Complete sociological and anthropological thoughts week10 1310857

Page 1

12/10/57

SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS

แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 (สัปดาห์ที่ 9)

ความเป็ นมาของวิชามานุษยวิทยา (1)  เนื่ อ งจากมนุ ษ ย์ ใ นสัง คมต่ า งๆ

มี ค วามอยากรู ้อ ยากเห็ น เกี่ ย วกับ ประวัติ ความเป็ นมา แหล่งกําเนิดของตน และประเพณีท่ีแตกต่างกันไปในสังคมต่างๆ ประจวบกับความคิดของมนุษย์ ชุมชน หรือสังคมต่างๆมักมีเรื่องราวที่เล่าสืบต่อ กัน มาที่ ป รากฏอยู่ ใ นนิ ย ายปรัม ปรา (Myth) บ้า งเกี่ ย วกับ แหล่ง กํา เนิ ด และ อธิบายความแตกต่างในลักษณะทางกายภาพและวัฒนธรรมของมนุษย์  เช่น ชนบางกลุม ่ เชือ่ ว่ามนุษย์ถูกสร้างขึ้นมาอย่างปั จจุบนั ทันด่วน นัก มานุ ษ ยวิ ท ยาพยายามจะบอกว่ า มนุ ษ ยชาติ มี พ ัฒ นาการมาจาก สัตว์เซลล์เดียวและมีววิ ฒ ั นาการความเป็ นมาอันยาวนานหลายล้านปี ชาวกรีกเชือ่ ตามตํานานว่า พระเจ้าหรือเทพเจ้าสร้างมนุษย์ข้ นึ มา Aristotle เขียนในหนังสือมีช่ือของของเขาคือ “Politics” ว่ามนุษย์ใน ตอนแรกอยูก่ นั เป็ นกลุม่ เครือญาติกลุม่ เล็กๆ แล้วต่อมาจึงอยูร่ วมกันเป็ นหมูบ่ า้ น

1


12/10/57

ความเป็ นมาของวิชามานุษยวิทยา (2)  สิ่งที่กระตุน ้ ทําให้เกิดความสนใจในวิชามานุษยวิทยาเป็ นครัง้ แรก

คือ การสํารวจทาง ทะเล ทัง้ นี้เพราะมนุษย์ที่มีความแตกต่างกันทัง้ ทางกายภาพและวัฒนธรรมถูกค้นพบ ในเวลาเดียวกัน ในทวีป เอเชีย แอฟริกาและที่อื่นๆ แต่นิยามปรัมปราที่พึงเกิดขึ้น หรือ เรื่ อ งเล่า ของนัก ผจญภัย เกี่ ย วกับ ดิน แดนอัน ลึก ลับ และการพรรณนาเกี่ ย วกับ ชนเผ่าที่ยงั ล้าหลังว่ามีรูปร่างหน้าตาอันแปลกประหลาดต่างๆนัน้ ไม่เป็ นที่ยอมรับกัน ต่ อ ไป ในขณะเดี ย วกัน ได้มี ค วามพยายามจะศึ ก ษาพฤติ ก รรมมนุ ษ ย์อ ย่ า งเป็ น วิทยาศาสตร์ มากขึ้น  จากการศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมทําให้ชาวตะวันตกหันไปสนใจศึกษาวิถีชวี ต ิ และ ความคิดของมนุษย์ตา่ งเผ่าพันธุ ์ เช่น ศึกษาเกี่ยวกับชีวติ ของอินเดียนแดงเผ่าต่างๆ เทคโนโลยีวทิ ยาการความรูใ้ นสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยาการได้ มีผลทําให้เกิดความเจริญ ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมากยิง่ ขึ้น เป็ นการแผ้วทางไปสู่การศึกษาปรากฏการณ์ การดําเนินชีวิตของมนุษย์อย่างมีระบบ ทีร่ วมเอาการศึกษาลักษณะทางกายภาพ วัฒนธรรม และพฤติกรรมมนุษย์หลากหลายกลุม่ ไว้ดว้ ย

ความหมายและขอบข่ายของวิชามานุษยวิทยา 

ราชบัณฑิตยสถาน 2524 : 21 คําว่า “anthropology” มาจากศัพท์ภาษากรีก คือ anthropos หมายถึงมนุษย์และ logos หมายถึง การศึกษา เมื่อพิจารณาถึงคําจํากัดความดังกล่าว เห็นได้วา่ มีความหมายและขอบข่ายกว้างขวางมาก นักมานุษยวิทยาค้นหาคําตอบต่างๆ เกี่ยวกับวิวฒ ั นาการของมนุษย์ สังคมมนุษย์ และวิถีชวี ติ ของผูค้ นในสังคมว่ามีความเหมือน-ความแตกต่างกัน ในมิตติ า่ งๆอย่างไร สิง่ เหล่านี้ลว้ นเป็ น ส่วนหนึ่งของมานุษยวิทยาทัง้ สิ้น

2


12/10/57

ลักษณะเด่น 6 ประการของวิชามานุษยวิทยา (1)  เน้นการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของพฤติกรรมของมนุษย์ใน

ด้านต่างๆ นัน่ คือ นักมานุษยวิทยาพยายามค้นหากฎเกณฑ์ท่ีส่งผลให้มนุษย์ใน สังคมต่ างๆมี พฤติกรรมที่ เหมื อนกัน และต่ างกันไป ทัง้ นี้ เพื่อการพยายามทํา ความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์  นักมานุ ษ ยวิทยามัก เน้นการศึ ก ษาความแตกต่ า งวัฒ นธรรม

