สื่อกลางการสื่อสารข้อมูล

Page 1

Page |1

1. การสื่อสารข้ อมูล การสื่อสารข้ อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรื อแลกเปลี่ยนข้ อมูล กันระหว่างผู้สง่ และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรื อคอมพิวเตอร์ เป็ นตัวกลางใน การส่งข้ อมูล เพื่อให้ ผ้ สู ง่ และผู้รับเกิดความเข้ าใจซึง่ กันและกัน วิธีการส่ งข้ อมูล จะแปลงข้ อมูลเป็ นสัญญาณ หรื อรหัสเสียก่อนแล้ วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึง ปลายทางหรื อผู้รับก็จะต้ องมีการแปลงสัญญาณนัน้ กลับมาให้ อยู่ในรู ปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้ าใจได้ ใน ระหว่างการส่งอาจจะมีอปุ สรรค์ที่เกิดขึ ้นก็คือ สิ่งรบกวน (Noise) จากภายนอกทําให้ ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรื อผิดเพี ้ยนไปได้ ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้ อง ด้ วยเพราะถ้ าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะทําให้ เกิด สิ่งรบกวนได้ มากเช่นกัน จึงต้ องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวน เหล่านี ้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทําให้ เกิดการรบกวนน้ อยที่สดุ องค์ ประกอบขัน้ พืน้ ฐานของระบบ องค์ประกอบขันพื ้ ้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม แบ่งออกเป็ นส่วนประกอบได้ 5 องค์ประกอบ ดังต่อไปนี ้ 1. สาร (Message) 2. ผู้สง่ สาร (Sender) 3. ผู้รับสาร (Receiver) 4. ตัวกลาง (Medium) 5. ข้ อตกลงในการสื่อสาร (Protocol)

รูปองค์ ประกอบขัน้ พืน้ ฐานของระบบสื่อสาร


Page |2

2. การสื่อสารข้ อมูลในระดับเครือข่ าย โพรโทคอล (protocol) คือ ข้ อกําหนดหรื อข้ อตกลที่ใช้ ควบคุมการสื่อสารข้ อมูลในเครื อข่าย ไม่ว่าจะเป็ นการสื่อสาร ข้ อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ กบั อุปกรณ์อื่นๆเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์เครื อข่าย ที่ใช้ โพรโทคอลชนิด เดียวกันเท่านัน้ จึงจะสามารถติดต่อและส่งข้ อมูลระหว่างกันได้ โพรโทรคอลจึงมีลกั ษณะเช่นเดียวกับภาษา ภาษาที่ ใ ช้ ในการสื่ อ สารของมนุ ษ ย์ ที่ ต้ อ งใช้ ภาษาเดี ย วกั น จึ ง สาามารถสื่ อ สารกั น ได้ เข้ าใจ สําหรับในเครื อข่าย โพรโทคอลจะเป็ นตัวกําหนดลักษณะหรื อองค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ ในการสื่อสาร ไม่ ว่าจะเป็ นรูปแบบการแทนข้ อมูลวิธีการในการรับ-ส่งข้ อมูล รูปแบบสัญญาณรับ-ส่ง อุปกรณ์หรื อสื่อกลางในการ ส่งข้ อมูล การกําหนดหรื อการอ้ างอิงตําแหน่ง การตรวจสอบความผิดพลาดของข้ อมูล รวมถึงความเร็ วในการ รับ-ส่งข้ อมูล

OSI Model : (Open Systems Interconnection Model) มาตรฐานกลางที่ใช้ ในการส่งข้ อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ในระบบเครื อข่าย คือ มาตรฐาน OSI (Open Systems Interconnection Model) ซึง่ ทําให้ ทงคอมพิ ั้ วเตอร์ และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ สามารถเชื่อมโยงและ ใช้ งานในเครื อข่ายได้ จุดมุง่ หมายของการกําหนดมาตรฐาน OSI นี ้ขึ ้นมาก็เพื่อจัดแบ่งการดําเนินงานพื ้นฐาน ของเครื อข่ายและกําหนดหน้ าที่การทํางานในแต่ละชัน้ ซึง่ แบ่งออกได้ เป็ น 7 เลเยอร์ และในแต่ละเลเยอร์ ได้ มี การกําหนดหน้ าที่การทํางานไว้ ดงั ต่อไปนี ้


