้อคืน หรือซื้อก่อน โดยมีมูลค่าตามบัญชีคิดเป็นจำนวน 265 ล้านบาท และ 242 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : เป็นจำนวน 259 ล้านบาท และ 195 ล้านบาท ตามลำดับ)

16. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (รวมส่วนที่ตีราคาเพิ่ม) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ที่ดิน อาคาร ส่วนที่ตี ส่วนที่ตี ราคาทุนเดิม ราคาเพิ่ม ราคาทุนเดิม ราคาเพิ่ม ราคาทุนเดิม/ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่ม/รับโอน จำหน่าย/ตัดจำหน่าย/โอนออก 31 ธันวาคม 2553

อุปกรณ์

รวม

5,017 (539) 4,478

3,066 (246) 2,820

4,939 165 (267) 4,837

3,494 (97) 3,397

4,748 836 (583) 5,001

21,264 1,001 (1,732) 20,533

-

-

(2,547) (87)

(1,404) (73)

(3,363) (607)

(7,314) (767)

-

-

90 (2,544)

44 (1,433)

178 (3,792)

312 (7,769)

ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552 ลดลงระหว่างปี 31 ธันวาคม 2553

(622) 73 (549)

-

(109) 10 (99)

-

-

(731) 83 (648)

มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553

4,395 3,929

3,066 2,820

2,283 2,194

2,090 1,964

1,385 1,209

13,219 12,116

ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ค่าเสื่อมราคาสะสมสำหรับส่วนที่ จำหน่าย/ตัดจำหน่าย/โอนออก 31 ธันวาคม 2553

ค่าเสื่อมราคาที่รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2553

750 767


168

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน อาคาร ส่วนที่ตี ส่วนที่ตี ราคาทุนเดิม ราคาเพิ่ม ราคาทุนเดิม ราคาเพิ่ม ราคาทุนเดิม/ส่วนที่ตีราคาเพิ่ม 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่ม/รับโอน จำหน่าย/ตัดจำหน่าย/โอนออก 31 ธันวาคม 2553

อุปกรณ์

รวม

5,017 (539) 4,478

3,066 (246) 2,820

4,939 165 (267) 4,837

3,494 (97) 3,397

4,633 825 (565) 4,893

21,149 990 (1,714) 20,425

-

-

(2,547) (87)

(1,404) (73)

(3,289) (590)

(7,240) (750)

-

-

90 (2,544)

44 (1,433)

166 (3,713)

300 (7,690)

ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552 ลดลงระหว่างปี 31 ธันวาคม 2553

(622) 73 (549)

-

(109) 10 (99)

-

-

(731) 83 (648)

มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553

4,395 3,929

3,066 2,820

2,283 2,194

2,090 1,964

1,344 1,180

13,178 12,087

ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ค่าเสื่อมราคาสะสมสำหรับส่วนที่ จำหน่าย/ตัดจำหน่าย/โอนออก 31 ธันวาคม 2553

ค่าเสื่อมราคาที่รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2553

735 750

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าตาม บัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 1,935 ล้านบาท และ 1,747 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : 1,902 ล้านบาท และ 1,712 ล้านบาท ตามลำดับ)


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

169

17. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ ซอฟท์แวร์ ระหว่างพัฒนา

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่ม/รับโอน จำหน่าย/โอนออก 31 ธันวาคม 2553

คอมพิวเตอร์

รวม

คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ ซอฟท์แวร์ ระหว่างพัฒนา

รวม

2,957 192 (13) 3,136

98 255 (199) 154

3,055 447 (212) 3,290

2,865 191 (12) 3,044

98 255 (199) 154

2,963 446 (211) 3,198

(2,186) (314) 4 (2,496)

-

(2,186) (314) 4 (2,496)

(2,109) (307) 3 (2,413)

-

(2,109) (307) 3 (2,413)

771 640

98 154

869 794

756 631

98 154

854 785

ค่าตัดจำหน่ายที่รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 265 2553 314 -

265 314

259 307

-

259 307

ค่าตัดจำหน่ายสะสม 31 ธันวาคม 2552 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี ค่าตัดจำหน่ายสะสมสำหรับส่วนที่จำหน่าย 31 ธันวาคม 2553 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553

อายุการตัดจำหน่ายคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2553

0 - 5 ปี 0 - 5 ปี

0 - 5 ปี 0 - 5 ปี


170

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

18. สินทรัพย์อื่น (หน่วย: ล้านบาท)

รายได้ค้างรับ สิทธิการเช่า - สุทธิ เงินวางประกันตราสารอนุพันธ์ บัญชีพักลูกหนี้ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า บัญชีพักรายการระหว่างสำนักงานใหญ่และสาขา อื่น ๆ รวม หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมสินทรัพย์อื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 2552 787 1,014 350 464 580 461 1,544 1,041 495 95 376 193 495 323 4,627 3,591 (87) (84) 4,540 3,507

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552 731 953 350 464 580 461 1,542 1,040 485 87 376 193 487 311 4,551 3,509 (86) (82) 4,465 3,427

19. เงินรับฝาก 19.1 จำแนกตามประเภทเงินรับฝาก (หน่วย: ล้านบาท)

เงินรับฝากประเภทกระแสรายวัน เงินรับฝากประเภทออมทรัพย์ เงินรับฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา ไม่ถึง 6 เดือน 6 เดือน ไม่ถึง 1 ปี 1 ปีขึ้นไป รวมเงินรับฝาก

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 2552 39,881 42,935 151,823 159,269

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552 39,901 42,947 151,924 159,430

58,284 5,226 157,901 413,115

58,284 5,226 157,901 413,236

53,079 6,427 146,066 407,776

53,079 6,427 146,066 407,949

19.2 จำแนกตามระยะเวลาที่เหลือของสัญญารับฝากเงิน (หน่วย: ล้านบาท)

ไม่เกิน 1 ปี เกิน 1 ปี รวม

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 2552 367,773 330,730 45,342 77,046 413,115 407,776

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552 367,894 330,903 45,342 77,046 413,236 407,949


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

171

19.3 จำแนกตามสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของผู้ฝาก (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

เงินบาท เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินสกุลอื่น รวม

31 ธันวาคม 2553 ในประเทศ ต่างประเทศ รวม 408,834 3,492 412,326 472 145 617 151 21 172 409,457 3,658 413,115

31 ธันวาคม 2552 ในประเทศ ต่างประเทศ รวม 404,827 2,518 407,345 175 123 298 106 27 133 405,108 2,668 407,776 (หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินบาท เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินสกุลอื่น รวม

31 ธันวาคม 2553 ในประเทศ ต่างประเทศ รวม 408,955 3,492 412,447 472 145 617 151 21 172 409,578 3,658 413,236

ในประเทศ 404,997 178 106 405,281

31 ธันวาคม 2552 ต่างประเทศ รวม 2,518 407,515 123 301 27 133 2,668 407,949

20. รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน) (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา รวม เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา รวม ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยและกองทุนฟื้นฟูฯ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารอื่น บริษัทเงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ สถาบันการเงินอื่น รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินในประเทศ

169 28

2,509 11,806 -

2,509 11,975 28

142 35

3,167 -

3,167 142 35

441 2,095 2,733

4 285 14,604

445 2,380 17,337

211 2,877 3,265

4 1,195 4,366

215 4,072 7,631

ต่างประเทศ เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินสกุลอื่น รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินต่างประเทศ รวมในประเทศและต่างประเทศ

521 1,342 1,863 4,596

3,920 371 4,291 18,895

4,441 1,713 6,154 23,491

330 516 846 4,111

1,502 759 2,261 6,627

1,832 1,275 3,107 10,738


172

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

21. เงินกู้ยืม

อัตราดอกเบี้ย

ปีที่ครบกำหนดไถ่ถอน

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 2552

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552

(ร้อยละ)

หุ้นกู้ด้อยสิทธิ ตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน และไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ไม่มีผลกำไร หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิ ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงินอัตราดอกเบี้ยคงที่ อื่น ๆ รวม

4.70, 5.00

2562 และ 2563

13,300

12,087

13,300

12,087

7.00, 7.75 1.80 1.00 - 5.00 0 - 3.25

2554(1)และ 2557(1) 2554 2554 - 2556 2554 - 2574

4,160 1,000 37,731 5,913 62,104

5,562 2,040 23,538 10 7,399 50,636

4,160 1,000 37,745 5,913 62,118

5,562 2,040 23,549 10 7,399 50,647

(1) เป็นปีที่เริ่มมีสิทธิไถ่ถอนก่อนกำหนด

หุ้นกู้ด้อยสิทธิ เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2543 ธนาคารฯ ได้ออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิจำนวน 1,077 ล้านบาท อายุ 10 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.25 ต่อปี กำหนดชำระ ดอกเบี้ยทุกปี ซึ่งครบกำหนดชำระเงินต้นแล้วในวันที่ 18 มกราคม 2553 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2543 ธนาคารฯ ได้ออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิจำนวน 260 ล้านบาท และ 545 ล้านบาท อายุ 10 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.5 ต่อปี กำหนดชำระดอกเบี้ยทุกปี ซึ่งครบกำหนดชำระเงินต้นแล้วในวันที่ 28 ธันวาคม 2553 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 ธนาคารฯ ได้ออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิครั้งที่ 12 จำนวน 8,000 ล้านบาท อายุ 10 ปี อัตราดอกเบี้ยลอยตัวปีที่ 1-5 เท่ากับ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 12 เดือน ประเภทลูกค้าทั่วไปของธนาคารฯ บวกด้วยร้อยละ 2 ต่อปีหรืออัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 4 ต่อปี แล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า และอัตราดอกเบี้ยลอยตัวในปีที่ 6-10 เท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 12 เดือน ประเภทลูกค้าทั่วไปของธนาคารฯ บวกด้วยร้อยละ 2 หรืออัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5 ต่อปี แล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า กำหนดชำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ในเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม ของทุกปี โดยธนาคารฯ มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ด้อยสิทธิก่อนกำหนดได้ทุกงวดชำระดอกเบี้ยนับจากวันที่หุ้นกู้ด้อยสิทธิครบ รอบ 5 ปี หรือภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด ทั้งนี้ ธนาคารฯ ได้เสนอซื้อคืนหุ้นกู้ด้อยสิทธิรุ่นนี้ พร้อมทั้งเสนอขายหุ้นกู้ด้อยสิทธิรุ่นใหม่คือรุ่น 1/2552 แก่ผู้ถือหุ้นกู้ด้อยสิทธิเดิมในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 โดยมีผู้ขายคืนเป็นจำนวนเงินรวม 3,095 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2553 ธนาคารฯ ได้ ไถ่ถอนหุ้นกู้ด้อยสิทธิครั้งที่ 12 ที่คงเหลือทั้งหมด 4,905 ล้านบาท ก่อนครบกำหนด เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 ธนาคารฯ ได้ออกขายหุ้นกู้ด้อยสิทธิรุ่นที่ 1/2552 เพื่อเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นกู้ด้อยสิทธิเดิม โดยมีผู้ซื้อหุ้นกู้ ด้อยสิทธิชุดใหม่เป็นจำนวนเงินรวม 3,813 ล้านบาท นอกจากนั้นแล้วมีนักลงทุนทั่วไปซื้อหุ้นกู้ด้อยสิทธิรุ่นใหม่เพิ่มเติมอีกเป็นจำนวนเงิน 1,487 ล้านบาท ธนาคารฯ จึงออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิรุ่น 1/2552 ได้รวมจำนวน 5,300 ล้านบาท โดยหุ้นกู้ด้อยสิทธิรุ่น 1/2552 นี้มีอายุ 10 ปี อัตราดอกเบี้ยคงที่ 3 ปีแรก ร้อยละ 5.00 ต่อปี ปีที่ 4-5 ร้อยละ 5.25 ต่อปี และปีที่ 6-10 ร้อยละ 6.50 ต่อปี กำหนดชำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือนในเดือนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิงหาคม และพฤศจิกายนของทุกปี โดยธนาคารฯ มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ด้อยสิทธิรุ่นที่ 1/2552 ก่อนกำหนด ได้นับจากวันที่หุ้นกู้ครบรอบ 5 ปีเป็นต้นไป หรือภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

173

เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553 ธนาคารฯ ได้ออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิครั้งที่ 1/2553 จำนวน 8,000 ล้านบาท อายุ 10 ปี โดยในปีที่ 1-5 มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 4.70 ต่อปี และในปีที่ 6-10 มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 6 ต่อปี กำหนดชำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ในเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และ ตุลาคมของทุกปี ทั้งนี้ธนาคารฯ มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ด้อยสิทธิครั้งที่ 1/2553 ก่อนกำหนดได้นับจากวันที่หุ้นกู้ด้อยสิทธิครบรอบ 5 ปีเป็นต้นไป หรือภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด ตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนและไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ไม่มีผลกำไร เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2549 ธนาคารฯ ได้ออกตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนที่ ไม่สะสมดอกเบี้ยจ่าย และไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ ไม่มี ผลกำไร เพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 (Hybrid Tier 1) จำนวน 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ตราสารดังกล่าวเป็นประเภทไม่มีกำหนดระยะเวลา ในการชำระคืน แต่ธนาคารฯ มีสิทธิขอไถ่ถอนคืนก่อนกำหนดโดยต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย และธนาคารฯ ยังคงดำเนิน กิจการในขณะนั้น โดยการชำระคืนก่อนกำหนดเป็นไปตามกรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้ 1. หลังจากปีที่ 10 เป็นต้นไปทุกวันที่จ่ายชำระดอกเบี้ย 2. กรณีมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับภาษีในประเทศไทยหรือที่หมู่เกาะเคย์แมน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ ด้านภาษี ซึ่งมีผลกระทบต่อภาระหนี้ตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนของธนาคารฯ 3. กรณีที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเปลี่ยนหลักเกณฑ์การนับเงินกองทุนและตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนของธนาคารฯ โดยไม่ สามารถนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ได้อีกต่อไป โดยมีอัตราดอกเบี้ย 10 ปีแรกเป็นอัตราคงที่ ร้อยละ 7.75 ต่อปี ชำระทุก 6 เดือนในวันที่ 30 มิถุนายน และ 30 ธันวาคม ของทุกปีในช่วง 10 ปีแรก และปีที่ 11 เป็นต้นไป คิดดอกเบี้ยในอัตราลอยตัวที่ USD LIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 3.13 ชำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ในวันที่ 30 มีนาคม 30 มิถุนายน 30 กันยายน และ 30 ธันวาคม ของทุกปี ทั้งนี้ ในงวดชำระดอกเบี้ย หากธนาคารฯ คาดว่าผลการดำเนินงานในงบการเงินรวมไม่มีกำไรสุทธิ ธนาคารฯ ไม่มีภาระในการชำระดอกเบี้ยสำหรับ งวดดังกล่าว และไม่ผูกพันที่จะต้องสะสมยอดไปจ่ายในงวดถัดๆ ไป ในระหว่างปี 2552 ธนาคารฯ ได้มีการซื้อคืน Hybrid Tier 1 ข้างต้นบางส่วนจำนวนเงินต้นรวม 153 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยธนาคารฯ ได้ชำระเงินสำหรับการซื้อ Hybrid Tier 1 เป็นจำนวน 86 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาและดอกเบี้ยค้างชำระจนถึงวันซื้อคืนจำนวน 4 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา ซึ่งธนาคารฯ มีกำไรจากการซื้อคืน Hybrid Tier 1 ดังกล่าว จำนวน 2,301 ล้านบาท ซึ่งได้บันทึกในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ในระหว่างปี 2553 ธนาคารฯ ได้ซื้อคืน Hybrid Tier 1 เพิ่มเติมอีกบางส่วน จำนวนเงินต้นประมาณ 42 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งธนาคารฯ มีกำไรจากการซื้อคืน Hybrid Tier 1 ดังกล่าว จำนวน 4 ล้านบาท ซึ่งได้บันทึกในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ในระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ธนาคารฯ ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นกู้ที่จะแก้ ไขเงื่อนไขของตราสารดังกล่าวนี้ โดยให้สิทธิธนาคารฯ ในการเลือก ที่จะไถ่ถอนตราสารที่เหลือทั้งหมดได้ ตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เป็นต้นไป จากเดิมที่ธนาคารฯ มีสิทธิไถ่ถอนได้หลังจากปีที่ 10 เป็นต้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ มียอดคงเหลือของ Hybrid Tier 1 ดังกล่าวจำนวน 5 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และ 47 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา เทียบเท่าเป็นจำนวน 160 ล้านบาท และ 1,562 ล้านบาท ตามลำดับ


174

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552 ธนาคารฯ ได้ออกตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนที่ ไม่สะสมดอกเบี้ยจ่าย และไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ ไม่มี ผลกำไร เพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 (Hybrid Tier 1) เพิ่มเติมจำนวน 4,000 ล้านบาท ตราสารดังกล่าวไม่มีกำหนดระยะเวลาชำระคืน แต่ธนาคารฯ มีสิทธิขอไถ่ถอนคืนก่อนกำหนดโดยต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย และธนาคารฯ ยังคงดำเนินกิจการในขณะนั้น การไถ่ถอน คืนก่อนกำหนดเป็นไปตามกรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้ 1. ทุกงวดชำระดอกเบี้ยนับจากวันที่มีอายุครบ 5 ปี เป็นต้นไป 2. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวกับภาษี ทำให้ธนาคารฯ ต้องรับภาระทางภาษีเพิ่มขึ้น หรือธนาคารฯ ไม่สามารถนำดอกเบี้ยมาใช้ หักภาษีได้ 3. กรณีที่ธนาคารฯ ไม่สามารถนับตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ได้อีกต่อไป โดยมีอัตราดอกเบี้ย 10 ปีแรกคงที่ร้อยละ 7 ต่อปี ปีที่ 11 เป็นต้นไป คิดดอกเบี้ยในอัตราลอยตัวที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือนประเภท ลูกค้าทั่วไปของธนาคารฯ บวกร้อยละ 7 ต่อปี ชำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน ในวันที่ 30 เมษายน และ 30 ตุลาคมของทุกปี ทั้งนี้ หากธนาคารฯ มีผลขาดทุนในรอบบัญชีล่าสุดก่อนวันกำหนดชำระดอกเบี้ย หรือการชำระดอกเบี้ยตามตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้าย ทุนในวันกำหนดชำระดอกเบี้ยใดจะทำให้ธนาคารฯ มีผลขาดทุนในรอบบัญชีล่าสุดก่อนวันกำหนดชำระดอกเบี้ยนั้น ธนาคารฯ ไม่มีภาระในการ ชำระดอกเบี้ยสำหรับงวดดังกล่าว และไม่ผูกพันที่จะต้องสะสมยอดไปจ่ายในงวดถัดๆ ไปเว้นแต่จะได้รับอนุญาตให้ชำระดอกเบี้ยจากธนาคาร แห่งประเทศไทย ธนาคารฯ ได้รับรู้ดอกเบี้ยจ่ายสำหรับตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนดังกล่าวสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นจำนวน 351 ล้านบาท และ 464 ล้านบาท ตามลำดับ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

เงินกู้ยืมอื่น ๆ เงินกู้ยืมอื่น ๆ มีข้อจำกัดการใช้เงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมจากกระทรวงการคลัง

เงินกู้ยืมจากกองทุน เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน เงินกู้ยืมจากสำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เงินกู้ยืมธนาคารนอร์ดิค อินเวสเมนท์ (NIB) เงินกู้ยืมธนาคารเพื่อความร่วมมือ ระหว่างประเทศญี่ปุ่น (JBIC)

เงินกู้ยืมจากสถาบันสินเชื่อ เพื่อการบูรณะและพัฒนา แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมัน (KfW) รวม

วัตถุประสงค์เพื่อการให้กู้ยืม - สำหรับกิจการอุตสาหกรรม การเกษตร

31 ธันวาคม 2553 เงินกู้ยืม เทียบเท่า คงเหลือ เงินบาท

31 ธันวาคม 2552 เงินกู้ยืม เทียบเท่า คงเหลือ เงินบาท

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

11 ล้านบาท

- สำหรับกิจการอุตสาหกรรม พื้นฐานที่สำคัญของประเทศ - สำหรับกิจการที่ลงทุน 543 ล้านบาท เพื่ออนุรักษ์พลังงาน - สำหรับกิจการเพื่อการวิจัย 42 ล้านบาท และพัฒนา - สำหรับกิจการที่ร่วมลงทุน 51 ล้านเหรียญ หรือใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ สหรัฐอเมริกา จากกลุ่มประเทศ NORDIC - สำหรับการร่วมทุนและ 117 ล้านเหรียญ การให้กู้ยืมแก่กิจการที่ไม่ได้ สหรัฐอเมริกา จดทะเบียนธุรกิจกับตลาด หลักทรัพย์ซึ่งกิจการไม่มี ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และมีการร่วมทุนกับญี่ปุ่น หรือ ซื้อ/ขายสินค้าบริการกับ ญี่ปุ่นหรือเป็นผู้ประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบจาก Tsunami ที่มี การซื้อ/ ขายสินค้า/บริการกับญี่ปุ่น - สำหรับกิจการอุตสาหกรรม 7 ล้านยูโร ขนาดย่อม

11

15 ล้านบาท

15

-

0.15 ล้านยูโร

7

543

425 ล้านบาท

425

42

66 ล้านบาท

66

1,525

62 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา

2,065

3,518

133 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา

4,449

274

8 ล้านยูโร

372

5,913

7,399

175


176

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

22. ประมาณการหนี้สินจากการโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม บรรษัทบริหาร สินทรัพย์ ไทย (หมายเหตุ 6)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้นในระหว่างปี จ่ายชำระผลขาดทุนระหว่างปี โอนกลับประมาณการหนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

6,178 65 (8) 6,235

บริษัทบริหาร สินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (หมายเหตุ 7)

3,586 264 (3,020) (830) -

รวม

9,764 329 (3,020) (838) 6,235

บรรษัทบริหาร สินทรัพย์ ไทย (หมายเหตุ 6)

6,140 65 6,205

บริษัทบริหาร สินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (หมายเหตุ 7)

-

รวม

6,140 65 6,205

23. ประมาณการหนี้สินอื่น

งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

ภาระผูกพันนอกงบดุล ภาระผูกพันจากคดีความ (หมายเหตุ 33.2) ผลขาดทุนจากเงินลงทุนใน บริษัทย่อยส่วนที่เกินต้นทุนการลงทุน โครงการปรับโครงสร้างทรัพยากรบุคคล อื่น ๆ รวม

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดต้นปี 1,071

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (871)

ยอดปลายปี 200

ยอดต้นปี 1,071

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (871)

ยอดปลายปี 200

776

(635)

141

764

(658)

106

207 72 2,126

165 65 (1,276)

372 137 850

2,336 207 72 4,450

(2,336) 165 65 (3,635)

372 137 815

ธนาคารฯ ได้ตั้งประมาณการหนี้สินสำหรับโครงการปรับโครงสร้างทรัพยากรบุคคล ซึ่งประมาณการขึ้นโดยผู้บริหาร โดยค่าใช้จ่ายที่คาดว่า จะเกิดขึ้นขึ้นอยู่กับโครงสร้างทรัพยากรบุคคลใหม่ ทั้งนี้ ภายหลังวันที่ในงบดุลจนถึงวันที่อนุมัติงบการเงิน ธนาคารฯ ได้จ่ายเงินตามโครงการ ดังกล่าวแล้วจำนวน 245 ล้านบาท


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

177

24. หนี้สินอื่น

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินมัดจำและเงินประกัน เงินวางประกันตราสารอนุพันธ์ บัญชีพักเจ้าหนี้ อื่น ๆ รวม

2553 2,155 791 1,336 2,332 312 6,926

2552 1,183 878 1,448 315 3,824

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552 2,130 1,151 775 858 1,336 2,367 1,406 290 289 6,898 3,704

25. ทุนเรือนหุ้น 25.1 หุ้นบุริมสิทธิ หุ้นบุริมสิทธิที่ออกและชำระแล้วคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คือ หุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. เป็นประเภทมีสิทธิออกเสียงไม่สะสมเงินปันผลและ มีสิทธิเหนือหุ้นสามัญในการรับเงินปันผลก่อนหุ้นสามัญและมีสิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ ซึ่งออกจำหน่ายให้แก่กระทรวงการคลังและผู้ถือหุ้น รายย่อยอีกจำนวนหนึ่งตามโครงการช่วยเพิ่มเงินกองทุนชั้นที่ 1 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2543 สิทธิและผลประโยชน์ของหุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. สรุปได้ดังนี้ 1. หุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. มีสิทธิเหนือหุ้นสามัญ ในการรับเงินปันผลก่อนหุ้นสามัญ - ในอัตราร้อยละ 3.75 ต่อปี หากปีใดที่ธนาคารฯ จ่ายเงินปันผลให้แก่หุ้นสามัญในอัตราที่สูงกว่าอัตราเงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิแล้ว ธนาคารฯ จะต้องจ่ายเงินปันผลให้แก่หุ้นบุริมสิทธิ เพิ่มขึ้นจนเท่ากับอัตราจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ - กรณีที่เงินกำไรมีจำนวนไม่เพียงพอที่จะจ่ายเงินปันผลให้แก่หุ้นบุริมสิทธิได้ตามอัตราที่กำหนดไว้ ธนาคารฯ จะจ่ายเงินปันผลให้แก่หุ้นบุริมสิทธิ ตามจำนวนกำไรที่มีอยู่และสามารถจ่ายได้ 2. ในกรณีที่มีการลดทุนตามเหตุการณ์ ดังนี้ - ธนาคารฯ มีผลขาดทุนจากการดำเนินงานอันเนื่องมาจากสินทรัพย์ที่มีอยู่ก่อนกระทรวงการคลังเข้าเพิ่มเงินกองทุน ให้ธนาคารฯ ลดทุนของ หุ้นสามัญก่อนจึงลดทุนของหุ้นบุริมสิทธิ - ธนาคารฯ มีผลขาดทุนจากการดำเนินงานอันเนื่องมาจากสินทรัพย์ที่มีอยู่หลังกระทรวงการคลังเข้าเพิ่มเงินกองทุน ให้ธนาคารฯ ลดทุนตาม สัดส่วนการถือหุ้นของหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ - ในกรณีที่มีการชำระบัญชีเลิกธนาคารฯ หรือการลดทุน หุ้นบุริมสิทธิจะอยู่ในลำดับชั้นของการชำระหนี้เหนือหุ้นสามัญในการรับส่วนแบ่งคืนทุน บุริมสิทธิของหุ้นหมวด ข. มีกำหนดระยะเวลา 10 ปี จนถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 หลังจากวันดังกล่าว บุริมสิทธิของหุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. เป็นอันสิ้นสุดลง โดยจะมีสภาพเป็นหุ้นสามัญทันทีและมีสิทธิอย่างเดียวกับหุ้นสามัญ ซึ่งผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. สามารถใช้สิทธิแปลงสภาพเป็น หุ้นสามัญได้ก่อนวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ในทุกวันที่ 20 มีนาคม 20 มิถุนายน 20 กันยายน หรือ 20 ธันวาคม


178

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ในระหว่างปี 2552 ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. จำนวน 3,600 หุ้น ได้แปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ ซึ่งทำให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวนหุ้นสามัญภายหลังแปลงสภาพมียอดคงเหลือเป็นจำนวน 41,536,744,879 หุ้น และ หุ้นบุริมสิทธิ หมวด ข. มียอดคงเหลือเป็นจำนวน 1,991,993,600 หุ้น โดยธนาคารฯ ได้จดทะเบียนการแปลงสภาพดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2553 ในระหว่างปี 2553 ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. จำนวน 1,400 หุ้น ได้แปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ โดยธนาคารฯ ได้จดทะเบียนการ แปลงสภาพดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2553 และเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2553 กระทรวงการคลังได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ หุ้นบุริมสิทธิหมวด ข. จำนวน 1,991,992,200 หุ้น ทำให้หุ้นบุริมสิทธิหมวด ข.ของธนาคารฯ หมดไป โดยธนาคารฯ ได้จดทะเบียนการแปลงสภาพ ดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2553 ทำให้ธนาคารฯ มีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญจำนวน 43,708,738,479 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาทรวมเป็นทุนจดทะเบียน 437,087,384,790 บาท และทุนชำระแล้วเป็นหุ้นสามัญจำนวน 43,528,738,479 หุ้น มูลค่า ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเงินทุนชำระแล้ว 435,287,384,790 บาท

25.2 หุ้นสามัญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2553 มีมติอนุมัติ ดังนี้ 1. การโอนเงินทุนสำรองเพื่อชดเชยผลขาดทุนสะสม เงินสำรองอื่น 8,717,165,400 บาท ทุนสำรองตามกฎหมาย 2,100,000,000 บาท รวม 10,817,165,400 บาท 2. การลดทุนจดทะเบียนและทุนชำระแล้ว โดยการลดมูลค่าตราไว้ (ราคาพาร์) แต่ละหุ้นให้ต่ำลง จากเดิมมูลค่าหุ้นละ 10 บาท เป็นมูลค่าหุ้นละ 0.95 บาท ซึ่งจะทำให้ทุนจดทะเบียนลดลงจากจำนวน 437,087,384,790 บาท เป็นจำนวน 41,523,301,555 บาท และทุนชำระแล้วลดลงจาก จำนวน 435,287,384,790 บาท เป็นจำนวน 41,352,301,555 บาท ทั้งนี้ ทุนชำระแล้วที่ลดลงอันเป็นผลจากการลดมูลค่าตราไว้ (ราคาพาร์) ดังกล่าวให้นำไปล้างส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น และลดผลขาดทุนสะสมของธนาคารฯ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2553 ธนาคารฯ ได้รับอนุญาตให้ลดทุนจดทะเบียนและทุนชำระแล้วจากธนาคารแห่งประเทศไทย และธนาคารฯ ได้ทำ การจดทะเบียนลดทุนจดทะเบียน ลดทุนชำระแล้วและลดมูลค่าตราไว้กับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 3. การเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของธนาคารฯ จำนวน 400,000,000 หุ้น ให้แก่พนักงานของธนาคารฯ ภายใต้โครงการ TMB Performance Share Bonus 2010 และการเพิ่มทุนจดทะเบียนของธนาคารฯ จากจำนวน 41,523,301,555 บาท เป็น 41,903,301,555 บาท โดยการ ออกหุ้นสามัญจำนวน 400,000,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 0.95 บาท ธนาคารฯ ได้ทำการจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนต่อกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ทุนจดทะเบียนของธนาคารฯ ที่แสดงไว้ในงบดุล เป็นทุนจดทะเบียนตามหนังสือบริคณห์สนธิ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

179

25.3 รายการกระทบยอดหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำนวนหุ้น (หุ้น)

หุ้นบุริมสิทธิ ทุนจดทะเบียน หุ้นบุริมสิทธิ ณ วันต้นปี จดทะเบียนการแปลงสภาพ หุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ณ วันสิ้นปี ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นบุริมสิทธิ ณ วันต้นปี แปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ณ วันสิ้นปี หุ้นสามัญ ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ ณ วันต้นปี จดทะเบียนการแปลงสภาพ หุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ หุ้นสามัญก่อนการลดทุน ลดทุนโดยการลดมูลค่าตราไว้ให้ต่ำลง หุ้นสามัญหลังการลดทุน จดทะเบียนเพิ่มทุนภายใต้ โครงการ TMB PSBP 2010 หุ้นสามัญ ณ วันสิ้นปี ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ ณ วันต้นปี แปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ หุ้นสามัญก่อนการลดทุน ลดทุนโดยการลดมูลค่าตราไว้ให้ต่ำลง หุ้นสามัญ ณ วันสิ้นปี

ราคาพาร์ (บาท ต่อหุ้น)

2552 จำนวนเงิน (บาท)

จำนวนหุ้น (หุ้น)

1,991,997,200 10

19,919,972,000

(1,991,997,200) 10

(19,919,972,000)

-

ราคาพาร์ (บาท ต่อหุ้น)

1,991,997,200 10 -

จำนวนเงิน (บาท)

19,919,972,000

-

-

-

-

1,991,997,200 10

19,919,972,000

1,991,997,200 10

19,919,972,000

1,991,997,200 10

19,919,972,000

(1,991,997,200) 10

(19,919,972,000)

-

-

-

-

-

-

1,991,997,200 10

19,919,972,000

41,716,741,279 10

417,167,412,790

41,716,741,279 10

417,167,412,790

1,991,997,200 10

19,919,972,000

-

-

-

43,708,738,479 10

437,087,384,790

-

-

-

- (9.05) (395,564,083,235)

-

-

-

43,708,738,479 0.95

41,523,301,555

-

-

-

400,000,000 0.95

380,000,000

-

-

-

44,108,738,479 0.95

41,903,301,555

41,716,741,279 10

417,167,412,790

41,536,741,279 10

415,367,412,790

41,536,741,279 10

415,367,412,790

1,991,997,200 10

19,919,972,000

-

-

-

43,528,738,479 10

435,287,384,790

-

-

-

- (9.05) (393,935,083,235)

-

-

-

41,536,741,279 10

415,367,412,790

43,528,738,479 0.95

41,352,301,555


180

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

26. ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2549 ธนาคารฯ ได้ออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญชนิดระบุชื่อผู้ถือและโอนเปลี่ยนมือไม่ได้เว้นแต่โอนทางมรดก ให้แก่พนักงานของธนาคารฯ โดยไม่คิดมูลค่า จำนวน 68,158,000 หน่วย รายละเอียดของใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ มีดังนี้ วันที่เสนอขาย 1 กุมภาพันธ์ 2549 อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ 5 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขาย ราคาเสนอขาย ศูนย์บาท สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1.051 หุ้น (หลังปรับปรุง) ราคาการใช้สิทธิซื้อหุ้น 4.48 บาทต่อหุ้น (หลังปรับปรุง) เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามข้อกำหนดและเงื่อนไข วันกำหนดการใช้สิทธิ 31 มกราคม และ 31 กรกฎาคม ของแต่ละปี (ทุกวันทำการสุดท้าย) ระยะเวลาการใช้สิทธิ 31 กรกฎาคม 2551 - 31 มกราคม 2554 ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2551 จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2554 ไม่มีผู้มาใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ดังนั้นใบสำคัญแสดงสิทธิ ดังกล่าวจำนวน 68,158,000 หน่วย จึงหมดอายุลง

27. โครงการจ่ายโบนัสในรูปแบบของหุ้นสามัญสำหรับพนักงานธนาคารฯ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2553 ได้อนุมัติโครงการจ่ายโบนัสในรูปแบบของหุ้นสามัญสำหรับพนักงาน ธนาคารฯ (TMB Performance Share Bonus 2010 Project: TMB PSBP 2010) โดยธนาคารฯ จะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนโดยการ จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนของธนาคารฯ ให้แก่พนักงาน (รวมถึงพนักงานที่ทำหน้าที่เป็นกรรมการของธนาคารฯ) ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กำหนด ในโครงการ TMB PSBP 2010 โดยกำหนดให้ผู้บริหารระดับสูงต้องเข้าร่วมโครงการ ในขณะที่พนักงานธนาคารฯ ในระดับอื่นสามารถเลือก ที่จะเข้าร่วมโครงการได้ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด อายุของโครงการต่อเนื่อง:

5 ปี นับจากวันที่มีการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งแรก

จำนวนของหุ้นสามัญที่เสนอขาย:

จำนวนรวมทั้งสิ้นไม่เกิน 400,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นตราไว้ หุ้นละ 0.95 บาท ธนาคารฯ จะทำการเสนอขาย หุ้นสามัญเพิ่มทุนเป็นโครงการต่อเนื่อง

ราคาเสนอขายต่อหุ้น:

ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่พนักงานตามโครงการTMB PSBP 2010 จะเท่ากับราคาเฉลี่ย ของราคาปิ ด ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ในแต่ ล ะวั น ทำการซื้ อ ขายหุ้ น สามั ญ ของธนาคารฯ ย้อนหลัง 90 วันปฏิทินก่อนวันที่มีการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในแต่ละครั้ง

ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่คำนวณได้อาจเป็นราคาที่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดตาม ที่ ก ำหนดไว้ ใ นประกาศสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เ กี่ ย วกั บ การ คำนวณราคาเสนอขายหลักทรัพย์และการกำหนดราคาตลาดเพื่อการพิจารณาเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ อนึ่ง หากราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในครั้งใดครั้งหนึ่งคำนวณได้ต่ำกว่ามูลค่าหุ้นตราไว้ ธนาคารฯ ต้องทำการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่พนักงานตามโครงการ TMB PSBP 2010 ในราคาเท่ากับ มูลค่าหุ้นตราไว้


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

181

เงื่อนไขการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน: พนักงานตามโครงการ TMB PSBP 2010 ที่จะจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนจะต้องมีสถานะเป็นพนักงาน ของธนาคารฯ ณ วันจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าว (สิทธิยังคงอยู่สำหรับพนักงานที่เกษียณอายุตาม หลักเกณฑ์ของธนาคารฯ หรือเสียชีวิต) ในระหว่างปี 2553 ธนาคารฯ บันทึกค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการจ่ายโบนัสในรูปแบบของหุ้นสามัญสำหรับพนักงานในงบกำไรขาดทุนรวมและ เฉพาะธนาคารฯ เป็นจำนวน 34 ล้านบาท

28. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สิน คือ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน และอาคาร ทั้งนี้ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทรัพย์สินดังกล่าว ไม่สามารถ นำมาหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถจ่ายเป็นเงินปันผลได้ (หน่วย: ล้านบาท)

ยอดคงเหลือต้นปี ตัดจำหน่ายระหว่างปี ตัดรายการสินทรัพย์ระหว่างปี โอนออกระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 5,155 5,288 (73) (75) (136) (1) (58) (162) 4,784 5,155

(1) รวมผลขาดทุนจากการด้อยค่าของส่วนเกินจากการตีราคาที่ดินและอาคารที่รับรู้ ไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง จำนวน 79 ล้านบาท และ 1 ล้านบาท ตามลำดับ

29. สำรองตามกฎหมาย ก่อนวันที่ 23 เมษายน 2553 ข้อบังคับของธนาคารฯ กำหนดให้ธนาคารฯ ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2553 มีมติอนุมัติให้แก้ ไขข้อบังคับของธนาคารฯ เพื่อให้มีหลักเกณฑ์เดียวกับที่ กฎหมายกำหนด โดยกำหนดให้ธนาคารฯ ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายไม่สามารถนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ ได้จัดสรรกำไรสุทธิสำหรับปี 2553 จำนวน 200 ล้านบาท ไปเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย


