สสสสส

Page 1

ศูนย์การเรี ยนรู ้ทุ่งทานตะวันจังหวัดลพบุรี


สารบัญ บทนำ ที่มำ ควำมสำคัญ วัตถุประสงค์โครงกำร กลุม่ เป้ำหมำย

1-4

ควำมเป็ นไปได้โครงกำรเบือ้ งต้นที่สอดคล้องกับ สภำพแวดล้อมทำงกำยภำพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

5-22

วิเครำะห์ท่ีตงั้ โครงกำร

23-26

กำรกำหนดพืน้ ที่องค์ประกอบโครงกำรและแสดงกำรคำนวณพืน้ ที่โครงกำร

27-41

กำรศึกษำอำคำรตัวอย่ำง

42-61

กำรศึกษำงำนระบบบริกำรอำคำร ระบบโครงสร้ำงอำคำร วัสดุและวิธีกำรก่อสร้ำงที่เหมำะสม

62-66

กำรศึกษำและสรุปข้อกฎหมำยและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง

67-70

แนวคิดในกำรออกแบบเบือ้ งต้นกำรจัดวำงองค์ประกอบ

71

ควำมก้ำวหน้ำและกำรตรวจแบบร่ำง

72

ผลงำนกำรออกแบบ

73-93


บทนำ

เมื่อพูดถึงจังหวัดลพบุรี เชื่อว่าทุกคนคงนึกถึงลิง เมืองเก่า เขื่อนป่ าสักชลสิทธิ์ ปรางค์สามยอด และทุ่ง ทำนตะวัน โดยจังหวัดลพบุรีเป็ นจังหวัดที่มีการปลูกดอกทานตะวันมากที่สดุ ในประเทศ ประมาณ 200,000-300,000 ไร่ พื้นที่ที่มีการปลูกได้แก่อาเภอเมือง อาเภอพัฒนานิคม อาเภอชัยบาดาล โดยจะปลูกกระจายๆกันไป ในส่ วนที่มีการปลูกมากจะอยู่ ในบริ เวณเขาจีนแล ใกล้กบั วัดเวฬุวนั ตาบลโคกตูม อาเภอเมือง ดอกทานตะวันจะบานในช่วงเดือน พฤศจิกายน-มกราคม โดย มีนักท่องเที่ยวแวะมาชมทุ่งทานตะวันเป็ นจานวนมาก จนกลายเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวยอดฮิตของจังหวัดลพบุรี และที่สาคัญการ ปลูกทานตะวันไม่ได้ เป็ นแค่แหล่งท่องเที่ยวอย่างเดียว แต่ยังเป็ นพืชเศรษฐกิจสร้ างรายได้ ให้ กบั ชาวบ้ านเป็ นอย่างมาก สามารถ แปรรูปนาไปอบแห้ ง สกัดนา้ มันปรุงอาหาร เครื่องสาอาง รวมถึงเพาะต้ นอ่อนที่นิยมนามาทานเป็ นอาหารคลีนเพื่อสุขภาพ 1


ควำมเป็ นมำของโครงกำร ศูนย์ การเรียนรู้ดอกทานตะวัน ในปั จ จุ บ ัน มี ก ารปลู ก ดอกทานตะวัน เพื่ อ เป็ นพื ช เศรษฐกิ จ มี ผ ลก าไลต่ อ เกษตรกรมากมาย รวมทั้ง ดอกของ ทานตะวันที่มีเอกรักษ์เฉพาะด้าน คือ ดอกทานตะวันจะหันตาม พระอาทิตย์ตลอดเวลา และยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของ จังหวัดลพบุรี ดอกทานตะวันเป็ นพืชที่ทาการเพาะปลู กง่าย และ ใช้การดูแลรักษาไม่อยากนัก และยังเป็ นพืชที่ทนต่อความร้อนได้ ดี ดอกทานตะวันก็มีประโยชน์ของเมล็ด จัดเป็ นอาหารสู ขภาพ ชั้นดีมีวิตามิน อี และกรดไขมันไลโนเลอิค ซึ่ งมีประโยชน์มาก ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคมะเร็ ง ทุกคนจึงนิ ยม ปลูกดอกทานตะวัน เพราะเป็ นพืชทางการเกษตร และเป็ นพืชที่ ให้ความสวยงาม

2


ลพบุ รี เป็ นจั ง หวั ด ในภาคกลาง เป็ นจั ง หวั ด ที่ต้ั ง อยู่ กึ่ ง กลางของประเทศ มี พ้ ื นที่อุ ด มสมบู ร ณ์ เ หมาะแก่ ก ารเพาะปลู ก มี ประวัติศาสตร์ ยาวนาน ปั จจุ บันเป็ นที่ต้ังของกองกาลังทั้งทหารบกและ ทหารอากาศหลายหน่ วย เป็ นศูน ย์ ก ลางทางด้ านการทหาร ซึ่ งจัง หวั ด ลพบุรีน้ันมีภมู ิประเทศที่เหมาะสมคืออยู่ในเขตตอนกลางของประเทศ

3


• วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็ นแหล่งกำรเรียนรูเ้ กี่ยวกับกำรเพำะปลูกต้นทำนตะวันมำกขึน้

- เพื่อหำรำยได้ให้กบั คนชุมชนได้มีรำยได้ - เพื่อเป็ นสถำนที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรกั ษ์ของจังหวัดลพบุรี

