ทิพวัลย์17 11 59

Page 1

นางสาวทิพวัลย์ อาจหาญ เลขที่ 16 ชั้น ปวส.2/1 คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ Chipset คืออะไร ทาหน้ าที่อะไร Chipset คือ กลุ่มของชิ้นส่ วนอิเล็กทรอกนิกส์หรื อชิป (Chip) ที่ได้รับการออกแบบให้ทางานเป็ นหน่วย โดย ที่ Chipset นี้จะถูกติดตั้งอยูบ่ นแผลวงจรหลัก หรื อ Mainboard เพื่อควบคุมการทางานต่างๆบนแผงวงจรหลัก โดยสามารถกล่าวได้วา่ Chipset นี้ เปรี ยบเสมือนหัวใจ หรื อผูจ้ ดั การควบคุมการทางานของอุปกรณ์ท้ งั หมด บน Mainboard เลยทีเดียว Chipset ทาหน้าที่อะไร Chipset ทาหน้าที่ท้ งั ควบคุมการทางานของกลวิธีในการเชื่อมต่อ ทั้งการรับส่ งข้อมูล ระหว่างหน่วยความจาหลัก หรื ออุปกรณ์ Input/Output (I/O Devices) และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ อีกทั้งยังทา หน้าที่อื่นๆบน Mainboard ที่ CPU ไม่สามารถทาได้ เช่ น การส่ งข้อมูลจาก RAM ไปยัง CPU การควบคุ ม การรับ-ส่ งผ่านข้อมูลของ Harddisk และ Optical drives ต่างๆ (CD-ROM, DVD, Bluray Drives) รวมถึงการ รับ-ส่ งข้อมูลของแผงวงจรอื่นๆ เช่น Display adaptor, AGP Card, Audio card, Network card และ Wireless network controller เป็ นต้น

จอ CRT (Cathode Ray Tube) เป็ นจอรุ่ นเก่ามากตั้งแต่เริ่ มต้นเลย เมื่อก่อนเราจะพบว่าเป็ นขาวดา แต่ได้พฒั นามาเป็ นสี สามารถที่จะเห็ นรายละเอียดมากกว่าเดิม จอ CRT การทางานเป็ นเหมือนจอโทรทัศน์ รุ่ นเก่ าที่ มีขนาดใหญ่ มี ด้านหลังที่ ยื่นออกไปเพราะว่าใช้การฉายแสงอิ เล็กตรอนของหลอดภาพในการ แสดงผล และในการยิงแสงแต่ ละครั้ ง จาเป็ นต้องใช้เวลาจึ งท าให้เราเห็ นภาพไม่ นิ่งอาจจะดู เหมื อนสั่ น ตลอดเวลา และทาให้ปวดตาในที่สุด โดยแสงที่เกิดขึ้นจะเป็ นสี แดง เขียว และ น้ าเงิน เกิดจากการผสม สี สามสี เหล่านี้ จึงทาให้เกิดเป็ นสี ต่างๆ บนจอภาพให้เราเห็น สาหรับความละเอียดภาพนั้นมีหน่วยเป็ น พิก เซล คือเป็ นจุดของการแสดงผลหากมีจานวนมากก็จะทาให้ภาพเรามีความชัดเจนมาก เนื่องจากการทางาน ดังกล่าวทาให้เกิดความร้อนและใช้พลังงานสู งมาก มีขนาดใหญ่ น้ าหนักมาก และยังมีรังสี แผกระจายออกมา ได้ จึงได้พฒั นาเทคโนโลยีมาใหม่ และยกเลิกการผลิตไปแล้ว จึงไม่มีขายตามท้องตลาดหรื อว่ามีเพียงแค่ ของมือสองเท่านั้น


จอ LCD (Liquid Crystal Display) มีการใช้เทคโนโลยีแทนการใช้หลอดภาพซึ่ งเมื่อก่อนราคาสู ง มากแต่ปัจจุบนั ราคาถูกกว่าเดิมจึงสามารถที่จะมาแทนจอรุ่ นเก่าได้ ในยุคแรกๆเราอาจจะเห็นผลิตไว้สาหรับ คอมพิวเตอร์ แบบพกพาจาพวกโนตบุ๊คเท่านั้นหรื อว่าเมือถือ การทางานโดยใช้ผลึกของเหลวกึ่งของแข็งใน การแสดงภาพและใช้หลอดไฟในการส่ องแสงสว่างให้กบั จอออกมาจึงทาให้เราเป็ นภาพต่างๆ และด้วนเห็น นี้ จึงสามารถที่จะมองเห็นด้วยความละเอียดกว่า แต่เนื่ องจากมีขอ้ จากัด อย่าเช่นการมองไม่ถูกมุมอาจจะทา ให้สีที่เราเห็นนั้นผิดไปและไม่ชดั ในบางมุมด้วย และอาจจะแสดงผลที่ชา้ กว่าจอ CRT จึงมีการระบุความเร็ ว ในการแสดงผลไว้กบั รายละเอี ยดการเลื อกซื้ อด้วย ระยะเวลาในการใช้งานมี ขอ้ จากัดด้วย แต่ด้วยไม่มี รังสี ใช้ความร้อนและพลังงานน้อยกว่า และมีเทคโนโลยีในการรองรับการทางานแบบใหม่ สามารถที่จะดู หนังได้สมจริ ง มีขนาดที่เล็ก จึงทาให้ได้รับความนิยม

จอ LED ที่ได้รับการพัฒนาต่อจาก LCD มีหลักการทางานที่รูปแบบเดียวกันแต่วา่ ใช้หลอด LED ที่ เป็ นหลดขนาดเล็กมาในการส่ องแสงแทนการใช้หลอดไฟแบบ LCD จึงทาให้สามารถที่จะประหยัดไฟกว่า และความร้ อนน้อยกว่า และที่ สาคัญสามารถที่ จะสานต่ อเทคโนโลยีไ ด้มากกว่า ปั จจุบนั จึงมาแทนจอ แบบ LCD มากกว่าจะเห็นได้วา่ ในปั จจุบนั จะใช้จอภาพที่ทาจาก LED มากกว่า และสามารถที่จะพัฒนาการ เชื่อมต่อสัญญาณภาพแบบใหม่ที่ให้ความละเอียดสู ง และสามารถที่จะใช้งานในรู ปแบบ 3 D ได้ดว้ ย จะเห็ นได้จอภาพเป็ นส่ วนที่สาคัญในการแสดงผลจึงมีความจาเป็ นที่จะต้องใช้งานและควรที่จะ เลื อกให้เหมาะสมกับ งานเพราะว่า มี ข นาดและความละเอี ย ดที่ แ ตกต่ า งกัน และเทคโนโลยีจึ งท าให้มี คุณสมบัติเพิ่มเติมและรายละเอียดที่ตอ้ งพิจารณามากขึ้นกว่าเดิม


ชนิดของ DDR

DDR SDRAM (Double Data Rate Synchronous Dynamic Random Access Memory) ได้พฒั นาแยก มากจาก SDRAM โดยจุดที่ต่างกันหลักๆ ของทั้งสองชนิ ดนี้ คือ DDR SDRAM นี้ สามารถที่จะใช้งานได้ท้ งั ขาขึ้น และขาลงของสัญญาณนาฬิกาเพื่อส่ งถ่ายข้อมูล นัน่ ก็ทาให้อตั ราส่ งถ่ายเพิ่มได้ถึงเท่าตัว ซึ่ งจะมีอตั รา ส่ งถ่ายข้อมูลสู งสุ ดถึ ง 1Gbs ต่อวินาทีเลยทีเดี ยว สาหรับ DDR SDRAM มีการใช้งานอย่างแพร่ หลายและ นิ ยมเป็ นอย่างมากในปั จจัน สาหรับ DDR SDRAM นั้นยังเป็ นของใหม่ที่จะเข้ามามีบทบาท โดยในตอนนี้ ก็ มีออกมาให้เห็ นกันบ้างแล้วสาหรับหน่ วยความจาแบบใหม่น้ ี ดังนั้นการที่เราจะทาความเข้าใจการทางาน ของ DDR II แล้วนั้น เราจึงต้องมา ทาการศึกษาให้เข้าใจถึงหลักการทางานเสี ยก่อน ในปั จจุบนั ข้อมูลต่างๆ จาเป็ นต้องใช้งานหน่วยความจาหลักที่มีประสิ ทธิ ภาพในการทางานเป็ นอย่างมาก เนื่องจากว่าการเติบโตของ CPU (หมายถึงความเร็ วในการทางาน MHz-GHz) จึงทาให้ขอ้ มูลที่ได้มานั้นมีปริ มาณมากขึ้น และความเร็ ว ในการทางานเพียง อย่างเดียวก็ไม่เพียงพอที่จะทาให้การทางานนั้นสมบูรณ์ข้ ึนมาได้ ทางออกของปั ญหานี้ จึง อยู่ที่ DDR II อย่างที่ รู ้ กนั ดี ว่าประสิ ทธิ ภาพในการทางาน ของหน่ วย ความจานั้นมีสูตรคานวนว่า Speed = Width x Frequency โดยที่ความเร็ วนั้นมีหน่วยเป็ น Mb/s ส่ วน width นั้นเป็ นค่าความกว้างในการส่ งข้อมูลมี หน่ วยเป็ น bits สาหรับ Frequency เป็ นความถี่ ของสัญญาณในการถ่ายโอนข้อมูลมีหน่ วยเป็ น MHz (Mega Hertz) จากสู ตรจะเห็นได้วา่ การเพิ่มความเร็ วในการทางานให้มีประสิ ทธิ ภาพนั้นจาเป็ นต้องเพิ่มทั้งความเร็ ว ในการถ่ายโอน และความ กว้างในการส่ งข้อมูล หรื อปริ มาณในการส่ งข้อมูลให้เพิ่มขึ้น ถึงแม้วา่ จะมีการทา การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบต่างๆ ในหน่วยความจาแบบ DDR และมีการนาเอา MRAM (Magnetoresistive RAM), FRAM (Ferroelectric RAM) และอื่ นๆ อี กมากมาใช้งานแต่ก็ไม่ประสบความสาเร็ จมากเท่าที่ควร รวมทั้งยังทาให้มีค่าใช้จ่ายในการผลิตเพิ่มขึ้น ซึ่ งจะส่ งผลต่อราคาเมื่อนามาขาย อีกอย่างที่สาคัญคือมันใช้ งานได้ ไ ม่ ดี เ หมื อ นกับ หน่ ว ยความจ าแบบ DRAM ธรรมดา ดัง นั้ น ทางออก ที่ ดี ที่ สุ ด คื อ การน าเอา หน่วยความจาแบบ DDR มาทาการปรับปรุ งใหม่ท้ งั หมด ซึ่ งจะเป็ นทางออกที่ง่ายที่สุด และยังใช้เวลาในการ ทาวิจยั ไม่นานมากนัก ทาให้มีหน่ วยความจาที่ มีป ระสิ ทธิ ภาพออกมาทันต่ อความต้องการใช้งานต่ อยุค ปัจจุบนั


