Sugar Asia Magazine Vol. 07 No.26 July - September 2021

Page 1

Vol. 7 No.26 July - September 2021 : TH/EN

www.sugar-asia.com Published By

Reduce Machine Downtime ทางเลื​ือกใหม่​่เพื่�อ่ ลดการหยุ​ุดทำำ�งานของเครื่​่�องจั​ักร

Page 22

Cellulosic (2G) ethanol and the renewable and alternative energy development plan 2018 – 2037 ไทยเตรี​ียมแผนผลิ​ิตเอทานอลจากเซลลู​ูโลส ภายในปี​ี ‘80 Page 18

www.sugar-asia.com

THB 150 : USD 5


YOUR SPECIALIST FOR BAGGING & PALLETIZING OPENMOUTH & FFS bagging machines

ROBOT, PORTAL & HIGH-LEVEL palletizing systems

more than

more than

years

successfully installed machines

40

of experience

1500

Thailand branch office SB (Thailand) Co., Ltd. 101 Rama-9 Road Soi 60 Suanluang, Bangkok 10250 Tel.: +66 81 822 9569 attawit.ar@statec-binder.in.th

Global customer service

PROPAK ASIA BOOTH #AP31

STATEC BINDER GmbH Industriestrasse 32, 8200 Gleisdorf, Austria Tel.: +43 3112 38580-0 E-Mail: office@statec-binder.com www. statec-binder.com


Quick, clean and safe – quality speaks for itself. The QUADRANT from CLAAS.

Three square balers - an impressive line-up.

ครบเคร�่องเร�่องการอัดก อน

All QUADRANT models offer many additional benefits: - High throughput - Automatic baling pressure control for very high bale density - High rotor speed for outstanding crop flow - Good tying reliability, thanks to six high-performance knotters with no twine waste - Knife drawer available for all QUADRANT models – now also available for the QUADRANT 4200 - Crop feed systems to suit a variety of needs: ROTO FEED, ROTO CUT, SPECIAL CUT - Innovative bale weighing system for all QUADRANT models

เคร�่องอัดแบบก อนเหลี่ยมของ CLAAS (คลาส) มีให เลือกสามรุน ด วยกัน เร�ม� ต นทีร่ น ุ เล็กสุด คือ รุน QUADRANT 4200 และ รุน ที่ ใหญ ข�้น ได แก 5200 และ 5300 โดยขนาดก อนที่อัด คือ 1.20 x 0.70 เมตร และ 1.20 x 0.90 เมตร ตามลําดับ เคร�่องอัดก อน เหลี่ยมรุ น QUADRANT สามารถใช อัดวัสดุพ�ชหลายชนิดไม ว า จะเป น ใบอ อย ฟางข าว หร�อต นข าวโพดที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว เศษวัสดุพช� อัดก อนเหล านี้ สามารถนําไปใช สาํ หรับผลิตพลังงาน ไฟฟ าชีวมวลได เป นอย างดี

NEW: Integrated bale weighing system. The exact bale weight is displayed on the terminal of the QUADRANT models during working, and is saved to the customer order. Thanks to the new bale weighing system, the bale weights can be called up anywhere via TELEMATICS and undergo further processing.

สอบถามข อมูลเพ��มเติม / For more information: บร�ษัทคลาส ร�เจ�ยนัล เซ็นเตอร เซาท อีส เอเซีย จํากัด โทร. 02 726 9667 ต อ 115 claas.com (English) claas.co.th (ภาษาไทย)

CLAAS Regional Center South East Asia Ltd. 29 Bangkok Business Center Building 18th FL., Unit 1803, Sukhumvit 63 Road, Kwang Klongton - Nua, Khet Wattana Bangkok 10110, Thailand Tel : +66 272 69 667 ext.115 Fax : +66 272 69 669

CLAAS.SouthEastAsia @claas_sea

CLAAS South East Asia @claas.sea


www.sugar-asia.com

Kenny Yong Guest Editor Managing Director

Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd.

EDITOR’S MESSAGE Editor Managing Director Kenny Yong

Greetings Readers!

Publications Manager Rungnapa Manathanakit

Welcome to the third quarterly of Sugar Asia Magazine! Thailand is

rungnapa@fireworksbi.com

Editorial Consultants Poontarika Saenrit Board of Directors Kenny Yong Susan Tricia Content Editor Kanvara Srinangyai editor.th@fireworksbi.com

Media Executive Mena Sangmas Translator Korapat Pruekchaikul Designer Tansit Sachare

promoting utilization of bioethanol as alternative fuel to reducing imported energies, creating higher value for agricultural products, and increasing more income for Thai farmers. In this edition, we are honored as the exclusive article in this issue’s in Cover Story at with Seksan Phrommanich of the Business Development Manager SEAP, BL Biofuels, CLARIANT (THAILAND) COMPANY LIMITED. to tell us more about the Alternative Energy Development Plan 2018 – 2037 of Thailand, bioethanol would be promoted. On behalf of the editorial team, I thank you for your continuous support in Sugar Asia Magazine. Stay in touch with us on www.sugar-asia.com and follow us on Facebook and LinkedIn for more updates. Let’s pray for a better future, stay at home, and together we can fight the COVID-19 virus. For any interesting articles pertaining to the sugar or ethanol industry, please feel free to share it with us at editor.th@fireworksbi.com. Cheerios!

Follow us on Sugar Asia Magazine

FBI Publications (Thailand) Promphan 2 Office & Residence, 8th Floor (Office Zone, Room 807) 1 Soi Lat Phrao 3, Lat Phrao Road, Jompol, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand

Tel : (+66) 2513-1418 ext 108 Fax : (+66) 2513-1419 Email : thai@fireworksbi.com

Publisher :

SugarAsiaMag

Sugar Asia Magazine

Sugar TV



C

ONTENTS Vol. 7 No.26 July - September 2021

REGIONAL INDUSTRY NEWS

6

โรงงานน้ำำ�� ตาลไทย ดั​ันแผนเพิ่​่�มโควตาส่​่งออกน้ำำ�� ตาล สู่​่�ตลาดโลก Thailand Sugar Mills Plan to Boost Sugar Quota for Global Export

7

KTIS ร่​่วมมื​ือกับั เกษตรฯ - ส.อ.ท. เพื่อพั �่ ฒ ั นาโมเดลต้​้นแบบ เพิ่​่ม� ผลผลิ​ิตและคุ​ุณภาพอ้​้อย KTIS, MAC & FTI Develop Pilot Model to Boost Cane Products and Quality

9

ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ เผชิ​ิญกั​ับผลผลิ​ิตน้ำำ��ตาลที่​่�ยั​ังคงซบเซา Philippines sugar sector faces bitter realities

6 7

ร่​่วมพั​ัฒนา ‘คาร์​์บอนเครดิ​ิต’ เปิ​ิดตั​ัวแพลทฟอร์​์มการ 10 มิ​ิตรผล ซื้​้�อ-ขาย เพื่​่�อสิ่​่�งแวดล้​้อม

Mitr Phol to Develop ‘Carbon Credit’, Introducing New Environmentally-Friendly Thailand Carbon Credit Exchange Platform

INTERNATIONAL NEWS Sugar Production to Grow Tangibly This Year, Keep10 Global ing Prices Stable

12 13

ผลิ​ิตผลน้ำำ�� ตาลโลกเพิ่​่ม� เป็​็นรู​ูปธรรมและราคายั​ังคงที่​่ใ� นปี​ีนี้​้�

ตฯ การเกษตรของออสเตรเลี​ีย ยอมรั​ับข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ีกั​ับ 12 อุ​ุสหาราชอาณาจั​ั กร

Agriculture Industry Hails Australia-UK Free Trade Agreement

13

บริ​ิษั​ัทน้ำำ�� ตาลยั​ักษ์​์ใหญ่​่ดูไู บ เดิ​ินหน้​้าสร้​้างโรงงาน มู​ูลค่า่ กว่​่า 590 ล้​้านสหรั​ัฐ Dubai Sugar Giant Gets Go Ahead to Build Beet Factory

มี​ีโครงการพั​ัฒนาไร่​่อ้​้อยสร้​้างงานใหม่​่กว่​่า 860 ตำำ�แหน่​่ง 16 แอฟริ​ิกาใต้​้ New sugar farming project creates 860 jobs in South Africa สถาน ร่​่วมมื​ือ ‘พั​ัฒนาความหวาน’ หวั​ังผลิ​ิตน้ำำ��ตาล 16 จี​ีคุ​ุนณ-ปากี​ี ภาพสู​ูง

Pakistan-China Sugar Industry Cooperation Reform Sweetness

COVER STORY

10

ยมแผนผลิ​ิตเอทานอลจากเซลลู​ูโลส ภายในปี​ี ‘80 20 ไทยเตรี​ี Cellulosic (2G) ethanol and the renewable and alternative energy development plan 2018–2037

www.sugar-asia.com


SUGAR ASIA MAGAZINE

SPECIAL INSIGHT ทางเลื​ือกใหม่​่เพื่​่�อลดการหยุ​ุดทำำ�งานของเครื่​่�องจั​ักร 26 Reduce Machine Downtime ความแม่​่นยำำ�ของระบบวั​ัดค่​่าในเครื่​่�องตกผลึ​ึกน้ำำ�� ตาล 30 Brix Brix measurement in the crystallizer

ETHANOL NEWS ย เร่​่งผลิ​ิตเอทานอล พร้​้อมเปิ​ิดรั​ับน้ำำ�� ตาลจากบราซิ​ิล 34 อิ​ินเดี​ี India ethanol push cheers Brazilian sugar producers

6 7

บราซิ​ิลเตรี​ียมลงทุ​ุนเปิ​ิดโรงงานผลิ​ิตเอทานอลจากเซลลู​ูโลสแห่​่งใหม่​่ 34 Raízen Reveals Plans for Second Cellulosic Ethanol Plant in Brazil

งเสริ​ิมเอทานอลอิ​ินเดี​ีย 34 น้ำำแผนส่​่ �� ตาลโลก

สามารถช่​่วยขั​ับเคลื่​่�อนทิ​ิศทางของตลาด

India’s ethanol plan could drive a sugar bull market

7

BIOENERGY NEWS จั​ับมื​ือกั​ับบางจาก หวั​ังสร้​้างประเทศไทยเป็​็นฐานผลิ​ิตชี​ีวเคมี​ี 35 ปตท. ในระดั​ับภู​ูมิ​ิภาค

PTT & Bangchak to Boost Regional Biochemical Hub in Thailand

อ� สตาร์​์ทอั​ัพด้า้ นพลั​ังงาน เปลี่​่ย� นของเสี​ียจากอุ​ุตสาหกรรม 38 ลุ​ุเป็​็ยนเซี​ีพลั​ัยนาเอื้​้ งงานชี​ีวภาพ

Louisiana courts energy startup that converts sugar cane waste to biofuel

RESEARCH NEWS กวิ​ิจั​ัยบราซิ​ิลพบสาเหตุ​ุหลั​ักของโรคเหี่​่�ยวเน่​่าแดงในต้​้นอ้​้อย 39 นั​ัBrazil Researchers discover Major Discovery in Sugarcane Red Rot Disease

40 ADVERTISERS’ INDEX

10 www.sugar-asia.com


Regional News

โรงงานน้ำำ��ตาลไทย ดั​ันแผนเพิ่​่� มโควตาส่​่งออก น้ำำ��ตาล สู่​่�ตลาดโลก Thailand Sugar Mills Plan to Boost Sugar Quota for Global Export

3

สมาคมโรงงานน�้ำตาลทราย เผยว่าผลผลิตอ้อย ในฤดูหีบอ้อยปี 2563-2564 โรงงานน�้ำตาลได้ ผลผลิตอ้อยเข้าหีบอยู่ที่ 66.67 ล้านตันอ้อย ซึ่งตอบ สนองต่อผู้บริโภคและรวมไปถึงการส่งออกน�้ำตาลไป ยังต่างประเทศด้วย แต่ปัจจุบันผลผลิตอ้อยในฤดูหีบ ปี 2564/2565 ได้คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น หลังจากที่ ได้ประกาศว่าจะปรับขึน้ ของราคารับซื้อออ้ ย เพื่อสร้าง ความมั่นใจให้กับเกษตรกรและได้มั่นใจที่จะขยายการ ปลูกอ้อย เนื่องด้วยสถานการณ์ปัจจุบันที่ส่งผลให้การ บรโิ ภคน�้ำตาลภายในประเทศได้หดตัวลง ซึง่ ท�ำให้เกิด ผลกระทบไปถึงโรงงานน�้ำตาล นายปราโมทย์​์ วิ​ิทยาสุ​ุข ประธาน 3 สมาคมโรงงาน น้ำำ��ตาลทราย ได้​้เปิ​ิดเผยว่​่าโรงานน้ำำ��ตาลทั่​่�วประเทศใน ประเทศไทย ที่​่�มี​ีโรงงานทั่​่�วประเทศอยู่​่�ที่​่� 57 โรงงาน ซึ่​่�งได้​้ ทำำ�การสำำ�รวจปริ​ิมาณผลการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในช่​่วงขั้​้น� ต้​้นฤดู​ูกาล เพาะปลู​ูกปี​ี 2564-2565 ที่​่�คาดว่​่าจะมี​ีปริ​ิมาณผลผลิ​ิตอ้​้อย ที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นจากฤดู​ูกาลที่​่�แล้​้วอยู่​่�ที่​่� 66.67 ล้​้านตั​ันอ้​้อย เป็​็น 90 ล้​้านตั​ันอ้​้อย ซึ่​่�งปั​ัจจั​ัยหลั​ักๆ คื​ือสภาพอากาศที่​่�เอื้​้�อต่​่อ การเพาะปลู​ูกจากปริ​ิมาณน้ำำ��ฝนที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น ซึ่​่�งประกอบกั​ับ การที่​่�เกษตรกรชาวไร่​่อ้​้อยได้​้ส่​่งอ้​้อยในราคา 1,000 บาท ต่​่อตั​ัน ณ ค่​่าความหวานต้​้องอยู่​่�ที่​่� 10 ซี​ีซี​ีเอส ซึ่​่�งนั่​่�นเป็​็น ราคาที่​่�ได้​้รั​ับการประกั​ันราคาแล้​้ว นอกจากนี้​้�การส่​่งเสริ​ิม ของภาครั​ัฐยั​ังได้​้มี​ีมาตรการที่​่�ให้​้ความสำำ�คั​ัญในด้​้านการตั​ัด อ้​้อยสดเพื่​่�อรั​ักษาสิ่​่�งแวดล้​้อม ทำำ�ให้​้ชาวไร่​่อ้​้อยได้​้มี​ีรายได้​้ จากการเพาะปลู​ูกอ้​้อยส่​่งมอบให้​้แก่​่โรงงาน ซึ่​่�งทางสมาคม ได้​้ให้​้การรั​ับรองว่​่าการบริ​ิโภคน้ำำ��ตาลจะมี​ีแนวโน้​้มที่​่�ดี​ีขึ้​้�น หลั​ังจากสถาการณ์​์โควิ​ิด–19 ได้​้คลี่​่คล � ายลงไป ซึ่​่�งผลกระทบ จากสถาการณ์​์โควิ​ิด-19 ส่​่งผลให้​้โรงงานน้ำำ��ตาลได้​้มีกี ารปรั​ับ แผนที่​่�จะส่​่งออกน้ำำ�� ตาลไปยั​ังต่​่างประเทศเพิ่​่ม� ขึ้​้น� จากโควตา ที่​่�กำำ�หนด เพราะเนื่​่�องจากสถานการณ์​์ภายในประเทศชะลอ ตั​ัวลง ส่​่งผลให้​้ความต้​้องการซื้​้�อลดลงแต่​่กลั​ับกั​ันในด้​้านของ ความต้​้องการกลั​ับเพิ่​่�มขึ้​้�น ในด้​้านของแนวโน้​้มราคาน้ำำ��ตาลตลาดโลกยั​ังคงมี​ีโอกาส ที่​่�ปรั​ับตั​ัวที่​่�ดีขึ้​้ี น� ถึ​ึงแม้​้ว่า่ ประเทศไทยจะอยู่​่�ในฐานะผู้​้�ส่​่งออก น้ำำ��ตาลอั​ันดั​ับที่​่� 2 ของโลก ซึ่​่�งได้​้คาดการณ์​์ว่​่าสถาการณ์​์ ปริ​ิมาณอ้​้อยจะเพิ่​่ม� ขึ้​้น� เพราะเนื่​่�องด้​้วยในประเทศบราซิ​ิล ที่​่� เป็​็นผู้​้�ส่​่งออกน้ำำ��ตาลอั​ันดั​ับ 1 ของโลกกำำ�ลังั ประสบปั​ัญหาใน เรื่​่อ� งของสภาพอากาศที่​่�ส่ง่ ผลกระทบต่​่อปริ​ิมาณผลผลิ​ิตอ้​้อย และทั้​้�งนี้​้�บราซิ​ิลยั​ังมี​ีแผนที่​่�จะนำำ�ผลผลิ​ิตจากอ้​้อยไปผลิ​ิตเป็​็น เอทานอลเพิ่​่ม� ขึ้​้น� ซึ่​่�งเหตุ​ุผลนี้​้�จะส่​่งผลสะท้​้อนต่​่อสภาวะของ ราคาน้ำำ��ตาลโลกในทิ​ิศทางที่​่�ดีขึ้​้ี �น

6

การชะลอตั​ัวลงของการบริ​ิโภคน้ำำ��ตาลภายในประเทศ ลดลงเหลื​ือ 2.2 ล้​้านตั​ัน ในรอบการผลิ​ิตปี​ี 2563-2564 (ช่​่วงเดื​ือนตุ​ุลาคม 2563- เดื​ือนกั​ันยายน 2564) จาก เดิ​ิมที่​่�คาดว่​่าการบริ​ิโภคจะอยู่​่�ที่​่� 2.4 ล้​้านตั​ัน หลั​ังจากสถา การณ์​์โควิ​ิด-19 ในระลอกที่​่� 2 และ 3 โดยจะพบว่​่าในช่​่วง เดื​ือน 8 เดื​ือน (ตุ​ุลาคม 2563 – พฤษภาคม2546) ซึ่​่�ง ในความเป็​็นจริ​ิงมี​ีปริ​ิมาณการขายน้ำำ�� ตาลภายในประเทศได้​้ แค่​่ 1.5 ล้​้านตั​ันเท่​่านั้​้�น นายปราโมทย์​์ วิ​ิทยาสุ​ุข ได้​้กล่​่าว สรุ​ุปทิ้​้�งท้​้ายไว้​้ว่​่า “โรงงานน้ำำ��ตาลได้​้จั​ัดสรรปริ​ิมาณน้ำำ��ตาล ไว้​้สูงู เพื่อ่� ให้​้เพี​ียงพอต่​่อความต้​้องการของผู้​้�บริ​ิโภค เพื่​่อที่​่ � จ� ะ ไม่​่ให้​้เกิ​ิดสภาวะการขาดน้ำำ��ตาลภายในประเทศ แต่​่เนื่​่�องจาก เหตุ​ุการณ์​์สถานการณ์​์โควิ​ิด-19 ได้​้ระบาด จึ​ึงส่​่งผลให้​้การ บริ​ิโภคลดลงมากและจากปริ​ิมาณการบริ​ิโภคน้ำำ�� ตาลภายใน ประเทศที่​่�ต่ำำ��กว่​่าที่​่�คาดไว้​้ ส่​่วนปริ​ิมาณน้ำำ��ตาลที่​่�เหลื​ือจากการ ขายภายในประเทศ จะนำำ�ไปส่​่งออกในตลาดตต่​่างประเทศ แทน เพื่อที่​่ ่� จ� ะเป็​็นประโยชน์​์ต่อ่ อุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยและน้ำำ��ตาล ทรายของไทย”

of 2021/2022, would receive 90 million tons of harvested cane. In the previous period, 66.67 million tons of cane were sent for extraction at sugar mills. The main factor for the increasing number of cane for extraction this year includes ideal climate for cane growing, particularly more rains. In addition, local cane growers who were paid 1,000 Baht per a ton of cane necessarily had harvested cane of which sweetness was at 10 CCS as it is the guaranteed value. Also, public sectors encouraged harvesting cane by fresh cutting to save environment. Doing so will enable local cane growers to earn more. The 3 Sugar Mill Association even affirmed that the post-Covid 19 consumption of sugar would be better since, at present, many sugar mills need to adjust their sugar export plans by sending more products overseas due to sluggish economic situation in Thailand which results in less purchasing power despite more product demands. In terms of sugar prices in the world market, there is a chance of improvement even though Thailand was ranked the 2nd on sugar export. It is projected that amount of cane will increase since Brazil, which was ranked the 1st on the world sugar export, is currently facing weather problems causing less cane production than before. Moreover, cane harvested in Brazil is planned for more ethanol production. As a result, the situations reflect better conditions of sugar prices in the world market.

3

Sugar Mill Association has recently informed that, during the cane extraction season between 2020 and 2021, sugar mills nationwide accepted a total of 66.67 million tons of cane for extraction. The number served both local consumption and overseas export. However, the Association expected that the number of cane for extraction between 2021 and 2022 would increase upon official announcement of higher prices to purchase harvested cane. This will make local cane growers more confident to increase cane growing as domestic sugar consumption has lately decreased, affecting many local sugar mills.

Mr. Pramote Witthayasuk, the chairman of 3 Sugar Mill Association, announced that a total of 57 sugar mills throughout Thailand, in accordance with a survey regarding the amount of sugar produced at the initial harvest period

While it was calculated that sugar consumption would reach 2.4 million tons during the production period of 2021-2022 (October, 2020 – September, 2021), the number might drop to 2.2 million tons. After the 2nd and 3rd waves of pandemic, it was found that, between October, 2020, and May, 2021, the amount of sugar sold domestically was only 1.5 million tons. Mr. Pramote therefore concluded that sugar mills had already provided high amount of sugar to serve consumers’ needs so that shortage of sugar would not take place. Nonetheless, owing to the spread of Covid-19, consumption power dropped and sugar consumption was lower than expected in Thailand. The amount of sugar left in the country will be exported to other countries to promote local cane and sugar industries.

www.sugar-asia.com


Regional News

KTIS ร่​่วมมื​ือกั​ับเกษตรฯ - ส.อ.ท. เพื่​่� อพั​ั ฒนาโมเดล ต้​้นแบบ เพิ่​่� มผลผลิ​ิตและคุ​ุณภาพอ้​้อย KTIS, MAC & FTI Develop Pilot Model to Boost Cane Products and Quality

การตรวจสอบวิ​ิเคราะห์​์สภาพดิ​ินเพื่​่�อที่​่จ� ะพั​ัฒนาปุ๋�ย๋ ให้​้เหมาะสมกั​ับสภาพของดิ​ิน

ายประพั​ันธ์​์ ศิ​ิริ​ิวิ​ิริ​ิยะกุ​ุล ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหาร กลุ่​่�มบริ​ิษั​ัท เกษตรไทย อิ​ินเตอร์​์เนชั่​่�นแนล ชู​ูการ์​์ คอร์​์ปอเรชั่​่�น จำำ�กั​ัด (มหาชน) หรื​ือกลุ่​่�ม KTIS ผู้​้�นำำ� ในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลและอุ​ุตสาหกรรมต่​่อเนื่​่�องครบ วงจร ได้​้มี​ีแผนขั​ับเคลื่​่�อน “โครงการนำำ�ร่​่องพั​ัฒนา เกษตรแม่​่นยำำ�สู่​่�ธุ​ุรกิ​ิจอุ​ุตสาหกรรม 2 ล้​้านไร่​่” ตาม ที่​่�กระทรวงเกษตรและสหกรณ์​์ และสภาอุ​ุตสาหกรรม แห่​่งประเทศไทยได้​้กล่​่าวไว้​้ โดยมี​ีอ้อ้ ยโรงงานเป็​็นหนึ่​่�ง ในพื​ืชเกษตรเป็​็นเป้​้าหมาย ในฐานะที่​่�กลุ่​่�ม KTIS เป็​็น ผู้​้�ประกอบการรายใหญ่​่อั​ันดั​ับต้​้นๆ ของอุ​ุตสาหกรรม อ้​้อยและน้ำำ��ตาลทรายในไทย ซึ่​่�งได้​้รั​ับการคั​ัดเลื​ือกให้​้ เข้​้าร่​่วมเป็​็นโครงการนำำ�ร่​่องด้​้วย และทั้​้�งนี้​้�ได้​้มี​ีการใช้​้ เทคโนโลยี​ีใหม่​่ๆ เข้​้ามาเพื่�อช่ ่ ว่ ยเพิ่​่ม� ผลผลิ​ิตต่​่อไร่​่และ ได้​้อ้​้อยที่​่�มี​ีคุ​ุณภาพ เช่​่น โดรน นำำ�มาใช้​้ในการถ่​่าย ภาพ ฉี​ีดพ่​่น หว่​่าน

กลุ่​่�ม KTIS ได้​้มี​ีการจั​ัดอบรมแก่​่ชาวไร่​่อ้​้อยที่​่�เข้​้าร่​่วม โครงการ พร้​้อมทั้​้�งสนั​ับสนุ​ุนในด้​้านเครื่​่�องจั​ักรกลกรเกษตร และปั​ัจจั​ัยการผลิ​ิตที่​่�สำำ�คัญ ั โดยมี​ีอ้​้อยโรงงานเป็​็นหนึ่​่�งในพื​ืช เกษตรเป้​้าหมายที่​่�สำำ�คัญ ั ทั้​้�งนี้​้�พื้​้น� ที่​่�ที่​่เ� ป็​็นเป้​้าหมายการเกษตร แปลงใหญ่​่อ้อ้ ยที่​่�เข้​้าร่​่วมโดยมี​ีพื้​้น� ที่​่�รวมทั้​้�งหมด 46,868 ไร่​่ ซึ่​่�งประกอบไปด้​้วย 12 จั​ังหวั​ัด ได้​้แก่​่ จั​ังหวั​ัดกำำ�แพงเพชร สุ​ุโขทั​ัย พิ​ิษณุ​ุโลก อุ​ุตรดิ​ิตถ์​์ พิ​ิจิ​ิตร เพชรบู​ูรณ์​์ นครสวรรค์​์ อุ​ุทั​ัยธานี​ี ชั​ัยนาท สิ​ิงห์​์บุ​ุรี​ี สุ​ุพรรณบุ​ุรี​ี และลพบุ​ุรี​ี ในส่​่วน จำำ�นวนของเกษตรกรมี​ีทั้​้�งหมด 1,493 ราย โดยที่​่�แยกเป็​็น เกษตรแปลงใหญ่​่อ้อ้ ยอยู่​่�แล้​้ว 27 แปลง มี​ีพื้​้�นที่​่� 31,957 ไร่​่ โดยมี​ีจำำ�นวนเกษตรกรสมาชิ​ิกแปลงใหญ่​่ 1,420 ราย และเป็​็น www.sugar-asia.com

พื้​้�นที่​่�ของเกษตรกรเครื​ือข่​่าย 14,911 ไร่​่ และมี​ีเกษตรแปลง ใหญ่​่ที่​่ยั� งั ไม่​่ได้​้ขึ้​้น� ทะเบี​ียน อี​ีกจำำ�นวนเกษตรกร 73 ราย ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหาร กลุ่​่�ม KTIS ให้​้รายละเอี​ียด เพิ่​่�มเติ​ิมเกี่​่�ยวกั​ับโครงการพั​ัฒนาเกษตรแม่​่นยำำ�ฯ นี้​้�ว่​่า “โครงการพั​ัฒนาเกษตรแม่​่นยำำ�นี้​้�จะส่​่งเสริ​ิมการรวมกลุ่​่�ม

เกษตรกรเพื่อ่� การถ่​่ายทอดองค์​์ความรู้​้� เรื่​่อ� งเทคโนโลยี​ี และ เรื่​่อ� งนวั​ัตกรรมการผลิ​ิต โดยที่​่�เริ่​่ม� จากการให้​้การอบรม และ ให้​้การสนั​ับสนุ​ุนในด้​้านต่​่างๆ ที่​่�จะช่​่วยให้​้ต้น้ ทุ​ุนการผลิ​ิตลด ลงและผลผลิ​ิตต่​่อไร่​่เพิ่​่ม� ขึ้​้น� รวมไปทั้​้�งคุ​ุณภาพอ้​้อยที่​่�วัดั จาก ค่​่าความหวานก็​็จะเพิ่​่ม� ขึ้​้น� ไปด้​้วย โดยที่​่�มีเี ป้​้าหมายที่​่�จะสร้​้าง

กลุ่​่�ม KTIS จั​ัดอบรมแก่​่ชาวไร่​่อ้​้อยที่​่�เข้​้าร่​่วม ‘โครงการนำำ�ร่​่องพั​ัฒนาเกษตรแม่​่นยำำ�สู่​่�ธุรุ กิ​ิจอุ​ุตสาหกรรม 2 ล้​้านไร่​่ ’

7


Regional News ผลผลิ​ิตต่​่อไร่​่เฉลี่​่�ยมากกว่​่า 10 ตั​ันต่​่อไร่​่ ซึ่​่�งจะได้​้คุ​ุณภาพ ความหวาน 12 ซี​ีซี​ีเอส ขึ้​้�นไป และการตั​ัดอ้​้อยสดคุ​ุณภาพ ที่​่�ดี​ี ไม่​่มี​ีสิ่​่�งสกปรกปนเปื้​้�อนก่​่อนส่​่งเข้​้าโรงงาน ซึ่​่�งโรงงาน น้ำำ��ตาลกลุ่​่�ม KTIS มี​ีเป้​้าหมายจะรั​ับซื้​้�ออ้​้อยเพิ่​่�มขึ้​้�นจาก โครงการนี้​้�จำำ�นวน 730,000 ตั​ัน หรื​ือ 730 ล้​้านกิ​ิโลกรั​ัม” และเนื่​่�องจากจะมี​ีการนำำ�เทคโนโลยี​ีใหม่​่ๆ เช่​่น โดรน ที่​่�มี​ี การนำำ�เข้​้ามาใช้​้ในการเกษตร ดั​ังนั้​้�นการจั​ัดการทำำ�หลั​ักสู​ูตร การบิ​ินโดรนเพื่ออ ่� บรมให้​้กับั เกษตรกร โดยที่​่�จะมี​ีแปลงสาธิ​ิต สำำ�หรั​ับการฝึ​ึกอบรมในครั้​้�งนี้​้�ด้​้วย นอกจากจะมี​ีการพั​ัฒนศั​ักยาภาพของพื้​้�นที่​่�ที่​่ป� ลู​ูกอ้​้อย โดยวิ​ิธี​ีการตรวจสอบวิ​ิเคราะห์​์และการปรั​ับปรุ​ุงความสมบู​ูรณ์​์ ของสภาพดิ​ิน รวมไปถึ​ึงการวิ​ิจั​ัยพั​ัฒนาหาปุ๋​๋�ยที่​่�เหมาะสม กั​ับสภาพดิ​ิน และการจั​ัดหาและพั​ัฒนาแหล่​่งน้ำำ��ทั้​้�งในเขต ชลประทานและนอกเขตชลประทาน ที่​่�ได้​้วางเป้​้าหมายใน การขุ​ุดบ่​่อจำำ�นวน 3,216 บ่​่อ ถ้​้าหากมี​ีน้ำำ��ไหลผ่​่านอาจ จะสร้​้างฝาย ห้​้วย หรื​ือทำ�ำ สระน้ำำ�� รวมไปถึ​ึงแม้​้กระทั่​่�งการ ลอกคู​ูคลอง และการใช้​้พลั​ังงานโซล่​่าห์​์เซลในการสู​ูบน้ำำ��มา ใช้​้ในโครงการนำำ�ร่อ่ งพั​ัฒนาเกษตรแม่​่นยำำ�ฯ ทำำ�ให้​้ได้​้โดเมล ต้​้นแบบตั้​้�งแต่​่การพั​ัฒนาดิ​ิน การป้​้องกั​ันและกำำ�จั​ัดศั​ัตรู​ูพื​ืช ไปจนกระทั่​่�งการเก็​็บเกี่​่�ยว ซึ่​่�งต้​้องแบ่​่งชั้​้�นคุ​ุณภาพปละการ ประเมิ​ินผลผลิ​ิตก่​่อนการเก็​็บเกี่​่�ยว เพื่​่�อให้​้ได้​้ผลผลิ​ิตอ้​้อย ต่​่อไร่​่เพิ่​่�มขึ้​้�นและคุ​ุณภาพอ้​้อยที่​่�สู​ูงขึ้​้�น

M

r. Parphan Siriviriyakul, the Executive Board Director of Kaset Thai International Sugar Corp. (Public Company Limited) (KTIS), the leading sugar and comprehensive continuous industry of Thailand, announced that the Ministry of Agriculture and Cooperatives (MAC) and the Federation of Thai Industries (FTI)

already mobilized a plan entitled, “the pilot project for development of precisive agriculture towards 2-million-Rai land industrial business”. Accordingly, cane from factories is one of agricultural crop targets. As KTIS is also a top manufacturer in the cane and sugar industry, it was invited to take part in this project and use modern technologies, namely a drone to take photos of cane farms, spray and sow, to increase the number of products and boost quality of cane. In this regard, KTIS offered cane growers a training as well as providing them with agricultural machines and other crucial production factors. The company emphasizes mainly on cane for factories as the major agricultural crop. The total cane plantation area of 46,868 Rai land covers 12 provinces in Thailand: Kamphaeng Phet, Sukhothai, U-taradith, Phitsanulok, Phichit, Phetchabun, Nakhon Sawan, U-Thai Thani, Chainat, Singburi, Suphan Nuri and Lopburi. Out of the 1,493 cane growers, 1,420 of them are members who own a large cane farming of 27 plots of a total of 31,957 Rai land. The other 14,911 Rai land belongs to cane growers who are network members. There are also 73 cane growers owning a large cane farming who has not yet been officially registered. Mr. Parphan added that the above-mentioned project would promote cooperation of local cane growers in terms of knowledge

sharing, technology and production innovations, starting from training and other support in several areas. Doing so will reduce production costs but increase products per a Rai land and boost quality of cane according to sweetness measurement. The aim of this project is to increase products per a Rai land to more than 10 tons of which sweetness will reach up to 12 CCS. Moreover, cane cutting necessarily yields crops without any contamination before sending them to a factory. KTIS supervised factories are planning to buy 730,000 tons, an equivalent to 730 million kilograms, of cane harvested under this project. Since modern technologies, namely a drone, are used in this project to take photos, spray and sow, local cane growers will have to attend a course of drone flying in a demonstration farm, as well. Finally, areas of cane farming will be improved by checking, analysing and developing soil condition as well as research on fertilizers appropriate to soil. Moreover, procrement and improvement of water resources both inside and outside irrigation areas will be carried out. 3,216 reservoirs will be dug up. In areas where water passes, a pond, a dam or a brook will be made along with ditch stripping and use of solar cells to pump water for a farm under the project. As a result, a pilot model will exist as it includes soil improvement, pest prevention and crop harvest of which quality levels are necessarily typified and pre-harvest assessment conducted for the sake of increasing number of quality of cane per a Rai land.

