รายงานกิจการคณะสงฆ์ เพชรบูรณ์ (ธ)

Page 1

1


2

บทนำ� - ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเพชรบูรณ์

ด้านศาสนา และวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญ



4

เพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของ ประเทศไทย ในทางภูมิศาสตร์และอุตุนิยมวิทยาจัดอยู่ในภาคเหนือตอน ล่าง มีพื้นที่ประมาณ ๑๒,๖๖๘ ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ ๙ ของประเทศ มีประชากร ๙๙๔,๓๙๗ คน แบ่งการปกครองออกเป็น ๑๑ อำ�เภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็น จังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยว จำ�นวนมาก

ตราประจำ�จังหวัดเพชรบูรณ์

ชื่อของจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อสมัยก่อนน่าจะชื่อว่าเมือง “เพชบุระ” ตามที่ปรากฏในจารึกลาน ทองคำ� ที่พบจากเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ วัดมหาธาตุ ซึ่งหมายถึงเมืองแห่งพืชพันธุ์ธัญญาหาร แต่ในระยะ หลังต่อมาได้เพื้ยนหรือเปลี่ยนเป็นชื่อ “เพ็ชร์บูรณ์” และเปลี่ยนเป็น “เพชรบูรณ์” กลายความหมาย เป็นเมืองที่อุดมด้วยเพชร และได้นำ�ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของตราสัญลักษณ์ประจำ�จังหวัด


5

ประวัติศาสตร์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการรวบรวมหัวเมืองตามชายแดน ที่สำ�คัญตั้งเป็นเขตการปกครองใหม่ ขึ้นเป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล ในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ มณฑล เพชรบูรณ์ได้ตั้งขึ้นเป็นอิสระ เนื่องจากท้องที่มีภูเขาล้อมรอบ มีการเชื่อมต่อคมนาคมกับมณฑลอื่น ไม่สะดวก ลำ�บากแก่การติดต่อราชการ และโอนเมืองหล่มสัก อำ�เภอหล่มเก่า อำ�เภอวังสะพุง มา ขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ ยุบเมืองวิเชียรบุรีเป็นอำ�เภอ โอนอำ�เภอบัวชุม (ปัจจุบันเป็นตำ�บล) อำ�เภอ ชัยบาดาลขึ้นกับเมืองเพชรบูรณ์ มณฑลเพชรบูรณ์จึงมีสองเมือง คือ หล่มสัก กับ เพชรบูรณ์ พ.ศ. ๒๔๔๗ ได้ยุบมณฑลเพชรบูรณ์ และได้ตั้งเป็นมณฑลอีกในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ และได้ยุบ อีกครั้งในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ จังหวัดเพชรบูรณ์ในขณะนั้นมี ๔ อำ�เภอ ได้แก่ อำ�เภอเมือง อำ�เภอวัดป่า (ปัจจุบันคือตำ�บลในอำ�เภอหล่มสัก) อำ�เภอวิเชียรบุรี และกิ่งอำ�เภอชนแดน จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๗๖ ได้ยกเลิกมณฑลต่าง ๆ ทั่วประเทศ

การแบ่งเขตการปกครอง จังหวัดเพชรบูรณ์แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๑๑ อำ�เภอ ๑๑๗ ตำ�บล ๑,๔๓๐ หมู่บ้าน ซึ่งอำ�เภอทั้ง ๑๑ อำ�เภอมีดังนี้ ๑.อำ�เภอชนแดน ๗. อำ�เภอบึงสามพัน ๒.อำ�เภอหล่มสัก ๘. อำ�เภอน้ำ�หนาว ๓.อำ�เภอหล่มเก่า ๙. อำ�เภอวังโป่ง ๔.อำ�เภอวิเชียรบุรี ๑๐. อำ�เภอเขาค้อ ๕.อำ�เภอศรีเทพ ๑๑. อำ�เภอเมืองเพชรบูรณ์ ๖.อำ�เภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม ๑๒๘ แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง, เทศบาล เมือง ๓ แห่ง, เทศบาลตำ�บล ๒๒ แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำ�บล ๑๐๒ แห่ง เทศบาลเมือง ได้แก่ เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ เทศบาลเมืองหล่มสัก และเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี


6 สถิติจำนวนประชำกร และบ้ำน

สถิติประชากรจังหวัประจ ดเพชรบู รณ์ ประจำ�ปี ๒๕๕๙ ำปี พ.ศ.2559 ลำดับ

อำเภอ

ชำย

หญิง

รวม

บ้ำน

จังหวัดเพชรบูรณ์

อำเภอเมืองเพชรบูรณ์

๘๒,๒๗๕

๘๐,๙๘๕ ๑๖๓,๒๖๐

๕๘,๓๔๘

อำเภอชนแดน

๓๕,๒๘๒

๓๕,๑๑๓

๗๐,๓๙๕

๒๖,๒๗๐

อำเภอหล่มสัก

๗๑,๖๗๔

๗๔,๐๖๐ ๑๔๕,๗๓๔

๔๕,๙๑๐

อำเภอหล่มเก่ำ

๒๙,๘๖๗

๓๐,๘๓๔

๖๐,๗๐๑

๑๗,๓๓๗

อำเภอวิเชียรบุรี

๕๐,๓๕๐

๕๑,๒๙๗ ๑๐๑,๖๔๗

๓๑,๙๘๔

อำเภอศรีเทพ

๒๘,๐๐๙

๒๘,๒๗๐

๕๖,๒๗๙

๑๘,๐๓๑

อำเภอหนองไผ่

๓๘,๖๓๑

๓๘,๔๓๐

๗๗,๐๖๑

๒๓,๗๑๓

อำเภอบึงสำมพัน

๓๑,๒๙๗

๓๑,๖๓๔

๖๒,๙๓๑

๒๓,๗๕๕

๙,๔๒๗

๘,๙๒๐

๑๘,๓๔๗

๖,๔๔๕

๑๑ อำเภอวังโป่ง

๑๔,๖๙๘

๑๔,๘๔๐

๒๙,๕๓๘

๘,๗๙๗

๑๒ อำเภอเขำค้อ

๑๖,๗๒๙

๑๖,๖๔๗

๓๓,๓๗๖

๑๐,๕๐๙

๑๓ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลแคมป์สน

๒,๕๘๔

๒,๗๒๒

๕,๓๐๖

๒,๖๖๒

๑๔ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลโคกสะอำด

๓,๓๐๒

๓,๓๗๑

๖,๖๗๓

๒,๐๖๙

๑๕ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลบัววัฒนำ

๓,๐๑๕

๒,๙๒๑

๕,๙๓๖

๑,๘๑๐

๑๖ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลบ่อไทย

๔,๗๔๘

๔,๙๒๔

๙,๖๗๒

๒,๘๔๘

๑๗ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลนำงั่ว

๖,๐๑๔

๖,๗๒๔

๑๒,๗๓๘

๕,๓๒๘

๑๘ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลเฉลียงทอง

๓,๘๒๒

๓,๘๑๙

๗,๖๔๑

๒,๔๐๓

๑๙ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลวังโป่ง

๑,๙๑๙

๒,๐๗๗

๓,๙๙๖

๑,๔๕๔

๒๐ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลท้ำยดง

๑,๗๔๘

๑,๘๖๐

๓,๖๐๘

๑,๑๔๖

๒๑ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลซับสมอทอด

๔,๓๕๒

๔,๕๙๕

๘,๙๔๗

๔,๗๕๘

๒๒ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลหนองไผ่

๓,๖๘๒

๓,๙๗๖

๗,๖๕๘

๓,๖๙๖

๒๓ ท้องถิน่ เทศบำลตำบลนำเฉลียง

๒,๑๑๒

๒,๓๑๙

๔,๔๓๑

๑,๖๖๗

๑๐ อำเภอนำหนำว

๔๙๓,๑๘๗ ๕๐๒,๐๓๖ ๙๙๕,๒๒๓

๓๔๓,๔๒๒



8

พุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่ พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำ�สอนสำ�คัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำ�สั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อ บรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำ�สอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำ�สอนสำ�หรับการดำ�รงชีวิตที่ดี งาม สำ�หรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือ และศึกษาปฏิบัติตนตามคำ�สั่งสอง ของพระบรมศาสดาแล้วจะจำ�แนกได้เป็น ๔ ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท ๔ ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อ ในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความ เพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำ�ของ ตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกาย คือ ให้ พึ่งตนเอง เพื่อพาตัวเองออกจากกอง ทุกข์ มีจุดมุ่งหมายคือการสอนให้มนุษย์หลุดพ้นจากความ ทุกข์ทั้งปวงในโลกด้วยวิธีการสร้าง ปัญญา ในการอยู่กับความทุกข์อย่างรู้เท่าทันตามความเป็นจริง วัตถุประสงค์สูงสุดของศาสนา คือ การหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงและวัฏจักรการเวียนว่ายตาย เกิด เช่นเดียวกับที่พระศาสดาทรงหลุดพ้นได้ด้วยกำ�ลังสติปัญญาและความเพียรของพระองค์เอง ใน ฐานะที่พระองค์ก็ทรงเป็นมนุษย์ มิใช่เทพเจ้าหรือทูตของพระเจ้าองค์ใด


9 พระพุทธเจ้า พระองค์ปัจจุบันคือพระโคตมพุทธเจ้า มีพระนาม เดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ได้ทรงเริ่มออกเผยแผ่คำ�สอนในชมพู ทวีป ตั้งแต่สมัยพุทธกาล แต่หลังปรินิพพานของพระพุทธเจ้า พระธรรมวินัยที่พระองค์ทรงสั่งสอน ได้ถูกรวบรวมเป็นหมวดหมู่ ด้วยการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งแรก จนมีการรวบรวมขึ้น เป็นพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นหลักการสำ�คัญที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง มาตลอดของฝ่าย เถรวาท ที่ยึดหลักไม่ยอมเปลี่ยนแปลงคำ�สั่ง สอนของพระพุทธเจ้า แต่ในการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้ง ที่สอง ได้เกิดแนวคิดที่เห็นต่างออกไป ว่าธรรมวินัยสามารถ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามเวลาและสถานการณ์เพื่อความอยู่รอดแห่งศาสนาพุทธ แนวคิดดังกล่าว จึงได้เริ่มก่อตัวและแตกสายออกเป็นนิกายใหม่ในชื่อของ มหายาน ทั้งสองนิกายได้แตกนิกายย่อยไป อีก และเผยแพร่ออกไปทั่วดินแดนเอเชียและใกล้เคียง บ้างก็จัดว่า วัชรยาน เป็นอีกนิกายหนึ่ง แต่บ้าง ว่าเป็นส่วนหนึ่งของนิกายมหายาน แต่การจัดมากกว่านั้นก็มี หลักพื้นฐานสำ�คัญของปฏิจสมุปบาท เป็นเพียงหลักเดียวที่เป็นคำ�สอนร่วมกันของคติพุทธ

ปัจจุบันศาสนาพุทธ ได้เผยแผ่ไปทั่วโลก โดยมีจำ�นวนผู้นับถือส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย ทั้งใน เอเชียกลาง เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันศาสนาพุทธ ได้มีผู้นับถือกระจายไป ทั่วโลก ประมาณ 700 ล้านคน ด้วยมีผู้นับถือในหลายประเทศ ศาสนาพุทธจึงเป็นศาสนาสากล


10

ศาสนา และการนับถือศาสนาในประเทศไทย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมให้ทางราชการ รับรองศาสนาในประเทศไทยไว้ ๕ ศาสนา คือศาสนาพุทธ, ศาสนาอิสลาม, ศาสนาคริสต์, ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และ ศาสนาซิกข์ ประชากรของประเทศไทย เกินกว่าร้อยละ ๙๐ เป็นผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ ๙๔.๖) รองลงมา นับถือศาสนาอิสลาม (ร้อยละ ๔.๖) และศาสนาคริสต์ (ร้อยละ ๐.๗) ที่เหลือเป็นผู้ที่นับถือศาสนาอื่น ๆ รวมทั้งผู้ที่ไม่มีศาสนา (ร้อยละ ๐.๑)

เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค พบว่าประชากร ในทุกภาคส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธมากกว่าร้อยละ ๙๐ ยกเว้นภาคใต้ซึ่งมีผู้นับถือศาสนาอิสลามสูงกว่า ภาคอื่นๆอย่างเห็นได้ชัด (ร้อยละ ๒๔.๕)


การประกอบกิจทางศาสนา พุทธศาสนา

การประกอบกิจทางศาสนาของประชากรพบ ว่า ในรอบปีที่ผ่านมา พุทธศาสนิกชนมีการตักบาตร และสวดมนต์ร้อยละ ๙๒.๗ และ ๘๐.๖ ตามลําดับส่วน การรักษาศีล ๕ (ครบทุกข้อ) และการทําสมาธิเป็นกิจ ทางศาสนาที่มีผู้ปฏิบัติต่ํากว่าครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ ๔๙.๔ และ ๔๐.๕ ตามลําดับ) และเมื่อ พิจารณาความถี่ของการปฏิบัติดังกล่าว พบว่า การ ตักบาตรส่วนใหญ่ พุทธศาสนิกชนนิยมทําในวันพระ /ช่วงเข้าพรรษา/วันสําคัญทางพุทธศาสนา ร้อยละ ๓๗.๑ และมีการตักบาตรสสม่ำ�สเมอทุกวันหรือทุก สัปดาห์ ร้อยละ ๑๙.๑ สําหรับการสวดมนต์พบว่ามีผู้ สวดมนต์ สม่ำ�สเมอทุกวันหรือทุกสัปดาห์ร้อยละ ๒๓.๔ และ สวดมนต์ในวันพระ/ช่วงเข้าพรรษา/วันสําคัญทาง พุทธศาสนา ร้อยละ ๒๒.๙

ศาสนาอิสลาม

11

มุสลิมมากกว่าร้อยละ ๙๖ ทําละหมาด และถือศีลอดโดยในจํานวนนี้เป็นผู้ที่ทําละหมาด ทุกวันครบ ๕ ครั้งร้อยละ ๕๕.๓ และทําทุกวันแต่ ไม่ครบ ๕ ครั้งร้อยละ ๒๘.๗ สําหรับการถือศีลอด พบว่า ถือศีลอดครบทั้งเดือน ร้อยละ ๕๗.๗ ส่วนผู้ ที่บริจาคซะกาตมีร้อยละ 37.5 และพบว่า มุสลิมที่ เคยไปทําพิธีฮัจย์ที่นครเมกกะ มีเพียงร้อยละ ๘.๓

ศาสนาคริสต์

คริสต์ศาสนิกชนมากกว่าร้อยละ 92 ที่ไป โบสถ์และสวดมนต์ซึ่งในจํานวนนี้พบว่าประมาณ 3 ใน 5 ไปโบสถ์ทุกสัปดาห์และสวดมนต์เป็นประจํา (ร้อยละ 59.6 และ 56.2 ตามลําดับ)