ชนิดของ DDR 2

การพัฒนาของ DDR2 SDRAM จะเห็นได้วา่ หน่วยความจา DDR2 SDRAM ตามมาตรฐานนั้นจะมี ทั้งหมด 3 รุ่ นด้วยกันคือ DDR2-400, DDR2-533 และ DDR2-667 ซึ่ งต่างก็มีค่า Timing ที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะกับระดับการใช้งาน และถ้าเรานาไปเปรี ยบเทียบกับหน่ วยความจา DDR SDRAM ทัว่ ไปจะ เห็ นได้ชดั ว่าหน่ วยความจา DDR2 SDRAM นั้นจะมีคุณสมบัติหลายๆ ประการที่เหนื อกว่า DDR SDRAM ไม่ว่าจะเรื่ องของค่าแบนด์วิดธ์ , เรื่ องการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ DDR2 SDRAM นั้นจะใช้พลังงานไฟฟ้ าที่ต่า กว่า หรื อแม้กระทั้งขนาดความจุก็ตามที่ DDR2 SDRAM สามารถที่จะมีความจุได้มากกว่า DDR ได้มากกว่า อีกด้วย ถ้าต้องการซื้ อพีซีเครื่ องใหม่ ที่สามารถตอบสนองต่อการเล่นเกมความละเอียดสู ง และทางานด้าน กราฟิ กระดับไฮเอนด์ การเลือกระบบที่ใช้หน่วยความจา DDR2 นับเป็ นทางเลือกที่น่าสนใจมาก เทคโนโลยี ใหม่อย่าง DDR2 ไม่เพียงแต่จะช่วยให้คุณเรี ยกพลังการประมวลผลจากโพรเซสเซอร์ รุ่นใหม่ได้อย่างเต็มที่ แต่ยงั เป็ นแนวคิดที่ดีสาหรับการอัพเกรดหน่ วยความจาในอนาคตอีกด้วย ซึ่ งอีกไม่นานแล้วที่ DDR คงจะ ค่อยๆลดปริ มาณการใช้งานลง เพราะทางผูผ้ ลิตเมนบอร์ ดต่างกาลังปรับตัวเข้าหา DDR2 ซึ่งให้ประสิ ทธิภาพ ในการทางานที่ดีกว่านัน่ เอง สาหรับผูใ้ ช้ที่ตอ้ งการเปลี่ ยนระบบจาก DDR ไปใช้ DDR2 ยังคงตระหนักใน เรื่ องของราคาต่อประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งบอกได้เลยว่าราคาในตอนนี้ อยูใ่ นสัดส่ วนที่สูงกว่า DDR ไม่มากแล้ว และ มีแนวโน้มด้านราคาที่ดีข้ ึนเรื่ อยๆ เราจะเห็ นว่าหน่ วยความจา DDR นั้นลดราคาลงมาต่ ามากแล้ว แสดงให้ เห็นถึงการต้อนรับ DDR2 ที่กาลังก้าวเข้ามาสู่ ผใู ้ ช้นนั่ เอง หลายคนมองหาหน่วยความจาที่ทางานด้วยความ ความเร็ วสู ง และมีค่าแบนวิดท์ที่มากขึ้น ซึ่ งทางผูผ้ ลิ ตหน่ วยความจาเองก็เตรี ยมพร้ อมสาหรับจุดนี้ ไว้แล้ว หน่วยความจา DDR2 ความเร็ วสู งในระดับ 800MHz นั้นมีออกมาแล้ว แต่ตลาดเองนั้นยังตอบสนองการใช้ งานไม่ได้สมบูรณ์ แบบ เพราะไม่มีชิปเซ็ ตบนเมนบอร์ ดตัวใดที่รองรับได้นนั่ เอง ซึ่ งคงต้องรอกันสักระยะ หนึ่ง แต่นี่ก็เป็ นแนวโน้มที่ดีซ่ ึ งแสดงให้เห็นว่าผูผ้ ลิตหน่วยความจามีผลิตภัณฑ์ความเร็ วสู งเตรี ยมออกมาให้ เราใช้งานกันอย่างแน่นอน


ความหมายและการทางานของ DDR3 SDRAM

DDR3 SDRAM คื อมาตรฐานเมโมรี ยุค ใหม่สาหรั บ เครื่ องคอมพิ วเตอร์ ที่ ได้รับการพัฒนาอย่า ง ต่อเนื่ องจากมาตรฐาน DDR และ DDR2 เพื่อให้เมโมรี สามารถทางานร่ วมกับเมนบอร์ ดและซี พียูได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้นและความเร็ วที่เพิ่มขึ้น ไม่สะสมความร้ อนและใช้พลังงานต่ า ซึ่ งได้รับการรับรอง มาตรฐานอย่ า งเป็ นทางการจากองค์ ก ร JEDEC (Joint Electron Device Engineering Council) ผู ้ก าหนด มาตรฐานเทคโนโลยีชิ้นส่ วนอีเล็คทรอนนิคระดับโลก กล่าวคือ ในปี 2007 เทคโนโลยีหน่วยความจา DDR2 ได้พฒั นาถึ งขีดสุ ด และอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ เลื อก DDR3 เป็ นเทคโนโลยีหน่ วยความจาสาหรั บยุค ถัดไป เทคโนโลยีหน่วยความจา DDR3 พัฒนามาจากเทคโนโลยีหน่วยความจา DDR2 โดยเพิ่มสมรรถนะใน การทางานให้ดีข้ ึน ในส่ วนของคีย ์ เพื่อรองรับโปรเซสเซอร์ สี่แกน นอกจากนั้น Kingston ยังมีความเชื่อมโยง ในระดับวิศวกรรม กับบริ ษทั เทคโนโลยีต่างๆ อาทิเช่ น Intel Corporation รวมทั้งผูผ้ ลิ ต DRAM, ชิ ปเซ็ต , เมนบอร์ ด , และระบบชั้นนาระดับโลกอีกมากมาย พันธมิตรในอุตสาหกรรมนี้ เปิ ดตัวหน่ วยความจา และ แพลตฟอร์ ม DDR3 ในเดือนมิถุนายน 2007 คาดว่าจะมีผูผ้ ลิ ตระบบรองรั บหน่ วยความจา DDR3 เพิ่มเติ ม เนื่ องจากเทคโนโลยีจะเริ่ มลงในปี 2007 และ 2008 ความมุ่งมัน่ ของ Kingston ที่มีต่อกระบวนการ และการ เป็ นพันธมิ ตรด้า นเทคโนโลยีข อง JEDEC ช่ วยให้ Kingston เป็ นผูน้ ารายแรกในตลาด ด้วยเทคโนโลยี หน่ วยความจาใหม่ๆ อยู่เสมอ ดังนั้น Kingston และบริ ษทั ในเครื อ Advanced Validation Labs, Inc. (AVL) จึงเป็ นผูใ้ ห้บริ การตรวจรั บรองชิ ปหน่ วยความจา DDR3 และหน่ วยความจา ให้แก่อุตสาหกรรมนี้ และให้ บ ริ ก ารทดสอบที่ ผ่ า นการรั บ รองจาก Intel AVL เป็ นห้ อ งปฏิ บ ัติ ก ารตรวจรั บ รองเทคโนโลยี หน่วยความจาชั้นนา ในอุตสาหกรรมด้านนี้ โดยบริ การทดสอบนี้ ผา่ นการรับรองจากผูผ้ ลิตระบบและผูผ้ ลิ ต ชิปเซ็ตรายใหญ่ ประกอบด้วย Intel , SiS , VIA , NVIDIA , และ ATI


Intel

Pentium CPU ตัวแรกในตระกู ล P5 และเป็ นตัวแรกที่ Intel เริ่ ม ใช้ชื่ อที่ ไ ม่ ใ ช่ ตวั เลข เพื่ อการจด ลิขสิ ทธิ์ ชื่ อ CPU ของตน ไม่ให้เจ้าอื่นๆ มาพึ่งใบบุญ อ้างชื่ อรุ่ นของ CPU เลียนแบบได้ ซึ่ งเจ้า Pentium นี้ ก็ ปรากฏโฉมในราวเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 1993 Pentium นี้ ถ้าใช้ชื่อเป็ นตัวเลข จะใช้ชื่อ 80501 ( ไม่ใช่ 80586 แฮะ ) ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.80 ไมครอน รองรับระบบบัส 60 และ 66 MHz ใช้งานบน Socket 4 และใช้ไฟเลี้ยง ( Vcore ) 5.0 Volt แต่ต่อมาพบว่ามีปัญหาในเรื่ องของการประมวลผลเชิ งทศนิ ยม ทาให้ทาง Intel ได้ทาการแก้ไข Bug ดังกล่าว และออก CPU ตระกูลนี้ มาใหม่ คือ 80502 หรื อ P54 ซึ่ งใช้ไฟเลี้ยง 3.3 V และลดขนาดเทคโนโลยีการผลิ ตลงเหลื อ 0.50 และ 0.35 ไมครอน CPU รุ่ นนี้ ก็มีความเร็ วตั้งแต่ 75-200 MHz รองรับระบบบัส 50, 60 และ 66 MHz มี Cache ระดับ 1 ขนาด 16 K โดยแบ่งเป็ น Cache สาหรับข้อมูล ( Data Cache ) ขนาด 8 K และ Cache สาหรับชุ ดคาสั่ง ( Instruction Cache ) ขนาด 8 K ซึ่ งนับเป็ นครั้งแรก ที่มาการแบ่งส่ วนการทางานของ Cache ออกเป็ น 2 ส่ วนเช่นนี้ สาหรับ P54 นี้ เป็ นสถาปั ตยกรรมแบบ IA32 ซึ่งใช้งานบน Socket 5 ครับ โดยชุดคาสั่งต่างๆ นั้น ยังคงใช้ชุดคาสั่งหลักๆ เดิมๆ ซึ่ งมีมาตั้งแต่รุ่น i386 แล้ว ละครับ CPU รุ่ นนี้ ต่อมา หลายๆที่ ก็เรี ยกชื่อให้ใหม่วา่ Pentium Classic


วิวฒ ั นาการของ Intel

เป็ น บริ ษทั ผูผ้ ลิ ตซี พียูที่เก่าแก่ และมีการพัฒนา มาอย่างต่อเนื่ อง นับตั้งแต่ซีพียู 8086 , 8088 และ ซี พียูในตระกูล 80x86 เรื่ อยมา จนมาถึง Celeron , Pentium II และ III ซึ่ งได้รับความนิ ยมอย่างมากในสมัย นั้น ก่ อนที่ จะก้าวเข้าสู่ ยุค Celeron II, Pentium 4 และ Pentium 4 Extreme Edition ที่ได้รับการตอบรับจาก ผูใ้ ช้อย่างกว้างขวาง เรื่ อยมาจนมาถึงยุคของ Celeron D และ Pentium 4 ภายใต้รหัส Processor Number ใหม่ รวมไปถึ ง ซี พี ยู ใ นกลุ่ ม Dual และ Quad-Core อย่ า ง Pentium D , Pentium Dual-Core, Pentium Extreme Edition , Core Duo, Core 2 Duo, Core 2 Quad และ Core 2 Extreme ที่ถือได้วา่ เป็ นจุดเริ่ มต้นของยุคซี พียใู น แบบ Dual & Multi-Core บนเครื่ องซี พี ที่ ใ ช้ก ัน อยู่แพร่ หลายในปั จ จุ บ นั รวมทั้ง ซี พี ยูบ นโครงสร้ า งทาง สถาปั ตยกรรมแบบใหม่อย่าง Nehalem ที่จะมาพร้อมกันแบรนด์ใหม่ที่ชื่อว่า Core i7 เป็ นต้น รายชื่อของซีพียสู าหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์แบบ PC หรื อ Desktop แต่ละรุ่ นตัง่ แต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ของบริ ษทั อินเทล (Intel) มีดงั นี้ 

ตระกูล 80x86 เป็ นซี พียรู ุ่ นแรกๆ เช่น 80386,80486 ซึ่ งปั จจุบนั ไม่ใช้กนั แล้ว

Pentium เป็ นซี พียรู ุ่ นแรกที่เปลี่ยนไปใช้วธิ ี ต้ งั ชื่อเรี ยกว่า Pentium แทนตัวเลขแบบเดิม

Pentium MMX เป็ นซี พี ยูที่ ไ ด้มี ก ารนาเอาค าสั่ ง MMX (Multimedia extension) มาใช้เพื่ อเพิ่ ม ขี ด ความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย

Pentium Pro เป็ นซี พียูรุ่นแรกของตระกูล P6 ซี พียูรุ่นนี้ ใช้กบั ชิ ปเซ็ ตรุ่ น 440 FX และได้รับความ นิยมในเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์ เป็ นอย่างมากสมัยนั้น

Pentium II เป็ นการนาซี พียู Pentium Pro มาปรับปรุ งโดยเพิ่มชุ ดคาสั่ง MMX เข้าไป และเปลี่ยนไป ใช้บรรจุภณ ั ฤฑ์แบบตลับ ซึ่ งใช้เสี ยบลงใน Slot 1 โดย L2 Cache ขนาด 512 ME ที่มีความเร็ วเพียง


ครึ่ งเดียวของความเร็ วซีพียูCeleron เป็ นการนาเอา Pentium II มาลดองค์ประกอบ โดยยุคแรกได้ตดั L2 Cache ออกมาเพื่อให้มีราคาถูกลง 

Pentium III เป็ นซี พียทู ี่ใช้ชื่อรหัสว่า Katmai ซึ่ งถูกเพิ่มเติมชุดคาสั่ง SSE เข้าไป

