การศึกษาการบริหารความเสี่ยงของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง _ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปั ญหาพิเศษ การศึกษาการบริหารความเสี่ยงของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง กรณีศกึ ษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) Case study of frozen seafood industry’s risk management, Charoen Pokphand Foods Co.,Ltd.

โดย นางสาวกฤตยพร นางสาวธัญชนก นางสาวรวิวรรณ นางสาวสวรส

บูชาชาติ สีหาโม้ จิตต์อนงค์ โรซาร์ พทิ กั ษ์

รายงานผลการศึกษานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555



การศึกษาการบริหารความเสี่ยงของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง กรณีศกึ ษา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) Case study of frozen seafood industry’s risk management, Charoen Pokphand Foods Co.,Ltd.

โดย นางสาวกฤตยพร นางสาวธัญชนก นางสาวรวิวรรณ นางสาวสวรส

บูชาชาติ สีหาโม้ จิตต์อนงค์ โรซาร์ พทิ กั ษ์

5230110058 5230110350 5230110716 5230110864

รายงานผลการศึกษานี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(1)

บทคัดย่ อ ชื่อเรื่ อง :

การศึกษาการบริ หารความเสีย่ งของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง กรณีศกึ ษา บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) ชื่อผู้จดั ทา : นางสาวกฤตยพร บูชาชาติ นางสาวธัญชนก สีหาโม้ นางสาวรวิวรรณ จิตต์อนงค์ นางสาวสวรส โรซาร์ พิทกั ษ์ ปี การศึกษา : 2555 อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์พีรญา พงษ์ ปรสุวรรณ์ การศึกษาและจัดทาปั ญหาพิเศษในครั ง้ นี ้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทาการศึกษาการบริ หาร ความเสีย่ งของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง กรณีศึกษา บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) โดยเก็ บรวบรวมข้ อมูลจากขันทุ ้ ติยภูมิที่เกี่ ยวข้ อ งกับ การควบคุมภายใน การบริ หาร ความเสีย่ ง อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รายงาน 56-1 ของบริ ษัท และรายงานประจาปี ผลการศึกษาพบว่า บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อ าหาร จากัด (มหาชน) ได้ ประกอบธุรกิ จ การค้ าระหว่างประเทศ โดยการลงทุนในลักษณะของบริ ษัทย่อยเพื่อทาการผลิตและจัดจาหน่าย ภายในประเทศนันๆและประเทศใกล้ ้ เคียง โดยการค้ าระหว่างประเทศจะต้ องมีปัจจัยความเสี่ยงใน เรื่ องของอัตราแลกเปลีย่ นและปั จจัยอื่นๆเข้ ามาเกี่ยวข้ อง สามารถแบ่งความเสีย่ งของบริ ษัทโดยใช้ โอกาสที่จะเกิดความเสีย่ งเป็ นตัวกาหนดระดับของความเสีย่ งได้ ดงั ต่อไปนี ้ ความเสี่ยงของบริ ษัทที่ อยู่ในระดับสูงได้ แก่ ความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์ ขององค์กร ความเสี่ยงด้ านความแปรปรวนของ ภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ประสิทธิ ภาพในการ บริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์ ความ ผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความเสี่ยงด้ านกฎหมายและระเบียบทางการค้ า ความผันผวนของการแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย การเกิดโรค ระบาดต่างๆในสัตว์ และความเสี่ยงของบริ ษัทที่อ ยู่ในระดับปานกลางได้ แก่ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของผู้บริ โภค ความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า ซึง่ บริ ษัทมีการกาหนดแนวทางการ


(2) บริ หารความเสีย่ งที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อเป็ นแผนรองรับและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นให้ อยู่ใน ระดับที่บริ ษัทยอมรั บได้ ประกอบกับวิกฤตการณ์ อ าหารโลกที่จะส่งผลต่อ อุตสาหกรรมอาหาร ทะเลแช่แข็งอยูใ่ นระดับต่า จึงทาให้ บริ ษัทได้ รับผลกระทบเพียงเล็กน้ อยจากสถานการณ์ ดงั กล่าว อีกทังบริ ้ ษัทมีการตังวิ ้ สยั ทัศน์ ”ก้ าวสูค่ รัวโลก” เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ในด้ านคุณค่า รสชาติ และความปลอดภัยที่สามารถตรวจสอบย้ อนกลับได้ และบริ ษัทมีความมุ่งมัน่ ที่จะดาเนินธุรกิจด้ วย ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้ อม รวมทังมุ ้ ่งเน้ นการเติบโตขององค์กรอย่างยัง่ ยืน


(3)

กิตติกรรมประกาศ การจัดท ารายงานวิ ช าปั ญหาพิ เศษฉบับ นี ้ ส าเร็ จ ลุล่วงไปด้ ว ยความกรุ ณาและการ อนุเคราะห์ช่วยเหลือจาก อาจารย์พีรญา พงษ์ ปรสุวรรณ์ ที่กรุ ณาให้ คาปรึ กษาและชี ้แนะแนวทาง รวมไปถึงการแก้ ไขข้ อบกพร่ องรายงานปั ญหาพิเศษฉบับนี ้มาโดยตลอด คณะผู้ศึกษาขอกราบ ขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี ้ รวมทังขอกราบขอบพระคุ ้ ณอาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิ์ ประสาทวิชาแขนงต่างๆให้ คณะผู้ศกึ ษาได้ เรี ยนรู้และประสบความสาเร็ จในที่สดุ ขอขอบคุณ พี่ ๆ เพื่ อ นๆ นิ สิต ที่ช่ ว ยเป็ นที่ ป รึ กษาและให้ ก ารสนับ สนุน ในเรื่ อ งต่า งๆ รวมถึงกาลังใจ ซึง่ ทาให้ การจัดทาปั ญหาพิเศษฉบับนี ้สาเร็ จ สุดท้ ายนี ้ทางคณะผู้ศกึ ษาขอขอบพระคุณและระลึกอยู่เสมอว่าจะไม่มีความสาเร็ จใดๆ ในชีวิตของคณะผู้ศกึ ษา หากปราศจากความรั ก ความเข้ าใจ และกาลังใจจากบุคคลที่มีพระคุณที่ คอยให้ การสนับสนุนการศึกษาของคณะผู้ศึกษามาโดยตลอด ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาหาความรู้แก่คณะผู้ศกึ ษา คณะผู้ศึกษาหวังว่าปั ญหาพิเศษฉบับนี ้ จะสามารถสร้ างประโยชน์ไม่มากก็น้อยให้ กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ตลอดจนผู้ที่ต้องการศึกษารายละเอี ยดเกี่ยวกับการบริ หารความเสี่ยงของ อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง หากรายงานปั ญหาพิเศษฉบับนี ้มี ข้อผิดพลาดหรื อ ข้ อบกพร่ อ ง ประการใด คณะผู้ศกึ ษาขออภัยเป็ นอย่างสูงมา ณ ที่นี ้ด้ วย

คณะผู้ศกึ ษา กุมภาพันธ์ 2556


(4)

สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ

(1) (3) (4) (6) (7)

บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับจากการศึกษา วิธีการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพท์

1 3 3 4 4 4

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ อง แนวคิดเกี่ยวกับวิกฤตการณ์อาหารโลก แนวคิดเกี่ยวกับการค้ าระหว่างประเทศ แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน แนวคิดเกี่ยวกับการบริ หารความเสีย่ ง แนวคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง ผลงานวิจยั และเอกสารที่เกี่ยวข้ อง บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศึกษา ประวัติความเป็ นมา การควบคุมภายใน การบริ หารความเสีย่ ง

6 43 48 70 84 97

101 103 122


(5)

สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศึกษา (ต่ อ) การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน มาตรฐานการผลิต

130 133

บทที่ 4 ผลการศึกษา การค้ าระหว่างประเทศ การบริ หารความเสีย่ ง ความมัน่ คงทางอาหารและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน มาตรฐานการผลิต

135 136 154 155

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ การค้ าระหว่างประเทศ การบริ หารความเสีย่ ง วิกฤตการณ์อาหารโลก แนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ข้ อเสนอแนะ ข้ อเสนอในการศึกษาครัง้ ต่อไป

158 158 161 161 161 162

เอกสารอ้ างอิง


(6)

สารบัญตาราง ตารางที่

หน้ า

2-1

การจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ ง

80

2-2

เครื่ องชี ้ที่สาคัญ ปี 2550-2554

95

3-1

โครงสร้ างรายได้ ของซีพีเอฟและบริ ษัทย่อย

121

4-1

การระบุความเสีย่ ง

142

4-2

การจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ ง

145

4-3

การจัดการความเสีย่ ง

151


(7)

สารบัญภาพ ภาพที่

หน้ า

2-1

โครงสร้ างการควบคุมภายในตามแนว COSO

54

2-2

ปริ มาณการส่งออกสินค้ าประมงของไทยรายเดือนปี 2553 และ 2554

89

2-3

มูลค่าการส่งออกสินค้ าประมงของไทยไปประเทศนาเข้ าหลัก ปี 2539-2554

91

2-4

มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ และทูนา่ ปรุงแต่งของไทย ปี 2539-2554

93

2-5

ปริ มาณและมูลค่าการส่งออกหมึกแช่เย็นแช่แข็งของไทย ปี 2539-2554

93

3-1

โครงสร้ างการจัดการ

103

3-2

โครงสร้ างธุรกิจ

111

3-3

โครงสร้ างการประกอบกิจการครบวงจร

120


1

บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ วิ ก ฤตการณ์ อ าหารโลกเริ่ ม เกิ ด ขึ น้ ตั ง้ แต่ ปี พ .ศ.2550 มี ส าเหตุ เ นื่ อ งมาจากการ เปลี่ยนแปลงทางด้ านราคาของอาหารภายในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ ในหลายๆ ด้ านของ ประเทศที่กาลังเผชิญปั ญหานี ้ อาทิเช่น ความไม่มนั่ คงทางด้ านการเมืองและความไม่มีเสถียรภาพ ทางด้ านเศรษฐกิจ เป็ นต้ น โดยสาเหตุหลักที่แท้ จริ งของปั ญหาที่เกิดขึ ้นคือ การเปลี่ยนแปลงด้ าน สภาพภูมิอากาศที่เป็ นปั ญหาต่อการเพาะปลูก การลดลงของเชื ้อเพลิงทางธรรมชาติที่ไม่สามารถ ทดแทนได้ การเพิ่ม ขึน้ ของประชากรโลก สาเหตุต่างๆ ของปั ญหาเหล่านี ล้ ้ วนแล้ วมาจากการ กระทาที่เห็นแก่ประโยชน์สว่ นตนมากกว่าผลกระทบที่จะเกิดขึ ้นกับส่วนรวม และผลที่เกิด ขึ ้นจาก การกระท าดังกล่า วนีก้ ็ ย้อนกลับมาส่ง ผลต่อ การดารงชี วิตของมนุษย์ ในปั จ จุบัน จากสาเหตุที่ เกิดขึ ้นทาให้ หลายๆ ประเทศมี ความวิตกกังวลเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ นี ้และกาลังหาวิธีแก้ ไขวิกฤต การขาดแคลนอาหารโดยการร่ วมมือกันในหลายๆ ด้ าน และการค้ าระหว่างประเทศก็เป็ นวิธีหนึ่ ง ในการแก้ ปั ญ หา กล่า วคื อ การค้ า ระหว่า งประเทศเป็ นการกระจายอาหารจากประเทศที่ มี ทรัพยากรในการผลิต ไปยังประเทศที่ขาดแคลน การค้ าระหว่างประเทศเป็ นการซื ้อขายแลกเปลีย่ นสินค้ าและบริ การระหว่างประเทศหนึ่ง กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งถือเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญในการสร้ างความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ เกิด การขยายตัวในการผลิตสินค้ าภายในประเทศเพื่อทาการส่งออก เกิดการจ้ างงาน และสามารถใช้ ทรัพยากรในการผลิตได้ อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ เกิดการประหยัดต่อขนาดในการผลิต เนื่องจาก แต่ ล ะประเทศเลื อ กผลิ ต สิ น ค้ าที่ ต นเองมี ค วามถนั ด และสามารถจั ด หาวั ต ถุ ดิ บได้ ง่ า ย ภายในประเทศ อาหารแช่แข็งเข้ ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของมนุษย์มากขึ ้นเรื่ อยๆ เนื่องจากสภาพ สังคมที่เปลีย่ นแปลงไปชีวิตของผู้คนอยู่บนพื ้นฐานของความเร่ งรี บ จึงอาศัยอาหารแช่แข็งในการ ดารงชีวิตเพื่อเป็ นการประหยัดเวลาอีกทางหนึ่ง ผู้บริ โภคบางคนอาจไม่มั่นใจในอาหารที่ผ่านการ


2 เยือกแข็งเพราะมีความกลัวว่าอาจจะมีสารเคมี เข้ าเจื อปนหรื อตกค้ างในระหว่างการผลิต แต่ใน ความเป็ นจริ งนันผู ้ ้ บริ โภคอาจเคยบริ โภคอาหารที่ผา่ นการเยือกแข็งโดยบางคนอาจไม่ร้ ู เลยด้ วยซ ้า ว่าตนเองกาลัง บริ โ ภคอาหารแช่แ ข็งอยู่ อย่างเช่นมัน ฝรั่ ง ทอดที่ขายตามร้ านอาหารฟาสต์ ฟ้ ู ด โดยทั่ว ไป นั่น คื ออาหารแช่แ ข็ ง อี ก ชนิด หนึ่งที่ มี ก ารบริ โภคในปั จ จุบัน การแช่ แ ข็ งอาหารยัง มี ประโยชน์สาหรับการขนส่งออกต่างประเทศเพื่อเป็ นการถนอมและรั กษาคุณภาพของอาหารให้ คงที่ตลอดการเดินทางที่ทาการขนส่งจากที่หนึง่ ไปยังอีกที่ หนึ่งที่ต้องใช้ ระยะเวลาในการขนส่งโดย ที่อาหารยังคงคุณค่าและพร้ อมสาหรับการบริ โภคหากมองในเชิงธุรกิจแล้ ว อุตสาหกรรมอาหารแช่ แข็งยังมีโอกาสขยายตัวอีกมากทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็งมี อัตราการเติบโตอยูใ่ นระดับสูง โดยเฉพาะตลาดต่างประเทศมีความคุ้นเคยและมีการเปิ ดกว้ างที่จะ รับอาหารแช่แข็งที่มีรสชาติและคุณภาพที่ดีอยูแ่ ล้ ว ซึง่ ประเทศไทยมีความถนัดในเรื่ องของการผลิต อาหารทะเลแช่ แ ข็ ง เนื่ อ งจากสภาพภู มิ ป ระเทศของไทยเป็ นประเทศที่ อ ยู่ ติ ด กั บ ทะเลจึ ง มี ความสามารถในการทาประมง ปั จจุบันธุ รกิ จที่มีการส่งออกผลิต ภัณฑ์ อาหารแช่แข็ง ต้ อ งเผชิ ญกับปั ญหาในหลาย ๆ ด้ าน เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศและการเปลี่ยนแปลงด้ านเทคโนโลยีที่เกิดขึ ้นอย่าง รวดเร็ ว ทาให้ ธุรกิจต้ องมี การปรั บเปลี่ยนกลยุทธ์ ในการปฏิบัติงานใหม่ และในการทางานด้ าน ต่างๆนันย่ ้ อมมีความเสีย่ งจากการบริ หารเข้ ามาเกี่ ยวข้ อง ดังนันจึ ้ งต้ องมีเครื่ องมือที่เข้ ามาควบคุม หรื อ จัดการบริ หารความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่สามารถยอมรั บได้ ระบบการควบคุมภายในเป็ น เครื่ องมือสาคัญที่เข้ ามามีบทบาทในการบริ หารงาน เป็ นปั จจัยพื ้นฐานของกระบวนการกากับดูแล การดาเนินงานในด้ านต่างๆ หลักแนวคิดการควบคุมภายใน (COSO) เป็ นหลักแนวคิดหนึ่งของ การควบคุมภายในที่เป็ นบรรทัดฐานการควบคุมภายในที่นามาใช้ กันอย่างแพร่ หลายในองค์กรที่ เป็ นทังภาครั ้ ฐและภาคเอกชน เพื่อให้ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผล ทาให้ การใช้ ทรั พยากรเป็ นไปอย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยลดขันตอนการปฏิ ้ บตั ิงานที่ซ ้าซ้ อ น หรื อไม่จาเป็ น เป็ นการบริ หารความเสี่ยงหรื อลดผลเสียหายด้ านการเงินหรื อด้ านอื่น ๆ ที่อาจมีขึ ้น ในหน่วยงาน ซึง่ จะช่วยลดต้ นทุนการดาเนินงาน แก่หน่วยงานในที่สดุ หากหน่วยงานใดขาดการไม่ มีการกากับดูแลและการบริ หารความเสีย่ งที่ดี ทาให้ ไม่สามารถใช้ ทรัพยากรของหน่วยงานเป็ นไป อย่า งมี ป ระสิท ธิ ภ าพ ย่อ มส่ง ผลกระทบต่อ ต้ น ทุน ในการด าเนิ น งาน ซึ่ง สาเหตุดัง กล่า ว จะมี ผลกระทบต่อราคาของสินค้ า อย่างแน่นอน นัน่ แสดงให้ เห็นว่าการควบคุมภายในและการบริ หาร


3 ความเสีย่ งของกิจการที่ดีเป็ นสิง่ สาคัญที่สง่ ผลให้ ลดต้ นทุนในการดาเนินงาน และยังมีผลต่อราคา ของสินค้ าที่เป็ นปั จจัยสาคัญต่อการตัดสินใจในการเลือกซื ้อผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็ง ดัง นัน้ จากปั ญ หาเกี่ ย วกับ การเปลี่ย นแปลงสภาพภูมิ อ ากาศและการเปลี่ย นแปลง ทางด้ านเทคโนโลยีที่เกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ วนัน้ คณะผู้ศึกษาจึงเห็นถึงความสาคัญของปั ญหาที่เกิด ขึ ้นกับอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็งของไทย เป็ นหัวเรื่ องที่น่าสนใจและควรนามาศึกษา เพื่อให้ เข้ าใจเกี่ ยวกับโครงสร้ างในการประกอบธุ รกิจ ผลการดาเนินงาน การดาเนินงานการค้ าระหว่าง ประเทศ ลักษณะการควบคุมภายในของกิจการและการบริ หารความ โดยนาเอาบริ ษัท เจริ ญโภค ภัณฑ์อาหาร จ ากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษัทกรณีศึกษา เนื่องมาจาก บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษัทที่สะท้ อนให้ เห็นถึงลักษณะการทาธุรกิจที่เป็ นทังผู ้ ้ ผลิตและจัดจาหน่าย อาหารแช่แข็งที่มีความหลากหลายได้ เป็ นอย่างดี เพื่อ เป็ นแนวทางและประโยชน์ ต่อ การบริ หาร จัดการปั ญหาวิกฤตการณ์ทางอาหารของธุรกิจอาหารทะเลแช่แข็งในประเทศไทย วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษาการดาเนินงานทางด้ านการค้ าระหว่างประเทศของอุตสาหกรรมอาหาร แช่แข็งบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) 2. เพื่อศึกษาการบริ หารความเสี่ยงเพื่อ ให้ เข้ าใจถึงสถานการณ์ ปัจจุบันของบริ ษั ท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) 3. เพื่อศึกษาแนวทางจัดการปั ญหาวิกฤตการณ์ ทางอาหารของอุตสาหกรรมอาหาร ทะเลแช่แข็งของ บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) ประโยชน์ ท่ คี ำดว่ ำจะได้ รับจำกกำรศึกษำ 1. ทาให้ ท ราบข้ อ มูล เกี่ ยวกับ การด าเนิ นงานทางด้ า นการค้ าระหว่า งประเทศของ อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็งของบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)


4 2. ทาให้ ทราบข้ อมูลเกี่ยวกับการบริ หารความเสีย่ งเพื่อให้ เข้ าใจถึงสถานการณ์ปัจจุบนั ของบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) 3. นาข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษามาใช้ เป็ นแนวทางจัดการปั ญหาวิกฤตการณ์ทางอาหาร 4. นาข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษามาใช้ เพื่อ ประกอบการตัดสินใจสาหรับผู้ประกอบการ ส่งออกอาหารทะเลแช่แข็งในการขยายตลาดไปสูป่ ระเทศต่าง ๆ วิธีกำรศึกษำ การศึกษาการบริ หารความเสี่ยงของบริ ษัทกรณี ศึกษา บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์ อาหาร จากัด (มหาชน) มีวิธีการศึกษาและค้ นคว้ าข้ อมูลจาก ข้ อมูลระดับทุติยภูมิ (Secondary Level) ซึ่ง เป็ นข้ อมูลที่ได้ มาจากการค้ นคว้ าและเก็ บรวบรวมมาจากหนังสือ เว็บไซด์ ข้ อ มูลผลงานวิจัยที่ เกี่ยวข้ อง และเอกสารของบริ ษัท ขอบเขตของกำรศึกษำ ขอบเขตของการศึกษา คือ ศึกษาการดาเนิน งานของบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์ อ าหาร จากัด (มหาชน) ด้ านการค้ าระหว่างประเทศ ศึกษาการบริ หารความเสี่ยงของบริ ษัท และศึกษาหา แนวทางการบริ หารจัดการแก้ ปัญหาวิกฤตการณ์อาหาร นิยำมศัพท์ การศึกษาครัง้ นี ้ ได้ ใช้ คาศัพท์เฉพาะโดยมีความหมายสาหรับใช้ ในการศึกษา ดังต่อไปนี่ กำรค้ ำระหว่ ำงประเทศ (International Trade) หมายถึง การแลกเปลี่ยนสินค้ าและ บริ การระหว่างประเทศหนึ่งกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก การค้ าระหว่างประเทศเกิดขึ ้นได้ เนื่องจาก ภูมิอากาศของแต่ละประเทศในโลกนี ้ไม่เหมือนกัน จึงทาให้ ทรัพยากรธรรมชาติของแต่ละประเทศ ไม่เหมือนกัน วัตถุดิบและปั จจัยการผลิตมีจานวนไม่เท่ากัน เป็ นเหตุให้ ต้นทุนในการผลิตแตกต่าง กัน ทาให้ ความชานาญในการผลิตสินค้ าและบริ การแตกต่างกัน


5 กำรควบคุมภำยใน (Internal Control) หมายถึง กระบวนการที่คณะผู้บริ หารและ บุคลากรในองค์กรกาหนดขึ ้นซึ่งเป็ นการออกแบบในระดับที่สมเหตุส มผลเพื่อให้ เกิดความเชื่อมั่น ในการบรรลุวตั ถุประสงค์ กำรบริ หำรควำมเสี่ยง (Risk Management) หมายถึง การบริ หารปั จจัยและควบคุม กิจกรรมรวมทังกระบวนการการด ้ าเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละโอกาสที่องค์กรจะเกิดความ เสียหาย เพื่อให้ ได้ ระดับของความเสีย่ งและขนาดของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ ้นในอนาคตอยู่ในระดับ ที่ อ งค์ ก รรั บ ได้ ประเมิ น ได้ ควบคุม ได้ และตรวจสอบได้ อ ย่า งมี ร ะบบโดยค านึง ถึ ง การบรรลุ วัตถุประสงค์หรื อเป้าหมายขององค์กรเป็ นสาคัญ วิ ก ฤตกำรณ์ อำหำรโลก (Food Crisis) คื อ ภาวะอั น เนื่ อ งมาจากผลผลิ ต ทาง การเกษตรที่ตกต่าอันเป็ นผลจากการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมิอากาศ และราคาสินค้ าเกษตรผัน ผวนนอกจากนี ้จานวนประชากรโลกที่เพิ่มจานวนขึ ้น และความต้ องการอาหารที่เพิ่มขึ ้นของกลุม่ ประเทศเกิ ดใหม่ เช่น จี น อิ นเดีย ที่เศรษฐกิ จ ขยายตัวได้ ดี รายได้ ประชากรมากขึ ้น ทาให้ การ บริ โภคอาหารเพิ่มขึ ้นตามไปด้ วย อำหำรแช่ แข็ง (Frozen Food) ในประเทศไทยสามารถแบ่งตามสินค้ าได้ สองประเภท คือ อาหารพร้ อมปรุ ง (RTC : Ready to Cook) และอาหารพร้ อมรับประทาน (RTE : Ready to Eat) อำหำรพร้ อมปรุง (RTC : Ready to Cook) เป็ นอาหารแช่แข็งประเภทวัตถุดิบ เช่น กุ้ง สดทังตั ้ วแช่แข็ง หรื อกุ้งแกะเปลือกแช่แข็ง หรื อเป็ นอาหารสดที่ผา่ นการปรุงแต่งก่อนนามาแช่แข็ง เช่น ปลาหมักซอส เนื ้อปูนงึ่ ลูกชิ ้นรวมมิตร อาหารพร้ อมปรุงก่อนรับประทานต้ องนามาผ่านการทา ให้ สกุ ก่อน เช่น นามาต้ ม ลวก นึง่ ทอด หรื อผัด อำหำรพร้ อมรับประทำน (RTE : Ready to Eat) เป็ นอาหารที่สามารถรับประทานได้ ทันที หลังจากผ่านขันตอนการละลายแล้ ้ ว อาหารพร้ อมรับประทานยังสามารถแบ่งตามเทคโนโลยี การผลิตได้ สองรู ปแบบคือ อาหารพร้ อมรั บประทานแช่แข็ง (Frozen Food) และอาหารพร้ อม รับประทานแช่เย็น (Chilled Food)


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ อง การศึกษาการบริ หารความเสีย่ งของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง กรณีศึกษา บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) คณะผู้ศึกษาได้ ทาการเก็ บรวบรวมข้ อมูล ผลการศึกษา และเอกสารที่เกี่ยวข้ อง เพื่อนามากาหนดเป็ นแนวความคิดการดาเนินการศึกษา คือ 1. แนวคิดเกี่ยวกับวิกฤตการณ์อาหารโลก 2. แนวคิดเกี่ยวกับการค้ าระหว่างประเทศ 3. แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 4. แนวคิดเกี่ยวกับการบริ หารความเสีย่ ง 5. แนวคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง 6. ผลงานวิจยั และเอกสารที่เกี่ยวข้ อง แนวคิดเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ อาหารโลก พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เนื่อ งจากอาหารมี ความส าคัญกับการด ารงชี วิ ตอยู่ของมนุษย์ พระบาทสมเด็จ พระ ปรมิ นทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 ขึ ้นไว้ โดยคาแนะนา และยินยอมของสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติทาหน้ าที่รัฐสภา เพื่อสร้ าง ความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทยมีรายละเอียดดังนี ้


7 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติฉบับนี ้ได้ ให้ ความหมายว่า “อาหาร” หมายถึง ของกิน หรื อ เครื่ องค ้าจุนชีวิตได้ แก่ 1. วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรื อนาเข้ าสูร่ ่ างกายไม่ว่าวิธีใดๆ หรื อในรู ปลักษณะ ใดๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาท หรื อยาเสพติดให้ โทษตามกฎหมายว่าด้ วย การนันแล้ ้ วแต่ กรณี 2. วัตถุที่ม่งุ หมายสาหรับใช้ หรื อใช้ เป็ นส่วนผสมในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปน อาหาร สี และเครื่ องปรุงแต่งกลิน่ รส มาตรา 6 เพื่อประโยชน์แก่การควบคุมอาหาร ให้ รัฐมนตรี มีอานาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษา 1. กาหนดอาหารควบคุมเฉพาะ 2. กาหนดคุณภาพหรื อมาตรฐานของอาหารควบคุมเฉพาะตามชื่อ ประเภท ชนิด หรื อ ลักษณะของอาหารนันๆ ้ ที่ผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่ อจาหน่าย หรื อที่จาหน่าย ตลอดจนหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย 3. กาหนดคุณภาพหรื อ มาตรฐานของอาหารที่มิใช่เป็ นอาหารตาม และจะกาหนด หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย ด้ วยหรื อไม่ก็ได้ 4. กาหนดอัตราส่ว นของวัต ถุที่ ใช้ เ ป็ นส่วนผสมอาหารตามชื่ อ ประเภท ชนิด หรื อ ลักษณะของอาหารที่ผลิตเพื่อจ าหน่าย นาเข้ าเพื่อ จาหน่าย หรื อ ที่จาหน่ายรวมทังการใช้ ้ สีและ เครื่ องปรุงแต่งกลิน่ รส 5. กาหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการใช้ วตั ถุเจือปนในอาหาร การใช้ วตั ถุกันเสีย และวิธีป้องกันการเสีย การเจือสี หรื อวัตถุอื่นในอาหารที่ ผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อที่จาหน่าย


8 6. กาหนดคุณภาพหรื อมาตรฐานของภาชนะบรรจุและการใช้ ภาชนะบรรจุ ตลอดจน การห้ ามใช้ วตั ถุใดเป็ นภาชนะบรรจุอาหารด้ วย 7. กาหนดวิธีการผลิต เครื่ อ งมื อเครื่ องใช้ ในการผลิต และการเก็บรั กษาอาหารเพื่อ ป้อง-กันมิให้ อาหารที่ผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อที่จาหน่าย เป็ นอาหารไม่บริ สทุ ธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี ้ 8. กาหนดอาหารที่ห้ามผลิต นาเข้ า หรื อจาหน่าย 9. กาหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการตรวจ การเก็บตัวอย่าง การยึด การ อายัด และการตรวจวิเคราะห์ทางวิชาการ ซึง่ อาหาร รวมทังเอกสารอ้ ้ างอิง 10. กาหนดประเภทและชนิดอาหารที่ผลิต เพื่อ จาหน่าย นาเข้ าเพื่อ จาหน่าย หรื อ ที่ จาหน่าย ซึง่ จะต้ องมีฉลากข้ อความในฉลากเงื่อนไข และวิธีการแสดงฉลาก ตลอดจนหลักเกณฑ์ และวิธีการโฆษณาในฉลาก การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต มาตรา 14 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดตังโรงงานผลิ ้ ตอาหารเพื่อจาหน่าย เว้ นแต่ได้ รับใบอนุญาตจาก ผู้อนุญาต การขออนุญาตและการอนุญาตให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนด ในกฎกระทรวง มาตรา 15 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดนาเข้ าซึง่ อาหารเพื่อจาหน่าย เว้ นแต่ จะได้ รับใบอนุญาตจากผู้ อนุญาต การขออนุญาตและการอนุญาตให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน กฎกระทรวง มาตรา 16 บทบัญญัติมาตรา 14 และมาตรา 15 ไม่ให้ ใช้ บงั คับแก่ 1. การผลิตอาหารหรื อ นาเข้ าซึ่งอาหารเฉพาะคราว ซึ่งได้ รับใบอนุญาตเฉพาะคราว จากผู้อนุญาต


9 2. การผลิตอาหารหรื อ นาเข้ าหรื อ ส่ง ออกซึ่งอาหารเพื่อ เป็ นตัวอย่างสาหรั บการขึ ้น ทะเบียนตารับอาหารหรื อเพื่อพิจารณาในการสัง่ ซื ้อ ผู้ที่ได้ รับการยกเว้ นตาม 1 และ 2 ต้ อ งปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กาหนดในกฎกระทรวง การควบคุมอาหาร มาตรา 25 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดผลิต นาเข้ าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย ซึง่ อาหารดังต่อไปนี ้ 1. อาหารไม่บริ สทุ ธิ์ 2. อาหารปลอม 3. อาหารผิดมาตรฐาน 4. อาหารอื่นที่รัฐมนตรี กาหนด มาตรา 26 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ให้ ถือว่าเป็ นอาหารไม่บริ สทุ ธิ์ 1. อาหารที่มีสงิ่ ที่นา่ จะเป็ นอันตรายแก่สขุ ภาพเจือปนอยูด่ ้ วย 2. อาหารที่มีสารหรื อวัตถุเคมีเจือปนอยูใ่ นอัตราที่อาจเป็ นเหตุให้ คุณภาพของอาหาร นัน้ ลดลง เว้ นแต่การเจื อปนเป็ นการจ าเป็ นต่อ กรรมวิ ธี ผลิต การผลิต และได้ รั บอนุญาตจาก พนักงานเจ้ าหน้ าที่แล้ ว 3. อาหารที่ได้ ผลิต บรรจุ หรื อเก็บรักษาไว้ โดยไม่ถกู สุขลักษณะ 4. อาหารที่ผลิตจากสัตว์ที่เป็ นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้


10 5. อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้ วยวัตถุนา่ จะเป็ นอันตรายแก่สขุ ภาพ มาตรา 27 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ให้ ถือว่าเป็ นอาหารปลอม 1. อาหารที่ได้ สบั เปลี่ยนใช้ วตั ถุอื่นแทนบางส่วน หรื อคัดแยกวัตถุที่มีคุณค่าออกเสีย ทังหมดหรื ้ อบางส่วน และจาหน่ายเป็ นอาหารแท้ อย่างนัน้ หรื อใช้ ชื่ออาหารแท้ นนั ้ 2. วัตถุหรื ออาหารที่ผลิตขึ ้นเทียมอาหารอย่างใดอย่างหนึ่ง และจาหน่ายเป็ นอาหาร แท้ อย่างนัน้ 3. อาหารที่ได้ ผสมหรื อปรุงแต่งด้ วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิ ดซ่อนเร้ นความชารุ ด บกพร่องหรื อความด้ อยคุณภาพของอาหารนัน้ 4. อาหารที่มีฉลากเพื่อลวงหรื อพยายามลวงผู้ซื ้อให้ เข้ าใจผิดในเรื่ องคุณภาพปริ มาณ ประโยชน์ หรื อลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรื อในเรื่ องสถานที่และประเทศที่ผลิต 5. อาหารที่ผลิตขึ ้นไม่ถกู ต้ องตามคุณภาพหรื อมาตรฐานที่รัฐมนตรี ประกาศ มาตรา 28 อาหารผิดมาตรฐาน ได้ แก่ อาหารที่ไม่ถูกต้ องตามคุณภาพหรื อมาตรฐานที่ รัฐมนตรี ประกาศกาหนดตามมาตรา 6(2) หรื อ (3) แต่ไม่ถึงขนาดดังที่กาหนดไว้ ในมาตรา 27(5) มาตรา 29 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ ให้ ถือว่าเป็ นอาหารตามมาตรา 25(4) 1. ไม่ปลอดภัยในการบริ โภค หรื อ 2. มีสรรพคุณไม่เป็ นที่เชื่อถือ หรื อ 3. มีคณ ุ ค่าหรื อคุณประโยชน์ตอ่ ร่างกายในระดับที่ไม่เหมาะสม


11 การพักใช้ ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต มาตรา 46 เมื่อปรากฏต่อผู้อนุญาตว่าผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัตินี ้ กฎกระทรวงหรื อประกาศซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี ้ หรื อ ในกรณี ที่ปรากฏผลจากการตรวจ พิสจู น์วา่ อาหารซึง่ ผลิตโดยผู้รับอนุญาตผู้ใดเป็ นอาหารไม่บริ สทุ ธิ์ตามมาตรา 26 เป็ นอาหารปลอม ตามมาตรา 27 เป็ นอาหารที่ผิดมาตรฐานตามมาตรา 28 เป็ นอาหารหรื อภาชนะบรรจุที่น่าจะเป็ น อันตรายต่อสุขภาพหรื อผิดอนามัยของประชาชน ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มีอานาจสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตได้ โดยมีกาหนดครัง้ ละไม่เกินหนึง่ ร้ อยยี่สบิ วัน หรื อในกรณีที่มีการฟ้อง ผู้รับอนุญาตต่อศาลว่าได้ กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ จะสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตไว้ รอคา พิพากษาอันถึงที่สดุ ก็ได้ ในกรณี ที่มีคาพิพ ากษาของศาลอันถึงที่สุด ผู้รับอนุญ าตผู้ใดได้ กระทาความผิดตาม มาตรา 26 หรื อมาตรา 27 ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอานาจสัง่ เพิกถอน ใบอนุญาตได้ ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตหรื อ เพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิ อุทธรณ์ ต่อ รัฐมนตรี ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคาสัง่ รั ฐมนตรี มีอานาจสัง่ ให้ ยกอุทธรณ์ หรื อ แก้ ไข คาสัง่ ของผู้อนุญาตให้ เป็ นคุณแก่ผ้ ูอุทธรณ์ ได้ คาวินิจฉัยของรั ฐมนตรี ให้ เป็ นที่สดุ การอุทธรณ์ คาสัง่ ต่อรัฐมนตรี ตามวรรคสี่ไม่เป็ นการทุเลาการบังคับตามคาสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตหรื อคาสัง่ เพิก ถอนใบอนุญาตให้ ถือว่าการผลิต นาหรื อสัง่ เข้ ามาในราชอาณาจักรเพื่อจาหน่าย ซึง่ อาหารควบคุม เฉพาะในระหว่างถูกสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตหรื อถูกเพิกถอนใบอนุญาต เป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 14 วรรค หนึง่ หรื อมาตรา 15 วรรคหนึง่ แล้ วแต่กรณี พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญ ญัติฉบับ นี ้ คือ โดยที่มี กฎหมายที่เกี่ ย วข้ อ งกับ อาหารอยูห่ ลายฉบับ และอยูใ่ นอานาจหน้ าที่ของหลายหน่วยงานในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ แต่ มีลกั ษณะของการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับอาหารในมิติที่แตกต่างกันในขอบเขตจากัด ขาดการบูรณา การขาดความเป็ นเอกภาพ และประสิทธิภาพในการกากับดูแล การดาเนินงานในห่วงโซ่อาหารทัง้ ด้ านคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารเพื่อการคุ้มครองผู้บริ โภค การส่งเสริ มและสนับสนุน การค้ าและอุตสาหกรรมเกี่ยวกับอาหารทังภายในและระหว่ ้ างประเทศประกอบกับยังขาดนโยบาย และยุทธศาสตร์ เกี่ ยวกับความมั่ นคงด้ านอาหารทังในยามปกติ ้ และยามฉุก เฉิ น ตลอดจนการ


12 ป้องกันการใช้ อาหารในการก่อการร้ าย รวมทังการให้ ้ การศึกษาด้ านอาหารให้ ทนั ต่อสถานการณ์ ของสังคมโลกที่ เปลี่ย นแปลงอย่างรวดเร็ ว สมควรให้ มีก ฎหมายว่า ด้ วยคณะกรรมการอาหาร แห่งชาติ เ พื่อ เป็ นองค์ ก รหลัก และกลไกของประเทศในการก าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่ เกี่ ย วกั บ อาหารทุ ก มิ ติ ดัง กล่า วเบื อ้ งต้ น โดยครอบคลุม ห่ ว งโซ่ อ าหารอย่ า งมี เ อกภาพและ ประสิทธิภาพในลักษณะบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง จึงจาเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตินี ้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศ ว่า โดยที่เป็ นการสมควรมีกฎหมายว่าด้ วยคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พระราชบัญญั ตินีม้ ี บทบัญญัติ บางประการเกี่ ยวกับการจ ากัด สิทธิ และเสรี ภาพของ บุคคล ซึง่ มาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ กระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติขึ ้นไว้ โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี ้ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี ้ “อาหาร” หมายความว่า อาหารตามกฎหมายว่าด้ วยอาหาร “คุณภาพอาหาร” หมายความว่า อาหารที่มีคณ ุ ลักษณะทางกายภาพและส่วนประกอบ ที่พงึ จะมีรวมถึงมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม “ความปลอดภัยด้ านอาหาร” หมายความว่า การจัดการให้ อาหาร และสินค้ าเกษตรที่ นามาเป็ นอาหารบริ โภคสาหรับมนุษย์มีความปลอดภัย โดยไม่มีลกั ษณะเป็ นอาหารไม่บริ สทุ ธิ์ ตาม กฎหมายว่าด้ วยอาหาร และตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้ อง รวมทัง้ อาหารที่มีลกั ษณะอย่างใดอย่าง หนึง่ ดังต่อไปนี ้ด้ วย 1. อาหารที่มีจุลนิ ทรี ย์ก่อโรคหรื อสิง่ ที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพเจือปนอยู่


13 2. อาหารที่มีสารหรื อวัตถุเคมีเจือปนอยูต่ ามกฎหมายที่เกี่ยวข้ องในปริ มาณที่อาจเป็ น เหตุให้ เกิดอันตราย หรื อสามารถสะสมในร่างกายที่ก่อให้ เกิดโรค หรื อผลกระทบต่อสุขภาพ 3. อาหารที่ได้ ผลิต ปรุง ประกอบ บรรจุ ขนส่งหรื อมีการเก็บรักษาไว้ โดยไม่ถกู สุขลักษณะ 4. อาหารที่ผลิตจากสัตว์ หรื อผลผลิตจากสัตว์ที่เป็ นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้ 5. อาหารที่ ผ ลิต ปรุ ง ประกอบจากสัต ว์ แ ละพื ช หรื อ ผลผลิต จากสัต ว์ แ ละพื ช ที่ มี สารเคมีอนั ตรายเภสัชเคมีภณ ั ฑ์ หรื อยาปฏิชีวนะตกค้ างในปริ มาณที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ 6. อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้ วยวัตถุที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ “ความมัน่ คงด้ านอาหาร” หมายความว่า การเข้ าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสาหรับการ บริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสม ตามความต้ องการตามวัยเพื่อการมีสขุ ภาวะที่ดี รวมทังการมี ้ ระบบการผลิตที่เกื ้อหนุน รักษาความ สมดุลของระบบนิเวศวิทยาและความคงอยูข่ องฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ทัง้ ในภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิสาธารณภัยหรื อการก่อการร้ ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร มาตรา 12 ในภาวะที่เกิ ดภัยพิบตั ิ สาธารณภัย หรื อ การก่อการร้ ายอันเกี่ ยวเนื่องจาก อาหารอันเป็ นภัยที่ร้ายแรงและฉุกเฉินอย่างยิ่ง ให้ นายกรัฐมนตรี โดยคาแนะนาของคณะกรรมการ และโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอานาจประกาศกาหนดให้ เขตพื ้นที่ใดเป็ นเขตพื ้นที่ที่ จาเป็ นต้ องสงวนไว้ เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงด้ านอาหารเป็ นการชั่วคราว รวมทังหลั ้ กเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการใช้ ประโยชน์ในเขตพื ้นที่ดงั กล่าว ทังนี ้ ้ ต้ องมีแผนที่แสดงแนวเขตพื ้นที่ที่ จาเป็ นต้ องสงวนไว้ นนแนบท้ ั้ ายประกาศด้ วย ในการออกประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ ด าเนิ น การเพี ย งเท่า ที่ จ าเป็ น เพื่ อ บรรลุต าม วัตถุประสงค์ โดยกระทบกระเทือนสิทธิ ของเจ้ าของ ผู้ครอบครอง หรื อผู้ใช้ ประโยชน์ในเขตพื ้นที่ ดังกล่าวน้ อยที่สดุ


14 ประกาศตามวรรคหนึง่ ให้ ใช้ บงั คับได้ ไม่เกินหนึ่งปี นับแต่วนั ที่ประกาศมีผลใช้ บงั คับและ อาจขยายได้ อีกครัง้ ละไม่เกินหนึ่งปี ในกรณีที่ภยั ร้ ายแรงและฉุกเฉินอย่างยิ่งนันยั ้ งคงมีอยู่และให้ ปิ ดไว้ ณ สถานที่ดงั ต่อไปนี ้ 1. ที่ทาการของหน่วยงานตามมาตรา 15 วรรคสาม 2. ศาลาว่าการกรุ งเทพมหานคร สานักงานเขต และที่ทาการแขวง หรื อศาลากลาง จังหวัด ที่วา่ การอาเภอหรื อกิ่งอาเภอ ที่ทาการกานัน และที่ทาการผู้ใหญ่บ้านแห่งท้ องที่ที่เขตพื ้นที่ ที่จาเป็ นต้ องสงวนไว้ นนตั ั ้ งอยู ้ แ่ ล้ วแต่กรณี 3. สานักงานที่ดินกรุ งเทพมหานคร และสานักงานที่ดินกรุ งเทพมหานครสาขา หรื อ สานักงานที่ดินจังหวัด สานักงานที่ดินจังหวัดสาขา และสานักงานที่ดินอาเภอแห่งท้ องที่ที่เขตพื ้นที่ ที่จาเป็ นต้ องสงวนไว้ นนตั ั ้ งอยู ้ แ่ ล้ วแต่กรณี มาตรา 13 ในเขตพื น้ ที่ ใ ดที่ ไ ด้ มี ป ระกาศก าหนดตามมาตรา 12 ห้ า มบุ ค คลใดใช้ ประโยชน์หรื อกระทาการใดๆ ในเขตพื ้นที่นนผิ ั ้ ดไปจากหรื อขัดกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กาหนดไว้ ในประกาศดังกล่าว มาตรา 14 ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 13 ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นสองปี หรื อ ปรั บไม่เกิ นสี่ หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ ความสาคัญของความมั่นคงทางอาหาร อาหารเป็ นปั จจัยที่สาคัญสาหรับมนุษย์ในการดารงชีวิตอยู่ เป็ นพลังงานให้ มนุษย์ ใช้ ประกอบกิจกรรมเพื่อดาเนินชีวิตประจาวันต่างๆ ทังยั ้ งมีสว่ นช่วยสร้ างความคิดพัฒนาสติปัญญา ของมนุษย์เพื่อสนองความต้ องการความเจริ ญก้ าวหน้ าอื่นๆ ในอดีตวิถีชีวิตของคนไทยทังในเมื ้ อง และชนบทมีชีวิตอยูบ่ นผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ มีการหาอาหารและน ้าจากธรรมชาติ มีพื ้นที่เพื่อการ เพาะปลูกพืชผักสวนครัวไว้ เพื่ออยูเ่ พื่อกิ น ครอบครัวมีการประกอบอาหารและถนอมอาหารภายใน ครัวเรื อน แต่การพัฒนาประเทศที่เน้ นการเติบโตทางเศรษฐกิจได้ ก่อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงในทุกๆ


15 ด้ า นอย่า งรวดเร็ ว มี ก ารน าทรั พ ยากรธรรมชาติ ม าใช้ อ ย่า งฟุ่ มเฟื อยเพื่ อ ให้ เ ศรษฐกิ จ เติ บ โต สังคมไทยจึ งเกิ ด การเปลี่ย นแปลงสภาพการดาเนิน ชี วิ ตจากการพึ่งพาตนเอง เพาะปลูก ตาม ธรรมชาติ เพื่อบริ โภคในครัวเรื อนเป็ นหลัก มาเป็ นการผลิตเพื่อการค้ า ที่ต้องพึ่งพิงปั จจัยการผลิต ทังด้ ้ านเงินทุน เทคโนโลยี พลังงานเชื ้อเพลิง และระบบตลาด เพื่อให้ เกิดการซื ้อขายอาหารเพื่อการ บริ โภคมากขึ ้น ทาให้ เศรษฐกิจโลกได้ เข้ ามามี บทบาท ดังจะเห็นได้ จากวิกฤตการณ์ ข้าวขาดแคลน ของโลก และสถานการณ์ปัญหาราคาน ้ามันที่สง่ ผลกระทบไปในทุกภาคส่วนทังภาคอุ ้ ตสาหกรรม เกษตรกรรม การขนส่งต่างมี ผลทาให้ ราคาสินค้ าเพื่อ การอุปโภคบริ โภคทั่วประเทศต่างปรับตัว สูงขึ ้นตามไปด้ วย ราคาอาหารทังปลี ้ กและส่งแพงขึ ้นเป็ นเงาตามตัว ค่าครองชี พของประชาชน ปรับตัวสูงขึ ้น และมี แนวโน้ มจะสูงขึ ้นเรื่ อยๆ ในอนาคต อันเนื่องมาจากปั จจัยหลายประการ ทัง้ จากราคาน ้ามันที่ผนั ผวน ความไม่มนั่ คงของสถานการณ์การเมือง และภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย สิง่ เหล่านี ้ได้ ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงของประชาชน โดยเฉพาะความมั่นคงด้ านอาหาร (Food Security) ซึง่ ถือว่าเป็ นปั จจัยพื ้นฐานหลักที่สาคัญ เพราะถ้ าในชีวิตประจาวันการหาอาหาร เพื่อประทังชีวิตเป็ นเรื่ องที่ยากลาบากแล้ ว ยังเป็ นสิง่ ที่แสดงให้ เห็นว่าการดาเนินชีวิตจะต้ องประสบ ความยากลาบากมากขึน้ ไปอี ก ดัง ที่ โครงการพัฒ นาแห่ง สหประชาชาติ (United Nations Development Program : UNDP) ได้ เน้ นย ้าว่า ประชาชนต้ องสามารถที่จะดูแลตนเอง ตอบสนอง ความต้ องการพืน้ ฐานที่สาคัญของตน และสามารถเลี ้ยงชี พตนเองได้ เนื่อ งจากคนจนหรื อ ผู้มี รายได้ น้อยเป็ นผู้ที่ได้ รับความเดือดร้ อนจากสถานการณ์ นี ้มากกว่าคนในกลุม่ อื่น โดยเฉพาะคนจน ในเมื องต้ องเผชิ ญกับความยากลาบากเพิ่มขึ ้นอี กจากความเสี่ยงที่รายได้ ของครอบครั วลดลง รายจ่ายและภาระหนี ้สินของครอบครัวที่เพิ่มขึ ้น เนื่องจากระดับการบริ โภคอาหารมีความสัมพันธ์ กับความยากจน ที่ไม่ใช่เรื่ องปริ มาณอาหารเพียงอย่างเดี ยว แต่หมายความว่าเมื่อเกิดวิกฤติราคา อาหารแพง คนจนจะเป็ นกลุม่ แรกๆที่จะได้ รับความเดือดร้ อนอย่างหนัก เนื่องจากไม่มีเงินที่จะซื ้อ อาหาร เพราะรายได้ อาจจะไม่เพิ่มขึ ้นหรื อเพิ่มขึ ้นอย่างจากัด นอกจากนี ้ปั ญหาการเข้ าถึงอาหาร ของผู้บ ริ โภคในชุม ชนเมื องต้ อ งพึ่งพาระบบตลาด เช่น ตลาดสด ร้ านอาหาร หาบเร่ แผงลอย ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต ซึง่ ไม่สามารถควบคุมชนิด คุณภาพ ความปลอดภัยและราคาของอาหารได้ ด้วย ตนเอง ซึง่ สิง่ เหล่านี ้ชี ้ให้ เห็นถึงความไม่มนั่ คงทางอาหารได้ ชดั เจน ความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) เป็ นประเด็นหนึ่งที่องค์การระหว่างประเทศทัว่ โลกให้ ความสนใจ ซึ่งองค์ การสหประชาชาติได้ ทาการพยากรณ์ ในปี 1993 ว่าในปี 2020 จะมี ประชากรโลกถึง 8 พันล้ านคน ร้ อยละ 93 ของจานวนประชากรที่เพิ่มขึ ้นจะเกิดในประเทศที่กาลัง


16 พัฒนา โลกจะถูกท้ าทายให้ ผลิตอาหารให้ เพียงพอกับจานวนประชากรที่จะเพิ่มขึ ้นปี ละ 90 ล้ าน คน ความสามารถในการผลิตอาหารจะต้ องเพิ่มขึ ้นในอัตราที่สงู กว่าการเพิ่มขึ ้นของประชากร เพื่อ ตอบสนองความต้ องการที่เพิ่มขึ ้นเนื่องจากการมีรายได้ เพิ่มขึ ้น การขยายตัวของเมือง และรู ปแบบ การดารงชีวิตที่เปลีย่ นไป องค์การสหประชาชาติ ถือว่าการได้ รับอาหารอย่างพอเพียงนันเป็ ้ นสิทธิ สากลของมวลมนุษย์ และเป็ นความรั บผิดชอบร่ วมกัน ทุก คนมี สิทธิ ที่จ ะได้ ดารงชี พตามระดับ มาตรฐานที่พอเพียงต่อสุขภาพและความเป็ นอยู่ที่ดีของตนเองและครอบครัว ซึ่งรวมถึงการได้ รับ อาหารด้ วย ทาให้ เกิดการประชุมสุดยอดว่าด้ วยเรื่ องความมั่นคงด้ านอาหาร ซึ่งจัดขึ ้น ณ กรุ ง โรม ประเทศอิ ต าลี เมื่ อ 3-5 มิ ถุ น ายน 2551 ได้ จั ด ท าปฏิ ญ ญาว่ า ด้ ว ยความมั่ น คงด้ านอาหาร (Declaration on World Food Security) เพื่อให้ เกิดสภาวะความมัน่ คงด้ านอาหาร ที่เพียงพอและ สามารถรองรับความต้ องการของประชากรที่หิวโหย โดยมีมาตรการทังระยะสั ้ น้ ระยะกลาง และ ระยะยาว เน้ นเพิ่มการให้ ความช่วยเหลือ ด้ านอาหาร การเตรี ยมการเพาะปลูก การเสริ มสร้ าง ความสามารถของประชาชนในการรั บ มื อ กับปั ญ หา การแก้ ไ ขปั ญ หาการบิ ดเบื อ นตลาดและ ข้ อจากัดด้ านการค้ าระหว่างประเทศ การมีโครงข่ายรองรับทางสังคม และการเสริ มสร้ างระบบการ ผลิต และเพิ่มการสนับสนุนการลงทุ น วิจัยและพัฒนาการบริ หารจัดการน ้าและที่ดิน การจัดหา แหล่งเงินระหว่างประเทศเพื่อระดมทุนและจัดการกับปั ญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและ เชื ้อเพลิงชีวภาพ สถานการณ์ ความไม่ ม่ ันคงทางอาหารของประเทศไทย ความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทยในปั จจุบนั ตามปกติแล้ วประเทศไทยแทบไม่เจอ ภาวะความขาดแคลนทางอาหาร เนื่องจากความแข็งแกร่ งในภาคการผลิตอาหารภายในประเทศ อาหารตามธรรมชาติที่ประชาชนสามารถเข้ าถึงได้ และความสามารถในการนาเข้ าอาหารที่มีไม่ เพียงพอภายในประเทศ แต่จากการเพิ่มขึ ้นของราคาน ้ามันหลังปี 2540 ทาให้ รัฐบาลไทยพยายาม หาพลังงานทางเลือกแทนน ้ามันซึง่ พืชที่สามารถนามาผลิตเป็ นพลังงานแทนน ้ามันได้ เช่น ข้ าวโพด อ้ อย มันสาปะหลัง และน ้ามันปาล์ม นอกจากนี ้ยังมีการประมาณการณ์ ว่าความต้ องการเชื ้อเพลิง ชีวภาพเหล่านี ้จะเพิ่มสูงขึ ้นอีกมากส่งผลให้ เกษตรกรจานวนไม่น้อยหันไปปลูกพืชพลังงานทดแทน พืชอาหารเดิมเช่น ในภาคใต้ ซึ่งเป็ นพื ้นที่ปลูกปาล์มน ้ามันส่วนใหญ่ของประเทศอยู่แล้ วทาให้ เกิด การบุ กรุ ก พื น้ ที่ ชุ่ ม น า้ และปลูก ปาล์ม น า้ มัน ในนาข้ า ว ในภาคตะวันออกเฉี ย งเหนื อ เกษตรกร บางส่วนเริ่ มปลูกมันสาปะหลังภายหลังจากการการเก็บเกี่ยวจากเดิมเคยปล่อยดินให้ พกั ฟื ้น


17 กระแสความนิยมพืชพลังงานอาจส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารของประเทศได้ โดย ประเทศไทยซึ่งเป็ นประเทศผลิตอาหารสาคัญก็อาจตกเป็ นเป้าหมายของการเข้ ามาแย่งยึดที่ดิน และครอบครองระบบเกษตรกรรมและอาหารในรู ปแบบต่างๆรวมถึงเกิดจากปั ญหาเชิ งนโยบาย ของรัฐระบบเกษตรกรรม และยังเผชิญกับสถานการณ์ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติที่รุนแรงและมีจานวน ครัง้ มากขึ ้นเรื่ อยๆ แม้ ว่าประเทศไทยจะมี อ าหารเพียงพอแต่เมื่ อ ลงรายละเอี ย ดในระดับ ตัว บุค คลหรื อ ครัวเรื อนแล้ วประชากรมากกว่าหนึ่งในสามและส่วนมากอยู่ในเขตชนบท มีความเสี่ยงต่างๆที่จะ ส่งผลให้ เกิดความไม่มนั่ คงทางอาหารโดยทัว่ ไปกลุม่ เสีย่ งนี ้ก็คือคนจนที่มีระดับรายได้ ต่าหรื อไม่ก็มี ค่าใช้ จ่ายด้ านอาหารสูง ในระดับบุคคลและครัวเรื อน เกษตรกรรมยัง่ ยืนสามารถสร้ างความหลากหลายของพืช พันธุ์ในแปลงสร้ างความมัน่ คงทางอาหารให้ ดีขึ ้นและยังช่วยสร้ างเกราะคุ้มกันต่อราคาตลาดและ สภาพอากาศที่แปรปรวนมากกว่าการปลูกพืชเชิงเดี่ยวรวมถึงยังลดต้ นทุนการผลิตและภาวะหนี ้สิน อีกด้ วย ในภาวะที่การแข่งขันในตลาดสูงขึ ้นจากการเปิ ดเสรี ทางการค้ า เกษตรกรรมยัง่ ยืนสามารถ เป็ นทางเลือ กของเกษตรกรรายย่อ ยและครอบครั วได้ ส าหรั บการผลิต และบริ โภคอาหารของ ครัวเรื อน เมื่อประเทศมี การพัฒนามากขึ ้นในฐานะที่ไทยเป็ นประเทศผู้ผลิตอาหารดังนันรั ้ ฐบาล ควรที่จะสนใจแก้ ปัญหาการใช้ ประโยชน์จากดิน ทรัพยากรทะเล อากาศและทรัพยากรอื่นๆที่มาก เกินไปและส่งเสริ มสนับสนุนวิถีการผลิตและการบริ โภคและเกษตรกรรมที่ยงั่ ยืน สาเหตุความไม่ ม่ นั คงทางอาหารของประเทศไทย นวลน้ อย ตรี รัตน์ (2551) กล่าวว่า หลังจากราคาพลังงานได้ เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องมาเป็ น เวลาหลายปี ตอนนี ้โลกกาลังเผชิญกับปั ญหาใหม่ ที่อาจจะรุนแรงมากกว่า คือปั ญหาราคาอาหาร ที่เพิ่มขึ ้นอย่างมากมาย และอาจจะถึงขันขาดแคลนอาหาร ้ ทาให้ เราต้ องหันกลับมาพูดกัน ถึงเรื่ อง ความมัน่ คงทางอาหารอีกครัง้ หนึง่ หลังจากที่การพูดถึงเรื่ องความมั่นคงทางอาหาร ได้ ห่างหายไป เป็ นเวลานาน


18 สาเหตุที่ทาให้ ปัญหานี ้กลับมาทวีความสาคัญมาจากปั จจัยต่างๆ จานวนมาก เริ่ มตังแต่ ้ เป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ ้น ของราคาน ้ามันอย่างต่อเนื่องและรุ นแรง มีผลทาให้ มีการเปลี่ยนพื ้นที่ เพาะปลูกพื ชอาหาร ไปเป็ นพืช พลังงานเพิ่ มขึน้ เพราะพืช พลังงานเหล่า นันมี ้ ร าคาเพิ่ม สูง ขึน้ ขณะเดียวกันราคาพลังงานที่เพิ่มสูงขึ ้นก็ สง่ ผลกระทบต่อ ต้ นทุน ในการผลิตของสินค้ าทางด้ าน เกษตรและอุตสาหกรรม การเปลีย่ นแปลงภาวะภูมิอากาศ หรื อที่เราเรี ยกกันสันๆ ้ ว่า โลกร้ อน ซึ่งมีผลกระทบต่อ สภาพภูมิอากาศ ทังฝนแล้ ้ ง และอุทกภัย พายุต่างๆ สารพัด ซึ่งกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งแม้ ว่าจะมี การพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรเพิ่มมากขึ ้น แต่ก็ยงั ต้ องพึ่งธรรมชาติเป็ นด้ าน หลัก การสูญเสีย พืน้ ที่เ พาะปลูกให้ กับการพัฒ นาเมื อ งและภาคอุ ต สาหกรรม ทาให้ พื ้นที่ก าร เพาะปลูกลดลง การเติบโตของประชากรโลก ตลอดจนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมาก ของ ประเทศที่มีประชากรรวมกันเกือบครึ่งโลก อย่างจีนและอินเดีย ปั จจัยเหล่านี ้ล้ วนมีสว่ นส่งให้ ราคา อาหารเพิ่มขึ ้นเป็ นอย่างมาก ผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย ซึ่งเป็ นประเทศที่ผลิตอาหารที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลก มี หลายระดับ ในแง่ของผู้ผลิตเอง ดูเหมือนว่าจะได้ ประโยชน์เพิ่มขึ ้น เพราะสามารถขายผลผลิตได้ ในราคาที่สงู ขึ ้น แต่ก็ขึ ้นอยูก่ บั ว่าผลประโยชน์เหล่านันไปตกอยู ้ ก่ บั ใคร ตกอยูก่ บั เกษตรกรมากน้ อย เพียงใด ตกอยูก่ บั พ่อค้ าคนกลาง และผู้ที่ทาการส่งออกเป็ นจานวนเท่าใด ส่วนในด้ านผู้บริ โภคได้ รับความเดือดร้ อนอย่างแน่นอน แต่จะมากน้ อยแค่ไหน อาจจะ ต้ องกล่าวว่าขึ ้นอยู่ว่า มีฐานะทางเศรษฐกิจอย่างไร คนจนย่อมต้ องเดือดร้ อนหนัก เพราะรายได้ อาจจะไม่เพิ่มขึ ้นหรื อเพิ่มขึน้ อย่างจากัด ถ้ าดูจากการขึ ้นค่าจ้ างขันต ้ ่าที่ผ่านมา จะเห็นได้ ว่าขึ ้น น้ อยกว่าดัชนีเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ ้น ซึง่ ก็แสดงว่ารายได้ ที่แท้ จริ งของคนกลุม่ นี ้ลดลง สาหรับบางประเทศ โดยเฉพาะประเทศยากจนที่ต้อ งซื ้ออาหารจากประเทศอื่น ได้ รับ ผลกระทบหนักหน่วงรุ นแรงทีเดียว เช่นคนยากจนชาวเฮติ จานวนหนึ่งไม่มีเงินที่จะซื ้ออาหารที่มี ราคาสูงรับประทานได้ ต้ องหันมาบริ โภคคุกกี ้ที่ทามาจากดินเพื่อประทังความหิวโหย


19 ประเทศไทยเมื่อหลายปี ก่อนก็เคยเผชิญกับปั ญหานี ้มาก่อน เมื่อเด็กเล็กๆ ในครอบครัวที่ ยากจน ไม่มีอะไรจะกิน ก็กินดินแทน นามาสูโ่ รคภัยสารพัด หรื อการประท้ วง จลาจลในอีกหลายๆ ประเทศที่มีฐานะยากจน ที่เกี่ยวเนื่องกับวิกฤตทางด้ านอาหาร มีข้อสรุ ปร่ วมกันว่าระดับการบริ โภคอาหารมีความสัมพันธ์ กับความยากจน ไม่ใช่เรื่ อ ง ปริ มาณอาหารเพียงอย่างเดียว นัน่ หมายความว่าเมื่อเกิดวิกฤตราคาอาหารแพงขึ ้น คนจนก็จะเป็ น กลุม่ แรกๆ ที่จะได้ รับความเดือดร้ อนอย่างหนัก เพราะแม้ ในช่วงที่โลกไม่ได้ เผชิญกับปั ญหาวิกฤต ทางด้ านอาหารเหมือนปั จจุบนั ประชากรจานวนไม่น้อยกว่า 800 ล้ านคน อยู่ในภาวะอดอยาก และหิวโหย และประเด็นปั ญหาไม่ได้ อยู่ที่ เราไม่มีอาหารพอที่จะเลี ้ยงคนทังโลกได้ ้ แต่อยู่ที่คน ยากจนเหล่านัน้ ไม่มีเงินที่จะซื ้ออาหาร ทังนี ้ ้ เป็ นผลมาจากการที่โลกไม่สามารถจะกระจาย ผล ของการพัฒนาไปสูป่ ระชากรโลกได้ อย่างทัว่ ถึง มีการกระจุกอยู่ในมือของคนกลุม่ หนึ่งที่สามารถ สะสมความมัง่ คัง่ ไว้ ได้ ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีกลายเป็ นเครื่ องมือของประเทศพัฒนาแล้ วที่ จะดูดทรัพยากรโลกมาอยู่ มาใช้ อย่างฟุ่ มเฟื อยในประเทศของตนเองและเมื่อวิกฤตทางด้ านอาหาร มาเยือน จานวนผู้คนที่อดอยากหิวโหยจะเพิ่มขึ ้นอย่างมากมาย ปั ญหาเสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมก็จะตามมา ปวรรัตน์ พรรธนประเทศ (2555) กล่าวถึง สาเหตุของความไม่มนั่ คงทางอาหาร ดังนี ้ 1. ปั ญหาความเสือ่ มโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร 1.1 การลดลงของพื ้นที่ป่าไม้ 1.2 การเสือ่ มโทรมของดิน 1.3 ปั ญหาของทรัพยากรน ้า 2. ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน 2.1 ปั ญหาพันธุกรรมในการผลิตอาหาร


20 2.2 การพึง่ พาปุ๋ยและสารเคมีการเกษตร 2.3 การลดลงของเกษตรกรรายย่อ ยและการขยายตัวของธุรกิ จการเกษตรขนาด ใหญ่ 3. ปั ญหาโครงสร้ างของที่ดินทากินและสิทธิในการเข้ าถึงทรัพยากร 4. บทบาทของค้ า ปลี ก ขนาดใหญ่ แ ละโมเดิ ร์ น เทรดที่ มี บ ทบาทมากขึน้ ในระบบ กระจายอาหาร 5. การเปลีย่ นแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร 6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้ าและความตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร 7. ปั ญหาสุขภาวะที่เกิดจากระบบอาหาร 8. การแผ่ขยายของอาณานิคมทางอาหาร 9. วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงาวัฒนธรรมอาหารท้ องถิ่น 10. การขาดนโยบายเกี่ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่ ม่ ันคงทางอาหาร ผลจากวิกฤตอาหารที่สะท้ อ นให้ เห็นชัดเจนที่สุด คือ การเกิ ดเหตุการณ์ จลาจลอย่าง รุนแรงขึ ้นในประเทศเฮติ เนื่องจากขาดแคลนอาหารและราคาอาหารที่แพงลิบลิ่ว จนก่อให้ เกิดการ ประท้ วงเพื่อโค่นล้ มรัฐบาลเฮติ ถึงขันต้ ้ องปรับเปลี่ยนนายกรัฐมนตรี เพื่อแก้ ปัญหาปากท้ องให้ แก่ ประชาชน นอกจากนี ้ยังมีเหตุจลาจลที่เกิดขึ ้นในทวีปแอฟริ กาและประเทศอื่นๆ อีก ตามที่ปรากฏ ในสือ่ ต่างๆ


21 ทุกครัง้ ที่มีวิกฤตราคาพลังงานเกิดขึ ้น วิกฤตด้ านราคาอาหารก็จะเกิดตามมาเป็ นวัฎจักร เนื่องจากการเคลื่อนย้ ายของธุ รกิ จพลังงานเข้ ามาแย่งวัตถุดิบไปจากพืชอาหารเพื่อ เอาไปผลิต พลังงาน ส่งผลให้ ราคาอาหารเพิ่มสูงขึ ้น ปั จจุบนั ภาวะราคาอาหารที่แพงสูงขึ ้น หรื อที่เรี ยกว่า “ภาวะราคาอาหารเฟ้อ” (Food Inflation) พุ่งขึ ้นเป็ นประวัติการณ์ จะเห็นได้ ว่า ดัชนีเฉลี่ยราคาอาหารขององค์ การอาหารและ เกษตรแห่งสหประชาชาติ ในช่วงมีนาคม 2551 เท่ากับ 220 โดยเมื่อเทียบกับช่วงเดือนมีนาคมของ ปี ก่อนๆ เพิ่มขึ ้นถึงร้ อยละ 57 โดยดัชนีอาหารเพิ่มขึ ้นทุกกลุม่ ตังแต่ ้ ช่วงต้ นปี 2551 ซึ่งสาเหตุหลัก มาจากความไม่สมดุลระหว่างผลผลิตและความต้ องการใช้ ที่แตกต่างกัน ราคาอาหารที่แพงสูงขึ ้นและคาดว่าจะยังคงอยูใ่ นเกณฑ์สงู อย่างต่อเนื่อง เกิดจากปั จจัย สาคัญที่ผลผลิตมีแนวโน้ มลดลง สวนทางกับความต้ องการบริ โภคที่มีแนวโน้ มสูงขึ ้น และเกิดจาก ปั จจัยแทรกซ้ อนหลายๆ ปั จจัยภายใต้ กระแสโลกาภิวฒ ั น์ คือ 1.

