โครงการการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

Page 1

รายงานสหกิจศึกษา เรื่อง การจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดย

นางสาวจุฬาลักษณ์ สาโรงพล รหัสประจาตัว 5601412007

ปฏิบัติงาน ณ ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ เลขที่ 9 ถนนรั ชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร จังหวัดกรุ งเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10900 โทรศัพท์ 02-777-7777 โทรสาร 0-2544-2658 Web site www.scb.co.th


ก วันที่ 13 มกราคม 2560 เรื่ อง ขอส่งรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เรี ยน รองคณบดีคณะบริ หารธุรกิจ ตามที่ข้ า พเจ้ า นางสาวจุฬาลัก ษณ์ ส าโรงพล นัก ศึก ษาสาขาวิชา การตลาด บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเนชัน่ ศูนย์เนชัน่ บางนา ได้ ปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา

คณะ ณ ธนาคารไทย

พาณิชย์ จากัด (มหาชน) ในตาแหน่ง นักศึกษาฝึ กงาน ประจาธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บาง ครุ (พระประแดง) , สาขา บางนา , และสานัก งานธุร กิ จ สาขา เทพารั ก ษ์ ตามลาดับ ระหว่า งวัน ที่ 15 เดือน สิงหาคม พ. ศ. 2559 ถึง วันที่ 2 เดือน ธันวาคม พ. ศ. 2559และได้ รับมอบหมายให้ จดั ทารายงานเรื่ องการจัด เอกสารการจัดเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ บัดนี ้การปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาได้ สิ ้นสุดลงแล้ ว ข้ าพเจ้ า จึงขอส่งรายงานการปฏิบัติงาน สหกิ จศึก ษา จานวน 1 เล่ม ในรูปแบบของ E-BOOK มาพร้ อมนี ้ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ

(นางสาวจุฬาลักษณ์ สาโรงพล)


กิตติกรรมประกาศ ตามที่ข้ า พเจ้ า นางสาวจุฬาลัก ษณ์ สาโรงพลได้ มาปฏิบัติงานสหกิ จศึก ษา ณ ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) ในตาแหน่ง นักศึกษาฝึ กงาน ประจาธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระ ประแดง) , สาขา บางนา , และสานักงานธุรกิจ สาขา เทพารักษ์ ตามลาดับ ระหว่างวันที่ 15 เดือน สิงหาคม พ. ศ. 2559 ถึง วันที่ 2 เดือน ธันวาคม พ. ศ. 2559 ในระหว่า งการปฏิบัติงานข้ า พเจ้ า ได้ รั บความรู้ ประสบการณ์ ต่างๆในการทางานจริ งอันหามิได้ จากมหาวิทยาลัย ทั ้งการทางานและการจัดทารายงานฉบับนี ้ สาเร็ จลงได้ ด้วยดี ด้ วยความช่วยเหลือสนับสนุนให้ คาปรึ กษาในปัญหาต่างๆจากบุคลากรหลายฝ่ ายดังนี ้ 1. นางสาวพรทิพย์ ลีลาสมศิริ

ตาแหน่ง การเรี ยนรู้และพัฒนาทรัพยากรบุคคล

2. นางสาวลักขณา ผ่องรัศมีวงศ์

ตาแหน่ง หัวหน้ าธนกิจ

3. นางสาวเมพิชชา ศิริลกั ษณมานนท์ ตาแหน่ง เจ้ าหน้ าที่ธนกิจ 4. นายเขมกรณ พฤกษถานนท์กุล

ตาแหน่ง เจ้ าหน้ าทีว่ ิเคราะห์ธุรกิจ

นอกจากนี ้ยังมีบคุ คลท่านอื่นๆ ที่ไม่ได้ กล่าวไว้ ณ ที่นี ้ ซึ่งได้ อบรมสัง่ สอน ให้ คาแนะนาที่ดี ในการท างาน และการจัดทารายงานฉบับนี ้ ข้ าพเจ้ าขอขอบพระคุณทุกท่านเป็ นอย่างสูงและหากเนื ้อหารายงานฉบับนี ้มีความ ผิดพลาดประการใดข้ าพเจ้ ากราบขออภัยมา ณ โอกาสนี ้

นางสาวจุฬาลักษณ์ สาโรงพล ผู้จดั ทารายงาน วันที่ 13 มกราคม 2560


ค ชื่อรายงาน

การจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

ผู้รายงาน

นางสาวจุฬาลักษณ์ สาโรงพล

สาขาวิชา

การตลาด

คณะ

บริ หารธุรกิจ

.......................................... ( อาจารย์เอกริ นทร์

วิบลู ย์ตั ้งมัน่ )

อาจารย์ที่ปรึ กษาสหกิจศึกษา .......................................... ( นางสาวพรทิพย์ ลีลาสมศิริ ) พนักงานที่ปรึ กษาสหกิจศึกษา

คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเนชัน่ ศูนย์เนชัน่ บางนา อนุมตั ิให้ รายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา การตลาด .......................................... (อาจารย์ดรรชกร ศรี ไพศาล) รองคณบดีคณะบริ หารธุรกิจ


ชื่อรายงาน

การจัดเก็ บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

ชื่อนักศึกษา

นางสาวจุฬาลักษณ์ สาโรงพล

รหัสนักศึกษา

5601412007

สาขาวิชา

การตลาด

อาจารย์ ท่ ปี รึกษา

อาจารย์สวรัย นัยนานนท์

ปี การศึกษา

2559

บทคัดย่ อ ธนาคารไทยพาณิชย์มีบริ การทางด้ าน การเงินครบวงจรให้ แก่ลกู ค้ าทุกประเภท ทั ้งที่เป็ น บริ ษัท ขนาดใหญ่ วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม และลูกค้ ารายย่อย จากการที่ได้ เข้ าปฏิบตั ิงานของโครงการสห กิจศึกษาในธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) ได้ รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานในตาแหน่ง นักศึกษาฝึ กงาน ประจาธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระประแดง) , สาขา บางนา , และสานักงานธุรกิจ สาขา เทพารักษ์ ตามลาดับ

ซึ่งจะทาให้ มองเห็นภาพการดาเนินงานอย่างกว้ างภายในระบบธนาคาร ทาให้

มองเห็นปัญหาหลายอย่างที่เกิดขึ ้นในระหว่างการทางานขององค์กรใหญ่ เมื่อถูกกระจายตัวออกไปในลักษณะ ของสาขา ซึ่งปัญหาที่พบในระหว่างการฝึกปฏิบตั ิในสาขา คือ การจัดเก็บเอกสารสินเชื่อของลูกค้ า เนื่องจากห้ อง เก็บเอกสารมีขนาดเล็ก ไม่เพียงพอต่อการเก็บเอกสาร และมีการเก็บเอกสารไม่เป็ นระเบียบ หากนาเอกสารของ ลูกค้ าเข้ าไปเก็บไว้ แล้ ว เมื่อเวลาผ่านไปก็หาเอกสารไม่พบ เนื่องจากบางครัง้ มีการย้ ายพนักงานไปยังสาขาอื่น ทา ให้ พนักงานที่ย้ายมาประจาคนใหม่ไม่สามารถหาเอกสารของลูกค้ าที่ต้องมาดูแลต่อจากคนย้ ายไปพบ จึงต้ องไป ติดต่อขอเอกสารของลูกค้ ารายเดิมซ ้าๆ จึงควรมีการปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารภายในสานักงานธุรกิจใน เป็ นระบบการจัดเก็บเอกสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อความสะดวกรวดเร็ วในการค้ นหา ความสะดวกสบายในการ ส่งเอกสารไป มาภายในองค์กร และการลดต้ นทุนการจัดซื ้อกระดาษ หมึกพิมพ์ต่างๆ ถื อว่าช่วยได้ มากทีเดียว โดยโปรแกรมนี ้เป็ นโปรแกรมสาหรับการจัดการระบบจัดเก็บเอกสาร

ซึ่งโปรแกรมนี ้ได้ ถกู ออกแบบมาเพื่อแชร์

เอกสาร บริ หารงานเอกสาร ที่ใช้ ภายในองค์กรอย่างแท้ จริ ง เพราะด้ วยความรวดเร็ ว และประสิทธิภาพของการ ทางานจึงเรี ยกได้ ว่าเป็ นโปรแกรมที่ควรติดตั ้งไว้ ภายในองค์กรอย่างแท้ จริ ง ในการปฏิบตั ิกล่าวข้ างต้ นจะส่งผลในด้ านความมีระเบียบเรี ยบร้ อยของบริ ษัท และเป็ นการประหยัดพื ้นที่ ในการจัดเก็บเอกสารให้ กับทางบริ ษัททั ้งสิ ้น


สารบัญ บทที่

หน้ า จดหมายนาส่ง

กิตติกรรมประกาศ

หนังสืออนุมตั ิรายงาน

บทคัดย่อ

สารบัญ

สารบัญตาราง

สารบัญภาพ

บทที่ 1 บทนา

1

1.1 ประวัติและรายละเอียดของหน่วยงาน บทที่ 2 รายละเอียดของการปฏิบัติงาน

6

2.1 ตาแหน่ง หน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย 2.2 รายละเอียดของงานที่ปฏิบตั ิ 2.3 ขั ้นตอนในการปฏิบตั ิงาน 2.4 การวิเคราะห์สถานการณ์ของ (กิจการ สาขา ฝ่ าย แผนก) 2.5 โครงงานพิเศษที่ได้ รับมอบหมาย (ชื่อโครงงาน) บทที่ 3 ผลการปฏิบัติงาน 3. 1 ช่วงฝึ กอบรม 3.2 ช่วงที่ 1 3.3 ช่วงที่ 2 3.4 ช่วงที่ 3

13


ฉ โครงการสหกิจศึกษา

22

 บทนา  แนวคิด ทฤษฏี และวรรณกรรมทีเ่ กี่ยวข้ อง  กระบวนการ/ขั ้นตอนการดาเนินโครงการ  สรุปผล อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ บทที่ 4 สรุปผลการปฏิบัติงานและข้ อเสนอแนะ 4.1 สรุปผลการปฏิบตั ิงาน 4.2 ประโยชน์ที่ได้ รั บจากการปฏิบตั ิงาน 4.3 ข้ อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

29


สารบัญตาราง ตาราง ตารางที่ 1 แผนการฝึ กอบรมโครงการสหกิจศึกษา

หน้ า 7


สารบัญภาพ ภาพ

หน้ า

รูปที่ 1 โครงสร้ างการบริ หารงาน

3

รูปที่ 2 โครงสร้ างธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขาบางครุ (พระประแดง)