Celeron II รุ่ นแรกเป็ นการนาเอา Pentium III ( Coppermine และ Tualatin) มาลด L2 Cache ลงเหลือ เพียง 128 KB และ 256 KB ตามลาดับจากนั้นรุ่ นถัดมาก็ได้นาเอาซี พียู Pentium 4 (Willamette และ Northwood) โดยยังคงใช้ชื่อเรี ยกอย่างเป็ นทางการว่า Celeron หรื อ Celeron II ซีพียู Celeron D และ Celeron Dual-Core Celeron รุ่ นล่ าสุ ดใช้ชื่อว่า Celeron D ที่ยงั คงเป็ นซี พียูราคาประหยัดสาหรับผุท้ ี่ ตอ้ งการ คอมพิวเตอร์ ใหม่ในราคาไม่ แพงเพื่อนไปใช้งานทัว่ ๆ ไปโดยรุ่ นต่าง ๆ ที่ออกมามีดงั นี้

Celeron D (Prescott-90mm) เป็ นการนาเอา Penrium 4 (Prescott-90mm) บนสถาปัตยกรรม NetBurst มาลดขนาด L2 Cache ลงจากเดิม 1MB ให้เหลือเพียง 256 KB ความเร็ วสู งสุ ดปั จจุบนั อยูท่ ี่ 3.33GHz ในรุ่ น 355 ทางานด้วย FSB 533 MHz ค่า TDP (ค่าพลังงานความร้อนที่ถูกปล่อยออกมาจากตัวซี พียู) สู งสุ ด 84 W สนับสนุ นชุ ดคาสั่งมัลติ มีเดี ย MMX/SSE/SSE2/SSE3 และตัดเอาเทคโนโลยี HyperThreading (HT) ใน Pentium 4 เดิมออก รหัส Processor Number ที่ใช้จะเป็ น 3xx มีท้ งั ที่ใช้บรรจะ ภัณฑ์แบบ LGA 775 และ Socket 478 ในบางรุ่ น (3x0) โดยมีท้ งั รุ่ นที่มีเทคโนโลยี XD-Bit และ Intel EM64T และรุ่ นเก่าที่มีเฉพาะ XD-Bit เท่านั้น และรุ่ นที่ไม่มี XD-Bit เลย

Celeron D (Cedar Mill-65 nm) เป็ นการน าเอา Pentium 4 (Cedar Mill-65 nm) บนสถาปั ต ยกรรม NetBurst มาลดขนาด L2 Cache ลงจากเดิ ม 2 MB ให้เ หลื อ เพี ย งพอ 512 KB ให้ร หัส Processor Number 3xx ความเร็ วสู งสุ ดในปั จจุบนั อยูท่ ี่ 3.6 GHz ในรุ่ น 365 ทางานด้วย FSB 533 MHz ค่า TDP สู งสุ ด 65 W ใช้บรรจุภณ ั ฑ์แบบ LGA 775 สนับสนุ นชุ ดคาสั่งมัลติ มีเดี ย MMX/SSE/SSE2/SSE3 รวมทั้งเทคโนโลยี Intel EM64T และ XD-Bit (Execute Disable Bit) ด้วย

Celeron D (Conroe-L/65 nm) เป็ น Celeron D รุ่ น แรกลนสถาปั ต ยกรรม Core Microarchitecture (เช่นเดียวกับ Core 2 Duo) ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 0.065 ไมครอน หรื อ 65 nm ใชรหัส Processor Number 4xx ความเร็ วสู งสุ ดอยู่ที่ 2.2 GHz ในรุ่ น 450 มี L2 Cache ขนาด 512 KB ทางานด้วย FSB 800 MHz ค่ า TDP สู งสุ ด 35 W ใช้ บ รรจุ ภ ัณ ฑ์ แ บบ LGA 775 สนั บ สนุ น ชุ ด ค าสั่ ง มัล ติ มี เ ดี ย MMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 รวมทั้งเทคโนโลยี Intel ERM64T และ XD-Bit ด้วย (ไม่สนับสนุน Hyper-Threading-HT และ Enhanced Intel SpeedStep Technology-EIST)


Celeron Dual-Core (Merom 2M-65 nm) ส าหรั บ Notebook เป็ น Celeron Dual-Core ส าหรั บ Notebook บนสถาปั ต ยกรรม Core Microarchitecture ผลิ ต ด้ว ยเทคโนโลยีข นาด 65 nm ใช้ร หัส Processor Number T1xxx ควาเร็ วสู งสุ ดในปั จจุบนั อยุท่ ี่ 1.86 GHz ในรุ่ น T1500 มี L2 Cache ขนาด 512 KB (แต่ละคอร์ ใช้งานร่ วมกัน) ทางานด้วย FSB 533 MHz ค่า TDP สู งสุ ด 35 W ใช้กบั Socket M สนับสนุ นชุ ดคาสั่งมัลติ มีเดี ย MMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 รวมทั้งเทคโนโลยี Intel EM64T และ XD-Bit แต่ไม่สนับสนุน EIST และ Hyper-Threading

ซี พี ยู Pentium 4 Extreme Edition Pentium 4 Extreme Edition (Gallatin-130 nm) มี ค วามเร็ ว 3.4 GHz มี L2 Cache ขนาด 512 KBค่ า TDP สู งสุ ด 110 WPentium 4 Extreme Edition (Prescott 2 M90 nm ) มีความเร็ ว 3.73 GHz ทางานด้วย FSB 1066 MHz ค่า TDP สู งสุ ด 115W

ซี พียู Pentium D นับเป็ นก้าวแรกสู่ ยุค Dual& Muti-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกมา เพื่อ การทางานที่ตอ้ งการ Multitasking สู งๆ หรื อสามารถทางานกับแอพพลิเคชัน่ ได้หลายตัวพร้ อมกัน อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ได้แก่- Pentium D ( Smithfield-90nm)- Pentium D (Presler-65 nm)

ซี พียู Pentium Dual-Core Pentium Dual-Core (Allendale-65 nm) มีความเร็ วสู งสุ ดปั จจุบนั อยูท่ ี่ 2.4 GHz ในรุ่ น E2220 ทางานด้วย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 1 MB ค่า TDP สู งสุ ด 65 WPentium Dual-Core (Wolfdale 2M-45 nm) มีความเร็ วสู งสุ ดปั จจุบนั อยูท่ ี่ 2.5 GHz ในรุ่ น E2220 ทางานด้วย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 2 MB ค่า TDP สู งสุ ด 65 WPentium Dual-Core (Yonah-65 nm) สาหรับ Note book มีความเร็ วสู งสุ ด 1.86 GHz ในรุ่ น T2130 ทางานด้วย FSB 533 MHz มี L2 Cache ขนาด 1 MB ค่ า TDP สู ง สุ ด 31 WPentium Dual-Core (Morom 2M-65 nm) ส าหรั บ Note book มี ความเร็ วสู ง สุ ด 2.0 GHz ในรุ่ น T24100 ท างานด้วย FSB 533 MHz มี L2 Cache ขนาด 1 MB ค่ า TDP สู งสุ ด 35 W

ซี พียู Pentium Extreme Edition เป็ น Dual-Core ภายใต้แบรนด์ Pentium ในตระกูล Extreme Edition ที่ถูกออกแบบมาสาหรับคอมพิวเตอร์ ระดับ Hi- End สมรรถนะสู ง เหมาะกับการสร้ างสรรค์สื่อ บันเทิงต่างๆอย่างเต็มรู ปแบบ ทั้งการประมวลผลภาพวิดีโอ และระบบเสี ยงแบบ High Definition ทั้งงานด้านการออกแบบและเกมส์ ต่าง ๆ ได้แก่ - Pentium Extreme Edition (Smithfield-90 nm )Pentium Extreme Edition (Presler-65 nm )

ซี พียู Core 2 Duo Core 2 Duo (Allendale-65 nm) มีความเร็ วสู งสุ ด 2.6 GHz ในรุ่ น E4700 ทางาน ด้วย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 2 MB ค่า TDP สู งสุ ด 65 WCore 2 Duo (Conroe-65 nm) มี ความเร็ วสู งสุ ด 3.0 GHz ในรุ่ น E6850 ทางานด้วย FSB 1066 และ 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 4 MB ค่ า TDP สู งสุ ด 65 WCore 2 Duo (Wolfdale 3M-45 nm) มี ค วามเร็ วสู งสุ ด 2.8 GHz ในรุ่ น E7400 ท างานด้ ว ย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 3 MB ค่ า TDP สู งสุ ด 65 WCore 2 Duo


(Wolfdale -45 nm) มีความเร็ วสู งสุ ด 3.3 GHz ในรุ่ น E8600 ทางานด้วย FSB 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB ค่า TDP สู งสุ ด 65 W 

ซี พียู Core 2 Extreme (Dual-Core) Core 2 Extreme (Conroe XE-65 nm ) มีความเร็ วสู งสุ ด 2.93GHz ในรุ่ น X6800 ทางานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 4 MB ค่า TDP สู งสุ ด 75 W

ซี พี ยู Core 2 Quad Core 2 Quad (Kentsfield-65 nm ) มี ค วามเร็ ว สู ง สุ ด 2.66 GHz ในรุ่ น Q6700 ทางานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สู งสุ ด 95 WCore 2 Quad (Yorkfield 4M-45 nm ) มีความเร็ วสู งสุ ด 2.33 GHz ในรุ่ น LGA775 ทางานด้วย FSB 1033 MHz มี L2 Cache ขนาด 4 MB ค่า TDP สู งสุ ด 95 WCore 2 Quad (Yorkfield 6 M-45 nm ) มีความเร็ วสู งสุ ด 2.5 GHz ในรุ่ น Q9400 ท างานด้วย FSB 1033 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB ค่ า TDP สู งสุ ด 95 WCore 2 Quad (Yorkfield -45 nm ) มีความเร็ วสู งสุ ด 3.0 GHz ในรุ่ น Q9650 ทางานด้วย FSB 1033 MHz มี L2 Cache ขนาด 12 MB ค่า TDP สู งสุ ด 95 W

ซี พียู Core 2 Extreme (Quad-Core) Core 2 Extreme (Conroe XE-65 nm) มีความเร็ วสู งสุ ด 3.0 GHz ในรุ่ น QX6850 ทางานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สู งสุ ด

งานด้วย FSB 1600MHz มี L2 Cache ขนาด 12 MB ค่า TDP สู งสุ ด 150 W

ซี พียู Core i7 เป็ นซี พียูภายใต้แบรนด์ใหม่ในชื่ อ Core i7 ที่ใช้รหัสการผลิ ตว่า Nehalem หรื ออาจ กล่ าวได้ว่าเป็ นโครงสร้ างทางสถาปั ตยกรรมแบบใหม่ด้วยโครงสร้ างทั้งภาย ในและภายนอกที่ ได้รับการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงไปมาก เช่น การย้ายเอาส่ วนควบคุมหน่วยความจา เป็ นต้น

ซี พี ยู Core i7 Extreme Core i7 Extreme (Bloomfield-45 nm) มี ค วามเร็ วสู งสุ ด 3.2 GHz ในรุ่ น LGA1366ท า ง า น ด้ ว ย FSB 800/1066/1333/1600MHz มี L2 Cache ข น า ด 8 MB ค่ า TDP สู งสุ ด 130 W


Processor Information Intel Processors

Produced

Manufacturer

Max. CPU Clock rate

From late 1971 to 1981

Intel

740 kHz

From 1974 to 1981

Intel

500 kHz to 740 kHz

From mid 1972 to 1983

Intel

0.5 MHz to 0.8 MHz

mid 1974

Intel

2 MHz

From 1977 to 1990s

Intel

3, 5 and 6 MHz

4004

4040

8008

8080

8085


8086

8088

Intel, AMD, NEC, Fujitsu,Harris From 1978 to 1990s (Intersil),OKI, Siemens AG,Taxes Istruments, Mitsubishi

5 MHz to 10 MHz

Intel, AMD, NEC, Fujitsu,Harris From 1979 to 1990s (Intersil),OKI, Siemens AG,Taxes Istruments, Mitsubishi

5 MHz to 10 MHz

80186

From 1982 to 2007 (Intel versions)

Intel, AMD, Fujitsu,Harris (Intersil),OKI, Siemens AG,

6 MHz to 25 MHz

From 1980 to 1982

Intel

8 MHz to 10 MHz

80188


80286

From 1982 to early 1990s

Intel, AMD, 6 MHz (4 MHz Fujitsu,Harris for a short time) (Intersil),OKI, to 25 MHz Siemens AG, IBM