182

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

30. เงินกองทุนตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ของธนาคารฯ ในการบริหารทุนคือการดำรงไว้ซึ่งความสามารถในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและการดำรงเงินกองทุนตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 เงินกองทุนชั้นที่ 1 ทุนที่ออกและชำระแล้ว ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน (Hybrid Tier1) สำรองตามกฎหมาย สำรองอื่น ขาดทุนสุทธิคงเหลือหลังการจัดสรร รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1

41,352 4,200 (78) 45,474

435,287 (303,088) 5,758 2,100 8,717 (102,868) 45,906

เงินกองทุนชั้นที่ 2 มูลค่าเพิ่มจากการตีราคาที่ดิน มูลค่าเพิ่มจากการตีราคาอาคาร เงินสำรองสำหรับสินทรัพย์จัดชั้นปกติ หุ้นกู้ด้อยสิทธิ ส่วนเกินทุนสุทธิจากการตีราคาเงินลงทุนในตราสารทุนประเภทหลักทรัพย์เผื่อขาย รวมเงินกองทุนชั้นที่ 2 รวมเงินกองทุนตามกฎหมายทั้งสิ้น

1,973 980 4,800 13,300 29 21,082 66,556

2,145 1,043 4,600 10,205 6 17,999 63,905 (หน่วย: ร้อยละ)

อัตราเงินกองทุนชั้นที่ 1 อัตราเงินกองทุนทั้งสิ้น อัตราขั้นต่ำของเงินกองทุนชั้นที่ 1 ตามกฎหมาย อัตราขั้นต่ำของเงินกองทุนตามกฎหมาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 11.33 12.31 16.59 17.13 4.25 4.25 8.50 8.50

นอกจากนี้ เพื่อให้เป็นไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำรงเงินกองทุนสำหรับธนาคารพาณิชย์ ธนาคารฯ ได้จัดทำการเปิดเผยข้อมูลการดำรงเงินกองทุนระดับกลุ่ม solo consolidation ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553 ไว้ ใน Website ของธนาคารฯ ที่ www.tmbbank.com เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2553


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

183

สำหรับการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำรงเงินกองทุนสำหรับกลุ่มธุรกิจทางการเงินระดับกลุ่ม full consolidation (Basel II Pillar III) ซึ่งเป็นไป ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยนั้น ธนาคารฯ จะจัดทำการเปิดเผยข้อมูลการดำรงเงินกองทุนและข้อมูลความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทาง การเงินระดับกลุ่ม full consolidation ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ไว้ใน Website ของธนาคารที่ www.tmbbank.com ภายในเดือนเมษายน 2554 และจะเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในรายงานประจำปี 2553 ของธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) และเอกสารแนบของแบบแสดงรายการข้อมูล ประจำปี 2553 (แบบ 56-1)

31. ภาษีเงินได้ จำนวนภาษีเงินได้ในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการน้อยกว่าจำนวนภาษีเงินได้ที่คำนวณโดยการใช้อัตราภาษีเงินได้คูณกับยอดกำไรสุทธิตามบัญชี สำหรับปี เนื่องจากธนาคารฯ มีขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ ได้ ใช้ประโยชน์ยกมาจากปีก่อนๆ และได้ถูกนำมาใช้เพื่อลดจำนวนกำไรเพื่อเสียภาษี ในปีปัจจุบัน ภาษีเงินได้ ในงบกำไรขาดทุนรวมเกิดจากกำไรของบริษัทย่อย คำนวณขึ้นจากกำไรสุทธิหลังจากบวกกลับด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ ไม่อนุญาตให้ถือ เป็นรายจ่ายทางภาษี

32. กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นธนาคารฯ หลังหักเงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิ (ถ้ามี) ด้วยจำนวนถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอกที่ออกอยู่ในระหว่างปี กำไรต่อหุ้นปรับลดคำนวณโดยหารกำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นธนาคารฯ หลังหักเงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิ (ถ้ามี) ด้วยผลรวมของจำนวน หุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออกอยู่ในระหว่างปีกับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ธนาคารฯ อาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญ เทียบเท่าทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญ โดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นงวดหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า (ไม่มีการคำนวณ จำนวนของหุ้นสามัญเทียบเท่าที่ธนาคารฯ อาจต้องออกสำหรับใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ เนื่องจากราคาการใช้สิทธิสูงกว่ามูลค่า ยุติธรรมของหุ้นสามัญ)


184

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและกำไรต่อหุ้นปรับลดแสดงการคำนวณได้ดังนี้ งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก

กำไรสุทธิ

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นธนาคารฯ ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด จากการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ กำไรต่อหุ้นปรับลด

กำไรต่อหุ้น

2553

2552

2553

2552

2553

2552

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านหุ้น

ล้านหุ้น

บาท

บาท

3,202

1,945

42,743

41,537

0.07

0.05

3,202

1,945

786 43,529

1,992 43,529

0.07

0.04

งบการเงินเฉพาะของกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก

กำไรสุทธิ

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นธนาคารฯ ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด จากการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ กำไรต่อหุ้นปรับลด

กำไรต่อหุ้น

2553

2552

2553

2552

2553

2552

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านหุ้น

ล้านหุ้น

บาท

บาท

3,264

2,048

42,743

41,537

0.08

0.05

3,264

2,048

786 43,529

1,992 43,529

0.07

0.05


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

185

33. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 33.1 ภาระผูกพัน (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 เงินบาท ต่างประเทศ รวม เงินบาท ต่างประเทศ รวม การรับอาวัลตั๋วเงินและการค้ำประกันการกู้ยืมเงิน การรับอาวัลตั๋วเงิน 86 การค้ำประกันการกู้ยืมเงิน รวมการรับอาวัลตั๋วเงินและการค้ำประกันการกู้ยืมเงิน 86 ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้าที่ยังไม่ครบกำหนด 8 เล็ตเตอร์ออฟเครดิต 397 ภาระผูกพันอื่น การค้ำประกันอื่น 25,212 สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยต่างสกุลเงิน สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 318,918 สัญญาซื้อขายอัตราดอกเบี้ยล่วงหน้า สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อ 1,619 สัญญาขาย 1,619 วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้ายังไม่ได้ถอน 50,832 รวมภาระผูกพันอื่น 398,200 รวม 398,691

256 256 1,671 15,303

86 256 342 1,679 15,700

129 129 215 252

717 717 742 16,670

129 717 846 957 16,922

5,677

30,889

26,940

6,845

33,785

219,130 228,753

219,130 228,753

-

57,946 66,232

57,946 66,232

3,525 1,046

3,525 1,046

-

1,625 671

1,625 671

16,675 12,100 21,027 -

16,675 12,100 339,945 -

172,696 -

6,003 492 3,853 4,174

6,003 492 176,549 4,174

507,933 525,163

1,619 1,619 50,832 906,133 923,854

42,019 241,655 242,251

3,337 3,337 1 154,516 172,645

3,337 3,337 42,020 396,171 414,896

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ ได้ยกเลิกสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยก่อนครบกำหนดอายุสัญญาจำนวน 3 สัญญา โดยมี กำไรจากการยกเลิกสัญญาจำนวนประมาณ 260 ล้านบาท (สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552: 20 สัญญา และมีกำไรจากการยกเลิกสัญญา จำนวน 955 ล้านบาท)


186

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

33.2 คดีความ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยถูกดำเนินคดีตามภาระหนังสือค้ำประกันและสิทธิเรียกร้องอื่นๆ จำนวน 179 คดี และ 191 คดี ตามลำดับโดยมีทุนทรัพย์ฟ้องประมาณ 17,987 ล้านบาท และ 18,789 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : จำนวน 160 คดี และ 171 คดี มีจำนวนทุนทรัพย์ฟ้องประมาณ 12,912 ล้านบาท และ 13,414 ล้านบาท ตามลำดับ) ซึ่งในการถูกฟ้องร้องดำเนินคดีดังกล่าวเป็นการเรียก ให้ธนาคารฯ และบริษัทย่อยรับผิดประมาณ 8,044 ล้านบาท(1) และ 8,493 ล้านบาท (1) ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : ประมาณ 2,969 ล้านบาท(1) และ 3,118 ล้านบาท(1) ตามลำดับ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้รับรู้ประมาณการผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากคดีฟ้องร้องจำนวนรวม 141 ล้านบาท และ 776 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : จำนวน 106 ล้านบาท และ 764 ล้านบาท ตามลำดับ) ซึ่งฝ่ายบริหารสรุปและเชื่อว่าประมาณการ หนี้สินดังกล่าวเพียงพอที่จะรองรับผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากคดีฟ้องร้องข้างต้น นอกจากนี้ ธนาคารฯ ยังถูกฟ้องร้องอีกคดีหนึ่ง ซึ่งมีทุนทรัพย์ประมาณ 140,261 ล้านบาท จากการออกหนังสือค้ำประกันโดยทุจริตในวงเงิน 200 ล้านบาท ซึ่งศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ได้พิพากษายกฟ้องโจทก์ ปัจจุบันคดีอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา ซึ่งฝ่ายบริหารได้รับการให้ คำปรึกษาว่าการยื่นฎีกาไม่มีเหตุสนับสนุนเพียงพอและเป็นไปได้ยากที่โจทก์จะชนะคดี ฝ่ายบริหารจึงเชื่อว่าธนาคารฯ จะไม่มีความรับผิดใดๆ ในกรณีนี้ (1) ไม่รวมความรับผิดของธนาคารฯ ณ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จำนวน 1,819 ล้านบาท และ 2,446 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งศาลชั้นต้นหรือ ศาลอุทธรณ์มีคำพิพากษายกฟ้องหรือพิพากษาลดความรับผิดทำให้ความรับผิดของธนาคารฯ ลดลง

33.3 ภาระผูกพันอื่น 33.3.1 รายจ่ายฝ่ายทุน (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ อาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่น อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ รวม

44 92 150 286

23 191 227 441

44 92 150 286

23 191 225 439

33.3.2 สัญญาเช่าดำเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้

ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี รวม

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 241 234 230 218 332 279 312 266 573 513 542 484


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

187

34. รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 34.1 คำนิยามและลักษณะความสัมพันธ์ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ได้แก่ บุคคลหรือกิจการต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับธนาคารฯ และบริษัทย่อยโดยการเป็นผู้ถือหุ้นหรือมีผู้ถือหุ้น ร่วมกันหรือมีกรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กำหนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตาม สัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ได้แก่ 1. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ของทุนชำระแล้วของธนาคารฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้องกันของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 2. กิจการที่ธนาคารฯ มีอำนาจควบคุม หรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ 3. กิจการนอกเหนือจากข้อ 2 ที่ธนาคารฯ เป็นผู้ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไปของทุนที่ชำระแล้วของกิจการนั้น หรือกิจการที่ธนาคารฯ ถือหุ้นน้อยกว่าร้อยละ 20 ของทุนที่ชำระแล้วและมีกรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ เป็นกรรมการที่มีอำนาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างเป็น สาระสำคัญ 4. กิจการที่ธนาคารฯ มิได้เป็นผู้ถือหุ้นแต่มีกรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวเข้าไปถือหุ้น หรือเป็นกรรมการ ที่มีอำนาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ 5. กรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 10 แล้ว


188

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

รายละเอียดความสัมพันธ์ที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีการควบคุม หรือ ควบคุมร่วมกันในธนาคารฯ หรือเป็นกิจการที่ธนาคารฯ ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับธนาคารฯ และบริษัทย่อย ชื่อกิจการ

ประเทศที่จัดตั้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

กระทรวงการคลังและกิจการ ที่กระทรวงการคลังถือหุ้น หรือมีอำนาจควบคุม

ไทย

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ซึ่งถือหุ้นธนาคารฯ ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป และบริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่

ธนาคารไอเอ็นจี เอ็น.วี.

เนเธอร์แลนด์

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ซึ่งถือหุ้นธนาคารฯ ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

บริษัท ไอเอ็นจี ประกันชีวิต จำกัด

ไทย

เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ซึ่งถือหุ้นธนาคารฯ ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุนไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำกัด

ไทย

เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ซึ่งถือหุ้นธนาคารฯ ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด

ไทย

เป็นบริษัทย่อย ธนาคารฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 กรรมการเกิน กึ่งหนึ่งเป็นผู้แทนของธนาคารฯ

บริษัท เดซิกนี ฟอร์ อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด

ไทย

เป็นบริษัทย่อย ธนาคารฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.40 กรรมการเกิน กึ่งหนึ่งเป็นผู้แทนของธนาคารฯ

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด

ไทย

เป็นบริษัทย่อย ธนาคารฯ ถือหุ้นร้อยละ 75.00 กรรมการเกิน กึ่งหนี่งเป็นผู้แทนของธนาคาร

บริษัท ไทยโอริกซ์ ลิสซิ่ง จำกัด (1)

ไทย

เป็นบริษัทร่วม ธนาคารฯ ถือหุ้นร้อยละ 45.96 ผู้แทนของธนาคารฯ เป็นกรรมการน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด

บริษัท เมโทร เดซิกนี จำกัด

ไทย

เป็นบริษัทร่วม ธนาคารฯ ถือหุ้นร้อยละ 30.00 ผู้แทนของธนาคารฯ เป็นกรรมการน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พญาไท (2)

ไทย

เป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ประเภท 2 ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อ นักลงทุนสถาบัน และธนาคารฯ ถือหน่วยร้อยละ 30.00 ผู้แทน ของธนาคารฯ เป็นคณะกรรมการลงทุนน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ คณะกรรมการลงทุนทั้งหมด

กองทุนรวมธุรกิจไทย 2 (3)

ไทย

เป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ประเภท 4 ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อ นักลงทุนสถาบัน และธนาคารฯ ถือหน่วยร้อยละ 32.00 ผู้แทน ของธนาคารฯ เป็นคณะกรรมการลงทุนน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ คณะกรรมการลงทุนทั้งหมด

(1)

ถือเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันจนถึงวันที่ 15 กันยายน 2553 (วันที่จำหน่ายเงินลงทุน) ถือเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันจนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2552 (วันเลิกกองทุนฯ) (3) ถือเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันจนถึงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 (วันเลิกกองทุนฯ) (2)


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

189

34.2 นโยบายการกำหนดราคา ธนาคารฯ ใช้นโยบายด้านราคา และอัตราดอกเบี้ยดังนี้ ด้านสินเชื่อ ใช้อัตราที่เป็นไปตามราคาตลาด ยกเว้นเงินให้สินเชื่อสวัสดิการใช้อัตราตามระเบียบของธนาคารฯ และเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย แห่งหนึ่งที่ธนาคารฯ กำหนดอัตราดอกเบี้ยที่อิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ด้านรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการจากการที่ธนาคารฯ เป็นนายทะเบียนและบริการอื่นที่เกี่ยวข้อง การให้บริการโอนเงินและรับโอนเงินให้แก่ ผู้ซื้อ/ขายหน่วยลงทุนผ่านธนาคารฯ การให้บริการและเป็นตัวแทนสนับสนุนการขายกองทุนรวมที่บริหารจัดการโดยบริษัทย่อยแห่งหนึ่งและ กิจการที่เกี่ยวข้องแห่งหนึ่งซึ่งคิดในอัตราตามสัญญา โดยมีการต่อรองตามปกติของธุรกิจนี้ที่พิจารณาจากขนาดของกองทุนและปริมาณ การซื้อขายหน่วยลงทุน ด้านเงินฝากและเงินกู้ยืม ใช้อัตราที่เป็นไปตามราคาตลาด ด้านรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการประเภทอื่นๆ ใช้อัตราที่เป็นไปตามราคาตลาด ยกเว้นรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการเป็นตัวแทนเรียกเก็บหนี้ แก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ที่ธนาคารฯ กำหนดเป็นอัตราเดือนละ 10,000 บาท ด้านการเช่าสำนักงานสาขาและการให้เช่าอาคารสำนักงานธนาคารฯ - ธนาคารฯ มีสัญญาเช่า และสัญญาค่าบริการที่ทำการสาขากับกิจการที่เกี่ยวข้อง 9 แห่ง โดยกำหนดอัตราค่าเช่า และค่าบริการเป็นไปตาม อัตราตลาด - ธนาคารฯ มีสัญญาให้เช่า และสัญญาให้บริการกับบริษัทที่เกี่ยวข้องแห่งหนึ่ง โดยกำหนดอัตราค่าเช่า และค่าบริการเป็นไปตามสัญญาที่ตกลงกัน หรืออัตราตลาดขณะทำสัญญา ด้านการโอนขายสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของธนาคารฯ ให้แก่บริษัทย่อยแห่งหนึ่งใช้ราคายุติธรรมหรือราคาตลาด สำหรับสินทรัพย์แต่ละรายการ (ดูหมายเหตุข้อ 11.6)

34.3 สัญญาสำคัญที่ทำกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1. เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2551 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้อนุมัติให้ธนาคารฯ เข้าทำสัญญาการดำเนินธุรกิจร่วมกันกับบริษัทในกลุ่มของ ING ซึ่งเป็นบุคคล ที่เกี่ยวโยงกันของธนาคารฯ ดังนี้ 1.1 สัญญาแต่งตั้งธนาคารฯ เป็นตัวแทนจำหน่ายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุน(Distribution Agent Agreement) ให้แก่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำกัด (“ ING Funds”) โดยมีอายุสัญญา 10 ปี โดยสัญญาดังกล่าวให้สิทธิร่วมเพียง 2 บริษัท ซึ่งได้แก่บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุน ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด ทั้งนี้ก่อนสิ้นสุดสัญญา สามารถมีการเจรจา เพื่อทบทวนความเหมาะสมของสัญญาและเงื่อนไขต่าง ๆใหม่และกรณีธนาคารฯ ต้องการที่จะต่ออายุสัญญาจะต้องขอความเห็นชอบจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้น อัตราค่าธรรมเนียมที่จะได้รับของแต่ละกองทุนแตกต่างกันไปตามลักษณะของแต่ละกองทุน โดยอัตราค่าธรรมเนียมรับจะขึ้นอยู่กับการพิจารณา ร่วมกันของทั้ง 2 ฝ่าย


190

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารฯ มีมติอนุมัติการแก้ ไขสัญญาDistribution Agent Agreement โดยธนาคารฯ จะแนะนำลูกค้าที่สนใจบริการบริหารกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคลให้กับบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้จัดการกองทุน และธนาคารฯ จะได้รับผลตอบแทนในรูปแบบของค่าธรรมเนียม รวมทั้งมีการผ่อนปรนข้อกำหนดสิทธิของบริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำกัด ในการนำเสนอผลิตภัณฑ์กองทุน โดยเปิดโอกาสให้ธนาคารฯ สามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์ กองทุนของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนอื่นให้กับลูกค้าบางกลุ่มของธนาคารฯ ได้ 1.2 สัญญาแต่งตั้งธนาคารฯ เป็นนายหน้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต (Bancassurance Product Distribution Agreement) ให้แก่ บริษัท ไอเอ็นจีประกันชีวิต จำกัด (“ ING Life”) แต่เพียงผู้เดียว โดยมีอายุสัญญา 10 ปี ทั้งนี้ก่อนสิ้นสุดสัญญาสามารถมีการเจรจาเพื่อทบทวนความ เหมาะสมของสัญญาและเงื่อนไขต่างๆ ใหม่และกรณีธนาคารฯ ต้องการที่จะต่ออายุสัญญาจะต้องขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น อัตราค่าธรรมเนียมและเงื่อนไขทางธุรกิจอื่นที่จะได้รับต้องได้รับความเห็นชอบร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย 2.

วันที่ 28 สิงหาคม 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารฯ ได้อนุมัติให้ธนาคารฯ เข้าทำสัญญาการดำเนินธุรกิจร่วมกันกับ ING Asia Private Bank Limited ซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของธนาคารฯ ดังนี้ สัญญาการแนะนำธุรกิจระหว่างกัน (Referral Agreement) ระหว่างธนาคารฯ กับ ING Asia Private Bank Limited เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2551 คู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาดังกล่าวได้ โดยแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 เดือนล่วงหน้า อัตราค่าธรรมเนียมนี้แต่ละฝ่ายจะได้รับแตกต่างกันไปตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ทางการเงินแต่ละประเภท ซึ่งระบุรายละเอียดไว้ในสัญญาดังกล่าว ข้างต้น ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 29 มกราคม 2553 ING Asia Private Bank Limited ได้เปลี่ยนสถานะเป็นบริษัทย่อยของ Oversea Chinese Banking Corporation Limited (“OCBC Bank”) รวมทั้งได้เปลี่ยนชื่อเป็น Bank of Singapore Limited ดังนั้น บริษัทดังกล่าวไม่มีสถานะเป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของ ธนาคารฯ อีกต่อไปนับแต่วันดังกล่าว

3.

เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2552 ธนาคารฯ ได้ทำสัญญาว่าจ้าง ING Bank N.V. Singapore Branch ซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของธนาคารฯ เพื่อช่วยเหลือในการเจรจาต่อรองการซื้อคืนหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนที่ไม่สะสมดอกเบี้ยจ่าย และไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ไม่มีผลกำไร และ ครบกำหนดชำระหนี้เมื่อเลิกกิจการ ซึ่งออกและเสนอขายเป็นจำนวน 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2549 และช่วยเหลือในเรื่องการดำเนินการ ซื้อคืน การชำระราคา และการยกเลิกหุ้นกู้ที่ถูกซื้อคืน การว่าจ้างนี้เป็นการว่าจ้างเพียงครั้งเดียวและจบสิ้นไปเมื่อธนาคารฯ ได้ซื้อหุ้นกู้คืนและดำเนินการยกเลิกหุ้นกู้เป็นจำนวน 22 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2552 โดยมีค่าธรรมเนียมที่จ่ายคิดตามอัตราตลาด

4.

เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2553 ธนาคารฯ ได้ขายหุ้นสามัญของบริษัท เหมืองแร่โปแตซอาเซียน จำกัด (มหาชน) จำนวน 1,165,500 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 80 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 93,240,000 บาท ให้แก่ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของธนาคารฯ และเป็น ผู้เสนอราคาซื้อสูงสุด จากวิธีการเสนอซื้อหลักทรัพย์โดยใช้ราคาเสนอซื้อสูงสุดในการเปิดซองประมูล

5.

เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ ได้ทำสัญญาปรับโครงสร้างหนี้กับ บบส. พญาไท เพื่อลดหนี้ให้ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อที่ 7.2


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

6.

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

191

เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 และ 24 ธันวาคม 2553 ธนาคารฯ ได้โอนขายสินเชื่อด้อยคุณภาพให้แก่ บบส. พญาไท ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อที่ 11.6

34.4 ผลประโยชน์อื่นที่จ่ายแก่กรรมการและผู้บริหาร กรรมการและผู้บริหารของธนาคารฯ ตั้งแต่ระดับเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายขึ้นไป มิได้รับผลประโยชน์อื่นใดจากธนาคารฯ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็น ตัวเงินนอกเหนือจากผลประโยชน์ที่พึงได้รับตามปกติ ซึ่งได้แก่ ค่าตอบแทนกรรมการรายเดือน เบี้ยประชุม เงินเดือน และโบนัส (ดูหมายเหตุข้อ 27) ทั้งนี้ กรรมการที่เป็นผู้บริหารของธนาคารฯ และกรรมการผู้แทนของ ING Bank N.V. ที่เป็นผู้บริหารไม่ได้รับค่าตอบแทนกรรมการตามหลักเกณฑ์ ของธนาคารต้นสังกัด อย่างไรก็ตาม กรรมการที่พำนักอยู่ต่างประเทศสามารถเบิกค่าเดินทางและค่าที่พักในการเดินทางมาปฏิบัติหน้าที่ในธุรกิจ ของธนาคารฯ ได้ตามที่จ่ายจริง สำหรับผู้บริหารที่เป็นชาวต่างชาติได้รับผลประโยชน์เพิ่มเติม ได้แก่ ค่าเช่าบ้าน รวมค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ และ ค่าเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 34.5 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่เกิดขึ้นในระหว่างปี สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่สำคัญประกอบด้วย (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 รายได้ รายได้ รายได้ รายได้ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย าใช้จ่าย ค่าทีใช้่มจิใช่​่าย ดอกเบี ดอกเบี้ยและ ที่มิใช่ ค่ดอกเบี ้ ย และ ที่มิใช่ ดอกเบี้ย ที่มิใช่ ้ย ดอกเบี้ย เงินปันผล ดอกเบี เงินปันผล ดอกเบี้ย ้ย ดอกเบี้ย

1. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ของทุนชำระแล้วของธนาคารฯ และบริษัท ที่เกี่ยวข้องกันของผู้ถือหุ้นรายใหญ่

657

575

88

125

784

388

61

113

-

-

-

-

3

-

-

12

70

-

-

2

73

-

-

2

4. กิจการที่ธนาคารฯ มิได้เป็นผู้ถือหุ้นแต่มี กรรมการ หรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวเข้าไปถือหุ้น หรือเป็นกรรมการที่มีอำนาจควบคุมหรือ มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ

-

-

1

-

-

-

1

-

5. กรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึงผู้ที่ เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว

1

-

1

-

-

-

2

-

2. บริษัทย่อยและบริษัทร่วม 3. กิจการที่ธนาคารฯ เป็นผู้ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไปของทุนที่ชำระแล้ว (ไม่รวมกิจการที่ถือเป็น บริษัทย่อยและบริษัทร่วม) หรือถือหุ้นน้อยกว่า ร้อยละ 20 และมีกรรมการหรือผู้บริหาร ธนาคารฯ เป็นกรรมการที่มีอำนาจควบคุม หรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ


192

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 รายได้ รายได้ รายได้ รายได้ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย าใช้จ่าย ค่าทีใช้่มจิใช่​่าย ดอกเบี ดอกเบี้ยและ ที่มิใช่ ค่ดอกเบี ้ ย และ ที่มิใช่ ดอกเบี้ย ที่มิใช่ ้ย ดอกเบี้ย เงินปันผล ดอกเบี เงินปันผล ดอกเบี้ย ้ย ดอกเบี้ย

1. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ของทุนชำระแล้วของธนาคารฯ และบริษัท ที่เกี่ยวข้องกันของผู้ถือหุ้นรายใหญ่

657

575

88

125

784

388

61

113

2. บริษัทย่อยและบริษัทร่วม

289

(3,828)

1

-

267

161

2

12

70

-

-

2

73

-

-

2

4. กิจการที่ธนาคารฯ มิได้เป็นผู้ถือหุ้นแต่มี กรรมการ หรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวเข้าไปถือหุ้น หรือเป็นกรรมการที่มีอำนาจควบคุมหรือ มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ

-

-

1

-

-

-

1

-

5. กรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึงผู้ที่ เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว

1

-

1

-

-

-

2

-

3. กิจการที่ธนาคารฯ เป็นผู้ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไปของทุนที่ชำระแล้ว (ไม่รวมกิจการที่ถือเป็น บริษัทย่อยและบริษัทร่วม) หรือถือหุ้นน้อยกว่า ร้อยละ 20 และมีกรรมการหรือผู้บริหาร ธนาคารฯ เป็นกรรมการที่มีอำนาจควบคุม หรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

193

34.6 ยอดคงค้างกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ยอดคงค้างกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันประกอบด้วย 34.6.1 ยอดคงเหลือที่สำคัญระหว่างธนาคารฯ กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ของทุนชำระแล้วของธนาคารฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้องกันของ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) (ก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) กระทรวงการคลังและกิจการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นหรือมีอำนาจควบคุม

59,691

45,162

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กระทรวงการคลังและกิจการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นหรือมีอำนาจควบคุม

74

418

สินทรัพย์อื่น กิจการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นหรือมีอำนาจควบคุม บจ. ไอเอ็นจี ประกันชีวิต บลจ.ไอเอ็นจี (ประเทศไทย)

39 58 3

3 26 2

เงินรับฝาก (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) กระทรวงการคลังและกิจการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นหรือมีอำนาจควบคุม บจ. ไอเอ็นจี ประกันชีวิต บลจ.ไอเอ็นจี (ประเทศไทย)

4,724 223 11

6,479 552 22

เงินกู้ยืม (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) กระทรวงการคลังและกิจการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นหรือมีอำนาจควบคุม ธนาคารไอเอ็นจี เอ็น.วี.

10,498 3,015

1,022 1,503

หนี้สินอื่น กระทรวงการคลังและกิจการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นหรือมีอำนาจควบคุม ธนาคารไอเอ็นจี เอ็น.วี.

32 -

14 1

40,682 424

13,175 183

ภาระผูกพัน กิจการที่กระทรวงการคลังถือหุ้นหรือมีอำนาจควบคุม ธนาคารไอเอ็นจี เอ็น.วี.


194

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

34.6.2 ยอดคงเหลือที่สำคัญระหว่างธนาคารฯ กับบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553

เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ (ก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) บริษัทย่อย บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด บริษัทร่วม บริษัท ไทยโอริกซ์ ลิสซิ่ง จำกัด

31 ธันวาคม 2552

-

-

700

1,000

-

100

-

100

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทย่อย บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด บริษัทร่วม บริษัท ไทยโอริกซ์ ลิสซิ่ง จำกัด

-

-

7

10

-

1

-

1

สินทรัพย์อื่น บริษัทย่อย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด

-

-

24

10

เงินกู้ยืม บริษัทย่อย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด

-

-

14

12

-

-

101 20

141 32

-

1

-

1

-

-

53

12

เงินรับฝาก บริษัทย่อย บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนทหารไทย จำกัด บริษัทร่วม บริษัท ไทยโอริกซ์ ลิสซิ่ง จำกัด หนี้สินอื่น บริษัทย่อย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนทหารไทย จำกัด


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

195

34.6.3 ยอดคงเหลือที่สำคัญระหว่างธนาคารฯ กับกิจการที่ธนาคารฯ เป็นผู้ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไปของทุนที่ชำระแล้ว (ไม่รวมกิจการที่ถือเป็นบริษัท ย่อยและบริษัทร่วม) หรือกิจการที่ธนาคารฯ ถือหุ้นน้อยกว่าร้อยละ 20 ของทุนที่ชำระแล้วและมีกรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ เป็นกรรมการที่มี อำนาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม เงินรับฝาก บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทีเอ็มบี จำกัด สินทรัพย์อื่น กองทุนรวมสยามรีสอร์ท

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552

2553

2552

4

4

4

4

2

3

2

3

34.6.4 ยอดคงเหลือที่สำคัญระหว่างธนาคารฯ กับกิจการที่ธนาคารฯ มิได้เป็นผู้ถือหุ้นแต่มีกรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ดังกล่าวเข้าไปถือหุ้น หรือเป็นกรรมการที่มีอำนาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้

2553

2552

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552

46 1

18 -

46 1

18 -

60

-

60

-

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม เงินรับฝาก บมจ.เทเวศประกันภัย บมจ.ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ เงินกู้ยืม บมจ.เทเวศประกันภัย

34.6.5 ยอดคงเหลือที่สำคัญระหว่างธนาคารฯ กับกรรมการหรือผู้บริหารธนาคารฯ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อสวัสดิการ เงินรับฝาก

31 ธันวาคม 2553 13 24 187

31 ธันวาคม 2552 8 16 160


196

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

34.6.6 เงินให้สินเชื่อและภาระผูกพันที่ให้แก่ผู้บริหารธนาคารฯ และแก่กิจการที่ธนาคารฯ หรือผู้บริหารธนาคารฯ (รวมบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน) ซึ่งถือหุ้นรวมกันตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ของทุนที่ชำระแล้วของกิจการนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้

2553

2552

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 2552

3 37

103 24

703 37

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม เงินให้สินเชื่อ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ผู้บริหาร

1,103 24

ทั้งนี้ ผู้บริหารธนาคารฯ หมายถึง กรรมการและผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป และผู้อำนวยการสายงานควบคุมทางการเงิน และสายงานวางแผนและวิเคราะห์ทางการเงิน

35. เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ธนาคารฯ บริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบด้วย เงินที่พนักงานสมทบเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 2 - 10 ของเงินเดือนพนักงาน และเงินที่ธนาคารฯ และบริษัทย่อยจ่ายสมทบให้ในอัตราร้อยละ 5 - 10 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวนปีที่ทำงาน และจะจ่ายให้กับพนักงานในกรณีที่ตาย ลาออกจากงานหรือเลิกกิจการตามระเบียบว่าด้วยกองทุนดังกล่าว สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพเป็นจำนวนประมาณ 314 ล้านบาท และ 310 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะธนาคารฯ : 308 ล้านบาท และ 304 ล้านบาท ตามลำดับ)

36. ฐานะและผลการดำเนินงานที่สำคัญจำแนกตามธุรกรรมในประเทศและต่างประเทศ 36.1 ฐานะจำแนกตามประเภทธุรกรรม (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 ธุรกรรม ในประเทศ

สินทรัพย์รวม รายการระหว่างธนาคารฯ และตลาดเงิน - สุทธิ (ด้านสินทรัพย์) เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารฯ และตลาดเงิน (ด้านหนี้สิน) เงินกู้ยืม ภาระผูกพันทั้งสิ้น

ธุรกรรม ต่างประเทศ

31 ธันวาคม 2552 รวม

ธุรกรรม ในประเทศ

ธุรกรรม ต่างประเทศ

รวม

589,251

341

589,592

542,706

436

543,142

84,390 94,538 363,098 412,929 19,512 58,426 923,854

235 79 187 3,979 3,678 -

84,625 94,538 363,177 413,116 23,491 62,104 923,854

66,375 82,194 367,930 407,553 9,207 44,625 408,175

240 162 223 1,531 6,011 6,721

66,615 82,194 368,092 407,776 10,738 50,636 414,896


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

197

36.2 ผลการดำเนินงานจำแนกตามธุรกรรม ผลการดำเนินงานจำแนกตามธุรกรรมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ธุรกรรม ธุรกรรม รายการ ในประเทศ ต่างประเทศ ระหว่างกัน

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ)(1) รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย กำไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ (1)

18,496 6,249 12,247 1,656 6,964 14,319 3,236

131 119 12 (2) 2 27 (11)

(128) (128) -

รวม

18,499 6,240 12,259 1,654 6,966 14,346 3,225

ธุรกรรม ธุรกรรม รายการ ในประเทศ ต่างประเทศ ระหว่างกัน

20,470 8,108 12,362 2,631 7,806 17,807 (270)

430 384 46 (3) 2,271 51 2,269

(418) (418) -

รวม

20,482 8,074 12,408 2,628 10,077 17,858 1,999

รวมขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้

37. เครื่องมือทางการเงิน เครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น หมายถึ ง สั ญ ญาใดๆที่ ท ำให้ ทั้ ง สิ น ทรั พ ย์ ท างการเงิ น ของกิ จ การหนึ่ ง และหนี้ สิ น ทางการเงิ น หรื อ ตราสารทุ น ของอี ก กิจการหนึ่งเพิ่มขึ้น

แนวทางการบริหารความเสี่ยง ธนาคารฯ ได้จัดโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงเพื่อให้การบริหารความเสี่ยงหลัก อันได้แก่ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ด้านตลาด ด้านปฏิบัติการ ด้านสภาพคล่อง ด้านชื่อเสียง และด้านกลยุทธ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารฯ ได้กำหนดนโยบายและกระบวนการด้านความเสี่ยงต่างๆ ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางและเป็นมาตรฐานที่จะนำไปใช้อย่างต่อเนื่องทั้งธนาคารฯ และกิจการในเครืออย่างเหมาะสม ธนาคารฯ จัดการเรื่องความเสี่ยงต่างๆ ภายใต้หลักการดังนี้คือ ธนาคารฯ ต้องสามารถระบุ วัด ติดตาม รายงาน วิเคราะห์ และควบคุมความ เสี่ยงหลักดังกล่าวได้ ธุรกิจจะต้องบริหารภายใต้กรอบการดำเนินงานด้านความเสี่ยงและผลตอบแทน เพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารฯ ได้รับผลตอบแทน ที่เหมาะสมกับความเสี่ยงที่ธนาคารฯ รับไว้ โครงสร้างการกำกับดูแลด้านความเสี่ยงของธนาคารฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการธนาคารฯ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงของ ธนาคารฯ โดยรวม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในระดับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งจะเป็นที่ประชุมเพื่อหารือ ความเสี่ยงเฉพาะด้าน อันได้แก่ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน คณะนโยบายบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการ ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้รับการมอบอำนาจจากคณะกรรมการธนาคารฯ ให้ทำหน้าที่ทบทวนและดูแลการบริหาร ความเสี่ยงทุกด้านของธนาคารฯ และได้รับมอบอำนาจให้อนุมัติกลยุทธ์ นโยบาย ขอบเขตงานและมาตรฐานของการบริหารความเสี่ยงเฉพาะด้าน ขององค์กร รวมถึงกำหนดระดับการกระจุกตัวของความเสี่ยง และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้


198

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ในขณะที่หน่วยธุรกิจต่างๆ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการประเมินและบริหารความเสี่ยงของตนเองภายใต้กรอบการดำเนินงานที่กำหนด สายงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการความเสี่ยงทั้งหมดอยู่ภายใต้การดูแลของประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านบริหารความเสี่ยง โดยมีสายงาน บริหารความเสี่ยงด้านตลาด สายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงและนโยบาย สายงานบริหารความเสี่ยงสินเชื่อเชิงกลยุทธ์ และสายงานบริหารความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการ รับผิดชอบในการกำหนดนโยบาย แนวทางการบริหารความเสี่ยง พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยง นำเสนอกลยุทธ์ ในการบริหารความเสี่ยงและกำหนดระดับความเสี่ยงที่ธนาคารฯ ยอมรับได้ต่อฝ่ายจัดการเพื่อขออนุมัติใช้ในการติดตาม ควบคุม และรายงานระดับ ความเสี่ยงแก่ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง และคณะกรรมการธนาคารฯ ต่อไป

