soil physic

Page 1

GUIDELINES FOR SOIL PHYSICS DESCRIPTION

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 1


คานา เอกสารเล่มนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา ดป 461 ฟิสิกส์ของดิน ซึ่งเป็นรายวิชาสาหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาปฐพีศาสตร์ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตลอดจนนักศึกษาทั่วไป ได้มีโอกาส ศึกษาเรียนรู้และทบทวนด้วยตนเองนอกเวลาเรียน ดังนั้นเอกสารคาสอนเล่มนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษา อย่างไรก็ตามเป็นไป ไม่ได้ที่หนังสือเล่มหนึ่งจะครอบคลุมเนื้อหารายวิชาของศาสตร์สาขาหนึ่งๆ ได้อย่างครบถ้วนทั้งหมด ดังนั้นเอกสารประกอบการสอนเล่ม นี้ยังคงมีจุดบกพร่องหรือขาดความสมบูรณ์ ดังนั้นข้อเสนอแนะและคาวิจารณ์ของผู้ศึกษาจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้เขียนในการ เพิ่มเติมและปรับปรุงเนื้อหาทางวิชาการของเอกสารคาสอนเล่มนี้ในครั้งต่อไป ผู้เขียนขอน้อมรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่งหากผู้ศึกษา จะกรุณาแจ้งให้ผู้เขียนได้ทราบเพื่อพิจารณาแก้ไขในโอกาสต่อไป

สุชาดา สานุสันต์ กุมภาพันธ์ 2554

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 2


สารบัญ หน้า สมบัติทั่วไปของฟิสิกส์ดิน .................................................................................................................................................................................4 ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและปริมาตรของดิน ...............................................................................................................................................4 การศึกษาทางฟิสิกส์ของดิน (Soil physical properties) ...........................................................................................................................4 การแปลผลค่าทางฟิสกิ ส์ดิน .............................................................................................................................................................................5 ตาราง 1 การแบ่งกลุ่มอนุภาคดินของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (USDA) และระบบของสมาคมวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ (ISSS) ................................................................................................................................................................................................................6 ตาราง 2 การจาแนกอนุภาคเดี่ยวขนาดโตตามระบบกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ....................................................................................6 ตาราง 3 การประเมินสีดิน (Soil color) ........................................................................................................................................................7 ตาราง 4 คุณลักษณะของแร่ (Properties of Minerals)...............................................................................................................................8 ตาราง 5 แสดงขนาดของโครงสร้างดินชนิดต่าง ๆ ..........................................................................................................................................9 ตาราง 6 แสดงระดับความคงทนของเม็ดดิน ...................................................................................................................................................9 ตาราง 7 ชนิดของโครงสร้างดิน (Soil structural shapes) ...................................................................................................10 ตาราง 8 คาอธิบายลักษณะการคละกันของดิน ....................................................................................... 11 ตาราง 9 ดินที่มีขนาดคละกันไม่ดี (Poorly Graded Soil) และ ดินที่มีขนาดเม็ดคละกันดี (Well Graded Soil) ................................. 11 ตาราง 10 ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อดินและการอุ้มน้าของดินที่สภาวะต่างๆ (%ความชื้นโดยน้าหนัก).................................................... 13 ตาราง 11 แรงที่ทาให้เกิดพลังงานศักย์ของน้าในดิน (Soil water potential; Ψt) ................................................................................. 13 ตาราง 12 ประเมินค่าสัมประสิทธิ์ความซึมน้าของดินชนิดต่างๆ จาก Earth Manual (1963) ............................................................... 14 ตาราง 13 สัมประสิทธิ์การนาน้าของดิน จาก O’Neal (1952) .................................................................................................................. 14 ตาราง 14 การแทรกซึมของน้าผ่านผิวดิน (Infiltration) ............................................................................................................................. 14 ตาราง 15 รูปธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ........................................................................................................................................... 15 ตาราง 16 ความเข้มข้นของธาตุอาหารในพืชโดยทั่วไปที่ระดับวิกฤตต่างๆ ................................................................................................ 15 ตาราง 17 ระดับธาตุอาหารในดินโดยทั่วไปกับการประเมินความอุดมสมบูรณ์ .......................................................................................... 16 การคานวณน้าหนักดินในพื้นที่ 1 ไร่ ............................................................................................................................................................ 16 ตาราง 18 หน่วยทางฟิสิกส์ดิน...................................................................................................................................................................... 18 ตัวคูณแปลงหน่วย ......................................................................................................................................................................................... 19 เอกสารอ้างอิง ................................................................................................................................................................................................ 20

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 3


สมบัติทั่วไปของฟิสิกส์ดิน (Soil Physics Properties)

รูปที่ 1 องค์ประกอบของดินในอุดมคติ (โดยปริมาตร) ของดินเนือ้ ปานกลางที่มคี วามเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช

ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและปริมาตรของดิน W หรือ M แทน มวลน้าหนักของของแข็ง ของดิน ดังนั้น Mt = Ms + Mw + Mg = มวลน้าหนักของดิน (total mass of soil) Vt = Vs + Vw + Vg = ปริมาตรทั้งหมดของดิน (total volume of soil) (Vv หรือ Vp = ปริมาตรของช่องอากาศ+ปริมาตรของน้า)

ปริมาตร:Volume: (ft3, m3,cm3) Vs = ปริมาตรส่วนที่เป็นของแข็ง Vp = ปริมาตรของช่องว่าง Vw = ปริมาตรของน้า Va = ปริมาตรของอากาศ

น้าหนักหรือมวล:Weights: (lbs, kg, N) M = มวลของดินทั้งหมด Ms = มวลของแข็งของดิน Mw = มวลของน้า Ma = มวลของอากาศ = 0

ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและปริมาตรขององค์ประกอบในดิน ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับปริมาตร: 1. ปริมาตรช่องว่างต่อปริมาตราส่วนที่เป็นของแข็ง Void ratio, e = Vp/Vs (no unit) 2. ความพรุนของดิน Porosity, E = Vp/Vt (no unit) หรือ E=1-( Pb/ Ps) 3. Degree of saturation, S (%) = Vw/Vv 4. ความพรุนที่เป็นที่อยูข่ องอากาศ Ea=Va/Vt ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับน้าหนัก:: (Unit weight or density, lbs/ft3, g/cm3, kN/m3) 1. ความหนาแน่นรวม (Pb, Db) สูตร Pb = Ms / Vt 2. ความหนาแน่นอนุภาคดิน หรือ ความหนาแน่นของดินแร่ (Ds, Ps) สูตร Ps = Ms / Vs 3. Saturated unit weight, gsat = Wt / Vt (when soil is completely saturated, S = 100%,Va=0) 4. Submerged (buoyant) unit weight, gb =gsat -gw (when soil is below ground water table, S = 100%) V = ปริมาตรของดินทั้งก้อน

3

ความชื้นในดิน: θ 1. ความชื้นโดยน้าหนัก: θw (%) = Mw/Ms 2. ความชื้นโดยปริมาตร (θv%)=Vw/Vs 3. ความสูงของน้า hw = θvxhs 100 หรือ = θw xρb xhs 100 Unit weight to unit weight relationship 1.ความถ่วงจาเพาะของเม็ดดิน,Specific gravity, Gs = gs / gw (Unit weight of water, gw = 62.4 lbs/ft3 = 1 g/cm3 = 9.8 kN/m3)

3

หน่วยเป็น m (ลูกบากศ์เมตร), cm ; hw = มีหน่วยเป็นความยาวหรือความสูงของน้าเหนือดิน ; hs = ความลึกของดินที่มีความชื้นเฉลี่ยเป็น θv ; ค่า hw นิยมใช้กันมากเพื่อบอกปริมาณน้าในดิน การใช้น้าของพืช อัตราการคายระเหยของพืช ปริมาณน้าชลประทาน และปริมาณที่ฝนตกลงบนพื้นดิน

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 4


การศึกษาทางฟิสิกส์ของดิน (Soil physical properties) เก็บดินแบบรักษาโครงสร้าง Undisturbed soil samples: Soil Cores วิธีการ ความชื้น (soil moisture) 1. Gravitation method - core method 2. Pressure plate ความหนาแน่นของดิน (Soil density) 1.Bulk density (ρb; g/ cm3) 2.Particle density, ρs (2.60-2.90 g/ cm3) ความพรุนทั้งหมด; E (total porosity)

ความจุของอากาศ ;e (Airation porosity) สปส.การนาน้า (hydraulic conductivity; Ksat)

1. core method 2. volumetric flask

1. core method 2. E=(1-ρb) ρs e=E-FC 1.Constant head method (cm/ s); ดินเนื้อหยาบ 2.Falling head method density (cm/s); ดินเนื้อละเอียด

หน่วย ,การแสดงผล %โดยน้าหนัก (นน.น้า,g/นน.ดินแห้ง,g) %โดยน้าหนัก (ปริมาตร.น้า,cm3/ปริมาตร.ดิน แห้ง, cm3) คิดเป็นความสูงของน้า (hw) ค่าความหนาแน่นรวม (Bulk density) ของดินมี ผลต่อการชอนไชรากพืช ดินทรายและดินร่วน (> 1.6-1.8 g/ cm3) ดินทรายแป้ง (> 1.4-1.6 g/ cm3) ดินเหนียว (> 1.3 g/ cm3) % หรือ ทศนิยม ดินชั้นบนเนื้อหยาบ 0.3-0.6 (30-60%) ดินแน่น 0.2 (20%) 1. Ksat=Q. ∆L cm/s AT ∆H 2. Ksat=0.1111 cm/s T (s)

เก็บดินแบบไม่รักษาโครงสร้าง Disturbed soil samples, Composite samples การวิเคราะห์ขนาดอนุภาคดิน 1. Sieve Analysis % sand, % silt, % clay ของอนุภาคดิน แล้ว (Particle size Analysis); เนื้อดิน 2. Sedimentation; ทราบเนื้อดินจากตารางสามเหลี่ยม Hydrometer, Pipette 3. Feel method การวิเคราะห์ขนาดเม็ดดิน 1. Wet Sieve Analysis สร้างกราฟการวิเคราะห์ขนาดเม็ดดิน (Grain size Analysis);ขนาดเม็ดดิน ความคงทนของเม็ดดิน (Aggregate stability, 1. Wet Sieving ขนาดเฉลี่ยของเส้นผ่าศูนย์กลางสมมูลย์เม็ดดิน เม็ดดินเสถียรร้อยละของเม็ดดินแห้ง, SAD, เม็ด (MWD=ผลรวมชองค่าเฉลี่ยของเส้นผ่าน ดินเสถียรร้อยละของเม็ดดินแห้งทั้งหมด, SAT) ศูนย์กลางของตะแกรงร่อน,mm x นน.ดินที่ค้าง บนตะแกรง,g) เหมาะสม 0.25-5 mm เสถียรภาพของเม็ดดินมาก% สูง (%AS) %AS=(นน.ดิน,g+นน.ทราย,g)-นน.ทราย,g นน.ดินทั้งหมดที่ผ่านตะแกรง 8mm-นน. ทราย,g ความชื้นที่แรงดึงบรรยากาศ FC (1/3 bar ,30 kPa), PWP (15 bar ,1500

ดป 461 Soil physics Maejo University

Pressure plate apparatus

%โดยน้าหนัก (นน.น้า,g/นน.ดินแห้ง,g) %โดยน้าหนัก (ปริมาตร.น้า,cm3/ปริมาตร.ดิน

Page 5


kPa), แห้ง, cm3) ความจุความชื้นที่เป็นประโยชน์ Available AWC=FC-PWP water capacity; AWC) 1 บรรยากาศ =1.0133 บาร์ หรือ 1033.6 cm หรือ 36 ฟุต หรือ 760 ปรอท cm.Hg หรือ 1036 กรัม/ลบ.ซม. หรือ 14.7 ปอนด์/ ตารางนิ้ว Pressure plate apparatus เป็นเส้นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่า เส้นอัตลักษณ์ของน้าในดิน (Soil water (0.1,0.3,0.5,1,3,5, 15 bar) ความชื้นในดิน (θv) กับค่าพลังงานกากับก้อนดิน retention curve; SMC, pF-curve; pF=(m )

log(h)) ภาคสนาม การวัดการแทรกซึมของน้าผ่านผิวดิน (Infiltration) พลังงานศักย์ของน้าในดินภาคสนาม หรือวัดแรง ดึงของน้าในดิน (bar)

