Health Planning System using Concept of Food Ontology

Page 1

ระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยในดวยหลักการออนโทโลยีอาหาร Inpatient Health Planning System using Concept of Food Ontology เสกสรรค ศิวิลัย (Sakesan Sivilai)1 และจักรกฤษณ เสนห นมะหุต (Chakkrit Snae Namahoot)2 1,2 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร sivilai.s@gmail.com, chakkrits@nu.ac.th

บทคัดยอ การบริ โ ภคอาหารที่ ถูก ตอ งตามหลัก โภชนาการ และ เหมาะสมกับสภาพรางกาย ชวยลดผลเสียจากการเจ็บปวยและ ทําใหรางกายฟนตัวเร็วขึ้น แตผูปวยสวนใหญไมไดบริโภค อาหารอยางถูกตองตามหลักโภชนาการ ครบถวนและเหมาะสม กั บ สภาพร า งกาย ซึ่ ง อาจทํ า ให เ กิ ด ผลเสี ย ต อ สุ ข ภาพของ ผู ป ว ยได โดยระบบวางแผนสุ ข ภาพสํ า หรั บ ผู ป ว ยในมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูปวยที่มาทําการพักรักษากับโรงพยาบาล ได บ ริ โ ภคอาหารอย า งถู ก ต อ งตามหลั ก โภชนาการ และ เหมาะสมกับสภาพรางกาย โดยในงานวิจัยนี้ไดนําหลักการ ออนโทโลยีมาใชสําหรับจัดการองคความรูเกี่ยวกับอาหาร และ โภชนาการและทํางานรวมกับทฤษฎีระบบผูเชี่ยวชาญ ในการ วางแผนมื้ออาหารใหถูกตองและเหมาะสมกับสภาพรางกาย ของผู ป ว ย ซึ่ ง ผลการประเมิ น หาความพึ ง พอใจของระบบ พบวาผลการประเมินจากนักโภชนาการไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.33 และค าเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.35 ผลการประเมิน จาก ผูเชี่ยวชาญไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.28 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.42 และผลการประเมินจากผูใชงานทั่วไปไดคาเฉลี่ย เทากับ 4.34 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.48 ซึ่งสามารถ สรุปไดวาระบบที่พัฒนาขึ้นมีความพึงพอใจอยูในระดับดี คําสําคัญ: การวางแผนสุขภาพ ผูปวยใน อาหารและโภชนาการ ออนโทโลยี ระบบผูเชี่ยวชาญ

Abstract Eating proper nutrition and appropriately regarding physical condition can help mitigate diseases and recover from illness faster. But most patients do not follow good practices improving their physical condition. This can have negative effects on the patients' health. The inpatient

health planning system aims at supporting patients in hospitals to have proper nutrition and appropriately regarding their physical condition. In this paper, we used an ontology for food management and nutrition knowledge with an expert system to derive meal plans with appropriate nutrition suitable for the patients' physical condition. The results of the satisfactory evaluation by the nutritionists give the mean of 4.33 and the standard deviation of 0.35. The results of the evaluation by the experts give the mean of 4.28 and the standard deviation of 0.42. The results of the evaluation by the general users give the mean of 4.34 and the standard deviation of 0.48. There results show that the satisfactory toward the proposed system is at good level. Keyword: Health planning, Inpatient, Food and Nutrition Ontology, Expert System.