การเก็งกาไรและสภาวะเงินดอลลาร์ ของสหรัฐอเมริ กาที่ตกต่า

2.

นโยบายเรื่ องการส่งเสริ มพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก

3.

สภาวะโลกร้ อนที่สง่ ผลให้ สภาพอากาศแปรปรวน

4.

ราคาน ้ามันที่แพงขึ ้นและดูจะต่อเนื่องยาวนาน จนต้ องหันไปใช้ ไบโอดีเซลทดแทน

5.

การบริ โภคสินค้ าที่เพิ่มขึ ้นมากของบรรดากลุม่ ประเทศตลาดใหม่

วิก ฤตการณ์ อ าหารในวัน นี ้ มาจากปั ญหาภาคการเกษตรที่ ถูก ปรั บเปลี่ย นจากการ เพาะปลูกเพื่อการส่งออก มาแทนการเพาะปลูกเพื่อการบริ โภคภายในประเทศ การเปลี่ยนมาเป็ น อุตสาหกรรมการเกษตรขนาดใหญ่ที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ต้ องสิ ้นเปลืองปุ๋ย ยาฆ่าแมลง และแหล่งน ้า เบียดเบียนวิถีเกษตรเพื่อชุมชน สูภ่ าค “ธุรกิจการเกษตร” อย่างไร้ เหตุผล นอกจากจะไม่บรรเทา ความอดอยากแล้ ว ยังทาให้ ประชาชนหลายล้ า นคนในประเทศที่ส่งออกอาหาร เช่น ประเทศ


22 อินเดีย ประชากร 1 ใน 5 ต้ องอดมื ้อกินมื ้อ แม้ แต่เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี อีก 48% ยังต้ องประสบ ภาวะทุพโภชนาการ และในประเทศโคลัมเบีย ประชากรถึง 13% ก็ประสบภาวะนี ้ เช่นกัน แนวทางแก้ ไขปั ญหาเร่ งด่วนอีกทางหนึ่งก็คือ การประชุมสุดยอดของสหประชาชาติว่า ด้ วย “วิกฤตอาหาร” ที่จดั ขึ ้น ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 5 มิถนุ ายนที่ผา่ นมา ผู้นาของโลก ได้ ให้ คามัน่ ว่า จะลดอุปสรรคทางการค้ าและจะส่งเสริ มการผลิตภาคการเกษตรให้ มากขึ ้น เพื่อสู้ กับวิกฤตการณ์ อาหารที่ทาให้ เกิดภาวะอดอยากและนาไปสู่การก่อความไม่สงบรุ นแรงในหลาย ประเทศทัว่ โลก ที่ประชุมได้ ผา่ นความเห็นชอบในปฏิญญาร่ วมกันที่จะแก้ ปัญหาวิกฤตอาหารแพง และส่งเสริ มการลงทุนในภาคการเกษตรให้ มากยิ่งขึ ้น ตลอดจนสร้ างความสมดุลในประเด็นปั ญหา ที่มีการถกเถียงกันในเรื่ องของเชื ้อเพลิงชีวภาพ และการเรี ยกร้ องให้ ช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยใน ประเทศยากจนที่มีความต้ องการเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และอาหารสัตว์ในช่วงฤดูกาลเพาะปลูก ซึ่งเชื่อว่า จะช่วยบรรเทาวิกฤตอาหารที่โลกกาลังเผชิ ญอยู่ไ ด้ อย่างไรก็ ตาม องค์ การสหประชาชาติเคย จัดการประชุมสุดยอดอาหารโลกมาแล้ วเมื่ อปี ค.ศ. 1996 เพื่อสร้ างอธิ ปไตยทางอาหาร โดยมี วัตถุประสงค์ ใ ห้ เ น้ นการบริ โภคภายในประเทศ การคุ้มครองปกป้ องสิท ธิ มนุษยชน และสร้ าง หลักประกันให้ ประชาคมโลกเข้ าถึงอาหารที่ปลอดภัยมีคณ ุ ค่าและเหมาะสมทางวัฒนธรรม วิกฤตการณ์ อาหารโลกไม่ใช่ ปั ญหาระยะสันๆ ้ เพราะประชาคมโลกต่างให้ ความสนใจ และตระหนักถึงประเด็นปั ญหาเหล่านี ้ด้ วยความวิตกกังวล บ้ างก็วิเคราะห์ว่าเกิดจากการนาเอา พลังงานทดแทน (Biofuel) มาใช้ ทาให้ ธัญพืช (Grains) ลดปริ มาณลงและเกิดการขาดแคลนอยู่ ตลอดเวลา เช่น บรรดาประเทศในแถบทะเลทรายซาฮารา เป็ นต้ น ปั ญหานี ้ คือ ปั ญหาฉุกเฉินที่ต้องการการแก้ ไข แต่อุปสรรคสาคัญอยู่ที่ เงินทุนช่วยเหลือ ด้ านการวิจยั ที่มีงบประมาณน้ อยมาก การพัฒนาด้ านการเกษตรดูเหมือนจะถูกละเลย การบริ หาร จัดการก็เป็ นไปภายใต้ กรอบของกระบวนการ โลกาภิวตั น์ เนื่องจากนานาประเทศหันมาพึ่งการค้ า มากกว่าการพึง่ พาตนเอง ผลกระทบจากการใช้ พลังงานทดแทนที่เห็นได้ ชัดก็คือ กรณีของประเทศ สหรัฐอเมริ กาที่ใช้ พื ้นที่เพื่อพลังงานทดแทนมากขึ ้น ทาให้ พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดเพื่อเป็ นอาหารคน และ สัตว์กว่า 30% ถูกแปรเปลีย่ นไป จากกรณีดงั กล่าวย่อมส่งผลกระทบกับแหล่งผลิตอาหารแน่นอน เนื่องจากสหรัฐอเมริ กาเป็ นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญของโลก


23 แม้ แ ต่ใ นยุโ รปเองก็ ยัง สนับ สนุน นโยบายด้ า นการผลิต เอทานอล โดยก าหนดให้ มี ส่วนผสมของเอทานอล อย่างน้ อย 10% ดังนันพื ้ ้นที่เพาะปลูกอาหารเพื่อบริ โภค จึงกลายมาเป็ น การปลูกปาล์มน ้ามัน อ้ อย ข้ าวโพด มันสาปะหลัง เพื่อเป็ นพลังงานทดแทน เช่นกัน องค์การอาหารโลกแห่งสหประชาชาติ (WFP) ได้ ตงชื ั ้ ่อ วิกฤตการณ์ นี ้ว่า เป็ น “Silent Tsunami” หรื อ “สึนามิเงียบ” ซึง่ เป็ นเรื่ องที่เกิดขึ ้นโดยไม่ได้ เตรี ยมการรับมือไว้ ก่อน นับว่าท้ าทาย ความสามารถของผู้ที่เกี่ยวข้ องในการวางนโยบายเพื่อความอยูร่ อดของประชาคมโลกเป็ นอย่างยิ่ง จากนี ้ไป ประชาคมโลกคงต้ องจับตามองอย่างใกล้ ชิดว่า องค์กรต่างๆ ระดับโลก จะใช้ มาตรการ และยุทธศาสตร์ ใดเพื่อแก้ ไขวิกฤตการณ์นี ้ สาหรั บ ประเทศไทย ซึ่ง เป็ นที่ รั บ รู้ ของประชาคมโลกว่า อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ยพื ช พัน ธุ์ ธัญญาหาร เพราะเราเป็ นผู้ผลิตและผู้สง่ ออกสินค้ าภาคเกษตรรายใหญ่ของโลก ย่อมหนีไม่พ้นกับ ผลกระทบด้ านราคาอาหารแพง ผู้ที่ได้ รับผลกระทบมากที่สดุ คงไม่พ้นประชาชนผู้ยากจน รวมไปถึง ชนชันกลาง ้ ซึง่ ถือว่าเป็ นความจาเป็ นอย่างยิ่ง ที่รัฐบาลต้ องกาหนดมาตรการเพื่อวางนโยบายและ ดาเนินการอย่างถูกต้ อง เพื่อป้องกันความเดือดร้ อนจากราคาอาหารที่แพงสูงขึ ้น แต่ไม่สอดรับกับ รายได้ ข องประชาชน โดยเฉพาะนโยบายเศรษฐกิ จ ในระดับ รากหญ้ า ขณะนี ้ คงต้ อ งเน้ น ที่ ความสาคัญของการบริ หารจัดการ เพื่อ ปรั บปรุ งประสิทธิ ภาพและรั กษาไว้ ซึ่งความมั่นคงทาง อาหาร (Food Security) ของประเทศ เพื่ อ ส่งเสริ มผู้ที่เ ป็ นเกษตรกรและผู้ผ ลิต ให้ ค งได้ รั บ ผลประโยชน์จากภาคการตลาด ส่วนประชาชน ผู้บริ โภคทังหลาย ้ ก็ต้องเข้ าถึงอาหารทังโอกาสและ ้ การกระจายรายได้ ที่เพิ่มขึ ้น เช่นกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตามน่าจะเป็ นโอกาสที่ดีของประเทศไทยมากกว่า ที่ได้ เกิด “วิกฤตการณ์ อาหารโลก” ขึ ้น เนื่องจากเราเป็ นประเทศผู้ผลิตอาหารส่งออกที่สาคัญของโลก มีปริ มาณอาหาร เพียงพอทังการบริ ้ โภคภายในประเทศ และส่งออกได้ พร้ อมๆ กัน อีกทังเรายั ้ งมีพื ้นที่นิเวศน์อันอุดม สมบูรณ์ด้วยสัตว์เลี ้ยงที่เป็ นอาหารมากมายนานาชนิด “ข้ าว” ซึง่ นับว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สามารถ สร้ างรายได้ และแปรวิกฤตให้ เป็ นโอกาสได้ ภายใต้ แผนพัฒนาด้ านศักยภาพของความเป็ นแหล่ง อาหารโลกเพื่อรองรั บแนวโน้ มทางการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพราะอาหารก็ คือทรั พยากรที่มี ความสาคัญมากขึ ้นทุกๆวัน


24 รั ฐบาล ควรกาหนดนโยบายพัฒนาประเทศที่เป็ นระบบ ทาให้ เรากลายเป็ นประเทศ เกษตรกรรมที่มีเอกภาพ เน้ นการเพิ่มผลผลิตด้ วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ขยายพื ้นที่ภาคการเกษตร ควบคูก่ บั การบริ หารจัดการน ้า และร่วมกันส่งเสริ มทุกภาคส่วน โดยเน้ นการจัดแบ่งพื ้นที่เพาะปลูก พืช ธัญญาหารให้ มากกว่าพื ้นที่ปลูกพืชพลังงานทดแทน แม้ ไทยเราจะเป็ นผู้นาเข้ าด้ านพลังงาน สุทธิ แต่ก็ควรให้ ความสาคัญกับการปลูกพืชพลังงานทดแทนเสมอกัน ทังนี ้ ้เนื่อ งมาจากสาเหตุ ปั จจัยจากความเคลือ่ นไหวของราคาน ้ามันทัว่ โลกที่ยงั ไม่หยุดนิ่ง การปลูกพืชพลังงานทดแทน เช่น อ้ อยและมันสาปะหลังสามารถนามาผลิตเป็ นเอทา นอล ได้ อย่างพอเพียง เนื่องจากพื ้นที่สาหรับการเกษตรของเรามีเป็ นจานวนมากเมื่อวิกฤตการณ์ พลังงานแผ่ขยายไปทัว่ โลก นโยบายด้ านการผลิตเอทานอลจึงเป็ นนโยบายในระยะยาวที่ต้องจัดให้ เป็ นวาระแห่งชาติ เพื่อเตรี ยมการแก้ ไขและป้องกันไปพร้ อ มๆ กับการแก้ ไขวิกฤตการณ์ พลังงาน และวิกฤตการณ์ อาหาร ประเทศไทยมีพื ้นที่ภาคการเกษตรถึง 7 ล้ านไร่ เศษ ดังนัน้ นับเป็ นความ จาเป็ นที่ต้องจัดสรรงบประมาณ สูก่ ารพัฒนาที่ยงั่ ยืน ภาครัฐควรส่งเสริ มและมีมาตรการให้ ก้ ยู ืม ในอัตราดอกเบี ้ยขันต ้ ่า เพิ่มศักยภาพด้ วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ วางแผนจัดการทรัพยากรน ้า จากัด และควบคุมราคาปุ๋ย ตลอดจนช่วยลดรายจ่ายให้ พี่น้องเกษตรกรในทุกๆ ด้ าน อันจะเป็ นการเพิ่ม ผลผลิตต่อไร่ได้ ภายใต้ นโยบายที่เข้ มแข็ง อ้ อยที่เรานามาผลิตเป็ นน ้าตาล ใช้ บริ โภคภายในประเทศ นอกจากนันยั ้ งสามารถส่งออก ได้ เ ป็ นส่วนใหญ่ เพราะเรามี พืน้ ที่ ปลูก อ้ อ ยที่ไม่ กระทบต่อ พื ้นที่นา ในภาคอี สานเราก็ ป ลูกพื ช พลังงานได้ มากกว่าภาคอื่ นๆ อาศัยบรรดาผู้ประกอบการเป็ นผู้สง่ เสริ ม โดยแบ่งแยกสัดส่วนให้ ชัดเจน ผู้ผลิตน ้าตาลจะไม่เกี่ยวข้ องกับโรงงานผลิตเอทานอล การอาศัยความร่ วมมือจากทุกภาค ส่วนนัน้ ต้ องจัดสัมมนาขึ ้น เพื่อระดมสมองและสรรพกาลังต่างๆ ทาการวิเคราะห์ค้นคว้ า วิจัย อัน จะนาไปสู่ผลทางการแก้ ไขที่มีทงั ้ ประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลจะเห็นได้ ว่า เราต้ อ งใช้ ทุนจาก กระทรวงการคลังจ านวนถึง 25,000 ล้ าน เพื่อ ลดต้ นทุนด้ านผลผลิตอย่างเต็มที่ นอกจากนี ้ยัง อาศัยความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ทางภาคเกษตร สร้ างความมั่นใจให้ แก่ประเทศที่เป็ น พันธมิ ตรทางการค้ า โดยยึด หลักความเป็ นธรรมกับ ทุกฝ่ าย ทัง้ ผู้ที่รับผลประโยชน์ และผู้ที่เสีย ผลประโยชน์


25 แม้ ในหลายประเทศทัว่ โลกจะตกอยู่ในสถานการณ์ ที่ลาบาก โดยไม่สามารถจะคาดเดา ได้ วา่ อนาคตข้ างหน้ านันจะเป็ ้ นอย่างไร แต่สาหรับประเทศไทย คงต้ องเปลี่ยนวิกฤตให้ เป็ นโอกาส เช่น ไม่ควรจ ากัดการส่งออก ไม่บิดเบือ นราคาตลาด แสวงหาพันธมิตรที่เป็ นประเทศผู้ผลิตภาค การเกษตรเพื่ อแลกเปลี่ยนความรู้ และการตลาดซึ่งกันและกัน แม้ ว่าวิกฤตการณ์ อ าหารทาให้ เกษตรกรไทยได้ รับผลประโยชน์มากขึ ้นก็ตาม แต่ในขณะเดียวกันผลกระทบยังคงตกอยู่กับคนจน ในเมือง เพราะยังคงต้ องจ่ายค่าอาหารในราคาที่สงู ขึ ้นถึง 43% และในที่ประชุมสหประชาชาติว่า ด้ ว ยการค้ า และการพัฒ นา (อั ง ค์ ถั ด ) ที่ ก รุ ง อั ก กรา สาธารณรั ฐ กานา ยัง แสดงความเห็ น เช่นเดียวกันว่า ในระยะยาวนัน้ การเจรจาเปิ ดตลาดการค้ านับเป็ นสิ่งสาคัญที่สดุ ส่งผลให้ บรรดา เกษตรกรมี คุณภาพชี วิตที่ดี ขึน้ เพราะราคาพืช ผลทางการเกษตรจะได้ ราคาดีตามผลผลิตที่ มี ปริ มาณเพิ่มมากขึ ้น อันนับว่าเป็ นผลประโยชน์ที่ดี แก่ประเทศไทยทังสิ ้ ้น นับว่าเป็ นความโชคดีของเราที่เป็ นประเทศส่งออกอาหารสุทธิ ที่สาคัญของโลก จึงได้ รับ ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ อาหารน้ อยมากเมื่อเปรี ยบเทียบกั บประเทศอื่นๆ อีกหลายๆ ประเทศ การบริ โภคภายในประเทศจึงไม่ต้อ งเผชิญกับภาวะขาดแคลน และยังได้ รับอานิสงส์จากราคา สินค้ าภาคเกษตรที่สงู ขึ ้นด้ วยเพราะอาหารไม่ใช่เพียงโภคภัณฑ์ แต่อาหารเป็ นหัวใจของการอยู่รอด ของประชากรโลก ปั ญหาที่เกิดขึน้ ไม่ได้ เกิ ดขึ ้น ณ ที่หนึ่งที่ใด หากแต่กลายเป็ นปั ญหาใหญ่ ทาง สังคม และ การเมือง ที่แผ่ขยายไปทัว่ โลก การพัฒนาอย่ างยั่งยืน สภาโลกว่าด้ วยสิง่ แวดล้ อมกับการพัฒนา ได้ ให้ ความหมายของการพัฒนาแบบยัง่ ยืนว่า “การพัฒนาแบบยัง่ ยืนหมายถึงการพัฒนาที่สนองตอบต่อความต้ องการของคนในรุ่ นปั จจุบนั โดย ไม่กระทบกระเทือนความสามารถของคนรุ่นต่อไป ในการที่จะสนองตอบความต้ องการของตนเอง” (Sustainable development is development which meets the needs of the present generation without compromising the ability of future generations to meet their own needs)


26 การพัฒนาแบบยั่งยืนตามความหมายดังกล่าว ประกอบด้ วยแนวคิดอย่างน้ อ ย 3 ประการ คือ ประการแรก เป็ นแนวคิดเกี่ยวกับความต้ องการของมนุษย์ ประการที่สอง เป็ นแนวคิด เกี่ยวกับขีดจากัด และ ประการที่สาม เป็ นแนวคิดเกี่ยวกับความยุติธรรมในสังคม แนวคิดประการแรก การพัฒนาแบบยัง่ ยืนคานึงถึงแนวคิดเกี่ยวกับความต้ องการของ มนุษย์ซงึ่ อาจเป็ นความต้ องการพื ้นฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยา รักษาโรค การมีงานทา และความต้ องการที่จะมีมาตรฐานความเป็ นอยู่ที่ดีกว่าเดิม ความต้ องการ ทัง้ 2 ประการนัน้ ล้ วนต้ องอาศัยการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม โดยทัว่ ไปคนรวยกับคนจนมี ความต้ อ งการที่แตกต่างกัน แต่ทงคนรวยและคนจนก็ ั้ มี ความต้ องการพื ้นฐานซึง่ เป็ นความจาเป็ นในการดารงชีวิตเหมือนๆ กัน ไม่แตกต่างกัน คนที่ร่ ารวย กว่าย่อมต้ องการดารงชีวิตอยู่อย่างมีมาตรฐานความเป็ นอยู่ที่สงู มีสิ่งอานวยความสะดวกสบาย มากมายนอกเหนือจากสิ่งที่จาเป็ นต่อการครองชีพ คนจนก็เช่นเดียวกัน เมื่อได้ รับการสนองตอบ ความต้ องการขั ้นพื ้นฐานแล้ วเขาก็มีสทิ ธิ์ที่จะพัฒนาตนเองหรื อได้ รับการพัฒนา ให้ มีมาตรฐานการ ดารงชีวิตที่สงู ขึ ้นกว่าขันความจ ้ าเป็ นพื ้นฐาน แนวคิดประการที่สอง เกี่ยวกับขีดจากัดของสิ่งแวดล้ อม สิ่งแวดล้ อมจะทาหน้ าที่อย่าง น้ อย 2 ประการ คือ 1. เป็ นผู้ให้ ทรัพยากรแก่กระบวนการพัฒนา 2. เป็ นที่รองรับของเสียจากกระบวนการพัฒนา ระบบสภาพแวดล้ อมมีขีดจากัดในการ ให้ ทรัพยากร และมีขีดจากัดในการรองรับของเสีย ในกระบวนการพัฒนา ย่อมจะต้ องนาเอาทรัพยากร สิง่ แวดล้ อมมาใช้ ประโยชน์ และเมื่อ มีการพัฒนา จะต้ องมี ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้ อ มทางกายและชี วภาพเกิ ดขึ ้นมากบ้ างน้ อ ยบ้ าง แล้ วแต่ระดับเทคโนโลยีที่ใช้ แล้ วแต่อตั ราและปริ มาณการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้ อม แล้ วแต่ความสามารถในการบริ หารจัดการกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมที่อาจเกิดขึ ้น การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจะต้ องไม่กระทบต่อความสามารถของคนรุ่นต่อๆ ไป ที่จะมาจัดใช้ ประโยชน์


27 จะต้ องไม่เกิ นศักยภาพที่ระบบนิ เวศนันจะท ้ าให้ งอกงามและฟื น้ ฟูขึ ้นมาใหม่ได้ ไม่เกินขอบขีด ความสามารถ ที่ระบบนิเวศจะรองรับได้ จะต้ องไม่เกินขีดสมดุลของธรรมชาติ แนวคิดประการที่สาม เกี่ยวกับความยุติธรรมในสังคม เพราะการพัฒนาโดยทัว่ ไปเป็ น การปรับปรุงเปลี่ยนให้ สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคมดีขึ ้น มีคุณภาพชีวิตดีขึ ้น แนวทางการพัฒนา แบบยัง่ ยืนมีหลักการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรในปริ มาณเท่าที่ฟืน้ ฟูเกิดใหม่ได้ ความยัง่ ยืนนันไม่ ้ อาจ มั่นคงอยู่ได้ หากปราศจากนโยบายการพัฒนาที่คานึงถึงปั จจัยทางสังคม - วัฒนธรรมเข้ ามา พิจารณาด้ วย อาทิ โอกาสของการเข้ าถึงและได้ ใช้ ทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน การกระจายการ ลงทุนและผลประโยชน์ตอบแทนที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนาอย่างเหมาะสม การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจึง ต้ อ งคานึงถึงหลักความยุติธรรมระหว่างชนรุ่ นปั จจุบันกับชนรุ่ นต่อ ๆ ไป (Intergenerational Equity) และหลักการความยุติธรรมระหว่างชนรุ่นเดียวกัน (Intergenerational Equity) ตามหลัก การความยุติธ รรมระหว่างชนรุ่ น ปั จ จุบัน กับ ชนรุ่ น ต่อ ไป ชนรุ่ น ปั จ จุบัน มี ภาระหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ คนรุ่ น ต่ อ ไปในการที่ จ ะต้ อ งมอบมรดกทางธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดล้ อมในปริ มาณ และคุณภาพที่ไม่ด้อยไปกว่ายุคปั จจุบนั การทาลายความสุขสมบูรณ์ ของ ชนรุ่นหลังนับว่าเป็ นสิง่ ที่ไม่ยตุ ิธรรมอย่างยิ่ง ส่วนหลัก ความยุติธ รรมระหว่า งคนรุ่ น เดี ยวกันจะต้ อ งมุ่ง ไปที่การแก้ ไขปั ญ หาความ ยากจนและการสนองความต้ องการของประชากรผู้ยากไร้ ด้อยโอกาส เพื่อลดความไม่เท่าเทียมกัน การที่จะให้ คนยากจนชื่นชมกับธรรมชาติ รักษาสภาพแวดล้ อมทัง้ ๆที่ปากท้ องยังหิวอยู่เป็ นเรื่ องที่ ขัดต่อความรู้สกึ ฝื นต่อความต้ องการตามธรรมชาติของเขา เมื่อใดที่สามารถพัฒนาให้ หลุดพ้ นจาก วงจรแห่งความชัว่ ร้ าย (โง่ เจ็บ จน) ได้ คนยากจนก็จะมีโอกาสใช้ ทรัพยากรและสภาพแวดล้ อมใน ลักษณะที่ยงั่ ยืนได้ การพัฒนาแบบยัง่ ยืนสนับสนุนค่านิยมที่มีการส่งเสริ มให้ มีมาตรฐาน ในการบริ โภค ทรัพยากรที่ไม่ฟุ่มเฟื อยที่อยู่ในขอบขีดความสามารถของระบบนิเวศที่จะรองรับได้ ตามคากล่าว ของมหาตมะคานธี ที่วา่ “โลกเรานี ้ มีทรัพยากรเพียงพอสาหรับสนองความต้ องการของมนุษย์ แต่ มีไม่เพียงพอสาหรั บความโลภของมนุษย์ ” มนุษย์เราจึงต้ องเปลี่ยนแปลงให้ มีค่านิยมแบบใหม่ เศรษฐศาสตร์ ที่เน้ นเรื่ อง “ยิ่งมากยิ่งดี” (The Economics of More and More) จะต้ องกลายเป็ น


28 เศรษฐศาสตร์ ของความพอดี (The Economics of Enough) ซึ่งตรงกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาในเรื่ องมัตตัญญุตา คือ ความเป็ นผู้ร้ ูจกั ประมาณ คือ ความพอเหมาะพอดี การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจะต้ องคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็ นใหญ่หรื อมีประชาชน เป็ นศูนย์กลาง (People Centered Development) การพัฒนาที่มีครอบครัวเป็ นรากฐาน (Family – Based Development) เพราะประชาชนส่วนใหญ่ควรจะได้ รับผลการพัฒนาอย่างทัว่ ถึงและเป็ น ธรรม การพัฒนาจึงจะยัง่ ยืน โดยที่ครอบครัวและชุมชนเป็ นรากฐานที่สาคัญของสังคม จึงควร พัฒนาครอบครัวและชุมชนให้ มนั่ คง เพื่อให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ลาพังการพัฒนาโดยรัฐบาลฝ่ ายเดียว โดยที่ประชาชนไม่มีส่วนร่ วมด้ วยจะไม่ทาให้ เกิด การพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยที่ประชาชนเป็ นผู้รับผลประโยชน์ของการพัฒนา รู้ปัญหาและความต้ องการ ของตนดี การพัฒนาที่ยงั่ ยืนจึงต้ องส่งเสริ มการมีสว่ นร่ วมของประชาชน (People participation) และส่งเสริ มบทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนา ภาคเอกชนประกอบด้ วยองค์กรเอกชน (NonGovernment Organization หรื อ NGO) องค์กรธุรกิจ (Business Organization) และองค์กร ประชาชน (People Organization) ดังนันภาครั ้ ฐบาล องค์กรเอกชน และองค์กรธุรกิจ ควรจะ ร่วมกันส่งเสริ มองค์กรประชาชนให้ สามารถดาเนินงานอย่างเข้ มแข็งและมีประสิทธิภาพ การพัฒ นาแบบยั่งยื นจะต้ อ งเป็ นการพัฒนาที่ สมดุล โดยมี การพัฒนาที่สมดุลและ ผสมผสานในด้ านต่าง ๆ ไม่จาเป็ นต้ องพัฒนาที่เน้ นหนักไปในด้ านเศรษฐกิจจนเกินไป เพราะลาพัง การพัฒนาด้ านเศรษฐกิจและความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงด้ านเดียว ไม่อาจจะบรรลุถึง การพัฒนาแบบยัง่ ยืนได้ ไม่อาจจะรักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้ อมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้ จาเป็ นต้ องมีการพัฒนาด้ านอื่นควบคู่ไปด้ วย โดยเฉพาะการพัฒนาด้ านสังคมและการพัฒนา ด้ านวัฒนธรรมและจิตใจ มีผ้ กู ล่าวว่า สาเหตุที่สาคัญของปั ญหาสิ่งแวดล้ อม คือพฤติกรรมของมนุษย์ (Human Behavior) เช่น การเห็นแก่ความสะดวกสบาย ความเห็นแก่ตวั ความเห็นแก่ได้ การขาดความ รับผิดชอบ การขาดจิตที่สานึกต่อส่วนรวม จึงมีคากล่าวว่า “ตัวเราเองเป็ นศัตรู ที่ร้ายแรงที่สดุ ของ เรา” (We are own worst enemy) เพื่อให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน จึงต้ องมีการเร่ งรัดการพัฒนา ด้ านวัฒนธรรมและจิตใจ เพื่อให้ เกิดความสมดุลระหว่างความเจริ ญก้ าวหน้ าด้ านเศรษฐกิจและ


29 ด้ านจิ ตใจ เกิ ดความมั่งคั่งทางจิ ตใจ (Spiritual Wealth) ให้ สมดุลกับความมั่งคั่งทางวัต ถุ (Material Wealth) นโยบายการพัฒนาอย่ างยั่งยืน การพัฒนาที่จะก่อให้ เกิดผลที่ยั่งยืนยาวนาน จะต้ อ งไม่ก่อให้ เกิ ดความเสื่อมโทรมแก่ คุณภาพของสิง่ แวดล้ อมและต้ องกระทาอย่างจริ งจัง การพัฒนาปรับปรุ งคุณภาพของสิ่งแวดล้ อม และทรัพยากรธรรมชาติที่เสือ่ มโทรม มีดงั นี ้ 1. การควบคุมการเพิ่มประชากร การเพิ่มประชากรทาให้ เกิดการใช้ ทรัพยากรอย่าง กว้ างขวาง ต้ องมีการผลิตอาหารเพิ่มขึ ้น ต้ องการที่อยู่อ าศัย ต้ องการน ้าดื่มน ้าใช้ เพิ่มขึ ้น ฯลฯ ความต้ องการที่ เพิ่ มขึน้ เหล่า นีไ้ ด้ ก่ อ ให้ เ กิ ด การร่ อ ยหรอขาดแคลนทรั พยากร เกิ ด สารพิ ษใน สิ่งแวดล้ อม และทาให้ ธรรมชาติหรื อสิ่งแวดล้ อมขาดความสมดุลในที่สดุ การหยุดยังการเติ ้ บโต หรื อ การหยุดยัง้ การเพิ่ มประชากรมนุษย์ จะช่วยลดความเสื่อ มโทรมของสิ่งแวดล้ อ มและลด ปริ มาณการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติลง 2. การพื ้นฟูสภาพแวดล้ อ ม สภาพแวดล้ อ มและทรั พยากรธรรมชาติที่อ ยู่ในสภาพ เสื่อมโทรม เช่น ป่ าไม้ แหล่งน ้า การพังทลายของหน้ าดินจะต้ องได้ รับการป้องกันมิให้ เกิดสภาพ เสื่อมโทรมขึ ้นต่อไป และจะต้ องฟื น้ ฟูพฒ ั นาปลูกป่ า ขุดลอกหาแหล่งน ้า การใช้ ที่ดินเพื่อกิจการ ต่าง ๆ ต้ องเหมาะสมกับสภาพพื ้นที่ เป็ นต้ น 3. การป้องกันกาจัดสารพิษ สารพิษที่แพร่ กระจายในอากาศ แหล่งน ้าและที่อยู่ใน วงจรอาหารจะต้ องกาจัดออกไป โดยการป้องกัน ควบคุมการใช้ สารพิษเหล่านันทั ้ งในการเกษตร ้ อุตสาหกรรม และในบ้ านเรื อน มีแหล่งรวบรวม จัดการ และขจัดสารพิษเหล่านันมิ ้ ให้ แพร่ กระจาย ออกไป 4. การวางแผนการใช้ ที่ดินและน ้า ที่ดินที่มีอ ยู่ทั่วประเทศทังในชนบทและในเมื ้ อง จะต้ องมีการจัดสรรการใช้ ให้ เหมาะสมกับสมรรถนะของดิน ไม่วา่ จะเพื่อประโยชน์ทางเกษตรกรรม หรื ออุตสาหกรรมการใช้ เป็ นชุมชนที่อยู่อาศัย และการใช้ เพื่อการสาธารณูปโภค จะต้ องเป็ นไป


30 อย่างสอดคล้ องเหมาะสม และให้ ประโยชน์สงู สุด น ้าที่ใช้ ทงเพื ั ้ ่อการเกษตร อุตสาหกรรม และ อุปโภค จะต้ องมีการวางแผนการใช้ ให้ เกิดความเป็ นธรรม พอเหมาะแก่ฤดูกาล และเหมาะกับ วัตถุประสงค์ ของการใช้ ทัง้ ป้องกัน มิ ให้ มีก ารแพร่ กระจายสารพิษ หรื อ ป้องกัน น ้าเสีย มิ ใ ห้ แพร่กระจายไปสูแ่ หล่งน ้าธรรมชาติ 5. การประหยัดการใช้ ทรัพยากร การใช้ ทรัพยากรทุกชนิดไม่ว่าจะเป็ นน ้า ไฟฟ้า หรื อ พลังงานอื่น ๆ การกิน และการใช้ เครื่ องใช้ ในชีวิตประจาวันทุกชนิด จะต้ องเป็ นไปอย่างประหยัด และใช้ ประโยชน์ให้ ได้ นานคุ้มค่ามากที่สดุ 6. การพัฒ นาเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสม เทคโนโลยี ที่ จ ะน ามาใช้ ทัง้ ในภาคเกษตร อุตสาหกรรมการสื่อสาร คมนาคมและในครัวเรื อน จะต้ องเป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ และไม่ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้ อ ม ทังจะต้ ้ องมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิ ภาพในการ แก้ ไข และฟื น้ ฟูสภาพแวดล้ อมได้ ด้วย 7. ค่า นิย มและวัฒนธรรมที่ เหมาะสม ค่านิ ยมและวัฒ นธรรมที่เ กี่ ย วข้ อ งกับการ ดารงชีวิต และการใช้ ปัจจัยในการดารงชี วิต จะต้ องเป็ นไปอย่างพอเหมาะกับกาลังการผลิตที่ เกิดขึ ้นในระบบนิเวศน์ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ที่ก่อให้ เกิดค่านิยมฟุ่ มเฟื อย ควรถือว่าเป็ นการ มุ่งทาลายการดารงอยูข่ องมนุษยชาติโดยส่วนรวม 8. การควบคุมอาวุธสงคราม อาวุธที่ใช้ ทาสงครามและเพื่อประโยชน์ในการทาลาย ล้ างกันจะต้ องถูกควบคุมจากัดการสร้ าง การใช้ และการซื ้อขายกัน เพื่อป้องกันการข่มขู่รุกราน การได้ เปรี ยบในการใช้ ทรัพยากร และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมที่เกิดขึ ้นจากการใช้ อาวุธสงคราม เหล่านัน้ 9. การให้ การศึกษา การให้ การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อม ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ นิเวศน์สงั คม วัฒนธรรม เทคโนโลยี หรื อวิชาการด้ านอื่น ๆ จะต้ องผสมผสานกันอย่างถูกต้ องและ เป็ นไปเพื่อการดารงชีวิตที่มีคณ ุ ภาพก่อให้ เกิดสติปัญญา ก่อให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจในชีวิตและ ธรรมชาติโดยรอบตัวอย่างถ่องแท้ และก่อให้ เกิดทักษะที่จาเป็ นแก่การดารงชีวิตที่แท้ จริ ง


31 หลักเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็ นที่จะต้ องมี ระบบภูมิค้ ุมกันในตัวที่ ดีพ อสมควร ต่อ การมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิ ด จากการเปลี่ย นแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทังนี ้ ้จะต้ องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดาเนินการทุ กขันตอน ้ และขณะเดียวกัน จะต้ องเสริ มสร้ างพื ้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้ าหน้ าที่ ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจใน ทุกระดับให้ มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อ สัตย์ สจุ ริ ตและให้ มีความรอบรู้ ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้ วยความอดทน ความเพียร มี สติ ปั ญญา และความรอบคอบ เพื่อ ให้ สมดุลและพร้ อ มต่อ การ รองรับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้ างขวาง ทังด้ ้ านวัตถุ สังคม สิง่ แวดล้ อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้ เป็ นอย่างดี หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตงอยู ั ้ ่บนพื ้นฐานของทางสาย กลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้ างภูมิค้ มุ กันที่ดี ในตัว ตลอดจนใช้ ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการ กระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี ้ 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ชี ้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนในทางที่ควร จะเป็ น โดยมีพื ้นฐานมาจากวิถีชีวิตดังเดิ ้ มของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์ใช้ ได้ ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้ นการรอดพ้ นจากภัย และ วิกฤต เพื่อความมัน่ คง และ ความยัง่ ยืน ของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้ กับการปฏิบตั ิตนได้ ในทุก ระดับโดยเน้ น การปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขันตอน ้ 3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้ องประกอบด้ วย 3 คุณลักษณะ พร้ อมกัน ดังนี ้


32 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดย ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ 3.2 ความมี เหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ ยวกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้ องเป็ นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้ องตลอดจนคานึง ถึงผลที่คาดว่า จะเกิดขึ ้นจากการกระทานันๆ ้ อย่างรอบคอบ 3.3 การมีภมู ิค้ มุ กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้ พร้ อมรับผลกระทบและการ เปลีย่ นแปลงด้ านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่า จะเกิดขึ ้นในอนาคตทังใกล้ ้ และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้ อยูใ่ นระดับพอเพียงนันต้ ้ องอาศัย ทังความรู ้ ้ และคุณธรรมเป็ นพื ้นฐาน กล่าวคือ 1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องอย่าง รอบด้ าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้ เหล่านันมาพิ ้ จารณาให้ เชื่ อ มโยงกัน เพื่อ ประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขันปฏิ ้ บตั ิ 2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้ องเสริ มสร้ างประกอบด้ วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้ สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิ บัติ / ผลที่ ค าดว่า จะได้ รั บ จากการน าปรั ชญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมา ประยุกต์ ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้ อมรั บต่อ การเปลี่ยนแปลงในทุกด้ าน ทังด้ ้ าน เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้ อม ความรู้และเทคโนโลยี


33 แนวทางการประยุกต์ ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล ระดับชุมชน และระดับประเทศมี แนวทางดังนี ้ 1. ระดับบุคคล 1.1 รู้จกั “พอ” ไม่เบียดเบียนผู้อื่น 1.2 พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้ มแข็งของตนเอง 1.3 ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวิตที่พอเพียง 2. ระดับชุมชน 2.1 รวมกลุม่ ใช้ ภมู ิปัญญาของชุมชน 2.2 เอื ้อเฟื อ้ กัน 2.3 พัฒนาเครื อข่ายความร่วมมือ 3. ระดับประเทศ 3.1 ชุมชนร่วมมือกัน 3.2 วางระบบเศรษฐกิจแบบพึง่ ตนเอง 3.3 พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็ นค่อยไป 3.4 เติบโตจากข้ างใน


34 แนวทางการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1. แนวทางการปฏิบตั ิตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีดงั นี ้ 1.1 ยึดหลักสามพอ พออยู่ พอกิน พอใช้ 1.2 ประหยัด 1.3 ประกอบอาชีพสุจริ ต 1.4 เน้ นหาข้ าวหาปลาก่อนหาเงินหาทอง 1.5 ทามาหากินก่อน ทามาค้ าขาย 1.6 ใช้ ภมู ิปัญญาพื ้นบ้ าน ที่ดิน คืนทุนสังคม 1.7 ตังสติ ้ มนั่ คง ทางานอย่างรู้ตวั ไม่ประมาท 1.8 ใช้ ปัญญาใช้ ความรู้แท้ 1.9 รักษาสุขภาพให้ แข็งแรงทังกายและใจ ้ 2. แนวทางการประกอบอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.1 ทางานอย่างผู้ร้ ู ใช้ ปัญญาทางานอย่างมืออาชีพ 2.2 อดทนมุ่งมัน่ ยึดธรรมะและความถูกต้ อง 2.3 อ่อนน้ อมถ่อมตน เรี ยบง่าย ประหยัด


35 2.4 มุ่งประโยชน์ของคนส่วนใหญ่เป็ นสาคัญ 2.5 รับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น 2.6 ตังใจ ้ ขยันหมัน่ เพียร 2.7 สุจริ ต กตัญญู 2.8 พึง่ ตนเอง ส่งเสริ มคนดี และคนเก่ง 2.9 รักประชาชน (ผู้รับบริ การ) 2.10 เอื ้อเฟื อ้ ซึง่ กันและกัน สรุปได้ วา่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาคนได้ ทังการ ้ พัฒนาระดับบุคคล ระดับชุมชน และระดับประเทศชาติ โดยยึดหลัก 3 ห่วง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภมู ิค้ มุ กันที่ดีในตัว 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม ซึ่ง ถ้ านาไปปฏิบัติอย่างจริ งจังแล้ วทุกคนในชาติหรื อ ในระดับโลกจะเป็ นบุคคลที่มีจิตสาธารณะที่ มองเห็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมเป็ นที่ตงั ้ และจะนามาซึง่ ความสงบสุขของคนในสังคม หลักการพึ่งพาตนเอง คณะกรรมการพิเศษเพื่อการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (2554) ได้ กล่าวถึงที่มาและความสาคัญของการพึง่ พาตนเอง ดังนี ้ การพึ่งพาตนเองได้ ของประชาชนในภาคเกษตรนับเป็ นเรื่ องที่สาคัญยิ่ง เกษตรกรจะมี งานทา มีรายได้ และสามารถพึง่ พาตนเองได้ ในระยะยาวตามหลักการ “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งเป็ นการทา การเกษตรที่มีกิจกรรมหลากหลาย สามารถปรับตัวและยืดหยุ่นได้ ตามสภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม ในแต่ละพืน้ ที่ เป็ นแนวพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ที่พระราชทานเป็ นแนวคิด


36 และแนวทางในการดารงชีวิต โดยเป็ นแนวทางดาเนินการที่นาไปสูค่ วามสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่างๆ อย่างเป็ นขัน้ เป็ นตอน บนพื ้นฐานปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียง เพื่อ ลดความเสี่ยง ในการเปลีย่ นแปลงของปั จจัยต่างๆ และความผันแปรของธรรมชาติ ทฤษฎีใหม่เป็ นระบบความคิด เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาที่ไม่เคยมีผ้ ใู ดคิดมาก่อนและแตกต่างจากแนวคิด ทฤษฎีและวิธีการที่ เคยมีมาก่อนทังสิ ้ ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ได้ พระราชดารัสไว้ ดงั นี ้ “ฉะนันจึ ้ งทาทฤษฎีใหม่เพื่อที่จะให้ ประชาชนมีโอกาสทาการเกษตรกรรมให้ พอกิน ถ้ าน ้า มีพอดีในปี ไหน ก็ จะสามารถที่จะประกอบการเกษตร หรื อปลูกข้ าวที่เรี ยกว่านาปี ได้ ถ้ าต่อไปใน หน้ าแล้ ง นา้ มี น้อยก็สามารถที่จะใช้ น ้า ที่กักไว้ ในสระเก็ บน ้าในแต่ละแปลงมาทาการเพาะปลูก แม้ แต่ข้าวก็ยงั ปลูกได้ ไม่ต้องไปเบียดเบียนชลประทานระบบใหญ่ เพราะมีของตัวเอง แต่ก็อาจจะ ปลูกผักหรื อเลี ้ยงปลา หรื อทาอะไรอื่นๆก็ได้ ทฤษฎีใหม่นี ้มีไว้ สาหรั บป้องกันความขาดแคลน ใน ยามปกติก็จะทาให้ ร่ ารวยมากขึ ้น ในยามที่มีอุทกภัย ก็ สามารถที่จะฟื ้นตัวได้ เร็ ว โดยไม่ต้องให้ ราชการไปช่วยมากเกินไป ถ้ าประชาชนมี โอกาสพึง่ ตนเองได้ อย่างดี” วิทยา อธิ ปอนันต์ และคณะ (2543) ได้ อธิ บายถึงที่มาและความสาคัญของหลักการ พึ่ง พาตนเอง ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ที่ ม าและความส าคัญ ข้ า งต้ น ว่ า หลัก การพึ่ง พาตนเองนัน้ เนื่องมาจากแนวพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทรงต้ องการให้ เกษตรกรไทยเน้ น การพึ่งพาตนเอง โดยเกษตรกรจะใช้ ความรู้ ความสามารถ ในการบริ หารจัดการที่ดิน โดยเฉพาะ แหล่งน ้าและกิจกรรมการเกษตรได้ อย่างเหมาะสม สอดคล้ องกับสภาพพื ้นที่ และความต้ องการ ของเกษตรกรเอง ด้ วยการนาเรื่ องทฤษฏีใหม่เข้ ามาเป็ นพื ้นฐานในการพึง่ พาตนเอง โดยนาฐานการ ผลิตความพอเพียงมาปรับใช้ ในไร่ นาของตนเอง โดยเริ่ มจากการผลิตจะต้ องทาในลักษณะพึ่งพา อาศัยทรัพยากรในไร่นาและทรัพยากรธรรมชาติเป็ นส่วนใหญ่ ให้ มีความหลากหลายของกิจกรรม การเกษตรในไร่นา มีกิจกรรมเกื ้อกูลกัน กิจกรรมเสริ มรายได้ ใช้ แรงงานในครอบครัว ทางานอย่าง เมที่ ลดต้ นทุนในการผลิต ตลอดจนการผสมผสานกิจกรรมการปลูกพืช เลี ้ยงสัตว์ และประมง ในไร่ นาให้ เกิดประโยชน์สงู สุด ลินด์ซีย์ ฟาลวีย์ (2549) ได้ กล่าวถึงที่มาและความสาคัญของหลักการพึ่งพาตนเองซึ่ง คล้ ายคลึงกับที่มาและความสาคัญข้ างต้ นว่า สิ่งที่เรี ยกว่าแนวเกษตรทางเลือกนัน้ คือ ทางเลือกที่ ต่างไปจากหลักการทัว่ ไปของนักวิทยาศาสตร์ การเกษตร เกษตรกรรายย่อยซึ่งครั ง้ หนึ่งรู้ จักหรื อ


37 ปฏิบตั ิเทคนิคต่างๆเหล่านี ้ และปั จจุบนั นี ้ผู้เชี่ยวชาญนามาจัดแจงใหม่ เทคนิคดังกล่าวสามารถให้ ผลผลิตสูงกว่าโดยใช้ ปัจจัยการผลิตจากภายนอกน้ อย ซึ่งช่วยให้ เกษตรกรรายย่อยสามารถมี สว่ น ในเกษตรเชิงพาณิชย์ได้ สามารถทาให้ เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าในระบบการผลิตแบบพึ่งตนเอง สิ่ง สาคัญในการพิจารณาเกษตรทางเลือกนี ้ ทาให้ เกษตรกรรายย่อยมีโอกาสมากขึ ้น โอกาสทางเลือก ผลผลิตที่ดี และการเข้ าถึงโครงการพื ้นฐานทางสังคมเป็ นสิง่ สาคัญในการลงทุนชนบท ซึ่งทาให้ เกิด การพัฒนาที่แท้ จริ งและสร้ างความมัน่ คงทางการเมืองของประเทศไทย โดยทางเลือกที่แตกต่างไป จากการเกษตรเชิ งพาณิ ชย์ ได้ นามาพิจารณาในกรอบบริ บทของศาสนา และด้ านสังคมรวมทัง้ ความเป็ นมาในบทต่อไป บทสรุปเกี่ยวกับระบบที่นามาใช้ ในประเทศไทยได้ กล่าวถึงตอนนี ้ ให้ เห็น ผลกระทบต่อการเกษตรรายย่อย ระบบเกษตรที่ใช้ ปัจจัยการผลิตต่าและคานึงถึงระบบนิเวศวิทยา ของการผลิตอาหาร ซึ่งคานึงถึงความสาคัญของคุณค่าของมนุษย์ รวมทังการพึ ้ ่งตนเอง และวิถี ชี วิ ต ที่ ถู ก สุข ลัก ษณะรวมทัง้ โภชนาการ ในขณะที่ ส ร้ างรายได้ ใ ห้ เ กษตรกร ถู ก น าเข้ า จาก ต่างประเทศในหลายๆรูปแบบ วัฒ นเกษตร (Permaculture) ยัง คงเป็ นระบบที่ ไม่ ค่อ ยเข้ า ใจว่า แตกต่า งจากระบบ เกษตรผสมผสานและยากที่จะแยกออกของไทย ในขณะที่ระบบเกษตรผสมผสานพืช -สัตว์น ้า ซึ่ง ใช้ สารเคมีน้อย ได้ รับความสนใจจากเกษตรกรและนักส่งเสริ มของไทย เช่นเดียวกับแนวคิดของ ระบบการทาฟาร์ มอินทรี ย์ การทาฟาร์ มอินทรี ย์ต้องการทักษะการจัดการและการตลาดรวมทังทุ ้ น ทาให้ ระบบนี ้ยังไม่แพร่หลายในประเทศไทย เมื่อเทียบกับประเทศอื่น อาทิ ญี่ปนุ่ ระบบการผลิต เพื่ อ ครอบครั ว ซึ่ง ปราศจากปั จ จัย การผลิต ภายนอก อัน พิจ ารณาว่า สอดคล้ องกับคาสอนหรื อวิถีแบบไทยและคุณค่าทางพุทธศาสนา ได้ ร้ ู จักกันในประเทศไทยในหลัก เศรษฐกิ จพอเพียง ซึ่งสืบเนื่องจากปรั ชญาของความพอเพียงนัน้ ได้ เน้ นวิธีการใช้ พื ้นที่ดินของ เกษตรกรรายย่อย ความร่ วมมือกันในการเจรจาต่อรอง การร่ วมกันใช้ เงินทุน และการต่ อรองกับ กลุม่ ภายนอก รวมทังเจ้ ้ าหน้ าที่ของทางรัฐบาลและผลประโยชน์ทางการค้ า รวมเป็ นส่วนหนึ่งของ แนวทางดังกล่าว พระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ที่กล่าวว่า การป่ าไม้ แบบชาวบ้ าน มีสว่ นร่วมเป็ นวิธีเดียวที่จะช่วยให้ มีคนประสบความสาเร็ จ ช่วยให้ แง่คิดทางสังคมในการเกษตรที่ ถูกลืมได้ รับการยอมรับอย่างเด่นชัด ผู้ที่นา่ เป็ นห่วงในเชิงความคิดนี ้อยูใ่ นกลุม่ ธุรกิจการเกษตรและ ข้ าราชการ


38 การพึ่งพาตนเองเป็ นหลักการสาคัญของการเกษตรไทยเสมอมาในระดับเกษตรกรราย ย่อย และคงเป็ นเช่นนี ้ต่อไป หลักการนี ้อาจได้ รับทุนสนับสนุนมากขึ ้นเพื่อขยายความคิดไปสูส่ งั คม แนวกว้ าง หากพิจารณาในเชิงปรัชญาชีวิต หลักการนี ้น่านับถือตลอดกาล สาหรับภาคเกษตรนัน้ หลักการนี ้ไม่เพียงแต่เหมาะแก่กาละ แต่ยงั ให้ การพิจารณาอย่างสมเหตุสมผลแก่ระบบเกษตรราย ย่อ ยแบบดัง้ เดิ ม ในยุค วัต ถุนิ ย มหลัก การนี อ้ าจถูก ตี ค่า ต่ า เว้ น แต่ผ้ ูนับ ถื อ จะ ได้ แ สดงให้ เ ห็ น ประโยชน์อย่างกว้ างขวาง ดังเช่นได้ ม่งุ มัน่ ในประเทศไทย หลักการนี ้ได้ รับความนิยมในระดับสากล เพราะเชื่ อว่าวิธี การปรั บ ปรุ ง แก้ ไขแบบระบบเกษตรกรรายย่อ ยเป็ นทางออกให้ กับเกษตรเชิ ง พาณิชย์ ความเชื่อมโยงระหว่างเกษตรสองระบบจะช่วยให้ ระบบเกษตรรายย่อยลดการถูกผลักดัน ออกชายขอบ คณะกรรมการพิเศษเพื่อการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (2554) ได้ ให้ หลักการพึง่ พาตนเองตามแนวพระราชดาริ ดังนี ้ 1. ด้ านจิ ตใจ ทาตนให้ เป็ นที่พึ่งตนเอง มี จิตสานึกที่ดี สร้ างสรรค์ ให้ ตนเองและชาติ โดยรวม มีจิตใจเอื ้ออาทร ประนีประนอม เห็นประโยชน์สว่ นรวมเป็ นสาคัญ 2. ด้ านสังคม แต่ละชุมชนต้ องช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน เชื่อมโยงเครื อข่ายชุมชนให้ แข็งแรง และเป็ นอิสระ 3. ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ให้ ใช้ และจัดการอย่างชาญฉลาด พร้ อม ทังหาทางเพิ ้ ่มมูลค่า อยูบ่ นพื ้นฐานของความยัง่ ยืน 4. ด้ านเทคโนโลยี สภาพแวดล้ อมมีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ ว เทคโนโลยีใหม่ที่เข้ า มามีทงดี ั ้ และไม่ดีจึงต้ องรู้จกั แยกแยะบนพื ้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้ านและเลือกใช้ ให้ สอดคล้ อง กับความต้ องการตามสภาพแวดล้ อมและควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง 5. ด้ านเศรษฐกิจ เดิมนักพัฒนามุ่งที่จะเพิ่มรายได้ และไม่ม่งุ ที่จะลดรายจ่ายในภาวะ เศรษฐกิจเช่นเวลานี ้ จึงต้ องปรับทิศทางการพัฒนาใหม่ คือ ต้ องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็ นสาคัญ โดย ยึดหลักพออยูพ่ อกิน