ทัง้ นี้ เพื่อให้ได้มา ซึ่ ง กฎเกณฑ์ อ ัน เป็ นสากลสํ า หรับ ธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ และเพื่ อ ลดอคติ ในการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ซ่งึ เป็ นเป้ าหมายที่สาํ คัญของการเรียนการสอน ในวิชามานุ ษยวิทยา แต่ในบางกรณี ที่การศึกษาวัฒนธรรมต่างชาติเป็ นไม่ไ ด้ นักมานุษยวิทยาก็อาจเน้นศึกษากลุ่มคนในวัฒนธรรมย่อยของสังคมตัวเองที่ตา่ ง ไปจากผูศ้ ึกษา เช่น กลุม่ ชาวเขาเผ่าต่างๆ หรือชนกลุม่ น้อยในสังคมไทย

ลักษณะเด่น 6 ประการของวิชามานุษยวิทยา (2)  นักมานุษยวิทยาในปั จจุบน ั จะศึกษาสังคมในทุกระดับการพัฒนา

คือทําการศึกษา สังคมทุกแห่งทัว่ โลกไม่วา่ จะเป็ นสังคมด้อยพัฒนา สังคมกําลังพัฒนาหรือสังคม อุตสาหกรรมซึง่ พัฒนาแล้ว เนื่องจากสังคมเหล่านี้ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ตัง้ แต่ชว่ งหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เป็ นต้นมา เป็ นเหตุให้นกั มานุษยวิทยาหันมา สนใจศึกษาสังคมสมัยใหม่มากยิ่งขึ้น ขณะทีใ่ นอดีตนักมานุษยวิทยามักเน้นศึกษา สังคมดัง้ เดิมหรือทีเ่ รียกว่าสังคมทีไ่ ม่รูห้ นังสือ  นักมานุษยวิทยามักเน้นศึกษาชีวิตมนุษย์ในทุกแง่มุมทุกด้านของชีวิต เช่น ครอบครัว เศรษฐกิจ การเมือง ความเชือ่ ค่านิยม สาธารณสุข เทคโนโลยีและ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมรวมไปถึงการพัฒนาด้วย เนื่องจากนัก มานุษยวิทยามีแนวคิดสําคัญว่าการจะเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ได้อย่างสมบูรณ์

3


12/10/57

ลักษณะเด่น 6 ประการของวิชามานุษยวิทยา (3) ่ าํ คัญสองอย่างของมนุษยชาติ  นักมานุษยวิทยามักเน้นศึกษาลักษณะทีส

คือ ลักษณะทางกายภาพและลักษณะทางวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาจะศึกษาย้อน ไปสูอ่ ดีตอันยาวนานของมนุษย์ตงั้ แต่เริม่ มีมนุษย์พวกแรกเกิดขึ้นบนโลกเมื่อ ประมาณ 3 ล้านปี มาแล้ว โดยศึกษาทัง้ พัฒนาการทางด้านกายภาพและ วัฒนธรรมของมนุษย์ตงั้ แต่สมัยแรกเริม่ มีข้ นึ มาจนถึงในสมัยปั จจุบนั รวมไปถึง การพยายามคาดคะเนหรือพยากรณ์ลกั ษณะทางกายภาพและวัฒนธรรมของ มนุษยชาติในอนาคตด้วย

ลักษณะเด่น 6 ประการของวิชามานุษยวิทยา (4) ่ ีลกั ษณะเฉพาะของตัวเองเรียกว่า  วิชามานุษยวิทยามีระเบียบวิธีวจิ ยั ทีม

“งานวิจยั สนามทางมานุษยวิทยา” (Anthropological field work) ทําให้แตกต่างไป จากสังคมศาสตร์สาขาอืน่ ๆ เทคนิคทีส่ าํ คัญของงานวิจยั สนามทางมานุษยวิทยา คือ การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม (Participant observation) คือ การทีน่ กั มานุษยวิทยาเข้าไปอยูอ่ าศัยในชุมชนทีต่ วั เองเลือกศึกษาเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี เพื่อเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมของชาวบ้านในแง่มุมต่างๆ โดยต้องทําตัวให้ชาวบ้านเชือ่ ถือ ด้วยการทําตัวให้เหมือนชาวบ้านให้มากทีส่ ุด พยายามเรียนรูภ้ าษาท้องถิ่น เข้า ร่วมกิจกรรมต่างๆกับชาวบ้าน การเก็บข้อมูลโดยวิธีน้ ี จะทําให้นกั มานุษยวิทยา ได้ขอ้ มูลปฐมภูมิทเี่ ชือ่ ถือได้และมีรายละเอียดต่างๆ มากกว่าการใช้ระเบียบวิธีวจิ ยั แบบอืน่ ๆของสังคมศาสตร์

4


12/10/57

ชาติพนั ธุ์วรรณา (1)  เป็ นรากฐานของวิชามานุษยวิทยาวัฒนธรรม

คําว่า “Ethnography” มาจากรากศัพท์ 2 คํา คือคําว่า “Ethno” แปลว่าเชื้อชาติหรือประชากร และคํา ว่า “Graphein” แปลว่าการเขียน เมื่อรวมคําทัง้ 2 เข้าด้วยกันแปลได้วา่ การ เขียนเกี่ยวกับประชากรกลุม่ ต่างๆ “ชาติพนั ธุว์ รรณา” จึงหมายถึง การพรรณนา ถึงวิถีชวี ติ ขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือวัฒนธรรมทีเ่ ฉพาะของสังคมใดสังคม หนึ่ง เพื่อให้รูจ้ กั วัฒนธรรมนัน้ ๆได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น เช่น การพรรณนาเกี่ยวกับ วิถีชวี ติ ของชาวเขาเผ่าต่างๆ ชาวจีน ชาวญวน ชาวมอญหรือชนกลุม่ น้อยกลุม่ อืน่ ๆในประเทศไทย หรือเป็ นการพรรณนาเกี่ยวกับชีวติ ความเป็ นอยูข่ อง อินเดียนแดงเผ่าต่างๆ ในประเทศอเมริกา หรือสังคมระดับชนเผ่าต่างๆของทวีป ออสเตรเลียหรือแอฟริกา

