จ�ำนวน ส.ส. ที่ยกมือให้ใช้ชื่อ “ไทย” แทน “สยาม” ในการเรียกชื่อประเทศ
วัฒนธรรมโดยเฉพาะ ตั้ง “คนะกัมการส่งเสิมวัธนธัมไทย” (เขียน แบบใหม่) ปรับปรุงภาษาไทยขนานใหญ่และสร้างความปวดเศียร เวียนเกล้าให้ผู้ใช้ภาษาในยุคนั้นเป็นอย่างยิ่ง ตัวอย่างของการ ปรับปรุง คือ ตัดพยัญชนะ ๑๓ ตัว สระ ๕ ตัว ค�ำควบกล�้ำที่ ไม่ออกเสียง ร ก�ำหนดว่าไม่ตอ้ งเขียนตัว ร ให้ใช้ไม้มลาย (ไ) แทน ไม้ม้วน (ใ) เป็นต้น ท่านผู้หญิงละเอียดยังมีส่วนช่วยรณรงค์เรื่องทางวัฒนธรรม อื่น ๆ อีก อาทิ แต่งเพลง “ยอดชายใจหาญ” “หญิงไทยใจงาม” “ดอกไม้ของชาติ” เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ของการปรับปรุง “ร�ำโทน” โดย จอมพลและท่านผู้หญิงเป็นผู้ตั้งชื่อ “ร�ำโทน” ที่ปรับปรุงแล้วว่า “ร�ำวง” แล้วขอให้กรมศิลปากรคิดท่าร�ำมาตรฐานขึ้นมา เหตุทจี่ อมพลมีนโยบายส่งเสริมบทบาทสตรีเพราะ “หยิงเปน ส่วนหนึ่งของชาติ ก็ควนจะได้สร้างตนและช่วยชาติด้วยในตัว... ไครจะดูว่าชาตินั้นชาตินี้เจรินเพียงไดไนเมื่อผ่านไปชั่วแล่นแล้วก็ มักจะตัดสินความเจรินของชาตินั้นตามความเจรินของฝ่ายหญิง” ดั ง นั้ น จึ ง ออกค� ำ สั่ ง ให้ ส ามี ย กย่ อ งภรรยาตลอดเวลา ถ้ า ข้าราชการทะเลาะกับภรรยาถือเป็นการผิดวินัย เป็นต้น
๑๕๒ ปี ๒๔๘๕ ยังรับ “นักเรียนนายร้อยหญิง” รุ่นแรกมาฝึกเพื่อ ส่งเสริมบทบาทสตรีในการป้องกันประเทศ ซึง่ จีรวัสส์บตุ รีจอมพล ที่เพิ่งกลับจากต่างประเทศก็เป็นนักเรียนนายร้อยหญิงรุ่นแรกนี้ ด้วย อย่างไรก็ตามเรื่องนักเรียนนายร้อยหญิงนี้ก็ท�ำให้จอมพล โดนชาวบ้านด่าอีก ด้วยบรรดาข้าราชการ “ท�ำเกิน” เกณฑ์บรรดา แม่บ้านทั้งหลายออกมาฝึกซ้ายหันขวาหันกันเป็นที่คึกคัก จน จอมพลต้องออกค�ำสั่งปรามการกระท�ำดังกล่าว ยังมีนโยบายอื่น ๆ อีก อาทิ ห้าม “ใส่หมวกแขก โพกหัว” และ “แต่งกายผิดเพศ” ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ ปลูกผักสวนครัว ให้กินก๋วยเตี๋ยว กีดกันอิทธิพลชาวจีนจากระบบเศรษฐกิจไทย ด้วยการส่งเสริมให้คนไทยประกอบการค้า เรือ่ งทีค่ นจ�ำกันได้มากทีส่ ดุ คือการเปิดเพลง “สดุด ี ป. พิบลู สงคราม” ก่อนฉายภาพยนตร์ เนื้อร้องมีว่า “ไชโย วีรชนชาติไทย ตลอดสมัย ที่ไทยมี ประเทศไทย คงชาตรี ด้วยคนดี ผยองชัย ท่านผู้น�ำ พิบูลสงคราม ขอเทิดนาม เกริกไกร ขอด�ำรง คงไทย ตลอดสมั ย เทิ ด ไทย ชะโย” โดยโรงหนั ง ประกาศขอให้ ผู ้ ช ม “ลุกขึ้นคารวะท่านผู้น�ำ” เมื่อหนังจบจึงขึ้นพระบรมฉายาลักษณ์
สุภาพสตรีในพระนคร สวมหมวกตามนโยบาย “มาลาน�ำไทยสู่มหาอ�ำนาจ”
มิถุนายน ๒๕๕๗
97