1. บทนํา ปจจุบันไดมีการนําหลักการทางโภชนาการ มาชวยในการ ปองกัน บรรเทา และรักษาอาการของโรคมากขึ้น โดยเฉพาะ อยางยิ่งผูปวยที่มีโรคประจําตัว จําเปนที่จะตองใหความสําคัญ กับการบริโภคอาหาร ที่ถูกตองครบถวนตามหลักโภชนาการ เปนอยางมาก ซึ่งการมีโภชนาการที่ดีและเหมาะสมกับสภาพ รางกายของผูปวยจะชวยลดผลเสียจากการเจ็บปวย และทําให รางกายฟนตัวเร็วขึ้น ในทางกลับกันหากผูปวยบริโภคอาหาร ที่ไมเหมาะสมกับสภาพรางกาย อาจทําใหเกิดผลเสียตอผูปวย ไดเชนกัน โดยทั่วไปแลวผูปวยมีความแตกตางกันทั้งทางดาน เพศ อายุ สภาพรางกาย และโรคประจําตัว ซึ่งมีความตองการ พลังงานและสารอาหารที่แตกตางกันไปดวย โดยผูปวยสวน ใหญอาจไมไดบริโภคอาหารอยางถูกตอง ครบถวนตามหลัก


โภชนาการและเหมาะสมกับสภาพรางกาย เนื่องจากผูปวยที่เขา พักรักษาตัวกับทางโรงพยาบาลมีจํานวนมาก การจัดอาหารให ถูกตองครบถวนตามหลักโภชนาการ และเหมาะสมกับสภาพ รางกายของผูปวยแตละคน ถือวาเปนเรื่องยากและใชเวลา คอนขางมาก จากปญหาที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยจึงไดมีแนวคิดในการ พัฒนาระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวยใน ดวยหลักการ ออนโทโลยี อ าหาร เพื่อให ผูปวยที่มาทํ าการพั กรัก ษากั บ โรงพยาบาลไดบริโภคอาหารอยางถูกตองครบถวน ตามหลัก โภชนาการและเหมาะสมกับ สภาพร างกาย เพื่ อ ชวยฟนฟู สภาพรางกายจากอาการเจ็บปวยไดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวย เพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพ ในการให บ ริก ารและการจั ด การของ โรงพยาบาลใหดีขึ้นไดอีกดวย โดยในงานวิจัยนี้ไดนําหลักการ ออนโทโลยีมาใชสําหรับจัดการองคความรูเกี่ยวกับอาหารและ โภชนาการ และทํางานรวมกับทฤษฎีระบบผูเชี่ยวชาญในการ วางแผนมื้ออาหาร ใหถูกตองและเหมาะสมกับสภาพรางกาย ของผูปวย พรอมทั้งใหคําแนะนําในการดูและสุขภาพไดอยาง ถูกตองแมนยํา และมีประสิทธิภาพ

2. วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในการออกแบบและพัฒนาระบบ ผูวิจัยไดทําการศึก ษา ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังตอไปนี้ 2.1 ออนโทโลยี ออนโทโลยี หมายถึง การใหรายละเอียดที่ชัดเจนแนนอน ของแนวความคิด [1] หรือกลุมของคําที่มีโครงสรางแบบลําดับ ชั้น สําหรับอธิบายขอบเขตเนื้อหาที่สนใจที่สามารถนํามาใช เปนโครงรางพื้นฐานสําหรับฐานความรูได [2] โดยออนโทโลยี มีองคประกอบดังตอไปนี้ 2.1.1 แนวความคิด (Concepts) หมายถึง ขอบเขตของ ความรูที่สามารถทําการอธิบายรายละเอียดได 2.1.2 คุณสมบัติ (Properties) หมายถึง คุณสมบัติ ตางๆ ที่นํามาอธิบายรายละเอียดของแนวความคิด 2.1.3 ความสัมพันธ (Relationships) หมายถึง รูปแบบ การแสดงความสัมพันธระหวางแนวความคิด 2.1.4 ขอกําหนดในการสรางความสัมพันธ (Axioms) หมายถึง เงื่อนไขหรือตรรกะในการสรางความสัมพันธระหวาง