นายประพั​ันธ์​์ ศิ​ิริ​ิวิ​ิริ​ิยะกุ​ุล ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหาร กลุ่​่�มบริ​ิษั​ัท เกษตรไทย อิ​ินเตอร์​์เนชั่​่�นแนล ชู​ูการ์​์ คอร์​์ปอเรชั่​่�น จำำ�กั​ัด (มหาชน)

8

www.sugar-asia.com


Regional News

ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ เผชิ​ิญกั​ับผลผลิ​ิตน้ำำ��ตาลที่​่�ยั​ังคงซบเซา Philippines sugar sector faces bitter realities

ฟิ​ิ

ลิ​ิปปิ​ินส์​์ ประเทศผู้​้�จัดั หาน้ำำ��ตาลดิ​ิบให้​้กับั สหรั​ัฐอเมริ​ิกา มาเป็​็นเวลานาน และกำำ�ลั​ังอยู่​่�ในสถานการณ์​์ที่​่� ตึ​ึงเครี​ียดเนื่​่�องจากสถานการณ์​์การจั​ัดหาน้ำำ��ตาล ที่​่�ไม่​่ เพี​ียงแต่​่เกิ​ิดขึ้​้น� ในประเทศเท่​่านั้​้�น แต่​่ยังั รวมถึ​ึงการที่​่�จะ ต้​้องส่​่งออกน้ำำ��ตาลไปยั​ังประเทศอื่​่�น ๆ ด้​้วย เนื่​่�องจาก การระบาดครั้​้�งใหญ่​่ของเชื้​้�อไวรั​ัสโควิ​ิด-19 และการ เปลี่​่ย� นแปลงของสภาพภู​ูมิ​ิอากาศจึ​ึงทำำ�ให้​้การผลิ​ิตน้ำำ��ตาล ในฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์และประเทศผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่อื่​่น� ๆ แย่​่ ลงตามๆ กั​ัน ผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในประเทศจึ​ึงเรี​ียกร้​้องให้​้ รั​ัฐบาลระงั​ับการขนส่​่งน้ำำ��ตาลออกไปยั​ังตลาดสหรั​ัฐฯ สำำ�หรั​ับฤดู​ูการเพาะปลู​ูกในปี​ี พ.ศ. 2564-2565 ทั้​้�งนี้​้� ผู้​้�ผลิ​ิตในประเทศยั​ังกล่​่าวอี​ีกว่​่า ผลผลิ​ิตในฤดู​ูการเพาะ ปลู​ูกที่​่�จะเกิ​ิดขึ้​้�นคาดว่​่าจะลดลง ซึ่​่�งรั​ับประกั​ันได้​้ว่​่าจะ มี​ีการระงั​ับการขนส่​่งไปยั​ังสหรั​ัฐอเมริ​ิกาชั่​่�วคราวโดย ใช้​้ระบบโควตาอั​ัตราภาษี​ี เนื่​่�องจากสหรั​ัฐฯ เป็​็นตลาดสำำ�หรั​ับการนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลจาก ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ตั้​้ง� แต่​่ช่ว่ งปี​ี พ.ศ. 2339 ตามรายงานของสำำ�นักั งาน กำำ�กั​ับดู​ูแลกิ​ิจการน้ำำ��ตาล (SRA) ตั้​้�งแต่​่ปี​ี พ.ศ. 2423 ถึ​ึง พ.ศ. 2432 การส่​่งออกน้ำำ��ตาลของประเทศฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ไปยั​ัง สหรั​ัฐอเมริ​ิกามี​ีค่า่ เฉลี่​่�ยอยู่​่�ที่​่� 200,000 เมตริ​ิกตั​ันต่​่อปี​ี การ พั​ัฒนาอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลของฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์เป็​็นไปอย่​่างรวดเร็​็ว ระหว่​่างการล่​่าอาณานิ​ิคมของสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เมื่​่�อฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ ได้​้รับั อนุ​ุญาตให้​้ส่ง่ ออกน้ำำ��ตาลไปยั​ังสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ที่​่�อยู่​่�ตาม ภายใต้​้เงื่​่�อนไขพิ​ิเศษ

อย่​่างไรก็​็ตาม ผลผลิ​ิตน้ำำ��ตาลที่​่�ลดลงในช่​่วงไม่​่กี่​่�ปี​ีที่​่� ผ่​่านมา ทำำ�ให้​้ทั้​้�งรั​ัฐบาล โรงงาน และผู้​้�ผลิ​ิต ต้​้องประเมิ​ิน ศั​ักยภาพของประเทศฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ในการเพิ่​่ม� เติ​ิมโควตาน้ำำ��ตาล ของกรุ​ุงวอชิ​ิงตั​ันอี​ีกครั้​้�ง ทั้​้�งนี้​้�ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์สามารถสนองความ www.sugar-asia.com

ต้​้องการน้ำำ��ตาลของวอชิ​ิงตั​ันได้​้เสมอ ในปี​ีที่​่ผ่� า่ นมา เนื่​่�องจาก การจั​ัดสรรน้ำำ��ตาลของประเทศขึ้​้น� อยู่​่�กั​ับการขนส่​่งในอดี​ีต แต่​่ ผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลและโรงงานน้ำำ��ตาลเตื​ือนว่​่า หากปั​ัญหาที่​่�คุกุ คาม ภาคอุ​ุตสาหกรรมยั​ังไม่​่ได้​้รับั การแก้​้ไขในทั​ันที​ี ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์จะถู​ูก กดดั​ันอย่​่างหนั​ักให้​้เพิ่​่ม� โควตาในอี​ีก 3 - 5 ปี​ีข้า้ งหน้​้า อีกประการหนึง่ ในช่วงไม่กีป่ ที ผี่ า่ นมาผลผลิตน�้ำตาล ที่ได้ยังก็คงซบเซา ท�ำให้จ�ำเป็นต้องขยายพื้นที่ปลูกอ้อย ทั้งนี้การคุกคามของพายุลานีญายังท�ำให้ผู้ผลิตน�้ำตาลเพิ่ม ผลผลิตได้ยากขึ้น

T

he Philippines, a long-time supplier of raw sugar to the United States, is currently in a bind due to the sugar supply situation not only in the country but also in other parts of the world. As the pandemic and climate change have upended sugar production in the Philippines and other major sugar-producing countries, local producers this early are urging the government to suspend sugar shipments to the US market for crop year 2021-2022. According to local producers, output in the upcoming crop year is expected to decline, which warrants the temporary suspension of shipments to the US under the tariff rate quota system.

The US became a market for Philippine sugar as early as 1796, according to the Sugar Regulatory Administration (SRA). From 1880 to 1889, the country’s sugar exports to the US averaged 200,000 metric tons annually. The development of the Philippine sugar industry was fast-tracked during the American occupation, when the country was allowed to export sugar to the US under preferential terms. However, the decline in the sugar sector’s productivity in recent years is prompting the government, millers and producers to reassess the country’s capacity to fill up Washington’s sugar quota. The Philippines has always managed

to supply Washington’s sugar requirement in previous years as the allocation of the country hinges on its historical shipments. However, sugar producers and millers warned that if the problems threatening the sector are not immediately addressed, the country would be hard pressed to fill up the quota in the next three to five years. For one, output has remained stagnant in recent years, making it imperative to expand areas planted with sugarcane. The threat of La Niña has also made it more difficult for sugar producers to increase output as an increase in rainfall could reduce the sugar content of canes grown in affected areas. Unfortunately, La Niña is becoming more frequent, and there is a possibility that major sugar-producing provinces would again experience more rainfall this year, according to the state weather bureau. From 421,358 hectares of farms planted with sugarcane in CY 2016-2017, when the country’s output breached 2.5 million metric tons, the size of sugar plantations shrank to 409,714 hectares in CY 2018-2019, according to SRA data. This prompted sugar millers and producers to ask the national government to put in place a national program that will allow them to improve output despite the rapid decline in combined land area planted with sugarcane. Land consolidation, which has been done via the block-farming program, should be an integral part of this national scheme, given the importance of economies of scale in sugar cultivation. Government must also work with sugar millers and producers to develop other areas where sugarcane may be cultivated. Sugar is one of the country’s major export commodities and is an essential raw material for the manufacture of certain food items, some of which are also exported. Improving the sector’s productivity requires bold and decisive steps, which must be taken soon, given the threat of climate change to local food production.

9


Regional News

มิ​ิตรผล ร่​่วมพั​ั ฒนา ‘คาร์​์บอนเครดิ​ิต’ เปิ​ิดตั​ัวแพลท ฟอร์​์มการซื้​้�อ-ขาย เพื่​่� อสิ่​่ง � แวดล้​้อม Mitr Phol to Develop ‘Carbon Credit’, Introducing New Environmentally-Friendly Thailand Carbon Credit Exchange Platform

RE100 - Carbon meeting

ลุ่​่�มอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลของไทยหรื​ือ ส.อ.ท. ร่​่วม จั​ับมื​ือกับั องค์​์การบริ​ิหารจั​ัดการก๊​๊าซเรื​ือนกระจก (อบก.) อี​ีก 53 องค์​์กร เพื่�อ่ เปิ​ิดตั​ัว Thailand Carbon Credit Exchange Platforn ซึ่​่�งเป็​็นแพลทฟอร์​์มหลั​ัก เพื่​่�อขั​ับเคลื่​่�อนอุ​ุตสาหกรรมของไทย สู่​่�การใช้​้พลั​ังงาน ทดแทนพลั​ังงานเดิ​ิมที่​่�เป็​็นมลภาวะต่​่อโลก โดยจั​ัด ตั้​้�งโครงการที่​่�มี​ีชื่​่�อว่​่า RE100 Thailand Club.

นายสุ​ุพั​ันธุ์​์� มงคลสุ​ุธี​ี ประธานสภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย หรื​ือ ส.อ.ท.

10

การพัฒนาคาร์บอนเครดิตมีจุดเริ่มต้นจากการตื่น ตัวในการสร้างสมดุลให้ชั้นบรรยากาศของโลกของนานา ประเทศผ่านพิธีสารโตเกียว (Kyoto Protocol) ในปี 1997 ให้ประเทศพัฒนาแล้ว 37 ประเทศจะต้องลดการปล่อยก๊าช เรือนกระจกลงโดยจะมีการออกกฎหมาย ก�ำหนดระดับการ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในแต่ละปี และเรมิ่ ใช้มาตรการ ทางภาษีกับผู้ท่ีปล่อยก๊าชเรือนกระจกเกินระดับที่ก�ำหนด ส่วนประเทศอื่นๆ ที่ร่วมลงนามรวมถึงประเทศไทยจะต้อง ใช้ความพยายามในการลดก๊าชเรือนกระจก ซึ่​่�งต่​่อมาในปี​ี 2015 ได้​้มี​ีการประชุ​ุม ณ กรุ​ุงปารี​ีส (Paris Agreement) นานาชาติ​ิได้​้ร่​่วมกั​ันกำำ�หนดเป้​้าหมาย ในการรั​ักษาอุ​ุณหภู​ูมิ​ิเฉลี่​่�ยของโลกไม่​่ให้​้เพิ่​่�มก่​่อนยุ​ุคก่​่อน อุ​ุตสาหกรรมอย่​่างน้​้อย 1.5 องศาเซลเซี​ียล และยั​ังกำำ�หนดหลั​ัก การซื้​้�อขาย ก๊​๊าชเรื​ือนกระจก (Emission Trading System: ETS) ซึ่​่�งสามารถขายสิ​ิทธิ์​์ก� ารปล่​่อยก๊​๊าชเรื​ือนกระจกที่​่�เหลื​ือ ให้​้แก่​่ผู้​้�อื่​่น� ได้​้ หรื​ือ “คาร์​์บอนเครดิ​ิต” ซึ่​่�งหลั​ักการนี้​้� เป็​็นจุ​ุด กำำ�เนิ​ิดของการประเมิ​ินมู​ูลค่​่าของคาร์​์บอนเครดิ​ิตที่​่�มี​ีหน่​่วย เที​ียบเท่​่ากั​ับการปล่​่อย ก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์ (Carbon Dioxide) จำำ�นวน 1 ตั​ัน เป็​็นตั​ัวเงิ​ินเพื่​่�อซื้​้�อขายระหว่​่าง บริ​ิษั​ัท จนเกิ​ิดเป็​็นการซื้​้�อขายคาร์​์บอนเครดิ​ิตทั่​่�วโลก เมื่​่�อกรกฎาคม 2564 ที่​่�ผ่​่านมา องค์​์กรบริ​ิหารก๊​๊าซ เรื​ือนกระจก (องค์​์การมหาชน) หรื​ือ อบก. พร้​้อมด้​้วย คณะผู้​้�บริ​ิหารจากองค์​์กรต่​่างๆ อี​ีก 53 องค์​์กร อาทิ​ิ เช่​่น สำำ�นักั งานคณะกรรมการกำำ�กับั หลั​ักทรั​ัพย์แ์ ละตลาดหลั​ักทรั​ัพย์​์ (ก.ล.ต) การไฟฟ้​้าฝ่​่ายผลิ​ิตแห่​่งประเทศไทย (กฟผ) บริ​ิษั​ัท น้ำำ��ตาลมิ​ิตรผล จำำ�กั​ัด บริ​ิษั​ัท บางจาก คอร์​์ปอเรชั่​่�น จำำ�กั​ัด (มหาชน) เป็​็นต้​้น ทั้​้�งนี้​้�ยังั มี​ีพิ​ิธีลี งนามข้​้อตกลงร่​่วมมื​ือ การ ส่​่งเสริ​ิมสนั​ับสนุ​ุน การดำำ�เนิ​ินงานพั​ัฒนาตลาดคาร์​์บอน ภายในประเทศ ได้​้มี​ีส่​่วนร่​่วมในการลดก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ของภาคเอชน ซึ่​่�งได้​้เปิ​ิดตั​ัวแพลทฟอร์​์ม Thailand Carbon Cradit Exchange ที่​่�จะเป็​็นตั​ัวกลางตลาดซื้​้�อขายแลกเปลี่​่ย� น คาร์​์บอนออนไลน์​์ครั้​้ง� แรกของประเทศไทย ในปั​ัจจุบัุ นั ทั้​้�งภาค รั​ัฐ ภาคเอกชนทั่​่�วโลก และรวมทั้​้�งอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ�� ตาลและ อ้​้อยของประเทศไทย ได้​้ตระหนั​ักและให้​้ความสำำ�คัญ ั กั​ับการ ดำำ�เนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจอย่​่างยั่​่�งยื​ืน ตามหลั​ัก Enviromental, Social, and Govenance หรื​ือ ESG เป็​็นอย่​่างมากหลายประเทศ ได้​้พลักั ดั​ันนโยบายหรื​ือออกกฎหมายที่​่�จะลด การปล่​่อยก๊​๊าซ เรื​ือนกระจกลง เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุนการใช้​้พลังั งานทดแทน ด้​้านนายวราวุ​ุธ ศิ​ิลปอาชา รั​ัฐมนตรี​ีว่า่ การกระทรวง ทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิและสิ่​่�งแวดล้​้อม กล่​่าวว่​่า เครื​ือข่​่าย

Thailand Carbon Neutral Network มี​ีบทบาทสำำ�คัญ ั ในการ ขั​ับเคลื่​่�อนประเทศไทยสู่​่�เป้​้าหมายการลดก๊​๊าซเรื​ือนกระจก เพื่​่อ� สอดคล้​้องกั​ับเป้​้าหมาย การรั​ักษาอุ​ุณหภู​ูมิ​ิเฉลี่​่�ยของโลก ที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นไม่​่เกิ​ิน 1.5 - 2 องศาเซลเซี​ียส โดยมี​ีสมาชิ​ิกของ เครื​ือข่า่ ยนี้​้� เป็​็นส่​่วนสำำ�คัญ ั ในการสร้​้างระบบนิ​ิเวศน์​์ สำำ�หรั​ับ การใช้​้กำำ�หนดราคาคาร์​์บอน เพื่​่�อสร้​้างความโปร่​่งใสและ ยุ​ุติ​ิธรรมในตลาดคาร์​์บอน รวมทั้​้�งร่​่วมสนั​ับสนุ​ุนโครงการ ภาคป่​่าไม้​้ประเภท ต่​่าง ๆ ตามนโยบายของประเทศไทย โดยผ่​่านแพลตฟอร์​์มการซื้​้�อขายหรื​ือแลกเปลี่​่�ยนคาร์​์บอน เครดิ​ิต (Thailand Carbon Credit Exchange Platform) ที่​่�อบก. และส.อ.ท.ร่​่วมกั​ันพั​ัฒนา เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมแหล่​่งดู​ูดซั​ับ ก๊​๊าซเรื​ือนกระจก สร้​้างผลประโยชน์​์ให้​้แก่​่ทั้​้ง� เศรษฐกิ​ิจ สั​ังคม และสิ่​่�งแวดล้​้อม และนำำ�ไปสู่​่�การลดต้​้นทุ​ุนการลดก๊​๊าซเรื​ือน กระจกของประเทศโดยรวมให้​้ต่ำำ��ที่​่�สุ​ุด ผู้​้�อำำ�นวยการ อบก. นายเกี​ียรติ​ิชาย ไมตรี​ีวงษ์​์ กล่​่าว เสริ​ิมว่​่า การจั​ัดตั้​้�งเครื​ือข่​่ายคาร์​์บอนนิ​ิวทรั​ัลประเทศไทย หรื​ือ TCNN นั้​้�นเป็​็นการส่​่งเสริ​ิมความร่​่วมมื​ือของทุ​ุกภาค ส่​่วนทั้​้�งภาครั​ัฐ เอกชน และท้​้องถิ่​่น� ในการร่​่วมรั​ับผิ​ิดชอบการ ปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์ สุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ Net zero ให้​้ เกิ​ิดขึ้​้�นในประเทศไทยภายในปี​ี 2573 และยั​ังสอดคล้​้องกั​ับ การขั​ับเคลื่​่�อนของกลุ่​่�มองค์​์กรระดั​ับโลกตามข้​้อ ตกลงปารี​ีส อย่​่าง Race To Zero อี​ีกด้​้วย เครื​ือข่​่าย TCNN 53 องค์​์กร และ อบก.ได้​้ร่ว่ มมื​ือกับั ส.อ.ท.พั​ัฒนาแพลตฟอร์​์ม Thailand Carbon Credit Exchange Platform สามารถรายงานระดั​ับ ราคาที่​่�ยุติ​ิุ ธรรม นำำ�ไปสู่​่�การลดต้​้นทุ​ุนการลดก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ของประเทศโดยรวมให้​้ต่ำำ�� ที่​่�สุดุ และในอนาคตจะพั​ัฒนาไป สู่​่�การซื้​้�อขายในระดั​ับสากล ทั้​้�งนี้​้� อุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลและอ้​้อยของไทย อย่​่าง บริ​ิษั​ัท น้ำำ��ตาลมิ​ิตรผล จำำ�กัดั ได้​้ร่ว่ มเป็​็นหนึ่​่�งในองค์​์กรธุ​ุรกิ​ิจ ของไทย ที่​่�จะขั​ับเคลื่​่�อนไปกั​ับภาครั​ัฐในการช่​่วยลดก๊​๊าซเรื​ือน กระจกของประเทศไทย ซึ่​่�งเป็​็นองค์​์กรพั​ันธมิ​ิตรเครื​ือข่​่ายที่​่� มี​ีกว่​่า 53 องค์​์กร เป็​็นองค์​์กรมี​ีศั​ักยภาพและมี​ีความรั​ับผิ​ิด ชอบต่​่อสิ่ง่� แวดล้​้อมจะเป็​็นแนวร่​่วมสำำ�คัญ ั ในการช่​่วยการลด ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในประเทศไทย ขณะเดี​ียวกั​ันการผนึ​ึกกำำ�ลั​ังสร้​้างเครื​ือข่​่ายนี้​้�ยั​ังนำำ�ไป สู่​่�การผลั​ักดั​ันให้​้ตลาดคาร์​์บอนเครดิ​ิตในประเทศไทยเติ​ิบโต ซึ่​่�งจะช่​่วยสร้​้างแรงจู​ูงใจให้​้กลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจ องค์​์กร และหน่​่วย งานต่​่างๆทุ​ุกภาคส่​่วนหั​ันมาใช้​้เรื่​่�องตลาดคาร์​์บอนเครดิ​ิต ลดการปล่​่อย ก๊​๊าซเรื​ือนกระจกสุ​ุทธิ​ิเป็​็นศู​ูนย์​์ สร้​้างสั​ังคม Net Zero ให้​้เกิ​ิดขึ้​้�นในประเทศไทยต่​่อไป ทั้​้�งนี้​้�การซื้​้�อขาย www.sugar-asia.com


Regional News คาร์​์บอนเครดิ​ิตมี​ีแนวโน้​้ม ที่​่�จะได้​้รั​ับความสำำ�คั​ัญมากขึ้​้�นใน อนาคต หลั​ังจากที่​่�ทางสหรั​ัฐอเมริ​ิกาได้​้ประกาศจุ​ุดยื​ืนทาง สิ่​่�งแวดล้​้อมว่​่าสหรั​ัฐอเมริ​ิกาจะเข้​้าสู่​่�ยุ​ุคไร้​้มลพิ​ิษ ภายในปี​ี 2050 รวมถึ​ึงมี​ีการสนั​ับสนุ​ุนเงิ​ินทุ​ุน 2 ล้​้านล้​้านดอลลาร์​์ ในโครงการพลั​ังงานสะอาด ซึ่​่�งการเปลี่​่�ยนแปลงครั้​้�งนี้​้�น่​่าจะ มี​ีส่​่วนสำำ�คั​ัญ ในการส่​่งเสริ​ิมธุ​ุรกรรมการซื้​้�อขายคาร์​์บอน เครดิ​ิตทั่​่�วโลก การพั​ัฒนาตลาดคาร์​์บอนเครดิ​ิตในประเทศ ไทยั​ังต้​้องการการสนั​ับสนุ​ุนด้​้านนโยบาย เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมให้​้ผู้​้� เกี่​่�ยวข้​้อง อั​ันจะนำำ�ไปสู่​่�การพั​ัฒนาตลาดกลางเพื่​่�อซื้​้�อขาย คาร์​์บอนเครดิ​ิตได้​้ในอนาคต

The development of carbon credits began with the rise of international awareness of balancing the Earth’s atmosphere according to the Tokyo Protocol in 1997, which encourages 37 developed nations to reduce greenhouse gas emission by law enforcement to reduce the gas emission every year and apply tax measures to those who greenhouse gas emission exceeds specified levels. Other countries that already signed up the protocol, including Thailand, will have to make efforts to reduce greenhouse gas emissions.

rights to others, also known as “carbon credits”. This principle is the origin of the valuation of carbon credits equivalent to emissions. 1 ton of Carbon dioxide (Carbon Dioxide) can be traded in cash between companies until it turned to a global carbon credit trading. In July, 2021, TGGMO, along with executives from other 53 organizations, namely Securities and Exchange Commission, Electricity Generating Authority of Thailand, Mitrphol Group, and Bangchak Corp., organized a signing ceremony of a cooperation agreement to develop the domestic carbon market which hopefully results in the reduction of greenhouse gas emissions of the region for the first time. Currently, public and private sectors worldwide as well as Thailand’s cane and sugar industries are concerned with sustainable business according to the ESG principle which refers to Environment, Society and Governance. Many countries have mobilized policies or legislation to reduce greenhouse gas emissions to support the use of renewable energy. Mr. Warawut Silpa-archa, Minister of Natural Resources and Environment, said that the Thailand Carbon Neutral Network played an important role in driving Thailand towards the goal of reducing greenhouse gas emissions in accordance with the goal to maintain the world’s average temperature of between 1.5 and 2 degrees Celsius. Members of this network are important in building an ecosystem as they promote using carbon pricing to create transparency and fairness in the carbon market as well as supporting various types of forestry projects in accordance with Thailand’s policy. Through the Thailand Carbon Credit

added that founding Thailand Carbon Neutral Network or TCNN is to promote cooperation of all sectors, including the public, private and local sectors in jointly responsible for carbon dioxide emissions to net zero expected to occur in Thailand by 2030, and also in line with the global organization’s drive according to the Paris Agreement like Race to Zero, too. The 53 network members and TGGMO, with cooperation of the Federation of Thai Industries (FTI), have developed the Thailand Carbon Credit Exchange Platform which is able to report fair price levels, resulting in reduction in the cost of the overall country’s greenhouse gas emissions to a minimum degree and international trading of the gas in the future. In this regard, Thailand’s cane and sugar industry like Mitrphol Group already became one of Thai businesses to mobilize along with public sectors a program to reduce greenhouse gas emission in the country. It will work actively with over 53 networks that are effective and environmentally responsible for playing a key role to reduce the gas emission. At the same time, the synergy in building that network also leads to the growth of the carbon credit market in Thailand, helping to incentivize businesses, organizations and agencies from all sectors to turn to the carbon credit market to encourage zero greenhouse gas emissions, creating a Net Zero society in Thailand. Carbon credit trading is in trend as it will become important in the future after the United States announced its environmental stance to enter a pollution-free era by 2050, with $2 trillion in funding for clean energy projects. This change

In 2015, upon the Paris Agreement, many countries have set a goal to keep the global average temperature from rising to at least 1.5 degrees Celsius before the pre-industrial era, and also formulated trading principles: Greenhouse Gas (Emission Trading System (ETS), which allows selling of the remaining greenhouse gas emission

Exchange Platform jointly developed by TGO and FTI, promotion of greenhouse gas absorption sources creates benefits for the economy, society and the environment, thus leading to reduction of the country’s overall greenhouse gas emission costs as low as possible. The TGGMO’s Director Mr. Kiatchai Maitreewong

should play a great part since it promotes global carbon credit trading transactions. Nonetheless, the development of the carbon credit market in Thailand still needs policy support to encourage those involved as it will lead to the development of a central market for trading carbon credits in the future.