12

สถิติจำ�นวนพระภิกษุสามเณรจังหวัดเพชรบูรณ์ ทั้งธรรมยุต และมหานิกาย ๘๓๔

วัด

มหานิกาย

๗๔๓

วัด

ธรรมยุต

๙๕

วัด

จีนนิกาย

-

วัด

อนัมนิกาย

-

วัด

พระอารามหลวง

วัด

มหานิกาย

วัด

ธรรมยุต

วัด

๘๓๑

วัด

มหานิกาย

๗๔๑

วัด

ธรรมยุต

๙๐

วัด

จีนนิกาย

-

วัด

อนัมนิกาย

-

วัด

วัดมีพระสงฆ์ทงั้ จังหวัดเพชรบูรณ์

วัดราษฎร์

๕๑๐๖

รูป

มหานิกาย

๔๕๓๕

รูป

ธรรมยุต

๕๗๑

รูป

๗๖๓

รูป

มหานิกาย

๗๒๕

รูป

ธรรมยุต

๓๘

รูป

พระภิกษุ

สามเณร


13


14

วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ์ สันนิษฐานจากจารึกลานทองที่ขุดพบ จากกรุใต้เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งกรมศิลปากรขุดแต่งใน พ.ศ.๒๕๑๐ พบว่ามีจำ�นวน ๓ แผ่น แผ่นหนึ่งกล่าวถึงการสร้างวัดมหาธาตุว่าสร้างขึ้น โดยพระเจ้าเพชรบูรณ์ เจ้าเมืองเพชรบูรณ์ ใน พ.ศ.๑๙๒๖ โดยวัดนี้คง เป็นวัดสำ�คัญและคงได้รับการทำ�นุบำ�รุงจากเจ้าเมืองเรื่อยมา มีเรื่องเล่า กันว่าเมื่อคราวยกทัพไปรบกับพม่าที่พิษณุโลก เจ้าพระยาจักรี (สมเด็จ พระเทพรัตนกวี (สุรินทร์ ชุตินฺธโร) พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าพระยาสุรสีห์ (กรมพระราชวัง เจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ (ม) บวรมหาสุรสีหนาท) ได้นำ�ไพร่พลมาทางเมืองเพชรบูรณ์และได้กระทำ�พิธี บวงสรวงเพื่อชัยชนะที่วัดมหาธาตุ และทางราชการยังเคยใช้วัดแห่งนี้เป็น ที่ประหารนักโทษด้วย นอกจากนี้สมเด็จกรมพระยาดำ�รงราชานุภาพเคยมีรับสั่งให้พระยาเพชรรัตน์ (เฟื้อง) เจ้าเมืองเพชรบูรณ์เกณฑ์ผู้คนมาบูรณะวัดมหาธาตุแห่งนี้คราวที่ประทับอยู่ที่เมืองเพชรบูรณ์ใน พ.ศ.๒๔๔๗ ในพระราชพิธีราชาภิเษกพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ราว พ.ศ.๒๔๕๓ เจ้าเมืองเพชรบูรณ์ได้ นำ�น้ำ�จากสระมน (ปัจจุบันตื้นเขินหมดแล้ว) วัดมหาธาตุไปร่วมพิธีด้วย


15 ภายในวัดมีสิ่งสำ�คัญต่างๆ ได้แก่ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ก่อด้วยอิฐ ส่วนบนตั้งแต่องค์ระฆังหัก ชำ�รุดไปหมดแล้ว บูรณะเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๐ เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อัฐิพระอรหันต์ พระพุทธรูป บูชา พระเครื่อง พระพิมพ์ และมีเจดีย์อิทธิพลศิลปะอยุธยา ๒ องค์ ใบเสมาหินทรายจารึกด้วยอักษร ขอมโบราณ (ปัจจุบันอยู่ที่ศาลหลักเมือง) มีพระพุทธรูปสำ�ริด ปางมารวิชัย ๒ องค์ องค์แรกชาวบ้าน เรียกว่า “หลวงพ่องาม” ด้วยเหตุที่งามด้วยพุทธลักษณะ ศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้น แบบอู่ทองรุ่นที่ ๓ หน้าตักกว้าง ๓๖ นิ้ว ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในโบสถ์ ส่วนองค์ที่สองคือ “หลวงพ่อเพชรมีชัย” หน้าตักกว้าง ๓๖ นิ้ว หลวงพ่อเพชรมีชัยเดิมชาวบ้านเรียกกันว่าหลวงพ่อวัดมหาธาตุ สันนิษฐานว่า สร้างพร้อมกับวัดใน พ.ศ.๑๙๒๖ ต่อมาเปลี่ยนเป็นหลวงพ่อเพชรมีชัย เพราะถือเอาคำ�พูดของพระยา จักรีแม่ทัพที่ถืออาญาสิทธิ์มาขับไล่ทัพพม่าศึกอะแซวุ่นกื้ ซึ่งยกทัพมามาล้อมเมืองพิษณุโลกไว้ในสมัย พระเจ้ากรุงธนบุรี วัดมหาธาตุได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแต่เดิม โดยมีใบเสมาเก่าทำ�จากหินทราย ต่อมาได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมาใหม่ในวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๙๖ ผูกพัทธสีมาใหม่ใน พ.ศ.๒๔๙๗ วัดมหาธาตุได้รับการสถาปนาให้เป็นอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ


16

พระธรรมวราลังการ (ชลอ กิตฺติสาโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๔-๕-๖-๗ (ธ)

วัดเพชรวราราม เป็นวัดราษฏร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ เลขที่ ๒๘๒/๑ ถนนเพชรเจริญ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ด้านทิศเหนือ ติดถนนซอยไปสู่ถนนเพชรเจริญ ด้านทิศใต้ ติดกับถนนเทศบาลพัฒนา ด้านทิศตะวันออก ติดกับซอยไปสู่ถนนราษฏร์อุทิศและชุมชน ด้านทิศตะวันตก ติดกับชุมชน

ความดำ�ริในการสร้างวัดเพชรวรารามได้เริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ โดย คณะพุทธศาสนิกชน ชาวบ้านกกเบน บ้านไทรงาม ตำ�บลสะเดียง อำ�เภอ เมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ พร้อมด้วยประชาชนหมู่บ้านใกล้เคียง โดยในชั้น แรกได้ดำ�ริที่จะฟื้นฟูวัดพระแก้ว ซึ่งเป็น วัดร้างใกล้บ้านให้กลับเป็นวัด ที่มีพระสงฆ์อยู่อาศัยขึ้นใหม่ จึงได้พร้อมใจกันไปขอพระสงฆ์จากพระครู สีตลาภิรัต (เคลือบ ถามโก) วัดสามัคคีวัฒนา อำ�เภอหล่มสัก จังหวัด เพชรบูรณ์ เจ้าคณะจังหวัดตาก - เพชรบูรณ์ - อุตรดิตถ์ (ธรรมยุต) ใน ขณะนั้นให้มาอยู่จำ�พรรษาที่ วัดพระแก้ว ท่านเจ้าคณะจังหวัดจึงจัดพระ พระอุโบสถวัดเพชรวาราม สงฆ์ จำ�นวน ๕ รูป จากวัดสามัคคีวัฒนา ให้มา จำ�พรรษา ณ วัดพระแก้ว นั้นตามประสงค์ เพื่อสั่งสอนพุทธศาสนิกชน


17

บริเวณวัดเพชรวราราม ต่อมาเกิดปัญหาบางประการเกี่ยวกับที่ดินวัดพระแก้ว นายสวัสดิ์ เพชระบูรณิน ซึ่งเป็นคนหนึ่งในคณะผู้ดำ�ริสร้างวัด จึงได้นิมนต์พระสงฆ์จากวัดพระแก้วไปพำ�นักอยู่ ในที่ดินอันเป็นสวนของตน ซึ่งก็ได้แก่เนื้อที่ตั้งวัดเพชรวรารามในบัดนี้นั่นเองซึ่งห่างจากวัดพระแก้ว ไปราว ๓๐๐ เมตรเศษ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ นายสวัสดิ์ เพชระบูรณิน จึงได้ดำ�เนินการขอสร้างวัด และ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งเป็นวัดมีนามว่า “วัดเพชรวราราม” วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๑ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ตามประกาศในราชกิจ จานุเบกษาลงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ เมื่อแรกขออนุญาตตั้งวัด มีเนื้อที่ ๗ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ตารางวา โดยการบริจาคของผู้มีจิตศรัทธา คือ นายสวัสดิ์ และนางทับทิม เพชระบูรณิน จ.ส.ต.พิมล และนางสุธรรมา สุรเสน นายมณี และนางมาลี เกตุปัญญา

ภายหลัง ได้มีผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันบริจาคจัดชื่อที่ดินขยายที่ตั้งวัดเพชรวรามออกไปอีก

ปัจจุบันมีที่ดินของวัดรวมทั้งสิ้น ๒๓-๑-๔๖.๘ ไร่ ตามเอกสารโฉนดที่ดินของวัดเพชรวราราม เลขที่ ๒๐๑๒, ๑๐๑๗๙, ๗๑๓๖๕