• กลุ่มเป้ำหมำย - นักเรียน/นักศึกษำ - คนในชุมชน - นักท่องเที่ยว

4


1

ผังจังหวัดลพบุรี

2 3 4 5 6 1

7

11

9 10

8 9

3

10 6 2

4

5

11

โคกเจริญ โคกสำโรง ชัยบำดำล ท่ำวุง้ ท่ำหลวง บ้ำนหมี่ พัฒนำนิ คม เมืองลพบุรี ลำสนธิ สระโบสถ์ หนองม่วง

7 8

5


ภูมปิ ระเทศของจังหวัดลพบุรี แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ ๆ - ที่ราบลุ่ม มีพ้ ืนที่ 1,170 ตารางกิโลเมตร - ที่ราบสลับเนินเขาและภูเขา มีเนื้อที่ 4,816.67 ตารางกิโลเมตร มีแม่นา้ สาคัญไหลผ่าน นั่นคือ แม่นา้ เจ้ าพระยา แม่นา้ ชี แม่นา้ ป่ าสัก รวมทั้งยังมีแม่นา้ ลพบุรีผ่าน ทางฝั่งตะวันตกของจังหวัด รวมทั้งมีระบบคลองชลประทานที่เป็ นประโยชน์ในทางเกษตรกรรม อีกด้ วย ทีต่ ้ งั อำณำเขต อาณาเขต จังหวัดลพบุรีมีพ้ ืนที่ติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ 8 จังหวัดดังนี้ คือ - ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์ - ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดชัยภูมิ - ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดสิงห์บุรี - ทิศใต้ ติดกับจังหวัดสระบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดอ่างทอง

6


สภำพภูมิอำกำศ สภาพโดยทั่วไปมีภมู ิอากาศแบบร้ อนชื้น อยู่ภายใต้ อทิ ธิพลของลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และยังได้ รับอิทธิพลจากพายุ ดีเปรสชัน และพายุ ไต้ ฝุ่นอีกด้ วย โดยเฉพาะในช่ วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 28.3 องศาเซลเซียส มีปริมาณนา้ ฝนเฉลี่ยปี ละประมาณ 1,147.6 มิลลิเมตร สาหรับมีฤดูกาล ต่าง ๆ มี 3 ฤดู - ฤดูร้อน ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม อากาศจะร้ อน และแห้ งแล้ ง - ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน-ตุลาคม อากาศจะชุ่มชื้นในเดือนกันยายน - ฤดูหนาว ระหว่ างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวเย็นสลับกับอากาศร้ อน

7


ด้ านเศรษฐกิจ • ปั จจุบนั จังหวัดลพบุรีมีพ้นื ที่ประมาณ 6,199.753 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็ น 11 อาเภอ • มีประชากรประมาณ 758,627 คน • โดยรายได้ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 50 มาจากภาคอุตสาหกรรม รองลงมาคือสาขาเกษตรกรรม และการท่องเที่ยว บริ การ • จังหวัดลพบุรีมีสินค้าหัตถกรรมมากมาย เช่น ปลาส้มฟัก ดินสอพอง ไข่เค็มดินสอพอง ผลิตภัณฑ์จากดอก ทานตะวัน ผ้ามัดหมี่ และผ้าขาวม้าลายไส้ปลาไหล เป็ นต้น 8


9


จานวนประชากรจังหวัดลพบุรี จานวนและร้อนละของประชากรอายุ 15 ปี ชึ้นไป จาแนกตามลักษณะของกาลังแรงงาน ปี พ.ศ. 2563 พนักงาน ร้อยละ 95.9

ทางานบ้าน ร้อยละ 23.5

ว่างงาน ร้อยละ 3.6

เรี ยนหนังสื อ ร้อยละ 23.5

ผูร้ อฤดูกาล ร้อยละ 95.9

อื่น ๆ (บานาญ,ผูส้ ู งอายุ,เด็ก,คนป่ วย ร้อยละ 95.9

10


สาธารณูปโภค 1

• วังพระนำรำยณ์รำชนิเวศน์

14

2

• พระปรำงค์สำมยอด

15

3

• วงเวียนศำลพระกำฬ

16

• วงเวียนสระแก้ว

17

• วงเวียนพระนำรำยณ์มหำรำช

18

4 5

6 2 1 13

9

21 10

4

12

20

17

8

5

11

23

22

15

29

18

7

• สนำมกีฬำพระรำเมศวร • บิ๊กซี ลพบุรี

7

• โรงพยำบำลเมืองนำรำยณ์

20

8

• โรงเรียนเมืองใหม่

21

9

• โรงเรียนพิบูลวิทยำลัย

22

10

• วิทยำลัยเทคนิคลพบุรี

23

11

• วิทยำลัยเทคโนโลยีลพบุรี

24

12

• มหำวิทยำลัยรำชภัฏเทพสตรีลพบุรี

25

13

• ตลำดบนเมือง

26

19 14

• สถำนีรถไฟลพบุรี

• โรงพยำบำลพระนำยรำยณ์ มหำรำช

25

16

• บขส.ลพบุรี

6

24

3

• ตลำดคลองถมลพบุรี

• เทสโก้ โลตัสลพบุรี

19

• ศูนย์ฝึกนักเรียนทหำร • ศำลำกลำงจังหวัดลพบุรี • ทีว่ ่ำกำรอำเภอลพบุรี • สถำนีตำรวจภูธรลพบุรี • กำรไฟฟ้ ำส่วนภูมิภำค • โรงแรงลพบุรีอินน์ • โรงแรมฮ็อปอินน์ ลพบุรี