Double ring

Cm/s, cm/min ……

Tensiometer

bar

การแปลผลค่าทางฟิสิกส์ดิน ตาราง 1 การแบ่งกลุ่มอนุภาคดินของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (USDA) และระบบของสมาคมวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ (International Soil Science Society, ISSS) กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (USDA) อนุภาคดิน ดิน (Soil separate) Sand

ทรายหยาบมาก (very coarse sand)

Clay

เส้นผ่านศูนย์กลาง (มม.) 2.0 - 1.0

ชื่อกลุ่ม

เส้นผ่านศูนย์กลาง (มม.)

-

--

1.0 - 0.5

ทรายหยาบ

2.0 – 0.2

ทรายหยาบปลานกลาง (medium sand) ทรายละเอียด (find sand) ทรายละเอียดมาก (very find sand)

0.5 - 0.25 0.25 - 0.10 0.10 - 0.05

ทรายละเอียด -

0.20 – 0.02 -

ทรายแป้ง (silt)

0.05 - 0.002

ทรายแป้ง

0.02 – 0.002

ดินเหนียว (clay)

เล็กกว่า 0.002

ดินเหนียว

เล็กว่า 0.002

ทรายหยาบ (coarse sand)

Silt

สมาคมวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ (ISSS)

ตาราง 2 การจาแนกอนุภาคเดี่ยวขนาดโตตามระบบกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ชั้น (class) เส้นผ่าศูนย์กลาง (mm) ก้อนกรวด (Gravel) 2-75 ก้อนหินเล็ก (Cobbles) 75-254 ก้อนหินใหญ่ (Stones) >254 การกาหนดสีดินใช้รหัสสี Munsell ที่มี สีหลัก 5 สี คือ สีแดง : R(Red),เหลือง : Y (Yellow), เขียว G : (Green), น้าเงิน B : (Blue) และม่วง P : (Purple) ประกอบด้วยเลข 3 ชุดของ Hue, Value และ Chroma

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 6


Hue คือ ค่าของสีหรือสีดั้งเดิม (primary color) ที่คนสามารถมองเห็นได้ เหมือนสีรุ้ง (rainbow color) ซึ่งสีของดินมีค่าผันแปรตั้งแต่ 10 R (สีแดง 100%) ถึง 5Y Value คือ ค่าความจาง หรือความสว่างของสี ผันแปรจากความจางต่า (ดา) = 0 ถึงความจางสูง (ขาว) = 10 Chroma คือ ค่าความบริสุทธิ์ (purity) หรือความเข้มของสี (intensity) ของสีดั้งเดิม (Hue) ซึ่งสีของดินมีค่าผันแปรตั้งแต่ 0 - 8 การรายงานค่าสีต้องรายงานเป็น “Hue, Value/Chroma เช่น 10YR5/3” ตาราง 3 การประเมินสีดิน (Soil color) 2.1) ดินสีเหลืองถึงสีแดง เกิดได้จากดินมีการระบายน้าค่อนข้างดีถึงดี มาก ดินไม่มีการขังน้า และมักพบบนพื้นที่ดอน สีเหลืองและสีแดงเป็นสีของออกไซด์ ของเหล็กที่เกิดจากขบวนการเติมออกเจน (Oxidation) ในดิน เนื่องจากมีการแทรก ซึมของอากาศโดยเฉพาะออกซิเจนลงไปในดิน ดินกลุ่มนี้มักอยู่ในภาวะดินที่เป็นกรด (Acid soil) ดินมีการพัฒนาหน้าตัดดินสูงมาก ดินมีหน้าตัดดินที่ลึก และมีการชะล้าง (Leaching) สูง ดินจึงมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่า 2.2)

ดินสีขาว

หรือสีเทาอ่อน

ทั่วไปเป็นดินเนื้อหยาบที่มีปริมาณ

อินทรียวัตถุปนอยู่ในปริมาณน้อยมากหรือดินผ่านขบวนการซึมชะ (Eluviations)ที่มี น้าเป็นตัวการชะละลายเอาสารละลายและแร่ธาตุต่างๆออกไปจากชั้นดินจนดินมีสี เทาอ่อนหรือสีขาว หรือ ดินมีการสะสมของปูน (Lime) เกลือ (Salt) หรือยิปซัม (Gypsum) 2.3) ดินสีน้าตาลเข้ม หรือสีดา สีดามักเกิดจากสีของวัตถุต้นกาเนิดดิน และการปนกับองค์ประกอบอื่น เช่น อินทรียวัตถุ หินบาซอลท์ (Basalt) และหินปูน (Lime stone) ในบางพื้นที่สลายตัวแล้วให้ดินที่มีสีน้าตาล หรือสีดา ทั้งนี้ขนอยู่กับ ปัจจัยและสภาพแวดล้อมบางอย่าง เช่น ลักษณะภูมิอากาศ และภูมิประเทศ ดินสีดา อุ้มน้าไว้ได้สูง และมักเป็นดินเนื้อละเอียดคาดคะเนได้ว่ามีปริมาณองค์ประกอบที่เป็น อินทรียวัตถุปนอยู่ในปริมาณสูง โดยเฉพาะไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และกามะถันสูง อย่างไรก็ตามยังพบดินสีคล้าในพื้นที่ที่เกิดจากอิทธิพลของหินอัคนีที่เป็นด่าง เช่น หิน บาซอลท์ และแอนดีไซท์ ซึ่งมักพบว่าแร่ดินเหนียวเป็นพวกมอนโมรินโลไนท์ (Montmorillonite) ดินเป็นดินเหนียวจัดระบายน้าเลว เมื่อดินแห้งจะแตกระแหง เป็นร่องที่ลึกและกว้าง 2.4) ดินสีเทาและสีเทาปนน้าเงิน ดินกลุ่มนี้มักมีน้าแช่ขังเป็นระยะ เวลานาน ดินอิ่มตัวด้วยน้าตลอดเวลา อากาศซึมผ่านลงไปในดินได้น้อย การเปลี่ยน รูปของสารประกอบต่าง ๆ ในดินเกิดได้น้อย ถ้าดินมีโอกาสแห้งบ้างออกซิเจนซึมลง ไปได้ ดินจะเริ่มเกิดขบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทาให้เกิดสีประ (Mottles) ของ สารประกอบอื่น ๆ ขนได้ เช่น จุดประของจาร์โรไซด์ (Jarosite mottles) ที่มี ปฏิกิริยาเป็นกรดจัด เป็นต้น

