SAR 2553

Page 1


คํานํา พระราชบัญญัติการศึกษา

แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาํ หนดความมุ่งหมายและหลักการในด้านคุณภาพ

การศึกษา ตามหมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 และมาตรา 48 กําหนดให้ มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย การประกันคุณภาพ ภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก โดยถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการ บริ หารการศึกษา ที่ตอ้ งดําเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธาณชน เพื่อนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพื่อ รับรองการประเมินคุณภาพภายนอก โรงเรี ยนสยามบริ หารธุ รกิจ นนทบุรี ตระหนักถึงความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา และ ยึดถือเป็ นภารกิจหลักประการหนึ่งของโรงเรี ยน ดังจะเห็นได้จากการดําเนินงานด้านการประกันคุณภาพ ซึ่ง วิทยาลัยได้พยายามผลักดันให้ทุกหน่วยงาน และบุคลากรทุกคนได้มีส่วนร่ วม และดําเนินการในกิจการต่างๆ โดยคํานึงถึงการทํางานเพื่อให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพอย่างยัง่ ยืนและต่อเนื่อง และในปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยน ได้จดั ทํารายงานประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) จํานวน 6 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้ เพื่อเสนอ หน่วยงานต้นสังกัด และนําไปสู่ การพัฒนาการดําเนินงานต่อไป โดยได้รับความร่ วมมือจากบุคลากรทุกฝ่ ายเป็ น อย่างดี ร่ วมกันทํางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ อันจะนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาและคุณภาพ ของผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี คนเก่ง สามารถอยูร่ ่ วมกับสังคมได้อย่างมีความสุ ข ดังเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

โรงเรี ยนสยามบริ หารธุ รกิจ นนทบุรี


สารบัญ คํานํา สารบัญ บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1 ข้อมูลทัว่ ไป 1 ข้อมูลด้านการบริ หาร 1 ข้อมูลด้านหลักสู ตร จํานวนผูเ้ รี ยน และจํานวนผูส้ าํ เร็ จการศึกษา 5 ข้อมูลบุคลากร 9 ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ 10 ข้อมูลทรัพยากร 10 แหล่งการเรี ยนรู ้ 11 ข้อมูลด้านงบประมาณ 12 ผลงานดีเด่นในรอบปี ที่ผา่ นมา 13 บทที่ 2 สภาพการดําเนินการและผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 17 สภาพการดําเนินการประกันคุณภาพภายใน 17 ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา 29 มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รี ยนและผูส้ าํ เร็ จการศึกษาวิชาชีพ (ตัวบ่งชี้ที่ 1-9) 30 มาตรฐานที่ 2 หลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน (ตัวบ่งชี้ที่ 10-21) มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน (ตัวบ่งชี้ที่ 22-26) มาตรฐานที่ 4 การบริ การวิชาชีพสู่ สังคม (ตัวบ่งชี้ที่ 27-28) มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรม และการวิจยั (ตัวบ่งชี้ที่ 29-31) 66 มาตรฐานที่ 6 ภาวะผูน้ าํ และการจัดการ (ตัวบ่งชี้ที่ 32-34) 70 บทที่ 3 สรุ ปผลการประเมินคุณภาพภายใน สรุ ปผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ 73 มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่มีผลการดําเนินงานน่าพอใจ 76 มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่มีผลการดําเนินงานควรพัฒนาเพิ่ม 76 ภาคผนวก คณะกรรมการจัดทํารายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 77

หน้ า

46 58 64

73


1

บทที่ 1 ข้ อมูลพืน้ ฐาน 1. ข้ อมูลทัว่ ไป 1.1 ชื่อสถานศึกษา โรงเรี ยนสยามบริ หารธุ รกิจ นนทบุรี [รหัสสถานศึกษา 12100116 ] 1.2 ได้รับอนุญาตให้จดั ตั้ง วันที่ 18 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 1.3 ปัจจุบนั ตั้งอยูเ่ ลขที่ 49/178 หมู่ที่ 8 ซอย ถนนรัตนาธิเบศร์ แขวง/ตําบล บางกระสอ เขต/อําเภอ เมืองนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 11000 โทรศัพท์ 0-2589-1133 โทรสาร 0-2589-9889 E-mail SBACNON@SBAC.AC.TH Website SBAC@AC.TH 1.4 ตั้งอยูใ่ นเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 1.5 สภาพชุมชนรอบบริ เวณโรงเรี ยน ☑ ย่านธุ รกิจการค้า ☑ ใกล้สถานประกอบการภาครัฐ ☑ ใกล้สถานประกอบการภาคเอกชน ☑ ใกล้สถานศึกษาระดับเดียวกัน ☐ ใกล้นิคมอุตสาหกรรม ☐ อื่น ๆ (ระบุ) .................................... 2. ข้ อมูลด้ านการบริหาร 2.1 ผู้บริหาร ชื่ อ - สกุล ผูร้ ับใบอนุญาต ดร.ประสาน ประวัติรุ่งเรื อง

คุณวุฒิสูงสุ ด

สาขาวิชา/วิชาเอก

ปริ ญญาเอก

วิจยั และพัฒนา หลักสู ตร

ผูจ้ ดั การ นางประนอม วิโรจน์วรรณ

ปริ ญญาโท

ผูอ้ าํ นวยการ ดร.ประสาน ประวัติรุ่งเรื อง

การบริ หาร การศึกษา

ปริ ญญาเอก

วิจยั และพัฒนา หลักสู ตร

ข้ อมูลการดํารงตําแหน่ ง ตั้งแต่ (วัน/เดือน/ปี ) 1 พฤษภาคม 2550 ถึงปัจจุบนั เป็ นเวลา 3 ปี ตั้งแต่ (วัน/เดือน/ปี ) 1 พฤษภาคม 2550 ถึงปัจจุบนั เป็ นเวลา 3 ปี ตั้งแต่ (วัน/เดือน/ปี ) 1 พฤษภาคม 2550 ถึงปัจจุบนั เป็ นเวลา 3 ปี

2.2 ประวัติ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายสถานศึกษา ประวัติโรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี โรงเรี ยนสยามบริ หารธุ รกิจ นนทบุรี เป็ นโรงเรี ยนอาชีวศึกษาเอกชน สังกัดสํานักบริ หารงาน คณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิ การ รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


2 เริ่ มเปิ ดดําเนินการในปี การศึกษา 2550 หลักสู ตรที่เปิ ดสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิ ชยกรรม สาขาวิชาพณิ ชยการ สาขางานคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ สาขางานการบัญชี สาขางาน การขาย สาขางานภาษาต่างประเทศ และประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรมและการ ท่องเที่ยว สาขางานการท่องเที่ยว และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง (ปวส.) ประเภทวิชา บริ หารธุ รกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ รวมจํานวนห้องเรี ยน 31 ห้องเรี ยน ในปี การศึกษา 2551 ได้ขยายหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง (ปวส.) ประเภทวิชา บริ หารธุ รกิจ สาขาวิชาการตลาด และในปี การศึกษา 2551 ได้รับ พระมหากรุ ณาธิ คุณจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปิ ดอาคารเรี ยน “วิชชนนท์ ” โรงเรี ยน สยามบริ หารธุ รกิจ นนทบุรี วันที่ 16 มิถุนายน 2551 ในปี การศึกษา 2552 ได้ขยายอาคารเรี ยน 7 ชั้น เป็ นอาคารที่ 2 จํานวนห้องเรี ยน 40 ห้อง ห้องปฏิบตั ิการ 6 ห้อง และขยายเปิ ดหลักสู ตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขางานคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก และหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง (ปวส.) ประเภทวิชา บริ หารธุ รกิจ สาขาวิชาการบัญชี ในปี การศึกษา 2553 ได้ขยายหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง (ปวส.) ประเภทวิชา ศิลปกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรม และการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจท่องเที่ยวและประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสาร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรัชญา ทักษะเป็ นเลิศ เชิดชูคุณธรรม ก้าวนําวิชาการ เชี่ยวชาญเทคโนโลยี วิสัยทัศน์ โรงเรี ยนสยามบริ หารธุ รกิจ นนทบุรี (SBAC) กําหนดวิสัยทัศน์ในการผลิตนักเรี ยนนักศึกษาให้มี ความรู ้ความสามารถ มีความคิดสร้างสรรค์ เป็ นเลิศทางวิชาชีพ โดยมุ่งเน้นด้านภาษาต่างประเทศและ คอมพิวเตอร์ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและความต้องการของสังคมและมีคุณธรรม จริ ยธรรม สามารถทํางานร่ วมกันกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข พันธกิจ 1. พัฒนากระบวนการเรี ยนการสอน โดยมุ่งเน้นให้นกั เรี ยนเป็ นสําคัญ 2. ปรับปรุ งระบบการบริ หารงานองค์กรให้มีประสิ ทธิ ภาพ พัฒนาการบริ หารจัดการอย่างมีระบบ ทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วมและมีความรับผิดชอบต่อความสําเร็ จของงาน 3. สรรหา บรรจุ อบรมและพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู ้ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญในทุกสาขา วิชาชีพ

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


3 4. นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัยมาพัฒนาการเรี ยนการสอนและระบบ การบริ หารจัดการให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 5. ปลูกฝังและส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนตระหนักในคุณค่าของการเป็ นคนดี มีคุณธรรม จริ ยธรรม และ มารยาทอันงดงาม 6. จัดสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพของนักเรี ยบุนคลากร และชุมชน 7. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มประสบการณ์ในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะการฝึ กฝนทักษะวิชาชีพ 8. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรี ยนกับชุมชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป้าหมายของสถานศึกษา 1. พัฒนาหลักสู ตรแบบฐานสมรรถนะซึ่ งจะต้องเน้นการปฏิบตั ิจริ งการมีส่วนร่ วมของสถานประกอบการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในระดับสากล (รวมถึงทวิภาคี) 2. พัฒนาผูเ้ รี ยนในการสร้างคุณลักษณ์ของนักเรี ยนให้เกิดคุณลักษณ์ 5 ประการ อันประกอบด้วย ปรัชญาพอเพียง บุคลิกภาพ สุ ขอนามัย มีวนิ ยั และการใฝ่ เรี ยนใฝ่ รู้ 3. พัฒนาระบบสารสนเทศโดยการใช้ฐานข้อมูลของสถานศึกษาในการบริ หารจัดการภายใต้ความ รวดเร็ วถูกต้อง ครบถ้วนและเป็ นปั จจุบนั 4. พัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนในวิชาภาษาต่างประเทศและคอมพิวเตอร์ โดยคํานึงถึงความ เปลี่ยนแปลง และความต้องการทางสังคม ตลอดจนความต้องการของผูเ้ รี ยนและสถานประกอบการเป็ น สําคัญ 5. ส่ งเสริ มการวิจยั และพัฒนาเพื่อพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้และแก้ปัญหาการเรี ยนและพฤติกรรม ที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษา เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาคุณภาพผูส้ อน 6. มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมที่ให้บริ การทางวิชาการและวิชาชีพเพื่อส่ งเสริ มความรู ้ในการพัฒนา ชุมชนและท้องถิ่น 7. มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิดสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพเพื่อการประกอบการอาชีพและเพิ่มผลผลิต 8. ส่ งเสริ มการพัฒนาบุคลากรโดยเน้นการปฏิบตั ิตนตามมาตรฐานวิชาชีพ ทางการศึกษาประกอบด้วย มาตรฐานความรู ้และประสบการณ์วชิ าชีพ มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน มาตรฐานการปฏิบตั ิตน รวมทั้งการ จัดระบบพัฒนาการตอบแทน ยกย่องบุคลากรที่ประสบความสําเร็ จ (Role model) 9. จัดระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาเพื่อรับรองระบบการประกันคุณภาพภายนอก 10. ปฏิรูปการศึกษาโดยยึดหลักคุณธรรมนําความรู ้ สร้างความตระหนัก สํานึกในคุณค่าของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิถีชีวติ ประชาธิ ปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็ นพื้นฐานของกระบวนการ เรี ยนรู ้ ที่เชื่อมโยงความร่ วมมือของสถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


4

2.3 โครงสร้ างการบริหาร โดยแบ่ งเป็ นฝ่ าย / แผนก / งาน คณะกรรมการบริ หารโรงเรี ยน ผูอ้ าํ นวยการ ผูจ้ ดั การ รองผูอ้ าํ นวยการ ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป -

งานทรัพยากรบุคคล งานทะเบียน งานบัญชี การเงิน งานอาคารสถานที่ งานศูนย์อาหาร งานทุนกูย้ มื งานธุรการ งานสหการ ร้านค้า

ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน -

งานปกครอง งานสารเสพติด งานรักษาดินแดน งานกีฬา งานการให้คาํ ปรึ กษา

ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านแนะแนว) - งานประชาสัมพันธ์ - งานแนะแนวการศึกษา - งานแนะแนวอาชี พ

ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) -

งานชุมชนสัมพันธ์ งานกิจกรรม งานสมาคมศิษย์เก่า งานห้องพยาบาล งานวัฒนธรรม

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายวิชาการ - งานพัฒนาหลักสู ตรและ การจัดการเรี ยนการสอน - งานวัดผลและประเมินผล - งานอาจารย์ที่ปรึ กษา - งานนิ เทศการสอน - งานห้องสมุด - งาน MIS - งานชมรม - งานสาขาวิชา

ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายประกันคุณภาพและพัฒนาระบบ - งานแผนงานและงบประมาณ - งานแผนยุทธศาสตร์ - งานแผนงบประมาณประจําปี การศึกษา - งานแผนปฏิบตั ิการประจําปี การศึกษา - งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา - งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา - งานติดตาม/ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา - งานประเมินคุณภาพการศึกษา - งานวิจยั และพัฒนา - งานวิจยั - งานประเมินกิจกรรม/โครงการ - งานประเมิน ๓๖๐ องศา


5 3. ข้ อมูล หลักสู ตร จํานวนผู้เรียนและจํานวนผู้สําเร็จการศึกษา 3.1 ข้อมูลหลักสู ตรและจํานวนผูเ้ รี ยนรอบเช้า/รอบบ่าย ตารางที่ 1 จํานวนผูม้ าเรี ยน / ครู ผสู ้ อน รอบเช้า/รอบบ่าย จํานวนนักนักศึกษา/ครู ผสู ้ อน (ปี การศึกษา 2553) นักศึกษา

ประเภทวิชา

ระดับปวช. ปวช.1

สาขางาน

ครู ผสู ้ อน

ปวช.2

ระดับปวส.

ปวช.3

รวม

ปวส.1

ปวช.

ปวส.2

ปวส.

เช้า

บ่าย

เช้า

บ่าย

313

27

27

8

8

เช้า

บ่าย

เช้า

บ่าย

เช้า

บ่าย

เช้า

บ่าย

รวมสาขา

เช้า

บ่าย

เช้า

บ่าย

รวม นศ.

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 272

282

150

245

207

274

629

801

1,430

49

147

28

89

บัญชี

43

49

45

76

87

0

175

125

300

0

57

0

0

57

8

8

2

2

การขาย

45

48

41

0

36

0

122

48

170

0

59

0

21

80

6

6

3

3

ภาษาต่างประเทศ

85

0

50

0

53

0

188

0

188

0

0

0

0

0

20

0

0

0

การท่องเที่ยว

84

92

60

59

31

68

175

219

394

0

37

0

0

37

8

8

2

2

คอม ฯ กราฟิ ก

139

134

72

100

0

0

211

234

445

41

56

0

0

97

8

8

2

2

สารสนเทศ

0

0

0

0

0

0

0

45

0

0

45

0

0

2

2

รวม

668

605

418

1,500

1,427

2,927

90

401

28

110

629

77

57

19

19

0 480

414

342

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


6 3.2 หลักสู ตรที่ได้รับอนุญาตให้เปิ ดสอนและจํานวนนักเรี ยน/นักศึกษาในปี การศึกษา (โปรดกรอกข้อมูลในตารางที่ 1 สาขาวิชา/สาขางานใดที่ไม่มีนกั เรี ยน/ นักศึกษาให้ใส่ จาํ นวนเป็ น 0 [ศูนย์] ) ตารางที่ 2 จํานวนนักเรี ยน/นักศึกษา และห้องเรี ยน จําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ที่เปิ ดสอนในปี การศึกษา 2553 จํานวนผู้เรียนและห้ องเรียน ชั้นปี ที่ 2

จํานวน ห้ องเรียน ทีไ่ ด้ รับ อนุญาต

ชาย

หญิง

รวม

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาษาต่างประเทศ การบัญชี การขาย อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การโรงแรมและการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว ศิลปกรรม ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

33 4 7 4 11 11

329 21 23 49 55 215

225 64 69 44 121 58

554 85 92 93 176 273

12 2 2 2 4 6

222 12 19 19 42 110

173 38 102 22 77 62

395 50 121 41 119 172

10 1 3 1 4 5

284 18 10 20 32 0

197 35 77 16 67 0

481 53 87 36 99 0

11 1 2 1 3 0

33 4 7 4 11 11

1,430 188 300 170 394 445

รวมปวช.

70

692

581

1,273

28

424

474

898

24

364

392

756

18

70

2,927

หลักสู ตร/ประเภทวิชา ปวช. พาณิ ชยกรรม

สาขาวิชา

พณิ ชยการ

สาขางาน

ชั้นปี ที่ 1 นักเรียน

ห้ อง

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

นักเรียน ชาย หญิง รวม

ห้ อง

ชั้นปี ที่ 3 นักเรียน

ชาย หญิง รวม

รวม รวม ห้ อง ห้ องเรียน


7 ตารางที่ 2 (ต่ อ)

หลักสู ตร/ประเภทวิชา ปวส. บริ หารธุรกิจ

สาขาวิชา

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การตลาด ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร รวม ปวส. รวม ปวช.และ ปวส.