80386

From 1985 to September 2007

Intel, AMD ,IBM

12 MHz to 40 MHz

80486 Intel, AMD, UMC, SGS ,Harris 16 MHz to From 1989 to 2007 Semiconductor,,Taxes 100 MHz Istruments, Thomson

Pentium Pro

November 1, 1995

Intel

150 MHz to 200 MHz


Pentium II

From mid 1997 to early 1999

Intel

233 MHz to 450 MHz

From early 1999 to 2003

Intel

400 MHz to 1.4 GHz

From 2000 to 2008

Intel

1.4 GHz to 3.1 GHz

Pentium III

Pentium 4


Intel Core Core 2 Duo

Jan 2006

Intel

2006

Intel

1.06 GHz to 3.33 GHz

From 2006 to 2009

Intel

1.3 GHz to 2.6 GHz

Aug 2008

Intel

Dual Core

Core 2 Quad


Core i3

January 7, 2010

Intel

introduced on September 8, 2009

Intel

March 16, 2010

Intel

Core i5

Core i7 2.80 GHz to 3.6 GHz

Core 2 Duo คือ อะไร

โปรเซสเซอร์ Intel® Core™2 Duo ผลิ ต ขึ้ น ภายใต้ส ถาปั ต ยกรรมย่ อ ส่ ว น Intel® Core™ ทรง ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดด้วยชุดประมวลผลสองชุด และระบบการใช้พลังงานที่คุม้ ค่าอย่างที่สุดของโปรเซสเซอร์


โปรเซสเซอร์ ตวั ใหม่น้ ี ออกแบบมาเพื่อรองรับงานที่มากกว่าเดิมในเวลาที่นอ้ ยลง โดยใช้เทคโนโลยี Intel® Wide Dynamic Execution, Intel® Smart Memory Access, Intel® Advanced Smart Cache และ Intel® Digital Media Boost โปรเซสเซอร์ Intel Core 2 Duo ยังสามารถรองรับคุ ณสมบัติต่าง ๆ ด้านระบบความปลอดภัย ระบบประมวลผลเสมือนจริ ง และระบบประมวลผล 64 บิต นับเป็ นโปรเซสเซอร์ ตวั ใหม่ที่โดดเด่นเหมาะ สาหรับงานมัลติมีเดียและสื่ อ ข้อมูลที่มีความละเอียดสู งได้ คุณลักษณะและคุณประโยชน์ ของ Intel® Core™2 Duo Desktop Processor Intel® Core™2 Duo Intel® Core™2 Duo Intel® Core™2 Duo Intel® Core™2 Duo Processor E6700 Processor E6600 Processor E6400 Processor E6300 หมายเลข โปรเซสเซอร์

E6700

E6600

E6400

E6300

สถาปัตยกรรม

เทคโนโลยี 65 นาโน เทคโนโลยี 65 นาโน เทคโนโลยี 65 นาโน เทคโนโลยี 65 นาโน เมตร เมตร เมตร เมตร

L2 Cache

4M

4M

2M

2M

L3 Cache

ไม่ระบุ

ไม่ระบุ

ไม่ระบุ

ไม่ระบุ

ความเร็วสั ญญาณ 2.66 GHz นาฬิ กา

2.40 GHz

2.13 GHz

1.86 GHz

1066 MHz

1066 MHz

1066 MHz

1066 MHz

เทคโนโลยีอื่นๆ ของ Intel

Intel® EM64T¹, VT, Execute Disable Bit², dual-core, EIST

Intel® EM64T¹, VT, Execute Disable Bit², dual-core, EIST

Intel® EM64T¹, VT, Execute Disable Bit², dual-core, EIST

Intel® EM64T¹, VT, Execute Disable Bit², dual-core, EIST

แพกเกจ

FC-LGA

FC-LGA

FC-LGA

FC-LGA

ชิปเซ็ต

Intel® 975X Express Chipset, Intel® P965 Express Chipset,

Intel® 975X Express Chipset, Intel® P965 Express Chipset,

Intel® 975X Express Chipset, Intel® P965 Express Chipset,

Intel® 975X Express Chipset, Intel® P965 Express Chipset,

ความเร็ว Front Side Bus


ประเภท หน่ วยความจา

บอร์ ด

Intel® 946PL Express Chipset, Intel® 946GZ Express Chipset, Intel® Q965 Express chipset, Intel® Q963 Express chipset, Intel® G965 Express chipset

Intel® 946PL Express Chipset, Intel® 946GZ Express Chipset, Intel® Q965 Express chipset, Intel® Q963 Express chipset, Intel® G965 Express chipset

Intel® 946PL Express Chipset, Intel® 946GZ Express Chipset, Intel® Q965 Express chipset, Intel® Q963 Express chipset, Intel® G965 Express chipset

Intel® 946PL Express Chipset, Intel® 946GZ Express Chipset, Intel® Q965 Express chipset, Intel® Q963 Express chipset, Intel® G965 Express chipset

ไม่ระบุ

ไม่ระบุ

ไม่ระบุ

ไม่ระบุ

Intel® Desktop Board DG965WH, Intel® Desktop Board DG965PZ, Intel® Desktop Board DG965SS, Intel® Desktop Board DG965RY, Intel® Desktop Board DG965OT, Intel® Desktop Board DG965MQ, Intel® Desktop Board DG965MS, Intel® Desktop Board DQ963FX, Intel® Desktop Board DQ965WC, Intel® Desktop Board

Intel® Desktop Board DG965WH, Intel® Desktop Board DG965PZ, Intel® Desktop Board DG965SS, Intel® Desktop Board DG965RY, Intel® Desktop Board DG965OT, Intel® Desktop Board DG965MQ, Intel® Desktop Board DG965MS, Intel® Desktop Board DQ963FX, Intel® Desktop Board DQ965WC, Intel® Desktop Board

Intel® Desktop Board DG965WH, Intel® Desktop Board DG965PZ, Intel® Desktop Board DG965SS, Intel® Desktop Board DG965RY, Intel® Desktop Board DG965OT, Intel® Desktop Board DG965MQ, Intel® Desktop Board DG965MS, Intel® Desktop Board DQ963FX, Intel® Desktop Board DQ965WC, Intel® Desktop Board

Intel® Desktop Board DG965WH, Intel® Desktop Board DG965PZ, Intel® Desktop Board DG965SS, Intel® Desktop Board DG965RY, Intel® Desktop Board DG965OT, Intel® Desktop Board DG965MQ, Intel® Desktop Board DG965MS, Intel® Desktop Board DQ963FX, Intel® Desktop Board DQ965WC, Intel® Desktop Board


DQ965CO, Intel® Desktop Board DQ965GF, Intel® Desktop Board DP965LT, Intel® Desktop Board D946GZIS

DQ965CO, Intel® Desktop Board DQ965GF, Intel® Desktop Board DP965LT, Intel® Desktop Board D946GZIS

DQ965CO, Intel® Desktop Board DQ965GF, Intel® Desktop Board DP965LT, Intel® Desktop Board D946GZIS

DQ965CO, Intel® Desktop Board DQ965GF, Intel® Desktop Board DP965LT, Intel® Desktop Board D946GZIS

ประเภทสล็อต/ซ็ LGA775 อกเก็ต

LGA775

LGA775

LGA775

รู ปแบบขา

775-land

775-land

775-land

775-land

หมายเลข sSpec

SL9S7

SL9S8

SL9S9

SL9SA

ข้ อมูลจาเพาะโปรเซสเซอร์ Intel® Core™2 Duo

ให้ เปรียบเทียบคุณสมบัติเฉพาะของ CPU ต่ อไปนี้ 1. CPU แบบ Quard 1. CPU แบบ Quad Core ตอบ quad core เป็ นคาที่ใช้เรี ยกรวมทั้งบอกสถานะของโปรเซสเซอร์ น้ นั ๆ ว่าเป็ นหน่วยประมวลผล ที่มี 4 แกน (คอร์ ) ซึ่ งจะเป็ นยี่ห้อไหนก็ได้ เช่ น amd phenom ll x4 หรื อ intel core 2 Quad นั่นเอง รวมทั้ง core i7 ของอินเทลก็คือ Quad core processer เหมือนกัน เพราะถึงจะมี 8 เธรดแต่มีแกนประมวลผลหลักแค่ 4 แกน และตามหลักความเข้าใจเดียวกัน 2.CPU แบบ Core 2 duo สาหรับท่านที่กาลังสับสนกับรหัสของซี พียขู องโน้ตบุก๊ หรื อท่านกาลังจะเลือกซื้ อโน้ตบุก๊ สักตัว แต่ ไม่ทราบว่าโน้ตบุก๊ ที่คุณสนใจจะแรงสักเท่าใด เราได้เตรี ยมข้อมูลเกี่ยวกับซี พียเู พื่อให้คุณเลือกซื้ อโน้ตบุ๊กได้ ถูกคอ ถูกใจครับ


Single Core

ซี พี ยู Single Core ก็ คื อ ซี พี ยูธ รรมดาทัว่ ไปที่ ชิ พ 1 ตัวมี 1สมอง โดยซี พี ยูแบบนี้ จะติ ดตั้ง อยู่ใ น โน้ตบุ๊กระดับเริ่ มต้น และติดตั้งในโน้ตบุ๊กขนาดจิ๋ว โดยซี พียูแบบนี้ มีจุดเด่นด้านราคาที่ค่อนข้างถูก และกิน ไฟน้อย

Celeron M เป็ นซี พียูที่ถูกลดทอนประสิ ทธิ ภาพลงจาก Pentium M ซึ่ งมักติ ดตั้งอยู่ในโน้ตบุ๊ก ราคาถู กที่สุดของแต่ละยี่ห้อ เจ้า Celeron M เหมาะกับงานเบาๆ เช่ น ดู หนังฟั งเพลงเล่น Net, ใช้โปรแกรม Office, เกม On-Line เล็กๆ ซี พียกู ลุ่ม Celeron M จะมีรหัส 3xx (ไม่ได้แสดงในตาราง)

Sempron ซี พียูแบบ Low-Cost จาก AMD บริ ษทั เพื่อนรักจังเลยของ Intel ซึ่ งผลิตออกมากัดกับ Celeron M โดยซี พียูตระกูลนี้ มีความหลากหลายสู งมาก (ไม่ลงข้อมู ลในตารางสเปก) โดยความเร็ วของ Sempron จะอยูร่ ะหว่าง Celeron M กับ Pentium M ทั้งนี้ก็ข้ ึนอยูก่ บั ความเร็ วของซี พียูดว้ ย ซี พียู Sempron จะ แสดงค่าความเร็ วโดยประมาณอย่างชัดเจน เช่น Sempron 3200+ เป็ นต้น

Pentium M เป็ นซี พียูสาหรับโน้ตบุ๊กที่ประสบความสาเร็ จอย่างมากในด้านประสิ ทธิ ภาพ และ การประหยัดพลังงาน Pentium M มีความสามารถเพียงพอสาหรับการทางานทัว่ ไป เช่น ดูหนังฟั งเพลงเล่น Net, โปรแกรม Office โดยซี พียกู ลุ่ม Pentium M จะเป็ นรหัส 7xx


urion 64 เป็ นซีพียู Athlon 64 ของเครื่ อง PC ย่อส่ วนมาติดตั้งในโน้ตบุก๊ และแน่นอนซี พียกู ลุ่มนี้ ทุกตัวเป็ นซีพียู 64 บิต ทั้งหมด ความสามารถของ Turion จะอยูใ่ นระดับ Pentium M แต่กินไฟฟ้ามากกว่านิด หน่อย โดยซี พียู Turion 64 จะเริ่ มมีรหัสมาให้เรางง อย่างเช่น Turion 64 MT-32 โดยตัว M หมายถึง Single Core ส่ วนตัว T หมายถึ ง ซี พียูเป็ นรุ่ นที่คายความร้ อนสู งสุ ด 25 วัตต์ ส่ วนตัว L จะคายความร้อนสู งสุ ด 35 วัตต์ โดยซี พียทู ี่คายความร้อนมากจะมีแนวโน้มว่าจะกินไฟมากครับ อ้อมียกเว้น 1 ตัว คือ Turion 64 MK-36 ซึ่งจะคายความร้อนประมาณ 30 วัตต์ มีฟังก์ชนั่ AMD-V* ติดมาด้วย AMD Turion 64 รหัส ความเร็ว ขนาด L2 Cache ความเร็ว FSB หมายเหตุ ML-28 1.60 GHz

