I Amnesty - April 2013_ไอแอมเนสตี้-เมษายน 2556

Page 1

I AMNESTY/APRIL 2013

ไอแอมเนสตี้/เมษายน 2556

I AMNESTY M A

M

N

E

S

T

O N Y

T H L Y I N T E

R

E N

— N A T

E I

W S O N

L A

E L

T

T E R T H A I

L

A

N

D

ARTIST FOR AMNESTY

แอมเนสตี้ฯ หารือ ก.ย ุติธรรม ‘ย ุติโทษประหารชีวิต’

ศุ บุญเลี้ยง ศิลปิ นผูส้ นับสนุน คนสาคัญของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย ปั จจุบนั ศุ บุญเลี้ยง ดารง ตาแหน่ง AI Ambassador ของ ประเทศไทย เพื่อร่วมเป็ นอีก หนึง่ พลังในการทางานปกป้อง คุม้ ครองและส่งเสริมให้คน ในสังคมไทยหันมามีส่วนร่วม และตระหนักในประเด็น สิทธิมนุษยชนมากขึน้ ******************** Su Boonliang ,an artist and a continually active supporter of Amnesty International Thailand. As of now, Su Boonliang has become an Amnesty International Thailand Ambassador in support the work of promote and protect human rights in Thai society along with Amnesty International Thailand.

เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2556 นางสาวปริญญา บุญฤทธิ์ ฤทัยกุล ผูอ้ านวยการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศ ไทย ยื่นหนังสือถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ระบุ ว่า แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย เรียกร้องให้ รัฐบาลไทยรักษาพันธสัญญาและเห็นค ุณค่าของท ุก ชีวิตอย่างเท่าเทียมกัน เพราะไม่มีหลักฐานใดที่แสดง ว่าโทษประหารมีสว่ นช่วยป้องกันอาชญากรรม “รั ฐบาลไทยควรพิจารณาสนับสนุนแนวโน้มที่ เกิดขึ้น ระหว่างประเทศในทางที่ ยกเลิกโทษประหาร เนื่ องจาก ประเทศไทยเป็ นหนึ่ งในไม่กี่ประเทศในโลกที่ ยั งคงใช้โทษ ประหารชีวติ และโทษดังกล่าวเป็ นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ขัน้ พื้นฐานในการมีชีวติ ตามหลั กปฏิ ญญาสากลว่าด้วยสิทธิ มนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติรวมทั้งงานวิจัย มากมายจากนานาประเทศได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าโทษ ประหารชีวติ ไม่มีความเชื่ อมโยงใดๆ กับการเพิ่มขึ้น หรือ ลดลงของอาชญากรรม” ทั้งนีแ้ อมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย นาเสนอ รายงานสถานการณ์โทษประหารชีวิตและการประหารชีวิต ในปี 2555 ต่อนายสุชน ชาลีเครือ ที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุตธิ รรม ซึ่งรับมอบแทนนาย ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย มีขอ้ เรียกร้องต่อกระทรวงยุติธรรมว่ารัฐบาลไทยควร พิจารณาสนับสนุนแนวโน้มที่เกิดขึน้ ระหว่างประเทศในทาง ที่ยกเลิกโทษประหาร ดังนี้  ประกาศพักการประหารชีวิตในทางปฏิบัตอิ ย่างเป็ น ทางการโดยทันที เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บทว่า ด้วยสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2 โดยมีเจตจานงที่จะออก กฎหมายให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในท้ายที่สดุ

 

เสนอแก้ไขกฎหมายเพื่อลดจานวนความผิดทางอาญา ที่มีบทโทษประหารชีวิต ปั จจุบัน กฎหมายไทยบัญญัติ ความผิดทางอาญาไว้มากถึง 55 ประเภทที่มี บทลงโทษประหารชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งความผิดที่ ไม่ถือเป็ น “อาชญากรรมร้ายแรงที่สดุ ” เช่น ความผิด เกี่ยวกับยาเสพติด และการลอบวางเพลิง เป็ นต้น บรรจุวาระการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตเป็ นโทษ จาคุกไว้ในแผนแม่บทว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 3 ลงนามและให้สัตยาบันรับรองพิธีสารเลือกรับฉบับที่ สองของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (Second Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights) ที่มง่ ุ ยกเลิกโทษประหารชีวิต

อ่านข่าว แอมเนสตีฯ้ หารือ ก.ยุติธรรม ยุติ ‘โทษประหาร ชีวิต’ จากหนังสือพิมพ์ออนไลน์ประชาไท http:// www.prachatai.com/journal/2013/04/46204