37.1 ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ (Credit risk) ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ (Credit Risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้กู้หรือคู่สัญญาไม่สามารถชำระสินเชื่อคืนให้ธนาคารหรือไม่ปฏิบัติตาม ภาระข้อผูกพันตามสัญญาที่ ได้ตกลงไว้กับธนาคาร ความเสี่ยงด้านสินเชื่อส่วนใหญ่เกิดจากธุรกรรมการให้สินเชื่อและภาระผูกพัน แต่ความเสี่ยง ด้านสินเชื่อยังเกิดได้จากรายการภาระผูกพันนอกงบดุล เช่น การค้ำประกันการกู้ยืมเงิน และตราสารอนุพันธ์ เป็นต้น มูลค่าสูงสุดของความเสี่ยงด้านสินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของเครื่องมือทางการเงินหักด้วยสำรองเผื่อผลขาดทุนที่แสดงไว้ในงบดุล และความเสี่ยง ของภาระผูกพันนอกงบดุลซึ่งเกิดจากการค้ำประกัน การกู้ยืมและค้ำประกันอื่น ๆ นโยบายสินเชื่อ/ขอบเขตงาน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทำหน้าที่อนุมัติระดับความเสี่ยงและกลยุทธ์ด้านสินเชื่อที่ธนาคารฯ จะยอมรับได้ และเพื่อให้ธนาคารฯ บริหาร ความเสี่ยงด้านสินเชื่อได้อย่างเหมาะสม ธนาคารฯ จัดทำนโยบายหลักด้านการบริหารความเสี่ยงสินเชื่อ (Core Credit Risk Policies : CCRP) และกำหนดกรอบการดำเนินงานเพื่อให้แน่ใจว่าการตัดสินใจด้านสินเชื่อเป็นไปได้อย่างระมัดระวังและกำหนดให้การบริหารความเสี่ยงด้านสินเชื่อรวม เข้าเป็นส่วนหนึ่งของการทำธุรกรรมสินเชื่อทั้งหมด ทั้งนี้ หน่วยธุรกิจและหน่วยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดจะต้องออกนโยบายเฉพาะหรือ นโยบายเสริมสำหรับแต่ละหน่วยงานตามแนวทางที่กำหนดโดยนโยบายหลัก ในขณะเดียวกันธนาคารฯ ได้กำหนดนโยบายเพื่อให้มั่นใจว่าพอร์ต สินเชื่อมีการกระจายตัว เพื่อควบคุมความเสี่ยงจากการกระจุกตัวตามภาคธุรกิจหรือภาคอุตสาหกรรมหรือประเทศคู่สัญญาหรือลูกค้าแต่ละราย และแต่ละกลุ่มที่มีการพึ่งพาทางด้านการเงินทางธุรกิจและการบริหารจัดการ (Economic Interdependency) ขั้นตอนการอนุมัติสินเชื่อ ในการจัดการความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ธนาคารฯ ได้แยกบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านการตลาดออกจากหน่วยงานที่ทำหน้าที่ อนุมัติสินเชื่อ เพื่อการตรวจสอบและถ่วงดุล ความเสี่ยงด้านสินเชื่อแต่ละรายจะถูกวิเคราะห์และประเมินผลโดยเจ้าหน้าที่สินเชื่อที่มีประสบการณ์ และอนุมัติโดยผู้มีอำนาจตามขนาดและระดับความเสี่ยงสินเชื่อของสินเชื่อที่ขอกู้ ธนาคารฯ มีการก่อภาระผูกพันจากการค้ำประกันการกู้ยืม การค้ำประกันอื่น การออกเล็ตเตอร์ออฟเครดิตและการอาวัลตั๋วเงินให้กับลูกค้า ซึ่งการก่อภาระผูกพันดังกล่าว ธนาคารฯ ได้มีการพิจารณาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าเช่นเดียวกับการพิจารณาเงินให้สินเชื่อ ซึ่งรวมถึงการเรียก หลักทรัพย์ค้ำประกันจากลูกค้า เช่น เงินฝาก หลักทรัพย์ประเภทต่างๆ การค้ำประกัน เป็นต้น และมีการกำหนดแนวปฏิบัติมาตรฐานที่จะกำหนด ระยะเวลาให้สินเชื่อและเงื่อนไขในการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นโดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาอนุมัติเช่นเดียวกับสินเชื่อ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

199

การสอบทานคุณภาพสินเชื่อ ธนาคารฯ ได้จัดตั้งฝ่ายงานสอบทานคุณภาพสินเชื่อที่เป็นอิสระจากกระบวนการสินเชื่อเพื่อให้ทำหน้าที่สอดส่องดูแลแนวโน้มการด้อยลงของคุณ ภาพสินเชื่ออย่างต่อเนื่อง การสอบทานคุณภาพสินเชื่อที่เป็นอิสระกำหนดขึ้นเพื่อระบุหาสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพของพอร์ต สินเชื่อและให้ข้อมูลเบื้องลึกแก่ผู้บริหารระดับสูงเกี่ยวกับคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อ จุดอ่อนของนโยบาย กระบวนการและวิธีปฏิบัติ พร้อมทั้งให้ คำแนะนำในด้านการแก้ ไขหรือการป้องกันปัญหาการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงนโยบายสินเชื่อกระบวนการและวิธีปฏิบัติจะนำมาเสนอเป็น บทเรียนให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย

37.2 ความเสี่ยงด้านตลาด (Market risk) ความเสี่ยงด้านตลาด หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และราคาตราสารทุน ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อมูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินของธนาคารฯ รวมทั้งรายการนอกงบดุล คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน เป็นผู้ช่วยคณะกรรมการธนาคารฯ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงดูแลให้การบริหารความเสี่ยง ด้านตลาดของทั้งธนาคารฯ เป็นไปตามแนวทางที่กำหนดไว้ในนโยบายบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องและเพดานความเสี่ยงสูงสุด ธนาคารฯ แบ่งการ บริหารความเสี่ยงด้านตลาดออกเป็น 2 ส่วน คือ บัญชีเพื่อการค้า (Trading Book) และ บัญชีเพื่อการธนาคาร (Banking Book) โดยธนาคารฯ ได้มีการจัดทำนโยบายเพื่อกำหนดคำนิยามและโครงสร้างในการแบ่งแยกบัญชีดังกล่าวอย่างชัดเจน ความเสี่ยงด้านตลาดของบัญชีเพื่อการค้า ประกอบไปด้วยความเสี่ยงด้านตลาดที่เกิดจากเครื่องมือทางการเงิน ตราสารทุนและตราสารอนุพันธ์ ที่ถือครองไว้ โดยมีเจตนาเพื่อการค้าหรือเพื่อป้องกันความเสี่ยงของฐานะอื่นๆ ในบัญชีเพื่อการค้า รวมทั้งความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนของทั้ง ธนาคารฯ ธนาคารฯ ได้มีการจัดทำนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดสำหรับบัญชีเพื่อการค้า เพื่อควบคุมให้การบริหารความเสี่ยง ด้านตลาดในบัญชีดังกล่าวเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมไปถึงการจัดให้มีการควบคุมเพดานความเสี่ยงสูงสุดของบัญชีดังกล่าวด้วย ความเสี่ยงด้านตลาดของบัญชีเพื่อการธนาคาร ประกอบไปด้วยความเสี่ยงด้านตลาดของรายการในงบดุล และรายการนอกงบดุล รวมทั้งอนุพันธ์ ทางการเงินที่มีการนำมาใช้ ในการป้องกันความเสี่ยงของบัญชีเพื่อการธนาคาร ซึ่งธนาคารฯ ได้มีการจัดทำนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้าน ตลาดสำหรับบัญชีเพื่อการธนาคาร เพื่อกำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดในบัญชีเพื่อการธนาคารให้เป็นไปอย่างเหมาะสมกับ ฐานะความเสี่ยงที่เกิดขึ้น รวมทั้งได้จัดให้มีการกำหนดเพดานความเสี่ยงดังกล่าวไว้ด้วย ทั้งนี้ ธนาคารฯ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงดังกล่าว รวมทั้งมีการประเมินผลกระทบอย่างสม่ำเสมอ เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการโครงสร้างของสินทรัพย์และหนี้สินให้เหมาะกับ การเปลี่ยนแปลงของภาวะตลาด 37.2.1 ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (Interest rate risk) ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่มูลค่าของสินทรัพย์ หรือหนี้สินทางการเงินจะเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของ อัตราดอกเบี้ย สินทรัพย์ทางการเงินประเภทหลักของธนาคารฯ ได้แก่ เงินให้สินเชื่อ โดยส่วนใหญ่มีผลตอบแทนเป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัวอ้างอิงกับ MRR, MLR, MOR ดอกเบี้ยเงินฝาก หรืออัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น (SIBOR หรือ LIBOR)


200

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

สินทรัพย์/หนี้สินทางการเงินจำแนกตามประเภทอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จำแนกได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 รายการ สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงอ้างอิง ตามอัตราตลาด

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

ไม่มีดอกเบี้ย

รวม

8,885 23,812 272,465

70,068 68,487 88,221

14,714 5,644 2,239 2,491

14,714 84,597 94,538 363,177

177,017 3,567 5,042

219,785 18,907 56,937

16,313 1,017 3,725 125

413,115 23,491 3,725 62,104

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 รายการ สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงอ้างอิง ตามอัตราตลาด

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

ไม่มีดอกเบี้ย

รวม

295 15,950 289,853

60,524 63,359 76,137

15,134 6,011 2,885 2,102

15,134 66,830 82,194 368,092

191,247 3,432 11,419

201,538 6,631 38,974

14,991 675 4,958 243

407,776 10,738 4,958 50,636


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

201

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 รายการ สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงอ้างอิง ตามอัตราตลาด

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

ไม่มีดอกเบี้ย

รวม

8,885 23,181 270,466

69,874 68,487 88,162

14,713 5,644 4,100 2,491

14,713 84,403 95,768 361,119

177,118 3,567 5,042

219,785 18,907 56,951

16,333 1,017 3,725 125

413,236 23,491 3,725 62,118

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2552 รายการ สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงอ้างอิง ตามอัตราตลาด

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

ไม่มีดอกเบี้ย

รวม

294 15,302 288,529

60,355 63,359 76,099

15,134 6,011 3,004 2,102

15,134 66,660 81,665 366,730

191,408 3,432 11,419

201,538 6,631 38,985

15,003 675 4,958 243

407,949 10,738 4,958 50,647

สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญโดยวิเคราะห์แยกตามระยะเวลาครบกำหนดของการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จำแนกได้ดังนี้


202

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 อัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงได้ ภายใน มากกว่า มากกว่า 3 เดือน 3 – 12 เดือน 1 ปี

ไม่มีดอกเบี้ย

สินทรัพย์ที่ ไม่ก่อให้เกิด รายได้

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน – สุทธิ เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

78,839 53,195 287,298 419,332

114 12,767 26,997 39,878

26,337 10,344 36,681

14,714 5,644 2,239 2,491 25,088

36,047 36,047

14,714 84,597 94,538 363,177 557,026

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

260,358 22,127 26,793 309,278

91,567 86 13,709 105,362

44,877 261 21,477 66,615

16,313 1,017 3,725 125 21,180

-

413,115 23,491 3,725 62,104 502,435

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 อัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงได้ ภายใน มากกว่า มากกว่า 3 เดือน 3 – 12 เดือน 1 ปี

ไม่มีดอกเบี้ย

สินทรัพย์ที่ ไม่ก่อให้เกิด รายได้

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

57,831 52,590 260,924 371,345

2,988 22,726 44,172 69,886

3,993 6,799 10,792

15,134 6,011 2,885 2,102 26,132

54,095 54,095

15,134 66,830 82,194 368,092 532,250

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

273,002 8,554 25,868 307,424

43,389 1,497 10,140 55,026

76,394 12 14,385 90,791

14,991 675 4,958 243 20,867

-

407,776 10,738 4,958 50,636 474,108


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

203

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 อัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงได้ ภายใน มากกว่า มากกว่า 3 เดือน 3 – 12 เดือน 1 ปี

ไม่มีดอกเบี้ย

สินทรัพย์ที่ ไม่ก่อให้เกิด รายได้

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน – สุทธิ เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

78,663 52,564 287,997 419,224

96 12,767 26,997 39,860

26,337 10,344 36,681

14,713 5,644 4,100 2,491 26,948

33,290 33,290

14,713 84,403 95,768 361,119 556,003

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

260,459 22,127 26,807 309,393

91,567 86 13,709 105,362

44,877 261 21,477 66,615

16,333 1,017 3,725 125 21,200

-

413,236 23,491 3,725 62,118 502,570

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2552 อัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงได้ ภายใน มากกว่า มากกว่า 3 เดือน 3 – 12 เดือน 1 ปี

ไม่มีดอกเบี้ย

สินทรัพย์ที่ ไม่ก่อให้เกิด รายได้

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน – สุทธิ เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

57,709 51,942 262,938 372,589

2,940 22,726 44,172 69,838

3,993 6,799 10,792

15,134 6,011 3,004 2,102 26,251

50,719 50,719

15,134 66,660 81,665 366,730 530,189

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

273,163 8,554 25,879 307,596

43,389 1,497 10,140 55,026

76,394 12 14,385 90,791

15,003 675 4,958 243 20,879

-

407,949 10,738 4,958 50,647 474,292


204

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ธนาคารฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินยอดคงเหลือถัวเฉลี่ย และอัตราเฉลี่ยของดอกเบี้ยและเงินปันผล สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ดอกเบี้ยและ เงินปันผลรับ/ อัตราเฉลี่ย ยอดคงเหลือ ดอกเบี้ยจ่าย (ร้อยละ) ถัวเฉลี่ย

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ดอกเบี้ยและ เงินปันผลรับ/ อัตราเฉลี่ย ยอดคงเหลือ ดอกเบี้ยจ่าย (ร้อยละ) ถัวเฉลี่ย

สินทรัพย์ทางการเงิน

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อ รวม

56,733 92,765 355,959 505,457

771 1,918 15,810 18,499

1.36 2.07 4.44

58,534 101,534 377,417 537,485

737 2,238 17,506 20,481

1.26 2.20 4.64

384,210 10,932 53,740 448,882

4,344 93 1,803 6,240

1.13 0.85 3.36

400,045 15,143 59,114 474,302

5,827 158 2,089 8,074

1.46 1.04 3.53

หนี้สินทางการเงิน

เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินกู้ยืม รวม

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

อัตราเฉลี่ย (ร้อยละ)

ยอดคงเหลือ ถัวเฉลี่ย

ดอกเบี้ยและ เงินปันผลรับ/ ดอกเบี้ยจ่าย

769 2,196 15,565 18,530

1.36 2.39 4.39

58,368 100,847 376,746 535,961

734 2,482 17,351 20,567

1.26 2.46 4.61

4,344 93 1,613 6,050

1.13 0.85 3.00

400,253 15,143 59,146 474,542

5,828 158 1,893 7,879

1.46 1.04 3.20

ยอดคงเหลือ ถัวเฉลี่ย

ดอกเบี้ยและ เงินปันผลรับ/ ดอกเบี้ยจ่าย

56,541 91,945 354,948 503,434 384,365 10,932 53,756 449,053

อัตราเฉลี่ย (ร้อยละ)

สินทรัพย์ทางการเงิน

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อ รวม หนี้สินทางการเงิน

เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินกู้ยืม รวม


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

205

37.2.2 ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (Currency risk) ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน หมายถึง ความเสี่ยงที่มูลค่าของเครื่องมือทางการเงินจะเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยน นอกเหนือจากสินทรัพย์/หนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่ได้เปิดเผยแล้วในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ มีฐานะสุทธิที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่สำคัญโดยจำแนกเป็นสกุลเงินได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ) งบการเงินเฉพาะกิจการ

ฐานะทันที ฐานะล่วงหน้า ฐานะสุทธิ (1)

เหรียญสหรัฐ 56 (86) (30)

31 ธันวาคม 2553 ยูโร (1) สกุลอื่นๆ (1) 5 38 (6) (40) (1) (2)

รวม 99 (132) (33)

เหรียญสหรัฐ 8 (25) (17)

31 ธันวาคม 2552 ยูโร (1) สกุลอื่นๆ (1) 1 26 (1) (25) 1

รวม 35 (51) (16)

สำหรับสกุลยูโรและสกุลอื่นๆแสดงฐานะสุทธิเป็นเงินตราต่างประเทศเทียบเท่าสกุลเงินเหรียญสหรัฐ

37.2.3 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาตราสารทุน (Equity price risk) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาตราสารทุน คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนหรือหุ้นทุน ทำให้ เกิดความผันผวนต่อรายได้หรือมูลค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน การบริหารการลงทุนในตราสารทุนของธนาคารฯ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน (Asset & Liability Management Committee – ALCO) และ/หรือคณะประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Chief Executive Committee) โดยมีสายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบดูแล (Managing Unit) โดยแบ่งพอร์ตดูแลตามประเภทธุรกิจ กลยุทธ์และวัตถุประสงค์การถือครอง ของธนาคาร ทั้งนี้ เงินลงทุนในตราสารทุนทั้งหมดต้องเป็นไปตามกรอบและนโยบายการลงทุนและนโยบายความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง โดยการกำหนด เกณฑ์การพิจารณาการลงทุนในตราสารทุนของธนาคารฯ จะคำนึงถึงปัจจัยทางด้านความเสี่ยง ทั้งความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านตลาด และความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง รวมถึงการจัดสรรวงเงินลงทุนภายในสำหรับการลงทุนในตราสารทุน (Gross Limit) ขอบเขตการขาดทุน (Loss Limit) และควบคุมดูแลการลงทุนให้เป็นไปตามนโยบายและวงเงินที่กำหนดไว้ โดยคำนึงถึงความเพียงพอของเงินกองทุนของธนาคารฯ ในการรองรับความเสี่ยงเป็นสำคัญ


206

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

37.3 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity risk) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง หมายถึง ความเสี่ยงที่ธนาคารฯ ไม่สามารถปฏิบัติตามภาระผูกพันได้เมื่อครบกำหนด เนื่องจากไม่สามารถเปลี่ยน สินทรัพย์เป็นเงินสดได้ทันหรือไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้เพียงพอต่อการดำเนินงานของธนาคารฯ จนทำให้เกิดความเสียหายแก่ธนาคารฯ ธนาคารฯ มีคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน (Asset & Liability Management Committee - ALCO) ซึ่งช่วยคณะกรรมการธนาคารฯ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในการกำกับดูแลการบริหารสภาพคล่อง เพื่อบริหารสภาพคล่องให้เป็นไปตามเกณฑ์ของธนาคารแห่ง ประเทศไทย และกำกับดูแลให้สภาพคล่องของธนาคารฯ มีความเพียงพอในการดำเนินธุรกิจทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต รวมทั้งจัดหาแหล่ง เงินทุนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะตลาดที่เปลี่ยนแปลง โดยมีสายงานบริหารเงิน (Balance Sheet Management Group) เป็นผู้รับผิดชอบ ในการบริหารสภาพคล่อง รวมทั้งการวัด ติดตาม และรายงานความเสี่ยงด้านสภาพคล่องต่อคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน ภายใต้ นโยบายบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องซึ่งจัดให้มีการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หรือเมื่อจำเป็นเพื่อให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ ทั้งนี้ธนาคารฯ และบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินของธนาคารฯ แต่ละบริษัทจะบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องแยกจากกัน ในการบริหารสภาพคล่อง ธนาคารฯ มีการบริหารแหล่งเงินทุนและความสามารถในการเข้าถึงตลาดทุนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งให้ความสำคัญ ในการถือครองสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้เร็ว และสามารถใช้เป็นหลักประกันในการระดมเงินทุน เพื่อรองรับ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ธนาคารฯ ได้กำหนดให้มีการวัด และติดตามความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง โดยใช้ตัวบ่งชี้ระดับความเสี่ยง (Risk Indicators) ซึ่งได้แก่ อัตราส่วน ทางการเงินต่างๆ เช่น อัตราส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากและตั๋วแลกเงิน (Loan to Deposit and BE Ratio) อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องต่อ สินทรัพย์รวม (Liquid Asset Ratio) เป็นต้น การจัดทำรายงานสภาพคล่องสุทธิ (Liquidity Gap) ตามอายุสัญญาคงเหลือและตามอายุสัญญา คงเหลือที่มีการปรับตามพฤติกรรมของลูกค้าในอดีต และการประเมินกระแสเงินสดเข้าออกสะสมสูงสุด (Maximum Cumulative Outflow-MCO) ตามสมมติฐาน โดยธนาคารฯ มีการกำหนดขอบเขตสำหรับตัวบ่งชี้ระดับความเสี่ยง (Risk Indicators Limit) เพื่อควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ใน ขอบเขตที่ ย อมรั บ ได้ ซึ่ ง ระดั บ ความเสี่ ย งจะถู ก รายงานเปรี ย บเที ย บกั บ ขอบเขตที่ ก ำหนดต่ อ คณะกรรมการบริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น เป็ น รายสัปดาห์ และรายเดือน นอกจากนี้สถานะสภาพคล่องจะถูกติดตามเป็นรายวันในระดับปฏิบัติการ เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารฯ จัดให้มีการทดสอบความเสี่ยงด้านสภาพคล่องในภาวะวิกฤติ (Stress testing) โดยฐานะสภาพคล่องของธนาคารฯ จะถูกทดสอบ ภายใต้สถานการณ์จำลองหลายรูปแบบตามแนวทางที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด เพื่อประเมินความสามารถในการรองรับภาวะวิกฤติที่ เกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง ธนาคารฯ ได้ ใ ช้ ผ ลการทดสอบในการวางแผนการบริ ห ารสภาพคล่ อ งรวมถึ ง การเตรี ย มสิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ส ภาพคล่ อ งสู ง ไว้ ร องรั บ สถานการณ์ นอกจากนี้ธนาคารฯ ได้จัดทำแผนรองรับเหตุฉุกเฉิน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติภายใต้สถานการณ์วิกฤตที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งมี การระบุถึงบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนการจัดหาเงินทุน แผนการสื่อสารและติดต่อกับลูกค้า เป็นต้น ค่าอัตราส่วนหรือระดับการวัดค่าความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 อัตราส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากและตั๋วแลกเงิน 82.2% อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องต่อสินทรัพย์รวม 28.5%


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

207

วันครบกำหนดของเครื่องมือทางการเงินนับจากวันที่ในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 เมื่อ ทวงถาม

ภายใน 3 เดือน

มากกว่า 3-12 เดือน

มากกว่า 1-5 ปี

5 ปี ขึ้นไป

ไม่มีกำหนด ระยะเวลา

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ(1) รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

14,714 6,192 66,823 87,729

70,292 33,579 73,331 177,202

8,113 12,444 21,898 42,455

34,567 88,335 122,902

11,709 112,790 124,499

2,239 2,239

14,714 84,597 94,538 363,177 557,026

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

191,704 4,596 3,725 200,025

83,723 18,549 25,847 128,119

92,346 85 10,526 102,957

45,342 261 11,037 56,640

14,694 14,694

-

413,115 23,491 3,725 62,104 502,435

5 29 34

69 69

12 12

227 227

-

-

86 256 342

696 11,862

1,544 5,428 9,378

135 5,084 7,940

4,492 1,144

565

-

1,679 15,700 30,889

รายการนอกงบดุล การรับอาวัลตั๋วเงินและการค้ำประกัน การกู้ยืมเงิน การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำประกันการกู้ยืมเงิน รวม ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้า ที่ยังไม่ครบกำหนด เล็ตเตอร์ออฟเครดิต การค้ำประกันอื่น (1)

เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพจำแนกตามอายุสัญญาเดิม


208

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 เมื่อ ทวงถาม

ภายใน 3 เดือน

มากกว่า 3-12 เดือน

มากกว่า 1-5 ปี

5 ปี ขึ้นไป

ไม่มีกำหนด ระยะเวลา

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ(1) รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

15,134 6,264 51,197 72,595

57,545 37,554 73,748 168,847

2,988 21,476 28,091 52,555

33 16,885 71,172 88,090

3,394 143,884 147,278

2,885 2,885

15,134 66,830 82,194 368,092 532,250

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

202,205 4,111 4,958 211,274

81,915 5,119 19,657 106,691

46,610 1,497 5,424 53,531

77,046 11 8,724 85,781

16,831 16,831

-

407,776 10,738 4,958 50,636 474,108

8 365 373

90 90

31 31

352 352

-

-

129 717 846

352 13,812

826 3,348 9,567

131 3,424 8,468

9,798 1,386

552

-

957 16,922 33,785

รายการนอกงบดุล การรับอาวัลตั๋วเงินและการค้ำประกัน การกู้ยืมเงิน การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำประกันการกู้ยืมเงิน รวม ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้า ที่ยังไม่ครบกำหนด เล็ตเตอร์ออฟเครดิต การค้ำประกันอื่น (1)

เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพจำแนกตามอายุสัญญาเดิม


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

209

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 เมื่อ ทวงถาม

ภายใน 3 เดือน

มากกว่า 3-12 เดือน

มากกว่า 1-5 ปี

5 ปี ขึ้นไป

ไม่มีกำหนด ระยะเวลา

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ(1) รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

14,713 6,181 64,212 85,106

70,126 33,579 73,330 177,035

8,096 12,303 21,844 42,243

34,077 88,243 122,320

11,709 113,490 125,199

4,100 4,100

14,713 84,403 95,768 361,119 556,003

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

191,825 4,596 3,725 200,146

83,723 18,549 25,861 128,133

92,346 85 10,526 102,957

45,342 261 11,037 56,640

14,694 14,694

-

413,236 23,491 3,725 62,118 502,570

5 29 34

69 69

12 12

227 227

-

-

86 256 342

696 11,862

1,544 5,428 9,378

135 5,084 7,940

4,492 1,144

565

-

1,679 15,700 30,889

รายการนอกงบดุล การรับอาวัลตั๋วเงินและการค้ำประกัน การกู้ยืมเงิน การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำประกันการกู้ยืมเงิน รวม ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้า ที่ยังไม่ครบกำหนด เล็ตเตอร์ออฟเครดิต การค้ำประกันอื่น (1)

เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพจำแนกตามอายุสัญญาเดิม


210

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2552 เมื่อ ทวงถาม

ภายใน 3 เดือน

มากกว่า 3-12 เดือน

มากกว่า 1-5 ปี

5 ปี ขึ้นไป

ไม่มีกำหนด ระยะเวลา

รวม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ(1) รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

15,134 6,264 47,997 69,395

57,423 37,554 73,745 168,722

2,940 21,476 28,069 52,485

33 16,237 71,047 87,317

3,394 145,872 149,266

3,004 3,004

15,134 66,660 81,665 366,730 530,189

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

202,378 4,111 4,958 211,447

81,915 5,119 19,668 106,702

46,610 1,497 5,424 53,531

77,046 11 8,724 85,781

16,831 16,831

-

407,949 10,738 4,958 50,647 474,292

8 365 373

90 90

31 31

352 352

-

-

129 717 846

352 13,812

826 3,348 9,567

131 3,424 8,468

9,798 1,386

552

-

957 16,922 33,785

รายการนอกงบดุล การรับอาวัลตั๋วเงินและการค้ำประกัน การกู้ยืมเงิน การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำประกันการกู้ยืมเงิน รวม ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้า ที่ยังไม่ครบกำหนด เล็ตเตอร์ออฟเครดิต การค้ำประกันอื่น (1)

เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพจำแนกตามอายุสัญญาเดิม


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

211

37.4 ประมาณการมูลค่ายุติธรรมสำหรับตราสารทางการเงิน วิธีการ และข้อสมมติฐานในการประมาณมูลค่าตลาด หรือราคายุติธรรม ของตราสารทางการเงิน สรุปได้ดังนี้ เงินสดและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (ด้านสินทรัพย์) แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามงบดุล เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - สุทธิ มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์คำนวณตามวิธีการที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 4.5 เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณจากยอดเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุลหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เนื่องจาก เงินให้สินเชื่อส่วนใหญ่ใช้อัตราดอกเบี้ยลอยตัว เงินรับฝาก แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล ยกเว้นมูลค่ายุติธรรมของเงินรับฝากที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่และมีระยะเวลา ครบกำหนดคงเหลือเกินกว่า 1 ปี จะคำนวณโดยใช้วิธีการหาส่วนลดกระแสเงินสด โดยใช้อัตราดอกเบี้ยปัจจุบันซึ่งใช้กับเงินรับฝากในแต่ละประเภท หรือเงินรับฝากอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (ด้านหนี้สิน) แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล ยกเว้นมูลค่ายุติธรรมของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินที่มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่และมีระยะเวลาครบกำหนดคงเหลือเกินกว่า 1 ปี จะคำนวณโดยใช้วิธีการหาส่วนลดกระแสเงินสด โดยใช้อัตราดอกเบี้ยปัจจุบัน ซึ่งใช้กับเงินรับฝากในแต่ละประเภทหรือเงินรับฝากอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามงบดุล เงินกู้ยืม แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล ยกเว้นมูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่และมีระยะเวลาครบ กำหนดคงเหลือเกินกว่า 1 ปี คำนวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินต้นและดอกเบี้ย ซึ่งคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยในตลาด ณ วันที่ในงบดุลสำหรับกรณีที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ และใช้ราคาตลาดกรณีมีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ ตราสารอนุพันธ์ แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยกรณีตราสารอนุพันธ์มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ ธนาคารฯ ใช้ราคาตลาดเป็นมูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ กรณีที่ไม่ มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ มูลค่ายุติธรรมจะถูกคำนวณจากแบบจำลองโดยใช้ข้อมูลตลาดที่หาได้จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ ราคาตลาดหรือข้อมูลตลาด ที่หาได้จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ ได้มาจากราคาซื้อขายในตลาดอนุพันธ์ ราคาเสนอซื้อขายของนายหน้า/ตัวแทน หรือราคาเสนอซื้อขายจากคู่สัญญา


212

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

มูลค่ายุติธรรมของตราสารทางการเงินที่สำคัญได้จัดทำโดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่ในตลาด หรือวิธีการประเมินราคาที่เหมาะสมสำหรับแต่ละประเภทของ ตราสารทางการเงิน กรณีที่ ไม่มีข้อมูลราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมสำหรับตราสารทางการเงินพร้อมทั้งมูลค่าตามบัญชีตามที่ปรากฎในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

มูลค่าตาม มูลค่า มูลค่าตาม มูลค่า มูลค่าตาม มูลค่า มูลค่าตาม มูลค่า บัญชี(1) ยุติธรรม บัญชี(1) ยุติธรรม บัญชี(1) ยุติธรรม บัญชี(1) ยุติธรรม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน

14,714 14,714 15,134 15,134 14,713 14,713 15,134 15,134 84,625 84,625 66,615 66,615 84,431 84,431 66,445 66,445 94,538 94,606 82,194 82,690 95,768 95,836 81,665 82,161 343,195 343,195 337,855 337,855 342,601 342,601 337,943 337,943 537,072 537,140 501,798 502,294 537,513 537,581 501,187 501,683

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน

413,115 413,013 407,776 407,304 413,236 413,134 407,949 407,477 23,491 23,490 10,738 10,738 23,491 23,490 10,738 10,738 3,725 3,725 4,958 4,958 3,725 3,725 4,958 4,958 62,104 62,975 50,636 50,182 62,118 62,989 50,647 50,194 502,435 503,203 474,108 473,182 502,570 503,338 474,292 473,367

ตราสารอนุพันธ์ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยต่างสกุลเงิน สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อขายอัตราดอกเบี้ยล่วงหน้า สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อ สัญญาขาย (1)

219,130 228,753

5,728 (5,574)

57,946 66,232

3,525 1,046

12 (4)

1,625 671

16,675 12,100 339,945 1,619 1,619

(1,539) 6,003 840 492 87 176,549 - 4,174 12 (12)

3,337 3,337

1,024 219,130 (744) 228,753 9 (2)

3,525 1,046

(625) 16,675 32 12,100 281 339,945 3 -

กรณีตราสารอนุพันธ์ ตัวเลขที่แสดงในหัวข้อมูลค่าตามบัญชีหมายถึงจำนวนเงินตาม Notional Amount

1,619 1,619

5,728 (5,574)

57,946 66,232

1,024 (744)

12 (4)

1,625 671

9 (2)

(1,539) 6,003 840 492 87 176,549 - 4,174

(625) 32 281 3

12 (12)

3,337 3,337

-


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

213

37.5 ความเสี่ยงด้านตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน (Financial derivative instruments risk) ธนาคารฯ ประกอบธุรกรรมเกี่ยวกับตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเป็นธุรกรรมปกติของธนาคารฯ ในการดำเนินธุรกิจเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าและเพื่อจัดการกับความเสี่ยงของธนาคารฯ จากสภาวะการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ตราสารเหล่านี้ทำให้ธนาคารฯ และลูกค้าของธนาคารฯ สามารถโอนเปลี่ยนแปลงหรือลดความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยได้ ธนาคารฯ มีนโยบายและวงเงินที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยง รวมทั้งมีสายการรายงานและขั้นตอนการควบคุมความเสี่ยงต่างๆ เพื่อจัดการควบคุม ธุรกรรมด้านอนุพันธ์ทางการเงินของธนาคารฯ หน้าที่การควบคุมความเสี่ยงนั้นเป็นอิสระจากหน่วยงานที่ทำการค้าอนุพันธ์ดังกล่าว ธนาคารฯ จัดการความเสี่ยงด้านการผิดนัดชำระที่เกี่ยวข้องกับอนุพันธ์ทางการเงินโดยพิจารณาจำนวนวงเงินสินเชื่อที่ให้กับลูกค้าโดยรวม เพื่อ ควบคุมระดับความเสี่ยงด้านสินเชื่อที่ธนาคารฯ จะรับไว้ ธนาคารฯ ได้ประเมินคู่ค้าโดยอาศัยวิธีการเช่นเดียวกับที่ใช้ในการอนุมัติสินเชื่อทั่วไป จำนวนเงินตามสัญญา (Notional amounts) ของตราสารทางการเงินบางประเภทสามารถใช้เป็นแนวทางในการเปรียบเทียบกับตราสารที่บันทึก บัญชีอยู่ในงบดุลได้ แต่ ไม่ ได้เป็นตัวบ่งบอกว่าจำนวนเงินที่จะต้องรับหรือจ่ายในอนาคตจะเท่ากับเท่าใด หรือมีมูลค่าเท่ากับมูลค่ายุติธรรมใน ปัจจุบัน ดังนั้นจำนวนเงินตามสัญญาดังกล่าวไม่เป็นการบ่งบอกถึงความเสี่ยงต่อธนาคารฯ ในด้านความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อหรือความเสี่ยง ด้านราคาอนุพันธ์ทางการเงินสามารถเป็นกำไร(สินทรัพย์)ให้กับธนาคารฯ หรือเป็นค่าใช้จ่าย(หนี้สิน)ก็ ได้ แล้วแต่การขึ้นลงของอัตราดอกเบี้ยหรือ อัตราแลกเปลี่ยนในตลาดซึ่งจะมีผลต่อลักษณะของอนุพันธ์ทางการเงินนั้น ดังนั้นจำนวนที่มูลค่าของตราสารอนุพันธ์ทางการเงินจะเป็นกำไรหรือ ขาดทุนสามารถเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นสาระสำคัญได้ตามสภาพที่เปลี่ยนไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ธนาคารฯ มีตราสารอนุพันธ์ทางการเงินซึ่งจำแนกตามระยะเวลาครบกำหนดของสัญญาสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 ไม่เกิน 1 ปี

สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยต่างสกุลเงิน สัญญาซื้อ สัญญาขาย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อขายอัตราดอกเบี้ยล่วงหน้า สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อ สัญญาขาย

มากกว่า 1 ปี

รวม

ไม่เกิน 1 ปี

มากกว่า 1 ปี

รวม

218,491 227,791

639 962

219,130 228,753

57,946 66,232

-

57,946 66,232

3,525 1,046

-

3,525 1,046

1,625 671

-

1,625 671

4,039 830 139,924 -

12,636 11,270 200,021 -

16,675 12,100 339,945 -

2,391 56,736 4,174

3,612 492 119,813 -

6,003 492 176,549 4,174

-

1,619 1,619

1,619 1,619

3,337 3,337

-

3,337 3,337


214

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

37.6 ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational risk) ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ หมายถึง ความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน อันเนื่องมาจากความไม่เพียงพอหรือ ความบกพร่องของกระบวนการภายใน บุคลากร ระบบงานของธนาคาร หรือจากเหตุการณ์ภายนอกธนาคาร รวมถึงความเสี่ยงด้านกฎหมาย แต่ไม่รวมความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic risk) และด้านชื่อเสียง (Reputational risk) ซึ่งการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการที่มีประสิทธิผล จะช่วยให้กระบวนการทางธุรกิจดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและช่วยลดต้นทุนด้านปฏิบัติการ การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของธนาคารฯ ดำเนินการโดยผ่านโครงสร้างการกำกับดูแลซึ่งมีคณะกรรมการธนาคารฯ เป็นผู้รับผิดชอบ ระดับสูงสุดในการบริหารความเสี่ยงของทั้งองค์กร คณะกรรมการธนาคารฯ ได้มอบอำนาจให้กับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk Management Committee) ซึ่งมีประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นประธานคณะกรรมการ ทำหน้าที่ในการระบุ ประเมิน ติดตาม และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของธนาคารฯ และบริษัทในเครือ และดำเนินการให้มั่นใจว่าการจัดการกับความเสี่ยงได้รับการ ดำเนินการโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบอย่างเหมาะสมและครอบคลุมครบถ้วน ธนาคารฯ ได้จัดตั้งสายงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk Management Group) ซึ่งรายงานตรงต่อประธานเจ้าหน้าที่ บริหารด้านบริหารความเสี่ยง ทำหน้าที่บริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการในภาพรวมโดยมีฝ่ายงานซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางทำหน้าที่ดูแล ความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น ความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงในการควบคุมการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงที่เกิดจากการกระทำที่ไม่ได้รับ อนุมัติ ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจและเหตุการณ์วิกฤต ความเสี่ยงจากการทุจริต ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของบุคคลและทรัพย์สิน และความเสี่ยงที่เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติด้านการจ้างงานและความปลอดภัยในสถานที่ หน่วยงานธุรกิจและหน่วยงานสนับสนุนเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการบริหารและควบคุมความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของหน่วยงานตนเอง ธนาคารฯ ได้แต่งตั้งตัวแทนเพื่อสนับสนุนการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Unit Operational Risk Manager : UORM) ไว้ในแต่ละสายงานธุรกิจและ สายงานสนับสนุน ซึ่งเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยสายงานบริหารความเสี่ยงด้าน ปฏิบัติการเป็นผู้ช่วยสนับสนุนการทำงานของ UORM สายงานตรวจสอบทำหน้าที่เป็น “แนวป้องกันชั้นที่สาม” ภารกิจของสายงานตรวจสอบคือการตรวจสอบโดยอิสระเพื่อให้มั่นใจว่ามาตรการ ควบคุมภายในซึ่งดำเนินการโดยแนวป้องกันชั้นที่หนึ่งและสอง ได้รับการออกแบบอย่างดีและสามารถควบคุมความเสี่ยงในการทำธุรกิจของ ธนาคารฯ อย่างมีประสิทธิผล ทั้งนี้ ในการปฏิบัติหน้าที่ สายงานตรวจสอบจะให้คำแนะนำที่เฉพาะเจาะจงเพื่อปรับปรุงระบบบรรษัทภิบาล กรอบการ บริหารความเสี่ยงและการควบคุม ธนาคารฯ ได้พัฒนากรอบการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ โดยกำหนดให้มีการระบุความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ การวัดผล การติดตาม การรายงาน การวิเคราะห์และควบคุมอย่างเป็นระบบ กรอบการดำเนินงานดังกล่าวครอบคลุมหลักการ โครงสร้างการดำเนินงาน และการกำกับดู แลการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีรูปแบบการกำกับดูแลความเสี่ยงด้วยหลักการป้องกัน 3 ลำดับ (3 lines of defence risk governance model) และสอดคล้องกับแนวทาง COSO ธนาคารฯ ได้กำหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้สำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ เพื่อพิจารณาความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โอกาสและ ผลกระทบ) โดยกำหนดระดับดังกล่าวจากข้อมูลในอดีตของธนาคารฯ ความแข็งแกร่งทางการเงิน และสภาพแวดล้อมการบริหารความเสี่ยงด้าน ปฏิบัติการโดยรวม ในกรณีความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นสูงเกินระดับที่ยอมรับได้นั้น ธนาคารฯ จะกำหนดแผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อ ลดระดับความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ธนาคารฯ ได้จัดทำนโยบาย มาตรฐานขั้นต่ำ และแนวทางปฏิบัติต่างๆ เพื่อใช้ในการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการซึ่งครอบคลุมถึง กระบวนการและเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการที่สำคัญ ตามหลักเกณฑ์ Basel New Capital Accord (Basel II) เช่น การประเมิน