4

รูปที่ 3 โครงสร้ างธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขาบางนา

4

รูปที่ 4 โครงสร้ างของหน่วยงานSME ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)

5

รูปที่ 5โครงสร้ างของสานักงานธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา เทพารักษ์

5

รูปที่ 6 การฝึ กอบรม

14

รูปที่ 7 การปฏิบตั ิงานจาลอง

15

รูปที่ 8 รวมนักศึกษาโครงการสหกิจศึกษา

15

รูปที่ 9 บรรยากาศ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา บางครุ (พระประแดง)

16

รูปที่ 10 พี่เลี ้ยงประจาสาขาบางครุ(พระประแดง)

17

รูปที่ 11 บรรยากาศธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา บางนา

18

รูปที่ 12 พี่เลี ้ยงประจา สาขา บางนา

18

รูปที่ 13 ตรวจสอบWatch List และ ตรวจสอบเครดิตบูโร

19

รูปที่ 14 จัดเก็บเอกสารของลูกค้ าเข้ าแฟ้ม

19

รูปที่ 15 แก้ ไข Cash Flow Bank Case

20

รูปที่ 16 งานอื่นๆที่พี่เลี ้ยงมอบหมาย

20

รูปที่ 17 พี่ๆที่สานักงานธุรกิจ สาขาเทพารักษ์

21


1

บทที่ 1 บทนา 1.1 ประวัติและรายละเอียดของหน่ วยงาน 1.1.1 ชื่อและสถานที่ตั ้งของสถานประกอบการ  ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ รัชโยธิน ตั ้งอยู่ เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร จังหวัดกรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10900  ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระประแดง) ตั ้งอยู่ เลขที่ 132 หมู่ 8 ถนนสุขสวัสดิ์ ตาบล บางจาก อาเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ รหัสไปรษณีย์ 10130  ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางนา ตั ้งอยู่ เลขที่ 13 ซอยอุดมสุข ถนนสุขมุ วิท แขวงบางนา เขตบางนา จังหวัดกรุงเทพฯ รหัสไปรษณี ย์ 10260  ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา เทพารักษ์ (สานักงานธุรกิจ) ตั ้งอยู่ เลขที่ 99 หมู่ 6 ถนนเทพารักษ์ ตาบลเทพารักษ์ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ รหัสไปรษณีย์ 10270 1.1.2 ประวัติความเป็ นมาของสถานประกอบการ ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) เป็ นธนาคารไทยแห่งแรก โดยได้ รั บพระมหากรุ ณ าธิ คุณ จากพระ บาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ พระราชทานพระราชอานาจพิเศษในการจด ทะเบียนจัดตั ้ง ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) ขึ ้น เมื่อ 30 มกราคม 2449 โดยกรมหมื่น มหิศรราชหฤทัย เป็ นองค์ผ้ สู ถาปนา ซึ่งได้ ชื่อเมื่อแรกก่ อตั ้งว่า "บริ ษัท แบงก์สยามกัมมาจล ทุนจากัด" ด้ ว ยทุน จดทะเบีย นแรกตั ้ง 3 ล้ านบาท เปลี่ยนชื่อเป็ น "ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด" เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2482 และจดทะเบีย นเป็ น บริ ษั ท มหาชนเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2536 ในด้ านโครงสร้ างผู้ถือหุ้น ตามที่ธนาคารได้ เพิ่มทุนครัง้ ใหญ่ ในปี 2542 โดย เข้ าร่ วมโครงการช่วยเพิ่มเงิน กองทุน ชั ้นที่ 1 ของกระทรวงการคลัง (มาตรการ 14 สิงหาคม 2541) เป็ น ผลให้ กระทรวงการคลังเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ของธนาคาร นับตั ้งแต่เดือนพฤษภาคม 2542


2 ต่อมาในปี 2546 กระทรวงการคลังได้ จดั ตั ้งกองทุนรวมวายุภกั ษ์ หนึ่ง มูลค่า 100,000 ล้ า นบาท และได้ โอนหุ้นบางส่วนไปยังกองทุนรวมวายุภกั ษ์ หนึ่ง เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2546 ซึ่งภายหลังการโอนหุ้น ดังกล่ า วท าให้ กองทุนฯ เป็ นหนึ่งในผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคาร และเมื่อเดือนมกราคม 2548 กระทรวงการคลังได้ ขายหุ้นบุริ มสิท ธิ จานวน 410.8 ล้ านหุ้นให้ แก่สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ย์ ทาให้ ข ณะนี ้กลุ่มสานัก งานทรั พย์ สิน ส่ ว น พระมหากษัตริ ย์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของธนาคาร โดย ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551 กลุ่มสานัก งานทรั พย์ สิน ส่ ว น พระมหากษัตริ ย์มี สัดส่วนการถือหุ้นคิดเป็ นร้ อยละ 23.66 กองทุนรวมวายุภกั ษ์ หนึ่งมีส ัดส่ ว นร้ อยละ 23.12 และ กระทรวงการคลังมีสดั ส่วน ร้ อยละ 0.09 ซึ่งการเปลี่ย นแปลงโครงสร้ างการถื อหุ้น ที่ก ล่ า วมาไม่ มีผลกระทบต่ อ นโยบายการดาเนินงานของ ธนาคาร และด้ วยเงินทุนที่แข็งแกร่ งทาให้ ธนาคารมีศกั ยภาพในการดาเนิน งานและ ขยายธุรกิจได้ อย่างเต็มที่และมัน่ คงต่อไปในอนาคต ในปัจจุบนั ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) ตามข้ อมูลงบการเงิน ณ วัน ที่ 30 มิถ ุน ายน 2559 (งบ การเงินรวม) ที่นาส่งธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารมีขนาดของสินทรัพย์ใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของระบบธนาคาร พาณิชย์ โดย ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 ธนาคารมีสินทรัพย์รวม 2,774 พันล้ านบาท มีเงิน ฝาก 1,871 พัน ล้ า น บาทและมีสินเชื่อ 1,862 พันล้ านบาท ธนาคารจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั ้งแต่ พ.ศ. 2519 ปัจจุบนั หุ้นของธนาคาร ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ฯประกอบด้ ว ย หุ้น สามัญ (SCB, SCB-F) หุ้น บุริ มสิท ธิ (SCB-P, SCB-Q) ณ วัน ที่ 30 มิถ ุน ายน 2559 ธนาคารมีมูลค่า หุ้น ตามราคาตลาด (Market Capitalization) 472,433 ล้ านบาท 1.1.3 ลักษณะการประกอบการ ผลิตภัณฑ์/บริ การ ของสถานประกอบการ ธนาคารไทยพาณิชย์มีบริ การทางด้ าน การเงินครบวงจรให้ แ ก่ ลูก ค้ า ทุก ประเภท ทั ้งที่เป็ น บริ ษั ท ขนาด ใหญ่ วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม และลูก ค้ า รายย่อย ได้ แ ก่ การรั บฝากเงิน การโอนเงิน การให้ ก้ ูยืม ประเภทต่างๆ การรับซื ้อลด การรับรองอาวัล ค ้าประกัน บริ การด้ านปริ วรรตเงินตรา Bancassurance บริ การด้ า น การค้ าต่างประเทศ บริ การ Cash Management บริ การด้ านธุรกิจหลัก ทรั พย์ อาทิ บริ ก ารจาหน่า ยหุ้น กู้ บริ ก าร นายทะเบียนหุ้นกู้ การรับประกันการจัดจาหน่ายตราสารหนี นายทะเบี ้ ยนหลักทรัพย์ บริ การรับฝากทรัพย์สิน การ จัดการกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคล บัตรเครดิตและการรับฝากทรัพย์สินผ่านทางสานักงานใหญ่ และเครื อข่ายสาขาของธนาคาร


3 1.1.4 รูปแบบการจัดองค์การและการบริ หารงาน มีการกาหนดโครงสร้ างองค์ ก รที่มีส ายบังคับบัญ ชา ขอบเขตแห่ งอานาจหน้ า ที่ในการดาเนิน งานของ ผู้บริ หารและผู้ปฏิบตั ิงาน การแบ่งแยกหน้ าที่อย่างชัดเจน รวม ทั ้ง ก าหนดนโยบาย ระเบีย บวิธีปฏิบัติแ ละคู่มือ การปฏิบตั ิงานไว้ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร นอกจากนี ้ ธนาคารยังจัดให้ มีก ารฝึ ก กอบรมพนัก งานให้ มีความรู้ และ ทักษะการปฏิบัติงานอย่ า งเพีย งพอ เพื่อให้ ก ารปฏิบัติงานของผู้บริ ห าร และพนัก งานมีประสิท ธิ ภาพ มีความ โปร่ งใส สามารถตรวจสอบได้ โครงสร้ างการบริหารงาน

รูปที่ 1 โครงสร้ างการบริหารงาน


4

1.1.5 ส่วนงาน/สาขา/ฝ่ าย/แผนกที่นกั ศึกษาทางาน โครงสร้ างธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขาบางครุ (พระประแดง)

รูปที่ 2 โครงสร้ างธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขาบางครุ (พระประแดง)

โครงสร้ างธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขาบางนา

รูปที่ 3 โครงสร้ างธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขาบางน


5 โครงสร้ างของหน่ วยงานSME ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)

รูปที่ 4 โครงสร้ างของหน่ วยงานSME ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)

โครงสร้ างของสานักงานธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา เทพารักษ์

รูปที่ 5โครงสร้ างของสานักงานธุ รกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา เทพารักษ์

1.1.6 ชื่อ-ตาแหน่งของพนักงานที่ปรึ กษา  นางสาวลักขณา ผ่องรัศมีวงศ์

ตาแหน่ง หัวหน้ าธนกิจ

 นางสาวเมพิชชา ศิริลกั ษณมานนท์

ตาแหน่ง เจ้ าหน้ าที่ธนกิจ

 นายเขมกรณ พฤกษถานนท์กุล

ตาแหน่ง เจ้ าหน้ าที่วิเคราะห์ธุรกิจ

1.1.7 ระยะเวลาที่ปฏิบตั ิงาน ระหว่างวันที่ 15 เดือน สิงหาคม พ. ศ. 2559 ถึง วันที่ 2 เดือน ธันวาคม พ. ศ. 2559