Page |3

1.เลเยอร์ ชัน้ Physical เป็ นชันล่ ้ างสุดของการติดต่อสื่อสาร ทําหน้ าที่สง่ -รับข้ อมูลจริ ง ๆ จากช่อง ทางการสื่อสาร (สื่อกลาง) ระหว่างคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่งกับคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่น ๆ มาตรฐานสําหรับเล เยอร์ ชนนี ั ้ ้จะกําหนดว่าแต่ละคอนเนคเตอร์ 2. เลเยอร์ ชัน้ Data Link จะเป็ นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรื อควบคุมความผิดพลาดในข้ อมูลโดยจะ แบ่งข้ อมูลที่จะส่งออกเป็ นแพ็กเกจหรื อเฟรม ถ้ าผู้รับได้ รับข้ อมูลถูกต้ องก็จะส่งสัญญาณยืนยันกลับว่าได้ รับ ข้ อมูลแล้ ว ้ ่ออกแบบหรื อกําหนดเส้ นทางการเดินทางของข้ อมูลที่สง่ -รับใน 3. เลเยอร์ ชัน้ Network เป็ นชันที การส่งผ่าน ข้ อมูลระหว่างต้ นทางและปลายทาง ซึง่ แน่นอนว่าในการสื่อสารข้ อมูลผ่านเครื อข่ายการสื่อสาร จะต้ องเส้ นทางการรับ-ส่งข้ อมูลมากกว่า 1 เส้ นทาง ดังนันเลเยอร์ ้ ชนั ้ Network นี ้จะมีหน้ าที่เลือกเส้ นทางที่ ใช้ เวลาในการสื่อสารน้ อยที่สดุ และระยะทางสันที ้ ่สดุ ด้ วย 4. เลเยอร์ ชัน้ Transport บางครัง้ เรี ยกว่า เลเยอร์ ชนั ้ Host-to-Host หรื อเครื่ องต่อเครื่ อง และจากเล เยอร์ ชนที ั ้ ่ 4 ถึงชันที ้ ่ 7 นี ้รวมกันจะเรี ยกว่า เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอร์ ชนั ้ Transport นี ้เป็ นการสื่อสาร กันระหว่างต้ นทางและปลายทาง (คอมพิวเตอร์ กบั คอมพิวเตอร์ ) กันจริง ๆ เลเยอร์ ชนั ้ Transport จะทําหน้ าที่ ตรวจสอบว่าข้ อมูลที่ส่งมาจากเลเยอร์ ชนั ้ Session นันไปถึ ้ งปลายทางจริ ง ๆ หรื อไม่ ดังนันการกํ ้ าหนด ้ ้ เนื่องจากจะต้ องรับรู้ว่าใครคือผู้สง่ และใครคือผู้รับ ตําแหน่งของข้ อมูล (Address) จึงเป็ นเรื่ องสําคัญในชันนี ข้ อมูลนัน้ 5. เลเยอร์ ชัน้ Session ทําหน้ าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้ งานกับคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่น ๆ โดยผู้ใช้ จะ ใช้ คําสัง่ หรื อข้ อความที่กําหนดไว้ ป้อนเข้ าไปใน ระบบ 6. เลเยอร์ ชัน้ Presentation ทําหน้ าที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมข้ อความ (Text) และแปลงรหัส หรื อแปลงรู ปของข้ อมูล ให้ เป็ นรูปแบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วยลดปั ญหาต่าง ๆ ที่ อาจจะเกิดขึ ้นกับผู้ใช้ งานในระบบ ั้ ดของรูปแบบ OSI ซึง่ เป็ นชันที ้ ่ใช้ ติดต่อกันระหว่าง 7. เลเยอร์ ชัน้ Application เป็ นเลเยอร์ ชนบนสุ ผู้ใช้ โดยตรง 3. ประเภทและรูปร่ างเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ ประเภทเครื อข่ายสามารถจําแนกออกได้ หลายประเภทแล้ วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะการ แลกเปลี่ยนข้ อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็ นต้ น โดยทัว่ ไปการจําแนกประเภทของเครื อข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ 1. LAN (Local Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับท้ องถิ่น เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้ งานอยู่ในบริ เวณที่ไม่กว้ างนัก อาจใช้ อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรื ออาคารที่ อยูใ่ กล้ กนั เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสํานักงาน คลังสินค้ า หรื อโรงงาน เป็ นต้ น การส่งข้ อมูล สามารถทําได้ ด้วยความเร็ วสูง และมีข้อผิดพลาดน้ อย ระบบเครื อข่ายระดับท้ องถิ่นจึงถูกออกแบบมา ให้ ช่วยลดต้ นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน และใช้ งานอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ร่วมกัน