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 7


แต่ถ้าดินอยู่ในสภาวะที่มีน้าแช่ขังสลับกับแห้ง ดินจะมีสีจุดประ ซึ่ง โดยทั่วไปมักปรากฏเป็นจุดประสีเหลืองหรือสีแดงบนพื้นสีเทา ซึ่งเป็นผลมาจากการ เปลี่ยนแปลงของสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่สะสมอยู่ในดิน โดยสารเหล่านี้จะ เปลี่ยนแปลงไปอยู่ในรูปที่มีสีเทาเมื่ออยู่ในสภาวะที่มีน้าแช่ขัง ขาดออกซิเจนเป็น เวลานานๆ และเปลี่ยนไปอยู่ในรูปที่ให้สารสีแดงเมื่อได้รับออกซิเจน ที่มา:http://oss101.ldd.go.th/web_soils_for_youth/s_prop_color 2.htm ตาราง 4 คุณลักษณะของแร่ (Properties of Minerals) Mineral

Formula

Size

Munsell

Color

goethite

FeOOH

(1-2 m m)

10YR 8/6

yellow

hematite

Fe2O3

(~0.4 m m)

5R 3/6

red

lepidocrocite

FeOOH

(~0.5 m m)

5YR 6/8

reddish-yellow

lepidocrocite

FeOOH

(~0.1 m m)

2.5YR 4/6

red

ferrihydrite

Fe (OH)3

2.5YR 3/6

dark red

glauconite

K(SixAl4-x)(Al,Fe,Mg)O10(OH)2

5Y 5/1

dark gray

iron sulfide

FeS

10YR 2/1

black

pyrite

FeS2

10YR 2/1

black (metallic)

jarosite

K Fe3 (OH)6 (SO4)2

5Y 6/4

pale yellow

todorokite

MnO4

10YR 2/1

black

10YR 2/1

black

humus calcite

CaCO3

10YR 8/2

white

dolomite

CaMg (CO3)2

10YR 8/2

white

gypsum

CaSO4× 2H2O

10YR 8/3

very pale brown

quartz

SiO2

10YR 6/1

light gray

ที่มา:http://soils.usda.gov/education/resources/lessons/color/ การศึกษาโครงสร้างดิน (Soil Structure) หมายถึง การเรียงตัวของเม็ดดินภายในหน้าตัดดิน ที่มีรูปร่าง ขนาด และความคงตัวที่ แตกต่างกัน การจับตัวของอนุภาคดินทาให้เกิดเป็นเม็ดดิน (Soil aggregation) ขึ้นด้วยสารเชื่อมในธรรมชาติเชื่อมอนุภาคดิน เช่น อินทรียวัตถุ ออกไซด์ของเหล็ก เป็นต้น การจาแนกโครงสร้างดิน จะศึกษาและบันทึกผล 3 ส่วน คือ Type (ชนิดของโครงสร้าง) Size (ขนาด) และ ระดับ (Grade)

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 8


รูปที่ 2 การเกิดโครงสร้างดิน ตาราง 5 แสดงขนาดของโครงสร้างดินชนิดต่าง ๆ ขนาด (Size)

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง (มม.) Granular หรือcrumb platy structure blocky structure structure เล็กมาก (Very fine) <1 <1 <5 เล็ก (Fine) 1-2 1-2 5-10 ปานกลาง (Medium) 2-5 2-5 10-20 ใหญ่ (Coarse) 5-10 5-10 20-50 ใหญ่มาก (Very coarse) >10 >10 >50 ตาราง 6 แสดงระดับความคงทนของเม็ดดิน ชนิด (Type) ลักษณะอนุภาคดิน ลักษณะที่พบทั่วไป 1.ไม่มีโครงสร้าง 1.อนุภาคของดินไม่เกาะตัวกันเป็นก้อน ดินเลน หรือดินที่เป็นดินเหนียวจัด แต่มีการยึดตัวของอนุภาคมาก เปียกแฉะอยู่เสมอ 2.อนุภาคของดินไม่เกาะตัวกันเป็นก้อน ดินที่เป็นทรายจัดทั้งหลาย ไม่มีแรงยึดกันระหว่างอนุภาคดิน 2. พวกมีโครงสร้าง 3.มีการเกาะตัวของอนุภาคของดินเพียง เมื่อถูกกระทบกระเทือน ก้อนดิน เล็กน้อย เหล่านี้จะแตกเป็นเม็ดเล็กเม็ดน้อย 4.มีการก่อตัวของอนุภาคดินเป็นก้อนดิน เมื่อถูกกระทบกระเทือนก้อนดิน ดีพอประมาณ และเห็นได้ชัดเจนที่หน้า เหล่านี้จะไม่ค่อยแตกยังคงมีสภาพ ตัดดิน เป็นก้อนอยู่ แต่อาจแตกบ้าง 5.มีการก่อตัวของอนุภาคดินเป็นก้อนดี เมื่อถูกกระทบกระเทือนยังมีสภาพ มากมองเห็นได้ชัดเจนที่หน้าตัดดิน ก้อนดินทั้งหมด ไม่แตกเป็นก้อนเล็กเลย