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

215

ความเสี่ยงและการควบคุมด้วยตนเอง (Risk and Control Self Assessment : R&CSA) การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) ดัชนีชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญ (Key Risk Indicators : KRI) และการจัดการเหตุการณ์ความเสี่ยง (Incident Management) การประเมินความเสี่ยงและการควบคุมด้วยตนเอง / การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง เป็นกระบวนการที่ใช้ ในการระบุและประเมินความเสี่ยง และการควบคุมที่สำคัญรวมถึงการพิจารณาแผนการจัดการความเสี่ยง ธนาคารฯ ยังได้กำหนดดัชนีชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญระดับองค์กรเพื่อ เป็นสัญญาณเตือนล่วงหน้าให้กับผู้บริหารเพื่อดำเนินการจัดการและควบคุมความเสี่ยงด้านปฏิบัติการในเชิงรุก การรายงานเหตุการณ์ความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการตรวจหา แก้ ไข และวิเคราะห์เหตุการณ์ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและเก็บข้อมูลความเสียหาย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจและตระหนักถึงต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เกิดจากเหตุการณ์ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและจุดอ่อนในการควบคุมความเสี่ยง รวมถึงภาพรวมของความเสี่ยงที่มีในธนาคารฯ นอกเหนือจากเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการข้างต้น ธนาคารฯ ยังได้ออกเครื่องมือสนับสนุนเพื่อให้เกิดกลไกการลดความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการที่สำคัญเพิ่มเติม ได้แก่ กระบวนการอนุมัติผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ (Product and Service Approval Process: PSAP) การติดตามความคืบหน้าของแผนการจัดการความเสี่ยง (Action Tracking) นโยบายบริหารความเสี่ยงจากการใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก/ การให้บริการด้านสนับสนุนแก่บุคคลอื่น (Outsourcing / Insourcing Risk Management) และแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องและ แผนฉุกเฉินด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (BCP / DRP) ธนาคารฯ ได้กำหนดแนวทางการอนุมัติผลิตภัณฑ์และบริการที่ออกใหม่และทบทวนผลิตภัณฑ์และบริการที่มีอยู่ เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ธนาคารฯ เสนอมีการระบุและจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีโครงสร้างพื้นฐานและการควบคุมที่จำเป็นอย่างเพียงพอ ที่จะสนับสนุนธุรกิจใหม่ดังกล่าวให้ดำเนินการภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ธนาคารฯ ยอมรับได้ ธนาคารฯ ได้นำระบบการติดตามความคืบหน้าของแผนการจัดการความเสี่ยง (Action Tracking System) มาใช้เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการ ติดตาม และการบริหารจัดการข้อสังเกตที่ได้จากการตรวจสอบ (audit item) และจากวิธีการอื่น (non-audit item) ได้รับการปรับปรุงแก้ ไขจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอ ตามเวลาที่เหมาะสม ธนาคารฯ ได้กำหนดให้มีนโยบายบริหารความเสี่ยงจากการใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก / การให้บริการด้านสนับสนุนแก่บุคคลอื่น เพื่อกำหนด หลักการและมาตรฐานในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิผล ธนาคารฯ ได้จัดให้มีนโยบายและมาตรฐานการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดแนวทางให้กับทุกหน่วยงานในการพัฒนาแผนการดำเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง หน่วยงานบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจภายใต้สายงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการทำหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่องให้เป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานดังกล่าว รวมทั้งประเมินระดับความพร้อมและประสานงานการพัฒนาแผนการดำเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่องและแผนฉุกเฉินด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของบริษัทลูกในกลุ่มธุรกิจการเงินนั้น บริษัทลูกได้เริ่มและนำกรอบการบริหารความเสี่ยงด้าน ปฏิบัติการ นโยบาย และมาตรฐานขั้นต่ำของธนาคารไปปรับใช้ และได้มีการกำหนดโครงสร้างหน่วยงานและคณะกรรมการที่ดูแลรับผิดชอบการ บริหารความเสี่ยงด้านปฎิบัติการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงด้านปฏิบัติการให้เหมาะสม ณ ปัจจุบัน บริษัทลูกได้มีการจัดเก็บข้อมูลความเสียหายสำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ จัดทำแผนการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และมีการ ประเมินความเสี่ยงสำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการแล้ว และได้กำหนดแผนงานเพื่อนำนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและเครื่องมือ อื่นๆ ไปใช้ในปี 2554 ต่อไป


216

|

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

38. การปรับปรุงมูลค่าเงินลงทุนในงบการเงินรวม ในระหว่างปี 2553 ธนาคารฯ ได้ปรับปรุงการวัดมูลค่าเงินลงทุน และการรับรู้รายได้จากเงินลงทุนของเงินลงทุนในกองทุนรวมสยามรีสอร์ท และ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เดอะคอลัมน์ ในงบการเงินรวม จากเดิมที่บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีส่วนได้เสียมาเป็นวิธีราคาทุน ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้อง กับลักษณะและเงื่อนไขของผลตอบแทนที่ ได้รับจากการลงทุนในกองทุนดังกล่าว ธนาคารฯ จึงทำการปรับย้อนหลังงบการเงินปีก่อนที่นำมาแสดง เปรียบเทียบไว้ ณ ที่นี้ ซึ่งได้แสดงไว้ในหัวข้อ “ผลสะสมจากการปรับปรุงมูลค่าเงินลงทุน” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมแล้ว ผลกระทบของรายการปรับปรุงที่มีต่องบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ เพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ ลดลง ขาดทุนสะสม - ยังไม่ได้จัดสรร เพิ่มขึ้น งบกำไรขาดทุนรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลจากเงินลงทุน เพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ลดลง กำไรสุทธิรวมลดลง กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ลดลง (บาทต่อหุ้น) กำไรต่อหุ้นปรับลด ลดลง (บาทต่อหุ้น)

1,132 (1,643) (511) 73 (172) (99) (0.0024) (0.0023)

การปรับปรุงดังกล่าวไม่มีผลต่องบการเงินเฉพาะกิจการแต่อย่างใด เว้นแต่การแสดงรายการเงินลงทุนในงบดุลได้มีการจัดประเภทใหม่ จากเดิม ที่ถูกจัดประเภทเป็นเงินลงทุนในบริษัทร่วมมาเป็นเงินลงทุนระยะยาว (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 39)

39. การจัดประเภทรายการใหม่ ธนาคารฯ ได้มีการจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชีในงวดปัจจุบัน ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อกำไรสุทธิหรือส่วนของผู้ถือหุ้นตามที่เคยรายงานไว้ การจัดประเภทรายการใหม่มีดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ

การจัดประเภท รายการใหม่

ตามที่เคยรายงานไว้

21,694 605

20,562 1,737


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ง บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น

|

217

(หน่วย: ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

รายการนอกงบดุล - ภาระผูกพันทั้งสิ้น การรับอาวัลตั๋วเงินและการค้ำประกันการกู้ยืมเงิน ภาระผูกพันอื่น

การจัดประเภท รายการใหม่

ตามที่เคย รายงานไว้

การจัดประเภท รายการใหม่

ตามที่เคย รายงานไว้

847 396,171

2,753 394,265

847 396,171

2,753 394,265

(หน่วย : ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล เงินให้สินเชื่อ รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียมและบริการอื่น ๆ กำไรจากการจำหน่ายทรัพย์สิน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายอื่น ภาษีเงินได้

การจัดประเภท รายการใหม่

ตามที่เคย รายงานไว้

การจัดประเภท รายการใหม่

ตามที่เคย รายงานไว้

17,506

17,650

17,352

17,496

4,089 1,186

4,053 332 710

3,681 1,259

3,645 411 704

2,688 2,184 33

2,652 2,183 34

2,622 2,102 -

2,586 2,101 1

40. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารฯ ได้มีมติให้เสนอต่อที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำปีของธนาคารฯ เพื่อพิจารณา และอนุมัติจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญของธนาคารฯ จากผลการดำเนินงานสำหรับปี 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.015 บาท รวมเป็นเงินปันผลทั้งสิ้น 653 ล้านบาท เงินปันผลนี้จะจ่ายและบันทึกบัญชีภายหลังจากได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีแล้ว

41. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการธนาคารฯ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554


218

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

รายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำรงเงินกองทุน 1.

ขอบเขตการบังคับใช้ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำรงเงินกองทุนประจำปี 2553 ธนาคารได้ทำการเปิดเผยข้อมูลเชิงปริมาณในระดับกลุ่มธนาคาร (Full Consolidation) และระดับธนาคารพาณิชย์ (Solo basis) ซึ่งเป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารได้เริ่มเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำรงเงินกองทุนของกลุ่มธนาคารระดับ Full Consolidation สำหรับงวดปี 2553 เป็นงวดแรกจึงไม่ได้เสนอ ข้อมูลเปรียบเทียบซึ่งเป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย บริษัทในกลุ่มธนาคารระดับ Full Consolidation ประกอบด้วย ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ 1. บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด บริหารสินเชื่อและสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ 2. บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด บริหารจัดการกองทุน 3. บริษัท เดซิกนี ฟอร์ อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด สาธารณูปโภค

2.

เงินกองทุน

2.1 โครงสร้างเงินกองทุน ตารางที่ 1 : เงินกองทุนของกลุ่มธนาคาร (หน่วย: ล้านบาท) เฉพาะธนาคาร กลุ่มธนาคาร รายการ 31 ธ.ค. 2553 30 มิ.ย. 2553 31 ธ.ค. 2553 1. เงินกองทุนชั้นที่ 1 45,474 46,168 45,617 1.1 ทุนชำระแล้ว 41,352 41,352 41,352 1.2 ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น 1.3 ส่วนเกิน (ต่ำกว่า) มูลค่าหุ้น (สุทธิ) 1.4 เงินที่ได้รับจากการออกหุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่สะสมเงินปันผล 1.5 ทุนสำรองตามกฎหมาย 1.6 เงินสำรองที่จัดสรรจากกำไรสุทธิ 1.7 กำไร (ขาดทุน) สะสมคงเหลือจากการจัดสรร* (78) (78) 42 1.8 Hybrid Tier 1 ส่วนที่ธนาคารแห่งประเทศไทย อนุญาตให้นับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ได้ 4,200 4,894 4,200 1.9 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 83 1.10 รายการหัก 1.10.1 รายการหักเงินกองทุนชั้นที่ 1 60 1.10.2 ส่วนที่ให้หักออกจากเงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2 อย่างละร้อยละ 50 1.10.3 ส่วนที่ให้หักออกจากเงินกองทุนชั้นที่ 2 ที่เกินกว่าเงินกองทุนชั้นที่ 2 2. เงินกองทุนชั้นที่ 2 21,082 20,956 21,082 2.1 เงินกองทุนชั้นที่ 2 ก่อนรายการหัก 21,082 20,956 21,082 2.2 ส่วนที่ให้หักออกจากเงินกองทุนชั้นที่ 1 และเงินกองทุนชั้นที่ 2 อย่างละร้อยละ 50 3. เงินกองทุนทั้งสิ้นตามกฏหมาย 66,556 67,124 66,699 3.1 เงินกองทุนทั้งสิ้นก่อนรายการหัก 66,556 67,124 66,699 3.2 หัก ส่วนต่ำกว่าทุนสุทธิจากการตีราคาเงินลงทุนในตราสารประเภทเผื่อขาย เงินกองทุนทั้งสิ้น ต่อ สินทรัพย์เสี่ยง 16.59% 18.37% 16.55% เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อ สินทรัพย์เสี่ยง 11.33% 12.64% 11.32%

สินทรัพย์เสี่ยง 1. สินทรัพย์เสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) 2. สินทรัพย์เสี่ยงด้านตลาด (Market Risk) 3. สินทรัพย์เสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) รวมสินทรัพย์เสี่ยงทั้งหมด * ไม่นับรวมกำไรของปี 2553

361,088 10,116 30,059 401,263

322,412 12,301 30,629 365,342

362,226 10,116 30,729 403,071


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

219

ตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนและไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ไม่มีผลกำไร (Hybrid Tier 1) เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2549 ธนาคารได้ออกตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนที่ ไม่สะสมดอกเบี้ยจ่าย และไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ ไม่มี ผลกำไร เพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 (Hybrid Tier 1) จำนวน 200 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ตราสารดังกล่าวเป็นประเภทไม่มีกำหนดระยะเวลา ในการชำระคืน แต่ธนาคารมีสิทธิขอไถ่ถอนคืนก่อนกำหนดโดยต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย และธนาคารยังคงดำเนิน กิจการในขณะนั้น โดยการชำระคืนก่อนกำหนดเป็นไปตามกรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้ 1. หลังจากปีที่ 10 เป็นต้นไปทุกวันที่จ่ายชำระดอกเบี้ย 2. กรณีมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับภาษีในประเทศไทยหรือที่หมู่เกาะเคย์แมน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ ด้านภาษี ซึ่งมีผลกระทบต่อภาระหนี้ตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนของธนาคาร 3. กรณีที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเปลี่ยนหลักเกณฑ์การนับเงินกองทุนและตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนของธนาคารโดยไม่สามารถ นับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ได้อีกต่อไป โดยมีอัตราดอกเบี้ย 10 ปีแรกเป็นอัตราคงที่ ร้อยละ 7.75 ต่อปี ชำระทุก 6 เดือนในวันที่ 30 มิถุนายน และ 30 ธันวาคม ของทุกปีในช่วง 10 ปีแรก และปีที่ 11 เป็นต้นไป คิดดอกเบี้ยในอัตราลอยตัวที่ USD LIBOR 3 เดือนบวกร้อยละ 3.13 ชำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ในวันที่ 30 มีนาคม 30 มิถุนายน 30 กันยายน และ 30 ธันวาคม ของทุกปี ทั้งนี้ ในงวดชำระดอกเบี้ย หากธนาคารคาดว่าผลการดำเนินงานในงบการเงินรวมไม่มีกำไรสุทธิ ธนาคารไม่มีภาระในการชำระดอกเบี้ยสำหรับงวด ดังกล่าว และไม่ผูกพันที่จะต้องสะสมยอดไปจ่ายในงวดถัด ๆ ไป ในระหว่างปี 2552 ธนาคารได้มีการซื้อคืน Hybrid Tier 1 ข้างต้นบางส่วนจำนวนเงินต้นรวม 153 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี 2553 ธนาคารได้ซื้อคืน Hybrid Tier 1 เพิ่มเติมอีกบางส่วน จำนวนเงินต้นประมาณ 42 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ในระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ธนาคารได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นกู้ที่จะแก้ ไขเงื่อนไขของตราสารดังกล่าวนี้ โดยให้สิทธิธนาคารในการเลือกที่ จะไถ่ถอนตราสารที่เหลือทั้งหมดได้ ตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เป็นต้นไป จากเดิมที่ธนาคารมีสิทธิไถ่ถอนได้หลังจากปีที่ 10 เป็นต้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมียอดคงเหลือของ Hybrid Tier 1 ดังกล่าวจำนวน 5 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาเทียบเท่าเป็นจำนวน 160 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552 ธนาคารได้ออกตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนที่ไม่สะสมดอกเบี้ยจ่าย และไม่ชำระดอกเบี้ยในปีที่ไม่มีผลกำไร เพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 (Hybrid Tier 1) เพิ่มเติมจำนวน 4,000 ล้านบาท ตราสารดังกล่าวไม่มีกำหนดระยะเวลาชำระคืน แต่ธนาคารมีสิทธิ ขอไถ่ถอนคืนก่อนกำหนดโดยต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย และธนาคารยังคงดำเนินกิจการในขณะนั้น การไถ่ถอนคืนก่อน กำหนดเป็นไปตามกรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้ 1. ทุกงวดชำระดอกเบี้ยนับจากวันที่มีอายุครบ 5 ปี เป็นต้นไป 2. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวกับภาษี ทำให้ธนาคารต้องรับภาระทางภาษีเพิ่มขึ้น หรือธนาคารไม่สามารถนำดอกเบี้ยมาใช้ หักภาษีได้ 3. กรณีที่ธนาคารไม่สามารถนับตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ได้อีกต่อไป


220

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

โดยมีอัตราดอกเบี้ย 10 ปีแรกคงที่ร้อยละ 7 ต่อปี ปีที่ 11 เป็นต้นไป คิดดอกเบี้ยในอัตราลอยตัวที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือนประเภท ลูกค้าทั่วไปของธนาคารบวกร้อยละ 7 ต่อปี ชำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน ในวันที่ 30 เมษายน และ 30 ตุลาคมของทุกปี ทั้งนี้ หากธนาคารมีผลขาดทุนในรอบบัญชีล่าสุดก่อนวันกำหนดชำระดอกเบี้ย หรือการชำระดอกเบี้ยตามตราสารหนี้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน ในวันกำหนดชำระดอกเบี้ยใดจะทำให้ธนาคารมีผลขาดทุนในรอบบัญชีล่าสุดก่อนวันกำหนดชำระดอกเบี้ยนั้น ธนาคารไม่มีภาระในการชำระดอกเบี้ย สำหรับงวดดังกล่าว และไม่ผูกพันที่จะต้องสะสมยอดไปจ่ายในงวดถัดๆ ไปเว้นแต่จะได้รับอนุญาตให้ชำระดอกเบี้ยจากธนาคารแห่งประเทศไทย

2.2 ความเพียงพอของเงินกองทุน ณ วันสิ้นงวด เดือนธันวาคม 2553 ธนาคารมีอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ ร้อยละ 16.59 โดยเป็นอัตราส่วนเงินกองทุน ชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ ร้อยละ 11.33 สำหรับกลุ่มธนาคารมีอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง ณ วันสิ้นงวด เดือนธันวาคม 2553 เท่ากับ ร้อยละ 16.55 โดยเป็นอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ ร้อยละ 11.32 ทั้งนี้อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นดังกล่าว อยู่สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดไว้ที่ระดับ ร้อยละ 8.50 การลดลงของอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงของ ธนาคาร เมื่อเทียบกับร้อยละ 18.37 ณ วันสิ้นงวดเดือนมิถุนายน 2553 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของฐานะความเสี่ยงด้านเครดิต ซึ่งเป็นผลจากการ ขยายสินเชื่อที่เพิ่มสูงขึ้น และผลกระทบจากการซื้อคืน Hybrid Tier 1 ปัจจุบันธนาคารได้มีการจัดทำกระบวนการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน (ICAAP: Internal Capital Adequacy Assessment Process) โดยรายงานเกี่ยวกับความเพียงพอของเงินกองทุน และการจัดการบริหารเงินกองทุนที่เกี่ยวข้อง ต่อผู้บริหารและคณะกรรมการของธนาคาร ตารางที่ 2 วิธีที่ใช้ในการคำนวณเงินกองทุน วิธีที่ใช้ในการคำนวณในแต่ละความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านตราสารทุน ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ

วิธี SA SA SA BIA

ตารางที่ 3 มูลค่าเงินกองทุนขั้นต่ำที่ต้องดำรงสำหรับความเสี่ยงด้านเครดิต แยกตามประเภทสินทรัพย์ โดยวิธี SA (หน่วย : ล้านบาท) เงินกองทุนขั้นต่ำสำหรับความเสี่ยงด้านเครดิต แยกตามประเภทสินทรัพย์ โดยวิธี SA 1. ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ 1.1 ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนัก ความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 1.2 ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ 1.3 ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน 1.4 ลูกหนี้รายย่อย 1.5 สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 1.6 สินทรัพย์อื่น 2. ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ 3. First-to-default credit derivatives และ Securitisation รวมมูลค่าเงินกองทุนขั้นต่ำที่ต้องดำรงสำหรับความเสี่ยงด้านเครดิตทั้งหมดที่คำนวณโดยวิธี SA

เฉพาะธนาคาร

กลุ่มธนาคาร

31 ธ.ค.2553 30 มิ.ย.2553 31 ธ.ค. 2553 27,935 24,083 27,838

145

138

145

3,168

2,069

3,180

15,894 3,959 1,791 2,978 2,758 30,693

13,726 3,631 1,848 2,671 3,322 27,405

15,894 3,958 1,791 2,870 2,951 30,789


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

221

ตารางที่ 4 เงินกองทุนขั้นต่ำที่ต้องดำรงสำหรับความเสี่ยงด้านตลาดสำหรับฐานะในบัญชีเพื่อการค้า (หน่วย : ล้านบาท) เงินกองทุนขั้นต่ำสำหรับความเสี่ยงด้านตลาด (ฐานะในบัญชีเพื่อค้า) รวมมูลค่าเงินกองทุนขั้นต่ำที่ต้องดำรงสำหรับความเสี่ยงด้านตลาด (โดยวิธีมาตรฐาน) *อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงขั้นต่ำเท่ากับร้อยละ 8.50

เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค.2553 30 มิ.ย. 2553

860

1,046

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

860

ตารางที่ 5 เงินกองทุนขั้นต่ำที่ต้องดำรงสำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (หน่วย : ล้านบาท) เงินกองทุนขั้นต่ำสำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ รวมมูลค่าเงินกองทุนขั้นต่ำที่ต้องดำรงสำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (โดยวิธี Basic Indicator approach) *อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงขั้นต่ำเท่ากับร้อยละ 8.50

3.

เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค.2553 30 มิ.ย. 2553

2,555

2,603

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

2,612

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประเมินความเสี่ยงด้านต่างๆ ของธนาคาร การบริหารความเสี่ยงเป็นพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจของธนาคารและเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดกลยุทธ์ของธนาคาร ธนาคารใช้หลักการ ของการมีวินัยในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านตลาด และความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ทั้งนี้เพื่อให้ธนาคารสามารถเพิ่มมูลค่าและ ผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเหมาะสมและยั่งยืน ธนาคารได้ผนวกการบริหารความเสี่ยงเข้ากับการดำเนินธุรกรรมประจำวันและการวางแผน กลยุทธ์ เพื่อสร้างความเหมาะสมระหว่างความเสี่ยงและผลตอบแทน ธนาคารบริหารความเสี่ยงโดยมีการกำกับดูแลความเสี่ยงอย่างเข้มงวด และการสร้างวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยงที่มุ่งเน้นให้พนักงานใส่ใจกับความเสี่ยง พิจารณาผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยง และการปรับลด ความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ข้อมูลในส่วนนี้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับแนวทางในการบริหารความเสี่ยงของธนาคารและอธิบายวัตถุประสงค์ แนวนโยบายระดับสูง กระบวนการ เทคนิคในการวัดและการควบคุมความเสี่ยงที่ธนาคารใช้ นอกจากนี้ ยังนำเสนอบทสรุปและเปิดเผยข้อมูลของพอร์ตสินเชื่อและฐานะการเงินของ ธนาคารด้วย

3.1

ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านเครดิตคือความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดความสูญเสียต่อธนาคาร อันเป็นผลมาจากผู้กู้ และ/หรือคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามพันธะ ทางการเงินหรือเงื่อนไขสัญญาที่ตกลงไว้ ความเสี่ยงด้านเครดิตส่วนใหญ่เกิดจากธุรกรรมการให้สินเชื่อและภาระผูกพัน แต่ความเสี่ยงด้านเครดิต ยังเกิดได้จากรายการภาระผูกพันนอกงบดุล เช่น การค้ำประกันการกู้ยืมเงิน และตราสารอนุพันธ์ เป็นต้น

3.1.1 กระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต การบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตเป็นกระบวนการในการควบคุมและจัดการกับความเสี่ยงที่มีอยู่ในกระบวนการให้สินเชื่อตลอดจนพอร์ตสินเชื่อ ของธนาคาร

ธนาคารมีเป้าหมายในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตเพื่อสร้างผลตอบแทนให้เหมาะสมกับความเสี่ยง โดยการควบคุมความเสี่ยงด้านเครดิต ให้อยู่ในระดับที่ธนาคารยอมรับได้ และสร้างความสามารถในการแข่งขันเชิงธุรกิจอย่างยั่งยืนโดยให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการ ดำเนินธุรกิจและการวางแผนกลยุทธขององค์กร ธนาคารให้ความสำคัญและมุ่งมั่นในการพัฒนา ปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารความเสี่ยง


222

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ด้านเครดิตอย่างต่อเนื่อง โดยมีการพัฒนาบุคลากร การกำกับดูแลด้านการบริหารความเสี่ยง กระบวนการ เครื่องมือและระบบวัดระดับความเสี่ยง รวมถึงการพัฒนาแนวทางบริหารความเสี่ยงในรูปของทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital) การปรับปรุงกระบวนการและเครื่องมือในการวัด ระดับความเสี่ยง เช่น risk rating model สำหรับลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ และลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Application Scorecard และ Behavior Scorecard สำหรับลูกค้ารายย่อยและลูกค้าธุรกิจขนาดเล็ก จัดทำและปรับปรุงนโยบาย กระบวนการ และแนวทางในการดำเนินงาน ซึ่งครอบคลุมการวัด และการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ในส่วนของกลุ่มธุรกิจทางการเงินของธนาคาร ซึ่งประกอบด้วย บริษัทบริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด ดำเนินธุรกิจส่วนใหญ่ในการชำระบัญชี (Liquidation) ทรัพย์สินรอการขาย (NPA) และสินเชื่อด้อยคุณภาพ (NPL) และ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนทหารไทย จำกัด ซึ่งมิได้ดำเนิน ธุรกิจเกี่ยวข้องกับการให้สินเชื่อ 3.1.2 กระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต การให้บริการด้านสินเชื่อเป็นธุรกิจที่ทำรายได้หลักให้แก่ธนาคาร แต่ขณะเดียวกันการให้สินเชื่อก็ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านเครดิตซึ่งมีผลต่อรายได้ และการดำรงเงินกองทุนของธนาคาร ธนาคารจึงให้ความสำคัญต่อการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารตระหนักดีว่า การบริหารความเสี่ยงด้านเดรดิตและการให้สินเชื่ออย่างมีประสิทธิภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อความมั่นคงและแข็งแกร่งของธนาคาร เนื่องจาก ทำให้ธนาคารมั่นใจได้ว่าความเสี่ยงที่มีอยู่ในกระบวนการให้สินเชื่อตลอดจนพอร์ตสินเชื่อของธนาคาร ได้รับการจัดการและควบคุมอย่างเหมาะสม ธนาคารจึงให้ความสำคัญกับการสร้างวัฒนธรรมด้านเครดิต โดยยึดมั่นในหลักการในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างรัดกุม และเข้มงวด ในการทำงานด้วยความเข้าใจในผลลัพธ์และผลกระทบอันเกิดจากความเสี่ยง

หลักการสำคัญของการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตของธนาคาร มีดังนี้: การบริหารพอร์ตสินเชื่อ (Credit Portfolio Management) : ธนาคารมีการกำหนดส่วนประกอบของพอร์ตสินเชื่อในเชิงกลยุทธ์และกำหนด เพดานความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ธนาคารยอมรับได้ เพื่อควบคุมความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของพอร์ตสินเชื่อและเพื่อให้มั่นใจว่าพอร์ต สินเชื่อของธนาคารมีการกระจายตัวที่ดีและสร้างผลตอบแทนตามความเสี่ยงที่ธนาคารกำหนด การตรวจสอบและถ่วงดุลของกระบวนการพิจารณาสินเชื่อ (Checks and Balances) : ธนาคารมีการแบ่งแยกบทบาทและหน้าที่ระหว่าง หน่วยงานที่นำเสนอสินเชื่อ การวิเคราะห์ความเสี่ยงของสินเชื่อและผู้มีอำนาจอนุมัติสินเชื่อออกจากกันอย่างชัดเจน ทั้งนี้ เพื่อให้การพิจารณา ให้สินเชื่อของธนาคารทำโดยเจ้าหน้าที่หรือคณะฯ ที่มีประสบการณ์และความรู้ในระดับที่เหมาะสม การให้สินเชื่ออย่างรัดกุมเข้มงวด (Sound Credit Granting) : ธนาคารมีการกำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติเพื่อเป็นกรอบในการบริหาร ความเสี่ยงด้านเครดิต ซึ่งครอบคลุมเรื่องการบริหารจัดการ การวิเคราะห์สินเชื่อและการวัดความเสี่ยงด้านเครดิต มีการกำหนดวิธีปฏิบัติงาน ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งมีรายละเอียดเพียงพอที่จะเป็นแนวทางให้แก่พนักงานผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ปฏิบัติงานเป็นไปตามกระบวนการของ การให้สินเชื่อ มาตรฐานความเป็นมืออาชีพ (Standard for Professionalism) : ธนาคารมีความมั่นใจว่าพนักงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการให้สินเชื่อ ยึดมั่น ในจรรยาบรรณของการเป็นพนักงานธนาคาร รวมทั้งมีความเข้าใจและมีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบาย แนวทางการปฏิบัติงาน กฎหมาย และกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของธนาคารได้อย่างเหมาะสม ธนาคารได้จัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเครดิต เพื่อให้มั่นใจว่า พนักงานของธนาคารมีความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเครดิตที่ได้มาตรฐาน การตรวจติดตามและควบคุมความเสี่ยง (Monitoring and Control) : ธนาคารได้กำหนดมาตรฐานของรายงานต่างๆ ที่เหมาะสม เพื่อใช้ ในการตรวจติดตามและควบคุมดูแลการบริหารพอร์ตสินเชื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.3 โครงสร้างและผังองค์กรของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารจัดให้มีโครงสร้างการกำกับดูแลความเสี่ยงเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารความเสี่ยง โดยมีการกระจายอำนาจในการอนุมัติการ บริหารความเสี่ยงจากคณะกรรมการธนาคารไปยังคณะกรรมการชุดย่อย และ ผู้บริหารในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม รวมทั้งเพื่อให้มีการ บริหารจัดการเกี่ยวกับประเด็นความเสี่ยงด้านต่างๆ กฎเกณฑ์ของทางการและสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

223

คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการสินเชื่อ คณะพิจารณาสินเชื่อ คณะปรับปรุงคุณภาพ สินเชื่อ 1 คณะปรับปรุงคุณภาพ สินเชื่อ 2

ป ร ะ ธ า น เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารความเสี่ยง

คณะนโยบายบริหารความเสี่ยง

สายงานสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และพัฒนาสินทรัพย์ สายงานสินเชื่อรายย่อยและเอสเอ็มอี สายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงและนโยบาย

คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ คณะกรรมการบริหาร สินทรัพย์และหนี้สิน

สายงานบริหารความเสี่ยงสินเชื่อเชิงกลยุทธ์ สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาด สายงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ สายงานกำกับการปฏิบัติงาน สายงานกฎหมาย สอบทานสินเชื่อ วิเคราะห์ความเสี่ยงมหภาค

คณะกรรมการธนาคารมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบสูงสุดในการบริหารความเสีย่ งในภาพรวมของธนาคาร คณะกรรมการธนาคารได้มอบหมายให้คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง (RMC) ทบทวนและ กำกับดูแล การบริหารความเสี่ยงของธนาคาร รวมถึงอำนาจในการอนุมัติกลยุทธ์ ในการบริหารความเสี่ยง นโยบาย มาตรฐานในการดำเนินงาน ตลอดจนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้และเพดานความเสี่ยงต่างๆ สายงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง จะอยู่ภายใต้การดูแลของประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านบริหารความเสี่ยง และรายงานตรงต่อประธาน เจ้าหน้าที่บริหารด้านบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะนโยบายบริหารความเสี่ยง ที่จะทบทวนและพิจารณาประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ นโยบายการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการสินเชื่อ คณะพิจารณาสินเชื่อ คณะปรับปรุงคุณภาพสินเชื่อ 1 และ คณะปรับปรุงคุณภาพสินเชื่อ 2 มีหน้าที่พิจารณาและอนุมัติสินเชื่อที่นำเสนอโดยหน่วยธุรกิจ สายงานสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และพัฒนาสินทรัพย์ และสายงานสินเชื่อธุรกิจ รายย่อยและเอสเอ็มอีมีหน้าที่วิเคราะห์และพิจารณาสินเชื่อที่นำเสนอโดยหน่วยธุรกิจต่างๆ รวมถึงการจัดทำมาตรฐานการพิจารณาสินเชื่อ คู่มือการปฏิบัติงาน และเครื่องมือที่ใช้ ในการพิจารณาสินเชื่อ การบริหารพอร์ตสินเชื่อเชิงรุก การทบทวนสินเชื่อ รวมทั้งติดตามและแก้ ไขหนี้ ด้อยคุณภาพ สายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงและนโยบาย รับผิดชอบในการจัดทำนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงของธนาคารในภาพรวม การทดสอบความถูกต้องของแบบจำลอง จัดทำการทดสอบภาวะวิกฤต และ จัดทำบทวิเคราะห์รายภาคธุรกิจ รวมถึงจัดระดับความเสี่ยงรายภาค อุตสาหกรรม (Internal Industry Rating) สายงานบริหารความเสี่ยงสินเชื่อเชิงกลยุทธ์ รับผิดชอบในการพัฒนาและติดตามดูแลแบบจำลอง ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ สนับสนุนด้านข้อมูลสินเชื่อ รวมทั้งจัดทำรายงานความเสี่ยงด้านสินเชื่อ รวมถึงการคำนวณการตั้งสำรอง หน่วยงานสอบทานสินเชื่อ ทำหน้าที่สอบทานสินเชื่อรายตัวอย่างเป็นอิสระ รวมถึงสอบทานประสิทธิภาพของกระบวนการให้สินเชื่อสำหรับกลุ่มที่มี ความเสี่ยงสูง นอกจากนี้ยังมี หน่วยงานวิเคราะห์ความเสี่ยงมหภาค ทำหน้าที่ประเมินและคาดการณ์สถานการณ์ของเศรษฐกิจมหภาค หน่วยธุรกิจ ในฐานะของแนวป้องกันความเสี่ยงเบื้องต้น (Fist line of defense) มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้น จากการดำเนินธุรกิจของตน เพื่อสร้างผลตอบแทนตามความเสี่ยงให้มากที่สุดเพื่อให้สอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) ของธนาคาร


224

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

3.1.4 ขอบเขตและลักษณะของระบบการวัด การอนุมัติ การติดตามและการรายงานความเสี่ยงด้านเครดิต นโยบายความเสี่ยงด้านสินเชื่อ (Credit Risk Policies) ธนาคารได้กำหนดนโยบายสินเชื่อเพื่อเป็นแนวทางในการให้สินเชื่ออย่างชัดเจน ธนาคารจะไม่ให้สินเชื่อแก่ธุรกิจที่ผิดกฎหมาย จรรยาบรรณของ เจ้าหน้าที่สินเชื่อ หรือ การปฎิบัติอื่นใดที่อาจกระทบต่อชื่อเสียงของธนาคาร นโยบายสินเชื่อของธนาคารครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้