11


เส้ นทางการคมนาคม

-รถยนต์ -รถจักรยานยนต์ -รถจักรยาน -รถเมล์

-วินมอเตอร์ไซค์ -รถสองแถว -รถตู ้ -รถไฟ

- ถนนสายหลัก

- ถนนสายรอง

- ถนนรถไฟ

12


ประเพณีสาคัญ • ประเพณี คือสิ่งที่ปฏิบัติเชื่อถือกันมานานจนกลายเป็ นแยบอย่างความคิดหรือการ กระทาที่ได้ สืบต่อกันมา จังหวัดลพบุรีเป็ นแหล่งชุมชนของชนหลายกลุ่มหลายพวก มีท้งั ไทย จีน มอญ ไทยพวน อีสาน ฯลฯ แต่ทุกกลุ่มก็อยู่รวมกันได้ อ ย่างสบงสุข จึง ก่อให้ เกิดขนบธรรมเนียมประเพณีเฉพาะกลุ่มเฉพาะท้ องถิ่นที่แตกต่างกันออกไป ที่น้ ีจะกล่าวเฉพาะบางประเพณีท่มี ีลักษณะเด่นเท่านั้น • งานเลี้ยงโต๊ะจีนลิง

• ประเพณีกาฟ้ า • ประเพณีชักพระศรีอาริย์ วัดไลย์ • ประเพณีกวนข้ าวทิพย์ • ประเพณีใส่กระจาด (เส่อกระจาด)

13


วงเวียนพระนารายณ์มหาราช

14


วงเวียนศรีสรุ ิโยทัย (สระแก้ ว)

15


ตั้งอยู่ท่ตี าบลท่าหิน อาเภอเมือง ชาวเมืองลพบุรีเรียกที่น่ีกนั จนติดปากว่า “วังนารายณ์” เป็ นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ โปรดให้ สร้ างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2208-2209 ออกแบบโดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส ความสวยงามของที่น่ีอยู่ท่ลี ักษณะสถาปัตยกรรมแบบ ไทยผสมตะวันตก โดยความสาคัญของพระราชวังแห่ งนี้อยู่ท่สี มเด็จพระนารายณ์จะทรงโปรดประทับช่ วงตลอดฤดูฝน แต่ภายหลังการ เสด็จสวรรคตพระนารายณ์ราชนิเวศน์ได้ ถูกทิ้งร้ าง จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว พระองค์โป รดให้ บูรณะ พระราชวังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สร้ างพระที่น่ังขึ้นใหม่ และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ” มาจนถึงปัจจุบัน

16


สิ่ งศักดิ์สิทธิ์ คู่บา้ นคู่เมืองลพบุรี เป็ นจุดท่องเที่ยวที่น่าสนใจอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ภายในประดิษฐานเจ้าพ่อ พระกาฬ สันนิษฐานว่าเป็ นเทวรู ปพระนารายณ์ยนื สร้างด้วยศิลาแลง 2 องค์ องค์เล็กเป็ นแบบเทวรู ปเก่าในประเทศ ไทย องค์ใหญ่เป็ นประติมากรรมแบบลพบุรี แต่พระเศียรเดิมหายไป ภายหลังมีผนู ้ าพระเศียรพระพุทธรู ปศิลาทราย สมัยอยุธยามาสวมต่อไว้ บริ เวณโดยรอบศาลพระกาฬปกคลุมด้วยต้นไม้ใหญ่ร่มรื่ น ซึ่ งเป็ นที่อยูอ่ าศัยของฝูงลิง มากมาย จนกลายเป็ นสัญลักษณ์ของทางจังหวัด และเมื่อมีคนนาอาหารและผลไม้มาแก้บนที่ศาล ลิงเหล่านั้นก็ได้เข้า มากินอาหาร ต่อมากลายเป็ นความเคยชินของลิง และความคุน้ เคยของชาวบ้านและนักท่องเที่ยวไปโดยปริ ยาย

17


• เป็ นแหล่ งท่อ งเที่ย วทางประวั ติ ศ าสตร์ แ ละโบราณคดี ท่ีส าคั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของ จังหวัดลพบุรี โดดเด่นด้ วยลักษณะทางสถาปั ตยกรรมปราสาทเขมรในศิลปะ บายน สัน นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งขึ้ นในรั ช สมั ย พระเจ้ า ชั ย วรมั น ที่ 7 มี ลั ก ษณะเป็ น ปราสาทปรางค์เรี ยงต่ อกัน 3 องค์ เชื่อมต่ อกันด้ วยมุขกระสัน วางตั วในแนว เหนือ-ใต้ สังเกตได้ ว่าปราสาทประธานจะมีความสูงมากกว่าอีก 2 องค์ ภายใน ประดิ ษฐานพระพุ ทธรูปในรั ชสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทั้งยั งมี ก าร ประดับประดาส่วนต่าง ๆ ของปราสาทด้ วยปูนปั้ น หลังจากที่เสร็จสิ้นการไหว้ ศาลพระกาฬแล้ ว ว่ากันว่า “พระปรางค์สามยอด” เป็ นโบราณสถานที่ทุกคน จาเป็ นต้ องเดินทางมาแวะเที่ยวและเคารพสักการะกันทุกคน 18