I AMNESTY/APRIL 2013

ไอแอมเนสตี้/เมษายน 2556 A C T I V I T I E S

I N

A P R I L

กิ จ ก ร ร ม เ ดื อ น เ ม ษ า ย น

22 เมษายน 2556: แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย ร่วมฉลองวันเกิดครบรอบปี ที่ 22 ฮาร์ดร้อคคาเฟ่ กรุงเทพฯ “22nd Anniversary - The Rock & The Legend"

เปิ ดตัวเสื้อยืดเพือ่ ปกป้องสิทธิมนุษยชน “U2 Signature Series 30 T-Shirt” โดยมี Artists for Amnesty - ตุล อพาร์มเม้นต์คณ ุ ป้า และมัสคีเทียร์ร่วม โปรโมทเสื้อยืดดังกล่าว ซึ่งมีวางจาหน่ายเฉพาะที่รา้ นร้อคช็อป ฮาร์ดร้อค เท่านัน้ (ร้านร้อคช็อป ฮาร์ดร้อค กรุงเทพฯ ตัง้ อยู่ที่สยามสแควร์ ซอย 11) รายได้ ส่วนหนึง่ จากการจาหน่ายเสื้อยืดนีย้ ทู แู ละฮาร์ดร้อคจะมอบให้แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนลเพื่อสนับสนุนการทางานปกป้อง คุม้ ครองและส่งเสริม สิทธิมนุษยชนทัว่ โลก! รวมถึงเชิญชวนร่วมในโครงการ Make Human Rights for All เป็ น ผูส้ นับสนุนงบประมาณจัดพิมพ์ "หนังสือเดินทางเพื่อสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมน ุษยชน" ส่ง ต่อ ความรค้ ู วามใจเรื่อ ง สิทธิมนุษยชนให้กบั โรงเรียน มหาวิทยาลัยทัว่ ประเทศไทย และทีมนักศึกษาฝึ กงานแอมเนสตีย้ งั ได้จดั การรณรงค์เพื่อเสรีภาพในการ แสดงออกเพื่อ Pussy Riot วงดนตรีพงั ค์ร็อคชาวรัสเซีย ซึ่งลายเซ็น สนับสนุนที่เราได้รับจะถูกส่งให้กบั รัฐบาลรัสเซียเพื่อเป็ นแรงกดดันให้ ปล่อยตัวนักโทษทางความคิดกลุ่มดังกล่าวโดยทันทีและไม่มเี งือ่ นไข รวมถึงยังมีการชักชวนผูท้ ี่มาร่วมงานในการถ่ายภาพอัพโหลดลงเว็บไซต์ และเฟซบุค เพื่อส่งไปเป็ นกาลังใจให้แก่ นาเดซดา และ มาเรีย สองนัก ดนตรีสาวที่ยงั คงถูกคุมขังอยู่ เป็ นการแสดงให้เห็นถึงแรงสนับสนุนจาก พวกเราผูไ้ ม่ยินดีตอ่ การละเมิดสิทธิมนุษยชน” ดูรปู กิจกรรม >> http://tinyurl.com/ccnkv9k ดูคลิปกิจกรรม >> http://youtu.be/ZLLIkN50XaA

April 22, 2013: Hard Rock Cafe Bangkok celebrated its 22nd Anniversary by launching the party under theme “The Rock & The Legend”. All customers are delightful with support human rights activities by “Tul-Apartment Khun Pa” and “Musketeers”, Artists for Amnesty International Thailand, for promote limitededition the U2 Signature Series: Edition 30 T-shirt, with 15 percent of the retail price to support Amnesty International’s lifesaving human rights campaigning worldwide. Apart from that, Amnesty International Thailand interns took a campaign for freedom of expression on behalf of Pussy Riot. We asked guests to sign and send postcards to President Putin, calling for him to release the band members unconditionally and immediately, respect freedom of expression, conscience and assembly, and ensure that fair trial rights are protected in Russia. Finally, we also asked guests to show their solidarity with Pussy Riot's cause by taking pictures of them with signs and postcards where we later added to Facebook for the guests to comment upon and "like". These photos and comments were then sent to Nadezhda and Maria in prison to show our support for their battle for human rights.” Read Amnesty International’s press release about the Hard Rock Cafe launches limited-edition U2 t-shirt to benefit Amnesty International>> http://www.amnesty.org/en/for-media/press-releases/hard-rock-cafelaunches-limited-edition-u2-t-shirt-benefit-amnesty-internat U2 Signature Series T-Shirt Launch in Bangkok! Photo>> http://tinyurl.com/ccnkv9k Watch the clip>> http://youtu.be/ZLLIkN50XaA


I AMNESTY/APRIL 2013

ไอแอมเนสตี้/เมษายน 2556

WRITE THE

WRONGS!