6

บทที่ 2 รายละเอียดของการปฏิ บัติงาน 2.1 ตาแหน่ ง หน้ าที่ท่ ไี ด้ รับมอบหมาย ปฏิบัติงานของโครงการสหกิ จศึก ษาในธนาคารไทยพาณิ ช ย์ จากั ด (มหาชน) ได้ รั บ มอบหมายให้ ปฏิบัติง านในต าแหน่ง นัก ศึ ก ษาฝึ ก งาน ประจาธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระ ประแดง) , สาขา บางนา , และสานักงานธุรกิจ สาขา เทพารักษ์ ตามลาดับ โดยมีหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย ดังนี ้  มีการฝึ กอบรม เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการปฏิบตั ิงานที่ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่  Service Planner ประจาธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระประแดง) และสาขา บางนา  ตรวจสอบWatch List และ ตรวจสอบเครดิตบูโร  จัดเก็บเอกสารของลูกค้ าเข้ าแฟ้ม  ทาCash Flow  งานอื่นๆที่พี่เลี ้ยงมอบหมาย 3.5 รายละเอียดของงานที่ปฏิบัติ 

การฝึ กอบรม เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการปฏิบตั ิงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)

สานักงานใหญ่ รัชโยธิน ระหว่างวันที่ 15 - 26 สิงหาคม 2559 มีหลักสูตร ดังนี ้


7 โครงการ สหกิจศึกษา รุ่น 1/59 15-26 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00-17.30 น. ณ ธนาคาไทยพาณิชย์ สานักงานใหญ่ รัชโยธิน วันที่ 15 สค

หลักสูตร

วิทยากร

Orientation

คุณสมภพ บวรสิรวุฒิ Learning Delivery

Branch Knowledge

คุณจุไรพร นิลอุบล ฝึ กอบรม-เครื อข่ายสาขา

16 สค 17 สค

คุณปิ ยวรรณ ประเสริ ฐ Learning Delivery คุณจุไรพร นิลอุบล 19,22 สค RB Front ฝึ กอบรม-เครื อข่ายสาขา คุณจุไรพร นิลอุบล 23 สค Branch Sim ฝึ กอบรม-เครื อข่ายสาขา คุณวงศ์วรรธน์ บุตรจันทร์ 24 สค ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต SCBLife Professional Presentation คุณนิธิกานต์ ชานาญกิจ 25 สค Skills Learning Delivery คุณนริ นทร์ นาทะพันธุ์ 26 สค สินเชื่อเบื ้องต้ น การเรี ยนรู้และพัฒนาเครื อข่ายสาขา 18 สค

Customer Service

สถานที่ Mini Thereter อาคารศูนย์การ เรี ยนรู้ (ห้ องสมุด) ก้ าวไกล 6 อาคาร ทาวเวอร์ ดี ก้ าวหน้า 6 อาคาร ทาวเวอร์ ดี ก้ าวใหม่ 6 อาคาร ทาวเวอร์ ดี ก้ าวไกล 5 อาคาร ทาวเวอร์ ดี บางบัว ก้ าวใหม่ 1 อาคาร ทาวเวอร์ ดี ก้ าวหน้า 2 อาคาร ทาวเวอร์ ดี ก้ าวหน้า 2 อาคาร ทาวเวอร์ ดี

ตารางที่ 1 แผนการฝึ กอบรมโครงการสหกิจศึกษา

Service Planner ประจาธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระประแดง)

และสาขา บางนา ทาหน้ าที่ต้อนรับลูกค้ า และจัดคิวในการเข้ าใช้ บริ การ รวมทั ้งการเขียนแบบฟอร์ มใบนาฝากเงิน ใบถอนเงิน ให้ กับลูกค้ าที่ไม่สามารถเขียนได้


8 

ตรวจสอบWatch List และ ตรวจสอบเครดิตบูโร ของลูกค้ าที่มาขอสิน เชื่อผ่า นระบบWatch

List ว่าเป็ นบุคคลที่มีปัญหาทางด้ า นการเงิน หรื อมีก ารล้ มละลายหรื อไม่ รวมถึ งตรวจสอบว่า เป็ น บุคคลที่ถ ูก กาหนด และมีความเกี่ยวข้ องกับนักการเมืองหรื อไม่ ซึ่งบุคคลที่ตรวจสอบพบก็จะมีการพิจารณาการให้ สินเชื่อที่มี ความละเอียดมากขึ ้น 

จัดเก็บเอกสารของลูกค้ าเข้ าแฟ้ ม นาเอกสารที่ใช้ ในการขอสินเชื่อมาจัดเรี ย งเข้ า แฟ้มให้ เป็ น

ระเบียบ และแยกหมวดหมู่ให้ ถกู ต้ อง 

แก้ ไข Cash Flow Bank Case นาข้ อมูลที่เจ้ าหน้ าที่วิเคราะห์ธุรกิจจัดทาขึ ้นมา ไปเปรี ย บเทีย บ

กับเอกสารที่ลกู ค้ าให้ มาเป็ นข้ อมูลในการขอสินเชื่อเพื่อแก้ ไขให้ ข้อมูลในCash Flow กับเอกสารตรงกัน เพื่อน ามา วิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน และนามาเป็ นข้ อมูลในการอนุมตั ิสินเชื่อ 

งานอื่นๆที่พ่ เี ลีย้ งมอบหมาย เช่น การไปพบลูกค้ ากับพี่เลี ้ยง การScanเอกสารต่า งๆ และการ

คัดแยกเอกสารที่ไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ไปทาลาย เป็ นต้ น 3.6 ขัน้ ตอนในการปฏิบัติงาน 2.3.1 การฝึ กอบรม ที่ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สานั กงานใหญ่ รั ชโยธิน ระหว่า ง วันที่ 15 – 26 สิงหาคม 2559 ตั ้งแต่เวลา 09.00-17-30 น. จะเป็ น การเข้ า ไปนั่งฟั งบรรยายและท ากิ จกรรมกลุ่ม เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการจะออกปฏิบัติงานที่ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) สาขาต่า งๆที่จะไปฝึ ก ปฏิบตั ิงาน โดยจะมีการสอนหลักสูตรพื ้นฐานที่ควรทราบก่อนจะไปปฏิบตั ิงานจริ ง 2.3.2 ฝึ กปฏิบั ติงานช่ ว งที่ 1 ที่ธ นาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระ ประแดง) 4 สัปดาห์ และสาขา บางนา 3 สัปดาห์ วันที่ 29 สิงหาคม – 14 ตุลาคม 2559 Service Planner 1. Morning Talk เป็ นการประชุมงานก่อนเปิ ดทาการสาขาในแต่ละวัน 2. ต้ อนรับลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ ด้ วยการกล่าวทักทายด้ วยความยิ ้มแย้ มแจ่มใส 3. คัดแยกลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ ถ้ ามาทาธุร กรรมการฝาก ถอน โอน ก็ จะจัดคิว ลูก ค้ า ไปยืน เข้ า คิว บริ เวณHigh Counter หากมาทาธุรกรรมทางการเงิน ที่เป็ นการเปิ ดบัญ ชี เปลี่ย นเล่มสมุดบัญ ชี ซื ้อ กองทุน หรื อทาบัตรATM ก็จะต้ องแจกบัตรคิว และให้ ลกู ค้ านัง่ รอคิวบริ เวณLow Counter


9 4. เขียนใบทารายการให้ ลกู ค้ าที่เขียนไปทารายการเองไม่ได้ และถ่ า ยสาเนาบัตรประชาชนให้ ลูก ค้ า ที่ เข้ ามาทาธุรกรรม และกรอกข้ อมูลลูกค้ าที่มาเปิ ดบัญ ชี เปลี่ย นแปลงข้ อมูลส่ว นตัว และมาท าบัตร ATM เป็ นต้ น 5. กล่าวขอบคุณลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ 6. หลังธนาคารปิ ด จะมีการจัดเรี ยงเอกสารของลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ 2.3.3 ฝึ กปฏิบัติงานช่ วงที่ 2 ที่สานั กงานธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิช ย์ จากัด (มหาชน) สาขา เทพารักษ์ 7 สัปดาห์ วันที่ 17 ตุลาคม – 2 ธันวาคม 2559 ตรวจสอบWatch List และ ตรวจสอบเครดิตบูโร 1. นาแบบทบทวนลูกค้ าบุคคล และแบบทบทวนลูกค้ านิติบคุ คล มาตรวจสอบจากชื่อบริ ษั ท และชื่อ – สกุล บุคคลที่ร ะบุไว้ ในแบบทบทวนทั ้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รวมทั ้งเลขที่จดทะเบีย นนิติ บุคคล และเลขประจาตัวประชาชน 2. เข้ าระบบสนับสนุนปฏิบตั ิงาน และLog in เข้ าระบบWatch List 3. พิมพ์ ข้ อ มูล ที่ ต้อ งการตรวจสอบลงไป แล้ วกดค้ น หา จากนัน้ Copyหน้ าจอ แล้ ว น ามาวางไว้ ใ น โปรแกรมMicrosoft Excel 4. ตรวจสอบความถูกต้ อง และปริ น้ เอกสารมาแนบกับสาเนาเอกสารที่นามาตรวจสอบ 5. ทาใบปะหน้ าแบบทบทวนลูกค้ าบุคคล และแบบทบทวนลูกค้ านิติบคุ คล จัดเก็บเอกสารของลูกค้ าเข้ าแฟ้ ม 1. คัดแยกเอกสาร 2. จัดเรี ยงเอกสารตามแบบฟอร์ มที่กาหนดไว้ 3. จัดเอกสารเข้ าแฟ้มให้ เรี ยบร้ อย 4. นาแฟ้มไปเก็บไว้ ในห้ องเก็บเอกสาร แก้ ไขCash Flow Bank Case 1. นาไฟล์Cash Flow จากเจ้ าหน้ าที่วิเคราะห์ธุรกิจมาตรวจสอบ 2. เช็คข้ อมูลในไฟล์Cash Flow ให้ ตรงกับเอกสารที่ลกู ค้ าให้ มาเป็ นข้ อมูล