• จังหวั ดลพบุ รีเป็ นจังหวั ดที่มีการปลู กทานตะวั นมากที่สุดในประเทศไทย อยู่ ท่ีประมาณ 200,000-300,000 ไร่ โดยช่ ว งที่ด อกทานตะวั น เริ่ ม แย้ ม กลี บ บานอยู่ ใ นช่ ว งเดื อ น พฤศจิกายน-มกราคมของทุกปี นอกจากทุ่งทานตะวันเหล่านี้จะเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สร้ าง รายได้ ให้ กับจังหวัดแล้ ว ทานตะวันยังเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สร้ างรายได้ ให้ กับชาวบ้ านด้ วย เช่ น กัน ไม่ ว่ า จะเป็ นเมล็ด ที่ส ามารถน ามาสกัด เป็ นน้า มั น ปรุ ง อาหาร หรื อ อบแห้ ง เพื่ อ รั บ ประทาน และอีก สารพั ดประโยชน์ ของทานตะวั น อีก มากมาย เราจึ งเห็น แหล่ ง ปลู ก ทานตะวั นกระจายอยู่ ท่ัวไปทั้งจังหวั ด ตั้งแต่ ในเขตอาเภอพัฒนานิคม อาเภอชั ยบาดาล บริ เวณเขาจีนแล ตาบลโคกตูม โดยนักท่องเที่ยวสามารถเลือกชมความสวยงามของทุ่ ง ทานตะวันไปตามเส้ นทางเหล่านี้ และแวะถ่ายรูปเพื่อสัมผัสความงดงามได้ ตามใจชอบ

19


• ตั้งอยู่ อ าเภอพั ฒ นานิ ค ม เป็ นเขื่อ นดิ น ที่ย าวที่สุด ในประเทศไทย นอกจาก คุณประโยชน์ในการกักเก็บน้าเพื่อการเกษตรแล้ ว เขื่อนป่ าสักชลสิทธิ์ยังเป็ น แหล่ ง ท่อ งเที่ย วที่ส าคั ญ ของจั ง หวั ด ลพบุ รี เพราะมี จุ ด ชมวิ ว ริ ม อ่ า งเก็บ น้า พิพิธภัณฑ์ เขื่อนป่ าสักชลสิทธิ์ และสันเขื่อน ล้ วนแล้ วแต่ได้ รับความสนใจจาก นักท่องเที่ยวเป็ นจานวนไม่น้อย โดยเฉพาะอย่ างยิ่งจุ ดที่รถไฟจอดอยู่เหนือ เขื่อน ในลักษณะทางรถไฟที่คดโค้ งให้ ความรู้สกึ เหมือนรถไฟลอยอยู่เหนือนา้ เราจึงเห็นนักท่องเที่ยวเป็ นจานวนไม่ น้อยหยิบกล้ องถ่ ายรูปเพื่ อบันทึกภาพ ความสวยงามเหล่านั้นเอาไว้ ตลอดจนร้ านอาหาร ร้ านจาหน่ ายสินค้ าที่ระลึก รถนาชมวิวทิวทัศน์ บ้ านพักรับรอง ลานกางเต็นท์ เอาไว้ รองรับนั กท่องเที่ยว อย่างเต็มที่ 20


ดินสอพองของลพบุรีได้ชื่อว่าเป็ นดินสอพองที่ดีที่สุดในเมืองไทยเพราะว่าเนื้อละเอียดเป็ นผง สะอาด นับเป็ นของฝากที่มีชื่อเสี ยงเก่าแก่ในอดีต ส่ วนใหญ่จะนาไปใช้ในการอุดไม้ สาหรับ ขัด ในการทาเครื่ องใช้สอยต่างๆ และใช้เป็ นส่ วนผสมของสี ทาบ้าน และยาสี ฟันอีกด้วย ปัจจุบนั ทากันมากที่หมู่บา้ นหินสองก้อน สะพานอิฐ ตาบลทะเลชุบศร

21


ผ้ามัดหมี่ คือ ผ้าที่ทอจากด้ายหรื อไหมที่ผกู มัดแล้วย้อมโดยการคิดผูกให้เป็ นลวดลาย แล้วนาไปย้อมสี ก่อนทอ เป็ นศิลปะการทอผ้าพื้นเมืองชนิดหนึ่งที่นิยมทากันมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในภาคกลางบางจังหวัด อาทิ จังหวัดชัยนาท จังหวัดอุทยั ธานี จังหวัดสุ พรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดลพบุรี ภาคเหนือมีการทอที่จงั หวัดเชียงใหม่ และจังหวัดน่าน เป็ นต้น

22


การวิเคราะห์ site 3 ไซต์ต้ งั อยูท่ ี่ ต.ท่าศาลา อ.เมือง จ.ลพบุรี - ทิศเหนือ ติดกับตลาดคลองถม Z-ONE

- ทิศตะวันออก ติดกับที่วา่ ง - ทิศใต้ ติกกับพื้นที่วา่ ง - ทิศตะวันตก ติดกับถนนจอมพลป. 2 เลน

