วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

Page 1


วิวฒ ั นาการ ความหมายของวิวัฒนาการ y วิวัฒนาการ (Evolution) คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือคลี่คลายไปสูฐานะทีด่ ีขึ้นหรือ เจริญขึ้น เปนเปลี่ยนแปลงในทางชีววิทยาจากสิ่งที่งา ย ๆ ไปสูสิ่งที่ยุงยากซับซอนมากขึ้น การ เปลี่ยนแปลงนี้จะตองเปลี่ยน ในลักษณะคอยเปนคอยไป และตองใชเวลานาน y วิวัฒนาการ (Evolution) หมายถึง การพัฒนาอยางมีระบบตามธรรมชาติ และตามผล การทบของสิ่งแวดลอมในสภาวะนัน้ ๆ วิวัฒนาการตองใชเวลา ไมมีทางลัด ตัวแปรของ วิวัฒนาการ คือ สิ่งแวดลอม y วิวัฒนาการ คือ การดําเนินการที่คอยเปนคอยไป ในเวลาปรกติก็จะพัฒนาไป ตอเมื่อพบ สภาวะวิกฤตก็จะทําการปฏิรูปจริงจัง y จากขอความขางตนสามารถสรุปความหมายของคําวาวิวัฒนาการ ไดวา เปนการพัฒนาอยาง เปนระบบ ซึ่งจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อเผชิญกับสภาวะวิกฤต ทําใหตองมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพือ่ ทําไดดีขึ้น ซึ่งมีดวยกันหลายดานเชน วิวัฒนาการของ เทคโนโลยี วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต


ลักษณะของวิวัฒนาการ y วิวัฒนาการทางเคมี นักวิทยาศาสตรเชื่อวา ครั้งแรกโลกเปนหมอกเพลิงที่หลุด

ออกมาจากดวงอาทิตยตอ มาเปลือกโลกคอย ๆ เย็นตัวลง พรอม ๆ กับการ เปลี่ยนแปลงของสารเคมีตลอดเวลา ครั้งแรกยังไมมีสารอินทรีย มีแตสารอนินทรีย เทานั้น ซึ่งคอย ๆ เปลี่ยนแปลงเปนสารอินทรีย ฉะนั้นเมื่อเวลาคอย ๆ ผานไปสารอนิ นทรียจะคอย ๆ ลดลงพรอมกับสารอินทรียเพิ่มขึ้น แตยังไมมีสิ่งมีชีวิต y วิวัฒนาการทางชีววิทยา เริ่มแรกจากเซลล ๆ จะสรางสารที่ตองการจากอาหารได เติบโต และสืบพันธุได และจะตองมีวิธีที่เซลลจะไดพลังงานมาใช วิธีการนั้นก็คือการ หายใจ


รูปภาพประกอบ

วิวฒ ั นาการทางเคมี

วิวฒ ั นาการทางชีววิทยา


เทคโนโลยี ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยี เปนการนําเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตรทั้งในดานสิ่งประดิษฐและวิธีปฏิบัตมิ า ประยุกตใชในระบบงานเพื่อชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการทํางานใหดียิ่งขึ้นและ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานใหมีมากยิง่ ขึ้น


การนําเทคโนโลยีมาใชกับงานในสาขาใดสาขา หนึ่งนั้น เทคโนโลยีจะมีสวนชวยสําคัญ 3 ประการ 1. ประสิทธิภาพ ( Efficiency ) เทคโนโลยีจะชวยใหการทํางานบรรลุผล ตามเปาหมายไดอยางเที่ยงตรงและรวดเร็ว 2. ประสิทธิผล ( Productivity ) เปนการทํางานเพื่อใหไดผลผลิต ออกมาอยางเต็มที่มากที่สุดเทาที่จะมากได เพื่อใหไดประสิทธิผลสูงสุด 3. ประหยัด ( Economy ) เปนการประหยัดทั้งเวลาและแรงงานในการ ทํางานดวยการลงทุนนอยแตไดผลมากกวาที่ลงทุนไป