1. ธนาคารมีการกำหนดนโยบายคุณสมบัติของลูกหนี้ตามระดับความเสี่ยง โดยแบ่งเป็นลูกหนี้กลุ่มที่ธนาคารไม่สนับสนุนสินเชื่อ กลุ่มที่หลีกเลี่ยง การให้สินเชื่อ และกลุ่มสินเชื่อที่ต้องพึงระมัดระวัง เพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ ในการปฏิบัติงาน 2. การบริหารความเสี่ยงของพอร์ตสินเชื่อไม่ให้มีการกระจุกตัวของการให้สินเชื่อแก่ภาคอุตสาหกรรม หรือ ภาคธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรือ ลูกหนี้ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งนี้ กำหนดให้กระบวนการอนุมัติสินเชื่อมีการถ่วงดุลระหว่างหน่วยงานบริหารความสัมพันธ์ลูกค้าธุรกิจ ซึ่งรับผิดชอบ กระบวนการพิจารณาสินเชื่อ หน่วยงานวิเคราะห์ความเสี่ยงของสินเชื่อ และผู้มีอำนาจอนุมัติ ออกจากกันอย่างชัดเจน 3. ธนาคารกำหนดขั้นตอนการทำงาน และวิธีปฏิบัติ เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ปฏิบัติงานด้านสินเชื่อทราบถึงแนวทางการปฏิบัติในการพิจารณา คัดเลือกลูกค้า การวิเคราะห์ความสามารถในการชำระหนี้ การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ และหลักประกัน รวมทั้งการกำหนดเงื่อนไข ทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงของธนาคาร สินเชื่อรายย่อยของธนาคาร ซึ่งประกอบด้วยสินเชื่อบุคคล และสินเชื่อธุรกิจขนาดย่อม ธนาคารได้มีการบริหาร portfolio บนพื้นฐานของ ผลิตภัณฑ์เป็นหลัก ดังนั้น นโยบายและเงื่อนไขข้อกำหนดด้านสินเชื่อ จึงมีการกำหนดให้เป็นมาตรฐานแยกรายผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้เพื่อให้การพิจารณา สินเชื่อ การบริหารจัดการ และการรับชำระหนี้ มีความน่าเชื่อถือและมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ ยังได้มีการนำ Scorecard และ เครื่องมือที่ ใช้ในการจัดระดับความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit risk rating tools) มาใช้ร่วมกันอย่างเหมาะสม การวัดความเสี่ยงด้านเครดิตและการรายงาน การวัดความเสี่ยงด้านเครดิตทำให้ธนาคารสามารถบริหารพอร์ตสินเชื่อ จากการประเมินโดยใช้ข้อมูลเชิงปริมาณในการวัดความเสี่ยงตั้งแต่ระดับ ลูกหนี้แต่ละรายจนถึงระดับภาพรวม portfolio ของธนาคาร ปัจจุบันธนาคารใช้แบบจำลองการวัดความน่าจะเป็นในการผิดนัดชำระหนี้ (Probability of Default models : PD models) ความเสียหายเมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ (Loss Given default : LGD) และ ยอดหนี้คงค้างเมื่อมีการผิดนัดชำระหนี้ (Exposure at Default :EAD) ในการคำนวณทุนทางเศรษฐกิจ (Economic Capital) และเงินสำรองส่วนเกิน รวมถึงการติดตามดูแลพอร์ตสินเชื่อ ธนาคารมีการกำหนดระดับความเสี่ยงด้านต่างๆที่ยอมรับได้ในแต่ละ กลุ่มธุรกิจ portfolio และผลิตภัณฑ์ (Risk Appetite Statement) และมีการ ติดตามเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริงกับระดับความเสี่ยงที่ได้กำหนดไว้ ธนาคารได้จัดให้มีการรายงานปริมาณความเสี่ยงและคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อผ่านทาง credit dashboard และนำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงเป็นประจำทุกเดือน ซึ่งรายงาน credit dashboard ประกอบด้วยข้อมูลคุณภาพพอร์ตสินเชื่อของธนาคาร ปริมาณการกระจุกตัวของสินเชื่อ การกระจายตัวของสินเชื่อตามระดับความเสี่ยง รวมถึงความเพียงพอของเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ของทางการและทุนทางเศรษฐกิจ กระบวนการอนุมัติสินเชื่อและการติดตามดูแล ธนาคารมีการพิจารณาและอนุมัติวงเงินสินเชื่อแก่ลูกหนี้แต่ละรายและทั้งกลุ่มโดยเจ้าหน้าที่หรือคณะฯ ที่รับผิดชอบ ตามอำนาจอนุมัติที่ ได้ระบุไว้ นอกจากนี้ ธนาคารยังได้นำแบบจำลองการจัดระดับความเสี่ยงด้านเครดิตร่วมกับประสบการณ์และการตัดสินใจทางด้านสินเชื่อมาประกอบใน การประเมินความเสี่ยงสำหรับลูกค้ากลุ่มธุรกิจรายใหญ่ (Corporate) และลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) สำหรับลูกค้ารายย่อย และธุรกิจรายย่อยนั้น ธนาคารใช้ Application Scorecards เป็นเครื่องมือในการประเมินความเสี่ยง


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

225

ธนาคารมีกระบวนการบริหารสินเชื่อที่แยกหน้าที่ความรับผิดชอบสินเชื่อออกเป็นสายธุรกิจ ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ ธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม และสินเชื่อรายย่อย รวมถึงการแบ่งแยกบทบาทในกระบวนการด้านสินเชื่อเป็น 2 ด้าน ได้แก่ งานบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า (Relationship Management) และงานพิจารณาเครดิต (Credit Underwriting) เพื่อสามารถทำการควบคุมและถ่วงดุลระหว่างกันได้อย่างเหมาะสม สายงานที่รับผิดชอบในการบริหารความสัมพันธ์ลูกค้าธุรกิจจะรายงานต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหารที่กำกับดูแลแต่ละกลุ่มธุรกิจ ในขณะที่งาน พิจารณาเครดิตรายงานต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่บริหารความสัมพันธ์ลูกค้าธุรกิจประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ บริหารความสัมพันธ์ลูกค้าและเจ้าหน้าที่ผลิตภัณฑ์ธุรกรรม (Lending and Structuring Product (LSP)) จะมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการตลาด การขาย ขยายธุรกรรม รวมทั้งให้บริการลูกค้าและเตรียมคำขอสินเชื่อ เพื่อทำการประเมินความเสี่ยงด้านสินเชื่อ รวมถึงให้ความเห็นชอบต่อโครงสร้าง การให้สินเชื่อ ข้อกำหนดและเงื่อนไข ให้สอดคล้องกับฐานะทางการเงิน กระแสเงินสด และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง หลังจากนั้นคำขอสินเชื่อจะถูกส่งไปยัง เจ้าหน้าที่พิจารณาเครดิตเพื่อพิจารณาและทำข้อเสนอแนะการตัดสินใจ และนำส่งต่อให้เลขานุการด้านเครดิตเพื่อนำเสนอต่อผู้มีอำนาจอนุมัติหรือ คณะฯ ที่รับผิดชอบตามอำนาจอนุมัติที่ได้ระบุไว้ต่อไป ซึ่งจะพิจารณาตามพื้นฐานข้อมูลด้านอุตสาหกรรมและของผู้กู้ รวมถึงนโยบายของธนาคาร และกฏข้อบังคับของธนาคารแห่งประเทศไทย งานบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า (Relationship Management) มีความรับผิดชอบที่จะบริหารลูกค้า ให้ครบวงจรของกระบวนการบริหารความเสี่ยงตั้งแต่การเริ่มให้สินเชื่อ การติดตาม การบริหารและทบทวนกลุ่มลูกค้าที่รับผิดชอบด้วยการมี กระบวนการการติดตามและจัดการอย่างเหมาะสม สินเชื่อที่มีสัญญาณว่าผลประกอบการด้อย ต้องมีการดูแลเป็นพิเศษ เพื่อป้องกันการค้างชำระ ในกรณีที่ลูกค้าค้างชำระและต้องมีการปรับโครงสร้างหนี้ จะโอนความรับผิดชอบไปยังฝ่ายพัฒนาสินทรัพย์ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับ โครงสร้างหนี้เป็นผู้ดำเนินการแก้ ไขหนี้ดังกล่าวต่อไป ในส่วนของสินเชื่อธุรกิจรายย่อยและเอสเอ็มอี กระบวนการอำนวยสินเชื่อได้ถูกวางรูปแบบเป็นมาตรฐานตามผลิตภัณฑ์ ในส่วนของการตลาดและ การบริหารจัดการสินเชื่อ นั้นได้ถูกแยกออกจากกัน โดยการตลาดจะรายงานตรงต่อ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารลูกค้ารายย่อย หรือ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในขณะที่หน่วยงานที่บริหารจัดการสินเชื่อจะรายงานตรงต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านบริหารความเสี่ยง การเข้าถึงลูกค้าจะดำเนินการโดยผ่านช่องทางสาขา, ผู้จัดการความสัมพันธ์ หรือผ่านช่องทางทางการตลาดอื่นๆ ภายใต้การแผนการตลาด ตลอดจนการแนะแนวทางการขายของผู้จัดการผลิตภัณฑ์และผู้จัดการภาคธุรกิจ ระบบการอนุมัติสินเชื่อ (LOS: Loan Origination System) อยู่ระหว่างกระบวนการพัฒนา ซึ่งจะนำมาใช้กับสินเชื่อผู้บริโภคทั้งสินเชื่อแบบที่มีหลักประกันและสินเชื่อแบบที่ไม่มีหลักประกัน คาดว่าจะดำเนินการ ได้ภายในปี 2554 Credit Scoring ยังคงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการพิจารณาสินเชื่อผู้บริโภคแบบที่ไม่มีหลักประกัน รวมถึงสินเชื่อธุรกิจขนาดย่อม ด้วย Application Score สำหรับผลิตภัณฑ์สินเชื่อผู้บริโภคแบบที่มีหลักประกันอยู่ระหว่างกระบวนการพัฒนา หน่วยงานติดตามหนี้รายย่อย อยู่ภายใต้สายงานสินเชื่อธุรกิจรายย่อยและเอสเอ็มอี มีหน้าที่ในการแก้ ไขและติดตามทวงถามหนี้สินเชื่อผู้บริโภคและ สินเชื่อธุรกิจขนาดย่อมที่มีความเสี่ยงสูงหรือหนี้ผิดนัดชำระ ตลอดจนการแก้ ไขลูกหนี้ที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ของสินเชื่อผู้บริโภคแบบไม่มี หลักประกัน ในส่วนของสินเชื่อผู้บริโภคแบบมีที่มีหลักประกันและสินเชื่อธุรกิจขนาดย่อม จะมีการดำเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญภายใต้กลุ่มพัฒนา สินทรัพย์รายย่อย สายงานสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่และพัฒนาสินทรัพย์ การบริหารจัดการคุณภาพสินเชื่อ ธนาคารบริหารคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อโดยติดตามและทบทวนสถานะของลูกหนี้หรือคู่สัญญาอย่างสม่ำเสมอ และกำหนดให้มีการทบทวนและ รายงานสถานะของลูกหนี้บ่อยครั้งยิ่งขึ้นกรณีเป็นหนี้ด้อยคุณภาพซึ่งเป็นความเสี่ยงสำคัญของธนาคาร ธนาคารยังมีระบบ Early Warning system เพื่อติดตามลูกหนี้ซึ่งยังเป็นหนี้ที่มีคุณภาพดีแต่อาจได้รับผลกระทบในทางลบจากปัจจัยต่างๆ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพหนี้ ธนาคารมี ทีมงานและคณะกรรมการแก้ ไขหนี้ด้อยคุณภาพ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับเงื่อนไขในการปรับโครงสร้างหนี้ ธนาคารยังได้ตั้งสำรองส่วนเกินเพื่อรองรับ ส่วนสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตกับหนี้คุณภาพดีนอกเหนือจากการตั้งสำรองเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอย่างเพียงพอสำหรับความเสียหายที่คาดว่า จะเกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคำนวณจากความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้ที่จะผิดนัดชำระหนี้ (probability of default) ของ ลูกหนี้ในแต่ละระดับความเสี่ยง ยอดหนี้เมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ (exposure at default) ตามประเภทของสินเชื่อ และ ความเสียหายเมื่อลูกหนี้ผิดนัด ชำระหนี้ (loss given default) ตามประเภทหลักประกัน


226

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

3.1.5 นโยบายประกันและ/หรือ ปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิตและกระบวนการสำหรับติดตามประสิทธิภาพของมาตรการปรับลดความเสี่ยง กระบวนการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต ได้ระบุไว้ในนโยบายหลักด้านความเสี่ยงเครดิต การปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิตของธนาคารอาศัย วิธีการที่อิงกับข้อบังคับของธนาคารแห่งประเทศไทยตามหลักเกณฑ์ Basel II โดยหลักการแล้ว ธนาคารจะปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิตด้วย หลักประกันทางการเงินและการค้ำประกัน โดยใช้น้ำหนักความเสี่ยงของหลักประกันแทนน้ำหนักความเสี่ยงของลูกหนี้

ธนาคารได้นำขั้นตอนที่ถูกต้องรัดกุมมาปฏิบัติสำหรับการขายหลักประกันทางการเงินเมื่อลูกค้าผิดนัดชำระหนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะสามารถขายหลักประกันได้โดยเร็ว ธนาคารยังกำหนดระเบียบปฏิบัติอย่างละเอียดสำหรับการบริหารและการประเมินราคาหลักประกัน ซึ่งสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ความถี่ในการประเมินราคาจะกำหนดตามระดับความเสี่ยงของคุณภาพสินเชื่อ ธนาคารรับความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างมีข้อมูลถ่องแท้และมีระเบียบแบบแผน ธนาคารจึงประเมินความน่าเชื่อถือของลูกค้า คู่ค้า และการลงทุน เพื่อพิจารณาความสามารถในการชำระหนี้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ในระหว่างขั้นตอนการประเมินเพื่อทำสัญญาขอสินเชื่อใหม่ ขอเปิดวงเงินกู้ หรือลงทุนใหม่ หรือทบทวนสัญญากู้ฉบับเดิมและสัญญาการลงทุนที่มีอยู่แล้ว ธนาคารจะกำหนดจำนวนและประเภทของหลักประกันที่ลูกค้าต้อง วางกับธนาคารหากจำเป็นและเหมาะสม โดยทั่วไป ยิ่งลูกค้าหรือคู่สัญญามีความเป็นไปได้ที่จะผิดนัดชำระหนี้ (PD) ลูกค้าหรือคู่สัญญานั้นยิ่งจำเป็น ต้องจัดหาหลักประกันมากขึ้น ในการทำธุรกรรมกับคู่สัญญา ธนาคารจะทำความตกลงทางกฎหมายหลายรูปแบบ ซึ่งธนาคารและ/หรือคู่สัญญาอาจ ต้องวางหลักประกันให้อีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อคุ้มครองฐานะของตนเองจากความผันผวนในตลาด กฎหมายที่บังคับใช้ในประเทศต่างๆ ย่อมมีผลต่อประเภท และจำนวนหลักประกันที่ธนาคารเรียกจากคู่สัญญา หรือต้องวางเป็นหลักประกัน นอกจากนี้ ธนาคารยังทำสัญญาซื้อ/ขายประกันความเสี่ยงเครดิต (Credit Default Swaps) และตราสารอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน เพื่อลดความเสี่ยงด้านเครดิตจากผู้กู้หรือพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ประเภทของหลักประกัน จึงถูกกำหนดโดยโครงสร้างของเงินกู้หรือฐานะนั้นๆ 3.1.6 แนวทางปฏิบัติเพื่อกำหนดเพดานควบคุมความเสี่ยง ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของพอร์ตสินเชื่อเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างหนึ่งในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารบริหารและติดตาม ดูแลการกระจุกตัวของสินเชื่อในแต่ละภาคธุรกิจ ประเทศคู่สัญญา และลูกหนี้รายใหญ่ โดยธนาคารได้กำหนดเพดานความเสี่ยงที่ธนาคารยอมรับได้ ทั้งในรายภาคธุรกิจ และในแต่ละประเทศคู่สัญญา เพื่อบริหารฐานะความเสี่ยงด้านเครดิตที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตให้มีการกระจาย ตัวอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ธนาคารยังได้กำหนดเพดานความเสี่ยงด้านเครดิตสำหรับลูกหนี้รายใหญ่รวมผู้เกี่ยวข้องไว้ด้วย รวมทั้งมีการติดตาม และรายงานสถานะความเสี่ยงจากการกระจุกตัวด้านเครดิตต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอ 3.1.7 บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายในที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารได้จัดตั้งสายงานตรวจสอบเป็นหน่วยงานอิสระ เพื่อประเมินและแนะนำแนวทางปรับปรุงกระบวนการบริหาร การควบคุม และการกำกับดูแล ความเสี่ยงให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กร ผู้ตรวจสอบจะทบทวนเพื่อให้ความมั่นใจว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตรง ตามนโยบายบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตที่ธนาคารกำหนดและถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของทางการ

นอกจากสายงานตรวจสอบแล้ว ธนาคารจัดตั้งฝ่ายงานสอบทานคุณภาพสินเชื่อ แยกเป็นอิสระจากกระบวนการพิจารณาและอนุมัติสินเชื่อ เพื่อให้ทำ หน้าที่สอดส่องดูแลแนวโน้มการด้อยลงของคุณภาพสินเชื่ออย่างต่อเนื่อง หน่วยสอบทานคุณภาพสินเชื่อมีความเป็นอิสระที่จะระบุหาสัญญาณของ การเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อและให้ข้อมูลเชิงลึกแก่ผู้บริหารระดับสูงเกี่ยวกับคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อ จุดอ่อนจุดด้อยของนโยบาย กระบวนการ และระเบียบปฏิบัติ พร้อมทั้งให้คำแนะนำในด้านการแก้ ไขหรือการป้องกันปัญหา การเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงนโยบายสินเชื่อ กระบวนการและวิธีปฏิบัติจะนำมาเสนอเป็นบทเรียนให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

227

3.1.8 การจัดชั้นหนี้และการกันสำรอง ธนาคารจัดชั้นลูกหนี้โดยพิจารณาจากสถานภาพในอดีตและการจัดชั้นลูกหนี้เชิงคุณภาพ โดยอาศัยผลประกอบการที่ผ่านมาและผลประกอบการ ในอนาคต สภาพคล่อง และประวัติการชำระหนี้เป็นพื้นฐานในการพิจารณา

ธนาคารได้ตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์แบ่งแยกสินทรัพย์ในพอร์ตสินเชื่อ ออกเป็น 6 ระดับ โดยมีอัตราส่วนร้อยละของการกันสำรองแตกต่างกันตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ธนาคารยังได้กันสำรอง ส่วนเกินเพิ่มเติมสำหรับสินทรัพย์จัดชั้นปกติ และสินทรัพย์จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ เพื่อรองรับความสูญเสียที่เป็นผลสืบเนื่องจากเหตุการณ์ ความเสี่ยงในอนาคตหรือผลขาดทุนที่เกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รับรู้ (IBNR) โดยอาศัยค่าความน่าจะเป็นจากการผิดนัดชำระหนี้ (probability of default) ที่คิดจากระดับความเสี่ยง และยอดหนี้คงค้าง (exposure at default) ที่คิดจากประเภทของเงินกู้หรือประเภทของลูกหนี้ในการคำนวณ ธนาคารจะดูแลให้ความมั่นใจว่าจะมีการกันสำรองตามเกณฑ์หรือสูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดเสมอ ตารางที่ 6 : มูลค่ายอดคงค้างของสินทรัพย์ ในงบดุลและรายการนอกงบดุลที่สำคัญก่อนพิจารณาผลการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต (หน่วย: ล้านบาท) เฉพาะธนาคาร

รายการ 1. สินทรัพย์ ในงบดุล 1.1 เงินให้สินเชื่อรวมสุทธิ (1) 1.2 เงินลงทุนในตราสารหนี้สุทธิ (2) 1.3 เงินฝาก (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) 2. รายการนอกงบดุล (3) 2.1 การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำประกันและเล็ตเตอร์ออฟเครดิต 2.2 สัญญาอนุพันธ์นอกตลาด (4) 2.3 วงเงินที่ยังมิได้เบิกใช้ซึ่งธนาคารพาณิชย์ ได้ผูกพันไว้แล้ว (Undrawn committed line) (1)

กลุ่มธนาคาร

ยอดคงค้างเฉลี่ย ระหว่างปี 2553 31 ธ.ค.2553 31 ธ.ค.2552 31 ธ.ค.2553 500,876 518,701 483,050 520,120 406,380 415,786 396,973 416,379 85,165 91,668 78,662 92,299 9,331 11,247 7,415 11,442 609,155 870,542 347,768 870,542 18,223 17,721 18,725 17,721 564,292 816,316 312,268 816,316

26,640

36,505

16,775

36,505

รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังหักรายได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ และรวมเงินให้ สินเชื่อสุทธิของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินด้วย (2) ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังหักค่าเผื่อการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์ และค่าเผื่อการด้อยค่าของหลักทรัพย์ (3) ก่อนคูณค่าแปลงสภาพ (4) รวมถึงอนุพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตราสารทุนด้วย


รวม 509,731 7,432 1,047 491 518,701

สินทรัพย์ ในงบดุล

เงินฝาก (รวมดอกเบี้ย ค้างรับ) 8,730 1,026 1,047 444 11,247

รวม 844,059 5,247 10,906 10,330 870,542

(3)

สัญญาอนุพันธ์ นอกตลาด 791,771 3,309 10,906 10,330 816,316

รายการนอกงบดุล

การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำประกันและ เล็ตเตอร์ออฟเครดิต 17,691 30 17,721

(หน่วย : ล้านบาท)

วงเงินที่ยังมิได้เบิกใช้ ซึ่งธนาคารพาณิชย์ ได้ผูกพันไว้แล้ว 34,597 1,908 36,505

เงินลงทุน เงินฝาก การรับอาวัลตั๋วเงิน วงเงินที่ยังมิได้เบิกใช้ เงินให้สินเชื่อ ในตราสารหนี้ (รวมดอกเบี้ย การค้ำประกันและ สัญญาอนุพันธ์ ซึ่งธนาคารพาณิชย์ ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ รวม สุทธิ(2) ค้างรับ) รวม รวมสุทธิ (1) เล็ตเตอร์ออฟเครดิต นอกตลาด ได้ผูกพันไว้แล้ว ประเทศไทย 476,158 393,993 78,662 3,503 333,361 18,653 297,934 16,774 กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย 4,203 2,974 1,229 8,671 72 8,598 1 กลุ่มอเมริกาเหนือ และละตินอเมริกา 2,507 2,507 1,189 1,189 กลุ่มแอฟริกาและตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป 182 6 176 4,547 4,547 รวม 483,050 396,973 78,662 7,415 347,768 18,725 312,268 16,775 (1) รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังหักรายได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ และรวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินด้วย (2) ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังค่าเผื่อการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์และค่าเผื่อการด้อยค่าของหลักทรัพย์ (3) ก่อนคูณค่าแปลงสภาพ

31 ธ.ค. 2552

ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ ประเทศไทย กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย กลุ่มอเมริกาเหนือ และละตินอเมริกา กลุ่มแอฟริกาและตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป รวม

เงินลงทุน ในตราสารหนี้ สุทธิ(2) 91,668 91,668

|

เงินให้สินเชื่อ รวมสุทธิ (1) 409,333 6,406 47 415,786

ตารางที่ 7 : มูลค่ายอดคงค้างของสินทรัพย์ ในงบดุลและรายการนอกงบดุลที่สำคัญก่อนพิจารณาผลการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต จำแนกตามประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 (หน่วย : ล้านบาท) (3) สินทรัพย์ ในงบดุล รายการนอกงบดุล

228 ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553


สินทรัพย์ ในงบดุล

รายการนอกงบดุล

(3)

(หน่วย : ล้านบาท)

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 อายุไม่เกิน 1 ปี อายุเกิน 1 ปี 275,761 244,359 217,948 198,431 46,371 45,928 11,442 638,838 231,704

(หน่วย : ล้านบาท)

31 ธ.ค. 2553 31 ธ.ค. 2552 รายการ อายุไม่เกิน 1 ปี อายุเกิน 1 ปี รวม อายุไม่เกิน 1 ปี อายุเกิน 1 ปี รวม รวม 1. สินทรัพย์ ในงบดุล 275,077 243,624 518,701 256,090 226,960 483,050 520,120 1.1 เงินให้สินเชื่อรวมสุทธิ (1) 217,948 197,838 415,786 189,644 207,329 396,973 416,379 1.2 เงินลงทุนในตราสารหนี้สุทธิ (2) 45,882 45,786 91,668 59,031 19,631 78,662 92,299 1.3 เงินฝาก (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) 11,247 11,247 7,415 7,415 11,442 2. รายการนอกงบดุล (3) 638,838 231,704 870,542 213,983 133,785 347,768 870,542 2.1 การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำประกันและ 13,002 4,719 17,721 8,576 10,149 18,725 13,002 4,719 17,721 เล็ตเตอร์ออฟเครดิต 2.2 สัญญาอนุพันธ์นอกตลาด 589,331 226,985 816,316 188,632 123,636 312,268 589,331 226,985 816,316 2.3 วงเงินที่ยังมิได้เบิกใช้ซึ่งธนาคาร 36,505 36,505 16,775 16,775 36,505 36,505 พาณิชย์ ได้ผูกพันไว้แล้ว (1) รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังหักรายได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ และรวมเงินให้สินเชื่อสุทธิของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินด้วย (2) ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังค่าเผื่อการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์และค่าเผื่อการด้อยค่าของหลักทรัพย์ (3) ก่อนคูณค่าแปลงสภาพ

เฉพาะธนาคาร

ตารางที่ 8 : มูลค่ายอดคงค้างของสินทรัพย์ ในงบดุลและรายการนอกงบดุลก่อนพิจารณาผลการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต จำแนกตามอายุสัญญาที่เหลือ

เงินลงทุน เงินฝาก การรับอาวัลตั๋วเงิน วงเงินที่ยังมิได้เบิกใช้ เงินให้สินเชื่อ ในตราสารหนี้ (รวมดอกเบี้ย การค้ำประกันและ สัญญาอนุพันธ์ ซึ่งธนาคารพาณิชย์ สุทธิ(2) ค้างรับ) ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ รวม รวม รวมสุทธิ (1) เล็ตเตอร์ออฟเครดิต นอกตลาด ได้ผูกพันไว้แล้ว ประเทศไทย 511,150 409,927 92,299 8,924 844,059 17,692 791,770 34,597 กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย 7,432 6,405 1,027 5,247 29 3,310 1,908 กลุ่มอเมริกาเหนือ และละตินอเมริกา 1,047 1,047 10,906 10,906 กลุ่มแอฟริกาและตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป 491 47 444 10,330 10,330 รวม 520,120 416,379 92,299 11,442 870,542 17,721 816,316 36,505 (1) รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังหักรายได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ และรวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินด้วย (2) ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ และสุทธิหลังค่าเผื่อการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์และค่าเผื่อการด้อยค่าของหลักทรัพย์ (3) ก่อนคูณค่าแปลงสภาพ

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น |

229


230

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ตารางที่ 9 : มูลค่ายอดคงค้างเงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ และเงินลงทุนในตราสารหนี้ก่อนพิจารณาผลการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต จำแนกตามประเภทหรือภูมิภาคของลูกหนี้ และตามเกณฑ์การจัดชั้นที่ ธปท. กำหนด

เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

(หน่วย : ล้านบาท) (1)

ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ ประเทศไทย กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย กลุ่มอเมริกาเหนือและละตินอเมริกา กลุ่มประเทศแอฟริกา และตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป รวม (1)

ปกติ 369,146 6,558 11 375,715

เงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ กล่าวถึง ต่ำกว่า เป็นพิเศษ มาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม 25,905 5,172 1,952 26,080 428,256 5 63 6,626 1 35 47 25,911 5,172 1,952 26,178 434,929

รวมยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

31 ธ.ค. 2552

(หน่วย : ล้านบาท) (1)

ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ ประเทศไทย กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย กลุ่มอเมริกาเหนือและละตินอเมริกา กลุ่มประเทศแอฟริกา และตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป รวม (1)

ปกติ 325,346 3,030 6 328,382

เงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ กล่าวถึง ต่ำกว่า เป็นพิเศษ มาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม 47,672 7,281 5,302 38,403 424,004 5 83 1 2 3,121 6 47,677 7,364 5,303 38,405 427,131

เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ สงสัยจะสูญ -

รวมยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

(หน่วย : ล้านบาท) (1)

ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ ประเทศไทย กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย กลุ่มอเมริกาเหนือและละตินอเมริกา กลุ่มประเทศแอฟริกา และตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป รวม (1)

เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ สงสัยจะสูญ 53,273 53,273

ปกติ 368,446 6,558 11 375,015

เงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ กล่าวถึง ต่ำกว่า เป็นพิเศษ มาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม 25,905 5,172 1,952 28,838 430,313 5 62 6,626 1 35 47 25,911 5,172 1,952 28,935 436,986

รวมยอดคงค้างเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ สงสัยจะสูญ 53,273 53,273


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

231

ตารางที่ 10 มูลค่าของเงินสำรองที่กันไว้ (General provision และ Specific provision) และหนี้สูญที่ตัดออกจากบัญชีระหว่างงวดสำหรับเงิน ให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับและเงินลงทุนในตราสารหนี้ จำแนกตามประเทศหรือภูมิภาค เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

(หน่วย : ล้านบาท) (1)

เงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ มูลค่าหนี้สูญที่ตัดออก เงินลงทุนในตราสารหนี้ ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ General Provision Specific Provision จากบัญชีระหว่างงวด (2) Specific Provision ประเทศไทย 10,330 13,093 68 กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย 63 กลุ่มอเมริกาเหนือและละตินอเมริกา กลุ่มประเทศแอฟริกาและตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป รวม 8,751 10,393 13,093 68 (1) รวมมูลค่าเงินสำรองที่กันไว้และหนี้สูญที่ตัดออกจากบัญชีระหว่างงวดของเงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินด้วย (2) รวมเงินสำรองของลูกหนี้ส่วนที่โอนขายด้วย

31 ธ.ค. 2552

(หน่วย : ล้านบาท) (1)

เงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ มูลค่าหนี้สูญที่ตัดออก เงินลงทุนในตราสารหนี้ ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ General Provision Specific Provision จากบัญชีระหว่างงวด (2) Specific Provision ประเทศไทย 20,196 18,139 กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย 84 กลุ่มอเมริกาเหนือและละตินอเมริกา กลุ่มประเทศแอฟริกาและตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป รวม 9,879 20,280 18,139 (1) รวมมูลค่าเงินสำรองที่กันไว้และหนี้สูญที่ตัดออกจากบัญชีระหว่างงวดของเงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินด้วย (2) รวมเงินสำรองของลูกหนี้ส่วนที่โอนขายด้วย

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

(หน่วย : ล้านบาท) เงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ (1) มูลค่าหนี้สูญที่ตัดออก เงินลงทุนในตราสารหนี้ ประเทศหรือภูมิภาคของลูกหนี้ General Provision Specific Provision จากบัญชีระหว่างงวด (2) Specific Provision ประเทศไทย 11,333 13,682 68 กลุ่มเอเชียแปซิฟิค ไม่รวมประเทศไทย 63 กลุ่มอเมริกาเหนือและละตินอเมริกา กลุ่มประเทศแอฟริกาและตะวันออกกลาง กลุ่มยุโรป รวม 9,212 11,396 13,682 68 (1) รวมมูลค่าเงินสำรองที่กันไว้และหนี้สูญที่ตัดออกจากบัญชีระหว่างงวดของเงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินด้วย (2) รวมเงินสำรองของลูกหนี้ส่วนที่โอนขายด้วย


232

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ตารางที่ 11 : มูลค่ายอดคงค้างเงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ* ก่อนพิจารณาผลการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต จำแนกตามประเภทธุรกิจ และเกณฑ์การจัดชั้นที่ ธปท. กำหนด

เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 ประเภทธุรกิจ การเกษตรและเหมืองแร่

อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อที่อยู่อาศัย อื่นๆ รวม

(หน่วย : ล้านบาท) ปกติ 4,382 127,854 14,680 55,836 52,610 120,353 375,715

กล่าวถึงเป็นพิเศษ ต่ำกว่ามาตรฐาน 454 79 16,623 1,729 5,022 1,528 555 25,911

3,044 976 590 296 187 5,172

สงสัย 41

สงสัยจะสูญ 1,437

698 613 61 429 110 1,952

13,973 2,165 4,795 3,140 668 26,178

31 ธ.ค. 2552 ประเภทธุรกิจ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อที่อยู่อาศัย อื่นๆ รวม

162,192 20,163 66,304 58,003 121,873 434,929

(หน่วย : ล้านบาท) ปกติ 4,202 100,196 13,122 47,270 52,464 111,127 328,382

กล่าวถึงเป็นพิเศษ ต่ำกว่ามาตรฐาน 1,362 94 27,547 2,829 5,669 1,037 10,304 2,687 1,844 536 951 181 47,677 7,364

สงสัย 124 3,130 1,105 216 571 157 5,303

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 ประเภทธุรกิจ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อที่อยู่อาศัย อื่นๆ รวม

รวม 6,394

สงสัยจะสูญ 4,158 22,856 3,676 3,400 3,235 1,080 38,405

รวม 9,940 156,558 24,609 63,878 58,650 113,496 427,131

(หน่วย : ล้านบาท) ปกติ 4,382 127,854 14,680 55,836 52,610 119,653 375,015

กล่าวถึงเป็นพิเศษ ต่ำกว่ามาตรฐาน 454 79 16,623 3,044 1,729 976 5,022 590 1,528 296 555 187 25,911 5,172

* รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

สงสัย 41 698 613 61 429 110 1,952

สงสัยจะสูญ 2,110 14,558 2,165 5,482 3,244 1,376 28,935

รวม 7,067 162,777 20,163 66,991 58,107 121,881 436,986


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

233

ตารางที่ 12 มูลค่าของเงินสำรองที่กันไว้ (General provision และ Specific provision) และมูลค่าของหนี้สูญที่ตัดออกจากบัญชีระหว่างงวด สำหรับเงินให้สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ* จำแนกตามประเภทธุรกิจ เฉพาะธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท) 31 ธ.ค. 2552

31 ธ.ค. 2553 ประเภทธุรกิจ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อที่อยู่อาศัย อื่นๆ รวม (1)

General Provision

Specific Provision

มูลค่าหนี้สูญที่ตัดออก จากบัญชีระหว่างงวด(1)

General Provision

8,751

361 6,631 599 1,377 957 468 10,393

294 1,494 394 83 255 10,573 13,093

9,879

รวมเงินสำรองของลูกหนี้ส่วนที่โอนขายด้วย

กลุ่มธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท) 31 ธ.ค. 2553 ประเภทธุรกิจ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อที่อยู่อาศัย อื่นๆ รวม (1)

รวมเงินสำรองของลูกหนี้ส่วนที่โอนขายด้วย

General Provision

Specific Provision

9,212

702 6,931 599 1,565 1,005 594 11,396

มูลค่าหนี้สูญที่ตัดออก จากบัญชีระหว่างงวด(1)

394 1,591 401 207 294 10,795 13,682

Specific มูลค่าหนี้สูญที่ตัดออก Provision จากบัญชีระหว่างงวด(1)

2,132 13,979 991 1,495 1,066 617 20,280

1,370 766 127 1,864 297 13,715 18,139


234

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ตารางที่ 13 : Reconciliation ของการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของเงินกันสำรองที่กันไว้ (General provision และ Specific provision) สำหรับเงินให้ สินเชื่อรวมดอกเบี้ยค้างรับ*

เฉพาะธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท) 31 ธ.ค. 2552

31 ธ.ค. 2553 รายการ เงินสำรองที่กันไว้ต้นงวด หนี้สูญที่ตัดออกจากบัญชีระหว่างงวด เงินสำรองที่กันไว้เพิ่มหรือ (ลด)ระหว่างงวด เงินสำรองอื่น (เงินสำรองที่กันไว้สำหรับขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยน เงินสำรองที่กันไว้ สำหรับการควบรวมหรือขายกิจการ) เงินสำรองที่กันไว้คงเหลือปลายงวด

General Provision

Specific Provision

9,879 (1,128)

20,280 13,093 3,207

รวม 30,158 13,093 2,079

8,751

10,393

19,144

กลุ่มธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท) 31 ธ.ค. 2553 รายการ เงินสำรองที่กันไว้ต้นงวด หนี้สูญที่ตัดออกจากบัญชีระหว่างงวด เงินสำรองที่กันไว้เพิ่มหรือ (ลด) ระหว่างงวด เงินสำรองอื่น (เงินสำรองที่กันไว้สำหรับขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยน เงินสำรองที่กันไว้ สำหรับการควบรวมหรือขายกิจการ) เงินสำรองที่กันไว้คงเหลือปลายงวด

General Provision

Specific Provision

รวม

10,072 (860)

21,534 13,682 3,544

31,606 13,682 2,684

9,212

11,396

20,608

* รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

General Provision

Specific Provision

9,685 194

34,720 18,139 3,699

รวม 44,405 18,139 3,893

9,879

20,280

30,159


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

235

ตารางที่ 14 : มูลค่ายอดคงค้างของสินทรัพย์ ในงบดุลและมูลค่าเทียบเท่าสินทรัพย์ ในงบดุลของรายการนอกงบดุล แยกตามประเภทสินทรัพย์ โดยวิธี SA

เฉพาะธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท) 31 ธ.ค. 2552

31 ธ.ค. 2553 ประเภทสินทรัพย์ 1. ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ 1.1 ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการ พัฒนาระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 1.2 ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ 1.3 ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน 1.4 ลูกหนี้รายย่อย 1.5 สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 1.6 สินทรัพย์อื่น 2. ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ 3. First-to-default credit derivatives และ Securitization รวม * หลังคูณด้วยค่าแปลงสภาพ และ Specific provision

สินทรัพย์ ในงบดุล

รายการนอก งบดุล *

รวม

สินทรัพย์ ในงบดุล

รายการนอก งบดุล *

570,953

62,215

633,168

515,339

133,514

3,166

136,680

125,663

2,965

128,628

89,052

24,034

113,086

63,486

8,170

71,656

169,725 66,212 52,912 59,538 22,941 593,894

32,281 2,734 1,574 63,789

202,006 68,946 52,912 59,538 24,515 657,683

151,974 70,746 52,751 50,719 30,854 546,193

17,371 3,673 2,726 34,905

169,345 74,419 52,751 50,719 33,580 581,098

รวม

32,179 547,518


236

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

กลุ่มธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท) 31 ธ.ค. 2553 ประเภทสินทรัพย์ 1. ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ 1.1 ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการ พัฒนาระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 1.2 ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ 1.3 ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน 1.4 ลูกหนี้รายย่อย 1.5 สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 1.6 สินทรัพย์อื่น 2. ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ 3. First-to-default credit derivatives และ Securitization รวม

สินทรัพย์ ในงบดุล

รายการนอก งบดุล *

รวม

570,526

62,215

632,741

134,145

3,166

137,311

89,247

24,034

113,281

169,725 66,212 52,912 58,285 23,996 594,522

32,281 2,734 1,574 63,789

202,006 68,946 52,912 58,285 25,570 658,311

* หลังคูณด้วยค่าแปลงสภาพ และ Specific provision

3.1.9 การคำนวณเงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านเครดิต รายนามสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือภายนอก เพื่อวัตถุประสงค์ ในการคำนวณเงินกองทุน ธนาคารได้ ใช้อันดับเครดิตจากสถาบันจัดอันดับเครดิตภายนอกดังต่อไปนี้ ในการกำหนดน้ำหนัก ความเสี่ยงของลูกหนี้ บริษัทมูดดี้ส์ อินเวสเตอร์ส เซอร์วิส บริษัทฟิทช์ เรทติ้ง (ประเทศไทย) บริษัททริส เรทติ้ง

การเทียบเคียงอันดับความน่าเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือภายนอก ธนาคารจะใช้อันดับเครดิตที่ ได้รับน้ำหนักความเสี่ยงต่ำที่สุดในการคำนวณเงินกองทุนตามกฎหมาย ในกรณีที่ ไม่มีอันดับเครดิตจากสถาบัน จัดอันดับเครดิตภายนอก การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงด้านสินเชื่อด้วย Standardized Approach (วิธี SA) อนุญาตให้คำนวณน้ำหนักความเสี่ยง เฉพาะตามประเภทของลูกหนี้แทน


น้ำหนักความเสี่ยง (%) 0

ยอดคงค้างที่มี Rating 20 50 100 150

0

0

0

20

50 319

100 150 8,228 24,924

1,609

5,915 153,666

0

22,894

20

2,258

20

50

50

50

50

75

35

75

70,202 48,207 2,302

100

2,151 31,945

-

-

-

-

-

-

2,697 1,839 34,856

625

-

-

100

-

ยอดคงค้างที่ไม่มี Rating 35 75 100

35

58,499 47,561 3,452

625

-

ยอดคงค้างที่ไม่มี Rating 35 75 100

-

-

-

-

-

-

-

-

-

937.5 100/8.5%

(หน่วย : ล้านบาท)

-

-

-

937.5 100/8.5%

|

ในส่วนที่ไม่มีการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต ซึ่งน้ำหนักความเสี่ยงขึ้นอยู่กับสัดส่วนของเงินสำรองที่กันไว้ต่อยอดหนี้ทั้งสิ้น

น้ำหนักความเสี่ยง (%)

1

- 10,061

0

20

869

20

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

(1)

ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ (1) รายการที่ ธปท. กำหนดให้หักออกจากเงินกองทุนของ สง.