สาขางาน

จํานวนผู้เรียนและห้ องเรียน ชั้นปี ที่ 2

จํานวน ห้ องเรียน ทีไ่ ด้ รับ อนุญาต

ชาย

หญิง

รวม

10 2 5 4 1

82 8 19 54 13

114 49 40 43 24

196 57 59 97 37

6 2 4 4 1

34 0 6 0 0

83 0 15 0 0

117 0 21 0 0

4 0 1 0 0

0 0 0 0 0

0 0 0 0 0

0 0 0 0 0

0 0 0 0 0

10 2 5 4 1

313 57 80 97 37

1

34

11

45

1

0

0

0

0

0

0

0

0

1

45

23 93

210 902

281 862

491 1,764

18 46

40 464

0 364

0 392

0 756

0 18

23 93

629 3,556

ชั้นปี ที่ 1 นักเรียน

ห้ อง

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

นักเรียน ชาย หญิง รวม

ห้ อง

98 138 5 572 1,036 29

ชั้นปี ที่ 3 นักเรียน

ชาย หญิง รวม

รวม รวม ห้ อง ห้ องเรียน


8 3.2 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา ตารางที่ 3 จํานวนผูส้ าํ เร็ จการศึกษาจําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ในปี การศึกษา 2553 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา หลักสู ตร/ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ชาย หญิง รวม ปวช. พณิ ชยการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 237 172 409 พาณิ ชยกรรม ภาษาต่างประเทศ 16 31 47 การบัญชี 10 76 86 การขาย 18 15 33 อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การโรงแรมและการ การท่องเที่ยว 30 57 87 ท่องเที่ยว รวม ปวช. 311 351 662 ปวส. บริ หารธุ รกิจ

การตลาด คอมพิวเตอร์ธุรกิจ รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

7 18 25 336

13 50 63 414

20 68 88 750


9 4. ข้ อมูลบุคลากร ตารางที่ 4 จํานวนบุคลากรจําแนกตามตําแหน่ง เพศ ระดับการศึกษา คุณวุฒิวชิ าชีพครู และอายุงานเฉลี่ย

ป.ตรี

ป.โท

ป.เอก

1 1 0 4 3 111 55 19 194

ตํ่ากว่า ป.ตรี

1. ผูร้ ับใบอนุญาต/ผูอ้ าํ นวยการ 2. ผูจ้ ดั การ 3. ผูบ้ ริ หาร 3.1 รองผูอ้ าํ นวยการ 3.2 ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ 3.3 รองผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ 4. ครู ประจําการ 5. บุคลากรทางการศึกษา 6. บุคลากรสนับสนุน รวม

หญิง

รวม

เพศ

ชาย

ตําแหน่ ง

จํานวน (คน) ระดับการศึกษาสู งสุ ด

1 0 1 2 35 22 5 66

1 0 3 1 76 33 14 128

0 2 19 21

0 1 1 100 51 153

0 3 2 11 2 18

1 1 0 2

* หมายถึง วุฒิปริ ญญาทางการศึกษา และ/หรื อปริ ญญาทางวิชาชีพ + ป.บัณฑิต

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ผู้ทมี่ ี อายุงาน คุณวุฒิ เฉลีย่ วิชาชี พครู * (ปี ) 1 1 0 4 3 111 120

4 4 0 3.4 3.5 2.3 3.9 4 3.14


10 5. ข้ อมูลด้ านอาคารสถานที่ สภาพของอาคารสถานที่ปัจจุบนั ที่มีอยูจ่ ริ งและใช้งาน ณ วันที่รายงาน มีดงั นี้ - จํานวนอาคารเรี ยน 2 หลัง - จํานวนอาคารประกอบ 1 หลัง - จํานวนห้องเรี ยน 87 ห้อง - จํานวนห้องปฏิบตั ิการ 22 ห้อง - จํานวนห้องพักครู 17 ห้อง - จํานวนห้องประกอบ 22 ห้อง 6. ข้ อมูลทรัพยากรของโรงเรียน ตารางที่ 5 การใช้ทรัพยากรจําแนกตามสถานที่ใช้งาน จํานวนทรัพยากรทีใ่ ช้ งาน (เครื่อง) รายการทรัพยากร ห้ องเรียน ห้ องปฏิบัติการ สํ านักงาน 6.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ 525 44 6.2 เครื่ องพิมพ์ดีดภาษาไทย 200 6.3 เครื่ องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ 100 6.4 เครื่ องพิมพ์ดีดไฟฟ้ า 1 6.5 เครื่ องคอมพิวเตอร์ MACINTOSH 26 7. แหล่งเรียนรู้ 7.1 แหล่ งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ตารางที่ 6 การใช้แหล่งเรี ยนรู ้ภายในสถานศึกษา แหล่ งเรียนรู้ 7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4 7.1.5 7.1.6 7.1.7 7.1.8 7.1.9 7.1.10 7.1.11

ห้องสมุด ห้องศูนย์วฒั นธรรม สหการ สวนหย่อม ต้นไม้พดู ได้ ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ ศูนย์อาหาร ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการภาษาต่างประเทศ ห้องปฏิบตั ิการบัญชี ห้องปฏิบตั ิการการตลาด ห้องปฏิบตั ิการการโรงแรมฯ

ขนาด (ตร.ม.)

จํานวนผู้เรียนทีใ่ ช้ ต่อปี

480 64 64 100 64 720 320 64 64 64 64

2,021 2,321 2,321 2,321 1,097 2,321 2,321 2,321 206 127 294

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


11 7.2 แหล่ งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา ตารางที่ 7 การใช้แหล่งเรี ยนรู้ภายนอกสถานศึกษา แหล่ งเรียนรู้

จํานวนผู้เรียนทีใ่ ช้ ต่อปี

7.2.1 โรงงานตุก๊ ตาสุ นทรี และโรงโอ่งรัตนโกสิ นทร์ 7.2.2 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลและการอนุรักษ์ จังหวัดชลบุรี 7.2.3 อุทยานแห่งชาติภูเรื อ พระธาตศรี สองรัก พิพิธภัณฑ์ผตี าโขน โรงไวน์ชาโต้ เดอ เลย จังหวัดเลย 7.2.4 ไหว้พระ ไหว้เสริ มมงคลชีวติ 9 สถานที่ จังหวัดนนทบุรี 7.2.5 พิพิธภัณฑ์ทหารเรื อ ฟาร์ มจระเข้ และสวนสัตว์ สมุทรปราการ เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ

85 455 32

7.2.6 อนุสาวรี ยท์ า้ วสุ รนารี ปราสาทหิ นพนมวัน พิพิธภัณฑ์ไม้ กลายเป็ นหิ น ฟาร์ มโชคชัย จังหวัดนครราชสี มา 7.2.7 พระราชวังบางปะอิน อุทยานประวัติศาสตร์ วัดใหญ่ชยั มงคล วัดพนัญเชิง จังหวัดพระนครศรี อยุทธยา 7.2.8 องค์การบริ หารส่ วนตําบลคลองโคลน (วัดคลองโคลน) จังหวัดสมุทรสงคราม

115

7.2.9 การท่าเรื อแห่งประเทศไทยและบริ ษทั เอเวอร์ กรี น คอนเทนเนอร์ เทอร์ มินลั ประเทศไทย จํากัด 7.2.10 พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน 7.2.11 กรมอุตุนิยมวิทยา

50

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

200 108

200 350

964 200


12 8. ข้ อมูลด้ านงบประมาณและการบริหาร งบประมาณรับ – จ่าย (ปี การศึกษา 2553) ตารางที่ 8 งบประมาณและการบริ หารงบประมาณ

8.1.1 8.1.2 8.1.3 8.1.4 8.1.5 8.1.6

8.1 รายรับ 8.2 รายจ่ าย หมายเหตุ รายการ บาท รายการ บาท ค่าธรรมเนียมการศึกษา 55,000,000 8.2.1 เงินเดือนครู 24,516,279.85 เงินอุดหนุนเป็ นค่าใช้จ่าย 34,159,590.93 8.2.2 เงินเดือนบุคลากรอื่น 3,070,004.75 รายหัวนักเรี ยน 8.2.3 ค่าตอบแทนครู และบุคลากร 1,255,741.85 ค่าธรรมเนียมอื่นเพื่อพัฒนา 839,731 8.2.4 งบปรับปรุ งอาคารสถานที่ 217,904.90 คุณภาพการศึกษา 8.2.5 งบพัฒนาเครื่ องมืออุปกรณ์ 50,664 ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ 3,814,440 สื่ อการสอน เงินบริ จาค 223,262.50 8.2.6 ค่าวัสดุฝึก 2,291,009.48 อื่น ๆ - 8.2.7 งบพัฒนาบุคลากร 3,295,443.95 8.2.8 ค่าสาธารณูปโภค 5,301,761.78 8.2.9 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 22,642,523.87 รวมรับ 94,037,024.43 รวมจ่ าย 62,641,334.43

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


13 9. ผลงานดีเด่ นในรอบปี ทีผ่ ่ านมา (ระบุรางวัลทีไ่ ด้ รับ) สถานศึกษา 1. เกียรติบตั รรางวัลชนะเลิศการประกวด “โรงอาหารโรงเรี ยนดีเด่นระดับมัธยมศึกษา ปวช. และปวส.” 2. รับโล่รางวัล “โครงการคลองสวยนํ้าใส ถวายในหลวงและงานมหกรรมการศึกษาเอกชน นนทบุรี ประจําปี 2553” 3. รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่น จังหวัดนนทบุรี ประจําปี 2553 4. รับมอบป้ ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่ อย Clean Food Good Taste จากนายกเทศมนตรี นครนนทบุรี 5. รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดสวดหมู่ทาํ นองสรภัญญะ ระดับอาชีวศึกษา ในกิจกรรมงาน “สัปดาห์ส่งเสริ มพระพุทธศาสนาเนื่องในเทศกาลวันวิสาขบูชา ประจําปี 2553” 6. รับมอบป้ ายประกาศเกียรติคุณ และใบประกาศนียบัตร รับรองโรงเรี ยนมาตรฐานระบบ การต้านยาเสพติด QAD 2009 จากสภากาชาดไทย 7. รับรางวัล “ หนึ่งโรงเรี ยน หนึ่งนวัตกรรม” ประจําปี การศึกษา 2553 จากรัฐมนตรี ช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ 8. เกียรติบตั รรางวัล อันดับ 1 ของอําเภอ นนทบุรี และเกียรติบตั รรางวัลชมเชย อันดับ 1 ระดับ จังหวัด ในการประกวดการประดับธงชาติ จากรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดนนทบุรี 9. ได้รับโปรดเกล้าฯ พระกฐินพระราชทาน ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ โครงการพระสงฆ์นาํ ชัยคุม้ ภัยใต้ 10. รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันแอโรบิครวมพล “คนรักแม่” เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ผู้บริหาร 1 ดร.ประสาน ประวัตงเรื ิรุ่ อง ผูอ้ าํ นวยการ - ได้รับพระราชทานของที่ระลึก “ในฐานะที่เป็ นผูม้ ีจิตศรัทธาและผูท้ ี่ทาํ คุณประโยชน์ต่อ พระพุทธศาสนา เนื่องในวันมาฆบูชา ประจําปี 2553” จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ าจุฬาภรณ์ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี - ได้รับเกียรติบตั รโครงการ “เมืองไทยเมืองคนดี” จากสํานักงานจังหวัด นนทบุรี 2. นางศิรินนั ท์ โชติญาณนนท์ - ได้รับรับเกียรติบตั รโครงการ “เมืองไทยเมืองคนดี” จากสํานักงานจังหวัด นนทบุรี ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคลส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้านยาเสพติดประเภทดีเด่น จากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


14 3. นายปรี ชา ดาราเย็น - ได้รับรางวัลผูป้ ฏิบตั ิงานออกตรวจจัดระเบียบนักเรี ยนนักศึกษา แบบบูรณาการดีเด่น จังหวัดนนทบุรี ประจําปี 2553 - ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคลส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้านยาเสพติดประเภทดีเด่น จากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย 4. นายเฉลิมชัย วิโรจน์วรรณ ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคลส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้าน ยาเสพติดประเภทดีเด่นจากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย 5. นายอภิชา โสดา ได้รับรางวัลครู ดีเด่นด้านบําเพ็ญประโยชน์ดา้ นสิ่ งแวดล้อมใน “โครงการ คลองสวยนํ้าใส ถวายในหลวงและงานมหกรรมการศึกษาเอกชน นนทบุรี ประจําปี 2553” 6. นางเพ็ญศรี มัน่ นาค ได้รับโล่รางวัล และเกียรติบตั รรางวัล ยอดครู ผมู ้ ีอุดมการณ์ใน “โครงการตามรอยเกียรติยศครู ผมู ้ ีอุดมการณ์ และจิตวิญญาณครู ” ครู

1. นางสาวอาภาวรรณ มีโภคกิจ ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคล ส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้าน ยาเสพติด ประเภทระดับครู แกนนําดีเด่น จากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย 2. นางสาวสุ นทรี ทองมาก ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคล ส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้าน ยาเสพติดประเภทระดับครู แกนนําดีเด่น จากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย 3. นายทวีศกั ดิ์ อัฐทอง ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคล ส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้านยาเสพติด ประเภทระดับครู แกนนําดีเด่น จากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย 4. นายสงกรานต์ ใจดี ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคล ส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้านยาเสพติด ประเภทระดับครู แกนนําดีเด่น จากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย 5. นางสาวเทวิณี ศิริพิกุลพันธุ์ ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคล ส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้าน ยาเสพติดประเภทระดับครู แกนนําดีเด่น จากสํานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย 6. นางณัฐมนตรา ดาราเย็น ได้รับเกียรติบตั รรางวัลครู ในดวงใจ เนื่องในงานวันครู แห่งชาติ ครู เอกชนนนทบุรี น้อมบูชาพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งชาติ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ จาก ดร.สุ วทิ ย์ มูลคํา ผอ.สพป.นบ.1 7. นายพีรพงษ์ พรมโคตร ได้รับเกียรติบตั รรางวัลครู ในดวงใจ เนื่องในงานวันครู แห่งชาติ ครู เอกชนนนทบุรี น้อมบูชาพระผูท้ รงเป็ นครู แห่งชาติ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ จาก ดร.สุ วทิ ย์ มูลคํา ผอ.สพป.นบ.1

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


15 นักเรียน/นักศึกษา 1. นางสาวนภัสสร ช่วยเกิด - ได้รับรางวัลนักเรี ยนรางวัลพระราชทาน ประจําปี การศึกษา 2553 - ได้รับรางวัลชนะเลิศในการประกวดนํ้าหวานละครเรื่ อง “ระบําดวงดาว” ในรายการราตรี สโมสร 2. นางสาวสุ รดา โสสุ ทธิ์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง การประกวดร้องเพลงพระราช นิพนธ์ ใน “โครงการคลองสวยนํ้าใส ถวายในหลวงและงานมหกรรมการศึกษาเอกชน นนทบุรี ประจําปี 2553” 3. นักเรี ยนนักศึกษา ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดกระทงอนุรักษ์สายนํ้า ประเภทความ สวยงาม ใน “โครงการคลองสวยนํ้าใส ถวายในหลวงและงานมหกรรมการศึกษาเอกชน นนทบุรี ประจําปี 2553” จํานวน 3 คน ได้แก่ 3.1 นางสาวสุ ภาพร สกุลจียน 3.2 นางสาวมินธิ ญา โนรี 3.3 นายสิ ทธิ ศกั ดิ์ บุญรอด 4. นักเรี ยนนักศึกษา วงดนตรี ลูกทุ่ง VIP SBAC นนทบุรี - ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดลูกทุ่ง และแดนเซอร์ ระดับอาชีวศึกษา ใน “โครงการ คลองสวยนํ้าใส ถวายในหลวงและงานมหกรรมการศึกษาเอกชนนนทบุรี ประจําปี 2553” - ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง การประกวดร้องเพลงลูกทุ่งพร้อมแดนเซอร์ งานมหกรรม เครื อข่ายเยาวชนแกนนําป้ องกัน และเฝ้ าระวังปั ญหายาเสพติด 5. นายธนพล ทองดาด ได้รับรางวัลเยาวชนดีเด่นเรื่ องเอดส์จงั หวัดนนทบุรี ใน “โครงการ พัฒนาเครื อข่ายการดําเนินการดําเนินงานป้ องกันและแก้ไขปั ญหาเอดส์ จังหวัดนนทบุรี ประจําปี 2553” 6. นางสาวอริ สรา พงษ์จนั ทร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 3 การประกวดนางนพมาศ ณ วัดใหญ่ สว่างอารมณ์ 7. นางสาวโมธากานต์ คนตรง ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันกีฬาเปตองเหรี ยญทอง กีฬา กองทัพอากาศ 8. นักเรี ยนนักศึกษา ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันกีฬาเปตองเหรี ยญทองแดง กีฬา กองทัพอากาศ จํานวน 4 คน ได้แก่ 8.1 นางสาวโมธากานต์ คนตรง 8.2 นางสาวรัตติรจ สํารวมจิดา 8.3 นางสาวอารี ยา แก้วมุกดา 8.4 นางสาวเบญจมาศ เดชเดช 9. นางสาวประกายดาว อโศกบุญรัตน์ ได้รับคัดเลือกเป็ น “เยาวสตรี ไทยดีเด่นประจําปี 2553” 10. นักเรี ยนนักศึกษาได้รับเกียรติบตั รโครงการ “เมืองไทยเมืองคนดี” จากสํานักงานจังหวัด นนทบุรี รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


16 11. นักเรี ยนนักศึกษาได้รับรางวัลชมเชยการแข่งขันทักษะฝี มือแรงงานระดับอาเซี ยน สาขา พนักงานออกแบบเว็บเพจและสาขากราฟิ กดีไซน์ 12 . นักเรี ยนนักศึกษา ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคล ส่ งเสริ มมาตรฐานระบบการต้านยาเสพติด ประเภทดีเด่น ประจําปี การศึกษา 2553 จํานวน 20 คน ได้แก่ 11.1 นางสาวจารุ ณี นิ่มคุม้ 11.2 นายชัชพล โพธิ์ ต้นั 11.3 นายเอกกํากร โพธิ์ แดง 11.4 นายภวิศ จันทร์ สัมฤทธิ์ 11.5 นายณัฐพงษ์ เหี้ยมหาญ 11.6 นายอนุชิต รักวิชา 11.7 นางสาวพัชริ นทร์ จุย้ ประเสริ ฐ 11.8 นางสาววนัญญา เชยหอม 11.9 นายยงยุทธ แก้วเกตุ 11.10 นางสาวพรสวรรค์ ไท้ทอง 11.11 นางสาวใหม่ ยอดขวัญ 11.12 นายณัฐพล แจ้งบํารุ ง 11.13 นางสาวมณี รัตน์ อามาตมนตรี 11.14 นายอิสระพงษ์ พานิช 11.15 นางสาวโมธากานต์ คนตรง 11.16 นางสาวเหมวรรณ ระงับทุกข์ 11.17 นางสาวอรอนงค์ หล่าบรรเทา 11.18 นายคมสัน เกร็ งชื่อ 11.19 นางสาวกุสุมา ศรี วรมย์ 11.20 นายวิทวัท เกิดสกุล 13. รางวัลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ครั้งที่ 25 กลุ่มภาคกลางจากสมาคมโรงเรี ยนอาชีวเอกชนแห่ง ประเทศไทย รวม 94 เหรี ยญ - เหรี ยญทอง 50 เหรี ยญ - เหรี ยญเงิน 21 เหรี ยญ - เหรี ยญทองแดง 23 เหรี ยญ

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


17

บทที่ 2 สถานภาพดําเนินการและผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1. สภาพการดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1.1 การวางแผนปฏิบตั ิการประจําปี ของสถานศึกษา 1.1.1 การจัดทําแผนปฏิบตั ิการประจําปี โรงเรี ยนจัดทําแผนปฏิบตั ิการประจําปี 2553 โดยการศึกษาหาข้อมูลความต้องการจําเป็ นโดยการ จัดประชุมร่ วมกับคณะกรรมอํานวยการ ผูป้ กครอง คณะครู บุคลากร และชุมชน ซึ่ งทางโรงเรี ยนได้นาํ ผลการประชุมร่ วมกันจัดทําโครงการงานเพื่อเป็ นแผนปฏิบตั ิการประจําปี ซึ่ งผลที่ปรากฏคือ มีโครงการ ทั้งสิ้ น 81 โครงการ

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


18 ตารางที ตารางที่ ่89 แผนปฏิ แผนปฏิบบตั ตั ิกิการประจํ ารประจําาปีปี ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

จํานวนบุคลากรเข้าร่ วมมากกว่าร้อยละ 80

ส.ค. 53 – ต.ค. 53

29,720

ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านแนะแนว)

2. โครงพัฒนาพัฒนาบุคคล 3. โครงการขอรับเธอหว้ในหวใจ SBAC ปวช.