ชาติพนั ธุ์วรรณา (2) 

ในช่วงแรกของการศึกษาชาติพนั ธุว์ รรณา นักมานุษยวิทยาใช้ขอ้ มูลของนักสํารวจ นักเดินทาง นักสอนศาสนาทีไ่ ด้บนั ทึกวัฒนธรรมของสังคมต่างๆไว้ ต่อมาในศตวรรษที่ 19 นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรมในกลุม่ ชาติพนั ธุว์ รรณาเริม่ มีความเห็นตรงกันว่า ข้อมูลเหล่านัน้ อคติ และมีความไม่เป็ นกลางอีกทัง้ ยังเชือ่ ถือไม่ได้ จึงเลิกใช้มูลดังกล่าว นับเป็ นจุดเริม่ ต้นของการทํางาน วิจยั สนาม (Field work)  โดยโบแอส (Boas) ผูไ้ ด้ชอ่ื ว่าเป็ นบิดาของมานุษยวิทยาวัฒนธรรมในอเมริกา สนับสนุนให้นกั มานุษยวิทยาทุกคนจะเก็บข้อมูลด้วยตัวเองโดยใช้ระเบียบวิธีวจิ ยั สนาม เนื่องจากงานวิจยั สนามเป็ น ส่วนหนึ่งของการศึกษาอบรมของผูจ้ ะเป็ นนักมานุษยวิทยาอาชีพ ดังนัน้ นักมานุษยวิทยาทุกคนจึง เป็ นนักชาติพนั ธุว์ รรณาไปด้วย การศึกษาของนักชาติพนั ธุว์ รรณาเป็ นลักษณะการศึกษาในเชิง การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างวัฒนธรรมต่างๆ ทําให้เกิดการศึกษาข้ามวัฒนธรรม (Cross ้ กั ตัวตนของตัวเองก่อนว่าอยูใ่ นกลุม่ ไหน พวกไหน Cultural Study) โดยนักมานุษยวิทยาต้องรูต มีวธี ีคดิ และสภาพชีวติ ความเป็ นอยูอ่ ย่างไรและแตกต่างไปจากคนกลุม่ อืน่ ๆอย่างใดบ้าง เมื่อรูจ้ กั ว่า เขาแตกต่างอย่างไรแล้วก็ตอ้ งมาเปรียบเทียบดูวา่ ท่ามกลางความแตกต่างนัน้ มีอะไรทีเ่ หมือนกันใน ความเป็ นมนุษย์บา้ ง งานศึกษาทางชาติพนั ธุว์ รรณายังสามารถเอื้อประโยชน์แก่นกั สังคมศาสตร์ สาขาอืน่ ๆ ทีส่ ามารถนําข้อมูลเหล่านี้ไปปรับใช้ตามวัตถุประสงค์ในศาสตร์ของตัวเองได้อกี ด้วย

5


12/10/57

สาขาย่อยทางมานุษยวิทยา (1)  มานุษยวิทยาออกเป็ น

4 สาขาย่อย ดังนี้ 1) มานุษยวิทยากายภาพ (Physical Anthropology) 2) โบราณคดี (Archaeology) 3) มานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ (Anthropological Linguistics) 4) มานุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology)

สาขาย่อยทางมานุษยวิทยา (2)  มานุษยวิทยากายภาพ (Physical Anthropology)

สาขาวิชานี้ให้ความสนใจมนุษย์ในฐานะทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของอินทรียช์ วี ะ (Biological organisms) วัตถุประสงค์ของมานุษยวิทยากายภาพ คือ การพัฒนาองค์ความรูท้ เี่ กี่ยวข้องกับชีวะ สรีระ และลักษณะทางพันธุศาสตร์ของ ประชากรมนุษย์ทงั้ โบราณและสมัยใหม่ โดยการศึกษาลักษณะทางชีวภาพหรือ ลักษณะทางกายภาพของมนุษย์ เริม่ ทําการศึกษาตัง้ แต่พฒ ั นาการทางกายภาพ ของมนุษย์ในอดีตเรือ่ ยมาจนปั จจุบนั

6


12/10/57

สาขาย่อยทางมานุษยวิทยา (3)  โบราณคดี (Archaeology):

นักโบราณคดีสนใจกิจกรรมต่างๆของมนุษย์โดยผ่านการศึกษาจากหลักฐาน ร่องรอยต่างๆที่มนุษย์ในอดีตเหลือทิ้งไว้ เช่น เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ตา่ งๆ เครือ่ งมือ หินหรือทีเ่ รียกกันโดยทัว่ ไปว่า “ขวานหิน หรือ ขวานฟ้ า” ภาชนะดินเผา งาและ เขาสัตว์ กระดูกคนและสัตว์ ถํา้ หรือเพิงผาทีน่ กั โบราณคดีเชือ่ ว่าเป็ นทีอ่ ยูข่ อง มนุษย์ในสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ สิง่ ก่อสร้างสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ การทับถม ของชัน้ ดินและศิลปะประเภทต่างๆ เช่นภาพเขียน รูปแกะสลักเป็ นรูปสัตว์ตา่ งๆ รูปคน (เทพเจ้า?) ผ่านพิธีกรรมปลงศพ เป็ นต้น นักโบราณคดีสามารถวาดภาพ ชีวติ ของมนุษย์ในอดีตได้จากการสันนิษฐานจากกซาก (ฟอสซิล) และหลักฐาน ต่างๆ นักโบราณคดีศึกษาหลักฐานเหล่านี้เพื่อสร้างประวัตคิ วามเป็ นมาและชีวติ ความเป็ นอยู่ หรือวิถีชวี ติ ของกลุม่ คนทีศ่ ึกษา

สาขาย่อยทางมานุษยวิทยา (4)  มานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ (Linguistics Anthropology)

นักมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์คอื นักมานุษยวิทยาทีม่ ุง่ เน้นประเด็นการศึกษาไปที่ ภาษาซึง่ ถือเป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ส่วนมากนักมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ให้ ความสนใจไปทีภ่ าษาของสังคมทีย่ งั ไม่มีตวั อักษรใช้ เพื่อมุง่ ศึกษาหา แหล่งกําเนิดของภาษานัน้ ๆ รวมไปถึงศึกษาพัฒนาการของภาษานัน้ ๆ โดยศึกษา ว่าภาษาของมนุษย์เริม่ มีข้ นึ เมื่อใด และเกิดขึ้นได้อย่างไร ตัวอย่างเช่นการวิเคราะห์ รากศัพท์ในภาษาต่างๆ ทําให้ทราบต่อไปถึงประวัตคิ วามเป็ นมาและการอพยพ ของมนุษย์ในสังคมต่างๆได้ ในปั จจุบนั นักมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ สนใจทีจ่ ะ ศึกษาศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมด้านอืน่ ๆ สนใจศึกษา โลกทัศน์ของมนุษย์ในสังคมต่างๆ เพื่อทําความเข้าใจโครงสร้างของภาษานัน้ ๆ นอกจากนัน้ ยังทําการศึกษาภาษาในฐานะเป็ นระบบสือ่ สารสําคัญทีม่ นุษย์ใช้ในการ ติดต่อสัมพันธ์กนั เพราะเชือ่ ว่าการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมช่วยทําให้เราเข้าใจ พฤติกรรมของมนุษย์ได้

7


12/10/57

สาขาย่อยทางมานุษยวิทยา (5)  ตัวอย่างงานวิจยั ของนักมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์

การวิจยั เรือ่ ง “คําเมือง” กับอัตลักษณ์ของคนเมือง (สุเทพ สุนทรเภสัช 2543) ภาษาถือว่าเป็ นอัตลักษณ์ทสี่ าํ คัญอีกอย่างหนึ่งทีช่ าวไทยเหนือใช้กาํ หนดกลุม่ ชาติ พันธุข์ องตนเอง “คนเมือง” ถือว่ามีภาษาพูดของตัวเอง เรียกว่า “คําเมือง” และ มี “ตัวเมือง” ใช้เป็ นภาษาเขียน ทีท่ าํ ให้แตกต่างจากคนไทยทีอ่ ยูใ่ นภูมิภาคอืน่ ๆ ของประเทศ เช่น ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้

สาขาย่อยทางมานุษยวิทยา (6) 

มานุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology): การศึกษาวัฒนธรรมของมนุษย์ หรือกล่าวได้วา่ เป็ นเรือ่ งทีเ่ กี่ยวข้องกับ พฤติกรรมทีไ่ ด้รบั การเรียนรู ้ เพราะสําหรับมนุษย์แล้ว พฤติกรรมทัง้ ปวงเป็ น ผลผลิตในทางวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรมให้ความสนใจวัฒนธรรม ในสังคมต่างๆทัง้ สังคมของผูค้ นทีอ่ ยูห่ า่ งไกล ไม่รูห้ นังสือ จนกระทัง่ ถึงสังคมทีม่ ี ความเจริญมาก การศึกษาพฤติกรรมทีเ่ กิดจากการเรียนรูแ้ ละผลทีเ่ กิดขึ้นจาก การเรียนรูข้ องมนุษย์ หรือศึกษาวัฒนธรรมของสังคมต่างๆทัว่ โลก โดยทัว่ ไป มานุษยวิทยาวัฒนธรรมแบ่งกลุม่ การศึกษาย่อยออกได้เป็ น 3 สาขา คือ ชาติพนั ธุว์ รรณา (Ethnography) มานุษยวิทยาภาคสังคม (Social Anthropology) ชาติพนั ธุว์ ทิ ยา (Ethnology)

8


12/10/57

ชาติพนั ธุ์วิทยาหรือมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ่ าํ คัญอย่างหนึ่งของมานุษย์วทิ ยาวัฒนธรรม  ลักษณะทีส

คือนักมานุษยวิทยาจะ ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ในทุกแง่มุมของชีวิตในสังคมต่างๆ เช่นการศึกษาของ มาลิเนาสกี้ (Malinowski) ทีท่ าํ การศึกษาพิธีกรรมการค้าขายพบว่าการ แลกเปลี่ยนสิง่ ของมีคา่ สองชิ้นของสังคมโทรเบรียนเกี่ยวข้องกับทุกสิง่ ทุกอย่างที่ ชาวเกาะทําคือเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ สถานภาพทางสังคม เกียรติคณ ุ ความเชือ่ และการปฏิบตั กิ ิจกรรมทางศาสนา รวมทัง้ ค่านิยมและทัศนคติดว้ ย นอกจากนี้มานุษยวิทยาวัฒนธรรมยังประกอบไปด้วยสาขาย่อยๆ ดังนี้ มานุษยวิทยาการเมืองปกครอง มานุษยวิทยาศาสนา มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ การศึกษาระบบเครือญาติและการจัดระเบียบทางสังคม มานุษยวิทยาเชิงจิตวิทยา ภาษาและวัฒนธรรม มานุษยวิทยานคร นิเวศน์วทิ ยาวัฒนธรรม มานุษยวิทยา การแพทย์ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม

สรุป สาขาวิชามานุษยวิทยา ่ ล่าวมาข้างต้นแล้วมีนกั มานุษยวิทยาบางท่าน  นอกเหนือจากทีก

ได้แบ่งสาขา มานุษยวิทยาออกเป็ นเพียง 2 สาขาใหญ่ โดยใช้เกณฑ์ตามเนื้อหาสาระของวิชาคือ สาขามานุษยวิทยากายภาพ และสาขามนุษยวิทยาวัฒนธรรม โดยรวมสาขาย่อย อีก 3 สาขาไว้ดว้ ยคือ โบราณคดี มานุษยวิทยาภาษาศาสตร์และชาติพนั ธุว์ ทิ ยา ดังแผนภูมิขา้ งล่างนี้