39 วิทยา อธิปอนันต์ และคณะ (2543) ได้ ให้ หลักการพึง่ พาตนเอง 5 ประการ ซึ่งสอดคล้ อง กับหลักการข้ างต้ น ดังนี ้ 1. ความพอดีด้านจิตใจ ประกอบด้ วย 1.1 มีจิตใจเข้ มแข็ง พึง่ ตนเองได้ 1.2 มีจิตสานึกที่ดี 1.3 มองโลกอย่างสร้ างสรรค์ 1.4 เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ 1.5 ประนีประนอม 1.6 นึกถึงผลประโยชน์สว่ นรวมเป็ นที่ตงั ้ 2. ความพอดีด้านสังคม ประกอบด้ วย 2.1 ช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน 2.2 เชื่อมโยงเครื อข่าย 2.3 สร้ างความเข้ มแข็งให้ ครอบครัวและชุมชน 2.4 รู้รักสามัคคี 3. ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม ประกอบด้ วย


40 3.1 รู้จกั ใช้ และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ 3.2 เลือกใช้ ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้ เกิดความยัง่ ยืนสูงสุด 3.3 ระวังไม่ให้ กิจกรรมกระทบสิง่ แวดล้ อม-ขยะ 3.4 น ้าเน่าเสีย ฯลฯ 3.5 ฟื น้ ฟู พัฒนา ทรัพยากร 4. ความพอดีด้านเทคโนโลยี ประกอบด้ วย 4.1 รู้จกั ใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้ องต่อความต้ องการและสภาพแวดล้ อม 4.2 พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้ าน ของเราเองก่อน 4.3 ก่อให้ เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก 5. ความพอดีด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้ วย 5.1 มุ่งลดรายจ่าย 5.2 ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ 5.3 ไม่ใช้ จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได้ 5.4 หารายได้ เพิ่มอย่างค่อยเป็ นค่อยไป 5.5 หลีกเลีย่ งการก่อหนี ้ โดยไม่มีผลตอบแทนที่ค้ มุ ค่า


41 5.6 บริ หารความเสีย่ งอย่างเข้ มงวด ทัง้ นีก้ ารประยุกต์ ใช้ แนวทางพระราชดาริ เศรษฐกิ จ พอเพียง จะประสบผลสาเร็ จได้ จะต้ องขันตอนต่ ้ างๆ 3 ขันตอนคื ้ อ 1. การพึ่งตนเอง คือประชาชนแต่ละคนต้ องเข้ าใจในหลักการของแนวทางดังกล่าว ประพฤติปฏิบตั ิได้ 2. การพึ่งพากันเอง กล่าวคือ เมื่ อทุกคนปฏิบตั ิตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแล้ ว ต้ องมารวมกลุม่ กันเป็ นกลุม่ เป็ นองค์กร เป็ นชุมชน เพื่อก้ าวเข้ าสูข่ นตอน ั้ 3. การเติบโตอย่างมัน่ คงสมบูรณ์ มูลนิธิชยั พัฒนา (2547) ได้ ให้ หลักการพึ่งพาตนเองซึ่งสอดคล้ องกันกับหลักการข้ างต้ น ว่า หลักการพึง่ พาตนเองนันหั ้ นกลับมายึดเส้ นทางสายกลาง (มัชฌิมา ปฏิปทา) ในการดารงชีวิต ให้ สามารถพึง่ ตนเองได้ โดยใช้ หลักการพึง่ ตนเอง 5 ประการคือ 1. ด้ านจิตใจ ตนให้ เป็ นที่พงึ่ ของตนเอง มีจิตใจที่เข้ มแข็ง มีจิตสานึกที่ดี สร้ างสรรค์ให้ ตนเองและชาติโดยรวมมีจิตใจเอือ้ อาทร ประนีประนอม ซื่อสัตย์สจุ ริ ตเห็นประโยชน์สว่ นรวมเป็ น ที่ตงั ้ ดังกระแสพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั เกี่ยวกับการพัฒนาคน ความว่า “บุคคลต้ องมี รากฐานทางจิ ตใจที่ดี คือ ความหนักแน่นมั่นคงในสุจริ ตธรรมและความ มุ่งมั่นที่จะปฏิบัติหน้ าที่ให้ จนสาเร็ จ ทังต้ ้ องมีกุศโลบายหรื อวิธีการอันแยบยลในการปฏิบตั ิงาน ประกอบพร้ อมด้ วยจึงจะสัมฤทธิ์ผลแน่นอน และบังเกิดประโยชน์อันยัง่ ยืนแก่ตนเองและแผ่นดิน ” 2. ด้ านสังคม แต่ละชุมชนต้ องช่วยเหลือเกื ้อกูลกันเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่ายชุมชนที่ แข็งแรงเป็ นอิสระ ดังกระแสพระราชดารัส ความว่า


42 “เพื่อให้ งานรุดหน้ าไปพร้ อมเพรี ยงกันไม่ลดหลัน่ จึงขอให้ ทกุ คนพยายามทางานในหน้ าที่ อย่างเต็มที่ และให้ มีการประชาสัมพันธ์ กนั ให้ ดี เพื่อให้ งานทังหมดเป็ ้ นงานที่เกื ้อหนุนสนับสนุนกัน” 3. ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม ให้ ใช้ และจัดการอย่างฉลาดพร้ อมทังการ ้ เพิ่มมูลค่าโดยให้ ยึดหลักการของความยั่งยืนและเกิดประโยชน์สูงสุด ดังกระแสพระราชดารั ส ความว่า “ถ้ ารักษาสิ่งแวดล้ อมให้ เหมาะสม นึกว่าอยู่ได้ อีกหลายร้ อยปี ถึงเวลานันลู ้ กหลานของ เราก็อาจหาวิธีแก้ ปัญหาต่อไป เป็ นเรื่ องของเขาไม่ใช่เรื่ องของเราแต่เราก็ทาได้ ได้ รักษาสิง่ แวดล้ อม ไว้ ให้ พอสมควร” 4. ด้ านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้ อมที่เปลีย่ นแปลงรวดเร็ วเทคโนโลยีเข้ ามาใหม่มีทงั ้ ดีและไม่ดี จึงต้ องแยกแยะบนพื ้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้ านและเลือกใช้ เฉพาะที่สอดคล้ องกับ ความต้ องการของสภาพแวดล้ อมภูมิประเทศ สังคมไทย และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา ของเราเอง ดังกระแสพระราชดารัสความว่า “การเสริ มสร้ างสิ่งที่ชาวบ้ านชาวชนบทขาดแคลนและต้ อ งการ คือ ความรู้ ในด้ าน เกษตรกรรมโดยใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็ นสิง่ ที่เหมาะสม” “การใช้ เ ทคโนโลยีอ ย่า งใหญ่ โตเต็ มรู ปหรื อ เต็ มขนาดในงานอาชี พ หลักของประเทศ ย่อมจะมีปัญหา” 5. ด้ านเศรษฐกิ จ แต่เดิมนักพัฒนามักมุ่งที่การเพิ่มรายได้ และไม่มีการมุ่งที่การลด รายจ่าย ในเวลาเช่นนี ้จะต้ องปรับทิศทางใหม่ คือจะต้ องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็ นสาคัญและยึดหลัก พออยูพ่ อกินพอใช้ และสามารถอยูไ่ ด้ ด้วยตนเองในระดับเบื ้องต้ น ดังกระแสพระราชดารัส ความว่า “การที่ต้องการให้ ทุกคนพยายามที่จะหาความรู้ และสร้ างตนเองให้ มั่นคงนี ้เพื่อ ตนเอง เพื่อที่จะให้ ตวั เองมีความเป็ นอยูท่ ี่ก้าวหน้ า ที่มีความสุข พอมีพอกินเป็ นขันหนึ ้ ่งและขันต่ ้ อไป ก็คือ ให้ มีเกียรติวา่ ยืนได้ ด้วยตนเอง”


43 “หากพวกเราร่ วมมือร่ วมใจกันทาสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ประเทศชาติของเราก็สามารถรอด พ้ นจากวิกฤตได้ ” แนวคิดเกี่ยวกับการค้ าระหว่ างประเทศ การค้ า ระหว่างประเทศเกิ ดขึน้ เนื่อ งมาจากประเทศต่างๆ ผลิตสินค้ าได้ ด้วยต้ นทุน ที่ แตกต่า งกัน เพราะแต่ละประเทศต่า งๆ ก็ มี ท รั พ ยากรและความชานาญในการผลิตไม่ เท่า กัน ประเทศที่มีทรัพยากรมากก็มกั จะได้ เปรี ยบในการผลิตสินค้ าซึ่งต้ องใช้ ทรัพยากรนันๆ ้ มาใช้ ในการ ผลิตสินค้ า อย่างไรก็ตามความมากน้ อยของทรัพยากรการผลิตที่มีอยู่ก็มิใช่สิ่งที่กาหนดต้ นทุนและ ความได้ เปรี ยบในการผลิตเสมอไป สิ่งที่สาคัญอาจยังขึ ้นอยู่กับประสิทธิ ภาพของปั จจัยการผลิต ด้ วยเช่นกัน ความหมายของการค้ าระหว่ างประเทศ ประพันธ์ เศวตนันท์ และ ไพศาล เล็กอุทยั (2544) ได้ ให้ ความหมาย การค้ าระหว่าง ประเทศว่า หมายถึง การแลกเปลีย่ นสินค้ าและบริ การระหว่างประเทศ การนาเข้ าหรื อการส่งออก สินค้ าหรื อบริ การจะทาให้ การพัฒนาประเทศเป็ นไปอย่างรวดเร็ วและมีมาตรฐานการครองชีพที่ดี ในทางตรงกันข้ าม หากแต่ละประเทศพยายามที่จะผลิตสินค้ า หรื อบริ การเสียเอง มาตรฐานการ ครองชีพอาจจะต่ามาก ทังนี ้ ้เป็ นไปได้ ยากที่แต่ละประเทศจะมีความชานาญในการผลิตสินค้ าหรื อ บริ การทุกประเภทตามต้ อง ราตรี สิทธิ พงษ์ และ ชาลี ตระกูล (2552) ได้ ให้ ความหมายของคาว่า การค้ าระหว่าง ประเทศ หมายถึง การซื ้อขายแลกเปลีย่ นสินค้ าและบริ การระหว่างประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่ง โครงสร้ างของการค้ าระหว่างประเทศประกอบด้ วยสินค้ าส่งออก และสินค้ านาเข้ า ประเทศที่ทา การซือ้ ขายสินค้ าระหว่า งกัน เรี ยกว่า ประเทศคู่ค้า และการเปรี ยบเทีย บระหว่า งมูลค่าสินค้ า ส่งออก และมูลค่าสินค้ านาเข้ า เรี ยกว่า ดุลการค้ า


44 ความสาคัญของการค้ าระหว่ างประเทศ ราตรี สิทธิ พงษ์ และ ชาลี ตระกูล (2552) กล่าวไว้ ว่า การค้ าระหว่างประเทศถื อ เป็ น เครื่ องมื อที่สาคัญในการสร้ างความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิ จ และเป็ นแหล่งรายได้ ที่สาคัญที่ นามาพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศได้ ปั จจุบนั ประเทศต่างๆจาเป็ นต้ องติดต่อซึ่งกันและกัน มี ความสัมพันธ์ ทางการค้ าและการลงทุนกับต่างประเทศ ถ้ าประเทศใดปิ ดประเทศ ไม่ติดต่อค้ าขาย กับประเทศต่างๆจะ พบว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศนันจะเป็ ้ นไปอย่ างช้ าๆ ความสาคัญ ของการค้ าระหว่างประเทศ มีดงั นี ้ 1. ทาให้ การผลิตภายในประเทศขยายตัว เนื่องจากเมื่อ มีการติดต่อซื ้อขายสินค้ ากับ ต่างประเทศทาให้ มีการผลิตสินค้ าเพื่อ การส่งออกมากขึ ้น ส่งผลให้ เกิดการจ้ างงาน และรายได้ ประชาชาติเพิ่มขึ ้น 2. มีการใช้ ทรั พยากรอย่างมี ประสิทธิ ภาพ เนื่อ งจากในแต่ละประเทศจะเลือ กผลิต สินค้ าที่ตนเองมีความถนัด ใช้ ปัจจัยที่มีอยู่ในประเทศในการผลิตอย่างเหมาะสม ทาให้ ต้นทุนการ ผลิตต่า สามารถส่งออกไปขายยังต่างประเทศได้ 3. ประชาชนมี สินค้ าบริ โภคมากขึ ้น เนื่อ งจากมี การนาเข้ าสินค้ าที่ประเทศผลิตเอง ไม่ได้ 4. มีการพัฒนาด้ านเทคโนโลยี เพื่อให้ สินค้ ามีคุณภาพสามารถส่งไปขายแข่งขันกับ ต่างประเทศได้ สาเหตุของการค้ าระหว่ างประเทศ ประพันธ์ เศวตนันท์ และ ไพศาล เล็กอุทัย (2544) กล่าวว่า สาเหตุที่ทาให้ เกิ ดการค้ า ระหว่างประเทศเนื่องมาจากสาเหตุ ดังต่อไปนี ้ 1. แต่ล ะประเทศมี ท รั พ ยากรที่ แ ตกต่า งกัน บางประเทศอาจมี ที่ ดิน เหมาะแก่ ก าร เพาะปลูก แต่บางประเทศอาจมี แร่ ธาตุต่างๆ มากมาย บางประเทศมี พื ้นที่เป็ นป่ าเขา แต่บาง


45 ประเทศมี พืน้ ที่ส่วนใหญ่ เป็ นทะเลทราย นอกจากนี ้ยังมี ลกั ษณะภูมิประเทศที่แตกต่างกันด้ ว ย ดัง นัน้ จึ ง มี ผ ลท าให้ แ ต่ ล ะประเทศผลิต สิ น ค้ า ได้ แ ตกต่ า งกัน จึ ง ต้ อ งน าทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ไ ป แลกเปลีย่ นกับสินค้ าที่ไม่สามารถผลิตเองได้ บางประเทศมีทรัพยากรที่มากเกินความต้ องการ แต่ บางประเทศอาจมีทรัพยากรไม่พอกับความต้ องการ ทาให้ ต้องมีการสัง่ ซื ้อทรัพยากรดังกล่าวจาก ประเทศที่มีทรัพยากรมากกว่าความต้ องการ 2. แต่ละประเทศมีความนิยมในสินค้ าที่แตกต่างกัน สินค้ าบางอย่างอาจผลิตได้ ใน ประเทศหนึ่งแต่ไม่เป็ นที่นิยมหรื อไม่เป็ นที่ต้อ งการใช้ ในประเทศนัน้ แต่กลับเป็ นที่ต้อ งการของ ประเทศอื่น จึงทาให้ มีการส่งออกเกิดขึ ้นไปยังประเทศที่ต้องการ ทาให้ เกิดการค้ าระหว่างประเทศ 3. แต่ละประเทศผลิตสินค้ าชนิดที่ต้องการได้ แต่มีต้นทุนที่แตกต่างกัน ถึงแม้ ว่าแต่ละ ประเทศจะสามารถผลิตสินค้ าที่ตนต้ องการได้ แต่การผลิตขึ ้นเองอาจจะทาให้ ต้นทุนในการผลิตสูง กว่าเมื่อเปรี ยบเทียบกับต้ นทุนของประเทศอื่น จึงต้ องตัดสินใจซือ้ สินค้ าจากประเทศอื่น ราตรี สิทธิพงษ์ และ ชาลี ตระกูล (2552) ได้ กล่าวว่า สาเหตุสาคัญที่ทาให้ ประเทศต่างๆ ทาการค้ าระหว่างประเทศ คือ 1. การที่แต่ละประเทศมีทรัพยากร ภูมิอากาศ ภูมิประเทศที่แตกต่างกัน ถ้ าประเทศใด มีทรัพยากรหรื อปั จจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งมากก็จะทาการผลิตสินค้ าที่ใช้ ทรัพยากรชนิดนัน้ แล้ วส่งออกไปขายยังต่างประเทศ ในขณะเดียวกันจะนาเข้ าสินค้ าชนิดอื่นที่ตนเองไม่สามารถผลิต ได้ เช่น ประเทศในตะวันออกกลางพื ้นดินส่วนใหญ่เป็ นทะเลทรายไม่เหมาะสมกับการเพาะปลูก แต่มีทรัพยากรน ้ามันมาก ก็จะส่งน ้ามันเป็ นสินค้ าส่งออก และนาเข้ าสินค้ าประเภทอาหารที่ตนเอง ไม่สามารถผลิตได้ หรื อผลิตได้ น้อย 2. ความสามารถและเทคนิคในการผลิตแตกต่างกัน ทาให้ คุณภาพการผลิตสินค้ าที่ แตกต่างกัน มีผลให้ ต้นทุนแตกต่างกันด้ วย กล่าวคือ ถ้ าแต่ละประเทศเลือกผลิตสินค้ าที่ตนมีความ ชานาญ ความถนัด ประสิทธิ ภาพในการผลิตสูงทาให้ ต้นทุนในการผลิตต่า ก็จะส่งออกสินค้ าชนิด นันและน ้ าเข้ าสินค้ าที่ประเทศตนเองต้ องการแต่ไม่มีความชานาญในการผลิตหรื อผลิตได้ ในต้ นทุน ที่สูงเกิ นไป เช่ น ประเทศออสเตรเลีย เป็ นแหล่งผลิตขนแกะ ประเทศมาเลเซี ย เป็ นแหล่งผลิต


46 ยางพาราและดีบุ ก ประเทศในทวีป อเมริ กาเหนือ เป็ นแหล่ง ผลิตอุ ตสาหกรรมหนักและน ้ามัน ประเทศในทวีปแอฟริ กาเป็ นแหล่งทองคาและเพชร เป็ นต้ น ประโยชน์ ของการค้ าระหว่ างประเทศ ประพันธ์ เศวตนันท์ และ ไพศาล เล็กอุทยั (2544) กล่าวว่า การค้ าระหว่างประเทศ ก่อให้ เกิดประโยชน์ดงั ต่อไปนี ้ 1. ทาให้ ส ามารถใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู่ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ไ ด้ อ ย่า งเต็ ม ที่ เมื่ อ มี ก ารค้ า ระหว่างประเทศ ตลาดสินค้ าจะขยายตัว การผลิตภายในประเทศจะเป็ นการผลิตไม่เพียงแต่เพื่อ การบริ โภคภายในประเทศเท่านัน้ แต่เป็ นการผลิตเพื่อ ตลาดต่างประเทศด้ วย ทาให้ สามารถใช้ ทรัพยากรที่มีอยูไ่ ด้ อย่างเต็มที่ 2. ทาให้ สามารถนาเข้ าสินค้ าที่ต้องการ การค้ าระหว่างประเทศทาให้ สามารถนาเข้ า สิน ค้ า ที่ ผ ลิ ต เองไม่ ไ ด้ ห รื อ ผลิ ต ได้ น้ อ ยกว่ า ความต้ อ งการ เพื่ อ สนองความต้ อ งการบริ โ ภค ภายในประเทศ 3. ส่งเสริ มการออมและการลงทุนระหว่างประเทศ เมื่อมีการผลิตสินค้ าส่งออกไปขาย ต่างประเทศ จะทาให้ ผ้ ผู ลิต ผู้สง่ ออก แรงงาน และเจ้ าของปั จจัยการผลิตอื่นๆ ได้ รับรายได้ เพิ่มขึ ้น ทาให้ ระดับรายได้ เพิ่มขึ ้น ทาให้ รายได้ ประชาชาติเพิ่มขึ ้นซึง่ ส่งผลให้ ความสามารถในการออมของ ประเทศเพิ่มขึ ้น และถ้ าสามารถระดมเงินออมที่เพิ่มขึ ้นและนาไปใช้ เพื่อการลงทุ นภายในประเทศ จะยิ่งช่วยทาให้ ปริ มาณการลงทุนภายในประเทศเพิ่มขึ ้น รวมถึงการผลิตสินค้ าด้ วย 4. ช่ ว ยท าให้ มี ก ารแข่ ง ขัน ของผู้ ป ระกอบการมากขึ น้ เมื่ อ มี ก ารส่ง ออกไปขาย ต่า งประเทศ ประเทศที่ ส่ง สิ น ค้ า ออกไปขายต้ อ งแข่ ง ขัน กับ สิ น ค้ า ของประเทศอื่ น ในตลาด ต่างประเทศ และมีการนาเข้ าสินค้ าเข้ ามาขายแข่งกับสินค้ าที่ผลิตภายในประเทศ การแข่งขันจะ ก่ อ ให้ เ กิ ด การปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิต การจั ด การและการตลาดให้ มี ป ระสิท ธิ ภ าพสูง อยู่ ตลอดเวลา และมีการเลียนแบบการผลิต กรรมวิธีในการผลิตของต่างประเทศ ยิ่งไปกว่านี ้ยังช่วย ลดอานาจการผูกขาดของผู้ผลิตได้ อีกด้ วย


47 5. บรรเทาปั ญหาด้ านการคลังของรั ฐบาล การค้ าระหว่างประเทศจะทาให้ รัฐบาลมี รายได้ จ ากการเก็ บภาษี สินค้ า ส่ง ออกและภาษี สินค้ า นาเข้ า ภาษี มูลค่าเพิ่ ม ภาษี สรรพสามิ ต ค่าธรรมเนียมต่างๆ และภาษี ที่จัดเก็บจากการประกอบธุรกิจอื่ นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการค้ าระหว่าง ประเทศ และยังช่วยทาให้ รายได้ ของเจ้ าของปั จจัยการผลิตต่างๆ เพิ่มขึ ้น ส่งผลให้ รัฐบาลเก็บภาษี ได้ เพิ่มขึ ้น ในทางกลับกันรายจ่ายของรัฐบาลบางประการอาจลดลงด้ วย รายจ่ายประชาสงเคราะห์ คนว่างงาน เพราะการค้ าทาให้ มีการจ้ างแรงงานและทาให้ คนงานมีรายได้ การว่างงานลดลง และ เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีได้ เพิ่มมากขึ ้น การก่อหนี ้จะน้ อยลง ฐานะทางการคลังดีขึ ้น 6. ทาให้ เกิดการประหยัดจากขนาดของการผลิต เมื่อมีการผลิตสินค้ าในปริ มาณมาก ขึ ้นเพื่อส่งออกสินค้ าชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งแต่เดิมผลิตขายเฉพาะภายในประเทศ ต้ นทุนเฉลี่ยต่อ หน่วยจะลดลงเพราะมีการขยายขนาดการผลิ ตของหน่วยผลิต ทาให้ มีการประหยัดด้ านแรงงาน ด้ านการจัดการและการตลาด ราคาสินค้ าจะถูกลง เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ผลประโยชน์ก็ จะตกแก่ผ้ บู ริ โภคซึง่ เป็ นประชากรส่วนใหญ่ของโลก ราตรี สิทธิพงษ์ และ ชาลี ตระกูล (2552) ได้ กล่าวว่า ในปั จจุบนั การค้ าระหว่างประเทศมี ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิ จทุกๆประเทศ ถ้ าประเทศใดเปิ ดประตูทาการค้ ากับประเทศต่างๆ แล้ วจะทาให้ เกิดประโยชน์ดงั ต่อไปนี ้ 1. ทาให้ ประเทศต่างๆมี สินค้ าและบริ การบริ โภคมากขึ ้น สินค้ าใดที่ในประเทศผลิต ไม่ได้ ก็สามารถซื ้อจากประเทศอื่นได้ 2. ทาให้ การจัดสรรทรัพยากรเป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ เนื่องจากแต่ละประเทศมี ทรัพยากรหรื อปั จจัยการผลิตที่แตกต่างกัน และผลิตภาพของแรงงานที่แตกต่างกัน แต่ละประเทศ จะเลือกผลิตสินค้ าที่ตนมีความถนัด เรี ยกว่าเกิดการแบ่งงานกันทา ถ้ าเป็ นการผลิตอย่างต่อเนื่อง จะก่อให้ เกิดความชานาญตามมา ประสิทธิ ภาพการผลิตสูงขึ ้น ทาให้ ปริ มาณสินค้ าที่ผลิตได้ มาก ขึ ้น ทาให้ เกิ ดการประหยัดเวลา ประหยัดแรงงาน ทาให้ ต้นทุนการผลิตต่าลง แต่ละประเทศจะ เปรี ย บเที ย บต้ น ทุ น การผลิต กั บ ประเทศอื่ น ๆ แล้ ว เลื อ กผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี ต้ น ทุ น ต่ า กว่ า ส่ง เป็ น สินค้ าออก แล้ วนาเข้ าสินค้ าที่มีต้นทุนสูง ทาให้ เกิดประโยชน์ได้ สินค้ าที่มีคุณภาพดีและราคาถูก กว่าที่จะผลิตเอง


48 3. มี ผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยี การติดต่อ ค้ าขายทาให้ ความรู้ ทางวิช าการค่างๆ กระจายไปสูป่ ระเทศคูค่ ้ ามากขึ ้น โดยเฉพาะประเทศกาลังพัฒนาการค้ าต่างประเทศทาให้ เกิดการ พัฒนาเทคโนโลยีปรับปรุงการผลิตให้ ขึ ้น 4. ประเทศมีรายได้ มากขึ ้นจากการส่งสินค้ าออก และการเก็บค่าธรรมเนียมจากสินค้ า นาเข้ าและส่งออก แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) จิณห์ระพีร์ พุม่ สงวน (2552) กล่าวว่า The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) (2535) คือ คณะกรรมการของสถาบันวิชาชีพ 5 สถาบัน ในสหรัฐอเมริ กา อันได้ แก่ 1. สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งสหรั ฐอเมริ กา (The American Institute of Certified Public Accountants หรื อ AICPA) 2. สมาคมผู้ตรวจสอบภายใน (The Institute of Internal Auditor หรื อ IIA) 3. สมาคมผู้บริ หารการเงิน (The Financial Executives Institute หรื อ FEI) 4. สมาคมนักบัญชีแห่งสหรัฐอเมริ กา (The American Accounting Association หรื อ AAA) และ 5. สมาคมนักบัญชีเพื่อการบริ หาร (Institute of Management Accountants หรื อ IMA) ทัง้ 5 สถาบันนี ้ได้ ร่วมกันศึกษาวิจยั และพัฒนาแนวคิดของการควบคุมภายใน และได้ ให้ ความหมายของการควบคุมภายในว่า “การควบคุมภายใน คือ กระบวนการปฏิ บัติ งานที่ ถูก


49 กาหนดร่วมกันโดย คณะกรรมการ ผู้บริ หารตลอดจนพนักงานขององค์กรทุกระดับชัน้ เพื่อให้ เกิด ความมั่น ใจอย่า งสมเหตุส มผลว่า วิ ธี ก ารหรื อ การปฏิ บัติ ง านตามที่ ก าหนดไว้ จ ะท าให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์ของการควบคุม”ระบบการควบคุมภายใน ประกอบด้ วยนโยบายและวิธีปฏิบตั ิงานที่ กาหนดขึ ้นในองค์กร เพื่อให้ ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่ากิ จการจะบรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย คาจากัดความของการควบคุมภายใน The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ให้ ความหมายหรื อคานิยาม “การควบคุมภายใน” ไว้ ดงั นี ้ “Internal Control is a process, effected by an entity’s board of director, management and other personnel, designed to provide reasonable assurance regarding the achievement of objectives in the following categories : 1. Effectiveness and efficiency of operations 2. Reliability of financial reporting 3. Compliance with applicable laws and regulations” แปลความได้ วา่ “การควบคุม ภายใน หมายถึ ง กระบวนการที่ ค ณะผู้บ ริ ห ารและบุ คลากรในองค์ ก ร กาหนดขึน้ ซึ่ง เป็ นการออกแบบในระดับ ที่ ส มเหตุส มผลเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเชื่ อ มั่น ในการบรรลุ วัตถุประสงค์ในเรื่ องดังต่อไปนี ้ 1. ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินงาน 2. ความเชื่อถือได้ ของข้ อมูลและรายงานทางการเงิน


50 3. การปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ” The Canadian Institutes of Chartered Accountants (CICA) ให้ ความหมาย หรื อคา นิยาม “การควบคุมภายใน” ไว้ เช่นกันดังนี ้ คือ “Control comprises those elements of an organization (including its resource, systems, culture, structure and task) that taken together support people in the achievement of the organizations objective” แปลความได้ วา่ “การควบคุม ภายใน ประกอบด้ วย องค์ ป ระกอบต่า งๆ ขององค์ ก รรวมกัน (รวมทัง้ ทรัพยากร ระบบ วัฒนธรรม โครงสร้ าง และงานต่าง ๆ) ซึง่ สนับสนุนให้ บุคลากรสามารถปฏิบตั ิงาน ได้ สาเร็ จบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กรที่กาหนดไว้ ” มาตรฐานการสอบบัญชีรหัส 400 ของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่ง ประเทศไทย ได้ ให้ ความหมายหรื อคานิยาม “ระบบการควบคุมภายใน” ไว้ ดงั นี ้ “ระบบการควบคุม ภายใน” หมายถึง “นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิ (การควบคุมภายใน) ซึ่งผู้บริ หารของกิจการกาหนด ขึ ้น เพื่อช่วยให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของผู้บริ หารที่จะให้ เกิดความมั่นใจเท่าที่จะสามารถทาได้ ว่าการ ดาเนินธุ รกิ จเป็ นไปอย่างมี ระเบียบและมี ประสิทธิ ภาพ ซึ่งรวมถึง การปฏิบัติตามนโยบายของ ผู้บริ หาร การป้องกันรั กษาทรัพย์สิน การป้องกันและการตรวจพบทุจริ ตและข้ อ ผิดพลาด ความ ถูกต้ องและครบถ้ วนของการบันทึกบัญชี และการจัดทาข้ อมูลทางการเงินที่เชื่อถือได้ อย่างทันเวลา นอกเหนือจากเรื่ องที่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับงานของระบบบัญชีแล้ ว ระบบการควบคุมภายในยัง ครอบคลุมถึง สภาพแวดล้ อมของการควบคุม และวิธีการควบคุม” อรทัย ดุษฎีดาเกิง (2554) กล่าวถึงความหมายของการควบคุมภายใน ว่าเป็ นนโยบาย และวิธีการที่ผ้ บู ริ หารของกิจการได้ กาหนดขึ ้นเพื่อให้ ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่า จะทาให้ กิจการได้ บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ นโยบายและวิธีการเหล่านี ้ทาให้ เกิ ดการ ควบคุม ซึง่ เมื่อรวมกันแล้ วจะประกอบขึ ้นเป็ นระบบควบคุมภายในของกิจการ


51 องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ (2555) กล่าวว่า การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการที่ผ้ บู ริ หารและบุคลากรขององค์กรจัดให้ มีขึ ้น เพื่อสร้ างความมั่นใจอย่า งสมเหตุสมผลว่า การดาเนินงานขององค์กรจะบรรลุผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ตามคาจากัดความ ของการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน จิณห์ระพีร์ พุม่ สงวน (2552) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ดังนี ้ 1. ด้ านการดาเนินงาน (Operation) โดยมุ่งหมายให้ การปฏิบตั ิงานเกิดประสิทธิ ภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่า ด้ วยการกากับการใช้ ทรัพยากรทุกประเภทให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ บรรลุเป้าหมายที่ผ้ บู ริ หารกาหนดไว้ และให้ ปลอดจากการกระทาทุจริ ตของพนักงาน หรื อผู้บริ หาร และหากมีความเสียหายเกิดขึ ้นก็ช่วยให้ ทราบถึงความเสียหายนันได้ ้ โดยเร็ วที่สดุ 2. ด้ านการรายงานทางการเงิน (Financial Reporting) รายงานทางการเงินหรื องบ การเงินไม่วา่ จะเป็ นรายงานที่ใช้ ภายในหรื อภายนอกองค์กร ต่างต้ องมีความเชื่อถือได้ และทันเวลา มีคณ ุ ภาพเหมาะสมสาหรับการนาไปใช้ เป็ นข้ อมูลประกอบการพิจารณา ตัดสินใจทางธุรกิจของนัก บริ หาร เจ้ าหนี ้ ผู้ถือหุ้น และผู้ลงทุนทัว่ ไป 3. ด้ า นการปฏิบัติ ใ ห้ เ ป็ นไปตาม กฎ ระเบี ยบ และนโยบาย (Compliance with Application Laws and Regulations) การปฏิบตั ิงานหรื อดาเนินธุรกิจให้ สอดคล้ อง หรื อเป็ นไป ตามบทบัญญัติ ข้ อกาหนดของกฎหมาย นโยบาย ข้ อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้ องกับการปฏิบตั ิงาน หรื อการดาเนินธุรกิจนัน้ เพื่อป้องกันมิให้ เกิดผลเสียหายใดๆ จากการละเว้ นการปฏิบตั ิให้ เป็ นไป ตามกฎ ระเบียบเหล่านัน้ จากวัต ถุป ระสงค์ ที่ ก ล่า วมาแล้ ว ข้ า งต้ น จะเห็น ได้ ว่า บางครั ง้ ในการจัด การควบคุม ภายในสามรถแยกแยะวัตถุประสงค์ได้ ชดั เจน แต่บางกรณีก็มีวตั ถุประสงค์ที่เกี่ยวข้ อ งกัน ดังนัน้ จึง เป็ นหน้ า ที่ ข องผู้ บ ริ ห ารที่ จ ะต้ องตัด สิ น ใจว่ า จะก าหนดมาตรการการควบคุ ม ภายในเพื่ อ วัตถุประสงค์อะไร ต้ องการเน้ นชัดว่าเพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งเพียงอย่างเดียว หรื อ ต้ องการจัดให้ มีระบบการควบคุมภายในเพื่อวัตถุประสงค์หลายประการที่สมั พันธ์ กัน


52 กองบริ การการศึกษา สานักงานอธิการบดี (2553) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการควบคุม ภายใน มีดงั นี ้ 1. เพื่อให้ ก ารปฏิบัติงานเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผ ล ทาให้ การใช้ ทรัพยากรเป็ นไปอย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยลดขันตอนการปฏิ ้ บตั ิงานที่ ซ ้าซ้ อนหรื อไม่จาเป็ น ลดความเสี่ยงหรื อผลเสียหายด้ านการเงินหรื อ ด้ านอื่ น ๆ ที่อ าจมี ขึ ้นในหน่วยงาน ซึ่งจะช่วยลด ต้ นทุนการดาเนินงาน แก่หน่วยงานในที่สดุ 2. เพื่อให้ มีข้อมูลและรายงานทางการเงินที่ถูกต้ องครบถ้ วนและเชื่อถือได้ สร้ างความ มั่นใจแก่ผ้ ูบริ หารในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริ หารและการปฏิบัติงาน และบุคคลภายนอกที่ เกี่ยวข้ อง 3. เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรมี ก ารปฏิ บัติ ต ามนโยบาย กฎหมาย เงื่ อ นไขสัญ ญา ข้ อ ตกลง ระเบียบ ข้ อบังคับต่างๆ ของหน่วยงานอย่างถูกต้ องและครบถ้ วน องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ (2555) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการควบคุม ภายใน ซึง่ จาแนกเป็ น 3 ประเภท คือ 1. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินงาน คือ วัตถุประสงค์พื ้นฐานของการ ดาเนินงานในทุกองค์ กร โดยมุ่งเน้ นที่กระบวนการปฏิบตั ิงานที่มีคุณภาพ และเอื ้ออานวยให้ การ ดาเนินงานเป็ นไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ในขณะเดียวกัน ผลที่ได้ รับจากกระบวนการนันต้ ้ อง คุ้มค่ากับต้ นทุนที่ใช้ ไป จึงจะทาให้ เกิดความมีประสิทธิภาพ 2. ความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน คือ การจัดให้ มีข้อมูลและรายงานทางการ เงินที่ถกู ต้ อง เพียงพอ และเชื่อถือได้ เพื่อสร้ างความมั่นใจให้ กับผู้บริ หาร บุคลากรในองค์กร และ บุคคลภายนอกในการนาข้ อมูลดังกล่าวไปใช้ ประกอบการพิจารณาตัดสินใจในเรื่ องต่างๆ


53 3. การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อบั ง คับ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง คื อ การมุ่ ง เน้ นให้ กระบวนการปฏิบัติงานเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้ อ บังคับ เงื่อ นไขตามสัญญา ข้ อ ตกลง นโยบาย และแนวทางการปฏิบตั ิงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง การกาหนดวัตถุประสงค์ ของการดาเนินงานขึ ้นมานัน้ ผู้บริ หารจะต้ อ งกาหนดวิธีการ ทางานให้ ไปสูว่ ตั ถุประสงค์นนั ้ และในขณะเดียวกันก็ต้อ งมี การควบคุมการปฏิบตั ิงานต่างๆ ใน องค์กรให้ ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลด้ วย การควบคุมต่างๆ เหล่านี ้ ก็คือ การ ควบคุมกระบวนการปฏิบตั ิงานภายในองค์กร หรื อเรี ยกสันๆ ้ ว่าการควบคุมภายในนัน่ เอง จากที่กล่าวข้ างต้ น จะเห็นว่าการควบคุมภายในเป็ นกลไกสาคัญที่ช่วยให้ องค์กรสามารถ บรรลุวตั ถุประสงค์ของการดาเนินงาน ดังนัน้ การควบคุมภายในจึงไม่ใช่สงิ่ ที่จะเลือกว่าองค์กรควร ทาหรื อไม่ควรทา แต่เป็ นสิ่งที่จาเป็ น ต้ องพิจารณาว่าทาอย่างไร จึงจะทาให้ การควบคุมภายในมี ประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลมากที่สดุ ทังในวั ้ นนี ้และวันหน้ าโปรดสังเกตว่า การควบคุมภายใน สามารถสร้ างความมั่นใจต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ได้ ในระดับที่สมเหตุสมผลเท่านัน้ สาเหตุที่ให้ ความมัน่ ใจเต็ม 100% ไม่ได้ เพราะกระบวนการปฏิบตั ิงานบางอย่างนันขึ ้ ้นอยู่กับความสามารถ ส่วนตัวในการตัดสินใจของผู้ปฏิบตั ิงาน บางอย่างถ้ าจะควบคุมกระบวนการปฏิบตั ิงานให้ เต็มที่ ต้ องเสียค่าใช้ จ่ายสูงเกินกว่าที่จะยอมรับได้ ก็เลยต้ องทาให้ ดีที่สุดเท่าที่จะทาได้ และที่สาคัญที่สดุ การควบคุมภายในจะไม่ช่วยให้ การดาเนินงานขององค์การบรรลุผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์หาก ผู้บริ หารไม่ให้ ความสาคัญกับการควบคุมภายใน และพยายามจะละเลยขันตอนการปฏิ ้ บตั ิงาน ต่างๆ อยูเ่ สมอ ดัง นัน้ การควบคุม ภายในจะช่ว ยให้ การด าเนิน งานขององค์ ก รบรรลุผ ลส าเร็ จ ตาม วัตถุประสงค์ จ าเป็ นต้ องมีการปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง สม่ าเสมอ ไม่ใช่ทาครัง้ เดียวเรื่ องเดียวเสร็ จ และจาเป็ นต้ องมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในอย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิผลด้ วย


54 องค์ ประกอบของการควบคุมภายใน

ภาพที่ 2-1 โครงสร้ างการควบคุมภายในตามแนว COSO ที่มา: http://www.bablog.mju.ac.th/orathai/?p=94, ค้ นหาวันที่ 31 มกราคม 2556 จิณห์ระพีร์ พุม่ สงวน (2552) กล่าวว่า ในการทาความเข้ าใจเกี่ยวกับแนวคิดของ COSO จะต้ องพิจารณาในเนื ้อหาอย่างลึกซึ ้ง โดยองค์ประกอบทัง้ 5 มีดงั นี ้ 1. สภาพแวดล้ อมของการควบคุม (Control Environment) กล่าวคื อ สภาพแวดล้ อ มของการควบคุมเป็ นองค์ ประกอบที่เกี่ ย วกับการสร้ าง จิตสานึกและบรรยากาศของการควบคุมภายใน ซึ่งปั จจัยหลายๆ ปั จจัยที่นามาพิจารณารวมกัน ส่งผลให้ เกิดความมีประสิทธิผลของมาตรการหรื อวิธีการควบคุมในองค์กร หรื อทาให้ มาตรการและ วิธีการควบคุมที่ดีขึ ้น โดยส่งเสริ มให้ ทกุ คนในองค์กรตระหนักถึงความจาเป็ นของระบบการควบคุม ภายในและเน้ นการสร้ างบรรยากาศโดยผู้บริ หารระดับสูง เพื่อให้ คนขององค์กรเกิดจิตสานึกที่ดีใน การปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบ ดังนัน้ สภาพแวดล้ อมของการควบคุมที่ดีจะช่วยให้ บุคลากรเข้ าใจ ถึ ง ความจ าเป็ นและความส าคัญ ของการควบคุ ม ภายใน ทั ง้ นี ้ ปั จจั ย ที่ แ สดงให้ เห็ น ถึ ง สภาพแวดล้ อมของการควบคุมประกอบด้ วย


55 ความซื่อสัตย์และจริ ยธรรม กล่าวคือ ผู้บริ หารควรจัดทาข้ อกาหนดด้ านจริ ยธรรม เป็ นแนวทางการปฏิบตั ิ หรื อมีมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน โดยปั จจัยนี ้ผู้ศึกษาเห็นว่า ปั จจุบนั องค์กร มักจะจัดทา Code of Conduct หรื อหลักในการปฏิบตั ิงานที่เปรี ยบเสมือนกฎระเบียบขององค์กร ดังนัน้ หากมีการแทรกข้ อกาหนดด้ านจริ ยธรรมอั นเป็ นแนวทางที่ควรปฏิบตั ิลงไป ก็จะทาให้ เกิ ด ความสมบูรณ์ในการนามาใช้ ในทางปฏิบตั ิมากขึ ้น ส่วนในด้ านของผู้บริ หารก็ จะต้ อ งปฏิบัติตนให้ เป็ นแบบอย่างที่ดีอ ย่างสม่ าเสมอ และลดวิธีการหรื อแรงจูงใจที่รุนแรง เช่น การไม่กดดันให้ พนักงานต้ องปฏิบตั ิงานตามเป้าหมายที่ สูงเกินจริ ง ความรู้ ทักษะ ความสามารถเชิงแข่งขัน กล่าวคือ องค์ กรควรมี การกาหนดระดับ ความรู้ และความสามารถที่จ าเป็ นส าหรั บการปฏิ บัติงานแต่ละอย่าง ต้ อ งกาหนดออกมาเป็ น ข้ อกาหนดด้ านพื ้นความรู้ ทางการศึกษา และประสบการณ์ ในการปฏิบตั ิงานโดยผลสาเร็ จในการ ประเมินองค์ประกอบด้ านนีส้ ามารถพิจารณาได้ จากการจัดทาเอกสารกาหนดลักษณะงาน (Job Description) เพื่อให้ เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาบรรจุพนักงานให้ เหมาะสมกับหน้ าที่และความ รับผิดชอบ คณะกรรมการบริ ษัทหรื อคณะกรรมการตรวจสอบ กล่าวคือ ฝ่ ายบริ หารระดับสูง เป็ นผู้มีบทบาทสาคัญในการสร้ างบรรยากาศการควบคุมของกิ จการ คณะกรรมการบริ ษัทเป็ น เสมื อนตัวแทนผู้ถือหุ้นที่จะแต่งตังฝ่ ้ ายบริ หารระดับสูงและกากับดูแลการปฏิบัติงานให้ บรรลุผล ประโยชน์สงู สุดขององค์กร คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการบริ ษัทที่ ทา หน้ าที่สง่ เสริ มบรรยากาศของการควบคุม และการตรวจสอบทังภายในและการสอบบั ้ ญชีให้ เป็ นไป อย่างอิสระจากฝ่ ายบริ หาร รวมทังความรู ้ ้ ประสบการณ์ ในการปฏิบตั ิงาน การตังค ้ าถามที่ตรง ประเด็นและลึกซึ ้งเกี่ยวกับงานของฝ่ ายบริ หาร และติดตามวิเคราะห์คาตอบที่ได้ ความถี่และการมี เวลาในการปฏิบตั ิหน้ าที่และประชุมกับผู้บริ หารฝ่ ายการเงิน บัญชี ตรวจสอบภายใน และผู้สอบ บัญชี ความเพียงพอและทันสมัยของสารสนเทศที่จัดให้ คณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการ ตรวจสอบที่จะติดตามการบรรลุผลของแผนกลยุทธ์ เป้าหมายของฝ่ ายบริ หารฐานะการเงิน ผลการ ด าเนิ น งาน และปฏิ บั ติ ต ามสัญ ญาที่ ส าคัญ ความเพี ย งพอและทัน กาลของสารสนเทศที่ คณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการตรวจสอบมีเกี่ยวกับข้ อมูลพิเศษ เช่น ค่าใช้ จ่ายในการ


56 เดิ น ทางของผู้บ ริ ห ารระดับ สูง รายงานการสื บ สวนจากสถาบัน ก ากับ ดูแ ล การจ่ า ยเงิ น ที่ ผิ ด กฎหมาย เป็ นต้ น ปรัชญาและรู ปแบบการทางานของผู้บริ หาร กล่าวคือ องค์ประกอบนี ้เป็ นสิ่งใหม่ ของการบริ หาร ซึง่ บางครัง้ ปรัชญาและสไตล์การทางานผู้บริ หารถูกละทิ ้งความสนใจไม่เข้ าใจอย่าง ลึกซึ ้ง การทาความเข้ าใจแนวโน้ มทางความคิดขององค์ประกอบนี ้ เช่น เป็ นผู้บริ หารที่กล้ าเสี่ยง หรื อชอบความระมัดระวัง ความถี่ในการติดตามงานระหว่างผู้บริ หารระดับสูงกับระดับปฏิบตั ิการ ทัศนคติของผู้บริ หารที่มีต่อการเลือกนโยบายบัญชี ความระมัดระวังในการกาหนดประมาณการ ทางบัญชี การเปิ ดเผยข้ อมูล และการไม่แสดงข้ อมูลที่เป็ นเท็จ รวมทังการส่ ้ งเสริ มในงานบัญชี การ พัฒนาความรู้ของฝ่ ายบัญชี เหล่านี ้ล้ วนเป็ นสิง่ ที่ทาให้ สามารถทราบทิศทางองค์กรได้ ว่าจะถูกวาง อยูใ่ นจุดใดหรื อมีความเสีย่ งอย่างไรบ้ าง โครงสร้ างการจัดองค์กร กล่าวคือ โครงสร้ างขององค์กรที่ได้ รับการจัดไว้ ดีย่อมเป็ น พื ้นฐานสาคัญที่ทาให้ ผ้ บู ริ หารสามารถวางแผนงาน สัง่ การ และควบคุมการปฏิบตั ิงานได้ อ ย่าง ถูกต้ อง รวดเร็ ว และมีประสิทธิภาพ โดยการจัดโครงสร้ างองค์กรให้ เหมาะสมกับลักษณะของธุรกิจ นัน้ การมอบอานาจและความรับผิดชอบ (Assignment of Authority and responsibility) หมายถึง การมอบอานาจให้ กับผู้ปฏิบตั ิงานในระดับปฏิบตั ิการ ควรจะต้ องมีการกาหนด อย่างชัดเจน โดยในการประเมินองค์ประกอบด้ านนี ้จะต้ องพิจารณาจาก ความชัดเจนในการระบุ ความรั บผิดชอบและอ านาจในการอนุมัติให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิการฝ่ ายต่างๆ ในการปฏิบตั ิงานให้ ได้ ตาม วัตถุประสงค์ ความเหมาะสมของมาตรฐานการควบคุมและวิธีการควบคุมที่เกี่ ย วข้ อ งรวมทัง้ เอกสารที่ระบุลกั ษณะความรับ ผิดชอบในตาแหน่งงาน และความเหมาะสมของจานวนพนักงาน ซึ่งจะต้ องมี ความรู้ และทักษะที่เหมาะสมกับปริ มาณงานและความซับซ้ อ นของกิ จกรรม รวมทัง้ ระบบงานที่เกี่ยวข้ อง นโยบายและวิธีบริ หารงานด้ านทรัพยากรมนุษย์ กล่าวคือ ในการบริ หารองค์กรมี ปั จจัยหลายอย่างที่เป็ นสิง่ สาคัญแก่องค์กรไม่วา่ จะเป็ นระบบบริ หารเทคโนโลยี สิ่งเหล่านี ้ล้ วนเป็ น สิง่ ที่องค์กรจะต้ องพัฒนาตามยุคสมัยให้ ทนั แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่สาคัญที่สดุ ขององค์กรที่จะขาด


57 ไม่ได้ ก็คือ ทรั พยากรมนุษย์ เพราะทรัพยากรมนุษย์ ที่ดีเป็ นปั จจัยที่ทาให้ อ งค์กรบรรลุเป้าหมาย อย่างแท้ จริ ง ดังนัน้ ฝ่ ายบริ หารควรกาหนดนโยบายและวิธีบริ หารงานด้ านทรัพยากรมนุษย์ เช่น การว่าจ้ าง การคัดเลือกบุคลากร และเมื่อได้ บุคลากรที่เหมาะสมแล้ ว ก็ต้องมีนโยบายในการจูงใจ และพัฒนาให้ มีความรู้ความสามารถที่ทนั สมัยตามทันเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การ ประเมินองค์ประกอบนี ้ เช่น นโยบายและวิธีปฏิบตั ิในส่วนที่เกี่ยวกับการคัดเลือก การฝึ กอบรม การ เลื่อนตาแหน่ง และการจ่ายผลตอบแทน ความเหมาะสมของวิธีการที่ใช้ เมื่อพบความประพฤติที่ แตกต่างจากนโยบายและวิธีปฏิบตั ิที่กาหนด เช่น มีบทลงโทษ ความเหมาะสมในการใช้ นโยบาย การเลือ่ นตาแหน่งและความดีความชอบ การตรวจสอบภายใน กล่า วคื อ การตรวจสอบภายในถื อ เป็ นส่ว นหนึ่ง ของการ ควบคุมภายในและเป็ นเครื่ องมือทางการบริ หารที่ทาให้ สภาพแวดล้ อมของการควบคุมมีคุณภาพ ผู้ตรวจสอบภายในต้ องมีความอิสระเพียงพอที่จะรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลให้ แก่ ผู้บริ หาร และผู้รับผิดชอบการปฏิบัติงานที่ได้ รับการตรวจสอบและประเมิ นผลทังนี ้ ้ผู้ตรวจสอบ ภายในควรได้ รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสมจากผู้บริ หาร 2. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) การประเมินความเสี่ยงซึ่งจัดได้ ว่าเป็ นเครื่ องมือในการบริ หารอย่างหนึ่งที่ผ้ บู ริ หาร นิยมใช้ ในปั จจุบนั เนื่องจากในปั จจุบนั เป็ นยุคการค้ าที่มีการแข่งขันอย่างเสรี ซึ่งมีคู่แข่งมากมายที่ กาลังต่อสู้กบั องค์กร ดังนัน้ ความเสี่ยงจึงเป็ นเรื่ องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งการประเมินความเสี่ยงนัน้ เป็ นกระบวนการที่ทาให้ กิจการขององค์ กรทราบถึงความเสี่ยงที่กาลังจะเผชิ ญล่วงหน้ าได้ เมื่ อ ทราบถึงความเสี่ยงแล้ วก็สามารถที่จะบริ หารความเสี่ยงเพื่อเปลี่ยนวิกฤติให้ เป็ นโอกาส และเพื่อ ลดผลกระทบความเสียหายที่จะเกิดขึ ้นได้ เนื่องจากเป็ นการค้ ายุคการแข่งขันเสรี ที่มีความเสี่ยงสูง และต้ องเตรี ยมความพร้ อมในทุกสภาวการณ์ การประเมินความเสี่ยงจะทาให้ ฝ่ายบริ หารได้ ทราบ ถึงปั จจัยเสีย่ งทังจากปั ้ จจัยภายใน และปั จจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ของ องค์การอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยแบ่งได้ เป็ น ปั จจัยเสี่ยงระดับ กิ จการอาจเกิ ดจากปั จจัยเสี่ย งต่า งๆ ทัง้ ภายนอกและภายใน กิจการ โดยปั จจัยเสี่ยงภายนอก เป็ นปั จจัยที่เกิดจากภายนอกที่กิจการควบคุมไม่ได้ ซึ่งผู้บริ หาร


58 ต้ อ งติดตามศึกษาเพื่อ หาวิ ธีปฏิ บัติ ในการเปลี่ย นวิก ฤตให้ เป็ นโอกาส หรื อ ลดผลเสีย หายที่จ ะ เกิดขึ ้น ส่วนปั จจัยเสีย่ งภายใน เป็ นปั จจัยที่เกิดจากภายในองค์กรที่ผ้ บู ริ หารสามารถจัดการได้ ซึ่ง สามารถยกตัวอย่างของปั จจัยภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความต้ องการและ ความมุ่งหวังของลูกค้ าที่มีต่อสินค้ าหรื อ บริ การ กฎหมายและข้ อ กาหนดต่างๆ ของภาครัฐ และ ตัวอย่างของปั จจัยภายใน เช่น ความซื่อสัตย์และจริ ยธรรมของผู้บริ หาร ความสลับซับซ้ อนของการ ปฏิบตั ิงาน ขวัญและกาลังใจของพนักงานในการปฏิบตั ิงาน ขนาดของหน่วยงาน โดยหน่วยงาน ใหญ่ยอ่ มมีโอกาสผิดพลาดสูงกว่าหน่วยงานเล็ก ปั จจัยเสี่ยงระดับกิ จกรรมเป็ นปั จจัยเสี่ยงที่อ าจเกิ ดในหน่วยงานสาขา แผนงาน โครงการ และกระบวนการปฏิบตั ิงานที่สาคัญ เช่น การจัดหา การตลาด เป็ นต้ น หลังจากระบุ ปัจจัยเสี่ยงแล้ ว ขันต่ ้ อ มาที่สาคัญก็ คือ การวิเคราะห์ และจัดระดับ ความเสีย่ ง หากปั จจัยเสี่ยงใดสามารถคานวณจานวนที่อาจเกิดขึ ้นได้ โดยตรงในเชิงปริ มาณ เช่น การใช้ สูต รค านวณจ านวนค่ า ความเสี ย หาย ก็ ใ ห้ ป ระเมิ น และจั ด ระดับ ความเสี่ ย งไปตาม ความสาคัญของจานวนที่คานวณได้ หากการวิเคราะห์และจัดระดับความเสี่ยงโดยใช้ สตู รคานวณ เป็ นไปได้ ยาก อาจต้ องใช้ วิธีการให้ คะแนนเชิงเปรี ยบเทียบแทน เช่น การให้ ระดับ 1-3 โดย 1 = ไม่ พอใจ 2 = ปานกลาง และ 3 = พอใจ เป็ นต้ น หลังจากนันผู ้ ้ บริ หารควรกาหนดวิธีการบริ หารความเสี่ยง และตัดสินใจเกี่ ยวกับ กิจกรรมควบคุมภายในที่จาเป็ นเพื่อลดหรื อบรรเทาความเสี่ยงเหล่านันและเพื ้ ่อให้ บรรลุผลสาเร็ จ ตามวัตถุประสงค์ด้านประสิทธิ ภาพ ประสิทธิ ผลของการดาเนินงาน รายงานทางการเงินและการ ดาเนินงานเป็ นที่น่าเชื่อถือ และการปฏิบตั ิที่เป็ นไปตามกฎหมาย และระเบียบข้ อบังคับ ผู้บริ หาร ระดับส่วนงาน หรื อผู้ประเมินควรจะต้ องเน้ นการให้ ความสาคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริ หาร ใน การกาหนดวัตถุประสงค์การระบุความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง และการบริ หารความเสี่ยง ในช่วงของการเปลี่ย นแปลง และบางเรื่ อ งมี ลกั ษณะเป็ นนามธรรมซึ่งต้ อ งใช้ ดุลยพินิจ แต่เรื่ อ ง เหล่านี ้มีความสาคัญในการใช้ ประเมินความเสีย่ งว่าเหมาะสมเพียงพอหรื อไม่ ซึ่งการบริ หารความ เสีย่ งนัน้ COSO ได้ กาหนดวิธีการตอบสนองความเสีย่ งไว้ พอสรุปได้ ดงั นี ้


59 2.1 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) หมายถึงการเลิกหรื อหลีกเลี่ยง การกระทาเหตุการณ์ที่ก่อให้ เกิดความเสีย่ ง เช่น การกระทางานที่องค์กรไม่ถนัด อาจหลีกเลี่ยงโดย การไม่กระทา หรื อจ้ างบุคคลภายนอก เป็ นต้ น 2.2 การลดความเสี่ยง (Risk Reduction) หมายถึงการลดโอกาสความน่าจะเกิด หรื อ การลดความเสียหาย หรื อการลดทังสองด้ ้ านพร้ อมกัน การลดความเสี่ยงที่สาคัญคือ การ จัดระบบการควบคุมเพื่อป้องกัน หรื อค้ นพบความเสี่ยงเฉพาะวัตถุประสงค์นนอย่ ั ้ างเหมาะสมทัน กาลมากขึ ้นรวมถึงการกาหนดแผนสารองในกรณีมีเหตุการณ์ฉกุ เฉิน 2.3 การแบ่งความเสี่ยง (Risk Sharing) หมายถึงการลดโอกาสความน่าจะเกิ ด หรื อการลดความเสียหาย โดยการแบ่ง การโอน การหาผู้รับผิดชอบร่ วมในความเสี่ยง เช่น การจัด ประกันภัย 2.4 การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) หมายถึงการไม่กระทาการใดๆ เพิ่มเติมกรณีนี ้ใช้ กบั ความเสีย่ งที่มีสาระสาคัญน้ อย ความเสี่ยงน่าจะเกิดน้ อย หรื อเห็นว่ามีต้นทุน ในการบริ หารความเสีย่ งสูงกว่าผลที่ได้ รับ 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กิจกรรมการควบคุม หมายถึง การกระทาที่สนับสนุนและส่งเสริ มการปฏิบตั ิงานให้ เป็ นไปตามนโยบาย วิธีปฏิบตั ิงาน และคาสัง่ ต่างๆ ที่ฝ่ายบริ หารกาหนด ซึ่งจะต้ องเป็ นการกระทา ที่ถูกต้ องและในเวลาที่เหมาะสม จะเพิ่มความมั่นใจในความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ ที่กาหนด กิจกรรมการควบคุมภายในสามารถแบ่งออกตามประเภทของการควบคุมได้ ดงั ต่อไปนี ้ 3.1 การควบคุมแบบป้องกันเป็ นวิธีการควบคุมที่กาหนดขึ ้น เพื่อ ป้องกันมิให้ เกิ ด ความเสีย่ งและข้ อผิดพลาดตังแต่ ้ แรก 3.2 การควบคุมแบบค้ นพบ เป็ นวิธีการควบคุมที่กาหนดขึน้ เพื่อ ทาการค้ นพบ ข้ อผิดพลาดที่เกิดขึ ้นมาแล้ ว