10 3. แก้ ไขข้ อมูลในCash Flowให้ ถกู ต้ อง งานอื่นๆที่พ่ เี ลีย้ งมอบหมาย 1. จัดเรี ยง และจัดชุดเอกสาร และน ามาท าการScan แบบทบทวนลูก ค้ า นิติบุคคล และแบบทบทวน ลูกค้ าบุคคล และตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสาร 2. เก็บข้ อมูลที่Scanเข้ าในโครงสร้ างFolder ของลูกค้ า ในระบบECM WIN 3. การไปพบลูกค้ ากับพี่เลี ้ยง 3.7 การวิเคราะห์ สถานการณ์ ของ (กิจการ สาขา ฝ่ าย แผนก) 2.4.1 ปั จจัยภายใน 1. มีการแบ่งโครงสร้ างหน้ าที่ในการบริ หารงาน และการดาเนิน งานภายในองค์ก รที่ชัดเจน ครอบคลุม งานตามวิส ัย ทัศ น์ และพัน ธกิ จ ทั ้งในเรื่ องการสร้ างความสัม พัน ธ์ และการสร้ างภาพลัก ษณ์ ข ององค์ ก ร นอกจากนั ้นยังมีการปรับโครงสร้ างองค์กรให้ เหมาะสม และทันสมัยอยู่เสมอ 2. พนักงานภายในองค์กรต้ องมีความรู้ และความสามารถในการท างาน โดยจะมีก ารอบรมเพื่อพัฒนา ความรู้ให้ กับพนักงานอย่างสม่าเสมอ 3. มีการกาหนดค่านิยม และบรรทัดฐานเดียวกัน ให้ พนักงานยึดถือ และปฏิบตั ิตามร่ วมกัน เพื่อไม่ให้ เกิด ความสับสน 2.4.2 ปั จจัยภายนอก ปัจจุบนั มีสถาบันทางการเงินมากมาย ทั ้งที่เป็ นธนาคารพาณิชย์ ธนาคารของรัฐ และที่ไม่ใช่สถาบัน ทาง การเงินที่เป็ นธนาคาร(Non - Bank) ทาให้ ลกู ค้ ามีทางเลือกมากขึ ้นในการเข้ าใช้ บริ การในสถาบันทางการเงิน ซึ่ง สถาบันทางการเงินเหล่านี ้ก็มีผลิตภัณฑ์ และการบริ การที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกัน เนื่องจากต้ องดาเนินธุร กิ จตาม หลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งมีหลักเกณฑ์ และระเบียบที่เข้ มงวด ฉะนั ้น สิ่งสาคัญที่จะดึงดูดความ สนใจของลูกค้ า ก็คือ การสร้ างความพึงพอใจให้ กับลูกค้ า นัน่ ก็คือ การให้ บริ การที่ดี และรวดเร็ วกับลูกค้ าทุก คนที่ เข้ ามาใช้ บริ การที่ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) เพื่อให้ ลกู ค้ าประทับใจและกลับมาใช้ บริ ก ารอีก ครั ง้ หรื อ รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้ า ในระยะยาว


11 2.4.3 SWOT Analysis จุดแข็ง 1. มีประสบการณ์ทางด้ านการเงิน และสร้ างภาพลักษณ์ที่น่าเชื่อถือให้ เป็ นที่ร้ ูจักมาอย่างยาวนาน 2. มีสาขาเป็ นจานวนมาก ครอบคลุมหลายพื ้นที่ทวั่ ประเทศ ทาให้ มีศกั ยภาพในการ ให้ บริ การลูกค้ า 3. มีการให้ บริ การทางการเงินที่ครบวงจร และมีเทคโนโลยีในการให้ บริ การที่ทนั สมัย 4. ผู้บริ หารมีวิสยั ทัศน์ที่ก้าวไกล ในการนาธนาคารให้ เป็ นธนาคารที่มีมาตรฐานระดับโลก 5. มีผลิตภัณฑ์ และบริ การที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าที่แตกต่างกัน 6. มีการฝึ กอบรมพนักงานให้ มีความชานาญในการให้ บริ การกับลูกค้ า 7. มีพนั ธมิตรทางธุรกิจเป็ นจานวนมาก จุดอ่ อน 1. เทคโนโลยีด้า นอิน เตอร์ เน็ต และระบบออนไลน์ข องธนาคารมีความล่า ช้ า และเกิ ดปั ญ หาในการ เชื่อมต่อสัญญาณเป็ นประจา 2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์สามารถลอกเลียนแบบได้ ง่าย 3. มีพนักงานน้ อย ไม่เพียงพอต่อการให้ บริ การลูกค้ า ทาให้ ลกู ค้ าร้ องเรี ยนเป็ นจานวนมาก 4. ที่จอดรถบริ เวณสาขาไม่เพียงพอกับความต้ องการของลูกค้ าที่มาใช้ บริ การในแต่ละวัน 5. ระบบการจัดเก็บเอกสารมีความซับซ้ อน ยากต่อการค้ นหา 6. ระบบงานมีความซับซ้ อน ทาให้ เกิดความสับสน โอกาส 1. ลูกค้ ามีความมัน่ ใจ และไว้ วางใจในธนาคารไทยพาณิชย์ 2. นโยบายของภาครัฐมีส่วนในการสนับสนุน เนื่องจากเป็ นธนาคารในส่วนของพระมหากษัตริ ย์ 3. ลูกค้ าเชื่อมัน่ ในตัวพนักงาน และการให้ บริ การของธนาคารไทยพาณิชย์ 4. มีธุรกิจเกิดขึ ้นเป็ นจานวนมาก และเข้ ามาเป็ นพันธมิตรกับธนาคาร ทาให้ สามารถปล่อยสินเชื่อได้ มาก ขึ ้น 5. มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ วของเทคโนโลยี ส่งผลให้ รู ปแบบของธนาคารจะเปลี่ย นแปลงไปในรู ปแบบ ของการออนไลน์มากขึ ้น


12 อุปสรรค 1. การดาเนิน ธุร กิ จของสถาบัน การเงิน มีข้ อจากัด เนื่องจากต้ อ งดาเนิน การภายใต้ ก ารควบคุมของ ธนาคารแห่งประเทศไทย 2. มีธนาคารพาณิชย์เพิ่มมากขึ ้น ทาให้ ผ้ บู ริ โภคมีทางเลือกในการใช้ บริ การทางการเงิน มากขึ ้น 3. มีการให้ บริ การของกลุ่ม Non - Bank เกิดขึ ้น ทาให้ ลกู ค้ าหันไปใช้ บริ การกลุ่มนี ้มากขึ ้น 4. มีการแย่งชิงพนักงานที่มีความสามารถสูงไปทางานด้ วย โดยให้ ผลตอบแทนที่สงู กว่า 2.4.4 แนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงแก้ ไข 1. ปรับปรุงระบบปฏิบตั ิ และระบบอินเตอร์ เน็ตของเครื อข่ายสาขาให้ มีความทันสมัย ไม่ซบั ซ้ อนในการ ทางาน สะดวก และรวดเร็ ว 2. ปรับปรุงระบบจัดเก็บเอกสารแบบเดิมๆ เนื่องจากทาให้ มีเอกสารเป็ นจานวนมาก และไม่มีพื ้นที่ในการ จัดเก็บ จึงควรจัดเก็บเอกสารในลักษณะของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 3. ปรับปรุงรู ปแบบของผลิตภัณฑ์ และการบริ การให้ มีความทันสมัย และแตกต่างจากคู่แข่งขัน 4. ควรจัดทาคู่มือระเบียบการปฏิบตั ิงานของพนักงาน และการฝึ กปฏิบตั ิงานของนักศึกษาที่ชดั เจน เพื่อให้ พนักงานทุกเครื อข่ายสาขาสามารถปฏิบตั ิงานไปในทิศทางเดียว 2.5 โครงงานพิเศษที่ได้ รับมอบหมาย (ชื่อโครงงาน) โครงการการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์


13

บทที่ 3 ผลการปฏิบัติง าน รายงานการปฏิบัติง านสหกิจศึ กษา 3.1 ช่ วงฝึ กอบรม ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ (รัชโยธิน) วันที่ 15 – 26 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 1. งานที่ได้ รับมอบหมาย  การฝึ กอบรมเกี่ยวกับข้ อมูลเบื ้องต้ นที่ควรทราบเกี่ยวกับธนาคารไทพาณิชย์ จากัด (มหาชน)  การฝึ กปฏิบตั ิงานจาลอง 2. รายละเอียดของงาน จะเป็ นการเข้ าไปนัง่ ฟังบรรยายและทากิจกรรมกลุ่ม เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการจะออกปฏิบตั ิงานที่ ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขาต่างๆที่จะไปฝึ กปฏิบตั ิงาน โดยจะมีการสอนหลักสูตรพื ้นฐานที่ควร ทราบก่อนจะไปปฏิบัติงานจริ ง ดังนี ้ 2.1 Orientation ฟังบรรยายรายละเอียดของโครงการ ประวัติธนาคาร โครงสร้ างองค์การ และการดาเนิ น ธุรกิจของธนาคาร เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย ถ่ายรูปทาบัตรประจาตัวนักศึกษาฝึ กงานสหกิจ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ชี ้แจงลักษณะงาน การปฏิบตั ิตวั และการประเมินผลงาน 2.2 Training เป็ นการฟังบรรยาย และการฝึ กปฏิบตั ิงานจาลอง เพื่อนาไปปฏิบัติงานที่สาขาจริ งที่ได้ ไป ฝึ กปฏิบตั ิ โดยมีหลักสูตรที่ต้องเรี ยนรู้ ดังนี ้  Branch Knowledge ฟังบรรยายความรู้พื ้นฐานเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆของธนาคาร เช่น ผลิตภัณฑ์เงิน ฝาก ผลิตภัณฑ์บตั รธนาคาร สินเชื่อต่างๆ ความรู้เกี่ยวกับเช็ค ตัว๋ เงิน และธนบัตร เป็ นต้ น  Customer Service ฟังบรรยายเรื่ องการบริ การลูกค้ า และทาแสดงบทบาทสมมุติเรื่ องการให้ บริ การ และ ฝึ กการแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้ า  RB Front เรี ยนรู้การใช้ งานระบบRB Front ของธนาคาร ซึ่งเป็ นระบบงานที่ใช้ จริ งภายในสาขา เพือ่ ให้ เข้ าใจระบบมากขึ ้น  Branch Sim ฝึ กปฏิบัติงานจาลองที่สาขาบางบัว ซึ่งเป็ นสาขาที่เปิ ดสาหรับให้ ผ้ เู ข้ าอบรมไปเข้ าไป ปฏิบัติงานเสมือนทางานในสาขาจริ งๆ โดยให้ ฝึกเป็ นทั ้งพนักงานธนาคาร และลูกค้ าที่เข้ามาใช้ บริการ  ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต ฟังบรรยายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตต่างๆของธนาคาร