9


12/10/57

ความสัมพันธ์ของวิชามานุษยวิทยากับสังคมศาสตร์อนื่ ๆ 

มีความเหลื่อมลํา้ กันมากทัง้ ในทางทฤษฎีและทางปฏิบตั ริ ะหว่างสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และยังคงมีความแตกต่างทีแ่ ยกให้ได้ชดั เจนอยู่ นักมานุษยวิทยาส่วนมากสนใจศึกษาผูค้ นที่ ไม่ใช่ตะวันตก และศึกษาชุมชนขนาดเล็ก โดยใช้วธิ ีการสังเกตและสอบถามกับประชาชนใน ลักษณะทีม่ ีความใกล้ชดิ ส่วนนักสังคมวิทยานัน้ สนใจศึกษาระบบสังคมทีม่ ีขนาดใหญ่กว่า โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือใช้สถิตจิ ากประชากร ไม่วา่ จะเป็ นในรูปของ อัตราอาชญากรรม การจ้างแรงงาน ข้อมูลเกี่ยวกับการออกเสียงเลือกตัง้ และเรือ่ งอืน่ ๆ โดยทัว่ ๆไปแล้วนักสังคมวิทยาจะมีการวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิตมิ ากกว่านักมานุษยวิทยา  การศึกษาของนักมานุษยวิทยานัน ้ รวมถึงมานุษยวิทยากายภาพด้วย ในฐานะทีเ่ ป็ นศาสตร์ ส่วนหนึ่งทีส่ าํ คัญแต่นกั สังคมวิทยาให้ความสนใจหลักอยูท่ กี่ ารศึกษาเรือ่ งสังคมเท่านัน้  นักมานุษยวิทยาได้มีการพินิจศึกษาถึงประวัติศาสตร์วฒ ั นธรรมในฐานะทีเ่ ป็ นแกนกลางของวิชา นี้ แต่นกั สังคมวิทยาไม่สนใจในแง่ของประวัตศิ าสตร์ แต่สนใจทีจ่ ะศึกษาวิจยั ถึงสถาบันทาง สังคมสมัยปัจจุบนั

ประโยชน์ของวิชามานุษยวิทยา (1)  1.

การศึกษาวิชามานุษยวิทยาช่วยให้เข้าใจการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ ์ และการ ถ่ายทอดทางสังคมทีเ่ กิดจากการเรียนรู ้ มานุษยวิทยาเห็นความสําคัญของวัฒนธรรม ในการปรับตัวของมนุษย์ตอ่ สิง่ แวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม วิชานี้ทาํ ให้เรามอง ความคิดทีม่ ีกนั อยูท่ วั่ ไปเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์อย่างวิพากษ์วจิ ารณ์  2. นักมานุษยวิทยาช่วยลดความนิยมในชาติพน ั ธุข์ องตัวหรือลดอคติ (Ethnocentrism) ของมนุษย์ในสังคมต่างๆ คือการมองโลกโดยผ่านเลนซ์แคบๆของ วัฒนธรรมตัว

10


12/10/57

ประโยชน์ของวิชามานุษยวิทยา (2) 

มนุษย์ทวั่ โลกมีอคติมกั มองสิง่ ต่างๆตามความคิดทีเ่ ป็ นแบบฉบับในวัฒนธรรมของตัว แต่อคติ เป็ นมากว่าความคิดและการมองปรากฎการณ์ตา่ งๆมันยังเป็ นแนวทางของการปฏิบตั หิ รือการกระทํา ทีใ่ ช้ตดั สินวัฒนธรรมอืน่ ๆโดยใช้มาตรฐานของวัฒนธรรมตัว เช่น อคติของคนในสังคมตะวันตก ควรได้รบั ความสนใจจากนักวิชาการในประเทศกําลังพัฒนา สถานการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ทนี่ าํ ไปสู่ การเผยแพร่อารยธรรมตะวันตกได้ทาํ ให้ชาวตะวันตกมีความเชือ่ อย่างแรงว่า สังคมของเขาถูกต้อง ดีกว่าเหนือกว่าสังคมกําลังพัฒนาทัง้ หมด เชือ่ ว่าตะวันตกมีเทคโนโลยีทเี่ หนือกว่ากลุม่ อืน่ ๆ การ กลายเป็ นอุตสาหกรรม (Industrialization) และการกลายเป็ นเมือง (Urbanization) ปรากฏการณ์ทางสังคมทีก่ าํ ลังเกิดขึ้นในโลกที่ 3 หรือในสังคมกําลังพัฒนา ในระดับของประเทศกําลังพัฒนาเช่นประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน ประชากรในเมืองมักคิดว่าค่านิยม ความเชือ่ เทคโนโลยีของตัวดีกว่าเหนือกว่าค่านิยมของคนในชนบท คนเมืองมักมองคนชนบทว่าน่า สงสารด้อยพัฒนา ขาดปั จจัยต่างๆทีจ่ าํ เป็ นในการดํารงชีวติ และมักจะใส่ความคิดความเชือ่ ทาง เทคโนโลยีของตัวรวมทัง้ การปฎิบตั ติ า่ งๆลงไปในสังคมชนบท ผ่านกลไกของรัฐบาลทีถ่ ือว่ามีอาํ นาจ อันชอบธรรมทีจ่ ะพัฒนาชนบทโดยการใส่โครงการพัฒนาต่างๆลงไปในชุมชนชนบท