แนวความคิดกับแนวความคิด หรือแนวความคิดกับคุณสมบัติ เพื่อใหไดความหมายที่ถูกตอง 2.1.5 ตัวอยางขอมูล (Instances) หมายถึง คําศัพทที่มี การกําหนดความหมายไวในออนโทโลยีเรื่องนั้นๆ โดยรูปแบบของการอธิบายออนโทโลยี จะขึ้นอยูกับภาษาที่ ใช เชน RDF หรือ OWL เปนตน [3] 2.2 ระบบผูเชี่ยวชาญ ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System) เปนระบบสารสนเทศที่ ออกแบบมาเพื่อใหสามารถคิด วิเคราะห เปรียบเทียบ หรือหา คําตอบ โดยไดจําลองมาจากวิธีคิดวิเคราะหของมนุษยหรือ ผูเชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ ซึ่งมีความเกี่ยวของกับการจัดการองค ความรู และออกแบบใหชวยในการแสดงขอมูลความจริงจาก องคความรูที่มี โดยระบบผูเชี่ยวชาญประกอบดวยโครงสราง พื้นฐานดังตอไปนี้ 2.2.1 ฐานความรู (Knowledge Base) เปนสวนที่ทํา หนาที่ในการเก็บองคความรูที่เกี่ยวของกับระบบ 2.2.2 กลไกอนุมาน (Inference Engine) เปนสวนที่ทํา หนาที่นําองคความรูที่เก็บไวในฐานความรู (Knowledge Base) มาใชงานเพื่อหาขอสรุปหรือคาความจริงจากความรูที่มี ซึ่งใน งานวิจัยนี้ใชวิธีการอนุมานแบบเดินหนา (Forward Chaining) โดยจะเริ่มตรวจสอบขอมูลกับกฎเกณฑจนกวาจะหากฎเกณฑที่ สอดคลองกับสถานการณแลวจึงดําเนินการตามความเหมาะสม 2.2.3 สวนดึงองคความรู (Knowledge Acquisition Subsystem) เปนสวนที่ทําหนาที่ในการดึงองคความรูจากตํารา หรือผูเชี่ยวชาญ 2.2.4 สวนอธิบาย (Explanation Subsystem) เปนสวน ที่ทําหนาที่ในการอธิบายรายละเอียดตอผูใชวาขอสรุป หรือ คําตอบนั้นไดมาอยางไร 2.2.5 สวนเชื่อมตอกับผูใช (User Interface) เปนสวน ที่ทําหนาที่เปนตัวกลางระหวางผูใชกับระบบเพื่อใหการสื่อสาร เปนไปอยางราบรื่น [4] 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวขอ งกับ การวางแผนสุขภาพ ดานการบริโภคอาหารสามารถสรุปไดดังนี้ ระบบขับเคลื่อนออนโทโลยีอาหาร เปนงานวิจัยที่ทําการ ออกแบบและพัฒนาระบบแนะนํารายการอาหาร ในรานอาหาร


คลินิก โรงพยาบาล หรือที่บาน โดยระบบนี้นําระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System) มาทํางานรวมกับออนโทโลยีอาหาร (Food Ontology) และองคความรูอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยในการแนะนํา รายการอาหารจะคํานึงถึงความเหมาะสมตอสภาพรางกาย และ ความชื่นชอบทางดานอาหารของแตละบุคคล ในการออกแบบ และพัฒนาออนโทโลยีอาหารนี้ มีการแบงแนวคิดของอาหาร ออกเปน 9 สวนประกอบดวย วัตถุดิบ แหลงวัตถุดิบ สารอาหาร อุปกรณที่ใชในการปรุงอาหาร วิธีการปรุงอาหาร อาหารประจํา ชาติ ราคา ประเภทอาหาร และสารอาหารที่เหมาะสมกับโรค ดังภาพที่ 1 [5] โดยระบบนี้ยังขาดสวนของการวางแผนมื้อ อาหารในแตละวัน และยังไมไดคํานึงถึงขอมูลดานสุขภาพของ ผูปวยมากนัก