14  Professional Presentation Skills ฝึ กทักษะและบุคลิกภาพในการนาเสนองานด้ านหน้ าเวที  สินเชื่อเบื ้องต้ น ฟังบรรยายเกี่ยวกับสินเชื่อเบื ้องต้ นของธนาคารว่ามีอะไรบ้ าง และเรี ยนรู้ลักษณะและ คุณสมบัติข องผู้มาขอสินเชื่อ เป็ นต้ น 3. ปั ญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงาน มีปัญหาเรื่ องการเดินทาง เนื่องจากจะต้ องไปอบรมที่สานักงานใหญ่

รัชโยธิน

ซึ่งไกลจากบ้ าน

ค่อนข้ างมาก และบริ เวณนั ้นมีการก่อสร้ าง ทาให้ รถค่อนข้ าง จึงต้ องเผื่อเวลาในการเดินทางค่อนข้ างมาก 4. แนวทางการแก้ ปัญหา ต้ องออกจากบ้ านแต่เช้ า และเผื่อเวลาในการเดินทางอย่างน้ อย 2 ชัว่ โมง เพื่อให้ ไปเข้ ารับการฝึ กอบรมได้ ทันเวลา 5. ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจากการปฏิบัติงาน ได้ รับความรู้พื ้นฐานเกี่ยวกับการไปปฏิบตั ิงาน

เพื่อนาไปใช้ ได้ จริ งในการปฏิบตั ิจริ งที่สาขาที่ได้ ไปฝึ ก

ปฏิบัติงาน และได้ เพื่อนใหม่จากต่างสถาบัน และได้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการเรี ยนรู้ 6. สรุปผลการปฏิบัติงาน การฝึ กอบรมในครัง้ ทาให้ เป็ นผลดีอย่างยิ่งต่อนักศึกษาโครงการสหกิจศึกษาที่จะได้ นาความรู้ที่ได้ จาก การฝึ กอบรมไปประยุกต์ใช้ ในการฝึ กปฏิบัติงานจริ ง

รูปที่ 6 การฝึ กอบรม


15

รูปที่ 7 การปฏิบัติงานจาลอง

รูปที่ 8 รวมนักศึกษาโครงการสหกิจศึกษา

3.2 ช่ วงที่ 1 ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางครุ (พระประแดง) วันที่ 29 เดือนสิงหาคม – วันที่ 23 เดือน กันยายน พ.ศ. 2559 1. งานที่ได้ รับมอบหมาย Service Planner 2. รายละเอียดของงาน มีการ Morning Talk เป็ นการประชุมงานก่อนเปิ ดทาการสาขาในแต่ละวัน และต้ อนรั บลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ ด้ วยการกล่าวทักทายด้ วยความยิ ้มแย้ มแจ่มใส จากคัดแยกลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ ถ้ ามาทาธุรกรรมการ


16 ฝาก ถอน โอน ก็จะจัดคิวลูกค้ าไปยืนเข้ าคิวบริ เวณHigh Counter หากมาทาธุรกรรมทางการเงิน ที่เป็ นการเปิ ด บัญชี เปลี่ยนเล่มสมุดบัญชี ซื ้อกองทุน หรื อทาบัตรATM ก็จะต้ องแจกบัตรคิว และให้ ลกู ค้ านัง่ รอคิวบริ เวณLow Counter เขียนใบทารายการให้ ลกู ค้ าที่เขียนไปทารายการเองไม่ได้ และถ่ายสาเนาบัตรประชาชนให้ ลกู ค้ าที่เข้ า มาทาธุรกรรม และกรอกข้ อมูลลูกค้ าที่มาเปิ ดบัญชี เปลี่ยนแปลงข้ อมูลส่วนตัว และมาทาบัตรATM เป็ นต้ น หลัง ธนาคารปิ ด จะมีการจัดเรี ยงเอกสารของลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ 3. ปั ญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงาน งานสาขาเป็ นงานที่ค่อนข้ างเร่ งรี บ เนื่องจากลูกค้ าที่มาใช้ บริ การมีจานวนมาก ทาให้ พี่เลี ้ยงไม่สามารถ สอนงาน หรื อให้ ความช่วยเหลือได้ เต็มที่ 4. แนวทางการแก้ ปัญหา มีการข้ อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของงานสาขาไปอ่านทาความเข้ าใจเอง และหากมีข้อสงสัยจึงจะทามา สอบถามได้ ในช่วงเย็นหลังจากปิ ดให้ บริ การแล้ ว 5. ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจากการปฏิบัติงาน  ได้ เรี ยนรู้การทางานด้ านการบริ การอย่างแท้ จริ ง  ฝึ กการมีมนุษยสัมพันธ์ดี ยิ ้มแย้ มแจ่มใส  รู้จักการทางานร่ วมกับผู้อื่น  มีความตรงต่อเวลา 6. สรุปผลการปฏิบัติงาน ในการไปปฏิบัติงานที่สาขาทาได้ เรี ยนรู้การทางานในเครื อข่ายสาขา

และเรี ยนรู้เรื่ องการทางานด้ าน

บริ การว่าจะต้ องทางานด้ วยความรวดเร็ ว ถูกต้ อง นอกจากนั ้นยังจะต้ องแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้ าได้ ด้วย เนื่องจาก จะต้ องรั บมือกับลูกค้ าเป็ นจานวนมากทุกวันทาการ

รูปที่ 9 บรรยากาศ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา บางครุ (พระประแดง)


17

รูปที่ 10 พี่เลีย้ งประจาสาขาบางครุ(พระประแดง)

3.3 ช่ วงที่ 2 ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา บางนา วันที่ 26 เดือนกันยายน – วันที่ 14 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2559 1. งานที่ได้ รับมอบหมาย Service Planner 2. รายละเอียดของงาน มีการ Morning Talk เป็ นการประชุมงานก่อนเปิ ดทาการสาขาในแต่ละวัน และต้ อนรั บลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ ด้ วยการกล่าวทักทายด้ วยความยิ ้มแย้ มแจ่มใส จากคัดแยกลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ ถ้ ามาทาธุรกรรมการ ฝาก ถอน โอน ก็จะจัดคิวลูกค้ าไปยืนเข้ าคิวบริ เวณHigh Counter หากมาทาธุรกรรมทางการเงิน ที่เป็ นการเปิ ด บัญชี เปลี่ยนเล่มสมุดบัญชี ซื ้อกองทุน หรื อทาบัตรATM ก็จะต้ องแจกบัตรคิว และให้ ลกู ค้ านัง่ รอคิวบริ เวณLow Counter เขียนใบทารายการให้ ลกู ค้ าที่เขียนไปทารายการเองไม่ได้ และถ่ายสาเนาบัตรประชาชนให้ ลกู ค้ าที่เข้ า มาทาธุรกรรม และกรอกข้ อมูลลูกค้ าที่มาเปิ ดบัญชี เปลี่ยนแปลงข้ อมูลส่วนตัว และมาทาบัตรATM เป็ นต้ น หลัง ธนาคารปิ ด จะมีการจัดเรี ยงเอกสารของลูกค้ าที่เข้ ามาใช้ บริ การ 3. ปั ญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงาน งานสาขาเป็ นงานที่ค่อนข้ างเร่ งรี บ เนื่องจากลูกค้ าที่มาใช้ บริ การมีจานวนมาก ทาให้ ในช่วงของการเปิ ด ให้ บริ การสาขาจะต้ องคอยสังเกตการทางานของพี่เลี ้ยง

และพนักงานท่านอื่น

และหากมีข้อสงสัยก็ค่อยไป

สอบถามในช่วงเวลาที่สาขาปิ ดให้ บริ การ 4. แนวทางการแก้ ปั ญหา สอบถามข้ อมูลที่มีความสงสัยกับพี่ๆพนักงานทุกคนที่สามารถให้ คาตอบได้ ไม่จาเป็ นว่าจะต้ องสอบถาม กับพี่เลี ้ยง จากนั ้นจึงสรุปข้ อมูลที่ได้ ไปพูดคุยกับพี่เลี ้ยงอีกที เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่ชดั เจน 5. ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจากการปฏิบัติงาน  ได้ เรี ยนรู้การทางานด้ านการบริ การอย่างแท้ จริ ง


18  ฝึ กการมีมนุษยสัมพันธ์ดี ยิ ้มแย้ มแจ่มใส  รู้จักการทางานร่ วมกับผู้อื่น  มีความตรงต่อเวลา  ฝึ กความอดทน 6. สรุปผลการปฏิบัติงาน ในการไปปฏิบัติงานที่สาขาทาได้ เรี ยนรู้การทางานในเครื อข่ายสาขา

และเรี ยนรู้เรื่ องการทางานด้ าน

บริ การว่าจะต้ องทางานด้ วยความรวดเร็ ว ถูกต้ อง นอกจากนั ้นยังจะต้ องแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้ าได้ ด้วย เนื่องจาก จะต้ องรั บมือกับลูกค้ าเป็ นจานวนมากทุกวันทาการ และหากข้ อมูลไหนที่ลกู ค้ าถามมาแล้วไม่สามารถตอบได้ ก็ ให้ ไปสอบถามผู้ร้ ู เพื่อนาข้ อมูลที่ถกู ต้ องไปชี ้แจงให้ ลกู ค้ าทราบ

รูปที่ 11 บรรยากาศธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา บางนา

รูปที่ 12 พี่เลีย้ งประจา สาขา บางนา


19 3.4 ช่ วงที่ 3 ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สาขา เทพารักษ์ (สานักงานธุรกิจ) วันที่ 17 เดือนตุลาคม – วันที่ 2 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 1. งานที่ได้ รับมอบหมาย  ตรวจสอบเอกสารใบคาขอสินเชื่อ  ตรวจสอบ Watch List  ตรวจสอบเครดิตบูโร  จัดเก็บเอกสารของลูกค้ าเข้ าแฟ้ม 2. รายละเอียดของงาน  ตรวจสอบWatch List และ ตรวจสอบเครดิตบูโร ของลูกค้ าที่มาขอสิน เชื่อผ่า นระบบWatch List ว่า เป็ นบุคคลที่มีปัญหาทางด้ านการเงิน หรื อมีก ารล้ มละลายหรื อไม่ รวมถึ งตรวจสอบว่า เป็ น บุคคลที่ถ ูก กาหนด และมีความเกี่ยวข้ องกับนักการเมืองหรื อไม่ ซึ่งบุคคลที่ตรวจสอบพบก็ จะมีก ารพิจารณาการให้ สินเชื่อที่มีความละเอียดมากขึ ้น