23


การวิเคราะห์ site 3 วิเคราะห์ site • ทิศทางเดินของดวงอาทิตย์ • การรับแสง : จะเข้าจากทางด้านหน้าไซต์ ตามดวงอาทิตย์

• ทิศทางของลม : ลมเย็นจะพัดผ่านมาจากทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ ลมร้อนจะพัดผ่าน มาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ • มุมมอง : สารถมารถมองได้จากทางถนนเข้ามาหาไซต์ที่ต้ งั ได้ • มลพิษ : ควันรถยนต์ ฝุ่ นละออง กลิ่นเหม็น • เสี ยงรบ : เสี ยงจากรถยนต์ เสี ยงเพื่อนบ้าน

24


การวิเคราะห์ site 3 การเข้ าถึง • • • •

เส้นทางสาธารณะ ถนนสายรอง การเข้าถึงยานพาหนะ เส้นทางเดินเท้า

มุมมอง • มุมมองสาธารณะ • มุมมองส่ วนตัว

ระบบการข่ นส่ งสาธารณะ -รถยนต์ -รถจักรยานยนต์ -รถเมล์ -วินมอเตอร์ไซค์ -รถสองแถว -รถตู ้

25


การวิเคราะห์ site 3 - ทิศเหนื อ ติดกับตลำดคลองถม Z-ONE - ทิศตะวันออก ติดกับที่วำ่ ง - ทิศใต้ ติกกับพื้ นที่วำ่ ง - ทิศตะวันตก ติดกับถนนจอมพลป. 2 เลน

26


ตำรำงคะแนนกำรเลือกที่ต้งั โครงกำร เกณฑ์

SITE1

SITE2

SITE3

สภำพแวดล้อมของที่ตงั้

A

A

A

กำรจรำจรและกำรคมนำคม

A

B

A

ควำมสัมพันธ์ของโครงกำร

A

A

A

กำรมองเห็นและกำรเชือ้ เชิญ

A

C

B

กำรขยำยตัวของโครงกำร

C

B

A

ควำมสะดวกในกำรเข้ำถึง

A

B

A

รวม

22

19

23

A = 4 ดีมำก B = 3 ดี C = 2 ปลำงกลำง D = 1 แย่ 27


พื้ นที่แสดงวัฒนธรรมและภูปัญญำท้องถิ่น 25% พืน้ ทีแ่ สดงภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น : 25.00 x 10.00= 250 ตารางเมตร ห้องฟั งบรรยำยขนำด 60 ที่นัง่ จำนวน 1 ห้อง ระยะเวลำใช้งำน 3 ชัว่ โมง/รอบ ที่นัง่ /คน : 0.60x1.00 = 0.60 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ ฟั งบรรยำย : 0.60x60 = 36 ตำรำงเมตร

28


พื้ นที่กำรเรียนรูแ้ ละกำรให้ควำมรู ้ 35% ห้องฟั งบรรยายการให้ความรู ้ จำนวน 60 ที่นัง่ มีจำนวน 2 ห้อง : 13.00x17.00 = 221 ตำรำงเมตร จำนวน 120 ที่นัง่ 1 ห้อง : 17.00x21.00 = 357 ตำรำงเมตร ห้องฟั งบรรยำย จำนำน 200 ที่นัง่ 2ห้อง : 28.00x38.00 = 1064 ตำรำงเมตร

ห้องฟั งบรรยำยขนำด 60 ที่นัง่ จำนวน 1 ห้อง ระยะเวลำใช้งำน 3 ชัว่ โมง/รอบ ที่นัง่ /คน : 0.60x1.00 = 0.60 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ ฟั งบรรยำย : 0.60x60 = 36 ตำรำงเมตร ห้องฟั งบรรยำยขนำด 120 ที่นัง่ จำนวน 1 ห้อง ระยะเวลำใช้งำน 3 ชัว่ โมง/รอบ ที่นัง่ /คน : 0.60x1.00 = 0.60 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ ฟั งบรรยำย : 0.60x120 = 72 ตำรำงเมตร

ห้องฟั งบรรยำยขนำด 200 ที่นัง่ จำนวน 2 ห้อง ระยะเวลำใช้งำน 4 ชัว่ โมง/รอบ ที่นัง่ /คน : 0.60x1.00 = 0.60 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ ฟั งบรรยำย : 0.60x200 = 120 ตำรำงเมตร

29


ห้องประชุมสัมมนา จำนวน 20 ที่นัง่ 1 ห้อง : 12.00x10.00 = 120 ตำรำงเมตร จำนวน 40 ที่นัง่ 1 ห้อง : 10.00x22.00 = 220 ตำรำงเมตร ห้องประชุมสัมมนำขนำด 20 ที่นัง่ จำนวน 1 ห้อง ระยะเวลำใช้งำน 3 ชัว่ โมง/วัน ที่นัง่ /คน : 0.60x1.00 = 0.60 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ ประชุมสัมมนำ : 0.60x20 = 12 ตำรำงเมตร ห้องประชุมสัมมนำขนำด 40 ที่นัง่ จำนวน 1 ห้อง ระยะเวลำใช้งำน 3 ชัว่ โมง/วัน ที่นัง่ /คน : 0.60x1.00 = 0.60 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ ประชุมสัมมนำ : 0.60x40 = 24 ตำรำงเมตร