อีกทั้งยังไมสามารถแนะนําอาหารสําหรับผูปวยโรคอื่นๆ ได อีกดวย ระบบวางแผนสุขภาพดานโภชนาการ สําหรับผูปวยสูงอายุ เป น งานวิ จั ย ที่ อ อกแบบ และพั ฒ นาระบบวางแผนสุ ข ภาพ สําหรับผูปวยสูงอายุ โดยนําออนโทโลยีมาใชในการจัดการองค ความรูเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ เพื่อชวยในการวาง แผนการบริ โ ภคอาหารให เ หมาะสมกั บ ความต อ งการ และ สภาพรางกายของผูปวยสูงอายุ [7] แตระบบนี้พัฒนามาเพื่อ ผู ป ว ยสู ง อายุ เ ท า นั้ น ไม ส ามารถวางแผนโภชนาการได ครอบคลุมผูปวยทุกวัย อีกทั้งระบบอาจจะแนะนํารายการ อาหารไม ถู ก ต อ ง ครบถ ว น เหมาะสมกั บ ผู ป ว ยสู ง อายุ เนื่องจากผูสูงอายุเปนผูเลือกรายละเอียดในการแนะนํารายการ อาหารเอง จากการทบทวนงานวิจัย ที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยไดนํา แนวคิดในการออกแบบออนโทโลยีอาหาร มาทําการประยุกต ใหเหมาะสมกับงานวิจัย อีกทั้งยังไดนําแนวคิดในการแนะนํา อาหารสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน มาทําการเพิ่มเติมใหสามารถ ครอบคลุ ม กั บ โรคต า งๆ ได ม ากขึ้ น และได นํ า หลั ก การวาง แผนการบริโภคอาหารสําหรับผูสูงอายุ มาทําการพัฒนาให ครอบคลุมกับผูปวยทุกวัย รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

3. วิธีดําเนินการวิจัย ภาพที่ 1: แนวคิดดานอาหาร ระบบออนโทโลยีอัจฉริยะสําหรับแนะนําอาหาร สําหรับ ผูปวยโรคเบาหวาน เปนงานวิจัยที่ออกแบบและพัฒนาระบบ แนะนํารายการอาหารไตหวันสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน โดย นําออนโทโลยีมาใชในการพัฒนาระบบ ซึ่งประกอบไปดวย 2 สวน คือ ออนโทโลยีอาหารซึ่งมีแนวคิดในการแบงอาหาร ออกเปน 6 กลุม คือ ธัญพืชและแปง ผัก ผลไม นม เนื้อสัตวและ โปรตีน และไขมัน สวนที่ 2 ออนโทโลยีอาหารเฉพาะบุคคล ซึ่งมีแนวคิดในการแบงออกเปน 3 กลุม คือ ประวัติสวนตัว เปาหมายการบริโภคอาหาร และอาหารที่ชื่นชอบ และใชกลไก อนุมานฟซซี่ (Fuzzy Inference Mechanism) เพื่อแนะนํา รายการอาหารใหตรงตอความตองการ และเหมาะสมกับผูปวย [6] แตระบบนี้สามารถแนะนําไดแตอาหารไตหวันเทานั้น

3.1 กระบวนการทํางานของระบบ ในภาพที่ 2 แสดงถึงกระบวนการทํางานของระบบ โดยมี ขั้นตอนดังตอไปนี้ 3.1.1 ผูใชทําการปอนขอมูลผูปวย เชน รหัสหรือชื่อ ของผูปวย เพื่อทําการวางแผนสุขภาพ 3.1.2 ระบบทําการตรวจสอบขอมูลสุขภาพผูปวย ถา ยังไมมีขอมูล ใหทําการลงทะเบียนขอมูลสุขภาพผูปวยใหม 3.1.3 ระบบจะทําการดึงขอมูลสุขภาพผูปวย ขึ้นมา เพื่อเตรียมวางแผนสุขภาพ ซึ่งขอมูลบันทึกสุขภาพผูปวยเปน สวนที่ทําการเก็บบันทึกขอมูลสุขภาพของผูปวย เชน รหัส ชื่อนามสกุล เพศ อายุ สวนสูง น้ําหนัก อุณหภูมิรางกาย ความดัน โลหิ ต อั ต ราการเต น ชี พ จร อาการ โรคประจํ า ตั ว ฯลฯ โดย ขอมูลเหลานี้ไดมาจากการตรวจวัดของเจาหนาที่ พยาบาลและ แพทยผูตรวจ