ดป 461 Soil physics Maejo University

prismaticและ columnar structure <10 10-20 20-50 50-100 >100 บันทึกว่า “massive–m” “single grain–sg” “weak-1” อ่อน “moderate-2” ปาน กลาง “strong-3” แข็งมาก

Page 9


ตาราง 7 ชนิดของโครงสร้างดิน (Soil structural shapes) Structure Soil Structural shapes (Type) 1.แบบทรงกลม (Spheroidal -Granular ทรงกลมที่มีขนาด structure) อนุภาคดินจะเกาะกันเป็น แตกต่างกัน และมีความพรุนน้อย เม็ดค่อนข้างกลม ไม่มีเหลี่ยมมุม -Crumb ทรงกลมที่มีขนาดไล่เลี่ย ชัดเจน มีการระบายน้าดี ความร่วนซุย กันและมีความพรุนมาก พบในดินชั้นบน (A horizon) 2.แบบแผ่น (Plate like structure) มี 2 แบบ ลักษณะเป็นแผ่นคล้ายจาน พบได้ทั้ง -แผ่นบางมาก (laminar) -แผ่น ดินบนและดินล่าง (ชั้น E horizon) ค่อนข้างหนา (platy) น้าซึมผ่านได้ช้า และมีการถ่ายเท อากาศได้ไม่ดี 3.ก้อนสี่เหลี่ยม (blocky structure) มี 2 แบบ ลักษณะคล้ายกับลูกบาศก์ มีความกว้าง -ก้อนเหลี่ยม (angular blocky) มี ยาวและหนาใกล้เคียงกัน มักจะพบใน เหลี่ยมมุมชัดเจน ดินชั้นล่างของดินป่า หรือดินทุ่งหญ้า -ก้อนกึ่งเหลี่ยม (sub angular พบที่ชั้น B horizon blocky) มุมเหลี่ยมมนหรือไม่ ชัดเจน

4.แบบแท่ง (Prism like structure) คล้ายแท่งมีความสูงมากกว่า ความยาว และความกว้างมาก มักพบในดินชั้น ล่างในเขตแห้งหรือกึ่งแห้งแล้ง พบที่ ชั้น B horizon

แท่งปลายเหลี่ยม (prismatic) คือ ที่ปลายยอด หรือส่วนบนเรียบ มี ลักษณะคล้ายแท่งปริซึม แท่ง ปลายมน (columnar)

รูปที่ 3 ภาพบรรยายการประเมินโครงสร้างดิน

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 10


การหาขนาดเม็ดดินโดยการร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน (Grain Size Analysis by Sieving Method) ตาราง 8 คาอธิบายลักษณะการคละกันของดิน ดิน การอธิบาย ดินเม็ดหยาบ G กรวด gravel W การกระจายขนาดคละดี Coarse grained S ทราย sand P การกระจายขนาดคละไม่ดี M Non Plastic Fines C Plastic Fines ดินเม็ดละเอียด M ตะกอนทราย silt L Low plasticity Fine grained C ดินเหนียว clay H Low plasticity O อินทรีย์สาร organic Pt ซากพืช peat ตาราง 9 ดินที่มีขนาดคละกันไม่ดี (Poorly Graded Soil) และ ดินที่มีขนาดเม็ดคละกันดี (Well Graded Soil) ดินที่มีขนาดคละกันไม่ดี (Poorly Graded Soil) แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ ดินที่มีขนาดเม็ดคละกันดี (Well Graded Soil) ดินที่มีขนาดเม็ดดินขาดช่วง (Skip ดินที่มีขนาดเม็ดดินสม่าเสมอ หรือ Gap Grade ) (Uniform Grade )

ดินที่มีแต่ขนาดเม็ดใหญ่และขนาด เม็ดเล็ก ขนาดปานกลาง หรือขาด ขนาดใดขนาดหนึ่งไป เส้นกราฟจะมี ลักษณะเป็นเส้นราบในช่วงที่ขนาด เม็ดดินขาดหายไป

ดินประเภทนี้จะมีหลายขนาดทาให้ ดิน มีทั้งช่องว่างขนาดเล็ก และ ช่องว่างขนาดใหญ่ ซึ่งช่องว่างขนาด เล็กก็กักเก็บน้า ส่วนช่องว่างขนาด ใหญ่ก็เป็นที่อยู่ของอากาศ ทาให้ราก พืชเจริญเติบโตได้ดี

ดป 461 Soil physics Maejo University

เม็ดดินที่มีขนาดเดียวกันเป็นส่วนใหญ่ เส้นกราฟจะมีลักษณะเกือบเป็นเส้นดิ่ง ช่วงกราฟแคบ

ดินที่มีขนาดเม็ดคละกันดี (Well Graded Soil) คือ ดินมีเม็ดขนาดต่างๆ คละกันดี มีขนาดต่าง ๆ คละกันอย่างเหมาะสม ตั้งแต่ขนาดใหญ่ไปจนถึง ขนาดเล็ก ดินชนิดนี้จะมีกาลังและเสถียรภาพดี เส้นกราฟ (ช่วง Range) จะแผ่อย่างราบเรียบ สม่าเสมอ จากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง โดย พิจารณาจากช่วงของกราฟที่เรียกว่า Coefficient of Uniformity (ค่า Cu: แสดงถึงการกระจายตัว ของเม็ดดิน ว่ามีขนาดคละกัน (Grade) หรือ สม่าเสมอ (Uniform)) ค่า Cu หาได้จากกราฟ หากเราทราบว่าดินนี้มีการคละกันดีแบบ well graded ซึ่งเม็ดดินขนาดเล็กอาจเข้าไปแทรกได้ใน ช่องว่างของเม็ดดินขนาดใหญ่ พื้นที่ดินประเภทนี้ ถ้ายิ่งไถพรวนจะยิ่งทาให้ดินมีความหนาแน่นเพิ่ม มากขึ้น เพราะว่าการไถพรวนทาลายเม็ดดิน เม็ด ดินยิ่งเล็กก็จะแทรกเข้าไปในช่องว่างมากขึ้นได้จึง ควรลดการไถพรวนดินประเภทนี้ แล้วใส่ อินทรียวัตถุเพื่อสร้างดิน