60 3.3 การควบคุมแบบแก้ ไข เป็ นวิธีการควบคุมที่กาหนดขึ ้นเพื่อแก้ ไขข้ อผิดพลาดที่ เกิดขึ ้นให้ ถกู ต้ อง หรื อเพื่อหาวิธีแก้ ไขไม่ให้ เกิดข้ อผิดพลาดซ ้าอีกในอนาคต 3.4 การควบคุม แบบส่ง เสริ ม เป็ นวิ ธี ก ารควบคุม ที่ ส่ง เสริ ม หรื อ กระตุ้น ให้ เ กิ ด ความสาเร็ จโดยตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 4. ข้ อมูลสารสนเทศ และการสือ่ สารในองค์กร (Information and Communication) การสือ่ สารและสารสนเทศนี ้ ถือเป็ นองค์ประกอบสาคัญต่อการควบคุมภายในยุค ปั จจุบัน ซึ่งนับได้ ว่าเป็ นยุคของข้ อ มูลข่าวสาร และถ้ าข้ อ มูลข่าวสารมีความทันสมัยก็ จะทาให้ องค์กรรับรู้ข้อมูลได้ ทนั ท่วงที มีความได้ เปรี ยบทางด้ านธุรกิจ และสามารถเพิ่มประสิทธิ ภาพให้ กับ การบริ หารองค์ กรได้ ดีอี กด้ วย แต่อ ย่างไรก็ ตาม ความถูกต้ องของข้ อ มูลข่าวสารก็ ถือ ว่าเป็ นสิ่ง สาคัญยิ่งไม่แพ้ กัน ดังนัน้ ควรให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้ อ งได้ เข้ าถึงหรื อ รับทราบข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อ ง ผ่านเครื่ องมือต่างๆ โดยสามารถแบ่งได้ ดังนี ้ ข้ อมูลสารสนเทศ (Information) เป็ นข้ อมูลที่มีความจาเป็ นสาหรับการปฏิบตั ิงาน ของบุคลากรทังผู ้ ้ บริ หารและผู้ปฏิบตั ิงานทุกระดับ โดยผู้บริ หารต้ องใช้ ข้อมูลประกอบการพิจารณา สัง่ การ ส่วนผู้ปฏิบัติงานมักใช้ ข้อมูลสารสนเทศเป็ นเครื่ อ งชี น้ าทิศทางการปฏิบัติหน้ าที่ ข้ อ มูล สารสนเทศที่ดีที่ควรจัดให้ มีในทุกๆ องค์กรควรมีลกั ษณะดังนี ้คือ 4.1 ความเหมาะสมกับการใช้ หมายถึง สารสนเทศมีเนื ้อหาสาระที่จาเป็ นต่อการ ตัดสินใจของผู้ใช้ 4.2 ความถูกต้ องสมบูรณ์ หมายถึง สารสนเทศที่สามารถสะท้ อ นผลตามความ จาเป็ นและให้ ข้อมูลที่เป็ นจริ งและมีรายละเอียดที่จาเป็ นครบถ้ วน 4.3 ความเป็ นปั จจุบนั หมายถึง การให้ ตวั เลขและข้ อเท็จจริ งล่าสุดที่เป็ นปั จจุบนั สามารถใช้ เป็ นข้ อมูลที่เชื่อถือได้ สาหรับประกอบการตัดสินใจได้ ทนั เวลา


61 4.4 สะดวกในการเข้ า ถึ ง หมายถึ ง ความยากง่า ยส าหรั บ ผู้ที่ มี อ านาจหน้ า ที่ ที่ เกี่ยวข้ อง และมีระบบรักษาความปลอดภัย ป้องกันผู้ที่ไม่มีสว่ นเกี่ยวข้ องให้ ไม่สามารถเข้ าถึงข้ อมูล สารสนเทศที่มีความสาคัญหรื อข้ อมูลที่เป็ นความลับได้ ในการจัดให้ มีสารสนเทศที่ดีเป็ นหน้ าที่ของผู้บริ หารที่จะจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทังการจั ้ ดหาเครื่ องมือ เครื่ องใช้ เทคโนโลยี และ ระบบงานที่ดี และประสบการณ์ ทางวิชาชีพ รวมทังการจั ้ ดหาเครื่ องมือ เครื่ องใช้ เทคโนโลยี และ ระบบงานที่ดี เพื่อให้ มีการปฏิบตั ิตามระบบงานที่กาหนดไว้ อย่างสม่าเสมอและควบคุมการปฏิบตั ิ ให้ เป็ นไปตามระเบียบที่กาหนดไว้ อย่างเคร่งครัด การสื่ อ สาร (Communication) การสื่ อ สารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพนัน้ หมายถึ ง การ จั ด ระบบการสื่ อ สารให้ ข้ อมู ล ส่ ง ไปถึ ง ผู้ ที่ ค วรได้ รั บ และระบบการสื่ อ สารที่ ดี นัน้ จะต้ อง ประกอบด้ วยทังระบบการสื ้ อ่ สารกันภายในองค์กรหรื อการสื่อสารที่เกิดขึ ้นภายในองค์กรเดียวกัน ซึง่ ควรจัดให้ เป็ นรูปแบบการสื่อสารสองทาง และอีกระบบคือการสือ่ สารภายนอกซึง่ เป็ นการสือ่ สาร กับลูกค้ าหรื อบุคคลอื่นๆ นอกองค์กร 5. การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) การควบคุมภายในขององค์กรจะสมบูรณ์ไม่ได้ หากขาดการติดตามและประเมินผล เพราะเป็ นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้ ผ้ บู ริ หารมัน่ ใจได้ วา่ มาตรการและระบบการควบคุมภายในมี ประสิทธิผลและได้ รับการปรับปรุงให้ ทนั สมัยอยูต่ ลอดเวลา 5.1 การติดตามผลระหว่างการดาเนินงาน (On Going Monitoring) หมายถึง การ สังเกต การติดตาม ระบบรายงานความคืบหน้ าของงาน รวมทังการสอบทานหรื ้ อการยืนยันผลงาน ระหว่างการปฏิบตั ิงาน 5.2 การประเมินผลอิสระ (Independent Evaluation) เป็ นการประเมินผลที่เกิดขึ ้น ในช่วงเวลาที่แล้ วแต่จะกาหนด หรื อการประเมินอิสระอาจหมายถึง การประเมินโดยผู้ที่ไม่มีสว่ น


62 เกี่ยวข้ องกับการกาหนดระบบควบคุมภายใน เพื่อ ให้ สามารถแสดงความเห็นได้ อย่างเป็ นอิ สระ เช่น การประเมินจากผู้ตรวจสอบภายใน เป็ นต้ น 5.3 การประเมินการควบคุมด้ วยตนเอง (Control Self-Assessment: CSA) เป็ น การจัดประชุมเชิ งปฏิบตั ิร่วมกัน ระหว่างผู้บริ หาร ผู้ปฏิบตั ิงาน ผู้มีความรู้ ด้ านการควบคุม และ ผู้อื่ น ที่ มี ส่ว นเกี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ก าหนดกิ จ กรรมควบคุ ม และประเมิ น ผลร่ ว มกั น ในด้ า นที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ดาเนินงานนัน้ การรายงานผลการประเมินและการสัง่ การแก้ ไข ต้ องจัดทารายงานผลการประเมิน ที่สาคัญเสนอผู้บริ หารที่รับผิดชอบ เช่น การจัดทารายงานแสดงผลความคลาดเคลื่อ นของการ ดาเนินงานเป็ นระยะๆ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ (2555) กล่าวถึง องค์ประกอบการควบคุม ภายใน ว่าจาแนก เป็ น 5 องค์ประกอบที่สาคัญ ตามแนวทางของ COSO ซึง่ เป็ นแม่แบบสากลของ การควบคุมภายใน ประกอบด้ วย 1. สภาพแวดล้ อมของการควบคุม (Control Environment) สภาพแวดล้ อมของการควบคุม หมายถึง ปั จจัยต่างๆ ที่สง่ ผลต่อทัศนคติและความ ตระหนักถึงความจาเป็ นและความสาคัญของการควบคุมภายในของบุคลากรทุกคนในองค์กร โดย บุ ค ลากรทุ ก คนเข้ าใจความรั บ ผิ ด ชอบและขอบเขตอ านาจหน้ าที่ ข องตนเอง มี ค วามรู้ ความสามารถ และทักษะที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิ งาน รวมถึงการยอมรับและปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ และวิธีการทางานต่างๆ ที่องค์กรกาหนดไว้ สภาพแวดล้ อมของการควบคุม มีผลกระทบอย่างมากกับกระบวนการปฏิบตั ิงาน ทังหมดที ้ ่เกิดขึ ้นในองค์กร จึงเป็ นรากฐานที่สาคัญขององค์ประกอบอื่นๆ ของการควบคุมภายใน เพื่อสร้ างระเบียบวินยั ด้ านการควบคุมภายในให้ แก่ทกุ คนในองค์กร และจัดให้ มีโครงสร้ างของการ ควบคุมภายในที่เหมาะสม


63 ปั จจัยต่างๆ ต่อไปนี ้เป็ นปั จจัยที่ช่วยเสริ มสร้ างให้ มีสภาพแวดล้ อมของการควบคุมที่ ดี ผู้ประเมินควรประเมินว่าองค์กรของท่านให้ ความสาคัญกับปั จจัยเหล่านี ้ มากน้ อยเพียงใด 1.1 ความซื่อสัตย์และจริ ยธรรม ซึง่ อาจพิจารณาได้ จากการกาหนดแนวทางปฏิบตั ิ ในเรื่ องต่างๆ ให้ ชดั เจน แล้ วแจ้ งให้ ทกุ คนที่เกี่ยวข้ องทราบ รวมไปถึงการกระทาตนเป็ นแบบอย่าง ให้ กบั ผู้ใต้ บงั คับบัญชา ทังค ้ าพูดและการกระทา 1.2 รู ป แบบและปรั ชญาการทางานของฝ่ ายบริ ห าร โดยพิ จ ารณาจากความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ของฝ่ ายบริ หารที่เป็ นประโยชน์ต่อหน้ าที่ที่รับผิดชอบ และความ สนใจในองค์กรที่ตนเป็ นผู้บริ หาร 1.3 การจัดโครงสร้ างองค์กรและสายการบังคับบัญชาให้ เหมาะสมกับขนาดและ ลักษณะการดาเนินงาน 1.4 การกาหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ ง (Job Description & Job Specification) สาหรับทุกตาแหน่งงาน อย่างชัดเจน 2. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) ความเสี่ยง คือโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่ วไหล การสูญ เปล่าหรื อเหตุการณ์ ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทาให้ การดาเนินงานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมายที่ กาหนดไว้ ความเสีย่ งเหล่านี ้อาจเกิดจากสาเหตุภายนอกหรื อภายในองค์กรก็ได้ โดยเฉพาะในการ ดาเนินงานปั จจุบนั ภายใต้ การเปลีย่ นแปลงของนโยบายรัฐบาล สภาพเศรษฐกิจ กฎระเบียบต่างๆ ทาให้ แต่ละองค์กรต้ องเผชิญกับความเสี่ยงมากขึ ้น ถ้ าองค์กรสามารถบ่งชี ้และประเมินความเสี่ยง ได้ อย่างเหมาะสม ก็จะช่วยให้ สามารถเตรี ยมการแก้ ไขปั ญหาเหล่านันได้ ้ ทนั ท่วงที ข้ อ ควรพิ จ ารณาในการประเมิ น ความเสี่ย ง คื อ ความเสี่ย งเป็ นตัว ถ่ ว งให้ ก าร ดาเนินงานไม่สาเร็ จตามวัตถุประสงค์ ผู้ประเมินต้ องพยายามเปลี่ย นจากวิกฤตที่องค์กรเผชิญอยู่ ให้ เ ป็ นโอกาสโดยการเตรี ย มการให้ พร้ อมในการรั บ มื อ กับความเสี่ย งที่ อ าจจะเกิ ดขึน้ แต่การ เตรี ยมการดังกล่าวไม่ได้ หมายความว่า การควบคุมภายในยิ่งมากยิ่งดี การควบคุมภายในที่มาก


64 จนเกินไป อาจจะทาให้ งานสะดุด แต่ถ้ามีน้อยจนเกินไป ก็ จะทาให้ งานไม่ สาเร็ จ ดังนัน้ จึงต้ อ ง กาหนดการควบคุมภายในให้ พอเหมาะ โดยถือหลักการที่วา่ มีความเสีย่ งมาก ควบคุมมาก มีความ เสีย่ งน้ อย ควบคุมน้ อย การประเมินความเสีย่ งที่มีประสิทธิผลนัน้ ผู้ประเมินต้ องเข้ าใจวัตถุประสงค์ของการ ดาเนินงานอย่างชัดเจนก่อน หลังจากนัน้ จึงพิจารณาว่า มีความเสี่ยงอะไรบ้ างในการทางาน แล้ ว จึงพิจารณาว่าความเสีย่ งเหล่านันเกิ ้ ดขึ ้นบ่อยครัง้ หรื อไม่ และเมื่อเกิดความเสี่ยงนันแล้ ้ วจะส่งผล กระทบต่อการดาเนินงานมากน้ อยเพียงใด หากผู้ประเมินพิจารณาแล้ ว เห็นว่ายังคงมีความเสี่ยง สูงเกินกว่าที่จะยอมรับได้ จะต้ องพิจารณาปรับเปลีย่ นการควบคุมภายในให้ เพียงพอและเหมาะสม ต่อไป 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กิ จ กรรมการควบคุ ม เป็ นองค์ ป ระกอบที่ จ ะช่ ว ยให้ มั่ น ใจได้ ว่ า นโยบายและ กระบวนการเกี่ ยวกับการควบคุมภายในกาหนดขึ ้นนัน้ ได้ มีการนาไปปฏิบัติตามภายในองค์ กร อย่างทัว่ ถึง นอกจากนี ้ กิจกรรมการควบคุมยังช่วยสร้ างความมัน่ ใจว่าองค์กรมีกิจกรรมที่เหมาะสม ในการป้องกันหรื อลดความเสีย่ งที่อาจเกิดขึ ้น ดังนัน้ กิจกรรมการควบคุมควรกาหนดให้ สอดคล้ อง กับความเสีย่ งที่ประเมินได้ โดยมีข้อควรพิจารณาในการกาหนดกิจกรรมการควบคุม ดังต่อไปนี ้ 3.1 กิจกรรมการควบคุมควรเป็ นส่วนหนึง่ ของกระบวนการปฏิบตั ิงานตามปกติ 3.2 กิจกรรมการควบคุมต้ อ งสามารถป้องกันหรื อ ลดความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ 3.3 ค่าใช้ จ่ายในการกาหนดให้ กิจกรรมการควบคุมต้ องไม่สงู กว่าผลเสียหายที่คาด ว่าจะเกิดขึ ้น หากไม่กาหนดให้ มีกิจกรรมการควบคุมปั ญหาที่เกิดขึ ้นกับองค์กรส่วนใหญ่ คือ การ กาหนดกิจกรรมการควบคุมตามที่มีการปฏิบตั ิอยูเ่ ดิม โดยมิได้ พิจารณาความมีประสิทธิ ภาพ และ ความสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ ของการดาเนินงาน และความเสีย่ งที่เปลีย่ นไปขององค์กร


65 4. สารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication) การควบคุมภายในที่ดีจะเกิดขึ ้นได้ เมื่อข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินงานนันได้ ้ มี การบ่งชี ้ รวบรวมและชี แ้ จงให้ แก่บุคคลที่ควรทราบ โดยผ่านทางรู ปแบบและเวลาการสื่อ สารที่ เหมาะสมข้ อมูลที่มีประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจ การบริ หารจัดการ และการปฏิบตั ิง านนัน้ อาจเป็ นได้ ทังข้ ้ อมูลที่เกี่ยวกับการดาเนินงาน การเงิน และการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบต่างๆ โดยแหล่งข้ อมูล อาจมาจากภายในหรื อภายนอกองค์ กร องค์ ประกอบในเรื่ อ งสารสนเทศและการสื่อ สาร อาจ พิจารณาประเด็นที่สาคัญได้ ดงั นี ้ 4.1 ข้ อ มูลเพี ยงพอ ถูกต้ อ ง ภายใต้ รู ป แบบที่เ หมาะสม และทัน เวลา เพื่ อ ช่ ว ย สนับสนุนการตัดสินใจ การบริ หารจัดการ และการปฏิบตั ิงานในเรื่ องต่างๆ 4.2 การสื่อสารข้ อมูลเกิ ดขึ ้นอย่างทั่วถึงทังองค์ ้ กร จากผู้บริ หารถึงพนักงานและ ในทางกลับกัน ระหว่างหน่วยงานหรื อแผนก ระหว่างองค์กรกับบุคคลภายนอกเช่น สื่อมวลชน ผู้ ออกกฎระเบียบต่างๆ 4.3 การสือ่ สารอย่างชัดเจนให้ บุคลากรทราบถึงความสาคัญและความรับผิดชอบ ต่อการควบคุมภายใน 5. การติดตามประเมินผล (Monitoring) การควบคุมภายในทังหลายที ้ ่จัดให้ มีขึ ้นนัน้ จาเป็ นอย่างยิ่งที่ต้อ งมีกลไกในการ ติดตามประเมินผล เพื่อให้ มนั่ ใจว่าได้ มีการปฏิบตั ิการควบคุมภายในนันอย่ ้ างสม่าเสมอ และการ ปฏิบตั ินนยั ั ้ งมีความเหมาะสมกับลักษณะการดาเนินงานและการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ ้น เพราะอย่า ลืมว่า การเปลีย่ นแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ ้นอาจมีผลกระทบต่อความเสี่ยงในการดาเนินงาน และความ เสีย่ งที่เปลีย่ นแปลงไป อาจจาเป็ นต้ องปรับปรุงการควบคุมภายในให้ เหมาะสมด้ วย การติดตามผล นันสามารถท ้ าได้ โดยรวมอยู่ในกระบวนการปฏิบตั ิงานนันๆ ้ เช่น การที่ผ้ บู งั คับบัญชาคอยติดตามถามไถ่ปัญหาในการทางาน ก็ถือว่าเป็ นการติดตามผลอย่างหนึ่ง


66 การประเมินผล คือ การประเมินผลการดาเนินงานเป็ นระยะหรื อเป็ นครัง้ คราว เช่น การตรวจสอบ โดยหน่ ว ยตรวจสอบภายใน ซึ่ ง อาจจะเป็ นบุ ค คลในองค์ ก รนัน้ เอง หรื อ การมอบหมายให้ บุคคลภายนอกมาทาหน้ าที่เป็ นผู้ตรวจสอบภายใน หากองค์กรมีหน่วยตรวจสอบภายใน ก็ ต้อ ง ส่งเสริ มและพัฒนาหน่วยงานนี ้ให้ สามารถทางานได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลจริ งๆ ดัง คากล่าวในปั จจุบนั ที่ว่า ผู้ตรวจสอบภายในคือที่ปรึ กษาอันมีค่ายิ่งต่อผู้บริ หาร วิชาชีพตรวจสอบ ภายในก้ าวหน้ า ไปอย่า งรวดเร็ ว มาก พร้ อมๆ กับ ความสาคัญ ของการควบคุมภายใน ดัง นัน้ ผู้บริ หารจึงควรอย่างยิ่งที่จะต้ องพัฒนาสองเรื่ องนี ้ไปพร้ อมๆ กัน การประเมิ นการควบคุมภายในอีกลักษณะหนึ่งที่กาลังมาแรงในปั จจุบนั คือการ สร้ างความรั บผิ ดชอบในการควบคุมภายใน ให้ แ ก่ทุกคนที่เ ป็ นเจ้ าของงานนัน้ ถ้ า สร้ างความ รับผิดชอบแบบนีข้ ึ ้นมาได้ ผู้บริ หารก็จะบริ หารงานได้ อย่างเบาใจ เพราะทุกคนจะสอดส่องดูแล อย่างสม่ าเสมอให้ งานที่ตนต้ องรั บผิดชอบนัน้ สามารถบรรลุวัต ถุประสงค์ ได้ อ ย่างจริ งจัง การ ปฏิบตั ิแบบนี ้เรี ยกว่า การประเมินการควบคุมด้ วยตนเอง (Control Self-Assessment) อรทัย ดุษฎีด าเกิ ง (2554) กล่า วถึ ง ส่วนประกอบของการควบคุมภายในตามแนว COSO ว่ามีองค์ประกอบการควบคุม 5 ด้ านดังนี ้ 1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม สภาพแวดล้ อมการควบคุม คือ ปั จจัยซึ่งมี ผลกระทบต่อ การควบคุมภายในของ กิจการ เป็ นผลกระทบที่อาจเป็ นการส่งเสริ มการควบคุมขององค์ประกอบอื่น ๆ จนเป็ นการควบคุม ภายในที่มีประสิทธิภาพ และ ผลกระทบที่อาจเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาองค์ประกอบอื่น ๆ ดังนี ้ 1.1 ความซื่อสัตย์และจริ ยธรรมของผู้บริ หาร หากองค์กรต่าง ๆ มี ผ้ บู ริ หารที่เห็น ประโยชน์สว่ นตนมากกว่าส่วนรวม ย่อมเกิดความเสียหายแก่สินทรัพย์ของกิจการ หรื อผู้บริ หารที่ ไม่ซื่อสัตย์ ต้ องการแสดงผลการดาเนินงานเกินจริ ง ก็ จะทาให้ รายงานทางการเงินไม่ถูกต้ อ ง ไม่ สอดคล้ องกับหลักการควบคุมภายใน


67 1.2 ปรั ชญาและรู ป แบบการท างานของผู้บริ หาร ผู้บ ริ หารมี ความส าคัญ และมี อิทธิพลต่อระบบการควบคุมภายในของกิจการ เพราะผู้บริ หารเป็ นผู้มีหน้ าที่ในการจัดให้ มีนโยบาย และมาตรการที่ใช้ ในการควบคุมภายในอย่างเหมาะสม 1.3 การมี ส่ ว นร่ วมอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของคณะกรรมการบริ หารและ คณะกรรมการตรวจสอบ โดย คณะกรรมการบริ หารและคณะกรรมการการตรวจสอบมีบทบาท สาคัญในการสร้ างบรรยากาศการควบคุมภายใน ในธุรกิจขนาดเล็กถึงขนาดย่อม เจ้ าของหรื อผู้มี อานาจสูงสุดในกิจการจะเป็ นผู้กาหนดนโยบายและเป้าหมายของกิจการ ในธุรกิจขนาดใหญ่ จะ แต่งตังคณะกรรมการบริ ้ ษัท เป็ นผู้มีอานาจกาหนดนโยบายและเป้าหมาย พร้ อมทังคอยก ้ ากับดูแล ให้ มีการดาเนินงานตามแผนที่วางไว้ ถ้ าคณะกรรมการเหล่านี ้เห็นความสาคัญของการตรวจสอบ ก็ จะทาให้ เกิดสภาพแวดล้ อมที่มีสง่ เสริ มให้ ระบบควบคุมภายในของบริ ษัทดีไปด้ วย 1.4 ความรู้ และความสามารถของบุ ค ลากร ผู้ บริ ห ารควรก าหนด และให้ ความสาคัญในองค์ ป ระกอบของบุ คลากร ก าหนดความรู้ ความสามารถที่ จาเป็ นส าหรั บการ ปฏิบตั ิงานในแต่ละงาน มีการคัดเลือกบุคลากรเข้ าทางานตามความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับ งาน มีการจัดฝึ กอบรมบุคลากรเป็ นระยะ เพื่อเพิ่มพูนความสามารถของบุคลากรโครงสร้ างองค์กร การมอบหมายอานาจหน้ าที่รับผิดชอบ 1.5 การตรวจสอบภายใน ผู้ตรวจสอบภายในมี หน้ าที่ตรวจสอบและประเมินผล การปฏิบตั ิงานของแผนกต่าง ๆ อย่างเคร่ งครั ด โดยจะรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงให้ แก่ ผู้บริ หาร ซึ่งจะแจ้ งจุดอ่อนของการควบคุมภายในและข้ อ เสนอแนะแนวทางแก้ ไข ผู้ตรวจสอบ ภายในสามารถเป็ นพนักงานงานของกิจการก็ได้ หรื อบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ต้องมีความอิสระใน การปฏิบัติงาน มีความรู้ ความสามารถ ไม่อ ยู่ภายในอานาจบังคับบั ญชาของแผนกที่ได้ รับการ ตรวจสอบ การมีผ้ ตู รวจสอบภายในจะสามารถลดงานของผู้สอบบัญชี ทาให้ การสอบบัญชีเป็ นไป อย่างรวดเร็ วและประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่ายมากขึ ้น เป็ นวิธีการที่ดี ในการกากับดูแล ติดตามและ ประเมินผล


68 2. การประเมินความเสีย่ ง ผู้บ ริ ห ารต้ อ งหามาตรการเพื่ อ จัด การกับ ความเสี่ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ ้นทัง้ ภายในและ ภายนอก โดยการ 1) ระบุปัจจัยเสีย่ ง 2) การวิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดความเสีย่ งขึ ้น และ 3) พัฒนา วิธีการการบริ หารความเสีย่ งและลดความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ กระบวนการประเมินความเสี่ยง จะประเมินความสาคัญของความเสี่ยง และ โอกาสที่จะเกิดขึ ้น ความสาคัญของความเสีย่ งพิจารณาจากความเสียหายอันเกิดจากข้ อผิดพลาด ถ้ ามูลค่าความเสียหายมาก แต่โอกาสเกิดขึ ้นน้ อยมาก กิจการอาจพิจารณายอมรับความเสี่ยง เพราะการป้องกันมีค่าใช้ จ่ายสูง เกินไป แต่ถ้าความเสียหายมาก โอกาสเกิดขึ ้นมาก ต้ องกาหนด “กิจกรรมการควบคุม” เพื่อมาควบคุมและป้องกันไม่ให้ ความเสีย่ งมีโอกาสเกิดขึ ้น 3. กิจกรรมควบคุม นโยบายและวิธีการต่างๆ ที่จะสนับสนุนกิจกรรมที่จะควบคุมและป้องกันความเสีย่ ง ที่อาจเกิดขึ ้น ได้ แก่ 3.1 การแบ่งแยกหน้ าที่อ ย่างเหมาะสม เช่น กาหนดให้ มีการแบ่งแยกหน้ าที่การ เก็บรักษาสินทรัพย์ ออกจากการบันทึกบัญชี กาหนดให้ ผ้ อู นุมัติรายการเป็ นบุคคลหนึ่ง ทาหน้ าที่ อนุมตั ิรายงานของอีกบุคคลหนึ่งซึ่งเป็ นผู้ทารายการ กาหนดให้ ผ้ ทู ารายการเป็ นบุคคลที่แยกออก จากผู้ปฏิบตั ิงาน 3.2 การมอบหมายอ านาจและอนุมั ติ ร ายการบัญ ชี แ ละการปฏิ บัติ ง าน เช่ น กาหนดให้ มีการอนุมัติใบเสนอซื ้อก่อนการดาเนินการจัดซื ้อ กาหนดให้ มีการอนุมัติการจ่ายเงิน ก่อนการจ่ายเงิน กาหนดให้ มีการอนุมตั ิสนิ เชื่อก่อนการขาย 3.3 การมี ร ะบบเอกสารหลัก ฐานที่ เ หมาะสมและเพี ย งพอ คื อ รายการหรื อ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมทางธุรกิจ ต้ องมีการบันทึกไว้ ในแบบฟอร์ มหรื อเอกสารต่าง ๆ เพื่อ ใช้ เ ป็ นหลัก ฐานอ้ า งอิ ง และหลัก ฐานการบัน ทึก บัญ ชี ประโยชน์ ข องการใช้ แ บบฟอร์ ม เพื่ อ


69 ประหยัดเวลาในการเขียน ทาให้ การทางานรวดเร็ ว ลดข้ อผิดพลาด มีการควบคุมการใช้ เอกสาร เนื่องจากมีการให้ เลขที่เอกสารทุกฉบับ การมีแบบฟอร์ มใช้ ในกิจการเป็ นหลักการจัดการที่ดี “มี ลายลักษณ์อกั ษร” ให้ เป็ นเครื่ องมือในการสือ่ สารถึงทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง 3.4 การควบคุมทรัพย์ สินและบันทึกรายการข้ อ มูลต่างๆ อาทิ มีการเก็ บรั กษา สินทรัพย์นนไว้ ั ้ ในที่ปลอดภัย ป้องกันการสูญหายทังจากภั ้ ยธรรมชาติและจากผู้ไม่เกี่ยวข้ องมีการ อนุมัติการใช้ งานสินทรั พย์ อย่างเหมาะสม มีการจัดทาทะเบียนคุมสินทรั พย์ เพื่อรวบรวมข้ อมูล สินทรัพย์ที่กิจการมี ควบคุมดูแลจดบันทึกการซ่อมแซม มีการตรวจนับสินทรัพย์เป็ นประจา 3.5 การตรวจสอบการปฏิ บัติ ง านโดยอิ ส ระ การตรวจสอบอย่า งต่อ เนื่ อ ง โดย บุคลากรที่เป็ นผู้มีความเป็ นอิสระไม่อยูภ่ ายใต้ บงั คับบัญชีของผู้ถกู ตรวจสอบ เป็ นกิจกรรมควบคุม ที่สาคัญ เช่น การตรวจสอบที่กาหนดไว้ ในระบบของกิจการ ตรวจสอบระหว่างพนักงานด้ วยกัน ในขณะปฏิบตั ิงาน มีการสอบทานโดยผู้บริ หาร เช่น หัวหน้ างานแผนกต่างๆ ผู้บริ หารกิจการ 4. สารสนเทศและการสือ่ สาร มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 4.1 รายการต่าง ๆ ที่บนั ทึกไว้ ต้องเป็ นรายการที่เกิดขึ ้นจริ ง 4.2 กาหนดวิธีการบันทึกรายการที่เกิดขึ ้นอย่างครบถ้ วน 4.3 การวัดมูลค่าถูกต้ องแม่นย่า 4.4 จัดทา และการจัดประเภทเหมาะสม มีการสรุปยอดรายงานผลถูกต้ อง 4.5 ข้ อมูลสารสนเทศตรงกับความต้ องการของผู้ใช้ งาน


70 5. การติดตามผลและประเมินผล เป็ นองค์ประกอบที่ทาให้ ผ้ บู ริ หารมัน่ ใจว่า มาตรการและระบบการควบคุมภายในมี ประสิทธิภาพและได้ รับการปรับปรุงให้ ทนั สมัยอยูเ่ สมอตามสถานการณ์ที่เปลีย่ นแปลงไป การติ ดตามและประเมิ นผลอาจท าได้ โดยการจัดให้ มีระบบการรายงานผลการ ปฏิบตั ิงานและติดตามผล และการตรวจสอบภายใน แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง เจนเนตร มณีนาค (2548) กล่าวว่า การบริ หารความเสีย่ งจะต้ องทาควบคูไ่ ปกับแผนทาง ธุรกิจ กล่าวคือ การบริ หารความเสี่ยงนันถื ้ อเป็ นกระบวนการตามปกติของธุรกิจ เพียงแต่อาจจะ แยกการปฏิบตั ิให้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น ในการบริ หารความเสีย่ งนันถื ้ อเป็ นกระบวนการตามปกติของธุรกิจ เพียงแต่อาจจะแยกการปฏิบตั ิให้ ชัดเจนยิ่ งขึ ้น ในการบริ หารความเสี่ยงต้ องแยกเป็ นกระบวนการ พิเศษออกมาต่างหาก โดยต้ องสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ทางธุรกิจและวิสยั ทัศน์ขององค์กรเป็ น ที่ตงในการพิ ั้ จารณาความเสี่ยงขององค์กรต้ องมีการจัดลาดับความถี่ของความเสี่ยง การนาการ บริ หารความเสีย่ งมาใช้ ในองค์กรนันจะประสบความส ้ าเร็ จในทุกระดับ ก็ต่อเมื่อผู้บริ หารระดับสูง ให้ ความสนใจและมุ่งมัน่ ปฏิบตั ิอย่างจริ งจัง มีสว่ นร่มในการผลักดัน และวางแผนการบริ หารความ เสี่ยง เพื่อช่วยให้ การบริ หารทาได้ ง่าย มีประสิทธิ ภาพมากยิ่งขึ ้น ซึ่งจะทาให้ อ งค์กรได้ ประโยชน์ สูงสุดจากการบริ หารจัดการ ความหมายของความเสี่ยง กรมอนามัย (2549) ได้ ให้ ความหมายของความเสี่ยงว่า เหตุการณ์ ใดๆ ที่อาจเกิ ดขึ ้น แล้ วมี ผลกระทบทาให้ การทางานสะดุด หรื อ หยุดชะงักและมี ผลทาให้ เป้าหมายไม่บรรลุอ ย่าง สมบูรณ์ การเปลีย่ นแปลงทาให้ เกิดความไม่แน่นอน และนาพาให้ เกิดเหตุการณ์ เหตุการณ์ ที่เป็ น ผลทางลบ เราเรี ยกว่าความเสีย่ ง เหตุการณ์ ที่เป็ นผลทางบวกเราเรี ยกว่าโอกาสความเสี่ยง ความ เสี่ยงเป็ นเหตุก ารณ์ ที่ เ ราขจัด ไม่ไ ด้ แต่เ ราสามารถจัดการตัว เราให้ อ ยู่กับความเสี่ย งได้ อ ย่า ง เหมาะสม เราสร้ างการควบคุมขึ ้นมาเพื่อให้ เรารับมือกับความเสีย่ ง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด


71 ความเสียหาย การรั่วไหล หรื อ เหตุการณ์ ซึ่งไม่พึงประสงค์ที่ทาให้ งานไม่ประสบความสาเร็ จตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายตามที่กาหนด การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (2548) ความเสี่ยงขององค์ กร หมายถึง การ บริ หารปั จจัยและควบคุมกิจกรรมรวมทังกระบวนการการด ้ าเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละ โอกาสที่องค์ก รจะเกิ ดความเสียหาย เพื่อให้ ระดับของความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ ้นในอนาคตอยูใ่ นระดับที่องค์กรรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้ อย่างมีระบบ โดยคานึงถึงการบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมายขององค์กรเป็ นสาคัญ ปราชญา กล้ าผจัญ (2551) ได้ ให้ ความหมายของความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่บางสิ่ง บางอย่าง อาจจะเกิ ด ขึน้ ซึ่งเป็ นผลลัพ ธ์ ของสิ่งที่ เป็ นอันตราย ความเสี่ยงนี ้ เกิ ดจากความไม่ แน่นอน (Uncertainly) ซึ่งสามารถวัดได้ ความน่าจะเป็ นของสิ่งที่เกิดขึ ้น หรื อผลลัพธ์ ที่เกิดขึ ้น แต่ ละหน่วยงานต่างก็มีมมุ มองเรื่ องความเสีย่ งแตกต่างกันไป เช่น งานทรัพยากรมนุษย์มองอย่างหนึ่ง งานผลิต มองอย่า งหนึ่ง งานรั ก ษาความปลอดภัย มองอย่า งหนึ่ง และงานวิ ศ วกรรมความ ปลอดภัยขององค์กร ก็มองความเสีย่ งไปอีกอย่างหนึง่ เป็ นต้ น พิชยั จรรย์ศภุ ริ นทร์ และคณะ (2548) ได้ ให้ ความหมายของความเสีย่ งว่า เป็ นเหตุการณ์ การกระทาใดๆ ที่อาจเกิดขึ ้นภายใต้ สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบ หรื อสร้ างความ เสียหาย หรื อล้ มเหลว หรื อลดโอกาสที่จะบรรลุความสาเร็ จต่อการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ทังในระดั ้ บองค์การ ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคลได้ ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส (2547) ระบุวา่ ความเสีย่ ง คือ เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึง่ หากเกิดขึ ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมายขององค์กร สุมาลี จิ วะมิ ตร (2542) ได้ ให้ ความหมายของความเสี่ยงว่า การสูญ เสียโอกาส หรื อ เหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ พึง ประสงค์ หรื อ ภาวะคุ ก คาม หรื อ ปั ญ หาอุ ป สรรคที่ จ ะส่ง ผลกระทบท าให้ วัตถุประสงค์ หรื อเป้าหมายเบี่ยงเบนไป หรื อ สถานการณ์ ที่อ าจเกิดขึ ้นและเป็ นอุปสรรคต่อ การ บรรลุเป้าหมาย ทัง้ ทางด้ าน กลยุทธ์ การเงิน การดาเนินงาน และกฎระเบียบ หรื อ กฎหมายที่ เกี่ ย วข้ อ ง แม่ ว่า ความเสี่ย ง (Risk) และความไม่ แ น่น อน (Uncertainly) ส่ว นมากจะถูก ใช้ ใ น


72 ความหมายเดียวกัน แต่ถ้า พิจารณาแล้ ว คาทัง้ 2 มี ความหมายแตกต่างกัน ความไม่แน่นอน หมายถึง ความไม่ร้ ูวา่ อะไรจะเกิดขึ ้นในอนาคตแน่ ในขณะที่คาว่าความเสี่ยง หมายถึง อัตราของ ความไม่แน่นอนว่ามีมากน้ อยเพียงใด ถ้ าการลงทุนใดมีความไม่แน่นอนในอัตราผลตอบแทนสูง ความเสีย่ งจะสูง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ม.ป.ป.) ได้ ให้ ความหมายของความเสี่ยง ว่า หมายถึง สิง่ ที่อยูร่ อบๆ ตัวเรา แฝงอยูใ่ นทุกๆ เหตุการณ์ที่ดาเนินอยูห่ รื อเป็ นไปในชีวิตประจาวัน แต่เราไม่สามารถมองเห็นได้ จนกว่าจะเกิดเป็ นปั ญหาขึ ้นมาแล้ วกลายเป็ นบทเรี ยน ซึ่งอาจมีราคา ที่ค่อ นข้ างแพง และส่ว นมากเมื่ อ เกิ ดความเสียหายขึ ้นมาแล้ ว จึง หาทางแก้ ไข แต่ปัญ หาที่อ ยู่ เบื ้องหลังการกระทานัน้ ก็คือ ทาไมคนทัว่ ไปจึงไม่คิดหรื อดาเนินการป้องกันไว้ ก่อนเมื่อเริ่ มต้ นหรื อ ดาเนินการในขณะที่ยังมีโอกาสเลือกที่จะดาเนินการได้ หรื อ การหาความเสี่ยงที่อาจเกิ ดขึ ้นกับ องค์กร หรื อความเสีย่ ง หมายถึง การตัดสินใจที่จะดาเนินการ (หรื อไม่ดาเนินการ) สิ่งใดสิ่งหนึ่งบน พื ้นฐานของการขาดข้ อมูลที่ชัดเจน ไม่ครบถ้ วน เป็ นเพียงการประมาณการ การคาดเดา การตัง้ ความหวังซึง่ ผลของการตัดสินใจนันอาจเป็ ้ นไปตามความคาดหมาย หรื อตรงกันข้ ามก็ได้ เช่น การ เสีย่ งโชคเล่นพนัน การเสีย่ งอันตราย เป็ นต้ น ความหมายของการบริหารความเสี่ยง เจนเนตร มณีนาค (2548) ระบุว่า การบริ หารความเสี่ยง (Risk Management) คือ การ บริ หารปั จจัย และควบคุมกิจกรรมรวมทังกระบวนการการด ้ าเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละ โอกาสที่องค์ กรจะเกิดความเสียกาย เพื่อ ให้ ระดับของความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ ้นในอนาคตอยูใ่ นระดับที่องค์กรรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้ อย่างมีระบบ โดยคานึงถึงการบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมายขององค์กรเป็ นสาคัญ ปราชญา กล้ าผจัญ (2551) กล่าวว่า การบริ หารความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ นาไปสูก่ ารตัดสินใจ และการวินิจฉัยสัง่ การ โดยให้ สามารถเข้ าใจได้ อย่างลึกซึ ้งต่อความเสี่ยงและ ผลลัพธ์ ที่จะเกิดขึ ้น


73 พิชัย จรรย์ศุภริ นทร์ และคณะ (2548) ได้ ให้ ความหมายของการบริ หารความเสี่ยงว่า การบริ หารปั จจัยและควบคุมกิจกรรมรวมทังกระบวนการการด ้ าเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ ละโอกาสที่องค์กรจะเกิดความเสียหาย เพื่อให้ ได้ ระดับของความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่ จะเกิดขึน้ ในอนาคตอยู่ในระดับที่องค์ กรรั บ ได้ ประเมิ นได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้ อย่างมี ระบบโดยคานึงถึงการบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมายขององค์กรเป็ นสาคัญ จากนิยามของการ บริ ห ารความเสี่ย ง หมายถึ ง การบริ หารปั จ จัยและควบคุม กิ จกรรมรวมทัง้ กระบวนการ การ ดาเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละโอกาสที่องค์กรจะเกิดความเสียหาย หาแนวทางแก้ ไขเหตุ เหล่านัน้ ให้ สง่ ผลกระทบหรื อความเสียหายต่อองค์กรน้ อยที่สดุ ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์ คูเ ปอร์ (2547) ระบุ ว่า การบริ หารความเสี่ย ง (Enterprise Risk Management) คือ กระบวนการที่ปฏิบตั ิโดยคณะกรรมการบริ ษัท ผู้บริ หาร และบุคลากรทุกคนใน องค์กรเพื่อช่วยในการกาหนดกลยุทธ์ และดาเนินงาน โดยกระบวนการบริ หารความเสี่ยง ได้ รับการ ออกแบบเพื่อ ให้ สามารถบ่งชี เ้ หตุการณ์ ที่อ าจเกิ ดขึ ้นและมี ผ ลกระทบต่อ องค์ กร และสามารถ จัดการความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่องค์กรยอมรับได้ เพื่อให้ ได้ รับความมั่นใจอย่ างสมเหตุสมผลใน การบรรลุวตั ถุประสงค์ที่องค์กรกาหนดไว้ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2541) ได้ ให้ ความหมายของการบริ หารความเสี่ยงว่า ความไม่ แน่น อน (Uncertainly) แต่ต่า งกัน ตรงที่ใ นสถานการณ์ ภ ายใต้ ค วามไม่ แ น่น อนจะไม่ สามารถกาหนดค่าความน่าจะเป็ นของผลที่จะเกิ ดขึ ้นในแต่ละกรณีได้ แต่อ ย่างไรก็ตามในทาง ธุรกิจจะถือว่าความเสีย่ ง และความไม่แน่นอนมีความหมายเหมือนกัน เพราะต่างก็เป็ นปั ญหาของ ความไม่แน่นอนทังสิ ้ ้น มูลเหตุแห่ งความเสี่ยง ปั ญจพร ศรี ชนาพันธ์ (2547) กล่าวว่า มูลเหตุแห่งความเสี่ยง (Risk Driver) คือ ปั จจัย ขับเคลือ่ นที่ก่อให้ เกิดความเสีย่ งแก่องค์กรซึ่งเกิดจากเหตุภายในองค์กร ได้ แก่ โครงสร้ างองค์กรที่ ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ วัฒนธรรมองค์กร พฤติกรรมของบุคลากร หรื ออาจเกิด จากเหตุภ ายนอกองค์ ก ร ได้ แ ก่ สภาวะเศรษฐกิ จ โดยรวมของประเทศ การเปลี่ย นแปลงท าง การเมือง ซึง่ ความเสีย่ งสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทที่สาคัญ ดังต่อไปนี ้


74 1. ความเสี่ยงที่เป็ นอันตราย (Hazard) เหตุการณ์ ที่หากเกิดขึ ้นแล้ วอาจเป็ นอันตราย หรื อสร้ างความเสียหายแก่องค์กร เช่น คูแ่ ข่งเพิ่มมากขึ ้น พนักงานขาดความเชี่ยวชาญ เป็ นต้ น 2. ความเสีย่ งที่เป็ นความไม่แน่นอน (Uncertainly) เหตุการณ์ที่ทาให้ ผลที่องค์กรได้ รับ จากเหตุการณ์ จ ริ ง ไม่ เ ป็ นไปตามที่ ค าดการณ์ ไ ว้ อันเนื่ อ งมาจากสาเหตุต่า งๆ กัน เช่ น อัต รา ดอกเบี ้ย สู้คแู่ ข่งไม่ได้ ลูกค้ ายืดเวลาการชาระเงินนานเกินไป เป็ นต้ น 3. ความเสี่ยงที่เป็ นโอกาส (Opportunity) เหตุการณ์ ที่ทาให้ อ งค์ กรเสียหายในการ แข่งขันการดาเนินงาน และการเพิ่มมูลค่าของผู้ถือหุ้น เช่น การไม่สามารถสร้ างจุดเด่นที่แตกต่าง จากคูแ่ ข่ง การไม่ตดั สินใจลงทุนในธุรกิจใหม่ที่อาจช่วยขยายขนาดธุรกิจ เป็ นต้ น ความเสี่ยงเป็ นเหตุการณ์ ที่เกิดขึ ้นได้ เสมอ โดยมี ผลกระทบต่อธุรกิจขององค์กรใน เชิ งลบ เช่น ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย การแข่งขันที่ทวีความรุ นแรงมากขึ ้น การทุจริ ตใน องค์กร ภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบทังภายใน ้ และภายนอกองค์กร เป็ นต้ น ดังนันการบริ ้ หารความเสีย่ ง (Risk Management) จึงเป็ นหลักการที่นาไปใช้ ในการ กาหนดเครื่ องบ่งชี ้ถึง เหตุการณ์ ความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การจัดลาดับความเสี่ยง รวม ไปจนถึงการจัดการกับความเสี่ยงต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิ ดขึ ้นกับองค์ กรให้ อยู่ในระดับที่ยอมรั บได้ ทัง้ นี ้ เพื่ อสร้ างหรื อ เพิ่ มมูลค่าสูงสุดให้ ผ้ ูมีส่วนได้ เสียขององค์ ก ร และเพื่อ ช่ ว ยผู้บริ หารในการ กาหนดขอบเขตหรื อขันตอนการด ้ าเนินงานที่ทาให้ สามารถบริ หารความเสี่ยงที่เกิดจากความไม่ แน่นอนและสามารถบริ หารโอกาสทางธุรกิจของโรงเรี ยนอย่างมีประสิทธิภาพ องค์ ประกอบของกระบวนการบริหารความเสี่ยง อุษณา ภัทรมนตรี (2545) กล่าวว่า กระบวนการบริ หารความเสีย่ ง ประกอบด้ วยขันตอน ้ ดังต่อไปนี ้


75 1. การกาหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) เพื่อให้ ทราบขอบเขตการดาเนินงาน ในแต่ละระดับและสามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ ้นได้ ครบถ้ วน การกาหนดวัตถุประสงค์ ขององค์การ ควรมี ความสอดคล้ อ งกับเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ และความเสี่ยงที่อ งค์ กรยอมรั บได้ สาหรั บในระดับแผนกหรื อระดับฝ่ าย การกาหนดวัตถุประสงค์ จะต้ อ งสอดคล้ อ งหรื อ เป็ นไปใน ทิศทางเดียวกับวัตถุประสงค์ขององค์การ เพื่อให้ วตั ถุประสงค์ในภาพรวมบรรลุเป้าหมาย โดยการ กาหนดวัตถุประสงค์จะต้ องคานึงถึงหลัก SMART คือ มีความชัดเจน (Specific) สามารถวัดได้ (Measurable) สามารถปฏิบตั ิได้ (Achievable) มีความสมเหตุสมผล (Reasonable) และอยู่ใน เงื่อนไขเวลาที่กาหนด (Time Constrained) 2. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) เป็ นการค้ นหาว่ามีความเสี่ยงใดบ้ าง ที่ เกี่ยวข้ องกับการดาเนินการขององค์การ โดยดูจากทังปั ้ จจัยภายในและปั จจัยภายนอก โดยปกติ การระบุความเสีย่ งจะดูจากประวัติการเกิดเหตุการณ์ในอดีตที่ผา่ นมา หรื อการคาดเดาเหตุการณ์ ที่ อาจมีผลกระทบในอนาคต ซึง่ ประกอบด้ วย 6 ด้ าน ดังนี ้ 2.1 ความเสี่ย งด้ า นโครงสร้ างการก ากับ ดูแลกิ จการ (Governance Structure Risk) คื อ ความเสี่ย งที่ เกิ ด จากโครงสร้ างขององค์ ก ร กลยุท ธ์ การด าเนิ นงาน ผู้บ ริ ห ารที่ ไ ม่ มี ศักยภาพในการบริ หารงาน และ/หรื อ ไม่มีอุดมการณ์ และ/หรื อ ไม่มีความซื่อ สัตย์ สจุ ริ ต ซึ่งจะ ส่งผลกระทบอย่างมากต่อธุรกิจและความน่าเชื่อถือขององค์กร 2.2 ความเสีย่ งด้ านกลยุทธ์ (Strategic Risk) คือความเสี่ยงที่เกิดจากการกาหนด แผนกลยุทธ์ แผนดาเนินงานและการนาไปปฏิบตั ิไม่เหมาะสมหรื อไม่สอดคล้ องกับปั จจัยภายใน และสภาพแวดล้ อมภายนอก อันส่งผลกระทบต่อรายได้ หรื อ การดารงอยู่ของกิจการ ขาดการ ส่งเสริ มการบริ หารตามหลักธรรมมาภิบ าล และไม่มีก ารจัดโครงสร้ างพื ้นฐานภายในที่เหมาะ สาหรับการนาไปปฏิบตั ิ เช่น การจัดองค์การ บุคลากร งบประมาณ ระบบข้ อมูลสารสนเทศ ระบบ การติดตามและควบคุมการปฏิบัติงาน เป็ นต้ น เพื่อ ให้ บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจและจัดการกับ ปั ญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2.3 ความเสีย่ งด้ าน เครดิต (Credit /Default Risk) คือ โอกาสหรื อความน่าจะเป็ น ที่คสู่ ญ ั ญาไม่สามารถปฏิบตั ิตามภาระที่ตกลงไว้ เป็ นความเสีย่ งที่เกิดจากการที่ลกู หนี ้หรื อคู่ค้าอื่น


76 ขององค์กรไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญา ทาให้ องค์กรไม่ได้ รับชาระหนี ้ตามจานวนและช่วงเวลาที่ กาหนดไว้ ซึ่งก่อให้ เกิดหนี ้ค้ างชาระเกินกาหนดเวลา หนี ้ที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ หรื อหนี ้สูญ รวมทัง้ ส่งผลกระทบต่อกระแสเงินสดและรายได้ ขององค์ กร ความเสี่ยงด้ านเครดิตเป็ นความเสี่ยงที่มี ความสาคัญมาก เพราะเกี่ยวข้ องกับเงินให้ สนิ เชื่อที่เป็ นธุรกรรมหลักขององค์กร 2.4 ความเสี่ย งด้ านตลาด (Market Risk) หมายถึง ความเสี่ย งที่ เกิ ดจากการ เคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี ้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และราคาตราสารในตลาด เงินทุน ที่มีผ ลกระทบในทางลบ ต่อ รายได้ ขององค์ กร ความเสี่ย งด้ านตลาด จึงแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี ้ย (Interest Rate Risk) เป็ นความเสี่ยงที่รายได้ ได้ รับ ผลกระทบในทางลบจากการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบี ้ยของรายการสินทรัพย์ หนี ้สินและรายการ นอกงบดุลทังหมด ้ ที่มีความอ่อนไหวต่ออัตราดอกเบี ้ย (Rate Sensitive Items) ซึ่งอาจจะส่งผล กระทบต่อรายได้ ดอกเบี ้ย มูลค่าตลาดของรายการเพื่อค้ า (Trading Account) นอกจากนี ้ แล้ วยังรวมถึงความเสีย่ งจากการลงทุน และการเสียโอกาสในการลงทุน เพื่อให้ ได้ รับผลตอบแทนที่ดีกว่า และความเสี่ยงจากราคา (Price Risk) เป็ นความเสี่ยงที่รายได้ ได้ รับผลกระทบในทางลบ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตราสารหนี ้และตราสารทุน ทาให้ มูลค่าของพอร์ ตเงินลงทุนเพื่อค้ าและเผื่อขาย ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อการทากาไรขององค์กรลดลง 2.5 ความเสี่ยงด้ านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจาก การที่องค์กรไม่สามารถชาระหนีส้ ิน และภาระผูกพันเมื่อถึงกาหนด เนื่องจากไม่สามารถเปลี่ยน สินทรัพย์เป็ นเงินสดได้ หรื อไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้ เพียงพอ หรื อ สามารถจัดหาเงินทุนได้ แต่ ด้ วยต้ นทุนที่สงู เกินกว่าระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อรายได้ ขององค์กรทังในปั ้ จ จุบนั และอนาคต 2.6 ความเสี่ยงด้ านปฏิบตั ิการ (Operational Risk) คือ ความเสี่ยงที่จะเกิดความ เสียหาย อันเนื่องมาจากการขาดการกากับดูแลกิ จการที่ดี หรื อขาดธรรมาภิบาลในองค์ กร และ ขาดการควบคุม ที่ดี โดยอาจเกี่ ยวข้ อ งกับกระบวนการปฏิบัติง านภายใน คน ระบบงาน หรื อ เหตุการณ์ภายนอก และส่งผลกระทบต่อรายได้ ทังนี ้ ้ไม่นบั รวมความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ ความเสี่ยง ด้ านเครดิต ความเสีย่ งด้ านตลาด และความเสี่ยงด้ านสภาพคล่อง ซึ่งความไม่เพียงพอหรื อความ


77 ล้ มเหลวที่เกิดขึ ้นจากปั จจัยทัง้ 4 ปั จจัยข้ างต้ น เป็ นสาเหตุก่อให้ เกิดความเสี่ยงด้ านปฏิบตั ิการขึ ้น ได้ เช่น การทุจริ ต ความไม่เพียงพอหรื อความไม่ถกู ต้ องของข้ อมูลเพื่อการตัดสินใจ การหยุดชะงัก หรื อ การขัด ข้ อ งของระบบคอมพิ ว เตอร์ การก่ อ วิ น าศภัย หรื อ ภัย ธรรมชาติ เป็ นต้ น และอาจ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อการดาเนินงานขององค์กรได้ ความเสี่ยงด้ านปฏิบตั ิการจาแนกออกได้ ดังนี ้ 2.6.1 ความเสี่ยงจากการทุจริ ต ความเสี่ยงจากการทุจริ ตภายในเป็ นความ เสีย่ งที่เกิดจากการทุจริ ตของบุคลากรในองค์กร เพื่อให้ ผลประโยชน์ที่เกิดจากการทุจริ ตดังกล่าวตก แก่พวกพ้ องของตนเอง เช่น การปลอมแปลงเช็ค การปลอมแปลงเอกสาร การยักยอกหรื อการรับ สินบน เป็ นต้ น ความเสี่ยงจากการทุจริ ตจากภายนอกเป็ นความเสี่ยงที่เกิ ดจากการทุจริ ตของ บุคลากรภายนอกองค์กร แต่ก่อให้ เกิดความเสียหายโดยตรงต่อองค์การ เช่น การปลอมแปลงเช็ค การปลอมแปลงเอกสารทางการเงิน การฉ้ อโกง เป็ นต้ น 2.6.2 ความเสี่ยงด้ านบุคลากร เป็ นความเสี่ยงที่เกิดขึ ้นจากกระบวนการจ้ าง งานที่ไม่เหมาะสม การจ่ายค่าตอบแทน หรื อ การปฏิบัติต่อ พนักงานอย่างไม่เป็ นธรรม ซึ่งอาจ ก่อให้ เกิดการฟ้องร้ อง การลาออก การหยุดงานประท้ วง หรื อการทางานอย่างเฉื่อยชาล่าช้ าได้ และ การสรรหาบุคลากร ซึง่ อาจมีความรู้ ความสามารถ หรื อ มีคุณสมบัติไม่เพียงพอกับการปฏิบตั ิงาน นอกจากนี ้ ยังรวมถึงความปลอดภัยในการปฏิ บัติงาน และการควบคุมสภาพแวดล้ อ มในการ ปฏิบตั ิงานที่เพียงพอ จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงาน อันเนื่อ งมาจากโรคภัย หรื อได้ รับ บาดเจ็บจากอุบตั ิเหตุอนั เนื่องมาจากการปฏิบตั ิงานได้ 2.6.3 ความเสีย่ งด้ านความปลอดภัยของทรัพย์สนิ เป็ นความเสี่ยงที่ก่อให้ เกิด ความเสียหายแก่ทรัพย์ สินขององค์ กร อันเนื่อ งมาจากอุบัติภยั ต่างๆ เช่น อุบัติเหตุ อัคคีภัย ภัย ธรรมชาติ การทาลายทรัพย์สนิ การจลาจล การก่อความไม่สงบทางการเมือง การก่อวินาศภัย เป็ น ต้ น เกิ ดขึน้ จากความผิดพลาดในวิธีปฏิบัติงาน (Methodology) ความผิดพลาดของระบบการ ปฏิบตั ิงาน หรื อความผิดพลาดจากการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในองค์กร และพนักงานจากการ จ้ างงานภายนอก เช่น การนาเข้ าข้ อมูลผิดพลาด การประเมิน มูลค่าหลักประกันไม่ถูกต้ อง การไม่ ปฏิบตั ิตามสัญญาการจ้ างงานตามสัญญาจ้ างงานจากภายนอก การขาดความรู้ ความสามารถ ความเข้ าใจในการปฏิบตั ิงาน และการใช้ งานระบบคอมพิวเตอร์ ของพนักงานในการทางานไม่


78 เหมาะสม รวมถึงการจัดทานิติกรรมสัญญาและเอกสารทางกฎหมายที่ไม่สมบูรณ์ทาให้ ไม่สามารถ ใช้ บงั คับได้ ตามกฎหมาย เป็ นต้ น 2.6.4 ความเสีย่ งจากลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิในการดาเนินธุรกิจเป็ น ความเสีย่ งที่เกิดขึ ้นจากวิธีปฏิบตั ิในการดาเนินธุรกิจ กระบวนการออกผลิตภัณฑ์ และการเข้ าถึง ข้ อมูลลูกค้ าที่ไม่เหมาะสมไม่เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้ อบังคับที่ทางการกาหนด เช่น การทาธุรกรรมที่ละเมิดกฎหมายการดาเนินธุ รกรรมที่ได้ รับอนุญาต การทาธุรกรรมที่เกี่ยวข้ องกับ การฟอกเงิน และการนาข้ อมูลความลับของลูกค้ าไปหาผลประโยชน์เป็ นต้ น 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ประกอบด้ วย การวิเคราะห์ ประเมิน และจัดลาดับความเสีย่ ง 3.1 การวิเคราะห์เป็ นการวิเคราะห์ถึงสาเหตุและผลกระทบต่างๆ ที่อาจเกิดขึ ้นต่อ องค์การโดยมีประเด็นที่ต้องวิเคราะห์ ดังนี ้ 3.1.1 ประเด็นหรื อสาระความเสีย่ ง มีลกั ษณะเป็ นประโยคที่พรรณนาถึงความ เสีย่ งอย่างสันๆ ้ แต่ได้ ใจความชัดเจนว่ากาลังพิจารณาหรื อกล่าวถึงความเสีย่ งในเรื่ องอะไร ภายใต้ แต่ละด้ านของกลุม่ ความเสี่ยง เช่น ความเสี่ยงที่ไม่ใช่ทางการเงิน มีประเด็นหรื อสาระความเสี่ยง เช่น ความเสีย่ งในการวางแผนและงบประมาณ ความเสีย่ งจากความพึงพอใจของลูกค้ าความเสีย่ ง จากระบบคอมพิวเตอร์ ความเสีย่ งจากความผิดพลาดของการรับใบสัง่ ซื ้อ และความเสี่ยงจากการ ผิดสัญญา ข้ อตกลง 3.1.2 ปั จจัยเสี่ยง หมายถึง สิ่ง ใดก็ ตามที่ เป็ นเหตุ ทัง้ ที่ มาจากภายในหรื อ ภายนอกที่กระทบกระเทือนต่อสถานภาพขององค์กร ถือว่าเป็ นปั จจัยที่ก่อให้ เกิดความเสี่ยงในการ พิจารณาต้ องทา Scenario หรื อสมมติฐานต่างๆ ที่คานึงเป็ นการล่วงหน้ าในการชี ้บ่งอันตรายอาจ เลือกใช้ วิธีการใดวิธีหนึ่ง หรื อหลายวิธีที่เหมาะสมตามลักษณะการประเมิ นกิจการหรื อลักษณะ ความเสีย่ งอันตรายที่อาจจะเกิดขึ ้น ทังนี ้ ้ในการตังสมมติ ้ ฐานที่สมบูรณ์ควรต้ องมีองค์ประกอบของ การอธิบายสมมติฐาน ดังนี ้ เนื ้อหาขอบเขต และข้ อมูลประกอบสถานการณ์ ที่สมมติฐานอยู่ในรู ป ของสถิติหรื อพรรณนา เช่น ข้ อมูลจากผลการดาเนินการที่ผ่านมา ประสบการณ์ ต่างๆ ข้ อมูลจาก