3.1.4 จากนั้นผูใชทําการระบุจํานวนวันที่ผูปวยจะเขา พักรักษาในโรงพยาบาล 3.1.5 เสร็จแลวระบบจะทําการ จัดการวางแผน สุขภาพโดยใชทฤษฎีระบบผูเชี่ยวชาญ และใชกลไกอนุมาน แบบเดินหนา โดยเริ่มจากนํากฎตางๆ มาทําการวิเคราะหกับ ขอมูลบันทึกสุขภาพของผูปวยรวมกับออนโทโลยีอาหาร แลว ทําการสรุปผลวารายการอาหารใดที่เหมาะสมกับผูปวย จากนั้น ทําการวางแผนมื้ออาหารใหเหมาะสมกับความตองการในการ บริโภคอาหารของผูปวยในแตละวัน รวมถึงใหคําแนะนําใน การดูแลสุขภาพใหเหมาะสมกับผูปวยอีกดวย 3.1.6 จากนั้นทําการแสดงแผนสุขภาพใหผูใชได ทราบเปนอันเสร็จสิ้นกระบวนการทํางานของระบบ

3.2 การออกแบบและพัฒนาออนโทโลยี ในสวนนี้แสดงผลการออกแบบออนโทโลยีอาหาร โดย ในงานวิจัยนี้ไดนําแนวคิดทางดานอาหารจาก [5] มาประยุกต ใชในการออกแบบและใช Protégé 4.1 มาเปนเครื่องมือในการ พัฒนาออนโทโลยี สําหรับออนโทโลยีอาหาร ประกอบไปดวยคลาสหลักๆ เชน รายการอาหาร (Menu) วิธีการปรุงอาหาร (Preparation methods) วัตถุดิบ (Ingredient) สารอาหาร (Nutrient) และ คลาสอื่นๆ ที่เกี่ยวของดังภาพที่ 3 โดยขอมูลเหลานี้สามารถ นํ า ไปใช ใ นการแนะนํ า อาหารได อ ย า งถู ก ต อ งตามหลั ก โภชนาการ

ภาพที่ 3: แสดงตัวอยางการออกแบบออนโทโลยีอาหาร

ภาพที่ 2: กระบวนการทํางานของระบบ

3.3 ฐานกฎ ในสวนนี้แสดงกฎสําหรับการแนะนํารายการอาหาร ที่ เหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวย ซึ่งไดมาจากผูเชี่ยวชาญ หนังสือและเอกสารที่เกี่ยวของกับการบริโภคอาหาร โดยกฎ จะทํางานรวมกับออนโทโลยีอาหาร สําหรับกฎที่สรางขึ้นจะ อยูในรูปแบบของ IF-THEN ดังนี้ IF (antecedent) THEN (Consequent) สําหรับในงานวิจัยนี้ใชรูปแบบของกฎประเภท Strategy โดยมีลักษณะการทํางานดังตารางที่ 1


ตารางที่ 1: แสดงตัวอยางการนํากฎมาใชในการแนะนํารายการอาหาร สําหรับผูปวยโรคความดันโลหิตสูง

