TCU-EPMS Manual

Page 1

ห น้ า | ก


ห น้ า | ก

คานา เอกสารฉบับนี้นาเสนอวิธีการใช้งานระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TCU-Electronic Portfolio Management System Plugin : TCU-EPMS Plugin) โดยผสานการทางานร่วมกับระบบจัดการเรียนรู้ Moodle ทั้งนี้กรอบมาตรฐานการเรียนรู้ ดังกล่าว กาหนดให้นิสิตนักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาจากประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอย่าง น้อย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) 2) ด้านความรู้ (Knowledge) 3) ด้าน ทักษะทางปั ญญา (Cognitive Skills) 4) ด้านทักษะความสัมพัน ธ์ ระหว่างบุค คลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) โดยระบบ TCU-EPMS Plugin ประกอบด้วยระบบย่อย 3 ส่วน ได้แก่ 1) TCU-EPMS 2) Rubrics Creator และ 3) TQF Guideline ซึ่งอานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถประเมินผู้เรียนตามสภาพจริงจาก การจัดกิ จกรรมบนออนไลน์และอานวยความสะดวกให้ผู้เรี ยนสามารถเก็ บสะสมผลงานในรูปแบบดิจิทั ล ตลอดจนร่องรอยหลักฐานจากการทากิจกรรมบนระบบจัดการเรียนรู้ Moodle คณะผู้วิจัย ขอขอบคุณ สานักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษาที่ สนับสนุนทุ นในการพั ฒนาระบบ TCU-EPMS Plugin และหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าจะเกิดประโยชน์แก่อาจารย์ผู้สอนและนิสิตนักศึกษาในการ ประเมินตามสภาพจริงจากกิจกรรมบนออนไลน์ต่อไป คณะผู้วิจัย


ห น้ า | ข

สารบัญ คานา ................................................................................................................................................................. ก สารบัญ .............................................................................................................................................................. ข ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์........................................................................................................ 1 การเข้าใช้งานระบบจัดการ E-Portfolio ........................................................................................................... 2 เมนู Pages ........................................................................................................................................................ 3 เมนู Collections.............................................................................................................................................. 6 เมนู Share ........................................................................................................................................................ 7 เมนู Export ...................................................................................................................................................... 8 เริ่มต้นการสร้าง E-portfolio .......................................................................................................................... 10 การสร้างส่วนนา .............................................................................................................................................. 11 การสร้างส่วนเนื้อหา........................................................................................................................................ 20 การแก้ไขเนื้อหาและจัดการข้อมูล ................................................................................................................... 22 เครื่องมือการออกแบบเนื้อหา ......................................................................................................................... 25 การสร้างส่วนการประเมิน ............................................................................................................................... 29 การประเมินด้วยเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค ............................................................................................. 35 การแบ่งปันหน้าเพจ ........................................................................................................................................ 39


ห น้ า | 1

ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Portfolio Management System: EPMS) 1. เมื่อทาการ log in เข้าสู่ระบบการจัดการเรียนรู้ Moodle โดยสังเกตที่เมนู Network server ให้คลิกเลือก ที่ TCU EPMS เพื่อเข้าสู่ระบบจัดการ E-Portfolio

2. เมื่อเข้ามาสู่ระบบจัดการ E-Portfolio จะประกอบด้วย 4 เมนูหลัก ดังนี้

1

2

3

4


ห น้ า | 2

11

เมนู Dashboard เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลภาพรวมทั้งหมดของระบบ จัดการ E-Portfolio

2 1

เมนู Content เป็นส่วนของการเพิ่มข้อมูลต่างๆ เช่น ประวัติส่วนตัว รูปประจาตัว การอัพโหลดไฟล์ส่วนตัว การเขียนบันทึก เป็นต้น

3 1 41

เมนู Portfolio เป็นส่วนของการสร้างแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ เมนู Groups เป็นส่วนของการแสดงข้อมูลการเข้าร่วมกลุ่ม

การเข้าใช้งานระบบจัดการ E-Portfolio เริ่มต้นเข้าสู่ระบบจัดการ E-Portfolio โดยเลื่อนเมาส์ไปวางบนปุ่มเมนู Portfolio จะปรากฏเมนูย่อย ต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

เมนูย่อย Pages Collections Share Export

รายละเอียด เป็นส่วนแสดงรายการของหน้าเพจที่ผู้ใช้จัดทาขึ้น สามารถ ค้นหา แก้ไข หรือคัดลอกหน้าเพจต่างๆ ได้ เป็นส่วนของการแสดงรายการสะสมเพื่อการบันทึกหน้าเพจที่มี การเชื่อมโยงสิทธิ์การใช้งานหรือทางานร่วมกับบุคคลอื่น เป็นส่วนของการแสดงหน้าเพจที่ผู้ใช้งานได้มีการแบ่งปันให้กับ บุคคลอื่น หรือได้รับการแบ่งปันหน้าเพจมาจากบุคคลอื่นๆ เป็นส่วนของการส่งออกข้อมูลผลงานและหน้าเพจของผู้ใช้งาน เพื่อนาไปเผยแพร่ต่อไปได้

ในส่ว นหัว ข้อต่ อไป จะเป็น การแนะนาเมนูย่ อยต่ างๆ พร้ อมรายละเอี ยดเพื่อให้ผู้ใ ช้ง านได้ ศึกษา วิธีการใช้งานและมีความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างการทางานของระบบจัดการ E-Portfolio


ห น้ า | 3

เมนู Pages 1. เข้าสู่หน้าเมนู Pages โดยคลิกที่เมนูย่อย ดังรูปภาพ

2. เมื่อเข้าสู่หน้าเมนู Pages จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