18

สถานที่อันเป็นธรรมภูมิที่งดงาม ซึ่งเรียกว่าผาซ่อน แก้วนี้ มีธรรมชาติเป็นภูเขาที่สูงใหญ่ ซ้อนกันเป็นทิวเขาเรียง รายโอบรอบบริเวณศาลาปฏิบัติธรรม และบนยอดเขาสูง ตระหง่านนั้น มีถ้ำ�อยู่บนปลายยอดเขา ซึ่งมีชาวบ้านทางแดง หลายคน ได้เห็นลูกแก้วลอยเหนือฟากฟ้า และลับหายเข้าไป ในถ้ำ�บนยอดผา ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นพระบรมสารีริกธาตุ เสด็จมา และต่างถือว่าเป็นสถานที่มงคล มีความศักดิ์สิทธิ์ และเรียกตาม ๆ กันว่า “ผาซ่อนแก้ว” และพุทธสถานที่มาตั้งในจุดที่โอบล้อมด้วยทิวเขาดังกล่าว จึง เรียกว่า “พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว” เพื่อเป็นนิมิตมงคลแก่ชาวบ้านทางแดง และผู้มาปฏิบัติธรรม สืบไป วัดพระธาตุผาซ่อนแก้วก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ในนาม “พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว” ได้รับการอนุมัติ จัดตั้งเป็นวัด ในมงคลนามว่า “วัดพระธาตุผาแก้ว” เมื่อ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓ จากคณะกรรมการมหาเถร สมาคม โดยมีพระครูปลัด ปารมี สุรยุทโธ เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว” เมื่อ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เพื่อให้สอดคล้องกับบริเวณ ที่ตั้ง ซึ่งแต่เดิมชาวบ้านเรียกกันว่า “ผาซ่อนแก้ว”


19

วัดพระธาตุผาซ่อนแก้วตั้งอยู่ในชัยภูมิธรรม ณ บริเวณเนินเขาในหมู่บ้านทางแดง ต.แคม ป์สน อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ โดย คุณภาวิณี และ คุณอุไร โชติกูล ได้มีจิตศรัทธาซื้อที่ดินถวาย เริ่มแรกจำ�นวน ๒๕ ไร่ เพื่อก่อสร้างเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมแก่พระสงฆ์ และพุทธศาสนิกชน ทั่วไป ปัจจุบันมีผู้ร่วมถวายปัจจัยซื้อที่ดินเพิ่มรวมทั้งสิ้นมีที่ดินรวม ๙๑ ไร่ พระครูปลัดปารมี สุรยุทโธ และ พระครูใบฎีกาอำ�นาจ โอภาโส สองครูบาอาจารย์คู่บุญ คู่บารมี ร่วมกับคณะศิษยานุศิษย์และเหล่าผู้มีจิตศรัทธาจากทั่วประเทศได้ร่วมกันจัด สร้าง เสนาสนะ กุฏิที่พักสงฆ์ อาคารปฎิบัติและบรรยายธรรม รวมถึงอาคารที่พักผู้ปฏิบัติธรรมเพื่อ รองรับคณะผู้มีจิตศรัทธาจากทุกแห่งหนที่ หลั่งไหลกันเข้ามาอบรมภาวนาในแนวสติปัฎฐานสี่ แห่งองค์พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้ากันอย่างต่อเนื่อง เป็นที่ปิติยินดียิ่งของครูบาอาจารย์ กับเหล่าบรรดาศิษยานุศิษย์ที่ได้ร่วม แรงร่วมใจ สละทั้งแรงกาย แรงทรัพย์ พร้อมทั้งความ วิริยะอุตสาหะ และ ความตั้งใจมั่นเพื่อให้วัดพระธาตุผาซ่อนแก้วเป็นที่ปฏิบัติภาวนาสำ�หรับผู้มี จิตศรัทธาสืบต่อไป…


20

ด้านการปกครอง



22

รายนามวัด และที่พักสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ ประเภท ๑. พระอารามหลวง ๒. วัดราษฎร์:วัดที่ได้รับใบอนุญาตประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนาแล้ว ๓. ที่พักสงฆ์ที่ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดแล้ว และอยู่ระหว่างขออนุญาตตั้งวัด

จำนวน ๑ ๙๔ ๕ รวมทั้งสิ้น ๑๐๐

หมำยเหตุ

๑.พระอำรำมหลวง จำนวน ๑ วัด (ได้รับพระราชทานขึ้นเป็นพระอารามหลวง พ.ศ.๒๕๕๕) ที่ วัด ๑. เพชรวราราม

หมู่ที่

บ้ำน

ตำบล ในเมือง

อำเภอ เมือง

ประเภท

ประกำศตั้งวัด ๒๕๐๑

พระอารามหลวง

ได้รับวิสุงฯ ๒๕๐๒

๑.วัดรำษฎร์ (วัดถูกต้องตำมกฎหมำย) จำนวน ๙๔ วัด ที่ ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗.

วัด สนธิกรประชาราม สังกิจจาราม ไทรงาม วังชมพู จิรวัฒนาราม ถ้​้าเนินสมบูรณ์ จงจิตสามัคคีธรรม พ่อขุนผาเมือง ศรีป่าสัก เวฬุวนาราม เฉลียงลับ วารีวนาราม ป่าโนนเสาธง บุ่งกกเรียง ป่าบ้านโคก ติสสมหาวัน สันติคามคีรี คูหาบรรพต ป่าห้วยไร่ ป่ายางกุด จันทูปมาวาส เพชรไอย์ศวร เดชธนบดีพุทธบูชา

เทวธัมมี สวัสดิ์ประชาราม เทพธรรมรังษี

หมู่ที่ ๓ ๒ ๙ ๑๒ ๑๓ ๘ ๘ ๑ ๑๐ ๖ ๖ ๖ ๖ ๑ ๑ ๙ ๗ ๘ ๓ ๖ ๑๐ ๘ ๗ ๙ ๓ ๑๒

บ้ำน ไร่เหนือ สะเดียง ไทรงาม วังเจริญ ห้วยสะแก เนินสมบูรณ์ คลองส้าโรง ตลิ่งชัน ล้าป่าสักมูล เฉลียงลับ เฉลียงลับ ห้วยตูม โนนเสาธง บุ่งกกเรียง โคก ศรีทอง ห้วยทราย ซับชมภู ห้วยไร่ ยางกุด ท่าเมี่ยง นางั่ว

ตำบล สะเดียง สะเดียง สะเดียง วังชมภู ห้วยสะแก ห้วยสะแก ชอนไพร ชอนไพร

อำเภอ เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง ดงมูลเหล็ก เมือง นาป่า เมือง นาป่า เมือง ตะเบาะ เมือง ตะเบาะ เมือง ห้วยใหญ่ เมือง บ้านโคก เมือง น้​้าร้อน เมือง ระวิง เมือง ระวิง เมือง ระวิง เมือง ระวิง เมือง นายม เมือง นางั่ว เมือง บ้านห้วยทราย ระวิง เมือง ศรีทอง น้​้าร้อน เมือง เขาแม่แก่ ลาดแค ชนแดน ใหม่พัฒนา บ้านกล้วย ชนแดน

ประเภท วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์

ประกำศตั้งวัด ๑๗/๓/๒๕๓๕ ๔/๑๒/๒๕๔๖ ๓๐/๑๒/๒๕๔๘ ๘/๖/๒๕๒๒ ๒๑/๘/๒๕๑๘ ๓๑/๑๐/๒๕๕๖ ๒๕/๑๒/๒๕๔๗ ๒๔/๑๒/๒๕๕๕ ๒๐/๔/๒๕๕๐ ๑/๗/๒๕๑๔ ๖/๕/๒๕๓๗ ๑๔/๑๐/๒๕๒๐ ๑๕/๘/๒๕๕๑ ๑๔/๑๑/๒๕๓๘ ๑/๕/๒๕๕๐ ๑๐/๑/๒๕๕๕ ๒๔/๑๒/๒๕๕๕ ๒๔/๑๒/๒๕๕๕ ๓๐/๔/๒๕๕๖ ๔/๕/๒๕๕๗ ๒๔/๑๒/๒๕๕๕ ๖/๒/๒๕๕๗ ๒๓/๘/๒๕๕๗ ๙/๓/๒๕๕๘ ๑๓/๒/๒๕๕๒ ๒๔/๑๒/๒๕๕๕