-

150

-

2,915

ยอดคงค้างที่มี Rating 20 50 100

ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ - ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนัก ความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 134,558 44 - ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ - 52,750 - ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน - 6,040 - ลูกหนี้รายย่อย - สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย - สินทรัพย์อื่น

ประเภทสินทรัพย์

น้ำหนักความเสี่ยง (%)

ในส่วนที่ไม่มีการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต ซึ่งน้ำหนักความเสี่ยงขึ้นอยู่กับสัดส่วนของเงินสำรองที่กันไว้ต่อยอดหนี้ทั้งสิ้น

เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2552

(1)

ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ - ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนัก ความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 147,308 - 3,119 97 - ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ - 66,203 12 23,934 64 - ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน - 5,420 13,674 170,819 5,497 - ลูกหนี้รายย่อย - สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 47,247 - สินทรัพย์อื่น น้ำหนักความเสี่ยง (%) 0 20 50 100 150 0 1,092 4,644 18,144 ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ (1) รายการที่ ธปท. กำหนดให้หักออกจากเงินกองทุนของ สง.

ประเภทสินทรัพย์

ตารางที่ 15 : มูลค่ายอดคงค้างของสินทรัพย์ ในงบดุลและรายการนอกงบดุลสุทธิ หลังพิจารณามูลค่าการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิตในแต่ละประเภทสินทรัพย์ จำแนกตามแต่ละน้ำหนักความเสี่ยง โดยวิธี SA เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 (หน่วย : ล้านบาท)

ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) 237


(1)

ในส่วนที่ไม่มีการปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต ซึ่งน้ำหนักความเสี่ยงขึ้นอยู่กับสัดส่วนของเงินสำรองที่กันไว้ต่อยอดหนี้ทั้งสิ้น

150 0 น้ำหนักความเสี่ยง (%) 0 ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ - ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนัก ความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 147,939 - 3,119 97 - ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ - 66,278 12 24,054 64 - ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยงเหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน - 5,420 13,674 170,819 5,497 - ลูกหนี้รายย่อย - สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย - สินทรัพย์อื่น 47,262 น้ำหนักความเสี่ยง (%) 0 20 50 100 150 0 ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ (1) 1,257 4,601 19,076 รายการที่ ธปท. กำหนดให้หักออกจากเงินกองทุนของ สง.

ยอดคงค้างที่มี Rating 20 50 100 50

50

20

869 20 35

75

58,499 47,561 3,452

-

2,697 1,839 33,588 100

625

-

ยอดคงค้างที่ไม่มี Rating 35 75 100

-

-

-

-

-

-

937.5 100/8.5%

(หน่วย : ล้านบาท)

|

ประเภทสินทรัพย์

กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

238 ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

239

ตารางที่ 16 : มูลค่ายอดคงค้างในส่วนที่มีหลักประกันของแต่ละประเภทสินทรัพย์ โดยวิธี SA จำแนกตามประเภทของหลักประกัน

เฉพาะธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท) ประเภทสินทรัพย์ 1. ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ 1.1 ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์ ก ารของรั ฐ และรั ฐ วิ ส าหกิ จ (PSEs) ที่ ใ ช้ น้ ำ หนั ก ความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 1.2 ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ 1.3 ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน 1.4 ลูกหนี้รายย่อย 1.5 สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 1.6 สินทรัพย์อื่น 2. ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ รวม (1)

31 ธ.ค. 2553 หลักประกัน การค้ำประกันและ ทางการเงิน (1) อนุพันธ์ด้านเครดิต 23,434 14,369

31 ธ.ค. 2552 หลักประกัน การค้ำประกันและ ทางการเงิน (1) อนุพันธ์ด้านเครดิต 7,871 9,011

-

-

-

-

10,601

12,600

2

8,872

6,113 6,665 55 548 23,982

680 1,085 4 370 14,739

3,433 4,370 66 7,871

93 45 1 9,011

หลักประกันทางการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้นำมาปรับลดความเสี่ยงได้ (Eligible financial collateral) เช่น เงินสด เงินฝาก เป็นต้น

กลุ่มธนาคาร (หน่วย : ล้านบาท)

ประเภทสินทรัพย์ 1. ลูกหนี้ที่ไม่ด้อยคุณภาพ 1.1 ลูกหนี้ภาครัฐบาลและธนาคารกลาง ธนาคารเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ (MDBs) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์ ก ารของรั ฐ และรั ฐ วิ ส าหกิ จ (PSEs) ที่ ใ ช้ น้ ำ หนั ก ความเสี่ยงเหมือนกับลูกค้าภาครัฐบาล 1.2 ลูกหนี้สถาบันการเงิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้สถาบันการเงิน และบริษัทหลักทรัพย์ 1.3 ลูกหนี้ธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ (PSEs) ที่ใช้น้ำหนักความเสี่ยง เหมือนกับลูกหนี้ธุรกิจเอกชน 1.4 ลูกหนี้รายย่อย 1.5 สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 1.6 สินทรัพย์อื่น 2. ลูกหนี้ด้อยคุณภาพ รวม (1)

31 ธ.ค. 2553 หลักประกัน การค้ำประกันและ ทางการเงิน (1) อนุพันธ์ด้านเครดิต 23,434 14,369

-

-

10,601

12,600

6,113 6,665 55 548 23,982

680 1,085 4 370 14,739

หลักประกันทางการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้นำมาปรับลดความเสี่ยงได้ (Eligible financial collateral) เช่น เงินสด เงินฝาก เป็นต้น


240

3.2

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ความเสี่ยงด้านตลาด ฐานะความเสี่ยงด้านตลาด (Market risk exposures) ความเสี่ยงด้านตลาดประกอบด้วยความเสี่ยงด้านราคาและสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านราคาคือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาตราสารทุน และราคาสินค้าโภคภัณฑ์

3.2.1 โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด ธนาคารมีหน่วยงานที่เป็นอิสระจากหน่วยงานธุรกิจสองหน่วยงาน ทำหน้าที่บริหารจัดการความเสี่ยงด้านตลาด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร สินทรัพย์และหนี้สิน และสายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาด

คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน (ALCO) คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการกำกับดูแลให้การบริหารความเสี่ยงด้านตลาด ของธนาคารเป็นไปตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของธนาคาร และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk appetite) ซึ่งคณะกรรมการ ธนาคารเป็นผู้กำหนด คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมอบอำนาจในการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินรายวัน รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด ให้แก่คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน โดยคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินมีหน้าที่รับผิดชอบในการกำหนดแนวทาง/คำสั่ง รวมทั้ง ให้ความเห็นชอบหรืออนุมัติ ประเด็นความเสี่ยงด้านตลาด และเพดานความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน นอกจากนี้คณะกรรมการ บริหารสินทรัพย์และหนี้สินเป็นผู้รับผิดชอบในการติดตามดูแลฐานะสภาพคล่อง และการบริหารเงินกองทุนเพื่อรองรับความเสี่ยง ซึ่งได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการธนาคาร เนื่องจากเป็นกรณีที่เกี่ยวกับนโยบายที่สำคัญและเรื่องสภาพคล่อง คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินประกอบด้วยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ซึ่งดำรงตำแหน่งประธาน และมีคณะผู้บริหารระดับสูงเป็นกรรมการ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินมีการประชุมกันอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้งหรือเมื่อจำเป็น เพื่อทบทวนนโยบายที่ใช้ในการบริหารสินทรัพย์ และหนี้สินและความเสี่ยงด้านตลาดของธนาคาร ตลอดจนพิจารณาทบทวนฐานะสินทรัพย์และหนี้สินของธนาคารให้มีความสอดคล้องเป็นไป ในทิศทางเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของภาวะตลาด และกำหนดระดับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เงินฝาก และตั๋วแลกเงิน ให้เหมาะสม สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาด (MRMG) สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดเป็นหน่วยงานสนับสนุนที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดของธนาคาร โดยขึ้น ตรงกับประธานเจ้าหน้าที่บริหารด้านบริหารความเสี่ยง สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ พัฒนานโยบายใหม่สำหรับการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด หรือปรับปรุงนโยบายที่มีอยู่ในปัจจุบันเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ด้านกลยุทธ์ของธนาคาร ภาวะตลาด และกฎข้อบังคับขององค์กรที่มีหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินงานของธนาคาร พัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด นำกระบวนการนั้นไปปฏิบัติ และกำกับดูแลให้มีการนำไปปฏิบัติในบัญชีเพื่อการค้าอย่าง เคร่งครัด พัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด นำกระบวนการนั้นไปปฏิบัติ และกำกับดูแลให้มีการนำไปปฏิบัติในบัญชีเพื่อการธนาคาร อย่างเคร่งครัด พัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองความเสี่ยง 3.2.2 กระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด หน่วยงานที่ทำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงด้านตลาด เป็นผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติที่กำหนดไว้ ในนโยบายของธนาคาร


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

241

สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดเป็นผู้ดูแลระดับความเสี่ยงให้อยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ ได้รับอนุมัติ และหากเห็นว่ามีแนวโน้มที่จะเกิด ความเสี่ ย งที่ มี นั ย สำคั ญ ขึ้ น ในอนาคตอั น ใกล้ หรื อ เหตุ ก ารณ์ ค วามเสี่ ย งที่ จ ะส่ ง ผลกระทบในทางลบต่ อ ธนาคารจะต้ อ งรายงานให้ ผู้ บ ริ ห ารที่ เกี่ยวข้องทราบ เพื่อดำเนินการแก้ ไขอย่างเหมาะสมและทันท่วงที เพดานความเสี่ยงที่ธนาคารกำหนดให้ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดรวมถึง เพดานความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (FX Limits) ครอบคลุมธุรกรรมด้านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศทั้งหมด โดยการกำหนด เพดานความเสี่ยงดังกล่าวต้องให้สอดคล้องกับประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรื่องฐานะเงินตราต่างประเทศเกินดุล (overbought)/(ขาดดุล) (oversold)/(ฐานะเปิด) เพดานความอ่อนไหวต่ออัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Sensitivity Limits: PV01) ใช้ควบคุมผลของการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย 1 bp สำหรับผลิตภัณฑ์ซึ่งอ่อนไหวต่ออัตราดอกเบี้ย โดยต้องมีการกำหนดและติดตามดูแลเพดาน PV01 ในทุกช่วงเวลา (tenor bucket) เพดานความเสี่ยงสูงสุด (Management Action Trigger Limits: MAT) กำหนดระดับความเสี่ยงสูงสุดที่ผู้บริหารยอมรับได้ (Maximum Tolerance Levels) เมื่อมีการละเมิดเกณฑ์ที่กำหนดต้องรายงานให้คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินทราบ เพื่อตัดสินใจดำเนินการ แก้ ไขให้ลุล่วงภายในระยะเวลาที่กำหนด เพดานการขาดทุนสูงสุด (Stop Loss Limits) กำหนดระดับการขาดทุนสูงสุดจากพอร์ตการลงทุนที่ธนาคารจะต้องควบคุมไม่ให้เกินกว่า ระดับนี้ ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่กำหนดนี้ สายงานธุรกิจตลาดเงินเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารและการทำธุรกรรมทางการค้าเพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทน ทีเ่ หมาะสมกับเงินลงทุน คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ มีหน้าทีท่ บทวนระเบียบปฏิบตั ิ กลยุทธ์และผลการดำเนินงาน รวมทัง้ ติดตามความเสีย่ ง ให้อยู่ภายใต้เพดานความเสี่ยงที่กำหนด สำหรับบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินของธนาคารอันรวมถึง บริษัทบริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด และบริษัทเดซิกนี ฟอร์อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด ธนาคารได้จัดให้มีนโยบายซึ่งกำหนดแนวทางปฏิบัติขั้นต่ำในการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด ของบัญชีเพื่อการค้าและเปิดให้บริษัทย่อยได้ใช้ดุลยพินิจในการพัฒนานโยบายของตนเองให้สอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจ ภายใต้กรอบที่กำหนด อย่างไรก็ดี ด้วยลักษณะของธุรกิจของบริษัทย่อยแล้ว ความเสี่ยงด้านตลาด (หากมี) จึงอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ตารางที่ 17 : มูลค่าเงินกองทุนขั้นต่ำสำหรับความเสี่ยงด้านตลาดในแต่ละประเภทโดยวิธีมาตรฐาน (เพื่อการค้า)

เงินกองทุนขั้นต่ำสำหรับความเสี่ยงด้านตลาดโดยวิธีมาตรฐาน 1. ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย 2. ความเสี่ยงด้านตราสารทุน 3. ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน 4. ความเสี่ยงด้านราคาสินค้าโภคภัณฑ์ รวมมูลค่าเงินกองทุนขั้นต่ำที่ต้องดำรง * อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงขั้นต่ำเท่ากับร้อยละ 8.5

เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 30 มิ.ย. 2553 714 939 146 107 860 1,046

(หน่วย : ล้านบาท) กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 714 146 860


242

3.3

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง คือ ความเสี่ยงที่ธนาคารหรือบริษัทย่อยไม่สามารถชำระหนี้สินได้เมื่อครบกำหนด เนื่องจากไม่สามารถจัดหาเงินสด ได้ทันเวลาและด้วยต้นทุนที่เหมาะสม คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินเป็นผู้กำหนดกรอบการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องของ ธนาคาร ซึ่งต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการธนาคาร นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ กำหนดเพดานความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องรวมทั้งดำเนินการที่ เหมาะสมหากมีการละเมิดระดับความเสี่ยงที่กำหนดไว้ สายงานบริหารเงินได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินให้ดำรง สภาพคล่องที่เหมาะสม โดย

บริหารแหล่งเงินทุนให้มีกระจายตัวอย่างดี ทั้งในแง่ของประเภทตราสาร ผู้ให้เงินทุน ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของตลาด และสกุลเงิน บริหารความสามารถในการเข้าถึงตลาดทุนอย่างต่อเนื่องจริงจัง ถือครองพอร์ตสินทรัพย์ที่เปลี่ยนเป็นเงินสดได้เร็วและสามารถใช้เป็นหลักประกันที่มั่นคงของเงินทุน (secured funding) ดำรงสัดส่วนสภาพคล่องสุทธิ (Liquidity Gap) อย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงประเภทของสินทรัพย์และโอกาสในการหาเงินทุนของธนาคาร ทั้งที่มีหลักประกันและไม่มีหลักประกัน ดูแลหลักการกำหนดราคาเงินทุน (Funds Transfer Pricing - FTP) ให้สะท้อนถึงต้นทุนของสภาพคล่องของธนาคารทั้งในมุมมองของ การดำเนินธุรกิจในภาวะปกติ และในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน (Contingency) และ การบริหารสภาพคล่องวันต่อวัน ในการกำหนดกระแสเงินสดสำหรับรายงานสภาพคล่องสุทธิ (Liquidity Gap) ธนาคารได้ปรับกระแสเงินสดของสัญญาประเภทไม่มีกำหนดเวลา ด้วยพฤติกรรมของลูกค้าโดยอาศัยข้อมูลในอดีตเป็นฐาน ธนาคารมีการทบทวนผลของการวิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าอย่างสม่ำเสมอ และมี การศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องเพื่อนำผลที่ได้ ไปใช้ในการรายงานสภาพคล่องสุทธิให้มีคุณภาพรายงานที่ดี สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดได้รับมอบอำนาจในการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสภาพคล่องและร่วมกับสายงานบริหารเงินในการ ทดสอบความเสี่ยงด้านสภาพคล่องในภาวะวิกฤติ (Stress Testing) ทุกๆไตรมาส ฐานะสภาพคล่องของธนาคารจะถูกทดสอบภายใต้สถานการณ์ จำลองหลายรูปแบบ เพื่อประเมินว่าธนาคารจะอยู่ภายใต้ภาวะวิกฤติที่เกิดขึ้นเป็นเวลานานได้หรือไม่ ความรับผิดชอบของสายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดในการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ยังรวมถึง การเป็นเจ้าของ พัฒนา ทบทวน และปรับปรุงนโยบายบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง รวมทั้งข้อมูลสถานการณ์ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ที่ใช้ในการทดสอบแบบจำลองภาวะวิกฤติให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ รับรองและแนะนำแนวทางปฏิบัติเสริมตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และ ระบุ ติดตาม และรายงานความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง เพื่อดูแลให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตามกรอบนโยบายของธนาคารและข้อบังคับขององค์ กรที่มีหน้าที่กำกับดูแลธนาคารอย่างเคร่งครัด แผนฉุกเฉิน ธนาคารมีแผนฉุกเฉินซึ่งกำหนดขั้นตอนและวิธีปฏิบัติในการบริหารสภาพคล่องในภาวะวิกฤติ ทั้งนี้ธนาคารมีการทบทวนและทดสอบแผนฉุกเฉิน อย่างสม่ำเสมอเพื่อสร้างความมั่นใจว่าธนาคารมีความพร้อมในการรองรับภาวะวิกฤติด้านสภาพคล่องที่อาจเกิดขึ้นได้ สำหรับบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินของธนาคาร ธนาคารได้จัดให้มีนโยบายกำหนดแนวทางการปฏิบัติขั้นต่ำในการบริหารความเสี่ยงด้าน สภาพคล่อง และเปิดให้บริษัทย่อยได้ใช้ดุลยพินิจในการพัฒนานโยบายของตนเองให้สอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจภายใต้กรอบที่กำหนด อย่างไรก็ดี ด้วยลักษณะของธุรกิจของบริษัทย่อยแล้ว ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (หากมี) จึงอยู่ในเกณฑ์ต่ำ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

243

3.4 ข้อมูลฐานะที่เกี่ยวข้องกับตราสารทุนในบัญชีเพื่อการธนาคาร ฐานะความเสี่ ย งจากการลงทุ น ตราสารทุ น ในบั ญ ชี เ พื่ อ การธนาคาร ประกอบด้ ว ยตราสารทุ น ที่ จั ด ประเภทเป็ น หลั ก ทรั พ ย์ เ ผื่ อ ขาย และ หลักทรัพย์อื่น ตราสารทุนที่อยู่ในพอร์ต หลักทรัพย์เผื่อขาย ประกอบด้วยหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อวัตถุประสงค์ต่อไปนี้ โครงการร่วมทุน การปรับโครงสร้างหนี้ เงินลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ และ ธุรกิจการเงินและกลุ่มธุรกิจสนับสนุน ส่วนตราสารทุนที่อยู่ในประเภทหลักทรัพย์อื่น ประกอบด้วยหลักทรัพย์ที่ไม่ได้มีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อวัตถุประสงค์ต่อไปนี้ เงินลงทุนทั่วไปในโครงการร่วมทุน เงินลงทุนทั่วไปในการปรับโครงสร้างหนี้ เงินลงทุนทั่วไปในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุนทั่วไปในธุรกิจการเงินและกลุ่มธุรกิจสนับสนุน เงินลงทุนในบริษัทร่วมด้านการเงินและธุรกิจสนับสนุน และ เงินลงทุนในบริษัทย่อยด้านการเงินและธุรกิจสนับสนุน ตามกลยุทธ์ของธนาคาร กำหนดให้ขายสินทรัพย์ดังกล่าว ยกเว้นตราสารทุนสองประเภทหลังที่อยู่ในพอร์ตเงินลงทุนในบริษัทร่วมด้านการเงิน และธุรกิจสนับสนุน และเงินลงทุนในบริษัทย่อยด้านการเงินและธุรกิจสนับสนุน ซึ่งถือเป็นการลงทุนเชิงกลยุทธ์ ตารางที่ 18 : มูลค่าฐานะที่เกี่ยวข้องกับตราสารทุนในบัญชีเพื่อการธนาคาร

มูลค่าฐานะที่เกี่ยวข้องกับตราสารทุน 1. มูลค่าฐานะที่เกี่ยวข้องกับตราสารทุน 1.1 มูลค่าตราสารทุนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (ทั้งในประเทศและต่างประเทศ) - ราคาทุน - ราคาตลาด 1.2 มูลค่าตราสารทุนอื่น (ทั้งในประเทศและต่างประเทศ) * 2. กำไร (ขาดทุน) จากการขายตราสารทุนระหว่างงวดการรายงาน 3. ส่วนเกินทุนสุทธิทั้งหมดจากการตีราคาเงินลงทุนในตราสาร ประเภทเผื่อขาย 4. มูลค่าเงินกองทุนขั้นต่ำสำหรับฐานะที่เกี่ยวข้องกับตราสารทุน แยกตามวิธีการคำนวณที่ธนาคารพาณิชย์ ใช้ - วิธี SA * เฉพาะธนาคารได้รวมบริษัทย่อยด้วย

เฉพาะธนาคาร 31 ธ.ค. 2553 31 ธ.ค. 2552

(หน่วย : ล้านบาท) กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

309 278 6,802 166

329 248 7,774 779

470 440 2,743 178

64

14

65

349

256

190


244

3.5

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ หมายถึง ความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน อันเนื่องมาจากความไม่เพียงพอหรือ ความบกพร่องของกระบวนการภายใน บุคลากร ระบบงานของธนาคาร หรือจากเหตุการณ์ภายนอกธนาคาร รวมถึงความเสี่ยงด้านกฎหมาย แต่ไม่รวมความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic risk) และด้านชื่อเสียง (Reputational risk) ซึ่งการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการที่มีประสิทธิผล จะช่วยให้กระบวนการทางธุรกิจดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและช่วยลดต้นทุนด้านปฏิบัติการ การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของธนาคารดำเนินการโดยผ่านโครงสร้างการกำกับดูแลซึ่งมีคณะกรรมการธนาคารเป็นผู้รับผิดชอบระดับสูงสุด ในการบริหารความเสี่ยงของทั้งองค์กร คณะกรรมการธนาคารได้มอบอำนาจให้กับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk Management Committee) ซึ่งมีประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นประธานคณะกรรมการ ทำหน้าที่ในการระบุ ประเมิน ติดตาม และการบริหาร จัดการความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของธนาคารและบริษัทในเครือ และดำเนินการให้มั่นใจว่าการจัดการกับความเสี่ยงได้รับการดำเนินการโดยผู้ที่มี หน้าที่รับผิดชอบอย่างเหมาะสมและครอบคลุมครบถ้วน ธนาคารได้จัดตั้งสายงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk Management Group) ซึ่งรายงานตรงต่อประธานเจ้าหน้าที่ บริหารด้านบริหารความเสี่ยง ทำหน้าที่บริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการในภาพรวมโดยมีฝ่ายงานซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางทำหน้าที่ดูแล ความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น ความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงในการควบคุมการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงที่เกิดจากการกระทำที่ไม่ได้รับ อนุมัติ ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจและเหตุการณ์วิกฤต ความเสี่ยงจากการทุจริต ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของบุคคลและทรัพย์สิน และความเสี่ยงที่เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติด้านการจ้างงานและความปลอดภัยในสถานที่ หน่วยงานธุรกิจและหน่วยงานสนับสนุนเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการบริหารและควบคุมความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของหน่วยงานตนเอง ธนาคาร ได้แต่งตั้งตัวแทนเพื่อสนับสนุนการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Unit Operational Risk Manager: UORM) ไว้ในแต่ละสายงานธุรกิจและ สายงานสนับสนุน ซึ่งเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยสายงานบริหารความเสี่ยงด้าน ปฏิบัติการเป็นผู้ช่วยสนับสนุนการทำงานของ UORM สายงานตรวจสอบทำหน้าที่เป็น “แนวป้องกันชั้นที่สาม” ภารกิจของสายงานตรวจสอบคือการตรวจสอบโดยอิสระเพื่อให้มั่นใจว่ามาตรการ ควบคุมภายในซึ่งดำเนินการโดยแนวป้องกันชั้นที่หนึ่งและสอง ได้รับการออกแบบอย่างดีและสามารถควบคุมความเสี่ยงในการทำธุรกิจของธนาคาร อย่างมีประสิทธิผล ทั้งนี้ ในการปฏิบัติหน้าที่ สายงานตรวจสอบจะให้คำแนะนำที่เฉพาะเจาะจงเพื่อปรับปรุงระบบบรรษัทภิบาล กรอบการบริหาร ความเสี่ยงและการควบคุม ธนาคารได้พัฒนากรอบการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ โดยกำหนดให้มีการระบุความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ การวัดผล การติดตาม การรายงาน การวิเคราะห์และควบคุมอย่างเป็นระบบ กรอบการดำเนินงานดังกล่าวครอบคลุมหลักการ โครงสร้างการดำเนินงาน และการกำกับดูแลการบริหาร ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีรูปแบบการกำกับดูแลความเสี่ยงด้วยหลักการป้องกัน 3 ลำดับ (3 lines of defence risk governance model) และสอดคล้องกับแนวทาง COSO ธนาคารได้กำหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้สำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ เพื่อพิจารณาความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โอกาสและผลกระทบ) โดยกำหนดระดับดังกล่าวจากข้อมูลในอดีตของธนาคาร ความแข็งแกร่งทางการเงิน และสภาพแวดล้อมการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ โดยรวม ในกรณี ค วามเสี ย หายที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ขึ้ น สู ง เกิ น ระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ นั้ น ธนาคารจะกำหนดแผนการจั ด การความเสี่ ย งเพื่ อ ลดระดั บ ความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ธนาคารได้จัดทำนโยบาย มาตรฐานขั้นต่ำ และแนวทางปฏิบัติต่างๆ เพื่อใช้ ในการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการซึ่งครอบคลุมถึง


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

245

กระบวนการและเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการที่สำคัญ ตามหลักเกณฑ์ Basel New Capital Accord (Basel II) เช่น การประเมิน ความเสี่ยงและการควบคุมด้วยตนเอง (Risk and Control Self Assessment: R&CSA) การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment: CSA) ดัชนีชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญ (Key Risk Indicators: KRI) และการจัดการเหตุการณ์ความเสี่ยง (Incident Management) การประเมินความเสี่ยงและการควบคุมด้วยตนเอง / การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง เป็นกระบวนการที่ใช้ ในการระบุและประเมินความเสี่ยง และการควบคุมที่สำคัญรวมถึงการพิจารณาแผนการจัดการความเสี่ยง ธนาคารยังได้กำหนดดัชนีชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญระดับองค์กรเพื่อเป็น สัญญาณเตือนล่วงหน้าให้กับผู้บริหารเพื่อดำเนินการจัดการและควบคุมความเสี่ยงด้านปฏิบัติการในเชิงรุก การรายงานเหตุการณ์ความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการตรวจหา แก้ ไข และวิเคราะห์เหตุการณ์ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและเก็บข้อมูลความเสียหาย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจและตระหนักถึงต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เกิดจากเหตุการณ์ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและจุดอ่อนในการควบคุมความเสี่ยง รวมถึงภาพรวมของความเสี่ยงที่มีในธนาคาร นอกเหนือจากเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการข้างต้น ธนาคารยังได้ออกเครื่องมือสนับสนุนเพื่อให้เกิดกลไกการลดความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการที่สำคัญเพิ่มเติม ได้แก่ กระบวนการอนุมัติผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ (Product and Service Approval Process: PSAP) การติดตามความคืบหน้าของแผนการจัดการความเสี่ยง (Action Tracking) นโยบายบริหารความเสี่ยงจากการใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก / การให้บริการด้านสนับสนุนแก่บุคคลอื่น (Outsourcing / Insourcing Risk Management) และแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องและ แผนฉุกเฉินด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (BCP / DRP) ธนาคารได้กำหนดแนวทางการอนุมัติผลิตภัณฑ์และบริการที่ออกใหม่และทบทวนผลิตภัณฑ์และบริการที่มีอยู่ เพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ธนาคารเสนอมีการระบุและจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีโครงสร้างพื้นฐานและการควบคุมที่จำเป็นอย่างเพียงพอที่จะ สนับสนุนธุรกิจใหม่ดังกล่าวให้ดำเนินการภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ธนาคารยอมรับได้ ธนาคารได้นำระบบการติดตามความคืบหน้าของแผนการจัดการความเสี่ยง (Action Tracking System) มาใช้เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการติดตาม และการบริหารจัดการข้อสังเกตที่ได้จากการตรวจสอบ (audit item) และจากวิธีการอื่น (non-audit item) ได้รับการปรับปรุงแก้ ไขจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอ ตามเวลาที่เหมาะสม ธนาคารได้กำหนดให้มีนโยบายบริหารความเสี่ยงจากการใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก / การให้บริการด้านสนับสนุนแก่บุคคลอื่น เพื่อกำหนด หลักการและมาตรฐานในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิผล ธนาคารได้จัดให้มีนโยบายและมาตรฐานการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดแนวทางให้กับทุกหน่วยงานในการพัฒนาแผนการดำเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง หน่วยงานบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจภายใต้สายงานบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการทำหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่องให้เป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานดังกล่าว รวมทั้งประเมินระดับความพร้อมและประสานงานการพัฒนาแผนการดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่องและแผนฉุกเฉินด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการของบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินของธนาคารนั้น บริษัทย่อยได้เริ่มและนำกรอบการบริหารความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการ นโยบาย และมาตรฐานขั้นต่ำของธนาคารไปปรับใช้ และได้มีการกำหนดโครงสร้างหน่วยงานและคณะกรรมการที่ดูแลรับผิดชอบ การบริหารความเสี่ยงด้านปฎิบัติการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงด้านปฏิบัติการให้เหมาะสม ณ ปัจจุบัน บริษัทย่อยได้มีการจัดเก็บข้อมูลความเสียหายสำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ จัดทำแผนการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และมี การประเมินความเสี่ยงสำหรับความเสี่ยงด้านปฏิบัติการแล้ว และได้กำหนดแผนงานเพื่อนำนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและ เครื่องมืออื่นๆ ไปใช้ในปี 2554 ต่อไป


246

3.6

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร หมายถึง ความเสียหายต่อรายได้หรือมูลค่าทางเศรษฐกิจของธนาคาร อันเกิดจากฐานะ ที่ ไม่ได้อยู่ในบัญชีเพื่อการค้าซึ่งได้รับผลกระทบทางลบจากการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย ธนาคารได้จัดทำนโยบายซึ่งกำหนดข้อบังคับและ วิธีปฏิบัติ เพื่อบริหารความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร ทั้งนี้เพื่อดูแลให้การบริหารความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อการธนาคารเป็นไปด้วยความระมัดระวังรอบคอบ การบริหารความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยของธนาคารมีปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ ดังนี้ การกำกับและควบคุมดูแลโดยคณะกรรมการธนาคารและผู้บริหารระดับสูง การกำหนดนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องในการบริหารความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ขั้นตอนการปฎิบัติในการระบุ วัด ติดตาม และควบคุมความเสี่ยง และ ระบบการควบคุมภายในและระบบสอบทานที่เป็นอิสระ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการธนาคารให้เป็นผู้ควบคุมดูแลการบริหารความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ให้อยู่ภายในโครงสร้างและขอบเขตเพดานความเสี่ยงที่กำหนด โดยคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินเป็นผู้ ให้ความเห็นชอบและ/หรือเป็น ผู้อนุมัติเพดานความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (แล้วแต่กรณี) และดำเนินมาตรการที่เหมาะสมในกรณีที่เกิดการละเมิดเพดานความเสี่ยงที่กำหนดไว้ สายงานบริหารเงินเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยรายวันในบัญชีเพื่อการธนาคาร รวมทั้งดูแลให้มั่นใจว่าการดำเนินงานสอดคล้องกับนโยบายที่เกี่ยวข้องซึ่งได้มีการกำหนดไว้ ส่วนสายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดซึ่งเป็น หน่วยงานอิสระเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการระบุ วัด ติดตาม ควบคุมและรายงานความเสี่ยงให้ป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม กรณีที่มีการปฏิบัติ ไม่เป็นไปตามนโยบายที่กำหนดไว้ สายงานบริหารความเสี่ยงด้านตลาดจะเป็นผู้รายงานไปยัง ผู้บริหารระดับสูงและคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์ และหนี้สิน พร้อมกับเสนอแนะแนวทางแก้ ไข โดยคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินจะเป็นผู้รายงานไปยังคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้สายงานบริหารเงินเป็นผู้รับผิดชอบในการนำเสนอแผนงานในการแก้ ไขเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารระดับสูงและ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์ และหนี้สิน นอกจากนี้ ยังมีสายงานควบคุมทางการเงินเป็นผู้ดูแลให้การจัดการทางบัญชีมีการดำเนินการคล้องกับนโยบายที่เกี่ยวข้องและข้อกำหนด ของกฎหมาย ในการบริหารความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคารนั้น ธนาคารใช้เทคนิค Repricing Gap ในการหาผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยต่อรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ และมูลค่าทางเศรษฐกิจของธนาคารในแต่ละเดือน การหา Repricing Gap ใช้อายุสัญญาคงเหลือ หรือระยะเวลาการกำหนดอัตราดอกเบี้ยครั้งต่อไปตามที่ระบุในสัญญา โดยธนาคารมีการกำหนดเพดานความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย เพื่อใช้ ในการดูแลและควบคุมผลกระทบจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยที่มีต่อรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ และมูลค่าทางเศรษฐกิจของธนาคาร ธนาคารมีการใช้วิธีการป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยเพื่อรองรับความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย เช่น การปรับสมดุลระหว่างสินทรัพย์ และหนี้สิน โดยพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกของธนาคาร รวมทั้งการคาดการณ์แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยจากฝ่ายวิจัย ของธนาคาร ธนาคารมีการจัดทำการทดสอบภาวะวิกฤติ (Stress Testing) เพื่อทดสอบผลกระทบจากเหตุการณ์ผิดปกติซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ โดยในปัจจุบัน กำหนด ให้คำนวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ และมูลค่าทางเศรษฐกิจของธนาคารโดยตั้งสมมุติฐานว่ามีการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย ในแบบต่างๆ กัน ในอนาคต ธนาคารจะให้มีการวัดผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นต่อธนาคารภายใต้สถานการณ์วิกฤติที่น่าจะเป็นไปได้ (Probable Stress Scenario) และสถานการณ์วิกฤติร้ายแรง (Severe Stress Scenario) ซึ่งคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินจะเป็นผู้กำหนด โดยใช้วิธีแบบ จำลองมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV-at-Risk) และ ความเสี่ยงของรายได้ (Earnings-at-Risk) ธนาคารมีการรายงานผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 100 bps ต่อรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ และต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจ และมีการรายงานผลจากการทดสอบภาวะวิกฤติ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

|

247

โครงสร้ า งองค์ ก รของธนาคารกำหนดให้ มี ร ะบบสอบยั น และถ่ ว งดุ ล รวมทั้ ง มี ก ารแบ่ ง แยกหน้ า ที่ แ ละขอบเขตการควบคุ ม นอกจากนี้ ยั ง มี ระบบการควบคุมภายใน กรอบและกระบวนการปฏิบัติงานโดยละเอียด รวมถึงการมอบอำนาจ การตรวจสอบธุรกรรม การกระทบยอดรายการ บัญชี การบันทึกเอกสารและสัญญาเพื่อให้มีความถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์ ตารางที่ 19 : ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย 100 bps ต่อรายได้ดอกเบี้ยสุทธิใน 1 ปีข้างหน้า (หน่วย : ล้านบาท) กลุ่มธนาคาร 31 ธ.ค. 2553

เฉพาะธนาคาร สกุลเงิน THB USD อื่นๆ รวมผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย

31 ธ.ค. 2553 เพิ่มขึ้น 100 bps ลดลง 100 bps 849 (1,636) 34 (56) (5) 4 878

(1,688)

31 ธ.ค. 2552 เพิ่มขึ้น 100 bps ลดลง 100 bps เพิ่มขึ้น 100 bps ลดลง 100 bps 735 (1,682) 853 (1,642) 21 (17) 34 (56) (4) 4 (5) 4 752

(1,695)

882

(1,694)

ตามโครงสร้างงบแสดงฐานะการเงินของธนาคาร ในส่วนของสินทรัพย์และหนี้สินที่มีกำหนดระยะเวลาปรับดอกเบี้ยภายใน 1 ปีนั้น การครบกำหนด ปรับอัตราดอกเบี้ยของสินทรัพย์เร็วกว่าการครบกำหนดปรับอัตราดอกเบี้ยของหนี้สิน ดังนั้นเมื่ออัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น จึงส่งผลกระทบ ในทางบวกต่อรายได้ดอกเบี้ยสุทธิของธนาคาร ในทางตรงข้าม ผลกระทบต่อรายได้ดอกเบี้ยสุทธิของธนาคารมีความอ่อนไหวมากกว่าต่อการปรับลด ของอัตราดอกเบี้ย เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยของผลิตภัณฑ์เงินฝากไม่สามารถถูกปรับลดได้ทั้ง 100 bps ส่วนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย 100 bps ต่อรายได้ดอกเบี้ยสุทธิของกลุ่มธุรกิจทางการเงินระดับ Full Consolidation เกือบทั้งหมดมาจากส่วนของธนาคาร ซึ่งลักษณะของธุรกิจมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย อนึ่ ง ในปี 2553 โครงสร้ า งสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ของบริ ษั ท บริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ พ ญาไท จำกั ด จำแนกตามระยะเวลาการปรั บ อั ต ราดอกเบี้ ย สำหรับระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี มีสินทรัพย์ที่ครบกำหนดปรับอัตราดอกเบี้ยเร็วกว่าในสัดส่วนเพิ่มขึ้น ในขณะที่หนี้สินที่ครบกำหนดปรับอัตราดอกเบี้ย ระยะสั้นยังคงมีสัดส่วนไม่เปลี่ยนแปลง โดยมีฐานะสุทธิสะสมของสินทรัพย์และหนี้สินเป็นบวก สำหรับบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินของธนาคาร ธนาคารได้จัดให้มีนโยบายกำหนดแนวทางการปฏิบัติขั้นต่ำในการบริหารความเสี่ยงด้านอัตรา ดอกเบี้ยสำหรับฐานะในที่ไม่ได้อยู่ในบัญชีเพื่อการค้า (อันรวมถึงการบริหารความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยของสินทรัพย์ หนี้สิน และรายการนอกงบดุล) และเปิดให้บริษัทย่อยได้ใช้ดุลยพินิจในการพัฒนานโยบายของตนเองให้สอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจภายใต้กรอบที่กำหนด อย่างไรก็ดี ด้วยลักษณะ ของธุรกิจของบริษัทย่อยแล้ว ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (หากมี) จึงอยู่ในเกณฑ์ต่ำ