5 1

1

1

2 1 3 41

1

6

1

หน้าเมนู Pages เป็นส่วนของการแสดงรายการของ E-Portfolio ที่ผู้ใช้งานได้จัดทาขึ้น ซึ่งในระบบ ดังกล่าวจะเรียกว่า “Pages” สามารถที่จะทาการค้นหาหน้าเพจที่มีการแบ่งปันไว้ผ่านบนระบบ สามารถสร้าง หน้าเพจ หรือทาการแก้ไขหน้าเพจต่างๆ รวมไปถึง การคัดลอกหน้าเพจต่างๆ มาเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนามา แก้ไขด้วยตนเองได้ โดยในหน้าเมนู Pages ดังกล่าวก็จะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ดังนี้ 11

ช่อง Search เป็นช่องสาหรับค้นหารายการของเพจ โดยสามารถเลือกกาหนดการค้นหาได้ 2 รูปแบบ  แบบที่ 1 Title, description, tags การค้นหาจากหัวเรื่อง คาอธิบาย หรือแท็ก  แบบที่ 2 Tags only การค้นหาเฉพาะแท็ก ซึ่งในเพจนั้นจะต้องมีการกาหนดแท็กไว้แล้ว


ห น้ า | 4 21 Dashboard page เมื่อคลิกจะย้อนกลับไปที่หน้าเมนู Dashboard หลัก เพื่อแสดงข้อมูลภาพรวม ของระบบ ดังรูปภาพ

31 Profile page เมื่อคลิกจะเข้าสู่หน้าเพจส่วนตัว ซึ่งจะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว ข้อมูลเพจ ของผู้ใช้ ข้อมูลการเข้าร่วมกลุ่ม ข้อมูลผู้ติดต่อ กระดานสนทนา ดังรูปภาพ


ห น้ า | 5 41 รายการข้อมูลเพจของผู้ใช้ จากรูปภาพเป็นตัวอย่างที่ผู้ใช้สร้างเพจไว้ชื่อว่า “TCU TQF Template” เมื่อคลิกเข้าไป จะเป็นตัวอย่างแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ ดังรูปภาพ

51 ปุ่มการสร้างและคัดลอกหน้าเพจ ประกอบด้วย ปุ่มการสร้างหน้าเพจ สาหรับให้ผู้ใช้งานสามารถสร้างหน้าเพจด้วยตนเอง ปุ่มคัดลอกหน้าเพจ สาหรับให้ผู้ใช้งานสามารถทาการคัดลอกหน้าเพจ และนามา ปรับแต่งได้ด้วยตนเอง 61 เครื่องมือการแก้ไข/ลบ หน้าเพจ ประกอบด้วย ปุ่ม ปุ่ม

ใช้ในในการแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับหน้าเพจนั้น ใช้ในการลบหน้าเพจนั้น


ห น้ า | 6

เมนู Collections 1. เข้าสู่หน้าเมนู Collections โดยคลิกที่เมนูย่อย ดังรูปภาพ

2. เมื่อเข้าสู่หน้าเมนู Collections จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ หน้าเมนู Collections เป็นส่วนของการแสดงรายการสะสมเพื่อการบันทึกหน้าเพจที่มีการเชื่อมโยง สิทธิ์การใช้งานหรือทางานร่วมกับบุคคลอื่นเอาไว้ โดยสามารถที่สร้างรายการสะสมได้ไม่จากัด โดยในหน้าเมนู Collections ดังกล่าวก็จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

21 11

31

11 รายการสะสม ประกอบด้วย ชื่อรายการสะสม คาอธิบายรายการสะสม และแท็กของหน้าเพจที่เพิ่ม เข้ามาในรายการสะสมนั้น 21 ปุ่มการสร้างและคัดลอกรายการสะสม ประกอบด้วย ปุ่มการสร้างรายการสะสมใหม่ สาหรับให้ผู้ใช้สามารถสร้างรายการสะสมด้วยตนเอง ปุ่มคัดลอกรายการสะสม สาหรับให้ผู้ใช้สามารถทาการคัดลอกรายการสะสมที่ได้รับ การแบ่งปันจากบุคคลอื่น หรือคัดลอกจากรายการสะสมเดิมที่มีอยู่ได้


ห น้ า | 7 31 เครื่องการจัดการรายการสะสม ประกอบด้วย ปุ่ม ใช้ในการจัดการรายการสะสมนั้น โดยทาการเพิ่ม/ลบ หน้าเพจในรายการสะสมได้ ปุ่ม ใช้ในการแก้ไขรายการสะสมนั้น โดยทาการแก้ไขชื่อรายการสะสม คาอธิบาย รายการสะสม และแก้ไขแท็กของหน้าเพจในรายการสะสมนั้นได้ ปุ่ม ใช้ในการลบรายการสะสมนั้น

เมนู Share 1. เข้าสู่หน้าเมนู Share โดยคลิกที่เมนูย่อย ดังรูปภาพ

2. เมื่อเข้าสู่หน้าเมนู Share จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ หน้าเมนู Share เป็นส่วนของการแสดงหน้าเพจที่ผู้ใช้งานได้มีการแบ่งปันให้กับบุคคลอื่น หรือได้รับ การแบ่งปันหน้าเพจมาจากบุคคลอื่นๆ โดยในหน้าเมนู Share ดังกล่าวก็จะแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้

11

11 21 31 41

21

แสดงรายการหน้าเพจที่มีการแบ่งปันทั้งหมด รายการแสดงสิทธิ์การเข้าถึงหน้าเพจ การตั้งค่าสิทธิ์การเข้าถึงหน้าเพจ การตั้งค่าที่อยู่ของหน้าเพจแบบลับ