512 KB

800 MHz

ML-30 1.60 GHz

1 MB

800 MHz

ML-32 1.80 GHz

512 KB

800 MHz

ML-34 1.80 GHz

1 MB

800 MHz

ML-37 2.00 GHz

1 MB

800 MHz

ML-40 2.20 GHz

1 MB

800 MHz

ML-42 2.40 GHz

512 KB

800 MHz

ML-44 2.40 GHz

1 MB

800 MHz

MT-28 1.60 GHz

512 KB

800 MHz

MT-32 1.60 GHz

1 MB

800 MHz

MT-32 1.80 GHz

512 KB

800 MHz

MT-34 1.80 GHz

1 MB

800 MHz

MT-37 2.00 GHz

1 MB

800 MHz

MT-40 2.20 GHz

1 MB

800 MHz

MK-36 2.00 GHz

512 KB

800 MHz

AMD VT*


Core Solo ซีพียทู ี่พฒั นาเพื่อทดแทน Celeron M และ Pentium M จริ งๆ แล้ว Core Solo คือ Core Duo ที่มี 1 Core ถูกปิ ดการทางานไป (Core ที่ปิดการทางานมักเป็ น Core ที่ไม่ผา่ น QC) ซีพียู Core Solo จะมี ความสามารถเหนื อกว่า Pentium M ที่ความถี่เดียวกันเล็กน้อย ซี พียูกลุ่มนี้ จะนาหน้าด้วยตัว T1xxx ปั จจุบนั โน้ตบุค๊ ที่ติดตั้งชิพรุ่ นนี้มีเพียงโน้ตบุค๊ จิ๋ว ที่ใช้ชิพรุ่ นแรงดันไฟต่าเสี ยส่ วนใหญ่ Intel Core Solo รหัส ความเร็ว ขนาด L2 Cache ความเร็ว FSB หมายเหตุ T1200 1.50 GHz

2 MB

667 MHz

No IVT.*

T1300 1.66 GHz

2 MB

667 MHz

No IVT.*

T1350 1.86 GHz

2 MB

533 MHz

No IVT.*

T1400 1.83 GHz

2 MB

667 MHz

No IVT.*

U1300 1.06 GHz

2 MB

667 MHz

No IVT.*

U1400 1.20 GHz

2 MB

667 MHz

No IVT.*

Dual Core

สองหัวดี กว่าหัวเดี ยว คือ คอนเซปต์ของซี พียู Dual Core ซี พียูแบบนี้ จึงเหมื อนกับยัดซี พียู Single Core 2 ตัว มันอัดรวมกัน แล้วให้ช่วยกันทางาน ดังนั้นซี พียูแบบ Dual Core จะทางานเร็ วกว่า Single Core แทบทุกกรณี วันนี้โน้ตบุก๊ มากกว่า 80% ในท้องตลาดได้ติดตั้งซี พียู Dual Core ไว้แล้ว


Pentium Dual Core เป็ นซี พี ยู Dual Core รุ่ นประหยัด โดยตัวมันมี L2 Cache เพี ย ง 1 MB ซิ ป Pentium Dual Core พบได้ในโน้ตบุ๊คหน้าจอขนาด 13.3 – 15 นิ้ วรุ่ นราคาประหยัด ซึ่ งคาดว่า Intel เข็นออกมาเพื่ออุดช่ องว่างระหว่างชิ พ Single Core และ Dual Core ส่ วนประสิ ทธิ ภาพของชิ พตัวนี้ แน่ นอน ว่าเป็ นรองชิ พ Core Duo แต่ก็มีความเร็ วเพียงพอสาหรับการใช้งานกับโปรแกรมทัว่ ไป จนถึ งงานกราฟิ ก และตัดต่อวิดีโอเบาๆ ชิป Pentium Dual Core จะมีรหัสดังนี้ Intel Pentium Dual Core รหัส ความเร็ว ขนาด L2 Cache ความเร็ว FSB หมายเหตุ T2060 1.60 GHz

1 MB

533 MHz

No IVT.*

T2080 1.73 GHz

1 MB

533 MHz

No IVT.*

T2130 1.83 GHz

1 MB

533 MHz

No IVT.*

Core Duo เป็ นซี พี ยู Dual Core รุ่ น แรกของโน้ต บุ๊ ก โดยซี พี ยู ก ลุ่ ม นี้ สามารถใช้ง าน โปรแกรมในปั จจุบนั ได้ท้ งั หมด (ถ้าเป็ นเกม 3D ต้องจับคู่กบั การ์ ดจอ 3D อย่าง Geforce หรื อ Radeon ด้วย) รหัสของมันจะนาหน้าด้วย T2xxx, L2xxx หรื อ U2xxx ซึ่ งแตกต่างกันตามอัตราการใช้พลังงานเรี ยงจากมาก ไปหาน้อย Intel Core Duo รหัส

ความเร็ว

ขนาด L2 Cache ความเร็ว FSB

T2050

1.60 GHz

2 MB

533 MHz

No IVT.*

T2250

1.73 GHz

2 MB

533 MHz

No IVT.*

T2300

1.66 GHz

2 MB

667 MHz

T2300E 1.66 GHz

2 MB

667 MHz No IVT.*

T2400

1.83 GHz

2 MB

667 MHz

T2500

2.00 GHz

2 MB

667 MHz

T2600

2.16 GHz

2 MB

667 MHz

T2700

2.33 GHz

2 MB

667 MHz

L2300

1.50 GHz

2 MB

667 MHz

L2400

1.66 GHz

2 MB

667 MHz

L2500

1.83 GHz

2 MB

667 MHz

U2400 1.06 GHz

2 MB

533 MHz

U2500 1.20 GHz

2 MB

533 MHz

หมายเหตุ


Core 2 Duo ซี พียซู ี รียใ์ หม่จาก Intel ซึ่ งเพิ่มความสามารถในการ Run โปรแกรม 64 Bit ได้ โดยตัวมันทางานเร็ วกว่าซี พียกู ลุ่ม Core Duo รุ่ นแรกเล็กน้อย รหัสของซี พียู Core 2 Duo จะนาหน้าด้วย T5xxx และ T7xxx ซึ่ งแตกต่างกันที่ T5xxx จะมี L2 Cache 2 MB ส่ วน T7xxx จะมี L2 Cache อยู่ 4 MB และ ชิป Core 2 Duo ยังมีรุ่นกินไฟน้อย L7xxx (Low Voltage) กับรุ่ นกินไฟน้อยพิเศษ U7xxxx (Ultra Low Voltage) สาหรับโน้ตบุค๊ จิ๋วด้วย Intel Core 2 Duo รหัส

ความเร็ว

ขนาด L2 Cache ความเร็ว FSB

หมายเหตุ

T5200

1.60 GHz

2 MB

533 MHz

T5500

1.66 GHz

2 MB

667 MHz No IVT.*

T5600

1.83 GHz

2 MB

667 MHz

T7200

2.00 GHz

4 MB

667 MHz

T7400

2.16 GHz

4 MB

667 MHz

T7600

2.33 GHz

4 MB

667 MHz

L7200

1.33 GHz

4 MB

667 MHz

L7400

1.50 GHz

4 MB

667 MHz

U7500 1.06 GHz

2 MB

533 MHz

U27600 1.20 GHz

2 MB

533 MHz

No IVT.*

ช่วงเดือนพ.ค. ที่ผา่ นมาก Intel ได้ปล่อยซี พียรู ุ่ นใหม่ตามมาตรฐาน Santa Rosa โดยชิพที่ออกมาทุก ตัวจะมีความเร็ ว FSB เพิ่มขึ้นเป็ น 800 MHz (จาก 667 MHz) โดยชิ ปรุ่ นใหม่ทางานเร็ วกว่า Core2Duo รุ่ น เดิมเล็กน้อย สาหรับรหัสชิพมาตรฐาน Santa Rosa จะเป็ น T7xxx โดยเลขหลักร้อยจะเป็ นเลขคี่ Intel Core 2 Duo (Santa Rosa Platform) รหัส

ความเร็ว

ขนาด L2 Cache ความเร็ว FSB หมายเหตุ

T7100 1.80 GHz

2 MB

800 MHz

T7300 2.00 GHz

4 MB

800 MHz

T7500 2.20 GHz

4 MB

800 MHz

T7700 2.40 GHz

4 MB

800 MHz

L7300 1.40 GHz

4 MB

800 MHz

L7500 1.60 GHz

4 MB

800 MHz

Turion 64 X2 แค่ชื่อก็พอจะทราบนะครับ ว่ามันคือ Turion 64 มาคูณ 2 หรื อเอา Turion 64 2 ตัวมารวมกัน ตัวลู กเล่นและฟั งก์ชนั่ ก็คล้ายๆ กับ Athlon 64 X2 ของเครื่ อง Desktop ดั้งนั้น Athlon 64 X2 จึงรองรับโปรแกรม 64 Bit เหมือนกัน ส่ วนประสิ ทธิ ภาพจะอยู่ในระดับใกล้เคียงกับ Core Duo แต่จะ


เสี ยเปรี ยบเรื่ องการประหยัดพลังงานเล็กน้อย ส่ วนรหัสของมันจะเป็ นรู ปแบบ TL แล้วตามด้วยเลข 2 หลัก อย่างเช่น TL 50 เป็ นต้น AMD Turion 64 X2 รหัส

ความเร็ว

ขนาด L2 Cache ความเร็ว FSB หมายเหตุ

TL-50 1.60 GHz

512 KB

800 MHz

TL-52 1.60 GHz

1 MB

800 MHz

TL-56 1.80 GHz

1 MB

800 MHz

TL-60 2.00 GHz

1 MB

800 MHz

TL-64 2.20 GHz

1 MB

800 MHz

สรุ ป 3xx : ซีพียู Celeron M 7xx : ซีพียู Pentium M T1xxx : CPU Core Solo T2xxx : CPU Core Duo T5xxx : CPU Core 2 Duo ที่มี L2 Cache ขนาด 2 MB T7xxx : CPU Core 2 Duo ที่มี L2 Cache ขนาด 4 MB ยกเว้น T7100 ที่มี L2 Cache 2 MB ถ้าเลขหลักร้อยเป็ นเลขคู่ เป็ นชิพ Core 2 Duo รุ่ นแรก FSB 667 MHz ถ้าเลขหลักร้อยเป็ นเลขคี่ เป็ นชิพตามมาตรฐาน “Santa Rosa” FSB 800 MHz Lxxxx : Low Voltage CPU มักพบในโน้ตบุก๊ ขนาดเล็ก หรื อ Tablet PC Uxxxx : Ultra Low Voltage CPU มักพบในโน้ตบุก๊ ขนาดเล็กพิเศษ ML-XX : Turion 64 MT-XX : Turion 64 รุ่ นกินไฟน้อย TL-XX : Turion 64 X2

CPU แบบ Core i3 ในส่ วนของ CPU Core i3 นัน่ จะ Support OS ที่เป็ น X64 ทุกตัวครับ เพื่อให้เราสามารถลง OS ที่เป็ น 64 bit ได้โดย CPU Core i3 นั่ น จะมีั ทั้งหมด 4Threads กับ 2 Core และในเรื่ องของRAMหรื อที่ เราเรี ยกว่า หน่ วยความจานั่นเอง ก็จะใช้ DDR3 bus 1333 MHz และมี 2 Channel และยังมี Intel Smart Cache ซึ่ งเป็ น Cache ระหว่า ง Processor กับ Ram ซึ่ ง เป็ นหลัก การการท างานของอุ ปกรณ์ ที่ มี Cache เข้า มาช่ วยในการ จัดการเพื่อให้มีประสิ ทธิ ภาพของในของ Core ของ CPU เพื่อให้เข้า Access ข้อมูลจาก Cache ที่รวดเร็ ว ทา ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพมาก


สาหรับ Intel Virtualization Technology นัน่ เป็ นการจาลอง Virtual ใน OS ของเราอีกที(เช่น เราลง Windows 7 จากนั้นเราก็สามารถสร้าง Virtual XP , Other OS ลงได้อีกที โดยไฟล์จะเป็ น Image โดยอาจจะ ใช้โปรแกรม Virtual PC) และเป็ นการบอกกล่​่ ้าวว่า CPU ตัว Core i3 นี้ สามารถ Support การทางานดังกล่าว ได้ โดยในที่ สุ ด การท า VT นั่น ทางด้า นHardware ต้อ งท าการ Support ได้ด้ว ย โดยเราสามารถไปเปิ ด Functions ดังกล่าวได้​้ใน BIOS เพื่อทาการใช้งาน มองในแง่ ข องการประหยัด ไฟนั้น CPU Core i3 ของ PC จะกิ น ไฟมากกว่า CPU Core i3 ของ Notebook ครับ แต่ประสิ ทธิ ภาพของ Core i3 PC ก็จะมากกว่้าครับ ^ ^ ในส่ วนนี้ อย่าเอามาเปรี ยบเทียบกัน เลยครับ บางคนชอบใช้ PC บางคนชอบใช้ Notebook นานาจิตตังครับผมว่า แต่ผมใช้ Notebook และ PC เลย แล้วคาถามที่วา่ CPU Core i3 นี้เหมาะสมกับกลุ่มคนประเภทไหน ?? ผมตอบให้เลยนะครับ สาหรับ CPU Core i3 นี้ เหมาะสมกับการทางานทัว่ ๆไปครับ เช่ นทา Word ,Excell , ดูหนัง,ฟังเพลง,งาน illus , PS ทัว่ ๆไป แค่น้ ีก็กินขาดแล้วครับ เพราะในตลาดปั จจุบนั ราคาของ Core i3 ก็ไม่ได้แพงเหมือนแต่ก่อนแล้วนะครับ คุม้ แล้วครับกับการจ่ายเงินไปกับ Cpu Core i3 ตัวนี้