ระดับของเทคโนโลยี เทคโนโลยีมี 4 ระดับ ไดแก 1. เทคโนโลยีระดับเบื้องตน สามารถจัดหาไดภายในประเทศ หรือสามารถพัฒนาขึ้นได ในระยะเวลาอันสั้น เชน ตูเย็น โทรศัพท เปนตน 2. เทคโนโลยีระดับกลาง มักตองซื้อจากตางประเทศ แตสามารถพัฒนาได ภายในประเทศ หากมีแผนการพัฒนาที่ตอเนื่อง เชน โทรทัศน เครื่องเสียง เปนตน 3. เทคโนโลยีระดับสูง ตองซื้ออุปกรณจากตางประเทศ แตสามารถใชงานโดยคนไทย หากพัฒนาในประเทศจะตองซื้อเทคโนโลยีแกนจากตางประเทศ เชน คอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ เปนตน 4. เทคโนโลยีระดับสูงมาก ตองซื้ออุปกรณ และทักษะการใชงานจากตางประเทศ เชน ระบบคมนาคมสื่อสารขนาดใหญ


ลักษณะของเทคโนโลยี สามารถจําแนกออกไดเปน 3 ลักษณะ คือ 1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เปนการใชอยางเปนระบบของ วิธีการทางวิทยาศาสตรหรือ ความรูตางๆที่ไดรวบรวมไว เพื่อนําไปสูผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อวาเปนกระบวนการที่เชื่อถือไดและนําไปสูการแกปญ  หาตาง ๆ 2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณที่เปนผล มาจากการใชกระบวนการทางเทคโนโลยี 3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เชน ระบบคอมพิวเตอรซึ่งมีการทํางานเปนปฏิสัมพันธระหวางตัวเครื่อง กับโปรแกรม


การศึกษา ความหมายของการศึกษา การศึกษาถึง กระบวนการเรียนรูการศึกษา คือกระบวนการ เรียนรู และกระบวนการเรียนรูนั้นเกิดกับบุคคล และสังคม ถาเราถือวาคนเปนสวนหนึ่งของสังคม ดังนั้น การเรียนรู ก็คือการเรียนรูของคนในสังคมนั่นเอง

การศึกษาใหมตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 นั้นมี ถึง 3 ระบบคือ การศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non‐Formal Education) และ การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) และกฎหมายไดกําหนดใหระบบการศึกษาทั้ง 3 ระบบสามารเทียบโอน การศึกษากันได นี่คือความยืดหยุน เปนการลดความแข็งของระบบการศึกษา เพื่อใหเกิดสิง่ ทีเ่ รียกวา "ความคิดริเริ่ม" และ "สรางสรรค"


วิวฒ ั นาการของเทคโนโลยีการศึกษา ชาวกรีกโบราณ ไดใชวัสดุและวิธีการในการสอนประวัติศาสตร และหนาที่ พลเมือง ดวย การแสดงละครเพื่อสรางเจตคติทางจรรยาและการเมือง ใชดนตรีเพื่อ สรางอารมณ และยังไดย้ําถึงความสําคัญของการศึกษานอกสถานที่ดวย นอกจากนี้การ สอนศิลปวิจักษในสมัยนั้นไดใชรูปปน และงานแกะสลักชวยสอน ซึ่งนับวาเปนการใช ทัศนวัสดุในการสอนแทนการปาฐกถาอยางเดียว


วิวฒ ั นาการของเทคโนโลยีการศึกษา เพลโต นักปราชญชาวกรีก ไดยา้ํ ถึงความสําคัญของคําพูดที่ใชกนั นัน้ วา เมื่อพูดไปแลวอะไรเปนความหมายที่อยู เบือ้ งหลังสิ่งนัน้ จึงไดกระตุน ใหใชวัตถุประกอบเพื่อชวยใหเขาใจไดดีขึ้น ฟรานซิส เบคอน (ค.ศ.1561‐1626) สนับสนุนวิธีใหม ๆ แบบ Realism คือหันมายึดวัตถุและความคิด โดยเสนอแนะวา การเรียนการสอนนัน้ ควรใหผูเรียนไดรูจักสังเกต พิจารณา เหตุผลในชีวิตจริง โดยครูเปนผูน าํ ใหนกั เรียนคิดหาวิธีแกปญหาซึ่งจะตองอาศัยการสังเกตพิจารณานัน่ เอง ไมใชครูเปนผูบ อกเสียทุกอยาง โจฮันน อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius ค.ศ.1592‐1670) เปนผูท ี่พยายามใช วัตถุ สิ่งของชวยในการสอนอยางจริงจัง จนไดรบั เกียรติวา เปนบิดาแหงโสตทัศนศึกษา คอมินอิ ุสไดแตงหนังสือ สําคัญ ๆ ไวมากมาย ที่สําคัญยิ่งคือ หนังสือ Obis Sensualium Pictus หรือ "โลกในรูปภาพ" ซึ่ง พิมพครั้งแรกในป ค.ศ.1685 เปนหนังสือที่ใชรูปภาพประกอบบทเรียน ถึง 150 ภาพ ซึ่งนับวาเปนการใชทัศน วัสดุประกอบการเรียนเปนครั้งแรก