Page 11


รูปที่ 4 กราฟการกระจายของเม็ดดิน

ดป 461 Soil physics Maejo University

Page 12


ตาราง 10 ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อดินและการอุ้มน้าของดินที่สภาวะต่างๆ (%ความชื้นโดยน้าหนัก) เนื้อดิน ค่าคงที่ความชื้น AWCA Air dried PWP FC หยาบ 1-2 3-6 6-16 3-10 ปานกลาง 2-5 12-15 27-35 15-20 ละเอียด 5-10 24-34 38-53 14-19

ดินอิ่มตัวด้วยน้า 21-31 31-47 38-90

ตาราง 11 แรงที่ทาให้เกิดพลังงานศักย์ของน้าในดิน (Soil water potential; Ψt) Soil water potential (Ψt) 1. ดินในน้า: สภาพดินที่อิ่มตัวด้วยน้า pressure potential, Ψp

เช่น ดินนาน้าขัง Ψt= Ψp

2. Matric Potential: Ψm: สภาพ unsaturated soil

เช่น ดินไร่ Ψt= Ψm

3. Osmotic Potential : Ψπ

เช่น กรณีน้าไหลผ่านดินที่มีเยื่อกึ่งซึม Ψt= Ψm+ Ψπ เช่น กรณีน้าไหลผ่านดินที่ไม่มีเยื่อกึ่งซึม Ψt= Ψm

4. Gravitational potential, Ψz

เช่น พลังงานศักย์รวมของน้าในดินที่มีการเคลื่อนที่ Ψt= Ψm+ Ψz


สัมประสิทธิ์การซึมน้าของดินที่อิ่มตัวด้วยน้า (Saturated Hydraulic Conductivity: Ksat) หมายถึง คุณสมบัติของดินที่ยอมให้ น้าไหลซึมผ่านระหว่างช่องว่างของเม็ดดิน ตาราง 12 ประเมินค่าสัมประสิทธิ์ความซึมน้าของดินชนิดต่างๆ จาก Earth Manual (1963) ชนิดของดิน สัมประสิทธิ์ความซึมน้าของดิน คุณสมบัติการระบายน้า (ซม. / วินาที) -2 กรวด >1-10 ดี -2 -3 ทราย 10 -10 ดี -3 -5 ทรายละเอียด ตะกอนทรายหยาบ 10 - 10 ปานกลาง -5 -7 ตะกอนทราย 10 - 10 เลว -7 ดินเหนียว <10 น้าซึมผ่านได้ยาก ค่าสัมประสิทธิ์ความซึมน้าของดินเป็นค่าชี้บ่งที่สาคัญของความสามารถในการเก็บกักน้า เพื่อใช้สาหรับการวางแผนการออกแบบก่อสร้าง ว่าควรเป็นสระหรือบ่อขนาดเท่าใด จึงจะได้ปริมาณน้าใช้ที่เพียงพอ ตาราง 13 สัมประสิทธิ์การนาน้าของดิน จาก O’Neal (1952) Hydraulic conductivity class (cm h-1) Very slow <0.125 Slow 0.125-0.5 Moderately slow 0.5-2.0 Moderately 2.0-6.25 Moderately rapid 6.25-12.5 Rapid 12.5-25.0 Very rapid >25.0 ค่า สัมประสิทธิ์ความซึมผ่านได้ของดินเป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของดินในด้านการบอกว่า  ดินจะยอมให้น้าไหลผ่านมวลดิน ถ้าน้าไหลผ่านมวลดินได้ง่ายค่าสัมประสิทธิ์จะมีมาก นั่นคือดินจะมีช่องว่างมาก หรือดินอยู่ ในสภาพหลวมไม่เกาะตัวกันแน่น  และถ้าค่าสัมประสิทธิ์มีค่าน้อยเท่าใดก็แสดงว่าดินนั้นมีความหนาแน่นมาก ดังนั้นค่าสัมประสิทธิ์ของการซึมได้นี้สามารถวัด ความหนาแน่นของดินได้อีก วิธีหนึ่ง การแทรกซึมของน้าผ่านผิวดิน (Infiltration) หมายถึง ความเร็วของน้าที่สามารถซึมลงไปในดินต่อหน่วยเวลา วัดโดย Double ring ขึ้นอยู่กับลักษณะของดิน ลักษณะของเนื้อดิน (soil texture) โครงสร้างของดิน (soil structure) ความพรุนของดิน (porosity) ความลึกของชั้นดินที่น้าซึมผ่านได้ยาก (slowly permeable layer) ความลึกของระดับน้าใต้ดิน (ground water table) และลักษณะ ภูมิประเทศ (topography) ตาราง 14 การแทรกซึมของน้าผ่านผิวดิน (Infiltration) อัตราการซึมของน้าสู่ดิน ช้ามาก ช้า ค่อนข้างช้า ปานกลาง ค่อนข้างเร็ว เร็ว