จํานวนบุคลากรเข้าร่ วมมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนใหม่ทุกคนเกิดความประทับใจและมี ทัศนคติที่ดีมากกว่าร้อยละ 80

เม.ย. 53 – มี.ค. 54 พ.ค. 53- ต.ค. 53

55,600 250,000

ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านแนะแนว)

4. โครงการ ขอรับเธอไว้ในหัวใจ...SBAC (รอบ ปวส.) 5. โครงการการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ 2553

นักศึกษาใหม่รอบพิเศษมีความสามัคคีและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษาปรับตัวและทราบนโยบายของ โรงเรี ยนมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนชั้น ปวช. ได้รับทุนโดยผ่านการคัดเลือก อย่างมีประสิ ทธิ ภาพจํานวน 50 ทุน

ก.พ. 53 – พ.ค. 53

109,660

ก.พ. 53 –มิ.ย. 53

437,050

ก.ย. 53 – มี.ค. 54

671,060

ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านแนะแนว) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านแนะแนว) ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป

แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

แผนงานการพัฒนาคุณภาพบุคลากร 1. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่

6. โครงการทุนการศึกษา SBAC นนทบุรี

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


19

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ)

แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

7. โครงการส่ งเสริ มคุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิยมที่ดี งาม 8. โครงการส่ งเสริ มเอกลักษณ์ของชาติและ ภูมิปัญญาไทย 9. โครงการส่ งเสริ มบุคลิกภาพภาวะผูน้ าํ และความเป็ น นักประชาธิ ปไตย 10. โครงการ คนรุ่ นใหม่ไม่ใฝ่ หายาเสพติด 11. โครงการตรวจสารเสพติด 12. โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน

13. โครงการกีฬาสี SBAC นนทบุรี ครั้งที่ 4 (SBAC NON GAMES 4rd) 14. โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนนักศึกษา

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

นักเรี ยนมีคุณธรรมจริ ยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม พ.ค. 53 – ก.พ. 54 และเข้าร่ วมกิจกรรมร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษามีค่านิยมและการประพฤติปฏิบตั ิ พ.ค. 53 – ก.ค. 53 ที่ดีงาม และเข้าร่ วมกิจกรรมมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษามีบุคลิกภาพดี กล้าแสดงออก พ.ค. 53 – ก.ย. 53 และทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้มากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษามีความรู ้และเป็ นผูห้ ่างไกลยาเสพ พ.ค. 53 – ก.ย. 53 ติดมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษาเป็ นผูห้ ่างไกลยาเสพติดและ พ.ค. 53 – ม.ค. 54 ปลอดสารเสพติดมากกว่าร้อยละ 90 โรงเรี ยนมีสัมพันธภาพอันดีกบั ผูป้ กครองของ 22 มิ.ย. 53 – นักเรี ยนกลุ่มใส่ ใจและกลุ่มใกล้ชิดในเขตนนทบุรี 31 มี.ค. 54 และจังหวัดใกล้เคียงมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษารู ้จกั ออกกําลังกายและมีน้ าํ ใจ 1 ต.ค. 53 – 26 ก.พ. 54 นักกีฬามากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 พ.ค. 53 – พ.ค. 54 รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

413,625

62,275

ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

10,790

ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

160,340

ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

71,724.50

ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

35,246

ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

1,000 29,300


20

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ) แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

15. โครงการทัศนศึกษาและปั จฉิ มนิเทศนักเรี ยน ปวช.3 นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 และ ปวส.2 16. โครงการอนุรักษ์ทรัพยากร นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 17. โครงการดนตรี ต่อต้านยาเสพติด

นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

18. โครงการแอโรบิกรวมพลคนรักแม่

นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

19. โครงการบริ จาคโลหิ ต

นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

20. โครงการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพในสถาน ประกอบการณ์ 21. โครงการบริ การวิชาชีพสู่ ชุมชน 22. โครงการศึกษาดูงาน

นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

671,000

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

3,500

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

6,500

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

4,000

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

4,000

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

7,600

ฝ่ ายวิชาการ

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

6,100

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

750,000

ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ

ผู้รับผิดชอบ ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม)


21

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ) แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ แผนกคอมพิวเตอร์ ธุ รกิจ แผนกคอมพิวเตอร์ ธุ รกิจ แผนกคอมพิวเตอร์ ธุ รกิจ แผนกคอมพิวเตอร์ ธุ รกิจ แผนกคอมพิวเตอร์ ธุ รกิจ แผนกคอมพิวเตอร์ กราฟิ กฯ แผนกคอมพิวเตอร์ กราฟิ กฯ

23. โครงการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ผลงานแผนก คอมพิวเตอร์ 24. โครงการบริ การวิชาชีพสู่ ชุมชน

นักเรี ยนสาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจนําสื่ อด้าน คอมพิวเตอร์ไปใช้เผยแพร่ ต่อชุมชน นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

2 ก.ค. 53 – 31 ม.ค. 54

3,765

ม.ค. 53 – 31 ก.พ. 54

450,000

25. โครงการจัดตั้งศูนย์ทดสอบฝี มือแรงงาน

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

พ.ค. 53 – 31 ก.พ. 54

33,465

23 มิ.ย. 53 – 30 พ.ย. 53

108,900

21 มิ.ย. 53 – 24 ก.พ. 54

82,526

14 มิ.ย. 53 – 8 ก.ค. 53

2,515

2 มิ.ย. 53 – 20 ต.ค. 53

82,809

26. โครงการศึกษาดูงานภายนอกสถานที่ของนักเรี ยน นักเรี ยนสาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจทุกระดับชั้นมี นักศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ความรู ้นอกเหนือจากที่ได้รับในห้องเรี ยน 27. โครงการจัดแข่งขันทักษะวิชาชีพคอมพิวเตอร์ นักเรี ยนสาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจทุกระดับชั้นนํา ทักษะคอมพิวเตอร์ ไปใช้ประกอบอาชีพ 28. โครงการหลอมใจ CG-IT เป็ นหนึ่งเดียว นักเรี ยนชั้น ปวช.1 – ปวส.1 สาขาคอมพิวเตอร์ กราฟิ กฯมีความสามัคคีมากกว่าร้อยละ 80 29. โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


22

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ)

แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

30. โครงการสอนศิลป์ กินใจ ได้บุญ

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

14 มิ.ย. 53 – 12 ต.ค. 53

9,475

31. โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ 32. โครงการบริ การวิชาชีพสู่ ชุมชน 33. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพสู่ ชุมชน 34. โครงการ “”สานสัมพันธ์นอ้ งพี”่ รุ่ นที่ 4 รวมพลคน การตลาด SBAC นนทบุรี 35. โครงการ 1,300 ต้นกล้า คืนสู่ ป่าเฉลิมพระเกียรติ

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนและครู ผสู ้ อน สาขาการตลาดทุกคนรู ้จกั การทํางานเป็ นทีม แสดงความเป็ นนักตลาด นักเรี ยนชมรมค่ายอาสาฯและครู รวม 372 คนร่ วม สร้างแนวป่ าชายเลนและมีความรู ้เรื่ องระบบนิเวศ นักเรี ยนและครู ผสู ้ อนสาขาภาษาต่างประเทศ มีความสามัคคีมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนสาขาภาษาต่างประเทศได้พฒั นาทักษะ การใช้ภาษาต่างประเทศมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

มี.ค. 53 – มี.ค. 54 ส.ค. 53 – มี.ค. 54 มี.ค. 53 – ม.ค. 54 14 มิ.ย. 53 – 30 มิ.ย. 53

20,959 1,200 6,900 21,362.50

แผนกคอมพิวเตอร์ กราฟิ กฯ แผนกบัญชี แผนกบัญชี แผนกบัญชี แผนกการตลาด

28 มิ.ย. 53 – 18 ก.ค. 53

174,860

แผนกการตลาด

2 มิ.ย. 53 – 16 มิ.ย. 53

9,024

แผนกภาษาต่างประเทศ

15 พ.ค. 53 – 28 ธ.ค.

9,024

แผนกภาษาต่างประเทศ

พ.ย. 53 – ธ.ค. 53

3,075

แผนกการตลาด

36. โครงการ We are one รุ่ นที่ 4 SBAC นนทบุรี 37. โครงการ English for you 38. โครงการสัมนาเชิงปฎิบตั ิการทางการตลาด

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


23

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ)

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนสาขาการท่องเที่ยวฯ ชั้น ปวช.1-ปวส.1 มี ความสามัคคีและทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้มากกว่า ร้อยละ 80 นักเรี ยนชั้น ปวช.1 – ปวส.1 สาขาการท่องเที่ยวฯ กล้าแสดงออกและมีความคิดสร้างสรรค์มากกว่า ร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

พ.ย. 53 – เม.ย. 54 25 พ.ค. 53 – 12 มิ.ย. 53

750,6000 2,682

แผนกการตลาด แผนกการท่องเที่ยว และการโรงแรม

15 ต.ค. 53 – 30 พ.ย. 53

20,130

แผนกการท่องเที่ยว และการโรงแรม

มิ.ย. 53 – ก.พ. 54

439ม128.50

43. โครงการส่ งเสริ มทักษะทางวิชาการและวิชาชีพแข่ง นักเรี ยนผ่านเกณฑ์การทดสอบการพิมพ์ดีดตาม ทักษะภายใน เกณฑ์ 35 คํา/นาที 44. โครงการบํารุ งรักษาเครื่ องพิมพ์ดีด นักเรี ยนสามารถบํารุ งรักษาเครื่ องพิมพ์ดีดได้ มากกว่าร้อยละ 80 45. โครงการส่ งเสริ มทักษะทางวิชาการและวิชาชีพนอก นักเรี ยนระดับ ปวช. ฝึ กทักษะนอกเวลาเรี ยนและ เวลาเรี ยน มีความชํานาญมากกว่าร้อยละ 80

12 ต.ค. 53 – 2 ธ.ค. 53

3,575

แผนกการท่องเที่ยว และการโรงแรม แผนกพิมพ์ดีด

12 ต.ค. 53 – 26 ก.พ. 54

4,520

แผนกพิมพ์ดีด

15 มิ.ย. 53 – 25 ก.พ. 54

3,550

แผนกพิมพ์ดีด

แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

39. โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ 40. โครงการสานสัมพันธ์พี่นอ้ ง

41. โครงการการแข่งขัน SBAC บาร์ เทนเดอร์ ครั้งที่ 1

42. โครงการ Aroud The Wold

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


24

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ) แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม 46. โครงการรําลึกถึงสุ นทรภู่ 47. โครงการสัปดาห์วนั วิทยาศาสตร์ 48. โครงการศึกษาดูงานส่ วนพระองค์ 49. โครงการหมอรักภาษา 50. โครงการวันภาษาไทยแห่งชาติ 51. โครงการเยาวชนพัฒนาจิตใกล้ชิดธรรมะ 52. โครงการ 1 บาท เพื่อสมองของฉัน 53. โครงการ ยุวบรรณารักษ์ 54. โครงการ SBAC นนท์ ให้บริ การสู่ ชุมชน 55. โครงการห้องสมุด SBAC นนท์ให้บริ การสู่ ชุมชน 56. โครงการ Library News 57. โครงการ Happy Library 2011

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนร่ วมกันบริ จาคเงินเพื่อนําไปจัดซื้ อหนังสื อ มากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษาจํานวน 10 คนเข้าร่ วมโครงการ และเข้าใจงานห้องสมุดมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนและครู จาํ นวน 50 คนเข้าร่ วมโครงการ และบําเพ็ญประโยชน์เพื่อส่ วนรวม นักเรี ยนจํานวน 10 คน เข้าร่ วมกิจกรรมและใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ดว้ ยการอ่าน นักเรี ยนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ดว้ ยการอ่าน ร้อยละ 80

พ.ค. 53 – มิ.ย. 53 ก.ค. 53 – ส.ค. 53 พ.ย. 53 มิ.ย. 53 –ธ.ค. 53 ก.ค. 53 พ.ย. 53 –ก.พ. 54 มิ.ย. 53 – ต.ค. 53

3,919 6,169 9,900 4,270 3,860 200,560 47,246

แผนกสามัญ แผนกสามัญ แผนกสามัญ แผนกสามัญ แผนกสามัญ แผนกสามัญ แผนกห้องสมุด

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

1,010

แผนกห้องสมุด

พ.ค. 53 – ก.พ. 54 พ.ย. 52 – เม.ย. 53

2,275 2,605

แผนกห้องสมุด แผนกห้องสมุด

มิ.ย. 53 – ต.ค. 53

7,465

แผนกห้องสมุด

ธ.ค. 53 – มี.ค. 54

3,556.50

แผนกห้องสมุด

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


25

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ) แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม แผนงานการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน 58. โครงการศึกษาดูงาน 59. โครงการวิชาชีพสู่ ชุมชน 60. โครงการการประชุมผูป้ กครอง

61. โครงการวันวิชาการ

62. โครงการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพในสถาน ประกอบการ แผนงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ 63. โครงการเอสแบคฟุตซอลนักเรี ยนคัฟ ประจําปี การศึกษา 2553 64. โครงการครู ในดวงใจ

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

มี.ค. 53 – เม.ย. 54

750,000

ฝ่ ายวิชาการ

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80 ผูป้ กครองของนักเรี ยนทุกระดับชั้นเข้าร่ วมเพื่อ เข้าใจถึงกฎระเบียบโรงเรี ยนและทราบผลการ เรี ยนของนักเรี ยนมากกว่าร้อยละ 80 นักเรี ยนนักศึกษา บุคลากร และโรงเรี ยนสามัญใน เขตนนทบุรีได้เข้าร่ วมกิจกรรมเพื่อแลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ทุกคน นักเรี ยนนักศึกษา มากกว่าร้อยละ 80

7 มี.ค. 53 – 10 ต.ค. 53 1 พ.ค. 53 – 10 ก.ย. 53

61.000 82,040

ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ

15 พ.ค. 53 – 1 ต.ค. 53

98,850

ฝ่ ายวิชาการ

ก.พ. 54 – พ.ย. 54

76,000

ฝ่ ายวิชาการ

พ.ย. 53 – เม.ย. 54

400,000

ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป

พ.ค. 53

21,375

ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านแนะแนว)

นักกีฬาเข้าร่ วมแข่งขันมากกว่าร้อยละ 90

ตัวแทนครู ในดวงใจอย่างน้อย 50 โรงเรี ยนเกิด ความภาคภูมิใจในวิชาชีพครู นักเรี ยนแสดงความ กตัญ�ูกตเวที และช่วยประชาสัมพันธ์โรงเรี ยน รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


26

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ)

แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

บุคลากรภายในและภายนอกโรงเรี ยนได้มีส่วน ร่ วม รวม 120 ทีม 66. โครงการโรงเรี ยนต้นแบบมาตรฐานระบบต้านยา นักเรี ยน บุคลากร และชุมชน รู ้จกั วิธีการป้ องกัน เสพติด ( Qualifications for Anti-Drugs Policy: สิ่ งเสพติด รวมทั้งเผยแพร่ ความรู ้ได้มากกว่าร้อย QAD) ละ 50 67. โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ บุคลากรทุกฝ่ ายพัฒนาระบบได้มากกว่าร้อยละ 80 68. โครงการพัฒนางานวิจยั และนวตกรรมสู่ ระดับชาติ บุคลากรทุกฝ่ ายพัฒนาระบบได้มากกว่าร้อยละ 90 69. โครงการประเมิน 360 องศา บุคลากรทุกฝ่ ายพัฒนาระบบได้มากกว่าร้อยละ 90 70. โครงการศูนย์เครื อข่ายป้ องกันและแก้ไขปั ญหา นักเรี ยนมีความรู ้ ตระหนักถึงพิษภัย และมีส่วน เอดส์ โรงเรี ยนสยามบริ หารธุ รกิจ นนทบุรี ร่ วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและโรงเอดส์ มากกว่าร้อยละ 80 71. โครงการศูนย์เครื อข่ายจัดระเบียบนักเรี ยนแบบ เยาวชนในเขตจังหวัดนนทบุรีและจังหวัดใกล้เคียง บูรณาการ จังหวัดนนทบุรี ศูนย์โรงเรี ยนสยาม ได้รับการปกป้ องดูแลจากศูนย์เครื อข่าย บริ หารธุรกิจ นนทบุรี 72. โครงการชุมชนร่ วมใจปลอดภันยาเสพติด นักเรี ยนนักศึกษาแกนนํา เยาวชน ผูป้ ระกอบการ ร้านเกมส์ มอเตอร์ ไซต์รับจ้างมีส่วนเฝ้ าระวังและ แก้ไขปั ญหายาเสพติดในชุมชนมากกว่าร้อยละ 80 65. โครงการ SBAC นนท์โบว์ลิ่งเกมส์ ครั้งที่ 2

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

ก.ย. 53 – ม.ค. 54

104,800

พ.ค. 53 – 14 ม.ค. 54

1354744

ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

พ.ค. 53 – เม.ย. 54 พ.ค. 53 – เม.ย. 54 พ.ค. 53 – เม.ย. 54 มิ.ย. 53 – มี.ค. 54

5,620 150,000 12,000 149,800

ฝ่ ายประกันคุณภาพ ฝ่ ายประกันคุณภาพ ฝ่ ายประกันคุณภาพ ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

1 พ.ค. 53 – 10 มี.ค. 54

149,800

ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

4 พ.ย. 53 – 18 ก.พ. 54

46ม500

ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน


27

ตารางที่ 9 แผนปฏิบตั ิการประจําปี (ต่อ) แผน/งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย (จะทําอะไร จํานวนครั้ง วัน คน)

ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวัน เดือน ปี

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

73. โครงการโรงเรี ยนต้นแบบมาตรฐานต้านยาเสพติด (QAD) 74. โครงการโรงเรี ยนพี่โรงเรี ยนน้อง

นักเรี ยนร้อยละ 100 ปลอดสารเสพติด

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

1,354,744

ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน

นักเรี ยนเข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

17,000

75. โครงการโบลิ่งการกุศล

ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80

พ.ค. 53 – มี.ค. 54

444,500

76. โครงการสร้างขวัญและกําลังใจบุคลากร 77. โครงการอนุรักษ์ผา้ ไทย 78. โครงการพัฒนาแหล่งการเรี ยนรู ้และภูมิทศั น์ 79. โครงการเอสแบคฟุตซอลคัฟ ประจําปี การศึกษา 2553 80. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข้อมุล 81. โครงการระบบสํานักงานไร้กระดาษ E-Offie

บุคลากรมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 90 บุคลากรมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80 จํานวนแหล่งเรี ยนรู้ที่ได้รับการพัฒนา ทีมนักกีฬาที่ให้ความร่ วมมือมากกว่าร้อยละ 80

พ.ค. 53 – เม.ย. 54 พ.ค. 54 – เม.ย. 54 เม.ย. 54 – เม.ย. 55 ก.ย. 53 – 24 พ.ย. 53

667,048 5,050 785,050 400,000

ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายกิจการนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป

บุคลากรทุกฝ่ ายใช้ฐานข้อมูลมากกว่าร้อยละ 80 ทุกฝ่ ายใช้ฐานข้อมูลได้มากกว่าร้อยละ 80

พ.ย. 53 – ต.ค. 53 พ.ค. 53 – ธ.ค. 53

500,053 45,230

แผนก MIS แผนก MIS

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


28 1.2 การนําแผนไปสู่ การปฏิบตั ิ 1.2.1 ขั้นตอนการนําแผนปฏิบตั ิการประจําปี ไปปฏิบตั ิจริ ง โรงเรี ยนได้จดั เตรี ยมเอกสารและมอบแผนปฏิบตั ิการของโรงเรี ยนให้ครู ทุกคน จัดประชุม เพื่อให้ทุกคนมีความเข้าใจ งาน/โครงการ งบประมาณที่ได้รับและอธิ บายขั้นตอนการจัดทํางาน/โครงการ โดยการเสนอเรื่ องขออนุญาตดําเนินโครงการ/กิจกรรม ส่ งเอกสารขออนุมตั ิดาํ เนินการติดต่อประสานงาน ดําเนินการ สรุ ปประเมินผล ซึ่ งจะมีการนําเสนอผลการสรุ ปโครงการเป็ นรู ปเล่มนําผลการประเมินมา ปรับปรุ งแก้ไขในครั้งต่อไป 1.2.2 ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปี ในการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปี มีการตั้งเป้ าหมายได้ในแผนปฏิบตั ิการและ ดําเนินการ สรุ ปประเมินผล ผลการดําเนินงานปรากฏ ดังนี้ จํานวนโครงการ/กิจกรรม เป้ าหมาย 81 80% 1.3 การตรวจสอบติดตามการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปี 1.3.1 วิธีการตรวจสอบ ติดตาม มีการติดตามเป็ น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 มีเอกสารแจ้งให้เริ่ มดําเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม ระยะที่ 2 มีการจัดทําคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ประชุมเตรี ยมการรายงานระหว่าง การดําเนินงานด้วยวาจาในการประชุมปรึ กษาหารื อ เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาอุปสรรคเฉพาะหน้า (ถ้ามี) ระยะที่ 3 มีการประชุมสรุ ปงาน ปั ญหา อุปสรรค และหาแนวทางแก้ไขเพื่อใช้ปรับปรุ งใน ครั้งต่อไปและสรุ ปงานเอกสารเป็ นรู ปเล่ม 1.3.2 ผลการตรวจสอบ ติดตาม จากการตรวจสอบติดตาม พบว่าแต่ละโครงการจะมีปัญหาที่พบในบางโครงการ ได้แก่ การประสานงานได้ไม่ครบทุกคนทําให้ไม่รู้ขอ้ มูลอย่างทัว่ ถึง 1.3.3 ข้อเสนอแนะ การดําเนินงานโครงการ ตามกระบวนการPDCA พบว่าในขั้นการวางแผน(P) การดําเนินงาน(D) และการตรวจสอบ (C) ค่อนข้างทําให้สมบูรณ์ในทุกขั้นตอน แต่ที่พบปั ญหา คือ บางกิจกรรมยังไม่นาํ ผล ประเมินไปพัฒนาปรับปรุ ง (ขั้น A) 1.4 การพัฒนาปรับปรุ งงาน ส่ วนใหญ่ในทุกโครงการ/กิจกรรม เมื่อจะเริ่ มจัดทําโครงการ/กิจกรรม จะมีการจัดประชุม คณะกรรมการดําเนินงาน และมีการนําปั ญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขมาร่ วมพิจารณาเพื่อป้ องกัน ปัญหาที่จะเกิดขึ้นอีกต่อไป และกําหนดเป็ นแนวทางปฏิบตั ิงานในครั้งต่อไป