CPU แบบ Core i5 ประสิ ท ธิ ภ าพเหลื อ เชื่ อ และสุ ด ยอดการแสดงผลภาพพร้ อ มขุ ม พลัง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น สู ง สุ ด ยกระดับ ประสบการณ์ ดา้ นพีซีของคุ ณด้วยภาพสดใสคมชัด และการเร่ งความเร็ วอัตโนมัติในเวลาที่ คุณต้องการ1 หน่ วยประมวลผลกลาง Intel® Core™ i5 เจนเนอเรชั่น 4 ให้ประสิ ทธิ ภาพที่เหลื อเชื่ อ และระบบความ ปลอดภัยในตัวเพื่อการปกป้ องที่ล้ าลึกยิง่ กว่า2 พบกับความน่าตื่นตาตื่นใจของการเพิ่มความเร็ วให้อตั โนมัติเมื่อคุณต้องการ ด้วยเทคโนโลยี Intel® Turbo Boost 2.0 1 สัมผัสภาพยนตร์ ภาพถ่ายและเกมอย่างราบรื่ นไม่มีสะดุดด้วยชุดประสิ ทธิ ภาพกราฟิ กใน ตัวอันทรงพลัง3—และเพลิดเพลินได้เต็มที่ดว้ ยอายุการใช้งานแบตเตอรี่ ที่ยาวนานกว่า สัมผัสประสิ ทธิ ภาพที่ เพิ่มขึ้ นที่ คุณเห็ นและรู ้ สึกได้อย่างแท้จริ ง รวมถึ งความวางใจได้จากความ ปลอดภัยที่เพิ่มขึ้น เพราะว่าสิ่ งที่อศั จรรย์ยงิ่ กว่าเทคโนโลยีของ Intel® ก็คือสิ่ งที่คุณทาได้ดว้ ยเทคโนโลยีน้ นั ข้ อมูลจาเพาะ ดูโปรเซสเซอร์ Intel Core i5 ทั้งหมด เปรี ยบเทียบเดี๋ยวนี้ ความเร็ว จานวนแกน หมายเลขหน่ วย TDP สู งสุ ด/ ประเภทของ แคช สั ญญาณ หลัก/ กราฟิ ก ประมวลผลกลาง พลังงาน หน่ วยความจา นาฬิ กา จานวนเธรด Intel® Core™ i54570R Processor (4M 4.0 MB Cache, up to 3.20 GHz)

2.70 GHz

4/4

65

DDR3L1333/1600

Intel® Iris™ Pro


graphics 5200 Intel® Core™ i54670R Processor (4M 4.0 MB Cache, up to 3.70 GHz) Intel® Core™ i54250U Processor (3M 3.0 MB Cache, up to 2.60 GHz) Intel® Core™ i54350U Processor (3M 3.0 MB Cache, up to 2.90 GHz)

3.00 GHz

1.30 GHz

1.40 GHz

4/4

2/4

2/4

65

DDR3L1333/1600

Intel® Iris™ Pro graphics 5200

15

DDR3L1333/1600; LPDDR31333/1600

Intel® HD graphics 5000

15

DDR3L1333/1600; LPDDR31333/1600

Intel® HD graphics 5000

CPU แบบ Core i7 การทางานของ core i7 นั้นจะเป็ นการทางานแบบ Quad Core โดยเป็ นการทางานของ core cpu 4 core พร้อมๆกัน ช่วยให้คอมพิวเตอร์ ของเราประมวลผลได้ไวขึ้นและมีประสิ ทธิ ภาพที่ดีเยีย่ ม โดยใน Core i7 Generation 2 จะมีขมุ พลังจาก Intel® Turbo Boost2.0 ขึ้นมาทาให้ประหยัดพลังงาน และด้านระบบความร้ อน ในช่ วยในเรื่ องการ Active ของ Core cpu ที่ดีข้ ึน และ เทคโนโลยี Intel® HyperThreading Technology ที่ทาให้ Core ของ CPU ทางานสองงานได้ในเวลาเดียวกันเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพใน การประมวลผล และยังมีการปรับ Cache ของ CPu ทาให้มีช่องทางในการส่ งข้อมูลได้ไวขึ้น เพื่อรองรับการ ทางานของ CPU ที่เต็มที่กบั ประสิ ทธิ ภาพกับการทางานหนักๆของเรา และยังมี Intel® HD Graphics 3000 เป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการเล่นเกมแบบธรรมดาทัว่ ไป ดู หนัง โดยไม่ตอ้ งเพิ่มอุปกรณ์ พวกการด์จอ เพิ่มเติม(แต่ถา้ ผมเล่นเกมหนัก Graphicสวยๆ ผมก็คงต้องซื้ อ VGA เพิ่มนะครับ)

VGA คืออะไรกัน VGA ย่อมาจาก Video Graphic Adapter คืออุปกรณ์สาหรับแสดงผลของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เรา เรี ยกกันจนคุ น้ หู ว่า การ์ ดจอ ซึ่ งการ์ ดจอจะเป็ นตัวเชื่ อมต่อระหว่างเมนบอร์ ดกับจอภาพ จะช่ วยให้หน้าจอ สามารถแสดงผลได้อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ


VGA มีกปี่ ระเภท VGA แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทตามการติ ดตั้ง คื อ แบบที่ ติดตั้งมากับเมนบอร์ ดเลย เราเรี ยกกันว่า แบบออนบอร์ ด และอี ก แบบ คื อแบบติ ดตั้ง แยกต่ า งหาก หรื อที่ เราคุ ้น หู ว่า การ์ ดจอแยกนั่น เอง ซึ่ ง ถ้า คอมพิวเตอร์ เครื่ องใดที่มีการติดตั้งแบบการ์ ดจอแยกอาจจะมีราคาสู งกว่าเล็กน้อย VGA แตกต่ างจากการแสดงผลแบบธรรมดาอย่างไร VGA เป็ นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การแสดงผลของจอภาพเป็ นไปอย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ เหมาะกับผูท้ ี่ใช้ งานที่ตอ้ งการความละเอียดสู ง ต้องการความคมชัดของภาพ เช่น ตัดต่อวีดีโอ งานด้านกราฟฟิ ก เล่นเกมส์ที่ รายละเอียดของภาพเยอะๆ เพราะ VGA จะสามารถช่วยให้จอภาพแสดงผลได้อย่างเต็มที่ แตกต่างจากการ แสดงผลแบบธรรมดา อาจจะได้ภาพที่กระตุก ไม่ลื่นไหลเหมือนกับที่มี VGA หรื อการ์ ดจอนัน่ เอง ผูใ้ ช้งานคอมพิวเตอร์ สามารถเลื อกใช้งานได้หลากหลายตามความต้องการของตัวเอง แต่ถา้ หาก ผูใ้ ช้งานคนไหนต้องการใช้งานประเภทกราฟฟิ กสู งๆ หรื อเป็ นงานที่ตอ้ งการความละเอียด ความคมชัด มากๆ VGA หรื อ การ์ ดจอจึ งมี ความสาคัญ เพราะจะช่ วยให้คอมพิวเตอร์ สามารถแสดงผลออกมาได้เต็ม ประสิ ทธิภาพ ซึ่ งผูใ้ ช้งานสามารถเลือกซื้ อได้ตามท้องตลาดทัว่ ไปตามความเหมาะสมกันได้เลยครับ สาหรับการส่ งสัญญาณภาพในคอมพิวเตอร์ หลายๆ คนคงคุน้ เคยกับพอร์ ตที่เรี ยกว่า VGA หรื อที่มี ชื่ อจริ งๆ ว่า D-SUB (DE-15 มี 15 ขา) หรื อสาหรั บเครื่ องศาสดา ก็อาจจะเห็ นเป็ นหน้าตาแปลกๆ หน่ อย เพราะใช้เป็ น mini-VGA สัญญาณที่ส่งออกมาจากพอร์ ตนี้ ก็คือสัญญาณภาพ ที่ส่งจากคอมพิวเตอร์ ไปยังจอภาพนัน่ เอง โดยมี การใช้งานมานานแสนนาน ซักยีส่ ิ บปี ได้ ซึ่งได้นาเอามาแทน DE-9 ที่ใช้กนั ในจอโมโนโครม และจอสี ในยุค แรกๆ โดยในจานวน 15 ขาของ VGA นั้น มีขาที่จาเป็ นเพียง 5 ขา คือสาหรับส่ งสี 3 สี และสัญญาณบอก ตาแหน่ งแนวตั้งและแนวนอน ส่ วนขาอื่ นๆ นั้น จะเป็ นกราวน์ (รวมถึ งขา signal return) และขาสัญญาณ สาหรับการสื่ อสาร นัน่ แปลว่า จอภาพ และคอมพิวเตอร์ มนั คุยกันได้ดว้ ย! ถ้าสงสัยว่ามันคุยอะไรกัน พื้นฐาน เลย ก็จะเป็ นพวกการตั้งค่าต่างๆ เช่นใน Windows มันก็จะสามารถบอกเราได้วา่ จอที่ต่ออยูน่ ้ นั ยีห่ อ้ อะไร รุ่ น อะไร และสนับสนุนการแสดงผลที่ความละเอียดไหนบ้าง


สัญญาณภาพ 3 สี ที่ส่งไปที่จอภาพนั้น เป็ นสัญญาณแบบ analog ซึ่ งก็คือ ความสว่างของสี แต่ละจุด จะควบคุ มโดยความต่ างศักย์ไ ฟฟ้ า เช่ น ถ้ากาหนดไว้ว่า 0.7V เท่ากับความสว่า งสู งสุ ด 0V คื อต่ าสุ ด ค่า ระหว่าง 0 ถึง 0.7 ก็คือระดับสี ต่างๆ นัน่ เอง เมื่อรวมกันทั้งสามเส้น ก็จะได้สีที่แตกต่างกันมากมาย แต่วิธีน้ ี มันก็มีปัญหาคือ เมื่อเราใช้ความละเอียดสู งขึ้น มันก็ตอ้ งส่ งข้อมูลด้วยความถี่ที่มากขึ้น แล้วสัญญาณ analog มันก็ง่ายต่อการถูกรบกวน เพราะความต่างศักย์ที่ต่างกันเพียงไม่มากก็ทาให้สีเพี้ยนไปได้แล้ว นอกจากนี้ ตวั สัญญาณสี ของแต่ละพิกเซลก็ไม่มีความแน่นอนมากด้วย (หมายถึง มันไม่มี pixel timing)

ทีน้ ีมาสู่ ยคุ ดิจิตอล ด้วย DVI ซึ่ งเริ่ มเอาการส่ งข้อมูลแบบ digital เข้ามาใช้ ทาให้ภาพที่ได้ชดั เจนมาก ขึ้น เพราะทนต่อสัญญาณรบกวนได้ดีกว่า แต่เอ๊ะ เคยเห็นหัวแปลงพอร์ ตจาก DVI เป็ น VGA แล้วต่อจอที่รับ สัญญาณ VGA ไหม? มันทาได้ยงั ไงล่ะเนี่ย แปลง digital เป็ น analog หรื อเปล่า? จริงๆ แล้ วต้ องพูดถึง DVI ก่อนว่า มันเป็ น interface แบบผสม คือมีท้ งั analog และ digital ในตัว ซึ่ง ถ้าแบ่งง่ายๆ ก็ได้ออกเป็ น 3 กลุ่มคือ DVI-D อันนี้ จะส่ งข้อมูล digital อย่างเดี ยว, DVI-A ส่ งข้อมูล analog อย่างเดี ยว และ DVI-I ส่ งข้อมูลทั้งสองอย่าง ซึ่ งโดยทัว่ ไปแล้วการ์ ดจอที่มีช่องต่อ DVI มักจะส่ งสัญญาณ เป็ น DVI-I ซึ่ งนั้นก็ทาให้ตวั หัวแปลงเลือกเส้นสัญญาณบางเส้นที่เป็ น analog มา แล้วก็เอาออกไปที่หวั ต่อฝั่ง VGA นัน่ เอง มันไม่ได้แปลงสัญญาณอะไรเลย ซึ่ งแน่ นอนว่า ความคมชัดและอะไรต่างๆ ที่เป็ นข้อดี ของ digital ก็จะหายไป


