ผลงานรายวิชาการออแบบเทคโนโลยี ม4

Page 1

ระบบทางเทคโนโลยี ของกระติ ก นํ้า ร อ นไฟฟ า ตัวปอน

นํ าไฟฟ า

ขอมูลยอนกลับ

อุณหภูมิของนํ้ า

กระบวนการ

กระแสไฟฟ าผานลวดความรอน ทําใหลวดความรอน ถายเทความ รอนไปยังนํ้ าในกระติกนํ้ ารอน

ผลผลิต

นํ้ าเกิดความรอน กลายเป็ น นํ้ ารอน นางสาวสลันรัตน พอคา 4/9 13ก


ี ี การเปลยนแปลงของเทคโนโลย ้ นา การเปลียนแปลงของกาตม หม้อต้มนาดินเผา พ.ศ 253-2502 ้ าเนิ นนาน มีการใชม ทํามาจากดินเหนี ยว

กาต้มนาทําจากอะลูมิเนี ยม พ.ศ 2502-2540 มีการทํามาจากอะลูมิเนี ยมทําให้ ลดเวลาเพราะร้อนเร็ว

กาต้มนาแบบไฟฟาอัตโนมัติ พ.ศ 2502-ปจจุบัน มีการพัฒนาทางมอเตอร์ทํา ความร้อนเเละการใชไ้ ฟฟา

น.ส สลันรัตน พอคา 13 ก 4/9


ผลกระทบของเทคโนโลยี ต่อสิงแวดล้อม โรงงานเผาขยะ

ผลกระทบ ทําให้โลกร้อน เกิดมลพิษต่างๆมากมา ทําให้เกิดโรคมะเร็งจากการเผาขยะโดยสารทีชือว่า"สารไดออกซิน" ทําให้เกิดปญหาสั งคม เนืองจากโรงงานเผาขยะต้องใช้เนือทีเยอะจึง ทําให้ ชุมชนทีใกล้เคียงโดนผลกระทบทางเคมี ควันและฝุนต่างๆ ทําให้เกิดก๊าซเรือนกระจก

แนวทางการแก้ไขปญหา

ลดการใช้พลาสติกในชุมชน การคัดแยกขยะ ณ แหล่งกําเนิด การเพิมมูลค่าให้กับสิ งของทีเราไม่ต้องการ

นางสาวสลันรัตน พอคา ม4/9 13ก


ÇÑʴؾ¹×é °Ò¹ ไม้ (Wood)

ไม้

เปนวัสดุแข็งทีทําจากแก่นลําต้นของต้นไม้ ส่วนใหญ่เปนไม้ยน ื ต้น โดยแบ่งเปน ไม้เนือแข็ง เช่น ไม้เต็ง ไม้แดง และ ไม้เนืออ่อน เช่น ไม้สก ั ไม้ยางพารา โดยนิยาม แล้วไม้ จะหมายถึงเนือเยือไซเล็มชันทีสอง (Xylem) ของต้นไม้ แต่ในความเข้าใจ ไม้ อาจหมายรวมไปถึงวัสดุใดๆ ทีมีสว่ นประกอบทํามาจากไม้ด้วย

ประเภทของไม้

ไม้เนือแข็ง

ไม้เนืออ่อน

คุณสมบัติ

การใช้งาน

แข็งแรงทนทานมีน้าํ หนักมาก เนือแน่น ลายเนือละเอียมีสี เข้มความถ่วงจําเพาะ สูงซึงส่วนใหญ่จะถูก ใช้เปนส่วนสําคัญ ของงานโครงสร้าง

คาน โครงหลังคา บ้าน พืน ฝาบ้าน ประตู หน้าต่าง เครืองดนตรีไทย

เนือไม้ค่อนข้าง เหนียวนําหนักเบา ใช้งานง่ายแต่ไม่ค่อย แข็งแรงมาก มีสต ี ังแต่อ่อนจางไป ถึงเข้ม