นิ้วต่อชั่วโมง < 0.05 0.06-0.2 0.2-0.6 0.6-2 2-6.3 6.3-20


เร็วมาก อัตราการซึมน้าผ่านดิน ; เนื้อดิน ดินทราย ดินร่วนปนทราย ดินร่วน ดินเหนียว

>20 มม./ชั่วโมง >20 10-20 5-10 1-5

ตาราง 15 รูปธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ธาตุอาหาร รูปที่เป็นประโยชน์ ในดิน ในพืช รูปของธาตุอาหาร ต่อพืช พืช C,H,O N NH+4, NO-3 Mobile Mobile NH+4, NO-3 Primary element P H2PO4-, HPO2-4 Immobile Mobile H2PO4-, HPO2-4 K K+ Mobile Mobile K+ secondary element Ca Ca2+ Mobile Immobile Ca2+ Mg Mg2+ Mobile Mobile Mg2+ S SO2-4 Mobile Immobile SO2-4 micronutrient Fe Fe2+,Fe3+ Partially mobile 2+ Mn Mn Partially mobile ++ Zn Zn Cu Cu+,Cu2++ Partially mobile 2B H3BO3,B4O 7 Immobile 2Mo MoO 4 Partially mobile Cl Cl ที่มา: มงคล ต๊ะอุ่น (2547) ตาราง 16 ความเข้มข้นของธาตุอาหารในพืชโดยทั่วไปที่ระดับวิกฤตต่างๆ ธาตุอาหารในพืช ปริมาณในพืชที่ระดับ ขาดแคลน พอเพียง สูง เป็นพิษ Total N (%) 0.8-1.1 1.1-2.5 >2.5 Total P (%) 0.1-0.18 0.18-0.3 >0.3 Total K (%) 0.8-1.0 1.0-2.0 >2 Total Ca (%) 0.5-1 1-3 <3 Total Mg (%) 0.1-0.4 0.4-1.2 >1.2 Total S (%) 0.1-0.20 0.2-0.4 >0.4 Total B (mg/kg) 15-20 20-30 30-100 >200 Total Cu (mg/kg) 2-4 4-10 >10 >25 Total Fe (mg/kg) 20-24 24-100 >100 >2,000 Total Mo (mg/kg) 0.2 0.5-0.8 1-5 >5 Total Mn (mg/kg) 10-20 20-150 >150 >200 Total Zn (mg/kg) 10-15 15-40 >40 >120


ที่มา: มงคล ต๊ะอุ่น (2547) K2O= %K x 1.2, P2O5= %Px2.3, SO4= %Sx3.0, OM%=%Cx1.724, C(12) H(1) O(16) N(14) P(31) K(39) Ca(40) Mg(24) S(32) B(11) Cu(64) Fe(56) Mo(96) Mn(55) Zn(65) Cl(35) Al(26.9) K(meq/100g=ppm/391, Ca(meq/100g=ppm/200.4, Mg(meq/100g=ppm/121.5, Na(meq/100g=ppm/230, Cl(meq/100g=ppm/354.5, Al(meq/100g=ppm/89.9 ตาราง 17 ระดับธาตุอาหารในดินโดยทั่วไปกับการประเมินความอุดมสมบูรณ์ ธาตุอาหารในดิน ปริมาณในพืชที่ระดับ ขาดแคลน พอเพียง สูง Total N (%) 0.025-0.125 0.125-0.15 >0.15 Available P (mg/kg) 10-15 20-30 45 Exchangeable K (mg/kg) 60-78 90-120 156 Extractable Ca (mg/kg) 400-1000 1000-3000 4000 Extractable Mg (mg/kg) 24-50 50-100 120 Extractable S (mg/kg;ppm) 3-6 10-45 45 Extractable B (mg/kg;ppm) 0.25-0.5 0.5-2 2 Extractable Cu (mg/kg) 0.8-5 5-30 30 Extractable Fe (mg/kg;ppm) 2-5 5-50 50 Extractable Mo (mg/kg) 0.05 0.05-0.10 0.10 Extractable Mn (mg/kg) 1-3 3-5 5 Extractable Zn (mg/kg) 0.5-1 1-5 5 pH <5,>8 5.5-7.8 6.5-7.0 Ec (mS/cm) >2 2 <2 OM;% <1 1.5-2.5 >3.5 CEC; meq/100g <3 10-20 >30 ที่มา: มงคล ต๊ะอุ่น (2547) การคานวณน้าหนักดินในพื้นที่ 1 ไร่ ดินลึก 15 cm ความหนาแน่นรวม 1.3 กรัม/มล. (ซม3.) พื้นที่ 1 ไร่ = 1000 ม2 ; พื้นที่ 1 ม3 = 100 X 100 ซม3. ; พื้นที่ 1 ไร่= 100 X 100 x 100 ดินที่สนใจลึก = 15 cm. มีปริมาตร =1600 X100 X 100 ซม2. X 15 ซม. เมื่อดินมีความหนาแน่นรวม = 1600 X 100 X 100 X 15 X 1.3 กรัม/มล. (ซม3.) 1 กิโลกรัม = 1000 กรัม = 1600 X 100 X 100 X 15 X 1.3 กรัม/มล. (ซม3.) 1000 1 ตัน = 1000 กิโลกรัม= 1600 X 100 X 100 X 15 X 1.3 กรัม/มล. (ซม3.) =312 ตัน 1000x1000 นั่นคือ ในพื้นที่ 1 ไร่ ลึก 15 ซม. ความหนาแน่นรวมเฉลี่ย 1.3 กรัม/ มล. หนัก 312 ตัน


รูปที่ 5 ลักษณะการขาดธาตุอาหารในดิน


ตาราง 18 หน่วยทางฟิสิกส์ดิน ปริมาณ มวล ความยาว เวลา จานวนสาร อุณหภูมิ กระแสไฟฟ้า ความเข้มของการส่องสว่าง

ชื่อหน่วย กิโลกรัม (kilogram) เมตร (meter) วินาที (second) โมล (mole) เคลวิน (Kelvin) แอมแปร์ (ampere) แคนเดลา (candela)

สัญลักษณ์ kg m s mol K A cd


ตัวคูณแปลงหน่ วย (Conversion Factors)

Conventional to Metric

ความยาว

พืน้ ที่

ปริมาตร

1

inches (in)

=

2.54

1

feet (ft)

=

0.3048

meters (m)

1

miles (mi)

=

1.6093

kilometers (km)

1

miles (international nautical)

=

1.852

kilometers (km)

1

mile per hour (mph)

=

1.6093

kilometer per hour (kph)

1

square inches (in2)

=

6.4516

square centimeters (cm2)

=

0.0929

square meters (m2)

1

square feet

1

=

2.590

square kilometers (km2)

1

square miles (mi2) acre

=

4,047

1

acre

=

0.4047

square meters (m2) hectares

1

gallons (gal)

=

3.7854

liters

1

cubic feet (ft3)

=

28.3169

liters

1

cubic feet (ft3)

=

0.02832

cubic meters (m3)

=

0.7646

cubic meters (m3)

0.02832

1

นา้ หนัก แรง หน่ วยแรง

2

centimeters (cm)

(ft )