สุ ดท้ ายตัว HDMI จริ งๆ แล้ว มันก็คือ DVI ที่แปลงรู ปนัน่ เองแหละค่ะ แต่มนั ก็ไม่ได้แปลงรู ปอย่างเดียว เพราะมันได้ ตัดส่ วน analog ออกไป (ทาให้ไม่มี HDMI-to-VGA adapter นัน่ เอง) และได้เพิ่มส่ วนของ audio หรื อเสี ยง เข้ามา ทาให้สายเส้นเดียวส่ งได้ท้ งั สัญญาณภาพและเสี ยง การทดลองใช้ HDMI-to-DVI adapter เพื่อเอาไปต่อจอที่รับ DVI input ถ้าอ่านข้างบนแล้วไม่งง ก็ คงจะเข้า ใจได้ว่า การต่ อแบบนี้ มันไม่ ท าให้คุ ณภาพของภาพลดลงเลย (เพราะ HDMI คื อ DVI นั่นเอง สัญญาณเหมือนกัน) เพียงแต่ไม่สามารถส่ งเสี ยงออกไปด้วย ทาให้ตอ้ งเพิ่มสาย audio จากคอมไปที่จออีก 1 เส้น

RAID คืออะไร? ตอนแรกก็ลงั เลอยู่นานครับ ว่าจะเขียนบทความนี้ ดีรึเปล่า เพราะมันก็ไม่ใช่ เทคโนโลยีใหม่อะไร มากมาย แต่ คิ ดว่า ก็ น่า จะมี ป ระโยชน์ ส าหรั บ ผูท้ ี่ ไ ม่ รู้ หรื ออาจจะยัง สงสั ย อยู่ อี ก ทั้ง มี ก ารสอบถามและ เรี ยกร้องมาให้เขียนทางเมลล์ ก็เลยเขียนขึ้นมาให้อ่านกันครับ RAID (Redundant Array of Inexpensive Disk) คือการนาเอา Harddisk ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปมาทางาน ร่ วมกันเสมือนเป็ น harddisk ตัวเดียวที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น หรื อมีโอกาสที่จะสู ญเสี ยข้อมูลน้อยลงในกรณี ที่เกิดความผิดพลาดของ hardware (fault tolerance) กลุ่มของ harddisk ที่เอามาทางานร่ วมกันในเทคโนโลยี RAID จะถูกเรี ยกว่า disk array โดยระบบปฏิบตั ิการและ software จะเห็น harddisk ทั้งหมดเป็ นตัวเดียว ซึ่ ง การทา RAID นี้ นอกจากจะเป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการเก็บรักษาข้อมูลแล้ว ยังเป็ นการประหยัดอีก ด้วย เพราะว่ายิ่ง harddisk มี ความจุ มากเท่ าไหร่ ราคาของมันก็ จะยิ่งสู ง ขึ้ นเท่า นั้น ดังนั้น สาหรั บงาน ที่ จาเป็ นต้องใช้พ้ืนที่ในการเก็บข้อมูลมากๆ อย่าง Database Server ถ้าเราเลือกใช้ harddisk ความจุมากๆ เพียง ตัวเดี ยว ในการเก็บข้อมูลหรื อที่ เรี ยกกันว่าเป็ นการใช้ harddisk แบบ SLED หรื อ Single Large Expensive Disk ราคาที่เราเสี ยไปกับ harddisk ตัวเดียวนั้น อาจจะไม่คุม้ ค่าเท่ากับการใช้ harddisk ที่มีความจุต่ากว่า (ซึ่ ง แน่ นอนว่า ราคาต้อ งถู ก กว่า หลายเท่ า ด้วย) นามาต่ อเพื่ อให้ท างานร่ วมกัน หรื อ ที่ เ รี ย กกันว่า เป็ นการใช้ harddisk แบบ RAID


RAID 0 คื อ การเอา harddisk มากกว่ า 1 ตัว มาต่ อ ร่ วมกั น ในลั ก ษณะ non-redundant ซึ่ ง RAID 0 นี้ มี จุดประสงค์ เพื่อที่จะเพิ่มความเร็ วในการอ่าน/เขียนข้อมูล harddisk โดยตรง ไม่มีการเก็บข้อมูลสารอง ดังนั้น ถ้าฮาร์ ดดิสก์ตวั ใดตัวหนึ่ งเกิดเสี ยหาย ก็จะส่ งผลให้ขอ้ มูลทั้งหมดไม่สามารถใช้งานได้ทนั ที จากรู ป จะเห็น ว่าข้อมูลจะถู กแบ่งไปเก็บที่ harddisk ทั้ง 3 ตัว (กรณี ที่เราใช้ harddisk 3 ตัวมาต่อ RAID 0 กัน) และถ้าเพิ่ม จานวน harddisk ใน array ให้มากขึ้น เวลาที่ใช้อ่านหรื อเขียนข้อมูลก็จะลดลงไปตามสัดส่ วน ตามทฤษฎีแล้ว ถ้า disk array มี harddisk จานวน N ตัว ก็จะทาให้อ่านหรื อแขียนข้อมูลได้เร็ วขึ้นเป็ น N เท่าตัว แต่ดว้ ยเหตุผล และปั จจัยหลายประการ เช่น RAID controller, ความคลาดเคลื่อนของความเร็ ว harddisk ทาให้ในความเป็ น จริ งอาจเร็ วไม่ถึงตามทฤษฎี จุ ดเด่ นของ RAID 0 คื อความเร็ วในการเข้าถึ งข้อมู ล แต่ ข ้อเสี ย ก็ คื อหาก harddisk ตัวใดตัวหนึ่ ง เสี ยหาย จะส่ งผลกับข้อมูลทั้งระบบทันที

RAID 1 RAID 1 มีอีกชื่อหนึ่งว่า disk mirroring จะประกอบไปด้วย harddisk 2 ตัวที่เก็บข้อมูลเหมือนกันทุก ประการ เสมือนการสารองข้อมูล หาก harddisk ตัวใดตัวหนึ่งเกิดเสี ยหาย ระบบก็ยงั สามารถดึงข้อมูลจาก harddisk อีกตัวหนึ่งมาใช้งานได้ตามปกติ สาหรับ RAID controller ที่ถูกออกแบบมาเป็ นอย่างดีแล้ว การ เขียนข้อมูลลง harddisk 2 ตัวในเวลาเดียวกัน จะใช้เวลาพอๆ กับการเขียนข้อมูลลง harddisk ตัวเดียว ในขณะที่เวลาในการอ่านก็จะน้อยลง เพราะ RAID controller จะเลือกอ่านข้อมูลจาก harddisk ตัวไหนก็ได้ โดยหากมีคาสัง่ ให้อ่านข้อมูล 2 ชุดในเวลาเดียวกัน ตัว RAID controller ก็สามารถประมวลผลคาสัง่ เพื่ออ่าน ข้อมูลจาก harddisk ตัวหนึ่ง และคาสั่งอีกชุดนึงจาก harddisk อีกตัวนึงก็ได้ จุดเด่นของ RAID 1 คือความปลอดภัยของข้อมูล ไม่เน้นเรื่ องประสิ ทธิ ภาพและความเร็ วเหมือนอย่าง RAID 0 แม้วา่ ประสิ ทธิ ภาพในการอ่านข้อมูลของ RAID 1 จะสู งขึ้นก็ตาม


RAID 2 ใน RAID 2 นี้ ข้อมูลทั้งหมดจะถูกตัดแบ่งเพื่อจัดเก็บลง harddisk แต่ละตัวใน disk array โดยจะมี harddisk ตัวหนึ่งเก็บข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด (ECC - Error Checking and Correcting) ซึ่ งเป็ นการลดเปอร์ เซ็นต์ที่ขอ้ มูลจะเสี ยหายหรื อสู ญเสี ยไป เมื่อมีการส่ งข้อมูลไปบันทึกใน disk array จะ เห็นได้วา่ มี harddisk ที่เอาไว้เก็บค่า ECC โดยเฉพาะ ถ้าเกิดการปรากฏว่า harddisk ตัวใดตัวหนึ่งเสี ยหาย ระบบก็จะสามารถสร้างข้อมูลทั้งหมดใน harddisk ตัวนั้นขึ้นมาได้ใหม่ โดยอาศัยข้อมูลจาก harddisk ตัว อื่นๆ และจากค่า ECC ที่เก็บเอาไว้ ซึ่ งการทา ECC นี้ส่งผลให้ harddisk ทั้งระบบต้องทางานค่อนข้างมาก ทีเดียว และ RAID 2 นั้นจะเห็นได้วา่ ต้องใช้ harddisk จานวนมากในการเก็บค่า ECC ซึ่ งทาให้ค่อนข้าง สิ้ นเปลืองครับ

RAID 3 RAID 3 มีลกั ษณะที่คล้ายกับ RAID 2 แต่แทนที่จะตัดแบ่งข้อมูลในระดับ bit เหมือน RAID 2 ก็จะตัด เก็บข้อมูลในระดับ byte แทนและการตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดของข้อมูล จะใช้ parity แทนที่จะเป็ น


ECC ทาให้ RAID 3 มีความสามารถในการอ่านและเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว เพราะมีการต่อ harddisk แต่ ละตัวแบบ stripe และใช้ harddisk ที่เก็บ parity เพียงแค่ตวั เดี ยวเท่านั้น แต่ถา้ นา RAID 3 ไปใช้ในงานที่มี การส่ งผ่านข้อมูลในจานวนที่นอ้ ยๆ ซึ่ ง RAID 3 ต้องกระจายข้อมูลไปทัว่ ทั้ง harddisk จะทาให้เกิดปั ญหาที่ เรี ยกว่า คอขวด ขึ้ นกับ harddisk ที่ เก็บ parity เพราะไม่ว่าข้อมู ล จะมี ข นาดใหญ่ ขนาดไหน RAID 3 ต้อง เสี ยเวลาไปสร้ างส่ วน parity ทั้งสิ้ น ยิ่งข้อมู ลมี ขนาดเล็กๆ แต่ parity ต้องสร้ างขึ้ นตลอด ทาให้ขอ้ มู ลถู ก จัดเก็บเสร็ จก่อนการสร้าง parity ทั้งระบบต้องมารอให้สร้าง parity เสร็ จก่อน จึงจะทางานต่อไปได้นนั่ เอง RAID 3 เหมาะสาหรับใช้ในงานที่มีการส่ งข้อมูลจานวนมากๆ เช่นงานตัดต่อ Video เป็ นต้น

RAID 4 RAID 4 มีลกั ษณะโดยรวมเหมือนกับ RAID 3 ทุกประการ ยกเว้นเรื่ องการตัดแบ่งข้อมูลที่ทาในระดับ block แทนที่จะเป็ น bit หรื อ byte ซึ่ งทาให้การอ่านข้อมูลแบบ random ทาได้รวดเร็ วกว่า อย่างไรก็ตาม ปั ญหาคอขวดที่กล่าวใน RAID 3 ก็ยงั มีโอกาสเกิดขึ้นเหมือนเดิมครับ

RAID 5 มีการตัดแบ่งข้อมูลในระดับ block เช่ นเดี ยวกับ RAID 4 แต่จะไม่ทาการแยก harddisk ตัวใดตัวหนึ่ ง เพื่อเก็บ parity ในการเก็บ parity ของ RAID 5 นั้น จะกระจาย parity ไปยัง harddisk ทุกตัว โดยปะปนไปกับ


ข้อมูลปกติ จึงช่ วยลดปั ญหาคอขวด ซึ่ งเป็ นปั ญหาที่สาคัญใน RAID 3 และ RAID 4 คุสมบัติอีกอันหนึ่ งที่ น่าสนใจของ RAID 5 คือ เทคโนโลยี Hot Swap คือเราสามารถทาการเปลี่ยน harddisk ในกรณี ที่เกิดปั ญหา ได้ในขณะที่ระบบยังทางานอยู่ เหมาะสาหรับงาน Server ต่างๆ ที่ตอ้ งทางานต่อเนื่อง