บทความจากการประกวด ‘ YO U N G

J O U R N A L I S T

O F

T H E

Y E A R ’

Under 14 Winner: Suthicha Kanacharoen, St. Andrews International School Bangkok

‘Rohingya- the Forgotten People’ Over one million ethnic Rohingyan Muslims dwell miserably in the slums of western Myanmar. Recognized by the UN as the world’s most persecuted race, the Rohingyans are ensnared in a contentious blame-game of hot potato between the Myanmarese and Bangladeshi governments, with neither side agreeing to step up and take responsibility. These people are deprived of even the essential necessities of life: including access to basic health care, education and even acceptance as official citizens of Myanmar. How can anyone live contently in a society where marriage is punishable by death? Made outcasts by their own country, the Myanmarese law proclaims Rohingyan marriages illegal in a futile attempt to prevent the ‘proliferation’ of the ethnic Muslim population, and a cruel, heavy ‘marriage tax’ strips them of any meagre savings. The majority of Myanmar consists of Buddhists who believe that today’s Rohingyans are the later generations of illegal Bengali immigrants who had arrived from Bangladesh during the country’s independence in 1948. These misleading views have, for a long time, resulted in on-going tensions between the two races. On June 10th in the state of Rakhine, flames engulfed the sky as 1,336 Rohingyan homes were reduced to ashes by local Buddhists in an act of military and state-supported ‘ethnic cleansing’- a gentler pseudonym for the truth: genocide. 200 Rohingyans were violently massacred, and 110,000 abandoned their homes, petrified for their lives. Pursued, these people are forced to survive in makeshift refugee camps along the outskirts of Myanmar, devoid of any electricity, running water and medical assistance. The Rohingyans are guarded 24/7 by armed military personnel, imprisoned like animals by a barbed wire fence. The scarcity of food has plunged them into a paradoxical famine- they are starving to death while surrounded by paddy fields of rice they cannot lay a hand on. Desperate women are willing to sell their bodies in order to bring food to their dying children’s mouths. In August, Refugee International (a non-governmental organization) predicted that there are currently 2000 ‘acutely malnourished children at a high risk of mortality’ in the camps. Thousands of Rohingya are now illegally fleeing the violence, seeking refuge in Malaysia- a Muslim majority country. “[Escaping] requires undertaking a dangerous voyage across the Indian Ocean often in rickety, overcrowded boats ill-equipped to make the journey,” indicated Maung Kyaw Nu, president of the Burmese Rohingya Association in Thailand, adding, “50% of all boat refugees die on these journeys.” On the 31st of October, a ferry stowing Rohingyan refugees sank, drowning its 130 passengers. Nevertheless, the titanic risks involved do not hinder the Rohingyas- their enthusiasm to escape far outweighs the risks. Entire villages are burnt, innocent people are becoming homeless, women are being raped, their children mercilessly slaughtered every day; yet here we are-demanding the safety of other persecuted groups but not taking real action. It is time for us to train our eyes on Myanmar- for how else can we freely embrace ‘human rights’ and ‘democracy’ in a world that abandons thousands of stateless men and women at sea, their bloated corpses washed ashore; driven away with hatred, scorn and loathing- in a land they have peacefully called ‘home’ for centuries? The most persecuted race in the world. Yet, nobody knows they exist. The Rohingyas are truly the forgotten people.

Under 14 Winner: Suthicha Kanacharoen, St. Andrews International School Bangkok


I AMNESTY/APRIL 2013

ไอแอมเนสตี้/เมษายน 2556 U p c o m i n g

i n

M A Y

กิ จ ก ร ร ม เ ดื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม 9-13 พฤษภาคม 2556: อบรมเชิง ปฏิบตั กิ าร กระบวนกรสิทธิมนุษยชนศึกษา (สาหรับเจ้าหน้าที่และนักกิจกรรม) ณ มูลนิธิเซ็นคาเบรียล กรุงเทพฯ

May 9-13, 2013: Train—the—Trainers Workshop on Human Rights Education, Saint Gabriel’s Foundation Bld., Bangkok

วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00 – 16.30 น.