30


พื้ นที่เรียนรูต้ ำมอัตยำศัย 10%

ห้องสมุด /สื่อมัลติมีเดีย : 12.00 x 20.00= 240 ตำรำงเมตร

ห้องสมุดรองรับได้ 100 คน/วัน ระยะเวลำใช้งำน 4 ชัว่ โมง/วัน ใช้บริกำร 2 ช่วง/วัน : 100/2 = 50 คน ที่นัง่ /คน : 0.90x1.40 = 1.26 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ : 1.26x50 = 63 ตำรำงเมตร ห้องสื่อมัลติมีเดียรองรับได้ 50 คน/วัน ระยะเวลำใช้งำน 4 ชัว่ โมง/วัน ใช้บริกำร 2 ช่วง/วัน : 50/2 = 25 คน ที่นัง่ /คน : 1.00x1.80 = 1.80 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ : 1.80x50 = 45 ตำรำงเมตร

31


พื้ นที่นั ่งเล่น/จุดพักผ่อน : 15.00 x 25.00= 375 ตำรำงเมตร พื้ นที่นัง่ เล่น/พักผ่อน รองรับได้ 300 คน ระยะเวลำใช้งำน 3 ชัว่ โมง/วัน ที่นัง่ /คน : 0.60x1.00 = 0.60 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ ประชุมสัมมนำ : 0.60x200 = 180 ตำรำงเมตร

32


พื้ นที่ส่วนสำนักงำนบริกำรโครงกำร 5% ห้องทางานสาหรับเจ้าหน้าที่โครงการ 20 คน : 8.00 x 5.00= 40 ตำรำงเมตร พื้ นที่ตอนรับ : 12.00 x 13.00 = 156 ตำรำงเมตร ห้องทำงำนพนักงำนจำนวน 20 คน จำนวน 1 ห้อง ระยะเวลำใช้งำน 8 ชัว่ โมง/วัน ที่นัง่ /คน : 1.40x2.00 = 2.80 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ : 2.80x20 = 56 ตำรำงเมตร พื้ นที่พนักงำนตอนรับจำนวน 2 คน ที่นัง่ /คน : 2.50x2.00 = 5 m2 ขนำดพื้ นที่นัง่ : 5x2 = 10 ตำรำงเมตร พื้ นที่นัง่ รอ พื้ นที่โซฟำนัง่ 5 คน : 3.60x3.10 = 11.16 ตำรำงเมตร พื้ นที่โซฟำนัง่ 3 คน : 1.80x2.15 = 3.87 ตำรำงเมตร พื้ นที่โต๊ะชุด 4 คน : 1.25x1.85 = 2.31 ตำรำงเมตร พื้ นที่โต๊ะชุด 2 คน : 0.60x1.20 = 0.72 ตำรำงเมตร

33


พื้ นที่ส่วนบริกำร 5% ห้องเก็บของ : 4.50 x 3.50= 15.75 ตำรำงเมตร พื้ นที่เก็บขยะ : 2.00x 3.00 = 6 ตำรำงเมตร ห้องเก็บของ ชั้นวำงของ : 1.20x 0.40 = 0.48 ตำรำงเมตร ชั้นวำงของ : 1.20x 0.40 = 0.48 ตำรำงเมตร พื้ นที่เก็บขยะ

ถังขยะ : 1.10x0.60 = 0.66 ตารางเมตร

34


ห้องเจ้าหน้าที่ฝ่ายอาคาร : 5.00 x 6.00 = 30 ตำรำงเมตร ห้องพักแม่บา้ น : 5.00 x 4.00 = 20 ตำรำงเมตร พื้ นที่พนักงำนฝ่ ำยอำคำร โต๊ะทำงำน : 1.85x1.20 = 2.22 m2 ชั้นวำงของ : 2.00x0.50 = 1.00 m2 ห้องพักแม่บำ้ น โต๊ะทำงำน : 1.40x0.90 = 1.26 m2 ชั้นวำงของ : 1.50x0.60 = 0.90 m2

35


ห้องระบบรักษาความปลอดภัย : 3.50x3.00 = 10.5 ตำรำงเมตร ป้ อมยาม : 2.00 x 2.00= 4 ตำรำงเมตร ห้องรักษำควำมปลอดภัย โต๊ะทำงำน : 1.70x2.40 = 4.08 m2 ชั้นวำงของ : 2.00x0.50 = 1.00 m2 ป้ อมยำม โต๊ะทำงำน : 2.00x0.60 = 1.20 m2 ชั้นวำงของ : 1.00x0.60 = 0.60 m2

36


ห้องน้ าชาย : 7.00 x 4.50= 31.5 ตำรำงเมตร ห้องน้ าหญิง : 7.00x 4.50 = 31.5 ตำรำงเมตร ห้องน้ าพนักงาน : 3.50 x 5.50 = 19.25 ตำรำงเมตร ห้องน้ ำสำธำรณะ จำนวนคนที่เข้ำมำใช้ = คน ดังนั้น จะมีสุขภัณฑ์เเละพื้ นที่ ส้วมชำย 10 ชุด = 12 x 0.80 = 9.60 ตำรำงเมตร ส้วมหญิง 10 ชุด = 14 x 0.80 = 11.20 ตำรำงเมตร โถปั สสำวะ 5 ชุด = 12 x 0.80 = 9.60 ตำรำงเมตร อ่ำงล้ำงมือ 10 ชุด = 20 x 0.48 = 9.60 ตำรำงเมตร รวมพื้ นที่ 9.60+11.20+9.60+9.60 = 40 ตร.ม พื้ นที่สญ ั จร 30% ของพื้ นที่ = 40 x 30/70 = 17.14 ตำรำงเมตร รวมพื้ นที่ท้งั หมด = 40+17.14 = 57.14 ตำรำงเมตร