Page |4

2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับเมือง เป็ นระบบเครื อข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใช้ ภายในเมืองหรื อ จังหวัดเท่านัน้ การเชื่อมโยงจะต้ องอาศัยระบบบริ การเครื อข่ายสาธารณะ จึงเป็ นเครื อข่ายที่ใช้ กบั ้ าด้ วยกัน เช่น ธนาคาร เครื อข่ายแวน องค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้ องการเชื่อมสาขาเหล่านันเข้ เชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็ วในการสื่อสารไม่สูง เนื่ องจากมีสญ ั ญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้ กบั เครื อข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้ วยช่องสัญญาณ ดาวเทียม เส้ นใยนําแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล 3. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครื อข่ายระดับประเทศ หรื อเครื อข่ายบริ เวณกว้ าง เป็ นระบบเครื อข่ายที่ติดตังใช้ ้ งานอยู่ในบริ เวณกว้ าง เช่น ระบบเครื อข่ายที่ติดตังใช้ ้ งานทัว่ โลก เป็ น เครื อข่ายที่ เชื่ อมต่อคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ ที่อยู่ห่างไกลกันเข้ าด้ วยกัน อาจจะต้ องเป็ นการ ติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ ามทวีปหรื อทัว่ โลกก็ได้ ในการเชื่อมการติดต่อนัน้ จะต้ องมีการต่อ เข้ ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรื อการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็ นการส่ง ข้ อมูลผ่านสายโทรศัพท์ ในการติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้ อมูลที่ ตํ่าและมีโอกาสเกิ ด ข้ อผิดพลาด การส่งข้ อมูลอาจใช้ อปุ กรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย รูปร่ างเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อเครื อข่ายมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะ แต่ลกั ษณะที่นิยมใช้ นนมี ั ้ อยู่ด้วยกัน 3 ลักษณะ ได้ แก่ 1. แบบดาว (Star Network) เป็ นลักษณะของการต่อเครื อข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้ าสู่ศนู ย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับ ตําแหน่งของเส้ นทางของข้ อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนันใน ้ โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์ จะติดต่อกันได้ ใน 1 ครัง้ ต่อ 1 คูส่ ถานีเท่านัน้ เมื่อสถานีใดต้ องการส่งข้ องมูลมันจะส่งข้ อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์