T

hailand’s Sugar Industrial Group, with cooperation of 53 organizations under Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) (TGGMO), has recently presented Thailand Carbon Credit Exchange Platform which aims to mobilize Thai industries towards alternative energy use in replacement with present pollution-causing energy. In this regard, the RE100 Thailand Club was launched, as well.

www.sugar-asia.com

11


International News

ผลิ​ิตผลน้ำำ��ตาลโลกเพิ่​่� มเป็​็นรู​ูปธรรมและราคา ยั​ังคงที่​่�ในปี​ีนี้​้� Global Sugar Production to Grow Tangibly This Year, Keeping Prices Stable

มื่​่�อไม่​่นานมานี้​้� อิ​ินเด็​็กซ์​์บ็อ็ กซ์​์เผยแพร่​่รายงานใหม่​่ ที่​่� มี​ีชื่​่�อว่​่าชื่​่�อว่​่า ‘โลก น้ำำ��ตาล การวิ​ิเคราะห์​์ตลาด, การ พยากรณ์​์, ขนาด, แนวโน้​้มและข้​้อมูลู เชิ​ิงลึ​ึก’ ซึ่​่�งนำำ�เสนอ บทสรุ​ุปของการค้​้นพบที่​่�สำำ�คัญ ั ในหั​ัวข้​้อที่​่เ� กี่​่�ยวข้​้อง

ซึ่​่�งในปี​ีนี้​้� คาดว่​่าการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกจะเพิ่​่�มขึ้​้�น 3% เป็​็น ซึ่​่�งจะอยู่​่�ที่​่� 193 ล้​้านตั​ัน การเติ​ิบโตของการผลิ​ิต ดั​ังกล่​่าว ส่​่วนใหญ่​่สื​ืบเนื่​่�องมาจากสภาพอากาศที่​่�เอื้​้�ออำำ�นวย ที่​่�อยู่​่�ในประเทศผู้​้�ผลิ​ิตรายใหญ่​่ที่​่�สุ​ุด รวมถึ​ึงการกลั​ับมาใช้​้ สารนี​ีออนนิ​ิโคติ​ินอยด์​์สำำ�หรั​ับรั​ักษาโรคพื​ืชและโรคใบไหม้​้ใน ฝรั่​่�งเศส เยอรมนี​ี และสหราชอาณาจั​ักร การผลิ​ิตและการ ขนส่​่งน้ำำ��ตาลที่​่�ลดลงจากบราซิ​ิล จะได้​้รับั การชดเชยจากน้ำำ��ตาล ของประเทศไทย ซึ่​่�งจะช่​่วยเพิ่​่ม� การส่​่งออกทั่​่�วโลกได้​้ +2.6% เมื่​่�อเที​ียบกั​ับช่​่วงเดี​ียวกั​ันของปี​ีที่​่แ� ล้​้ว อุ​ุปทานที่​่�เพิ่​่ม� ขึ้​้น� ในตลาด โลกทำำ�ให้​้ราคาน้ำำ��ตาลในอี​ีก 2 ปี​ีข้า้ งหน้​้า ค่​่อนข้​้างคงที่​่�

แนวโน้​้มและข้​้อมู​ูลเชิ​ิงลึ​ึกที่​่�สำำ�คั​ัญ

การประมาณการณ์​์ของอิ​ินเด็​็กซ์​์บ็​็อกซ์​์ตามข้​้อมู​ูลของ USDA ชี้​้�ให้​้เห็​็นว่​่าการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกจะเพิ่​่�มขึ้​้�น +3% เมื่​่�อเที​ียบปี​ีต่อปี ่ เี ป็​็น 193 ล้​้านตั​ันในปี​ี 2564 โดยได้​้แรงหนุ​ุน จากอุ​ุปสงค์​์ที่​่�สู​ูงจากจี​ีนและอิ​ินเดี​ีย การฟื้​้�นตั​ัวของเศรษฐกิ​ิจ อย่​่างค่​่อยเป็​็นค่​่อยไป หลั​ังการระบาดใหญ่​่ของเชื้​้�อโควิ​ิดและ การฟื้​้น� ฟู​ูภาคส่​่วนการจั​ัดเลี้​้ย� งและการบริ​ิการด้​้านอาหารมี​ีส่ว่ น ทำำ�ให้​้ความต้​้องการน้ำำ�� ตาลทั่​่�วโลกเพิ่​่�มขึ้​้�น การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในสหรั​ัฐฯ จะยั​ังคงอยู่​่�ที่​่�อั​ัตรา 2,020 จนถึ​ึงสิ้​้�นปี​ีนี้​้� และจะมี​ีจำำ�นวน 8.7 ล้​้านตั​ัน การเติ​ิบโตอย่​่าง เข้​้มข้​้นในพื​ืชหั​ัวบี​ีทของอเมริ​ิกาจะช่​่วยชดเชยการลดลงของการ ผลิ​ิตอ้​้อยในรั​ัฐหลุ​ุยเซี​ียนาตามที่​่�มีคี าดการณ์​์ไว้​้ เนื่​่�องจากความ แห้​้งแล้​้งที่​่�ยื​ืดเยื้​้�อยาวนาน พื​ืชอ้​้อยในเม็​็กซิ​ิโกอาจได้​้ปริ​ิมาณ ลดลงเล็​็กน้​้อยเป็​็น 7.5 ล้​้านตั​ัน ในขณะที่​่�สภาพอากาศที่​่�เอื้​้อ� อำำ�นวยในออสเตรเลี​ียจะช่​่วยเพิ่​่�มการผลิ​ิตได้​้ +1.5% กลาย เป็​็น 4.6 ล้​้านตั​ัน การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในบราซิ​ิลจะลดลง -5% เมื่​่�อเที​ียบปี​ีต่อปี ่ เี ป็​็น 26 ล้​้านตั​ัน เนื่​่�องจากสภาพอากาศแล้​้ง และไฟป่​่า ตลอดจนการลดลงของอ้​้อยเนื่​่�องจากมี​ีการหั​ันไป ปลู​ูกถั่​่�วเหลื​ืองและข้​้าวโพดแทนมากขึ้​้�น มี​ีการคาดกั​ันว่​่าการเก็​็บเกี่​่�ยวจะเพิ่​่ม� ขึ้​้น� เมื่​่�อเที​ียบกั​ับปี​ี

12

ที่​่�แล้​้วในกั​ัวเตมาลา (+3% ถึ​ึง 3.1 ล้​้านตั​ัน), อิ​ินเดี​ีย (+3% ถึ​ึง 36 กิ​ิโลตั​ัน), อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย (+3% ถึ​ึง 2.3 กิ​ิโลตั​ัน), ปากี​ีสถาน (โดย +14% เป็​็น 6.6 กิ​ิโลตั​ัน), ไทย (เพิ่​่�ม ขึ้​้�น 39% เป็​็น 25 กิ​ิโลตั​ัน) และรั​ัสเซี​ีย (เพิ่​่�มขึ้​้�น +6% เป็​็น 7.5 กิ​ิโลตั​ัน) ในสหภาพยุ​ุโรป คาดว่​่าการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลจะเพิ่​่ม� ขึ้​้น� +7% เป็​็น 19 ล้​้านตั​ันในปี​ีนี้​้� เหตุ​ุการณ์​์ดั​ังกล่​่าวน่​่าจะเกิ​ิดมาจาก การยกเลิ​ิกการห้​้ามใช้​้สารนี​ีออนนิ​ิโคติ​ินอยด์​์ในฝรั่​่�งเศสและ เยอรมนี​ี เมล็​็ดบี​ีทน้ำำ�� ตาลจะได้​้รั​ับอนุ​ุญาตให้​้เคลื​ือบสารเพื่​่�อ ป้​้องกั​ันไวรั​ัสบี​ีทรู​ูทสี​ีเหลื​ืองซึ่​่�งจะให้​้ผลผลิ​ิตสู​ูง ในสหราช อาณาจั​ักร การอนุ​ุมัติ​ิั ให้​้ใช้​้นีโี อนิ​ิโคติ​ินอยด์​์น่า่ จะเพิ่​่ม� ผลผลิ​ิต +11% เป็​็น 1.2 ล้​้านตั​ัน การส่​่งออกน้ำำ�� ตาลทั่​่�วโลกจะเพิ่​่�มขึ้​้�น +2.6% เป็​็น 39 ล้​้านตั​ัน ส่​่วนการส่​่งออกจากบราซิ​ิลที่​่�ลดลงจะถู​ูกชดเชยด้​้วย การเติ​ิบโตของอุ​ุปทานจากประเทศไทย การส่​่งออกน้ำำ��ตาล ของรั​ัสเซี​ียคาดว่​่าจะลดลงประมาณ 390 ล้​้านตั​ัน เนื่​่�องจาก การขนส่​่งไปยั​ังคาซั​ัคสถานและอุ​ุซเบกิ​ิสถานมี​ีจำำ�นวนลดลง ตามไปด้​้วย

(-19.6%) ไทย (-20.9%) และแอฟริ​ิกาใต้​้ (-31.0%) มี​ีแนว โน้​้มลดลงในช่​่วงเวลาเดี​ียวกั​ัน ในแง่​่มูลค่ ู า่ บราซิ​ิล (7.4 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์) ยั​ังคงเป็​็น ผู้​้�จั​ัดหาน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดทั่​่�วโลก คิ​ิดเป็​็น 71% ของการ ส่​่งออกทั่​่�วโลก อั​ันดั​ับที่​่�สองในการจั​ัดอั​ันดั​ับคื​ือประเทศไทย (885 ล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐ) ซึ่​่�งมี​ีส่​่วนแบ่​่งการส่​่งออกทั่​่�วโลก 8.5% รองลงมาคื​ืออิ​ินเดี​ีย มี​ีส่​่วนแบ่​่ง 5.4%

ประเทศผู้น�ำเข้าน�้ำตาลรายใหญ่ที่สุดทั่วโลก

อินโดนีเซีย (5.3 ล้านตัน) และจีน (4.7 ล้านตัน) คิด เป็นสัดส่วนประมาณ 42% ของการน�ำเข้าน�้ำตาลทัง้ หมดในปี 2563 สหรัฐฯ (2.3 ล้านตัน) มีสว่ นแบ่ง 9.9% (ตามปรมิ าณ เป็นตัน) ของการน�ำเข้าทั้งหมดเป็นอันดับที่ 2 ตามมาด้วย มาเลเซีย (8.8%) อินเดีย (8.5%) และเกาหลีใต้ (7.8%) ส่วนญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร แอฟริกาใต้ และไต้หวันมีส่วน แบ่งการน�ำเข้าทั้งหมดเพียงเล็กน้อย ในแง่​่ของมู​ูลค่​่า ตลาดนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลที่​่�ใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดในโลก ได้​้แก่​่ อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย (1.8 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์) จี​ีน (1.5 พั​ันล้​้าน ดอลลาร์​์) และสหรั​ัฐฯ (1.3 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์) โดยมี​ีส่ว่ นแบ่​่ง การส่​่งออกน้ำำ��ตาลของแต่​่ละประเทศไปยั​ังตลาดโลก การนำำ�เข้​้าทั่​่�วโลกรวมกั​ัน 49% รองลงมาคื​ือมาเลเซี​ีย อิ​ินเดี​ีย ในปี​ี 2563 การส่​่งออกน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกพุ่​่�งสู​ูงขึ้​้น� เป็​็น 35 เกาหลี​ีใต้​้ ญี่​่�ปุ่​่�น แอฟริ​ิกาใต้​้ สหราชอาณาจั​ักร และไต้​้หวั​ัน ล้​้านตั​ัน เพิ่​่�มขึ้​้�น +23% เมื่​่�อเที​ียบกั​ับตั​ัวเลขในปี​ี 2564 ใน (จี​ีน) ซึ่​่�งรวมกั​ันแล้​้วคิ​ิดเป็​็น 31% แง่​่ของมู​ูลค่า่ การส่​่งออกน้ำำ��ตาลเพิ่​่ม� ขึ้​้น� อย่​่างน่​่าทึ่​่�งเป็​็น 10.4 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์ในปี​ี 2563 ซึ่​่ง� ประเทศบราซิ​ิลประสบความสำำ�เร็​็จในโครงสร้​้างการส่​่ง ออกน้ำำ��ตาลจำำ�นวน 27 ล้​้านตั​ัน คิ​ิดเป็​็นประมาณ 75% ของ การส่​่งออกทั้​้�งหมดในปี​ี 2563 ส่​่วนประเทศไทย (3 ล้​้านตั​ัน) ครองตำำ�แหน่​่งที่​่�สองในการจั​ัดอั​ันดั​ับ รองลงมาคื​ืออิ​ินเดี​ีย (1.7 ล้​้านตั​ัน) ประเทศเหล่​่านี้​้�ทั้​้ง� หมดรวมกั​ันมี​ีส่ว่ นแบ่​่งเกื​ือบ13% ของการส่​่งออกทั้​้�งหมด ในขณะที่​่�กัวั เตมาลา (824 กิ​ิโลตั​ัน), แอฟริ​ิกาใต้​้ (671กิ​ิโลตั​ัน) และเอลซั​ัลวาดอร์​์ (532 กิ​ิโล ตั​ัน) มี​ีส่ว่ นแบ่​่ง 5.7% ของการส่​่งออกน้ำำ��ตาลทั้​้�งหมด นอกจากนั้​้�น บราซิ​ิลยั​ังเป็​็นประเทศที่​่�เติ​ิบโตเร็​็วที่​่�สุดุ ใน แง่​่ของการส่​่งออกน้ำำ��ตาล (+66.9% ต่​่อปี​ี) ในปี​ี 2563 ใน ขณะเดี​ียวกั​ันอิ​ินเดี​ีย (+21.3%) และเอลซั​ัลวาดอร์​์ (+3.5%) ก็​็มีกี ารเติ​ิบโตในเชิ​ิงบวกเช่​่นกั​ัน ในทางตรงกั​ันข้​้าม กั​ัวเตมาลา www.sugar-asia.com


International News

I

ndexBox has just published a new report: ‘World – Sugar – Market Analysis, Forecast, Size, Trends and Insights’. Here is a summary of the report’s key findings. This year, world sugar production is expected to rise by 3% to 193M tonnes. The growth will be encouraged by favorable weather conditions in most of the largest producing countries, as well as the providing exemptions on the neonicotinoid usage against plant diseases and blights in France, Germany and the UK. The drop in sugar production and shipments from Brazil will be offset by large volumes coming from Thailand, which will boost global exports by +2.6% y-o-y. The increased supply in the world market is to keep sugar prices relatively stable over the next two years.

Key Trends and Insights According to IndexBox estimates based on USDA data, global sugar production will increase by +3% y-o-y to 193M tonnes in 2021, driven by high demand from China and India. The economy’s gradual recovery after the pandemic and the relative normalization of the catering and food service sector are contributing to the growth of worldwide demand.

Sugar production in the U.S. will remain at its 2020 rate to the end of this year and will amount to 8.7M tonnes. Strong growth in America’s sugar beet crop should offset the expected decline in sugar cane production in Louisiana. Due to a prolonged drought, the sugarcane crop in Mexico may decline slightly to 7.5M tonnes, while in Australia favorable weather conditions will boost production by +1.5% y-o-y to 4.6M tonnes. Production in Brazil will fall by -5% y-o-y to 26M tonnes due to dry weather and wildfires, as well as the decrease in sugar cane planted in favor of soybeans and corn. An increase in harvest compared to last

www.sugar-asia.com

year is expected in Guatemala (by +3% to 3.1M tonnes), India (by +3% to 36M tonnes), Indonesia (by +3% to 2.3M tonnes), Pakistan (by +14%to 6.6M tonnes), Thailand (by +39% to 25M tonnes), and Russia (by +6% to 7.5M tonnes). In the EU, sugar production is forecasted to increase by +7% to 19M tonnes this year. This will most likely be facilitated by the removal of bans on the use of neonicotinoids in France and Germany. Sugar beet seeds will be allowed to be coated with the substance to protect against the yellow beet virus, which would ensure high yields. In the UK, the approval to use neonicotinoids should increase yields by +11% to 1.2M tonnes. Global sugar exports will increase by +2.6% to 39M tonnes. A decrease in exports from Brazil will be offset by growth in supplies from Thailand. Russian sugar exports are expected to decline by approx. 390K tonnes due to decreases in shipments to Kazakhstan and Uzbekistan amid falling demand for imported sugar in these countries. According to USDA forecasts, global sugar prices in the current year and the first half of 2022 will remain stable at $0.44 per kg. This will be due to an increase in the sugar supply on the world market, despite the decline in production in some above-mentioned countries.

Brazil was also the fastest-growing country in terms of sugar exports (+66.9% y-o-y) in 2020. At the same time, India (+21.3%) and El Salvador (+3.5%) also displayed positive paces of growth. By contrast, Guatemala (-19.6%), Thailand (-20.9%) and South Africa (-31.0%) illustrated a downward trend over the same period.

Global Sugar Exports by Country

tonnes) represented roughly 42% of total imports of sugar in 2020. The U.S. (2.3M tonnes) took a 9.9% share (based on tonnes) of total imports, which put it in second place, followed by Malaysia (8.8%), India (8.5%) and South Korea (7.8%). Japan (1,049K tonnes), the UK (528K tonnes), South Africa (385K tonnes) and Taiwan (Chinese) (384K tonnes) held a little share of total imports. In value terms, the largest sugar importing markets worldwide were Indonesia ($1.8B), China ($1.5B) and the U.S. ($1.3B), with a combined 49% share of global imports. These countries were followed by Malaysia, India, South Korea, Japan, South Africa, the UK and Taiwan (Chinese), which together accounted for a further 31%.

In 2020, global exports of sugar skyrocketed to 35M tonnes, increasing by +23% compared with 2019 figures. In value terms, sugar exports rose remarkably to $10.4B in 2020. Brazil prevails in sugar export structure, amounting to 27M tonnes, which was approx. 75% of total exports in 2020. Thailand (3M tonnes) held the second position in the ranking, followed by India (1.7M tonnes). All these countries together took near 13% share of total exports. The following exporters – Guatemala (824K tonnes), South Africa (671K tonnes) and El Salvador (532K tonnes) – each finished at a 5.7% share of total exports.

In value terms, Brazil ($7.4B) remains the largest sugar supplier worldwide, comprising 71% of global exports. The second position in the ranking was occupied by Thailand ($885M), with an 8.5% share of global exports. It was followed by India, with a 5.4% share.

Largest Sugar Importers Worldwide Indonesia (5.3M tonnes) and China (4.7M

13


International News

อุ​ุตฯ การเกษตรของออสเตรเลี​ีย ยอมรั​ับข้​้อตกลง การค้​้าเสรี​ีกั​ับสหาราชอาณาจั​ักร Agriculture Industry Hails Australia-UK Free Trade Agreement

ข้​้

อตกลงการค้​้าเสรี​ีระหว่​่างสหราชอาณาจั​ักรและ Rathsmann) ยั​ังกล่​่าวอี​ีกว่​่า ข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ีดั​ังกล่​่าวจะ ออสเตรเลี​ียที่​่�เสนอทำำ�ให้​้สามารถนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาล ขยายเขตการค้​้าเสรี​ีของออสเตรเลี​ียไปยั​ัง 27 ประเทศ ซึ่​่�ง จากออสเตรเลี​ียเป็​็นปริ​ิมาณ 80,000 ตั​ัน โดยไม่​่ คิ​ิดเป็​็นเกื​ือบหนึ่​่�งในสามของประชากรโลก ในขณะเดี​ียวกั​ัน ร็​็อบ แมสซี​ีนา (Rob Massina) ต้​้องเสี​ียภาษี​ี

อุ​ุตสาหกรรมการเกษตรของออสเตรเลี​ียยิ​ินดี​ีต่อข้ ่ อ้ ตกลง การค้​้าเสรี​ีกับั สหราชอาณาจั​ักร โดยคาดว่​่าการส่​่งออกจะเพิ่​่ม� ขึ้​้น� อย่​่างมากในปี​ีต่อ่ ๆ ไป โดยเฉพาะข้​้าว, เนื้​้�อวัวั , และน้ำำ��ตาล ข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ีระหว่​่างสหราชอาณาจั​ักร-ออสเตรเลี​ียที่​่� เสนอจะทำำ�ให้​้สามารถนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลจากออสเตรเลี​ียเป็​็นปริ​ิมาณ 80,000 ตั​ัน โดยไม่​่ต้​้องเสี​ียภาษี​ี ขณะที่​่�เพิ่​่�มโควตาการนำำ� เข้​้าน้ำำ��ตาลจากปริ​ิมาณ 9,925 ตั​ันก่​่อนหน้​้าที่​่�ประชาชนชาวสห ราชอาณาจั​ักรจะลงคะแนนเสี​ียงออกจากสหภาพยุ​ุโรป นอกจากนี้​้�ยังั จะอนุ​ุญาตให้​้นำำ�เข้​้าเนื้​้�อวัวั ออสเตรเลี​ียเข้​้า สู่​่�ตลาดของสหราชอาณาจั​ักร, โดยคาดว่​่าการส่​่งออกจะเพิ่​่ม� ขึ้​้�นเป็​็นสองเท่​่าหรื​ือสามเท่​่าเมื่​่�อข้​้อตกลงดั​ังกล่​่าวได้​้รั​ับการ รั​ับรองข้​้อตกลง นอกจาก 99% ของสิ​ินค้​้าจากออสเตรเลี​ีย ซึ่​่�งรวมถึ​ึงไวน์​์และข้​้าวขั​ัดสี​ีขนาดเมล็​็ดสั้​้น� และเมล็​็ดกลาง จะ สามารถนำำ�เข้​้าสู่​่�สหราชอาณาจั​ักรแบบปลอดภาษี​ีเมื่​่�อข้อ้ ตกลง มี​ีผลใช้​้บั​ังคั​ับ โดยคาดว่​่าข้​้อตกลงมี​ีผลบั​ังคั​ับใช้​้ภายในเดื​ือน กรกฎาคมปี​ีหน้​้า พอล สเคมบรี​ี (Paul Schembri) ประธานกลุ่​่�มผู้​้�ปลู​ูก อ้​้อย (Canegrowers chairman) กล่​่าวว่​่าข้​้อตกลงดั​ังกล่​่าวจะ ช่​่วยให้​้การค้​้าน้ำำ��ตาลเติ​ิบโตขึ้​้น� กว่​่า 20,000 ตั​ันต่​่อปี​ี ในช่​่วง อี​ีกแปดปี​ีข้า้ งหน้​้า พอล สเคมบรี​ี (Paul Schembri) กล่​่าวใน แถลงการณ์​์ว่​่า “น้ำำ��ตาลจากออสเตรเลี​ียไม่​่สามารถส่​่งเข้​้าไป ในตลาดของสหราชอาณาจั​ักรได้​้เช่​่นนี้​้�มาก่​่อน นั​ับตั้​้�งแต่​่ปี​ี 1973 เมื่​่�อสหราชอาณาจั​ักรเข้​้าร่​่วมตลาดของสหภาพยุ​ุโรปในปี​ี 1973” “น้ำำ��ตาลของออสเตรเลี​ียมี​ีคุณ ุ ภาพสู​ูง, ผลิ​ิตอย่​่างยั่​่ง� ยื​ืน และมี​ีจริ​ิยธรรม และสามารถใช้​้น้ำำ��ตาลของออสเตรเลี​ียเติ​ิม ในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลที่​่�ผลิ​ิตจากหั​ัวบี​ีทในสหราชอาณาจั​ักร เพื่​่�อให้​้โรงกลั่​่�นในสหราชอาณาจั​ักรสามารถตอบสนองความ ต้​้องการบริ​ิโภคน้ำำ��ตาลภายในประเทศได้​้ น้ำำ��ตาลเป็​็นสิ​ินค้​้าส่​่งออกที่​่�ใหญ่​่เป็​็นอั​ันดั​ับสองของ ออสเตรเลี​ียรองจากข้​้าวสาลี​ี, โดยมี​ีรายได้​้รวมต่​่อปี​ีเกื​ือบ 2 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์ออสเตรเลี​ีย (1.5 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์) น้ำำ��ตาล ประมาณ 95 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ ที่​่�ผลิ​ิตในออสเตรเลี​ียปลู​ูกในรั​ัฐ ควี​ีนส์​์แลนด์​์ น้ำำ��ตาลส่​่วนที่​่�เหลื​ือประมาณ 5 เปอร์​์เซ็​็น ได้​้มี​ี การผลิ​ิตมาจากในทางตอนเหนื​ือของรั​ัฐนิ​ิวเซาท์​์เวลส์​์ นอกจากนี้​้� มาร์​์คุ​ุส รั​ัธส์​์มั​ันน์​์ (Markus Rathsmann) ประธานสภาเนื้​้�อโคขุ​ุนแห่​่งออสเตรเลี​ีย (Cattle Council of Australia) เปิ​ิดเผยว่​่า เมื่​่�อข้​้อตกลงดั​ังกล่​่าวมี​ีผลบั​ังคั​ับ ใช้​้, ความต้​้องการส่​่งออกเนื้​้�อโคขุ​ุนไปยั​ังสหราชอาณาจั​ักร จะเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างรวดเร็​็ว ทั้​้�งนี้​้� มาร์​์คุ​ุส รั​ัธส์​์มั​ันน์​์ (Markus

14

ประธานสมาคมผู้​้�ปลู​ูกข้​้าวแห่​่งออสเตรเลี​ียกล่​่าวว่​่าข้​้อตกลง การค้​้าเสรี​ีนี้​้�เป็​็นหนึ่​่�งในผลสำำ�เร็​็จที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�สุ​ุดสำำ�หรั​ับการ ส่​่งออกข้​้าวของออสเตรเลี​ีย และเขาได้​้กล่​่าวเสริ​ิมว่​่า “โดย ทั่​่�วไปแล้​้ว, พวกเราในฐานะผู้​้�ผลิ​ิตสิ​ินค้​้าโภคภั​ัณฑ์​์ไม่​่ได้​้เข้​้า ร่​่วมข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ีกั​ับต่​่างประเทศทั้​้�งหลาย การเข้​้าถึ​ึง ตลาดที่​่�มี​ีมู​ูลค่​่าสู​ูงขึ้​้�น เช่​่น สหราชอาณาจั​ักร เป็​็นสิ่​่�งที่​่�ความ สำำ�คั​ัญอย่​่างยิ่​่�ง สำำ�หรั​ับผู้​้�ผลิ​ิตข้​้าวของออสเตรเลี​ีย หวั​ังเป็​็น อย่​่างยิ่​่�ง ข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ีนี้​้�จะทำำ�ให้​้ออสเตรเลี​ียสามารถ นำำ�เข้​้าข้​้าวเข้​้าสู่​่�ตลาดที่​่�ปราศจากโควต้​้าและภาษี​ีได้​้อย่​่างมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพมากขึ้​้�น” สภาโรงสี​ีน้ำำ��ตาลทรายแห่​่งออสเตรเลี​ียเชื่​่อว่ � า่ ผู้​้�ซื้​้อน้ำ � ำ��ตาล ดิ​ิบในต่​่างประเทศร้​้อยละ 85 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ จะได้​้รั​ับแรงหนุ​ุน จากข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ี มี​ีโอกาสที่​่�จะนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลจะเพิ่​่ม� ขึ้​้น� ทั​ันที​ีถึ​ึง 80,000 ตั​ัน เดวิ​ิส พี​ีทส์​์ (David Pietsch) ผู้​้�บริ​ิหารสู​ูงสุ​ุดของสภา โรงสี​ีน้ำำ��ตาลแห่​่งออสเตรเลี​ีย (Australian Sugar Milling Council) กล่​่าวว่​่า “การปรั​ับปรุ​ุงข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ีทุกุ ปี​ีทำำ�ให้​้ สามารถนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลดิ​ิบเข้​้าถึ​ึงได้​้อย่า่ งสมบู​ูรณ์​์หลั​ังจากผ่​่าน ไป 8 ปี​ีเป็​็นผลดี​ีต่อ่ อุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลของออสเตรเลี​ีย การ เข้​้าถึ​ึงตลาดน้ำำ��ตาลของออสเตรเลี​ียไปยั​ังในสหราชอาณาจั​ักร นั้​้�นไม่​่ดีเี ท่​่าที่​่�ควร โดยมี​ีเพี​ียง 9,925 ตั​ัน ที่​่�ได้​้รับั การอนุ​ุญาต ภายใต้​้โควตาอั​ัตราภาษี​ีของสหภาพยุ​ุโรปแบบเก่​่าก่​่อนหน้​้าที่​่� ประชาชนชาวสหราชอาณาจั​ักรจะลงคะแนนเสี​ียงออกจาก สหภาพยุ​ุโรป” เดวิ​ิส พี​ีทส์​์ ยั​ังเสริ​ิมจุ​ุดยื​ืนของออสเตรเลี​ียและ การมุ่​่�งเน้​้นในการจั​ัดหาสิ​ินค้​้าโภคภั​ัณฑ์​์ให้​้ภูมิ​ิู ภาคเอเชี​ียจะไม่​่ เปลี่​่ย� นแปลงถึ​ึงแม้​้จะมี​ีข้อ้ ตกลงการค้​้าเสรี​ีระหว่​่างออสเตรเลี​ีย และสหราชอาณาจั​ักร อย่​่างไรก็​็ตาม ข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ี ระหว่​่างออสเตรเลี​ียและสหราชอาณาจั​ักรเป็​็นสิ่​่ง� สำำ�คัญ ั สำำ�หรั​ับ การขยายตั​ัวทางการตลาดสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมเหล่​่านี้​้�

T

he proposed UK-Australia free trade agreement will provide tariff-free access for 80,000 tonnes of Australian sugar. Australia’s agricultural industry has welcomed a free trade deal with the United Kingdom that’s expected to grow exports substantially in years to come, particularly rice, beef, and sugar. The proposed UK-Australia free trade

agreement will provide tariff-free access for 80,000 tonnes of Australian sugar while boosting the previous 9,925-tons quota to the European Union prior to Brexit. It will also allow Australian beef into the UK market, with exports projected to double or even triple once the deal is ratified. Moreover, 99 percent of Australian goods, including wine and short and medium grain milled rice, will enter the UK duty-free when the agreement comes into effect – expected by July next year. Canegrowers chairman Paul Schembri says the agreement will allow for sugar trade to grow by over 20,000 tonnes annually for the next eight years, “Australian sugar had not had this kind of access since 1973 when the UK joined the then European Common Market,” he said in a statement. “Australian sugar is of high quality, sustainably and ethically produced and well-placed to top up local beet sugar production so that UK refiners can meet domestic consumption demands. Sugar is Australia’s second-largest export crop after wheat, with total annual revenue of almost AU$2 billion ($1.5 billion). Around 95 percent of sugar produced in Australia is grown in Queensland, with the remainder in northern New South Wales. Beef tariffs will also be eliminated after ten years, and Cattle Council of Australia President Markus Rathsmann says once the deal is set in stone, demand for exports to the UK will jump. He also says the deal expands Australia’s free trade agreements to 27 countries, representing nearly a third of the world’s population. Meanwhile, the president of the Ricegrower’s Association of Australia, Rob Massina, noted the deal was one of the most significant market access outcomes for rice exports that Australia has seen. “We typically, as a commodity, get left off any foreign trade agreements,” he said. “To have access into a higher value market such as the UK for Australian rice producers is absolutely critical. This will make us far more effective going into a market that’s free of quotas and tariffs, hopefully.” The Australian Sugar Milling Council believes with 85 percent of raw sugar buyers overseas, the industry will be buoyed by the prospect of an immediate access gain of 80,000 tonnes. “Annual improvements leading to full access after eight years is a positive outcome for Australia’s sugar industry,” said David Pietsch, CEO of, Australian Sugar Milling Council. “Australia’s access to the UK sugar markets has been historically poor, with just 9,925 tonnes allowed under the old EU Tariff Rate Quota pre-Brexit.” He added Australia’s position and focus on supplying the Asian region would not change as a result of the deal. However, it was vital to continue to grow market options for the industry.

www.sugar-asia.com


International News

บริ​ิษั​ัทน้ำำ��ตาลยั​ักษ์​์ใหญ่​่ดู​ูไบ เดิ​ินหน้​้าสร้​้างโรงงาน มู​ูลค่​่ากว่​่า 590 ล้​้านสหรั​ัฐ Dubai Sugar Giant Gets Go Ahead to Build Beet Factory

D

ubai’s Al Khaleej Sugar Company, owner of the world’s largest port-based sugar refinery, received the green light to build a factory in Spain.

ริ​ิษั​ัท Al Khaleej Sugar ของดู​ูไบ เจ้​้าของโรงผลิ​ิต น้ำำ��ตาลได้​้มากถึ​ึง 900,000 เมตริ​ิกตั​ันต่​่อปี​ี เขากล่​่าว นั่​่�น น้ำำ��ตาลและส่​่งออกที่​่�ใหญ่​่ที่​่สุ� ดุ ในโลก ได้​้ไฟเขี​ียวให้​้ คื​ือขนาดประมาณของโรงงานในอี​ียิ​ิปต์​์ที่​่�ทางกลุ่​่�ม Jamal Al Ghurair ลงทุ​ุนก่​่อนมาหน้​้า ซึ่​่�งคาดว่​่าจะเริ่​่ม� ดำำ�เนิ​ินการสร้​้าง สร้​้างโรงงานผลิ​ิตน้ำำ��ตาลบี​ีทรู​ูทในประเทศสเปน

โดยนาย Jamal Al Ghurair กรรมการผู้​้�จั​ัดการของ บริ​ิษั​ัท Al Khaleej Sugar เผยว่​่า บริ​ิษั​ัท วางแผนที่​่�จะเริ่​่�ม ก่​่อสร้​้างโรงงานในเมื​ืองเมริ​ิดาในปี​ีหน้​้า และเป็​็นข้​้อตกลง ระหว่​่างบริ​ิษั​ัทย่​่อย Iberica Sugar Co. กั​ับทางการสเปน ซึ่​่�งได้​้ลงนามเมื่​่�อวั​ันที่​่� 16 กรกฎาคม 64 ที่​่�ผ่​่านมา ในการสร้​้างโรงงานแห่​่งใหม่​่นี้​้�จะต้​้องใช้​้เงิ​ินลงทุ​ุน ประมาณ 500 ล้​้านยู​ูโร (590 ล้​้านดอลลาร์​์) และจะผลิ​ิต

www.sugar-asia.com

โรงงานในสเปนในปี​ี 2567 จากความเคลื่​่�อนไหวดั​ังกล่​่าวเกิ​ิดขึ้​้น� Al Khaleej Sugar พยายามที่​่�จะขยายไปสู่​่�การแปรรู​ูปหั​ัวบี​ีทน้ำำ��ตาล โดยมี​ีโรงงาน ในอี​ียิ​ิปต์​์และปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีโรงงานในสเปน ธุ​ุรกิ​ิจของบริ​ิษั​ัทใน ดู​ูไบ ซึ่​่�งแปรรู​ูปน้ำำ��ตาลทรายดิ​ิบ มี​ีอั​ัตรากำำ�ไรที่​่�ลดลงในช่​่วง ไม่​่กี่​่ปี� ที่​่ี ผ่� า่ นมา อั​ันเนื่​่�องมาจากอุ​ุปทานที่​่�มากขึ้​้น� จากสหภาพ ยุ​ุโรปและอิ​ินเดี​ีย ในขณะที่​่�ตลาดที่​่�ใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดบางแห่​่งได้​้เปิ​ิด โรงงานของตนเอง

The company plans to start construction of the plant in Merida next year, said Managing Director Jamal Al Ghurair. The agreement between its subsidiary Iberica Sugar Co. and Spanish authorities was signed on July 16, 2021, he said. The new factory will require an investment of about 500 million euros ($590 million) and will produce as much as 900,000 metric tons of sugar a year, he said. That’s about the size of the factory in Egypt that the Jamal Al Ghurair group invested in. Operations in Spain are expected to begin in 2024. The move comes as Al Khaleej seeks to expand to sugar-beet processing, with a factory in Egypt and now one in Spain. The company’s business in Dubai, which processes raw cane sugar, has seen thinner margins in recent years due to bigger supplies from the European Union and India, while some of its biggest markets opened factories of their own.