แถลงข่าวเปิดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมน ุษยชนทัว่ โลก ประจาปี 2556 ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ณ ห้องเบญจก ุล โรงแรมรอยัล เบญจา ส ุข ุมวิท ซอย 5 กร ุงเทพฯ ******************************************************** 13.00 น. ลงทะเบียน 13.30 – 13.40 น. กล่าวต้อนรับ โดย คุณสมชาย หอมลออ

The Global Launch of Amnesty International Human Rights Report 2013 Thursday 23 May 2013, 13.00 – 16.30 hrs. At Benjaporn Room, 4th Floor, Royal Benja Hotel, Sukhumvit Road (Soi 5), Bangkok ******************************************** 13.00 hrs. 13.30-14.50 hrs.

ประธานกรรมการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย

13.40 – 14.00 น. ฉายวีดีโอภาพรวมสถานการณ์ทัว่ โลก 14.00 –14.30 น. สรุปภาพรวมรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนทัว่ โลก โดย คุณปริญญา บุญฤทธิ์ฤทัยกุล ผูอ้ านวยการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในพม่าและไทย โดย เอมี เอ สมิทธ์ นักวิจัย แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล 14.50 – 15.30 น. กล่าวสุนทรพจน์ประเด็นเสรีภาพในการแสดงออก โดย คุณสุกัญญา พฤกษาเกษมสุข ภรรยาคุณสมยศ พฤกษาเกษมสุข กล่าวสุนทรพจน์ประเด็นสถานการณ์ความรุนแรงในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้และการบังคับให้สญ ู หาย โดย คุณอังคณา นีละไพจิตร มูลนิธิยตุ ิธรรมเพื่อสันติภาพ 15.30 - 16.30 น. ปิ ดการแถลงข่าว

14.50-15.30 hrs.

15.30-16.00 hrs.

Registration Opening Remarks By Somchai Homlaor, Chairperson, Amnesty International Thailand Video Presentation Executive Summary of the Global Report 2012 By Parinya Boonridrerthaikul, Director, Amnesty International Thailand Human Rights Situation in Thailand and Myanmar 2012 By Amy A. Smith Myanmar/ Thailand Researcher Amnesty International Statement on Freedom of Expression at What Price? By Sukanya Preuksakasemsuk, Wife of Somyot Preuksakasemsuk, a Prisoner of Conscience Statement on Violence in the Deep South and Enforced Disappearance By Angkhana Neelapaijit, Director of Justice for Peace Foundation and Wife of Somchai Neelapaijit Q&A

***Thai-English simultaneous translation will be available ***

26 พฤษภาคม 2556: ประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2556 สัญจรภาคอีสาน ณ โรงแรมขวัญมอ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 27 พฤษภาคม 2556: แถลงข่าวเปิ ดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ทัว่ โลก ประจาปี 2556 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล สัญจรภาคอีสาน ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 30 พฤษภาคม 2556: ห้องเรียนสิทธิมนุษยชนศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปั ตตานี และโรงเรียนเจริญศรี 31 พฤษภาคม 2556: แถลงข่าวเปิ ดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ทัว่ โลก ประจาปี 2556 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล สัญจรภาคใต้ ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ จ.สงขลา

May 26, 2013: Annual General Meeting in Northeast, Kwanmor Hotel Khon Kaen University, Khon Kaen May 27, 2013: The Global Launch of Amnesty International Human Rights Report 2013, Khon Kaen University, Khon Kaen May 30, 2013: Human Rights Education Class, Prince of Songkla University, Pattani Campus May 31, 2013: The Global Launch of Amnesty International Human Rights Report 2013, Taksin University, Songkla


I AMNESTY/APRIL 2013

ไอแอมเนสตี้/เมษายน 2556

HUMAN

RIGHTS

NEWS

&

ACTIONS

องค์การสหประชาชาติกาหนดให้สิทธิมนุษยชนเป็ นหัวใจของสนธิสัญญาซื้อ ขายอาวุธฉบับประวัติศาสตร์

UN puts humanrights at heart of historic Arms Trade Treaty

โทษประหารชีวิต ปี 2555: แม้จะมีความถดถอย แต่โลกที่ปลอดจากโทษ ประหารชีวิตเริ่มใกล้ความจริงมากขึน้

Taiwan: Six more executions signal cruel about-turn on death penalty Five ‘crimes’ that can get you killed