ประตู หน้าต่าง ทีใส่ของตกแต่ง ของใช้ต่างๆ เครืองดนตรีไทย เฟอร์นเิ จอร์

น.ส.สลั นรั ต น์ พ่ อ ค้ า ม.4/9 เลขที 13ก


เครื่องมือสําหรับการ วัดขนาด (Measuring Tool)

ไมโครมิเตอร์ (MICOMETER) เปนเครื่ องมื อ ที่ จะหนี บ ชิ นงานไว้ เ พื่ อวั ด ขนาด สามารถแบ่ ง ขนาด 1 CM ได้ ล ะเอี ย ด 1000เท่ า สามารถแบ่ ง ขนาด 1 MM ได้ ล ะเอี ย ด 100เท่ า เช่ นกระดาษ เส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางเส้ น ลวด ฯลฯ วั ด นอก วั ด ใน และวั ด ลึ ก

เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (VERNIER CALIPERS) มี ลั ก ษณะเปนก้ า มปู ที่ ข้ า งหนึ่ งติ ด ไม้ บ รรทั ด ยาว อี ก ข้ า ง ติ ด ไม้ บ รรทั ด อั น เล็ ก เวอร์ เ นี ย ร์ มั ก กํา หนดความละเอี ย ดไว้ ท่ ี 0.01 mm การวั ด ใช วิ ธี ถ่ า งเวอร์ เ นี ย ร์ อ อกแล้ ว ปรั บ ให้ ต รงกั บ ขนาด สิ่ งที่ ต้ อ งการวั ด ลงสลั ก ยึ ด แล้ ว จึ ง ยกออกมาอ่ า นค่ า

ไม้บรรทัดวัดองศา (PROTRACTOR) เปนเครื่ องมื อ ที่ ใช สํา หรั บ วั ด ระยะของมุ ม วั ด มุ มได้ 0-180 องศา ใช วั ด มุ มต่ า งๆ ของมี ด กลึ ง มี ด ใส ชิ นงาน ที่ มี ลั ก ษณะทํา มุ มไม่ เ กิ น 180 องศา และ บางครั งใช สํา หรั บ การร่ า งเส้ น แบ่ ง มุ มบน โลหะแผ่ น

นางสาวสลันรัตน์

พ่อค้า ม.4/9 เลขที่ 13ก


เฟอง

(GEAR)

เฟองคืออะไร เปนเครองกลทีทํางานโดยการหมุน ใช้ในการส่งกําลังในระยะสัน ใช้สําหรับการส่ง กําลังในลักษณะของแรงบิด (Torque) โดยการหมุนของตัวเฟองทีมีฟนอยู่ในแนว รัศมี โดยการส่งกําลังจะสามารถเกิดขึนได้ก็ต่อเมือมีฟนเฟองตังแต่สองตัวขึนไป เปน อุปกรณ์ทีมีความแข็งแรงสูงและมีความปลอดภัย

ประเภทของเฟอง เฟอง (Gear)แบ่งได้ 8 ประเภท 1. เฟองตรง (Spur Gears) 2. เฟองสะพาน (Rack Gears) 3. เฟองวงแหวน (Internal Gears) 4. เฟองเฉียง (Helical Gears) 5. เฟองเฉียงก้างปลา (Herringbone Gears) 6. เฟองดอกจอก (Bevel Gears) 7. เฟองตัวหนอน (Worm Gears) 8. เฟองเกลียวสกรู (Spiral Gears)

ประโยชน์ของเฟอง เฟอง สามารถนํามาใช้ในการส่งผ่านแรงหมุน ปรับความเร็วแรงหมุน และ ปรับทิศทางการหมุนในเครองจักรได้ โดยระบบเฟองมีความสามารถคล้ายกับ ระบบสายพาน แต่ระบบเฟองนี จะไม่มีการสูญเสียพลังงานไปกับการยืดหด และการลืนไถลของสายพาน ใช้งานเพือทดแรง เครองจักรกลต่างๆ

นางสาวสลันรัตน์

พ่อค้า ม.4/9 เลขที13ก


อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ ตัวต้านทาน (Resistor) มีหน่วยเปนโอห์ม ถ้ามีค่ามากจะทําให้กระแสไฟฟาไหลผ่านได้น้อย ถ้ามีค่าน้อยจะทําให้กระแสไฟฟาไหลผ่านได้มาก