31

41


ห น้ า | 8

เมนู Export 1. เข้าสู่หน้าเมนู Export โดยคลิกที่เมนูย่อย ดังรูปภาพ

2. เมื่อเข้าสู่หน้าเมนู Export จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ หน้าเมนู Export เป็นส่วนของการส่งออกข้อมูลผลงานและหน้าเพจของผู้ใช้งาน เพื่อนาไปใช้งานต่อ หรือนาไปเผยแพร่ต่อได้ ซึ่งสามารถเลือกรูปแบบของการส่งออกข้อมูล และสามารถเลือกข้อมูลทั้งหมดหรือ บางส่วนในหน้าเพจของผู้ใช้งานส่งออกไปได้ โดยในหน้าเมนู Export ดังกล่าวก็จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

11

21 31


ห น้ า | 9 11 การเลือกรูปแบบการส่งออกข้อมูลหน้าเพจ ประกอบด้วย  Standalone HTML web site เป็นรูปแบบของการส่งออกข้อมูลหน้าเพจในรูปแบบของ นามสกุลไฟล์ .html ซึ่งการรับชมจะต้องเปิดใช้งานผ่านโปรแกรมเว็บเบราเซอร์เท่านั้น  Leap2A เป็นรูปแบบของการส่งออกข้อมูลหน้าเพจในรูปแบบมาตรฐานของระบบ Leap2A โดยที่ผู้ใช้งานสามารถนารูปแบบไฟล์ที่ส่งออกไปนี้ นาไปใช้ระบบอื่นที่รองรับตามมาตรฐาน ของระบบ Leap2A เช่นเดียวกันได้

21 การเลือกข้อมูลในหน้าเพจที่ต้องการส่งออก ประกอบด้วย  All my data เป็นการส่งออกข้อมูลทุกหน้าเพจของผู้ใช้งานที่มีอยู่ในระบบทั้งหมด  Just some of my pages เป็นการเลือกหน้าเพจที่ต้องการจะส่งออก  Include user feedback ถ้าทาเครื่องหมายในช่องนี้ ระบบจะทาการส่งออกข้อเสนอแนะ ทั้งหมดที่ปรากฏอยู่บนหน้าเพจนั้นรวมไปด้วย ในรูปแบบนามสกุลไฟล์ .html 31

คลิกที่ปุ่มนี้เพื่อทาการส่งออกข้อมูลหน้าเพจ


ห น้ า | 10

เริ่มต้นการสร้าง E-portfolio การสร้าง E-Portfolio ส่วนบุคคล บนระบบ TCU EPMS นั้น ผู้ใช้งานจาเป็นจะต้องดาเนินการสร้าง ข้อมูล ซึ่งจะประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ 1. ส่วนนา เรียกว่า Profile page 2. ส่วนเนื้อหา เรียกว่า TQF page 3. ส่วนการประเมิน เรียกว่า TQF Rubric โดยสามารถนาเสนอขั้นตอนการสร้าง E-Portfolio ตามแผนภาพแสดงลาดับขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้ เริ่มต้น สร้างส่วนนา ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ เช่น ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน ประสบการณ์ต่างๆ เป็นต้น สร้างส่วนเนื้อหา โดยคัดลอกหน้าเพจชื่อว่า "TCU TQF" อัพโหลดผลงานต่างๆ ไว้บนหน้าเพจ TCU TQF เขียนสะท้อนคิดต่อผลงาน

สร้างส่วนการประเมิน โดยสร้างเกณฑ์รูบริคจาก TCU Rubrics Creator สาหรับ การตรวจให้คะแนนแต่ละผลงาน ประเมินผลงานโดยผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตนเอง ผู้สอน เพื่อนร่วมชั้น เป็นต้น นาเสนอและเผยแพร่แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์

ประเมินแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์โดยผู้เกี่ยวข้อง จบ


ห น้ า | 11

การสร้างส่วนนา Profile page เป็นหน้าเพจที่เป็นส่วนนาของ E-Portfolio ซึ่งแสดงข้อมูลเกี่ยวกับเจ้าของแฟ้มฯ เช่น ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน ประสบการณ์ต่างๆ เป็นต้น โดยผู้ใช้จาเป็นจะต้องทาการ ใส่ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับตนเอง เพื่อเผยแพร่ให้กับบุคคลอื่นได้ทราบ โดยมีรายละเอียดในการสร้าง ดังนี้ 1. เข้าสู่หน้าเมนูหลัก Portfolio และคลิกเลือกที่เมนูย่อย Pages ดังรูปภาพ

2. เมื่อเข้าสู่หน้าเมนู Pages จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพ จากนั้นคลิกเลือกที่ Profile page


ห น้ า | 12 3. จะปรากฏหน้าต่าง Profile page ดังรูปภาพ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ข้อมูลสมาชิก

ชื่อผู้ใช้งานและรูปประจาตัว

ปุ่มการแก้ไขหน้าเพจ ข้อมูลประวัติส่วนตัว ข้อมูลแสดงหน้าเพจ ข้อมูลการเข้าร่วมกลุ่ม

ข้อมูลผู้ติดต่อ

กระดานสนทนา

4. คลิกที่ปุ่ม Edit this page เพื่อทาการบันทึกข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้ ซึ่งจะพบหน้าต่างการแก้ไข ดังรูปภาพ


ห น้ า | 13 5. ในหน้าต่างการแก้ไขของ Profile page นี้ จะประกอบไปด้วย 3 ส่วน โดยมีรายละเอียดดังนี้

11 31

21

11 แถบเมนูย่อยของ Profile page ประกอบด้วย เมนูย่อย Edit layout Edit content Display page Share page