วิวฒ ั นาการของเทคโนโลยีการศึกษา ธอรนไดค (thorndike) เปนนักจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกันที่ใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีทางการศึกษาประกอบหลักการทางจิตวิทยา โดยไดทดลองทางจิตวิทยาเกี่ยวกับ การตอบสนองของสัตวและมนุษย เขาไดออกแบบสื่อการสอน เพื่อใหตอบสนองเรื่องความ แตกตางระหวางบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่งการสอนแบบโปรแกรมจึงไดชื่อวา เปนคนแรกที่ ริเริ่มเทคโนโลยีการศึกษาแนวใหม บี เอฟ สกินเนอร (B.F.Skinner) เปนผูใชแนวความคิดใหมทางจิตวิทยาเกี่ยวกับสิ่ง เราและผลตอบสนองโดยคํานึงถึงธรรมชาติของมนุษย เขาไดทาํ การทดลองกับสัตวโดยฝกเปน ขั้น ๆ เปนผูที่มีชื่อเสียงในการสอนแบบโปรแกรม และเปนผูทคี่ ิดเครื่องชวยสอนไดเปน ผลสําเร็จเปนคนแรก แนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษาปจจุบนั ไดรากฐานมาจากแนวความคิด ของสกินเนอรเปนสวนมาก


ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยี การสอน สาขาวิชานี้ ไดเรียกทัง้ Educational Technology และ Instructional Technology ไดกลาวไว 2 ประการ คือ 1) คําวา Instructional Technology เปนคําที่มีความ เหมาะสมกับ Technology ในการอธิบายสวนประกอบของเทคโนโลยีได ครอบคลุมชัดเจนมากวา 2) คําวา Educational Technology มีความหมายโดยทั่วไป ที่ใชกับโรงเรียน หรือระบบ การศึกษา แตคําวา Instructional นั้นไม เพียงแตสอดคลองกับระบบการศึกษาเทานั้นแตยงั รวมถึงสถานการณการ ฝกอบรมไดเชนกัน


เทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) เทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) หมายถึง ทฤษฎีและการปฏิบัติในขอบขายทีเ่ กีย่ วของกับ การออกแบบ การ พัฒนา การใชการจัดการ และประเมินผล ของกระบวนการและแหลงการเรียน สําหรับการเรียนรู ดังจะเห็นความสัมพันธของขอบขายทัง้ 5 ไดแก การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การใช (Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน (Evaluation)


เทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) การออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการ และการประเมินสวนประกอบทั้ง 5 1. การออกแบบ (Design) แสดงใหเห็นถึงการสรางหรือกอใหเกิดทฤษฏีที่ กวางขวางที่สุดของเทคโนโลยีการสอน ในศาสตรทางการศึกษา 2. การพัฒนา (Development) ไดมีการเจริญกาวหนาและแสดงใหเห็นแนวทาง ในการปฏิบัติ 3. การใช (Utilization) ทางดานนี้ไมไดแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาดังเชน ดานทฤษฎีและการปฏิบัติ อยางไรก็ตามแมวาจะไดมีการดําเนินการกันมากเกี่ยวกับดานการ ใชสื่อการสอนกันมากมาย แตยังมีดานอื่น ๆ นอกเหนือจากการใชสื่อการสอนที่มิไดรับการใส ใจ 4. การจัดการ (Management) เปนดานที่เปนหลักสําคัญของสาขานี้ เพราะ จะตองเกี่ยวของกับแหลงการเรียนรู ที่จะตองสนับสนุนในทุกๆองคประกอบ ซึ่งจะตองมีการจัด ระเบียบและแนะนํา หรือการจัดการ 5. การประเมิน (Evaluation) ดานนี้จะเกี่ยวของกับการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation)