Page |5

ข้ อดี ติดตังและดู ้ แลง่าย แม้ วา่ สายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหนดจะขาด โหนดที่เหลืออยูก่ ็ยงั จะสามารถทํางานได้ ทําให้ ระบบเน็ตเวิร์ก ยังคงสามารถทํางานได้ เป็ นปกติ ข้ อเสีย เสียค่าใช้ จ่ายมาก ทังในด้ ้ านของเครื่ องที่จะใช้ เป็ น central node และค่าใช้ จ่ายในการติดตังสายเคเบิ ้ ลใน สถานีงาน การขยายระบบให้ ใหญ่ขึ ้นทําได้ ยาก เพราะการขยายแต่ละครัง้ จะต้ องเกี่ยวเนื่องกับโหนดอื่นๆ ทังระบบ ้ 2. แบบวงแหวน (Ring Network) ได้ ถกู ออกแบบให้ ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อรวมกันแบบเรี ยงลําดับเป็ นวงแหวน แล้ วจึงต่อ คอมพิวเตอร์ (PC) ที่เป็ น Workstation หรื อ Server เข้ ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไปได้ ถึง 8 สถานี เมื่อสถานีถดั ไปนันรั ้ บรู้วา่ ต้ องรับข้ อมูล แล้ วมันจึงส่งข้ อมูลกลับ เป็ นการตอบรับ เมื่อสถานีที่จะส่งข้ อมูล ได้ รัยสัญญาณตอบรับ แล้ วมันจึงส่งข้ อมูลครัง้ แรก แล้ วมันจะลบข้ อมูลออกจากระบบ เพื่อให้ ได้ ใช้ ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป

ข้ อดี ใช้ เคเบิลและเนื ้อที่ในการติดตังน้ ้ อย คอมพิวเตอร์ ทกุ เครื่ องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้ อมูลได้ อย่างทัดเทียมกัน ข้ อเสีย หากโหนดใดโหนดหนึง่ เกิดปั ญหาขึ ้นจะค้ นหาได้ ยากว่าต้ นเหตุอยูท่ ี่ไหน และวงแหวนจะขาดออก


Page |6

3. แบบบัส (Bus Network) เป็ นลักษณะของการนําเครื่ องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อ เป็ นระบบเครื อข่าย ด้ วยสายเคเบิลยาว ต่อเนื่องกันไปเรื่ อย ๆ โดยมีคอนเน็คเตอร์ ในการเชื่อมต่อ โดยลักษณะของการส่งหรื อรับข้ อมูล จะเป็ นการส่ง นเครื ้ ่ องปลายทาง ก็จะส่งสัญญาณข้ อมูลกลับมา ข้ อมูล ทีละเครื่ องในช่วงเวลาหนึง่ ๆ เท่านันจากนั ้

ข้ อดี ไม่ต้องเสียค่าใช้ จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก สามารถขยายระบบได้ ง่าย เสียค่าใช้ จ่ายน้ อย ข้ อเสีย อาจเกิดข้ อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่ องคอมพิวเตอร์ ดต่อยูบ่ นสายสัญญาณเพียงเส้ นเดียว ดังนันหากมี ้ การขาดที่ตาํ แหน่งใดตําแหน่งหนึง่ ก็จะทําให้ เครื่ องอื่นส่วนใหญ่หรื อทังหมดในระบบไม่ ้ สามารถใช้ งานได้ ตาม ไปด้ วย 4. สื่อกลางในการสื่อสารข้ อมูล ตัวกลางหรื อสายเชื่อมโยง เป็ นส่วนที่ทําให้ เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ตา่ งๆ เข้ าด้ วยกัน และ อุปกรณ์ นี ้ยอมให้ ขา่ วสารข้ อมูลเดินทางผ่าน จากผู้สง่ ไปสูผ่ ้ รู ับ สื่อกลางที่ใช้ ในการสื่อสารข้ อมูลมีอยู่ 2 แบบ คือ สื่อกลางประเภทมีสาย และสื่อกลางประเภทไม่ มีสาย สื่อกลางประเภทมีสาย ทีน่ ิยมใช้ ปัจจุบัน มี 3 ประเภทได้ แก่ 1. สายคู่บดิ เกลียวแบบมีชีลต์ และไม่ มีชีลต์ (Shielded and UnShielsed Twisted-Pair Cable) เป็ นสายที่มีราคาถูกที่สดุ ประกอบด้ วยสายทองแดงที่มีฉนวนหุ้มจํานวน 2 เส้ น นํามาพันกันเป็ นเกลียว สามารถลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้ โดยปกติแล้ วสายคูบ่ ติ เกลียวจะ หมายถึง สายคูบ่ ิด เกลียวแบบไม่มีชีลด์ (UTP) ซึง่ ใช้ ในการเดินสายโทรศัพท์และใช้ ในระบบเครื อข่ายระยะใกล้ ส่วนมาก ในขณะที่ สายคูบ่ ิดเกลี่ยวแบบมีซิลด์ (STP) จะมีฉนวนโลหะหุ้มอยู่ภายนอกอีกชันหนึ ้ ่ง ทําให้ สามารถ ป้งอันสัญญาณรบกวนได้ ดีขึ ้น สายเกลียวคู่หนึ่งคู่จะแทนช่องทางการสื่อสาร (channel) เพื่อให้ สามารถใช้ งานได้ พร้ อม ๆ กัน ตัวอย่าง เช่น ระบบสายโทรศัพท์