รายละเอียด การแก้ไขการจัดวางเค้าโครงภายในหน้าเพจ การแก้ไขเนื้อหาข้อมูลภายในหน้าเพจ การแสดงผลหน้าเพจ การแบ่งปันหน้าเพจ

21 กลุ่มเครื่องมือการออกแบบเนื้อหา ประกอบด้วย รูปภาพเครื่องมือ

การใช้งาน เครื่องมือกล่องข้อความการเขียนสะท้อนคิด เครื่องมือแทรกรูปภาพ


ห น้ า | 14 รูปภาพเครื่องมือ

การใช้งาน เครื่องมือแทรกสื่อมีเดีย ประกอบด้วยเครื่องมือย่อย ดังนี้ เครื่องมือสร้างการดาวน์โหลดไฟล์ เครื่องมือสร้างโฟลเดอร์ เครื่องมือสร้างแกลอรีรูปภาพ เครื่องมือสร้างไฟล์นามสกุล .html เครื่องมือแทรกรูปภาพ เครื่องมือการฝังไฟล์มีเดีย เครื่องมือแทรกไฟล์นามสกุล .pdf เครื่องมือทั่วไป ประกอบด้วยเครื่องมือย่อย ดังนี้ เครื่องมือกล่องข้อความ เครื่องมือจัดการข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วยเครื่องมือ ย่อย ดังนี้ เครื่องมือแสดงข้อมูลผู้ติดต่อ เครื่องมือแสดงข้อมูลการเข้าร่วมกลุ่ม เครื่องมือแสดงข้อมูลหน้าเพจ เครื่องมือแสดงกระดานสนทนา เครื่องมือเสริมภายนอก เครื่องมือเสริมของ Google Application เครื่องมือเสริมแทรกการมอบหมายงานของ Moodle เครื่องมือเสริมการแทรกบล็อกของ Moodle เครื่องมือเสริมการแทรกฟอรัมของ Moodle เครื่องมือเสริมการแทรกเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค


ห น้ า | 15 31 พื้นที่การจัดวางเค้าโครงภายในหน้าเพจ โดยผู้ใช้สามารถเลือกจัดวางได้ตามความต้องการ สามารถแก้ไขเนื้อหาภายในเครื่องมือต่างๆ และสามารถลบส่วนเนื้อหาที่ไม่ต้องการได้ 6. ขั้นตอนต่อไป ให้คลิกที่เมนูย่อย Edit layout เพื่อเลือกรูปแบบการจัดวางเค้าโครงภายในหน้าเพจ โดยผู้ใช้สามารถคลิกที่ปุ่ม Advance options เพื่อเลือกรูปแบบการจัดวางเค้าโครงเพิ่มเติมได้ หรือผู้ใช้จะทา การกาหนดรูปแบบการจัดวางเค้าโครงภายในหน้าเพจด้วยตนเองได้เช่นกัน โดยคลิกที่ปุ่ม Create custom layout ดังรูปภาพ


ห น้ า | 16 7. เมื่อทาการเลือกรูปแบบการจัดวางเค้าโครงภายในหน้าเพจเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึก

8. จะกลับเข้าสู่หน้าเมนูย่อย Edit content ซึ่งในหน้าเมนูนี้ ผู้ใช้จะสามารถทาการเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ ส่วนตัว และแทรกสื่อมีเดียต่างๆ ประกอบการนาเสนอได้ โดย มีวิธีการออกแบบเนื้อหาดังนี้ 8.1 วิธีการเลือกเครื่องมือมาใส่ในพื้นที่หน้าเพจ ทาได้โดยนาเมาส์ไปวางที่เครื่องมือด้านซ้าย และคลิก เมาส์ลากมาใส่ในพื้นที่ดังกล่าว ดังรูปภาพ

8.2 วิธีการจัดวางเนื้อหาภายในหน้าเพจ ทาได้โดยใช้เมาส์คลิกลากเนื้อหาภายในพื้นที่ไปยังตาแหน่งที่ ต้องการ ดังรูปภาพ


ห น้ า | 17 8.3 วิธีการแก้ไขเนื้อหาภายในหน้าเพจ ทาได้โดยคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏหน้ า ต่ า งการแก้ ไ ข เนื้อหา และคลิกที่ปุ่ม เมื่อต้องการลบข้อมูลเนื้อหา ดังรูปภาพ

8.4 เมื่อทาการออกแบบเนื้อหาเรียบร้อยแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Done เพื่อบันทึกการแก้ไข


ห น้ า | 18 9. เมนูย่อย Display page จะเป็นการแสดงผลในหน้า Profile page ดังรูปภาพ

10. เมนูย่อย Share page จะเป็นการตั้งค่าการแบ่งปันและการเข้าถึงในหน้า Profile page ดังรูปภาพ โดย แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้