79 ผลการตัดสินใจ ข้ อมูลจากภายนอก สาหรับประโยชน์ของคาอธิ บายและข้ อมูลประกอบเพิ่มเติม คือ ทาให้ ทราบปริ ม าณและความบ่อยครั ง้ (โอกาสจะเกิ ด )ทาให้ ทราบขอบเขตของปั จจัยเสี่ยง สามารถป้องกันและรับมือได้ ถกู ต้ อง(แก้ ที่เหตุ)คุณภาพของรายได้ ดี 3.1.3 ผลกระทบหรื อ ปั ญหาที่คาดว่าจะเกิดตามมา หมายถึง ผลที่เกิ ดจาก สมมติฐานของเหตุการณ์ที่คาดการณ์ไว้ เป็ นการล่วงหน้ าของแต่ละสมมติฐาน ควรอธิ บายไว้ อย่าง ชัดเจนว่าได้ เกิดอะไรขึน้ มี อะไรเป็ นความเสียหาย ระบุขนาด และปริ มาณความเสียหายโดยใช้ ข้ อมูลจากเหตุการณ์ ลกั ษณะนี ้ ที่เกิดมาแล้ วมีการบันทึกไว้ การแก้ ปัญหาหรื อจากการตัดสินใจ (ประสบการณ์) ในการพิจารณาผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดตามมา จะต้ องพิจารณาให้ ครอบคลุม ทุกด้ านดังต่อไปนี ้ คือ ด้ านการดาเนินงาน ด้ านบุคคล ด้ านทรัพย์สิน ด้ านสมาชิกและผู้ให้ บริ การ และด้ านภาพลักษณ์ 3.2 การประเมินความเสีย่ ง ใช้ หลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี ้ 3.2.1 พิจารณาถึงโอกาสในการเกิ ดเหตุการณ์ ต่างๆ (Likelihood) ว่ามี มาก น้ อยเพียงใด โดยจัดระดับเป็ น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่า และต่ามาก แทนด้ วยตัวเลข 5,4,3,2,1 3.2.2 พิ จ ารณาถึ ง ความรุ น แรงของผลกระทบที่ เ กิ ด จากเหตุก ารณ์ ต่ า งๆ (Impact) ว่ามีมากน้ อยเพียงใด โดยจัดระดับความรุ นแรงและผลกระทบเป็ น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่า และต่ามาก แทนด้ วยตัวเลข 5,4,3,2,1 ตามลาดับ ผลกระทบประกอบด้ วย ผลกระทบเชิงปริ มาณ ได้ แก่ ผลกระทบต่อองค์กรที่คิดเป็ นมูลค่าความสูญเสีย และผลกระทบเชิง คุณภาพ ได้ แก่ การจัดระดับความรุ นแรงของเหตุการณ์ ต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ บุคคล ชุมชน สิง่ แวดล้ อม ภาพลักษณ์ขององค์กร การประมาณและจัดระดับความน่าจะเกิด อาจพิจารณาจาก โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด เช่น พิจารณาข้ อมูลเกี่ยวกับปริ มาณงานมาก-น้ อย ความซับซ้ อน ของงานมาก-น้ อย อัตราความผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากที่กาหนด ความสามารถของผู้บริ หาร สาคัญประสิทธิผลของระบบสารสนเทศและการควบคุมภายใน ส่วนการจัดระดับผลกระทบ อาจ พิจารณาจากความสาคัญทางการเงินและที่มีต่อการดาเนินงาน เช่น จานวนเงิน อัตราส่วนทาง


80 การเงินหรื อความสาคัญต่อผลการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ที่เกี่ยวข้ อง เช่น ข้ อมูลด้ านชื่อเสียง ของกิจการเป็ นต้ น ในการกาหนดระดับ หากสามารถคานวณจากจ านวนเงิน หรื อ จานวนเชิ ง ปริ มาณได้ ก็ อาจจัดระดับ สูง -ต่า ไปตามจ านวนเงิน หรื อ จานวนเชิ ง ปริ ม าณและตามขนาดที่ เหมาะสมกับองค์การ เช่น หากจานวนเงินไม่เกิน 0.28 ล้ านบาท กาหนดผลกระทบมากในระดับ 1 หากจานวนเงินไม่เกิน 14 ล้ านบาท กาหนดผลกระทบต่าในระดับ 2 และจานวนเงินเกิน 140 ล้ าน บาท กาหนดผลกระทบสูงมากในระดับ 5 เป็ นต้ น แต่หากไม่สามารถคานวณเป็ นจานวนเงินหรื อ จานวนเชิงปริ มาณได้ นิยมให้ จัดระดับเชิงปริ มาณเปรี ยบเทียบแทน เช่น ให้ ระดับ 5-1 โดยระดับ คะแนน 5 = พอใจมาก ระดับคะแนน 4 = พอใจ ระดับคะแนน 3 = ปานกลาง ระดับคะแนน 2 = ไม่พอใจ ระดับคะแนน 1 = ไม่พอใจมาก ตารางที่ 2-1 การจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ ง โอกาสเกิดความเสี่ยง ความถี่โดยเฉลี่ย สูงมาก 1 เดือนต่อครัง้ หรื อมากกว่า สูง มากกว่า 1-6 เดือนต่อครัง้ แต่ไม่เกิน 5 ครัง้ ต่อปี ปานกลาง 1 ปี ต่อครัง้ ต่า 2-3 ปี ต่อครัง้ ต่ามาก 5 ปี ต่อครัง้ ที่มา : อุษณา ภัทรมนตรี (2545)

ระดับ 5 4 3 2 1

3.3 การจัดระดับความเสีย่ ง (Degree of Risks) การจัดระดับความเสี่ยง หมายถึง การนาผลการประเมินความเสีย่ งตามข้ อ 3.2.2 มาประมวลเข้ าด้ วยกัน ซึง่ สามารถทาได้ 2 วิธี คือ 3.3.1 วิธีการคานวณทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิธีการคานวณระดับความเสี่ยง กรณีที่มีผลกระทบทังเชิ ้ งปริ มาณและเชิงคุณภาพ 3.3.2 วิธีการจัดทาข้ อ มูลสถานะความเสี่ยง (Risk Profile) จะเป็ นการสร้ าง ภาพแสดงค่าโอกาสในการเกิ ด ปั จ จัย ความเสี่ย ง (Likelihood) และค่าระดับความรุ น แรงของ


81 ผลกระทบที่เกิดจากปั จจัยเสีย่ งนัน้ (Impact) ซึง่ Risk Profile จะแบ่งพื ้นที่ออกเป็ น 5 ส่วน ในการ วิเคราะห์ความเสี่ยงได้ กาหนดให้ ปัจจัยความเสี่ยงในพื ้นที่ ซึ่งมีค่า Co-ordinate ของ Likelihood และ Impact ของปั จจัยความเสี่ยงเป็ น (5,5),(5,4),(4,4),(5,3),(4,3) และ (3,4) เป็ นปั จจัยความ เสีย่ งที่จะต้ องกาหนดมาตรการรองรับและจัดการเป็ นลาดับต้ นๆ 4. การจัด การความเสี่ยง (Risk Treatment) เป็ นการพิจารณาเลือ กวิธี การที่ ควร กระท าตามผลการประเมิ น ความเสี่ย ง ซึ่ง พิ จ ารณาจากความน่า จะเกิ ด และผลกระทบ โดย เปรี ยบเทียบระดับความเสี่ยงที่เกิดกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และความ คุ้มค่าในการที่จะบริ หารความเสี่ยงที่เหลืออยู่ (Residual Risk) นัน้ วิธีการตอบสนองความเสี่ยง ประกอบด้ วย การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) หมายถึง ยกเลิก หรื อหลีกเลี่ยงการ กระทา หรื อลดการกระทา หรื อเปลี่ยนวัตถุประสงค์ เป็ นต้ น การลดความเสี่ยง (Risk Reduction) หมายถึง การลดโอกาสความน่าจะเกิ ดหรื อ ลดความเสียหาย โดยการจัดระบบการควบคุมเพื่อ ป้องกันการปรับปรุงแก้ ไขกระบวนการ รวมกับการกาหนดแผนสารองในเหตุฉกุ เฉิน (Contingency Planning) การกระจายความเสีย่ ง (Risk Diversification) หมายถึง การลดโอกาสความน่าจะเกิด หรื อลดความเสียหายโดยการแบ่งโอน การหาผู้รับผิดชอบในความเสี่ยงการจ้ างบุคคลภายนอก เป็ นผู้ดาเนินการแทน การจัดประกันภัย เป็ นต้ น และการยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) หมายถึง การไม่กระทาการใดๆ เพิ่มเติมกรณีนี ้ใช้ กบั ความเสี่ยงที่มีน้อย ความน่าจะเกิดน้ อย หรื อ เห็นว่ามีต้นทุนในการบริ หารความเสีย่ งสูงโดยขออนุมตั ิหลักการรับความเสีย่ งไว้ การบริ ห ารความเสี่ยงให้ มี ประสิท ธิ ภาพ ต้ อ งกาหนดบุ คคลที่รั บผิด ชอบในการ จัดการความเสีย่ งในแต่ละเรื่ องที่ได้ รับการบ่งขี ้ บุคคลที่ได้ รับมอบหมายให้ รับผิดชอบในการจัดการ ความเสี่ยงในแต่ละเรื่ อง ควรมี คุณสมบัติ คือ สามารถทบทวนประสิทธิ ภาพของแนวปฏิบตั ิการ บริ หารความเสี่ยงที่อยู่ในปั จจุบนั สามารถควบคุมและจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ในดับที่ยอมรับได้ สามารถประเมิ น ความเสี่ย งที่ เ หลือ อยู่ห ลัง จากได้ มี ก ารจัด การในปั จจุ บัน แล้ ว และสามารถ กาหนดเวลาที่แน่นอนในแต่ละขันตอนการด ้ าเนินการให้ เป็ นไปตามแผนที่กาหนดไว้ 5. การติดตามประเมินผลและการรายงาน (Monitoring Evaluating and Reporting) หมายถึง การติดตามประเมินผลและรายงานผลการบริ หารความเสี่ยง ซึ่งมีขนตอนและระยะเวลา ั้ ในการดาเนินการตามความเหมาะสม เช่น ประสานงานติดตามผล โดยมี การติดตามผลทุก 6


82 เดือ นต่อครั ง้ คณะทางานบริ หารความเสี่ยง สรุ ปและทบทวนปั จจัยความเสี่ยง และจัดทาร่ า ง รายงานการจัด การความเสี่ย งเสนอคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง เพื่ อ พิ จ ารณาให้ ความ เห็นชอบคณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งเสนอร่างรายงานการบริ หารความเสีย่ งต่ อคณะกรรมการ การดาเนินการขององค์กร เพื่อพิจารณาให้ ความเห็นชอบ คณะผู้ตรวจสอบกิจการรายงานผลการ ติดตามการบริ หารความเสีย่ งอย่างเป็ นอิสระต่อคณะกรรมการการดาเนินการเพื่อทราบ แจ้ งฝ่ าย ต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องเพื่อทาแผนรองรับความเสีย่ ง และจัดสรุปเผยแพร่ ในรายงานกิจการประจาปี ของ องค์กร การจัดการความเสี่ยง นฤมล สอาดโฉม (2548) ได้ กล่าวถึง การจัดการความเสีย่ งกระทา ดังนี ้ 1. การหลีกเลี่ยง (Avoidance) ถ้ าความเสี่ยงนันมั ้ นสูงเกิ นไป จนองค์ กรรับไม่ไหวก็ ควรหลีกเลีย่ ง เช่น การเลือกลงทุนในภาคเอกชนโครงการใดโครงการหนึ่ง หลักทางการเงินก็มักจะ ดูมลู ค่าเทียบเท่าปั จจุบนั (Net Present Value) และกระแสเงินสดในอนาคต (Future Cash Flow) ทังที ้ ่เป็ นรายรั บและรายจ่ายโดยคิดลด (Discount) กลับมาให้ เป็ นวันปั จจุบัน แล้ วดูว่าเป็ นบวก หรื อว่าเป็ นลบ ถ้ าเป็ นบวกก็ค้ มุ ที่จะลงทุนได้ แต่ถ้ามันเป็ นลบก็ไม่ค้ มุ ที่จะลงทุน ก็ควรหลีกเลี่ยงที่ จะลงทุนในโครงการนัน้ 2. การป้องกันภัย (Loss Control) สามารถทาได้ 2 แบบกว้ างๆ คือ Loss Prevention เป็ นการป้องกันก่อนที่จะเกิด เช่น การติดสัญญาณเตือนอัคคีภยั กับ Loss Reduction ซึ่งเป็ นการ ทาให้ ความสูญเสียน้ อยที่สดุ เท่าที่ทาได้ เช่น ในกรณีไฟไหม้ การติดตัวฉีดน ้า (Springer) ให้ พรม ลงมาก็สามารถหลีกเลีย่ งอัคคีภยั ได้ 3. เป็ นวิธีการเลือกที่จะรับความเสี่ยงไว้ เอง (Risk Retention) เช่น มี การตังกองทุ ้ น ฉุกเฉิน (Emergency Fund) ไว้ สาหรับกรณีที่เกิดความสูญเสียขึ ้น Risk Retention มีอยู่ 2 แบบ คือ Active Risk Retention (การรับความเสีย่ งแบบรู้ตวั ) คือ เป็ นการตัดสินใจเองว่าจะเก็บหรื อรับ ความเสีย่ งไว้ เองอีกแบบหนึง่ คือ Passive คือ เป็ นการรับความเสี่ยงโดยไม่ร้ ู ตวั อาจจะเป็ นเพราะ ไม่ได้ นกึ ถึงมาก่อน ไม่เคยคิดที่จะบริ หารความเสีย่ งมาก่อน ซึง่ เป็ นอันที่นา่ กลัวที่สดุ


83 4. การถ่ายโอนความเสีย่ งไปให้ บุคคลอื่นผ่านทางสัญญา (Non Insurance Transfer) เช่น อาจจะทาสัญญาว่าจะไม่รับผิดชอบในส่วนนี ้ ซึ่งในทางธุรกิจการค้ า จะเป็ นเรื่ องของสัญญา เช่าเพื่อที่จะประกันความเสี่ยงในเรื่ องของราคาเช่าที่จะสูงขึ ้นหรื อว่าสัญญาก่อ สร้ างเพื่อประกัน เรื่ อ งราคาวัตถุดิบก่ อสร้ างที่จะสูงขึน้ หรื อ ว่าทางการเงินก็ จะมี ยุทธศาสตร์ ประกันความเสี่ย ง (Hedging Strategy) ที่ใช้ พวกตราสารอนุพนั ธ์ (Derivatives) การประกันภัย (Insurance) มีการ ใช้ ที่งา่ ยที่สดุ และเรานึกถึงเป็ นอันแรกเมื่อพูดถึงความเสีย่ งว่าทาอย่างไรดี ประโยชน์ จากการบริหารความเสี่ยง ชัยณรงค์ ขันผนึก (2554) กล่าวถึงประโยชน์จากการบริ หารความเสีย่ ง ดังนี ้ 1. เป็ นการสร้ างฐานข้ อ มูลความรู้ ที่มีประโยชน์ ต่อ การบริ หารและการปฏิบตั ิงานใน องค์ ก ร การบริ ห ารความเสี่ย งจะเป็ นแหล่ง ข้ อ มูล ส าหรั บ ผู้บ ริ ห ารในการตัด สิน ใจด้ า นต่า งๆ เนื่องจากการบริ หารความเสี่ยง เป็ นการดาเนินการซึ่งตังอยู ้ ่บนสมมุติฐานในการตอบสนองต่อ เป้าหมายและภารกิจหลักขององค์กร 2. ช่วยสะท้ อนให้ เห็นภาพรวมของความเสี่ยงต่างๆ ที่สาคัญได้ ทงหมด ั้ การบริ หาร ความเสีย่ งจะทาให้ พนักงานภายในองค์กรมีความเข้ าใจถึงเป้าหมายและภารกิจหลักขององค์กร และตระหนัก ถึ ง ความเสี่ย งส าคัญ ที่ ส่ง ผลกระทบในเชิ ง ลบต่อ องค์ ก รได้ อ ย่า งครบถ้ วน ซึ่ ง ครอบคลุมความเสีย่ งที่มีเหตุทงจากปั ั้ จจัยภายในองค์กร และจากปั จจัยภายนอกองค์กร 3. เป็ นเครื่ องมือสาคัญในการบริ หารงาน การบริ หารความเสี่ยงเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยให้ ผู้บริ หารสามารถมั่นใจได้ ว่าความเสี่ยงได้ รับการจัดการอย่างเหมาะสมและทันเวลา รวมทังเป็ ้ น เครื่ องมือที่สาคัญของผู้บริ หารในการบริ หารงาน และการตัดสินใจในด้ านต่างๆ เช่น การวางแผน การกาหนดกลยุทธ์ การติดตามควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน ซึ่งจะส่งผลให้ การดาเนินงาน เป็ นไปตามเป้าหมายและสามารถสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ แก่องค์กร 4. ช่วยให้ การพัฒนาองค์ กรเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน การบริ หารความเสี่ยงทาให้ รู ปแบบการตัด สินใจในการปฏิบัติ งานขององค์ กรมี การพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน เช่ น การ


84 ตัดสินใจโดยที่ผ้ ูบริ หารมี ความเข้ าใจในกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ขององค์ กร และระดับความเสี่ยง อย่างชัดเจน 5. ช่วยให้ การพัฒนาการบริ หารและจัดสรรทรัพยากรเป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพและ ประสิทธิผล การจัดสรรทรัพยากรเป็ นไปอย่างเหมาะสม โดยพิจารณาถึงระดับความเสี่ยงในแต่ละ กิจกรรมและการเลือกใช้ มาตรการในการบริ หารความเสีย่ ง ดังนัน้ การร่ วมกันระหว่างผู้บริ หาร (คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง) กับบุคลากรใน การวิเคราะห์ความเสีย่ งและแนวทางแก้ ไข จะทาให้ มีความเข้ าใจตรงกัน เพราะการวิเคราะห์ความ เสีย่ ง ผู้บริ หารและบุคลากรอาจมองต่างมุมกัน บนพื ้นฐานความคิดที่ตา่ งกัน ประเด็นที่จะกาหนดและควบคุมความเสี่ยง จุดแรกคือ ถามตัวเองก่อนว่า เรายอมรั บ ความจริ งได้ หรื อไม่วา่ มีความเสีย่ ง ความเสีย่ งอะไรที่ควบคุมได้ แล้ วจึงเอาสิง่ นันมาวิ ้ เคราะห์ตอ่ แนวคิดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่ แข็ง ความหมายของอาหารแช่ แข็ง มิกโฟเซ็น (2551) กล่าวว่า อาหารแช่แข็ง (Frozen Food) คือ ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผ่าน กรรมวิธีแช่เยือกแข็งหรื อการเก็บอาหารไว้ ในอุณหภูมิต่ากว่า -18 องศาเซลเซียส ทังนี ้ ้การแช่แข็งนี ้ ได้ รับการยอมรับว่าเป็ น “กระบวนการถนอมอาหารที่ดีที่สดุ ” โดยทาให้ อาหารมีอายุยืนยาวมากขึ ้น สามารถรักษาสีสนั รสชาติ กลิน่ และที่สาคัญ คือ คุณค่าทางโภชนาการนันเที ้ ยบเท่ากับอาหารสด รวมถึงความอร่อยน่ารับประทานที่ไม่เป็ นรองอาหารสดอย่างแน่นอน ปานทิพย์ เปลี่ยนโมฟี่ (2551) ได้ ให้ ความหมายของ การแช่แข็ง คือ การลดอุณหภูมิ อาหารให้ ต่าลงจนถึงระดับที่สงิ่ มีชีวิตไม่สามารถจะดาเนินปฏิกิริยาทางชีวเคมีต่อไปตามปกติ คือ จุลนิ ทรี ย์ที่ปนเปื อ้ นอยู่ในอาหารจะชะงักการเจริ ญเติบโต แต่เนื ้อเยื่อของอาหารจะยังคงลักษณะ อยูไ่ ด้ โดยทัว่ ไปจะทาให้ อุณหภูมิของอาหาร ณ จุดกึ่งกลางลดลงมาอยูต่ ่ากว่า -18 องศาเซลเซียส อาหารจะแข็งตัวคล้ ายกับก้ อนน ้าแข็ง จึงเรี ยกอาหารชนิดนี ้ว่า “อาหารแช่แข็ง” (Frozen Food)


85 ปานทิพย์ เปลีย่ นโมฟี่ (2551) ได้ ให้ ความหมายของ การแช่เย็น หมายถึง กระบวนการ ทาให้ อาหารมีอุณหภูมิลดต่าลงมาถึงระดับเหนือ จุดเยือกแข็งเล็กน้ อยโดยใช้ เครื่ องทาความเย็น โดยทัว่ ไปแช่เย็นจะมี อุณหภูมิ 5-10 องศาเซลเซียส และต้ อ งเก็ บไว้ ในห้ องเย็นที่มีอุณหภูมิไม่สูง กว่า 10 องศาเซลเซียส วิธีนี ้เป็ นเพียงการชะลอการเติบโตของจุลนิ ทรี ย์ และชะลอการเปลีย่ นแปลง ทางเคมีและกายภาพของอาหาร ยังไม่นบั เป็ นการถนอมอาหารที่แท้ จริ งเพราะมีอายุการเก็บรักษา ที่สนเหมาะส ั้ าหรับการขนส่งไม่นาน ปานทิ พ ย์ เปลี่ย นโมฟี่ (2551) กล่า วว่า ผลิต ภัณ ฑ์ อ าหารแช่ แ ข็ ง ในตลาดโลกแบ่ ง ออกเป็ น 9 หมวดหลัก ได้ แก่ 1. หมวดเบเกอรี่ (Frozen Bakery Products) รวมถึงขนมปั งก้ อนกลม ขนมปั งฝรั่งเศส ยาวกรอบ มัฟฟิ น แฮมเบอร์ เกอร์ แพนเค้ ก สวีทโรล และพายต่างๆ 2. ขนมและของหวาน (Desserts) ได้ แก่ ไอศกรี ม เค้ ก และของหวานอื่นๆ 3. เนื ้อสัตว์ (Meat Products) ได้ แก่ เนื ้อหมู เนื ้อวัว เนื ้อไก่ เนื ้อแกะ เนื ้อนกกระจอกเทศ และเนื ้อเป็ ด 4. มันฝรั่ง (Potato Products) แบ่งเป็ น มันฝรั่งทอดกรอบ มันฝรั่งอบ มันฝรั่งบด และ สลัดมันฝรั่ง 5. ผลไม้ (Fruit) หมายรวมทังผลไม้ ้ สด และแปรรูป เช่น เชื่อม แห้ ง กวน เป็ นต้ น 6. ผัก (Vegetables) ได้ แก่ ผักรวม บรอกโคลี่ ผักโขม ข้ าวโพด และธัญพืช 7. พิซซ่า (Pizza) 8. อาหารพร้ อมปรุ ง /พร้ อ มรับประทาน (Ready Meals) ซึ่งรวมทังอาหารจานหลั ้ ก อาหารว่าง ซุป และอาหารรับประทานเล่น


86 9. ปลาและอาหารทะเล (Fish/Seafood) นอกจากปลาต่างๆ ยังรวมถึง หอย ปู กุ้ง ปลาหมึก ผลิตภัณฑ์ ทัง้ 9 หมวด ถูกผลิต น าเข้ า และส่ง ออกจากหลายประเทศทั่ว โลก อาหาร สาเร็ จรูปแช่แข็ง หรื อ Ready Meals ถือเป็ น 1 ใน 9 สินค้ าหลักของอาหารแช่แข็งในตลาดโลกที่มี อัตราการเติบโตเฉลีย่ สูง ทังในสหรั ้ ฐอเมริ กาและสหภาพยุโรป กาเนิดอาหารแช่ แข็ง ปานทิพย์ เปลี่ยนโมฟี่ (2551) กล่าวว่า หากย้ อนกลับไปในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่ง เป็ นต้ นกาเนิดของการถนอมอาหารที่ถือ ว่าดีที่สดุ ทางหนึ่ง คือ การแช่แข็ง หรื อ ถ้ าจะเรี ยกให้ ถูก ตามหลักวิชาการ คือ การแช่เยือกแข็ง มนุษย์ที่ผ้ อู าศัยอยูท่ วีปที่หนาวเย็นที่สดุ ในโลก “อาร์ กติก” ที่ เรี ยกตัวเองว่า “ชาวเอสกิโม” ถือว่าเป็ นผู้ค้นพบการแช่เยือกแข็งอาหารเป็ นกลุม่ แรก ด้ วยการจับ ปลาในทะเลสาบน ้าแข็งแล้ วนาไปแลกอาหารกับผู้คนต่างเมือง วิวฒ ั นาการของการแช่แข็งอาหาร มีมาตลอดระหว่างศตวรรษที่ 16-18 แต่การพัฒนาในเชิงพาณิชย์ที่แท้ จริ ง ได้ เริ่ มที่ศตวรรษที่ 19 โดย นายคลาเรนซ์ เบิ ร์ด อาย (Clarence Birdseye) ชาวอเมริ กัน แม้ ว่าเขาจะไม่ ใช่ ผ้ ูคิ ดค้ น นวัตกรรมนี ้ขึน้ มา แต่เขามุ่งมั่นพัฒนาหาวิ ธีการแช่แข็งอาหารที่มิใช่เพียงแค่รักษาความสดของ อาหารไว้ เท่านัน้ แต่อาหารนันยั ้ งคงทังรสชาติ ้ เนื ้อสัมผัส ไว้ อย่างใกล้ เคียงของสดใหม่ นอกจาก พัฒนาด้ านเทคโนโลยีแล้ ว เขายังคานึงถึงวัสดุและรู ปทรงของบรรจุภณ ั ฑ์ห่อหุ้มอาหารแช่แข็งนัน้ ด้ วย จากคุณูปการดังกล่าว คลาเรนซ์ จึงได้ รับขนานนามว่า “บิดาแห่งอาหารแช่แข็ง” หรื อ “Father of Frozen Food” และสร้ างชื่อ “Birdseye Brand” ให้ เป็ นที่ร้ ูจกั ทัว่ ไป วงการอาหารแช่แข็งของสหรัฐและโลก ถูกปฏิวตั ิอีกครัง้ หลังจากปี พ.ศ.2469 คลาเรนซ์ คิดค้ นนวัตกรรมเครื่ องทาอาหารแช่แข็งรุ่ นใหม่ Quick-Freeze Double-Belt Machine และอีก 3 ปี ต่อ มาเขาก็ ตัดสินใจขายกิ จ การและลิขสิท ธิ์ ใ นการผลิต อาหารแช่แ ข็ง ให้ กับบริ ษัท General Foods Corporation เพื่อพัฒนาสินค้ าแช่แข็งให้ หลากหลายและขยายพื ้นที่จาหน่ายมากกว่าเดิม โดยเปลีย่ นชื่อยี่ห้อมาเป็ น Birds Eye นับตังแต่ ้ นนมา ั ้ ปั จจุบนั Birds Eye Food เป็ นบริ ษัทที่ผลิต และจาหน่ายอาหารแช่แข็งรายใหญ่ของโลกโดยมีสินค้ าแช่แข็งทังอาหารทะเล ้ ผัก ผลไม้ เนื ้อสัตว์


87 อาหารพร้ อมปรุ ง อาหารพร้ อมรับประทาน ที่จาหน่ายภายใต้ ยี่ห้อ Birds Eye Food และอื่ นๆ เกือบ 20 ยี่ห้อ ปั จจุ บันสหรั ฐ อเมริ ก าถื อ เป็ นตลาดอาหารแช่ แข็ง ที่ใหญ่ ที่สุดในโลก ในปี พ.ศ.2548 Euromonitor ได้ ทาการสารวจแนวโน้ มตลาดอาหารแช่แข็งในสหรัฐอเมริ กา พบว่า มูลค่าตลาด อาหารแช่แข็งสูงถึง 26.4 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา อาหารที่มีแนวโน้ มเติบโตสูง ได้ แก่ อาหาร เพื่อสุขภาพ ที่มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตต่า และอาหารจากชาติอื่นโดยเฉพาะชาติเอเชีย ซึ่งแนวโน้ ม เดียวกันนี ้กาลังเกิดขึ ้นในยุโรป และญี่ ปุ่น เนื่อ งจากอัตราส่วนของจานวนประชากรวัยสูงอายุมี มากกว่าประเทศกาลังพัฒนาอื่นๆ ลักษณะและรูปแบบการผลิตอาหารทะเลแช่ แข็ง ธนาคารเพื่ อการส่ง ออกและน าเข้ า แห่งประเทศไทย (2543) กล่า วว่า ลัก ษณะและ รู ปแบบการผลิตอาหารทะเลแช่แข็งของไทย ส่วนใหญ่ เป็ นการผลิตเพื่อ การส่งออก ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเลแช่แข็งที่สาคัญมี 3 ชนิด คือ กุ้ง เนื ้อปลา และปลาหมึก โดยเฉพาะกุ้งสดแช่แข็งเป็ น สินค้ าที่มีมลู ค่าการส่งออกสูงสุด รูปแบบของสินค้ าอาหารทะเลแช่แข็งแตกต่างกันไปตามความต้ องการของผู้บริ โภคดังนี ้ 1. กุ้งสดแช่ เย็น แช่แ ข็ง มี รูป แบบสินค้ าที่นิ ยมหลายรู ปแบบ เช่น กุ้ง เด็ด หัวไม่แกะ เปลือก กุ้งเด็ดหัวแกะเปลือก เด็ดหางไม่ผา่ หลังกุ้ง ทังตั ้ วตัวไม่เด็ดหางไม่แกะเปลือก เป็ นต้ น 2. ปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง มีรูปแบบสินค้ าที่นิยม คือ ปลาบด ปลาแล่ และปลาสดทังตั ้ ว 3. ปลาหมึกสดแช่เย็นแช่แข็ง สามารถทาได้ หลายรู ปแบบ เช่น ปลาหมึกกระดองแล่ ปลาหมึกกล้ วยแล่ ปลาหมึกชักไส้ และปลาหมึกทังตั ้ ว เป็ นต้ น


88 การผลิตอาหารทะเลแช่แข็งเพื่อการส่งออกมีวิธีการผลิตที่สาคัญ 2 แบบ คือ 1. การผลิตแบบ Block Frozen เป็ นวิธีการผลิตแบบแช่แข็งรวมกันหลายชิ ้นในกล่อง เดียวกันเป็ นก้ อน โดยจะเรี ยงใส่ถาดที่ทาด้ วยเหล็กปลอดสนิม ซึ่งมีขนาดบรรจุต่างๆกัน ขึ ้นอยู่กับ ความต้ องการของผู้ซื ้อ เช่น 1 กิโลกรัม หรื อ 2 กิโลกรัม จากนันน ้ าเข้ าห้ องแช่แข็งให้ มีอุณ หภูมิที่จุด กลาง -18 องศาเซลเซียส แล้ วจึงนามาเคาะออกจากถาด นาไปแช่ในน ้าเย็นจัดหรื อวางแล้ วจึงพ่น ด้ วยน ้าเย็นจัดเพื่อเคลือบ จากนันสวมถุ ้ งพลาสติกและบรรจุใส่กล่องกระดาษอาบเทียน สินค้ าที่ นิยมผลิตในลักษณะนี ้ คือ กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง 2. การผลิตแบบ Individual Quick Frozen (I.Q.F.) เป็ นวิธีการผลิตแบบแช่แข็งเป็ น ตัวๆ หรื อชิ ้นเดียว สินค้ าที่คดั แล้ วจะถูกเรี ยงลงบนสายพานเพื่อส่งเข้ าเครื่ องแช่เยือกแข็ง I.Q.F. ที่ อุณ หภูมิ -50 องศาเซลเซีย ส แล้ ว บรรจุ ลงถุง พลาสติ ก ที่ พิม พ์ รู ปภาพมี สีส ันต่า งๆ ตามความ ต้ องการของตลาด จากนันจึ ้ งบรรจุใส่กล่องกระดาษอาบเทียน สินค้ าที่นิยมผลิตในลักษณะนี ้ คือ ปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง และปลาหมึกสด เมื่อเสร็ จขันตอนการบรรจุ ้ ใส่กล่องกระดาษเรี ยบร้ อยแล้ ว อาหารทะเลแช่แข็งจะถูกนาไปไว้ ในห้ องเก็บที่อุณหภูมิ -18 องศาเซลเซียส เพื่อเตรี ยมการส่งออก ตลาดส่ งออกหลักสินค้ าประมงของประเทศไทย ประพันธ์ โนระดี (2554) กล่าวว่า ตลาดการส่งออกหลักยังคงเป็ นสหรัฐอเมริ กา ร้ อยละ 27 รองลงมาได้ แก่ ญี่ปนร้ ุ่ อยละ 25 กลุม่ สหภาพยุโรปร้ อยละ 14 กลุม่ อาเซียนและกลุม่ อัฟริ การ้ อย ละ 5 ตามมูลค่าซึง่ แยกรายละเอียดรายประเทศดังนี ้


89

ภาพที่ 2-2 ปริ มาณการส่งออกสินค้ าประมงของไทยรายเดือนปี 2553 และ 2554 ที่มา : การค้ าสินค้ าประมงระหว่างประเทศ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือ นมกราคม – มีนาคม 2555 โดย กลุม่ วิเคราะห์ การค้ าประมงระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง ภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , ค้ นเมื่อ 6 มกราคม 2556, http://www.fisheries.go.th/foreign 1. สหรัฐอเมริ กา ยังเป็ นตลาดหลักในการส่งออกสินค้ าประมงของไทย มีสดั ส่วนลดลง จากร้ อยละ 30 ในปี 2553 เป็ นร้ อยละ 27 ในปี 2554 โดยมี ปริ มาณการส่งออก 359,168 ตัน มูล ค่า 74,715 ล้ า นบาท ลดลงร้ อยละ 11 โดยประมาณ ส่วนมูล ค่า เพิ่ มขึน้ ร้ อยละ 4 เมื่ อ เปรี ยบเทียบกับปี 2553 และมูลค่าการส่งออกดังกล่าวสูงสุดในรอบ 15 ปี กุ้งปรุงแต่งเป็ นสินค้ าประมงที่ทารายได้ มากที่สดุ 27,785 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 28 ของมูลค่าการส่งออกรวมไปสหรัฐอเมริ กา และเป็ นกลุม่ สินค้ าเพียงไม่กี่กลุม่ ที่มีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้น เพราะส่วนใหญ่จะลดลงเมื่อเทียบกับปี 2553 โดนปริ มาณส่งออก 91,570 ตัน เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 28 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งทารายได้ เป็ นอันดับที่ 2 มูลค่า 21,805 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 29 (การส่งออกกุ้งรวมของไทยมีสดั ส่วนมากถึงร้ อยละ 68 ของมูลค่าการส่งออกสินค้ าประมงของ ไทยไปสหรัฐอเมริ กา) ปริ มาณการส่งออก 82,324 ตัน ลดลงร้ อยละ 20 มูลค่าลดลงร้ อยละ 9


90 ทูน่ากระป๋ องท ารายได้ อันดับที่ 3 มี มูล ค่า 12,215 ล้ า นบาท คิด เป็ นร้ อยละ 16 (หากรวมกับทูนา่ ปรุงแต่งอื่นๆ คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 21) 2. ญี่ปนุ่ ยังเป็ นตลาดส่งออกสินค้ าประมงของไทยที่สาคัญอีกตลาดหนึ่ง ปี 2554 การ ส่งออกเพิ่มขึ ้นสูงสุดในกลุม่ ประเทศที่เป็ นตลาดส่งออกหลัก (สหรัฐอเมริ กาและสหภาพยุโรป) ทา ให้ มีสดั ส่วนการส่งออกเพิ่มขึน้ จากร้ อ ยละ 21 ในปี 2553 เป็ นร้ อยละ 25 ของมูลค่าการส่งออก สินค้ าประมงทังหมดของไทย ้ โดยส่วนหนึ่งอาจมีผลมาจากการเกิดแผ่นดินไหวในช่วงต้ นปี 2554 ทาให้ เรื อประมงและอุตสาหกรรมด้ านประมงได้ รับความเสียหายรวมถึงความกังวลในการรั่วไหล ของสารกัมมันตรังสีลงทะเล จึงจาเป็ นต้ องนาเข้ าสินค้ าเพิ่มขึ ้นจากเหตุดงั กล่าว ปี 2554 ไทยส่ง ออกสินค้ า ประมงไปญี่ ปุ่น ปริ มาณ 297,609 ตัน มูล ค่า 68,941 ล้ านบาท ปริ มาณเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 41 มูลค่าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 21 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 มูลค่า การส่งออกสูงสุดในรอบ 15 ปี สินค้ าส่งออกหลักได้ แก่ ปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งปรุ งแต่ง กุ้งสดแช่ เย็นแช่แข็ง และเนื ้อปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง เป็ นต้ น 3. สหภาพยุ โ รป เป็ นตลาดส่ง ออกสิน ค้ า ประมงอัน ดับ ที่ 3 ของไทย ในปี 2554 ปริ มาณการส่งออก 236,069 ตัน มูลค่า 37,369 ล้ านบาท ปริ มาณลดลงร้ อยละ 6 ส่วนมูลค่าเพิ่ม ขึ ้นร้ อยละ 7 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 โดยมีสดั ส่วนร้ อยละ 14 ของมูลค่า ปั จจุบนั สหภาพยุโรป ประสบปั ญหาวิกฤตหนี ้ โดยเริ่ มจากกรี ซ และต่อเนื่องไปยัง อิตาลี สเปน โปรตุเกส ทาให้ บริ ษัทจัด อันดับความน่าเชื่อถือ Standard & Poor’s (S&P) ได้ ปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือระยะยาวของ 9 ประเทศในเขตยูโรโซนที่มีทงหมด ั้ 27 ประเทศ โดยมี ประเทศที่ถูกปรับลดความน่าเชื่ อ ถือ ลง 1 ระดับ (1Notch) ได้ แก่ ฝรั่งเศส ออสเตรี ย มอลต้ า สโลวาเนีย และสโลวาเกีย และประเทศที่ถูกปรับ ลดลง 2 ระดับ (2Notches) ได้ แก่ อิตาลี โปรตุเกส สเปน และไซปรัส ทาให้ เหลือแค่ 4 ประเทศ คือ เยอรมัน นี เนเธอร์ แ ลนด์ ฟิ นแลนด์ ลัก เซมเบิ ร์ ก ที่ มี อัน ดับ ความน่า เชื่ อ ถื อ อยู่ ที่ ร ะดับ AAA (ประกาศเมื่อ 13 มกราคม 2555) อาจจะส่งผลกระทบการส่งออกในระยะสัน้ ส่วนใหญ่เป็ นการส่งออกไปยัง อังกฤษ อิตาลี เยอรมันนี และฝรั่งเศส สินค้ าประมง ส่งออกหลักๆ ได้ แก่ กุ้งปรุงแต่ง กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง ทูน่ากระป๋ อง และหมึกสดแช่เย็นแช่แข็ง เป็ น ต้ น


91

ภาพที่ 2-3 มูลค่าการส่งออกสินค้ าประมงของไทยไปประเทศนาเข้ าหลัก ปี 2539-2554 ที่มา : การค้ าสินค้ าประมงระหว่างประเทศ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือ นมกราคม – มีนาคม 2555 โดย กลุม่ วิเคราะห์ การค้ าประมงระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง ภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , ค้ นเมื่อ 6 มกราคม 2556, http://www.fisheries.go.th/foreign 4. กลุม่ อาเซียน ปี 2554 ปริ มาณการส่งออก 318,028 ตัน มูลค่า 13,529 ล้ านบาท ปริ มาณเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 4 ส่วนมูลค่าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 13 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 มีสดั ส่วนการ ส่งออกทังปริ ้ มาณและมูลค่าร้ อยละ 5 ส่วนใหญ่เป็ นการส่งออกไปประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และ สิงคโปร์ สินค้ าประมงส่งออกหลักได้ แก่ กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง ปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง และผลิตภัณฑ์ อาหารทะเลแปรรูปเป็ นต้ น 5. กลุ่มอัฟริ กา ปี 2554 ปริ มาณการส่งออก 144,008 ตัน มูลค่า 12,638 ล้ านบาท ปริ มาณลดลงร้ อยละ 7 ส่วนมูลค่าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 5 เมื่ อ เปรี ยบเทียบกับปี 2553 มี สดั ส่วนการ ส่งออกทังปริ ้ มาณและมูลค่าร้ อยละ 5 ส่วนใหญ่เป็ นการส่งออกไปประเทศอียิปต์ แอฟริ กาใต้ และ ลิเบีย สินค้ าประมงส่งออกหลักได้ แก่ ทูนา่ กระป๋ อง ซาร์ ดีนกระป๋ อง และปลากระป๋ องอื่นๆ เป็ นต้ น


92 กลุ่มสินค้ าประมงส่ งออกหลัก 1. กุ้งและผลิตภัณฑ์ เป็ นสินค้ าประมงหลักที่ทารายได้ โดยมีสดั ส่วนมากถึงร้ อยละ 40 ของมูลค่าการส่งออกสินค้ าประมงทังหมด ้ แนวโน้ มการส่งออกเปลี่ยนแปลงจากการส่งออกใน ลักษณะกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งเป็ นกุ้งปรุงแต่งเพิ่มมากขึ ้น ซึง่ เป็ นการเพิ่มมูลค่าของสินค้ าได้ ดีขึ ้นด้ วย การส่งออกกุ้งปี 2554 มีปริ มาณ 388,962 ตัน มูลค่า 109,398 ล้ านบาท ปริ มาณลดลงร้ อยละ 7 ส่วนมูล ค่าเพิ่ มขึน้ ร้ อยละ10 โดยสัดส่ว นแยกเป็ น กุ้งขาวร้ อยละ 92 กุ้งอื่ นๆ ร้ อยละ 5 และกุ้ง กุลาดาร้ อยละ 2 ของมูลค่า ปริ มาณส่งออกที่ลดลงส่วนหนึง่ มาจากกุ้งเพาะเลี ้ยงของไทยลดลงร้ อย ละ 9 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 (ผลผลิตกุ้งปี 2554 ปริ มาณ 502,188 ตัน) อย่างไรก็ตามมูลค่า การส่งออกกุ้งรวมในปี 2554 มีคา่ สูงสุดในรอบ 15 ปี การส่ ง ออกของกุ้ งและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส่ ว นใหญ่ ร้ อยละ 46 ของมู ล ค่ า ส่ ง ไป สหรัฐอเมริ กา รองลงมาได้ แก่ ญี่ ปนุ่ ร้ อยละ 22 สหภาพยุโรปร้ อยละ 15 แคนาดาร้ อยละ 6 และ ออสเตรเลียร้ อยละ 2 2. ทูน่าแปรรู ป (ทูน่ากระป๋ องและทูน่าแปรรู ปอื่ นๆ) เป็ นสินค้ าที่ทารายได้ มากเป็ น อันดับ 2 ในปี 2554 ทารายได้ ถึง 69,306 ล้ านบาท จากปริ มาณการส่งออก 576,241 ตัน คิดเป็ น ร้ อยละ 25 ของมูลค่าการส่งออกสินค้ าประมงรวม ปริ มาณลดลงร้ อยละ 2 ส่วนมูลค่าเพิ่มขึ ้นร้ อย ละ 17 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 จะเห็นว่าสินค้ าประมงของไทยมีสดั ส่วนมูลค่าการส่งออกของ ผลิตภัณฑ์ก้ งุ และทูนา่ รวมแล้ วมากถึงร้ อยละ 65 ของมูลค่าการส่งออกสินค้ าประมงไทย ดังนันไทย ้ จึงยังเป็ นผู้สง่ ออกอันดับ 1 ของโลกสาหรับสินค้ ากุ้งและทูนา่ แปรรู ปแต่อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรม ทูน่าแปรรู ปยังประสบปั ญหาการนาเข้ าทูน่าสดแช่เย็นแช่แข็งที่วัตถุดิบมี ราคาเพิ่มสูงขึ ้นเรื่ อ ยๆ ในขณะที่ราคาทูนา่ แปรรูปเพิ่มเพียงเล็กน้ อยหรื อน้ อยกว่าการเพิ่มขึ ้นของวัตถุดิบ ตลาดสหรัฐอเมริ กา ยังเป็ นตลาดส่งออกหลักของทูน่าแปรรู ป ในปี 2554 มีสดั ส่วน ร้ อยละ 23 ของมูลค่าการส่งออกทูนา่ แปรรูปทังหมดรองลงมาได้ ้ แก่ สหภาพยุโรปร้ อยละ 15 กลุม่ อัฟ-ริ การ้ อยละ 13 กลุม่ ตะวันออกกลางร้ อยละ 12 และออสเตรเลียร้ อยละ 9


93

ภาพที่ 2-4 มูลค่าการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ และทูนา่ ปรุงแต่งของไทย ปี 2539-2554 ที่มา : การค้ าสินค้ าประมงระหว่างประเทศ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือ นมกราคม – มีนาคม 2555 โดย กลุม่ วิเคราะห์ การค้ าประมงระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง ภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , ค้ นเมื่อ 6 มกราคม 2556, http://www.fisheries.go.th/foreign 3. หมึกสดแช่เย็นแช่แข็ง มีสดั ส่วนมูลค่าการส่งออกประมาณร้ อ ยละ 5 ของสินค้ า ประมงทังหมดในปี ้ 2554 ทารายได้ 12,286 ล้ านบาท จากปริ มาณ 62,563 ตัน โดยปริ มาณลดลง ร้ อยละ 9 ส่วนมูลค่าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 11 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 สินค้ ากลุม่ นี ้มีแนวโน้ มลดลง เนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ

ภาพที่ 2-5 ปริ มาณและมูลค่าการส่งออกหมึกแช่เย็นแช่แข็งของไทย ปี 2539-2554 ที่มา : การค้ าสินค้ าประมงระหว่างประเทศ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือ นมกราคม – มีนาคม 2555 โดย กลุม่ วิเคราะห์ การค้ าประมงระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง ภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , ค้ นเมื่อ 6 มกราคม 2556, http://www.fisheries.go.th/foreign


94 สภาวะธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่ แข็ง ธนาคารกรุงไทย (2553) ปี 2552 ปริ มาณการผลิตอาหารทะเลแช่เย็นแช่แข็งโดยรวมของ ไทยหดตัวลง เนื่องจากปริ มาณสัตว์ น ้าที่จับได้ จากธรรมชาติลดลงมากโดยเฉพาะปลา เพราะ ทรัพยากรธรรมชาติเสือ่ มโทรมลง และสภาพภูมิอากาศแปรปรวน อย่างไรก็ดี การผลิตกุ้งแช่เย็นแช่ แข็งยังคงขยายตัวสูงตามความต้ องการของตลาดโลก เนื่องจากเวียดนามและอินโดนีเซีย ซึ่งเป็ น ประเทศคู่แข่งสาคัญประสบปั ญหาโรคระบาดในกุ้ง ขณะที่ปริ มาณกุ้งของไทยเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อ น และมีราคาลดลง สาหรับการส่งออกซึง่ เป็ นตลาดหลัก มีมลู ค่าลดลงตามราคาสินค้ า โดยเฉพาะกุ้ง สดแช่เ ย็นแช่แ ข็ง เนื่องจากผู้ประกอบการไทยใช้ กลยุทธ์ ด้า นราคาในการแข่งขันในช่ว งวิก ฤต เศรษฐกิจโลก ประกอบกับสหรัฐอเมริ กา ซึ่งเป็ นตลาดหลักที่มีสดั ส่วนกว่าร้ อยละ 30 ได้ ประกาศ ยกเลิกข้ อกาหนดที่ให้ ผ้ ูส่งออกกุ้งไทยต้ อ งวางพันธบัตรค ้าประกันการนาเข้ าเป็ นมูลค่าเท่ากับ จานวนภาษี ตอบโต้ การทุ่มตลาด (AD) ที่เคยใช้ ในปี 2551 และกลับไปใช้ ระเบียบเดิม คือ วาง พัน ธบั ต รค า้ ประกั น ในอั ต ราร้ อยละ 10 แต่ ไ ม่ เ กิ น 50,000 ดอลลาร์ สหรั ฐ อเมริ ก า ท าให้ ผู้ประกอบการไทยมีต้นทุนการส่งออกลดลง ขณะที่ตลาดในประเทศไทยขยายตัวต่อเนื่อ ง จาก ความสาเร็ จในการแนะนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่พฒ ั นาขึ ้นให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของผู้บริ โภค และตังราคาที ้ ่เหมาะสมและจูงใจ ปี 2553-2554 คาดว่าการผลิตจะขยายตัวเพิ่มขึ ้นตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่ฟืน้ ตัวดีขึ ้น ตามลาดับ ขณะเดียวกันตลาดส่งออกก็เริ่ มขยายตัว โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ก้ งุ สดแช่เย็นแช่แข็ง ซึ่ง สินค้ า ไทยมี มาตรฐานคุณภาพเป็ นที่ยอมรั บในระดับสากล อี กทังยั ้ งได้ รับปั จ จัยบวกจากเปิ ด การค้ าเสรี ตามความตกลงเขตการค้ าเสรี อาเซียนตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ม.ค. 2553 ทาให้ ผ้ ปู ระกอบการไทย สามารถขยายตลาดสินค้ าอาหารทะเลแช่แข็งได้ เพิ่มขึ ้น อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการไทยอาจต้ อ ง เผชิญกับการแข่งขันที่จะทวีความรุ นแรงมากขึ ้น เมื่ อประเทศคู่แข่งประสบปั ญหาการเพาะเลี ้ยง สามารถกลับมาส่งสินค้ าเข้ าสูต่ ลาดอีกครัง้ และต่างเร่งพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตให้ ทดั เทียม กับไทย ขณะที่ประเทศผู้นาเข้ าเพิ่มความเข้ มงวด โดยนามาตรการกีดกันทางการค้ าทังด้ ้ านภาษี และไม่ใช่ภาษีมาใช้ มากขึ ้น


95 ตารางที่ 2-2 เครื่ องชี ้ที่สาคัญ ปี 2550-2554 เครื่องชีท้ ่สี าคัญ 2550 2551 2552 2553e 2554e ปริ มาณการผลิต(ตัน)1/ 780,400 738,669 707,645 728,691 756,454 อัตราการเปลีย่ นแปลง(%) 14.2 -5.4 -4.2 3.0 3.8 ปริ มาณการจาหน่ายในประเทศ(ตัน)1/ 66,343 55,581 65,975 75,871 85,355 อัตราการเปลีย่ นแปลง(%) -11.5 -16.2 18.7 15.0 12.5 ปริ มาณการส่งออก(ตัน)2/ 714,057 683,088 641,670 652,820 671,099 อัตราการเปลีย่ นแปลง(%) 13.5 -4.3 -6.1 1.7 2.6 มูลค่าการส่งออก(ล้ านบาท)2/ 77,086 80,105 80,327 80,435 80,596 อัตราการเปลีย่ นแปลง(%) 6.6 3.9 0.3 0.1 0.2 ที่มา : 1/ฝ่ ายวิจยั ความเสีย่ งธุรกิจ บมจ.ธนาคารกรุงไทย, 2/กระทรวงพาณิชย์ หมายเหตุ : e = ประมาณการโดย ฝ่ ายวิจยั ความเสีย่ งธุรกิจ บมจ.ธนาคารกรุงไทย มาตรฐานที่จาเป็ นในการส่ งออกอาหารทะเลแช่ แข็ง จารวี สุขประเสริ ฐ อ้ างถึง วารสารผู้ส่งออก (2552) มาตรฐานที่จาเป็ นในการส่งออก อาหารทะเลแช่แข็งมีอยู่ 9 มาตรฐาน ดังนี ้ 1. GMP (Good Manufacturing Practice) เป็ นหลักการทัว่ ไปเกี่ยวกับสุขลักษณะ อาหาร (มอก.34-2546) หลักเกณฑ์ นี ้ได้ วางพื ้นฐานเพื่อ ให้ เกิ ดความมั่นใจในเรื่ อ งสุขลักษณะ อาหารและควรใช้ ควบคูก่ บั ข้ อกาหนดวิธีปฏิบตั ิด้านสุขลักษณะเฉพาะแต่ละเรื่ องที่เหมาะสม และ ควรใช้ ควบคู่กับข้ อกาหนดวิธีปฏิบัติ ด้านสุขลัก ษณะเฉพาะแต่ละเรื่ อ งที่ เหมาะสม และควรใช้ ร่วมกับข้ อแนะนาเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ทางด้ านจุลนิ ทรี ย์ 2. HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point System) เป็ นระบบการ วิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร ซึ่งระบบนี ้เป็ นระบบการจัดการ เพื่อความปลอดภัยของอาหาร


96 3. BRC (British Retail Consortium) เป็ นมาตรฐานที่สมาคมผู้ค้าปลีกประเทศ อังกฤษได้ พฒ ั นาเพื่อใช้ เป็ นหลักเกณฑ์ในการผลิตสินค้ าของผู้สง่ มอบเพื่อส่งมอบกับผู้ค้าปลีกใน ประเทศอังกฤษ เป็ นระบบที่เน้ นการผลิตภายใต้ ระบบการจัดการคุณภาพกับระบบความปลอดภัย ในการผลิตอาหารเข้ าด้ วยกัน 4. IFS (International Food Standard) เป็ นมาตรฐานที่พัฒนาขึ ้นมาโดยHauptverband des Deutschen Einzelhandels (HDE) ประเทศเยอรมัน โดยเป็ นมาตรฐานระบบ รายงานสาหรับทุกบริ ษัทที่ผลิต และ/หรื อ แปรรูปอาหาร มาตรฐานดังกล่าววางอยู่บนพื ้นฐานการ ใช้ รายการตรวจสอบ และ Scoring matrix โดยมี ระดับของการให้ การรั บรองมาตรฐานอยู่ที่ Foundation and Higher Level ลักษณะของการตรวจประเมินจะเป็ นแบบ Checklist 5. BAP (Best Aquaculture Practices from Aquaculture Certification Council) เป็ นข้ อกาหนดของมาตรฐานของ ACC หรื อ Aquaculture Certification Council ซึ่งเป็ นองค์กร อิสระของประเทศสหรั ฐอเมริ กาที่ให้ บริ การรับรองกระบวนการเลี ้ยงสัตว์ น ้า โดยข้ อ กาหนดของ มาตรฐานนี ้ คลอบคลุม 4 หัว ข้ อ หลัก ประกอบด้ ว ย ด้ า นชุ ม ชน (Communication), ด้ า น สิ่งแวดล้ อม (Environment), ด้ านความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety), ด้ านการตรวจสอบ ย้ อนหลัง (Traceability) 6. ISO/IEC 17025 (General Requirements for the Competence of Testing and Calibration Laboratories) เป็ นมาตรฐานสากลที่เกิดขึ ้นโดยการร่ วมมือกันระหว่าง International Organization for Standardization กับ International Electro technical Commission ซึ่งได้ กาหนดทัว่ ไปว่าด้ วยความสามารถของห้ องปฏิบตั ิการสอบเทียบและห้ องปฏิบตั ิการทดสอบให้ เป็ น มาตรฐานเดียวกัน ซึ่งครอบคลุมถึงการบริ หารจัดการห้ องปฏิบัติการ ตังแต่ ้ การเตรี ยมตัวอย่าง จนถึงความชานาญในการวิเคราะห์ทดสอบ/สอบเทียบ รวมถึงการเก็บบันทึกและการรายงานผล 7. ISO 9001: 2000 (International Standard Organization) เป็ นมาตรฐานสากลที่ องค์กรธุรกิจทัว่ โลกให้ ความสาคัญ เพื่อความเป็ นเลิศทางด้ านคุณภาพ และความมีประสิท ธิ ภาพ ของการดาเนินงานภายในองค์กร


97 8. ISO 14001 (International Standard Organization Environmental Management) เป็ นระบบการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ อ งค์ ก รมี ค วามตระหนัก ถึ ง ความสาคัญของการจัดการสิ่งแวดล้ อ มเพื่อ ให้ เกิ ดการพัฒนาสิ่งแวดล้ อ มควบคู่กั บการพัฒนา ธุรกิจ โดยมุ่งเน้ นในการป้องกันมลพิษและการปรับปรุงให้ ดีขึ ้นอย่างต่อเนื่อง 9. มาตรฐานแรงงานไทย เป็ นข้ อกาหนดห้ ามการใช้ แรงงานผิดกฎหมาย และแรงงาน เด็ก ผลงานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้ อง กฤตยาวดี เกตุวงศา (2553) ได้ ทาการศึกษาเรื่ อง ผลกระทบของคุณลักษณะองค์กรที่มี ต่อประสิทธิ ผลการบริ หารความเสี่ยงของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะองค์กรมีผลกระทบต่อประสิทธิผลการบริ หารความเสีย่ ง ดังนัน้ ผู้บริ หารจะต้ องพัฒนา กระบวนการบริ หารจัดการองค์กรและกระบวนการบริ หารความเสีย่ ง รวมทังวางแผนทรั ้ พยากรของ องค์ กรและส่งเสริ มให้ การบริ หารความเสี่ยงขององค์ กรมี ประโยชน์สูงสุด โดยองค์ กรที่ต้องการ ประสิทธิ ผลในการบริ หารความเสี่ยงควรให้ ความสาคัญกับการปรั บปรุ งคุณลักษณะองค์กรด้ าน การจัดคนเข้ าทางาน โครงสร้ างขององค์กร ระบบและวิธีปฏิบตั ิงานและด้ านทักษะการทางาน จั น ทนา กุ ศ ลรุ่ ง รั ต น์ (2548) ได้ ท าการศึ ก ษาเรื่ อ ง การบริ ห ารความเสี่ ย งของ อุตสาหกรรมส่งออกกุ้งสดแช่แข็ง แช่เย็น ผลการศึกษาพบว่า การบริ หารความเสี่ยงในภาพรวมนัน้ สามารถสรุ ปได้ 2 ประการ 1) ปั จจัยเสี่ยงที่มีอยู่ในอุตสาหกรรมแบ่งออกตามประเภทความเสี่ยง ทางธุรกิจ ได้ แก่ ความเสีย่ งจากการตลาด ความเสีย่ งจากขันตอนการด ้ าเนินงานและกระบวนการ ผลิต ความเสีย่ งทางด้ านการเงิน และความเสี่ยงจากกฎระเบียบของประเทศคู่ค้า และ 2) กิจการ แต่ละกิจการแม้ วา่ เผชิญความเสี่ยงประเภทเดียวกันแต่มีขนาดความเสี่ยงแตกต่างกัน และแม้ แต่ ในกิ จการขนาดเดียวกันก็ยังมี ข นาดความเสี่ยงที่แตกต่างกันออกไป แต่มีประเด็นที่น่าสนใจคือ บริ ษัทที่มีการบริ หารความเสี่ยง จะมีขนาดความเสี่ยงต่ากว่าบริ ษัทที่ไม่มีการบริ หารความเสี่ยง รวมทังการให้ ้ อนั ดับความสาคัญมีความสอดคล้ องกับการให้ อันดับความรุ นแรง ซึ่งจะทาให้ ลาดับ ความเสีย่ งถูกต้ อง และสามารถจัดการกับความเสีย่ งที่สาคัญที่สดุ ก่อน


98 นวรัตน์ ชนาพรรณ (2550) ศึกษาเรื่ อง การศึกษากลยุทธ์ ในการดาเนินงาน ภูมิความรู้ ความชานาญ เชาว์เชิงปฏิบตั ิและความสาเร็ จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร แช่แข็งกลุ่มผลิตภัณฑ์ จากสัตว์ นา้ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป ระกอบการธุ รกิ จอาหารแช่แข็งกลุ่ม ผลิ ต ภัณ ฑ์ จ ากสัต ว์ น า้ หรื อ บุ ค คลอื่ น ที่ ส นใจหรื อ ต้ อ งการเข้ า มาประกอบธุ ร กิ จ นี จ้ ึ ง ควรให้ ความสาคัญกับการศึกษาเรี ยนรู้ ทัง้ ในและนอกระบบการศึกษาตามหลักสูต รของสถาบันทาง การศึกษา รวมทังให้ ้ ความสาคัญต่อ การขวนขวายหาความรู้ ทังในเชิ ้ งวิชาการและในเชิ งปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่ องของความรู้ความเข้ าใจในการบริ หารจัดการ ทังด้ ้ านการขาย การตลาด การเงิ น การบริ ห ารทรั พ ย์ ย ากรมนุษ ย์ การผลิต รวมทัง้ ความรู้ ด้ า นการค้ า ระหว่า งประเทศ กฎเกณฑ์มาตรฐาน ตลอดจนระเบียบข้ อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิ จการผลิตและจาหน่าย ผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี ้เรี ยกได้ ว่าเป็ นหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจนี ้ นอกจากนี ้ แล้ ว ผู้ป ระกอบการ หรื อ บุค คลอื่ นๆ ที่ สนใจทาธุ ร กิ จ นี ้ยังควรให้ ค วามส าคัญกับการวางแผน กลยุท ธ์ เพื่ อ น ามาใช้ เ ป็ นแนวทางในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ย โดยเฉพาะการน ากลยุท ธ์ ใ นการ ดาเนินงานแบบการวางแผนเฉพาะสิ่งสาคัญและการวางแผนล่วงหน้ าอย่างสมบูรณ์ มาใช้ และ หลีกเลีย่ งการใช้ กลยุทธ์ แบบตังรั้ บ ซึ่งในการศึกษาครัง้ นี ้พบว่า หากผู้ประกอบการนากลยุทธ์ การ วางแผนล่วงหน้ าอย่างสมบูรณ์และการวางแผนเฉพาะสิง่ สาคัญมาใช้ ก็จะมีแนวโน้ มในการประสบ ความสาเร็ จมากขึน้ อี กทัง้ กลยุทธ์ การตังรั ้ บและการวางแผนล่วงหน้ าอย่างสมบูรณ์ ยงั สามารถ อธิบายถึงความสาเร็ จในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการในธุรกิจนี ้อีกด้ วย นฤมล สะอาดโฉม (2550) กล่าวไว้ ในวารสาร บริ หารธุ รกิจนิด้า ว่า การบริ หารความ เสีย่ ง เป็ นศาสตร์ ที่เป็ นรู ปธรรมที่สดุ ในองค์ประกอบข้ อที่สามของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การ เริ่ มทาความเข้ าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่องค์ประกอบสุดท้ าย คือ การมีภูมิค้ มุ กันที่ดี จึงน่า เป็ นจุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ง่า ยและเห็ น ภาพชัด ที่ สุด การมี ภูมิ ค้ ุ ม กัน ที่ ดี คื อ การบริ ห ารความเสี่ย งที่ มี ประสิทธิภาพ การที่องค์กรหันมาให้ ความสาคัญกับความเสีย่ งในด้ านใดก็ดีมักเกิดขึ ้นหลังจากเกิด ความสูญเสียแล้ ว ยิ่งความสูญเสียนันมากเท่ ้ าไร เราจะยิ่งหันมาให้ ความสาคัญกับความเสี่ยงที่ นามาซึ่งความสูญเสียนันมากขึ ้ น้ เท่านัน้ ในขณะที่ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิ จ การเมือ ง ภัย ธรรมชาติ ภัยทางเทคโนโลยี และความเสี่ยงในรู ปแบบใหม่ๆเกิ ดขึ ้นทุกวัน ในฐานะผู้บริ หารที่มี วิสยั ทัศน์ การเรี ยนรู้ จากความสูญเสียของผู้อื่นสามารถนามาซึ่งกลยุทธ์ ในการบริ หารความเสี่ยง ขององค์กรเราได้ เช่นกัน ผู้บริ หารจึงควรมีความเข้ าใจพื ้นฐานในเรื่ องความเสี่ยง และการบริ หาร ความเสีย่ งเพื่อที่จะช่วยให้ ผ้ บู ริ หารสามารถนาพาองค์กรให้ ก้าวไปข้ างหน้ าได้ อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน


99 การบริ หารความเสีย่ ง เป็ นองค์ประกอบหนึง่ ในสามของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ภาคเอกชนให้ ความสาคัญมากขึ ้นอย่างรวดเร็ ว รวมทังหลั ้ กการบริ หารความเสี่ยงประกอบกับองค์ประกอบของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอีกสองข้ อ คือ ความพอประมาณและความมีเหตุผล ภายใต้ เงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้และเงื่อนไขคุณธรรม ตามที่กล่าวมานัน้ หากผู้บริ หารขององค์กรเอกชนได้ พิจารณา อย่างถ่องแท้ แล้ ว จะเห็นได้ อย่างชัดเจนว่าการประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับองค์กร เอกชนนันเป็ ้ นเรื่ องที่เหมาะสมและมีความสอดคล้ องกัน อีกทังไม่ ้ ใช่เรื่ องขัดแย้ งกันระหว่าง “กาไร สูงสุด” กับ “ความพอประมาณ” แต่ประการใดยิ่งไปกว่านัน้ ท่านอาจจะพบว่าองค์กรของท่านได้ ใช้ บางส่วนของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินการอยูแ่ ล้ วในปั จจุบนั เพียงแต่ยงั ขาดการเติม เต็มในรายละเอียดเท่านัน้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคานึงถึงความพอประมาณภายใต้ ความมีเหตุ มี ผลบนพื ้นฐานความรู้และคุณธรรม ทุกวันนี ้ ภายใต้ ระบบทุนนิ ยมที่ถาโถมเข้ ามา เราเร่ งรี บพัฒนา ไปข้ างหน้ าแบบกาวกระโดดที่เร็ วเกินไปหรื อไม่ เราต่างติดอยูใ่ นกับดักของสังคมทุนภายใต้ กรอบที่ จากัดไว้ หรื อไม่ ไม่วา่ คาตอบของคาถามทังสองดั ้ งกล่าวจะเป็ นอย่างไร หากประชาชนและผู้บริ หาร องค์กรทังภาครั ้ ฐและภาคเอกชนได้ หยุดตรึ กตรอง และต่า งพร้ อมใจกันน้ อมนาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชดาริ ไปประยุกต์ใช้ กับชีวิตประจาวันและการบริ หารองค์กรของตนอย่าง เหมาะสม สังคมและเศรษฐกิจไทยย่อมจะสามารถเติบโต เบ่งบาน และก้ าวเดินไปข้ างหน้ าด้ วย ก้ าวที่พอเหมาะ แต่เป็ นก้ าวที่ตอ่ เนื่องและมัน่ คงได้ วลัยพร ธรรมบารุ ง (2550) ศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์อุปสงค์การนาเข้ าอาหารทะเลแช่ แข็งของประเทศไทยในประเทศญี่ปนุ่ ผลการศึกษาพบว่า ปั จจัยที่มีผลต่ออุปสงค์การนาเข้ ากุ้งแช่ แข็งของประเทศญี่ปนจากประเทศไทย ุ่ ได้ แก่ ราคานาเข้ ากุ้งแช่แข็งของประเทศไทย ราคานาเข้ ากุ้ง แช่แข็งจากประเทศเวียดนาม ราคานาเข้ ากุ้งแช่แข็งจากประเทศอินโดนีเซีย และราคานาเข้ ากุ้งแช่ แข็งจากประเทศอื่นๆ โดยมีคู่แข็งเป็ นประเทศเวียดนาม ซึ่งกุ้งแช่แข็งจากประเทศเวียดนามมีค่า ความยืดหยุ่นต่อราคามากกว่ากุ้งแช่แข็งของประเทศไทย ส่วนปั จจัยที่มีผลต่ออุปสงค์การนาเข้ า ปลาหมึกแช่แข็งของประเทศญี่ปนจากประเทศไทย ุ่ ได้ แก่ ราคานาเข้ าปลาหมึกแช่แข็งจากประเทศ จีน ราคานาเข้ าปลาหมึกแช่แข็งจากประเทศอื่นๆ และค่าใช้ จ่ายทังหมด ้ โดยปลาหมึกแช่แข็งจาก ประเทศไทยมี ค่าความยืดหยุ่นต่อ ค่าใช้ จ่ายน้ อ ยกว่าประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็ นผู้ส่งออกสินค้ า ปลาหมึกแช่แข็งคุณภาพดีเช่นเดียวกับประเทศไทย และปั จจัยที่มีผลต่ออุปสงค์การนาเข้ าปูม้าแช่ แข็งขอประเทศญี่ปนจากประเทศไทย ุ่ ได้ แก่ ราคานาเข้ าปูม้าแช่แข็งจากประเทศจีน ราคานาเข้ าปู ม้ าแช่แข็งจากประเทศอินโดนีเซีย ราคานาเข้ าปูม้าแช่แข็งจากประเทศอินเดีย และราคานาเข้ าปูม้า


100 แช่แข็งจากประเทศอื่นๆ โดยมีคู่แข่งคือ ประเทศอิ นเดียและประเทศอื่ นๆ ประเทศไทยควรรั กษา มาตรฐานอาหารทะเลส่งออกให้ สอดคล้ องกับการแข่งขัน และการขยายตัวของคู่แข่ง โดยการใช้ นโยบายทางด้ านคุณภาพสินค้ า เพื่อการรักษาและขยายตลาดในการส่งออกอาหารทะเลแช่แข็งไป ยังประเทศญี่ปนุ่ ศุภกาญจน์ กาญจนสุวรรณ และคณะ (2548) ศึกษาเรื่ อง ทัศนคติของผู้บริ โภคที่มีต่อ อาหารแช่แข็งพรานทะเล ในเขตลาดพร้ าว จังหวัดกรุ งเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า ทัศนคติ ของผู้บริ โภคคิดว่าอาหารแช่แข็งพรานทะเลมีความสะดวกรวดเร็ วต่อการบริ โภคมีความพึงพอใจ มาก รองลงมา มีความใหม่ สด สะอาด และมีจาหน่ายอยู่ทวั่ ไปทาให้ มีความสะดวกในการเลือก ซื ้อ กลุม่ ตัวอย่างที่เพศแตกต่างกันมีทศั นคติในการบริ โภคอาหารแช่แข็งพรานทะเล แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญ ในด้ านต่างๆ ได้ แก่ การบริ โภคมี ประโยชน์ ต่อ ร่ างกาย ทาให้ รูปร่ างสมส่วน มี รสชาติดี พรานทะเลดีกว่ายี่ห้ออื่น รูปแบบผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็งพรานทะเลมีความหลากหลาย การบริ โภคอาหารแช่แข็งพรานทะเลดีตอ่ สุขภาพ อาหารแช่แข็งพรานทะเลมีความใหม่ สด สะอาด อาหารทะเลแช่แข็งพรานทะเลมีความสะดวกรวดเร็ วต่อการบริ โภค การจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ อาหารแช่แ ข็งพรานทะเลมี อยู่ทั่วไป ทาให้ มีค วามสะดวกในการเลือ กซื ้อ โฆษณามี ผลต่อ การ บริ โภคอาหารแช่แข็งพรานทะเล


บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศกึ ษา ประวัติความเป็ นมา ซีพีเอฟจดทะเบียนเป็ นบริ ษัทจำกัด เมื่อวันที่ 17 มกรำคม 2521 ในนำม “บริ ษัท เจริ ญ โภคภัณฑ์อำหำรสัตว์ จำกัด” ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก 5 ล้ ำนบำท โดยเริ่ มด้ วยธุรกิจอำหำรสัตว์ บกและกำรเลี ้ยงสัตว์บกในประเทศไทย และในปี 2531 ได้ ขยำยเข้ ำสูธ่ ุรกิจกำรเลี ้ยงกุ้งครบวงจร ในปี 2541 ซีพีเอฟได้ เข้ ำซื ้อบริ ษัทที่ดำเนินธุรกิจเกษตรอุตสำหกรรมด้ ำนกำรเลี ้ยงสัตว์ และกำรแปรรูปเนื ้อสัตว์ของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ เข้ ำมำอยู่ภำยใต้ กำรบริ หำรงำนของซีพีเอฟ โดย ได้ ดำเนินกำรเสร็ จสมบูรณ์ ในช่วงต้ นปี 2542 ซีพีเอฟได้ เปลี่ยนชื่อ บริ ษัทเป็ น “บริ ษัท เจริ ญโภค ภัณฑ์อำหำร จำกัด (มหำชน)” พร้ อมประกำศวิสยั ทัศน์ควำมต้ องกำรเป็ น “ครัวของโลก” (Kitchen of the World) ที่มีกำรดำเนินธุรกิจเกษตรอุตสำหกรรมครบวงจรเพื่อผลิตสินค้ ำเนื ้อสัตว์ และสินค้ ำ อำหำรคุ ณ ภำพให้ แก่ ผ้ ู บ ริ โ ภคทั่ว โลก หลัง จำกนัน้ บริ ษั ท ได้ มี ก ำรขยำยธุ ร กิ จ ไปลงทุ น ยั ง ต่ำงประเทศ และในปี 2548 ได้ เริ่ มใช้ ตรำสินค้ ำ กับสินค้ ำเนื ้อสัตว์แปรรูปพื ้นฐำน พร้ อมกับกำร เริ่ มธุรกิจกำรผลิตสินค้ ำอำหำรพร้ อมรับประทำนภำยใต้ ตรำสินค้ ำดังกล่ำวออกจำหน่ำยในประเทศ ไทยและต่ำงประเทศ รวมถึงกำรขยำยธุ รกิ จค้ ำปลีกสินค้ ำอำหำรมำกขึ ้น โดย ณ ปั จ จุบัน จุ ด จำหน่ำยของบริ ษัทสำมำรถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้ แก่ ธุรกิจห้ ำดำว ธุรกิจร้ ำนค้ ำปลีกซีพีเฟรชมำร์ ท และธุรกิจร้ ำนซีพี ฟู้ดมำร์ เก็ต ด้ วยวิสยั ทัศน์ที่ต้องกำรก้ ำวขึ ้นเป็ น “ครัวของโลก” (Kitchen of the World) โดยมีพนั ธกิจที่จะดำเนินธุ รกิ จเกษตรอุตสำหกรรมและอำหำรแบบครบวงจร เพื่อ นำเสนอผลิตภัณฑ์ และ บริ กำรที่มีคณ ุ ภำพในด้ ำนคุณค่ำ รสชำติ และควำมปลอดภัย สำมำรถตรวจสอบย้ อนกลับได้ และ มุ่งมัน่ ที่จะดำเนินธุรกิจด้ วยควำมรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้ อม รวมทังมุ ้ ่งเน้ นกำรเติบโตของ องค์กรอย่ำงยัง่ ยืน ซีพีเอฟได้ รับอนุญำตให้ นำหุ้นสำมัญเข้ ำจดทะเบียนเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลำด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภำยใต้ ชื่อย่อหลักทรัพย์ว่ำ “CPF” ในเดือ นธันวำคม 2530 และแปร


102 สภำพเป็ นบริ ษั ท มหำชนจ ำกัด ในเดื อ นมกรำคม 2537 ต่อ มำในเดื อ นกัน ยำยน 2544 ได้ เปลีย่ นแปลงมูลค่ำหุ้นสำมัญที่ตรำไว้ จำกเดิมหุ้นละ 10 บำท เป็ นหุ้นละ 1 บำท เมื่อวันที่ 29 ธันวำคม 2554 ที่ประชุมคณะกรรมกำรซีพีเอฟได้ มีมติอนุมัติให้ Charoen Pokphand Foods (Malaysia) Sdn. Bhd. (“CPFM”) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อม ในสัดส่วนร้ อยละ 99.99 เข้ ำซื ้อหุ้นทังหมดของ ้ Makin Jernih Sdn. Bhd. (“MJSB”) รวมจำนวน 33 ล้ ำนหุ้น จำก MKH Berhad (“MKH”) ในรำคำรวมทังสิ ้ ้น 64 ล้ ำนมำเลเซียริ งกิต หรื อประมำณ 640 ล้ ำนบำท MJSB เป็ นบริ ษัทที่ประกอบธุ รกิ จด้ ำนกำรลงทุนในหุ้นของบริ ษัทอื่ น (Holding Company) ปั จจุบนั มีกำรลงทุนในสัดส่วนร้ อยละ 100 ของหุ้นที่ออกและชำระแล้ วในบริ ษัท 3 แห่ง ซึง่ จดทะเบียนจัดตังบริ ้ ษัทในประเทศมำเลเซีย ประกอบด้ วย 1) Chau Yang Farming Sdn. Bhd. ประกอบธุรกิ จด้ ำนกำรทำฟำร์ มเลี ้ยงสุกรขุน 2) Tip Top Meat Sdn. Bhd. ประกอบธุรกิจโรง ชำแหละสุกร และ 3) AA Meat Shop Sdn. Bhd. ประกอบธุรกิจร้ ำนค้ ำปลีกจำหน่ำยเนื ้อสุกรและ ผลิตภัณ ฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในประเทศมำเลเซี ย โดยกำรเข้ ำ ซื อ้ หุ้นดัง กล่ำ วได้ เ สร็ จ สิ ้นเมื่ อ วันที่ 16 มกรำคม 2555 นอกจำกนี ้ เมื่ อวันที่ 18 มกรำคม 2555 ที่ประชุมวิสำมัญผู้ถือ หุ้นของซีพีเอฟ ครั ง้ ที่ 1/2555 มีมติอนุมตั ิให้ ซีพีเอฟ และ CPF Investment Limited (“CPFI”) ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟ ถือ หุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 100 เข้ ำซื ้อหุ้น C.P. Pokphand Company Limited (“CPP”) ซึ่งมี หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์ฮ่องกง ภำยใต้ ชื่อย่อ 00043.HK จำกผู้ถือหุ้นของ CPP 3 รำย ได้ แก่ Orient Success International Limited (“OSIL”) Worth Access Trading Limited และ CPI Holding Company Limited จำนวนรวมทังสิ ้ ้นไม่เกิน 18,792,774,153 หุ้น (หรื อคิดเป็ น ร้ อยละ 74.18 ของจำนวนหุ้นที่ออกและจำหน่ำยได้ แล้ วทังหมดของ ้ CPP หำกมีกำรใช้ สิทธิ ของ OSIL และสิทธิ ของผู้บริ หำร CPP ทังจ ้ ำนวน) ทังนี ้ ้ กำรดำเนินธุรกิจของ CPP แบ่งออกได้ เป็ น 2 กลุ่ม กล่ำวคือ ธุ รกิ จในประเทศจีน ซึ่งมีธุรกิ จอำหำรสัตว์ เป็ นธุ รกิ จหลัก และธุ รกิ จในประเทศ เวียดนำมซึง่ ดำเนินกำรโดย C.P. Vietnam Corporation ประกอบด้ วย ธุรกิจผลิตและจัดจำหน่ำย อำหำรสัตว์ ธุ รกิ จเพำะพัน ธุ์ สตั ว์ และทำฟำร์ มสัตว์ บกและสัตว์ น ้ำ และธุ รกิ จแปรรู ปและผลิต ผลิตภัณฑ์เนื ้อสัตว์และอำหำร ทังนี ้ ้ กำรซื ้อขำยดังกล่ำวได้ เสร็ จสมบู รณ์ในวันที่ 8 มีนำคม 2555


103 โครงสร้ างการจัดการ

ภาพที่ 3-1 โครงสร้ ำงกำรจัดกำร ที่มำ : http://www.cpfworldwide.com การควบคุมภายใน ระบบการควบคุมภายใน ในกำรประชุมคณะกรรมกำรบริ ษัท ครัง้ ที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 22 กุมภำพันธ์ 2555 โดยมี คณะกรรมกำรตรวจสอบ ซึง่ เป็ นกรรมกำรอิสระจำนวน 5 คน เข้ ำร่ วมประชุมด้ วย คณะกรรมกำร ได้ ประเมินระบบกำรควบคุมภำยในโดยกำรซักถำมข้ อมูลจำกหัวหน้ ำสำนักตรวจสอบภำยในแล้ ว สรุ ปได้ ว่ำ ระบบกำรควบคุมภำยในของบริ ษัทมีควำมเหมำะสมและเพียงพอต่อ ธุรกิจของบริ ษัท รวมทังมี ้ ประสิทธิผลเพียงพอที่จะช่วยลดควำมเสีย่ งทำงธุรกิจ และป้องกันทรัพย์สนิ ของบริ ษัท จำก


104 กำรที่ผ้ บู ริ หำรนำไปใช้ โดยมิชอบ หรื อ โดยไม่มีอำนำจ ทังนี ้ ้ ในกำรปฏิบัติงำนตรวจสอบภำยใน สำนักตรวจสอบภำยในได้ มีก ำรสอบทำนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนต่ำงๆ ของบริ ษัท เพื่อให้ มัน่ ใจว่ำหน่วยงำนเหล่ำนันมี ้ กำรปฏิบตั ิตำมระบบกำรควบคุมภำยในที่บริ ษัทได้ กำหนดไว้ และใน กรณีพบข้ อบกพร่ องที่มีสำระสำคัญจะมีกำรรำยงำนให้ คณะกรรมกำรบริ หำรและคณะกรรมกำร ตรวจสอบทรำบและพิจำรณำสัง่ กำรแก้ ไข อย่ำงไรก็ตำม ในรอบปี 2554 สำนักตรวจสอบภำยในไม่ พบข้ อบกพร่ องที่เป็ นสำระสำคัญซึ่งจะมี ผลกระทบต่อ ผลกำรดำเนินงำนของบริ ษัท และผู้สอบ บัญชีไม่ได้ รำยงำนว่ำพบข้ อบกพร่องที่เป็ นสำระสำคัญ รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมกำรตรวจสอบโดยกำรแต่ง ตังของคณะกรรมกำรบริ ้ ษั ท เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ อำหำร จำกัด (มหำชน) ประกอบด้ วยกรรมกำรอิสระจำนวน 5 ท่ำน โดยมีพลตำรวจเอกเภำ สำร สิน เป็ นประธำนกรรมกำรตรวจสอบ นำยอำสำ สำรสิน ศำสตรำจำรย์นำยแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชำ ชีวะ ศำสตรำจำรย์กิตติคุณสุภำพรรณ รัตนำภรณ์ และดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ เป็ นกรรมกำร ตรวจสอบ ในปี 2554 คณะกรรมกำรตรวจสอบได้ มีกำรประชุมร่ วมกัน รวมทังสิ ้ ้น 11 ครัง้ โดยพล ตำรวจเอกเภำ สำรสิน ศำสตรำจำรย์ นำยแพทย์อ รรถสิทธิ์ เวชชำชี วะ และ ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์ สวัสดิ์ เข้ ำร่วมประชุมครบทัง้ 11 ครัง้ นำยอำสำ สำรสิน เข้ ำร่วมประชุม 8 ครัง้ และ ศำสตรำจำรย์ กิตติคณ ุ สุภำพรรณ รัตนำภรณ์ เข้ ำร่วมประชุม 10 ครัง้ กิจกรรมสำคัญที่คณะกรรมกำรตรวจสอบได้ ดำเนินกำรไปในระหว่ำงปี 2554 ภำยใต้ ขอบเขตหน้ ำที่และควำมรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมำยจำกคณะกรรมกำรบริ ษัท สรุปได้ ดงั นี ้ 1. สอบทำนงบกำรเงิน และรำยงำนทำงกำรเงิน ประจำปี 2553 และประจำไตรมำสที่ 1 2 และ 3/2554 ซึ่งครอบคลุมถึงกำรสอบทำนกำรปฏิบัติตำมมำตรฐำนกำรบัญชี กำรเลือกใช้ นโยบำยกำรบัญชี และกำรเปิ ดเผยข้ อมูลในงบกำรเงินอย่ำงเป็ นอิสระ เพื่อนำเสนอคณะกรรมกำร บริ ษัท


105 2. สอบทำนควำมเพียงพอและควำมเหมำะสมของระบบกำรควบคุมภำยในของบริ ษัท เพื่อให้ กำรดำเนินงำนของบริ ษัทมีประสิทธิภำพ และประสิทธิ ผล และสำมำรถให้ ผลตอบแทนต่อผู้ มีสว่ นได้ เสียทังหลำยอย่ ้ ำงยัง่ ยืน 3. สอบทำนควำมเป็ นอิ สระของสำนักตรวจสอบภำยใน และผลกำรปฏิบัติงำนของ สำนักตรวจสอบภำยในในระหว่ำงปี รวมถึงกำรสอบทำน และอนุมัติแผนกำรตรวจสอบภำยใน ประจำปี 4. สอบทำนกำรปฏิบัติงำนของบริ ษัทว่ำเป็ นไปตำมกฎหมำยว่ำด้ วยหลักทรั พย์ และ ตลำดหลักทรั พย์ ข้ อกำหนดของตลำดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และกฎหมำยที่เกี่ ยวข้ องกับ ธุรกิจของบริ ษัท 5. สอบทำนกำรเข้ ำทำรำยกำรและกำรเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับรำยกำรที่มีกับบุคคลที่ อำจมี ควำมขัดแย้ งทำงผลประโยชน์ ในรอบปี 2554 ว่ำเหมำะสม และเป็ นไปตำมหลักเกณฑ์ ที่ คณะกรรมกำรกำกับตลำดทุนประกำศไว้ 6. สอบทำนนโยบำย และแนวปฏิบตั ิของบริ ษัท เพื่อให้ แน่ใจว่ำสอดคล้ องกับหลักกำร กำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดีของบริ ษัทตำมที่ตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ กำหนดไว้ 7. สอบทำนควำมเป็ นอิสระ ผลกำรปฏิบตั ิงำนกำรสอบบัญชีและควำมเห็นของผู้สอบ บัญชี และเสนอแต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีของบริ ษัท รวมทังค่ ้ ำสอบบัญชีต่อคณะกรรมกำรบริ ษัท เพื่อ นำเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป 8. ประชุมร่ วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีผ้ บู ริ หำรของบริ ษัทเข้ ำร่ วม 4 ครัง้ เพื่อให้ ผ้ สู อบ บัญชีสำมำรถรำยงำนเหตุกำรณ์ และข้ อมูลเกี่ยวกับบริ ษัทได้ อย่ำงอิสระ และสำมำรถแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นกันได้ อย่ำงเต็มที่ 9. สอบทำนกฎบัต รของคณะกรรมกำรตรวจสอบให้ ส อดคล้ อ งกับ แนวปฏิ บัติ และ กฎหมำยที่เกี่ยวข้ อง


106 จำกกำรสอบทำนตำมที่กล่ำวมำข้ ำงต้ น คณะกรรมกำรตรวจสอบมีควำมเห็นว่ำ บริ ษัท ได้ จดั ให้ มีและดำรงรักษำไว้ ซึ่งระบบกำรควบคุมภำยในที่เหมำะสมและมีประสิทธิ ผล ซึ่งสำมำรถ สร้ ำงควำมเชื่ อมั่นอย่ำ งมีเหตุผลว่ำ งบกำรเงินของบริ ษัทมีควำมน่ำเชื่อถื อ และได้ จัดทำขึ ้นโดย ถูกต้ องตำมที่ควรในสำระสำคัญตำมหลักกำรบัญชีที่เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป กำรเข้ ำทำรำยกำรที่ อำจมีควำมขัดแย้ งทำงผลประโยชน์มีควำมสมเหตุสมผล โดยรำยกำรธุ รกิจปกติหรื อ สนับสนุน ธุรกิจปกติก็ถือปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขกำรค้ ำเช่นเดียวกับที่ทำกับบุคคลโดยทัว่ ไปตำมหลักกำรที่ได้ รับ อนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรบริ ษัท สำหรับธุรกรรมระหว่ำงกันที่มิใช่ธุรกิจปกติหรื อที่สนับสนุนธุรกิจ ปกตินนั ้ ได้ มีกำรปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงื่อนไขตำมที่คณะกรรมกำรกำกับตลำดทุน ประกำศไว้ โดยมีกำรเปิ ดเผยข้ อมูลของรำยกำรเหล่ำนี ้ไว้ ในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินระหว่ำง กำลและงบกำรเงินประจำปี อย่ำงเหมำะสม และกำรปฏิบตั ิตำมกฎหมำยต่ำงๆ ก็ไม่พบว่ำมีกำรฝ่ ำ ฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตำมกฎหมำยอย่ำงเป็ นสำระสำคัญ นอกจำกนี ้ คณะกรรมกำรตรวจสอบยังมีควำมเห็นว่ำจำกกำรปฏิบตั ิงำนอย่ำ งเต็มที่ของ ผู้บริ หำรระดับสูง และพนักงำนทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทจะสำมำรถเจริ ญเติบโตอย่ำงน่ำพอใจอัน จะทำให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทังหลำยได้ ้ รับผลตอบแทนที่ดีอย่ำงยัง่ ยืนด้ วย อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมกำรบริ ษัทมีอำนำจและหน้ ำที่กำกับดูแลกำรดำเนินงำนของบริ ษัทให้ เป็ นไป ตำมวัตถุประสงค์ของบริ ษัท ภำยใต้ ขอบเขตที่กำหนดไว้ ในข้ อ บังคับบริ ษัท มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และกฎหมำยต่ำงๆที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ้ ้ คณะกรรมกำรอำจมอบหมำยให้ กรรมกำรคนหนึ่งหรื อหลำย คน หรื อบุคคลอื่นใดปฏิบตั ิกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึง่ แทนคณะกรรมกำรได้ โดยในกำรมอบอำนำจนัน้ จะต้ องอยูภ่ ำยใต้ ขอบแห่งอำนำจของคณะกรรมกำร และมีกำรกำหนดขอบเขตอำนำจหน้ ำที่ของ ผู้รับมอบอำนำจไว้ อย่ำงชัดเจน ในกำรกำกับดูแลกิจกำร คณะกรรมกำรบริ ษัทมีหน้ ำที่และควำมรับผิดชอบหลัก ดังนี ้ 1. กำหนดนโยบำยหลักในกำรดำเนินธุรกิจ นโยบำยด้ ำนกำรเงิน นโยบำยในกำรระดม เงินทุน กำรบริ หำรเงินทุน และนโยบำยในกำรบริ หำรควำมเสีย่ งของบริ ษัท


107 2. พิจ ำรณำอนุมัติ งบประมำณและโครงกำรลงทุน ของบริ ษั ท และกำกับ ดูแ ลกำร ดำเนินโครงกำรให้ เป็ นไปตำมแผนงำน 3. กำกับดูแลกำรดำเนินงำนของบริ ษัทให้ เป็ นไปตำมหรื อดีกว่ำเป้ำหมำยที่ตงไว้ ั ้ และ กำหนดแนวทำงแก้ ไขในกรณีที่มีอุปสรรคในกำรบรรลุเป้ำหมำยนัน้ 4. จัดให้ มีกำรรำยงำนข้ อมูลโดยทัว่ ไปและข้ อมูลทำงกำรเงินของบริ ษัทต่อผู้ถือหุ้นและ ผู้มีสว่ นได้ เสียทัว่ ไปอย่ำงถูกต้ อง ทันกำล และเป็ นไปตำมที่กฎหมำยกำหนด 5. รับทรำบรำยงำนกำรตรวจสอบที่สำคัญ และกำหนดแนวทำงปรับปรุ งแก้ ไขกรณีที่ พบข้ อบกพร่องที่เป็ นสำระสำคัญ 6. สอบทำนควำมเพียงพอและเหมำะสมของระบบกำรควบคุมภำยใน และกำรบริ หำร ควำมเสีย่ งของบริ ษัท 7. จั ด ให้ มี ก ระบวนกำรสร้ ำงผู้ บริ หำรระดั บ สู ง ขึ น้ มำทดแทนอย่ ำ งต่ อ เนื่ อ ง (Succession Plan) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมกำรตรวจสอบมีขอบเขตหน้ ำที่และควำมรับผิดชอบต่อคณะกรรมกำรบริ ษัท ในกำรช่วยกำรปฏิบตั ิงำนของคณะกรรมกำรบริ ษัทเกี่ยงกับกำรสอบทำนรำยงำนทำงกำรเงิน สอบ ทำนระบบกำรควบคุมภำยในและกำรตรวจสอบภำยใน สอบทำนกำรปฏิบตั ิตำมกฎหมำยและ ระเบียบข้ อบังคับต่ำงๆที่เกี่ยวข้ อง พิจำรณำคัดเลือกและเสนอแต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชี พิจำรณำกำร เปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทเกี่ ยวกับรำยกำรที่เกี่ ยวข้ อ งกัน หรื อ รำยกำรที่อ ำจมี ควำมขัดแย้ งทำง ผลประโยชน์รวมทังปฏิ ้ บตั ิกำรอื่นตำมที่ได้ รับมอบหมำยจำกคณะกรรมกำรบริ ษัท


108 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมกำรบริ หำร ทำหน้ ำที่ช่วยคณะกรรมกำรบริ ษัทในกำรกำกับดูแลและบริ หำร กิจกำรให้ เป็ นไปตำมนโยบำยและเป้ำหมำยกำรดำเนินธุรกิจที่คณะกรรมกำรได้ กำหนดไว้ อย่ำงมี ประสิทธิภำพและประสิทธิผล หน้ ำที่ควำมรับผิดชอบหลักของคณะกรรมกำรบริ หำรมีดงั นี ้ 1. กำหนดเป้ำหมำยและกลยุทธ์ ในกำรดำเนินธุรกิจ รวมถึงกำรกำหนดนโยบำยด้ ำน กำลังคน กำรประเมินผล และหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำกำหนดผลตอบแทน 2. พิจำรณำกลัน่ กรองงบประมำณ และโครงกำรลงทุนของแต่ละธุรกิจก่อนนำเสนอต่อ คณะกรรมกำรบริ ษัท เพื่อพิ จำรณำอนุมัติ โดยคณะกรรมกำรบริ ษั ทจะมี กำรพิจ ำรณำทบทวน ปรับเปลีย่ นกำรใช้ งบประมำณ และโครงกำรลงทุนที่ได้ รับอนุมตั ิแล้ วให้ เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ ที่ เปลีย่ นแปลงไป 3. ติดตำมผลกำรดำเนินงำนและควำมก้ ำวหน้ ำของโครงกำรลงทุนของแต่ละธุ รกิ จ และรำยงำนผลรวมทั ง้ ปั ญหำหรื อ อุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ น้ และแนวทำงในกำรปรั บ ปรุ ง แก้ ไขให้ คณะกรรมกำรบริ ษัททรำบ 4. ติดตำมผลกำรพัฒนำระบบกำรจัดกำรและกำรบริ หำรควำมเสีย่ งของแต่ละธุรกิจ 5. ติดตำมผลกำรพัฒนำบุคลำกร กำรแต่งตังโยกย้ ้ ำยผู้บริ หำรของแต่ละธุ รกิจตำม แผนงำน กำรสร้ ำงผู้บริ หำรทดแทน 6. พิจ ำรณำทำงเลือ กในกำรระดมทุน เมื่ อ มี ค วำมจำเป็ นต้ อ งจัด หำแหล่ง เงิ น ทุน สำหรับใช้ ในกำรลงทุนต่ำงๆเพื่อเสนอคณะกรรมกำรบริ ษัทอนุมตั ิ 7. ติดตำมผลกำรใช้ เงินทุนกำรบริ หำรเงินทุนและฐำนะทำงกำรเงินของแต่ละธุรกิจ


109 การกากับดูแลกิจการ คณะกรรมกำรบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิหน้ ำที่ในกำรกำกับดูแลกิ จกำรให้ เป็ นไปตำมกฎหมำย วัต ถุป ระสงค์ และข้ อ บัง คับของบริ ษั ท ตลอดจนมติที่ ป ระชุม ผู้ถือ หุ้นด้ วยควำมซื่อ สัต ย์ สุจ ริ ต ระมัดระวังรั กษำผลประโยชน์ ของบริ ษัท และมี ควำมรั บผิดชอบต่อผู้ถือ หุ้นในกำรปฏิบตั ิหน้ ำที่ ดังกล่ำว คณะกรรมกำรได้ กำหนดนโยบำยและทิศทำงกำรดำเนินงำนของบริ ษัท รวมถึงกำรจัดให้ มีระบบกำรควบคุมภำยในและกำรตรวจสอบภำยในที่เหมำะสมและเพียงพอ เพื่อกำรกำกับดูแล ให้ ฝ่ำยจำกำรบริ หำรกิจกำรเป็ นไปตำมนโยบำยที่กำหนดไว้ อย่ำงมีประสิทธิ ภำพและประสิทธิ ผล และมีกำรปฏิบตั ิภำยใต้ ระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัทและกฎหมำยต่ำงๆที่เกี่ยวข้ อง คณะกรรมกำร บริ ษั ท ตระหนัก ดี ว่ำ กำรบริ ห ำรงำนภำยใต้ โ ลกธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บัน ที่ มี ค วำมซับ ซ้ อ นและมี ก ำร เปลีย่ นแปลงตลอดเวลำ บริ ษัทจำเป็ นต้ องปรับปรุ งและพัฒนำกำรบริ หำรงำนและกำรกำกับดู แล กิจกำรให้ ทนั ต่อกำรเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ ้น และเห็นพ้ องต้ องกันว่ำกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดีจะช่วย เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันและประสิทธิ ภำพในกำรจัดกำรอันจะเป็ นกำรสร้ ำงมูลค่ำเพิ่ม ให้ แก่บริ ษัทและผู้ถือหุ้นในระยะยำว จริยธรรมองค์ กร บริ ษัทตระหนักดีว่ำกำรปฏิบัติตำมประมวลจริ ยธรรมของผู้บริ หำรและพนักงำนทุกคน เป็ นสิ่งที่จ ำเป็ นต่อควำมสำเร็ จขององค์กร บริ ษัทอยู่ระหว่ำงกำรปรั บปรุ งประมวลจริ ยธรรมของ ผู้บริ หำรและพนักงำน ซึง่ ได้ รวบรวมและเทียบเคียงหลักปฏิบตั ิร ะดับสำกล โดยเชื่อว่ำหลักปฏิบตั ิ เหล่ำ นี จ้ ะเป็ นแนวทำงที่ดี ใ นกำรท ำให้ อ งค์ กรมี ควำมเข้ ม แข็ง และประสบควำมสำเร็ จ ในกำร ประกอบธุรกิจอย่ำงยัง่ ยืน โดยประมวลจริ ยธรรมฉบับที่ปรับปรุ งขึ ้นใหม่นี ้จะคำนึงถึงค่ำนิยมของ องค์กรเป็ นปั จจัยสำคัญ อันได้ แก่ 1. กำรด ำเนิน ธุ ร กิ จ โดยค ำนึง ถึง ควำมปลอดภัย และสุข ภำพอนำมัย ของผู้บ ริ โภค ตลอดจนกำพิทกั ษ์ รักษำสิง่ แวดล้ อมอันเป็ นประโยชน์ตอ่ สังคมโดยรวม 2. กำรมุ่งมั่นในกำรพัฒนำสินค้ ำและกำรบริ กำรใหม่ๆ ที่มีคุณภำพและมำตรฐำนสูง ด้ วยวิทยำกำรและเทคโนโลยีที่นำสมัย อันจะเป็ นประโยชน์ให้ กบั คูค่ ้ ำและลูกค้ ำทังปวง ้


110 3. ผู้บริ หำรและพนักงำนของบริ ษัทจะต้ องทำงำนด้ วยควำมซื่อสัตย์ มีควำมรับผิดชอบ ตำมหน้ ำที่ มีระเบียบวินยั และมีคณ ุ ธรรม 4. ผู้บริ หำร และพนักงำนของบริ ษัทจะต้ องตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรจัดองค์กร อย่ำงมีวิสยั ทัศน์และยุทธศำสตร์ เพื่อให้ องค์ กรสำมำรถปรับตัวได้ ทันต่อ เหตุกำรณ์ และสำมำรถ ดำเนินธุรกิ จได้ อย่ำงยัง่ ยืน นำพำประโยชน์โดยรวมมำสู่ลกู ค้ ำ ผู้ถือหุ้น พนักงำน และบุคคลผู้มี ส่วนได้ เสียต่ำงๆที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัท


111 โครงสร้ างธุรกิจ โครงสร้ ำงกำรดำเนินงำนของบริ ษัทในกลุม่ ภำยหลังกำรเข้ ำซื ้อหุ้น CPP เสร็ จสมบูรณ์ (ณ วันที่ 8 มีนำคม 2555)

ภาพที่ 3-2 โครงสร้ ำงธุรกิจ ที่มำ : รำยงำนประจำปี 2555 ของบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อำหำร จำกัด (มหำชน)


112 การประกอบธุรกิจในประเทศไทย ซีพีเอฟและบริ ษัทย่อยมี กำรประกอบธุ รกิจเกษตรอุตสำหกรรมแบบครบวงจร (Fully Integration) ทังในแนวดิ ้ ่ง (Vertical) และในแนวรำบ (Horizontal) ซึง่ เริ่ มจำกกำรสรรหำวัตถุดิบที่ ใช้ ในกำรผลิตอำหำรสัตว์ กำรผลิตและจำหน่ำยอำหำรสัตว์ กำรเพำะพันธุ์สตั ว์ กำรเลี ้ยงสัตว์ กำร แปรรูปเนื ้อสัตว์ กำรผลิตสินค้ ำอำหำรจำกเนื ้อสัตว์ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจสัตว์บก ซึ่งครอบคลุมสินค้ ำหลักในกลุม่ ของไก่เนื ้อ ไก่ไข่ เป็ ด สุกร และธุรกิจสัตว์น ้ำ ซึ่งครอบคลุมสินค้ ำ หลักในกลุ่มของกุ้งและปลำ โดยผลิตภัณฑ์ ในแต่ละธุ รกิ จยังสำมำรถแบ่งได้ เป็ น 3 หมวดหลัก ได้ แก่ 1) หมวดอำหำรสัตว์ หมวดพันธุ์สตั ว์ 2) หมวดเนื ้อสัตว์ (รวมถึงสัตว์มีชีวิต) และ 3) เนื ้อสัตว์ ปรุงสุกและผลิตภัณฑ์อำหำรพร้ อมรับประทำน โดยมีรำยละเอียดดังนี ้ 1. ธุรกิจสัตว์บก เป็ นกำรดำเนินธุรกิจครบวงจรโดยมีผลิตภัณฑ์หลักในกลุม่ ของไก่เนื ้อ ไก่ไข่ สุกร และเป็ ด ซึ่งสำมำรถจ ำแนกธุ รกิ จออกเป็ น 3 หมวดหลัก คือ 1) หมวดอำหำรสัตว์ 2) หมวดพันธุ์สตั ว์ และ 3) หมวดเนื ้อสัตว์และผลิตภัณฑ์อำหำร โดยมีรำยละเอียดกำรประกอบธุรกิจ พอสังเขป ดังนี ้ 1.1 หมวดอำหำรสัตว์ บริ ษัท เป็ นผู้นำและผู้บุกเบิกในกำรผลิตและจำหน่ำยอำหำร สัตว์บก มีกำรผลิตอำหำรสัตว์ทงในรู ั ้ ปหัวอำหำรปละอำหำรสำเร็ จรูปชนิดผง และชนิดเม็ด สำหรับ เลี ้ยงไก่เนือ้ ไก่ ไข่ สุกร เป็ ด และอื่ นๆ จำหน่ำยผ่ำนตัว แทนจำหน่ำยอำหำรสัตว์ และจำหน่ำ ย โดยตรงให้ แก่ฟำร์ มเลี ้ยงสัตว์ ข นำดใหญ่ ในประเทศไทย ในกำรผลิตอำหำรสัตว์ บริ ษัท นำเอำ พืชผลทำงกำรเกษตร ได้ แก่ ข้ ำวโพด กำกถั่วเหลือง ปลำยข้ ำว เป็ นต้ น มำผลิต โดยมีกำรควบคุม สูตรอำหำรและกำรผลิตทุกขัน้ ตอนด้ วยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ ได้ อำหำรสัตว์ที่มีคุณภำพสม่ำเสมอ และได้ มำตรฐำนตำมที่กำหนด ได้ มีกำรใช้ ระบบสุม่ ตรวจเพื่อตรวจสอบมำตรฐำนคุณภำพของ วัตถุดิบและสินค้ ำ กำรตรวจสอบที่สำยกำรผลิตต่ำงๆ จะช่วยเพิ่มควำมมั่นใจต่อ คุณภำพของ ผลิตภัณฑ์ ด้ วยสถำนะควำมเป็ นผู้นำในธุรกิ จ และมีผลิตภัณฑ์ที่มีตรำสินค้ ำที่เป็ นที่ร้ ู จักแพร่ หลำย ดังนัน้ กลยุทธ์ ทำงกำรตลำดที่สำคัญ คือ กำรรั กษำมำตรฐำนคุณภำพของผลิตภัณฑ์ และกำร ให้ บริ กำรให้ ดีเสมออย่ำงต่อเนื่อง แต่ด้วยภำวะอุตสำหกรรมกำรเลี ้ยงสัตว์ที่มีอุปสรรคมำกเพิ่มขึ ้น นัน้ บริ ษัท จึงได้ ให้ ควำมสำคัญด้ ำนกำรส่งเสริ มกำรขำยมำกขึ ้น


113 1.2 หมวดพันธุ์สตั ว์ บริ ษัท เป็ นผู้นำในกำรวิจัยและพัฒนำปรับปรุ งสำยพันธุ์สตั ว์ ตำมธรรมชำติ เพื่อให้ ได้ มำซึ่งพันธุ์สตั ว์ที่มีคุณภำพ แข็งแรง และเหมำะสมกับสภำพกำรเลี ้ยงใน ประเทศ โดยมีกำรผลิตลูกไก่พอ่ แม่พนั ธุ์เนื ้อ ลูกไก่พอ่ แม่พนั ธุ์ ไข่ สุกรพ่อแม่พนั ธุ์ ลูกไก่เนื ้อ ลูกไก่ไข่ ไก่รุ่นไข่ ลูกเป็ ดเนื ้อ และลูกสุกร จำหน่ำยให้ กบั เกษตรกรที่ทำฟำร์ มเลี ้ยงสัตว์และตัวแทนจำหน่ำย ในประเทศ สำหรับกำรเพำะพันธุ์ สตั ว์ บก กระบวนกำรผลิตมี ลกั ษณะต่อเนื่องกันเนื่องจำกเป็ น ธุรกิจครบวงจร วัตถุดิบที่ใช้ ในกำรเพำะพันธุ์สตั ว์บกจึงเริ่ มตังแต่ ้ กำรนำเข้ ำพันธุ์มำจำกต่ำงประเทศ เพื่อนำมำเพำะพ่อแม่พนั ธุ์และเลี ้ยงต่อในฟำร์ มของบริ ษัท โดยในส่วนของปู่ ย่ำพันธุ์สว่ นใหญ่เป็ น กำรนำเข้ ำจำกต่ำงประเทศ ส่วนพ่อแม่พนั ธุ์และอำหำรสัตว์สว่ นใหญ่มำจำกผลผลิตของกลุม่ บริ ษัท ซีพีเอฟเอง ฟำร์ มพันธุ์สตั ว์ของบริ ษัท กระจำยอยู่ในหลำยจังหวัดทัว่ ประเทศไทย โดยมีระบบกำร จัดกำรเลี ้ยงสัตว์ที่ดี เป็ นระบบโรงเรื อนปิ ดปรับอำกำศ (Evaporative Cooling System) ใช้ เทคนิค กำรเลี ้ยงที่ทนั สมัยมีระบบควบคุมและป้องกันโรคที่มีประสิทธิภำพ ทำให้ มีผลผลิตที่มีคุณภำพเป็ น ที่ต้องกำรของตลำด โดยรำคำพันธุ์ สตั ว์ นนขึ ั ้ ้นอยู่กับ ควำมต้ อ งกำรใช้ แ ละปริ มำณผลผลิตที่ มี จำหน่ำยในประเทศไทย และคุณภำพของผลิตภัณฑ์ นอกจำกนันบริ ้ ษัท มีบริ กำรหลังกำรขำยโดย มีสำนักงำนตัง้ กระจำยอยู่ทั่วประเทศ สำหรั บเป็ นศูนย์ กลำงเผยแพร่ เทคนิคกำรเลี ้ยงสัตว์ ให้ แก่ เกษตรกรอย่ำงถูกวิธี พร้ อมกับช่วยในเรื่ องของกำรจัดกำรด้ ำนกำรตลำดและกำรจัดจำหน่ำย 1.3 หมวดเนือ้ สัตว์และผลิตภัณฑ์อ ำหำร ผลิตภัณฑ์ในหมวดนี ้สำมำรถแบ่งย่อ ย ตำมขัน้ ตอนกำรผลิตเป็ น 2 ประเภท ได้ แ ก่ กำรเลี ้ยงสัตว์ เพื่อ กำรค้ ำ กำรแปรรู ปและกำรผลิต ผลิตภัณฑ์อำหำรปรุงสุก ดังมีรำยละเอียดต่อไปนี ้ 1.3.1 กำรเลี ้ยงสัตว์เพื่อกำรค้ ำ ผลิตภัณฑ์จำกกำรเลี ้ยงสัตว์เพื่อกำรค้ ำ ได้ แก่ ไก่มีชีวิต ไข่ไก่ เป็ ดมีชี วิตและสุกรเนื ้อมีชีวิต โดยจำหน่ำยให้ กับตัวแทนจำหน่ำยทัว่ ประเทศหรื อ เป็ นกำรจำหน่ำยในท้ องถิ่ น หรื อเป็ นกำรจำหน่ำยให้ ผ้ คู ้ ำส่งและผู้ค้ำปลีก หรื อเป็ นกำรจำหน่ำย ให้ กับโรงงำนแปรรู ป ทัง้ ของกลุ่มบริ ษั ทเองและโรงงำนแปรรู ป อื่ นๆ ในประเทศไทย โดยรำคำ จำหน่ำยนันผั ้ นแปรไปตำมปริ มำณควำมต้ องกำรและปริ มำณผลผลิตที่มีจำหน่ำยในประเทศไทย บริ ษัท มีกำรดำเนินกำรด้ ำนฟำร์ มเลี ้ยงสัตว์ ด้ วยกำรให้ ควำมสำคัญด้ ำนกำรวิจัยและพัฒนำวิธี เลีย้ งให้ ทันสมัย เหมำะสมกับ สภำพกำรเลี ้ยงในประเทศ และมี ร ะบบควบคุม ป้ องกัน โรคที่ มี ประสิทธิภำพ ทำให้ สตั ว์เติบโตเร็ ว อัตรำแลกเนื ้อดี (คือ เมื่อเปรี ยบเทียบปริ มำณอำหำรที่ใช้ เลี ้ยง เท่ำกัน ผลผลิตของสัตว์นำ้ ที่เลี ้ยงด้ วยอำหำรสัตว์น ้ำของบริ ษัท เทียบเป็ นน ้ำหนักดีกว่ำค่ำเฉลี่ย


114 ของอุต สำหกรรม) ทำให้ ผ ลผลิต สูงและประหยัด ต้ นทุน นอกจำกนี ้ บริ ษัท ยัง มี ส ำนัก งำนตัง้ กระจำยอยูท่ วั่ ประเทศสำหรับเป็ นศูนย์กลำงเผยแพร่ เทคนิคกำรเลี ้ยงสัตว์ให้ แก่เกษตรกรอย่ำงถูก วิธี ท ำให้ ไ ด้ ส ัต ว์ ที่ เ ติ บ โตเร็ ว พร้ อมกับ ช่ว ยในเรื่ อ งของกำรจัดกำรด้ ำนกำรตลำด และกำรจัด จำหน่ำยด้ วย ในส่วนของกำรเลี ้ยงสัตว์นี ้ บริ ษัท มีโครงกำรส่งเสริ มกำรเลี ้ยงสัตว์ให้ กับเกษตรกรอัน ได้ แ ก่ สุกรเนือ้ และไก่เ นื อ้ โดยบริ ษัท จะด ำเนิ น กำรคัดเลือ กเกษตรกรที่ มีพื น้ ที่เ ลี ้ยงสัตว์ แ ละ อุปกรณ์ กำรเลี ้ยงของตนเอง ซึ่งหำกผ่ำนกำรคัดเลือ ก บริ ษัทจะให้ ควำมสนับสนุนด้ ำนพันธุ์ สตั ว์ อำหำรสัตว์ ยำสัต ว์ และให้ ควำมรู้ ด้ ำ นวิ ธีก ำรเลี ้ยงสัตว์ แก่ เ กษตรกร ทังนี ้ ้ เกษตรกรจะได้ รั บ ค่ำตอบแทนตำมปริ มำณสัตว์ที่เลี ้ยงได้ สำเร็ จได้ ตำมมำตรฐำนของบริ ษัท ซึ่งเกษตรกรที่เข้ ำร่ วม โครงกำรของบริ ษัทส่วนใหญ่ใช้ ระบบปิ ดปรับอำกำศ (Evaporative Cooling System) ในกำรเลี ้ยง เช่นเดียวกับบริ ษัท 1.3.2 กำรแปรรู ปและกำรผลิตผลิตภัณฑ์อ ำหำรปรุ งสุก ในกำรแปรรู ป บริ ษัท นำผลผลิตจำกฟำร์ มเลี ้ยงสัตว์ ได้ แก่ ไก่เนื ้อ เป็ ดและสุกร ส่งไปโรงงำนแปรรู ปเพื่อผลิตเนื ้อสัตว์ ชิน้ ส่วน โดยแยกชิน้ ส่วนและตัดแต่งชิ ้นส่วนตำมที่ตลำดต้ อ งกำร แล้ วนำไปบรรจุและแช่แข็งเพื่อ จำหน่ำยเป็ นผลิตภัณฑ์เนื ้อสัตว์แช่เย็นแช่แข็ง ให้ แก่ผ้ คู ้ ำส่ง ผู้ค้ำปลีกในประเทศ และส่งออกผ่ำนผู้ นำเข้ ำในต่ำงประเทศ โดยรำคำนันผั ้ นแปรไปตำมปริ มำณควำมต้ องกำรและปริ มำณผลผลิตที่มี จำหน่ำยในประเทศไทยและตลำดโลก หรื อเป็ นรำคำที่ตกลงกัน สำหรับสินค้ ำที่ผลิตตำมคำสัง่ ซื ้อ ของลูกค้ ำ นอกจำกนัน้ บริ ษัท ได้ นำผลิตภัณฑ์ที่ได้ จำกกำรแปรรู ปไปเพิ่มมูลค่ำเป็ นสินค้ ำอำหำร ปรุงสุก และผลิตภัณฑ์อำหำรพร้ อมรับประทำน โดยนำไปผสมเครื่ องปรุงรส และทำให้ สกุ โดยผ่ำน ขบวนกำรต้ ม นึง่ ทอด อบ และย่ำง ตำมควำมต้ องกำรของลูกค้ ำ จำกนันจึ ้ งนำไปแช่แข็งแล้ วเก็บไว้ ในห้ องเย็น เพื่อรอกำรจัดจำหน่ำยให้ แก่ผ้ คู ้ ำส่งและผู้ค้ำปลีก ร้ ำนอำหำรประเภทฟำสต์ฟ้ ูด (Fast Food) และช่ องทำงกำรจ ำหน่ำ ยแบบใหม่ (Modern Trade) เช่ น ดิ สเคำนท์ ส โตร์ (Discount Store) และซูเปอร์ มำร์ เก็ต เป็ นต้ น ส่วนกำรส่งออกเป็ นกำรขำยผ่ำนผู้นำเข้ ำในต่ำงประเทศ โดย ประเทศที่นำเข้ ำหลัก ได้ แก่ สหภำพยุโรป ญี่ ปนุ่ และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย ผลิตภัณฑ์อำหำรปรุ ง สุกที่จำหน่ำยในประเทศและส่งออก เช่น ไก่คำรำเกะแช่แข็ง ไก่ห่อสำหร่ ำย ไก่เทอริ ยำกิ เป็ ดย่ำง อกไก่นงึ่ แช่แข็ง ข้ ำวแกงเขียวหวำนไก่ เต้ ำหู้ไก่ ลูกชิ ้น และไส้ กรอก เป็ นต้ น โดยรำคำนันเป็ ้ นรำคำที่ ตกลงกันกับลูกค้ ำในแต่ละครัง้ ที่ทำสัญญำซื ้อขำย ผลิตภัณฑ์ในส่วนนี ้ บริ ษัท ได้ ให้ ควำมสำคัญใน กำรผลิตสินค้ ำอำหำรภำยใต้ ตรำสินค้ ำของบริ ษัท เอง จัดจำหน่ำยทังในและส่ ้ งออกไปจำหน่ำยยัง ต่ำงประเทศด้ วย


115 2. ธุ ร กิ จ สัต ว์ น ำ้ เป็ นกำรด ำเนิ น ธุ ร กิ จ ครบวงจร โดยมี ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ส่ว นใหญ่ คื อ ผลิตภัณฑ์ในกลุม่ ของกุ้ง และบำงส่วนในกลุม่ ของปลำ ซึ่งสำมำรถจำแนกธุรกิจออกเป็ น 3 หมวด หลัก 1) หมวดอำหำรสัตว์ 2) หมวดพันธุ์สตั ว์ และ 3) หมวดเนื ้อสัตว์และผลิตภัณฑ์อำหำร โดยมี รำยละเอียดกำรประกอบธุรกิจพอสังเขป ดังนี ้ 2.1 หมวดอำหำรสัตว์ บริ ษัท เป็ นผู้นำและผู้บุกเบิกในกำรผลิตและจำหน่ำยอำหำร สัต ว์ น ำ้ ซึ่ง เป็ นผลิต ภัณ ฑ์ ห ลัก ที่ ส ำคัญ ได้ แ ก่ อำหำรกุ้ง โดยมี ก ำรผลิต อำหำรสัต ว์ ทัง้ ในรู ป หัวอำหำรและอำหำรสำเร็ จรู ปชนิดผงและชนิดเม็ด จำหน่ำยผ่ำนตัวแทนจำหน่ำยอำหำรสัตว์ที่มี อยู่ในบริ เวณพื ้นที่เลี ้ยงกุ้งทั่วประเทศ และบำงส่วนจำหน่ำยโดยตรงให้ แก่เกษตรกร ในกำรผลิต อำหำรสัตว์น ้ำนัน้ บริ ษัท นำเอำพืชผลทำงกำรเกษตร ได้ แก่ กำกถั่วเหลือง ปลำป่ น และแป้งสำลี เป็ นต้ น มำผลิตโดยมี กำรควบคุมสูตรอำหำรและกำรผลิตทุกขันตอนด้ ้ วยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ ได้ อำหำรสัตว์น ้ำที่มีคณ ุ ภำพสม่ำเสมอและได้ มำตรฐำนตำมที่กำหนด ได้ มีกำรใช้ ระบบสุม่ ตรวจเพื่อ ตรวจสอบมำตรฐำนคุณภำพของวัตถุดิบและสินค้ ำ กำรตรวจสอบที่สำยกำรผลิตต่ำงๆ จะช่วยเพิ่ม ควำมมั่นใจต่อคุณภำพของผลิตภัณฑ์ และเหมำะสมกับกำรเลี ้ยงในประเทศไทย อันจะส่งผลให้ สัตว์น ้ำที่เลี ้ยงมีอัตรำแลกเนื ้อดี คือ เมื่อเปรี ยบเทียบปริ มำณอำหำรที่ใช้ เลี ้ยงเท่ำกัน ผลผลิตของ สัตว์น ้ำที่เลี ้ยงด้ วยอำหำรสัตว์น ้ำของบริ ษัท เทียบเป็ นน ้ำหนักดีกว่ำค่ำเฉลีย่ ของอุตสำหกรรม จำกกำรที่บริ ษัท เป็ นผู้นำในธุรกิจ และผลิตภัณฑ์เป็ นที่ร้ ู จักแพร่ หลำยในกลุม่ ลูกค้ ำ ของบริ ษัท ดังนัน้ กลยุทธ์ ทำงกำรตลำดที่สำคัญ คือ กำรรักษำมำตรฐำนคุณภำพของผลิตภัณฑ์ และกำรให้ บริ กำรให้ ดีอย่ำงต่อเนื่อง บริ ษัท ได้ มีกำรเอำใจใส่ต่อลูกค้ ำโดยสม่ำเสมอ โดยเฉพำะ กำรให้ ควำมรู้ด้ำนวิชำกำรทังแก่ ้ ตวั แทนจำหน่ำยอำหำรสัตว์และเกษตรกรผู้เลี ้ยงสัตว์โดยตรง ทัง้ ในรู ปแบบของกำรจัดสัมมนำทำงวิชำกำร กำรจั ดตังศู ้ นย์ บริ กำรวิชำกำรที่มีนกั วิชำกำรคอยให้ คำปรึกษำและแนะนำแก่เกษตรกร ตลอดจนกำรเผยแพร่ ข่ำวสำรเกี่ยวกับกำรเลี ้ยงสัตว์ในรู ปของ สิง่ พิมพ์ตำ่ งๆ ซึง่ เป็ นกำรช่วยให้ อุตสำหกรรมกำรเลี ้ยงสัตว์นนมี ั ้ ควำมยัง่ ยืน 2.2 หมวดพันธุ์สตั ว์ ผลิตภัณฑ์ในหมวดนี ้เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ ได้ จำกฟำร์ มเพำะพันธุ์ สัตว์น ้ำ โดยผลิตภัณฑ์หลักในหมวดนี ้มีรำยละเอียดพอสังเขปดังนี ้