ไต้หวัน การประหารชีวิตเพิ่มอีกหกครั้งเป็ น สัญญาณการกลับคืนมาของโทษประหาร

AI Features on Death Penalty: ‘Anyone who says we live comfortably on death row has obviously never been there’

ทัว่ โลกมุง่ สู่การยกเลิกโทษประหารชีวิต บทความ “ไม่กลัว...โทษประหารชีวิต'” “อาชญากรรม” ห้าอย่างที่อาจทาให้คณ ุ ถูกประหารชีวิต บทความพิเศษ "ใครว่าพวกเราอยูอ่ ย่างสุขสบายในแดนประหาร"

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล คือ ขบวนการเคลื่อ นไหวของ คนธรรมดากว่า 3 ล้านคนใน 150 ประเทศทัว่ โลก ที่อาสา ทางานเพื่อปกป้อง คุม้ ครองสิทธิมนุษยชน โดยมีความเป็ น กลางไม่ขนึ้ อยู่กบั รัฐบาล ความเชือ่ ทางการเมือง หรือ ศาสนาใๆ และแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ไม่ได้ตอ่ ต้าน หรือ สนับสน ุนรัฐบาลหรือระบบการเมืองใด หากแต่สนใจผูถ้ ูก ละเมิดสิทธิที่จะต้องได้รบั การคม้ ุ ครอง ซึ่งเกี่ยวข้องกับ การปกป้องคม้ ุ ครองสิทธิมน ุษยชนเพียงอย่างเดียว เท่านัน้ ! แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ดาเนินงานได้ดว้ ยเงินค่าสมัคร สมาชิกและเงินบริจาคจากผูส้ นับสน ุนทัว่ โลก แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ไม่รบั เงินจากรัฐบาล ผูม้ ีอานาจ หรือ กลมุ่ ผลประโยชน์ใดๆ ทัง้ สิ้น ในการทางานค้นคว้าวิจยั และงานรณรงค์ต่อต้านการละเมิดสิทธิมน ุษยชน วิสยั ทัศน์: โลกที่ม น ุษย์ท ุกคนได้รบั การเคารพ และปกป้อง คุม้ ครองสิทธิตามที่ระบุไว้ใน ปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน และมาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล

Amnesty International is a movement of ordinary people from around the world standing up to end grave abuses of human rights. And we're a movement that produces extraordinary results. Prisoners of conscience are released. Death sentences are commuted. Torturers are brought to justice. Governments are persuaded to change their laws and practices. Our achievements have a huge impact on the lives of individual people. And your support makes us even stronger. We are independent of any government, political ideology, economic interest or religion, and are funded mainly by our membership and public donations.

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย 90/24 ซอยลาดพร้าว 1, แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร, กรุงเทพฯ10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2 513 8745, 513 8754 แฟกซ์: +66 (0) 2 939 2534 อีเมล: info@amnesty.or.th we’re on the WEB too! http://www.amnesty.or.th and you can find us on the following social networks

www.facebook.com/AmnestyThailand

พันธกิจ: การศึกษาวิจ ยั และปฏิบตั ิการเพื่อป้องกันและยตุ ิ การละเมิดสิทธิที่สง่ ผลกระทบอย่างรุนแรงในสังคมวงกว้าง

www.twitter.com/AmnestyThailand www.youtube.com/AmnestyThailand www.flickr.com/amnestythailand

คนธรรมดา สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ ! นอกจากการสมัครเป็ นสมาชิกแล้ว คุณสามารถสนับสนุนกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชนได้โดยการเป็ นอาสาสมัครสนับสนุนการ ทางาน เป็ นนักกิจกรรมลงมือปฏิบัติการเพื่อยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยการเขียนจดหมาย ลงลายเซ็ น หรือตัง้ กลุ่มเพื่อการทากิจกรรมอย่าง เข้มข้น เป็ นผูบ้ ริจาคแบบต่อเนือ่ งเพื่อสนับสนุนการทางานเพื่อปกป้อง คุม้ ครอง และส่งเสริมสิทธิมนุษยชน

ORDINARTY PEOPLE, EXTRAORDINARY CHANGE! By bringing together ordinary people to act as one over the past 50 years, Amnesty International has become a powerful force to change the world. We ask you to join us to help Promote and Protect Human Rights in any of the following ways:

   

Join Amnesty International Thailand as a member and supporter our work Take action on one of our human rights campaigns at www.amnesty.or.th Join an Amnesty International Thailand group, sub-group or network and participate in long-term case work Make a financial contribution


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.