11 21 31

51 41


ห น้ า | 19 11 ตัวเลือกการแบ่งปัน โดยผู้ใช้สามารถกาหนดตัวเลือกการแบ่งปันนี้ได้ 3 ลักษณะ ดังนี้  Public การแบ่งปันต่อสาธารณะ ผู้ใช้ที่อยู่ในระบบทุกคนสามารถค้นหาและรับชมได้  Logged-in users การแบ่งปันต่อผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าใช้งาน ผู้ใช้ที่ สามารถค้นหาและรับชมได้ จาเป็นต้องลงชื่อเข้าใช้งานในระบบ  Friends การแบ่งปันต่อผู้ติดต่อ ผู้ใช้งานที่มีรายชื่ออยู่ในการติดต่อของผู้ใช้งานจะสามารถ ค้นหาและรับชมได้ 21 การแบ่งปันภายในหน่วยงาน/เครือข่าย ผู้ใช้จะสามารถทาการแบ่ง ปันหน้าเพจของตนเองภายใน หน่วยงานหรือเครือข่ายที่ได้มีการจัดตั้งขึ้นและมีการทางานร่วมกัน 31 การแบ่งปันภายในกลุ่ม ผู้ใช้จะสามารถทาการแบ่งปันหน้าเพจของตนเองภายในกลุ่มที่ได้มีการจัดตั้ง ขึ้นและมีการทางานร่วมกัน 41 การแบ่งปันต่อผู้ใช้งาน ผู้ใช้จะสามารถทาการแบ่งปันหน้าเพจของตนเองต่อผู้ใช้งานคนใดก็ได้โดยตรง ทาให้ผู้ใช้ที่ได้รับการแบ่งปันสามารถค้นหาและรับชมได้ 51 การตั้งค่าการเข้าถึงหน้าเพจ ผู้ใช้สามารถที่จะตั้งค่าการกาหนดช่วงของวัน/เวลาในการเข้าถึงหน้าเพจ ดัง กล่ า วได้ เช่น กาหนดให้เ ข้า ถึ งได้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 23 เมษายน 2557 เวลา 9.00 น. – วั น ที่ 24 เมษายน 2557 เวลา 16.00 น. เป็นต้น ดังรูปภาพ

11. เมื่อตั้งค่าการแบ่งปันและการเข้าถึงหน้าเพจเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Save เพื่อทาการบันทึกการ ตั้งค่า หรือคลิกที่ปุ่ม Cancle เมื่อต้องการยกเลิกการตั้งค่า


ห น้ า | 20

การสร้างส่วนเนื้อหา ในส่วนของการสร้างเนื้อหาของ E-Portfolio จะเป็นการออกแบบในส่วนของการจัดเก็บข้อมูลเนื้อหา และผลงานที่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอ เขียนสะท้อนคิดต่อผลงาน และประเมินเมินผลงานแต่ละชิ้น รวมไปถึงการ ประเมินภาพรวมของส่วนเนื้อหา การสร้างส่วนเนื้อหาสามารถทาได้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 การสร้างหน้าเพจใหม่ และวิธีที่ 2 การคัดลอกหน้าเพจ ในส่วนนี้จะเลือกนาเสนอวิธีที่ 2 ซึ่งผู้ใช้งานสามารถค้นหาหน้าเพจที่มีการ แบ่งปันไว้แล้ว และคัดลอกมาแก้ไขด้วยตนเอง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. เข้าสู่หน้าเมนูหลัก Portfolio และคลิกเลือกที่เมนูย่อย Pages ดังรูปภาพ

2. เมื่อเข้าสู่หน้าเมนู Pages จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Copy a page ดังรูปภาพ


ห น้ า | 21 3. เมื่อคลิกที่ปุ่ม Copy a page เรียบร้อยแล้วจะปรากฏหน้าต่าง Copy a page or collection จากนั้นคลิก ที่ปุ่ม Copy page ของหน้าเพจที่ชื่อว่า “TCU TQF Template” ดังรูปภาพ

4. เมื่อคัดลอกหน้าเพจเรียบร้อยแล้ว ระบบจะแสดงหน้าต่างการแก้ไขหน้าเพจ และเมื่อแก้ไขข้อมูลเรียบร้อย แล้วให้คลิกที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึก โดยมีรายละเอียด ดังนี้

การตั้งชื่อหน้าเพจ การใส่คาอธิบายหน้าเพจ

การกาหนดแท็ก รูปแบบการแสดงชื่อผูใ้ ช้งาน


ห น้ า | 22

การแก้ไขเนื้อหาและจัดการข้อมูล เมื่อผู้ใช้งานทาการคัดลอกหน้าเพจมาเรียบร้อยแล้ว สามารถที่จะเข้าไปแก้ไขเนื้อหาและจัดการกับ ข้อมูลภายในได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. เข้าสู่หน้าเมนูหลัก Portfolio และคลิกเลือกที่เมนูย่อย Pages ดังรูปภาพ

2. เมื่อ เข้าสู่หน้ าเมนู Pages จะปรากฏหน้าเพจที่ทาการคัดลอกเพิ่มขึ้น มาในรายการของหน้าเพจ ชื่อว่ า “TCU TQF Template” จากนั้นคลิกที่ปุ่ม เพื่อทาการแก้ไขเนื้อหาภายในหน้าเพจ ดังรูปภาพ

3. เมื่อคลิกที่ปุ่มการแก้ไขแล้ว จะปรากฏหน้าต่างการแก้ไขเนื้อหา ดังรูปภาพ ซึ่งรายละเอียดของหน้าเพจ ดังกล่าว มีดังนี้


ห น้ า | 23

11

21

31

41

51 จากรูปภาพจะแสดงโครงสร้างการออกแบบเนื้อหาภายในหน้าเพจ TCU TQF Template ซึ่งเป็น หน้าเพจที่มีการออกแบบสาเร็ จรูป มีลักษณะเป็นส่วนเนื้อหาของ E-Portfolio ที่เน้นให้ผู้เรียนได้นาไปใช้ใน การจัดเก็บและนาผลงานที่เกิดจากกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่ง สอดคล้องและอยู่ภายใต้ กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education:TQF) โดย ผู้เรียนจะสามารถนาเสนอผลงาน และมีการสะท้อนคิดต่อผลงาน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้สอน ผู้เรียน และเพื่อนร่วมชั้นเรียน สามารถเข้ามาประเมินผลงานแต่ละผลงานได้


ห น้ า | 24 โครงสร้างการออกแบบเนื้อหาภายในหน้าเพจ TCU TQF Template ออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้ หมายเลข