Page |7

2. สารโคแอกเซียล (Coaxial Cable) มันเรี ยกสัน้ ๆ ว่า สายโคแอก จะเป็ นสายสื่อสารที่สามรถส่งข้ อมูลไกลกว่าสายแบบคูบ่ ิดเกลียว แต่มี ข้ อเสี ย คือราคาสูง กว่า ลักษณะของสายโคแอกจะประกอบด้ ว ยส่ว นของสายส่ง ข้ อมูลที่ เ ป็ น ้ งหุ้ม ลวดทองแดงหุ้มด้ วยฉนวนอยู่ตรงกลาง จากนันจะหุ ้ ้ มด้ วยตัวนําเพื่อเป็ นสายกราวนด์จากนันจึ ด้ วยฉนวนเป็ นเปลือกนอกอีกชันหนึ ้ ง่ 3. สายใยแก้ วนําแสง (Fiber Optic Cable) สายใยแก้ วนําแสงจะประกอบด้ วยใยแก้ วหรื อพลาสติกอยูต่ รงกลางของสาย และใช้ ใยแก้ วอีกชนิดหนึ่ง เป็ น ตัวหุ้ม (cladding) และหุ้มด้ วยฉนวนในชันนอกสุ ้ ด ซึง่ ใยแก้ วชันนอกจะทํ ้ าหน้ าที่เหมือนกระจกที่ สะท้ อนสัญญาณแสงให้ สะท้ อนไปมาภายในใยแก้ วที่เป็ นแกนกลางจากจุดเริ่ มต้ นจนถึงจุดปลายทาง สายใยแก้ วจะมีแบนด์วิธที่กว้ างมาก ทําให้ สามารถส่งข้ อมูลปริมาณมากได้ ด้วยความเร็วสูง นอกจากนี ้ ยังส่งข้ อมูลได้ ในระยะทางที่ไกลกว่าและปลอดจากรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สื่อกลางประเภทไม่ มีสาย ทีน่ ิยมใช้ ปัจจุบัน มี 2 ประเภทได้ แก่ 1. ระบบไมโครเวฟ (Micorwave system) ระบบไมโครเวฟใช้ วิธีสง่ สัญญาณที่มีความถี่สงู กว่าคลืน่ วิทยุเป็ นทอด ๆ จากสถานีหนึง่ ไปยังอีกสถานี หนึง่ บ่อยครัง้ ที่สญ ั ญาณของไมโครเวฟจะถูกเรี ยกว่าสัญญาณแบบ เส้ นสายตา (Line of sight) เนื่องจากสัญญาณเดินทางที่สง่ จากสถานีหนึง่ ไปยังอีกสถานีหนึง่ จะไปได้ ไม่ไกลกว่าเส้ นขอบฟ้าโลก เพราะสัญญาณเดินทางเป็ นเส้ นตรงนัน่ เอง ดังนันสถานี ้ จะต้ องพยายามอยูใ่ นที่ ๆ สูงเพื่อช่วยให้ สง่ สัญญาณไปได้ ไกลขึ ้นและลดจํานวนสถานนีที่จําเป็ นต้ องมี โดยปกติแล้ วสถานีหนึง่ จะครอบคลุมพื ้นที่ รับสัญญาณได้ ประมาณ 30 - 50 กม. 2. ระบบดาวเทียม (Satellite Systems) ระบบดาวเทียมจะคล้ ายกับระบบไมโครเวฟในส่วนของการใช้ หลักการยิงสัญญาณจากแต่ละสถานี ต่อกันไปยังจุดหมายที่ต้องการ แต่ในที่นี ้จะใช้ ดาวเทียมที่ลอยอยูเ่ หนือพื ้นโลก 36000 กม. เป็ นสถานี ในการยิงสัญญาณไปยังจุดหมายที่ต้องการ ซึง่ จากการที่ดาวเทียมลอยอยูส่ งู มากนี่เองทําให้ สามารถ ใช้ ดาวเทียมซึง่ ลอยอยูใ่ นพิกดั ที่แน่นอนเพียง 3 ดวง ก็สง่ สัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดในโลกได้