116 2.2.1 ฟำร์ มเพำะฟั กลูกกุ้ง จำกนโยบำยของบริ ษัท ที่จะให้ อุตสำหกรรมกำร เลี ้ยงกุ้งของไทยมีกำรพัฒนำและยั่งยืนได้ ต่อไป บริ ษัท ได้ มีกำรพัฒนำกำรเพำะฟั กลูกกุ้ง โดยมี เป้ำหมำยที่จะผลิตลูกกุ้งที่มีคุณภำพเพื่อ จำหน่ำยให้ แก่เกษตรกร อันจะเป็ นกำรเพิ่มโอกำสให้ เกษตรกรผู้เ ลีย้ งกุ้ง ได้ ป ระสบผลส ำเร็ จ มำกขึ น้ นอกจำกนี ้ บริ ษั ท ได้ มี ก ำรร่ ว มทุน กับ บริ ษั ท ผู้เชี่ยวชำญด้ ำนพันธุ์ก้ งุ จำกสหรัฐอเมริ กำ เพื่อทำกำรพัฒนำและผลิตลูกกุ้งที่มีคุณภำพเหมำะสม กับสภำพกำรเลี ้ยงในแต่ละพื ้นที่ ฟำร์ มเพำะพันธุ์ก้ งุ ของบริ ษัทตังอยู ้ ่ในบริ เวณพื ้นที่เลี ้ยงกุ้งในภำค ตะวันออก และภำคใต้ ของประเทศไทย โดยมี ระบบกำรจัดกำรที่ดี เป็ นระบบโรงเรื อ นปิ ดปรั บ อำกำศ (Evaporative Cooling System) ใช้ เทคนิคกำรเลี ้ยงที่ทนั สมัยมีระบบควบคุมและป้องกัน โรคที่มีประสิทธิ ภำพ ทำให้ มีผลผลิตที่มีคุณภำพเป็ นที่ต้อ งกำรของตลำด โดยรำคำพันธุ์สตั ว์นนั ้ ขึน้ อยู่กับควำมต้ อ งกำรใช้ และปริ มำณผลผลิต ที่มี จ ำหน่ำยในประเทศไทย และคุณภำพของ ผลิตภัณฑ์ 2.2.2 ฟำร์ มเพำะพันธุ์ปลำ บริ ษัท ได้ มีกำรพัฒนำพันธุ์ปลำเพื่อ จำหน่ำยลูก ปลำให้ เกษตรกรผู้เลี ้ยงปลำ อันรวมถึงพันธุ์ปลำทับทิม ซึ่ง เป็ นปลำที่มีสำยพันธุ์ มำจำกปลำนิล และในปี พ.ศ.2549 บริ ษัท ได้ ประสบควำมสำเร็ จในกำรพัฒนำพันธุ์ปลำมรกต ซึ่งเป็ นปลำที่มีสำย พันธุ์มำจำกปลำกด ฟำร์ มเพำะพันธุ์ปลำของบริ ษัท ตังอยู ้ ่ในบริ เวณภำคกลำง และภำคเหนือของ ประเทศไทย โดยมีระบบกำรจัดกำรที่ดี ใช้ เทคนิคกำรเลี ้ยงที่ทนั สมัยมีระบบควบคุมและป้องกัน โรคที่มีประสิทธิ ภำพ ทำให้ มีผลผลิตที่มีคุณภำพเป็ นที่ต้อ งกำรของตลำด โดยรำคำพันธ์ สตั ว์นนั ้ ขึน้ อยู่กับควำมต้ อ งกำรใช้ และปริ มำณผลผลิต ที่มี จ ำหน่ำยในประเทศไทย และคุณภำพของ ผลิตภัณฑ์ 2.2.3 หมวดเนื ้อสัตว์และอำหำร ผลิตภัณฑ์ในหมวดนี ้สำมำรถแบ่งย่อยตำม ขันตอนกำรผลิ ้ ตได้ 2 ประเภท ได้ แก่ กำรเลี ้ยงสัตว์เพื่อกำรค้ ำ กำรแปรรู ป และกำรผลิตผลิตภัณฑ์ อำหำรปรุงสุก ดังมีรำยละเอียดต่อไปนี ้ 1) กำรเลี ้ยงสัต ว์ เพื่ อ กำรค้ ำ บริ ษั ท ได้ ต ระหนักถึ งควำมสำคัญของ ระบบกำรตรวจสอบย้ อนกลับ (Traceability) ซึ่งทำให้ บริ ษัท ได้ มีกำรขยำยธุรกิจกำรเลี ้ยงกุ้งเพิ่ม มำกขึ ้น อันจะทำให้ บริ ษัท มีกระบวนกำรผลิตที่ครบวงจร สำมำรถมีผลผลิตกุ้งที่มีคุณภำพป้อน ให้ กบั โรงงำนแปรรูปของบริ ษัท หรื อจำหน่ำยให้ กับโรงงำนแปรรู ปสัตว์น ้ำอื่นๆ ในประเทศไทย ใน


117 กำรจัดกำรฟำร์ มเลี ้ยงกุ้งของบริ ษัทนัน้ บริ ษัทใช้ วิชำกำรและเทคโนโลยีต่ำงๆ เพื่อหำวิธีป้องกันโรค ระบำดของกุ้ง และวิธีกำรเลี ้ยงที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อมไม่ให้ มีสำรเคมีตกค้ ำง และเน้ นกำรเลี ้ยง แบบเทคโนโลยีชีวภำพ (Probiotic Farming) ที่หลีกเลีย่ งกำรใช้ ยำและสำรเคมี 2) กำรแปรรู ปและกำรผลิตผลิตภัณฑ์ อ ำหำรปรุ งสุก ผลิตภัณฑ์ ที่ไ ด้ จำกกำรแปรรู ปถื อเป็ นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่สำคัญในหมวดเนื ้อสัตว์และอำหำรของธุรกิ จสัตว์ น ้ำ โดยมีผลิตภัณฑ์หลัก คือ กุ้งสดแปรรูป และกุ้งแปรรูปเพิ่มค่ำ ซึง่ ส่วนใหญ่จะผลิตเพื่อกำรส่งออกใน รูปสินค้ ำแช่เย็นและแช่แข็ง โดยจำหน่ำยผ่ำนทำงผู้นำเข้ ำในต่ำงประเทศ โดยรำคำนันผั ้ นแปรตำม ปริ มำณควำมต้ องกำรและปริ มำณผลผลิตที่มีจำหน่ำยในประเทศไทยและตลำดโลก หรื อเป็ นรำคำ ที่ตกลงกันสำหรั บสินค้ ำที่ผลิตตำมคำสัง่ ซื ้อของลูกค้ ำ นอกจำกนัน้ บริ ษัท ได้ เพิ่มมูลค่ำให้ กับ ผลิตภัณฑ์ก้ งุ แปรรูป คือ กำรแปรสภำพเป็ นสินค้ ำอำหำรปรุ งสุก กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ของบริ ษัท ในกระบวนกำรนี ้ บริ ษัท จะเน้ นกำรแปรสภำพกุ้งให้ เป็ นผลิตภัณฑ์อำหำรทังในรู ้ ปแบบของอำหำร กึ่งสำเร็ จรูปและอำหำรสำเร็ จรูปตำมคำสัง่ ซื ้อของลูกค้ ำ โดยนำไปผสมเครื่ องปรุ งรส และทำให้ สกุ โดยผ่ำนขบวนกำรต้ ม นึ่ง ทอด อบ ย่ำง และอื่นๆ เช่น เกี๊ยวกุ้ง กุ้งต้ มสุก จำกนันจึ ้ งนำไปแช่แข็ง แล้ วเก็บไว้ ในห้ องเย็น เพื่อรอกำรจัดจำหน่ำยให้ แก่ผ้ คู ้ ำส่งและผู้ค้ำปลีกและช่องทำงกำรจำหน่ำย แบบใหม่ (Modern Trade) เช่น ดิสเคำนท์สโตร์ และซูเปอร์ มำร์ เก็ต เป็ นต้ น ผลิตภัณฑ์ในส่วนนี ้ บริ ษั ท ได้ ให้ ค วำมสำคัญ ในกำรผลิต สิน ค้ ำ ภำยใต้ ตรำสินค้ ำ ของบริ ษัท เองจัด จ ำหน่ำ ยทัง้ ใน ประเทศ และส่งออกไปจำหน่ำยยังต่ำงประเทศด้ วย ส่วนกำรส่งออกเป็ นกำรขำยผ่ำนผู้นำเข้ ำใน ต่ำงประเทศ โดยประเทศที่นำเข้ ำหลัก ได้ แก่ สหรั ฐอเมริ กำ ญี่ ปุ่น และกลุ่มประเทศในสหภำพ ยุโรป ซึง่ นอกเหนือจำกกำรใช้ เทคโนโลยีที่ทนั สมัยเพื่อผลิตสินค้ ำให้ ได้ มำตรฐำนแล้ ว บริ ษัทยังให้ ควำมสำคัญอย่ำงมำกในเรื่ องควำมสะอำดและคุณภำพของสินค้ ำ ส่วนในเรื่ องของรำคำนันเป็ ้ น รำคำที่ตกลงกันกับลูกค้ ำในแต่ละครัง้ ที่ทำสัญญำซื ้อขำย 3. กิจกำรที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลัก เพื่อให้ บริ ษัท มีควำมใกล้ ชิดกับตลำดและลูกค้ ำ มำกขึน้ บริ ษัท ได้ มีกำรจัดตัง้ ตัวแทนจำหน่ำย และลงทุนหรื อ ร่ วมลงทุนในกิ จกำรนำเข้ ำสินค้ ำ อำหำรจำกเนือ้ สัตว์ ในหลำยประเทศ อำทิ สหรั ฐอเมริ กำ ญี่ ปุ่น ฮ่อ งกง จี น เบลเยี่ยม อังกฤษ เดนมำร์ ก เป็ นต้ น นอกจำกนัน้ บริ ษัท ได้ จัดตังบริ ้ ษัทย่อยเพื่อประกอบธุรกิจที่เป็ นกำรสนับสนุน กำรดำเนินงำนของบริ ษัท อันรวมถึงธุรกิจเทคโนโลยี สำรสนเทศและระบบงำน ธุรกิจกำรพัฒนำ บุคลำกร ธุรกิจกำรส่งออกสินค้ ำไปจำหน่ำยในต่ำงประเทศ


118 การประกอบธุรกิจในต่ างประเทศ ซีพีเอฟได้ มีกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศผ่ำนบริ ษัทย่อยในธุรกิจต่ำงๆดังนี ้ 1. ธุรกิจไก่ครบวงจร ในประเทศตุรกี ดำเนินกำรโดย C.P. Standart Gida Sanayive Ticaret A.S. (CPS) ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อมในสัดส่วนร้ อยละ 100 CPS ดำเนิน ธุรกิจไก่ครบวงจรในประเทศตุรกี ประกอบด้ วย ธุรกิจผลิตและจำหน่ำยอำหำรสัตว์ และไก่เนื ้อ และ ธุรกิจแปรรูปอำหำร นอกจำกนี ้ ในปี พ.ศ.2550 CPS ได้ เริ่ มมีกำรนำเข้ ำกุ้งแช่แข็งจำกประเทศไทย เพื่อจำหน่ำยในประเทศตุรกี 2. ธุรกิจร้ ำนอำหำรไทย ในประเทศสำธำรณรัฐประชำชนจีน ดำเนินกำรโดย CP Food Product (Shanghai) Co., Ltd. ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อมในสัดส่วนร้ อยละ 100 โดยมีเป้ำหมำยในกำรดำเนินธุรกิจร้ ำนอำหำรไทยในรูปแบบของร้ ำนอำหำรจำนด่วน ที่มีกระบวนกำรดำเนินกำรให้ ได้ มำซึ่งอำหำรไทยที่มีรสชำติได้ มำตรฐำน ปั จจุบนั มีร้ำนอำหำรไทยภำยใต้ ชื่ อ Thai Thai จำนวน 1 ร้ ำนในประเทศสำธำรณรัฐประชำชนจีน 3. ธุ ร กิ จ สัต ว์ น ำ้ ในประเทศสำธำรณรั ฐ ประชำชนจี น ด ำเนิ น กำรโดย C.P. Aquaculture (Beihai) Co., Ltd. และ C.P. Aquaculture (Hainan) Co., Ltd. ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ ซีพีเอฟถือหุ้นทำงตรงในสัดส่วนร้ อยละ 100 โดยมีกำรประกอบธุรกิจผลิตอำหำรสัตว์ ฟำร์ มเพำะเลี ้ยงสัตว์น ้ำ และเพำะพันธุ์สตั ว์น ้ำ จำหน่ำยภำยในประเทศสำธำรณรัฐประชำชนจีน และ C.P. Aquaculture (Dongfang) Co., Ltd. ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงตรงในสัดส่วนร้ อยละ 100 จดทะเบียนจัดตังขึ ้ ้นในปี พ.ศ.2550 เพื่อประกอบธุรกิจเพำะฟั กลูกกุ้งในประเทศสำธำรณรัฐ ประชำชนจีน โดยได้ เริ่ มมีรำยได้ จำกกำรดำเนินธุรกิจในเดือนพฤษภำคม พ.ศ.2550 4. ธุรกิจสัตว์บกและสัตว์น ้ำ ในประเทศอินเดีย ดำเนินกำรโดย Charoen Pokphand (India) Pricate Limited (CP India) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อมในสัดส่วนร้ อยละ 71.20 โดยมีกำรประกอบธุรกิจผลิตอำหำรสัตว์และเลี ้ยงสัตว์ เพื่อจำหน่ำยในประเทศอินเดีย


119 5. ธุรกิจสัตว์น ้ำ ในประเทศมำเลเซีย ดำเนินกำรโดย Star Feedmills (M) Sdn. Bhd. (SFM) และ Asia Aquaculture (M) Sdn. Bhd. (AA) ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อมใน สัดส่วนร้ อยละ 100 ผ่ำนทำง Calibre Nature (M) Sdn. Bhd. ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้น ทำงตรงในสัด ส่วนร้ อยละ 100 โดยมี ก ำรประกอบธุ ร กิ จผลิตและจ ำหน่ำยอำหำรสัต ว์ น ้ำ กำร เพำะเลี ้ยงกุ้งครบวงจร และกำรแปรรูปกุ้งเพื่อจำหน่ำยทังในประเทศและเพื ้ ่อกำรส่งออก 6. ธุ ร กิ จ โรงงำนผลิต สิน ค้ ำ อำหำรแช่ เ ย็ น ในประเทศอัง กฤษ ด ำเนิ น กำรโดย CP Foods (UK) Limited ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อมในสัดส่วนร้ อยละ 52.00 โดยมีกำร ประกอบธุรกิจผลิตผลิตภัณฑ์อำหำรแช่เย็นจำหน่ำยในสหภำพยุโรป 7. ธุ รกิ จสัตว์ บก ในประเทศรั สเซี ย ดำเนินกำรโดย Charoen Pokphand Foods (Overseas), LLC. (CPF Overseas) ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อมในสัดส่วนร้ อยละ 99.99 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตอำหำรสัตว์และเลี ้ยงสัตว์ในประเทศรัสเซีย ปั จจุบนั CPF Overseas มีโรงงำนอำหำรสัตว์ซงึ่ มีกำลังกำรผลิต 240,000 ตันต่อปี 8. ธุรกิจสัตว์บก ในประเทศสำธำรณรัฐประชำธิ ปไตยประชำชนลำว ดำเนินกำรโดย C.P. Laos Co., Ltd. (CP Laos) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงอ้ อมในสัดส่วนร้ อยละ 99.61 CP Laos ได้ รับอนุญำตลงทุน ในปี พ.ศ.2549 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตอำหำรสัตว์และเลี ้ยง สัตว์ในประเทศสำธำรณรัฐประชำธิ ปไตยประชำชนลำว CP Laos เริ่ มมีรำยได้ จำกกำรขำยเมื่อ เดือนกรกฎำคม พ.ศ.2550 9. ธุรกิจสัตว์น ้ำ ในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ดำเนินกำรโดย Charoen Pokphand Foods Philippines Corporation (CPFP) ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทำงตรงในสัดส่วนร้ อยละ 100 จดทะเบียนจัดตังขึ ้ ้นในปี พ.ศ.2550 เพื่อประกอบธุรกิจเพำะฟั กลูกกุ้งในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์


120 โครงสร้ างการประกอบกิจการครบวงจร อำหำรสัตว์ (FEED)

ธุรกิจสัตว์บก

ธุรกิจสัตว์น ้ำ

กำรเลี ้ยงสัตว์ (FARM)

อำหำร (FOOD)

กำรจัดหำ วัตถุดิบ

กำรผลิต อำหำรสัตว์

กำรเพำะ พันธุ์สตั ว์

กำรเลี ้ยงสัตว์ เพื่อกำรค้ ำ

กำรแปรรูป เนื ้อสัตว์ พื ้นฐำน

กำรผลิตเนื ้อสัตว์ กึง่ ปรุงสุก และ ปรุงสุก

อำหำรพร้ อม รับประทำน

ไก่เนื ้อ

ไก่ไข่

สุกร

เป็ ด

กุ้ง

ปลำ

คำจำกัดควำม: ไก่เนื ้อ หมำยถึง สำยพันธุ์ไก่ที่เลี ้ยงเพื่อให้ เนื ้อเพื่อกำรบริ โภค ไก่ไข่ หมำยถึง สำยพันธุ์ไก่ที่เลี ้ยงเพื่อให้ ไข่เพื่อกำรบริ โภค ภาพที่ 3-3 โครงสร้ ำงกำรประกอบกิจกำรครบวงจร ที่มำ : รำยงำน 56-1 ของบริ ษัท


121 โครงสร้ างรายได้ ของซีพีเอฟและบริษัทย่ อย โครงสร้ ำงรำยได้ ของซีพี เอฟและบริ ษัท ย่อ ยตำมงบกำรเงิน รวมสำหรั บ ปี สิ ้นสุด วัน ที่ 31 ธันวำคม 2552 2553 และ 2554 เป็ นดังนี ้ ตารางที่ 3-1 โครงสร้ ำงรำยได้ ของซีพีเอฟและบริ ษัทย่อย ปี 2552

1. กิจกำรประเทศไทย 1.1 ธุรกิ จสัตว์บก (1) อำหำรสัตว์ - ในประเทศ - ส่งออก ผลิตผลจำกฟำร์ มเลี ้ยงสัตว์ - ในประเทศ - ส่งออก อำหำร - ในประเทศ - ส่งออก รวมรายได้จากธุรกิ จสัตว์บก 1.2 ธุรกิ จสัตว์น้า (2) อำหำรสัตว์ - ในประเทศ - ส่งออก ผลิตผลจำกฟำร์ มเลี ้ยงสัตว์ - ในประเทศ - ส่งออก อำหำร - ในประเทศ - ส่งออก

ปี 2553

ปี 2554

ล้ านบาท

ร้ อย ละ

ล้ านบาท

ร้ อย ละ

ล้ านบาท

ร้ อย ละ

26,987 26,987 43,712 43,396 316 24,804 9,539 15,265 95,503

16 16 27 27 15 6 9 58

28,406 28,303 103 46,618 46,230 388 25,628 11,272 14,356 100,652

15 15 24 24 13 6 7 52

33,169 31,957 1,212 52,089 51,579 510 28,400 15,028 13,372 113,658

16 15 1 25 25 13 7 6 54

19,001 19,001 11,853 8,532 3,321 6,643 415 6,228

11 11 7 5 2 4 4

19,541 19,328 213 12,476 7,399 5,077 6,723 475 6,248

10 10 7 4 3 3 3

19,997 19,747 250 12,367 6,770 5,597 8,127 477 7,650

10 10 6 3 3 4 0 4


122 ตารางที่ 3-1 โครงสร้ ำงรำยได้ ของซีพีเอฟและบริ ษัทย่อย (ต่อ) ปี 2552 ล้ านบาท

ปี 2553 ร้ อย ละ

ล้ านบาท

ปี 2554 ร้ อย ละ

รวมรายได้จากธุรกิ จสัตว์น้า 37,497 22 38,740 20 รวมรายได้จากกิ จการประเทศ 133,000 80 139,392 72 ไทย 2. กิจกำรต่ำงประเทศ 2.1 ธุรกิ จสัตว์บก (3) 21,508 13 36,944 19 2.2 ธุรกิ จสัตว์น้า (4) 10,555 6 12,713 7 รวมรายได้จากกิ จการ 32,063 19 49,657 26 ต่างประเทศ ยอดขายสุทธิรวม 165,063 99 189,049 98 รำยได้ อื่น 2,237 1 3,493 2 รวมรายได้ 167,300 100 192,542 100 ที่มำ : 56-1 ปี 2555 ของบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อำหำรจำกัด (มหำชน)

ล้ านบาท

ร้ อย ละ

40,491

20

154,149

74

40,373 11,577

19 6

51,950

25

206,099 2,914 209,013

99 1 100

การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ 1. ควำมแปรปรวนของภูมิอำกำศและสภำวะแวดล้ อม ในปั จจุบนั ภูมิอำกำศทัว่ โลกมีควำมแปรปรวน ซึง่ เป็ นผลจำกปรำกฏกำรณ์ เอลนีโญ (El Nino) และลำนีญำ (La Nina) ทำให้ เกิดภัยพิบตั ิทงจำกน ั้ ้ำท่วมหรื อควำมแห้ งแล้ ง ภัยพิบตั ิทำง ธรรมชำติเหล่ำนีไ้ ด้ ทวีควำมรุ นแรง และเกิดขึ ้นบ่อยครั ง้ กว่ำในอดีต ทำให้ มีผลกระทบต่อ ระบบ นิเวศน์ และเกิดควำมเสียหำยต่อกำรเกษตรทังปริ ้ มำณผลผลิตทำงกำรเกษตรและกำรเลี ้ยงสัตว์ กำรผลิต กำรขนส่ง ตลอดจนรำคำสินค้ ำและกำรบริ โภค ในฐำนะที่บริ ษัทเป็ นทังผู ้ ้ ผลิตสินค้ ำทำง กำรเกษตรและอำหำร ซึ่งต้ องใช้ สินค้ ำทำงกำรเกษตรเป็ นวัตถุดิบในกำรผลิต กำรแปรปรวนของ ภูมิ อำกำศและสภำวะแวดล้ อ มจึง เป็ นควำมเสี่ยงส ำคัญที่ เกิ ด จำกปั จจัย ภำยนอกที่ บริ ษัท ไม่


123 สำมำรถหลีกเลี่ยงและขจัดออกไปได้ ดังนันบริ ้ ษัทต้ องมีกำรติดตำมอย่ำงใกล้ ชิดเพื่อให้ สำมำรถ แก้ ไขปั ญหำต่ำงๆ ได้ ทนั เวลำ อันจะทำให้ ควำมเสียหำยต่ำงๆ ลดลง บริ ษัทจึงได้ มีกำรบริ หำรจัดกำรเพื่อลดควำมเสีย่ งที่เกิดจำกภัยธรรมชำติ โดยทำกำร สำรวจพื ้นที่ในกำรจัดตังฟำร์ ้ ม /โรงงำน ให้ อยู่ในบริ เวณที่เหมำะสม ออกแบบฟำร์ มให้ มีระบบกำร เลีย้ งที่ ทัน สมั ย เพื่ อ ลดปั ญหำในกำรเลี ้ยงถ้ ำเกิ ด สภำวะอำกำศแปรปรวน มี ค ณะกรรมกำร บริ หำรงำนภำยใต้ สภำวะวิกฤติ (Crisis Management Team) เพื่อให้ สำมำรถบริ หำรจัดกำรใน กรณีที่เกิดสภำวะวิกฤติได้ จัดทำแผนฉุกเฉินในกรณีที่เกิดภัยพิบตั ิต่ำงๆ เพื่อให้ สำมำรถปรับตัว และเตรี ยมกำรได้ อย่ำงทันเวลำ เพื่อลดควำมเสียหำยของบริ ษัท และพนักงำน นอกจำกนัน้ ยังทำ กำรติดตำมข้ อมูลสภำวะภูมิอำกำศอย่ำงใกล้ ชิดและต่อ เนื่อ งเพื่อ ให้ มีข้อ มูลในกำรคำดกำรณ์ ผลผลิตทำงกำรเกษตรทัว่ โลกที่ใกล้ เคียงควำมจริ ง 2. กำรเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค กำรเปลีย่ นแปลงในสภำพสังคม โครงสร้ ำงประชำกร สภำวะเศรษฐกิจ และลักษณะ ทำงภูมิศำสตร์ ย่อมส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมในกำรบริ โภคสินค้ ำให้ มีกำรเปลี่ยนแปลงไป กำร เปลี่ยนแปลงพฤติ กรรมของผู้บริ โ ภคดังกล่ำวย่อ มส่งผลกระทบต่อ กำรพัฒ นำผลิตภัณฑ์ และ บริ กำรของบริ ษัท ซึ่งจะมีผลต่อกำรเติบโตของบริ ษัทในฐำนะผู้ผลิตอำหำรรำยสำคัญที่มีกำรจัด จำหน่ำยทังในประเทศ ้ และต่ำงประเทศทัว่ โลก บริ ษัทได้ ทำกำรศึกษำและติดตำมแนวโน้ มกำรเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมและควำมพึ ง พอใจของผู้บริ โภค ทัง้ ในประเทศ และต่ำงประเทศ เพื่อให้ บริ ษัทสำมำรถปรั บปรุ งกำรวำงแผน พัฒนำผลิตภัณฑ์และบริ กำร และกำรตลำด เพื่อตอบสนองต่อควำมต้ องกำรของผู้บริ โภคได้ อย่ำง เหมำะสม 3. กำรลงทุนและกำรดำเนินงำนในต่ำงประเทศ บริ ษัทได้ มีกำรขยำยกำรดำเนินงำนไปยังประเทศต่ำงๆ ทัว่ โลก โดยมีกำรศึกษำและ วิเครำะห์ อย่ำงละเอี ยดรอบคอบในกำรลงทุนแต่ละครั ง้ ในปี 2554 บริ ษัทมีรำยได้ จำกกิ จกำร


124 ต่ำงประเทศคิดเป็ นร้ อยละ 25 ของยอดขำยรวม (ดูรำยละเอี ยดเพิ่มเติมของเงินลงทุนในต่ำงประเทศของบริ ษัท ในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินข้ อ 10 เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย สำหรับปี สิ ้นสุด วันที่ 31 ธันวำคม 2554) กำรขยำยกำรดำเนินงำนไปยังต่ำงประเทศเป็ นกำรเพิ่มโอกำสทำงธุรกิจ และยังเป็ นกำรกระจำยควำมเสี่ยงที่เกิดจำกกำรกระจุกตัวกำรลงทุน อย่ำงไรก็ตำมกำรลงทุนใน ต่ำงประเทศทำให้ บริ ษัทอำจได้ รับผลกระทบจำกกำรเปลีย่ นแปลงต่ำงๆ ของแต่ละประเทศที่บริ ษัท เข้ ำไปลงทุนที่ สำคัญ ได้ แ ก่ ด้ ำ นกฎหมำย ด้ ำ นกำรเมื อ ง เศรษฐกิ จ ด้ ำนแรงงำน รวมทังกำร ้ เปลีย่ นแปลงของอัตรำแลกเปลีย่ นเงินตรำต่ำงประเทศ เป็ นต้ น ผลกระทบจำกสิ่งต่ำงๆ ที่บริ ษัทไม่ สำมำรถควบคุมได้ เหล่ำนี ้ อำจส่งผลให้ ผลกำรดำเนินงำนในแต่ละประเทศไม่เป็ นไปตำมเป้ำหมำย ที่บริ ษัทกำหนดไว้ บริ ษั ทได้ มี กำรก ำหนดนโยบำยกำรลงทุนในแต่ล ะประเทศไว้ อ ย่ำงชัด เจน และ ทำกำรศึกษำควำมเป็ นไปได้ ของกำรลงทุนในแต่ละประเทศอย่ำงละเอียดรอบคอบก่อนที่จะเข้ ำไป ทำกำรลงทุนในประเทศนัน้ ๆ ทำกำรติดตำมดูแลกำรดำเนินงำนอย่ำงใกล้ ชิด โดยกำรแต่งตัง้ ตัวแทนกรรมกำรผู้จัดกำรและผู้บริ หำรทำงกำรเงินเข้ ำไปดูแลกำรดำเนินงำนในแต่ละประเทศ บริ ษัทได้ มีกำรติดตำมผลกระทบจำกปั จจัยต่ำงๆ ตำมที่กล่ำวข้ ำงต้ นอย่ำงสม่ำเสมอ นอกจำกนัน้ บริ ษัทยังมีหน่วยงำนที่คอยติดตำมเกี่ยวกับกำรเปลีย่ นแปลงทำงกฎหมำย และกฎระเบียบทำงกำร ค้ ำของแต่ละประเทศ เพื่อให้ ข้อมูลข่ำวสำรแก่ผ้ บู ริ หำรในแต่ละประเทศ รวมทังได้ ้ มีกำรจัดประชุม ผู้บริ หำรในต่ำงประเทศที่ประเทศไทยอย่ำงน้ อยทุก 6 เดือน เพื่อพิจำรณำผลกำรดำเนินงำนและ พิจำรณำปรับปรุงกำรดำเนินงำนเพื่อให้ ผลกำรดำเนินงำนในแต่ละประเทศเป็ นไปตำมเป้ำหมำยที่ กำหนดไว้ ความเสี่ยงด้ านการดาเนินงาน 1. ควำมปลอดภัย และคุณภำพของสินค้ ำ บริ ษัทมีชื่อเสียงในฐำนะผู้ผลิตอำหำรชันน ้ ำ ควำมสด สะอำด และควำมปลอดภัย ของสินค้ ำเนื ้อสัตว์และอำหำรที่บริ ษัทผลิต เป็ นส่วนสำคัญในกำรสร้ ำงควำมเชื่อมั่นของผู้บริ โภค ต่อคุณภำพผลิตภัณฑ์ของบริ ษัท และเป็ นส่วนหนึง่ ที่ทำให้ บริ ษัทเป็ นผู้นำในกำรผลิตสินค้ ำเนื ้อสัตว์ และอำหำรในตลำดโลก บริ ษัทคำนึงถึงควำมเสี่ยงในเรื่ องควำมปลอดภัยของอำหำรที่อำจเกิดขึ ้น


125 จำกกำรที่มีสนิ ค้ ำเน่ำเสีย หรื อมีสำรปนเปื อ้ นในสินค้ ำ ซึ่งอำจเกิดขึ ้นได้ ตลอดทังกระบวนกำรผลิ ้ ต กำรขนส่ง กำรจั ด เก็ บ จนกระทั่ ง ถึ ง มื อ ผู้ บ ริ โ ภค ดัง นัน้ บริ ษั ท จ ำเป็ นอย่ ำ งยิ่ ง ต้ อ งจั ด ให้ มี กระบวนกำรทำงำนที่มั่นใจได้ ว่ำผู้บริ โภคสินค้ ำของบริ ษัทจะได้ บริ โภคสินค้ ำที่มีควำมสด สะอำด และปลอดภัย บริ ษั ทได้ มี ก ำรจัดให้ มีก ระบวนกำรผลิตที่ เป็ นมำตรฐำนสำกล มี กำรตรวจสอบ ย้ อนกลับ และกำรรับประกันคุณภำพ (Quality Assurance) โดยทำกำรควบคุมคุณภำพสินค้ ำ ตังแต่ ้ กำรเลือกวัตถุดิบที่มำใช้ ในกำรผลิต กำรตรวจรั บวัตถุดิบ กระบวนกำรผลิต กำรออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ กำรบรรจุหีบห่อ กำรขนส่ง จนกระทัง่ ถึงกำรจัดเก็ บสินค้ ำที่ผ้ จู ัดจำหน่ำยก่อนถึงมื อ ผู้บ ริ โ ภค ให้ เ ป็ นไปตำมมำตรฐำนที่ ก ำหนดไว้ รวมทังมี ้ ก ำรจัด กำรให้ มี ก ำรตอบสนองต่อ ข้ อ ร้ อ งเรี ยน หรื อกำรเรี ยกคืนสินค้ ำ (Product Recall) ในกรณี ที่จำเป็ นอย่ำงรวดเร็ ว เพื่อ ควำม ปลอดภัยของผู้บริ โภค 2. กำรเกิดโรคระบำดต่ำงๆ ในสัตว์ แม้ วำ่ โรคระบำดต่ำงๆ ที่เกิดขึ ้นในสัตว์ ส่วนใหญ่อำจไม่สำมำรถติดต่อถึงคนได้ แต่ กำรเกิ ดโรคระบำดในสัตว์ก็สร้ ำงควำมตื่นตระหนกและควำมเชื่อ มั่นในควำมปลอดภัยของกำร บริ โภคเนื ้อสัตว์ ทำให้ มีกำรบริ โภคลดลงได้ และส่งผลกระทบโดยตรงต่อกำรดำเนินงำนของบริ ษัท ในฐำนะที่บริ ษัทเป็ นผู้นำในกำรผลิตและส่งออกเนื ้อสัตว์ รวมทังอำหำรแปรรู ้ ปทังในประเทศ ้ และ ต่ำงประเทศ บริ ษัทจึงมี ควำมเสี่ยงในกรณี ที่มีกำรเกิ ดโรคระบำดในสัตว์ ซึ่งอำจมิ ใช่กำรระบำด เฉพำะในประเทศเท่ำนัน้ ยังอำจเกิดโรคระบำดในต่ำงประเทศได้ อีกด้ วย บริ ษัทได้ มีกำรติดตำม ดูแล และเฝ้ำระวังกำรเกิดโรคระบำดในสัตว์ทงในประเทศ ั้ และต่ำงประเทศ ให้ มีกำรศึกษำ ค้ นคว้ ำ วิจัย และปรับปรุ งเทคโนโลยีกำรเลี ้ยงสัตว์ กำรจัดกำร ฟำร์ ม สุข ำภิ บำล กำรดูแ ลสัต ว์ อ ย่ำ งต่อ เนื่ อ ง ทัง้ ในส่ว นฟำร์ ม ของบริ ษั ท เอง หรื อ ฟำร์ ม ของ เกษตรกรคู่สญ ั ญำให้ มีกำรจัดกำรฟำร์ มตำมมำตรฐำนกำรจัดกำรฟำร์ มที่กำหนดโดยหน่วยงำน ของรัฐที่มีหน้ ำที่กำกับดูแล นอกจำกนัน้ บริ ษัทยังได้ จัดให้ มีสตั วบำลในกำรดูแลและให้ คำปรึ กษำ แก่เกษตรกรตลอดเวลำ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ำเกษตรกรคู่สญ ั ญำได้ ทำกำรเลี ้ยงสัตว์ให้ ได้ ตำมมำตรฐำน และมีกำรควบคุมดูแลโรคตำมมำตรฐำนของทำงกำรและของบริ ษัท นอกจำกนี ้บริ ษัทยังได้ มีกำร


126 พัฒ นำบุ ค ลำกรของบริ ษั ท ให้ มี ค วำมรู้ ควำมเข้ ำ ใจเกี่ ย วกับ กำรระบำดของโรคให้ ทัน สมั ย ตลอดเวลำ รวมทัง้ มี กำรประเมินหำปั จจัยเสี่ยงของกำรเกิดโรคระบำด ตลอดจนกำรจัดทำกำร เตือนภัยล่วงหน้ ำ (Early Warning) เพื่อป้องกันกำรเกิดโรคระบำดไม่ให้ เกิดกำรแพร่กระจำย 3. ประสิทธิภำพในกำรบริ หำรจัดกำรด้ ำนห่วงโซ่อุปทำน กำรที่จะบรรลุถึงเป้ำหมำยกำไรของบริ ษัท มิได้ มีแต่กำรเพิ่มในส่วนของยอดขำย เท่ำนัน้ กำรบริ หำรกำรจัดกำรต้ นทุน กำรเพิ่มผลผลิต (Productivity) และกำรจัดกำรด้ ำนห่วงโซ่ อุปทำนเป็ นปั จจัยสำคัญในกำรเพิ่มมูลค่ำของกิจกำร หำกบริ ษัทขำดประสิทธิ ภำพ หรื อขำดบูรณำ กำรในกำรดำเนินกิจกรรมตังแต่ ้ กำรพยำกรณ์ยอดขำย กำรวำงแผนกำรผลิต กำรจัดซื ้อ กำรจัดกำร คลังสินค้ ำตลอดจนกำรจัดส่งสินค้ ำให้ ลูกค้ ำ ย่อ มก่อ ให้ เกิ ดต้ นทุนกำรผลิตที่เ พิ่มสูงขึน้ โดยไม่ จำเป็ น รวมทังอำจมี ้ ผลกระทบต่อคุณภำพของสินค้ ำ ซึง่ อำจทำให้ เกิดกำรสูญเสียควำมสำมำรถใน กำรแข่งขันได้ บริ ษัท ตระหนัก ถึงควำมส ำคัญ ของกำรบริ หำรห่วงโซ่อุ ปทำนในกำรสร้ ำงมูลค่ำ (Value Chain) ของบริ ษัท บริ ษัทจึงได้ มีกำรบริ หำรจัดกำร โดยใช้ เทคโนโลยีเข้ ำมำช่วยเพื่อให้ มี กำรวิเครำะห์ กำรวำงแผน และกำรตัดสินใจต่ำงๆ ทำให้ บริ ษัทสำมำรถปรั บปรุ งกระบวนกำร ทำงำนอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อให้ เกิดประสิทธิภำพสูงสุดในกำรปฏิบตั ิงำน 4. ควำมผันผวนของรำคำสินค้ ำโภคภัณฑ์ 4.1 ควำมผันผวนของรำคำวัตถุดิบที่ใช้ ในกำรผลิตอำหำรสัตว์ เนื่องจำกวัตถุดิบหลักในกำรผลิตอำหำรสัตว์เป็ นสินค้ ำโภคภัณฑ์ เช่น ข้ ำวโพด กำกถั่วเหลือง และปลำป่ น เป็ นต้ น มีควำมผันผวนของรำคำ ซึ่งมี ผลกระทบต่อต้ นทุนกำรผลิต สิ น ค้ ำ ต่ ำ งๆ ของบริ ษั ท ควำมผัน ผวนดัง กล่ำ วเกิ ด ขึ น้ จำกปั จจั ย ต่ ำ งๆ ทัง้ ในประเทศและ ต่ำงประเทศ เช่น สภำวะอำกำศที่แปรปรวน กำรนำวัตถุดิบบำงประเภทไปใช้ ในกำรผลิตพลังงำน ทดแทน รวมถึงกำรเก็ งกำไรในตลำดซื ้อขำยสินค้ ำโภคภัณฑ์ ล่วงหน้ ำ ปั จจัยต่ำงๆ เหล่ำนี ้เป็ น


127 ปั จจัยที่บริ ษัทไม่สำมำรถควบคุมได้ และหำกบริ ษัทไม่ได้ มีกำรบริ หำรจัดกำรควำมเสี่ยงในเรื่ อ ง ควำมผันผวนของรำคำสินค้ ำโภคภัณฑ์ยอ่ มส่งผลกระทบต่อผลกำรดำเนินงำนของบริ ษัทได้ เนื่องจำกวัตถุดิบหลักในกำรผลิตอำหำรสัตว์เป็ นสินค้ ำโภคภัณฑ์ เช่น ข้ ำวโพด กำกถั่วเหลือง และปลำป่ น เป็ นต้ น มีควำมผันผวนของรำคำ ซึ่งมี ผลกระทบต่อต้ นทุนกำรผลิต สิ น ค้ ำ ต่ ำ งๆ ของบริ ษั ท ควำมผัน ผวนดัง กล่ำ วเกิ ด ขึ น้ จำกปั จจั ย ต่ ำ งๆ ทัง้ ในประเทศและ ต่ำงประเทศ เช่น สภำวะอำกำศที่แปรปรวน กำรนำวัตถุดิบบำงประเภทไปใช้ ในกำรผลิตพลังงำน ทดแทน รวมถึงกำรเก็ งกำไรในตลำดซื ้อขำยสินค้ ำโภคภัณฑ์ ล่วงหน้ ำ ปั จจัยต่ำงๆ เหล่ำนี ้เป็ น ปั จจัยที่บริ ษัทไม่สำมำรถควบคุมได้ และหำกบริ ษัทไม่ได้ มีกำรบริ หำรจัดกำรควำมเสี่ยงในเรื่ อ ง ควำมผันผวนของรำคำสินค้ ำโภคภัณฑ์ยอ่ มส่งผลกระทบต่อผลกำรดำเนินงำนของบริ ษัทได้ 4.2 ควำมผันผวนของรำคำสัตว์มีชีวิตและสินค้ ำเนื ้อสัตว์ ธุรกิ จของบริ ษัทส่วนที่เกี่ ยวข้ องกับกำรเลี ้ยงสัตว์ ซึ่งสินค้ ำหลักได้ แก่สตั ว์ มี ชีวิต และเนื ้อสัตว์ รำคำของสินค้ ำประเภทดังกล่ำวถูกกำหนดโดยปั จจัยต่ำงๆที่มีผลกระทบต่ออุป สงค์และอุปทำนของตลำด เช่น ควำมต้ องกำรและกำลังซื ้อของผู้บริ โภค ปริ มำณผลผลิตที่ออกสู่ ท้ อ งตลำด เป็ นต้ น กำรที่ ร ำคำสิน ค้ ำ มี ค วำมผัน ผวนย่อ มส่ง ผลกระทบต่อ รำยได้ แ ละผลกำร ดำเนินงำนของบริ ษัท บริ ษัทได้ มีกำรบริ หำรจัดกำรควำมเสี่ยงจำกควำมผันผวนของรำคำสัตว์มีชีวิต และเนื ้อสัตว์ โดยมี หน่วยงำนที่รับผิดชอบในกำรประเมินสถำนกำรณ์ ล่วงหน้ ำและกำรติดตำม สถำนกำรณ์ตำ่ งๆ ที่อำจส่งผลกระทบต่อรำคำสัตว์มีชีวิตและเนื ้อสัตว์อย่ำงใกล้ ชิด รวมทังปั ้ จจุบนั มีกำรขยำยกำรลงทุน ไปยังประเทศต่ำงๆ และดำเนินกำรปรับสัดส่วนกำรขำยสินค้ ำที่มีควำมผัน ผวนทำงด้ ำนรำคำให้ ลดลง และเพิ่ มสัดส่วนกำรขำยสินค้ ำที่ มีมูลค่ำเพิ่ม ขึ ้น (Value Added Products) ประเภทผลิตภัณฑ์อำหำรแปรรูป ตลอดจนสร้ ำงตรำสินค้ ำของบริ ษัทและมีช่องทำงกำร จำหน่ำยสินค้ ำของบริ ษัทเอง เช่น ธุรกิจห้ ำดำว และ CP Fresh Mart


128 ความเสี่ยงด้ านการเงิน/การรายงานทางการเงิน 1. ควำมผันผวนของอัตรำแลกเปลีย่ นเงินตรำต่ำงประเทศ เนื่องจำกบริ ษัทมีรำยกำรค้ ำที่เป็ นเงินตรำต่ำงประเทศทังที ้ ่เป็ นกำรส่งออกและกำร นำเข้ ำ โดยมีมลู ค่ำกำรส่งออกสินค้ ำไปจำหน่ำยในต่ำงประเทศเป็ นจำนวน 28,591 ล้ ำนบำท หรื อ ร้ อยละ 14 ของรำยได้ จำกกำรขำยรวม และมีมูลค่ำกำรนำเข้ ำวัตถุดิบจำนวน 16,749 ล้ ำนบำท หรื อร้ อยละ 10 ของต้ นทุนขำยรวม นอกจำกนันมี ้ กำรนำเข้ ำเครื่ องจักร วัสดุอุปกรณ์ บำงส่วนจำก ต่ำงประเทศ และมีกำรลงทุนในต่ำงประเทศ ซึ่งจำกกิ จกรรมกำรดำเนินงำนดังกล่ำวบริ ษัทอำจ ได้ รับผลกระทบจำกควำมผันผวนของอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ ซึ่งจะส่งผลต่อผลกำร ดำเนินงำนของบริ ษัทอำจไม่บรรลุตำมเป้ำหมำยที่กำหนดไว้ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยในต่ำงประเทศได้ มีกำรบริ หำรจัดกำรควำมเสี่ยงโดยกำรใช้ เครื่ องมือทำงกำรเงิน (Derivatives) ต่ำงๆ โดยบริ ษัทได้ กำหนดนโยบำยในกำรทำสัญญำซื ้อขำย เงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ ำแบบเต็มจำนวน (Fully Hedge) เพื่อเป็ นกำรคุ้มครองควำมเสี่ยงที่เกิด จำกควำมผันผวนของอัตรำแลกเปลีย่ นเงินตรำต่ำงประเทศเพื่อให้ ควำมเสี่ยงคงเหลืออยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ ถึงแม้ ว่ำบริ ษัทมีกำรใช้ เครื่ องมือทำงกำรเงินในกำรบริ หำรจัดกำร แต่ควำมเสี่ยงจำก อัตรำแลกเปลีย่ น มิได้ สำมำรถขจัดควำมเสีย่ งให้ หมดไปได้ เนื่องจำกอัต รำแลกเปลี่ยนไม่สำมำรถ พยำกรณ์ ได้ อย่ำงแม่นยำ ณ วันที่จัดทำสัญญำซื ้อขำยเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ ำได้ นอกจำก เพื่อจัดกำรควำมเสี่ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน กำรทำสัญญำดังกล่ำวส่งผลให้ บริ ษัทสำมำรถทรำบ ถึงรำคำและต้ นทุนในรู ปของสกุลเงินบำทได้ อ ย่ำงแน่นอน เพื่อ ช่วยให้ กำรกำหนดรำคำขำยมี ประสิทธิผลมำกยิ่งขึ ้น นอกจำกนี ้ เพื่อลดควำมเสีย่ งเกี่ยวกับกำรอ้ ำงอิงเงินสกุลใดสกุลหนึง่ เท่ำนัน้ บริ ษัทได้ กำรกำหนดนโยบำยในกำรปรับเปลี่ยนค่ำเงินสกุลที่ใช้ ในกำรทำธุรกรรมกับบริ ษัทให้ เป็ น เงินสกุลอื่นนอกเหนือจำกเงินดอลลำร์ สหรัฐฯ


129 2. ควำมผันผวนของอัตรำดอกเบี ้ย บริ ษัทมีเงินกู้ที่มีอตั รำดอกเบี ้ยลอยตัวจำนวนร้ อยละ 6.3 ของยอดเงินกู้รวมทังหมด ้ ซึ่งทำให้ บริ ษัทมี ควำมเสี่ยงจำกอัตรำดอกเบี ้ยที่เกิ ดจำกกำรเปลี่ยนแปลงของอัตรำดอกเบี ้ยใน ท้ องตลำด ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อผลกำรดำเนินงำน และกระแสเงินสดของบริ ษัท บริ ษัทมีกำรติดตำมควำมเคลือ่ นไหวในตลำดเงินและแนวโน้ มของอัตรำดอกเบี ้ยใน ท้ อ งตลำด เพื่ อใช้ ใ นกำรพิ จ ำรณำบริ ห ำรจัดกำรควำมเสี่ยงที่ เกิ ด จำกกำรเปลี่ย นแปลงอัต รำ ดอกเบี ้ย ตลอดจน มีกำรใช้ อตั รำดอกเบี ้ยคงที่ เพื่อให้ บริ ษัทสำมำรถที่จะประมำณกำรกระแสเงิน สดของค่ำใช้ จ่ำยเงินกู้ได้ ตลอดอำยุสญ ั ญำเงินกู้ รวมทังมี ้ กำรใช้ เครื่ องมือทำงกำรเงินประเภทตรำ สำรอนุพนั ธ์ ได้ แก่สญ ั ญำแลกเปลี่ยนอัตรำดอกเบี ้ย (Interest Rate Swap) ในกำรบริ หำรจัดกำร เพื่อให้ บริ ษัทมีต้นทุนทำงกำรเงินให้ เหมำะสมตำมสภำวะตลำด ณ ขณะนัน้ ความเสี่ยงด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า บริ ษัทดำเนินธุรกิจทัง้ ใน และต่ำงประเทศ ภำยใต้ กฎหมำยและนโยบำยภำครัฐทังใน ้ และต่ำงประเทศมำโดยตลอด อำทิ กฎหมำยคุ้มครองผู้บริ โภค กฎหมำยที่ เกี่ ยวข้ อ งกับควำม ปลอดภัยของอำหำร และสถำนประกอบกำร และกฎหมำยที่เกี่ยวข้ องกับกำรใช้ คอมพิวเตอร์ เป็ น ต้ น ซึง่ ส่งผลต่อกำรปรับปรุงกระบวนกำรทำงำนของบริ ษัทให้ รองรับกำรปฏิบตั ิตำมกฎหมำยต่ำงๆ นอกจำกนี ้ บริ ษัทยังเผชิญกับกำรกีดกันทำงกำรค้ ำระหว่ำงประเทศ โดยผ่ำนทังมำตรกำรด้ ้ ำนภำษี ศุลกำกร (Tariff Barriers) และ มำตรกำรที่มิใช่ภำษี ศุลกำกร (Non-tariff barriers) ซึ่งมำตรกำรที่ มิใช่ภำษี นี ้ ได้ ถูกใช้ และมี บทบำทมำกขึ ้นในกำรปกป้องอุตสำหกรรมภำยในประเทศต่ำงๆ ทัง้ ประเทศที่พฒ ั นำแล้ ว และกำลังพัฒนำ ซึง่ ย่อมส่งผลกระทบต่อกำรส่งออก และกำรดำเนินงำนของ บริ ษัท บริ ษัทจัดให้ มีหน่วยงำนและบุคลำกรที่เกี่ยวข้ องโดยเฉพำะและมีควำมชำนำญในแต่ละ เรื่ อง เพื่อติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงของกฎหมำย และกฎระเบียบทำงกำรค้ ำ รวมทังแนวโน้ ้ มของ กฎหมำย มำตรกำรกี ดกัน ทำงกำรค้ ำในแต่ละประเทศ เพื่อ ให้ มีข้อ มูลที่ ถูกต้ อ งชัด เจน ทันต่อ เหตุกำรณ์ ในกำรวำงแผนกลยุทธ์ ที่เหมำะสม ตลอดจนมีกำรให้ ควำมรู้ ให้ แก่บุคลำกรเกี่ ยวกับ


130 กฎหมำยต่ำงๆ ที่เกี่ ยวข้ องในกำรประกอบธุ ร กิ จ ตลอดจนมี กำรกำกับดูแลให้ มีกำรปฏิบัติตำม กฎหมำยต่ำงๆ อย่ำงเคร่งครัด ความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์ องค์ กร ภำพลักษณ์ องค์กรมี ผลต่อ ควำมเชื่ อ มั่นของผู้มีส่วนได้ เสียของบริ ษัท ซึ่งหมำยควำม รวมถึง ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้ขำยสินค้ ำและบริ กำรให้ แก่บริ ษัท ผู้ซื ้อสินค้ ำและรับบริ กำรจำกบริ ษัท และเป็ นปั จจัยหนึง่ ที่มีควำมสำคัญต่อควำมสำเร็ จขององค์กร หำกบริ ษัทมีภำพลักษณ์ ที่ไม่ถูกต้ อง เหมำะสมหรื อไม่ตรงกับควำมเป็ นจริ ง อำจส่งผลให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียลดควำมเชื่อถือและไว้ วำงใจใน องค์กร เพื่อลดควำมเสีย่ งในด้ ำนภำพลักษณ์องค์กร บริ ษัทจึงได้ ให้ ควำมสำคัญในเรื่ องของกำร กำกับดูแลกิจกำรที่ดี กำรเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทให้ มีควำมชัดเจน ถูกต้ องและเหมำะสม รวมทัง้ ได้ กำหนดให้ มีระเบียบปฏิบตั ิในเรื่ องของผู้มีอำนำจในกำรให้ ข้อมูลแก่สำธำรณะ กำรลงทุนในหลักทรัพย์ของซีพีเอฟ และ/หรื อ กำรมีสว่ นได้ เสียกับบริ ษัท ผู้ลงทุนและผู้มี ส่วนได้ เสียควรพิจ ำรณำปั จ จัย ควำมเสี่ย งอันอำจจะเกิ ดขึน้ ได้ กับ บริ ษัท ซึ่งหำกเกิ ดขึน้ อำจมี ผลกระทบต่อผลกำรดำเนินงำน และ/หรื อ ฐำนะกำรเงินของบริ ษัททำให้ ไม่เป็ นไปตำมที่ควรจะเป็ น ในสถำนกำรณ์ ปกติ และ/หรื อ อำจมี ผลกระทบต่อควำมสำมำรถในกำรบรรลุวตั ถุประสงค์และ เป้ำหมำยของบริ ษัท การพัฒนาอย่ างยั่งยืน แนวทางปฏิบัติความรับผิดชอบต่ อสังคมสู่ความยั่งยืน ด้ วยวิสยั ทัศน์จะเป็ น “ครัวของโลก” (Kitchen of the World) บริ ษัทจึงมีเป้ำหมำยที่จะ มุ่งสู่ควำมเป็ นบริ ษัทระดับโลก โดยมุ่งมั่นที่จะผลิตผลิตภัณฑ์ อ ำหำรที่ มีคุณภำพ มี คุณค่ำทำง โภชนำกำร สะอำดถูกสุขอนำมัย และปลอดภัยต่อกำรบริ โภค โดยบริ ษัทมีนโยบำยในกำรดำเนิน ธุรกิจในลักษณะที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม และไม่สง่ ผลกระทบต่อชุมชน มี กำรจัดกำรทรัพยำกร กำรผลิตอย่ำงยัง่ ยืน เพื่อสร้ ำงควำมมัน่ คงทำงด้ ำนอำหำร โดยให้ ควำมสำคัญอย่ำงยิ่งกับกำรวิจัย


131 และพัฒนำ พร้ อมกับกำรพัฒนำดูแลบุคลำกร สร้ ำงมำตรฐำนควำมรั บผิดชอบต่อ สังคม มี กำร กำกับดูแ ลกิ จ กำรที่ดี และกำรบริ ห ำรจัดกำรควำมเสี่ย งอย่ำงมี ประสิทธิ ภำพ เพื่ อ ให้ มีธุร กิ จ ที่ แข็งแกร่ง สำมำรถเจริ ญเติบโตได้ อย่ำงยัง่ ยืน และมีควำมสำมำรถในกำรแข่งขันได้ ในระดับสำกล บริ ษัทกำหนดให้ ควำมรั บผิดชอบต่อสังคมเป็ นหนึ่งในกลยุทธ์ กำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืนขององค์กร บริ ษัทมุ่งมั่นดำเนินธุ รกิจด้ วยควำมถูกต้ อง โปร่ งใส และคำนึงถึงประโยชน์ และผลกระทบต่อผู้มี ส่วนได้ เสียทุกฝ่ ำย ซึ่งครอบคลุมถึงสิทธิ มนุษยชน สิทธิ แรงงำน กำรดำเนินธุรกิจที่เ ป็ นธรรม กำร พัฒนำผลิตภัณฑ์ที่มีคณ ุ ภำพและปลอดภัยต่อผู้บริ โภค กำรสรรค์สร้ ำงนวัตกรรมและกำรเผยแพร่ นวัตกรรม กำรพัฒนำชุมชนและสังคม กำรบริ หำรจัดกำรด้ ำนสิง่ แวดล้ อม กำรสร้ ำงสภำพแวดล้ อม กำรทำงำนที่ดีและปลอดภัยให้ แก่บุคลำกรของบริ ษัท กำรปฏิบตั ิตำมกฎหมำยและข้ อกำหนดด้ ำน ควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสิง่ แวดล้ อม (SHE) ของบริ ษัท ตลอดจนกำรรำยงำนด้ ำนควำม รับผิดชอบต่อสังคม นอกจำกนี ้ บริ ษั ท ได้ ปลูก ฝั ง ให้ บุ คลำกรในองค์ กรทังในประเทศและต่ ้ ำ งประเทศให้ ควำมสำคัญต่อกำรรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดหลักปรัชญำ 3ประโยชน์ ที่ม่งุ เน้ นกำรทำธุรกิจที่ เป็ นประโยชน์ตอ่ ประเทศ ต่อประชำชน และต่อบริ ษัท โดยเน้ นให้ บุคลำกรทุกคนรู้ จักตอบแทนคุณ แผ่นดินและทำควำมดีตอบแทนสังคมในทุกเมื่อที่มีโอกำส บริ ษัทมีกำรปฏิบัติตำมแนวทำงปฏิบตั ิควำมรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) สูค่ วำมยัง่ ยืน ดังนี ้ 1. กำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี บริ ษั ทปฏิบัติตำมแนวปฏิ บัติใ นเรื่ อ งหลักกำรกำกับ ดูแลกิ จ กำรที่ ดี ที่ จัด ทำโดย ตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยบริ ษัทได้ เปิ ดเผยรำยงำนกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดีของบริ ษัท ดังรำยละเอียดที่แสดงไว้ ในส่วนที่ 1 ข้ อ 8. กำรจัดกำร หัวข้ อย่อย 8.4 กำรกำกับดูแลกิจกำร


132 2. กำรประกอบธุรกิจด้ วยควำมเป็ นธรรม บริ ษัทยึดมั่นในหลักกำรประกอบธุ รกิจด้ วยควำมเป็ นธรรม โดยมี คณะกรรมกำร บริ ษัททำหน้ ำที่ดูแลมิให้ เกิ ดควำมขัดแย้ งทำงผลประโยชน์ ในกำรดำเนินธุ รกิ จ และส่งเสริ มให้ พนักงำนทุกระดับปฏิบตั ิงำนด้ วยควำมซื่อสัตย์และยึดมัน่ ในจรรยำบรรณในกำรดำเนินธุรกิจ บริ ษัทมีนโยบำยในกำรดำเนินธุรกิจต่อผู้มีสว่ นได้ เสียซึง่ หมำยรวมถึงผู้ถือหุ้น ลูกค้ ำ คูค่ ้ ำ และคูแ่ ข่งทำงกำรค้ ำ โดยมีแนวทำงกำรปฏิบตั ิงำนอยู่บนพื ้นฐำนของควำมซื่อ สัตย์และเป็ น ธรรม ด้ วยควำมโปร่งใส และไม่แสวงหำประโยชน์สว่ นตัวที่ขดั แย้ งกับประโยชน์ของบริ ษัทและผู้มี ส่วนได้ เสีย อันรวมถึงกำรเก็บรักษำควำมลับที่เกี่ยวข้ องกับกำรประกอบธุรกิจต่อผู้มีสว่ นได้ เสีย ดัง รำยละเอียดที่แสดงไว้ ในส่วนที่ 1 ข้ อ 8. กำรจัดกำร หัวข้ อย่อย 8.4.3 บทบำทต่อผู้มีสว่ นได้ เสีย บริ ษัท มี ม ำตรกำรชดเชยในกรณี ที่ผ้ ูมีส่วนได้ เสียได้ รั บควำมเสีย หำยจำกกำรที่ บริ ษัทละเมิดสิทธิตำมกฎหมำยของผู้มีสว่ นได้ เสีย และเปิ ดโอกำสให้ แจ้ งเบำะแสหรื อข้ อร้ องเรี ยน กำรกระทำควำมผิดกฎหมำย หรื อจรรยำบรรณ ผ่ำนกรรมกำรอิสระและกรรมกำรตรวจสอบ โดย บริ ษัทได้ จดั ให้ มีกระบวนกำรดำเนินกำรหลังจำกมีผ้ แู จ้ งเบำะแส โดยให้ มีกำรตรวจสอบข้ อมูล และ มีกำรรำยงำนต่อคณะกรรมกำร บริ ษัท จัดให้ มีระเบียบปฏิบัติว่ำด้ วยจริ ยธรรมส ำหรั บ พนัก งำน ซึ่งส่วนหนึ่งของ ระเบียบดังกล่ำวมีข้อห้ ำมมิให้ พนักงำนให้ หรื อรับสินบนหรื อสิง่ จูงใจในรูปแบบใดๆ โดยมุ่งหวังที่จะ ให้ มีกำรกระทำผิดกฎหมำยหรื อข้ อ บังคับของบริ ษัท หรื อก่อให้ เกิ ดกำรผ่อนปรนในข้ อ ตกลงทำง ธุรกิจที่ไม่เหมำะสม นอกจำกนี ้ ยังกำหนดแนวทำงในกำรปฏิบตั ิงำนในหน้ ำที่ของผู้บริ หำรและ พนักงำนตำมคุณค่ำที่บริ ษัทมุ่งหวัง รวมถึงจรรยำบรรณและภำระควำมรับ ผิดชอบต่อผู้มีสว่ นได้ เสียต่ำงๆ เพื่อประโยชน์ ในกำรสร้ ำงมำตรฐำนด้ ำนพฤติกรรมกำรปฏิบัติง ำนของผู้บริ หำรและ พนักงำนให้ อยูบ่ นพื ้นฐำนของควำมซื่อสัตย์สจุ ริ ต โดยให้ มีกำรเผยแพร่ระเบียบดังกล่ำวให้ ผ้ บู ริ หำร และพนักงำนได้ รับทรำบและถื อปฏิบัติอ ย่ำงทั่วถึงทังองค์ ้ กร และให้ ติ ดตำมผลกำรปฏิบัติตำม ระเบียบอย่ำงสม่ำเสมอ