รูปที่ 13 ตรวจสอบWatch List และ ตรวจสอบเครดิตบูโร

 จัดเก็บเอกสารของลูกค้ าเข้ าแฟ้ ม นาเอกสารที่ใช้ ในการขอสินเชื่อมาจัดเรี ย งเข้ า แฟ้มให้ เป็ น ระเบีย บ และแยกหมวดหมู่ให้ ถกู ต้ อง

รูปที่ 14 จัดเก็บ เอกสารของลูกค้า เข้ าแฟ้ ม


20  แก้ ไ ข Cash Flow Bank Case น าข้ อมูลที่เจ้ า หน้ า ที่วิเคราะห์ธุร กิ จจัดท าขึ ้นมา ไปเปรี ย บเทีย บกับ เอกสารที่ลกู ค้ าให้ มาเป็ นข้ อมูลในการขอสินเชื่อเพื่อแก้ ไขให้ ข้อมูลในCash Flow กับเอกสารตรงกัน เพื่อ นามาวิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน และนามาเป็ นข้ อมูลในการอนุมตั ิสินเชื่อ

รูปที่ 15 แก้ ไข Cash Flow Bank Case

 งานอื่นๆที่พ่ เี ลีย้ งมอบหมาย เช่น การไปพบลูกค้ ากับพี่เลี ้ยง การScanเอกสารต่างๆ และการคัดแยก เอกสารที่ไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ไปทาลาย เป็ นต้ น

รูปที่ 16 งานอื่นๆที่พ่เี ลีย้ งมอบหมาย

3. ปั ญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงาน มีปัญหาเกี่ยวกับการตรวจสอบWatch List และการตรวจสอบเครดิตบูโร เนื่องจากเป็ นงานละเอียด เวลา มีการตรวจสอบครัง้ ละมากๆก็มีการพิมพ์ชื่อ – สกุล ชื่อบริ ษัท เลขประจาตัวประชาชน เลขที่จดทะเบียนนิติ บุคคลผิดบ้ าง เนื่องจากต้ องมีท ั ้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และบางที่เอกสารที่ได้ มาตรวจสอบก็มีข้อมูลไม่ ชัดเจน เนื่องจากเป็ นเพียงสาเนาเอกสารเท่านั ้น 4. แนวทางการแก้ ปัญหา หากพบเจอข้ อมูลที่ไม่ชดั เจน หรื อเลือนราง ก็จะแจ้ งทันที่เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่วิเคราะห์ธุรกิจ หาข้อมูลที่ ถูกต้ องให้ จะได้ ไม่ต้องมีการทางานซ ้าซ้ อน และไม่ต้องมาแก้ ไขอีก นอกจากนั ้นยังต้ องตรวจสอบข้ อมูลให้ ถกู ต้ อง ก่อนส่งงานทุกครัง้


21 5. ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจากการปฏิบัติงาน  ฝึ กความละเอียดรอบคอบในการทางาน  ได้ ทกั ษะในการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มากขึ ้น  ฝึ กการทางานร่ วมกับผู้อื่น และการมีสมั มาคารวะ 6. สรุปผลการปฏิบัติงาน การทางานทุกอย่างจะต้ องมีความละเอีย ดรอบคอบ และมีก ารตรวจสอบก่ อนน าส่งทุก ครั ง้ เนื่องจาก ข้ อมูลที่นามาใช้ ปฏิบตั ิงานนี ้เป็ นข้ อมูลของลูกค้ าที่จะมาขอสินเชื่อ ถ้ ามีข้อผิดพลาดเกิดขึ ้น อาจท าให้ เกิ ดผลเสีย กับองค์การได้

รูปที่ 17 พี่ๆที่สานักงานธุรกิจ สาขาเทพารักษ์


22 โครงงานสหกิจศึกษา บทนา หลักการและเหตุผล การจัดเก็บเอกสารในสานัก งานธุร กิ จ ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน)จะเป็ น ระบบที่มีก ารเก็ บ เอกสารที่สาคัญ ไว้ เป็ นจานวนมาก ปั ญ หาที่พบคือท าให้ ย ากต่อ การดูแ ลและการค้ น หา นอกจากนี ้ยังเสี ย ค่าใช้ จ่ายในการจัดเก็บและไม่มีความปลอดภัย ต่อเอกสาร รวมไปถึ งการรั ก ษาคุณ ภาพของเอกสารให้ อยู่ใน สภาพที่ใช้ งานได้ นานที่สดุ ซึ่งต้ องใช้ เวลานาน เกิดความไม่สะดวกในการทางาน และหากนาเอกสารไปเก็บแล้ ว ก็ ต้ องใช้ เวลาในการค้ น หานานมากท าให้ เสีย เวลา และในปั จจุบัน ระบบสารสนเทศเข้ ามามีบ ทบาทกั บ ชีวิตประจาวันมากขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรต่างๆ ที่ต่างก็หนั เข้ ามาให้ ความสนใจในการพัฒนา และ ใช้ ระบบสารสนเทศกันมากขึ ้น ดังนั ้นการจัดเก็บเอกสารภายในสานัก งานก็ เป็ น สิ่งที่สาคัญ ทั ้งนี ้เพื่อความสะดวก รวดเร็ ว ในการค้ น หา ความสะดวกสบายในการส่งเอกสารไปมาภายในองค์ก ร และการลดต้ น ทุน การจัดซื อ้ กระดาษ หมึกพิมพ์ต่างๆ ระบบนี ้จึงเป็ นระบบสาหรับการจัดการ ระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิก ส์ ซึ่ง ได้ ถ ูก ท า มาเพื่อแชร์ เอกสาร บริ หารงานเอกสาร ที่ใช้ ภายในองค์กรอย่างแท้ จริ ง เพราะด้ ว ยความรวดเร็ ว และประสิทธิ ภาพ ของการทางานจึงเรี ยกได้ ว่าเป็ นระบบที่ควรมีไว้ ภายในองค์กร อีกประการหนึ่งถึงแม้ ว่าปัจจุบนั บริ ษัทต่างๆ ได้ มีการผลิตโปรแกรมสาเร็ จรูปมาขาย แต่ก็ มีข้ อจากัดของ ซอฟแวร์ เหล่านั ้น เช่น ต้ องเสียค่าใช้ จ่ายในการติดตั ้ง ซอฟแวร์ ไม่เหมาะกับหน่วยงานนั ้นๆ โดยเฉพาะความลั บ ของหน่วยงานอาจจะถูกเปิ ดเผยได้

ดังนั ้นจึงมีความต้ องการจัดระบบการท างานใหม่ โดยน าเทคโนโลยี

คอมพิวเตอร์ เข้ ามาช่วยในการดูแลและจัดการกับเอกสาร มีการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จดั การกับระบบจัดเก็ บ และค้ นหาเอกสาร เพื่อลดปัญหาในการจัดเก็บเอกสาร ลดข้ อผิดพลาดที่อาจเกิ ดขึ ้น รวมไปถึ งท าให้ เกิ ดความ สะดวกรวดเร็ วในการจัดการเอกสารและสามารถเรี ยกดูเอกสารแบบ Online เพื่อความสะดวกอีกด้ วย


23

วัตถุประสงค์ ของโครงการ 1. เพื่อรวบรวมเอกสารไว้ ในแหล่งเก็บเดียวกัน และลดพื ้นที่ในการจัดเก็บเอกสารที่เป็ นกระดาษ 2. เพือ่ ความสะดวกในการค้ นหาข้ อมูลและ การนาข้ อมูลมาใช้ ใหม่ หรื ออ้ างอิงข้ อมูล และสามารถส่งข้ อมูล ถึงกันได้ ภายในระยะเวลาอัน รวดเร็ ว ข้ อมูลมีความถูกต้ องมากขึ ้น 3. เพื่อเพิ่มความปลอดภัยของข้ อมูล ป้องกัน การสูญ หายหรื อถูก ท าลาย จากการโจรกรรมข้ อมูลหรื อภัย พิบตั ิทางธรรมชาติ 4. เพื่อช่วยให้ การติดต่อสื่อสาร การประสานงานภายในองค์กรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น

กลุ่มเป้ าหมายของโครงการ พนักงานภายในธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) ที่ ต้องมีการจัดเก็บและค้ นหาเอกสารอยู่เสมอ


24 แนวคิด ทฤษฏี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง จากการศึกษาระบบการจัดเก็บ และค้ นหาเอกสารของธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) ผู้จัดท า โครงงานได้ ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องโดยมีลาดับหัวข้ อ ดังต่อไปนี ้ แนวคิด ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ อง แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับความหมายของการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิก ส์ พจนานุก รมฉบับราชบัณ ฑิต สถาน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, หน้ า 231) ได้ ให้ ความหมายของระบบจัดการเอกสาร (อังกฤษ: Document management system) คื อ ระบบคอมพิว เตอร์ หรื อ กลุ่ม ของโปรแกรมภาษาทางคอมพิ ว เตอร์ ( Document Management Software) ที่ใช้ ในการติดตามและเก็บบันทึกเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรื อ รู ปภาพประกอบเอกสาร โดยใช้ แ นวคิดของ ระบบการจัดการเนื ้อหา (Content management system ,CMS) ซึ่งมัก จะถูก มองว่า เป็ น องค์ ประกอบของระบบการจัด งานภายในองค์ก ร ( Enterprise content management system,ECM) ซึ่ง มี ความสัมพันธ์กับการจัดการทรัพย์สินดิจิตอล (Digital asset management system,DAM) นอกจากนี ้ยังมีห ัว ข้ อ ที่เกี่ยวข้ องและมีความสัมพันธ์อีก เช่น ระบบจัดการเก็บเอกสารด้ วยคอมพิว เตอร์ (Document imaging system) การจัดการลาดับงาน (Workflow system) และระบบการเก็บบันทึก (Records management system)

งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง ประยูร แก้ วมูล (2551 : บทคัดย่ อ) ได้ ทาการศึกษาเรื่ อง การพัฒนาระบบสารสนเทศงาน สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ โรงเรี ยนบ้ านกาดวิทยาคม อาเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ พัฒนาระบบสารสนเทศงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ โรงเรี ยนบ้ านกาดวิทยาคม อาเภอแม่วาง จังหวัด เชียงใหม่และเพื่อพัฒนาระบบการติดตามงานและการสัง่ การผ่านระบบสารสนเทศงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ในการพัฒนาระบบได้ กาหนดผู้ใช้ งานเป็ น 4 กลุ่ม คือ ผู้ดแู ลระบบ เจ้ าหน้ าที่ธุรการ ผู้บริ หาร และบุคลากร ผู้ใช้ งานแต่ละกลุ่มได้ รับสิทธิ์การใช้ งานในระบบที่แตกต่างกัน ระบบสารสนเทศนี ้พัฒนาขึ ้นด้ วยภาษาพีเอชพีในรูปเว็บแอพพลิเคชัน ใช้ โ ปรแกรมมายเอสคิวแอ ลในการจัดการฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศประกอบด้ วยการจัดการเอกสารเข้า เอกสารออก การสัง่ การ การ ดาเนินการเอกสาร การสืบค้ น การรายงาน และการจัดการแฟ้มข้ อมูล


25

จากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบจานวน 35 คน พบว่าผู้ใช้ มีความพึงพอใจระดับ มากที่สดุ ใน 5 ประเด็น ได้ แก่ความเหมาะสมของการค้ นหา ความเหมาะสมของโฮมแพจ ความเหมาะสมของ การวางรูปแบบหน้ าจอ ความเหมาะสมของรูปแบบตัวอักษร และความเหมาะสมของปฏิทินปฏิบัติการ โดยมี ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.71, 4.68, 4.65, 4.54 และ 4.46 ตามลาดับ และผู้ใช้ มีความพึงพอใจระบบใน ภาพรวมในระดับมากที่ค่าเฉลี่ย 4.41 จันทร์ จิรา มีสนิท (2552 : บทคัดย่ อ) ได้ ทาการศึกษาเรื่ อง การพัฒนาระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ โรงเรี ยนวัดเวฬุวนั อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อทาการพัฒนาระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์โรงเรี ยนวัดเวฬุวนั อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อทาการจัดเก็บเอกสารและ จัดส่งเอกสารภายในองค์กร โดยได้ นาเอาสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ แทนสื่อแบบเดิมในรูปแบบเอกสารจริ ง เพราะสามารถทาให้ การรับ-ส่งเอกสารได้ รวมเร็ ว และมีประสิทธิภาพ มีความสะดวก ลดขั ้นตอนในการ ทางานลง ลดการทาสาเนาเอกสาร สามารถทราบสถานการณ์รับเอกสาร และสามารถค้ นหาเอกสารได้ รวม เร็ ว ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์โรงเรี ยนวัดเวฬุวนั อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้ วย 2 ส่วน คือ ส่วนแรกส่วนของผู้ดแู ลระบบ เพื่อทาการจัดการข้ อมูลพื ้นฐาน ข้ อมูลผู้ใช้ ลงทะเบียนเอกสาร และส่ง เอกสารให้ กับผู้ใช้ ส่วนที่ 2 ส่วนของผู้ใช้ เป็ นผู้รับเอกสาร ในการพัฒนาครัง้ นี ้ใช้ โปรแกรมไมโครซอฟท์วิสชวล เบสิค 6.0 ฐานข้ อมูลมายเอสคิวแอล ผลการประเมินการใช้ งานของระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์โรงเรี ยนวัดเวฬุวนั อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยการใช้ แบบสอบถาม ได้ รั บการประเมินผลจากผู้ใช้ งาน 10 คนพบว่าผู้ใช้ มีความพอใจ ในความง่ายในการใช้ งานมากที่สดุ คิดเป็ นร้ อยละ 60 ความสวยงามของหน้ าจอผู้ใช้ มีความพอใจใน ระบบงานมากที่สดุ คิดเป็ น ร้ อยละ 70 ความสะดวกในการเรียกดูข้อมูล ผู้ใช้ มีความพอใจในระบบงานมาก ที่สดุ คิดเป็ นร้ อยละ 80 ความสะดวกการแก้ ไขข้ อมูล ผู้ใช้ มีความพอใจในระบบงานมาก คิดเป็ น ร้ อยละ 90 ความสะดวกในการค้ นหาข้ อมูล ผู้ใช้ มีความพอใจในระบบงานมาก คิดเป็ นร้ อยละ 100 การลดงานใน ขั ้นตอนเดิม ผู้ใช้ มีความพอใจในระบบงานมากที่สดุ คิดเป็ นร้ อยละ 80 ความถูกต้ องของระบบในการ ปฏิบัติงาน ผู้ใช้ มีความพอใจในระบบงานมาก คิดเป็ นร้ อยละ 60


26 กระบวนการ/ขัน้ ตอนการดาเนินโครงการ ลัก ษณะการท างานของโปรแกรมจะมีก ารน าเอกสารเข้ า สู่ร ะบบ การปฏิ บัติงานโดยการสแกนและ การอิมพอร์ ตไฟล์ จากนั ้นจะทาการจัดเก็บซึ่งสิ่งสาคัญในการจัดเก็บคือความง่ายในการขยายความจุเพื่อรองรั บ กับเอกสารที่จะเพิ่มขึ ้นในอนาคต รวมไปถึงความถูกต้ องแม่นยาและสะดวกรวดเร็ วในการค้ นหาเอกสาร โปรแกรมการจัดการเอกสารด้ ว ยอิเล็ก ทรอนิก ส์มีความสามารถในด้ า นการจัดเก็ บและค้ น หาเอกสาร เท่า นัน้ และเป้า หมายหลัก เพื่ อสร้ างโปรแกรมที่ช่ ว ยในขั ้นตอนการจัด เก็ บ และการสื บค้ น จึง ออกแบบให้ โปรแกรมสามารถทางานผ่านทางเว็บไซต์ได้ เพื่อความสะดวกในการเรี ยกดูเอกสารจากสถานที่ต่างๆ ขัน้ ตอนในการใช้ งาน การควบคุมการใช้ งานระบบ โดยมีกลุ่มผู้ใช้ ได้ แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม 1. ผู้ดูแลระบบ – สามารถทางานได้ ทกุ อย่างในระบบ

ผู้ดแู ลระบบกาหนดสิทธิ์ผ้ ใู ช้ งาน ผู้ใช้ งานLoginเข้ าสู่ระบบและยืนยันตัวตนก่อนใช้ งาน ผู้ใช้ งานสามารถจัดการกับเอกสารได้ ตามสิทธิ์ที่กาหนด เอกสารถูกจัดเก็บในฐานข้ อมูล ผู้ใช้ งานLogoutออกจากระบบ 2. ผู้บันทึกข้ อมูล - สามารถดาเนินการเกี่ยวกับเอกสารได้ ท ั ้งหมด แต่ไม่สามารถ จัดการผู้ใช้ ของระบบ ได้ สามารถเพิ่ม ลบ แก้ ไขเอกสารได้


27

1.รวบรวมเอกสารที่ต้องการจัดเก็บ 2.Scanเอกสารเข้ าระบบปฏิบตั ิงาน 3.Loginเข้ าระบบ โดยใช้ ให้ ใส่รหัสพนักงาน (User Name) และรหัสผ่าน (Password) 6 ตัว แล้ วกดปุ่ มตกลง 4.เพิ่มFolderโดยแยกตู้เอกสารเป็ นชื่อบริ ษัท หรื อชื่อบุคคลเท่านั ้น(ได้ ท ั ้ง ภาษาไทยและอังกฤษ) ทาให้ ง่ายต่อการนาเอกสารมาแทรกใหม่ หรื อง่ายต่อการ สืบค้ นในครัง้ ถัดไป 5.ทาการแทรกไฟล์เอกสารที่ต้องการจัดเก็บเข้ าระบบ 6.Logoutออกจากระบบ 3. ผู้ใช้ ท่ วั ไป - สามารถค้ นหา และเรี ยกดู เอกสารได้ เท่านั ้น ตรวจสอบข้ อมูลของระบบได้ เช่น สาเนา บัตรประจาตัวประชาชน สาเนาทะเบียนบ้ าน หนังสือรับรองของบริ ษัทครบชุด เป็ นต้ น

1.Loginเข้ าระบบ โดยใช้ ให้ ใส่รหัสพนักงาน (User Name) และ รหัสผ่าน (Password) 6 ตัว แล้ วกดปุ่ มตกลง 2. ค้ นหา เรี ยกดูเอกสารโดยพิมพ์ชื่อบริ ษัท เลขทะเบียนนิติบคุ คล ชื่อ -สกุล บุคคล เลขประจาตัวประชาชน และเลขที่บญ ั ชีที่เปิ ดไว้ กับธนาคารไทยพาณิชย์ ในช่องค้ นหา และกดตกลง 3.Saveหรื อPrintจากระบบได้ เลย โดยไฟล์เอกสารจะเป็ นไฟล์ PDF 4.Logoutออกจากระบบ หมายเหตุ โปรแกรมนี ้สามารถจัดเก็บและค้ นหาข้ อมูลเอกสารเฉพาะลูก ค้ า ได้ เฉพาะของสาขาตนเอง เท่านั ้น ไม่สามารถจัดเก็บและค้ นหาข้ อมูลของลูกค้ าจากสาขาอื่นๆได้


28 สรุปผล อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ 1. มีความสะดวกต่อการเข้ าถึง ค้ นหา นามาใช้ งาน รวมทั ้งการส่งต่อเผยแพร่ ลดความผิดพลาด ซ ้าซ้ อน ประหยัดเวลา 2. มีความปลอดภัยของข้ อมูลเนื่องจากมีระบบการก าหนดสิท ธิ์ ก ารใช้ งาน รวมทั ้งระบบการสารองข้ อมูล ป้องกันการสูญหายหรื อถูกทาลาย จากการโจรกรรมข้ อมูลหรื อภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ 3. สามารถจัด เก็ บคลังข้ อ มูล เอกสารได้ ง่า ยขึ ้น ลดค่า ใช้ จ่ า ยในเรื่ องของพื ้นที่ก ารจัดเก็ บเอกสาร และ สามารถจัดเก็บเอกสารได้ นานขึ ้น 4. ช่วยให้ การติดต่อสื่อสาร การประสานงานทั ้งในและนอกองค์กรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ น้ 5. ใช้ สาหรับควบคุมการสร้ างเอกสารและจัดระเบียบมาตรฐานของเอกสารภายในองค์กรที่มีอยู่เป็ น จานวน มาก และควบคุมความถูกต้ องของเอกสาร โดยมีระบบควบคุมเวอร์ ชนั่ เอกสาร ก่อนที่จะนาไปใช้ งานจริ ง