15


International News

แอฟริ​ิกาใต้​้มี​ีโครงการพั​ั ฒนาไร่​่อ้​้อยสร้​้างงานใหม่​่กว่​่า 860 ตำำ�แหน่​่ง

New Sugar Farming Project Creates 860 Jobs in South Africa

another R63-million grant provided by National Treasury’s Job Fund. Agriculture, Land Reform and Rural Development minister Thoko Didiza lauded the project following a site visit on Tuesday, where she met the growers. However, she said, the contribution of black commercial farmers to South Africa’s country’s agricultural economy is still low and requires further intervention from the government and the industry. Illovo Sugar’s managing director Mamongae Mahlare said: “The confidence of the Jobs Funds which met us halfway with concessional funding, and the support of other stakeholders including the SA Canegrowers Association and the South African Farmers Development Association, have been integral to this revolutionary project.” The head of the Jobs Fund, Najwa Allie-Edries, who was also at the event, said creative solutions are needed to enable farmers to have long-term access to land. Below are some of the inspiring thriving community stories shared by women cane growers on how this project has empowered, enriched and changed their lives.

Illovo’s small Small-Scale Grower Cane Development Project

ครงการพั​ัฒนาชาวไร่​่อ้​้อยขนาดเล็​็กในแอฟริ​ิกาใต้​้ ได้​้สร้​้างงานใหม่​่ถึ​ึง 860 ตำำ�แหน่​่ง ในควาซู​ูลู​ูนาตาลและเพิ่​่�มจำำ�นวนอ้​้อยน้ำำ��ตาลในโรงงานซี​ีเซลา มากว่​่า 3 ปี​ีแล้​้ว ผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลได้​้ชักั ชวนเกษตรกรกว่​่า 1,704 คน มาผลิ​ิต อ้​้อยบนพื้​้�นที่​่�ชุมุ ชน 3,000 เฮกตาร์​์ โครงการพั​ัฒนาได้​้รับั เงิ​ิน ทุ​ุนสนั​ับสนุ​ุน 63 ล้​้านเหรี​ียญแอฟริ​ิกาใต้​้ บริ​ิษั​ัทอิ​ิลโญโวซึ่​่ง� เข้​้า คู่​่�กั​ับเงิ​ินช่​่วยเหลื​ืออีกี 63 ล้​้านเหรี​ียญแอฟริ​ิกาใต้​้จากกองทุ​ุน การจ้​้างงานของกระทรวงการคลั​ังแห่​่งชาติ​ิแอฟริ​ิกาใต้​้ โทโก ดิ​ิดิ​ิซา รั​ัฐมนตรี​ีกระทรวงเกษตร การปฏิ​ิรู​ูปที่​่�ดิ​ิน และการพั​ัฒนาชนบทของแอฟริ​ิกาใต้​้ กล่​่าวยกย่​่องโครงการ นี้​้� หลั​ังจากการเยี่​่�ยมชมพื้​้�นที่​่�และพบปะพู​ูดคุ​ุยกั​ับเกษตรกร อย่​่างไรก็​็ตาม โทโกกล่​่าวว่​่า การมี​ีส่​่วนร่​่วมของเกษตรกร ผิ​ิวสี​ีในเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์ที่​่�มี​ีต่​่อเศรษฐกิ​ิจการเกษตรของประเทศ แอฟริ​ิกาใต้​้ยั​ังคงอยู่​่�ในระดั​ับต่ำำ��และยั​ังจำำ�เป็​็นต้​้องได้​้รั​ับการ สนั​ับสนุ​ุนเพิ่​่�มเติ​ิมจากรั​ัฐบาลและภาคอุ​ุตสาหกรรม ผู้​้�อำำ�นวยการบริ​ิหารของอิ​ิลโญโว มามองแก มาฮ์​์แลร์​์ กล่​่าวว่​่า ความเชื่​่อมั่​่ � น� ของกองทุ​ุนเพื่อ่� สร้​้างงานได้​้มีกี ารพู​ูดคุ​ุย กั​ับทางบริ​ิษั​ัทฯ มาครึ่​่�งทาง ด้​้วยการสนั​ับสนุ​ุนเงิ​ินทุ​ุนเพื่​่�อให้​้ สั​ัมปทานและการสนั​ับสนุ​ุนจากผู้​้�มี​ีส่ว่ นได้​้ส่ว่ นเสี​ียอื่​่น� ๆ รวมถึ​ึง สมาคมชาวไร่​่อ้อ้ ยแอฟริ​ิกาใต้​้และสมาคมพั​ัฒนาเกษตรกรแห่​่ง แอฟริ​ิกาใต้​้เป็​็นส่​่วนสำำ�คัญ ั ของการปฏิ​ิรู​ูปครั้​้�งนี้​้�อีกี ด้​้วย ทั้​้�งนี้​้�ทางด้​้านหั​ัวหน้​้าของกองทุ​ุนเพื่​่�อสร้​้างงาน นั​ัจวา แอลลี​ี-เอดรี​ีส์​์ ได้​้กล่​่าวเสริ​ิมด้​้วยว่​่าจำำ�เป็​็นจะต้​้องมี​ี หนทางเพื่​่�อแก้​้ไขปั​ัญหาอย่​่างสร้​้างสรรค์​์เพื่​่�อทำำ�ให้​้เกษตรกร สามารถมี​ีที่​่ดิ​ิ� นเพาะปลู​ูกเป็​็นของตนเองได้​้ในระยะยาว ทั้​้�งนี้​้�บทสั​ัมภาษณ์​์ด้า้ นล่​่างเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งเรื่​่อ� งราวที่​่�สร้​้างแรง บั​ันดาลใจให้​้กับั เกษตรกรที่​่�เป็​็นสตรี​ีชาวไร่​่อ้อ้ ยในแอฟริ​ิกาใต้​้ ที่​่�ได้​้แบ่​่งปั​ันเกี่​่�ยวกั​ับวิ​ิธี​ีที่​่โ� ครงการดั​ังกล่​่าว ที่​่�จะช่​่วยสร้​้างเสริ​ิม อำำ�นาจ เติ​ิมเต็​็ม และเปลี่​่�ยนแปลงชี​ีวิ​ิตของพวกเธอ โนมาเนสิ​ิง โคโบ ได้​้ให้​้สัมั ภาษณ์​์ว่า่ “ดิ​ิฉั​ันรั​ับช่​่วงธุ​ุรกิ​ิจ ปลู​ูกอ้​้อยต่​่อจากสามี​ีผู้​้�ล่ว่ งลั​ับไปแล้​้ว เมื่​่�อบริ​ิษั​ัทอิ​ิลโญโวยื่​่น� มื​ือ ช่​่วยเหลื​ือชุ​ุมชนของเราด้​้วยโครงการนี้​้� อ้​้อยของสามี​ีดิ​ิฉั​ันที่​่� ปลู​ูกเมื่​่�อหลายปี​ีก่อ่ นไม่​่เติ​ิบโตเท่​่าที่​่�ควร เพราะเนื่​่�องจากพื้​้�นที่​่� อี​ีมาลานเจนี​ีขาดอ้​้อยและเกษตรกรจำำ�นวนมากกำำ�ลังั ประสบ ปั​ัญหา เมื่​่�อโครงการนี้​้�เกิ​ิดขึ้​้�นในช่​่วงเวลาที่​่�เป็​็นวิ​ิกฤตสำำ�หรั​ับ เรา การทำำ�ไร่​่อ้อ้ ยคื​ืออาชี​ีพที่​่ช่� ว่ ยเลี้​้�ยงปากท้​้องของเราเพราะ

16

ช่​่วยให้​้ครอบครั​ัวดิ​ิฉั​ันสามารถจ่​่ายค่​่าเล่​่าเรี​ียนให้​้กับั ลู​ูกๆ ได้​้ นี่​่�เป็​็นประสบการณ์​์ที่​่�เปลี่​่�ยนแปลงชี​ีวิ​ิตของพวกเราและดิ​ิฉั​ัน รู้​้�สึ​ึกซาบซึ้​้�งใจต่​่อบริ​ิษั​ัทฯ ที่​่�ช่ว่ ยส่​่งเสริ​ิมเราและทำำ�ให้​้ชีวิ​ิี ตของ เราสมบู​ูรณ์​์ยิ่​่�งขึ้​้�น การได้​้เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของชุ​ุมชนชาวไร่​่อ้​้อย ในฐานะผู้​้�หญิ​ิงผิ​ิวสี​ีทำำ�ให้​้ฉั​ันมี​ีความสุ​ุข โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�ง สำำ�หรั​ับผู้​้�ที่​่�เคยมี​ีภูมิ​ิู หลั​ังยากจนมาก่​่อน’’ ด้​้าน โนมวู​ูลา โชสิ​ิ ได้​้ให้​้สั​ัมภาษณ์​์เสริ​ิมว่​่า “ฉั​ันสนใจ เกษตรกรรมและการเกษตรอยู่​่�เสมอ ฉั​ันจำำ�ได้​้ว่า่ ฉั​ันเคยถาม พ่​่อว่​่า เราจะปลู​ูกอ้​้อยได้​้อย่​่างไร และนั่​่�นยั​ังคงเป็​็นสิ่​่�งที่​่�ฉั​ัน หลงใหลมาจนบั​ัดนี้​้� หลั​ังจากเรี​ียนจบมหาวิ​ิทยาลั​ัย ฉั​ันย้​้าย ไปทำำ�งานที่​่�เดอร์​์บั​ัน ในช่​่วงต้​้นปี​ี 2561 ฉั​ันได้​้เรี​ียนรู้​้�เกี่​่�ยว กั​ับโครงการพั​ัฒนาผู้​้�ปลู​ูกพื​ืชขนาดเล็​็กของบริ​ิษั​ัทอิ​ิลโญโว และตั​ัดสิ​ินใจกลั​ับมาลองเป็​็นผู้​้�รั​ับเหมาและเป็​็นชาวไร่​่ การ อบรมจากบริ​ิษั​ัทได้​้เปลี่​่�ยนมุ​ุมมองของเราอย่​่างสิ้​้�นเชิ​ิงเกี่​่�ยว กั​ับการปลู​ูกอ้​้อยให้​้เป็​็นธุ​ุรกิ​ิจที่​่�มี​ีศั​ักยภาพและทางบริ​ิษั​ัทฯ ยั​ังช่​่วยเราวางระเบี​ียบขั้​้�นตอนการทำำ�งานเพื่​่�อให้​้ความยั่​่�งยื​ืน ของธุ​ุรกิ​ิจ ความคิ​ิดริ​ิเริ่​่�มนี้​้�ยั​ังช่​่วยให้​้ฉั​ันเริ่​่�มต้​้นและขยาย ธุ​ุรกิ​ิจของตั​ัวเองได้​้อี​ีกด้​้วย ซึ่​่�งการสนั​ับสนุ​ุนชาวไร่​่รายอื่​่�น ด้​้วยการปลู​ูกและจั​ัดสรรที่​่�ดิ​ินของพวกเขาด้​้วยโครงการนี้​้� ทุ​ุก อย่​่างจะสงวนไว้​้เฉพาะในท้​้องถิ่​่น� และเม็​็ดเงิ​ินที่​่�เราหามาได้​้จะ กลั​ับคื​ืนสู่​่�ชุ​ุมชนของเรา ฉั​ันรั​ักในสิ่​่�งที่​่�ทำำ� และฉั​ันขอบคุ​ุณ มากสำำ�หรั​ับโอกาสที่​่�บริ​ิษั​ัทอิ​ิลโญโวมอบให้​้เพื่​่�อให้​้ฉั​ันวิ่​่�งตาม ความฝั​ันของตนเอง”

S

outh Africa, Illovo’s small Small-Scale Grower Cane Development Project has created more than 860 jobs in KwaZuluNatal and doubled the sugar producer’s Sezela factory supply of sugarcane over a three-year period. The sugar producer roped in 1 704 growers to produce sugar cane on 3 000 hectares of communal land. The development was funded by Illovo’s R63-million grant that matched

Nomanesi Ngcobo “I took over the sugarcane-growing business from my late husband. When Illovo Sugar reached out to our community with this project, my husband’s sugarcane that had been planted years before, was no longer growing. The project came at a crucial time for us because the eMalangeni area had run out of sugarcane and many growers were struggling. Sugarcane farming is our bread and butter – it allows us to pay for our children’s education. This has been a life-changing experience and we are so grateful to Illovo South Africa for empowering us and enriching our lives. “To be part of the cane grower’s community as a black woman makes me happy, especially having come from an impoverished background.’’

Nomvula Shozi “Farming and agriculture have always interested me. I remember asking my father how sugarcane is grown and it remained a passion of mine. After finishing school and university studies, I moved to Durban to work. In early 2018, I learnt about the Illovo Small Scale Grower Development Project and decided to return and try my hand at being a contractor and grower. The training provided changed all of our perspectives about growing sugarcane as a viable business. Illovo Sugar helped us put protocols in place to ensure the sustainability of our businesses. This initiative also helped me to start and grow my own contracting business, which supports other growers by planting and ratooning their lands. With this project, everything has been kept local and the money we make goes back into our community. I love what I do, and I am so grateful for the opportunity Illovo has given me to pursue my dreams,”

www.sugar-asia.com


International News

จี​ีน-ปากี​ีสถาน ร่​่วมมื​ือ ‘พั​ั ฒนาความหวาน’ หวั​ังผลิ​ิต น้ำำ��ตาลคุ​ุณภาพสู​ูง Pakistan-China Sugar Industry Cooperation Reform Sweetness

รรมาธิ​ิการการเกษตรของสถานเอกอั​ัครราชทู​ูตจี​ีน ประจำำ�ประเทศปากี​ีสถาน กล่​่าวว่​่า จี​ีนและปากี​ีสถาน ควรที่​่�จะร่​่วมมื​ือกันั ส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตและการแปรรู​ูปอ้​้อย เพื่​่�อผลิ​ิตน้ำำ��ตาลที่​่�มี​ีคุ​ุณภาพสู​ูง เมื่​่�อเกิ​ิดความร่​่วมมื​ือ ระหว่​่างประเทศ ส่​่งผลให้​้ผลผลิ​ิตน้ำำ��ตาลจะได้​้รั​ับการ ส่​่งออกไปทั่​่�วโลก นอกจากนั้​้�น สถานเอกอั​ัครราชทู​ูตจี​ีน ประจำำ�ประเทศปากี​ีสถานจะยั​ังคงเสริ​ิมสร้​้างสั​ัมพั​ันธ์​์อันั ดี​ีระหว่​่างประชาชนของทั้​้�งสองประเทศ

ด้​้านดร. กู่​่� เหว็​็นเหลี​ียง กรรมาธิ​ิการการเกษตรของ สถานเอกอั​ัครราชทู​ูตจี​ีนประจำำ�ประเทศปากี​ีสถาน ได้​้กล่​่าว ว่​่า ปากี​ีสถานและจี​ีนจะสามารถผลิ​ิตน้ำำ��ตาลที่​่�มี​ีคุ​ุณภาพสู​ูง ได้​้มากและสามารถส่​่งออกไปทั่​่�วโลกได้​้ ซึ่​่�งความร่​่วมมื​ือด้า้ น อ้​้อยระหว่​่างจี​ีนและปากี​ีสถานจะส่​่งผลให้​้เกิ​ิดการปฏิ​ิรู​ูปความ หวาน และเปลี่​่ย� นมิ​ิตรภาพระหว่​่างสองประเทศให้​้ “หวานยิ่​่ง� กว่​่าน้ำำ��ผึ้​้�ง” อย่​่างแท้​้จริ​ิง ดร. กู่​่� ได้​้แถลงเรื่​่อ� งดั​ังกล่​่าวที่​่� ‘การประชุ​ุมหารื​ือเกี่​่�ยว กั​ับความร่​่วมมื​ือและแลกเปลี่​่ย� นอุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยระหว่​่างจี​ีน และปากี​ีสถาน’ ซึ่​่�งมี​ีผู้​้�เชี่​่�ยวชาญจากทั้​้�งจี​ีนและปากี​ีสถานเข้​้า ร่​่วมและแลกเปลี่​่�ยนความคิ​ิดเห็​็น หลิ​ิว กุ่​่�ย ผู้​้�อำำ�นวยการฝ่​่ายความร่​่วมมื​ือระหว่​่างประเทศ จากสถาบั​ันวิ​ิทยาศาสตร์​์เกษตรเขตร้​้อนของจี​ีนหรื​ือ CATAS ได้​้ร่​่วมงานในครั้​้�งนี้​้�และแนะนำำ�การดำำ�เนิ​ินงานขององค์​์กรใน หลายๆ มิ​ิติ​ิ รวมทั้​้�งนำำ�เสนอการประยุ​ุกต์​์ใช้​้ ‘การเพาะเลี้​้�ยง เนื้​้�อเยื่​่�อ’ เพื่​่�อการประกอบอุ​ุตสาหกรรมที่​่�น่​่าประทั​ับใจ ซึ่​่�ง สามารถนำำ�มาปฏิ​ิรู​ูปการผลิ​ิตอ้​้อยได้​้ เขากล่​่าวเสริ​ิมว่​่า CATAS ได้​้จัดั การฝึ​ึกอบรมให้​้นักั วิ​ิทยาศาสตร์​์ทั่​่ว� โลก พร้​้อมทั้​้�งแนะนำำ� หลั​ักสู​ูตรฝึ​ึกอบรม 100 หลั​ักสู​ูตรให้​้ผู้​้�เข้​้าร่​่วม 4,000 คน จากกว่​่า 90 ประเทศ และรวมไปถึ​ึงนั​ักวิ​ิทยาศาสตร์​์รุ่​่�นเยาว์​์ กว่​่า 40 คน จากเอเชี​ีย แอฟริ​ิกา และละติ​ินอเมริ​ิกา เพื่​่�อ เยี่​่ย� มชมและแลกเปลี่​่�ยนความรู้​้�ทั้​้ง� ในระยะกลางและระยะยาว นอกจากนี้​้� สถาบั​ันยั​ังส่​่งผู้​้�เชี่​่�ยวชาญไปประเทศอื่​่�นๆ อี​ีกกว่​่า 20 ประเทศ เพื่​่อ� ให้​้คำำ�แนะนำำ�เกี่​่�ยวกั​ับเทคโนโลยี​ีการเกษตร และการสาธิ​ิตเพื่​่�อขยายขอบเขตความรู้​้� ทางด้​้านดร. จาง ชู​ูเจี้​้�ยน นั​ักวิ​ิจั​ัยจากศู​ูนย์​์ชี​ีววิ​ิทยา ศาสตร์​์และชี​ีวเทคโนโลยี​ีเขตร้​้อนของสถาบั​ัน CATAS ได้​้ ปฏิ​ิเสธการใช้​้เมล็​็ดพั​ันธุ์​์�พื​ืชแบบดั้​้�งเดิ​ิมเพราะไม่​่เหมาะที่​่�จะ ใช้​้เพาะปลู​ูกได้​้อีกี ต่​่อไป เนื่​่�องจากการเพาะพั​ันธุ์​์�และการปลู​ูก กล้​้าไม้​้ปลอดโรคเหมาะสำำ�หรั​ับการผลิ​ิตอ้​้อยมากกว่​่า รวมทั้​้�งสามารถแก้​้ไขปั​ัญหาเกี่​่�ยวกั​ับการย่​่อยสลายและ การทำำ�ให้​้บริ​ิสุ​ุทธิ์​์�ได้​้อี​ีกด้​้วย ในส่​่วนของผู้​้�จั​ัดการบริ​ิษั​ัทวิ​ิศวกรรมเครื่​่�องจั​ักรแห่​่ง ประเทศจี​ีนและหั​ัวหน้​้าศู​ูนย์​์แลกเปลี่​่ย� นและความร่​่วมมื​ือด้า้ น เกษตรกรรมระหว่​่างจี​ีนและปากี​ีสถาน นายไต้​้ เปา ได้​้กล่​่าว ในระหว่​่างการนำำ�เสนองานในการประชุ​ุมนี้​้�ว่า่ เมื่​่�อความร่​่วม มื​ือทางเศรษฐกิ​ิจระหว่​่างจี​ีนกั​ับปากี​ีสถานคื​ืบหน้​้ามากขึ้​้น� จะ มี​ีการนำำ�เสนอเทคโนโลยี​ีการเกษตรล่​่าสุ​ุดมาใช้​้ในปากี​ีสถาน เนื่​่�องจากจี​ีนจะช่​่วยเหลื​ือปากี​ีสถานในการสร้​้างความทั​ันสมั​ัย ให้​้การเกษตร นายไต้​้ยังั เสริ​ิมต่​่อว่า่ กรอบระเบี​ียงเศรษฐกิ​ิจจี​ีน และพม่​่ามี​ีความเข้​้าใจอย่​่างลึ​ึกซึ้​้�งเกี่​่�ยวกั​ับตลาดในปากี​ีสถาน www.sugar-asia.com

และมี​ีการพั​ัฒนาการในช่​่วงสี่​่�ทศวรรษที่​่�ผ่า่ นมา ซึ่​่�งเป็​็นระยะ เวลาที่​่�ยาวนานตั้​้�งแต่​่จี​ีนมาเยื​ือนปากี​ีสถานในทศวรรษที่​่� 80 นายไต้​้ยั​ังย้ำำ��อี​ีกว่​่า ปากี​ีสถานเป็​็นประเทศเกษตรกรรมแบบ ดั้​้�งเดิ​ิม แต่​่ยังั มี​ีอะไรอี​ีกมากที่​่�ต้อ้ งปรั​ับปรุ​ุงภาคเกษตรกรรมให้​้ ทั​ันสมั​ัยเพื่​่อ� ให้​้สอดคล้​้องกั​ับระดั​ับนานาชาติ​ิ โดยจี​ีนจะช่​่วยให้​้ ปากี​ีสถานบรรลุ​ุถึงึ เป้​้าหมาย ซึ่​่�งปั​ัจจุบัุ นั เป็​็นแหล่​่งข้​้อมูลที่​่ ู มุ่​่�� ง หวั​ังจะสร้​้างความร่​่วมมื​ือระหว่​่างองค์​์กรและสถาบั​ันการวิ​ิจั​ัย ของทั้​้�งสองประเทศและส่​่งเสริ​ิมการพั​ัฒนาด้​้านการเกษตร ของปากี​ีสถานอี​ีกด้​้วย ด้​้านดร. ชาฮิ​ิด อาฟกั​ัน รั​ักษาการประธานผู้​้�บริ​ิหารของ ธนาคาร SRDB กล่​่าวในการประชุ​ุมว่​่าปากี​ีสถานยั​ังห่​่างไกล จากการเข้​้าถึ​ึงพั​ันธุ์​์�อ้​้อยชั้​้น� นำำ�ที่​่มี� คี วามต้​้านทานโรคสู​ูง ดั​ังนั้​้�น ต้​้องมี​ีการริ​ิเริ่​่ม� โครงการปรั​ับปรุ​ุงพั​ันธุ์​์�อ้​้อยในประเทศด้​้วยความ ช่​่วยเหลื​ือจากจี​ีน เพราะนั่​่�นคื​ือความต้​้องการแบบเร่​่งด่​่วน นายมานซู​ูร์​์ ซุ​ุมโร จากมู​ูลนิ​ิธิ​ิวิ​ิทยาศาสตร์​์เพื่​่�อความ ร่​่วมมื​ือทางเศรษฐกิ​ิจแห่​่งองค์​์การสหประชาชาติ​ิในปากี​ีสถาน เน้​้นย้ำำ��ถึงึ ความจำำ�เป็​็นที่​่�รัฐั บาลจี​ีนกั​ับปากี​ีสถานจะต้​้องร่​่วมมื​ือ กั​ันในภาคเกษตรกรรมเพราะเป็​็นเรื่​่�องสำำ�คัญ ั ยิ่​่ง� นายฟาเตห์​์ มารี​ี รองอธิ​ิการบดี​ีมหาวิ​ิทยาลั​ัยทานโดจาม ได้​้กล่​่าวเสริ​ิม ว่​่า ความร่​่วมมื​ือภาคเกษตรกรรมระหว่​่างจี​ีนและปากี​ีสถาน จะขยายวงกว้​้างขึ้​้�นเป็​็นอย่​่างมาก รวมไปถึ​ึงความร่​่วมมื​ือใน อุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลของสองประเทศ

C

hina and Pakistan should join hands to promote sugarcane production and processing to produce high-grade sugar. Believe me, two iron friends can export sugar to the world if they enhance cooperation in this field,” he said, adding that the Chinese Embassy in Pakistan will continue connecting people from both sides. Pakistan and China can produce high-grade sugar in abundance and export it across the world, said Dr Gu Wenliang, Agricultural Commissioner of the Chinese Embassy in Pakistan, according to China Economic Net (CEN). “Sugarcane cooperation between China and Pakistan will bring sweet revolution, and will literally turn the friendship between the two nations ‘sweeter than honey’,” he remarked. Dr. Gu Wenliang was speaking at “ChinaPakistan Sugarcane Industry Cooperation and Exchange Forum” where experts from both China and Pakistan participated and exchanged views. “It is a great forum. Liu Kui, Director of International Cooperation Department, Chinese Academy of Tropical Agricultural Sciences (CATAS), introduced different

aspects of CATAS, and gave an impressive industrialization application of ‘Tissue Culture’ which, according to him, can bring revolution in the production of sugarcane. “Chinese Academy of Tropical Agriculture Science has been giving training to the scientists across the globe. It has introduced 100 training courses for 4,000 participants from more than 90 countries. More than 40 young scientists from Asia, Africa, and Latin America came to CATAS for medium and long term visits and exchanges,” he said, adding that CATAS has sent its experts to more than twenty countries to conduct agriculture technology guidance and demonstration of extension. Breeding and planting disease free seedlings are perfect for sugarcane production,” she told participants of meeting. While giving impressive presentation, Dr. Zhang Shuzhen made it loud and clear that by applying integrated disease-free techniques, the pathogens of viruses and RSD can be removed, and problem of degradation and purification can be solved simultaneously,” she said. “As CPEC inches near to completion in Pakistan, we are offering our latest agricultural technology to Pakistan. We are here to modernize Pakistan’s agriculture sector,” Dai Bao, Manager of China Machinery Engineering Corporation, Head of China-Pakistan Agricultural Cooperation and Exchange Center said, while presenting wellprepared presentation in the forum. He said CMEC has a deep understanding of the Pakistani market and its development in the past four decades, a long time span CMEC has endured since it entered the country in the 1980s. “Pakistan is a traditional agricultural country, but there is still a lot more to do to modernize its agriculture sector to enable it to meet international. We are here to help Pakistan achieve goals. We established the Pakistan-China Agricultural Cooperation and Exchange Center in the first place in 2019 and now the Information Platform, in a wish to vitalize cooperation between the enterprises and research institutions of the two sides and promote Pakistan’s development in agriculture,” Dai Bao said. Speaking on the occasion, Dr Shahid Afghan, acting CEO SRDB, said Pakistan’s sugarcane industry couldn’t prosper until growers get leading sugarcane variety. “Pakistan is still far from getting access to leading sugarcane varieties which offer great resistance against diseases. We must start sugarcane breeding program in Pakistan with the help of China. It is the need of hour,” he said. Manzoor Soomro of ECOSF stressed on the need of collaboration between Pakistan and Chinese governments in agriculture sector and said ‘it is the need of hour’. Taking part in discussion, Fateh Mari, Vice Chancellor of Tandojam University, said there lies great scope of cooperation between China and Pakistan in agriculture sector including ‘sugar industry’.