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (1) ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (Structural Functional Theory) นักมานุษยวิทยาทีส่ าํ คัญในกลุม่ นี้ ได้แก่ เอ.อาร์ แรดคลิฟฟ์ บราวน์ (A.R. Radcliffe-Brown) และ โบรนิสลอร์ มาลิเนาสกี (Bronislaw Malinowski) ให้ความเห็นว่า “การจะเข้าใจระบบ เศรษฐกิจนัน้ จะต้องเข้าใจถึงโครงสร้างสังคมก่อนและระบบเศรษฐกิจเป็ นผลทีเ่ กิดจากโครงสร้าง สังคม” แนวคิดนี้เชือ่ ว่า “สังคมจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางทีด่ ขี ้ นึ และก้าวหน้าขึ้น การศึกษาสังคม ตามแนวคิดนี้มกั จะให้ภาพนิง่ มากกว่าภาพที่เคลือ่ นไหว สําหรับในเรือ่ งความเป็ นปึ กแผ่นทางสังคม (Social Solidarity) จะทําให้มองภาพความขัดแย้งหรือเสียระเบียบทางสังคมว่าเป็ นพยาธิสภาพ ทางสังคม (Social Pathological) และจําเป็ นต้องแก้ไขเพื่อให้สงั คมมีความเป็ นระเบียบมากขึ้น”  เนื่องจากนักทฤษฎีในแนวคิดนี้ได้รบ ั อิทธิพลทางความคิดจาก เอมีล เดอร์คามส์ (Emile ่ Durkheim) และนักคิดคนอืนๆในสายเดียวกันจะเน้นศึกษาระบบเครือญาติโดยใช้ขอ้ มูลชาติพน ั ธุ ์ วรรณา (Ethnography) แสดงความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างคนทีม่ ีความผูกพันทางสังคม  โดยสรุปแล้วทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ สนใจความต้องการของปั จเจกบุคคล (ผูก้ ระทํา) และโครงสร้าง ขนาดใหญ่ เช่น สถาบันสังคม ค่านิยมทางวัฒนธรรมทีเ่ กิดขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านี้ รวมทัง้ เน้นความสัมพันธ์ทางสังคมโดยเฉพาะกลไกเพื่อขจัดการความขัดแย้งในความสัมพันธ์ดงั กล่าว 

11


12/10/57

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (2) 

ทฤษฎีวฒ ั นธรรมและบุคลิกภาพ (Culture and Personality Theory) นักคิดทีส่ าํ คัญในกลุม่ นี้ ได้แก่ รูธ เบเนดิกต์ (Ruth Benedict) และมาร์การ์เรต มี้ด (Margaret ่ “Patterns of Culture” (1934) ศึกษาสังคม Mead) งานศึกษาชิ้นสําคัญของเบเนดิกต์ ชือ อเมริกนั -อินเดียน เน้นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมและการปรับตัวของปั จเจกบุคคล และได้เสนอ ความคิดเกี่ยวกับรูปลักษณ์ทางวัฒนธรรม (Cultural Configuration) ซึง่ เป็ นแนวคิดทีถ่ ือว่า ส่วนประกอบต่างๆของวัฒนธรรมมีลกั ษณะพึ่งพาอาศัยซึง่ กันและกัน และรวมเป็ นหนึ่งเดียว เบเนดิกต์เชือ่ ว่า “ปั จเจกบุคคลและกระบวนการทางจิตวิทยาของปั จเจกบุคคลมีอทิ ธิพลต่อ วัฒนธรรมด้วย” ทฤษฎีน้ ีใช้ได้ในการศึกษาสังคมสมัยใหม่ โดยศึกษาลักษณะประจําชาติ (National ่ ุ่ น ประเด็นทีพ่ บจากการศึกษาและน่าสนใจเป็ น Character) ของสังคมต่างๆ เช่น อเมริกา ไทย ญีป อย่างยิ่งอีกอย่างหนึ่ง คือ บุคลิกภาพทีม่ ีคณ ุ ค่าในสังคมหนึ่งอาจกลายเป็ นความผิดปกติทางจิตหรือ เป็ นพฤติกรรมเบี่ยงเบนในอีกสังคมหนึ่งก็ได้

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (2-1) 

ทฤษฎีวฒ ั นธรรมและบุคลิกภาพ (Culture and Personality Theory) เอดเกอตัน (Edgerton) ได้ศึกษาชนเผ่าต่างๆ 4 เผ่าในแอฟริกาตะวันออก โดยแบ่งแต่ละเผ่า ออกเป็ นกลุม่ ๆ ดังนี้ (1) กลุม่ เกษตรกร (2) กลุม่ เลี้ยงสัตว์ โดยพบว่า ชนเผ่าทัง้ 4 ต่างมีความ แตกต่างในบุคลิกภาพ และพบอีกว่ากลุม่ ทัง้ สองประเภทจากเผ่าเดียวกันก็ยงั มีความแตกต่างกันด้วย เช่น กลุม่ เลี้ยงสัตว์เป็ นปั จเจกบุคคลมากกว่ากลุม่ เกษตรกร เป็ นต้น มี้ด ได้เขียนหนังสือชือ่ “Coming of Age in Samon” (1928) โดยชี้ให้เห็นถึงคุณลักษณะทีส่ าํ คัญ ของวัฒนธรรมส่วนรวมของชาวเกาะซามัวทีใ่ ห้ความสําคัญกับรูปแบบ (Formalism) หรือ การกําหนดพฤติกรรมอย่างเคร่งครัดแน่นอนตายตัว ทําให้ปัจเจกบุคคลมีทางเลือกน้อยลง โดยสรุปแล้วเนื้อหาสาระของทฤษฎีวฒ ั นธรรมและบุคลิกภาพนี้ให้ความสําคัญกับความสัมพันธ์ ระหว่างวัฒนธรรมกับบุคลิกภาพ เพราะเชือ่ ว่าวัฒนธรรมจะเป็ นเครือ่ งมือช่วยในการปรับตัวของ ปัจเจกบุคคล ขณะเดียวกันบุคลิกภาพก็อาจเป็ นเครือ่ งช่วยให้วฒ ั นธรรมและสังคมดํารงอยูไ่ ด้