3

cubic yards (yd ) 3

cubic meter per second (m3/sec)

1

cubic feet per second (ft /sec)

=

1

pounds (lbm)

=

0.4536

kilograms (kg)

1

short ton (2,000 lbm)

=

907.20

kilograms (kg)

1

long ton (2,240 lbm)

=

1016.06

kilograms (kg)

1

pounds (lbf)

=

4.4482

Newtons (N)

1

lbf / in2 (psi)

=

6,895

Pa or N / m2

1

2

=

47.88

Pa or N / m2

lbf / ft

Metric to Conventional

ความยาว

พืน้ ที่

ปริมาตร

1

centimeters (cm)

=

0.3937

inches (in)

1

meters (m)

=

3.2808

feet (ft)

1

kilometers (km)

=

0.6214

miles (mi)

1

kilometers (km)

=

0.53996

1

kilometer per hour (kph)

=

0.6214

1

square centimeters (cm2)

=

0.155 10.764

square feet

square miles (mi2) acre

mile per hour (mph) square inches (in2) (ft2)

1

square meters (m )

=

1

square kilometers (km2)

=

0.3861

1

=

0.0002471

1

square meters (m2) hectares

=

2.471

1

liters

=

0.2642

1

liters

=

0.035315

cubic feet (ft3)

3

acre gallons (gal)

=

35.3147

cubic feet (ft3)

1

3

cubic meters (m )

=

1.30795

cubic yards (yd3)

1

cubic meter per second (m3/sec)

=

35.3147

cubic feet per second (ft3/sec)

1

kilograms (kg)

=

2.2046

pounds (lbm)

1

kilograms (kg)

=

0.0011

short ton (2,000 lbm)

1

kilograms (kg)

=

0.0009842

long ton (2,240 lbm)

1

Newtons (N)

=

0.2248

1

Pa or N / m2

=

0.000145

1

2

=

0.02089

1

นา้ หนัก แรง หน่ วยแรง

2

miles (international nautical)

cubic meters (m )

Pa or N / m

pounds (lbf lbf / in2 (psi) lbf / ft2


เอกสารอ้างอิง คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2541. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 547 หน้า วิทยา ตรีโลเกศ.2545. เอกสารประกอบการสอนวิชา 112 201 ปฐพีศาสตร์เบื้องต้น ฟิสิกส์ของดิน. ภาควิชาปฐพีศาสตร์ คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.94 หน้า. ถนอม คลอดเพ็ง.2528.วิธีการของปฐพีฟิสิกส์วิเคราะห์. ภาควิชา ปฐพีศาสตร์และอนุรักษ์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 205 หน้า. ยุทธนา เขาสุเมรุ ชิติ ศรีตนทิพย์และสันติช่างเจรจา.2544.แนวทางการจัดการดินและปุ๋ยลาไย ใน:เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง” โครงการสัมมนากลยุทธ์การจัดการธาตุอาหารพืชสู่รายได้ที่ยั่งยืน” วันที่ 18-19 สิงหาคม 2544 ณ ห้องประชุมเคยูโฮม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน. พิมพันธ์ เจิมสวัสดิพงษ์ . 2526. เอกสารประกอบการสอนวิชาปฏิบัติการฟิสิกส์ทางดิน (112 452) ภาควิชาปฐพีศาสตร์ คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สายัณห์ สดุดี (2534) สภาวะขาดน้าในการผลิตพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ อิทธิสุนทร นันทกิจ. 2553.เครื่องวัดความชื้นในดินแบบ Tensiometer. ภาควิชาปฐพีวิทยา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหาร ที่มา: Angers, D.A., and G.R. Mehuys. 1993. Aggregate stability to water. Pp 651-657. In Carter, M.R. (ed). Soil sampling and method of analysis. Canadian Society of Soil Science. Lewis Publishers, Boca Raton, Ann Arbor, London, Tokyo. Anonymous (1976) 5100C Vapour Pressure Osmometer Instruction Manual. Wescor, Inc., Logam, Utah, U.S.A. Anonymous (1985) Plant Water Status Console. Soil Moisture Equipment. Company, U.S.A. Anonymous (1988) Irrigation Schedule with a Neutron Probe. Neutron Probe Service Pty, Ltd., Narrabri, N.S.W. Australia. Anonymous (1990) Operating Instructions of Soil Moisture Tester : Delmhost Model KS-1. Delmhost Instrument Company, U.S.A. Brady, N.C. and R.R. weil, 2002. The Nature and Properties of Soils, 13th Edition, Pearson Education, Inc., Upper Saddle River, New Jersey 07458. Donahue, R.L., R.W. Miller and J.C. Shickluma (1983) Prentice-Hall, Inc., Englewood Chiffs, New Jersey. Donahne, R.L., Miller, R.W. and J.C. Shickluna 1977. An Introduction to Soils and Plant Growth, Fourth Edition, Prentice-Hall, Inc., Englewood Cliffs, New Jersey. Kozlowski, T.T. (1984) Flooding and Plant Growth, Academic Press, Inc. U.S.A. Miller, C.E. and L. M., Turk.1965. Fundanentals of Soil Science, Fourth Edition, John Wiley & Sons, Inc., N.Y. Mosier, J.G. and A. F. Gustafson.1912. Soil physics laboratory. University of California, Ginn and Company, 88pp. Rattan, L. and K. S. Manoj. 2004. Principles of soil physics. The Ohio State University Columbus, USA., Marcel Dekker, INC. New York. Six, J.. E.T. Elliott, and K. Paustian. 1999. Aggregation and soil organic matter dynamics under conventional and no-tillage systems. Soil Sci. Soc. Am. J. 63: 1350-1358. Smith, K. A. and C.E., Mullins. 2000. Soil and environmental Analysis physical methods second edition revised and expanded, Marcel Dekker, Inc. Madison Avenue, New York, USA,651p. State Materials Office.2000. Soil and foundations handbook . Galnesville, Florida, USA, 180pp. http://www.kmitl.ac.th/~kasoil/SoilRes/Tesiometer.htm 24-11-2553



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.