หัวข้อ

11

ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome Learning)

21 31 41 51

ผลงานของผู้เรียนตามกรอบคุณวุฒิ (TQF Artifact) การสะท้อนคิดต่อผลงาน (Reflection) การประเมิน (Assessment) การประเมินผลงานแบบภาพรวม (Summative Outcome scoring)

รายละเอียด 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Morals) 2. ด้านความรู้ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical, Communication and Information Technology Skills) ผลงานที่ผู้เรียนได้จัดทาขึ้นและนาเสนอ ประกอบด้วยคาถามนาสาหรับการสะท้อนคิด และ ผลการสะท้อนคิดของผู้เรียน ประกอบด้วยเกณฑ์การให้คะแนนผลงานแบบรูบริค และผลการประเมิน ประกอบด้วยเกณฑ์การให้คะแนนภาพรวมของ ผลงานแบบรูบริค และผลการประเมินแบบภาพรวม

4. การแก้ไขข้อมูลเนื้อหาภายในหน้าเพจ การเลือกใช้เครื่องมือออกแบบเนื้อหา และการลบเนื้อหา ได้อธิบาย ไว้ในหน้า (13-17)


ห น้ า | 25

เครื่องมือการออกแบบเนื้อหา เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบเนื้อหาในหน้าเพจ TCU TQF Template นี้ จะเป็นเครื่องมือเสริมจาก ภายนอก และนามาใช้ในการออกแบบเนื้อหาภายในหน้าเพจ ซึ่งมีเครื่องมือทั้งหมด 5 ชนิด ดังนี้ เครื่องมือเสริมของ Google Application เครื่องมือเสริมแทรกการมอบหมายงานของ Moodle เครื่องมือเสริมการแทรกบล็อกของ Moodle เครื่องมือเสริมการแทรกฟอรัมของ Moodle เครื่องมือเสริมการแทรกเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค

1. เครื่องมือเสริมของ Google Application (Google Apps)

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบเนื้อหา โดยนาเครื่องมือชุดแอพลิเคชันของ Google มาใช้ในการ ออกแบบเนื้อหาภายในหน้าเพจ โดยวิธีการนาเครื่องมือมาใส่ในหน้าเพจ ได้อธิบายไว้ในหน้าที่ 16 จะปรากฏ หน้าต่างการแก้ไข ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้


ห น้ า | 26

การตั้งชื่อเนื้อหา การฝัง Code หรือ URL เครื่องมือสร้างหนังสือออนไลน์ เครื่องมือสร้างปฏิทินออนไลน์

เครื่องมือสร้างเอกสารออนไลน์ การกาหนดขนาดความสูง

เครื่องมือสร้างแผนที่ออนไลน์ การตั้งค่าการซ่อนเนื้อหา

การซ่อนเนื้อหาแบบอัตโนมัติ

ปุ่มบันทึก

ปุ่มลบ

ตัวอย่างหน้าเพจที่มีการใส่เนื้อหาจากเครื่องมือของ Google Application


ห น้ า | 27

2. เครื่องมือเสริมแทรกการมอบหมายงานของ Moodle (Moodle Assign)

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบเนื้อหา โดยนาเครื่องมือ ของระบบ Moodle มาใช้ในการออกแบบ เนื้อหาภายในหน้าเพจ โดยทาการเชื่อมโยงคาสั่ง Assign ในระบบ Moodle ให้มาแสดงผลภายในหน้าเพจ ซึ่ง วิธีการนาเครื่องมือมาใส่ในหน้าเพจ ได้อธิบายไว้ในหน้าที่ 16 ส่วนหน้าต่างการแก้ไ ขมีลักษณะการทางาน เช่นเดียวกับหน้าต่างการแก้ไขของเครื่องมือ Google Application 3. เครื่องมือเสริมการแทรกบล็อกของ Moodle (Moodle Blog)

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบเนื้อหา โดยนาเครื่องมือ ของระบบ Moodle มาใช้ในการออกแบบ เนื้อหาภายในหน้าเพจ โดยทาการเชื่อมโยงคาสั่ง Blog ในระบบ Moodle ให้มาแสดงผลภายในหน้าเพจ ซึ่ง วิธีการนาเครื่องมือมาใส่ในหน้าเพจ ได้อธิบายไว้ในหน้าที่ 16 ส่วนหน้าต่างการแก้ไ ขมีลักษณะการทางาน เช่นเดียวกับหน้าต่างการแก้ไขของเครื่องมือ Google Application 4. เครื่องมือเสริมการแทรกฟอรัมของ Moodle (Moodle Forum)

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบเนื้อหา โดยนาเครื่องมือ ของระบบ Moodle มาใช้ในการออกแบบ เนื้อหาภายในหน้าเพจ โดยทาการเชื่อมโยงคาสั่ง Forum ในระบบ Moodle ให้มาแสดงผลภายในหน้าเพจ ซึ่ง วิธีการนาเครื่องมือมาใส่ในหน้าเพจ ได้อธิบายไว้ในหน้าที่ 16 ส่วนหน้าต่างการแก้ไ ขมีลักษณะการทางาน เช่นเดียวกับหน้าต่างการแก้ไขของเครื่องมือ Google Application


ห น้ า | 28

5. เครื่องมือเสริมการแทรกเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค(TQF Rubrics)

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบเนื้อหา โดยนาเครื่องมือการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค ที่ เรียกว่า “TCU Rubrics Creator” ซึ่งเป็นระบบการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค เพื่อนาใช้ในการ ประเมินผลงานจากผู้เกี่ยวข้อง และสามารถดูผลการประเมินได้โดยตรงจากภายในหน้าเพจ ซึ่งวิธีการนา เครื่องมือมาใส่ในหน้าเพจ โดยจะอธิบายไว้ในส่วนของเนื้อหาเรื่องต่อไป