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


29 2. ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ประกอบด้ วย 6 มาตรฐาน 34 ตัวบ่ งชี้ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รี ยนและผูส้ าํ เร็ จการศึกษาวิชาชีพ ประกอบด้วย 9 ตัวบ่งชี้ (ตัวบ่งชี้ที่ 1-9) มาตรฐานที่ 2 หลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน ประกอบด้วย 12 ตัวบ่งชี้ (ตัวบ่งชี้ที่ 10-21) มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ (ตัวบ่งชี้ที่ 22-26) มาตรฐานที่ 4 การบริ การวิชาชีพสู่ สังคม ประกอบด้วย 2 ตัวบ่งชี้ (ตัวบ่งชี้ที่ 27-28) มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจยั ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ (ตัวบ่งชี้ที่ 29-31) มาตรฐานที่ 6 ภาวะผูน้ าํ และการจัดการ ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ (ตัวบ่งชี้ 32-34)

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


30 มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษาวิชาชี พ ข้ อกําหนดที่ 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผูเ้ รี ยนและผูส้ าํ เร็ จการศึกษาในเรื่ องต่อไปนี้ ข้ อกําหนด 1.1 ความรู ้และทักษะวิชาชีพตามหลักสู ตรที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวบ่ งชี้ที่ 1 ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเกณฑ์ที่กาํ หนดตามชั้นปี คําอธิบาย ผูเ้ รี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนผ่านเกณฑ์การพ้นสภาพของระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การ ว่าด้วยการประเมินผลการเรี ยนตามหลักสู ตร ในแต่ละประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน จําแนกตามชั้นปี เมื่อเทียบกับผูเ้ รี ยนที่ลงทะเบียนเรี ยนในแต่ละชั้นปี ตารางที่ 10 ผูเ้ รี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนผ่านเกณฑ์การประเมินผลการเรี ยนที่กาํ หนดตามชั้นปี จํานวนผู้เรียน ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

76.25 92.13 75.28 58.23

3 3 3 1

385 119 40 50

300 113 37 40

77.92 94.96 92.50 80.00

3 3 3 3

479 86 36 53

386 69 29 41

80.58 80.23 80.56 77.36

3 3 3 3

การท่องเที่ยว

165

145

87.88

3

116

87

75.00

3

99

71

71.72

2

คอมพิวเตอร์กราฟิ ก 251 1,191

175 910

69.72 76.41

2 3

168 878

164 741

97.62 84.40

3 3

0 753

00 596

0 79.15

0 3

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

1,382 1,081 78.22 294 264 89.80 165 133 80.61 182 127 69.78

ผลการประเมิน

คิดเป็ นร้ อยละ

395 82 67 46

คิดเป็ นร้ อยละ

ผ่านเกณฑ์

518 89 89 79

ผ่านเกณฑ์

ผู้เรียนทั้งหมด

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

ผู้เรียนทั้งหมด

ผลการประเมิน

การโรงแรมและ การท่องเที่ยว ศิลปกรรม รวม ปวช.

รวมทุกชั้นปี

คิดเป็ นร้ อยละ

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม

พณิ ชยการ

สาขางาน

ชั้นปี ที่ 3

ผ่านเกณฑ์

ปวช. พาณิ ชยกรรม

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทั้งหมด

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 1

3 3 3 2

79.74

3

419 339 80.91 2,822 2,247 79.62

3 3

380

303


31 ตารางที่ 10 (ต่อ)

ผู้เรียนทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

รวมทุกชั้นปี

ผลการประเมิน

สาขางาน

ชั้นปี ที่ 3

คิดเป็ นร้ อยละ

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ศิลปกรรม

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผ่านเกณฑ์

ปวส. บริ หารธุรกิจ

ชั้นปี ที่ 1 ผู้เรียนทั้งหมด

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

จํานวนผู้เรียน

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การตลาด

161 53 54

86 46 37

53.42 86.79 68.52

1 3 2

102 0 19

78 0 15

76.47 0 78.95

3 0 3

0 0 0

0 0 0

0 0 0

0 0 0

263 53 73

164 46 52

62.36 86.79 71.23

2 3 2

เทคโนโลยีสารสนเทศ

38

13

34.21

1

0

0

0

0

0

0

0

0

38

13

34.21

1

75.86 74.42 63.66 73.08

3 3 2 2

0 0 121 999

0 0 3 3

0 0 0 753

0 0 0 596

0 0 0 79.15

0 0 0 3

75.86 74.42 66.61 77.53

3 3 2 3

ธุรกิจการท่องเที่ยว คอมพิวเตอร์กราฟิ ก รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

29 22 86 64 421 268 1,612 1,178

0 0 0 0 93 76.86 834 83.48

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง นักเรี ยนผ่านเกณฑ์พน้ สภาพมากกว่า ร้อยละ 74 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง นักเรี ยนผ่านเกณฑ์พน้ สภาพร้อยละ 60 - 74 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง นักเรี ยนผ่านเกณฑ์พน้ สภาพน้อยกว่าร้อยละ 60

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

29 22 86 64 542 361 3,364 2,608


32 คะแนนเฉลีย่ ผ่ านเกณฑ์ พ้นสภาพตามระเบียบ ศธ. ว่าด้ วยการวัดผลและประเมินผลการเรียน ปวช.1 คะแนนผลการเรี ยนเฉลี่ยไม่ต่าํ กว่า 1.50 ปวส.1 คะแนนผลการเรี ยนเฉลี่ยไม่ต่าํ กว่า 1.75 ปวช.2 คะแนนผลการเรี ยนเฉลี่ยไม่ต่าํ กว่า 1.75 ปวส.2 คะแนนผลการเรี ยนเฉลี่ยไม่ต่าํ กว่า 1.90 ปวช.3 คะแนนผลการเรี ยนเฉลี่ยไม่ต่าํ กว่า 1.90

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


33 ข้ อกําหนดที่ 1.2 ความรู ้ความเข้าใจในหลักการด้านคณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ให้สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในงานอาชีพได้ ตัวบ่ งชี้ที่ 2 ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่สามารถประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ มาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบตั ิงานอาชีพอย่างมีระบบ คําอธิบาย ผูเ้ รี ยนที่จดั ทําผลงาน นวัตกรรม ประดิษฐ์ งานวิจยั โครงงานและ/หรื อโครงการวิชาชีพ โดยประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์ในการ แก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ หรื อพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนที่แสดงถึงการคิดอย่างมีเหตุผล ทํางานและแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ มีทกั ษะในการประยุกต์ใช้ตวั เลข เช่น การอ่านและการแปลความหมายของภูมิ ข้อมูล สถิติต่าง ๆ ตามหลักสู ตรในแต่ละประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน จําแนกตามชั้นปี ตารางที่ 11 จํานวนและร้อยละผูเ้ รี ยนที่มีผลงาน โดยประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ จํานวนผู้เรียน ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ที่มผี ลงาน

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

77.03 95.51 71.91 75.95

3 3 2 3

385 119 40 50

321 108 27 47

83.38 90.76 67.50 94.00

3 3 2 3

479 86 36 53

412 81 33 49

86.01 94.19 91.67 92.45

3 3 3 3

การท่องเที่ยว

165

139

84.24

3

116

102

87.93

3

99

90

90.91

3

คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

251 1,191

177 924

70.52 77.58

2 3

168 878

152 757

90.48 86.22

3 3

0 753

0 665

0 88.31

0 3

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

1,382 1,132 81.91 294 274 93.20 165 124 75.15 182 156 85.71 380

331

ผลการประเมิน

คิดเป็ นร้ อยละ

399 85 64 60

คิดเป็ นร้ อยละ

ที่มผี ลงาน

518 89 89 79

ที่มผี ลงาน

ผู้เรียนทั้งหมด

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

ผู้เรียนทั้งหมด

ผลการประเมิน

การโรงแรมและ การท่องเที่ยว ศิลปกรรม รวม ปวช.

รวมทุกชั้นปี

คิดเป็ นร้ อยละ

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม

พณิ ชยการ

สาขางาน

ชั้นปี ที่ 3

ที่มผี ลงาน

ปวช. พาณิ ชยกรรม

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทั้งหมด

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 1

3 3 3 3

87.11

3

419 329 78.52 2,822 2,346 83.13

3 3


34 ตารางที่ 11 (ต่อ) จํานวนผู้เรียน ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ที่มผี ลงาน

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ที่มผี ลงาน

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ที่มผี ลงาน

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

รวมทุกชั้นปี

คิดเป็ นร้ อยละ

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด การบัญชี ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก เทคโนฯและการสื่ อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยว รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

สาขางาน

ชั้นปี ที่ 3

ที่มผี ลงาน

ปวส. บริ หารธุรกิจ

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทั้งหมด

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 1

161

103

63.98

2

102

86

84.31

3

0

0

0

0

263

189

71.57

2

54 53 86 38 29

36 51 54 22 20

66.67 96.23 62.79 57.89 68.97

19 0 0 0 0

6 0 0 0 0

31.58 0 0 0 0

0 0 0 0 0

0 0 0 0 0

42 51 54 22 20

57.50 96.23 62.79 57.89 68.97

67.93

121

92

76.03

0

0

0

0 0 0 0 0 0

73 53 86 38 29

286

1 0 0 0 0 3

0 0 0 0 0

421

2 3 2 1 2 2

542

378

69.74

1 3 2 1 2 2

1,612 1,210 75.06

3

999

849

84.98

3

753

665

88.31

3

3,364 2,724 80.98

3

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่มีผลงาน มากกว่าร้อยละ 74 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่มีผลงาน ร้อยละ 60 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่มีผลงาน น้อยกว่าร้อยละ 60

– 74

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


35 ข้ อกําหนดที่ 1.3 ทักษะในการใช้ภาษาสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวบ่ งชี้ที่ 3 ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีทกั ษะในการสื่ อสารด้านการฟัง การอ่าน การเขียน และการสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ คําอธิบาย จํานวนผูเ้ รี ยนที่มีทกั ษะด้านการฟัง การอ่าน การเขียน และการสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จําแนกตามหลักสู ตรประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและชั้นปี ที่เปิ ดสอน ตารางที่ 12 จํานวนและร้อยละผูเ้ รี ยนที่มีทกั ษะในการสื่ อสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ จํานวนผู้เรียน

ผู้เรียนทั้งหมด

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

72.20 95.51 64.04 91.14

2 3 2 3

385 119 40 50

354 108 28 42

91.95 90.76 70.00 84.00

3 3 2 3

479 86 36 53

462 81 35 38

96.45 94.19 97.22 71.70

3 3 3 2

การท่องเที่ยว

165

91

55.15

1

116

104

89.66

3

99

95

95.96

3

คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

251 1,191

137 816

54.58 68.51

1 2

168 878

116 752

69.05 85.65

2 3

0 753

0 711

0 94.42

0 3

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

1,382 1,190 86.11 294 274 93.20 165 120 72.73 182 152 83.52

ผลการประเมิน

ผลการประเมิน

374 85 57 72

คิดเป็ นร้ อยละ

คิดเป็ นร้ อยละ

518 89 89 79

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

สาขางาน

ผู้เรียนทั้งหมด

ผู้เรียนทั้งหมด

การโรงแรมและ การท่องเที่ยว ศิลปกรรม รวม ปวช.

ผลการประเมิน

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม

พณิ ชยการ

รวมทุกชั้นปี

คิดเป็ นร้ อยละ

ปวช. พาณิ ชยกรรม

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 3

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทั้งหมด

ชั้นปี ที่ 1

3 3 2 3

76.32

3

419 253 60.38 2,822 2,279 80.76

2 3

380

290


36 ตารางที่ 12 (ต่อ) จํานวนผู้เรียน

ผู้เรียนทั้งหมด

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

102 19 0 0 0 0 121 999

78 17 0 0 0 0 95 847

76.47 89.47 0 0 0 0 78.51 84.78

3 3 0 0 0 0 3 3

0 0 0 0 0 0 0 753

0 0 0 0 0 0 0 711

0 0 0 0 0 0 0 94.42

0 0 0 0 0 0 0 3

เกณฑ์ การประเมิน

ระดับคุณภาพ 3 (ดี) ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง)

หมายถึง ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการสื่ อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ มากกว่า ร้อยละ 74 หมายถึง ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการสื่ อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 60 - 74 หมายถึง ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการสื่ อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ น้อยกว่าร้อยละ 60 รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ผลการประเมิน

ผลการประเมิน

2 3 3 2 2 3 3 2

คิดเป็ นร้ อยละ

คิดเป็ นร้ อยละ

70.19 74.07 96.23 70.93 63.16 82.76 74.35 70.04

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

161 113 54 40 53 51 86 61 38 24 29 24 421 313 1,612 1,129

สาขางาน

263 191 73 57 53 51 86 61 38 24 29 24 542 408 3,364 2,687

72.62 78.08 96.23 70.93 63.16 82.76 83.03 79.88

2 3 3 2 2 3 3 3

ผู้เรียนทั้งหมด

ผู้เรียนทั้งหมด

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด การบัญชี ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก เทคโนฯและการสื่ อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยว รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

รวมทุกชั้นปี

ผลการประเมิน

ปวส. บริ หารธุรกิจ

ชั้นปี ที่ 3

คิดเป็ นร้ อยละ

สาขาวิชา

ผู้เรียนทั้งหมด

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ทักษะไทย-ต่ างประเทศ

ชั้นปี ที่ 1


37 ข้ อกําหนดที่ 1.4 ความรู ้และทักษะการใช้เทคโนโลยีที่จาํ เป็ นในการศึกษาค้นคว้าและปฏิบตั ิงานวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม ตัวบ่ งชี้ที่ 4 ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถในการใช้ความรู ้และเทคโนโลยีที่จาํ เป็ นในการศึกษาค้นคว้า และปฏิบตั ิงานวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม คําอธิบาย ผูเ้ รี ยนที่สามารถใช้ความรู ้และเทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้า เช่น อินเตอร์ เน็ต และเทคโนโลยีในการปฏิบตั ิงานวิชาชีพ เช่น การเขียนแบบด้วย คอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมซี เอ็นซี การใช้โปรแกรมสําเร็ จรู ปทางวิชาชีพ ฯลฯ ตามหลักสู ตรในแต่ละประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานจําแนกตามชั้นปี ตารางที่ 13 จํานวนและร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถใช้ความรู ้และเทคโนโลยีปฏิบตั ิงานวิชาชีพได้ จําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชาและชั้นปี จํานวนผู้เรียน

ผลการประเมิน

67.37 91.01 70.79 83.54

2 3 2 3

385 119 40 50

298 107 40 48

77.40 89.92 100.0 96.00

3 3 3 3

479 86 36 53

415 83 33 47

86.64 96.51 91.67 88.68

3 3 3 3

การท่องเที่ยว

165

117

70.91

2

116

96

82.76

3

99

93

93.94

3

คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

251 1,191

161 837

64.14 70.28

2 2

168 878

139 728

82.74 82.92

3 3

0 753

0 671

0 89.11

0 3

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

1,382 1,062 76.85 294 271 92.18 165 136 82.42 182 161 88.46

ผลการประเมิน

คิดเป็ นร้ อยละ

349 81 63 66

คิดเป็ นร้ อยละ

ผู้เรียนที่นําความรู้ ไปใช้

518 89 89 79

ผู้เรียนที่นําความรู้ ไปใช้

ผู้เรียนทั้งหมด

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

สาขางาน

ผู้เรียนทั้งหมด

ผลการประเมิน

รวม ปวช.

คิดเป็ นร้ อยละ

การโรงแรมและ การท่องเที่ยว ศิลปกรรม

ผู้เรียนที่นําความรู้ ไปใช้

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม

ผู้เรียนทั้งหมด

พณิ ชยการ

ผลการประเมิน

ปวช. พาณิ ชยกรรม

รวมทุกชั้นปี

คิดเป็ นร้ อยละ

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 3

ผู้เรียนที่นําความรู้ ไปใช้

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทั้งหมด

ชั้นปี ที่ 1

3 3 3 3

80.53

3

419 300 71.60 2,822 2,236 79.23

2 3

380

306


38 ตารางที่ 13 (ต่อ) จํานวนผู้เรียน

ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

ผู้เรียนทีน่ ําความรู้ ไปใช้

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

75 17 0 0 0 0 92 820

73.53 89.47 0 0 0 0 76.03 82.08

2 3 0 0 0 0 3 3

0 0 0 0 0 0 0 753

0 0 0 0 0 0 0 671

0 0 0 0 0 0 0 89.11

0 0 0 0 0 0 0 3

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 ดี) ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง)

หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่นาํ ความรู ้ไปใช้ มากกว่า ร้อยละ 74 หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่นาํ ความรู ้ไปใช้ ร้อยละ 60 - 74 หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่นาํ ความรู ้ไปใช้ น้อยกว่าร้อยละ 60 รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ผลการประเมิน

คิดเป็ นร้ อยละ

102 19 0 0 0 0 121 999

คิดเป็ นร้ อยละ

ผู้เรียนทีน่ ําความรู้ ไปใช้

2 2 3 2 1 3 2 2

ผู้เรียนทีน่ ําความรู้ ไปใช้

ผู้เรียนทั้งหมด

72.67 64.81 86.79 63.95 57.89 75.86 70.55 70.35

263 192 73 52 53 46 86 55 38 22 29 22 542 389 3,364 2,625

73.00 71.23 86.79 63.95 57.89 75.86 71.77 78.03

2 2 3 2 1 3 2 3

ผู้เรียนทั้งหมด

ผลการประเมิน

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด การบัญชี ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก เทคโนฯและการสื่ อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยว รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

รวมทุกชั้นปี

161 117 54 35 53 46 86 55 38 22 29 22 421 297 1,612 1,134

สาขางาน

ปวส. บริ หารธุรกิจ

ชั้นปี ที่ 3

คิดเป็ นร้ อยละ

สาขาวิชา

ผู้เรียนทั้งหมด

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทีน่ ําความรู้ ไปใช้

ชั้นปี ที่ 1


39 ข้ อกําหนดที่ 1.5 คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ การมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ตัวบ่ งชี้ที่ 5 ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี คําอธิบาย ผูเ้ รี ยนที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม เช่น ความรับผิดชอบ ความมีวนิ ยั ความซื่ อสัตย์ ความเมตตากรุ ณา ความขยันอดทน การประหยัดและออมการ หลีกเลี่ยงอบายมุขและสิ่ งเสพติดเป็ นต้น การมีมนุษยสัมพันธ์ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม ตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ตามชั้นปี ตารางที่ 14 จํานวนและร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี จําแนกตามหลักสู ตร ประเภท วิชา สาขาวิชาและชั้นปี จํานวนผู้เรียน

ผลการประเมิน

84.75 87.64 91.01 81.01

3 3 3 3

385 119 40 50

317 103 32 41

82.34 86.55 80.00 82.00

3 3 3 3

479 86 36 53

402 71 32 43

83.92 82.56 88.89 81.13

3 3 3 3

การท่องเที่ยว

165

151

91.52

3

116

97

83.62

3

99

85

85.86

3

คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

251 1,191

210 1,023

83.67 85.89

3 3

168 878

136 726

80.95 82.69

3 3

0 753

0 633

0 84.06

0 3

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ผลการประเมิน

คิดเป็ นร้ อยละ

439 78 81 64

คิดเป็ นร้ อยละ

ผู้เรียนที่มพี ฤติกรรม 3 ด้ าน*

518 89 89 79

ผู้เรียนที่มพี ฤติกรรม 3 ด้ าน*

ผู้เรียนทั้งหมด

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

สาขางาน

1,382 1,158 294 252 165 145 182 148

83.79 85.71 87.88 81.32

3 3 3 3

333

87.63

3

419 346 2,822 2,382

82.58 84.41

3 3

ผู้เรียนทั้งหมด

ผลการประเมิน

รวม ปวช.