ภาษา PHP และใช Protégé และ MySQL ในการเก็บขอมูล อาหารและขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยในภาพที่ 4 แสดง หนาจอขั้นตอนและผลการวางแผนสุขภาพ ในที่นี้ยกตัวอยาง ผูปว ยที่ ปว ยเปน โรคความดัน โลหิ ตสู ง จากนั้ น เลื อ กจํา นวน วันที่จะเขาพักรักษาตัว เสร็จแลวเลือกที่ปุม “วางแผนสุขภาพ” จากนั้นระบบจะแสดงหน าวางแผนสุข ภาพซึ่ง ประกอบดว ย ข อ มู ล มื้ อ อาหารที่ เ หมาะสมต อ วั น รายการอาหารที่ ค วร หลีกเลี่ยง และคําแนะนําในการดูแลสุขภาพสําหรับผูปวย

3.4 การวางแผนสุขภาพ ในสวนนี้เปนกระบวนการวางแผนสุขภาพ สําหรับผูปวย ซึ่งไดนําทฤษฎีระบบผูเชี่ยวชาญมาใชในการวางแผน โดยใช กลไกอนุ ม านแบบเดิ น หน า เริ่ ม จากนํ า กฎต า งๆ มาทํ า การ วิเคราะหกับขอมูลบันทึกสุขภาพของผูปวย รวมกับออนโทโลยี อาหาร แลวทําการสรุปผลวารายการอาหารใดที่เหมาะสมกับ ผูปวย จากนั้นทําการคํานวณหาพลังงานที่เหมาะสมกับความ ตองการในการบริโภคอาหารของผูปวยในแตละวัน โดยอาศัย ขอมูล เพศ อายุ น้ําหนัก สวนสูงและกิจกรรมที่ทําในแตละวัน โดยใชสูตร Harris-Benedict equation ในการคํานวณ ดังนี้ เพศชาย: ((66 + (13.7 x น้ําหนัก กก.) + (5 x สวนสูง ซม.)) - (6.8 x อายุ ป)) x ระดับกิจกรรม เพศหญิง: ((655 + (9.6 x น้ําหนัก กก.) + (1.8 x สวนสูง ซม.)) - (4.7 x อายุ ป)) x ระดับกิจกรรม

ซึ่งในที่นี้ยกตัวอยางผูปวยเพศชาย อายุ 54 ป สวนสูง 170 ซม. น้ําหนัก 82 กก. และระดับกิจกรรมนั่งนอนเปนสวนใหญ (1.2) เมื่ อ ทํ า การคํ า นวณแลว จะได ผ ลความต อ งการพลัง งาน เทากับ 2,007 กิโลแคลอรี่ตอวัน เสร็จแลวทําการจัดการวางแผน รายการอาหารใหไดพลังงานที่เหมาะสมในแตละมื้อ รวมถึง ใหคําแนะนําในการดูแลสุขภาพใหเหมาะสมกับผูปวยอีกดวย

ภาพที่ 4: แสดงหนาจอขั้นตอนและผลการวางแผนสุขภาพ จากภาพที่ 5 จะเห็นไดวาหลังจากที่ผูปวยไดปฏิบัติตาม แผนสุขภาพที่ระบบไดแนะนําหลังจากผานไป 4 วัน ผูปวยมี อาการดีขึ้น ซึ่งดูไดจากขอมูลสุขภาพของผูปวย เชน ความดัน โลหิตลดลง อาการปวดหัวหายไปและน้ําหนักตัวลดลง เปนตน

4. ผลการดําเนินงาน ในสวนนี้เปนการนําเสนอผลการดําเนินงาน ในการพัฒนา ระบบ โดยแบงออกเปนหัวขอดังตอไปนี้ 4.1 ผลการพัฒนาระบบ ในสวนนี้แสดงผลของการพัฒนาระบบวางแผนสุขภาพ สําหรับผูปวยในดวยหลักการออนโทโลยีอาหาร ซึ่งพัฒนาดวย