ห น้ า | 29

การสร้างส่วนการประเมิน ผลงานที่ผู้เ รีย นได้ จัด ทาแต่ละผลงานจ าเป็ นจะต้อ งได้รับ การประเมิน ทั้ง แบบแยกส่ว น และการ ประเมินแบบภาพรวม โดยในส่วนของการประเมินนี้ ผู้ใช้จะต้องสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคบนระบบ TCU Rubrics Creator และทาการเชื่อมโยงไปยังหน้าเพจ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. เมื่อเข้าสู่ระบบการจัดการเรียนรู้ Moodle สังเกตที่เมนู Network server ให้คลิกเลือกที่ TCU Rubrics Creator เพื่อเข้าสู่ระบบการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค

2. เมื่อเข้าสู่ระบบ TCU Rubrics Creator จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพ ซึ่งมีรายละเอียดในการสร้าง ดังนี้

31

21

11

41 61

91

51

71 81

10 1 1

11 1 1

12 1 1


ห น้ า | 30 3. การสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค หากผู้ใช้งานต้องการที่จะศึกษาตัวอย่างของเกณฑ์ รูบริค ให้คลิกที่ ปุ่ม Example Rubrics (หมายเลข 3) จะปรากฏหน้าต่างตัวอย่างเกณฑ์รูบริค ดังรูปภาพ

4. ขั้นตอนแรกในการสร้างเกณฑ์รูบริค ให้ผู้ใช้ต้องทาการเลือกระดับคุณภาพของเกณฑ์ โดยคลิกเลือกที่กล่อง รายการแบบหล่นลง (หมายเลข 4) ซึ่งในระบบจะมีให้เลือก 3 รูปแบบ ดังนี้

3 scales สาหรับการเลือกเกณฑ์ระดับคุณภาพแบบ 3 ระดับ

4 scales สาหรับการเลือกเกณฑ์ระดับคุณภาพแบบ 4 ระดับ


ห น้ า | 31

5 scales สาหรับการเลือกเกณฑ์ระดับคุณภาพแบบ 5 ระดับ 5. ตั้งชื่อเกณฑ์รูบริค โดยพิมพ์ชื่อลงในช่องว่าง (หมายเลข 5) ดังรูปภาพ

6. ในส่วนต่อไปจะเป็นการบันทึกข้อมูลของเกณฑ์รูบริค ซึ่งจะประกอบด้วยหัวข้อรายการประเมิน และการ บรรยายระดับคุณภาพตามระดับของเกณฑ์ประเมิน ผู้ใช้ง านจะต้องทาการพิมพ์หัวข้อรายการประเมินใน ช่องว่าง (หมายเลข 6) ดังรูปภาพ

7. ผู้ ใช้ ง านทาการพิม พ์ข้ อความการบรรยายตามระดับ คุ ณภาพของเกณฑ์ ป ระเมิ นในช่อ งว่ างแต่ล ะช่ อ ง (หมายเลข 7) และสามารถแก้ไขชื่อของระดับคุณภาพได้ แต่จะไม่สามารถแก้ไขคะแนนในแต่ละระดับได้ ดัง รูปภาพ


ห น้ า | 32 8. เมื่อต้องการเพิ่มหัวข้อรายการประเมินต่อไป ให้คลิกที่ปุ่ม Add Row (หมายเลข 9) จะปรากฏแถวเพิ่ม ขึ้นมา 1 แถว เพื่อบันทึกข้อมูลเพิ่ม เมื่อต้องการลบแถว ให้คลิกที่ปุ่ม Remove Row (หมายเลข 10) และคลิก ที่ปุ่ม Clear (หมายเลข 11) เมื่อต้องการล้างเนื้อหาทั้งหมด ดังรูปภาพ

9. เมื่อทาการบันทึกข้อมูลทั้งหมดเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Submit (หมายเลข 12) เพื่อบันทึกการสร้าง เกณฑ์รูบริค ดังรูปภาพ


ห น้ า | 33 10. เมื่อบันทึกข้อมูลเรียบร้อย จะแสดงหน้าต่างบันทึกข้อมูลเรียบร้อย ให้คลิกที่ปุ่ม “ตกลง” ดังรูปภาพ

11. จะปรากฏหน้าต่างแสดงรายการของเกณฑ์รูบริคที่ผู้ใช้งานได้สร้างไว้ ซึ่งผู้ใช้สามารถที่จะกลับไปแก้ไ ข เกณฑ์รูบริคเดิม ลบเกณฑ์รูบริค หรือสร้างเกณฑ์รูบริคใหม่เพิ่มเติมได้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

รายการของเกณฑ์รูบริค

ปุ่มการแก้ไข

ปุ่มลบ

ปุ่มการสร้างเกณฑ์รูบริคใหม่

12. ส าหรับ การนาเกณฑ์รู บ ริค ที่สร้ างไว้ ไ ปใส่ใ นหน้ าเพจ เมื่ อผู้ ใช้ ง านกลั บ ไปในหน้า เพจ TCU TQF Template แล้ว ให้ผู้ใช้แก้ไขในส่วนของการแก้ไขหน้าเพจ โดยคลิกที่ปุ่ม Edit this page ดังรูปภาพ


ห น้ า | 34 13. เมื่อเข้าสู่หน้าต่างการแก้ไขหน้าเพจ ในหัวข้อ Assessment จะปรากฏรายการย่อย ชื่อว่า Outcome Scoring ซึ่งมีทั้งหมด 5 รายการ ให้ผู้ใช้เลือกรายการย่อยที่ต้องการแก้ไข โดยคลิกที่ปุ่ม เพื่อทาการ เลือกรายการของเกณฑ์รูบริคที่สร้างไว้แล้ว ดังรูปภาพ