37


ห้องระบบไฟฟ้ า : 3.00 x 4.00= 12 ตำรำงเมตร ห้องรับบสุขาภิบาล : 3.00 x 4.50 = 13.5 ตำรำงเมตร ห้องระบบลิฟต์ : 2.00 x 2.00 = 4 ตำรำงเมตร ห้องระบบป้ องกันอัคคีภยั : 3.00 x 2.00= 6 ตำรำงเมตร ห้องระบบปรับอากาศ : 3.00 x 3.00 = 9 ตำรำงเมตร

38


พื้ นที่จอดรถยนต์และมอเตอร์ไซต์ จอดรถยนต์ - จำนวน 1 คัน : 5.00 x 2.40= 12 ตำรำงเมตร จอดมอเตอร์ไซต์ - จำนวน 1 คัน : 2.00 x 1.00 = 2 ตำรำงเมตร

กำรคำนวณหำพื้ นที่ส่วนจอดรถ กำรคำนวณคิด ดังนี้ จอดรถส่วนบุคคล พื้ นที่รวมโครงกำร/120 = จำนวน(คัน) (ที่มำ : พ.ร.บ.ควบคุมอำคำร ประเภทอำคำร สำธำรณะ) หรือจะคิดแยก พื้ นที่แต่ละองค์ประกอบ จอดรถเจ้ำหน้ำที่ คิดจำกจำนวนคน 10 คน/รถยนต์ 1 คัน จำนวนเจ้ำหน้ำที่โครงกำร = 142 คน จำนวนรถเจ้ำหน้ำที่ = 142/10 = 15 คัน (ที่มำ : สถิติสำนักงำน สถิติแห่งชำติ) จอดรถบัส รถโดยสำร 1 คัน จุที่นัง่ ได้ 50 คน/คัน จำนวนผูเ้ ข้ำชมเป็ นหมูค่ ณะสูงสุด 300 คน จะใช้รถบัสทั้งหมด = 300/50 = 6 คัน จอดรถบริกำร แบ่งเป็ น - รถบริกำรขน-ส่ง 2 คัน - รถฉุกเฉิน 1 คัน รวมเป็ นจำนวน = 3 คัน (ที่มำ : case study) 39


พื้ นที่สร้ำงสรรค์ 20% พื้ นที่สอนเพรำะต้นอ่อน 300 คน ระยะเวลำใช้งำน 4 ชัว่ โมง/วัน ใช้บริกำร 4 ช่วง/วัน : 300/4 = 75 คน ชั้นเพรำะต้นอ่อน : 4.00x0.80 = 3.20 m2 โต๊ะ : 2.00x0.80 = 1.60 ตำรำงเมตร พื้ นที่สำธิตกำรแปรรูปทำนตะวัน ระยะเวลำใช้งำน 3 ชัว่ โมง/รอบ โต๊ะ : 0.60x2.00 = 1.20 m2 ชั้นวำงของ : 2.50x0.60 = 1.50 m2 พืน้ ทีเ่ พราะปลูกทานตะวัน : 25.00 x 20.00= 500ตารางเมตร

40


พื้ นที่ถ่ำยรูป ขนำดพื้ นที่ภำยในสวน : 0.60x60 = 36 ตำรำงเมตร

พื้ นที่ขำยของที่ระลึก โต๊ะทำงำน : 3.00x3.60 = 10.80 m2 ชั้นวำงของ : 3.60x0.50 = 2.16 m2

กระท่อมรีสอร์ท จำนวน 5 หลัง พื้ นที่หอ้ ง :

41


การศึกษาอาคารตัวอย่าง ศูนย์เรียนรูส้ ุขภาวะ ตั้งที่ : 99/8 ซอยงำมดูพลี ถนนพระรำมสี่ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร แนวคิด : สำนั กงำนกองทุนสนั บสนุ นกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ หรือ สสส. มีภำรกิจในกำรส่งเสริมกำรสร้ำงสุขภำวะ โดยเน้นกำรมีสุขภำวะที่ดีพร้อมทั้งกำย จิตใจ สังคม และทำงปั ญญำ เพื่อระบบสุขภำพที่ดีของชำวไทยอย่ำงยัง่ ยืน มีพนั ธกิจในกำรส่งเสริม สนั บสนุ น และพัฒนำขบวนกำรสร้ำงสริมสุขภำพอั นนำไปสู่สุขภำวะ ยัง่ ยืนของประชำชนและสังคมไทย มีควำมประสงค์ที่จะสร้ำง ศูนย์เรียนรูส้ ุขภำวะและอำคำรสำนั กงำนขึ้ นเพื่อสนั บสนุ นกำรดำเนิ นงำนของอ งค์กร และเป็ นพื้ นที่ สำธิตให้ประชำชนเข้ำใจและร่วมกระบวนกำรเรียนรูใ้ นกำรสร้ำงเสริมสุขภำวะของ สสส. อย่ำงเป็ นรูปธรรม องค์ประกอบโครงสร้างและสัดส่วนพื้ นที่ • ส่วนทำงำน/ห้องประชุม 20% • ส่วนห้องสมุด 30%