คิดเป็ นร้ อยละ

การโรงแรมและ การท่องเที่ยว ศิลปกรรม

ผู้เรียนที่มพี ฤติกรรม 3 ด้ าน*

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม

ผู้เรียนทั้งหมด

พณิ ชยการ

ผลการประเมิน

ปวช. พาณิ ชยกรรม

รวมทุกชั้นปี

คิดเป็ นร้ อยละ

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 3

ผู้เรียนที่มพี ฤติกรรม 3 ด้ าน*

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทั้งหมด

ชั้นปี ที่ 1

380


40 ตารางที่ 14 (ต่อ) จํานวนผู้เรียน ผู้เรียนทีม่ พี ฤติกรรม 3ด้ าน*

82 15 0 0 0 0 97 823

80.39 78.95 0 0 0 0 80.17 82.38

3 3 0 0 0 0 3 3

0 0 0 0 0 0 0 753

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 633 84.06

* ผูเ้ รี ยนที่มีพฤติกรรม 3 ด้าน หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่มีพฤติกรรม 1) มีคุณธรรมจริ ยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม 2) มีมนุษยสัมพันธ์ 3) มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

102 19 0 0 0 0 121 999

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

3 3 3 3 3 3 3 3

ผู้เรียนทีม่ พี ฤติกรรม 3ด้ าน*

คิดเป็ นร้ อยละ

81.99 81.48 86.79 79.07 78.95 82.76 81.71 84.80

ผู้เรียนทั้งหมด

ผู้เรียนทีม่ พี ฤติกรรม 3ด้ าน*

132 44 46 68 30 24 344 1,367

รวมทุกชั้นปี

ผลการประเมิน

ผู้เรียนทั้งหมด

161 54 53 86 38 29 421 1,612

สาขางาน

คิดเป็ นร้ อยละ

ผลการประเมิน

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด การบัญชี ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก เทคโนฯและการสื่ อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยว รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

คิดเป็ นร้ อยละ

ปวส. บริ หารธุรกิจ

สาขาวิชา

ชั้นปี ที่ 3

ผู้เรียนที่มีพฤติกรรม 3ด้าน*

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

ชั้นปี ที่ 2

ผู้เรียนทั้งหมด

ชั้นปี ที่ 1

0 0 0 0 0 0 0 3

263 73 53 86 38 29 542 3,364

214 59 46 68 30 24 441 2,823

81.37 80.82 86.79 79.07 78.95 82.76 81.37 83.92

3 3 3 3 3 3 3 3


41 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมนุษยสัมพันมากกว่ ธ์ที่ดี า ร้อยละ74 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมนุษยสัมพันธ์ร้ทอี่ดยละ ี 60 - 74 ระดับคุณภาพ1 (ปรับปรุ ง)หมายถึง ผูเ้ รี ยนที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมนุษยสัมพัน้นอธ์ทยกว่ ี่ดี าร้อยละ60

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


42 ข้ อกําหนดที่ 1.6 ความรู ้และทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพและหลักสู ตรสําหรับผูส้ าํ เร็ จการศึกษา ตัวบ่ งชี้ที่ 6 ร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเกณฑ์การสําเร็ จการศึกษา ประจําปี การศึกษา คําอธิบาย ผูส้ าํ เร็ จการศึกษาในระดับชั้น ปวช.3 และ ปวส.2 หรื อหลักสู ตรอื่น เมื่อเทียบกับผูเ้ รี ยนแรก เข้าในแต่ละหลักสู ตร ประเภทวิชา และสาขาวิชา ตารางที่ 15 จํานวนและร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาในระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 เทียบกับผูเ้ รี ยน แรกเข้าจําแนกตามประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน

ปวส. บริ หารธุรกิจ

ผลการประเมิน

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม

คิดเป็ นร้ อยละ

ปวช. พาณิ ชยกรรม

สํ าเร็จการศึกษา

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

แรกเข้ า

จํานวนผู้เรียน

685 95 73 69

409 86 33 47

59.71 90.53 45.21 68.12

1 3 1 2

การโรงแรมและการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว

160

87

54.38

1

ศิลปกรรม รวม ปวช.

1,082

662

61.18

2

124 21 145 1,227

68 20 88 750

54.84 95.24 60.69 61.12

1 3 2 2

สาขาวิชา

พณิ ชยการ

สาขางาน

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี)

หมายถึง ผูส้ าํ เร็ จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเกณฑ์ การสําเร็ จการศึกษา มากกว่าร้อยละ 74 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูส้ าํ เร็ จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเกณฑ์ การสําเร็ จการศึกษา ร้อยละ 60-74 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูส้ าํ เร็ จการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเกณฑ์ การสําเร็ จการศึกษา น้อยกว่าร้อยละ 60

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


43 ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่ผา่ นการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ คําอธิบาย ผูส้ าํ เร็ จการศึกษาในระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 หรื อหลักสู ตรอื่นที่ผา่ นการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ เมื่อเทียบกับผูเ้ ข้ารับการประเมินตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่าด้วย การประเมินผลการเรี ยนแต่ละหลักสู ตรตามประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน ตารางที่ 16 จํานวนและร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่ผา่ นการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ หลักสู ตร/ ประเภทวิชา ปวช. พาณิ ชยกรรม

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม ปวส. บริ หารธุรกิจ ศิลปกรรม

สาขาวิชา

พณิ ชยการ

การโรงแรมและ การท่องเที่ยว ศิลปกรรม รวม ปวช.

สาขางาน

ผู้รับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จํานวน ผ่ านเกณฑ์ ผู้สําเร็จ จํานวน ผลการ คิดเป็ น การศึกษา เข้ าสอบ จํานวน ประเมิน ร้ อยละ

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ บัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

409 86 33 47

409 86 33 47

409 86 33 47

100 100 100 100

3 3 3 3

การท่องเที่ยว

87

87

87

100

3

คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

662

662

662

100

3

68 20 88 750

68 20 88 750

68 20 88 750

100 100 100 100

3 3 3 3

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด คอมพิวเตอร์กราฟิ ก รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ผูผ้ า่ นเกณฑ์ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ มากกว่าร้อยละ 74 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูผ้ า่ นเกณฑ์ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ร้อยละ 60 - 74 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูผ้ า่ นเกณฑ์ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ น้อยกว่าร้อยละ 60

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


44 ข้ อกําหนดที่ 1.7 ความรู ้และทักษะในการหางานทํา การศึกษาต่อ และประกอบวิชาชีพอิสระ ตัวบ่ งชี้ที่ 8 ร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่ได้งานทําในสถานประกอบการ การประกอบอาชีพอิสระ หรื อศึกษาต่อภายใน 1 ปี คําอธิบาย ผูส้ าํ เร็ จการศึกษาในระดับชั้น ปวช.3 และ ปวส.2 หรื อหลักสู ตรอื่นในปี การศึกษาที่ผา่ นมา ที่ได้งานทํา ในสถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาต่อ ภายใน 1 ปี ตามประเภทวิชาสาขาวิชา และสาขางาน ตารางที่ 17 จํานวนและร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส. ที่ได้งานทําในสถาน ประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาต่อภายใน 1 ปี

สาขางาน

จํานวน ผู้สําเร็จ การ ศึกษา

ร้ อยละ

ได้ งานทํา

ประกอบอาชีพอิสระ

ศึกษาต่ อ

รวม

ร้ อยละ

ผลการประเมิน

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

383 76 28 69

13 1 3 5

3.39 1.32 10.71 7.25

18 4 3 3

5 0 0 0

347 71 22 61

370 75 25 64

96.61 98.68 89.29 92.75

3 3 3 3

97

10

10.31

1

3

83

87

89.69 3

653

32

4.90

29

8

584

621

95.10 3

77 6 83 736

8 0 8 40

10.39 35 0.00 3 9.64 38 5.43 67

3 0 3 11

31 3 34 618

69 6 75 696

85.71 100 90.36 94.57

สาขาวิชา

ปวช. พาณิ ชยกรรม พณิ ชยการ

จํานวนได้ งานทํา ประกอบอาชีพ อิสระ และศึกษาต่ อ

จํานวน

ติดตามไม่ ได้

อุตสาหกรรม การโรงแรมและ การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว การท่องเที่ยว รวม ปวช. ปวส. บริ หารธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี)

หมายถึง ผูส้ าํ เร็ จการศึกษาได้งานทํา ประกอบอาชีพอิสระและ ศึกษาต่อ มากกว่า ร้อยละ 59 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูส้ าํ เร็ จการศึกษาได้งานทํา ประกอบอาชีพอิสระและ ศึกษาต่อ ร้อยละ 50-59 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูส้ าํ เร็ จการศึกษาได้งานทํา ประกอบอาชีพอิสระและ ศึกษาต่อ น้อยก ว่าร้อยละ 50 รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

3 3 3 3


45

รวม ปวช. ละปวส.

3. ด้ านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ

ปวช. ปวส.

2. ด้ านความสามารถ ในการปฏิบัติงาน

หลักสู ตร

1. ด้ านความรู้วชิ าชี พ

ข้ อกําหนดที่ 1.8 คุณลักษณะของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่สถานประกอบการหน่วยงานพึงพอใจ ตัวบ่ งชี้ที่ 9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดา้ นคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพของผูส้ าํ เร็ จการศึกษา คําอธิบาย สถานศึกษาจัดทําเครื่ องมือวัด 5 ระดับ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และอื่น ๆ เพื่อ ประเมินความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อพฤติกรรมของผูส้ าํ เร็ จการศึกษา ที่ ปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการด้านความรู ้ความสามารถทางวิชาการ ทางพื้นฐานที่จาํ เป็ ในน การทํางาน คุณธรรม จริ ยธรรม จรรยาบรรณ ในวิชาชีพ ตารางที่ 18 ความพึงพอใจเฉลี่ยของผูป้ ระกอบการ หน่วยงานที่ผสู้ าํ เร็ จการศึกษาออกไปทํางาน ในระดับ ปวช., ปวส. ระดับความพึงพอใจ

เฉลีย่ โดยรวม

4.47 4.27 4.37

4.15 4.75 4.45

4.29 4.79 4.54

4.30 4.60 4.45

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี)

ผลการประเมิน

3 3 3

หมายถึง ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผูป้ ระกอบการหรื อ หน่วยงานที่ผสู ้ าํ เร็ จการศึกษาออกไปทํางาน อยูร่ ะหว่าง 4.00-5.00 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผูป้ ระกอบการหรื อ หน่วยงานที่ผสู ้ าํ เร็ จการศึกษาออกไปทํางาน อยูร่ ะหว่าง 3.50-3.99 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผูป้ ระกอบการหรื อ หน่วยงานที่ผสู ้ าํ เร็ จการศึกษาออกไปทํางาน อยูร่ ะหว่าง 1.00-3.49

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


46 มาตรฐานที่ 2 หลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน ข้ อกําหนดที่ 2 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน ข้ อกําหนดที่ 2.1 ร่ วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสู ตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน ตัวบ่ งชี้ที่ 10 ระดับคุณภาพของหลักสู ตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษาที่มีการพัฒนาตามความต้องการ ของตลาดแรงงาน คําอธิบาย สถานศึกษาพัฒนาหลักสู ตรฐานสมรรถนะในระดับสาขาวิชา สาขางาน หรื อรายวิชา ปรับปรุ งแผนการเรี ยนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและชุมชนมีการ ประเมินและปรับปรุ งหลักสู ตรแผนการเรี ยนอย่างต่อเนื่อง ตารางที่ 19 ร้อยละของหลักสู ตรฐานสมรรถนะ จําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน รายวิชา แผนการเรี ยน ที่เปิ ดสอน หลักสู ตร/ประเภทวิชา จํานวน จํานวน สาขางาน ร้ อยละ ผลการ สาขาวิชา สาขางานที่ ทีพ่ ฒ ั นาตาม (2)x 100 ประเมิน (1) เปิ ดสอน (1) หลักสู ตรฐาน สมรรถนะ (2) ปวช. 4 4 4 100 3 พาณิ ชยกรรม 1 1 1 100 3 ศิลปกรรม 1 1 1 100 3 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวม ปวช. 6 6 6 100 3 ปวส. 1 1 1 100 3 อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 1 1 1 100 3 ศิลปกรรม 3 3 3 100 3 บริ หารธุ รกิจ 1 1 1 100 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ รวม ปวส. 6 6 6 100 3 รวม ปวช. และ ปวส. 12 12 12 100 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานที่มีการพัฒนาหลักสู ตรฐานสมรรถนะ สอดคล้อง ตลาดแรงงานและได้เปิ ดสอน มากกว่าร้อยละ 79 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานที่มีการพัฒนาหลักสู ตรฐานสมรรถนะ สอดคล้อง ตลาดแรงงานและได้เปิ ดสอน ร้อยละ 75-79 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานที่มีการพัฒนาหลักสู ตรฐานสมรรถนะ สอดคล้องตลาดแรงงานและได้เปิ ดสอนน้อยกว่าร้อยละ 75 รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


47 ข้ อกําหนดที่ 2.2 จัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ โดยส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนได้พฒั นาตนเองตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ตัวบ่ งชี้ที่ 11 ระดับคุณภาพของการจัดการเรี ยนรู ้อย่างหลากหลายโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญในการฝึ ก ทักษะวิชาชีพมีการฝึ กปฏิบตั ิจริ งเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาตามธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพและ พึงพอใจต่อคุณภาพการสอน คําอธิบาย สถานศึกษามีการส่ งเสริ ม สนับสนุน กํากับ ดูแล ให้ผสู ้ อนจัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบ บูรณาการ คุณธรรม จริ ยธรรม หรื อบูรณาการความรู ้จากรายวิชาต่าง ๆ โดยเน้นผูเ้ รี ยน เป็ น สําคัญ มีการจัดกิจกรรม การใช้สื่อการสอน การวัดประเมินผล อย่างหลากหลายเหมาะสม สอดคล้องกับผูเ้ รี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ มีการนิเทศการสอน มีการประเมินผลการ สอนโดยผูเ้ กี่ยวข้อง มีการประเมินระดับความพึงพอใจ ของผูเ้ รี ยนต่อคุณภาพการสอนและนํา ผลมาพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาตนเอง ตามธรรมชาติเต็มตามศักยภาพ และ พึงพอใจต่อคุณภาพการสอน การดําเนินการ 5 ข้อ ให้เกิดผลการปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดคุณภาพ 1. มีการจัดการเรี ยนการสอนตรงตามแผน 2. มีการนิเทศการสอน 3. มีการประเมินคุณภาพการสอน 4. มีการประเมินการสอนโดยผูเ้ รี ยน 5. มีการนําผลการประเมินไปใช้พฒั นาการเรี ยนรู ้ ตารางที่ 20 จํานวนและร้อยละของรายวิชาที่มีระดับคุณภาพการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ จําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานที่เปิ ดสอน หลักสู ตร จํานวน จํานวนวิชาที่ จํานวนรายวิชาทีม่ ี ร้ อยละ ผลการ รายวิชา ดําเนินการครบ แผนบูรณาการ* (2)x 100 ประเมิน (1) ทีเ่ ปิ ดสอน (1) ทั้ง 5 ข้ อ (2) (3) ปวช. 182 182 182 100 3 ปวส. 183 183 183 100 3 รวม ปวช. และ ปวส. 365 365 365 100 3 *รายวิชาทีม่ ีแผนบูรณาการต้ องเป็ นรายวิชาทีด่ ําเนินการครบทั้ง 5 ข้ อแล้ ว เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ปฏิบตั ิตาม ข้อ 1 ครบทุกข้อและมีแผนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ มากกว่า ร้อยละ 74 ของรายวิชาที่เปิ ดสอน ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ปฏิบตั ิตามข้อ 1 ครบทุกข้อและมีแผนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ ร้อยละ 60-74 ของรายวิชาที่เปิ ดสอน ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ปฏิบตั ิตามข้อ 1 ไม่ครบทุกข้อหรื อครบทุกข้อ และมีแผน การจัด การเรี ยนรู ้แบบบูรณาการน้อยกว่าร้อยละ 60 ของรายวิชาที่เปิ ดสอน รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


48 ตัวบ่ งชี้ที่ 12 คําอธิบาย ตารางที่ 21

ร้อยละของงบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้ อวัสดุฝึก อุปกรณ์สาํ หรับการจัดการเรี ยนการสอน อย่างเหมาะสม งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้ อวัสดุฝึก อุปกรณ์สาํ หรับการเรี ยนในแต่ละสาขาต่องบ ดําเนินการทั้งหมด ร้อยละของงบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้ อวัสดุฝึกอุปกรณ์สาํ หรับการเรี ยนต่องบดําเนินการ ทั้งหมด จําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานที่เปิ ดสอน

หลักสู ตร

งบประมาณดําเนินการ ทั้งหมด (บาท) (1)

ปวช. พาณิชยกรรม คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาษาต่างประเทศ การบัญชี การขาย ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก อุตสาหกรรมท่ องเที่ยว การท่องเที่ยว รวม ปวช. ปวส. บริหารธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การตลาด อุตสาหกรรมท่ องเที่ยว การท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารเสนเทศและการสื่ อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก รวม ปวส. รวม ปวช. และปวส.

เกณฑ์ การประเมิน

งบประมาณวัสดุฝึก ทั้งหมด (บาท) (2)

ร้ อยละของงบประมาณด้าน วัสดุต่องบประมาณดําเนินการ ทั้งหมด (2)x 100 (1)

ผลการ ประเมิน

15.88

3

3,965,784 275,000 447,500 275,000 1,677,500 820,000 7,460,784

1,141,500 72,500 77,000 262,500 260,000

62,641,334

676,566 2,490,066 9,950,850

ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง มากกว่าร้อยละ 15 ของงบดําเนินการทั้งหมด ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ร้อยละ 10-15 ของงบดําเนินการทั้งหมด ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง น้อยกว่าร้อยละ 10 ของงบดําเนินการทั้งหมด รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


49 ข้ อกําหนดที่ 2.3 จัดระบบคอมพิวเตอร์ ให้เหมาะสมและเพียงพอในแต่ละสาขาวิชา ตัวบ่ งชี้ที่ 13 ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอร์ ในแต่ละสาขาวิชา คําอธิบาย ความเหมาะสมของห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ การบริ หารจัดการ การใช้หอ้ งคอมพิวเตอร์ และจํานวนผูเ้ รี ยนต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละครั้งของการเรี ยน ในรายวิชาที่ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละหลักสู ตรตามประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ตารางที่ 22 จํานวนห้องและสัดส่ วนการใช้คอมพิวเตอร์ต่อผูเ้ รี ยน จําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานที่เปิ ดสอน หลักสู ตร/ประเภทวิชา/ จํานวน จํานวน จํานวนผู้เรียนที่ จํานวนผู้เรียน ผลการ สาขาวิชา/สาขางานที่ ห้ องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ ใช้ คอมพิวเตอร์ ต่ อคอมพิวเตอร์ ประเมิน เปิ ดสอน (1) ต่ อห้ อง แต่ ละครั้ง (3) (2) (3) (2) ปวช.

ปวส.

รวมปวช.

รวมปวส. รวม ปวช.และปวส.