RAID6 RAID 6 อาศัยพื้นฐานการทางานของ RAID 5 เกือบทุกประการ แต่มีการเพิ่ม parity block เข้าไปอีก 1 ชุด เพื่อยอมให้เราทาการ Hot Swap ได้พร้อมกัน 2 ตัว (RAID 5 ทาการ Hot Swap ได้ทีละ 1 ตัวเท่านั้น หาก harddisk มีปัญหาพร้ อมกัน 2 ตัว จะทาให้เสี ยทั้งระบบ) เรี ยกว่าเป็ นการเพิ่ม Fault Tolerance ให้กบั ระบบ โดย RAID 6 เหมาะกับงานที่ตอ้ งการความปลอดภัยและเสถียรภาพของข้อมูลที่สูงมากๆ

RAID 7 RAID 7 อาศัยพื้นฐานการทางานของ RAID 4 โดนเพิ่มคุณสมบัติบางอย่างเข้าไป เพื่อทาให้ harddisk แต่ละตัวทางานอิสระต่อกัน ไม่จาเป็ นต้องรอให้ harddisk ตัวใดตัวหนึ่งทางานเสร็ จก่อน (ซึ่ งทาให้เกิด ปัญหาคอขวดใน RAID 4) โดยการส่ งข้อมูลแต่ละครั้ง จะทาการส่ งผ่าน X-Bus ซึ่งเป็ นบัสที่มีความเร็ วสู ง RAID 7 ยังมีหน่วยความจาแคชหลายระดับในตัว RAID Controller เพื่อแยกการทางานให้อิสระต่อกัน โดย จะมี Real-Time Operating System อยูภ่ ายในส่ วนที่เรี ยกว่า Array Control Processor ทาหน้าที่ควบคุมการ ส่ งข้อมูลบนบัส


RAID 7 เหมาะสาหรับใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ เชื่อมต่อได้สูงสุ ดถึง 12 host 48 drives และราคาของ ระบบ RAID 7 ค่อนข้างที่จะสู งมาก ด้วย RAID 7 เป็ นลิขสิ ทธิ์ เฉพาะของบริ ษทั Storage Computer Corporation ทาให้ผใู ้ ช้งาน RAID 7 ไม่สามารถปรับแต่งอะไรกับเครื่ องเลย ทาให้ RAID 7 ไม่ค่อยได้รับ ความนิยมมากนัก

RAID 10 RAID 10 หรื อ RAID 0+1 เป็ นการผสมผสานระหว่าง RAID 0 และ RAID 1 เข้าด้วยกัน ทาให้การ เข้าถึงข้อมูลเป็ นไปได้อย่างรวดเร็ ว และมีการทา mirror ข้อมูล (backup ข้อมูล) ไปด้วย ข้อเสี ยของ RAID 10 คือการเพิ่มจานวน harddisk ในอนาคตเป็ นไปได้ยาก เพราะ harddisk แต่ละตัวมี mirror เป็ นของตัวเอง ยิง่ เพิ่ม harddisk เพื่อใช้งานก็ตอ้ งเพิ่ม harddisk เพื่อ backup ไปด้วย เหมาะสาหรับ Server ที่ตอ้ งการความเร็ ว ในการเข้าถึงข้อมูลค่อนข้างมาก และไม่ตอ้ งการความจุมากนัก

RAID 53 RAID 53 มีอตั ราความเร็ วการเข้าถึงข้อมูลค่อนข้างสู ง เพราะมีพ้นื ฐานการทางานของ RAID 0 อยู่ และ มีการป้ องกันความเสี ยหายที่จะเกิดขึ้นได้ เหมือน RAID 3 ซึ่ งแน่นอนว่ายังมีปัญหาคอขวดด้วย นอกจากนี้ RAID 53 ยังสามารถทา Hot Swap ได้เหมือนใน RAID 5


SATA หรื อเรี ยกว่า Serial ATA ( Serial Advanced Technology Attachment ) เป็ นระบบการรั บส่ ง ข้อมู ลแบบอนุ กรม โดยจะส่ งข้อมู ลที ละบิ ตเรี ยงกัน ทาให้ SATA สามารถรั บส่ งข้อมู ลได้เร็ วกว่า และมี ประสิ ทธิ ภาพมากกว่าเทคโนโลยีแบบขนาน IDE ของ PATA ( Parallel ATA ) เป็ นอย่างมาก ทาให้ Hard disk รุ่ นใหม่ๆนิยมผลิตออกมาเป็ นแบบ SATA ดังนั้นการเลือกซื้ อ Hard disk เพื่อนามาใช้กบั Computer ของ เรา จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องรู ้วา่ Main board ของเรารองรับการเชื่อมต่อแบบไหน ตารางเปรียบเทียบ SATA และ PATA

ไดอะแกรม Host interface ระหว่าง SATA และ PATA จริ งๆแล้วเทคโนโลยีการรับส่ งข้อมูลแบบ อนุกรม หรื อ SATA นั้นได้ถูกพัฒนามาจาก เทคโนโลยีการรับส่ งข้อมูลแบบขนาน หรื อ PATA นัน่ เอง โดย จะเห็ นได้ว่า ไดอะแกรมการทางานในพื้อนที่สีเทาของทั้ง PATA และ SATA นั้นเหมือนกัน ต่างกันก็แค่ รู ปแบบการอินเตอเฟสเท่านั้น


SATA Connector พอร์ทอินเตอร์เฟสแบบ SATA นั้นสามารถแบ่งการทางานของ connector ได้สองกลุ่ม คือ SATA signal และ Power connector โดย SATA signal นั้นมี 7 pin ทาหน้าที่เป็ น port รับส่ งข้อมูล ส่ วน Power connector นั้นมี 15 pin ทาหน้าที่จ่าย power ให้กบั อุปกรณ์ที่ต่อพ่วง

ประเภทของฮาร์ ดดิสก์ ฮาร์ ดดิสก์ได้มีพฒั นาการในการเชื่อมต่อหรื ออินเตอร์ เฟสมาอย่างต่อเนื่ องเพื่อให้ฮาร์ ดดิสก์ทางาน เร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น สาหรับรู ปแบบการเชื่อมต่อของฮาร์ ดดิสก์ของฮาร์ ดดิสก์ที่ใช้กนั อยูใ่ น ปั จจุบนั นี้มี 3 รู ปแบบคือ แบบ IDE ซึ่ งได้พฒั นาต่อมาเป็ นแบบ EIDE ( Enhanced IDE) สาหรับเครื่ อง


ทัว่ ไป แบบ SCSI นิยมใช้ Server และWorkstation และ แบบ Serial ATA เป็ นมาตรฐานใหม่ของฮาร์ ดดิสก์ สาหรับเครื่ อง PC ทัว่ ไปมีความเร็ วสู งและมีการเชื่ อมต่อที่ง่ายกว่าเดิม ฮาร์ ดดิสก์แบบ IDE (EIDE)

ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ที่ เ รี ยกว่ า แบบ IDE ปั จ จุ บ ัน เป็ นแบบ EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronic) ทั้งสิ้ น โดยพัฒนาต่อจากแบบ IDE เดิม ซึ่ งมีขอ้ จากัดไม่สามารถทางานร่ วมกับฮาร์ ดดิสก์ที่มีความจุไม่เกิ น 528 MB ได้ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ใ นมาตรฐานนี้ มี ห ลายความเร็ ว ได้แ ก่ Ultra ATA (Ultra DMA)/33,/66,/100,/133ซึ่ งมี ความเร็ ว ในการส่ ง ผ่ า นข้อ มู ล 33,66,100,133, MB/s ตามล าดับ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ แ บบ ATA/33 จะเชื่ อ มต่ อ กับ เมนบอร์ดด้วยสายแพแบบ 40 เส้นส่ วนฮาร์ ดดิสก์ ATA/66/100/133 จะเชื่อมต่อด้วยสายแพแบบ 80 เส้นโดย ปกติบนเมนบอร์ ดจะมีช่องต่อ IDE มาให้ 2 ช่องคือ IDE1 และ IDE2ซึ่ งแต่ละช่องต่อจะติดตั้งฮาร์ ดดิสก์ได้ 2 ลูกซึ่ งแต่ละลูกจะต้องกาหนดลาดับโดยจัมเปอร์ เป็ น “Master”และ“Slave” ให้ถูกต้องจึงจะใช้งานฮาร์ ดดิสก์ นั้นได้ ฮาร์ ดดิสก์แบบ SCSI

ย่อมาจาก Small Computer Interface เป็ นฮาร์ ดดิสก์ซ่ ึ งมีความเร็ วสู งสามารถรับส่ งข้อมูลได้เกินกว่า 160 MB/s จะต้องใช้ร่วมกับตัวควบคุมที่มีลกั ษณะเป็ นการ์ ดเสริ มโดยในช่วงแรกใช้สายแพเชื่อมต่อกับการ์ ด แบบ 50 เส้น แต่ต่อมาก็ได้มีการพัฒนามาเป็ นมาตรฐาน SCSI 2 และ 3 ได้เปลี่ยนมาใช้สายแพสาหรับ เชื่อมต่อซึ่ งเป็ นแบบ 68 เส้น การ์ดเสริ ม (SCSI) นอกจากจะใช้เชื่อมต่อกับฮาร์ ดดิสก์แบบ SCSI ได้แล้ว ยังสามารถใช้พว่ งต่อกับอุปกรณ์ SCSI อื่นๆได้อีกรวม 7-15 ตัว แต่เนื่องจากมีราคาแพงและต้องใช้ร่วมกับการ์ ดควบคุม (SCSI Card) จึงนิยม ใช้งานเฉพาะกับเครื่ อง Server สาหรับควบคุมเครื อข่าย


ฮาร์ ดดิสก์แบบ Serial ATA

ฮาร์ ดดิสก์แบบ SATA เป็ นอินเตอร์ เฟสรู ปแบบใหม่ที่ใช้การรับส่ งข้อมูลในแบบอนุกรม (IDE ใช้ การรับส่ งข้อมูลในแบบขนาน) จึงทาให้สามารถเพิ่มความเร็ วได้มากกว่าแบบ IDE โดย Serial ATA 1.0 สามารถส่ งข้อมูลได้ความเร็ วสู งถึง 150MB/s และจะสู งถึง 300 และ 600 MB/s ใน SATA เวอร์ ชนั่ 2 และ 3 ต่อไป

SSD เอสเอสดี คืออะไร

ทาความรู้ จักกับ SSD (เอสเอสดี) SSD (เอสเอสดี) ย่อมาจาก Solid State Drive (ซอล สเทส ไดร์ ส) คือ อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลของ คอมพิวเตอร์ ชนิดหนึ่งที่เหมือนกับ Harddisk (ฮาร์ ดดิสก์) เพียงแต่รูปแบบการบันทึกข้อมูลของ SSD จะเป็ น การบันทึกข้อมูลแบบ Flash Memory (แฟรต เมมโมรี่ ) พูดง่ายๆก็เหมือนกับ FlashDrive (แฟรตไดร์ส) ที่เรา ใช้กนั อยูใ่ นทุกวันนี้นนั่ เอง มักนิยมนามาใช้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก Netbook (โน๊ตบุค๊ ) เพราะขนาด ของ SSD นี้จะมีขนาดเล็กประมาณ 1.8 - 2.5 นิ้ว


ข้ อดีของ Solid State Drive (SSD) 1. ความเร็ วในการเข้าถึงข้อมูลไวกว่า เมื่อเปรี ยบเทียบกับ Harddisk ที่เราใช้กนั ในปั จจุบนั 2. ไม่เปลืองพลังงานไฟฟ้า 3. ไม่มีเสี ยงดัง เนื่องจากเก็บข้อมูลด้วย Flash Memory ดังนั้นจึงไม่มีชิ้นส่ วนที่ตอ้ งเคลื่อนที่ 4. ไม่มีความร้อน 5. สามารถตกจากที่สูงได้ ในขณะที่ขอ้ มูลด้านในไม่เป็ นอะไรเลย เมื่อเปรี ยบเทียบกับ Harddisk แบบที่ เราใช้การกันใจปั จจุบนั 6. ความไวในการ Boot เครื่ อง ข้ อเสี ยของ Soild State Drive(SSD) 1. การเขียนข้อมูลจะช้า เพราะมันคือ Flash การเขียนของมันจะต้องทาการ เพิ่มกาลังไฟฟ้าให้สูงขึ้น พอที่จะทาให้ขอ้ มูลใหม่เพิ่มเข้าไปได้ 2. ราคาค่อนข้างแพงเมื่อเทียบกับ Harddisk แบบที่เราใช้กนั ในปั จจุบนั 3. ความจุ (เนื้อที่) น้อยเพราะปั จจุบนั สู งสุ ดอยูท่ ี่ 64 GB


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.