3.7

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการกำหนดแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจ การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ และการควบคุมเชิงกลยุทธ์ ที่ไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกธนาคารและบริษัทย่อย นโยบายหลักด้านความเสี่ยงกลยุทธ์ (“นโยบาย”) เป็นนโยบายบริหารความเสี่ยงที่ให้ความมั่นใจว่าธนาคาร และบริษัทย่อย มีวิธีปฏิบัติที่ดีใน การบริหารความเสี่ยงโดยรวม นโยบายนี้ประกอบด้วยกระบวนการที่สำคัญและเกี่ยวข้องกันสองกระบวนการ คือ กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ อธิบายว่าธนาคารและบริษัทย่อย ระดมทรัพยากรและศักยภาพที่มีอยู่มาใช้อย่างไรเพื่อให้เกิดมูลค่าสูงสุด และเหมาะกับสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ โดยแบ่งกระบวนการบริหารเป็น 3 ระดับ : การกำหนดกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ และการควบคุมกลยุทธ์


248

|

ร า ย ง า น ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ดํ า ร ง เ งิ น ก อ ง ทุ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

การบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเครื่องมือป้องกันและแก้ไขความเสี่ยง เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ และให้ธนาคารมีความตื่นตัวต่อความเสี่ยงนี้ โดยกำหนดกรอบวิธีปฏิบัติที่ดีสำหรับการระบุ ติดตาม และควบคุมความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การกำกับดูแลความเสี่ยงด้านกลยุทธ์อย่างเหมาะสมจะช่วยให้ธนาคารและบริษัทย่อย สามารถรักษาและเสริมสร้างประสิทธิภาพในการบริหาร กลยุทธ์และการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ทั้งนี้ เพื่อให้มีการสอบยันและถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะเป็น หลักในการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ โดยมีสายงานบริหารความเสี่ยงช่วยสนับสนุนในการกำกับดูแลการบริหาร การบำรุงรักษา และการควบคุม กระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านนี้ ธนาคารจะทบทวนนโยบายหลักด้านความเสี่ยงกลยุทธ์เป็นประจำทุกปี เพื่อปรับปรุงให้สะท้อนความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอก การเปลี่ยนแปลงนโยบายหลักจะต้องมีการเปลี่ยนนโยบายเสริม กรอบ หรือแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกันของหน่วยธุรกิจ/หน่วยสนับสนุน และบริษัทย่อย ทั้งนี้ ธนาคารจะทำการประเมินระดับและแนวโน้มสำหรับความเสี่ยงด้านกลยุทธ์เป็นประจำทุกปี

3.8

ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ความเสี่ ย งด้ า นชื่ อ เสี ย งหมายถึ ง ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากเหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ ค าดคิ ด หรื อ ผลกระทบต่ า งๆ ที่ ธ นาคารไม่ ไ ด้ ค าดการณ์ ไ ว้ ล่ ว งหน้ า อันสืบเนื่องมาจากการดำเนินธุรกิจ โครงการ หรือการกระทำต่างๆ ของธนาคาร ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อชื่อเสียง ตั้งแต่มีภาพลักษณ์ในทางลบ ไปจนถึงถูกฟ้องร้องดำเนินคดี หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ของทางการโดยไม่เจตนา ธนาคารได้นำนโยบายบริหารความเสี่ยงด้าน ชื่อเสียงเพื่อป้องกันและแก้ ไขสถานการณ์มาใช้ตั้งแต่ปี 2550 ขอบเขตของนโยบายนี้ครอบคลุมหน่วยงานทุกหน่วย ทั้งนี้ ธนาคารตระหนักว่าการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงาน การดำเนินธุรกิจ ตลอดจนผลิตภัณฑ์/ บริการของธนาคาร ตลอดจนปัจจัยภายนอก อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านชื่อเสียง สายงานสื่อสารและภาพลักษณ์องค์กรมีหน้าที่รับผิดชอบ ในการติดตามประเด็นและเหตุการณ์ความเสี่ยงด้านชื่อเสียงของธนาคาร จากสื่อมวลชนและประชาชนอย่างสม่ำเสมอ และดำเนินการที่เหมาะสม ตามความจำเป็น เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติเรื่องการสื่อสารที่ระบุไว้ในนโยบายฉบับนี้ เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ธนาคารได้พิจารณาและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องตระหนักถึงปัจจัยต่างๆ ที่อาจ จะเป็นสาเหตุให้เกิดความเสี่ยงด้านชื่อเสียง และกำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงด้านชื่อเสียง นอกจากนี้ การนำนโยบาย ดังกล่าวไปใช้เพื่อลดความเสี่ยง ธนาคารได้จัดทำแนวปฏิบัติในการรายงานเหตุการณ์ความเสี่ยงด้านชื่อเสียงต่อผู้บริหารตามลักษณะความร้ายแรง ของเหตุการณ์ คณะกรรมการต่างๆ ของธนาคารและผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้รับผิดชอบสูงสุดในการกำหนด “วาระการประชุมตามความสำคัญและความจำเป็น เร่งด่วน” และกำกับดูแลและควบคุมว่าวิธีการบริหารความเสี่ยงที่ ได้พัฒนาและนำมาใช้นั้นเหมาะสมกับธนาคาร ในระดับองค์กรสายงานบริหาร ความเสี่ยงจะช่วยเหลือคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในการกำกับควบคุมดูแลประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ในขั้นสุดท้าย สายงานตรวจสอบจะตรวจสอบความเพียงพอของมาตรการกำกับดูแลและควบคุมที่ ได้กำหนดไว้และรายงานผลการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหารตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ความมั่นใจว่าธนาคารดำเนินการ ได้ตามนโยบาย แผน ระเบียบปฏิบัติ และวัตถุประสงค์ทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านชื่อเสียงอย่างครบถ้วนสมบูรณ์


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ข้ อ มู ล บ ริ ษั ท

|

249

ข้อมูลบริษัท ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุ ร กิ จ การธนาคารพาณิ ช ย์ ทุ ก ประเภทตามที่ ก ำหนดในพระราชบั ญ ญั ติ ธุ ร กิ จ สถาบั น การเงิ น และประกอบ กิ จ การประเภทอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การให้ บ ริ ก ารทางการเงิ น ตามที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตจากกระทรวงการคลั ง ธนาคารแห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

เลขที่ 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

เลขทะเบียนบริษัท

0107537000017

โทรศัพท์

0-2299-1111

โทรสาร

0-2273-7640, 0-2299-2758

TMB Phone Banking

1558

Website

www.tmbbank.com

Email

ir@tmbbank.com

ทุนจดทะเบียน

41,903,301,555 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553)

ทุนเรียกชำระแล้ว

41,352,301,555 บาท

หุ้นสามัญ

43,528,738,479 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.95 บาท

บุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหุ้น

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800

ผู้สอบบัญชี

นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3734 หรือ นางสาวรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3516 หรือ นายณรงค์ พันตาวงษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3315 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ออฟฟิช คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777


250

|

ก า ร ล ง ทุ น ข อ ง ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย ใ น บ ริ ษั ท อื่ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

การลงทุนของธนาคารทหารไทยในบริษัทอื่น รายละเอียดนิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป การลงทุน ในบริษัทอื่น ณ 31 ธันวาคม 2553 โดยถือหุ้นไว้ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไปของจำนวนหุ้น ที่ออกจำหน่ายแล้วของบริษัท ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

ที่ตั้ง ประเภท ชนิด สำนักงานใหญ่ ธุรกิจ ของหุ้น

จำนวนหุ้น ทั้งหมดที่ ออกจำหน่ายแล้ว

การถือหุ้นของธนาคารทหารไทย อัตรา จำนวนเงิน(บาท) จำนวน การถือหุ้น สุทธิจากค่าเผื่อการ หุ้นที่ถือ % ลดราคาหลักทรัพย์

1. บริษัท บริหารสินทรัพย์พญาไท จำกัด โทร. 0-2354-5001 โทรสาร 0-2354-5014

กรุงเทพฯ ธุรกิจการเงิน หุ้นสามัญ

107,000,000

107,000,000

100.00

1,834,940,256.70

2. บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทีเอ็มบี จำกัด โทร. 0-2299-1159, โทรสาร 0-2242-3138-9

กรุงเทพฯ อสังหาริมทรัพย์ หุ้นสามัญ

10,000

9,993

99.93

4,169,342.92

3. บริษัท เดซิกนี ฟอร์ อีทีเอ คอนแทรคท์ จำกัด กรุงเทพฯ สนับสนุน หุ้นสามัญ โทร. 0-2299-1217, โทรสาร 0-2299-1278 สถาบันการเงิน

1,000

994

99.40

13,617.80

4. บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนทหารไทย จำกัด กรุงเทพฯ ธรุกิจการเงิน หุ้นสามัญ โทร. 0-2636-1800 ต่อ 1725 (ส่วนลูกค้าสัมพันธ์)

10,000,000

7,499,997

75

188,230,287.36

5. กองทุนรวมสยามรีสอร์ท กรุงเทพฯ กองทุนรวม หน่วยลงทุน โทร. 0-2649-2000, โทรสาร 0-2649-2107-8 อสังหาริมทรัพย์

92,816,465 44,681,927.89

48.14

319,771,489

300

30.00

7,500

212,430,342 63,138,715.66

29.72

633,750,256.10

6. บริษัท เมโทร เดซิกนี จำกัด กรุงเทพฯ สนับสนุน หุ้นสามัญ โทร. 0-2230-6201, โทรสาร 0-2230-6200 สถาบันการเงิน 7. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เดอะ คอลัมน์ กรุงเทพฯ กองทุนรวม หน่วยลงทุน โทร. 0-2649-2000, โทรสาร 0-2649-2107-8 อสังหาริมทรัพย์ 8. บริษัท เอ็น ดี กรุ๊ป ฟีดมิลล์ จำกัด

1,000

ลำพูน

ค้าปลีก/ส่ง

หุ้นสามัญ

120,000

30,000

25.00

0.00

9. บริษัท วิงกรุ๊ป จำกัด เชียงใหม่ โทร. 0-5333-1315-6, โทรสาร 0-5333-1314, 0-5333-1316

ผลิตเสื้อผ้า สำเร็จรูป

หุ้นสามัญ

9,000

2,250

25.00

0.00

กรุงเทพฯ ธรุกิจการเงิน หุ้นสามัญ

1,000,000

175,000

17.50

257,250.00

10. บริษัท ร่วมทุนชนบท จำกัด โทร. 0-2318-3958, โทรสาร 0-2718-1851 11. บริษัท ไทยเจริญผลอุตสาหกรรม จำกัด โทร. 0-5458-1202, โทรสาร 0-5458-1876

การผลิต

หุ้นสามัญ

15,500

2,500

16.13

0.00

กรุงเทพฯ การบริการ

หุ้นสามัญ

1,000,000

153,000

15.30

14,361,948

13. กองทุนรวมธุรกิจไทย 5 กรุงเทพฯ กองทุนรวม หน่วยลงทุน โทร. 0-2670-4900 ต่อ 1291-2 อสังหาริมทรัพย์ โทรสาร 0-2679-1820

220,000,000

30,000,000

13.64

137,343,000

12. บริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำกัด โทร. 0-2231-3011, โทรสาร 0-2231-3681

แพร่

14. บริษัท เอ็ม-โฮม เอสพีวี 1 จำกัด โทร. 0-2633-6950 โทรสาร 0-2633-6990

กรุงเทพฯ อสังหาริมทรัพย์ หุ้นสามัญ

10,000

1,000

10.00

0.00

15. บริษัท เมืองค้าส่ง จำกัด โทร. 0-2531-6860 โทรสาร 0-2532-3009

กรุงเทพฯ

หุ้นสามัญ

22,000

2,200

10.00

0.00

16. บริษัท เอ็มไทยเอสเตท จำกัด โทร. 0-2261-1144, โทรสาร 0-2261-1143

กรุงเทพฯ อสังหาริมทรัพย์ หุ้นสามัญ

30,000,000

3,000,000

10.00

0.00

17. บริษัท ไพบูลย์ ประกันภัย จำกัด โทร. 0-2246-9635, โทรสาร 0-2246-9660-1

กรุงเทพฯ การบริการ

2,000,000

200,000

10.00

30,200,000.00

การขนส่ง

หุ้นสามัญ


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล

|

251

ที่ตั้งสาขาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

กระทรวงกลาโหม

0-2222-1215, 0-2222-1218, 0-2224-4197 (ผจก)

0-2224-7407

กรุงเกษม

0-2222-5158-9, 0-2222-7801, 0-2222-5724, 0-2222-3504

0-2222-5667

กล้วยน้ำไท

0-2712-4048-9, 0-2712-4051

0-2712-4050

กองบัญชาการกองทัพไทย

0-2575-6425-7

0-2575-6427

กองบัญชาการกองทัพบก

0-2280-1825, 0-2280-1799

0-2280-1537

กองบัญชาการกองทัพเรือ

0-2891-0052-5

ทุกเลขหมาย

กองบัญชาการกองทัพอากาศ

0-2531-8560-2

0-2531-2427

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

0-2591-1424-5

0-2591-1426

คลองจั่น

0-2377-1370, 0-2377-9636, 0-2377-9737, 0-2375-7872, 0-2375-7871

0-2377-1360

คลองเตย

0-2249-1831, 0-2249-6067, 0-2249-1619, 0-2249-1518

0-2240-2237

คาร์ฟูร์ ลำลูกกา คลอง 4

0-2563-3236-7

0-2563-3238

คาร์ฟูร์ สวนหลวง

0-2328-0745-7

0-2328-0747

แคราย

0-2951-0840, 0-2951-0842, 0-2588-1778, 0-2588-1418

0-2951-0841

งามวงศ์วาน

0-2580-2187 (ผจก), 0-2588-0021, 0-2588-0023

0-2588-3148

จรัลสนิทวงศ์

0-2424-5520-1, 0-2882-4548-9

0-2435-2393

จามจุรีสแควร์

0-2160-5212-6

0-2160-5215-6

แจ้งวัฒนะ

0-2574-0203-5, 0-2574-5655

ทุกเลขหมาย

ช่องนนทรี

0-2285-3939-42

0-2285-3943

โชคชัย 4

0-2538-8412, 0-2538-3125-6, 0-2539-2615, 0-2933-2745

0-2538-3125-6

ซอยหลังสวน

0-2652-2090-4, 0-2652-1761-2

0-2652-2095

ซีคอนสแควร์

0-2721-9560-2

0-2721-9563

เซ็นทรัล บางนา

0-2745-7263-5

ทุกเลขหมาย

เซ็นทรัล ปิ่นเกล้า

0-2433-1386-7

0-2433-1390

เซ็นทรัล พระราม 2

0-2872-4564-5

0-2872-4566

เซ็นทรัล พระราม 3

0-2213-0803-5

ทุกเลขหมาย

เซ็นทรัล รัตนาธิเบศร์

0-2525-4570-4

ทุกเลขหมาย

เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ

0-2835-3589-91

0-2835-3592

เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว

0-2937-0356-8

ทุกเลขหมาย

เซ็นทรัลเวิลด์

0-2646-1284-6

0-2646-1286

เซียร์ รังสิต

0-2992-6370-2

0-2992-6372


252

|

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

เดอะแพลทินัม แฟชั่นมอลล์

0-2121-9241-3

ทุกเลขหมาย

เดอะมอลล์ 3 รามคำแหง (ชื่อเดิม คลองตัน)

0-2319-1401-3

ทุกเลขหมาย

เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน

0-2550-0437-8

0-2550-0439

เดอะมอลล์ บางกะปิ

0-2704-7727-9

ทุกเลขหมาย

เดอะมอลล์ บางแค

0-2454-9433-4

0-2803-8325

ตรีเพชร

0-2224-4281, 0-2221-6841, 0-2224-1921, 0-2221-1371, 0-2224-3819, 0-2221-2908, 0-2224-9196

0-2221-8706

ตลาดถนอมมิตร วัชรพล

0-2347-0157-8

0-2347-0159

ตลาดน้อย

0-2235-1720-1, 0-2235-3437, 0-2236-1004, 0-2236-0998

0-2235-3436

ตลาดพงษ์เพชร

0-2953-3901-2, 0-2953-3904-5, 0-2589-3228

0-2953-3906

ตลาดพลู

0-2465-2322, 0-2465-9949, 0-2465-9955-6

ทุกเลขหมาย

ตลิ่งชัน

0-2880-8070-3

0-2880-8073

เตาปูน

0-2585-1123, 0-2585-1233, 0-2587-8990-1, 0-2585-9215, 0-2911-5387

0-2911-5386

ถนนจอมทอง

0-2476-3886, 0-2476-3951, 0-2476-3631

0-2468-8190

ถนนจันทน์

0-2213-2540-3, 0-2213-1308-9

0-2213-2541

ถนนเจริญนคร

0-2862-4910-2

0-2862-4913

ถนนแจ้งวัฒนะ

0-2584-5549-50, 0-2583-9997, 0-2962-1695, 0-2962-1697

0-2548-5548

ถนนติวานนท์

0-2950-0252-4

0-2591-0390

ถนนเทพารักษ์

0-2383-5618-9, 0-2383-5968

0-2383-5969

ถนนเทพารักษ์ กม.12

0-2312-2123-5

0-2312-2126

ถนนเทพารักษ์ กม.22

0-2706-0995-8

0-2706-0998

ถนนเทพารักษ์ กม.3

0-2753-2860-3

0-2753-2864

ถนนบรมราชชนนี

0-2434-9791-3, 0-2434-2411

0-2434-2411

ถนนบางนา-ตราด ก.ม.4

0-2744-1214-7

0-2744-1213

ถนนประชาราษฎร์-นนทบุรี

0-2525-3074, 0-2967-5501-4

0-2526-3526

ถนนประชาอุทิศ

0-2870-9124-6

0-2870-9127

ถนนพระรามที่ 9

0-2643-0383-4, 0-2643-0398-9

0-2643-0212

ถนนพระรามที่ 9-ถนนเสรี 7

0-2718-2743-8

0-2718-2747

ถนนพัฒนาการ

0-2722-6846-8

0-2722-6849

ถนนพิบูลสงคราม

0-2526-2020-2, 0-2966-5503

0-2526-2020-1


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล

|

253

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

ถนนเพชรเกษม-บางแค

0-2413-0922-3, 0-2413-3179-80

0-2804-6001

ถนนเพชรเกษม-หนองแขม

0-2431-0308-12

0-2431-0313

ถนนเพชรบุรีตัดใหม่

0-2319-1520-4

0-2319-1522

ถนนรัชดาภิเษก-นางลิ้นจี่

0-2678-0164-7

0-2678-0169

ถนนรัตนาธิเบศร์

0-2921-8740-3

0-2921-8740

ถนนวัดกิ่งแก้ว

0-2750-1920-2, 0-2750-1875 (ผจก)

0-2750-1923

ถนนศรีนครินทร์

0-2322-0691-2, 0-2320-0100, 0-2320-0098

0-2320-0099

ถนนศรีนครินทร์-ลาซาล

0-2748-7484-6

0-2748-7483

ถนนสรงประภา

0-2929-7100-3

0-2929-7104

ถนนสามัคคี

0-2574-6221, 0-2980-0400-1

0-2980-1368

ถนนสายลวด-สมุทรปราการ

0-2389-5021-2, 0-2389-5063-4, 0-2389-3747

0-2389-3302

ถนนสุขสวัสดิ์-ราษฎร์บูรณะ

0-2428-4507-11

0-2428-4387

ถนนสุขาภิบาล 1

0-2509-1062, 0-2509-1064, 0-2509-1065

0-2509-1068

ถนนสุขาภิบาล 2

0-2704-8156-8, 0-2704-8160

0-2704-8159

ถนนสุขาภิบาล 3

0-2735-2581-4

0-2735-2585

ถนนสุขุมวิท-สำโรง

0-2394-5858-9, 0-2756-8082, 0-2756-9013-4

0-2384-2856-7

ถนนหลวง-วรจักร

0-2226-4781-5

0-2226-4788

ทองหล่อ

0-2390-0437-40, 0-2712-7625-6, 0-2712-7624, 0-2712-5879

0-2392-3496

ท่าพระ

0-2869-0910-2

0-2869-0915

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

0-2134-1818-21

0-2134-1878

เทสโก้ โลตัส นวนคร

0-2909-0829-31

0-2909-0831

เทสโก้ โลตัส ศรีนครินทร์

0-2175-7575, 0-2175-7824-5

0-2175-7826

ธรรมศาสตร์-รังสิต

0-2516-9970-2

0-2516-9973

ธาตุทอง

0-2392-9235, 0-2395-9582, 0-2381-6281-2, 0-2391-3146

0-2392-3495

บางขุนนนท์

0-2424-2826, 0-2424-2322, 0-2424-5740

0-2424-2829

บางเขน

0-2513-2805, 0-2513-2807, 0-2513-8201

0-2513-3132

บางจาก

0-2332-9290-3

0-2332-9294

บางซื่อ

0-2911-3142-4

0-2911-3145

บางนา

0-2398-4859-60, 0-2398-4862-3

ทุกเลขหมาย

บางบอน

0-2451-0630-3

0-2451-0634


254

|

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

บางบัว

0-2972-9693-5, 0-2972-9699

0-2972-9693

บางบัวทอง

0-2920-2510-3

0-2920-2514

บางพลัด

0-2435-4910, 0-2424-5221, 0-2424-6499

0-2435-4864

บางรัก

0-2237-1844, 0-2237-2620-21

0-2266-4115

บางลำภู

0-2629-1011-3

0-2282-5395

บิ๊กซี-ถนนพระรามที่ 2

0-2416-7806, 0-2416-7881, 0-2416-7950

0-2416-7950

โบ๊เบ๊

0-2222-0024, 0-2225-2823, 0-2225-4255, 0-2225-4284

0-2222-3631

ปทุมธานี

0-2581-1740-2

0-2581-2155

ประชานิเวศน์ 1

0-2953-8161-2, 0-2953-8164

0-2953-8163

ป้อมพระจุลจอมเกล้า

0-2425-9879, 0-2425-8205, 0-2425-8499, 0-2425-9667

0-2819-8188

ปากเกร็ด

0-2583-8220, 0-2583-8685, 0-2583-4434, 0-2583-4435

0-2583-7153

ปากคลองตลาด

0-2222-5828, 0-2222-5809, 0-2222-5826

0-2623-8708

ปู่เจ้าสมิงพราย

0-2384-1387-8, 0-2394-4412, 0-2394-6317

0-2384-1673

พญาไท

0-2354-5052-3, 0-2354-5076, 0-2354-5228, 0-2354-5059

0-2354-5163

พระโขนง

0-2381-1117-8, 0-2381-1126

0-2390-0022

พระประแดง

0-2463-3872-4

0-2463-3909

พระปิ่นเกล้า

0-2883-2884-7

0-2433-5406

พรานนก

0-2412-2764, 0-2412-3527, 0-2412-3040, 0-2412-2223, 0-2412-3778, 0-2412-2435

0-2412-3527

พหลโยธิน

0-2299-2349-50, 0-2299-1282, 0-2299-1283, 0-2299-1295

0-2273-7806

พัฒนพงศ์

0-2236-9395-9

0-2634-3246

พันธุ์ทิพย์ พลาซ่า งามวงศ์วาน

0-2953-5167-9

0-2953-5169

พันธุ์ทิพย์ พลาซ่า บางกะปิ

0-2187-3059-60

0-2187-3061

พุทธมณฑล

0-2441-0120-1, 0-2441-9392-3

0-2889-3432

เพนนินซูล่า

0-2253-0067-8, 0-2253-9756-7, 0-2253-4837

0-2253-9755

ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต

0-2958-0930-2

ทุกเลขหมาย

แฟชั่น ไอส์แลนด์

0-2947-5129-31

0-2947-5131

มหาพฤฒาราม

0-2238-5029-30, 0-2238-0867-8

0-2237-6302

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต

0-2516-8492-4

0-2516-8494

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

0-2561-4289, 0-2940-5728, 0-2940-5729

0-2561-4290


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล

|

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์-ท่าพระจันทร์

0-2225-8186-7

0-2225-8188

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

0-2513-7264-5

0-2513-1700

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

0-2465-5690-1

0-2465-5744

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

0-2522-6187-9

ทุกเลขหมาย

มหาวิทยาลัยรามคำแหง-วิทยาเขตบางนา

0-2397-7048, 0-2397-7049

0-2397-7047

มหาวิทยาลัยรามคำแหง-หัวหมาก

0-2369-1820-2

0-2369-1822

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

0-2579-2268, 0-2579-6094

0-2579-8473

มหาวิทยาลัยสยาม

0-2868-5338, 0-2868-5375

0-2868-5932

มาบุญครองเซ็นเตอร์

0-2215-2136-7, 0-2620-9233-4, 0-2686-3690

0-2686-3689

มีนบุรี

0-2517-3778-9, 0-2517-1222, 0-2918-5714

0-2918-5712

เมืองทองธานี

0-2504-5141-3

0-2504-5143

เมืองเอก รังสิต

0-2536-4173-6

ทุกเลขหมาย

แม็คโคร จรัญสนิทวงศ์

0-2864-6066-7

0-2864-6068

ยานนาวา

0-2289-1132, 0-2291-3464, 0-2688-1508-9

0-2291-3465

เยาวราช

0-2225-9453-4, 0-2224-7829, 0-2224-7263

0-2225-8254

รังสิต-คลอง 3

0-2990-9131-4

0-2990-3134

รังสิต-ปทุมธานี

0-2958-1007-9

0-2516-8551

รัชดาภิเษก-ห้วยขวาง

0-2692-3105-8

0-2692-3109

ราชดำเนิน

0-2280-0101-3

0-2280-0107

ราชประสงค์

0-2252-6689-91, 0-2255-1472

0-2252-6967

ราชวงศ์

0-2221-0599, 0-2225-3721, 0-2226-3324-5

0-2226-3323

รามอินทรา กม.8

0-2943-1451-2, 0-2519-3579-80, 0-2943-1450

0-2519-3581

รามอินทรา กม.4

0-2973-0741-3

0-2973-0745

โรงพยาบาลกรุงเทพ ซอยศูนย์วิจัย

0-2369-2657-8

0-2369-2659

โรงพยาบาลกรุงเทพ อาคารศูนย์ทันตกรรม

0-2319-0674-9

0-2319-0680

โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์

0-2212-6300-2, 0-2675-7905-6

0-2212-6303

โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า

0-2354-7880-84

0-2354-7879

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช

0-2532-2854-6, 0-2531-6278

ทุกเลขหมาย

โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า

0-2460-0269-70, 0-2498-9844, 0-2476-3062 (ผจก)

0-2476-3061

255


256

|

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

ลาดกระบัง

0-2739-1820-3

0-2739-1820

ลาดพร้าว 103

0-2370-3167-69, 0-2370-3165-6

0-2370-3170

ลาดพร้าว 124

0-2514-0802, 0-2514-0562, 0-2514-2916, 0-2934-0974-5

0-2530-1891

ลาดพร้าว 6

0-2511-1819, 0-2511-4052, 0-2511-5186, 0-2511-3983, 0-2938-6618, 0-2938-6619

0-2513-8112

ลาดหญ้า

0-2439-7134, 0-2437-3882, 0-2437-1078

0-2439-1064

แลนด์มาร์คพลาซ่า

0-2255-8431-3

0-2255-8434

วงเวียนใหญ่

0-2472-1304, 0-2472-1432, 0-2890-0361-2

0-2890-0362

วังบูรพา

0-2221-5121-2, 0-2623-8833

0-2221-5124-5

ศรีย่าน

0-2243-1446-7, 0-2241-3865, 0-2243-3867

0-2243-0664

ศิริราช

0-2866-2674-6, 0-2411-3606, 0-2411-3548

0-2411-3552

ศูนย์การค้าเมโทร

0-2252-9009-10, 0-2252-9014, 0-2254-1288

0-2254-1289

ศูนย์การค้าวรรัตน์

0-2287-3683-5

ทุกเลขหมาย

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร บี)

0-2143-8310-14

0-2143-8314

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร เอ)

0-2143-8307-8

0-2143-8309

สนามเป้า

0-2278-5240-1, 0-2278-2555-6

0-2270-0252

สนามเสือป่า

0-2282-3451-2, 0-2281-6180

0-2282-6099

สมุทรปราการ

0-2389-5917-8, 0-2389-5895-6, 0-2389-5919, 0-2387-0307

0-2389-5897

สยามพารากอน

0-2129-4585-6, 0-2129-4588, 0-2129-4587

0-2129-4587

สยามสแควร์

0-2658-1752-3, 0-2251-2232, 0-2252-6049

0-2252-5856

สวนจตุจักร

0-2272-4415-6, 0-2272-4233

0-2271-4499

สะพานกรุงธน

0-2424-2577, 0-2434-3536, 0-2883-3711

0-2424-5939

สะพานควาย

0-2278-2090-2, 0-2278-2122, 0-2279-2268, 0-2618-4756

0-2279-0413

สะพานนนทบุรี

0-2976-5500-5

ทุกเลขหมาย

สะพานเหลือง

0-2216-9650-2, 0-2216-2527

0-2216-2527

สะพานใหม่-ดอนเมือง

0-2521-3007-8, 0-2971-1107

0-2971-1106

สาธุประดิษฐ์

0-2294-3487, 0-2294-5510, 0-2295-4217-18

0-2294-4021

สำโรง

0-2384-0352-3, 0-2384-4653, 0-2384-4661

0-2754-1904

สี่แยกซอยอ่อนนุช-ถนนศรีนครินทร์

0-2321-6924-7

0-2322-6093

สี่แยกถนนบางขุนเทียน-ถนนพระรามที่ 2

0-2415-0151-3

0-2415-0154


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล

|

257

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

สีลม

0-2236-4452-3, 0-2236-4432, 0-2236-4824, 0-2236-9500, 0-2236-0213

0-2236-4410

สีลม ซอย 7

0-2230-5439, 0-2230-5241, 0-2230-5732, 0-2230-5145, 0-2230-5253

0-2230-5194

สุขุมวิท 11

0-2254-1330-2, 0-2253-0334, 0-2651-0243

0-2651-0242

สุขุมวิท 31 (ชื่อเดิม : สายน้ำทิพย์ สุขุมวิท)

0-2662-3546-7

0-2662-1933

สุขุมวิท 71

0-2711-3080-1, 0-2711-3083, 0-2391-6514, 0-2391-6785, 0-2392-0313, 0-2391-0710

0-2392-0312

สุขุมวิท กม.28-สมุทรปราการ

0-2702-3418-20

0-2702-3426

สุรวงศ์

0-2266-5230-3, 0-2634-0208

0-2236-3651

สุวรรณภูมิ เขตปลอดอากร

0-2134-1851-3

0-2134-1874

สุวรรณภูมิ ชั้น 2 (ขาเข้า)

0-2134-1804-5

0-2134-1876

สุวรรณภูมิ ฝ่ายช่าง การบินไทย

0-2134-1848-50

0-2134-1873

สุวรรณภูมิ อาคารปฏิบัติงาน ทอท.

0-2134-1845-6

0-2134-1875

เสนานิคม

0-2570-1386-7, 0-2570-1710

0-2570-0874

หนองจอก

0-2543-1344-6, 0-2988-2852

0-2543-1344-6

หลักสอง

0-2801-4291-3

0-2081-4294

ห้วยขวาง

0-2274-3200-5

0-2274-3206

หัวหมาก

0-2318-0503-5

0-2718-8057-8

อโศก

0-2259-3312-4, 0-2261-6653, 0-2261-6654, 0-2261-6655 (ผจก)

0-2261-6654

อ่อนนุช

0-2333-0395-6, 0-2742-1724

0-2333-0399

อาคารคอลัมน์ รัชดาภิเษก

0-2259-7712-4

0-2259-7714

อาคารญาดา สีลม

0-2652-5165-6, 0-2652-5175-6, 0-2236-3915

0-2652-5167

อินทรา-ประตูน้ำ

0-2208-0981-2, 0-2208-0978

0-2208-0906

อินทรารักษ์

0-2374-0291-2

0-2374-0293

อุดมสุข

0-2383-9224-6

0-2383-9227

เอกมัย

0-2381-7088-90

0-2381-7092

เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์

0-2936-0314-6

0-2936-0316

โฮมเวิร์ค เพชรเกษม

0-2809-1574-5

0-2809-1576


258

|

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ที่ตั้งสาขาในเขตภูมิภาค จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

กาญจนบุรี

กาญจนบุรี ท่าเรือ

0-3451-2441-2, 0-3451-1677, 0-3452-1101-2 0-3456-1745, 0-3456-1822, 0-3456-2046

ทุกหมายเลข ทุกหมายเลข

กระบี่

กระบี่ ปลายพระยา ลำทับ อ่าวนาง กระบี่

0-7561-2718-20 0-7568-7018-9 0-7564-3595-6, 0-7564-3598 0-7563-7657, 0-7563-7624 Boot Exc.0-7563-7596

0-7563-0086 0-7568-7019 0-7564-3599 0-7563-7685

กำแพงเพชร

กำแพงเพชร

0-5571-3801, 0-5571-3802

0-5571-3803

กาฬสินธุ์

กาฬสินธุ์

0-4381-2133, 0-4381-2135, 0-4382-1848

0-4381-2134

ขอนแก่น

ขอนแก่น ชุมแพ เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น ถนนมิตรภาพ ขอนแก่น บ้านไผ่ เมืองพล ถนนศรีจันทร์-ขอนแก่น

0-4324-1497-9 0-4331-1170, 0-4331-1270, 0-4338-6387 0-4328-8034-5 0-4332-4861-6 0-4327-2750, 0-4327-2790 0-4341-4060, 0-4341-4061 0-4324-6490-1

0-4333-4419 0-4331-2470 0-4328-8036 0-4332-4867 0-4327-2733 0-4341-4762 0-4324-6492

จันทบุรี

จันทบุรี ถนนเบญจมราชูทิศ-จันทบุรี หนองคล้า โรบินสัน จันทบุรี

0-3932-1215, 0-3931-1799, 0-3935-0440-1 0-3932-2150-2 0-3939-5471-3 0-3932-2823-5

0-3931-1777 0-3932-2053 0-3939-5474 0-3932-2886

ฉะเชิงเทรา

ถนนมหาจักรพรรดิ์-ฉะเชิงเทรา บางคล้า บางวัว แปลงยาว พนมสารคาม ถนนศุขประยูร-ฉะเชิงเทรา

0-3851-1912, 0-3851-2390, 0-3851-4322 0-3854-1123, 0-3882-7231-3 0-3853-8255, 0-3853-8277, 0-3853-9003-4 0-3858-9132-3, 0-3857-5230, 0-3885-1215 0-3883-6516-8 0-3882-3794-7

0-3851-2549 0-3854-1689 0-3884-0909 0-3885-1214 0-3883-6519 0-3882-3795-7

ชัยนาท

ชัยนาท

0-5641-1118, 0-5641-2394, 0-5641-0129, 0-5641-2372

0-5641-2372

ชลบุรี

ชลบุรี จอมเทียน เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช ถนนทัพพระยา พัทยา หนองมน บางละมุง บ้านสวน-ชลบุรี ปากร่วม บ่อวิน พัทยากลาง

0-3827-2984-5, 0-3827-4088 0-3823-2079, 0-3823-2080, 0-3823-2973, 0-3823-2086 0-3300-3240-2 0-3300-3644-6 0-3830-3778-80, 0-3830-3877 0-3839-2065-7 0-3836-7749-51 0-3879-9301-3 0-3833-7949-50 0-3841-1936-7

0-3827-4089 ทุกหมายเลข 0-3300-3243 0-3300-3647 ทุกหมายเลข 0-3839-2065 0-3836-7752 0-3879-9304 0-3833-7951 0-3841-1937


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

|

259

จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

ชลบุรี

พนัสนิคม พัทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ศรีราชา รอยัลการ์เด้นฯ โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สัตหีบ โรบินสัน ศรีราชา เทสโก้ โลตัส แหลมฉบัง ศรีราชา ถนนสุขุมวิท-ชลบุรี สัตหีบ หัวกุญแจ-บ้านบึง อ่าวอุดม

0-3878-7699-700, 0-3847-3168-9 0-3842-9501-2, 0-3842-2966, 0-3842-1002 0-3876-8970-1 0-3871-0401-2, 0-3842-9216 0-3824-4022, 0-3824-4555

0-3847-3169 0-3842-1005 0-3876-8972 0-3841-1752 0-3824-4114

0-3831-4356-9 0-3876-8442, 0-3876-8923-4 0-3831-3239-40, 0-3831-1824 0-3826-0960-3 0-3843-7123, 0-3843-7339, 0-3843-7678, 0-3843-8561 0-3820-1211-2, 0-3820-1026 0-3835-1642-4

0-3831-4360 0-3876-8280 All numbers 0-3826-0960 ทุกหมายเลข 0-3820-1212 0-3835-1643

ชุมพร

ชุมพร ทุ่งตะโก หลังสวน

0-7750-2545, 0-7750-4960-1 0-7753-6902, 0-7758-5209 0-7754-1233, 0-7754-1894

0-7750-2544 0-7758-5209 0-7754-1333

เชียงใหม่

เชียงใหม่ ถนนช้างคลาน เชียงใหม่ เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต ถนนช้างเผือก เชียงใหม่ ตลาดหนองหอย-เชียงใหม่ ฝาง ตลาดวโรรส-เชียงใหม่ สี่แยกข่วงสิงห์-เชียงใหม่ ถนนสุเทพ เชียงใหม่ สันป่าข่อย-เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว-เชียงใหม่ ฮอด