ได้รับวิสุงฯ ๑๙/๕/๒๕๔๗ ๒/๓/๒๕๒๗ ๙/๕/๒๕๓๔

๑๗/๙/๒๕๑๙ ๓๑/๓/๒๕๔๙


23 ที่ ๒๘. ๒๙. ๓๐. ๓๑. ๓๒. ๓๓. ๓๔. ๓๕. ๓๖. ๓๗. ๓๘. ๓๙. ๔๐. ๔๑. ๔๒. ๔๓. ๔๔. ๔๕. ๔๖. ๔๗. ๔๘. ๔๙. ๕๐. ๕๑. ๕๒. ๕๓. ๕๔. ๕๕. ๕๖. ๕๗. ๕๘. ๕๙. ๖๐. ๖๑. ๖๒. ๖๓. ๖๔. ๖๕.

วัด ป่าศรีถาวร ป่าชนแดน กิตติสารวนาราม ป่าเขาช่องลม สันติวรญาณ ถ้​้าผาผึ้ง สวนอุดมสุข ป่าสันติธรรม วิมุตตาราม ทองพัฒนาราม ป่าเกษมสุข ซับชมภู นาเฉลียง ป่าบ้านหัวโตก ป่าสระแก้ว

ป่าสักภูริทัตตภักดี

เขาเจริญธรรม ศรีมงคล สิริจันทาวาส สังกิจจธรรมาวาส ป่ากิตติสารวัน พุเตยวนาราม วิสุทธิมัคคาราม สุวรรณคีรีวิหาร

ท่ายางสามัคคีธรรม

ป่าแสงทอง ป่าหนองบง ป่าด่านแก้ว ป่าบ่อรัง เขาวังเทพสถิตย์ ป่าวังเตียน ป่าพัฒนาราม ภูน้าหยดปัญจคีรี ตะเคียนโพรง ป่าธรรมบูชา

ป่าซับบาดาลสุวรรณโชติ

ป่าสระแก้ว ป่าเนินมะค่า

หมู่ที่ ๓ ๑๒ ๑๔ ๔ ๖ ๑๓ ๘ ๓ ๑๓ ๙ ๘ ๘ ๙ ๔ ๑๐ ๓ ๙ ๑ ๗ ๑๐ ๙ ๕ ๘ ๘ ๗ ๑๖ ๑๒ ๑๑ ๑ ๑๘ ๑๑ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑ ๑๖ ๕ ๙

บ้ำน ท่าข้าม เนินตาเสา โคกไทรงาม กุฏิพระ

ตำบล ท่าข้าม ชนแดน ชนแดน ท่าข้าม กุดพันสะเดา วังศาล วังไทรงาม วังหิน วังโป่ง วังโป่ง น้​้าอ้อม วังหิน โคกประดู่ หนองไผ่ คลองยาง หนองไผ่ เกษมสุข หนองไผ่ ซับชมภู บ้านโภชน์ นาเฉลียง นาเฉลียง หัวโตก นาเฉลียง เพชรละคร สระแก้ว วังเหว ยางงาม ล้าพื้นทอง หนองแจง ศรีมงคล ศรีมงคล ร้อยไร่ ซับไม้แดง เตาถ่าน กันจุ ซับส้าราญเหนือ พญาวัง พุเตย พุเตย สระประดู่ พุเตย

อำเภอ ชนแดน ชนแดน ชนแดน ชนแดน วังโป่ง วังโป่ง วังโป่ง วังโป่ง หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่ บึงสามพัน บึงสามพัน บึงสามพัน บึงสามพัน บึงสามพัน วิเชียรบุรี วิเชียรบุรี ใหม่ซับเจริญ ซับสมบูรณ์ วิเชียรบุรี ยางโด่ สระประดู่ วิเชียรบุรี แสงทอง บ่อรัง วิเชียรบุรี หนองบง บ่อรัง วิเชียรบุรี ด่านแก้ว บ่อรัง วิเชียรบุรี บ่อรัง บ่อรัง วิเชียรบุรี วังตะพาบ โคกปรง วิเชียรบุรี วังเตียน โคกปรง วิเชียรบุรี ใหม่พัฒนา ภูน้าหยด วิเชียรบุรี ยางจ่า ภูน้าหยด วิเชียรบุรี ตะเคียนโพรง ยางสาว วิเชียรบุรี สามแยก สระประดู่ วิเชียรบุรี ซับบาดาล ยางสาว วิเชียรบุรี ศรีเทพน้อย นาสนุ่น ศรีเทพ ปูนสวรรค์ นาสนุ่น ศรีเทพ

ประเภท วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์

ประกำศตั้งวัด ๓๐/๘/๒๕๕๖ ๙/๓/๒๕๕๘ ๑๙/๒/๒๕๕๙ ๒๑/๑๐/๒๕๕๙ ๒๐/๔/๒๕๕๐ ๑๖/๑/๒๕๕๕ ๓๑/๑๐/๒๕๕๖ ๒๗/๑๐/๒๕๕๙ ๑๕/๑๒/๒๕๑๓ ๒๔/๑๒/๒๕๕๕ ๑๑/๖/๒๕๕๖ ๒๒/๖/๒๕๓๕ ๑๖/๒/๒๕๓๐ ๒๕/๒/๒๕๕๒ ๒๗/๑๐/๒๕๕๓ ๒๗/๑๐/๒๕๕๙ ๒๑/๕/๒๕๓๔ ๑๘/๕/๒๕๓๘ ๒๔/๔/๒๕๕๖ ๒๔/๔/๒๕๕๖ ๒๔/๕/๒๕๕๙ ๒๓/๘/๒๕๑๔ ๒๕/๒/๒๕๓๖ ๓๐/๑๒/๒๕๔๘ ๒๖/๑๐/๒๕๕๒ ๒/๕/๒๕๔๕ ๓๐/๑๒/๒๕๔๘ ๓๑/๕/๒๕๕๓ ๒๗/๒/๒๕๕๕ ๑๘/๔/๒๕๔๖ ๒๔/๗/๒๕๕๒ ๒๗/๒/๒๕๕๕ ๓๐/๔/๒๕๕๖ ๓๑/๑๐/๒๕๕๖ ๒๔/๕/๒๕๕๙ ๒๔/๕/๒๕๕๙ ๑๑/๑/๒๕๓๖ ๓๐/๘/๒๕๕๖

ได้รับวิสุงฯ

๒/๗/๒๕๕๑

๒๕๑๔ ๓๑/๑๐/๒๕๔๘

๑๕/๕/๒๕๓๙ ๒๓/๖/๒๕๕๓

๕/๔/๒๕๑๗

๒๐/๙/๒๕๕๐

๘/๔/๒๕๔๖


24 ที่ ๖๖. ๖๗. ๖๘. ๖๙. ๗๐. ๗๑. ๗๒. ๗๓. ๗๔. ๗๕. ๗๖. ๗๗. ๗๘. ๗๙. ๘๐. ๘๑. ๘๒. ๘๓. ๘๔. ๘๕. ๘๖. ๘๗. ๘๘. ๘๙. ๙๐. ๙๑. ๙๒. ๙๓. ๙๔. ๙๕.