17


Cover Story

ไทย กั​ับการผลิ​ิตเอทานอลจากเซลลู​ูโลส ภายในปี​ี ‘80 Cellulosic (2G) ethanol and the renewable and alternative energy development plan 2018–2037

C

ellulosic Ethanol (2G : 2nd Generation) หรื​ือ เอทานอลที่​่ผ� ลิ​ิตจากเซลลู​ูโลส เป็​็นเอ ทานอลที่​่ผ� ลิ​ิตจากวั​ัตถุ​ุดิบิ หลั​ักประเภทไฟเบอร์​์ และวั​ัสดุ​ุเหลื​ือใช้​้ทางการเกษตร เช่​่น ฟางข้​้าว กากอ้​้อย ซั​ังข้​้าวโพด และเปลื​ือกไม้​้ เป็​็นต้​้น ซึ่​่�งเทคโนโลยี​ีที่​่�ใช้​้ในการผลิ​ิตมี​ีการพั​ัฒนากั​ัน มานานแล้​้ว แต่​่ปั​ัจจั​ัยที่​่�ยั​ังทำำ�ให้​้ Cellulosic ethanol ยั​ั ง ไม่​่ ไ ด้​้ ถู​ู ก ใช้​้ เ ชิ​ิ ง พาณิ​ิ ชย์​์ เ ป็​็ น ที่​่� แพร่​่หลายทั่​่�วโลกก็​็คื​ือต้​้นทุ​ุนการแปรสภาพ (Conversion cost) และการลงทุ​ุน (Capital cost : CAPEX) ที่​่�สู​ูงมาก

18

www.sugar-asia.com


Cover Story แต่​่อย่​่างไรก็​็ตามหลายๆประเทศทั้​้�งในยุ​ุโรปและอเมริ​ิกาก็​็ได้​้มี​ีความมุ่​่�ง มั่​่�นที่​่�จะส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตและการใช้​้ Cellulosic ethanol ด้​้วยการสนั​ับสนุ​ุน ในหลายๆ ด้​้านทั้​้�งให้​้เงิ​ินทุ​ุนสนั​ับสนุ​ุนโครงการ สิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์ทางภาษี​ีต่า่ งๆ รวมทั้​้�งการสร้​้างแรงจู​ูงใจให้​้กับั ผู้​้�ใช้​้รถยนต์​์ เพราะเล็​็งเห็​็นถึ​ึงประโยชน์​์ทั้​้ง� ทาง ด้​้านการนำำ�ของเสี​ียที่​่�ไม่​่เกิ​ิดประโยชน์​์กลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ การช่​่วยลดมลภาวะที่​่� เป็​็นพิ​ิษ ตลอดจนถึ​ึงการลดปริ​ิมาณก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์จากการผลิ​ิต และการใช้​้ Cellulosic ethanol ประเทศไทยได้​้มีกี ารส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตและการใช้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงเอทานอล เพื่อ่� ลดการนำำ�เข้​้าพลั​ังงานจากต่​่างประเทศ รวมถึ​ึงส่​่งเสริ​ิมการใช้​้วัตั ถุ​ุดิ​ิบทางการ เกษตรเพื่อ่� เพิ่​่ม� มู​ูลค่า่ สิ​ินค้​้าการเกษตรและสร้​้างรายได้​้เพิ่​่ม� ให้​้กับั เกษตรกรไทย โดยที่​่�มีเี ป้​้าหมายคื​ือส่ง่ เสริ​ิมการผลิ​ิตและการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงเอทานอลให้​้ถึงึ 7.5 ล้​้านลิ​ิตรต่​่อวั​ัน ภายในปี​ี พ.ศ 2580 ตามแผนพั​ัฒนาพลั​ังงานทดแทนและ พลั​ังงานทางเลื​ือก พ.ศ. 2561 – 2580 (Alternative Energy Development Plan 2018 - 2037) โดยการใช้​้กากน้ำำ��ตาลและมั​ันสำำ�ปะหลั​ังเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบหลั​ัก และมี​ีน้ำำ��อ้อ้ ยเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบทางเลื​ือกอี​ีกส่​่วนหนึ่​่�ง ซึ่​่�งจะต้​้องมี​ีการสนั​ับสนุ​ุนด้​้าน วั​ัตถุ​ุดิ​ิบตามเป้​้าหมายยุ​ุทธศาสตร์​์อ้อ้ ยและน้ำำ��ตาลทราย พ.ศ. 2558 – 2569 รวมไปถึ​ึงเป้​้าหมายยุ​ุทธศาสตร์​์มันั สำำ�ปะหลั​ัง พ.ศ. 2558 – 2569 ที่​่�จะต้​้อง ส่​่งเสริ​ิมการเพิ่​่ม� ปริ​ิมาณการผลิ​ิตอ้​้อยและมั​ันสำำ�ปะหลั​ังให้​้ได้​้ 180 และ 59.5 ล้​้านตั​ัน ภายในปี​ี พ.ศ. 2569 ทั้​้�งนี้​้�หากสามารถเพิ่​่�มการผลิ​ิตอ้​้อยและมั​ัน สำำ�ปะหลั​ังได้​้ตามเป้​้าหมายก็​็จะมี​ีวั​ัตถุ​ุดิ​ิบเพี​ียงพอที่​่�จะสามารถผลิ​ิตเชื้​้�อเพลิ​ิง เอทานอลได้​้ถึ​ึงวั​ันละ 7.2 ล้​้านลิ​ิตร ในปี​ี พ.ศ. 2569

อย่​่างไรก็​็ตามการดำำ�เนิ​ินการส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตและการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงเอ ทานอลตามแผนพั​ัฒนาพลั​ังงานทดแทนและพลั​ังงานทางเลื​ือกฯ ได้​้ประสบ กั​ับปั​ัญหาการขาดแคลนวั​ัตถุ​ุดิ​ิบอย่​่างหนั​ัก ซึ่​่�งในปี​ี พ.ศ. 2563 และ 2564 ผลผลิ​ิตอ้​้อยลดลงมาเหลื​ือแค่​่ 74.89 และ 66.65 ล้​้านตั​ัน ตามลำำ�ดั​ับ ใน ขณะที่​่�การผลิ​ิตมั​ันสำำ�ปะหลั​ังก็​็ไม่​่ได้​้เพิ่​่�มขึ้​้�นตามเป้​้าหมายด้​้วยเช่​่นกั​ัน จึ​ึงส่​่ง ผลให้​้ราคาวั​ัตถุ​ุดิ​ิบทั้​้�งกากน้ำำ��ตาลและมั​ันสำำ�ปะหลั​ังมี​ีราคาสู​ูงขึ้​้น� ตลอดจนถึ​ึง ราคาเอทานอลที่​่�เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�นถึ​ึง 25 - 26 บาทต่​่อลิ​ิตร และมี​ีการเลื่​่�อนการ ยกเลิ​ิกการใช้​้น้ำำ��มั​ันแก๊​๊สโซฮอลล์​์อี​ี 10 ออกเทน 91 หลายครั้​้�ง ซึ่​่�งเป็​็นกลไก ที่​่�สำำ�คัญ ั ในการเพิ่​่ม� ปริ​ิมาณการใช้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงเอทานอลในประเทศ โดยครั้​้�งล่​่าสุ​ุด มี​ีการเลื่​่�อนออกไปจนถึ​ึงสิ้​้�นปี​ี พ.ศ. 2565 เลยที​ีเดี​ียว

www.sugar-asia.com

ผลสำำ�เร็​็จของนโยบายการส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตและการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงเอทา นอลดั​ังกล่​่าวจะสามารถทำำ�ให้​้สำำ�เร็​็จได้​้จะต้​้องอาศั​ัยองค์​์ประกอบหลายๆ อย่​่าง โดยเฉพาะ 1. ปริ​ิมาณวั​ัตถุ​ุดิ​ิบต้​้องมี​ีเพี​ียงพอ 2. โครงสร้​้างพื้​้�นฐาน ต่​่างๆ 3. แรงจู​ูงใจของผู้​้�ใช้​้รถยนต์​์ รวมไปถึ​ึง 4. การกำำ�หนดและควบคุ​ุม การดำำ�เนิ​ินนโยบาย ซึ่​่�งต้​้องสอดคล้​้องซึ่​่�งกั​ันและกั​ัน โดยจะเห็​็นได้​้ว่า่ ในช่​่วง เวลาที่​่�ผ่​่านมา การดำำ�เนิ​ินนโยบายให้​้เกิ​ิดประสิ​ิทธิ​ิผลยั​ังคงไม่​่สามารถเกิ​ิด ขึ้​้น� ได้​้ตามแผน ซึ่​่�งการเลื่​่�อนยกเลิ​ิกการใช้​้น้ำำ��มันั แก๊​๊สโซฮอล์​์อี​ี 10 ออกเทน 91 ในหลายๆ ครั้​้�ง เกิ​ิดจากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�ไม่​่เพี​ียงพอและราคาเอทานอลที่​่�สูงู ขึ้​้น� จากราคาวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ในขณะที่​่�ปริ​ิมาณการใช้​้กลั​ับลดลง จากสถานการณ์​์การ ระบาดของโรคไวรั​ัสโคโรนาสายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่ 2019 (COVID-19) และกลไก การเพิ่​่ม� ปริ​ิมาณการใช้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงเอทานอลจากการเลิ​ิกใช้​้น้ำำ��มันั แก๊​๊สโซฮอลล์​์ อี​ี 10 ออกเทน 91 ก็​็ยั​ังไม่​่เกิ​ิดขึ้​้�นตามแผนที่​่�วางไว้​้ ซึ่​่�งจะเห็​็นได้​้ว่​่าปั​ัจจั​ัยที่​่�ส่​่งผลกระทบมากที่​่�สุ​ุดก็​็คงหนี​ีไม่​่พ้​้นในเรื่​่�อง ของปริ​ิมาณและราคาของวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นมั​ันสำำ�ปะหลั​ังและรวมไป

ถึ​ึงอ้​้อย ซึ่​่�งนอกจากจะต้​้องเร่​่งขยายพื้​้�นที่​่�การเพาะปลู​ูกให้​้ได้​้ตามแผน ซึ่​่�งยั​ัง คงเป็​็นเรื่​่�องที่​่�ยากแล้​้ว ความแปรปรวนและผั​ันผวนของสภาพดิ​ินฟ้​้าอากาศ กลั​ับเป็​็นเรื่​่อ� งที่​่�ยากยิ่​่ง� กว่​่า ดั​ังนั้​้�นจะเห็​็นได้​้ชัดั เจนที่​่�สุดุ จากผลกระทบของการ ผลิ​ิตอ้​้อยที่​่�ลดลงในช่​่วง 2 ปี​ีที่​่�ผ่​่านมา ในขณะที่​่�มั​ันสำำ�ปะหลั​ังเองก็​็มี​ีปริ​ิมาณ ความต้​้องการสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมในประเทศและการส่​่งออกที่​่�ดู​ูเหมื​ือนว่​่า จะมี​ีศั​ักยภาพในการแข่​่งขั​ันมากกว่​่าการนำำ�มาผลิ​ิตเป็​็นเชื้​้�อเพลิ​ิงเอทานอล หากเราไม่​่สามารถเพิ่​่�มพื้​้�นที่​่�การเพาะปลู​ูกและเพิ่​่�มผลผลิ​ิตทั้​้�งอ้​้อยและมั​ัน สำำ�ปะหลั​ังตามแผนยุ​ุทธศาสตร์​์ฯได้​้ ก็​็จะมี​ีวั​ัตถุ​ุดิ​ิบเพี​ียงพอต่​่อการผลิ​ิตและ การใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงเอานอลในประเทศเพี​ียงวั​ันละประมาณ 4.5 ล้​้านลิ​ิตรเท่​่านั้​้�น และในช่​่วง 2 ปี​ีที่​่�ผ่​่านมาเราจะเห็​็นว่​่าต้​้นทุ​ุนวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ (feedstock cost) ใน การผลิ​ิตเอทานอลจากทั้​้�งกากน้ำำ��ตาลและมั​ันสำำ�ปะหลั​ังสู​ูงถึ​ึง 18-22 บาทต่​่อ ลิ​ิตร ซึ่​่�งเป็​็นข้​้อจำำ�กัดั ที่​่�สำำ�คัญ ั ในการส่​่งเสริ​ิมและเพิ่​่ม� ปริ​ิมาณการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิง เอทานอลในประเทศต่​่อไป 19


Cover Story ในปั​ัจจุ​ุบันั บริ​ิษัทผู้​้�พั ั ฒ ั นาเทคโนโลยี​ีการผลิ​ิต Cellulosic ethanol ได้​้มี​ีการพั​ัฒนาทั้​้�งเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพและลดต้​้นทุ​ุนสารเคมี​ีต่​่างๆ เพื่​่�อให้​้ต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต (production cost) ลดลง โดยมี​ีแนว ทางหลั​ักๆ ดั​ังนี้​้� 1. เพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพการหมั​ัก ลดการใช้​้วั​ัตถุ​ุดิ​ิบต่​่อลิ​ิตรเอทานอลที่​่� เป็​็นหั​ัวใจหลั​ักของการผลิ​ิตเอทานอล ซึ่​่�งมี​ีการพั​ัฒนาการย่​่อยและปลด ปล่​่อยน้ำำ��ตาลจากไฟเบอร์​์ได้​้มากขึ้​้�น รวมทั้​้�งการพั​ัฒนาสายพั​ันธุ์​์�ยี​ีสต์​์ที่​่� สามารถใช้​้ทั้​้�งน้ำำ��ตาล C6 และ C5 ก็​็จะได้​้ผลผลิ​ิตเอทานอลที่​่�มากขึ้​้�น เช่​่น จากเดิ​ิมที่​่�เคยผลิ​ิตจากชานอ้​้อยแห้​้ง (100% DM) ได้​้เอทานอลร้​้อย กว่​่าลิ​ิตร ก็​็มี​ีการพั​ัฒนาขึ้​้�นมาจนได้​้มากกว่​่า 260 ลิ​ิตรต่​่อตั​ัน หรื​ือถ้​้าใช้​้ ฟางข้​้าวก็​็จะได้​้เอทานอลมากกว่​่า 210 ลิ​ิตรต่​่อตั​ัน 2. ลดต้​้นทุ​ุนการแปรสภาพ มี​ีการพั​ัฒนาลดการใช้​้สารเคมี​ีต่​่างๆ โดยเฉพาะที่​่�สำำ�คัญ ั เทคโนโลยี​ีมีกี ารผลิ​ิตเอนไซม์​์ใช้​้เอง สามารถลดต้​้นทุ​ุน ที่​่�ต้​้องซื้​้�อเอนไซม์​์จากภายนอกที่​่�มี​ีราคาแพงได้​้ 3. ลดการลงทุ​ุนโครงการ ซึ่​่�งมี​ีการพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีบางส่​่วนที่​่�ใช้​้ อุ​ุปกรณ์​์และเครื่​่�องจั​ักรต่​่างๆ ในอุ​ุตสาหกรรมอื่​่�นที่​่�มี​ีอยู่​่�แล้​้ว ซึ่​่�งสามารถ ใช้​้ได้​้และมี​ีราคาไม่​่แพง รวมไปถึ​ึงการลงทุ​ุนเฉพาะส่​่วนเตรี​ียมวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ จากไฟเบอร์​์ไปเป็​็นน้ำำ�� ตาลเพื่อ�่ ใช้​้ในโรงงานเอทานอลเดิ​ิมที่​่�มีอยู่​่� ี แล้​้ว

ฟางข้​้าวที่​่�ยั​ังเหลื​ือในพื้​้�นที่​่�และไม่​่ได้​้มี​ีการใช้​้ประโยชน์​์ เป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�มี​ี ศั​ักยภาพสู​ูง จากการประเมิ​ินตามแผนพั​ัฒนาพลั​ังงานทดแทนและพลั​ังงาน ทางเลื​ือก พ.ศ. 2561 – 2580 (Alternative Energy Development Plan 2018 - 2037) มี​ีมากถึ​ึง 27 ล้​้านตั​ัน หากผลิ​ิต Cellulosic ethanol จาก ฟางข้​้าวที่​่�ราคา1,200 บาทต่​่อตั​ัน ความชื้​้�น 12% ก็​็จะมี​ีต้​้นทุ​ุนวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ (feedstock cost) เพี​ียงแค่​่ 6 – 7 บาทต่​่อลิ​ิตร เท่​่านั้​้�น ในขณะเดี​ียวกั​ัน ปริ​ิมาณฟางข้​้าวที่​่�มี​ีเหลื​ืออยู่​่�เที​ียบเท่​่าปริ​ิมาณเอทานอลมากถึ​ึง 14 ล้​้านลิ​ิตร ต่​่อวั​ัน ฟางข้​้าวสามารถสร้​้างมู​ูลค่​่าสู​ูงถึ​ึง 4,630 บาทต่​่อตั​ัน ซึ่​่�งสามารถลด การนำำ�เข้​้าพลั​ังงานจากต่​่างประเทศได้​้มากถึ​ึง 125,000 บาทต่​่อปี​ี นอกจากนี้​้� วั​ัสดุ​ุเหลื​ือใช้​้ทางการเกษตรอื่​่�นๆ ก็​็ยังั สามารถนำำ�มาผลิ​ิต Cellulosic ethanol ได้​้อี​ีก เช่​่น กากมั​ันสำำ�ปะหลั​ัง เหง้​้ามั​ันสำำ�ปะหลั​ัง ใบและยอดอ้​้อย ทะลาย ปาล์​์มเปล่​่า ซึ่​่�งถ้​้าหากสามารถพั​ัฒนากระบวนการเก็​็บเกี่​่�ยวและรวบรวมวั​ัสดุ​ุ ทางการเกษตรเหล่​่านี้​้�มาเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบในการพั​ัฒนาโครงการได้​้ ก็​็จะเป็​็นอี​ีกทาง เลื​ือกหนึ่​่�งที่​่�จะช่​่วยทั้​้�งการสร้​้างมู​ูลค่​่าเพิ่​่�มให้​้กั​ับวั​ัสดุ​ุเหลื​ือใช้​้ทางการเกษตร สร้​้างรายได้​้เพิ่​่�มให้​้แก่​่เกษตรกร และส่​่งเสริ​ิมการผลิ​ิตการใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงเอทา นอลภายในประเทศได้​้ตามเป้​้าหมายต่​่อไป

20

C

ellulosic Ethanol (2G : 2nd Generation) or ethanol produced from cellulose. It is ethanol produced from the main raw material of fiber and agricultural waste such as rice straw, sugarcane bagasse, corncob and bark, etc. The technology used in production has been developed for a long time. But the factor that has prevented cellulosic ethanol from being commercialized worldwide is the high conversion cost and capital cost (CAPEX).

However, many countries in Europe and America are committed to promoting the production and use of Cellulosic ethanol with support in many places. Both sides provide funding to support the project. Various tax benefits including creating incentives for car users because he saw the benefits in both the reuse of unused waste Helping to reduce toxic pollution as well as reducing the amount of carbon dioxide from the production and use of Cellulosic ethanol. Thailand has promoted the production and use of ethanol fuel. to reduce energy imports from abroad Including promoting the use of agricultural raw materials to add value to agricultural products and generate additional income for Thai farmers. The goal is to promote the production and use of ethanol fuel to reach 7.5 million liters per day by 2037 according to the Alternative Energy Development Plan 2018 – 2037 (AEDP2018). by using molasses and cassava as main raw materials. and has sugarcane juice as another alternative raw material This requires support for raw materials according to the Cane and Sugar Strategic

www.sugar-asia.com


Cover Story Goals 2015 - 2026, as well as the Cassava Strategic Goals 2015 - 2026 to promote the increase in sugarcane and cassava production. to 180 and 59.5 million tons by 2026. If sugarcane and cassava production can be increased as targets are met, there will be enough raw materials to produce 7.2 million liters of ethanol fuel per day in 2018. However, the promotion of the production and use of ethanol fuel according to the renewable energy and alternative energy development plan In 2020 and 2021, sugarcane production dropped to 74.89 and 66.65 million tonnes, respectively, while cassava production did not increase as targeted. As a result, the price of raw materials for both molasses and cassava is higher. as well as the ethanol price rising to 25 - 26 baht per liter and the cancellation of gasohol E10 octane 91 phasing out several times, which is an important mechanism to increase the volume domestic use of ethanol fuel The latest has been postponed until the end of 2022. The success of the policy to promote the production and use of fuel ethanol can be achieved through a number of factors, in particular: 1) The quantity of raw materials must be sufficient; 2) supporting infrastructures 3) car user motivation and 4) Determination and control of the implementation of policies which must be consistent with each other It can be seen that in the past effective policy implementation still cannot occur as planned. Many of the postponements of gasohol E10 octane 91 phasing out were due to insufficient raw materials and higher ethanol prices. from raw material prices while the consumption declined from the epidemic situation of the novel coronavirus disease 2019 (COVID-19) and the mechanism to increase the amount of ethanol fuel by phasing out of gasohol E 10 octane 91 has not yet occurred. up according to the plan It can be seen that the factors that affect the most are inevitable in terms of quantity and price of raw materials. including cassava and sugarcane In addition to having to accelerate the expansion of cultivation areas according to the plan which is still difficult The volatility and volatility of weather conditions is even more difficult. Thus, it is most evident from the impact of the decline in sugarcane production over the past two years, while cassava itself has a demand for the domestic industry and exports that appear to have the potential to competing over the production of ethanol fuel If we cannot increase the cultivation area and increase the yield of both sugarcane and cassava according to the Strategic Plan There will be enough raw materials to produce and use only about 4.5 million liters of ethanol per day in the country. from both molasses and cassava up to 18-22 baht per liter, which is an important limitation to promote and increase the consumption of ethanol fuel in the country further.

At present, cellulosic ethanol production technology development companies have developed both increasing efficiency and reducing the cost of various chemicals. In order to reduce production costs, the main guidelines are as follows: 1. Increase the efficiency of fermentation. Reduce raw material consumption per liter of ethanol, which is the heart of ethanol production. which has improved the digestion and release of more sugar from fiber Including the development of yeast strains that can

www.sugar-asia.com

use both C6 and C5 sugars will result in higher ethanol yields, for example, from the original dried bagasse (100% DM) yielding more than a hundred liters of ethanol. It has been developed to be more than 260 liters per ton, or if using rice straw, it will be more than 210 liters per ton of ethanol. 2. Reduce processing costs Has been developed to minimize the use of various chemicals. Especially important technology is the production of enzymes used by ourselves. It can reduce the cost of purchasing expensive external enzymes. 3. Reduce project investment which has developed some technologies that use various equipment and machines in other existing industries which is available and inexpensive as well as investment only in the preparation of raw materials from fiber to sugar for use in the existing ethanol plant.

The remaining rice straw in the area and not being used It is a raw material with high potential. According to the assessment of the Alternative Energy Development Plan 2018 - 2037 (AEDP2018), there are up to 27 million tons if Cellulosic ethanol is produced from rice straw at the price of 1,200 baht per ton, humidity 12%. The feedstock cost is only 6-7 baht per liter, while the remaining amount of rice straw is equivalent to the amount of ethanol up to 14 million liters per day. Rice straw can be valued up to 4,630 baht per tonne, which can reduce energy imports from abroad by as much as 125,000 baht per year. It others can also be used to produce Cellulosic ethanol, such as cassava residue, Cassava rhizomes, leaves and shoots of sugar cane, empty fruit bunch (EFB) If we can develop the harvesting process and collect these agricultural materials as raw materials for project development. It will be another option that will help both adding value to agricultural waste, generate additional income for farmers, and promote the production of ethanol fuel in the country as the next target

ข้​้อมู​ูลผู้​้�เขี​ียน ดร. เสกสรรค์​์ พรหมนิ​ิช (Seksan Phrommanich)

Business Development Manager SEAP, BL Biofuels, CLARIANT (THAILAND) COMPANY LIMITED.

21


Special Insight

� งจั​ักร ทางเลื​ือกใหม่​่เพื่​่� อลดการหยุ​ุดทำำ�งานของเครื่​่อ ปฏิ​ิวั​ัติวิ งการตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนของเครื่​่�องจั​ักรขนาดใหญ่​่ (SPLIT ROLLER BEARINGS) สำำ�หรั​ับอุ​ุปกรณ์​์การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลแบบแรงสู​ูง

REDUCE MACHINE DOWNTIME

Revolutionary New Split Roller Bearings for High-Load Sugar Production Equipment

ริ​ิษั​ัท Bowman International ซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�บุ​ุกเบิ​ิกระดั​ับ โลกของตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบแยกส่​่วนสำำ�หรั​ับเครื่​่�องจั​ักร ขนาดใหญ่​่ได้​้ทำำ�การเปิ​ิดตั​ัวตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยก ส่​่วน (Split roller bearings) ชั้​้�นสู​ูงที่​่�รั​ับน้ำำ��หนั​ักตามแนว แกนและรั​ัศมี​ีที่​่�สู​ูงขึ้​้�นกว่​่าเดิ​ิมได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี เพื่​่�อปรั​ับปรุ​ุง ประสิ​ิทธิ​ิภาพของเครื่​่�องจั​ักรสำำ�คั​ัญในภาคอุ​ุตสาหกรรมเฉพาะ เช่​่น อุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตน้ำำ��ตาล เป็​็นต้​้น ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้ง� แยกส่​่วนชั้​้�นสู​ูงรุ่​่�นล่​่าสุ​ุดของบริ​ิษั​ัทนี้​้�สามารถใช้​้ได้​้ ดี​ีกั​ับหั​ัวสกรู​ูลำำ�เลี​ียงและเครื่​่�องจั​ักรรั​ับน้ำำ��หนั​ักสู​ูงอื่​่�นๆ เพราะสามารถรั​ับน้ำำ�� หนั​ักได้​้สองทิ​ิศทาง คื​ือ ตามแนวรั​ัศมี​ีที่​่�สู​ูงขึ้​้�น 75% และตามแนวแกนเพิ่​่�ม ขึ้​้�นสู​ูงสุ​ุดถึ​ึง 1,000% คุ​ุณเอี​ียน บรี​ีซ ผู้​้�อำำ�นวยการด้​้านเทคนิ​ิคของ Bowman ยั​ังพู​ูดถึ​ึง ประสิ​ิทธิ​ิภาพอั​ันทรงพลั​ังของนวั​ัตกรรมดั​ังกล่​่าวว่​่า

22

“นี่​่�เป็​็นครั้​้�งแรกที่​่�ผู้​้�ผลิ​ิตเครื่​่�องจั​ักรกลและวิ​ิศวกรด้​้านการซ่​่อมบำำ�รุ​ุง ด้​้านกระบวนการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลสามารถกำำ�หนดลั​ักษณะของตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบ ลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนที่​่�ไม่​่ต้​้องอาศั​ัยลู​ูกกลิ้​้�งแบบผสาน (race lips) แต่​่เพี​ียง อย่​่างเดี​ียว เพื่​่�อรองรั​ับแรงกดตามแนวแกนในการใช้​้งานเครื่​่�องจั​ักรที่​่�ต้​้อง รั​ับโหลดงานสู​ูง โดยตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนนี้​้�ประกอบด้​้วยตลั​ับ ตลั​ับลู​ูกปื​ืนอิ​ิสระตามแนวแกนที่​่�พิ​ิมพ์​์แบบ 3 มิ​ิติ​ิสองตั​ัว (3D-printed axial bearings) ซึ่​่�งออกแบบมาเพื่​่อ� รองรั​ับน้ำำ��หนั​ักที่​่�มากขึ้​้น� และยั​ังช่​่วยปรั​ับปรุ​ุง ประสิ​ิทธิ​ิภาพของระบบเครื่​่�องจั​ักรโดยใช้​้การบำำ�รุ​ุงรั​ักษาที่​่�น้​้อยลง และลด ความล้​้มเหลวกะทั​ันหั​ันของเครื่​่�องจั​ักร” “ที่​่�จริ​ิงแล้​้ว หากเราเปรี​ียบเที​ียบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนชั้​้�นนำำ�อื่​่�นในตลาด ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนชั้​้�นสู​ูงของบริ​ิษั​ัท Bowman มี​ีอายุ​ุการใช้​้ งานเพิ่​่�มขึ้​้�นถึ​ึง 500%”

บรรลุ​ุความต้​้องการตลั​ับลู​ูกปื​ืนสำำ�หรั​ับเครื่​่�องจั​ักรของอุ​ุตสาหกรรม รุ่​่�นใหม่​่ แรงกดดั​ันด้​้านเวลาและต้​้นทุ​ุนส่​่งผลกระทบต่​่อทุกุ ภาคส่​่วน สำำ�หรั​ับการ

www.sugar-asia.com


Special Insight ผลิ​ิตน้ำำ��ตาล ความต้​้องการในการผลิ​ิตให้​้มากขึ้​้น� และเร็​็วขึ้​้น� ส่​่งผลกระทบต่​่อ เครื่​่�องจั​ักร นั่​่�นหมายความว่​่าส่​่วนประกอบของเครื่​่�องจั​ักรในการผลิ​ิตจะต้​้อง สามารถทนต่​่อโหลดงานเพิ่​่�มเติ​ิมได้​้ทุ​ุกเมื่​่�อ เป็​็นเวลาหลายทศวรรษที่​่�ตลาดตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนสำำ�หรั​ับ เครื่​่�องจั​ักรได้​้หยุ​ุดนิ่​่�ง เพราะไม่​่สามารถรองรั​ับความต้​้องการที่​่�เปลี่​่�ยนแปลง ไปของการใช้​้งานที่​่�รั​ับภาระสู​ูงอย่​่างมากได้​้ ส่​่งผลให้​้ต้​้องมี​ีการบำำ�รุ​ุงรั​ักษา มากขึ้​้�น รวมทั้​้�งต้​้องใช้​้เวลาหยุ​ุดเดิ​ินเครื่​่�องที่​่�กิ​ินค่​่าใช้​้จ่​่ายสู​ูง และสู​ูญเสี​ีย กำำ�ลั​ังการผลิ​ิตไป นั่​่�นคื​ือความท้​้าทายที่​่�บริ​ิษั​ัท Bowman เผชิ​ิญมาโดยตลอด ด้​้วยโอกาส ของเทคโนโลยี​ีของการพิ​ิมพ์​์แบบสามมิ​ิติ​ิ จึ​ึงมี​ีการผลิ​ิตตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้ง� แยกส่​่วนที่​่�มีแี รงผลั​ักดั​ันเพี​ียงพอและมี​ีความสามารถเพิ่​่ม� ขึ้​้น� ในการรั​ับน้ำำ��หนั​ัก ในแนวรั​ัศมี​ีเพื่​่อ� ทดแทนตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้ง� ทรงกลมแบบแข็​็งในเครื่​่�องจั​ักร แบบหั​ัวหมุ​ุน ส่​่งผลให้​้เวลาหยุ​ุดทำำ�งานของเครื่​่�องจั​ักรลดลง กระบวนการบำำ�รุงุ รั​ักษาทำำ�ได้​้รวดเร็​็วขึ้​้�น และเครื่​่�องจั​ักรที่​่�ได้​้รั​ับการปรั​ับปรุ​ุงเกิ​ิดประสิ​ิทธิ​ิภาพ มากขึ้​้�น ทำำ�ให้​้ทั้​้�งต้​้นทุ​ุนและเวลาที่​่�ใช้​้ไปมี​ีประสิ​ิทธิ​ิผลมากขึ้​้�น

การเปลี่​่ย� นตลั​ับลู​ูกปื​ืนที่​่�เร็​็วขึ้​้�นถึ​ึงสิ​ิบเท่​่า ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนชั้​้�นสู​ูงของ Bowman เอื้​้อ� ให้​้การเปลี่​่�ยน ตลั​ับเก่​่าเป็​็นตลั​ับใหม่​่เร็​็วกว่​่าเดิ​ิมถึ​ึงสิ​ิบเท่​่า เพราะได้​้รับั การออกแบบโดยคำำ�นึงึ ถึ​ึงความรวดเร็​็วในการบำำ�รุ​ุงรั​ักษา คุ​ุณเอี​ียนอธิ​ิบายเพิ่​่�มเติ​ิมว่​่า “เมื่​่�อพื้​้�นที่​่�มี​ีจำำ�กั​ัด วิ​ิศวกรมั​ักจะต้​้องถอด ประกั​ับเพลาและย้​้ายอุ​ุปกรณ์​์อื่​่น� ๆ เช่​่น มอเตอร์​์ กระปุ​ุกเกี​ียร์​์ หรื​ือปั๊​๊ม� ให้​้พ้น้ ทางก่​่อนเลื่​่อ� นตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบแข็​็งออกจากเพลาเพื่อ่� เปลี่​่ย� นหรื​ือบำำ�รุงุ รั​ักษา” “ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนสามารถประกอบเป็​็นแนวรั​ัศมี​ีรอบ เพลา แก้​้ปัญ ั หาด้​้านลอจิ​ิสติ​ิกส์​์ต่า่ งๆ และทำำ�ให้​้การบำำ�รุงุ รั​ักษาและการเปลี่​่�ยน ทดแทนอะไหล่​่ทำำ�ได้​้เร็​็วและคุ้​้�มค่​่ามากขึ้​้น� เพื่อ่� เพิ่​่ม� เวลาและประหยั​ัดค่​่าใช้​้จ่า่ ย ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนชั้​้�นสู​ูงของ Bowman ใช้​้ลู​ูกกลิ้​้�งเพื่​่�อล็​็อคกรง ล้​้อสองส่​่วนให้​้เข้​้าด้​้วยกั​ัน ทำำ�ให้​้ไม่​่ต้​้องใช้​้คลิ​ิปขนาดเล็​็กและส่​่วนประกอบ สำำ�หรั​ับการล็​็อคอื่​่�นๆ เพิ่​่�มเติ​ิม”

เข้​้ากั​ันได้​้กั​ับตั​ัวเรื​ือนของเครื่​่�องจั​ักรยี่​่ห้� ้ออื่​่�นที่​่�ใช้​้อยู่​่� ในฐานะที่​่�เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของกลุ่​่�มผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยก ส่​่วนชั้​้�นสู​ูง Bowman ได้​้สร้​้างผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ชุดุ ติ​ิดตั้​้�งแบบถอดเปลี่​่�ยนได้​้เพิ่​่ม� เติ​ิม ผู้​้�ใช้​้สามารถติ​ิดตั้​้�งโดยตรงเข้​้ากั​ับตั​ัวเรื​ือนตลั​ับลู​ูกปื​ืนของเครื่​่�องจั​ักรยี่​่�ห้​้ออื่​่�น ที่​่�ใช้​้กั​ันอยู่​่� เพื่�อ่ ปรั​ับปรุ​ุงความสามารถในการรั​ับน้ำำ�� หนั​ักในแนวรั​ัศมี​ีและแนว แกนอย่​่างรวดเร็​็วและคุ้​้�มค่​่า ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนชั้​้�นสู​ูงที่​่�เปลี่​่�ยนได้​้เหล่​่านี้​้�ได้​้รั​ับการ ออกแบบให้​้มี​ีขนาดการติ​ิดตั้​้�งเที​ียบเท่​่ากั​ับยี่​่�ห้​้อชั้​้�นนำำ�อื่​่�นๆ ทั้​้�งหมด โดย สามารถเสี​ียบเข้​้ากั​ับตลั​ับลู​ูกปื​ืนของผู้​้�ผลิ​ิตรายอื่​่น� ได้​้โดยตรงเพื่​่อ� การปรั​ับปรุ​ุง ประสิ​ิทธิ​ิภาพในทั​ันที​ี อั​ันที่​่�จริ​ิงแล้​้ว การติ​ิดตั้​้�งตลั​ับลู​ูกปื​ืนที่​่�มี​ีอยู่​่�เดิ​ิมใหม่​่ โดยที่​่�การรั​ักษา ตั​ัวเรื​ือนไว้​้ในแหล่​่งกำำ�เนิ​ิดสามารถทำำ�ให้​้เกิ​ิดขี​ีดความสามารถที่​่�ผู้​้�นำำ�ตลาด ปั​ัจจุบัุ นั เสนอไว้​้ได้​้ถึงึ มากกว่​่า 26% ส่​่งผลให้​้อายุ​ุการใช้​้งานตลั​ับลู​ูกปื​ืนรุ่​่�น L10 เพิ่​่ม� ขึ้​้น� เป็​็นสองเท่​่า ลดเวลาหยุ​ุดทำำ�งานของเครื่​่�องจั​ักร และเพิ่​่ม� ผลผลิ​ิต ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้ง� แยกส่​่วนแบบถอดเปลี่​่�ยนได้​้นั้​้น� มี​ีรุ่​่�น 01/01E/Light ขนาดตั้​้�งแต่​่ 30 มม. ถึ​ึง 300 มม. และรุ่​่�น 02/02E/ขนาดกลาง สำำ�หรั​ับ ขนาดเพลา 190 มม. ถึ​ึง 300 มม.