11 11 11 11 11

48 48 48 48 48

45 45 45 45 45

1:1 1:1 1:1 1:1 1:1

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ผูเ้ รี ยนต่อคอมพิวเตอร์ 1 คน ต่อ 1 เครื่ อง ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูเ้ รี ยนต่อคอมพิวเตอร์ 2 คน ต่อ 1 เครื่ อง ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูเ้ รี ยนต่อคอมพิวเตอร์ 3 คนขึ้นไป ต่อ 1 เครื่ อง

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

3 3 3 3 3


50 ข้ อกําหนดที่ 2.4 จัดสถานที่เรี ยนสถานที่ฝึกปฏิบตั ิงาน สถานที่ศึกษาค้นคว้าให้เหมาะสมกับสาขาวิชาทั้งในสถานศึกษา สถานประกอบการ และแหล่งการเรี ยนรู้อื่น ๆ ตัวบ่ งชี้ที่ 14 ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรี ยน อาคารประกอบ ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ ศูนย์วทิ ยบริ การ โรงฝึ กงาน พื้นที่ฝึกปฏิบตั ิงานเหมาะสมกับวิชาที มี ่เรี ยน บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้และเกิดประโยชน์สูงสุ ด คําอธิบาย มีความเหมาะสมในการจัดอาคารเรี ยน อาคารประกอบ ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ โรงฝึ กงาน ศูนย์วทิ ยบริ การ มีการจัดครุ ภณั ฑ์และอุปกรณ์ตามเกณฑ์ ครุ ภณั ฑ์มาตรฐานขั้นพื้นฐานขึ้นไป ตารางที่ 23 การปฏิบตั ิในการจัดอาคารเรี ยน อาคารประกอบ ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ การจัดศูนย์วทิ ยบริ การ และการจัดครุ ภณั ฑ์และอุปกรณ์

องค์ ประกอบที่ 1 ( 1 = ปฎิบัติ , 0 = ไม่ ปฏิบัต)ิ 1. 2. 3. 4. ผล มีการวาง มีการใช้ มีการ มีการ การ แผนการ อาคาร ติดตาม ปรับปรุง ประเมิน ใช้ อาคาร สถานที่ ประเมิน จากผล สถานที่ ตาม ผลการ การ โดยผู้ทมี่ ี กรอบที่ ใช้ อาคาร ประเมิน ส่ วน กําหนด สถานที่ เกีย่ วข้ อง

1

1

1

เกณฑ์การประเมินองค์ประกอบที่ 1 3 (ดี) ปฏิบตั ิทุกข้อ 2 (พอใช้) ปฏิบตั ิขอ้ 1-3 1 (ปรับปรุ ง) ปฏิบตั ิขอ้ 1-2

1

3

องค์ ประกอบที่ 2( 1 = ปฎิบัติ , 0 = ไม่ ปฏิบัต)ิ องค์ ประกอบที่ 3( 1 = ปฎิบัติ , 0 = ไม่ ปฏิบัต)ิ 1. 2. 3. 4. ผล 1. 2. 3. ผล มีสื่อที่ มีระบบ สามารถ มีการ การ จํานวน จํานวน ร้ อยละของ การ หลาก การจัดการ รองรับการ ประเมิน ประเมิน สาขาวิชา ที่ คุรุภัณฑ์ และ สาขาวิชาที่ ประเมิน หลาย ทีม่ ี ให้ บริการ คุณภาพ เปิ ดสอนใน อุปกรณ์ ทมี่ ี มีครุภัณฑ์ ประสิทธิภา วิชาการแก่ การให้ สถานศึกษา อยู่แต่ ละสาขา อุปกรณ์ ตามเกณฑ์ พ เช่ น ชุมชนและ บริการ สาขาวิชา เทียบกับเกณฑ์ ครุภัณฑ์ ระบบการ สังคม ครุภัณฑ์ มาตรฐาน สืบค้ น มาตรฐานขั้น ขั้นพืน้ ฐาน พืน้ ฐาน 1 1 1 1 3 1 1 1 3

เกณฑ์การประเมินองค์ประกอบที่ 2 3 (ดี) ปฏิบตั ิทุกข้อ 2 (พอใช้) ปฏิบตั ิ 3 ข้อ 1 (ปรับปรุ ง) ปฏิบตั ิ 1-2 ข้อ

ผล การ ประเมิน โดยรวม

3

เกณฑ์การประเมินองค์ประกอบที่ 3 เกณฑ์การประเมินผลการประเมินโดยรวม 3 (ดี) ตั้งแต่ร้อยละ 90 3 (ดี) ผลการตัดสิ นในแต่ละองค์ประกอบในระดับดี 2 ใน 3 2 (พอใช้) ร้อยละ 80-89 2 (พอใช้) ผลการตัดสิ นในแต่ละองค์ประกอบในระดับพอใช้ท้ งั 3 องค์ประกอบ หรื อผ่านเกณฑ์ระดับดี 1 องค์ประกอบพอใช้ 2 องค์ประกอบ 1 (ปรับปรุ ง) น้อยกว่าร้อยละ 80 1 (ปรับปรุ ง) ผลการตัดสิ นในแต่ละองค์ประกอบในระดับปรับปรุ งทั้ง 3 องค์ประกอบ หรื อมีองค์ประกอบหนึ่งอยูใ่ นระดับปรับปรุ ง รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


51 ข้ อกําหนดที่ 2.5 จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมและสิ่ งอํานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ ตัวบ่ งชี้ที่ 15 ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมและสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ในสถานศึกษา คําอธิบาย สถานศึกษาจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดล้อม สิ่ งอํานวยความสะดวกทั้งภายใน และภายนอกห้องเรี ยนได้อย่างมีคุณภาพ คุณภาพการจัดระบบความปลอดภัยและสิ่ งอํานวยความสะดวกพิจารณาจากสิ่ งต่ อไปนี้ 1. ป้ ายแสดงคําเตือนความปลอดภัย 2. ระบบสัญญาณเตือนภัยและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั 3. ป้ ายแสดงขั้นตอนการใช้อุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องจักร ฯลฯ 4. สถานที่จดั เก็บวัสดุ อุปกรณ์เครื่ องมือ ฯลฯ 5. อุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้นประจําพื้นที่นอกเหนือจากห้องพยาบาล 6. บันทึกการตรวจสภาพและบํารุ งรักษาอุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักร 7. การสวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันอุบตั ิเหตุที่เกิดจากการปฏิบตั ิงาน 8. สถิติอุบตั ิเหตุลดลง ตารางที่ 24 จํานวนและร้อยละของสาขางานที่มีการจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดล้อม และ สิ่ งอํานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ในสถานศึกษา จํานวนสาขางาน ทั้งหมด จํานวนสาขาทีจ่ ัดระบบ ร้ อยละ ผลการประเมิน ความปลอดภัยและสิ่ งอํานวย ความสะดวกได้ อย่ างมีคุณภาพ (2)x 100 (1) (1) (2) 6 6 100 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง มากกว่าร้อยละ 70 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ร้อยละ 60-70 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง น้อยกว่าร้อยละ 60

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


52 ข้ อกําหนดที่ 2.6 พัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศึกษาในงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ตัวบ่ งชี้ที่ 16 ร้อยละของบุคลากรภายในสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนาตามหน้าที่รับผิดชอบ คําอธิบาย จํานวนครู และบุคลากรสายสนับสนุนทั้งหมดของสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนาใ นวิชาชีพ หรื อหน้าที่ทรี่ ับผิดชอบในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น การฝึ กอบรม การประชุมสัมมนาทางวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา การศึกษาดูงาน การทัศนศึกษา การศึกษาต่อ เป็ นต้น ไม่นอ้ ยกว่า 20 ชัว่ โมง/คน/ปี ตารางที่ 25

จํานวนและร้อยละของครู และบุคลากรสายสนับสนุนภายในสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒาน

ประเภทบุคลากร

จํานวนทั้งหมด

ครู บุคลากรสนับสนุน รวม

108 76 184

จํานวนบุคลากรทีไ่ ด้ รับ การพัฒนา ไม่ น้อยกว่า 20 ชม./คน/ปี 108 76 184

ร้ อยละ

ผลการประเมิน

100 100 100

3 3 3

หมายเหตุ :ครู พเิ ศษ 32 คน เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง บุคลากรได้รับการพัฒนามากกว่าร้อยละ 89 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง บุคลากรได้รับการพัฒนาร้อยละ 75-89 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง บุคลากรได้รับการพัฒนามากกว่าร้อยละ 75

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


53 ข้ อกําหนดที่ 2.7

ระดมทรัพยากรจากทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษารวมกันจัดการศึกษาทั้งในระบบ และทวิภาคีอย่ างมีประสิ ทธิภาพ ตัวบ่ งชี้ที่ 17 จํานวนครั้งหรื อปริ มาณในการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ คําอธิบาย การระดมทรัพยากรบุคคล เงิน เครื่ องมือเครื่ องจักร และอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา เช่น การเป็ นวิทยากรให้ความรู ้ สนับสนุนเงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักร เป็ นต้น เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ตารางที่ 26 จํานวนครั้งหรื อปริ มาณในการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา จํานวนครั้ง รวม ผลการประเมิน (ครั้ง) ระดมทรัพยากรภายใน ระดมทรัพยากรภายนอก 11 11 22 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง มีการระดมทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา มากกว่า 19 ครั้งขึ้นไป ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง มีการระดมทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 15-19 ครั้ง ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง มีการระดมทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา น้อยกว่า 15 ครั้ง

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


54 ตัวบ่ งชี้ที่ 18

จํานวนสถานประกอบการที่มีการจัดการศึกษาร่ วมกับสถานศึกษา จัดการศึกษาระบบทวิภาคี และระบบปกติ คําอธิบาย สถานศึกษาประสานความร่ วมมือกับสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชนในการวางแผน และ ปฏิบตั ิการจัดการเรี ยนการสอน การฝึ กวิชาชีพในระบบทวิภาคี และการฝึ กงาน ในระบบปกติ ตามหลักสู ตรที่สถานศึกษาจัด ตารางที่ 27 จํานวนสถานประกอบการที่มีการจัดการศึกษาร่ วมกับสถานศึกษาจัดการศึกษาระบบทวิภาคี และระบบปกติ จํานวนสถานประกอบการทีม่ ีการจัดการศึกษา รวม ผลการประเมิน ร่ วมกับสถานศึกษา ระบบทวิภาคี ระบบปกติ (1) (2) (1)+(2) 326 326 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง มีสถานประกอบการที่จดั การศึกษาร่ วมกับสถานศึกษา มากกว่า 14 แห่ง ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง มีสถานประกอบการที่จดั การศึกษาร่ วมกับสถานศึกษา 10-14 แห่ง ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง มีสถานประกอบการที่จดั การศึกษาร่ วมกับสถานศึกษา น้อยกว่า 10 แห่ง

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


55 ตัวบ่ งชี้ที่ 19 จํานวนคน-ชัว่ โมงของผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ หรื อภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีส่วนร่ วม ในการ พัฒนาผูเ้ รี ยน คําอธิบาย สถานศึกษามีการจัดหาผูเ้ ชี่ยวชาญ/ผูท้ รงคุณวุฒิ/ผูน้ าํ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความรู ้ความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับสาขางานของผูเ้ รี ยนจากภายนอกสถานศึกษา เช่น สถานประกอบการ หน่วยงานต่าง ๆ ชุมชนและท้องถิ่นในการพัฒนาผูเ้ รี ยน ตารางที่ 28 จํานวนคน-ชัว่ โมงของผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ หรื อภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีส่วนร่ วมในการ พัฒนาผูเ้ รี ยน จํานวนสาขางานทั้งหมด จํานวนสาขางาน ร้ อยละ ผลการประเมิน ทีม่ ีผ้ เู ชี่ ยวชาญร่ วมพัฒนา ผู้เรียนตั้งแต่ 2 คน-ชั่วโมง ต่ อ ภาคเรียน 12 12 100 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง สาขางานที่มีการจัดหาผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ มาร่ วม ในการพัฒนาผูเ้ รี ยน ตั้งแต่ 2 คน- ชัว่ โมงขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 89 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง สาขางานที่มีการจัดหาผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ มาร่ วม ในการพัฒนาผูเ้ รี ยน ตั้งแต่ 2 คน - ชัว่ โมงขึ้นไป ร้อยละ 75-89 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง สาขางานที่มีการจัดหาผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ มาร่ วม ในการพัฒนาผูเ้ รี ยน ตั้งแต่ 2 คน- ชัว่ โมงขึ้นไป น้อยกว่าร้อยละ 75

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


56 ตัวบ่ งชี้ที่ 20 คําอธิบาย

อัตราส่ วนของผูส้ อนประจําที่มีคุณวุฒิดา้ นวิชาชีพต่อผูเ้ รี ยนในแต่ละสาขาวิชา อัตราส่ วนของจํานวนผูส้ อนที่เป็ นครู ประจําและครู จา้ งพิเศษ (ที่สถานศึกษาทําสัญญาจ้าง ต่อเนื่องไม่นอ้ ยกว่า1 ภาคเรี ยน) ที่มีวฒ ุ ิวชิ าชีพตรงกับวิชาชีพที่สอนต่อจํานวนผูเ้ รี ยน ในแต่ ละสาขาวิชา/สาขางาน ผูส้ อน 1 คน ต่อ ผูเ้ รี ยนไม่เกิน35 คน ตารางที่ 29 จํานวนและสัดส่ วนครู ที่มีคุณวุฒิวชิ าชีพต่อผูเ้ รี ยน จําแนกตามสาขาวิชา สาขางาน จํานวนสาขางานทั้งหมด จํานวนสาขางานทีม่ ี ร้ อยละ ผลการประเมิน อัตราส่ วนครูวชิ าชี พ ต่ อ ผู้เรียน 1 : ไม่ เกิน 35 (2)x 100 (1) (1) (2) 12

12

100

3

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานที่จดั หาผูส้ อนประจําที่มีคุณวุฒิวชิ าชีพ ต่อผูเ้ รี ยนตามเกณฑ์ผสู้ อน 1 คน ต่อผูเ้ รี ยนไม่เกิน 35 คน มากกว่าร้อยละ 89 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานที่จดั หาผูส้ อนประจําที่มีคุณวุฒิวชิ าชีพ ต่อผูเ้ รี ยนตามเกณฑ์ผสู้ อน 1 คน ต่อผูเ้ รี ยน ไม่เกิน 35 คน ร้อยละ 75 - 89 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานที่จดั หาผูส้ อนประจําที่มีคุณวุฒิวชิ าชีพ ต่อผูเ้ รี ยนตามเกณฑ์ผสู้ อน 1 คน ต่อผูเ้ รี ยน ไม่เกิน 35 คน น้อยกว่าร้อยละ 75

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


57 ตัวบ่ งชี้ที่ 21 อัตราส่ วนของผูส้ อนประจําต่อผูเ้ รี ยน คําอธิบาย จํานวนผูส้ อนที่เป็ นครู ประจําและครู จา้ งพิเศษ (ที่สถานศึกษาทําสัญญาจ้างต่อเนื่อง ไม่นอ้ ยกว่า 1 ภาคเรี ยน) ต่อจํานวนผูเ้ รี ยนทั้งหมดของสถานศึกษา ตารางที่ 30 อัตราส่ วนของผูส้ อนประจําต่อผูเ้ รี ยน จํานวนผู้เรียน (รอบเช้ า) จํานวนผู้สอน อัตราส่ วนผู้สอน : ผู้เรียน ปวช. ปวส. รวม ประจํา (รอบเช้ า) ผลการประเมิน (1) (2) (3)=(1)+(2) (4) (5)=(3)÷(4) 1,617 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

118

1,618

87

19 : 1

3 (ดี) หมายถึง ผูส้ อน 1 คน ต่อผูเ้ รี ยนน้อยกว่า 25 คน 2 (พอใช้) หมายถึง ผูส้ อน 1 คน ต่อผูเ้ รี ยน 25-30 คน 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูส้ อน 1 คน ต่อผูเ้ รี ยนมากกว่า 30

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

3


58 มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ข้ อกําหนดที่ 3 สถานศึกษาควรกําหนดแนวทางในการดูแลผูเ้ รี ยนและจัดกิจกรรม ข้ อกําหนดที่ 3.1 จัดระบบการดูแลให้คาํ ปรึ กษาผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่องและมีประสิ ทธิ ภาพ ตัวบ่ งชี้ที่ 22 จํานวนครั้งของการจัดให้ผเู ้ รี ยนพบอาจารย์ที่ปรึ กษา คําอธิบาย สถานศึกษาจัดให้ผเู ้ รี ยนทุกคน (ทั้งกลุ่ม/ห้อง) พบครู ที่ปรึ กษาเพื่อดูแลติดตาม ให้คาํ ปรึ กษาแนะนํา เกี่ยวกับการเรี ยนและความประพฤติอย่างต่อเนื่องตลอดปี การศึกษา นอกเหนือจากการที่ผเู ้ รี ยน พบอาจารย์ที่ปรึ กษาเป็ นรายบุคคล ตารางที่ 31 การจัดให้ผเู ้ รี ยนพบอาจารย์ที่ปรึ กษา

หลักสู ตร/ประเภท วิชา ปวช. พาณิ ชยกรรม

อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ศิลปกรรม ปวส. บริ หารธุรกิจ

สาขาวิชา

สาขางาน

พณิ ชยการ

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี การขาย ภาษาต่างประเทศ

การโรงแรมและการ การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก รวม ปวช.

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การตลาด บัญชี ศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี และการสื่ อสาร สารสนเทศ อุตสาหกรรม การโรงแรมและการ ท่องเที่ยว ท่องเที่ยว รวม ปวส. รวม ปวช. และ ปวส.

จํานวน จํานวนครั้งทีพ่ บอาจารย์ ที่ ผลการ ห้ องเรียน/กลุ่ม ปรึกษา/ปี การศึกษา ประเมิน 33 7 4 4

160 160 160 160

3 3 3 3

11

160

3

11 70

160 960

3 3

10 5 2 4

160 160 160 160

3 3 3 3

1

160

3

1

160

3

23 93

960 1,920

3 3

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ผูเ้ รี ยนทุกคน(ทั้งห้อง/กลุ่ม)ได้พบอาจารย์ที่ปรึ กษามากกว่า 25 ครั้งต่อปี ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูเ้ รี ยนทุกคน(ทั้งห้อง/กลุ่ม)ได้พบอาจารย์ที่ปรึ กษา 20 - 25 ครั้งต่อปี ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูเ้ รี ยนทุกคน (ทั้งห้อง/กลุ่ม) ได้พบอาจารย์ที่ปรึ กษาน้อยกว่า 20 ครั้งต่อปี รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


59 ตัวบ่ งชี้ที่ 23 จํานวนครั้งของการจัดบริ การตรวจสารเสพติดให้กบั ผูเ้ รี ยน คําอธิบาย สถานศึกษามีการจัดให้บริ การตรวจสารเสพติด สิ่ งเสพติดชนิดร้ายแรง ให้แก่ผเู้ รี ยน ทั้งหมดในสถานศึกษา ตารางที่ 32 จํานวนครั้งของการจัดบริ การตรวจสารเสพติดให้แก่ผเู้ รี ยนในสถานศึกษา หลักสู ตร จํานวนผู้เรียน จํานวนผู้เรียนทีร่ ับ คิดเป็ นร้ อยละ จํานวนครั้ง ผล ทั้งหมด การตรวจ/ปี ทีต่ รวจ/ปี การประเมิน (2)x100 (1) (2) (1) ปวช. 2,927 2,927 100 2 3 ปวส. 629 629 100 2 3 รวม ปวช. และ ปวส. 3,556 3,556 100 4 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง มีการตรวจสารเสพติด 1 ครั้ง/ปี หรื อมากกว่า และ จํานวนผูเ้ รี ยน ที่ได้รับการตรวจมากกว่าร้อยละ 90 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง มีการตรวจสารเสพติด 1 ครั้ง/ปี หรื อมากกว่า และ จํานวนผูเ้ รี ยน ที่ได้รับการตรวจร้อยละ 80-90 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง มีการตรวจสารเสพติด 1 ครั้ง/ปี หรื อมากกว่า และ จํานวนผูเ้ รี ยน ที่ได้รับการตรวจน้อยกว่าร้อยละ 80

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


60 ตัวบ่ งชี้ที่ 24 คําอธิบาย ตารางที่ 33

ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเข้า ผูเ้ รี ยนที่ออกกลางคันโดยการลาออก และพ้นสภาพการเป็ นนักเรี ยน นักศึกษา หรื อในกรณี อื่น เมื่อเทียบกับผูเ้ รี ยนแรกเข้าที่ข้ ึนทะเบียนเป็ นนักเรี ยน นักศึกษา ในปี การศึกษาเดียวกัน จํานวนและร้อยละของผูเ้ รี ยนที่ออกกลางคัน นักเรียน - ชั้นปี ที่ 1 ร้อยละ

แรกเข้า

ออกกลางคัน

ร้อยละ

แรกเข้า

ออกกลางคัน

ร้อยละ

แรกเข้า

ออกกลางคัน

ร้อยละ

ผลการประเมิน

รวมนักเรียนทุกชั้นปี

ออกกลางคัน

นักเรียน - ชั้นปี ที่ 3

แรกเข้า

หลักสู ตร/ ประเภทวิชา

นักเรียน - ชั้นปี ที่ 2

554

106

19.13

512

163

31.84

685

189

27.59

1,751

458

26.16

3

85 92 93 176 273 1,273

18 17 23 46 63 273

21.18 18.48 24.73 26.14 23.08 21.45

68 143 89 178 199 1,189

18 37 33 66 51 368

26.47 25.87 37.08 37.08 25.63 30.95

69 95 73 160 0 1,082

21 22 38 73 0 343

30.43 23.16 52.05 45.63 0.00 31.70

222 330 255 514 472 3,544

57 76 94 185 114 984

25.68 23.03 36.86 35.99 24.15 27.77

3 3 2 2 3 3

196 57 59 45 37 97

56 10 12 9 9 22

28.57 17.54 20.34 20.00 24.32 22.68

124 0 21 0 0 0

16 0 2 0 0 0

12.90 0.00 9.52 0.00 0.00 0.00

0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

320 57 80 45 37 97

72 10 14 9 9 22

22.50 17.54 17.50 20.00 24.32 22.68

3 3 3 3 3 3

รวม ปวส.