12


12/10/57

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (3-1) 

ทฤษฎีนเิ วศน์วิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology Theory) นักมานุษยวิทยากลุม่ นี้ทสี่ าํ คัญ ได้แก่ จูเลียน เอช สจ็วต (Julian H. Steward) แดรี่ ฟอร์ด (Daryl Forde) คลิฟฟอร์ด เกียซ์ (Clifford Geetz) และมาร์วิน แฮร์รส ี (Marvin Harris) สจ็วต ให้ความหมายนิเวศน์วิทยาว่า “คือการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อม นิเวศน์วิทยาทาง วัฒนธรรม จึงหมายถึงวิธีการศึกษาหาหลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม ซึง่ เป็ นผลกระทบจากการปรับตัว เข้ากับสภาวะแวดล้อมของมนุษย์แต่ละสังคม นิเวศน์วทิ ยาวัฒนธรรมจึงแตกต่างไปจากนิเวศน์วทิ ยา สังคม (Social Ecology) เพราะนิเวศน์วทิ ยาวัฒนธรรมมุง่ แสวงหากฎเกณฑ์เพื่ออธิบายทีม่ าของ ลักษณะและแบบแผนวัฒนธรรมบางประการทีม่ ีอยูใ่ นแต่ละสภาวะแวดล้อม มากกว่ามุง่ แสวงหา หลักการทัว่ ไปทีใ่ ช้ได้กบั ทุกวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อม” สิง่ ทีส่ าํ คัญทีส่ ุดในแนวคิดนี้คอื “แก่น วัฒนธรรม” (Cultural Core) ซึง่ หมายถึง “กลุม่ ของลักษณะหรือแบบแผนวัฒนธรรมทีม่ ี ความสัมพันธ์ใกล้ชดิ มากทีส่ ุดกับกิจกรรมเพื่อการดํารงชีพและการจัดการทางเศรษฐกิจ”

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (3-2) 

ทฤษฎีนเิ วศน์วิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology Theory) ทัง้ นี้จะมุง่ สนใจการนําวัฒนธรรมทางวัตถุ (ระบบเทคนิควิทยาทีใ่ ช้หรือเครือ่ งมือเทคโนโลยี) มาใช้ และก่อให้เกิดการจัดการทางด้านสังคมทีแ่ ตกต่างกันอย่างไรในสภาวะแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกัน เพราะ สภาวะแวดล้อมแต่ละแห่งอาจเป็ นตัวช่วยหรือข้อจํากัดใช้เทคนิควิทยาเหล่านี้ก็ได้ แฮร์รสี ศึกษาการทําสงครามของชนบรรพกาล (Primitive Warfare) โดยอธิบายว่า “สงคราม เป็ นกลไกอันหนึ่งในการปรับจํานวนประชากรให้เหลือพอทีจ่ ะสามารถอาศัยอยูใ่ นระบบนิเวศน์หนึ่งได้ อย่างเหมาะสม” เกรียซ์ ศึกษาพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ของแบบแผนการเกษตรในอินโดนีเซีย ได้เขียนหนังสือ “Agricultural Involution” (1963) ชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของระบบนิเวศน์ทม ี่ ีตอ่ โครงสร้างสังคม ่ หัวใจทีสาํ คัญของแนวคิดนี้ก็คอื “การรวมเอาระบบสังคม วัฒนธรรมและสภาวะทางชีววิทยาเข้า ด้วยกันในการศึกษาการพัฒนาของสังคม”

13


12/10/57

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (3-3) 

ทฤษฎีนเิ วศน์วิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology Theory) ทฤษฎีนิเวศน์วทิ ยาวัฒนธรรมเน้นว่า “ความเชือ่ และการปฏิบตั ติ า่ งๆตามระบบวัฒนธรรม ทีด่ ู เหมือนไร้สาระ ไม่มีเหตุผล แต่อาจมีผลในด้านการใช้ทรัพยากรอย่างมีเหตุมีผลก็ได้ โดยคํานึงถึง ระดับของเทคโนโลยีทใี่ ช้เฉพาะสถานทีด่ ว้ ย” เช่น การกินเนื้อวัวเป็ นของต้องห้ามของชาวฮินดูทงั้ ที่ ความอดอยากยากจนมีไปทัว่ อินเดียนัน้ แฮร์รสี อธิบายสิง่ เหล่านี้วา่ “การห้ามกินเนื้อวัวมีความหมาย ว่าวัวมีไว้ใช้ลากคันไถ หากไม่มีววั ก็จะไม่อาจทําการเกษตรได้ ดังนัน้ ข้อห้ามทางศาสนาจึงเป็ นการเพิ่ม ความสามารถของสังคมเกษตรกรรมในระยะยาว” โดยสรุปแล้วทฤษฎีนิเวศน์วทิ ยาวัฒนธรรมนี้จะช่วยให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างประชากร สิง่ แวดล้อมทางสังคมและลักษณะทางกายภาพในสังคมได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (4-1) 

ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion Theory) เน้นถึงกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์ทใ่ี ช้อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เรียกว่า “ลักษณะเฉพาะทางประวัติศาสตร์” (Historical Particularism) นักมานุษยวิทยาใน แนวความคิดนี้คอื ฟรานซ์ โบแอส (Franz Boas) ชี้ให้เห็นว่า “การแพร่กระจายทางวัฒนธรรมเป็ น กระบวนการทีม่ ีลกั ษณะสําคัญของวัฒนธรรมหนึ่งแพร่กระจายไปสูอ่ กี วัฒนธรรมหนึ่ง โดย ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมใหม่” นอกจากนัน้ ยังเป็ นผูส้ นับสนุนให้เกิดแนวคิดทีเ่ ชือ่ ว่า “วัฒนธรรมสามารถวัดได้ โดยนําวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างกันมาเปรียบเทียบกันและพิจารณา คุณลักษณะทีส่ งู กว่าหรือด้อยกว่าของแต่ละวัฒนธรรม แต่ยงั คงเชือ่ ว่าวัฒนธรรมนัน้ ไม่มีวฒ ั นธรรม ใดทีด่ กี ว่าหรือเลวกว่ากัน”