• ส่วนกิจกรรม 40% • ส่วนพื้ นที่บริกำร 10%

42


ภาพโครงการ

43


44


45


Museum Boola Bardip in Perth by Hassell and OMA ตั้งที่ : Perth Cultural Centre, Perth WA 6000 ออสเตรเลีย แนวคิด : โดยได้โครงสร้ำงพิพิธภัณฑ์รูปตัว Lก่อนหน้ำนี้ ด้วยโครงสร้ำงเสริมหลำยอย่ำง ส่งผลให้เกิดลูปปิ ด เป็ นสองส่วน ที่ช้นั หนึ่ ง ผูเ้ ข้ำชมสำมำรถวนลำนภำยใน บนระนำบแนวนอนได้ หรือใช้เส้นทำงที่คล้ำยกันแต่เข้ำถึงได้ในแนวตั้งโดยใช้ลูกบำศก์ที่มีเสำค้ำ 2 ก้อนที่สร้ำงโครงสร้ำงที่กล้ำหำญเหนื อศำลทำงเข้ำและอำคำร เก่ำ นำมำใช้ใหม่เพื่อกำรศึกษำพิพิธภัณฑ์ กำรออกแบบด้ำนหน้ำอำคำรโปร่งแสงที่ผสมผสำนกระจกและโลหะเจำะรูช่วยลดรูปลักษณ์ที่หนักหนำของส่วนที่เพิ่มเติม เข้ำไป องค์ประกอบโครงสร้างและสัดส่วนพื้ นที่ • ส่วนทำงำน/ห้องประชุม 20% • ส่วนห้องสมุด 30%

• ส่วนกิจกรรม 40% • ส่วนพื้ นที่บริกำร 10%

46


47


48


49


50


51


Musée de la Romanité in Nîmes ตั้งที่ : 16 Bd des Arènes, 30900 Nîmes, ฝรั ่งเศส แนวคิด :

องค์ประกอบโครงสร้างและสัดส่วนพื้ นที่ • ส่วนทำงำน/ห้องประชุม 20% • ส่วนห้องสมุด 30%

• ส่วนกิจกรรม 40% • ส่วนพื้ นที่บริกำร 10%

52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


งำนระบบในอำคำร 1. ระบบไฟฟ้ ำ (Electrical System) • 1.1 ระบบไฟแสงสว่ำง (Lighting and Receptacle System) • 1.2 ระบบไฟฟ้ ำกำลัง (General Power System) • 1.3 ระบบไฟฉุกเฉิน (Emergency Power Supply System) • 1.4 ระบบสำยล่อฟ้ ำ (Lighting System)

2. ระบบปรับอำกำศและระบำยอำกำศ (Heating, Ventilation and Air Conditioning; HVAC System) • 2.1 ระบบทำควำมเย็น (Air Conditioning System) • 2.2 ระบบระบำยอำกำศ (Ventilation System)

62


3. ระบบสุขำภิบำล (Sanitary System) และระบบท่อภำยในอำคำร (Plumbing System) • 3.1 ระบบจ่ำยน้ ำดีหรือประปำ (Water Supply System) • 3.2 ระบบบำบัดน้ ำเสีย (Wastewater Supply System) • 3.3 ระบบน้ำํ โสโครก (Wastewater Drainage System)

• 3.4 ระบบทำออำกำศ (Ventilation Pipe System) • 3.5 ระบบระบำยน้ ำฝน (Strom Drainage System) • 3.6 ระบบระบำยน้ทิ้ง (Drainage System) • 3.7 ระบบระบำยน้ ำนอกอำคำร (Site Drainage System) • 3.8 ระบบน้ำํ ร้อน (Hot Water Supply System)

4. ระบบกำรขนส่งในอำคำร (Transportation System) • 4.1 ระบบกำรขนส่งทำงดิ่ง เช่น ลิฟต์ (Lift) และบันไดเลื่อน (Escalator)

63


5. ระบบกำรป้ องกันอัคคภีัยและดับเพลิง (Fire Alarm and Protection System) • 5.1 ระบบสัญญำณเตือนไฟไหม้ (Fire Alarm) • 5.2 ระบบดับเพลิงด้วยน้ำํ (Fire Protection System) • 5.3 ระบบหัวกระจำยน้ำํ ดับเพลิง (Sprinkler System)

6. ระบบสื่อสำร (Communication System) • 6.1 ระบบโทรศัพท์ (Telephone System) • 6.2 ระบบโทรทัศนส่ำยอำกำศรวม (Master Antenna Television System; MATV) • 6.3 ระบบเสียงประกำศ (Public Address System) • 6.4 ระบบโทรคมนำคมเครือข่ำย (Telecommunication Network)

7. ระบบรักษำควำมปลอดภัย (Security System) • 7.1 ระบบกล่องทีวีวงจรปิ ด (Closed Circuit TV; CCTV)

• 7.2 ระบบควบคุมกำรเข่ำออกแบบอัตโนมัติ(Access Control System)

64


65


66


67


68


69


70


แนวคิดในการออกแบบเบือ้ งต้นการจัดวางองค์ประกอบ

71


72


73


74


75


76


77


78


79


80


81


82


83


84


85


86


87


88


89


90


91


92


93


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.