วัด ถ้​้าปูนสวรรค์ ถ้​้าซับแจง ป่าศรัทธาธรรม ป่าหนองบัว สามัคคีวัฒนา โพธิ์ศรีสองคร สันติวัฒนา ป่าห้วยชัน นาแซงน้อย เกาะสวรรค์ ชัยมงคล

เนินแก้วสว่างศรีทอง

ป่าพุทธธรรม วิชมัยปุญญาราม ป่าไชยชุมพล อจลธัมโม นิรมลวัฒนา ลัฏฐิวัน ศิลามงคล สีบานเย็น ดอนไชย ป่าศิลาวดี ศิลาจารย์ อรัญวารี ห้วยมัจฉาวาส ห้วยโป่งน้​้า พระธาตุภูผาชัย ป่าหินกอง ป่าสถิตย์ธรรม ครองยุต

หมู่ที่ ๙ ๘ ๕ ๑๔ ๗ ๓ ๒ ๗ ๘ ๘ ๑ ๓ ๑๑ ๑ ๓ ๑ ๕ ๒ ๓ ๕ ๑๐ ๓ ๖ ๑๓ ๓ ๙ ๕ ๑ ๖ ๕

บ้ำน ปูนสวรรค์ เนินถาวร ซับน้อย หนองบัว

หล่มสัก หล่มสัก สักหลง ห้วยชัน นาแซงน้อย คลองสีฟัน น้​้าดุก น้​้าเฮี้ยใหญ่ โป่งช้าง เขาค้อ เสลียงแห้ง

เสลียงแห้ง ๓

หล่มเก่า นาเกาะ ศิลามงคล ปลาฝา

ตำบล นาสนุ่น นาสนุ่น

หนองย่างทอง

นาสนุ่น หล่มสัก หล่มสัก สักหลง สักหลง ท่าอิบุญ ลานบ่า ปากช่อง น้​้าเฮี้ย ห้วยไร่ เขาค้อ สะเดาะพง หนองแม่นา

หล่มเก่า นาเกาะ หินฮาว หินฮาว หนองหญ้าไทร หินฮาว ศิลามงคล หินฮาว ศิลา ศิลา ห้วยหอย วังบาล ห้วยก้างปลา ตาดกลอย ห้วยโป่งน้​้า ตาดกลอย แก่งเสี้ยว นาซ้า หนองใหญ่ นาซ้า นาซ้า นาซ้า ห้วยลาด หลักด่าน

อำเภอ ศรีเทพ ศรีเทพ ศรีเทพ ศรีเทพ หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก เขาค้อ เขาค้อ เขาค้อ หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า น้​้าหนาว

ประเภท วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์ วัดราษฎร์

ประกำศตั้งวัด ๓๑/๑๐/๒๕๕๖ ๒๒/๘/๒๕๕๗ ๒๔/๕/๒๕๕๙ ๒๗/๑๐/๒๕๕๙ ๒๔๗๘ ๒๓๕๐ ๑๔/๑๒/๒๕๑๙ ๒๐/๙/๒๕๔๓ ๓๐/๑๒/๒๕๓๑ ๒๔๘๒ ๒๓/๙/๒๕๔๕ ๒๔๘๒ ๒๙/๕/๒๕๕๘ ๒๔/๑๑/๒๕๔๗ ๑๔/๑๒/๒๕๓๘ ๙/๓/๒๕๕๘ ๑๐/๔/๒๕๑๕ ๒๓๒๐ ๒๒๘๐ ๒๔๗๔ ๒๔๗๘ ๓๐/๔/๒๕๕๖ ๒๔๐๐ ๒๔๘๒ ๒๓/๓/๒๕๕๕ ๓๑/๑๐/๒๕๕๖ ๑๘/๑๒/๒๕๕๕ ๑๐/๖/๒๕๕๖ ๒๓/๑๒/๒๕๕๖ ๒๔๘๓

ได้รับวิสุงฯ

๒๔๘๕ ๒๕๑๗ ๓๐/๘/๒๕๒๐ ๑๒/๑๑/๒๕๕๓ ๒๑/๑๑/๒๕๓๒

๙/๑/๒๕๔๗ ๑๑/๒/๒๕๕๒ ๒๓๓๐ ๒๒๙๐ ๒/๙/๒๕๕๓ ๑๗/๑/๒๕๔๑ ๒/๙/๒๕๕๓

๓.ที่พักสงฆ์ที่ได้รับอนุญำตให้สร้ำงวัดแล้ว และอยู่ระหว่ำงขออนุญำตตั้งวัด จำนวน ๕ วัด ที่ ๙๖. ๙๗. ๙๘. ๙๙. ๑๐๐.

วัด ป่าส้าราญธรรม ป่าธรรมนาถ

แสงธรรมกาญจนวราราม

ป่าวังสัจจธรรม สิวาพิชญ์

หมู่ที่ ๑๑ ๘ ๓ ๓ ๔

บ้ำน ซ้าบอน ซับชมภู

ตำบล น้​้าร้อน ระวิง สะพานกลางดง หนองไผ่ สระหมื่นเชียง วังโปสถ์ วังโบสถ์ วังโบสถ์

อำเภอ เมือง เมือง หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่

ประเภท

ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด

ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ พฤษภำคม ๒๕๖๐ สำนักงำนเจ้ำคณะจังหวัดเพชรบูรณ์(ธรรมยุต)

ขอตั้งวัด หมำยเหตุ พ.ค.๖๐ พ.ค.๖๐ เม.ย.๖๐ ส่งแล้ว พ.ค.๖๐ พ.ค.๖๐


25 บัญชีรำยนำมที่พักสงฆ์ธรรมยุตในเขตปกครองจังหวัดเพชรบูรณ์ พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จำนวนทั้งสิ้น ๖๓ แห่ง

ที่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙. ๓๐. ๓๑. ๓๒. ๓๓. ๓๔. ๓๕.

วัด บรมกิตติธรรมิการาม ป่าน้​้าพุ อรัญญวาส ศรัทธาวราราม ซับยางวนาราม เนินน้​้าทิพย์ประทานพร เขาช่องลม ป่าโคกตาด ป่าวังสาร ถ้​้าเทพบันดาล ล้าจังหัน ป่าเขาเล็งเทพนิมิต ป่าหนองขนมจีน เวฬุวัน ป่าหอค้า ภูผาธรรม วังโบสถ์ เขาซับสระพุง ป่าเฉลียงทอง ป่าสามัคคีธรรม เจริญธรรมบรรพต วิเวกธรรม ป่าปุญญานุสรณ์ ป่าภูทับเบิก พุทธปฐม ป่าภูผาแก้ว ป่าบ้านหินโง่น ดอยสวรรค์ ภูหินน้​้าแก้ว ใหม่ธรรมวราราม ป่าห้วยบัวใหญ่ ป่าบ้านกลาง ป่าตาดข่า ป่าน้​้าจั่น เทพคีรีมงคล

หมู่ที่ ๙ ๙ ๗ ๑๒ ๓ ๘ ๙ ๑๐ ๑๓ ๑ ๑ ๑๘ ๕ ๙ ๑๓ ๖ ๘ ๑๐ ๔ ๗ ๑๑ ๖ ๑๒ ๑๔ ๑ ๑ ๕ ๕ ๗ ๑๐ ๑๑ ๑๔ ๕ ๘ ๘

บ้ำน ปากน้​้า พุน้าร้อน ท่าเสา วังหว้า-วังรู ซับยาง นางั่ว พล้า ป่าเลา ยาวี ล้าจังหัน ล้าจันหัน เขามอง ทุ่งใหญ่ คลองบง น้​้าก้อ หนองหอย วังโบสถ์ โคกสระแก้ว เฉลียงทอง ซับบอน โนนผักเน่า หนองไผ่ ขี้นาค ทับเบิก บ้านเนิน โป่งสามขา หินโง่น หินโง่น ส่งเปลือย ห้วยผักกูด ซ้าบุ่น กลาง ตาดข่า น้​้าจั่น น้​้าจั่น

ตำบล สะเดียง ยางสาว เพชรละคร หินฮาว นาป่า นางั่ว ป่าเลา ป่าเลา วังชมภู สามแยก สามแยก ท่าโรง ท่าโรง ลานบ่า น้​้าก้อ บ้านติ้ว วังโบสถ์ ท่าแดง ท่าด้วง กันจุ หินฮาว วังบาล วังบาล วังบาล บ้านเนิน ศิลา ศิลา ศิลา ศิลา ศิลา ศิลา ศิลา ตาดกลอย ตาดกลอย ตาดกลอย

อำเภอ เมือง วิเชียรบุรี หนองไผ่ หล่มเก่า เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง วิเชียรบุรี วิเชียรบุรี วิเชียรบุรี วิเชียรบุรี หล่มสัก หล่มสัก หล่มสัก หนองไผ่ หนองไผ่ หนองไผ่ บึงสามพัน หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า

ประเภท โฉนด โฉนด โฉนด โฉนด ป่าสงวน สาธารณะฯ ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน สาธารณะฯ ป่าสงวน ป่าสงวน สาธารณะฯ ป่าสงวน โฉนด สาธารณะฯ ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน

หมำยเหตุ


26 ที่ ๓๖. ๓๗. ๓๘. ๓๙. ๔๐. ๔๑. ๔๒. ๔๓. ๔๔. ๔๕. ๔๖. ๔๗. ๔๘. ๔๙. ๕๐. ๕๑. ๕๒. ๕๓. ๕๔. ๕๕. ๕๖. ๕๗. ๕๘. ๕๙. ๖๐. ๖๑. ๖๒. ๖๓.