www.sugar-asia.com

การเชื่​่�อมต่​่อและการวิ​ิเคราะห์​์ประสิ​ิทธิ​ิภาพที่​่�ขั​ับเคลื่​่�อน ด้​้วยข้​้อมู​ูล เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุนพั​ัฒนาการของโรงงานอุ​ุตสาหกรรมแบบอั​ัจฉริ​ิยะและ การบู​ูรณาการกั​ับสภาพแวดล้​้อมทางอุ​ุตสาหกรรม บริ​ิษั​ัท Bowman จึ​ึง นำำ�เสนอเซ็​็นเซอร์​์ตรวจจั​ับอุ​ุณหภู​ูมิ​ิและการสั่​่�นสะเทื​ือนเพิ่​่ม� เติ​ิมที่​่�สามารถ รวบรวมข้​้อมูลู ในแบบเรี​ียลไทม์​์และแจ้​้งเตื​ือนวิ​ิศวกรซ่​่อมบำำ�รุงุ เกี่​่�ยวกั​ับความ ล้​้มเหลวของเครื่​่�องจั​ักรที่​่�รอดำำ�เนิ​ินการ การตรวจสอบสภาพตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบเรี​ียลไทม์​์สามารถช่​่วยในการ บำำ�รุ​ุงรั​ักษาแบบคาดเดาเหตุ​ุการณ์​์และลดการหยุ​ุดทำำ�งานของเครื่​่�องจั​ักร โดยวิ​ิศวกรจะได้​้รับั การแจ้​้งเตื​ือนผ่​่านโทรศั​ัพท์มื์ ือถือื แบบสมาร์​์ทโฟนหรื​ือ ระบบการจั​ัดการอาคารของไซต์​์งาน

ความสามารถในการดั​ัดแปลงตามต้​้องการได้​้อย่​่างรวดเร็​็ว สำำ�หรั​ับโรงงานผลิ​ิตน้ำำ��ตาลที่​่�ต้​้องการดั​ัดแปลงตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบพิ​ิเศษ เพื่​่�อเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพการทำำ�งานของระบบ บริ​ิษั​ัท Bowman มี​ีบริ​ิการ ดั​ัดแปลงตามสั่​่�งซึ่​่�งสามารถทำำ�ได้​้ทั่​่�วโลก ด้​้วยศั​ักยภาพในการพิ​ิมพ์​์แบบสามมิ​ิติ​ิที่​่�ทำำ�ได้​้ภายในโรงงานและที​ีม นั​ักประดิ​ิษฐ์​์ที่​่�ทุ่​่�มเท บริ​ิษั​ัท Bowman สามารถให้​้คำ�ำ ปรึ​ึกษาและออกแบบ อย่​่างเต็​็มรู​ูปแบบ เพื่​่�อทำำ�การดั​ัดแปลงตามความต้​้องการของลู​ูกค้​้าภายใน ระยะเวลาอั​ันรวดเร็​็ว คุ​ุณเอี​ียนยั​ังได้​้กล่​่าวเสริ​ิมในเรื่​่อ� งนี้​้�ว่า่ “บริ​ิษั​ัทของเรามี​ีสิ่ง่� อำำ�นวยความ สะดวกและทั​ักษะทางเทคนิ​ิคด้​้านการออกแบบเพื่​่�อสร้​้างความเข้​้าใจเกี่​่�ยว กั​ับการใช้​้งานของตลั​ับลู​ูกปื​ืนที่​่�ไม่​่ได้​้มาตรฐานด้​้วยความรวดเร็​็วและมี​ีการ ตอบสนองความต้​้องการของลู​ูกค้​้าโดยใช้​้วิ​ิธี​ีการแก้​้ปั​ัญหาเชิ​ิงนวั​ัตกรรมที่​่� ทนทานและคุ้​้�มค่​่า สำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมหนั​ัก ตลั​ับลู​ูกปื​ืนไม่​่ใช่​่สิ​ินค้​้าที่​่�ซื้​้�อ ได้​้โดยตรงจากชั้​้น� วางสิ​ินค้​้าเสมอไป บริ​ิษั​ัท Bowman ภู​ูมิ​ิใจที่​่�ได้​้รับั เลื​ือกให้​้ เป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตเพื่​่อ� การติ​ิดตั้​้�งโดยตรงในปริ​ิมาณมากและเพื่​่อ� สนองความต้​้องการ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ซั​ับซ้​้อนและเฉพาะเจาะจงมากขึ้​้�นอี​ีกด้​้วย”

ตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้�งแยกส่​่วนอั​ันทรงคุ​ุณประโยชน์​์ใน การใช้​้งาน การเพิ่​่ม� ประสิ​ิทธิ​ิภาพการทำำ�งานของตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้ง� แยกส่​่วน รุ่​่�นใหม่​่นี้​้ใ� ช้​้ตราประทั​ับแบบวงกตสามชั้​้น� ที่​่�ได้​้รับั การจดสิ​ิทธิ​ิบั​ัตร ซึ่​่�งไม่​่เพี​ียง แต่​่ให้​้การห่​่อหุ้​้�มที่​่�แน่​่นหนากว่​่าตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบแยกส่​่วนยี่​่�ห้ออื่​่ ้ น� ๆ เท่​่านั้​้�น แต่​่ยังั ช่​่วยลดความจำำ�เป็​็นในการกำำ�จั​ัด การตั​ัดเฉื​ือน หรื​ือการเปลี่​่�ยนเพลา ที่​่�สึ​ึกหรอซึ่​่�งมี​ีค่​่าใช้​้จ่​่ายสู​ูง เมื่​่�อเพลาสึ​ึก วิ​ิศวกรก็​็สามารถทำำ�การห่​่อหุ้​้�มแบบขยายได้​้ใหม่​่ที่​่�คลุ​ุม เฉพาะส่​่วนที่​่�ไม่​่เสี​ียหายของเพลาได้​้ โดยไม่​่ลดทอนประสิ​ิทธิ​ิภาพและไม่​่ ต้​้องเสี​ียเวลาหยุ​ุดเครื่​่�องจั​ักรนานขึ้​้�น นอกเหนื​ือจากความสามารถในการรั​ับน้ำำ��หนั​ักในแนวรั​ัศมี​ีและแนวแกน ที่​่�เพิ่​่ม� ขึ้​้น� อย่​่างเห็​็นได้​้ชัดั การออกแบบตลั​ับลู​ูกปื​ืนใหม่​่นี้​้ยั� งั มี​ีประโยชน์​์ในการ ติ​ิดตั้​้�งและเพิ่​่ม� ประสิ​ิทธิ​ิภาพขึ้​้�น เช่​่น ขนาดสกรู​ูที่​่มี� เี ส้​้นผ่​่านศู​ูนย์​์กลางใหญ่​่ขึ้​้น� เพื่อ่� รองรั​ับความสามารถเพิ่​่ม� เติ​ิมสำำ�หรั​ับแหวนแคลมป์​์ (clamp rings) ตลั​ับ และแท่​่น รวมทั้​้�งเบ้​้าลู​ูกกลิ้​้�งที่​่�มีช่ี อ่ งสำำ�หรั​ับให้​้จาระบี​ียึดึ กั​ับลู​ูกกลิ้​้�งได้​้

เพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพด้​้วยราคาตลาดชั้​้�นนำำ� ในการออกแบบตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้ง� แยกส่​่วนชั้​้น� สู​ูง บริ​ิษั​ัท Bowman มุ่​่�งมั่​่�นที่​่�จะสร้​้างผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�เหนื​ือขอบเขตประสิ​ิทธิ​ิภาพที่​่�มี​ีอยู่​่�แล้​้วใน ตลาดตลั​ับลู​ูกปื​ืนแยกส่​่วนและตลั​ับลู​ูกปื​ืนทรงกลมแบบแยกส่​่วนในราคา ที่​่�สามารถแข่​่งขั​ันกั​ับทั้​้�งผู้​้�ใช้​้ปลายทางและโรงงานที่​่�มีเี ครื่​่�องจั​ักรที่​่�ใช้​้ในการ ผลิ​ิตอยู่​่�แล้​้ว คุ​ุณเอี​ียนสรุ​ุปว่​่า “บริ​ิษั​ัท Bowman คื​ือผู้​้�สร้​้างนวั​ัตกรรมอั​ันน่​่าภาค ภู​ูมิ​ิใจของตลั​ับลู​ูกปื​ืนที่​่�แก้​้ปัญ ั หาอุ​ุตสาหกรรมได้​้จริ​ิง เราเป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตรายแรก ที่​่�สร้​้างตลั​ับลู​ูกปื​ืนแบบลู​ูกกลิ้​้ง� แยกส่​่วนที่​่�สามารถยื​ืดอายุ​ุการใช้​้งานและเพิ่​่ม� ประสิ​ิทธิ​ิภาพของระบบภาระงานในแนวแกนสู​ูง และด้​้วยประโยชน์​์จากการ ผลิ​ิตสิ​ินค้​้าโดยการพิ​ิมพ์​์แบบสามมิ​ิติ​ิ เราจึ​ึงสามารถส่​่งมอบผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นี้​้ออ � ก สู่​่�ตลาดได้​้ในราคาต่ำำ��กว่​่าตลั​ับลู​ูกปื​ืนแยกชั้​้�นนำำ�ยี่​่�ห้​้ออื่​่�นๆ ถึ​ึง 20% การ ประหยั​ัดต้​้นทุ​ุนเหล่​่านี้​้�เป็​็นสิ่​่�งที่​่�เราต้​้องการมอบให้​้กั​ับลู​ูกค้​้า”

23


Special Insight

Ian Breeze, Technical Director for Bowman

G

lobal bearings innovator, Bowman International, has launched to market a split roller bearing with substantially higher radial and axial load capacities, specifically to improve the performance parameters of critical machinery in industrial sectors like the sugar production industry.

Ideal for applications such as screw conveyors and other high-load machinery, the new Bowman Advanced Split Roller Bearing offers up to 75% higher radial load capacity and up to a 1000% increase in axial load capacity in both directions. Ian Breeze, Technical Director for Bowman, comments on the significance of this innovation: “For the first time, machine manufacturers and maintenance engineers in the sugar processing sector can specify a split roller bearing that does not rely on race lips alone to accommodate axial force in high-load applications. The new Bowman Advanced Split Roller Bearing comprises two independent 3D-printed axial bearings designed to accommodate greater loads, improving system performance with less maintenance and reduced unplanned machine failure. “In fact, compared to other market-leading split bearings, the Bowman Advanced Split Roller Bearing increases bearing L10 life by up to 500 per cent.”

Meeting the bearing demands of modern industry Time and cost pressures affect all sectors and for sugar production applications, the need to produce more, faster, takes its toll on machinery, meaning components must be able to withstand the additional load. For decades, the split roller bearing market has stood still, unable to accommodate the evolving needs of these vital high-load applications, resulting in more maintenance, expensive downtime and lost production capacity. This is a challenge Bowman tackled head on and now, thanks to the technological possibilities of 3D printing, there is a split roller bearing with enough thrust capacity and increased radial load capacity to replace solid spherical roller bearings in

ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิมเกี่​่�ยวกั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ดั​ังกล่​่าว กรุ​ุณาเยี่​่ย� มชมที่​่�เวบไซท์​์ www.bowmansplitbearings.com 24

Split roller bearings rotating machinery. The resulting reduction in downtime, quicker maintenance processes and improved machine performance all translate to cost and time efficiencies.

Up to ten times faster bearing changes Delivering up to ten times faster bearing change times compared to solid bearings, Bowman Advanced Split Roller Bearings have been designed with speed of maintenance in mind. “When space is limited, engineers often need to disconnect the coupling and move other equipment, such as motors, gearboxes or pumps out of the way before they can slide solid bearings off the shaft for replacement or maintenance,” explains Ian. “Split roller bearings can be assembled radially around the shaft, eliminating these additional logistical challenges and making maintenance and replacement a lot faster and more cost-effective. To further enhance time and cost savings, the Bowman Advanced Split Roller Bearing uses the rollers to lock

www.sugar-asia.com


Special Insight

the two cage halves together, eradicating the use of small and easy to lose clips and other locking components.”

Compatible with existing competitor housings As part of the Advanced Split Roller Bearing portfolio, Bowman has created a range of dimensionally interchangeable retrofit products that can be fitted directly into the existing competitors bearing housings to quickly and cost-effectively improve radial and axial load capacities. These Interchangeable Split Roller Bearings have been designed with equivalent critical mounting dimensions to all other leading bearing brands, so that they can slot directly into other manufacturer’s cartridges for instant performance improvements. In fact, retrofitting existing bearings, but keeping the housing in-situ can exceed the capacities offered by the current market leader by up to 26 percent, resulting in up to double the bearing L10 life, reduced downtime and increased productivity. The Interchangeable Split Roller Bearings are available in 01/01E/Light series from 30mm to 300mm and 02/02E/Medium series from 190mm to 300mm shaft sizes

With inhouse 3D printing capabilities and a team of dedicated innovators, Bowman can offer a full consultation and design service to create bespoke adaptations deliverable within short lead times. Ian adds: “We have the facilities and the technical design skill to understand any non-standard bearing application quickly and respond to customer needs with innovative, durable and cost-effective solutions. For the heavy-side industries, bearings are not always an off-the-shelf purchase and Bowman prides itself on being the manufacturer of choice, not just for straightforward, high-volume installations, but for more complex and niche product requirements too.”

A benefit-rich split roller bearing designed to perform Further enhancing the performance of this revolutionary split roller bearing is a patented triple labyrinth seal which not only offers a tighter seal than other split bearings, but also reduces the need for costly removal, machining or replacement of worn shafts. When a shaft becomes worn, engineers can simply fit a new extended seal covering the undamaged part of the shaft, without compromising performance and without the need for extended downtime. Alongside the significant increase in radial and axial load capacity, this new bearing design offers a range of additional installation and performance benefits, such as larger diameter screw sizes to accommodate increased capabilities for the clamp rings, cartridges and pedestals and roller pockets with cavities to hold the grease against the rollers.

Connectivity and data-driven performance analysis To support the smart factory evolution and the integration of connectivity into industrial environments, Bowman offer the addition of temperature and vibration monitoring sensors that can gather data in real-time and alert maintenance engineers of pending machine failure. Real-time monitoring of bearing conditions can assist with predictive maintenance and reducing downtime, alerting the engineer via smartphone or the site’s building management system.

Bespoke adaptations within short lead times For sugar production plants that require special bearing adaptations in order to optimize the performance of their system, Bowman offers a bespoke adaptation service which is available globally.

Radinally split assembly

Optimised performance at a market-leading price point When designing the Advanced Split Roller Bearings, Bowman strived to create a product that surpassed all performance boundaries in the split bearing and spherical split bearing market at a price point that was competitive for OEMs and end users. Ian concludes: “Bowman is a proud innovator of bearing solutions that solve real industry issues. We are the first manufacturer to create a split roller bearing capable of increasing the lifespan and performance of high-axial load systems and thanks to the production benefits of 3D printing, we have been able to deliver this product to market at a price point up to 20 per cent lower than other leading split bearings. These cost savings were something we were keen to pass on to customers.”

For more information on the new Bowman Advanced Split Roller Bearing, visit www.bowmansplitbearings.com.

www.sugar-asia.com

25


Special Insight

Brix ความแม่​่นยำำ�ของระบบวั​ัดค่​่าใน เครื่​่�องตกผลึ​ึกน้ำำ��ตาล Brix measurement in the crystallizer

วามสามารถในการตรวจสอบและควบคุ​ุมกระบวนการ ต่​่างๆ ของการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลคื​ือหัวั ใจสำำ�คัญ ั สำำ�หรั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ คุ​ุณภาพสู​ูง ซึ่​่�งในขั้​้น� ตอนดั​ังกล่​่าวนี้​้� จะมี​ีกระบวนการที่​่�สำำ�คัญ ั หลายจุ​ุดที่​่�จำำ�เป็​็นจะต้​้องมี​ีการวั​ัดที่​่�แม่​่นยำำ�และตรวจวั​ัดซ้ำำ�� ได้​้ ตั​ัวอย่​่างของกระบวนการจำำ�พวกนี้​้� จะได้​้แก่​่ การเคี่​่�ยว (Crystallization) ด้​้วยหม้​้อเคี่​่�ยวระบบสุ​ุญญากาศ (Vacuum Pan), หม้​้อต้ม้ ระเหย (evaporation pans) และกระบวนการ Milk of lime เป็​็นต้​้น ระบบการวั​ัด MicroPolar Brix ของ Berthold สามารถทำำ�งานได้​้ทั้​้ง� แบบออนไลน์​์และแบบเรี​ียลไทม์​์ ที่​่�มาพร้​้อมกั​ับเทคโนโลยี​ีการวั​ัดค่​่าด้​้วยสั​ัญญาณไมโครเวฟล้ำำ�� สมั​ัย (fourth generation state-of-the-art microwave) ที่​่�จะ ทำำ�ให้​้ผู้​้�ใช้​้สามารถรั​ับรู้​้�แนวโน้​้มและดำำ�เนิ​ินงานตามกระบวนการ เพื่​่�อรั​ับประกั​ันคุ​ุณภาพและการผลิ​ิตที่​่�คุ้​้�มค่​่าได้​้

Installation on a vacuum pan using container probe with integrated flushing devise

ระบบการตรวจวั​ัดที่​่มี​ีค � วามเข้​้มข้​้น และแม่​่นยำำ�สู​ูง ของ Brix น้ำำ��อ้​้อยเข้​้มข้​้นจะถู​ูกทำำ�ให้​้ร้​้อนในกระบวนการเคี่​่�ยวภายในหม้​้อเคี่​่�ยว ระบบสุ​ุญญากาศ เมื่​่�อถึ​ึงระดั​ับความเข้​้มข้​้นที่​่�กำำ�หนดแล้​้ว น้ำำ��อ้​้อยจะจั​ับตั​ัว เป็​็นผลึ​ึกน้ำำ��ตาล และเพื่​่�อทำำ�ให้​้เกิ​ิดสี​ีของเม็​็ดน้ำำ��ตาลที่​่�สม่ำำ��เสมอ ด้​้วยระบบ การวั​ัดค่​่าไมโครเวฟที่​่�สร้​้างโดย Berthold ความเข้​้มข้​้นของน้ำำ��อ้​้อย (°Brix) จะได้​้รั​ับการตรวจวั​ัดตลอดกระบวนการเคี่​่�ยว และสามารถกำำ�หนดจุ​ุดเพาะ ได้​้อย่า่ งแม่​่นยำำ� การควบคุ​ุมกระบวนการเดื​ือดในหม้​้อเคี่​่�ยวระบบสุ​ุญญากาศ 26

ได้​้ เป็​็นอี​ีกกระบวนการหนึ่​่�งที่​่�สำำ�คั​ัญและถื​ือได้​้ว่​่าสำำ�คั​ัญที่​่�สุ​ุดในกระบวนการ ผลิ​ิตน้ำำ��ตาล เนื่​่�องจากต้​้องใช้​้ความแม่​่นยำำ�สู​ูงในการกำำ�หนดจุ​ุดเพาะเพื่​่�อให้​้ เกิ​ิดโครงสร้​้างและขนาดของค่​่าสี​ีน้ำำ��ตาลที่​่�เหมาะสม Berthold LB 565 MicroPolar Brix เป็​็นโซลู​ูชั่​่�นที่​่�จะมอบการวั​ัดที่​่� แม่​่นยำำ�และความสามารถการวั​ัดซ้ำำ��ได้​้สู​ูง ระบบการวั​ัดค่​่าของระบบนี้​้�จะนำำ� ไปใช้​้ในขั้​้�นตอนการเคี่​่�ยวน้ำำ��ตาลทั้​้�งหมด เนื่​่�องจากมี​ีความทนทานและหั​ัว เซนเซอร์​์ที่​่�ล้ำ�ำ� สมั​ัย อี​ีกทั้​้�งในระบบนี้​้� มี​ีการวั​ัดพิ​ิสู​ูจน์​์ความสามารถการวั​ัดซ้ำำ�� www.sugar-asia.com


Special Insight มาแล้​้วหลายครั้​้�ง ทำำ�ให้​้เกิ​ิดทำำ�งานได้​้อย่​่างน่​่าเชื่​่�อถื​ือและปราศจากปั​ัญหาแม้​้ ในการทำำ�งานที่​่�ต่อ่ เนื่​่�อง แม้​้หลั​ังจากขั้​้น� ตอนการเคี่​่�ยวขั้​้น� สุ​ุดท้​้าย จากที่​่�ตัวั ผลึ​ึก น้ำำ��ตาลผ่​่านปั๊​๊�มมาแล้​้วนั่​่�น ความเข้​้มข้​้นของ °Brix ที่​่�วั​ัดได้​้จากบริ​ิเวณปลาย ท่​่อก็ยั็ ังคงมี​ีความแม่​่นยำำ�

หลั​ักการวั​ัดและฟั​ังก์​์ชั​ันการทำำ�งาน ไมโครเวฟจะทะลุ​ุผ่า่ นวั​ัสดุ​ุที่​่จ� ะวั​ัด จะทำำ�ให้​้เกิ​ิดค่​่าคงที่​่�ไดอิ​ิเล็​็กทริ​ิก (Dielectric Constant) ของวั​ัสดุ​ุซึ่​่ง� บ่​่งบอกถึ​ึงพลั​ังงานที่​่�มี​ีต่อสั ่ ญ ั ญาณไมโครเวฟ ค่​่าคงที่​่�ไดอิ​ิเล็​็กตริ​ิกของน้ำำ��จะมี​ีปริ​ิมาณมากกว่​่าวั​ัสดุ​ุอื่​่�นๆ ถึ​ึง 20 เท่​่า ซึ่​่�งจะ ส่​่งผลให้​้เกิ​ิดปฏิ​ิสั​ัมพั​ันธ์​์ที่​่รุ� นุ แรงของสั​ัญญาณไมโครเวฟกั​ับน้ำำ�� จากนั้​้�นเราจะ ทำำ�การวั​ัดแบบลดทอนและเลื่​่�อนเฟส ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� เราจึ​ึงสามารถกำำ�หนดปริ​ิมาณน้ำำ�� ได้​้อย่า่ งแม่​่นยำำ� เทคโนโลยี​ี หลายความถี่​่�ที่​่� Berthold ใช้​้นั้​้�น จะรั​ับประกั​ันการวั​ัดที่​่�เสถี​ียรและเชื่​่�อถือื ได้​้ มาก แม้​้แต่​่การสะท้​้อนหรื​ือการสั่​่�นสะเทื​ือนจากเครื่​่�องจั​ักรในระดั​ับสู​ูงก็​็จะ ไม่​่มี​ีผลกระทบใดๆ นอกจากนั้​้�น แบบของ Integrated reference line ยั​ัง ช่​่วยให้​้มั่​่�นใจได้​้ว่​่ามี​ีการชดเชยพลั​ังงานโดยรอบที่​่�น่​่าเชื่​่�อถื​ือได้​้ อี​ีกทั้​้�งระบบ MicroPolar ซึ่​่�งทำำ�งานโดยใช้​้พลั​ังงานคลื่​่�นไมโครเวฟต่ำำ��มาก (ประมาณ 0.1 มิ​ิลลิ​ิวั​ัตต์​์) นั่​่�นหมายความว่​่าวั​ัสดุ​ุที่​่�ทำำ�การวั​ัดจะไม่​่ได้​้รั​ับความร้​้อนหรื​ือ เปลี่​่�ยนแปลงแต่​่อย่​่างใด

ข้​้อดี​ีของการวั​ัดค่​่าและความเข้​้มข้​้น °Brix ของ Berthold • กำำ�หนดจุ​ุดเพาะที่​่�แม่​่นยำำ�มาก • ได้​้ความสม่ำำ��เสมอของสี​ีน้ำำ��ตาลและคุ​ุณภาพที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น • ได้​้การควบคุ​ุมที่​่�น่​่าเชื่​่�อถื​ือระหว่​่างกระบวนการตกผลึ​ึกทั้​้�งหมด • มี​ีการผลิ​ิตอย่​่างต่​่อเนื่​่�องโดยไม่​่มี​ีการหยุ​ุดกระบวนการทำำ�งาน • ได้​้ระดั​ับ Pt100 สำำ�หรั​ับการชดเชยอุ​ุณหภู​ูมิ​ิเพื่​่�อการวั​ัดที่​่�แม่​่นยำำ� • มี​ี Integrated reference line สำำ�หรั​ับการวั​ัดค่​่าระดั​ับโดยปราศจาก สิ่​่�งรบกวน • มี​ีการระบายจากหั​ัวจ่​่ายที่​่�ใช้​้ปริ​ิมาณน้ำำ��น้​้อยลง ข้​้อมูลู เพิ่​่�มเติ​ิมเกี่​่�ยวกั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ www.berthold.com

T

he ability to monitor and control various parts of the sugar production process is key to producing high quality products. In this process, there are several critical process points where reproducible and accurate measurements are required. Among them are continuous vacuum pans (crystallization), evaporator pans and milk of lime. Using fourth generation state-of-the-art microwave measurement technology, Berthold‘s MicroPolar Brix measurement systems can do the job online and in real time. Trends can be recognized and process actions can be taken insuring high quality and cost efficient production. Highly accurate and reproducible Brix and concentration measurements The thick juice is heated in the crystallization process under vacuum conditions. When a certain concentration is reached, the juice is seeded with tiny sugar crystals to promote the growth of uniform crystals. With the microwave measuring systems from Berthold, the juice concentration (°Brix) is monitored throughout the crystallization process, and a precise determination of the seeding point can be determined. Controlling the boiling process

www.sugar-asia.com

MicroPolar Brix Automatic on site calibration in vacuum pans is one of the most important and critical activities in the sugar production process. High accuracy is required to determine the seeding point to insure proper crystal structure and size of the product. The Berthold LB 565 MicroPolar Brix is the ideal solution for providing a highly accurate and reproducible measurement. The brix measuring systems are applied in all crystallization stages. Due to its robustness and superior sensor flushing, the measuring systems have proven time and time again that they work reliably and trouble-free even in continuous operating conditions. Even after the final crystallization stage, the °Brix concentration of the massecuite can still be reliably measured at the outlet pipe, after the product has passed through the pump.

Measuring principle and function Microwaves penetrate the material to be measured. The dielectric constant value of the material indicates the influence on the microwaves. The dielectric constant value of water is 20 times larger compared to that of other materials. This results in a strong interaction of the microwaves with water, which we then measure as attenuation and phase shift. Consequently, the water content can be determined very accurately. The multi-frequency technology used by Berthold guarantees very stable and reliable measurements, which remain unaffected by interfering reflections or resonances. The integrated reference line ensures reliable compensation of ambient influences. The MicroPolar works with very low microwave power (approx. 0.1 mW) which means that the material being measured is not heated or altered in any way.

These are the advantages of Berthold’s °Brix and concentration measurements: • Very precise determination of the seeding point • Uniform sugar crystals and improved quality • Reliable control during entire crystallization process • Continuous production, without process downtime • Pt100 for temperature compensation to achieve accurate measurements • Integrated reference line for disturbance-free measurement • Optional flushing of probe with low water consumption For further information please visit this link: www.berthold.com/crystallizer

27


Ethanol News

อิ​ินเดี​ีย เร่​่งผลิ​ิตเอทานอล พร้​้อมเปิ​ิดรั​ับน้ำำ��ตาลจาก บราซิ​ิล India Ethanol Push Cheers Brazilian Sugar Producers

��ตาลของประเทศบราซิ​ิลยั​ังคงได้​้รั​ับ อุ​ุ ตผลดี​ีสาหกรรมน้ำำ จากการตั​ัดสิ​ินใจของอิ​ินเดี​ียที่​่�มีแี ผนการขยาย

ตลาดเอทานอล โดยที่​่�อิ​ินเดี​ียนำำ�น้ำำ��ตาลมาผลิ​ิตเชื้​้อ� เพลิ​ิง ชี​ีวภาพแทนการส่​่งออก และส่​่งผลให้​้ผู้​้�บริ​ิโภคน้ำำ��ตาลทั่​่�ว โลกต้​้องการนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลจากประเทศบราซิ​ิล

นายกรั​ัฐมนตรี​ีนเรนทรา โมดี​ี (Narendra Modi) ของ ประเทศอิ​ินเดี​ียได้​้ประกาศเมื่​่�อช่ว่ งเดื​ือนมิ​ิถุ​ุนายนที่​่�ผ่า่ นมาว่​่า เอทานอลจะเป็​็นศู​ูนย์​์กลางของแผนพลั​ังงาน ด้​้านสิ่​่ง� แวดล้​้อม ของประเทศอิ​ินเดี​ีย ซึ่​่�งจะช่​่วยลดเงิ​ินทุ​ุนอุ​ุดหนุ​ุนการส่​่งออก น้ำำ��ตาลจากรั​ัฐบาลอิ​ินเดี​ีย ทั้​้�งนี้​้�แผนงานเกี่​่�ยวกั​ับเอทานอลของประเทศอิ​ินเดี​ียใน ระหว่​่างปี​ี พ.ศ. 2563 – 2568 มี​ีเป้​้าหมายการประสาน แผนงานอย่​่างเป็​็นทางการที่​่�จะไปสู่​่�การผลิ​ิต E20 ภายในปี​ี พ.ศ. 2568 โดยที่​่�จะค่​่อย ๆ ทยอยเปิ​ิดตั​ัวภายในปี​ี พ.ศ. 2566 ในช่​่วงเดื​ือนมี​ีนาคม ด้​้านรั​ัฐบาลอิ​ินเดี​ียยั​ังอนุ​ุญาตให้​้มี​ี การขายเอทานอลบริ​ิสุ​ุทธิ์​์ที่​่� ส� ถานี​ีเติ​ิมน้ำำ��มันั ด้​้วยเช่​่นกั​ัน อานั​ันโด คอเรี​ีย (Arnaldo Correa) ผู้​้�อำำ�นวยการ ที่​่�ปรึ​ึกษา Archer ได้​้กล่​่าวว่​่า “อิ​ินเดี​ียต้​้องการเอทานอล เพิ่​่�มมากขึ้​้�นถึ​ึง 10.16 พั​ันล้​้านลิ​ิตร (175,080 บาร์​์เรลต่​่อ วั​ัน) ต่​่อปี​ี เพื่​่�อตอบสนองความต้​้องการ อิ​ินเดี​ียจะต้​้องมี​ีเอ ทานอลโดยอย่​่างน้​้อย 7 พั​ันล้​้านลิ​ิตร และคาดว่​่าจะมาจาก อ้​้อยส่​่วนที่​่�เหลื​ือจากธั​ัญพื​ืช และการดำำ�เนิ​ินการนี้​้�จะช่​่วย ลดการผลิ​ิตรวมถึ​ึง การส่​่งออกน้ำำ��ตาลของประเทศอิ​ินเดี​ีย ได้​้ ซึ่​่�งนั่​่�นเป็​็นผลดี​ีต่​่อประเทศบราซิ​ิลในระยะกลาง ซึ่​่�งการ ประกาศของรั​ัฐบาลอิ​ินเดี​ียเป็​็นสั​ัญญาณเชิ​ิงบวกอย่​่างชั​ัดเจน สำำ�หรั​ับประเทศบราซิ​ิล เกี่​่�ยวกั​ับตลาดน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลก” เฟลิ​ิเป้​้ วิ​ิชคิ​ิอาโต (Felipe Vicchiato) ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�ฝ่​่ายการ เงิ​ิน ผู้​้�อำำ�นวยการฝ่​่ายนั​ักลงทุ​ุนสั​ัมพั​ันธ์​์ของบริ​ิษั​ัทเซา มาร์​์ ติ​ินโญ (Sao Martinho) ได้​้กล่​่าว กั​ับนั​ักลงทุ​ุนว่​่า “ผลกระ ทบของการตั​ัดสิ​ินใจในครั้​้�งนี้​้�จะไม่​่ปรากฏให้​้เห็​็นในปี​ีหน้​้า แต่​่จะปรากฏให้​้เห็​็นภายในอี​ีก 24 เดื​ือนข้​้างหน้​้า” อานั​ันโด คอเรี​ีย (Arnaldo Correa) ผู้​้�อำำ�นวยการที่​่� ปรึ​ึกษา Archer กล่​่าวว่​่า “ความต้​้องการน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกมี​ี

28

แนวโน้​้มที่​่�จะเพิ่​่ม� ขึ้​้น� ในช่​่วง 5 ปี​ีข้า้ งหน้​้า” เนื่​่�องจาก การส่​่ง ออกน้ำำ��ตาลที่​่�ลดลงของประเทศอิ​ินเดี​ียรวมทั้​้�งความต้​้องการ เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพทั่​่�วโลกที่​่�เพิ่​่ม� ขึ้​้น� บราซิ​ิลจึ​ึงต้​้องเพิ่​่ม� ผลผลิ​ิต อ้​้อยที่​่�อยู่​่�ช่​่วง 780 ล้​้าน - 850 ล้​้านเมตริ​ิกตั​ัน จาก 605 ล้​้านตั​ัน ในฤดู​ูกาลเก็​็บเกี่​่�ยว พ.ศ. 2563 – 2564 รวมทั้​้�ง มี​ีการสร้​้างหรื​ือเปิ​ิดโรงงานน้ำำ�� ตาลและเอทานอลแห่​่งใหม่​่ ที่​่� มี​ีขนาดใหญ่​่อีกี 15-20 โรง เพี​ียงเพื่​่อต้ � อ้ งการรั​ักษาส่​่วนแบ่​่ง ของตลาดส่​่งออกน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกในปั​ัจจุบัุ ัน แต่ทว่าราคาน�้ำตาลทั่วโลกอาจจะต้องสูงขึ้นก่อนที่ โรงงานอ้อยของประเทศบราซิลจะเริ่มลงทุนในการขยายอีก ครัง้ จากตามรายงานของหน่วยงานพืชไร่ของรัฐบาลบราซิล ได้ให้ข้อมูลาว่า ในส่วนของพื้นที่ปลูกอ้อยของบราซิลมีการ หดตัวลง จากที่มีพื้นที่ปลูกถึง 9 ล้านเฮกตาร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2560 แต่ปัจจุบันลดลงเหลือเพียง 8.4 ล้าน เฮคเตอร์ เท่านั้น

B

razil’s sugar industry stands to benefit from India’s decision to expand its ethanol market, converting more of the subcontinent’s otherwise exportable sugar into biofuel and shifting more global demand for the sweetener onto Brazil’s shoulders.