เซ็นเซอร์ (Sensor)

เปนอุปกรณ์ทีใช้ในการเปลียนปรมาณ ทางกายภาพเปนสัญญาณไฟฟา สามารถตรวจจับการสัมผัสได้

เทอร์โมคัปเปล (Thermocouple) เปลียนพลังงานความร้อนให้เปนพลังงานไฟฟา ใช้ในตู้เย็นหรอเครองปรับอากาศ

ตัวเก็บประจุ (Capacitor)

ทําหน้าทีเก็บสะสมประจุไฟฟา มีฉนวนไดอิเล็กตรก

ไดโอด (Diode)

ยอมให้ไฟฟาไหลผ่านทางเดียว ปองกันกระแสไฟฟาไหลย้อนกลับ ทําหน้าทีควบคุมทิศทางการเคลือนทีข กระแสไฟฟา

นางสาวสลันรัตน์

พ่อค้า ม4/9 เลขที 13ก


อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

มอเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟาทีเปลียนพลังงานไฟฟาเปนพลังกลเพือเปนเครองต้นกําลังเพือนําไปใช้กับ เครองจักรแบบต่างๆ มอเตอร์ทีใช้งานในปจจุบัน แต่ละชนิดก็จะมีคุณสมบัติทีแตกต่าง ออกไปต้องการความเร็ว รอบหรอกําลังงานทีแตกต่างกัน

มอเตอร์ มี 2 ประเภท 1.มอเตอร์ไฟฟากระแสสลับ (Alternating Current Motor) 1.มอเตอร์ไฟฟากระแสสลับชนิด 1 เฟส 2.มอเตอร์ไฟฟาสลับชนิด 2 เฟส 3.มอเตอร์ไฟฟากระแสสลับชนิด 3 เฟส

2.มอเตอร์ไฟฟากระแสตรง (Direct Current Motor) 1.มอเตอร์แบบอนุกรม (Series Motor) 2.มอเตอร์แบบอนุขนาน (Shunt Motor) 3.มอเตอร์ไฟฟาแบบผสม (Compound Motor)

นางสาวสลันรัตน์ พ่อค้า ม4/9

เลขที 13ก


The 7 Principles of Universal Design

Principle 1 Equitable Use

The design is useful and marketable to people with diverse abilities. The design accommodates a wide range of individual preferences and abilities.

Principle 2 Flexibility in Use

Use of the design is easy to understand, regardless of the user's experience, knowledge, language skills. The design communicates necessary information effectively to the user.

The design minimizes hazards and the adverse consequences of accidental or unintended actions.

Principle 3 Simple and Intuitive Use

Principle 4 Perceptible Information Principle 5 Tolerance for Error

The design can be used efficiently and comfortably and with a minimum of fatigue. Appropriate size and space is provided for approach, reach, manipulation, and use regardless of user's body size.

Principle 6 Low Physical Effort

Principle 7 Size and Space for Approach and Use

นางสาวสลันรัตน์ พ่อค้า ม.4/9 เลขที13ก


creative common license

This license allows others to copy, edit, build upon your work and redistribute the material in any medium or format – even for commercial purposes.

This license allows for material to be redistributed non-commercially, you are allowed to copy, edit, and build upon the original work.

This license lets others remix, adapt, and build upon your work even fo rcommercial purposes, as long as they credit you and license their new creations under the identical terms.

This license is the least flexible of Creative Common’s licenses. Other people may distribute the content in any for mat or medium non-commercially.

This license lets others reuse the work for any purpose, including commercially; however, it cannot be shared with others in adapted form, and credit must be provided to you.

When a work is in the public domain, it is free to use by anyone for any purpose and is no trestricted by copyright law. No one owns or controls the materials in any way.

This license lets others remix, adapt, and build upon your work non-commercially, as long as they credit you and license their new creations under the identical terms.

CC0 enables scientists, educators, artists and other creators and owners of copyright-or database-protected content to waive those interests in their works

salanrat

porkar 4/9 13a


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.