วัด

ถ้​้าพระ ป่าช้าหินกลิ้ง วังน้​้ามนต์ ป่าภูฟ้า ป่าซุ่มก่อ ป่าทรัพย์สว่างวนาราม ป่าสายธรรมสว่างจิต ป่าน้​้าหนาว ป่าสันตินิโรธธรรม ป่าวิริยานุสรณ์ ป่ารตนวนาราม ป่าไร่ใต้ ป่าดงคล้อ ป่าผาน้​้าเที่ยง ป่าบ้านฟองใต้ ป่าฟองงอย ป่าโค้งเหล็ก ป่าผาลาน้อย ป่าห้วยยางทอง ป่าโป่งนกแก้ว ป่าสิมารักษ์ ป่ากาญจนาภิเษก เขาตะเคียนโงะ ทศพิธธรรมาราม ป่าเขาแก้วโพธิญาณ ป่าเนินสวรรค์ ป่าคลองน้​้าคันเหนือ เขาไผ่เนินดินแดง

หมู่ที่ ๒ ๑๐ ๖ ๔ ๓ ๓ ๓ ๔ ๖ ๖ ๓ ๓ ๖ ๖ ๗ ๗ ๘ ๘ ๙ ๑๐ ๓ ๕ ๑ ๖ ๕ ๑๒ ๙ ๘

บ้ำน แก่งโตน หินกลิ้ง ห้วยกะโปะ โนนชาติ ทรัพย์สว่าง ทรัพย์สว่าง ทรัพย์สว่าง นาพอสอง ห้วยแปก ห้วยสนามทราย ไร่ใต้ ไร่ใต้ ดงคล้อ ดงคล้อ ฟองใต้ ฟองใต้ ผาลาน้อย ผาลาน้อย ห้วยยางทอง โป่งนกแก้ว สิมารักษ์ ริมสีม่วง เสลียงแห้ง ๓ ดงหลง โนนตูม เนินสวรรค์ คลองน้​้าคันเหนือ เนินดินแดง

ตำบล นาซ้า นาซ้า หลักด่าน หลักด่าน น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว โคกมน วังกวาง วังกวาง วังกวาง วังกวาง วังกวาง วังกวาง วังกวาง วังกวาง วังกวาง วังกวาง เขาค้อ ริมสีม่วง หนองแม่นา แคมป์สน โนนตูม วังหิน ซับเปิบ ซับเปิบ

อำเภอ หล่มเก่า หล่มเก่า น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว น้​้าหนาว เขาค้อ เขาค้อ เขาค้อ เขาค้อ วังโป่ง วังโป่ง วังโป่ง วังโป่ง

ประเภท ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน ป่าสงวน สปก. ป่าชุมชน ป่าสงวน ป่าสงวน

ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ พฤษภำคม ๒๕๖๐ สำนักงำนเจ้ำคณะจังหวัดเพชรบูรณ์(ธรรมยุต)

หมำยเหตุ


27 วัดรำษฎร์ (วัดถูกต้องตำมกฎหมำย) ในเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดเพชรบูรณ์(ธรรมยุต) ตำมโครงกำรเร่งรัด ขออนุญำตสร้ำงวัด ตั้งวัด พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๖๐ พ.ศ. ก่อน ๒๕๔๔

จำนวนวัดที่ได้รับใบอนุญำตตั้งวัด (วัดรำษฎร์:วัดถูกต้องตำมกฎหมำย) ๓๑

๒๕๔๕ ๒๕๔๖ ๒๕๔๗ ๒๕๔๘ ๒๕๔๙ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙

๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๑ ๔ ๒ ๑ (ได้คืนวัดลัฎฐิวัน) ๑๒ ๑๕ ๔ ๔ ๙

๒๕๖๐

๕*

รวม

๑๐๐

หมำยเหตุ วัดที่ได้รับอนุญำตตัง้ วัดมำแต่เดิม

๕ ปี ๙ วัด

๕ ปี ๑๑ วัด

๕ ปี ๔๔ วัด วัดตำมเป้ำหมำยที่จะดำเนินกำร* /สิ้นสุดโครงกำร

รวมวัดที่ได้รับประกำศตั้งวัดใหม่ จำนวน ๖๙ วัด

ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ พฤษภำคม ๒๕๖๐ สำนักงำนเจ้ำคณะจังหวัดเพชรบูรณ์(ธรรมยุต)


28 สถิติวัดได้รับประกำศตัง้ วัดก่อน พ.ศ.๒๕๔๕ และวัดได้รับประกำศตัง้ วัด พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๖๐ ในเขตปกครองจังหวัดเพชรบูรณ์ แยกเป็นรำยอำเภอ ดังนี้

อำเภอ เมือง ชนแดน วังโป่ง หนองไผ่ บึงสามพัน วิเชียรบุรี ศรีเทพ หล่มสัก เขาค้อ หล่มเก่า น้​้าหนาว

รวม

ได้รับประกำศตั้งวัด ก่อน พ.ศ.๒๕๔๕ ๘ ๓ ๒ ๒ ๑ ๗ ๑ ๖ ๑

๓๑

ได้รับประกำศตั้งวัด พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๕๙ ๑๗ ๖ ๔ ๕ ๓ ๑๓ ๕ ๒ ๒ ๗ -

๖๔

รวม

หมำยเหตุ

๒๕ ๖ ๔ ๘ ๕ ๑๕ ๖ ๙ ๓ ๑๓ ๑

พ.ศ.๒๕๖๐=๒ วัด

๙๕

พ.ศ.๒๕๖๐=๓ วัด

*รวมวัดลัฎฐิวันด้วย

พ.ศ.๒๕๖๐=๑๐๐ วัด

ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ พฤษภำคม ๒๕๖๐ สำนักงำนเจ้ำคณะจังหวัดเพชรบูรณ์(ธรรมยุต)



30

ด้านการศึกษา และการศึกษาสงเคราะห์



32 สถิติจำ�นวนนักเรียนที่ขอเข้าสอบ และผลสัมฤทธิ์การศึกษาแผนกบาลีสนามหลวง ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๔๕ - ๒๕๕๙


33 สถิติจำ�นวนนักเรียนที่ขอเข้าสอบ และผลสัมฤทธิ์การศึกษาแผนกบาลีสนามหลวง (ผู้ที่สอบผ่าน ๑ วิชา หรือซ่อม ๑ วิชา) ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๔๕ - ๒๕๕๙