0-5325-1058-61 0-5390-3630-2 0-5320-1843-5 0-5321-1061-2, 0-5322-2966, 0-5321-8901 0-5314-0123-5 0-5345-1154, 0-5345-1002 0-5323-3117-8 0-5341-0980-2 0-5381-1674, 0-5381-1675, 0-5381-1164 0-5324-9858, 0-5324-9859, 0-5324-9595 0-5340-4042-4 0-5346-1055, 0-5346-1056, 0-5383-1333

0-5323-3159 0-5390-3535 ทุกหมายเลข 0-5322-1545 0-5380-1456 0-5345-3507 0-5325-2882 0-5341-0983 ทุกหมายเลข 0-5324-9861 0-5340-4128 0-5383-1334

ชัยภูมิ

ชัยภูมิ

0-4481-1659, 0-4481-1666, 0-4482-2123

0-4481-1666

เชียงราย

เชียงราย ดอยแม่สลอง เทิง ถนนพหลโยธิน-เชียงราย แม่สาย ห้วยไคร้

0-5371-1100-1, 0-5371-4822, 0-5371-5657 0-5376-5159-60 0-5379-5001, 0-5379-5003, 0-5379-5040 0-5371-4886-7, 0-5360-0716-7 0-5373-3145-6, 0-5364-0351-2 0-5376-3001, 0-5366-7350-2

0-5371-3590 0-5376-5159-60 0-5379-5002 0-5371-4890 0-5373-3145 0-5376-3001

ตาก

ตาก แม่สอด

0-5551-2093-4 0-5553-3038, 0-5553-3039, 0-5553-3040

0-5551-5451 0-5553-3383


260

|

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

ตรัง

ตรัง คลองปาง ห้วยยอด

0-7521-0811-2, 0-7521-4026 0-7528-6055, 0-7528-6066 0-7527-1147, 0-7527-1425, 0-7523-5562

0-7521-8344 0-7528-6055 0-7527-1148

ตราด

ตราด เกาะช้าง บ่อไร่

0-3952-0636, 0-3952-0638 0-3955-1040-1 0-3959-1041-2

0-3952-0637 ทุกหมายเลข 0-3959-1041 Call

หนองคาย

หนองคาย โพนพิสัย

0-4242-0562-3 0-4247-1266-7, 0-4240-5552

0-4242-0564 ทุกหมายเลข

นครปฐม

นครปฐม กำแพงแสน นครชัยศรี พระปฐมเจดีย์ มหาวิทยาลัยศิลปากร-พระราชวัง สนามจันทร์ สามพราน นครปฐม

0-3421-9731-4 0-3435-1020-2 0-3422-8340, 0-3422-8341, 0-3422-8339 0-3425-0750, 0-3425-6116, 0-3425-6137 0-3425-0823-5

0-3421-9736 0-3428-1103 0-3422-8342 0-3425-0751 0-3425-0826

อ้อมใหญ่

0-3432-2885-7, 0-3422-5155, 0-3422-5498-9, 0-3432-1990 0-3422-5564-5 0-2810-3329 0-2810-3525-7

นราธิวาส

นราธิวาส สุไหงโก-ลก

0-7351-2273-5 0-7361-1555-6, 0-7361-5234

0-7351-2273-5 0-7361-1587

น่าน

น่าน ท่าวังผา บ้านหลวง

0-5471-0455, 0-5477-1971, 0-5477-2818 0-5479-9679, 0-5479-9963, 0-5479-9964 0-5476-1003, 0-5476-1076

0-5471-0477 0-5479-9138 0-5476-1003

นครพนม

นครพนม ธาตุพนม

0-4251-1023, 0-4251-1322, 0-4251-2234 0-4254-1008-9

0-4251-2614 0-4254-1010

หนองบัวลำภู

หนองบัวลำภู

0-4236-0547-9

0-4236-0551

นครราชสีมา

นครราชสีมา ค่ายสุรนารี-นครราชสีมา ด่านขุนทด เดอะมอลล์ นครราชสีมา ปักธงชัย ประทาย ถนนประจักษ์-แยกศาลหลักเมือง ปากช่อง พิมาย ถนนพิบูลละเอียด-นครราชสีมา เมืองคง

0-4425-2505, 0-4425-2545, 0-4425-7680 0-4434-1872, 0-4434-1873 0-4438-9101, 0-4438-9102 0-4439-3750-1 0-4444-1019, 0-4444-1641 0-4447-9511, 0-4447-9128 0-4425-5567-8, 0-4426-7471, 0-4425-5191 0-4431-5996, 0-4431-5997, 0-4431-5998 0-4447-1334, 0-4428-7407, 0-4428-7408 0-4427-5200-2, 0-4427-5204 0-4445-9234, 0-4445-9266

0-4425-7681 0-4434-1874 0-4438-9279 0-4439-3752 0-4444-1100 0-4448-9537 0-4425-6202 ทุกหมายเลข 0-4447-1335 0-4427-5203 0-4445-9235


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

|

261

จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

นครราชสีมา

สูงเนิน หัวทะเล นครราชสีมา

0-4441-9241, 0-4441-9865, 0-4441-9588 0-4426-4964-5

ทุกหมายเลข 0-4426-4980

นครนายก

นครนายก

0-3731-2350, 0-3731-2346, 0-3731-2348-9

0-3731-2588

นครสวรรค์

ชุมแสง ตาคลี พยุหะคิรี แฟรี่แลนด์ นครสวรรค์ (ชื่อเดิม นครสวรรค์) ถนนเอเชีย-นครสวรรค์

0-5628-2498, 0-5628-2499 0-5626-1537, 0-5626-1538 0-5634-1498, 0-5631-6699 0-5622-2913, 0-5622-2672, 0-5622-1782, 0-5631-3056 0-5622-8223, 0-5622-8225

0-5628-2699 0-5626-2155 0-5634-1497 0-5622-7414

นครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช จันดี ตลาดหัวอิฐ-นครศรีธรรมราช ทุ่งสง มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช

0-7534-2893, 0-7534-5616, 0-7535-6801 0-7548-6185, 0-7548-6304, 0-7548-6305 0-7531-6164-7 0-7541-2446-8 0-7539-2116, 0-7539-2117

0-7535-6979 0-7548-6184 0-7531-6168 0-7541-2446-8 0-7539-2118

บุรีรัมย์

บุรีรัมย์ หนองกี่ นางรอง

0-4461-3441-3 0-4464-1111, 0-4464-1112 0-4462-2722, 0-4463-1456-7

0-4461-3433 0-4464-1112 0-4463-1456

ประจวบคีรีขันธ์

ประจวบคีรีขันธ์ ปราณบุรี หัวหิน-ประจวบคีรีขันธ์ หัวหิน มาร์เก็ตวิลเลจ

0-3260-1547-8, 0-3261-1919 0-3262-1989-0, 0-3262-1829, 0-3254-4557 0-3251-2205, 0-3251-2500, 0-3251-2151 0-3252-6314-6

0-3261-1918 0-3262-1991 0-3251-2347 0-3252-6316

ปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี ประจันตคาม

0-3721-1355-6, 0-3721-1655 0-3729-1252, 0-3729-1509

0-3721-1355-6 0-3729-1251

ปัตตานี

ปัตตานี

0-7333-2677-9

0-7333-1038

พระนครศรีอยุธยา

อยุธยา บางบาล ประตูน้ำพระอินทร์ วังน้อย อยุธยา พาร์ค อุทัย-อยุธยา

0-3524-1417-18, 0-3524-2417 0-3530-7942-43 0-3521-9784-8 0-3521-5649-50 0-3521-3061-2 0-3533-5417-8, 0-3521-3623-4

0-3524-2417 0-3530-7944 0-3521-9789 0-3521-5652 0-3521-3008 ทุกหมายเลข

พังงา

พังงา เขาหลัก พังงา

0-7641-1626-7, 0-7641-1555 0-7644-3445-8

0-7641-1555 0-7644-3448

พิจิตร

พิจิตร เขาทราย ตะพานหิน

0-5665-1331, 0-5661-3558, 0-5661-2219 0-5664-9060, 0-5664-9111 0-5662-1194, 0-5662-1325

0-5661-2216 0-5664-9060 0-5662-1477

0-5622-8224


262

|

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

พิจิตร

สามง่าม สากเหล็ก

0-5669-1210-1, 0-5666-5511, 08-9707-8878 0-5669-9266, 0-5669-9367

0-5666-5511 0-5669-9267

เพชรบูรณ์

เพชรบูรณ์ หล่มสัก

0-5671-1386, 0-5672-1250 0-5670-1044, 0-5670-1579, 0-5674-6270

0-5672-1290 0-5674-6269

พัทลุง

พัทลุง

0-7461-3305, 0-7461-3313, 0-7462-6801

0-7461-1965

เพชรบุรี

เพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

0-3242-6005, 0-3242-6115 0-3249-3000-1

0-3242-7165 ทุกหมายเลข

พะเยา

พะเยา

0-5448-1720-1, 0-5448-2329

0-5448-2330

แพร่

แพร่ สูงเม่น

0-5451-1655, 0-5462-1327 0-5454-1231, 0-5454-2001

0-5451-1646 0-5454-1360

พิษณุโลก

พิษณุโลก พิษณุโลก 2 โคกมะตูม-พิษณุโลก ทรัพย์ ไพรวัลย์

0-5524-5770-2 0-5528-3007-8 0-5521-2432, 0-5521-2434-6 0-5529-3076

0-5524-5544 0-5524-2790 0-5521-2436 0-5529-3077

ภูเก็ต

ภูเก็ต จังซีลอน ภูเก็ต เซ็นทรัล เฟสติวัล ภูเก็ต ถลาง

โรงพยาบาลกรุงเทพ-ภูเก็ต โรงพยาบาลวชิระ-ภูเก็ต ห้าแยกฉลอง ภูเก็ต

0-7621-2123, 0-7621-2978, 0-7621-3488 0-7636-6166-8 0-7624-8509-11 0-7631-1366-7, 0-7631-1484, 0-7631-1500, 0-7631-1777 0-7632-8383-5 0-7634-3455-7 0-7622-5486, 0-7623-0104, 0-7622-5178, 0-7623-0137 0-7621-0059, 0-7621-0065, 0-7621-0140 0-7623-7238-40 0-7638-1749-51

0-7621-3487 0-7636-6169 0-7624-8511 0-7631-1501 0-7632-8255 0-7634-3458 0-7623-0102 0-7621-0140 0-7623-7241 0-7638-1751

มหาสารคาม

มหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

0-4372-2111-2 0-4375-4141-2

0-4372-2113 0-4375-4143

แม่ฮ่องสอน

แม่ฮ่องสอน

0-5362-0123-4

0-5362-0125

มุกดาหาร

มุกดาหาร

0-4261-1520, 0-4261-1855, 0-4263-1451-2

0-4261-1892

ยะลา

ยะลา

0-7321-4029, 0-7321-4384, 0-7321-1587, 0-7321-4231

0-7321-5380

ยโสธร

ยโสธร

0-4571-2301, 0-4571-2302, 0-4572-0602(NAC), 0-4571-2303 0-4572-0603(NAC)

ระนอง

ระนอง กระบุรี

0-7782-3028, 0-7782-3029 0-7789-1027-8

ท่าอากาศยาน ภูเก็ต ถนนพระบารมี หาดป่าตอง ถนนมนตรี-ภูเก็ต

0-7782-3030 0-7789-1294


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

|

263

จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

ราชบุรี

ราชบุรี ดำเนินสะดวก ถนนคฑาธร ราชบุรี บ้านโป่ง โพธาราม

0-3232-1808, 0-3232-2048, 0-3231-0410 0-3225-3348, 0-3225-3349, 0-3234-5331 0-3231-5645-47 0-3220-0382-3, 0-3234-4767-8 0-3235-4047-8, 0-3223-1637, 0-3223-1062

0-3232-2047 0-3225-3701 0-3231-5817 0-3220-0382-3 ทุกหมายเลข

ระยอง

ระยอง 2 แกลง เนินเขาดิน บ้านค่าย บ้านฉาง แหลมทองพลาซ่า ระยอง

0-3861-7470-4 0-3888-4595-7 0-3866-9498, 0-3866-9500 0-3864-1002-3 0-3888-0585-7 0-3861-0229-32

0-3861-7475 0-3888-4463 0-3866-9499 0-3864-1001 0-3888-0588 ทุกหมายเลข

ร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด

0-4351-1369, 0-4351-1612

0-4351-2449

ลพบุรี

ลพบุรี

0-3641-1945, 0-3642-2931, 0-3642-1570, 0-3641-2093 0-3661-2480-1 0-3641-2729, 0-3641-3369

0-3641-2093 0-3661-2482 0-3642-2915

งาว ถนนฉัตรไชย-ลำปาง ห้างฉัตร

0-5422-4154, 0-5422-6223, 0-5422-6522, 0-5432-2455 0-5426-1193, 0-5426-1194 0-5435-2050-1 0-5426-9206, 0-5426-9207

0-5422-6155 0-5426-1007 0-5422-5073 0-5426-9208

ลำพูน

ลำพูน นิคมอุตสาหกรรมลำพูน

0-5356-1460-1, 0-5351-0461-3 0-5355-4821, 0-5355-4385, 0-5353-9618

0-5351-0460 0-5353-9618

เลย

เลย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

0-4281-2122-3 0-4283-5754-5

0-4283-3568 0-4283-5756

ศรีสะเกษ

ศรีสะเกษ

0-4561-2518, 0-4561-2519

0-4561-2520

สระแก้ว

สระแก้ว อรัญประเทศ

0-3724-2688-90 0-3723-1280, 0-3723-1290

0-3724-2692 0-3723-2601

สงขลา

สงขลา ควนเนียง ถนนจุติอนุสรณ์ หาดใหญ่ ถนนเพชรเกษม-หาดใหญ่ ระโนด ถนนรัถการ-หาดใหญ่ ตลาดสันติสุข หาดใหญ่

0-7431-1333, 0-7431-2001, 0-7432-4373 0-7438-6572-3 0-7423-0883-4, 0-7424-4324 0-7423-6403-4, 0-7423-9830 0-7439-1030-1, 0-7439-2555 0-7423-8800-2 0-7423-0576, 0-7435-1611-3 0-7423-1141-3, 0-7435-5311, 0-7435-5313

0-7431-4803 0-7438-6574 0-7423-1289 0-7423-6405 0-7439-1030-1 0-7423-8501 0-7423-0575 0-7435-5312

คาร์ฟูร์ ลพบุรี วงเวียนสระแก้ว-ลพบุรี ลำปาง

ลำปาง


264

|

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

สมุทรสาคร

สมุทรสาคร กระทุ่มแบน ถนนเศรษฐกิจ 1-สมุทรสาคร อ้อมน้อย

0-3441-2333, 0-3442-2245, 0-3442-5992 0-3484-8977-9 0-3481-5609, 0-3481-5610, 0-3481-5611 0-0243-0975-7, 0-2420-2347

0-3442-5993 0-3484-8977-9 0-3481-5608 0-0242-0347

สุราษฎร์ธานี

สุราษฎร์ธานี

0-7728-1010

นาสาร หน้าโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เกาะสมุย หาดเฉวง เกาะสมุย ท้องศาลา เกาะพะงัน บิ๊กซี สุราษฎร์ธานี บ้านส้อง สุราษฎร์ธานี บ่อผุด เกาะสมุย

0-7727-2753-4 , 0-7728-1009, 0-7728-1010, 0-7725-0283-4 0-7734-1037, 0-7734-1038 0-7728-3459-61 0-7735-5162, 0-7735-5234 0-7742-1137, 0-7742-0360-1 0-7723-1955-7 0-7723-8920-2 0-7722-4201, 0-7722-4324, 0-7722-4809 0-7725-7093, 0-7725-7127 0-7724-6225-6

สตูล

สตูล

0-7472-1219, 0-7472-1220

0-7472-1221

สุโขทัย

สุโขทัย

0-5561-1147, 0-5561-1590 , 0-5561-4358 , 0-5561-4359 (manager) 0-5568-9110, 0-5568-9070 0-5564-2317, 0-5564-2381

0-5561-1995

บ้านด่านลานหอย สวรรคโลก

0-7734-1538 ทุกหมายเลข 0-7735-5162 0-7742-1143 ทุกหมายเลข ทุกหมายเลข ทุกหมายเลข ทุกหมายเลข 0-7724-6227

0-5568-9070 0-5564-1124

สกลนคร

สกลนคร

0-4271-1393, 0-4271-1993, 0-4271-2195, 0-4271-4691-2, 0-4274-1993

0-4271-3403

สระบุรี

สระบุรี พระพุทธบาท ถนนพหลโยธิน-สระบุรี มวกเหล็ก วิหารแดง วังม่วง

0-3622-2430-1, 0-3621-1039, 0-3622-1429 0-3626-6744-5, 0-3626-7799 0-3631-8271-3, 0-3621-2023, 0-3621-2024 0-3634-1990, 0-3634-1017 0-3637-7258-9 0-3635-9211-2

0-3622-1229 0-3626-7800 0-3631-8270 0-3634-1024 0-3637-7725 0-3635-9213

สุพรรณบุรี

สุพรรณบุรี อู่ทอง

0-3552-2356, 0-3552-2358 0-3555-2007, 0-3555-2009

0-3552-2360 0-3555-2020

สุรินทร์

สุรินทร์

0-4451-4250, 0-4451-4251, 0-4451-4252

0-4451-4252

สมุทรสงคราม

สมุทรสงคราม

0-3471-454-5, 0-3471-018-9, 0-3471-682, 0-3474-123

0-3471-5456

สิงห์บุรี

สิงห์บุรี

0-3651-1326, 0-3651-2803

0-3651-2276

อำนาจเจริญ

อำนาจเจริญ

0-4551-1590-1, 0-4551-1594

0-4551-1592


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ที่ ตั้ ง ส า ข า ใ น เ ข ต ภู มิ ภ า ค

|

จังหวัด

ชื่อสาขา

โทรศัพท์

โทรสาร

อุดรธานี

อุดรธานี คาร์ฟูร์ อุดรธานี ถนนทหาร อุดรธานี บ้านผือ ถนนโพศรี-อุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

0-4224-1130, 0-4224-1594, 0-4224-4776-8 0-4293-1700-1 0-4234-1951-3 0-4228-1264-5 0-4224-9551-3 0-4224-4042, 0-4224-4258

0-4224-4391 0-4293-1702 0-4234-1957 0-4228-1265 0-4224-9554 0-4224-4043

อุตรดิตถ์

อุตรดิตถ์

0-5541-1655, 0-5541-1800

0-5541-2380

อ่างทอง

อ่างทอง

0-3561-1262, 0-3561-2418, 0-3562-5130

0-3562-5131

อุทัยธานี

อุทัยธานี บ้านไร่

0-5651-1187, 0-5651-1122, 0-5652-4942 0-5653-9002, 0-5653-9003

0-5651-1613 0-5653-9004

อุบลราชธานี

อุบลราชธานี ตระการพืชผล ถนนพรหมราช-อุบลราชธานี

0-4524-1313, 0-4525-4308, 0-4525-4890 0-4548-1111 0-4524-0215-7

0-4525-4307 0-4548-1015 0-4524-0214

265


266

|

ส า ข า ใ น ต ่า ง ป ร ะ เ ท ศ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

สาขาในต่างประเทศ สาขา

ข้อมูล

สาขาฮ่องกง General Manager Address E-mail Telephone Facsimile Telex สาขานครหลวงเวียงจันทน์ General Manager Address E-mail Telephone Facsimile Telex สาขาหมู่เกาะเคย์แมน Address E-mail Telephone Facsimile Telex

Mr. Pongsak Fookirkkiat (คุณพงษ์ศักดิ์ ฟูเกริกเกียรติ) Room 1601, 16th Floor, New Road Tower 1 18 Queen's Road Central Hong Kong tmbhk@tmbhk.com.hk +852-2845-6677 +852-2845-1182 82645 tmbhk hx Mr. Louchai Louchaisa (คุณลือชัย ลือชัยสา) 34/2 Unit 76, Ban Haysok Samsemthai Road, Chanthabouli, Vientiane, Lao PDR tmbvte@tmbbank.net +856-2121-7174, +856-2121-6486 +856-2121-6486 4327 tmbvtels P.O. Box 501, Cardinal Avenue, George Town Grand Cayman, Cayman Islands c/o TMB Bank Public Company Limited 3000 Phahonyothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand satian.tan@tmbbank.com +662-230-5791, +662-230-5792 +662-230-5788 20040 militfx th, 20356 militfx th


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ส ำ นั ก ง า น แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ งิ น

|

267

สำนักงานแลกเปลี่ยนเงิน สำนักงานแลกเปลี่ยน

ที่อยู่

โทรศัพท์

กะตะน้อย

183 ถ.โคกโตนด ตำบลกะรน อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

0-7633-3236

จตุจักร ประตู 2

ทางเข้า-ออก ประตู 2 กองอำนวยการตลาดนัด กทม.ถ.กำแพงเพชร 2 ตำบลลาดยาว เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2272-4715-6

จตุจักร ประตู 3

ทางเข้า-ออก ประตู 3 กองอำนวยการตลาดนัด กทม.ถ.กำแพงเพชร 2 ตำบลลาดยาว เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2272-4105-6

ชายหาดพัทยา

ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3841-0747

ซอยไชยยศ (สุขุมวิท 11)

2/6 ซ.ไชยยศ ถ.สุขุมวิท ตำบลคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2253-1045

ซอยบัวขาว

210 หมู่ 9 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3872-0083, 0-3872-0092

ซาบาน่ารีสอร์ท

14/53 หมู่ที่ 1 ตำบลราไวย์ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

0-7634-0545-6

เซ็นทรัลเวิลด์

ภายในอาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 2 พื้นที่ K-B 205 เลขที่ K2-10/2 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2646-1326

ดีวาน่า

49/145 ถ.ราษฎร์อุทิศ 200 ปี ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-0035

ตลาดน้ำ 4 ภาค พัทยา

451/304 หมู่ 12 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3807-6845-6

ถนนข้าวสาร (โรงเรียนพิมานวิทย์)

212 โรงเรียนพิมานวิทย์ ถ.ข้าวสาร เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2629-0579

ถนนพัทยาสาย 2 (อัลคาซาร์)

โรงแรมไทยพาเลซ เลขที่ 212 ม.9 ถ.พัทยาสาย 2 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3841-5302

ทัพพระยา

ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3825-1449

ท่าอากาศยานกระบี่

อยู่ในที่ดินราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียนที่ กบ.66 ถ.เพชรเกษม ตำบลเหนือคลอง จังหวัดกระบี่

0-7570-1587

ไนท์บาร์ซ่า, เชียงราย

870/12 ม.4 ถ.พหลโยธิน ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

0-5371-5657

บางลา 1

136/1 ถ.ทวีวงศ์ ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-0157

บ้านไทย

94 ถนนทวีวงศ์ ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-0618

แพลทินัม ประตูน้ำ

เดอะแพลทินัม แฟชั่นมอลล์ เลขที่ 222 ถ.เพชรบุรี ตำบลเพชรบุรี เขตราชเทวี จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2121-9404

แพลทินัม ประตูน้ำ 2

ด้านหน้าอาคาร เดอะแพลทินัมแฟชั่นมอลล์ เลขที่ 222/226 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ตำบลเพชรบุรี เขตราชเทวี จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2121-9493

รามบุตรี

323 ถ.รามบุตรี ตำบลตลาดยอด เขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2629-0620-1

โรงพยาบาลกรุงเทพ ซอยศูนย์วิจัย

ภายในอาคาร Inter Nation บริเวณโรงพยาบาลกรุงเทพ ซอยศูนย์วิจัย จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2318-9770

โรงแรมเชอรี่ พัทยา

โรงแรมเชอรี่ พัทยา เลขที่ 270/3 ม.10 ตำบลหนองปรือ จังหวัดชลบุรี

0-3842-9501-2

โรงแรมซีซาร์ พาเลซ

382/34 ม.9 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3842-5011-2

โรงแรมป่าตอง เมอร์ลิน 1 (ภูเก็ต)

หน้าโรงแรมป่าตอง เมอร์ลิน ถ.ทวีวงศ์ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-1048

โรงแรมมาร์คแลนด์

436/541 ม.9 ถ.เลียบชายหาด ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 0-3841-5294


268

|

ส ำ นั ก ง า น แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

สำนักงานแลกเปลี่ยน

ที่อยู่

โทรศัพท์

โรงแรมมารีน่า คอลเทจ

47 ถ.กะรน ตำบลกะรน อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

0-7633-3051-2

โรงแรมเมาท์เท้นบีช พัทยา

378/24 ม.12 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3825-2994

โรงแรมแลนด์มาร์คพลาซ่า

138 อาคารแลนด์มาร์คพลาซ่า ถ.สุขุมวิท ตำบลคลองเตย เขตคลองเตย จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2252-6092

โรงแรมวินด์ มิลล์ รีสอร์ท พัทยา

ภายในโรงแรมวินด์มิลล์ รีสอร์ท พัทยา เลขที่ 665 ม.5 ถ.พัทยา-นาเกลือ ตำบลบางละมุง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3837-1441-3

วงเวียนกะรน

240 ถ.กะรน ตำบลกะรน อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

0-7639-6088

ศูนย์การค้าโอท็อป ป่าตอง

ศูนย์การค้าโอท็อปป่าตอง ตรงข้ามโรงแรมฮอลิเดย์อินน์ ถนนราษฎร์อุทิศ 200 0-7634-0164 ปี จังหวัดภูเก็ต

สถานีรถไฟฟ้านานา

เลขที่ E3-11 ถนนสุขุมวิท ตำบลคลองตัน เขตคลองเตย จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2651-0228

สถานีรถไฟฟ้าพร้อมพงษ์

สถานีรถไฟฟ้าพร้อมพงษ์ E5-10/1 A ถ.สุขุมวิท 24 เขตคลองเตย จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2663-7485

สถานีรถไฟฟ้าสนามกีฬาแห่งชาติ

สถานีรถไฟฟ้าสนามกีฬาแห่งชาติ W1-29 ถ.พระราม 1 ตำบลวังใหม่ เขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2612-3132

สถานีรถไฟฟ้าอโศก

เลขที่ E4-9 ถนนสุขุมวิท ตำบลคลองตัน เขตคลองเตย จังหวัดกรุงเทพมหานคร 0-2651-0192

เกาะช้าง

9/41 หมู่ที่ 4 บ้านหาดทรายขาว ตำบลเกาะช้าง อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด

0-3958-6242

เกาะสมุย

67/12-13 ม.3 ตำบลอ่างทอง อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

0-7742-0360-2

เขาหลัก, พังงา

19/4-5 ม.6 ตำบลคึกคัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

0-7644-3445-7

จอมเทียน

334/1-2 ม.12 ถ.ชายหาดจอมเทียน ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3823-2079

จังซีลอน ภูเก็ต

181 ศูนย์การค้าจังซีลอน ชั้น B ถ.ราษฎร์อุทิศ 200 ปี ตำบลกระทู้ อำเภอป่าตอง จังหวัดภูเก็ต

0-7636-6170

ซันไชน์ พัทยา

240/12 ม.5 ถ.พัทยา-นาเกลือ ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3841-0617

เซ็นทรัล เฟสติวัล ภูเก็ต

74-75 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล เฟสติวัล ภูเก็ต ชั้น 2 ม.5 ตำบลวิชิต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

0-7624-8515

ถนนทัพพระยา (พัทยา)

315/297 ม.12 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3830-3778

ถนนพระบารมี หาดป่าตอง

256,256/3 ถ.พระบารมี ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-3454-61

ท้องศาลา (เกาะพะงัน)

161/21 ม.1 ตำบลเกาะพะงัน อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

0-7723-8920-2

ท่าอากาศยานภูเก็ต

222 ม.6 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

0-7632-8383-5

บ่อผุด

25/21-22 ม.6 ตำบลบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

0-7724-6225-7

พัทยา

325/67-70 ศูนย์การค้าพัทยาแลนด์ ม.10 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3842-6107


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ส ำ นั ก ง า น แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ งิ น

สำนักงานแลกเปลี่ยน

ที่อยู่

โทรศัพท์

มาบุญครองเซ็นเตอร์

444 ศูนย์การค้ามาบุญครองเซ็นเตอร์ ถ.พญาไท ตำบลวังใหม่ เขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2215-2136-7, 0-2217-9234

แม่สาย

44/1-2 ม.7 ถ.พหลโยธิน ตำบลแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

0-5373-3145-6

หาดเฉวง 1, เกาะสมุย

167/36-37 ม.2 ต.บ่อผุด ตำบลบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

0-7723-1955-6

หาดเฉวง 2, เกาะสมุย

30/11 ม.3 ตำบลบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

0-7723-1959-60

อ่าวนาง กระบี่

146/2 ม.2 ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

0-7563-7656

อินทรา-ประตูน้ำ

120/67 ซอยอินทรา ถ.ราชปรารภ ตำบลพญาไท เขตราชเทวี จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2208-0982-3

อินทราสแควร์

120/126 ถ.ราชปรารภ ตำบลพญาไท เขตราชเทวี จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2631-9457-9

ใสน้ำเย็นเซ็นเตอร์พอยท์ ภูเก็ต

271 ถ.ราษฏร์อุทิศ 200 ปี ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-0545-6

ห้องโถงเชื่อมอาคารจอดรถชั้น 3 , ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (GL)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาเข้า 1 ชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (AH1)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาเข้า 2 ชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (AH2)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาเข้า 3 ชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (AH3)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาเข้า 4 ชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (AH4)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาเข้า ชั้น 1, ท่าอากาศยานกรุงเทพ (DS)

อาคารผู้โดยสาร ในประเทศ ท่าอากาศยานกรุงเทพ ชั้น 1ถนนวิภาวดี เขตดอนเมือง จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2535-3172

ห้องโถงผู้โดยสารขาเข้า ชั้น1, ท่าอากาศยานภูเก็ต

222 ม.6 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

0-7632-6737

ห้องโถงผู้โดยสารขาออก 1 ชั้น 4 , ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (DH1)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาออก 2 ชั้น 4, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (DH2)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาออก 3 ชั้น 4, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (DH3)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาออก 4 ชั้น 4, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (DH4)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาออก 5 ชั้น 4, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (DH5)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงผู้โดยสารขาออก ชั้น 2, ท่าอากาศยานกรุงเทพ ( DD)

อาคารผู้โดยสาร ในประเทศ ท่าอากาศยานกรุงเทพ ชั้น 1ถนนวิภาวดี เขตดอนเมือง จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2535-3171

|

269


270

|

ส ำ นั ก ง า น แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ งิ น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

สำนักงานแลกเปลี่ยน

ที่อยู่

โทรศัพท์

ห้องโถงรอรับกระเป๋า ต่างประเทศขาเข้าชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (IB3)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงรอรับกระเป๋า ต่างประเทศขาเข้าชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (IB2)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องโถงรอรับกระเป๋า ต่างประเทศขาเข้าชั้น 2, ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ (IB)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องพักผู้โดยสารขาเข้า 1 ชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (AL1)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องพักผู้โดยสารขาเข้า 2 ชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (AL2)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องพักผู้โดยสารขาเข้า 3 ชั้น 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (AL3)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องพักผู้โดยสารขาออก 2, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (DL2)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

ห้องพักผู้โดยสารขาออก ด้านตะวันออก ชั้น 3, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ID1)

999 ม.1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

0-2134-1813-4

หัวหิน 1

160 ถ.นเรศดำริห์ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

0-3253-2372

หัวหิน 3, สาขาหัวหิน- ประจวบคีรีขันธ์

226/2 ถ.เพชรเกษม อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

0-3251-5735

ห้างรอยัลการ์เด้น พลาซา

218 หมู่ 10 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3841-1750

หาดกะตะ

ศูนย์รวมสรรพสินค้าคอร์เนอร์พลาซ่า 112/3 ถ.ท้ายนา ตำบลกะรน อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

0-7633-0088

หาดกะรน

643 ถ.ปฎัก ตำบลกะรน อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

0-7639-6978

หาดจอมเทียน

75/19 หมู่ 12 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3823-1442

หาดเฉวง 1

ด้านหน้าบังกะโลเฉวงวิลล่า 157 ม.2 ถ.เลียบหาดเฉวง ตำบลบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

0-7742-2492

หาดดงตาล, พัทยา

เลขที่ดิน 69 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

0-3842-9501-2

อันดามันบาร์ซาร์

188/2 ถ.ทวีวงศ์ ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-1015

อันดามันพรอมานาด ภูเก็ต

คลับอันดามัน ระหว่างห้องที่ 120/10-11 ถ.ราษฎร์อุทิศ 200 ปี ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

0-7634-1357, 0-7634-1387

อาคารญาดา (สีลม)

56 อาคารญาดา ถ.สีลม ตำบลสุริยวงศ์ เขตบางรัก จังหวัดกรุงเทพมหานคร

0-2267-0969

อ่าวนางซันเซ็ท

268 ม.2 ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

0-7563-7408

อ่าวพระนาง

208/2-3 ม.2 ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

0-7569-5462


ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด ( ม ห า ช น )

ศู น ย์ ธุ ร กิ จ ต ่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

|

ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ ชื่อศูนย์ธุรกิจ

ที่อยู่

โทรศัพท์

โทรสาร

ศูนย์ธุรกิจช่องนนทรี

360/16-19 ถนนพระราม 3 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

0-2285-3881-2

0-2285-3875

ศูนย์ธุรกิจอโศก

189/1 อาคารแกรนด์พาร์ควิว ชั้น 2 ถนนอโศก (สุขุมวิท 21) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

0-2204-2723-5

0-2204-2726

ศูนย์ธุรกิจพระประแดง

127/27 หมู่ 14 ถนนสุขสวัสดิ์ ตำบลบางพึ่ง อำเภอพระประแดง สมุทรปราการ 10130

08-9924-3248, 08-9924-3253 0-2818-1807

ศูนย์ธุรกิจชลบุรี

62/9 ถนนสุขุมวิท ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000

0-3827-0794, 0-3828-3526

0-3828-3652

ศูนย์ธุรกิจกรุงเกษม

1514 ถนนกรุงเกษม แขวงเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบ กรุงเทพฯ 10100

0-2221-1085, 0-2226-1598

0-2221-1275

ศูนย์ธุรกิจรังสิต-ปทุมธานี

42 ซอยรังสิต-ปทุมธานี4 ถนนรังสิต-ปทุมธานี ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130

0-2567-5646, 0-2567-5629 0-2567-5634

0-2567-5662

ศูนย์ธุรกิจเชียงใหม่

275/5 สาขาสี่แยกข่วงสิงห์-เชียงใหม่ ชั้น 2 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 53000

0-5341-0102-3, 0-5341-0987 0-5341-0909

ศูนย์ธุรกิจบรมราชชนนี

906,908,910 ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบำหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700

0-2886-5435-6, 0-2435-6819 0-2434-1756

ศูนย์ธุรกิจสมุทรปราการ

88 หมู่ 3 ถนนเทพารักษ์ ตำบลเทพารักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270

0-2753-3600-1

0-2753-3602

ศูนย์ธุรกิจระยอง

139/1 ถนนสุขุมวิท ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000

0-3880-0401

0-3880-0402

ศูนย์ธุรกิจสมุทรสาคร

824/48-52 ถนนนรสิงห์ ตำบลมหาชัย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000

0-3481-1419-20

0-3481-1418

ศูนย์ธุรกิจสีลม

393 ชั้น 1 อาคารสีลม ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

0-2230-5320, 0-2230-6059

0-2230-6008

ศูนย์ธุรกิจหาดใหญ่

160 ถนนนิพัทธ์อุทิศ 2 ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110

0-7435-5314, 0-7435-5749

0-7435-4491

ศูนย์ธุรกิจภูเก็ต

37/53 ถนนมนตรี ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000

0-7622-5177, 0-7623-0083

0-7623-0084

ศูนย์ธุรกิจขอนแก่น

127/12 ถนนประชาสโมสร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000

0-4324-2406-7

0-4324-2405

ศูนย์ธุรกิจพหลโยธิน

3000 ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

0-2299-1429, 0-2299-3231, 0-2299-1422, 0-2299-1449

0-2242-3505

271


272

|

ธ น า ค า ร ตั ว แ ท น ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป   2 553

ธนาคารตัวแทนในต่างประเทศ ประเทศ

ธนาคารตัวแทน

แคนาดา

Bank of Montreal, Bank of Nova Scotia, Canadian Imperial Bank of Commerce, Toronto Dominion Bank

จีน

Bank of China Limited, Industrial and Commercial Bank of China, Hua Xia Bank

ญี่ปุ่น

Bank of Tokyo-Mitsubushi UFJ, Mizuho Bank, Mizuho Corporate Bank, Sumitomo Mitsui Banking Corporation, Sumitomo Trust & Banking Co., Ltd.

เดนมาร์ค

Danske Bank

นอร์เวย์

DnB Nor Bank, Nordea Bank Norge ASA

นิวซีแลนด์

Bank of New Zealand

เนเธอร์แลนด์

ABN AMRO Bank N.V., The Royal Bank of Scotland N.V., ING Bank N.V., Rabobank Nederland

เบลเยี่ยม

BNP Paribas Fortis

ฝรั่งเศส

Le Crédit Lyonnais, Crédit Industriel et Commercial, Société Générale, BNP Paribas, Crédit Agricole CIB, Natixis

ฟินแลนด์

Nordea Bank Finland, Sampo Bank

ฟิลิปปินส์

Asian Development Bank

มาเลเซีย

CIMB Bank Berhad, Malayan Banking Berhad, RHB Bank Berhad

เยอรมนี

Commerzbank, Deutsche Bank, UniCredit Bank AG, Landesbank Baden-Württemberg

สวิตเซอร์แลนด์

Credit Suisse, UBS AG

สวีเดน

Nordea Bank AB (publ), Skandinaviska Enskilda Banken AB (publ), Svenska Handelsbanken AB (publ)

สหรัฐอเมริกา

Bank of America N.A., Bank of New York Mellon, HSBC Bank USA, N.A., Wells Fargo Bank N.A., Citibank N.A., Deutsche Bank Trust Company America, JP Morgan Chase Bank N.A.

สหราชอาณาจักร

Barclays Bank Plc, Lloyds TSB Bank, National Westminster Bank, The Royal Bank of Scotland N.V.

สิงคโปร์

Overseas Chinese Banking Corp, DBS Group, United Overseas Bank Limited

ออสเตรเลีย

Australia and New Zealand Banking Group, Commonwealth Bank of Australia, Westpac Banking Corp, National Australian Bank

อิตาลี

Deutsche Bank S.p.A.

อินเดีย

State Bank of India

อิสราเอล

Bank Hapoalim B.M. Tel-Aviv, Bank Leumi le - Israel, Israel Discount Bank

ฮ่องกง

Hongkong and Shanghai Banking Corporation Ltd., Shanghai Commercial Bank Limited




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.