29

บทที่ 4 สรุ ปผลการปฏิบัติงานและข้ อเสนอแนะ 4.1 สรุปผลการปฏิบัติงาน 4.1.1 ด้ านคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน คุณธรรมจริ ยธรรมมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการทางาน โดยเฉพาะกับงานธนาคาร ที่มีความเกี่ยวเนื่อง กับเงิน หากมีการทุจริ ตหรื อไม่ซื่อสัตย์ก็อาจเกิดผลเสียทั ้งกับตนเอง และสถาบันการศึกษาที่ตนเองอยู่ในการ ควบคุมดูแล 4.1.2 ด้ านการเรียนรู้การทางานในสถานประกอบการ เรี ยนรู้ระบบการทางานของธนาคารว่าเป็ นอย่างไร มีการให้ บริ การลูก ค้ า อย่า งไรบ้ า ง นอกจากนั ้นยังได้ เรี ยนรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆภายในธนาคาร เช่น เงินฝาก ประกันชีวิตและประกันภัย รวมไปถึ งสิน เชื่อ ต่างๆ เป็ นต้ น 4.1.3 ด้ านการใช้ สติปัญญาแก้ ปัญหาในการทางาน ในการทางานทุก อย่า งต้ องมีส ติ และรอบคอบ รวมทั ้งการมีไหวพริ บในการแก้ ไขปั ญ หา ต่า งๆ เช่น มี ลูกค้ ามีข้อสงสัยหรื อต้ องการความช่วยเหลือในเรื่ องที่เรารู้ เราก็ สามารถให้ คาแนะน าได้ ท ัน ที แต่ห ากไม่ท ราบ ข้ อมูลที่แท้ จริ ง ก็ควรจะแนะนาให้ ไปสอบถามกับพนักงานภายในสาขา หรื อเราอาจจะไปหาข้ อมู ลมาให้ ลูก ค้ า และในส่วนของการแก้ ปัญหาในสานักงานธุรกิจหากมีการทางานผิดพลาด ก็ ควรจะสอบถามถึ งข้ อผิดพลาดให้ ชัดเจน และรี บทาการแก้ ไขให้ ถกู ต้ อง ซึ่งต้ องใช้ ความละเอียดรอบคอบในการทางาน 4.1.4 ด้ านการทางานร่ ว มกันในองค์ กร การสร้ างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่ วมงานภายในองค์กร จะนามาซึ่งความสัมพันธ์ที่ดีในการทางานใน อนาคต หากต้ องการจะเข้ าทางานในส่วนงานที่ได้ ไปฝึ กปฏิบัติงาน หรื อได้ งานในส่วนงานที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ซึ่งจะเป็ นผลดีในอนาคตอย่างแน่นอน 4.1.5 ด้ านการใช้ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และสารสนเทศในการทางาน ฝึ กการใช้ คอมพิวเตอร์ ได้ รวดเร็ วยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะโปรแกรม Microsoft Word และ Microsoft Excel เนื่องจากจะต้ องใช้ ท ั ้ง 2 โปรแกรมนี ้ในการบันทึกข้ อมูลลูกค้ า เพื่อใช้ ในการตรวจสอบWatch List ตรวจสอบ เครดิตบูโร และทาCash Flow Bank Case นอกจากนั ้นยังมีการใช้ เครื่ องถ่า ยเอกสารภายในสานักงาน เพื่อถ่าย สาเนาข้ อมูลลูกค้ า และการScanไฟล์แบบทบทวนลูกค้ าบุคคลธรรมดา และแบบทบทวนลูกค้ านิติบคุ คลเข้ า ระบบข้ อมูล


30 4.1.6 ด้ านทักษะในการทางานอื่นๆ มีทกั ษะด้ านการติดต่อประสานงาน เนื่องจากในการฝึ กปฏิบัติงาน จะต้ องติดต่อประสานงานกับลูก ค้ า และเพื่อนร่ วมงาน จึงควรมีความอ่อนน้ อมถ่อมตน พูดจาไพเราะ และสามารถรับฟัง หรื ออธิบายสิ่งต่า งๆได้ อย่า ง ชัดเจน และหากเป็ นข้ อมูลสาคัญ ก็ควรมีการบันทึกไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 4.2 ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจากการปฏิบัติงาน 4.2.1 ประโยชน์ ต่อตนเอง  นาความรู้ ที่ได้ รับจากการฝึกปฏิบตั ิงานไปประยุกต์ใช้ กับการทางานในอนาคตได้  มีความตรงต่อเวลามากขึ ้น และสามารถความรับผิดชอบต่องานที่ได้ รั บมอบหมายให้ สาเร็ จไปได้ ด้วยดี  มีความอดทนต่อสถานการณ์ที่มีความกดดัน และรับมือกับปัญหาได้ อย่างถูกวิธี และมีสติ 4.2.2 ประโยชน์ ต่อสถานประกอบการ ได้ นกั ศึกษาที่มีความรู้ และสนใจงานธนาคาร เพื่อมาต่อยอดความรู้ และประสบการณ์ในการทางาน และในอนาคตก็จะทาให้ สถานประกอบการสามารถรับนักศึกษาเหล่านี ้เข้าทางานได้ เลย โดยที่ไม่ต้องมีการอบรม ทักษะในการทางานมากนัก เนื่องจากเคยมีพื ้นฐานในการทางานกับสถานประกอบการมาบ้ างแล้ ว 4.2.3 ประโยชน์ ต่อมหาวิทยาลัย สร้ างConnectionที่ดีให้ กับสถานประกอบการและมหาวิทยาลัย เพื่อต่อยอดให้ มหาวิทยาลัยส่งนักศึก ษา มาฝึ กปฏิบตั ิงานภายใต้ โครงการสหกิจได้ อีก และเป็ นการสร้ างชื่อมหาวิทยาลัยให้ เป็ นที่ร้ ูจักอีกด้ วย 4.2.4 ประโยชน์ ต่อสังคม นักศึกษาที่ผ่านการฝึกปฏิบตั ิงานกับโครงการสหกิจก็สามารถไปสมัครงานในหน่วยงานที่ตนสนใจ หรื อ จบมาได้ เลย โดยที่ไม่ต้องมาหางานภายหลังการเรียนจบ เพื่อลดปัญหาการว่างงานในสังคม นอกจากนั ้น สถาน ประกอบการก็ยงั ได้ บุคลากรที่มีความสามารถ และเหมาะสมกับตาแหน่งงานอีกด้ วย 4.3 ข้ อเสนอแนะ 4.3.1 ข้ อเสนอแนะต่ อนักศึกษาที่จะออกปฏิบัติงานในภาคการศึกษาต่ อไป ควรศึกษาเส้ นทางในการไปฝึ กปฏิบตั ิงานให้ ดี และสอบถามเรื่ องที่ตั ้งของสาขาให้ แน่ชดั เพื่อลด ข้ อผิดพลาดในการเดินทาง และกาหนดเวลาในการเดินทางให้ ดี เพื่อที่จะได้ ไปฝึ ก ปฏิบัติงานได้ อย่างตรงเวลา


31 4.3.2 ข้ อเสนอแนะต่ อสถานประกอบการ ควรมีข้อมูลของสถานที่ตั ้งของสาขาต่างๆที่ไปฝึ กปฏิบัติงานมาให้ นกั ศึกษาได้ เลือกก่อน ว่ามีสาขาไหนที่ สะดวกต่อการเดินทางของนักศึกษา เนื่องจากในบางสาขาที่ได้ ไปฝึ กปฏิบตั ิงานนั ้นค่อนข้ างไกล และเดินทาง ลาบาก ในกรณีที่นกั ศึกษาบางคนไม่มีรถส่วนตัว 4.3.3 ข้ อเสนอแนะต่ ออาจารย์ ท่ ปี รึกษา ควรมีการออกเยี่ยมนักศึกษาในทุกสาขาที่ได้ ไปฝึ กปฏิบัติงาน เพื่อจะได้ ทราบปัญหาต่างๆที่เกิดใน ระหว่างการฝึกปฏิบตั ิของนักศึกษากับสถานประกอบการ 4.3.4 ข้ อเสนอแนะต่ อสาขาวิชา คณะและมหาวิทยาลัย โครงการสหกิจศึกษาเป็ นโครงการที่ดี มีประโยชน์ท ั ้งต่อตัวนักศึกษา มหาวิทยาลัย และสถาน ประกอบการเอง จึงควรมีโครงการนี ้ต่อไป แต่ควรจะต้ องให้ เริ่ มฝึ กปฏิบตั ิงานในช่วงปิ ดเทอม หรื อมีระยะเวลาที่ สั ้นลง เนื่องจากมีผลกระทบต่อการเรี ยนของนักศึกษา 4.3.5 ข้ อเสนอแนะอื่นๆ ควรมีการประชาสัมพันธ์ เรื่ องการฝึ กปฏิบตั ิงานโครงการสหกิจให้ บคุ คลากรของสถานประกอบการเข้ าใจ มากขึ ้น และมีแบบแผนกาหนดไว้ ชดั เจนในการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้ นกั ศึกษาได้ แสดงศักยภาพที่แท้ จริ ง และได้ รับ การมอบหมายงานที่เหมาะสมกับความสามารถมากกว่านี ้


บรรณานุ กรม จักรพงษ์ ทองศักดิ์ และเนาวดี มานิตกุล. 2537. การจัดเก็บเอกสาร. วารสารนักบริ หาร. 14(1), 38-45 ชัชวาล วงษ์ ประเสริ ฐ. 2545. การพัฒนาระบบการจัดการบริ การสารสนเทศ. 8(2), 7-12 ดุจใจ เรื องเวหา, วาโย เกียรติกนก และพัชรวิภา สุขประเสริ ฐ. เทคโนโลยีสารสนเทศ. ค้ น เมื่อ 13 กรกฎาคม 2548, จาก http://www,cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20hard3.htm นิรุธ อานวยศิลป์ .(2548).PHP How-to and web-base.พิมพ์ครัง้ ที่ 1.กรุงเทพฯ.เจริ ญการการพิมพ์ ปรี ชา จินดามณีศิริกุล. 2545. Microsoft SharePoint Portal Server 2001. Winmag, 9(105), 176-186 พิจารณ์ เจริ ญศรี . 2545. การใช้ เว็บเพจในการจัดการแบบเอกสารการจัดการคุณ ภาพ. วารสารนัก บริ ห าร, 22(4), 94-98 วัชราภรณ์ ทรัพย์เสริ มศรี . 2547. E 5ส เพื่อเพิ่มประสิทธิ์ภาพการทางาน. For Quality, 10(75), 55-59


ภาคผนวก











































Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.