34

สถิติผลการสอบธรรมสนามหลวง สถิติผลการสอบธรรมสนามหลวง ระหว่ างปี งพ.ศ.๒๕๔๕ ๒๕๕๙ต) สานักเรียนคณะจั หวัดเพชรบูรณ์- (ธรรมยุ จานวนนักเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษานักธรรม และธรรมศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๔๕ - ๒๕๕๙ ปี พ.ศ. นักธรรม ธรรมศึกษา รวม รวม ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ส่งสอบ ๑๔ ๑๓ ๑๕ ๔๒ ๔๕๓ ๘๕ ๑๓๐ ๖๖๘ ๒๕๔๕ สอบได้ ๔ ๔ ๗ ๑๕ ๑๙๐ ๗๐ ๙๐ ๓๕๐ ส่งสอบ ๙๒ ๔๓ ๑๓ ๑๔๘ ๑,๙๓๕ ๓๕๒ ๖๒๑ ๒,๙๐๘ ๒๕๔๖ สอบได้ ๒๒ ๖ ๑๐ ๓๘ ๗๓๑ ๙๘ ๓๔ ๘๖๓ ส่งสอบ ๖๕ ๒๐ ๖ ๙๑ ๒,๔๒๑ ๖๐๘ ๙๖ ๓,๑๒๕ ๒๕๔๗ สอบได้ ๓๑ ๗ ๕ ๔๓ ๑,๕๐๒ ๓๘๑ ๔๔ ๑,๙๒๗ ส่งสอบ ๓๘ ๔๐ ๘ ๘๖ ๒,๘๙๕ ๑,๕๒๓ ๓๓๓ ๔,๗๕๑ ๒๕๔๘ สอบได้ ๒๐ ๖ ๔ ๓๐ ๑,๒๔๑ ๔๔๗ ๙๘ ๑,๗๘๖ ส่งสอบ ๕๔ ๔๑ ๑๐ ๑๐๕ ๖,๗๔๖ ๒,๓๘๔ ๙๓๐ ๑๐,๐๖๐ ๒๕๔๙ สอบได้ ๓๒ ๔ ๒ ๓๘ ๓,๗๓๑ ๖๐๔ ๒๖๕ ๔,๖๐๐ ส่งสอบ ๗๒ ๓๑ ๖ ๑๐๙ ๖,๕๖๕ ๓,๘๖๓ ๕๗๖ ๑๑,๐๐๔ ๒๕๕๐ สอบได้ ๓๐ ๑๔ ๒ ๔๖ ๓,๕๓๗ ๑,๒๗๖ ๒๘๗ ๕,๑๐๐ ส่งสอบ ๗๓ ๒๖ ๘ ๑๐๗ ๗,๓๔๐ ๔,๖๗๖ ๑,๑๙๒ ๑๓,๒๐๘ ๒๕๕๑ สอบได้ ๕๒ ๓ ๘ ๖๓ ๔,๒๐๘ ๑,๔๑๓ ๗๐๔ ๖,๓๒๕ ส่งสอบ ๘๘ ๔๒ ๓ ๑๓๓ ๖,๔๔๘ ๖,๗๐๔ ๑,๔๔๙ ๑๔,๖๐๑ ๒๕๕๒ สอบได้ ๓๕ ๑๒ ๐ ๔๒ ๓,๐๖๕ ๑,๓๗๓ ๗๒๙ ๕,๑๖๗ ส่งสอบ ๗๔ ๒๗ ๑๕ ๑๑๖ ๑๐,๕๔๒ ๗,๒๙๕ ๑,๙๙๑ ๑๙,๘๒๘ ๒๕๕๓ สอบได้ ๕๒ ๑๕ ๕ ๗๒ ๖,๘๓๐ ๑,๕๓๒ ๙๑๙ ๙,๒๘๑ ส่งสอบ ๙๓ ๓๘ ๑๕ ๑๔๖ ๙,๗๘๘ ๑๑,๕๑๔ ๒,๕๐๐ ๒๓,๘๐๒ ๒๕๕๔ สอบได้ ๕๒ ๑๐ ๓ ๖๕ ๔,๙๗๐ ๒,๓๑๔ ๘๘๐ ๘,๑๖๔ ส่งสอบ ๑๑๔ ๒๗ ๒๔ ๑๖๕ ๘,๗๔๙ ๑๑,๘๔๗ ๓,๕๘๗ ๒๔,๑๘๓ ๒๕๕๕ สอบได้ ๖๔ ๑๓ ๑๔ ๙๑ ๓,๘๐๔ ๑,๕๖๘ ๑,๒๐๑ ๖,๕๗๓ ส่งสอบ ๙๘ ๔๔ ๑๔ ๑๕๖ ๓,๐๑๕ ๔,๖๗๑ ๑,๒๗๕ ๘,๙๖๑ ๒๕๕๖ สอบได้ ๓๐ ๑๓ ๕ ๔๘ ๑,๘๙๙ ๑,๐๔๕ ๕๓๗ ๓,๔๘๑ ส่งสอบ ๘๕ ๔๑ ๒๓ ๑๔๙ ๒,๔๒๔ ๔,๒๒๐ ๑,๓๔๖ ๗,๙๙๐ ๒๕๕๗ สอบได้ ๓๗ ๑๗ ๑๕ ๖๙ ๑,๖๒๒ ๑,๐๒๓ ๗๑๗ ๓,๓๖๒ ส่งสอบ ๑๐๕ ๔๔ ๑๖ ๑๖๕ ๒,๓๒๘ ๓,๖๓๓ ๑,๓๐๔ ๗,๒๖๕ ๒๕๕๘ สอบได้ ๔๖ ๑๖ ๔ ๖๖ ๑,๕๐๓ ๙๕๓ ๕๔๓ ๒,๙๙๙ ส่งสอบ ๘๐ ๓๖ ๑๘ ๑๓๔ ๔,๐๙๘ ๔,๔๖๙ ๑,๗๔๙ ๑๐,๓๑๖ ๒๕๕๙ สอบได้ ๔๓ ๑๗ ๑๓ ๗๓ ๒,๒๒๔ ๗๗๔ ๖๕๕ ๓,๖๕๓ ส่งสอบ ๑,๐๖๐ ๔๗๒ ๑๗๑ ๑,๗๐๓ ๗๓,๓๒๓ ๖๓,๖๒๔ ๑๗,๗๓๓ ๑๕๔,๖๘๐ รวม สอบได้ ๕๑๓ ๑๔๐ ๕๑๓ ๕๑๓ ๓๙,๔๓๕ ๑๓,๘๔๘ ๖,๙๘๖ ๖๐,๒๖๙



36

ด้านการศึกษา และการศึกษาสงเคราะห์



38

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๑

รางวัลสำ�นักเรียนที่ได้จัดการเรียนกรสอนธรรม ศึกษา มีนักเรียนสอบได้มาก เป็นลำ�ดับที่ ๑ ในคณะธรรมยุต ปีการศึกษา ๒๕๕๒

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒

รางวัลสำ�นักเรียนที่ได้จัดการเรียนกรสอนธรรม ศึกษา มีนักเรียนสอบได้มาก เป็นลำ�ดับที่ ๑ ในคณะธรรมยุต ปีการศึกษา ๒๕๕๒


39

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓

รางวัลสำ�นักเรียนที่ได้จัดการเรียนกรสอนธรรม ศึกษา มีนักเรียนสอบได้มาก เป็นลำ�ดับที่ ๑ ในคณะธรรมยุต ปีการศึกษา ๒๕๕๓

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔

รางวัลสำ�นักเรียนที่ได้จัดการเรียนกรสอนธรรม ศึกษา มีนักเรียนสอบได้มาก เป็นลำ�ดับที่ ๑ ในคณะธรรมยุต ปีการศึกษา ๒๕๕๔


40

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕

รางวัลสำ�นักเรียนที่ได้จัดการเรียนกรสอนธรรม ศึกษา มีนักเรียนสอบได้มาก เป็นลำ�ดับที่ ๑ ในคณะธรรมยุต ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖

รางวัลสำ�นักเรียนที่ได้จัดการเรียนกรสอนธรรม ศึกษา มีนักเรียนสอบได้มาก เป็นลำ�ดับที่ ๕ ในคณะธรรมยุต ปีการศึกษา ๒๕๕๖


41

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗

รางวัลสำ�นักเรียนที่ได้จัดการเรียนกรสอนธรรม ศึกษา มีนักเรียนสอบได้มาก เป็นลำ�ดับที่ ๕ ในคณะธรรมยุต ปีการศึกษา ๒๕๕๖


42


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.