ภาพที่ 5: แสดงหนาจอขอมูลผูปวยและขอมูลสุขภาพผูป วย


นอกจากนั้นแลวผูใชยังสามารถดูรายละเอียดตางๆ ของ รายการอาหารได เช น พลั ง งานที่ ไ ด รั บ วั ต ถุ ดิ บ คุ ณ ค า ทาง โภชนาการ สรรพคุณทางสมุนไพร ฯลฯ ดังภาพที่ 6

ภาพที่ 6: แสดงหนาจอแสดงรายละเอียดรายการอาหาร 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ ในสวนนี้แสดงผลการประเมินความพึงพอใจ จากการใช งานระบบโดยนักโภชนาการจํานวน 3 คน ผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 คน และผูใชทั่วไป จํานวน 10 คน ดังตารางที่ 2

5. สรุป ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอผลของการพัฒนาระบบ วางแผนสุ ข ภาพสํ า หรั บ ผู ป ว ยใน ด วยหลั ก การออนโทโลยี อาหาร โดยไดนําหลักการออนโทโลยีมาใชสําหรับจัดการองค ความรูเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ และทํางานรวมกับทฤษฎี ระบบผู เ ชี่ ย วชาญ ในการวางแผนมื้ อ อาหารให ถู ก ต อ งและ เหมาะสมกับสภาพรางกายของผูปวย เพื่อใหผูปวยที่มาทําการ พักรัก ษากับ โรงพยาบาล ไดบ ริโ ภคอาหารอยา งถูกตอ งตาม หลักโภชนาการและเหมาะสมกับสภาพรางกายอยางตอเนื่อง สําหรับงานในอนาคต ผูวิจัยจะทําการพัฒนาระบบจัดซื้อ และการบริหารสินคาคงคลังดานอาหาร สําหรับผูปวยที่มาทํา การพักรักษาตัวกับโรงพยาบาล เพื่อชวยในการแกปญหาและ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานภายในโรงพยาบาลเปนตน

เอกสารอางอิง [1]

T. Gruber, “Ontology”, Retrieved Nov 2, 2010, from http://tomgruber.org/writing/ontology-definition2007.htm.

[2]

B. Swartout, P. Ramesh, K. Knight, T. Russ, “Toward Distributed Use of Large-Scale Ontologies” Ontological

ตารางที่ 2: แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของระบบ

Engineering. AAAI-97 Spring Symposium Series, pp.138148, 1997. [3]

A. G. Perez and V. R. Benjamins, “Applications of Ontologies and Problem-Solving Methods” AI-Magazine, 20(1):119-122, 1999.

[4]

กิตติ ภัคดีวัฒนะกุล, คัมภีรระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบ ผูเชี่ยวชาญ, กรุงเทพฯ : เคทีพี แอนดคอนซัลท, 2546.

[5]

C. Snae and M. Brueckner, “FOODS: A Food-Oriented Ontology-Driven System” 2nd IEEE International Conference on Digital Ecosystems and Technologies, pp. 168-176, 2008.

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจจาก นักโภชนาการไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.33 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.35 ผูเชี่ยวชาญไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.28 คาเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากับ 0.42 และผูใชทั่วไปไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.34 คา เบี่ ย งเบนมาตรฐานเท า กั บ 0.48 ดั ง นั้ น สามารถสรุ ป ผลการ ประเมินความพึงพอใจ ของระบบวางแผนสุขภาพสําหรับผูปวย ในดวยหลักการออนโทโลยีอาหารไดวา ผูประเมินมีความพึง พอใจอยูในระดับดี

[6]

C. S. Lee, M. H. Wang, H. C. Li, and W. H. Chen, “Intelligent ontological agent for diabetic food recommendation” IEEE World Congress on Computational Intelligence, 2008.

[7]

S. Sivilai, C. Snae and M. Brueckner, “Ontology-Driven Personalized Food and Nutrition Planning System for the Elderly” the2nd International Conference in Business Management and Information Sciences, Phitsanulok, Thailand, Jan 19-20, 2012.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.