ขอบขายของของกระบวนการและแหลงการ เรียนรู กระบวนการ ในที่นี้ หมายถึง ลําดับของการปฏิบัตกิ ารหรือกิจกรรมที่มีผล โดยตรงตอเทคโนโลยีการสอน ประกอบดวยทั้งดานการออกแบบ และกระบวนการสง ขอมูลขาวสาร ความรู กระบวนการ หมายถึง ลําดับที่เกี่ยวของกับขอมูลปอนเขา (Input) การกระทํา (Action) และผล ซึ่งการวิจัยในปจจุบนั จะมุงเนนยุทธวิธี การสอนและความสัมพันธของรูปแบบการเรียนรูและสื่อ ยุทธวิธีการสอน (Instruction strategies) เปนวิธีการสําหรับการเลือกและจัดลําดับกิจกรรม ตัวอยางของกระบวนการเปนระบบการสง เชน การประชุมทางไกล (Teleconferencing) รูปแบบการสอน เชน การศึกษาอิสระ รูปแบบการสอน (Model of teaching) ไดแก การสอนแบบอุปนัย (Inductive) และ รูปแบบสําหรับการพัฒนาการสอน ไดแก การออกแบบระบบการสอน (Instructional system design) กระบวนการ (Process) สวนใหญ จะเปนลําดับขั้นตอนแตไมเสมอไป


ขอบขายของของกระบวนการและแหลงการ เรียนรู แหลงการเรียน (Resources) แหลงการเรียนรูเปนแหลงที่จะสนับสนุน การเรียนรูของผูเรียน รวมถึงสนับสนุนระบบ และวัสดุการสอนตลอดจนสิ่งแวดลอม สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา หรือวิชาเทคโนโลยีการสอน ไดพัฒนาและ เจริญกาวหนามาจากความสนใจเกี่ยวกับการใชสื่อการสอนและกระบวนการสื่อสาร แต แหลงการเรียนรูจะไมใชเพียงเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่ใชในกระบวนการเรียนรูและ การสอนเทานั้น แตยังรวมถึง บุคคล งบประมาณ สิ่งอํานวยความสะดวก ตลอดจนสิ่งที่ ชวยใหเกิดการเรียนรูเปนรายบุคคลได


การเรียนรู ( Learning) วัตถุประสงคของเทคโนโลยีการสอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลและสงผลตอการเรียนรู โดยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู และทําใหเกิดความกระจางชัดในการ เรียนรู เปนวัตถุประสงคของการสอน ซึ่งจะหมายถึงการเรียนรูนั่นเอง การเรียนรู เปน สิ่งที่มีหลักฐานเชิงประจักษเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรู ทักษะ และเจตคติ ที่เปน เกณฑในการสอนหรือในนิยามที่วา "การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอยางถาวร ในดานความรูของบุคคลหรือพฤติกรรม รวมถึงประสบการณตา งๆ


วิธีการ (Means) เปนกระบวนการและแหลงการเรียนรู (Process and resources) และวิธีระบบเปนขอบขายของ (1) การออกแบบ (2) การพัฒนา (3) การใช (4) การจัดการ (5) การประเมิน ซึ่งสิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นวา ความกาวหนาหรือทิศทางหรือแนวโนมของ เทคโนโลยี การสอนที่เคลื่อนไหวในสาขานี้ไดมุงไปสูทฤษฏีและการปฏิบัติ


เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รัฐตองจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนําและโครงสรางพื้นฐานอื่นที่จําเปนตอ การสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูป อื่น เพื่อใชประโยชนสําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษา ตามอัธยาศัย การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจําเปน รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพอื่น วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเรงรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมี การใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปดใหมี การแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม


เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให มีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มี คุณภาพ และ ประสิทธิภาพ


จัดทําโดย 1.นาย 2.นางสาว 3.นางสาว 4.นาย

ภากรณ เทพสวัสดิ์ 534144016 กัญญาภัส จันทอง 534144028 นฤมน อนทนะกูล 534144029 ชินพัฒน คุมญาติ 534144040 คบ.3 คอมพิวเตอรศึกษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.