491

118

24.03

145

18

12.41

21.38

3

391

22.17

1,334

386

28.94

0.00 31.70

136

1,764

0 343

636

รวม ปวช. และปวส.

0 1,082

4,180

1,120

26.79

3

ปวช. พาณิ ชยกรรม

อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ศิลปกรรม รวมปวช.

สาขาวิชา

พณิ ชยการ

การโรงแรมและการท่องเที่ยว ศิลปกรรม

สาขางาน

คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ภาษาต่างประเทศ การบัญชี การขาย การท่องเที่ยว คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก

ปวส. บริ หารธุรกิจ

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ศิลปกรรม

การบัญชี การตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ การโรงแรมและการท่องเที่ยว คอมพิวเตอร์กราฟิ ก

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


61 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ผูเ้ รี ยนทั้งหมดที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเข้า น้อยกว่าร้อยละ 31 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ผูเ้ รี ยนทั้งหมดที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเข้า ร้อยละ 31-40 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง ผูเ้ รี ยนทั้งหมดที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเข้า มากกว่าร้อยละ 40

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


62 ข้ อกําหนดที่ 3.2 จัดกิจกรรมส่ งเสริ มด้านวิชาการ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งด้าน บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ ตัวบ่ งชี้ที่ 25 จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมที่ส่งเสริ มด้านวิชาการ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ รวมทั้งด้านบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ คําอธิบาย สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรให้แก่ผเู ้ รี ยน ทุกสาขาวิชา สาขางาน และมีการประเมินผลกิจกรรม 3 ประเภทกิจกรรม คือ 1. กิจกรรมส่ งเสริ มด้านวิชาการ 2. กิจกรรมส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ 3. กิจกรรมส่ งเสริ มด้านบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ ตารางที่ 34 จํานวนและร้อยละของสาขาวิชา /สาขางาน ที่มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มด้านวิชาการ คุณธรรม จริ ยธรรมค่านิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และมนุษยสัมพันธ์ จํานวนสาขาวิชา/สาขางาน จํานวนสาขาวิชา/สาขางานทีจ่ ัดกิจกรรมและ ร้ อยละ ผลการประเมิน ทั้งหมด ประเมินผลครบทั้ง 3 ประเภทกิจกรรม 12

12

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง

100

3

สาขางาน/สาขาวิชาที่มีการจัดกิจกรรมและประเมินผล การจัดกิจกรรมครบทั้ง 3 ประเภทกิจกรรม มากกว่า ร้อยละ 80 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง สาขางาน/สาขาวิชาที่มีการจัดกิจกรรมและประเมินผล การจัดกิจกรรมครบทั้ง 3 ประเภทกิจกรรม ร้อยละ 75-80 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง สาขางาน/สาขาวิชาที่มีการจัดกิจกรรมและประเมินผล การจัดกิจกรรมครบทั้ง 3 ประเภทกิจกรรม น้อยกว่า ร้อยละ 75

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


63 ข้ อกําหนดที่ 3.3 จัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี และทํานุบาํ รุ ง ศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่ งชี้ที่ 26 จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมที่ส่งเสริ มการอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม ประเพณี และการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม คําอธิบาย สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับ 1. ส่ งเสริ มการอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี 2. ส่ งเสริ มทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม ที่จดั ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้แก่ผเู ้ รี ยนทุกสาขาวิชา/สาขางาน และมีการ ประเมินผลทั้ง 2 กิจกรรม ตารางที่ 35 จํานวนครั้งและร้อยละของสาขาวิชา/สาขางานที่จดั กิจกรรมและประเมินครบ 2 ประเภท กิจกรรม จํานวนสาขาวิชา/สาขางาน จํานวนสาขาวิชา/สาขางานทีจ่ ัดกิจกรรม ร้ อยละ ผลการประเมิน ทั้งหมด และประเมินผลครบ 2 ประเภทกิจกรรม 12 12 100 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง สาขางาน/สาขาวิชาที่มีการจัดกิจกรรมและประเมินผล การจัดกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก ครบทั้ง 2 ประเภท กิจกรรม มากกว่าร้อยละ 80 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง สาขางาน/สาขาวิชาที่มีการจัดกิจกรรมและประเมินผล การจัดกิจกรรม ทั้งภายในและภายนอกครบทั้ง 2 ประเภทกิจกรรม ร้อยละ 75-80 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง สาขางาน/สาขาวิชาที่มีการจัดกิจกรรมและประเมินผล การจัดกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก ครบทั้ง 2 ประเภท กิจกรรม น้อยกว่าร้อยละ 75

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


64 มาตรฐานที่ 4 การบริ การวิชาชีพสู่ สังคม ข้ อกําหนดที่ 4 สถานศึกษาควรมีการบริ การวิชาชีพสู่ สังคม ข้ อกําหนดที่ 4.1 บริ การวิชาชีพที่เหมาะสมตามความต้องการของชุมชน สังคม องค์กร ทั้งภาครัฐและ เอกชนเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่ งชี้ที่ 27 จํานวนและประสิ ทธิ ผลของกิจกรรม/โครงการที่ให้บริ การวิชาชีพและส่ งเสริ มความรู ้ใน การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นและกิจกรรม/โครงการฝึ กทักษะวิชาชีพเพื่อการประกอบ อาชีพของประชาชน คําอธิบาย สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมโครงการที่ให้บริ การวิชาชีพ และให้ความรู ้และคําแนะนํา ใน การดูแลบํารุ งรักษาแก่ชุมชน เช่น โครงการล้างแอร์ ช่วยชาติ ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชนและ มีการให้บริ การโครงการฝึ กทักษะวิชาชีพแก่ประชาชน ตารางที่ 36 จํานวนกิจกรรม/โครงการที่ให้บริ การวิชาชีพและส่ งเสริ มความรู ้ในการพัฒนาชุมชนและ ท้องถิ่น จํานวนโครงการ/ กิจกรรม ทีใ่ ห้ บริการ ผลการ วิชาชี พและส่ งเสริม ฝึ กทักษะวิชาชีพ รวมโครงการ/ หลักสู ตร ประเมิน ความรู้ ในการพัฒนา เพือ่ การประกอบ กิจกรรม ชุ มชนและท้ องถิ่น อาชีพของประชาชน ปวช. 14 14 ปวส. 15 15 รวม ปวช. และ ปวส. 29 29 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง สถานศึกษาที่เปิ ดสอนเฉพาะ ปวช. หรื อ ปวส. มากกว่า 7 กิจกรรม/โครงการ สถานศึกษาที่เปิ ดสอน ปวช. และ ปวส. มากกว่า 12 กิจกรรม /โครงการ ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง สถานศึกษาที่เปิ ดสอนเฉพาะ ปวช. หรื อ ปวส. 5-7 กิจกรรม/โครงการ สถานศึกษาที่เปิ ดสอน ปวช. และ ปวส. 10-12 กิจกรรม/โครงการ ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง สถานศึกษาที่เปิ ดสอนเฉพาะ ปวช. หรื อ ปวส.น้อยกว่า 5 กิจกรรม/โครงการ สถานศึกษาที่เปิ ดสอน ปวช. และ ปวส. น้อยกว่า 10 กิจกรรม/โครงการ

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


65 ข้ อกําหนดที่ 4.2 จัดสรรงบประมาณเพื่อการบริ การวิชาชีพอย่างเป็ นระบบและสอดคล้องกับแผนการ บริ การวิชาชีพที่กาํ หนด ตัวบ่ งชี้ที่ 28 ร้อยละของงบประมาณในการจัดกิจกรรม/โครงการที่ให้บริ การวิชาชีพและส่ งเสริ ม ความรู ้ในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นและกิจกรรม/โครงการฝึ กทักษะวิชาชีพ เพื่อการ ประกอบอาชีพของประชาชนต่องบดําเนินการ คําอธิบาย งบประมาณที่ใช้จริ งในการดําเนินการกิจกรรม/โครงการบริ การวิชาชีพและฝึ กทักษะ วิชาชีพต่องบประมาณทั้งหมดของสถานศึกษา ยกเว้นงบลงทุน ตารางที่ 37 จํานวนและร้อยละของงบประมาณที่ใช้ในการจัดกิจกรรม/โครงการบริ การวิชาชีพและ ฝึ กทักษะวิชาชีพ งบประมาณทั้งหมด งบประมาณทีใ่ ช้ ในการจัดกิจกรรม/ ร้ อยละ ผลการประเมิน (ไม่ รวมงบลงทุน) โครงการบริการวิชาชี พ และ ฝึ กทักษะวิชาชี พ (2)x100 (1) (2) (1) 62,641,334 153,170 0.24 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี)

หมายถึง งบประมาณที่ใช้จริ งในการดําเนินการต่องบดําเนินการ (ไม่รวมงบลงทุน) มากกว่าร้อยละ 0.20 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง งบประมาณที่ใช้จริ งในการดําเนินการต่องบดําเนินการ (ไม่รวมงบลงทุน) ร้อยละ 0.11-0.20 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง งบประมาณที่ใช้จริ งในการดําเนินการต่องบดําเนินการ (ไม่รวมงบลงทุน) น้อยกว่าร้อยละ 0.11

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


66 มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจยั ข้ อกําหนดที่ 5 สถานศึกษาควรมีการจัดการเกี่ยวกับนวัตกรรมและการวิจยั ข้ อกําหนดที่ 5.1 ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้มีการสร้างและพัฒนานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่ นําไปใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวบ่ งชี้ที่ 29 จํานวนนวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการ เรี ยนการสอนการประกอบอาชีพและหรื อการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และประเทศ ซึ่ งนําไปสู่ การแข่งขันระดับชาติ คําอธิบาย สถานศึกษาสนับสนุนผูส้ อน บุคลากร และผูเ้ รี ยนในแต่ละหลักสู ตร ทุกสาขาวิชา/สาขางาน ให้มี การสร้างและพัฒนานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไป ใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาการเรี ยนการสอนการประกอบอาชีพ และ/หรื อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และประเทศ ซึ่ งนําไปสู่ การแข่งขันระดับชาติ การพิจารณาจํานวนนวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจัย และโครงงานให้ พจิ ารณาจากอย่างใด อย่ างหนึ่งดังต่ อไปนี้ 1. นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการ เรี ยนการสอน 2. นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบ อาชีพและ/หรื อการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และประเทศ 3. นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปสู่ การประกวด แข่งขัน เผยแพร่ ระดับชาติ ตารางที่ 38 จํานวนและร้อยละของสาขางานที่จดั ทํานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงการที่ นําไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา การเรี ยนการสอน การประกอบอาชีพ ซึ่ งนํา ไปสู่ การ แข่งขันระดับชาติจําแนกตามหลักสู ตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานที่เปิ ดสอน หลักสู ตร/ประเภท วิชา/สาขาวิชา

จํานวนสาขา งานทั้งหมด

จํานวนสาขางานทีม่ ี นวัตกรรมฯ *

(1)

(2)

6

6

ปวช. ปวส. 6 6 รวม ปวช. และ ปวส. 12 12 *มากกว่า 2 เรื่ องในระดับ ปวช. หรื อมากกว่า 8 เรื่ องในระดับ ปวส. รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

ร้ อยละ (2)x100 (1) 100 100 100

ผลการประเมิน 3 3 3


67 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี)

หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานทั้งหลักสู ตร ปวช. และ ปวส. ที่มี การจัดทํานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน ระดับ ปวช. อย่างน้อย 2 เรื่ อง/ปี การศึกษา ระดับ ปวส. อย่างน้อย 8 เรื่ อง/ปี การศึกษา มากกว่าร้อยละ 80 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานทั้งหลักสู ตร ปวช. และ ปวส. ที่มี การจัดทํานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน ระดับ ปวช. อย่างน้อย 2 เรื่ อง/ปี การศึกษา ระดับ ปวส. อย่างน้อย 8 เรื่ อง/ ปี การศึกษา ร้อยละ 75-80 ระดับคุณภาพ 3 (ปรับปรุ ง) หมายถึง สาขาวิชา/สาขางานทั้งหลักสู ตร ปวช. และ ปวส. ที่มี การจัดทํานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน ระดับ ปวช.อย่างน้อย 2 เรื่ อง/ปี การศึกษา ระดับ ปวส. อย่างน้อย 8 เรื่ อง/ปี การศึกษา น้อยกว่าร้อยละ 75

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


68 ข้ อกําหนดที่ 5.2 จัดสรรงบประมาณในการสร้าง พัฒนา และเผยแพร่ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวบ่ งชี้ที่ 30 ร้อยละของงบประมาณที่ใช้ในงานสร้าง พัฒนา และเผยแพร่ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน ต่องบประมาณทั้งหมด คําอธิบาย งบประมาณที่ใช้จริ ง ในการสร้าง พัฒนา และเผยแพร่ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานต่องบประมาณทั้งหมด(ไม่รวมงบลงทุน) ตารางที่ 39 จํานวนและร้อยละของงบประมาณที่ใช้จริ ง ในการสร้าง พัฒนา และเผยแพร่ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานต่องบประมาณทั้งหมด (ไม่รวมงบลงทุน) จํานวนเงินงบประมาณทั้งหมด จํานวนงบประมาณทีใ่ ช้ ในงาน คิดเป็ นร้ อยละ ผลการ (ไม่ รวมงบลงทุน) สร้ าง พัฒนา และเผยแพร่ ประเมิน นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจัย และโครงงาน (1) (2) (2)x100 (1) 62,641,334 689,054 1.10 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง

งบประมาณที่ใช้จริ งในการดําเนินการต่องบประมาณ ทั้งหมด (ไม่รวมงบลงทุน) มากกว่าร้อยละ 1.00 งบประมาณที่ใช้จริ งในการดําเนินการต่องบประมาณ ทั้งหมด (ไม่รวมงบลงทุน) ร้อยละ 0.50 – 1.00 งบประมาณที่ใช้จริ งในการดําเนินการต่องบประมาณ ทั้งหมด (ไม่รวมงบลงทุน) น้อยกว่าร้อยละ 0.50

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


69 ข้ อกําหนดที่ 5.3 จัดการเผยแพร่ ขอ้ มูลเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และ โครงงานที่นาํ ไปใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวบ่ งชี้ที่ 31 จํานวนครั้งและช่องทางการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ คําอธิบาย สถานศึกษาจัดการเผยแพร่ ข่าวสารเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานด้วยวิธีการและช่องทางที่หลากหลาย ตารางที่ 40 จํานวนครั้งและช่องทางการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จํานวนครั้งในการเผยแพร่ ข้อมูล ข่ าวสาร ช่ องทาง รวม ผล การเผยแพร่ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจัย โครงงาน จํานวนครั้ง การประเมิน วิทยุ หนังสื อพิมพ์ นิทรรศการ 2 2 2 2 8 ป้ ายประชาสัมพันธ์ จดหมายข่าว INTERNET 1 1 1 1 4 โทรทัศน์ วารสารร่ มไทรงาม 1 1 1 1 4 รวม 4 4 4 4 16 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง จํานวนครั้งของการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน มากกว่า 4 ครั้ง ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง จํานวนครั้งของการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน 3-4 ครั้ง ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง จํานวนครั้งของการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับ นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน น้อยกว่า 3 ครั้ง

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


70

1

1

1

1

1

1

1

1

ผลการประเมิน

รวม

8. การตรวจสอบและถ่วงดุล โดยต้นสังกัดกําหนดนโยบายและควบคุมมาตรฐาน และมีหน่วยงานตรวจสอบคุณภาพเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาให้เกิดประ

7. การพัฒนาตนเองทั้งการพัฒนาองค์กร พัฒนา วิชาชี พ พัฒนาบุคคล และ พัฒนาทีมงานเพื่อการพัฒนาไปสู่องค์กรการเรี ยนรู ้

6. ความสามารถในการปรับใช้การบริ หาร ตามสถานการณ์ทีนาํ ไปสู่ ผลสัมฤทธิ์ ได้อย่างต่อเนื่ องและหลากหลาย

5. การประสานงานทั้งบุคลากรภายในสถานศึกษาและบุคลากรภายนอก รวมทั้งการแสวงหาความร่ วมมือ ความช่วยเหลือด้านทรัพยากรและเทคนิ ควิธีก

4. การพึงตนเองทีเน้นให้สถานศึกษามีระบบ การบริ หารตัวเอง มีอาํ นาจหน้าที รับผิดชอบการดําเนิ นงานตามความพร้อมและสถานการณ์ของสถานศึกษา

3. การมีส่วนร่ วมและการให้ความร่ วมมือของผูท้ ีมีส่วนเกียวข้องทุกฝ่ าย ในการบริ หาร การตัดสิ นใจและการจัดการศึกษา

2. การใช้สถานศึกษาเป็ นศูนย์กลางในการกําหนดจุดมุ่งหมาย เป้ าหมาย ทิศทาง การวางแผนจัดการศึกษาของตนเอง

1. การกระจายอํานาจในการบริ หารสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 6 ภาวะผูน้ าํ และการจัดการ ข้ อกําหนดที่ 6 ผูบ้ ริ หารควรมีภาวะผูน้ าํ และจัดการศึกษาในสถานศึกษา ข้ อกําหนดที่ 6.1 ใช้ภาวะผูน้ าํ และการมีวสิ ัยทัศน์ของผูบ้ ริ หารในการผสมผสานความร่ วมมือของบุคลากรใน สถานศึกษาและหน่วยงานหรื อบุคคลภายนอกให้เข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา ตัวบ่ งชี้ที่ 32 ระดับคุณภาพการบริ หารงานของผูบ้ ริ หารที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ และการมีส่วน ร่ วมของ ประชาคมอาชีวศึกษาด้วยความโปร่ งใสตรวจสอบได้ คําอธิบาย การใช้ภาวะผูน้ าํ และการมีวสิ ัยทัศน์ของผูบ้ ริ หารในการผสมผสานความร่ วมมือของบุคลากร ในสถานศึกษา หน่วยงาน และบุคลากรภายนอกให้เข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทําแผนพัฒนา สถานศึกษา หรื อแผนยุทธศาสตร์ รวมทั้งการนําสู่ การปฏิบตั ิอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส และตรวจสอบได้ สอดคล้องกับแผนที่กาํ หนด ตารางที่ 41 การบริ หารงานของผูบ้ ริ หารตามแผนยุทธศาสตร์ จําแนกตามระดับคุณภาพ คุณภาพการบริหารงานของผู้บริหารตามแผนยุทธศาสตร์ 1=มีการปฏิบัต, ิ 0=ไม่ มีการปฏิบัติ

8

3

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง มีคุณภาพการบริ หารตามแผนยุทธศาสตร์ มากกว่า 6 ข้อ ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง มีคุณภาพการบริ หารตามแผนยุทธศาสตร์ 5-6 ข้อ ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง มีคุณภาพการบริ หารตามแผนยุทธศาสตร์ นอ้ ยกว่า 5 ข้อ รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


71 ข้ อกําหนดที่ 6.2 จัดระบบการดูแลบุคลากรของสถานศึกษาด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพ ตัวบ่ งชี้ที่ 33 ร้อยละของบุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม คําอธิบาย ครู ผูบ้ ริ หาร ปฏิบตั ิตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งบุคลากรสายสนับสนุนปฏิบตั ิตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมตามระเบียบการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษาที่กาํ หนด ตารางที่ 42 จํานวนและร้อยละของบุคลากรในสถานศึกษาที่ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ จํานวนบุคลากร บุคลากรทีป่ ฏิบัติ บุคลากรทั้งหมด ตามจรรยาบรรณ คิดเป็ นร้ อยละ บุคลากร ผลการประเมิน มาตรฐานวิชาชี พ (1) (2) (2)x100 (1) ผูบ้ ริ หาร 12 12 100 3 ครู 96 96 100 3 รวม 108 108 100 3 เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง บุคลากรในสถานศึกษาสามารถปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 90 ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง บุคลากรในสถานศึกษาสามารถปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 85 - 90 ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง บุคลากรในสถานศึกษาสามารถปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ มาตรฐานวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง น้อยกว่าร้อยละ 85