Indian prime minister Narendra Modi announced on 5 June that ethanol would be the center of his energy and environmental plan, which will help reduce India’s sugar export subsidy costs. According to India’s new 2020-25 Ethanol Blending Roadmap, the official blend target will reach E20 by 2025 with phased roll-out from 2023. In March, the Indian government also

authorized the sale of pure ethanol at filling stations. India will require as much as 10.16bn liters (175,080 b/d) of additional ethanol a year to meet that demand, with at least 7bn l of that expected to come from cane and the rest from grains. This will curtail India’s sugar production and exports, a net positive for Brazil in the medium term, said Arnaldo Correa, director of consultancy Archer. “India’s announcement is clearly a positive signal for Brazil with respect to the global sugar market,” Sao Martinho’s chief financial officer Felipe Vicchiato said on an earnings call with investors this week. “The effects of this decision will not be seen next year but in 24 months.” Global demand for sugar is expected to grow by 1pc a year over the next five years, Correa said. And with India’s reduced sugar exports and increased global demand for biofuels, Brazil will have to increase its center-south sugar cane output to 780mn-850mn metric tons from the 605mn t harvested in the 2020-21 season and build or reopen 15-20 additional large-scale sugar and ethanol mills just to maintain its current share of the global sugar export market, he added. Yet global sugar prices may have to rise before Brazilian cane mills begin to invest in expansion again. Brazil’s cane crop has been shrinking: planted area reached 9mn hectares between 2014 and 2017, but declined to 8.4mn ha in 2020-21, according to the government crop agency Conab.

www.sugar-asia.com


Ethanol News

บราซิ​ิลเตรี​ียมลงทุ​ุนเปิ​ิดโรงงานผลิ​ิตเอทานอลจาก เซลลู​ูโลสแห่​่งใหม่​่ Raízen Reveals Plans for Second Cellulosic Ethanol Plant in Brazil

ริ​ิษั​ัทราอิ​ิเซน เอส เอ ซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตชี​ีวพลั​ังงาน น้ำำ��ตาลและเอธานอลจากอ้​้อยรายใหญ่​่ของประเทศ บราซิ​ิลได้​้เปิ​ิดเผยเมื่​่�อเร็​็วๆ นี้​้�ว่า่ บริ​ิษั​ัทจะลงทุ​ุนในการ ก่​่อสร้​้างโรงงานเอธานอลจากเซลลู​ูโลสแห่​่งที่​่�สองด้​้วย กำำ�ลังั การผลิ​ิตติ​ิดตั้​้�ง 82 ล้​้านลิ​ิตรต่​่อปี​ี ซึ่​่�งเพิ่​่ม� ขึ้​้น� สอง เท่​่าของกำำ�ลังั การผลิ​ิตของโรงงานเอธานอลที่​่�ใช้​้เซลลู​ูโลส แห่​่งแรกจากโรงงานคอชตา ปิ​ินตุ​ุ ในเขตปิ​ิราซิ​ิคาบา กรุ​ุงเซาเปาโล โดยโรงงานแห่​่งใหม่​่นี้​้�จะสร้​้างขึ้​้�นที่​่�บง ฟิ​ิงในเขตการิ​ิบา กรุ​ุงเซาเปาโล เช่​่นกั​ัน

จากแถลงการณ์​์เมื่​่�อเดื​ือนมิ​ิถุ​ุนายน 2564 ที่​่�ผ่​่านมา โรงงานผลิ​ิตเอธานอลแห่​่งใหม่​่นี้​้จ� ะถู​ูกผนวกเข้​้ากั​ับสวนพลั​ังงาน ชี​ีวภาพบงฟิ​ิง ซึ่​่�งตั้​้�งอยู่​่�ในเมื​ืองการิ​ิบา ในเซาเปาโล นอก

www.sugar-asia.com

เหนื​ือจากการผลิ​ิตน้ำำ��ตาล เอธานอลรุ่​่�นแรก และไฟฟ้​้าชี​ีวมวล จากอ้​้อย ซึ่​่�งพื้​้�นที่​่�แห่​่งนี้​้�ยังั เป็​็นที่​่�ตั้​้ง� ของโรงงานก๊​๊าซชี​ีวภาพแห่​่ง แรกของบริ​ิษั​ัทที่​่�เปิ​ิดตั​ัวในเดื​ือนตุ​ุลาคม 2563 ที่​่�ผ่า่ นมา การประกาศสร้​้างโรงงานแห่​่งใหม่​่นี้​้�ตอบสนองความ ต้​้องการที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นในตลาดต่​่างประเทศ โดย 91% ของ ปริ​ิมาณการขายได้​้ขายไปแล้​้วภายใต้​้สั​ัญญาระยะยาวกั​ับ บริ​ิษั​ัทพลั​ังงานระดั​ับโลก โรงงานผลิ​ิตเอธานอลจากเซลลู​ูโลสแห่​่งใหม่​่นี้​้�คาดว่​่า จะเริ่​่�มดำำ�เนิ​ินการในปี​ี 2566 หลั​ังจากนั้​้�น กำำ�ลั​ังการผลิ​ิต เอธานอลจากเซลลู​ูโลสรวมประจำำ�ปีขี องบริ​ิษั​ัทราอิ​ิเซนจะอยู่​่� ที่​่�ประมาณ 120 ล้​้านลิ​ิตร ทำำ�ให้​้บริ​ิษั​ัทนี้​้�จะเป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตเพี​ียง รายเดี​ียวในโลกที่​่�ดำำ�เนิ​ินการผลิ​ิตเอธานอลจากเซลลู​ูโลสแบบ โรงงานอุ​ุตสาหกรรมถึ​ึงสองแห่​่ง

B

razilian sugarcane ethanol, sugar, and bioenergy major Raízen SA has recently disclosed that it will invest in the construction of a second cellulosic ethanol plant (E2G) with an installed production capacity of 82 million litres per annum, double the capacity of its first cellulosic ethanol plant at its Costa Pinto facility in Piracicaba, São Paulo (SP). The new E2G plant will be built at its Bonfim facility in Guariba, SP.

According to a statement on June 25, 2021, the new E2G plant will be integrated into the Bonfim Bioenergy park located in Guariba, São Paulo (SP), which in addition to the production of sugar, first-generation ethanol, and electricity from sugarcane biomass, also houses the company’s first biogas plant that was inaugurated in October 2020. The announcement of the new plant meets the growing demand for the product in the international market, with 91 percent of its volume already sold under a long-term contract with a global energy player. The E2G plant is expected to start operating in 2023. With the start-up of this second plant, Raízen’s total annual production capacity of cellulosic ethanol will be approximately 120 million litres making Raízen the only producer in the world to operate two industrial-scale cellulosic ethanol plants.

29


Ethanol News

แผนส่​่งเสริ​ิมเอทานอลอิ​ินเดี​ีย สามารถช่​่วยขั​ับเคลื่​่�อน ทิ​ิศทางของตลาดน้ำำ��ตาลโลก India’s ethanol plan could drive a sugar bull market

รั​ั

ฐบาลอิ​ินเดี​ียมี​ีแผนที่​่�จะเพิ่​่�มการผสมเอทานอลใน น้ำำ��มันั เบนซิ​ิน เพื่อล ่� ดมลพิ​ิษและลดค่​่าใช้​้จ่า่ ยการนำำ� เข้​้าน้ำำ��มั​ัน ซึ่​่�งอาจจะเป็​็นการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�ใหญ่​่ที่​่�สุ​ุด ในตลาดน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลก นั​ับตั้​้�งแต่​่การปฏิ​ิรู​ูปน้ำำ��ตาล ของยุ​ุโรป และอาจผลั​ักดั​ันถึ​ึงความต้​้องการในตลาด น้ำำ��ตาลให้​้สู​ูงขึ้​้�น จากรายงานที่​่�เผยแพร่​่ของผู้​้�ค้า้ อาหารและผู้​้�ให้​้บริ​ิการ ห่​่วงโซ่​่อุปุ ทานหรื​ือกลุ่​่�มซาร์​์นิ​ิโคว์​์ ได้​้ชี้​้ว่� า่ โครงการเอทานอล ของอิ​ินเดี​ียจะส่​่งเสริ​ิมรั​ัฐบาลให้​้ยุ​ุติ​ิการส่​่งออกน้ำำ��ตาลและ ยั​ังลดปริ​ิมาณน้ำำ��ตาลที่​่�ส่​่งออกไปนอกประเทศ ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ัน อิ​ินเดี​ียยั​ังเป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตรายใหญ่​่อันั ดั​ับสองรองจากบราซิ​ิล ด้​้านหั​ัวหน้​้านั​ักวิ​ิจั​ัยของกลุ่​่�มซาร์​์นิ​ิโคว์​์ นายสตี​ีเฟน เก ลดาร์​์ท ได้​้กล่​่าวไว้​้ในรายงานข้​้างต้​้นว่​่า แผนการของอิ​ินเดี​ีย ที่​่�จะผลั​ักดั​ันให้​้มีกี ารผสมเอธานอล 20% กั​ับน้ำำ��มันั เบนซิ​ิน ซึ่​่�งจะดำำ�เนิ​ินการโดยเร็​็วที่​่�สุ​ุดภายในปี​ี 2566 เมื่​่�อเที​ียบกั​ับ ปั​ัจจุ​ุบั​ัน ปริ​ิมาณเอทานอลที่​่�ใช้​้กั​ับน้ำำ��มั​ันเบนซิ​ิลเพี​ียง 5% ที่​่�จะนำำ�ไปสู่​่�การผลิ​ิตเอทานอลจากน้ำำ��อ้​้อยและกากน้ำำ��ตาล 6 พั​ันล้​้านลิ​ิตร ซึ่​่�งจะสามารถ “ลดการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในท้​้อง ถิ่​่�นได้​้มากขึ้​้�นกว่​่า 6 ล้​้านตั​ัน” ทั้​้�งนี้​้�นายสตี​ีเฟน ยั​ังกล่​่าวเสริ​ิมอี​ีกว่​่า ภายในปี​ี 2568 อิ​ินเดี​ียจะเปลี่​่�ยนจากการผลิ​ิตน้ำำ��ตาล 33 ล้​้านตั​ันต่​่อปี​ีเป็​็น 27 ล้​้านตั​ันต่​่อปี​ี เนื่​่�องจากการบริ​ิโภคในปั​ัจจุบัุ นั อยู่​่�ที่​่�ประมาณ 25 ล้​้านตั​ัน และมี​ีแนวโน้​้มว่​่าจะเติ​ิบโตในอนาคต ดั​ังนั้​้�น อิ​ินเดี​ียจะไม่​่เป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตและส่​่งออกน้ำำ��ตาลส่​่วนเกิ​ินรายใหญ่​่ อี​ีกต่​่อไป โดยที่​่�นายสตี​ีเฟนเปรี​ียบเที​ียบกั​ับกรณี​ีของอิ​ินเดี​ีย กั​ับการปฏิ​ิรู​ูปนโยบายน้ำำ��ตาลของยุ​ุโรประหว่​่างปี​ี 2545 ถึ​ึง 2551 เมื่​่�อมีกี ารลดเงิ​ินอุ​ุดหนุ​ุนเพื่​่อ� การส่​่งออกและการผลิ​ิต

30

จะนำำ�ไปสู่​่�การรวมตั​ัวของตลาดน้ำำ�� ตาลที่​่�แข็​็งแกร่​่ง รายงานข้​้างต้​้นยั​ังแถลงว่​่า เนื่​่�องจากอิ​ินเดี​ียแนวโน้​้ม ที่​่�จะเกิ​ิดจากความต้​้องการใช้​้น้ำำ��มั​ันเบนซิ​ินเพิ่​่�มขึ้​้�นภายในปี​ี 2573 จึ​ึงต้​้องเร่​่งผลิ​ิตเอธานอลถึ​ึง 13 พั​ันล้​้านลิ​ิตร เพื่​่�อให้​้ สอดคล้​้องกั​ับการผสม E20 ทั้​้�งนี้​้�มี​ีการเปลี่​่�ยนเส้​้นทางการ ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลมากถึ​ึง10 ล้​้านตั​ัน นายสตี​ีเฟนได้​้สรุ​ุปทิ้​้�งท้​้าย ว่​่า ตามที่​่�ได้​้เห็​็นในปี​ี 2551 ตลาดน้ำำ�� ตาลโลกจะมี​ีอุ​ุปทาน น้​้อยลงและตอบสนองต่​่อราคามากขึ้​้�น ทำำ�ให้​้ตลาดอิ​ินเดี​ีย แห่​่งนี้​้�จะเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งในตลาดผู้​้�ผลิ​ิตรายใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดของโลกที่​่� จะมี​ีการปรั​ับตั​ัวได้​้ดี​ีต่อ่ การผลิ​ิตที่​่�ลดลง

T

he Indian government’s plan to gradually increase ethanol blending in gasoline, as a way to cut pollution and reduce its oil import bill, could be the largest change in the global sugar market since Europe’s sugar reform, and possibly drive a bull market.

According to a report released on Monday by food trader and supply chain services provider Czarnikow Group, India’s ethanol program will lead the government to end sugar export subsidies and erase exportable sugar volumes from the country, currently the second-largest producer after Brazil. Czarnikow’s chief analyst Stephen Geldart said in the report that India’s plan to push for

a 20% ethanol blend to gasoline as soon as 2023, compared to only around 5% currently, will lead to the production of 6 billion liters of ethanol from sugar cane juice and molasses, “reducing local sugar production by more than 6 million tonnes”. “By 2025, India will swing from making at most 33 million tonnes of sugar a year to 27 million tonnes. With consumption today at around 25 million tonnes and likely to grow in the future, India will no longer be a major surplus sugar producer and exporter,” the analyst said. Geldart compares the Indian case with the European sugar policy reform between 2002 and 2008, when cuts to export subsidies and production in the continent led to a strong sugar market rally. The report says that as gasoline demand increases in India, by 2030, the country will need to produce 13 billion liters of ethanol to meet the E20 blending, diverting more than 10 million tonnes of sugar production. “As we saw in 2008, the world sugar market will therefore become less well-supplied and more responsive to price,” Geldart said, adding that the market will become vulnerable to any production shock in one of the largest producers.

www.sugar-asia.com


Bioenergy News

ปตท. จั​ับมื​ือกั​ับบางจาก หวั​ังสร้​้างประเทศไทยเป็​็น ฐานผลิ​ิตชี​ีวเคมี​ี ในระดั​ับภู​ูมิ​ิภาค PTT & Bangchak to Boost Regional Biochemical Hub in Thailand

มจ. ปตท. และบมจ. บางจาก คอร์​์ปอเรชั่​่�น ให้​้ คำำ�มั่​่�นจะช่​่วยให้​้ประเทศไทยเป็​็นฐานการผลิ​ิต ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ชีวี เคมี​ีมูลค่ ู า่ สู​ูงระดั​ับภู​ูมิ​ิภาคในช่​่วงหลั​ังโรค ระบาด ประเทศไทยต้​้องการเพิ่​่ม� มู​ูลค่า่ เชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพ โดยใช้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรม ชี​ีวเคมี​ี ซึ่​่�งต้​้องการให้​้ผลิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์หลายประเภท ตั้​้�งแต่​่อาหารและยา ไปจนถึ​ึงผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ดูแู ลส่​่วนบุ​ุคคล เช่​่น เครื่​่�องสำำ�อาง แม้​้ว่า่ ประเทศจะเป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตเชื้​้อ� เพลิ​ิง ชี​ีวภาพรายใหญ่​่ในภู​ูมิ​ิภาคเมื่​่�อราคาน้ำำ��มั​ันโลกพุ่​่�งขึ้​้�น เหนื​ือ 90 เหรี​ียญสหรั​ัฐต่​่อบาร์​์เรล ในช่​่วงสองทศวรรษ ที่​่�ผ่า่ นมา ราคาเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพก็​็มีกี ารแข่​่งขั​ันน้​้อยกว่​่า น้ำำ��มันั กลั่​่น� ตั้​้�งแต่​่ปี​ี 2557 เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพหลั​ักที่​่�ผลิ​ิต ในประเทศไทยคื​ือเอทานอลซึ่​่�ง ทำำ�จากมั​ันสำำ�ปะหลั​ังและ น้ำำ��ตาล และเมทิ​ิลเอสเทอร์​์ซึ่​่ง� ทำำ�จากน้ำำ��มันั ปาล์​์ม

“กลุ่​่�ม ปตท. เล็​็งเห็​็นโอกาสในการเพิ่​่ม� มู​ูลค่า่ เชื้​้อ� เพลิ​ิง ชี​ีวภาพมาอย่​่างยาวนาน เนื่​่�องจากสามารถอั​ัพเกรดเป็​็นวั​ัสดุ​ุ ที่​่�สามารถดึ​ึงราคาได้​้สูงู ถึ​ึง 40 เท่​่า (เท่​่าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ)” คุ​ุณอรวดี​ี โพธิ​ิสาโร รองประธานบริ​ิหารอาวุ​ุโส ปตท. กล่​่าว สำำ�หรั​ับ กลยุ​ุทธ์​์องค์​์กร หมายถึ​ึง การใช้​้วั​ัตถุ​ุดิ​ิบในอุ​ุตสาหกรรมยา กำำ�ลั​ังแบ่​่งปั​ันมุ​ุมมองของเธอระหว่​่างการสั​ัมมนาทางเว็​็บที่​่� ขึ้​้�น โดยสำำ�นั​ักงานส่​่งเสริ​ิมการจั​ัดประชุ​ุมและนิ​ิทรรศการ หอการค้​้าไทย บางกอกโพสต์​์ และโพสต์​์ทู​ูเดย์​์ กลุ่​่�ม ปตท. ได้​้ร่ว่ มทุ​ุนกั​ับมิ​ิตซู​ูบิ​ิชิ​ิ เคมิ​ิคอล คอร์​์ปอเรชั่​่น� ในปี​ี 2554 เพื่​่�อจั​ัดตั้​้�งโรงงานผลิ​ิตโพลิ​ิบิ​ิวทิ​ิลี​ีน ซั​ัคซิ​ิเนต (PBS) ในจั​ังหวั​ัดระยอง โดยมี​ีกำ�ลั ำ ังการผลิ​ิต 20,000 ตั​ัน ต่​่อปี​ี PBS เป็​็นพลาสติ​ิกที่​่�ย่​่อยสลายได้​้ทางชี​ีวภาพซึ่​่�งส่​่วน ใหญ่​่ใช้​้ในอุ​ุตสาหกรรมบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์สำำ�หรั​ับอาหารและเครื่​่�อง สำำ�อาง BBGI Co ซึ่​่�งเป็​็นกลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจเทคโนโลยี​ีชี​ีวภาพของ บริ​ิษั​ัทบางจาก คอร์​์ป ได้​้เข้​้าสู่​่�กลุ่​่�มผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ชี​ีวภาพที่​่�มี​ี มู​ูลค่​่าสู​ูงผ่​่านการเข้​้าซื้​้�อหุ้​้�นมู​ูลค่​่า 800 ล้​้านบาทใน Manus Bio ซึ่​่�งตั้​้�งอยู่​่�ในสหรั​ัฐฯ ซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตเทคโนโลยี​ีชี​ีวภาพ ชั้​้�นนำำ�ระดั​ับโลก ความเคลื่​่�อนไหวดั​ังกล่​่าวเกิ​ิดขึ้​้�นหลั​ังจาก บางจากได้​้ประกาศเกี่​่�ยวกั​ับการลงทุ​ุนในชี​ีววิ​ิทยาสั​ังเคราะห์​์ หรื​ือ synbio ซึ่​่�งเป็​็นสาขาวิ​ิทยาศาสตร์​์ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการ ออกแบบสิ่​่ง� มี​ีชีวิ​ิี ตใหม่​่เพื่อวั ่� ตั ถุ​ุประสงค์​์เฉพาะโดยวิ​ิศวกรรม ให้​้มีคี วามสามารถใหม่​่ กิ​ิตติ​ิพงษ์​์ ลิ้​้�มสุ​ุวรรณโรจน์​์ ประธาน www.sugar-asia.com

เจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหาร BBGI กล่​่าวว่​่า บริ​ิษั​ัทกำำ�ลังั พั​ัฒนาโรงงาน ผลิ​ิต Synbio มู​ูลค่​่า 1.2 พั​ันล้​้านบาท “การก่​่อสร้​้างโรงงาน synbio ของ BBGI เริ่​่�มขึ้​้�นเมื่​่�อปีที่​่ี �แล้​้วและมี​ีกำำ�หนดจะเริ่​่�ม ดำำ�เนิ​ินการในปี​ี 2566”

P

TT and Bangchak Corp. have lately declared their strong determination to promote Thailand as a regional hub for biochemical production after the Covid-19 pandemic. Thailand needs to add more values to biofuel by using it as a raw material for biochemical industries, so various kinds of products, namely food and medicine as well as personal care products like cosmetics, are necessarily manufactured. Although the country is a major producer of biofuel in the region, when global oil prices rose above $90 per barrel over the past two decades, biofuel prices have become less competitive than refined oil since 2014. The main biofuel produced in Thailand is ethanol, which is made from cassava and sugar, and methyl esters, which are made from palm oil. Mrs. Arawadee Photisaro, PTT’s Senior Executive Vice President, said that the PTT Plc. Had for a long time saw an opportunity to add more values to biofuel because it could be upgraded to materials that could fetch up to 40 times the price (equivalent to raw materials). In terms of corporate strategies, it means using raw materials in the pharmaceutical industry, added Mrs. Arawadee during a webinar organized by the Convention and Exhibition Bureau,

the Thai Chamber of Commerce, Bangkok Post and Post Today. PTT Plc., with cooperation of Mitsubishi Chemical Corp., has since 2011 established Polybutylene Succinate (PBS) Plant in Rayong with production capacities of 20,000 tons annually. The PBS is a biodegradable plastic that is mainly used in the packaging industry for food and cosmetics. BBGI Co, the biotechnology affiliate of Bangchak Corp., has entered the high-value bio-based segment through the acquisition of an 800-million-baht stake in Manus Bio, based in the United States, which is the world leading biotechnology manufacturer. The progress arose after Bangchak Corp. had announced an investment in synthetic biology, or synbio, a branch of sciences that deals with the design of new organisms for specific purposes by engineering new capabilities. Mr. Kittiphong Limsuwanroj, the BBGI Executive Chair, explained in details that the company was developing a synbio factory worth 1.2 billion baht.

“Construction of the synbio factory began last year and was expected to complete and operate in 2023,” concluded Mr. Kittiphong.

31


Bioenergy News

ลุ​ุยเซี​ียนาเอื้​้�อสตาร์​์ทอั​ัพด้​้านพลั​ังงาน เปลี่​่�ยนของ เสี​ียจากอุ​ุตสาหกรรมเป็​็นพลั​ังงานชี​ีวภาพ Louisiana courts energy startup that converts sugar cane waste to biofuel

ริ​ิษั​ัทแห่​่งหนึ่​่�งในรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนาที่​่�มีคี วามสามารถเปลี่​่ย� น ของเสี​ียจากอ้​้อยให้​้เป็​็นเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพ และกำำ�ลังั พิ​ิจารณาที่​่�จะสร้​้างโรงงานพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนมู​ูลค่า่ กว่​่า 70 ล้​้านดอลลาร์​์ที่​่เ� มื​ืองไอบี​ีเรี​ีย (Iberia Parish), และ ทางรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา มี​ีข้​้อเสนอให้​้ลดหย่​่อนภาษี​ีและสิ​ิทธิ​ิ ประโยชน์​์อื่​่�นๆ เพื่​่�อจะได้​้ยอมรั​ับในข้​้อตกลงนี้​้�

จอห์​์น เบล เอ็​็ดเวิ​ิร์​์ดส์​์ (John Bel Edwards) ผู้​้�ว่​่าการ รั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา ที่​่�ประกาศว่​่าฝ่​่ายบริ​ิหารของเขาได้​้ยอมรั​ับในข้​้อ ตกลงเบื้​้�องต้​้นกั​ับบริ​ิษั​ัท Delta Biofuels แล้​้ว โดยเสนอ แพ็​็คเกจที่​่�จูงู ใจให้​้กับั บริ​ิษั​ัท Delta Biofuels ซึ่​่�งรวมถึ​ึงเงิ​ินช่​่วย เหลื​ือตามประสิ​ิทธิ​ิภาพจำำ�นวน 1 ล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐอเมริ​ิกา การลดหย่​่อนภาษี​ีทางอุ​ุตสาหกรรม และบริ​ิการพั​ัฒนาจำำ�นวน แรงงานผ่​่านโครงการการพั​ัฒนาเศรษฐกิ​ิจของรั​ัฐหลุ​ุยเซี​ียน่​่ า (Louisiana Economic Development) เพื่​่�อเป็​็นการแลก เปลี่​่�ยน บริ​ิษั​ัท Delta Biofuels จะสร้​้างโรงงานขนาด 16 เอเคอร์​์ ที่​่�เมื​ืองจี​ีนเนอเรตต์​์ (Jeanerette) และ ตามข่​่าว ประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ของผู้​้�ว่​่าการรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา โครงการนี้​้�จะทำำ�ให้​้ เกิ​ิดการสร้​้างงานใหม่​่โดยตรง 126 ตำำ�แหน่​่ง โดยมี​ีเงิ​ิน เดื​ือนเฉลี่​่�ยกว่​่า 62,500 เหรี​ียญสหรั​ัฐอเมริ​ิกา นอกจากนี้​้� โครงการนี้​้�จะทำำ�ให้​้เกิ​ิดการสร้​้างตำำ�แหน่​่งงานใหม่​่ทางอ้​้อม ประมาณ 149 งาน ซึ่​่�งโรงงานแห่​่งนี้​้�จะเปลี่​่ย� นชานอ้​้อย ที่​่�เป็​็นวั​ัสดุ​ุเส้​้นใย ที่​่�เป็​็นนุ่​่�ม ละเอี​ียด และเปี​ียก ซึ่​่�งชานอ้​้อยนั้​้�นเป็​็นวั​ัสดุ​ุที่​่เ� หลื​ือ จากการบดต้​้นอ้​้อยหรื​ือต้​้นข้​้าวฟ่​่างให้​้เป็​็นเม็​็ดเชื้​้�อเพลิ​ิงที่​่�ใช้​้ สำำ�หรั​ับการผลิ​ิตไฟฟ้​้า ชานอ้​้อยแบบแห้​้งสามารถเผาในโรง ไฟฟ้​้าเพื่​่�อเป็​็นพลั​ังงานทางเลื​ือกที่​่�สะอาดกว่​่าโดยแปลงเป็​็น น้ำำ��มั​ันดี​ีเซล ถ่​่านหิ​ิน และเชื้​้�อเพลิ​ิงในรู​ูปแบบเม็​็ดไม้​้ โดยที่​่� มี​ีการใช้​้ชีวี มวลในรู​ูปแบบเม็​็ดไม้​้มากกว่​่า 25 ล้​้านเมตริ​ิกตั​ัน ต่​่อปี​ี โดยเฉพาะในยุ​ุโรปและเอเชี​ีย โดยชี​ีวมวลในรู​ูปแบบเม็​็ด

32

ไม้​้จะถู​ูกใช้​้เป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบแทนที่​่�ถ่า่ นหิ​ิน ในข่​่าวประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ ได้​้ระบุ​ุไว้​้ว่า่ “เมื่​่�อเที​ียบกั​ับเชื้​้อ� เพลิ​ิงฟอสซิ​ิล การใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิง ชานอ้​้อยในรู​ูปแบบเม็​็ดส่​่งผลให้​้การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ลดลงมากกว่​่า 100 เปอร์​์เซ็​็นต์​์” ตามแผนของบริ​ิษั​ัท Delta Biofuels โรงงานที่​่�ตั้​้�งใน เมื​ืองจี​ีนเนอเรตต์​์ (Jeanerette) จะผลิ​ิตเชื้​้อ� เพลิ​ิงชานอ้​้อยใน รู​ูปแบบเม็​็ดได้​้มากถึ​ึง 300,000 เมตริ​ิกตั​ันต่​่อปี​ี โดยการใช้​้ ชานอ้​้อยส่​่วนเกิ​ินทั้​้�งหมดจากโรงน้ำำ��ตาลทั้​้�ง 4 แห่​่งที่​่�อยู่​่�ใกล้​้ เคี​ียงในเมื​ืองไอบี​ีเรี​ีย (Iberia) เซนต์​์แมรี​ี (St. Mary) และ เซนต์​์มาร์​์ติ​ิน (St. Martin) เพื่​่�อให้​้ทางเลื​ือกในการใช้​้ของ เสี​ียที่​่�ไม่​่จำำ�เป็​็นของโรงงานผลิ​ิตน้ำำ��ตาล ผลพลอยได้​้จากชานอ้​้อยส่​่วนใหญ่​่ถู​ูกใช้​้โดยโรงงาน อ้​้อยโดยตรง ที่​่�ใช้​้เป็​็นเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพเพื่​่�อเผาในหม้​้อไอน้ำำ�� แต่​่ส่​่วนที่​่�เหลื​ือมั​ักจะถู​ูกรวบรวมเป็​็นกองขนาดใหญ่​่ที่​่�สลาย ตั​ัวและปล่​่อยก๊​๊าซมี​ีเทนออกสู่​่�บรรยากาศ ฟิ​ิลลิ​ิป คี​ีทติ้​้�ง (Philip Keating) ผู้​้�บริ​ิหารสู​ูงสุ​ุดของ บริ​ิษั​ัท Delta Biofuels ให้​้สั​ัมภาษณ์​์กั​ับข่​่าวประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ ว่​่า “โรงงานผลิ​ิตชานอ้​้อยในรู​ูปแบบเม็​็ดของเราจะช่​่วยแก้​้ ปั​ัญหาระยะยาวให้​้กับั โรงงานน้ำำ��ตาลโดยใช้​้ชานอ้​้อยส่​่วนเกิ​ิน ที่​่�ผลิ​ิตได้​้ในแต่​่ละฤดู​ูกาลผลิ​ิต สิ่​่�งนี้​้�จะไม่​่เพี​ียงแต่​่ลดต้​้นทุ​ุน และปั​ัญหาที่​่�เกิ​ิดจากโรงสี​ีเท่​่านั้​้�น แต่​่จะกำำ�จั​ัดการปล่​่อยก๊​๊าซ มี​ีเทนจากชานอ้​้อยที่​่�ถูกู ทิ้​้�งซึ่​่�งประชาชนทั่​่�วไปสามารถมองเห็​็น ได้​้ในกองขนาดใหญ่​่ทั่​่�วรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา” ทั้​้�งนี้​้� ฟิ​ิลลิ​ิป คี​ีทติ้​้�ง ยั​ังเป็​็นคนช่​่วยก่​่อตั้​้�งบริ​ิษั​ัท Delta Biofuels ในปี​ี 2019 ในฐานะบริ​ิษั​ัทสตาร์​์ทอั​ัพ บริ​ิษั​ัท Tasso Renewable Energy ก่​่อนหน้​้านี้​้� และเขายั​ังได้​้ทำำ�งานให้​้กั​ับ บริ​ิษั​ัท American BioCarbon ซึ่​่�งเป็​็นโรงงานเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพ ชานอ้​้อยในเมื​ืองไวท์​์คาสเซิ​ิล (White Castle) และเมื่​่�อปีที่​่ี � แล้​้วเขาได้​้ลาออกและในเวลาต่​่อมาได้​้ก่​่อตั้​้�งบริ​ิษั​ัท Delta Biofuels ทำำ�ให้​้อดี​ีตนายจ้​้างของฟิ​ิลลิ​ิป คี​ีทติ้​้�ง ยื่​่�นฟ้​้องคดี​ี

แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิทางการค้​้ากั​ับฟิ​ิลลิ​ิป คี​ีทติ้​้�ง ในศาลแขวงกลาง ของรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา แต่​่คดี​ีนี้​้�ถู​ูกยกฟ้​้อง การเริ่​่ม� ก่​่อสร้​้างสำำ�หรั​ับโรงงานแห่​่งใหม่​่จะเริ่​่ม� ในเดื​ือน กั​ันยายน ปี​ี พ.ศ. 2564 โดยคาดว่​่าจะแล้​้วเสร็​็จใน 1 ปี​ี การจ้​้างงานจะเริ่​่�มในฤดู​ูใบไม้​้ผลิ​ิปี​ี พ.ศ. 2565 บริ​ิษั​ัทได้​้ มี​ีข้​้อตกลงกั​ับโรงงานผลิ​ิตพลั​ังงานในยุ​ุโรปและเอเชี​ียเป็​็น เวลาหลายปี​ีสำำ�หรั​ับการซื้​้�อเชื้​้อ� เพลิ​ิงในรู​ูปแบบเม็​็ดจากบริ​ิษั​ัท Delta Biofuels ด้​้านผู้​้�ว่​่าการรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา จอห์​์น เบล เอ็​็ดเวิ​ิร์​์ด ส์​์ ได้​้กล่​่าวว่​่า “พลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�นำำ�กลั​ับมาใช้​้ใหม่​่เป็​็น องค์​์ประกอบสำำ�คั​ัญในการบรรลุ​ุเป้​้าหมายในการปกป้​้องสิ่​่�ง แวดล้​้อม, และรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนาตั้​้�งใจรอที่​่�จะต้​้อนรั​ับการลงทุ​ุน ด้​้านเชื้​้�อเพลิ​ิงหมุ​ุนเวี​ียนล่​่าสุ​ุดจากบริ​ิษั​ัท Delta Biofuel การ ทำำ�งานควบคู่​่�กั​ับโรงงานผลิ​ิตน้ำำ�� ตาล บริ​ิษั​ัท Delta Biofuels วางแผนที่​่�จะเปลี่​่�ยนชานอ้​้อยที่​่�ทิ้​้ง� ไปก่​่อนหน้​้านี้​้�ให้​้เป็​็นแหล่​่ง พลั​ังงาน การเติ​ิบโตอย่​่างต่​่อเนื่​่�องในส่​่วนอุ​ุตสาหกรรมเชื้​้�อ เพลิ​ิงหมุ​ุนเวี​ียนและพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนคื​ือการพั​ัฒนาเศรษฐกิ​ิจ ที่​่�สำำ�คั​ัญ เนื่​่�องจากโครงการของบริ​ิษั​ัท Delta Biofuels จะ ส่​่งผลให้​้เกิ​ิดการสร้​้างงานใหม่​่จำำ�นวน 275 ตำำ�แหน่​่งใน แถบอะคาเดี​ียร์​์นา (Acadiana) ของรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา ในนาม ของประชาชนรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา พวกเราชาวรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนาตั้​้�งตา รอโครงการใหม่​่อั​ันน่​่าอั​ัศจรรย์​์นี้​้�ที่​่�กำำ�ลั​ังจะเกิ​ิดขึ้​้�นในรั​ัฐของ เรา” ทั้​้�งนี้​้� เขาได้​้กล่​่าวเสริ​ิมว่​่า “บริ​ิษั​ัทพลั​ังงานสะอาดจะมี​ี อนาคตที่​่�สดใสในรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนาและเหมาะสมกั​ับเป้​้าหมายที่​่� กำำ�หนดโดยคณะทำำ�งานเฉพาะกิ​ิจด้​้านสภาพภู​ูมิ​ิอากาศของ รั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา” แต่​่ในขณะเดี​ียวกั​ัน, จอห์​์น เบล เอ็​็ดเวิ​ิร์​์ดส์​์ ไม่​่ได้​้แสดงสั​ัญญาณใดๆ ว่​่าต้​้องการเปลี่​่�ยนแปลงบริ​ิษั​ัทเชื้​้�อ เพลิ​ิงฟอสซิ​ิล และยั​ังยิ​ินดี​ีกับั อุ​ุตสาหกรรมต่​่างๆ เช่​่น บริ​ิษั​ัท Formosa Plastics ซึ่​่�งก่​่อให้​้เกิ​ิดมลพิ​ิษทางอากาศเพิ่​่�มขึ้​้�น 800 ตั​ันไปยั​ังบริ​ิเวณ Cancer Alley ของรั​ัฐลุ​ุยเซี​ียนา www.sugar-asia.com


Bioenergy News

A

company that turns sugar cane waste into a green biofuel is considering building a $70 million renewable energy facility in Iberia Parish, and the state is offering tax breaks and other perks to seal the deal.

Gov. John Bel Edwards on Monday announced that his administration has reached a preliminary agreement with Delta Biofuels, offering the company a generous incentive package that includes a $1 million performance-based grant, industrial tax breaks and workforce development services through Louisiana Economic Development. In exchange Delta Biofuels would build a 16-acre facility in Jeanerette and according to the governor’s news release, create 126 new direct jobs with an average salary of $62,500. An estimated 149 indirect jobs are also projected. The facility would convert bagasse — a pulpy fibrous material leftover from crushing sugar cane or sorghum stalks — into fuel pellets used for electricity production. In its dried form bagasse can be burned in power plants as a cleaner alternative to diesel, coal and wood fuel pellets. More than 25 million metric tons of wood pellet biomass are used per year, largely in Europe and Asia, primarily displacing thermal coal as a feedstock. Compared with fossil fuels, the use of bagasse fuel pellets results in a reduction of greenhouse gas emissions by more than 100 percent, the news release said. According to Delta’s plan, the facility in Jeanerette would produce up to 300,000 metric tons of bagasse fuel pellets annually by putting to use all excess bagasse from four nearby sugar mills in Iberia, St. Mary and St. Martin parishes — thereby providing an alternative use of the mills’ unneeded waste. Most bagasse byproduct is used by the sugar cane mills directly as a green biofuel to burn in their boilers, but the rest is often collected into large piles where it decays and releases methane into the atmosphere. “Our bagasse pellet manufacturing plant will provide a sustainable, long-term solution for

www.sugar-asia.com

the sugar mills by utilizing all excess bagasse produced each harvest,” Delta Biofuels CEO Philip Keating said in the press release. “This will not only reduce cost and liability for the mills, but will eliminate methane emissions from the discarded bagasse that you can see in huge piles around the state.” Keating helped start Delta Biofuels in 2019 as a startup within Tasso Renewable Energy. He previously worked for American BioCarbon, which opened a bagasse biofuel facility in White Castle last year. His departure and subsequent creation of Delta Biofuels prompted his former employer to file a trade practices lawsuit against him in Louisiana’s Middle District Court, but the case was dismissed. Groundwork for the new facility would begin September 2021 with completion expected in about a year. Hiring would begin Spring 2022. The company has engaged European and Asian energy production facilities for multi-year commitments to purchase the fuel pellets.

“Renewable energy is a key component in reaching environmental protection targets, and Louisiana looks forward to welcoming the latest renewable fuel investment, Delta Biofuel,” the governor said. “Working in tandem with our sugar mills, Delta plans to turn previously discarded waste into a source of energy. Continued growth in the renewable fuels and renewable energy sectors is prime economic development, as Delta Biofuel’s project would result in 275 new jobs in Acadiana. On behalf of the people of Louisiana, we look forward to this fantastic new project coming to our state.” Edwards has said green energy companies could be have a promising future in Louisiana and fit with goals set by his Climate Initiatives Task Force. But at the same time, the governor has shown no signs of wanting to replace fossil fuel companies and has even welcomed industries such as Formosa Plastics, which is proposing to bring 800 tons more air pollution to Louisiana’s Cancer Alley region.

33


Research News

นั​ักวิ​ิจั​ัยบราซิ​ิลพบสาเหตุ​ุหลั​ักของโรคเหี่​่�ยวเน่​่าแดง ในต้​้นอ้​้อย Brazil Researchers discover Major Discovery in Sugarcane Red Rot Disease

ชื้​้�อรา Fusarium verticillioides ที่​่�ถู​ูกค้​้นพบโดย นั​ัก วิ​ิจั​ัยจากมหาวิ​ิทยาลั​ัยเซา เปาโล ระบุ​ุว่า่ เชื้​้อ� ราดั​ังกล่​่าว สามารถระเหยติ​ิดไปพร้​้อมกั​ับแมลงและพื​ืชชนิ​ิดอื่​่�น ทำำ�ให้​้เชื้​้�อรานี้​้�แพร่​่กระจายไปได้​้อย่​่างกว้​้างขวาง ซึ่​่�งเชื้​้อ� ราชนิ​ิดดั​ังกล่​่าวเป็​็นสาเหตุ​ุหลั​ักของโรคเหี่​่�ยวเน่​่า แดง ที่​่�เป็​็นปั​ัญหาสำำ�คั​ัญอั​ันดั​ับหนึ่​่�งของต้​้นอ้​้อยในประเทศ บราซิ​ิล โดยโรคนี้​้�ทำำ�ให้​้พืชื ผลเสี​ียหายที่​่�มีมูี ูลค่า่ ถึ​ึงประมาณ หนึ่​่�งพั​ันล้​้านดอลลาร์​์ สาเหตุ​ุหลั​ักๆ ที่​่�เชื่​่�อกันั มาแต่​่ดั้​้ง� เดิ​ิมของโรคนี้​้�คื​ือ เชื้​้�อ ราดั​ังกล่​่าวจะถู​ูกกระตุ้​้�นโดยผี​ีเสื้​้�อกลางคื​ืนที่​่�มักั รู้​้�จักั กั​ันในชื่​่อ� ของหนอนเจาะอ้​้อย ในช่​่วงที่​่�ผี​ีเสื้​้�อนี้​้�เป็​็นดั​ักแด้​้นั้​้�น มั​ันจะ เจาะเข้​้าไปในลำำ�ต้​้นของพื​ืช และต่​่อมาจะทำำ�ให้​้พื​ืชมี​ีโอกาส ติ​ิดเชื้​้�อราได้​้ง่​่ายขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ดี​ี ได้​้มีกี ารศึ​ึกษาจากคณะเกษตรของมหาวิ​ิทยาลั​ัย เซา เปาโล โดยลู​ูอิ​ิช ดึ​ึ เกย์​์รอช ซึ่​่�งพบว่​่าการเกิ​ิดโรคนี้​้�เป็​็น ไปในทางกลั​ับกั​ันเพราะสาเหตุ​ุมาจากเชื้​้�อรา ไม่​่ใช่​่ผี​ีเสื้​้�อ นายจู​ูเซ มาวริ​ิซิ​ิอุ​ุ ซิ​ิมอยช์​์ เบนตุ​ุ อาจารย์​์จากคณะเกษตร มหาวิ​ิทยาลั​ัยเซา เปาโลและหนึ่​่�งในนั​ักวิ​ิจั​ัยหลั​ักได้​้เสริ​ิมว่​่า นี่​่� เป็​็นกรณี​ีแรกที่​่�แสดงให้​้เห็​็นทางวิ​ิทยาศาสตร์​์ว่า่ เชื้​้�อราที่​่�ทำำ�ให้​้ เกิ​ิดโรคนั้​้�นควบคุ​ุมทั้​้�งพาหะ [แมลง] และที่​่�อาศั​ัย [พื​ืช] เพื่​่�อ ประโยชน์​์ของตั​ัวเอง ซึ่​่�งเชื้​้อ� ราที่​่�ฉวยโอกาสแพร่​่พันั ธุ์​์�ตั​ัวเองไม่​่ได้​้พึ่​่ง� พิ​ิงพาหะ แต่​่แพร่​่เชื้​้อ� ไปยั​ังที่​่�อาศั​ัยโดยการแทรกตั​ัวเข้​้าไปในรอยของโรค ในโครงสร้​้างของที่​่�อาศั​ัย กรณี​ีนี้​้มี� คี วามแตกต่​่างเพราะเชื้​้�อรา นี้​้�จะเปลี่​่ย� นลั​ักษณะของเส้​้นสมมุ​ุติ​ิและที่​่�อาศั​ัยเพื่อทำ ่� ำ�ให้​้เกิ​ิด การแพร่​่กระจายตั​ัวเอง นายเบนตุ​ุอธิ​ิบายว่​่านั​ักวิ​ิจั​ัยดั​ังกล่​่าว ได้​้สร้​้างกระบวนทั​ัศน์​์ใหม่​่เกี่​่�ยวกั​ับความสั​ัมพั​ันธ์​์ระหว่​่างพื​ืช

34

แมลงและเชื้​้�อราในไร่​่อ้อ้ ย งายวิ​ิจั​ัยข้​้างต้​้นได้​้รับั การสนั​ับสนุ​ุนจากมู​ูลนิ​ิธิ​ิงานวิ​ิจั​ัย ของเซา เปาโล โดยมี​ีเงิ​ินทุ​ุนสำำ�หรั​ับโครงการหลั​ักสองโครงการ รวมทั้​้�งทุ​ุนการศึ​ึกษาระดั​ับปริ​ิญญาเอกและปริ​ิญญาโทสำำ�หรั​ับ สมาชิ​ิกของกลุ่​่�มนั​ักวิ​ิจั​ัยชุ​ุดนี้​้�อี​ีกด้​้วย งานวิ​ิจั​ัยมี​ีการตี​ีพิ​ิมพ์​์ในวั​ันที่​่� 14 มิ​ิถุ​ุนายนนี้​้�ในวารสาร ISME อั​ันทรงเกี​ียรติ​ิ เป็​็นผลการวิ​ิจั​ัยของกลุ่​่�มนั​ักวิ​ิจั​ัยนี้​้� มี​ีรายงานอยู่​่�ในบทความเรื่​่�อง “เชื้​้�อราไฟโตพาโทเจนแพร่​่ กระจายด้​้วยการปรั​ับการตอบสนองของพื​ืชและแมลง” ซึ่​่�ง เป็​็นวารสารวิ​ิชาการของสมาคมเพื่อนิ​ิ ่� เวศวิ​ิทยาทางจุ​ุลชีวี วิ​ิทยา ระหว่​่างประเทศ และมี​ี Springer Nature เป็​็นเจ้​้าของ ด้​้านอาจารย์​์จากคณะเกษตร มหาวิ​ิทยาลั​ัยเซา เปาโล นายมาร์​์ซิ​ิอุ​ุ ดึ​ึ คาชตรุ​ุ ดา ซิ​ิลวา ฟิ​ิลญุ​ุ และผู้​้�ร่​่วมวิ​ิจั​ัยใน งานนี้​้�กล่​่าวด้​้วยว่​่าก่​่อนหน้​้านี้​้� เชื่​่�อกั​ันว่​่าผี​ีเสื้​้�อกลางคื​ืนถื​ือ เป็​็นเป้​้าหมาย และแนวคิ​ิดดั้​้�งเดิ​ิมก็​็คื​ือเชื้​้�อราใช้​้ประโยชน์​์ จากรู​ูที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นในก้​้านของตั​ัวหนอน ซึ่​่�งกลุ่​่�มนั​ักวิ​ิจั​ัยพบว่​่า ไม่​่ใช่​่ความจริ​ิงเพราะเชื้​้�อราต่​่างหากที่​่�จะเข้​้าควบคุ​ุมแมลง เพื่​่�อแทรกเข้​้าไปในพื​ืชและจั​ัดการกั​ับต้​้นพื​ืชเพื่​่�อทำำ�ให้​้เกิ​ิด แมลงมากขึ้​้�นเรื่​่�อยๆ จากการทดลองหลายต่​่อหลายครั้​้�งของนั​ักวิ​ิจั​ัยค้​้นพบว่​่า ต้​้นอ้​้อยที่​่�ติ​ิดเชื้​้อ� ราดั​ังกล่​่าวจะผลิ​ิตสารระเหยที่​่�ทำำ�ให้​้ผีเี สื้​้�อกลาง คื​ืนตั​ัวเมี​ียตั้​้�งท้​้องอย่​่างหลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ หลั​ังจากนั้​้�น เมื่​่�อเชื้​้�อ รานี้​้�ติ​ิดกั​ับผี​ีเสื้​้�อแล้​้ว จะทำำ�ให้​้ผีเี สื้​้�อไปวางไข่​่ในต้​้นพื​ืช เมื่​่�อตัวั หนอนฟั​ักออกจากไข่​่ พวกมั​ันจะเจาะทะลุ​ุลำำ�ต้น้ และกิ​ินสาร ระเหยจากเชื้​้�อราเข้​้าไป จนกระทั่​่�งเมื่​่�อเข้​้าสู่​่�ระยะดั​ักแด้​้และ โตเต็​็มวั​ัย ก็​็จะเป็​็นกลายพาหะของเชื้​้อ� ราไปโดยปริ​ิยาย นายมาร์​์ซิ​ิอุ​ุ ดึ​ึ คาชตรุ​ุ ดา ซิ​ิลวา ฟิ​ิลญุ​ุ ยั​ังเผยว่​่า ผี​ีเสื้​้�อที่​่�ติ​ิดเชื้​้�อรานี้​้�จะเป็​็นพาหะในการแพร่​่โรคต่​่อไปสู่​่�ผี​ีเสื้​้�อ

เชื้​้�อราควบคุ​ุมแมลงเพื่​่�อเจาะพื​ืชและจั​ัดการควบคุ​ุมพื​ืชเพื่​่�อดึ​ึงดู​ูดแมลง พาหะให้​้เพิ่​่�มมากขึ้​้�น เจ้​้าของภาพ: เอราลดุ​ุ เนกรี​ี ดึ​ึ โอลิ​ิเวย์​์รา

www.sugar-asia.com


Research News

รุ่​่�นลู​ูกหลานด้​้วยการวางไข่​่ ที่​่�ต่​่างจากผี​ีเสื้​้�อกลางคื​ืนที่​่�แข็​็ง แรง ซึ่​่�งผี​ีเสื้​้�อที่​่�ติ​ิดเชื้​้�อเหล่​่านี้​้�จะถู​ูกดึ​ึงดู​ูดโดยสารระเหยใน พื​ืชที่​่�ยั​ังไม่​่ติ​ิดเชื้​้�อให้​้วางไข่​่ในที่​่�สุ​ุด ทั้​้�งแมลงและพื​ืชจะกลาย เป็​็นแหล่​่งแพร่​่เชื้​้�อราชนิ​ิดนี้​้� เมื่​่�อสารระเหยจากเชื้​้�อราถู​ูกใช้​้ เป็​็นเครื่​่�องมื​ือ แมลงตั​ัวเมี​ียที่​่�ไม่​่ติ​ิดเชื้​้�อรามั​ักจะวางไข่​่ในพื​ืช ที่​่�ติ​ิดเชื้​้�อ ในขณะเดี​ียวกั​ันแมลงตั​ัวเมี​ียที่​่�ติ​ิดเชื้​้�อมั​ักจะวางไข่​่ ในพื​ืชที่​่�แข็​็งแรง ซึ่​่�งวงจรเช่​่นนี้​้�ทำำ�ให้​้โรคเหี่​่�ยวเน่​่าแดงระบาด ไปในวงกว้​้างได้​้มากยิ่​่�งขึ้​้�น นายมาร์​์ซิ​ิอุ​ุ ดึ​ึ คาชตรุ​ุ ดา ซิ​ิลวา ฟิ​ิลญุ​ุ ได้​้สรุ​ุปงาน วิ​ิจั​ัยนี้​้�ว่า่ โรคเหี่​่�ยวเน่​่าแดงสามารถสร้​้างความเสี​ียหายต่​่อระดั​ับ ซู​ูโครสในต้​้นอ้​้อยที่​่�ติ​ิดเชื้​้�อได้​้ถึ​ึงร้​้อยละ 50-70 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ โดยผลงานวิ​ิจั​ัยนี้​้�ช่ว่ ยเปิ​ิดโลกทั​ัศน์​์ทางวิ​ิทยาศาสตร์​์เกี่​่�ยวกั​ับ เชื้​้อ� โรคติ​ิดต่​่อซึ่​่ง� ถื​ือเป็​็นภั​ัยคุ​ุกคามต้​้นอ้​้อยและเป็​็นสาเหตุ​ุของ ความสู​ูญเสี​ียอย่​่างใหญ่​่หลวงต่​่อผู้​้�ผลิ​ิตเอทานอลและน้ำำ��ตาล นั​ักวิ​ิจั​ัยกลุ่​่�มนี้​้�แสดงให้​้เห็​็นว่​่าหนอนดั​ักแด้​้เป็​็นเพี​ียงพาหะ ซึ่​่�งตรงข้​้ามกั​ับความคิ​ิดที่​่�ว่​่าเชื้​้�อราเข้​้าสู่​่�พื​ืชได้​้โดยผ่​่านทางรู​ู ที่​่�หนอนดั​ักแด้​้เจาะไช

An opportunistic fungus does not depend on vectors but infects the host by entering it through a lesion in its structure. This case is different. F. verticillioides changes the characteristics of the vector and host to promote its dissemination. “We establish a new paradigm for the association plant-insect-fungus in sugarcane plantations,” Bento said. The research was supported by São Paulo Research Foundation – FAPESP via grants for two Thematic Projects (Grants 14/50275-9 and 14/50871-0), as well as a PhD scholarship and a master’s scholarship awarded to members of the research group.

for the study said “Previously the moth was the target and the idea was that the fungus merely took advantage of holes made in the stem by its caterpillars. We discovered this is not the case. The fungus manipulates the insect in order to penetrate the plant and manipulates the plant to attract more insects,”Through several experiments, the researchers discovered that sugarcane plants infected by F. verticillioides produce volatile compounds that are irresistible to pregnant females of the moth Diatraea saccharalis. Attracted by these compounds, the moths lay their eggs in the plants. When the caterpillars hatch, they penetrate the stems and are themselves attracted by the volatile compounds, which they ingest. When they enter the pupal stage and develop into adult moths, they are already carriers of the fungus. “These infected young moths transmit the fungus to the next generation via their eggs,” Silva Filho said. “Unlike healthy moths, they’re attracted by the volatile compounds in healthy uninfected plants, which they infect by laying eggs in them. The fungus thereby manipulates both the plant and the insect to promote its dissemination.” Instrumentalized by the volatile compounds, females that do not carry the fungus prefer to lay their eggs in infected plants, while infected females prefer healthy plants. Red rot spreads to more and more cane plantations via this insidious mechanism. Red rot destroys between 50% and 70%

R

esearchers at the University of São Paulo discover that the fungus Fusarium verticillioides uses volatile compounds to manipulate insects and plants, promoting its own dissemination. The fungus Fusarium verticillioides is one of the causes of red rot, the most serious sugarcane disease. Losses average around USD 1 billion per harvest in Brazil alone. The traditional approach to the etiology of this disease is that it is triggered by Diatraea saccharalis, a moth usually referred to as the sugarcane borer. In the caterpillar stage, this insect bores into the stem of the plant, which is later infected opportunistically by the fungus. However, a study conducted in Brazil by the University of São Paulo’s Luiz de Queiroz College of Agriculture (ESALQ-USP) has turned this model upside down, showing that the trigger is not the insect but the fungus. “It’s the first scientifically demonstrated case of a pathogenic fungus manipulating both its vector [the insect] and host [the plant] for its own benefit,” José Maurício Simões Bento, a professor at ESALQ-USP and one of the principal investigators for the study, told.

www.sugar-asia.com

Researchers at the University of São Paulo discover that the fungus Fusarium verticillioides uses volatile compounds to manipulate insects and plants, promoting its own dissemination (sugarcane stricken by red rot/photo: Heraldo Negri de Oliveira) The group’s findings are reported in an article entitled “Fungal phytopathogen modulates plant and insect responses to promote its dissemination”, set to published on June 14 in the prestigious ISME Journal, the official Journal of the International Society for Microbial Ecology, owned by Springer Nature. Márcio de Castro Silva Filho, also a professor at ESALQ-USP and co-principal investigator

of the sucrose content of infected sugarcane stems. “Our study revolutionizes the science of this disease, considered the most serious threat to sugarcane and responsible for huge losses to ethanol and sugar producers,” Silva Filho said. “We show that the caterpillar is the vector, in contrast with the view that the fungus enters the plant via the holes made by the caterpillar.”

35


Sugarex & Agri Expo Thailand Digital Showcase

3 rd Edition

In Conjunction With: 

THAILAND 2021





2-3

NOVEMBER 2021 10.00 – 17.00 Hrs.

VIRTUAL EXHIBITION

Sugar Expo & Conference

www.thaisugarexpo.com

Supported By :

Office of the Cane and Sugar Board

The Federation Of Thai Industries, Khonkaen

Thai Sugar Millers Corporation Limited

Thai sugar and bio-energy producers association

Thailand Society of Sugar Cane Technologists

Bio-Sensing and Field Robotic Laboratory

Conference By :

Official Media :

Organized By :

JuzTalk (Thailand)

Sugar Asia Magazine

Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group


EMBRACE

THE VIRTUAL EXPERIENCE OF

SUGAREX & AGRI EXPO THAILAND 2021! Sugarex Thailand & Agri Expo Thailand 2021 will be held virtually to connect both exhibitors and buyers online. This digital showcase service will find suppliers to suit to your industry and business needs.

MEET BUYERS FROM THESE COMPANIES! Plantations

Sugar Mills

Harvesters for cane and beet Fertilizers and pesticides manufacturers Chemical manufacturers | Latest farming technology and irrigation

Machinery | Boilers | Material handling systems| Conveyers and conveying systems| Lubricants & greases

Sugar Refineries

Ethanol |Bioenergy

For sugar processing | Sugar refining Finished good for packing like bags, bottles and tankers etc.

Trading Companies Exporters and importers of raw, finished & refined sugar|Sugar,alcohol and ethanol manufacturers|Trade

Distllation & fermentation process Ethanol manufacturing | Co generations

Sustainability Environment management and effluent treatment|Software and hardware for smart farming|Energy

association : Sugar|Transportation

Sugar Expo & Conference

www.thaisugarexpo.com


THAILAND’S LARGEST

Regional News

PALM OIL TECHNOLOGY EVENT! 11th Edition of

T H A I L A N D

2021

1-2 DECEMBER 2021 CO-OP Exhibition Centre, Suratthani, Thailand

HOSTED BY :

Thai Oil Palm & Palm Oil Association

ENDORSED & SUPPORTED BY :

ORGANIZED BY :

Thai Palm Oil Refinery Thai Palm Oil Crushing Asia Palm Oil Thai Biodiesel Producer Association Mill Association Technology Association Association

SILVER SPONSOR BY :

38

Niverplast B.V.

Office of Agricultural Economics

Department of Agriculture

Department of Agricultural Extension

Roundtable on Sustainable Palm Oil

Ministry of Agriculture and Cooperatives

Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group

MEDIA PARTNER :

CONFERENCE BY :

Palm Oil Today Indonesia Magazine

JuzTalk Thailand

Incorporating :

2021

CALL FOR MORE INFORMATION Tel : (+66) 2 513 1418 Email : thai@asiafireworks.com www.sugar-asia.com www.thaipalmoil.com


Research News In Conjunction With :

Thailand

UGAR S 2021

3 rd Edition

THAILAND 2021

Conference

9-10 SEPTEMBER 2021 KHONKAEN INTERNATIONAL CONVENTION & EXHIBITION CENTER (KICE), KHONKAEN, THAILAND The registrations for Thailand Sugar Conference 2021 are now open! Register now and benefit from Early Bird Rates until 1 April 2021. Group discounts 35% Off are available to groups of 3 or More delegates. MEET OUR KEYNOTE SPEAKERS

“WHY YOU SHOULD ATTEND” Annual Meeting Point For Sugar Industry Players In Thailand And South-East Asia

Mr.Siwa Pothitapana Expert in Cane and Sugar Industry Policy and Development of Office of the Cane and Sugar Board (OCSB),Thailand Topic: An Overview of the Thailand Sugar and Downstream Industry

Discover New Opportunities For Business Networking, Participants May Come From A Range of Industries And Functions, The Program Will Benefit Senior Professionals.

Mr.Rangsit Hiangrat Director General of Thai Sugar Millers Corporation Limited (TSMC) Topic: Challenges Time of Thailand’s Cane and Sugar Industries : Crisis and Opportunities

Conference Sessions And Keynote Speaking Presentations From A Leading Expert.

2

DAYS

+100 Supported By :

Office of the Cane and Sugar Board

Conference By :

www.sugar-asia.com

Thai Sugar Millers Corporation Limited

JuzTalk (Thailand)

Official Media :

Organized By :

Sugar Asia Magazine

Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group

2 Days For A Mixture Of Industry Strategic And Refinerty Visit. 100+ Attendees From Sugar And Bioethanol Industry Players.

(+66) 2513 1418 Ext.110

thai@juz-talk.com

39

www.sugar-conference.com


Advertisers’ Index SB (Thailand) Co.,Ltd. www.statec-binder.in.th

CLAAS Regional Center South East Asia Ltd. www.claas.co.th

Aero Group (1992) Co., Ltd. www.aerogroup1992.com

Demarc Trading Company Limited www.demarctrading.com

Sugarex Thailand 2021 www.thaisugarexpo.com

Palmex Thailand 2021 www.thaipalmoil.com

Thailand Sugar Conference 2020 www.sugar-conference.com

Postle Industries www.hardfacetechnologies.com

"Asia's Only Sugar Industry Ethanol News Magazine !! "

www.sugar-asia.com

Quarterly Publications Available in Bilingual Thai & English Reach Out To Qualified Leader & Key Decision Makers! 12,000+ Copies to be Circulated in Digital and Print Yes, I would like to subscription print edition of: One year (4 issues) for THB 900 / USD 30 Two year (8 issues) for THB 1,800 / USD 60

3 in 1 !!

p e n u fre Sig or a ine f ay gaz tod e-Ma

Print edition, E-Magazine and App edition SUBSCRIPTION PRINT EDITION CONTACT US AT

FBI PUBLICATIONS (THAILAND) :

Call: +66 2 513 1418 ext. 108

:

Fax: +66 2 513 1419

:

thai@fireworksbi.com

:

www.sugar-asia.com


Shredding or crushing, Postle Hardfacing keeps your mill rolling. Postalloy® hardfacing wires and electrodes are engineered to produce a deposit that aids in pulling, tearing and crushing the sugar cane as it feeds through Postalloy hardfacing can be applied the rolls during while mill rolls are operating. processing. Find out more from Mike Korba at 216-265-9000, or mkorba@postle.com. www.postle.com

Cleveland, Ohio USA


POSITION ‘YOUR BRAND’ IN THE MARKET LEADING SUGAR MEDIA Connect with one of Asia’s largest database of Sugar & Ethanol professionals

www.sugar-asia.com CONTACT US TODAY FOR YOUR DIGITAL MARKETING SOLUTIONS. Sales Advertising

Editorial

T: +66 2513 1418 E: sales.th@fireworksbi.com

T: +66 2513 1418 ext 108 E: editor.th@fireworksbi.com

Follow us on


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.