14. เมื่อคลิกที่ปุ่มดังกล่าวแล้วจะปรากฏหน้าต่างการแก้ไข ให้ผู้ใช้คลิกเลือกรายการของเกณฑ์รูบริคที่ต้องการ ในช่อง URL จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึก ดังรูปภาพ

15. เมื่อบันทึกเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Done ในหน้าการแก้ไขหน้าเพจ เพื่อบันทึกหน้าเพจอีกครั้ง ดัง รูปภาพ


ห น้ า | 35

การประเมินด้วยเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค ผู้ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ ง เช่น ผู้ สอน เพื่ อ นในชั้ น เรี ย น และตั ว ผู้เ รี ย นเอง สามารถที่ จะเข้ า ไปท าการ ประเมินผลงานต่างๆ ได้ ภายในหน้าเพจดังกล่าว โดยเมื่อเข้าไปในหน้าเพจ TCU TQF Template ที่หัวข้อ Assessment จะมีลิงค์เชื่อมโยงอยู่ภายใต้รายการย่อยแต่ละรายการ ดังนี้  Rubric Score เป็นลิงค์เชื่อมโยงไปยังระบบ TCU Rubrics Creator เพื่อให้ผู้ประเมินเข้าไปทา การประเมินผลงานตามเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริคที่สร้างไว้  Score Report เป็นลิงค์เชื่อมโยงไปยังระบบ TCU Rubrics Creator เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถ เข้าไปดูผลการประเมินผลงาน สาหรับการเข้าไปประเมินผลงานตามเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค มีรายละเอียดของขั้นตอน ดังนี้ 1. เมื่อเข้าไปยังหน้าเพจเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้ประเมินเลือกรายการย่อยของผลงานที่ต้องการเข้าไปประเมิน โดย คลิกที่ลิงค์เชื่อมโยง Rubric Score ดังรูปภาพ


ห น้ า | 36 2. จะเข้าสู่ระบบ TCU Rubrics Creator และปรากฏหน้าต่างของเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค ขั้นตอนแรก ให้ผู้ประเมินเลือกประเภทของผู้ประเมิน ดังรูปภาพ

3. ในตารางการประเมิน ให้ผู้ประเมินคลิกเลือกตามช่องระดับคุณภาพตามการบรรยายแต่ละรายการ ดังรูปภาพ

4. เมื่อประเมินครบถ้วนแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Submit เพื่อบันทึกผลการประเมิน ส่วนปุ่ม Back to your list เมื่อ คลิกจะเป็นการย้อนกลับไปดูรายการของเกณฑ์รูบริคทั้งหมดที่ผู้ใช้งานได้สร้างไว้ ดังรูปภาพ


ห น้ า | 37 5. เมื่อบันทึกผลการประเมินเรียบร้อย จะแสดงหน้าต่างบันทึกผลการประเมินเรียบร้อย ให้คลิกที่ปุ่ม “ตกลง” ดังรูปภาพ

6. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถเข้าไปดูผลการประเมินของผลงานได้ในหน้าเพจ โดยคลิกที่ ลิงค์เชื่อมโยง Score Report ดังรูปภาพ


ห น้ า | 38 7. จะเข้าสู่ระบบ TCU Rubrics Creator และปรากฏหน้าต่างของผลประเมินตามเกณฑ์รูบริค ดังรูปภาพ ซึ่งมี รายละเอียด ดังนี้

11

31 11 หัวข้อรายการที่ได้รับการประเมิน และคะแนนที่ได้ 21 คะแนนรวมที่ได้จากการประเมิน 31 แสดงจานวนผู้ที่เข้ามาประเมิน

21


ห น้ า | 39

การแบ่งปันหน้าเพจ เมื่อผู้ใช้ต้องการแบ่งปันหน้าเพจ ให้ผู้ใช้งานคนอื่นสามารถรับชม หรือคัดลอกหน้าเพจไปทาการแก้ไข ได้ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ในหน้าเพจของผู้ใช้งาน ให้คลิกที่ปุ่ม Edit this page ดังรูปภาพ

2. คลิกที่เมนูย่อย Share page เพื่อเข้าไปสู่เมนูในการตั้งค่าการแบ่งปันหน้าเพจ ดังรูปภาพ

3. เมื่อเข้าสู่เมนู Share page จะปรากฏหน้าต่างแก้ไขการเข้าถึง ดังรูปภาพ


ห น้ า | 40 4. ผู้ใช้ตั้งค่าสิทธิ์ในการเข้าถึง โดยคลิกที่ปุ่ม หน้าตัวเลือกการแบ่งปันทางด้านซ้าย ซึ่งตัวเลือกการ แบ่งปันได้อธิบายไว้ในเนื้อหาหน้า (18-19) ดังรูปภาพ

5. ผู้ใช้สามารถตั้งค่าการแบ่งปันเพิ่มเติมได้ โดยคลิกที่ปุ่ม Advanced option จะปรากฏรายการเพิ่มเติม ดัง รูปภาพ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ อนุญาตให้สามารถแสดงความคิดเห็นในหน้าเพจได้ อนุญาตให้สามารถคัดลอกหน้าเพจได้ การตั้งค่าวัน/เวลาในการเข้าถึงหน้าเพจ และวัน/เวลาหมดอายุในการเข้าถึง

6. เมื่อตั้งค่าการแบ่งปันเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Save เพื่อบันทึกการตั้งค่าการแบ่งปัน ดังรูปภาพ


ห น้ า | 41


ห น้ า | 42


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.