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


72 ข้ อกําหนดที่ 6.3 จัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรู ้เพื่อการพัฒนาสถานศึกษาอย่างเหมาะสม ตัวบ่ งชี้ที่ 34 ระดับคุณภาพของการจัดการระบบสารสนเทศ และการจัดการความรู ้ของสถานศึกษา คําอธิบาย สถานศึกษามีการจัดทําข้อมูลพื้นฐานทั้งหมด เช่น ข้อมูลผูเ้ รี ยนบุคลากร งบประมาณ เป็ น ต้น มีระบบบริ หารจัดการข้อมูลที่เป็ นปั จจุบนั และมีประสิ ทธิ ภาพ และการจัดการความรู้ ของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ตารางที่ 43 การจัดการระบบสารสนเทศและการจัดการความรู ้ของสถานศึกษา การจัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้ ของสถานศึกษา (0 = ไม่ ปฏิบัต,ิ 1 = ปฏิบัต)ิ 1. มีข้อมูล 2. มีระบบ 3. มีระบบ 4. มีการ 5. มี พืน้ ฐาน บริหารจัดการ ฐานข้ อมูล ประเมิน การปรับปรุง ผล เพือ่ ข้ อมูล ทั้งหมด ประสิ ทธิภาพ ระบบ การตัดสิ นใจ ทีเ่ หมาะสมและ ทีป่ ระสานกัน และ การบริหาร การประเมิน ทีเ่ ป็ นปัจจุบัน มีผ้ รู ับผิดชอบ เป็ นเครือข่ าย ความปลอดภัย จัดการข้ อมูล ของสถานศึกษา ของระบบ อย่างต่ อเนื่อง การบริหาร จัดการข้ อมูล 1

1

1

เกณฑ์ การประเมิน ระดับคุณภาพ 3 (ดี) หมายถึง

ระดับคุณภาพ 2 (พอใช้) หมายถึง ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุ ง) หมายถึง

1

1

3

มีการจัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรู ้ของ สถานศึกษา ปฏิบตั ิตามองค์ประกอบปฏิบตั ิขอ้ 1 – ข้อ 4 หรื อปฏิบตั ิครบทั้ง 5 ข้อ มีการจัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรู ้ของ สถานศึกษา ปฏิบตั ิตามองค์ประกอบ ปฏิบตั ิขอ้ 1 – ข้อ 3 มีการจัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรู ้ของ สถานศึกษา ปฏิบตั ิตามองค์ประกอบ ปฏิบตั ิขอ้ 1 – ข้อ 2 หรื อไม่ได้ดาํ เนินการ

รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553


73

บทที่ 3 สรุ ปผลการประเมินคุณภาพภายใน การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษาประจําปี การศึกษา 2553 โดยสถานศึกษาประเมินตนเองตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา 6 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้ สรุ ปได้ดงั นี้ 1. สรุ ปผลการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานและตัวบ่ งชี้ มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สําเร็จการศึกษาวิชาชี พ ตัวบ่งชี้ 1 ตัวบ่งชี้ 2 ตัวบ่งชี้ 3 ตัวบ่งชี้ 4 ตัวบ่งชี้ 5 ตัวบ่งชี้ 6 ตัวบ่งชี้ 7 ตัวบ่งชี้ 8

ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตามเกณฑ์ที่ กําหนดตามชั้นปี ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่สามารถประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ มาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบตั ิงานอาชีพอย่างมี ระบบ ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีทกั ษะในการสื่ อสารด้านการฟัง การอ่าน การเขียน และการสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศ ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถในการใช้ความรู ้และ เทคโนโลยีที่จาํ เป็ น ในการศึกษาค้นคว้า และปฏิบตั ิงาน วิชาชีพได้อย่างเหมาะสม ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามใน วิชาชีพ มีบุคลิกภาพ ที่เหมาะสมและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตาม เกณฑ์การสําเร็ จการศึกษาประจําปี การศึกษา ร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่ผา่ นการประเมินมาตรฐาน วิชาชีพ ร้อยละของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่ได้งานทําในสถานประกอบการ การประกอบ อาชีพอิสระ หรื อศึกษาต่อภายใน 1 ปี

ตัวบ่งชี้ ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณลักษณะ 9 ที่พึงประสงค์ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรมและจรรยาบรรณใน รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

3 (ดี)

2 (พอใช้ )

 

     

1 (ปรับปรุง)


74 มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ วิชาชีพของผูส้ าํ เร็ จการศึกษา มาตรฐานที่ 2 หลักสู ตรและการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพของหลักสู ตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษาที่มี 10 การพัฒนาตามความต้องการของตลาดแรงงาน ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพของการจัดการเรี ยนรู ้อย่างหลากหลายโดยเน้น 11 ผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ในการฝึ กทักษะวิชาชีพมีการฝึ กปฏิบตั ิจริ ง เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาตาม ธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพและ พึงพอใจต่อคุณภาพการสอน ตัวบ่งชี้ ร้อยละของงบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้ อวัสดุฝึกอุปกรณ์ 12 สําหรับการจัด การเรี ยนการสอน อย่างเหมาะสม ตัวบ่งชี้ ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอร์ ใน 13 แต่ละสาขาวิชา ตัวบ่งชี้ ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรี ยนอาคารประกอบ 14 ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ ศูนย์วทิ ยบริ การ โรงฝึ กงาน พื้นที่ฝึก ปฏิบตั ิงานเหมาะสมกับ วิชาที่เรี ยน มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรี ยนรู ้และเกิดประโยชน์สูงสุ ด ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดล้อม 15 และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ในสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ ร้อยละของบุคลากรภายในสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนาตาม 16 หน้าที่รับผิดชอบ ตัวบ่งชี้ จํานวนครั้งหรื อปริ มาณในการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ 17 ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัด การศึกษาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ตัวบ่งชี้ จํานวนสถานประกอบการที่มีการจัดการศึกษาร่ วมกับ 18 สถานศึกษา จัดการศึกษา ระบบทวิภาคีและระบบปกติ ตัวบ่งชี้ จํานวนคน-ชัว่ โมงของผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ หรื อภูมิปัญญา 19 ท้องถิ่นที่มีส่วนร่ วม ในการพัฒนาผูเ้ รี ยน ตัวบ่งชี้ อัตราส่ วนของผูส้ อนประจําที่มีคุณวุฒิดา้ นวิชาชีพต่อผูเ้ รี ยนใน 20 แต่ละสาขาวิชา รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

3 (ดี)

 

     

2 (พอใช้ )

1 (ปรับปรุง)


75 มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ ตัวบ่งชี้ อัตราส่ วนของผูส้ อนประจําต่อผูเ้ รี ยน 21 มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตัวบ่งชี้ จํานวนครั้งของการจัดให้ผเู ้ รี ยนพบอาจารย์ที่ปรึ กษา 22 ตัวบ่งชี้ จํานวนครั้งของการจัดบริ การตรวจสารเสพติดให้กบั ผูเ้ รี ยน 23 ตัวบ่งชี้ ร้อยละของผูเ้ รี ยนที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเข้า 24 ตัวบ่งชี้ จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมที่ส่งเสริ มด้านวิชาการ 25 คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งด้าน บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ ตัวบ่งชี้ จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมที่ส่งเสริ มการอนุรักษ์ 26 สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม ประเพณี และการทํานุบาํ รุ ง ศิลปวัฒนธรรม มาตรฐานที่ 4 การบริการวิชาชี พสู่ สังคม ตัวบ่งชี้ จํานวนและประสิ ทธิ ผลของกิจกรรม/โครงการที่ให้บริ การ 27 วิชาชีพและส่ งเสริ มความรู ้ ในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น และกิจกรรม/โครงการฝึ กทักษะวิชาชีพเพื่อการประกอบอาชีพ ของประชาชน ตัวบ่งชี้ ร้อยละของงบประมาณในการจัดกิจกรรม/โครงการที่ 28 ให้บริ การวิชาชีพและส่ งเสริ มความรู ้ในการพัฒนาชุมชนและ ท้องถิ่นและกิจกรรม/โครงการฝึ กทักษะวิชาชีพ เพื่อ การประกอบอาชีพของประชาชนต่องบดําเนินการ มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจัย ตัวบ่งชี้ จํานวนนวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่ 29 นําไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน การ ประกอบอาชีพและหรื อการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และ ประเทศ ซึ่ งนําไปสู่ การแข่งขันระดับชาติ รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

3 (ดี) 

   

2 (พอใช้ )

1 (ปรับปรุง)


76 มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ ตัวบ่งชี้ ร้อยละของงบประมาณที่ใช้ในงานสร้าง พัฒนา และเผยแพร่ 30 นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงาน ต่องบประมาณ ทั้งหมด ตัวบ่งชี้ จํานวนครั้งและช่องทางการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับ 31 นวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ งานวิจยั และโครงงานที่นาํ ไปใช้ใน การพัฒนาการเรี ยนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มาตรฐานที่ 6 ภาวะผู้นําและการจัดการ ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพการบริ หารงานของผูบ้ ริ หารที่สอดคล้องกับแผน 32 ยุทธศาสตร์ และการมีส่วนร่ วมของประชาคมอาชีวศึกษาด้วย ความโปร่ งใสตรวจสอบได้ ตัวบ่งชี้ ร้อยละของบุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบตั ิตาม 33 จรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพของการจัดการระบบสารสนเทศและการจัดการ 34 ความรู ้ของสถานศึกษา 2. มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ทมี่ ีผลการดําเนินงานน่ าพอใจ มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รี ยนและผูส้ าํ เร็ จการศึกษาวิชาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ 1, 2, 3, 4, 5 ,7, 8, 9 มาตรฐานที่ 2 หลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19,20,21 มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ตัวบ่งชี้ที่ 22, 23, 24, 25, 26 มาตรฐานที่ 4 การบริ การวิชาชีพสู่ สังคม ตัวบ่งชี้ที่ 27, 28 มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจยั ตัวบ่งชี้ที่ 29, 30, 31 มาตรฐานที่ 6 ภาวะผูน้ าํ และการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 32, 33, 34 3. มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ทมี่ ีผลการดําเนินงานควรพัฒนาเพิม่ มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 6 รายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี 2553

3 (ดี) 

  

2 (พอใช้ )

1 (ปรับปรุง)


ภาคผนวก


77

คําสั่ งโรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ที่ ๒๔/๒๕๕๓ เรื่อง แต่ งตั้งคณะกรรมการระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๓ ......................................................................

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๔ ในหมวดที่ ๖ ว่าด้วยมาตรฐานและการ ประกันคุณภาพการศึกษา (มาตรา ๔๗ – ๕๑) โดยที่มาตรา ๔๗ กําหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา ทุกระดับประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อให้สถานศึกษา มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นกระบวนการบริ หารจัดการในสถานศึกษา โดยเริ่ มจากบุคลากร ทุกฝ่ ายปฏิบตั ิตามบทบาทและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย จากนั้นมีกระบวนการประเมินการปฏิบตั ิงานตามแผนที่กาํ หนดไว้ แล้วจัดทํารายงาน ประจําปี ตามสาขาวิชา และของสถานศึกษา พร้อมทั้งรายงานการประเมินตนเองเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และเปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื่อ นําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ตลอดจนเป็ นการรักษามาตรฐานคุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาํ หนด โดยใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย ๗ มาตรฐาน ๓๖ ตัวบ่งชี้ ในการจัดการอาชีวศึกษาที่สอดรับกับการดําเนินงานประกันคุณภาพภายใน และเพื่อเตรี ยมพร้อม รับการประเมินคุณภาพภายนอก โรงเรี ยนจึงขอแต่งตั้ง คณะกรรมการระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๓ มีรายนามดังต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมการอํานวยการ ประกอบด้วย ๑.๑ ดร.ประสาน ประวัติรุ่ งเรื อง ที่ปรึ กษา ๑.๒ นางประนอม วิโรจน์วรรณ ที่ปรึ กษา ๑.๓ นางอุทยั วรรณ อ้นใจหาญ ประธาน ๑.๔ นางสาวมุกดาวรรณ รักสัตย์มนั่ กรรมการ ๑.๕ นางสาวอันธิกา เรี่ ยวแรง กรรมการ ๑.๖ นายอภิชา โสดา กรรมการ ๑.๗ นางศิรินนั ท์ โชติญาณนนท์ กรรมการ ๑.๘ นายปรี ชา ดาราเย็น กรรมการ ๑.๙ นางกุสุมา หาญกล้า กรรมการและเลขานุการ มีบทบาทและหน้าที่ดงั นี้ ๑. กําหนดนโยบายให้คาํ ปรึ กษา ส่งเสริ ม สนับสนุน แนะนํา แก้ไขปั ญหา และกํากับให้การดําเนินการเป็ นไปด้วยความ เรี ยบร้อย และบรรลุวตั ถุประสงค์ ๒. ประสานงานการทํางานกับฝ่ ายต่าง ๆ เพื่อให้การดําเนินงานเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย ๓. อํานวยความสะดวกตามความจําเป็ นในการดําเนินงานของคณะกรรมการดําเนินงาน เพื่อให้การดําเนินงานตาม โครงการมีประสิ ทธิภาพสูงสุด ๒. คณะกรรมการดําเนินงาน ประกอบด้วย ๒.๑ ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป ๒.๑.๑ นางสาวอันธิกา เรี่ ยวแรง ประธานกรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑๖,๓๓) ๒.๑.๒ นายรุ่ ง พลายเดช กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑๔,๑๕) ๒.๑.๓ นางธัญธีรา ชิดพรมราช กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒) ๒.๑.๔ นางสาว สุดารัตน์ วิชญญาณสวัสดิ์ กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑,๖) ๒.๑.๕ นางสุมาลี / ...


78 ๒.๑.๕ ๒.๑.๗

นางสุมาลี ฤกษ์นาวี กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑๔,๑๕) ๒.๑.๖ นางสาวศิริวรรณ มีแสง กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒๐,๒๑) นายวินิษฐ์ วนิชธัญญาทรัพย์ กรรมการและเลขานุการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๘,๙,๒๔) ๒.๑.๘ นางสาวกรรณิ การ์ พรวิรุฬห์ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

๒.๒ ฝ่ ายวิชาการ ๒.๒.๑ นางสาวมุกดาวรรณ รักสัตย์มนั่ ประธานกรรมการ ๒.๒.๒ นางเพ็ญศรี มัน่ นาค กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐) ๒.๒.๓ นายวิเชียร ภิรมย์ญาณ กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒๒) ๒.๒.๔ นายนิรัญ จันทร์ส่ง กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๔,๑๓) ๒.๒.๕ นางสาวดุจดวงดาว จินดาวิทยา กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑) ๒.๒.๖ นายพีรพงษ์ พรมโคตร กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒,๓) ๒.๒.๗ นางณัฐมนตรา ดาราเย็น กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๘ นายรัตนวุธ บุญเทียบ กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๙ นายสุริยนั ไตรยพันธ์ กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๑๐ นางสาวจิราภรณ์ เขตกุฎี กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๑๑ นางสาวเล็กฤทัย ขันทองชัย กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๑๒ นายณัฐพล ธนเชวงสกุล กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๑๓ นายทวีศกั ดิ์ อัฐทอง กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๑๔ นาย คําแพง จันส่อง กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๑๕ นาย คมน์ จันทรประภา กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕, ๗, ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๗, ๒๘ ๒.๒.๑๖ นายสุชาติ มาตรวิเศษ กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๓๔) ๒.๒.๑๗ นางสาวอาภาวรรณ มีโภคกิจ กรรมการและเลขานุการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๑๘) ๒.๒.๑๘ นางสาวปนัดดา จิตต์ไทย กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ ๒.๓ ฝ่ ายกิจการนักเรี ยนนักศึกษา (ด้านกิจกรรม) ๒.๓.๑ นางศิรินนั ท์ โชติญาณนนท์ ประธานกรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๕) ๒.๓.๒ นายธนัช ธีระนิรมิตร กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒๕,๒๖) ๒.๓.๓ นายจีรศักดิ์ เนียมหน่อ กรรมการและเลขานุการ ๒.๔ ฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน ๒.๔.๑ นายปรี ชา ดาราเย็น ประธานกรรมการ ๒.๔.๒ นายสงกรานต์ ใจดี กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒๓) ๒.๔.๓ นายธนบดี ศรี คาํ กรรมการและเลขานุการ ๒.๕ ฝ่ ายประกันคุณภาพและพัฒนาระบบ ๒.๕.๑ นางกุสุมา หาญกล้า ประธานกรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒๙,๓๐,๓๑,๓๒,๓๕,๓๖) ใสสุทธิกลุ กรรมการและเลขานุการ ๒.๕.๒ นางสาวเกื้อกูล ๒.๖ ฝ่ ายกิจการนักเรี ยนนักศึกษา (ด้านแนะแนว) ๒.๖.๑ นายอภิชา โสดา ประธานกรรมการ ๒.๖.๒ นางสาวศิริวรรณ ศรี แดง กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒๕) ๒.๖.๓ นางสาวนงนุช / ...


79 ๒.๖.๓

นางสาวนงนุช จันทนาค กรรมการ (ตัวบ่งชี้ที่ ๒๖) ๒.๖.๔ นาย วัชรพล รู ้แผน กรรมการและเลขานุการ ๒.๖.๕ นางสาวสุทธิพร บุญชู กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ มีบทบาทและหน้าที่ดงั นี้ ๑. รวบรวมข้อมูลเอกสาร หลักฐาน รายงานผลการดําเนินงาน กิจกรรม/โครงการ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ประสานงานกับ หัวหน้าแผนกวิชา และประธานกรรมการมาตรฐาน ๗ มาตรฐาน เพื่อใช้ในการจัดทํา แฟ้ มมาตรฐานต่อไป ๒. จัดทําแฟ้ มรายงานผลการดําเนินงานตามมาตรฐานที่รับผิดชอบและเตรี ยมพร้อมการนําเสนอต่อคณะกรรมการ ตรวจประเมินคุณภาพภายใน ๓. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ๓.๑ นางอุทยั วรรณ อ้นใจหาญ ประธานกรรมการ ๓.๒ นางสาวอันธิกา เรี่ ยวแรง กรรมการ (ตรวจประเมินฝ่ ายประกันคุณภาพและพัฒนาระบบ) ๓.๓ นางสาวมุกดาวรรณ รักสัตย์มนั่ กรรมการ (ตรวจประเมินฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป) ๓.๔ นาง ศิรินนั ท์ โชติญาณนนท์ กรรมการ (ตรวจประเมินฝ่ ายกิจการนักศึกษา ด้านแนะแนว) ๓.๕ นายปรี ชา ดาราเย็น กรรมการ (ตรวจประเมินฝ่ ายกิจการนักศึกษา ด้านกิจกรรม) ๓.๖ นายอภิชา โสดา กรรมการ (ตรวจประเมินฝ่ ายประกันคุณภาพและพัฒนาระบบ) ๓.๗ นางกุสุมา หาญกล้า กรรมการ (ตรวจประเมินฝ่ ายพัฒนาผูเ้ รี ยน) ๓.๘ นาวสาวธัญภรณ์ โชติรัตน์ กรรมการ (ตรวจประเมินฝ่ ายวิชาการ) มีบทบาทและหน้าที่ดงั นี้ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน และนําเสนอข้อมูล ให้คณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ดงั กล่าวปฏิบตั ิหน้าที่ ด้วยความตั้งใจอย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้สาํ เร็ จลุล่วงได้ดว้ ย ความเรี ยบร้อย มีประสิ ทธิภาพ และเกิดผลดีต่อสถานศึกษาต่อไป ทั้งนี้ ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป

สัง่ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ (ดร.ประสาน ประวัติรุ่งเรื อง)

ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนสยามบริ หารธุรกิจ นนทบุรี



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.