Page |8

5. ประเภทของช่ องทางการส่ งข้ อมูล ประเภทของช่องทางการสื่ อสารข้อมูลแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทคือ 1. แบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) เป็ นการติดต่อทางเดียว เมื่ออุปกรณ์หนึ่งส่งข้ อมูล อุปกรณ์อีกชุดจะต้ องเป็ นฝ่ ายรับข้ อมูล เสมอ ตัวอย่างการใช้ งานเช่น ในระบบสนามบิน คอมพิวเตอร์ แม่จะทําหน้ าที่ตดิ ตามเวลาขึ ้นและลงของ เครื่ องบิน และส่งผลไปให้ มอนิเตอร์ ที่วางอยูห่ ลาย ๆ จุดให้ ผ้ โู ดยสารได้ ทราบข่าวสาร คอมพิวเตอร์ แม่ทํา หน้ าที่เป็ นผู้สง่ ข้ อมูล มอนิเตอร์ ตา่ ง ๆ ทําหน้ าที่เป็ นผู้รับข้ อมูล ไม่มีการเปลี่ยนทิศทางของข้ อมูล เป็ น การส่งข้ อมูลแบบทางเดียว

2. แบบฮาฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex) เป็ นการติดต่อกึ่งสองทาง เป็ นการเปลี่ยนเส้ นทางในการส่งข้ อมูลได้ แต่คนละเวลากล่าวคือ ข้ อมูลจะไหลไปในทิศทางเดียว ณ เวลาใด ๆ ตัวอย่างการใช้ งานเช่น การติดต่อระหว่าง เทอร์ มินลั กับ คอมพิวเตอร์ แม่ ผู้ใช้ ที่เทอร์ มินลั เคาะแป้นเพื่อสอบถามข้ อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ แม่ ต้ องใช้ เวลาชัว่ ขณะ คอมพิวเตอร์ แม่จงึ จะส่งข่าวสารกลับมาที่เทอร์ มินลั นัน้ ไม่ว่าจะเป็ นเทอร์ มินลั นัน้ ไม่ว่าจะเป็ นเทอร์ มินลั หรื อคอมพิวเตอร์ แม่ เมื่ออุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งเป็ นผู้ส่งข้ อมูล อุปกรณ์ที่เหลือก็จะเป็ นผู้รับข้ อมูลใน เวลาขณะนัน้


Page |9

3. แบบฟลูดเู พล็กซ์ (Full Duplex) เป็ นการติดต่อสองทาง เป็ นติดต่อกันได้ สองทาง กล่าวคือเป็ นผู้รับข้ อมูลและผู้สง่ ข้ อมูล ในเวลา เดียวกันได้ ตัวอย่างการใช้ งานเช่น การติดต่อระหว่างเทอร์ มินลั กับคอมพิวเตอร์ แม่ บางชนิดที่ไม่ต้องใช้ เวลารอสามารถโต้ ตอบได้ ทนั ที หรื อการพูดคุยทางโทรศัพท์ เป็ นต้ น


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.