14


12/10/57

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (4-2) 

ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion Theory) เอช.จี. บาร์เนท (H.G. Barnett) นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกนั ผูซ้ ง่ึ สนใจศึกษาในประเด็นทีเ่ กี่ยวกับ นวัตกรรม (Innovation) ทีถ่ ือว่าเป็ นตัวแทนจากวัฒนธรรมหนึ่งและมีการถ่ายทอดไปยัง วัฒนธรรม อืน่ ในงานเขียนชือ่ “Innovation : The Basis of Cultural Change” (1953) กล่าวไว้วา่ นวัตกรรมก็คอื ความคิดหรือพฤติกรรมหรือสิง่ ใดๆก็ตามทีเ่ ป็ นของใหม่ เพราะมัน แตกต่างทางด้านคุณภาพไปจากรูปแบบทีม่ ีอยู่ บาร์เนทเชือ่ ว่า “วัฒนธรรมเปลี่ยนไปเพราะ นวัตกรรม แต่ขณะเดียวกันวัฒนธรรมบางวัฒนธรรมอาจเป็ นตัวถ่วงหรือไม่สนับสนุนให้เกิดมี นวัตกรรมก็ได้ ฉะนัน้ เขาจึงเสนอว่าจําเป็ นต้องมีวธิ ีการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมขึ้นในสังคมหรือ วัฒนธรรม”

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (4-3) 

ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion Theory) เอฟเวอเรท เอ็ม. โรเจอร์ (Everett M. Rogers) ผูเ้ ขียนงานชือ่ “Diffusion of Innovations” ได้เน้นว่า “การเปลี่ยนแปลงสังคมส่วนใหญ่เกิดจากการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมจากภายนอกเข้า มามากกว่าเกิดจากการประดิษฐ์คดิ ค้นภายในสังคม และนวัตกรรม (Innovation) ทีถ่ ่ายทอดกันนัน้ อาจเป็ นความคิด (Idea) ซึง่ รับมาในรูปสัญลักษณ์ (Symbolic Adoption) ถ่ายทอดได้ยาก หรือ อาจเป็ นวัตถุ (Object) ทีร่ บั มาในรูปการกระทํา (Action Adoption) ซึง่ จะเห็นได้ง่ายกว่า” โรเจอร์ ยังได้กล่าวอีกว่า “นวัตกรรมทีจ่ ะยอมรับกันได้ง่าย ต้องมีลกั ษณะ 5 ประการ ได้แก่ (1) มีประโยชน์ มากกว่าของเดิม (Relative Advantage) (2) สอดคล้องกับวัฒนธรรมของสังคมทีร่ บั (Compatibility) (3) ไม่ยุง่ ยากสลับซับซ้อนมาก (Less Complexity) (4) สามารถแบ่งทดลอง รับมาปฏิบตั เิ ป็ นครัง้ คราวได้ (Divisibility) และ (5) สามารถมองเห็นเข้าใจง่าย (Visibility) โดยสรุปทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมนี้จะช่วยอธิบายวิธีการ/ขัน้ ตอน ของการเผยแพร่ วัฒนธรรมหนึ่งไปสูอ่ กี วัฒนธรรมหนึ่ง ซึง่ จะต้องคํานึงถึงข้อเหมือนและข้อต่างของวัฒนธรรมทัง้ สอง เป็ นสําคัญ

15


12/10/57

แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา (5-1) แนวคิดความล้าหลังทางวัฒนธรรม (Cultural Lag) นักคิดในกลุม่ นี้ เช่น วิลเลียม อ็อก-เบอร์น (William Ogburn) นักสังคมวิทยาชาวอเมริกนั มองว่า “การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมจะก่อให้เกิดภาวะการปรับตัวไม่ทนั ขึ้นเสมอ ทําให้เกิดความเฉื่อยหรือความล้าหลังทางวัฒนธรรมขึ้น” เช่น วัฒนธรรมทางวัตถุทาํ ให้ สังคมเจริญแล้ว เช่นการมีรถยนต์ขบั แต่วฒ ั นธรรมทีไ่ ม่ใช่วตั ถุ อันได้แก่ ค่านิยม ประเพณียงั ไม่ ปรับตัวกลมกลืนกับวัฒนธรรมทางวัตถุ เพราะกลัวการเปลี่ยนแปลง ไม่กล้าเปลี่ยนนิสยั หรือ พฤติกรรม ขาดการศึกษา แม้จะมีรถยนต์แต่การปฏิบตั ติ ามกฏจราจรยังเกิดไม่เท่ากับปริมาณ รถทีเ่ พิ่มขึ้น  แนวคิดมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ (Economic Anthropology) เป็ นแนวคิดทีน่ าํ ความรูด้ า้ นเศรษฐกิจมาผสมผสานกับวิธีการทางการศึกษามานุษยวิทยา เพื่อใช้ ศึกษาลักษณะเศรษฐกิจของสังคม ซึง่ ช่วยก่อให้เกิดความเข้าใจพฤติกรรมของคนในด้านความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจได้ดยี ่งิ ขึ้น จึงสนใจในการใช้แบบแผนทางวัฒนธรรมในเรือ่ งกรรมสิทธิ์ของ ปัจจัยการผลิต วิธีการผลิต (เทคโนโลยีทใี่ ช้) และการกระจายผลผลิตทีไ่ ด้จากผลิต (ระบบตลาด) มาเป็ นกรอบในการพิจารณา 

16


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.