133 มาตรฐานการผลิต บริ ษัทได้ มีกำรใช้ ระบบสุม่ ตรวจเพื่อตรวจสอบมำตรฐำนคุณภำพของวัตถุดิบและสินค้ ำ ในกำรผลิตทุกๆ ขันตอน ้ รวมไปถึงกำรตรวจสอบย้ อนกลับไปถึงแหล่งที่มำของวัตถุดิบที่ใช้ ในกำร ผลิต บริ ษัทได้ มีควำมมุ่งมั่นในกำรดำเนินกำรปรับปรุ งกระบวนกำรผลิตเพื่อ ให้ เป็ นไปตำม มำตรฐำนกำรควบคุมคุณภำพสำกลที่เป็ นที่ยอมรั บโดยทัว่ ไป อันรวมถึง Good Manufacturing Practices (GMP) ซึ่งเป็ นรำงวัลมำตรฐำนขันตอนกำรผลิ ้ ตที่ดี Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) ซึง่ เป็ นระบบกำรผลิตอำหำรที่ปลอดภัย มำตรฐำน EST/TH, ISO 9002 ซึ่ง เป็ นมำตรฐำนสำกลของระบบกำรด ำเนิ นงำนและจัดกำรผลิต มำตรฐำน British Retail Consortium Standard ซึ่งเป็ นมำตรฐำนสำหรับอุตสำหกรรมอำหำร ซึ่งครอบคลุมกระบวนกำร ผลิตและจัดกำรบุค ลำกร มำตรฐำน OSHAS 18000 (Occupational Safety & Health Administration management System) ซึ่งเป็ นมำตรฐำนเกี่ยวกับกำรจัดกำรอำชีวอนำมัยและ ควำมปลอดภัย ในกำรท ำงำน มำตรฐำน ISO 14001 ซึ่ ง เป็ นมำตรฐำนในเรื่ อ งกำรจั ด กำร สิง่ แวดล้ อมที่ดี และมำตรฐำน ISO 18001 ซึง่ เป็ นมำตรฐำนรับรองในเรื่ องของควำมปลอดภัย และ สวัสดิภำพของพนักงำนและมำตรฐำน ISO/IEC 17025 อันเป็ นมำตรฐำนสำกลที่เกิดขึ ้นโดยกำร ร่ วมมือกันระหว่ำง International Organization for Standardization กับ International Electro Technical Commission ซึ่งได้ กำหนดทัว่ ไปว่ำด้ วยควำมสำมำรถของห้ องปฏิบัติกำรสอบเทียบ และห้ อ งปฏิ บัติ ก ำรทดสอบให้ เป็ นมำตรฐำนเดี ย วกั น ซึ่ ง ครอบคลุม ถึ ง กำรบริ ห ำรจั ด กำร ห้ องปฏิบตั ิกำร ตังแต่ ้ กำรเตรี ยมตัวอย่ำงจนถึงควำมชำนำญในกำรวิเครำะห์ทดสอบ/สอบเทียบ รวมถึงกำรเก็บบันทึกและกำรรำยงำนผล นอกจำกนัน้ บริ ษัทเป็ นบริ ษัทแรกนอกสหภำพยุโรปที่ได้ รับกำรรั บรองมำตรฐำนสวัสดิ ภำพสัตว์ (Animal Welfare Standard) สำหรั บกำรผลิตไก่เพื่อส่งออก ซึ่งมำตรฐำนดังกล่ำวนี ้ นับเป็ นมำตรฐำนกำรผลิตที่มีกฎระเบียบที่เข้ มงวดที่สดุ ในอุตสำหกรรมกำรเลี ้ยงสัตว์ในปั จจุบัน กล่ำวคือ ผู้ผลิตจะต้ องดำเนินกำรทุกขันตอนที ้ ่คำนึงถึงควำมสุขของไก่ ตลอดระยะเวลำกำรเลี ้ยง เป็ นต้ นว่ำ ไก่ที่เลี ้ยงจะต้ องมีอิสระจำกควำมหิวและกระหำย (มีระบบกำรเลี ้ยงที่ให้ อำหำรและน ้ำ พอเพียง) มีอิ สระจำกควำมอึดอัด (สภำพแวดล้ อมโรงเรื อ นมีลกั ษณะเหมำะสม กว้ ำงขวำง) มี


134 อิสระจำกควำมเจ็บปวด บำดเจ็บหรื อเป็ นโรค (มีระบบกำรป้องกันโรคที่ดี กำรจับไก่ในแต่ละครัง้ เป็ นไปอย่ำงนุ่มนวล) มีอิสระในกำรเป็ นอยู่อย่ำงธรรมชำติ (กำรใช้ อุปกรณ์ อย่ำงเหมำะสม พื ้นที่ กำรเลี ้ยงที่สอดคล้ องกับธรรมชำติของสัตว์) มีอิสระจำกควำมกลัวและกังวล (ด้ วยสภำวะกำรเลี ้ยง ดูที่ไม่ทำให้ เกิดควำมทุกข์ทรมำนทำงจิตใจ เช่น ระหว่ำงกำรจับไก่ก่อนกำรเข้ ำโรงเชือด) บริ ษัทมีควำมมุ่งมัน่ ที่จะยกระดับมำตรฐำนแรงงำนของบริ ษัท รวมทังคุ ้ ณภำพชีวิตของ พนักงำน ให้ มีสภำวะแวดล้ อมในกำรทำงำนที่ดีขึ ้น มีควำมปลอดภัย ไม่เป็ นอันตรำยต่อสุขภำพ ได้ รับกำรปฏิบตั ิที่เป็ นธรรม รักษำสิทธิมนุษยชน และได้ รับสวัสดิกำรที่เหมำะสม เพื่อเป็ นกำรแสดง ควำมมุ่งมัน่ และสำมำรถปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตำมเจตนำดังกล่ำวข้ ำงต้ นอย่ำงต่อเนื่อง บริ ษัทจึงได้ นำ ข้ อกำหนดมำตรฐำนแรงงำนไทย (“มรท. 8001-2546”) และมำตรฐำน ISO18001 ซึ่งเป็ นมำตรฐำนรับรองในเรื่ องของควำมปลอดภัยและสวัสดิกำรพนักงำน


บทที่ 4 ผลการศึกษา จากกรณีศกึ ษา บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) พบว่า บริ ษัทมีการแบ่ง สายธุรกิจเป็ น 2 สายธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจสัตว์บก (ไก่เนื ้อ ไก่ไข่ สุกร และเป็ ด) และ ธุรกิจสัตว์น ้า (กุ้ง และปลา) ซึง่ ในสายธุรกิจสัตว์น ้านัน้ บริ ษัทมีการทาธุรกิจครบวงจรคือ เริ่ มตังแต่ ้ การเพาะเลี ้ยง กุ้ง แปรรูปกุ้ง และดาเนินการจัดจาหน่ายสินค้ าทังภายในประเทศและต่ ้ างประเทศ การค้ าระหว่ างประเทศ บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด (มหาชน) ได้ มีการจัดตังบริ ้ ษัทย่อยในต่างประเทศ สาหรับ ธุรกิจประเภทสัตว์น ้า เพื่อทาการผลิตสินค้ าและจัดจาหน่ายภายในประเทศนัน้ เนื่องจากในแต่ละ ประเทศมีความนิยมในผลิตภัณฑ์แตกต่างกัน และการที่บริ ษัทเข้ าไปทาการลงทุนในต่างประเทศ นัน้ จะทาให้ บริ ษัทสามารถผลิตสินค้ าที่ตอบสนองความต้ องการของผู้บริ โภคภายในประเทศนันได้ ้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ และมีความได้ เปรี ยบทางด้ านปั จจัยการผลิต ซึ่งส่งผลให้ เป็ นการประหยัด ต้ นทุนในการขนส่งวัตถุดิบ ซึง่ ประกอบไปด้ วย 1. ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ดาเนินการโดย C.P. Aquaculture (Beihai) Co., Ltd. และ C.P. Aquaculture (Hainan) Co.,Ltd. ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงในสัด ส่วนร้ อยละ 100 โดยมีการประกอบธุรกิจผลิตอาหารสัตว์ ฟาร์ มเพาะเลี ้ยงสัตว์น ้า และเพาะพันธุ์ สัตว์น ้า จาหน่ายภายในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และ C.P. Aquaculture (Dongfang) Co.,Ltd. ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงในสัดส่วนร้ อยละ 100 จดทะเบียนจัดตังขึ ้ ้นในปี พ.ศ.2550 เพื่อประกอบธุรกิจเพาะฟั กลูกกุ้งในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยได้ เริ่ มมีรายได้ จากการดาเนินธุรกิจในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2550 2. ประเทศมาเลเซีย ดาเนินการโดย Star Feedmills (M) Sdn. Bhd. (SFM) และ Asia Aquaculture (M) Sdn. Bhd. (AA) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้ อมในสัดส่วนร้ อยละ 100 ผ่านทาง Calibre Nature (M) Sdn. Bhd. ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงในสัดส่วน


136 ร้ อยละ 100 โดยมีการประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์น ้า การเพาะเลี ้ยงกุ้งครบวงจร และการแปรรูปกุ้งเพื่อจาหน่ายทังในประเทศและเพื ้ ่อการส่งออก 3. ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ดาเนินการโดย Charoen Pokphand Foods Philippines Corporation (CPFP) ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยที่ซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงในสัดส่วนร้ อยละ 100 จดทะเบียน จัดตังขึ ้ ้นในปี พ.ศ.2550 เพื่อประกอบธุรกิจเพาะฟั กลูกกุ้งในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ 4. ประเทศสหรัฐอเมริ กา ดาเนินการโดย C.P. Food Products,Inc. (CPF Products) เป็ นบริ ษัทย่อยที่ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อ ยละ 100 เพื่อประกอบธุ รกิจนาเข้ าและจัดจาหน่ายอาหาร ทะเล การบริหารความเสี่ยง จากกรณี ศึ ก ษา บริ ษั ท เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ อ าหาร จ ากั ด (มหาชน) พบว่ า บริ ษั ท มี กระบวนการบริ หารความเสีย่ ง มีทงหมด ั้ 5 องค์ประกอบดังต่อไปนี ้ 1. การกาหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) 2. การระบุความเสีย่ ง (Risk Identification) 3. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) 4. การจัดการความเสีย่ ง (Risk Treatment) 5. การติดตามและการรายงาน (Monitoring Evaluating and Reporting) การกาหนดวัตถุประสงค์ ในการกาหนดวัตถุประสงค์ของการบริ หารความเสี่ยงจะต้ อ งคานึงถึงหลัก SMART ซึ่ง ประกอบไปด้ ว ย ความชัด เจน (Specific) สามารถวัด ได้ (Measurable) สามารถปฏิ บัติ ไ ด้


137 (Achievable) มีความสมเหตุสมผล (Reasonable) และอยู่ในเงื่อนไขระยะเวลาที่กาหนด (Time Constrained) ความชัดเจน บริ ษัทคงความเป็ นผู้นาในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารแบบครบ วงจร บริ ษั ทมี ความมุ่ง มั่น ในการผลิต ผลิต ภัณ ฑ์ อ าหารที่มี คุณ ภาพ มี คุณค่าทางโภชนาการ สะอาดถูกสุขอนามัย และปลอดภัย สูผ่ ้ บู ริ โภค ในประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ซึ่งวัตถุประสงค์ดงั กล่าวมี ความเป็ นไปได้ สามารถปฏิบตั ิได้ จริ ง มีความชัดเจน ซึ่งผู้ปฏิบัติสามารถเข้ าใจความหมายและ ปฏิบตั ิได้ อย่างสอดคล้ องและเป็ นไปในแนวทางเดียวกันได้ สามารถวัดได้ บริ ษัทเป็ นผู้นาในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารแบบครบวงจร ซึ่ง แสดงให้ เห็นว่าวัตถุประสงค์ของบริ ษัท สามารถวัดผลได้ ส่งผลให้ บริ ษัทสามารถรู้ ว่า ได้ บรรลุผล สาเร็ จจากวัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั้ สามารถปฏิบัติได้ ความสมเหตุส มผล และอยู่ในเงื่อนไขระยะเวลาที่กาหนด บริ ษัทกาหนดวัตถุประสงค์ที่ผ้ ูปฏิบตั ิงานสามารถนาไปปฏิบตั ิได้ ตามความรับผิดชอบของตน เพื่อ มุ่งไปสู่เป้าหมายขององค์ กร เนื่องจากวัตถุประสงค์ ดังกล่าว ไม่สูงเกิ นกว่าความสามารถของ ผู้ปฏิบตั ิงาน มีความสมเหตุสมผล มีความเป็ นจริ ง ปฏิบตั ิได้ จริ ง และภายในระยะเวลาที่กาหนด จากกรณี ศึ ก ษาการก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องบริ ษั ท พบว่ า บริ ษั ท มี ก ารก าหนด วัตถุประสงค์ที่คานึงถึงความชัดเจน สามารถวัดได้ สามารถปฏิบตั ิได้ มีความสมเหตุสมผล และอยู่ ในเงื่อนไขระยะเวลาที่กาหนด การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) เป็ นการระบุความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์กร โดยดูจากปั จจัยภายนอก และภายใน ซึง่ ประกอบด้ วย 6 ด้ าน ดังนี ้ 1. ความเสี่ยงด้ านโครงสร้ างการกากับดูแลกิ จการ (Governance Structure Risk) บริ ษั ท ได้ ก าหนดความเสี่ย งด้ า นนี ไ้ ว้ ใ นหัว ข้ อ ความเสี่ย งด้ า นภาพลัก ษณ์ อ งค์ ก ร เนื่ อ งจาก ภาพลักษณ์ ข ององค์ กรมี ผลต่อ ความเชื่ อ มั่นให้ กับผู้ที่ ส่วนได้ เสีย ของบริ ษัท ซึ่งเป็ นสิ่งที่ บริ ษั ท


138 จะต้ อ งให้ ค วามส าคัญ และเป็ นปั จจั ย หนึ่ ง ที่ มี ผ ลต่ อ ความส าเร็ จ ขององค์ ก ร หากบริ ษั ท มี ภาพลักษณ์ที่ไม่ถกู ต้ องเหมาะสม หรื อไม่ตรงกับความเป็ นจริ ง และถ้ าผู้บริ หารไม่มีศกั ยภาพในการ บริ หารงานจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อธุรกิจและความน่าเชื่อถือขององค์กร 2. ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ (Strategic Risk) บริ ษัทมีความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ ในเรื่ อ ง ของความแปรปรวนของภู มิ อ ากาศและสภาพแวดล้ อ ม การลงทุ น และการด าเนิ น งานใน ต่างประเทศ ประสิทธิภาพในการจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ใน การผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและราคาเนื ้อสัตว์ และความเสี่ยง ด้ านกฎหมายและระเบียบทางการค้ า 2.1 ความแปรปรวนของภูมิ อ ากาศและสภาพแวดล้ อ ม เนื่ อ งจากในปั จ จุ บัน สภาพแวดล้ อมมีความแปรปรวน ซึ่งเป็ นผลมาจากปรากฏการณ์ เอลนีโญ (El Nino) และลานีญา (La Nina) ทาให้ เกิดภัยพิบตั ิต่างๆ ซึ่งได้ ทวีความรุ นแรงมากยิ่งขึ ้น ซึ่งได้ สง่ ผลกระทบต่อระบบ นิเ วศน์ รวมไปถึ ง ก่อ ให้ เกิ ด ความเสีย หายทางด้ านการเกษตร เลี ้ยงสัต ว์ การผลิต การขนส่ง ตลอดจนราคาสินค้ าและการบริ โภค ซึง่ บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษัท ที่ผลิตสินค้ าโดยใช้ วตั ถุดิบจากผลผลิตทางการเกษตร ปศุสตั ว์ และประมง จึงได้ รับผลกระทบจาก ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาวะแวดล้ อม บริ ษัทจึงเล็งเห็นว่าความแปรปรวนของสภาพ ภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อมนัน้ เป็ นปั จจัยเสี่ยงที่สาคัญซึ่งเกิดจากปั จจัยภายนอก เป็ นปั จจัยที่ บริ ษัทไม่สามารถควบคุมหรื อหลีกเลีย่ งออกไปได้ 2.2 การลงทุน และการดาเนินงานในต่างประเทศ บริ ษัท ได้ มีการขยายการการ ดาเนินงานไปต่างประเทศในส่วนของสัตว์น ้า ดังนี ้ ประเทศจีน อินเดีย มาเลเชีย อังกฤษ ฟิ ลิปปิ นส์ การดาเนินงานไปยังต่างประเทศเป็ นการเพิ่มช่องทางทางด้ านการค้ า และเป็ นการกระจายความ เสีย่ งของแต่หน่วยลงทุนของบริ ษัท แต่การลงทุนในต่างประเทศอาจจะได้ รับผลกระทบจากการเข้ า ไปทาการลงทุน ที่บริ ษัทไม่สามารถควบคุมได้ อาจส่งผลให้ ผลการดาเนินงานในแต่ละประเทศไม่ เป็ นไปตามเป้าหมายที่บริ ษัทกาหนดไว้ 2.3 ประสิ ท ธิ ภ าพในการจั ด การด้ า นห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน การที่ บ ริ ษั ท จะบรรลุถึ ง เป้ าหมาย คือ การสร้ างก าไรให้ สูงที่ สุด บริ ษั ทจะต้ อ งค านึง ถึ ง การจัดการด้ า นห่วงโซ่อุป ทาน


139 เนื่ อ งจากเป็ นปั จจัยสาคัญ ที่จ ะเพิ่ม มูลค่าให้ กับ บริ ษัท หากบริ ษั ทขาดการจัด การด้ า นห่วงโซ่ อุปทานอย่างมีประสิทธิภาพย่อมก่อให้ เกิดต้ นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ ้นอย่างเปล่าประโยชน์ ซึ่งมีผล ต่อการกาหนดราคาและคุณภาพของสินค้ า อาจทาให้ บริ ษัทสูญเสียความสามารถทางการแข่งขัน 2.4 ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ บริ ษัท มี กระบวนการผลิตสินค้ าที่มีวตั ถุดิบเป็ นสินค้ าเกษตร ซึ่งวัตถุดิบทางการเกษตรนันไม่ ้ แน่นอนขึ ้นอยู่ กับสภาพอากาศ จึงส่งผลให้ ปริ มาณของวัตถุดิบทางการเกษตรที่ผลิตออกมานันมี ้ ความไม่แน่นอน จึงส่งผลให้ ราคาของวัตถุดิบทางการเกษตรมีความผันผวนเป็ นอย่างมาก ซึ่งทางบริ ษัทไม่สามารถ ควบคุมสถานการณ์ดงั กล่าวได้ 2.5 ความผันผวนของราคาสัตว์ มีชีวิตและราคาเนื ้อสัตว์ บริ ษัทมี การผลิตสินค้ า ประเภทสัตว์มีชี วิตและเนือ้ สัตว์ ซึ่งราคาของสินค้ าดังกล่าวนัน้ มี ปัจจัยต่างๆเข้ ามามีผลต่อ การ กาหนดราคา ซึง่ ทางบริ ษัทไม่สามารถควบคุมปั จจัยที่เกิดขึ ้นได้ เช่น อุปสงค์ที่มีสดั ส่วนไม่เท่ากัน กับอุปทาน เป็ นต้ น นันท ้ าให้ ปริ มาณสินค้ าที่ทาการผลิตนันเหลื ้ อเกินความต้ องการ อาจเกิดการ เน่าเสีย 2.6 ความเสี่ยงด้ านกฎหมายและระเบียบทางการค้ า บริ ษัทมีการดาเนินธุรกิจทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ซึง่ จะต้ องเผชิญกับปั ญหาทางด้ านการกีดกันสินค้ าที่ทาการส่งออกที่ กาหนดโดยกฎหมายและนโยบายทางภาครัฐของประเทศนันๆ ้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการส่งออก ของบริ ษัท 3. ความเสีย่ งด้ านเครดิต (Credit/Default Risk) เป็ นความเสี่ยงที่เกิดจากคู่สญ ั ญาไม่ ปฏิบตั ิตามภาระที่ตกลงกันไว้ ทาให้ องค์กรไม่ได้ รับชาระหนี ้ตามจานวนและช่วงเวลาที่กาหนดไว้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระแสเงินสดและรายได้ ขององค์ กร ซึ่ง ความเสี่ยงด้ านนี ้บริ ษัทไม่ได้ มีการ ระบุไว้ 4. ความเสีย่ งด้ านตลาด (Market Risk) บริ ษัทได้ กาหนดความเสี่ยงด้ านนี ้ไว้ ในหัวข้ อ ความเสี่ย งด้ า นการเงิ น และรายงานทางการเงิ น ซึ่ง ประกอบไปด้ วย ความผัน ผวนของอัต รา แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ และความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย


140 4.1 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บริ ษัทมี การนาเข้ า วัตถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ ในการผลิต และมีการส่งออกสินค้ าไปจาหน่ายในต่างประเทศ ซึ่งความ ผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นนันย่ ้ อมส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริ ษัทอย่างแน่นอน 4.2 ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย บริ ษัทได้ ทาการกู้ที่มีอัตราดอกเบี ้ยลอยตัว จานวนร้ อยละ 6.3 ของยอดเงินกู้รวมทังหมด ้ ซึ่งทาให้ บริ ษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี ้ยที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี ้ยในท้ องตลาด จะส่งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานและ กระแสเงินสดของบริ ษัท 5. ความเสี่ยงด้ านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) เป็ นความเสี่ยงที่เกิ ดจาก บริ ษัทไม่ สามารถเปลีย่ นสินทรัพย์เป็ นเงินสดได้ หรื อไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้ เพียงพอต่อการชาระหนี ้และ ภาระผูกพันเมื่อถึงกาหนด ซึง่ ความเสีย่ งด้ านนี ้บริ ษัทไม่ได้ มีการระบุไว้ 6. ความเสี่ยงด้ านปฏิบัติการ (Operational Risk) จาแนกออกเป็ น 4 องค์ประกอบ ดัง นี ้ ความเสี่ย งจากการทุจ ริ ต ความเสี่ยงด้ านบุค ลากร ความเสี่ย งด้ า นความปลอดภัยของ ทรัพย์สนิ และความเสีย่ งจากลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิในการดาเนินธุรกิจ 6.1 ความเสี่ย งจากการทุจริ ต เป็ นความเสี่ยงที่เกิ ดจากการทุจริ ตของบุคลากร ภายในและภายนอกองค์กร ซึง่ ความเสีย่ งด้ านนี ้บริ ษัทไม่ได้ มีการระบุไว้ 6.2 ความเสีย่ งด้ านบุคลากร เป็ นความเสีย่ งที่เกิดขึ ้นจากกระบวนการจ้ างงานที่ไม่ เหมาะสมต่อการปฏิบตั ิงาน ซึง่ ความเสีย่ งด้ านนี ้บริ ษัทไม่ได้ มีการระบุไว้ 6.3 ความเสี่ย งด้ า นปลอดภัย ของทรั พ ย์ สิ น เป็ นความเสี่ย งที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสียหายแก่ทรัพย์สินขององค์กร อันเนื่องมาจากอุบตั ิภยั ต่างๆ หรื อ เกิดจากความผิดพลาดในวิธี ปฏิบตั ิงาน ซึง่ ความเสีย่ งด้ านนี ้บริ ษัทไม่ได้ มีการระบุไว้ 6.4 ความเสี่ยงจากลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิในการดาเนินธุรกิ จ บริ ษัทได้ กาหนดความเสีย่ งด้ านนี ้ไว้ ในหัวข้ อ ความเสีย่ งด้ านกลยุทธ์ ในเรื่ องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ


141 ผู้บริ โภค ความเสีย่ งด้ านการดาเนินงานในเรื่ องความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า และการเกิด โรคระบาดในสัตว์ 6.4.1 การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค เนื่องจากในปั จจุบนั โครงสร้ าง ของประชากรได้ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว สภาวะทางเศรษฐกิ จ และการเปลี่ยนแปลงของ ลัก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ นปั จจั ย ส าคัญ ที่ ส่ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภคให้ เปลีย่ นแปลงไป 6.4.2 ความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า สินค้ า เนื่อ งจากในปั จจุบัน บริ ษัทมีชื่อเสียงในฐานะผู้ผลิตอาหารชันน ้ า โดยคุณภาพสินค้ าที่บริ ษัทผลิต เป็ นส่วนสาคัญในการ สร้ างความเชื่อมัน่ ของผู้บริ โภค บริ ษัทจึงต้ องคานึงถึงความเสีย่ งในเรื่ องความปลอดภัยของอาหาร ที่อ าจเกิ ดขึน้ จากการที่ มีสินค้ าเน่าเสีย หรื อ มี สารปนเปื ้อ นในสินค้ า ซึ่งอาจเกิ ดขึ ้นได้ ตลอดทัง้ กระบวนการผลิต การขนส่ง การจัดเก็บจนกระทัง่ ถึงมือผู้บริ โภค 6.4.3 การเกิดโรคระบาดในสัตว์ บริ ษัทมีการดาเนินธุรกิจในรู ปแบบของการ เลี ้ยงสัตว์ จึงจะต้ องประสบปั ญหาจากโรคระบาดในสัตว์ ซึ่งปั ญหาดังกล่าวจะสร้ างความตื่ น ตระหนกและความเชื่ อมั่นในความปลอดภัยของการบริ โภคเนื อ้ สัตว์ ของผู้บริ โภค ทาให้ มีการ บริ โภคลดลง ไม่เพียงแต่ได้ รับผลกระทบในประเทศ หากประเทศที่บริ ษัทไปลงทุนเกิดโรคระบาด ขึ ้น


142 ตารางที่ 4-1 การระบุความเสีย่ ง (Risk Identification)

ปั จจัยความเสี่ยง

การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ความเสี่ยง ความ ความ ความ ความ ความเสี่ยงด้ านปฏิบตั กิ าร ด้ าน เสี่ยง เสี่ยง เสี่ยง เสี่ยง ความ ความ ความเสี่ยง ความเสี่ยงจาก โครงสร้ างการ ด้ าน ด้ าน ด้ าน ด้ าน เสี่ยง เสี่ยง ด้ านความ ลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ กากับดูแล กล เครดิต ตลาด สภาพ จากการ ด้ าน ปลอดภัยของ และวิธีปฏิบตั ใิ น กิจการ ยุทธ์ คล่อง ทุจริต บุคลากร ทรัพย์สนิ การดาเนินธุรกิจ

ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ ความแปรปรวนของภูมอิ ากาศและสภาวะแวดล้ อม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ความเสี่ยงด้ านการดาเนินงาน ความปลอดภัย และคุณภาพของสินค้ า การเกิดโรคระบาดต่างๆ ในสัตว์ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้ านห่วงโซ่อปุ ทาน ความผันผวนของราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิต อาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวติ และสินค้ า เนื ้อสัตว์

       


143 ตารางที่ 4-1 การระบุความเสีย่ ง (Risk Identification)(ต่อ)

ปั จจัยความเสี่ยง

ความเสี่ยงด้ านการเงิน/การรายงานทางการเงิน ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย ความเสี่ยงด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า ความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์ องค์ กร

การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ความเสี่ยง ความ ความ ความ ความ ความเสี่ยงด้ านปฏิบตั กิ าร ด้ าน เสี่ยง เสี่ยง เสี่ยง เสี่ยง ความ ความ ความเสี่ยง ความเสี่ยงจาก โครงสร้ างการ ด้ าน ด้ าน ด้ าน ด้ าน เสี่ยง เสี่ยง ด้ านความ ลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ กากับดูแล กล เครดิต ตลาด สภาพ จากการ ด้ าน ปลอดภัยของ และวิธีปฏิบตั ใิ น กิจการ ยุทธ์ คล่อง ทุจริต บุคลากร ทรัพย์สนิ การดาเนินธุรกิจ

   


144 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ในหลักการประเมิ นความเสี่ยง ได้ พิจารณาจากความรุ นแรงของผลกระทบที่เกิ ดจาก เหตุการณ์ ต่างๆ ว่ามีมากน้ อยเพียงใด โดยจัดระดับความรุ นแรงและผลกระทบ เป็ น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่า และต่ามาก จากการจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ งในระดับที่สงู มาก คือ มีความถี่ ของผลกระทบ โดยเฉลีย่ 1 เดือนต่อครัง้ หรื อมากกว่า ความเสีย่ งในระดับสูง คือ มีความถี่ของผลกระทบโดยเฉลี่ย มากกว่า 1 – 6 เดือนต่อครัง้ แต่ไม่เกิน 5 ครัง้ ต่อปี ความเสีย่ งในระดับปานกลาง คือ มีความถี่ของ ผลกระทบโดยเฉลีย่ 1 ปี ต่อครัง้ ความเสีย่ งในระดับที่ต่า คือ มีความถี่ของผลกระทบโดยเฉลี่ย 2-3 ปี ต่อครัง้ และความเสีย่ งในระดับที่ต่ามาก คือ มีความถี่ของผลกระทบโดยเฉลีย่ 5 ปี ต่อครัง้ คณะผู้ศกึ ษาเห็นว่า ความเสีย่ งที่อยูใ่ นระดับสูง ได้ แก่ ความเสีย่ งด้ านภาพลักษณ์ องค์กร ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม ประสิทธิ ภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่ อุปทาน การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการ ผลิตอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความเสี่ยงด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า ความผันผวนของการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ความผันผวนของ อัตราดอกเบี ้ย และการเกิดโรคระบาดต่างๆในสัตว์ ความเสี่ยงที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้ แก่ การ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค และความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า ซึ่งสามารถสรุ ปได้ ดังตารางที่ 4-2


145 ตารางที่ 4-2 การจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ ง การระบุความเสี่ยง ความเสี่ยงด้ านโครงสร้ างการกากับดูแลกิจการ ความเสีย่ งด้ านภาพลักษณ์องค์กร ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความเสีย่ งด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า ความเสี่ยงด้ านเครดิต

การจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง สูงมาก สูง ปาน ต่า ต่ามาก กลาง       


146 ตารางที่ 4-2 การจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ ง (ต่อ) การระบุความเสี่ยง ความเสี่ยงด้ านตลาด ความผันผวนของการแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย ความเสี่ยงด้ านสภาพคล่ อง ความเสี่ยงด้ านปฏิบัติการ ความเสีย่ งจากการทุจริ ต ความเสีย่ งด้ านบุคลากร ความเสีย่ งด้ านความปลอดภัยของทรัพย์สนิ ความเสีย่ งจากลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิในการดาเนินธุรกิจ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค ความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า การเกิดโรคระบาดต่างๆในสัตว์

การจัดระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง สูงมาก สูง ปาน ต่า ต่ามาก กลาง  

  


147 การจัดการความเสี่ยง (Risk Treatment) การจัดการความเสีย่ งเป็ นการพิจารณา วิธีจดั การกับความเสีย่ งที่เกิดขึ ้น ซึง่ สามารถ แบ่งเป็ น 1. การหลีกเลี่ยง (Avoidance) เป็ นความเสี่ยงที่สงู เกินไปไม่สามารถรับความเสี่ยงที่ เกิดขึ ้นได้ จึงต้ องใช้ วิธีหลีกเลีย่ งเหตุการณ์ ที่เกิดขึ ้น จากการวิเคราะห์ของคณะผู้ศึกษาบริ ษัทไม่มี เหตุการณ์ความเสีย่ งที่อยูใ่ นระดับสูงมาก 2. การป้องกันภัย (Loss Control) สามารถจัดทาได้ 2 วิธี ดังนี ้ 2.1 การป้องกันก่อนที่จะเกิดขึ ้น (Loss Prevention) บริ ษัทควรใช้ วิธีนี ้จัดการกับ เหตุการณ์ ความแปรปรวนของภูมิอ ากาศและสภาพแวดล้ อ ม การเกิ ดโรคระบาดต่างๆในสัตว์ ประสิทธิ ภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการ ผลิตอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความเสี่ยงด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า ความเสีย่ งด้ านภาพลักษณ์องค์กร 2.1.1 ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม บริ ษัทควรทาการติด สัญญาณเตือนภัยต่างๆ การทาประกันภัยโรงงาน หรื อก่อนการจัดตังโรงงานควรส ้ ารวจพื ้นที่ ให้ อยู่ ในบริ เวณที่เหมาะสม จัดสรรบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเพื่อกากับดูแลกับความเสี่ยงจากการ แปรปรวนด้ านภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม และเตรี ยมการจัดทาแผนฉุกเฉินเพื่อเตรี ยมพร้ อมต่อ สถานการณ์ที่ไม่คาดคิดได้ อย่างทันท่วงที 2.1.2 การเกิดโรคระบาดต่างๆในสัตว์ โดยทาการเฝ้าระวังการเกิดโรคระบาด ในสัตว์ทงในประเทศและต่ ั้ างประเทศ ค้ นคว้ า วิจัย จัดการฟาร์ ม สุขาภิบาล การดูแลสัตว์ อย่าง ต่อเนื่อง ควบคุมคุณภาพการจัดการฟาร์ มทังในส่ ้ วนของบริ ษัทและเกษตรกรคู่สญ ั ญา และจัดการ ฟาร์ มตามมาตรฐานการจัดการฟาร์ มที่กาหนดโดยหน่วยงานของรัฐที่ มีหน้ าที่กากับดูแล รวมทังมี ้ การประเมินหาปั จจัยเสีย่ งของการเกิดโรคระบาด ตลอดจนการจัดทาการเตือนภัยล่วงหน้ า (Early Warning) เพื่อป้องกันการเกิดโรคระบาดไม่ให้ เกิ ดการแพร่ กระจาย รวมทังคอยศึ ้ กษาข้ อ มูล


148 ข่าวสารจากต่างประเทศในเรื่ องโรคระบาดต่างๆที่อาจจะเกิดขึ ้นรวมถึงวิธีป้องกันไว้ ลว่ งหน้ า จัดทา แผนการป้องกันหากเกิดปั ญหาดังกล่าวขึ ้นผู้รับผิดชอบในส่วนนี ้ ควรเตรี ยมความพร้ อมที่จะชี ้แจง วิธีการป้องกันโรคระบาดดังกล่าวให้ รับทราบและเข้ าใจทัว่ กันทังฟาร์ ้ มของบริ ษัท และเกษตรกรคู่ ค้ า รวมถึงกิจการในต่างประเทศด้ วย 2.1.3 ประสิทธิ ภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน โดยบริ ษัทควรที่ จะคอยปรับปรุ งข้ อบกพร่ องที่อาจจะเกิดขึ ้นภายในห่วงโซ่อุปทานอย่างสม่าเสมอ และตระหนัก เสมอว่า การบริ หารห่วงโซ่อุปทานเป็ นการจัดการอย่างหนึ่งที่สาคัญและสร้ างมูลค่าให้ กับบริ ษัท และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบตั ิงาน 2.1.4 ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์ โดยบริ ษัท ควรทาสัญญาทางการค้ า เพื่อประกันเรื่ อ งความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่อาจจะสูงขึ ้น ส่งผล กระทบต่อต้ นทุนการผลิตสินค้ าต่างๆ ของบริ ษัท ความผันผวนดังกล่าวเกิดขึ ้นจากปั จจัยต่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เช่น สภาวะอากาศที่แปรปรวน การนาวัตถุดิบบางประเภทไปใช้ ในการ ผลิตพลังงานทดแทน รวมถึงการเก็งกาไรในตลาดซื ้อขายสินค้ าโภคภัณฑ์ล่วงหน้ า ปั จจัยต่างๆ เหล่านี ้เป็ นปั จจัยที่บริ ษัทไม่สามารถควบคุมได้ และหากบริ ษัทไม่ได้ มีการบริ หารจัดการความเสี่ยง ในเรื่ องความผันผวนของราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ยอ่ มส่งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของบริ ษัทได้ 2.1.5 ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ โดยบริ ษัทควรทา การติดตามและประเมินผลต่อสถานการณ์ที่จะส่งผลกระทบต่อความผันผวนของราคา หรื อทาการ หาช่องทางการทาการค้ าระหว่างประเทศเพื่ อ เป็ นการระบายสินค้ า ที่มีปริ มาณมากเกิ นความ ต้ องการของคนภายในประเทศ เพื่อลดภาวการณ์เน่าเสียของอาหาร 2.1.6 ความเสี่ยงด้ า นกฎหมายและระเบี ยบทางการค้ า โดยบริ ษั ทท าการ แต่งตังพนั ้ กงานที่มีความชานาญการในเรื่ องของกฎหมายและข้ อบังคับของประเทศนันๆ ้ เพื่อให้ ทันต่อสถานการณ์ และปรับการดาเนินงานให้ เป็ นไปตามข้ อบังคับนันอย่ ้ างเคร่งครัด 2.1.7 ความเสีย่ งด้ านภาพลักษณ์องค์กร บริ ษัทต้ องจัดการความเสี่ยงในด้ าน นี ้ โดยให้ ความสาคัญในเรื่ องของการกากับดูแลกิจการที่ดี การเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทให้ มีความ


149 ชัดเจน ถูกต้ องและเหมาะสม รวมทังได้ ้ กาหนดให้ มีระเบียบปฏิบตั ิในเรื่ องของผู้มีอานาจในการให้ ข้ อมูลแก่สาธารณะ 2.2 การทาให้ ความสูญเสียน้ อยที่สดุ เท่าที่ทาได้ (Loss Reduction) บริ ษัทควรใช้ วิธีนี ้จัดการกับเหตุการณ์ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค ความปลอดภัยและคุณภาพ ของสินค้ า 2.2.1 การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค โดยบริ ษัทอาจจะมอบหมายให้ ฝ่ ายการตลาดทาการสารวจความต้ องการของผู้บริ โภคในแต่ละสายผลิตภัณฑ์ และส่งมอบหน้ าที่ ให้ ฝ่ายวิจัยและพัฒนา เพื่อพัฒนาสินค้ าให้ ตรงตามความต้ องการของลูกค้ าให้ มากที่สดุ เพื่อลด ความเสีย่ งดังกล่าวให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 2.2.2 ความปลอดภัย และคุณ ภาพของสิน ค้ า โดยบริ ษั ท ควรที่ จ ะมี ก าร ออกแบบกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้ าให้ เป็ นมาตรฐานสากล ควบคุมคุณภาพสินค้ า ตังแต่ ้ การเลือกวัตถุดิบที่มาใช้ ในการผลิต การตรวจรั บวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ การบรรจุหีบห่อ การขนส่ง จนกระทัง่ ถึงการจัดเก็ บสินค้ าที่ผ้ จู ัดจาหน่ายก่อนถึงมื อ ผู้บ ริ โ ภค ให้ เ ป็ นไปตามมาตรฐานที่ ก าหนดไว้ รวมทังมี ้ ก ารจัด การให้ มี ก ารตอบสนองต่อ ข้ อ ร้ อ งเรี ยน หรื อการเรี ยกคืนสินค้ า (Product Recall) ในกรณี ที่จาเป็ นอย่างรวดเร็ ว เพื่อ ความ ปลอดภัยของผู้บริ โภค 3. การเลือกที่จะรับความเสีย่ งไว้ เอง (Risk Retention) สามารถจัดทาได้ 2 วิธี ดังนี ้ 3.1 การรั บความเสี่ยงแบบรู้ ตัว (Active Risk Retention) แต่บริ ษัทไม่มีความ จาเป็ นต้ องใช้ วิธีนี ้หรื อใช้ วิธีนี ้น้ อยที่สดุ ในการจัดการความเสีย่ ง เนื่องจาก บริ ษัท ไม่มีความเสี่ยงที่ อยูใ่ นระดับต่า 3.2 การรับความเสีย่ งโดยไม่ร้ ูตวั (Passive) แต่บริ ษัทไม่มีความจาเป็ นต้ องใช้ วิธีนี ้ หรื อใช้ วิธีนี ้น้ อยที่สดุ ในการจัดการความเสีย่ ง เนื่องจาก บริ ษัท ไม่มีความเสีย่ งที่อยูใ่ นระดับสูง


150 4. การถ่ายโอนความเสี่ยงไปให้ บุคคลผ่านทางสัญญา (Non Insurance Transfer) บริ ษัทควรใช้ วิธีนี ้จัดการกับเหตุการณ์ การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ความผันผวน ของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย 4.1 การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ โดยบริ ษัทควรที่จะทาสัญญากับ สถาบันทางการเงินโดยกาหนดอัต ราการแลกเปลี่ยนเงิ นตราระหว่างประเทศไว้ ล่ว งหน้ า เพื่ อ ป้องกันการขาดทุนจากการค้ าระหว่างประเทศ หรื อว่าสัญญาทางการค้ าเพื่อ ประกันเรื่ อ งราคา วัตถุดิบที่อาจจะสูงขึ ้น หรื อทางการเงินก็จะมียทุ ธศาสตร์ ประกันความเสี่ยง (Hedging Strategy) ที่ใช้ พวกตราสารอนุพนั ธ์ (Derivatives) การประกันภัย (Insurance) เป็ นต้ น นอกจากนี ้ก่อนการ ลงทุนบริ ษัทควรศึกษาความเป็ นไปได้ ของการลงทุนในแต่ละประเทศอย่างละเอียดรอบคอบก่อนที่ จะเข้ าไปทาการลงทุนในประเทศนันๆ ้ ทังด้ ้ าน ทาเลที่ตงั ้ แหล่งวัตถุดิบ อัตราภาษี ค่าจ้ างแรงงาน กฎหมาย ระเบียบการค้ า และทาการติดตามดูแลการดาเนินงานอย่างใกล้ ชิดโดยตัวแทนกรรมการ ผู้จดั การในแต่ละประเทศ และ ติดตามผลกระทบจากปั จจัยต่างๆ อย่างสม่าเสมอ 4.2 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยการทาสัญญา แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศไว้ ลว่ งหน้ ากับสถาบันทางการเงินเพื่อเป็ นการ ป้องกันความเสี่ยงที่ เกิดขึ ้นจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นให้ อยูใ่ นระดับที่บริ ษัทยอมรับได้ 4.3 ความผัน ผวนของอัต ราดอกเบี ย้ บริ ษั ท ควรที่ จ ะมี ก ารติ ด ตามข่า วความ เคลื่อนไหวของอัต ราดอกเบี ย้ ในท้ อ งตลาด และท าการบริ หารจัดการความเสี่ยง หรื อ อาจท า สัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบี ้ย เพื่อให้ บริ ษัทมีต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสม


151 ตารางที่ 4-3 การจัดการความเสีย่ ง

การระบุความเสี่ยง

ความเสี่ยงด้ านโครงสร้ างการกากับดูแลกิจการ ความเสีย่ งด้ านภาพลักษณ์องค์กร ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน ความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตอาหาร สัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความเสีย่ งด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า

การ หลีกเลี่ยง (Avoidance)

การจัดการความเสี่ยง การเลือกที่จะรับความเสี่ยงไว้ เอง การถ่ายโอน การป้องกันภัย (Loss Control) (Risk Retention) ความเสี่ยงไป ให้ บคุ คลอื่น การทาให้ ความ การป้องกัน การรับความ ผ่านทาง สูญเสียน้ อย การรับความ ก่อนที่จะเกิด เสี่ยงแบบรู้ตวั ที่สดุ เท่าที่ทา เสี่ยงโดยไม่ สัญญา (Non (Loss (Active Risk ได้ (Loss รู้ตวั (Passive) Insurance Prevention) Retention) Transfer) Reduction)       


152 ตารางที่ 4-3 การจัดการความเสีย่ ง (ต่อ) การจัดการความเสี่ยง การป้องกันภัย (Loss Control) การระบุความเสี่ยง

การหลีกเลี่ยง (Avoidance)

การป้องกัน ก่อนที่จะเกิด (Loss Prevention)

การเลือกที่จะรับความเสี่ยงไว้ เอง (Risk Retention)

การทาให้ ความ การรับความ สูญเสียน้ อย เสี่ยงแบบรู้ตวั ที่สดุ เท่าที่ทา (Active Risk ได้ (Loss Retention) Reduction)

การรับความ เสี่ยงโดยไม่ รู้ตวั (Passive)

การถ่ายโอน ความเสี่ยงไป ให้ บคุ คลอื่น ผ่านทาง สัญญา (Non Insurance Transfer)

ความเสี่ยงด้ านเครดิต ความผันผวนของการแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย ความเสี่ยงด้ านสภาพคล่ อง ความเสี่ยงด้ านปฏิบัติการ ความเสีย่ งจากการทุจริ ต ความเสีย่ งด้ านบุคลากร ความเสีย่ งด้ านความปลอดภัยของทรัพย์สนิ

 


153 ตารางที่ 4-3 การจัดการความเสีย่ ง (ต่อ)

การระบุความเสี่ยง

ความเสี่ยงด้ านปฏิบัติการ ความเสีย่ งจากลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิใน การดาเนินธุรกิจ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค ความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า การเกิดโรคระบาดต่างๆในสัตว์

การหลีกเลี่ยง (Avoidance)

การจัดการความเสี่ยง การเลือกที่จะรับความเสี่ยงไว้ การถ่ายโอน การป้องกันภัย (Loss Control) เอง (Risk Retention) ความเสี่ยงไป ให้ บคุ คลอื่น การทาให้ การป้องกัน การรับความ ผ่านทาง ความสูญเสีย การรับความ ก่อนที่จะเกิด เสี่ยงแบบรู้ตวั น้ อยที่สดุ เท่าที่ เสี่ยงโดยไม่ สัญญา (Non (Loss (Active Risk ทาได้ (Loss รู้ตวั (Passive) Insurance Prevention) Retention) Transfer) Reduction)

  


154 การติดตามและการรายงาน (Monitoring Evaluating and Reporting) บริ ษัทมีการติดตามผลและการรายงานโดยจัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อ ประเมินระบบการควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ยง ซึ่งได้ ข้อสรุ ปดังนี ้ ระบบการควบคุม ภายในของบริ ษัทมี ความเหมาะสมและเพียงพอต่อธุ รกิ จของบริ ษัท รวมทังมี ้ ประสิทธิ ผลเพีย ง พอที่จะช่วยลดความเสี่ยงทางธุ รกิจ และป้องกันทรัพย์สินของบริ ษัท จากการที่ผ้ บู ริ หารนาไปใช้ โดยมิชอบ หรื อโดยไม่มีอานาจ ทังนี ้ ้ ในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายใน สานักตรวจสอบภายในได้ มีการสอบทานการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานต่างๆ ของบริ ษัท เพื่อให้ มั่นใจว่าหน่วยงานเหล่านันมี ้ การปฏิบัติต ามระบบการควบคุม ภายในที่บริ ษัท ได้ ก าหนดไว้ และในกรณี พ บข้ อ บกพร่ อ งที่ มี สาระสาคัญจะมี การรายงานให้ คณะกรรมการบริ หารและคณะกรรมการตรวจสอบทราบและ พิจารณาสัง่ การแก้ ไข อย่างไรก็ตาม ในรอบปี 2554 สานักตรวจสอบภายในไม่พบข้ อบกพร่ องที่ เป็ นสาระสาคัญซึง่ จะมีผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของบริ ษัท และผู้สอบบัญชีไม่ได้ รายงานว่า พบข้ อบกพร่องที่เป็ นสาระสาคัญ ความมั่นคงทางอาหารและการพัฒนาอย่ างยั่งยืน บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์ อ าหาร จากัด (มหาชน) มี แนวทางปฏิบัติความรั บผิดชอบต่อ สังคมสูค่ วามยัง่ ยืน กล่าวคือ บริ ษัท วิสยั ทัศน์ “ครั วของโลก” (Kitchen of the World) และมี เป้าหมายที่จะมุ่งสูค่ วามเป็ นบริ ษัทระดับโลก จึงทาให้ บริ ษัทมีเป้าหมายที่จะผลิตสินค้ าที่เกี่ยวข้ อง กับอาหารที่มีคณ ุ ภาพ มีคณ ุ ค่า สะอาดถูกสุขอนามัย และปลอดภัยต่อการบริ โภค ซึง่ สอดคล้ องกับ แนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในแนวคิดประการแรก เรื่ อ ง แนวคิดความต้ อ งการพื ้นฐานของ มนุษย์ คือปั จจัยสี่ ซึง่ ประกอบไปด้ วย อาหาร เครื่ องนุง่ ห่ม ที่อยูอ่ าศัย และยารักษาโรค โดยอาหาร เป็ นส่วนหนึ่งของปั จจัยสี่ที่บริ ษัทให้ ความสาคัญที่จะวิจัยและพัฒนา ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ผู้บริ โภค เพื่อสร้ างความมั่นคงทางด้ านอาหาร บริ ษัทมีนโยบายในการดาเนินธุรกิจในลักษณะที่ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม และไม่สง่ ผลกระทบต่อชุมชน มีการจัดการทรัพยากรการผลิตอย่างยั่ งยืน ซึ่ง สอดคล้ อ งกับ นโยบายการพัฒนาอย่างยั่ง ยืน ข้ อ ที่ ส อง ที่ ว่า ด้ ว ยการพื น้ ฟู สภาพแวดล้ อ ม สภาพแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่ในสภาพเสื่อมโทรม โดยให้ ความสาคัญอย่างยิ่งกับ การวิจัยและพัฒนา พร้ อมกับการพัฒนาดูแลบุคลากร สร้ างมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม โดย บริ ษั ทก าหนดให้ ความรั บผิด ชอบต่อ สังคมเป็ นหนึ่งในกลยุทธ์ การพัฒนาอย่างยั่ง ยืนของ องค์กร บริ ษัทมุ่งมัน่ ดาเนินธุรกิจด้ วยความถูกต้ อง โปร่ งใส และคานึงถึงประโยชน์และผลกระทบ


155 ต่อผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย ซึง่ ครอบคลุมถึงสิทธิ มนุษยชน สิทธิ แรงงาน การดาเนินธุรกิจที่เป็ นธรรม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริ โภค ซึ่งสอดคล้ องกับ แนวคิดการพัฒนา อย่างยัง่ ยืน ในแนวคิดประการแรก ในเรื่ อง ความต้ องการของมนุษย์ที่จะมีมาตรฐานความเป็ นอยู่ ที่ดีกว่าเดิม เพราะนอกจากผู้บริ โภคจะได้ รับการสนองตอบความต้ องการขันพื ้ ้นฐานแล้ ว เขาก็มี สิทธิ์ ที่จะพัฒนาตนเองหรื อได้ รับการพัฒนา ให้ มีมาตรฐานการดารงชี วิตที่สงู ขึ ้นกว่าขันความ ้ จาเป็ นพื ้นฐาน นอกจากนี ้บริ ษัทมีการสรรค์สร้ างนวัตกรรมและการเผยแพร่ นวัตกรรมในการผลิต ให้ เหมาะสมต่อสภาพการทางานตรงกับหลักแนวคิดเรื่ องนโยบายการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน หัวข้ อการ พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม เทคโนโลยีที่จะนามาใช้ ทงในภาคเกษตร ั้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ และไม่สง่ ผลกระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้ อม ทังจะต้ ้ องมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิ ภาพใน การแก้ ไข และฟื น้ ฟูสภาพแวดล้ อม นอกจากนี ้ บริ ษั ท ได้ ปลูก ฝั ง ให้ บุ คลากรในองค์ กรทังในประเทศและต่ ้ า งประเทศให้ ความสาคัญต่อการรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดหลักปรัชญา 3 ประโยชน์ ที่ม่งุ เน้ นการทาธุรกิจที่ เป็ นประโยชน์ตอ่ ประเทศ ต่อประชาชน และต่อบริ ษัท โดยเน้ นให้ บุคลากรทุกคนรู้ จักตอบแทนคุณ แผ่นดินและทาความดีตอบแทนสังคมในทุกเมื่ อที่มีโอกาส ซึ่งสอดคล้ อ งกับนโยบายการพัฒนา อย่ า งยั่ง ยื น ข้ อ ที่ เ ก้ า ที่ ว่ า ด้ ว ย การให้ ก ารศึ ก ษา การให้ ก ารศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สิ่ง แวดล้ อ ม ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์สงั คม วัฒนธรรม เทคโนโลยี หรื อวิชาการด้ านอื่น ๆ จะต้ อง ผสมผสานกันอย่างถูกต้ องและเป็ นไปเพื่อการดารงชีวิตที่มีคณ ุ ภาพก่อให้ เกิดสติปัญญา ก่อให้ เกิด ความรู้ความเข้ าใจในชีวิตและธรรมชาติโดยรอบตัวอย่างถ่องแท้ และก่อให้ เกิดทักษะที่จาเป็ นแก่ การดารงชีวิตที่แท้ จริ ง มาตรฐานการผลิต มาตรฐานการส่ งออกด้ านความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค บริ ษั ทให้ ค วามสาคัญ อย่างยิ่ งในเรื่ อ งของ “คุณ ภาพสิน ค้ า ” ที่ จะต้ อ งได้ มาตรฐาน สะอาดถูกสุขอนามัย ปลอดภัยต่อการบริ โภค โดยมีการใช้ ระบบสุม่ ตรวจเพื่อตรวจสอบมาตรฐาน คุณภาพของวัตถุดิบและสินค้ าที่เป็ นการตรวจสอบที่สายการผลิตต่างๆ ในทุกขันตอน ้ รวมไปถึง การตรวจสอบย้ อนกลับไปถึงแหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิต ทังนี ้ ้ มาตรฐานการผลิตระดับ สากลที่บริ ษัทได้ รับการรับรองเป็ นสิง่ หนึง่ ในการรับประกันคุณภาพของสินค้ า และการจัดการของ


156 บริ ษัทได้ เป็ นอย่างดี โดยบริ ษัทได้ รับการรับรองมาตรฐานการควบคุมคุณภาพสากลที่เป็ นที่ยอมรับ โดยทัว่ ไป อันรวมถึง Good Manufacturing Practices (GMP) ซึ่งเป็ นรางวัลมาตรฐานขันตอน ้ การผลิตที่ดี Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) ซึ่งเป็ นระบบการผลิต อาหารที่ปลอดภัย มาตรฐาน EST/TH, ISO 9002 อันเป็ นมาตรฐานสากลของระบบการดาเนินงาน และจัดการการผลิต มาตรฐาน British Retail Consortium Standard ซึ่งเป็ นมาตรฐานสาหรับ อุตสาหกรรมอาหาร ซึง่ ครอบคลุมกระบวนการผลิตและการจัดการบุคคลากร โดยบริ ษัทมีนโยบาย ในการปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการตรวจสอบคุณภาพสินค้ าให้ ทนั สมัยอยู่เสมอ นอกจากนี ้ บริ ษัทได้ จัดตัง้ ศูนย์ รับเรื่ อ ง (Call Center) เพื่อ รั บข้ อ คิดเห็นรวมทังเรื ้ ่ อ งร้ องเรี ยน เกี่ยวกับสินค้ าของบริ ษัท ซึ่งเมื่ อได้ รับเรื่ อ งดังกล่าวแล้ ว หน่วยงานที่เกี่ ยวข้ องจะต้ อ งดาเนินการ ตรวจสอบและให้ การแก้ ไขเยียวยาอย่างเร่ งด่วน บริ ษัทมี การระบุข้อมูลที่เกี่ ยวข้ องกับสินค้ าของ บริ ษัทอย่างถูกต้ อง เพียงพอ และชัดเจนบนฉลากสินค้ าของบริ ษัท อาทิ ส่วนประกอบที่สาคัญ ข้ อ มูลโภชนาการ วิธีเ ก็ บรั กษา วันที่ ผลิต วันหมดอายุ เป็ นต้ น รวมทังมี ้ บาร์ โค๊ ดเพื่อ ใช้ ในการ ตรวจสอบย้ อ นกลับ ในทุก ขัน้ ตอนการผลิต สิน ค้ า ของบริ ษั ท ไม่ มี ก ารโฆษณาเกิ น จริ ง ที่ อ าจ ก่อให้ เกิ ดความเข้ าใจผิดต่อผู้บริ โภค และมาตรฐาน ISO/IEC 17025 อันเป็ นมาตรฐานสากลที่ เกิ ดขึน้ โดยการร่ วมมื อ กัน ระหว่าง International Organization for Standardization กับ International Electro technical Commission ซึ่งได้ กาหนดทั่วไปว่าด้ วยความสามารถของ ห้ องปฏิบตั ิการสอบเทียบและห้ องปฏิบตั ิการทดสอบให้ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน ซึง่ ครอบคลุมถึงการ บริ หารจัดการห้ องปฏิบตั ิการ ตังแต่ ้ การเตรี ยมตัวอย่างจนถึงความชานาญในการวิเคราะห์ทดสอบ/ สอบเทียบ รวมถึงการเก็บบันทึกและการรายงานผล ซึ่งสอดคล้ องกับ จารวี สุขประเสริ ฐ ที่อ้างถึง แนวคิดมาตรฐานที่จาเป็ นในการส่งออกอาหารทะเลแช่แข็ง จากวารสารผู้สง่ ออก มาตรฐานการส่ งออกด้ านการร่ วมพัฒนาชุมชนและสังคม ด้ วยนโยบายของบริ ษัทที่ม่งุ เน้ นการดาเนินธุรกิจที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม และไม่สง่ ผล กระทบต่อชุมชุน บริ ษัทจึงให้ ความสาคัญต่อ การคิดค้ นนวัตกรรมเพื่อ พัฒนาระบบการจัดการ ฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ของบริ ษัทอย่างต่อเนื่อ ง ซึ่งรวมถึงการเพิ่มประสิทธิ ภาพในการเลี ้ยงสัตว์ เพื่ อให้ ได้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้น ตลอดจนการบริ หารจัดการทรัพยากรน ้า การใช้ พลังงานทดแทน การกาจัดของ เสียที่เกิดจากฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์และการบาบัดน ้าเสียอย่างมีประสิทธิ ภาพ โดยปั จจุบนั การเลี ้ยงสัตว์ ปี กและสุกร บริ ษัทได้ ใช้ ระบบโรงเรื อนปิ ดปรับอากาศ (Evaporative Cooling System) ซึ่งช่วยลด มลภาวะที่เกิดจากกลิน่ รบกวน ตลอดจนมีระบบการกาจัดของเสียภายในฟาร์ ม และการบาบัดน ้า


157 เสียอย่างมีคณ ุ ภาพ สาหรับการจัดการฟาร์ มเลี ้ยงกุ้งของบริ ษัทนัน้ บริ ษัทใช้ วิธีการเลี ้ยงที่เป็ นมิตร ต่อ สิ่ง แวดล้ อ มไม่ ใ ห้ มี ส ารเคมี ต กค้ า ง และเน้ น การเลี ย้ งแบบเทคโนโลยี ชี ว ภาพ (Probiotic Farming) ที่หลีกเลีย่ งการใช้ ยาและสารเคมี และจากความมุ่งมั่นในการดาเนินธุรกิจที่เป็ นมิตรต่อ สิง่ แวดล้ อมส่งผลให้ บริ ษัทได้ รับการรับรองระบบบริ หารจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม หรื อ ISO10441 ซึง่ สอดคล้ องกับ จารวี สุขประเสริ ฐ ที่อ้างถึง แนวคิดมาตรฐานที่จาเป็ นในการส่งออกอาหารทะเล แช่แข็ง จากวารสารผู้สง่ ออก มาตรฐานการส่ งออกด้ านบุคลากร นโยบายด้ านการจ้ างแรงงาน บริ ษัทมีความมุ่งมั่นที่จะยกระดับมาตรฐานแรงงานของ บริ ษั ท รวมทัง้ คุณ ภาพชี วิ ต ของพนัก งาน ให้ มี ส ภาวะแวดล้ อ มในการท างานที่ ดี ขึน้ มี ค วาม ปลอดภัย ไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ได้ รับการปฏิบตั ิที่เป็ นธรรม รักษาสิทธิ มนุษยชน และได้ รับ สวัสดิการที่เหมาะสม เพื่อเป็ นการแสดงความมุ่งมั่น และสามารถปฏิบัติให้ เป็ นไปตามเจตนา ดังกล่าวข้ างต้ นอย่างต่อเนื่อง บริ ษัทจึงได้ นาข้ อ กาหนดมาตรฐานแรงงานไทย (“มรท . 80012546”) มาประยุกต์ใช้ ซึง่ สอดคล้ องกับ จารวี สุขประเสริ ฐ ที่อ้างถึง แนวคิดมาตรฐานที่จาเป็ นใน การส่งออกอาหารทะเลแช่แข็ง จากวารสารผู้สง่ ออก และประกาศเป็ นนโยบายความรับผิดชอบ ทางสังคม และแรงงานไว้ สาหรับการจ้ างแรงงานในประเทศ และมาตรฐาน ISO18001 ซึ่งเป็ น มาตรฐานรั บรองในเรื่ องของความปลอดภัยและสวัสดิการพนักงาน ซึ่งสอดคล้ องกับ จารวี สุข ประเสริ ฐ ที่อ้ างถึง แนวคิดมาตรฐานที่จาเป็ นในการส่งออกอาหารทะเลแช่แข็ง จากวารสารผู้ ส่งออก


บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ จากการศึ ก ษาเรื่ อ ง การบริ ห ารความเสี่ ย งของอุ ต สาหกรรมอาหารทะเลแช่ แ ข็ ง กรณี ศึกษา บริ ษัทเจริ ญโภคภัณฑ์ อาหาร จากัด (มหาชน) โดยการนาผลการศึกษาการบริ หาร ความเสี่ยง เพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ในการศึกษาการบริ หารความเสี่ยงของบริ ษัท ซึ่งมี วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการดาเนินงานการค้ าระหว่างประเทศ ศึกษาปั จจัยความเสี่ยงและการ บริ หารความเสี่ยง และแนวทางการจัดการวิกฤตการณ์ ทางอาหาร ซึ่งสามารถสรุ ปผลการศึกษา และวิเคราะห์ได้ ดงั นี ้ การค้ าระหว่ างประเทศ บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด (มหาชน) ได้ มีการจัดตังบริ ้ ษัทย่อยในต่างประเทศ สาหรับ ธุรกิจประเภทสัตว์น ้า เพื่อทาการผลิตสินค้ าและจัดจาหน่ายภายในประเทศนันซึ ้ ง่ ประกอบไปด้ วย ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ ประเทศสหรัฐอเมริ กา เนื่องจากในแต่ละประเทศมีความนิยมในผลิตภัณฑ์แตกต่างกัน และการที่บริ ษัทเข้ าไปทาการ ลงทุนในต่างประเทศนัน้ จะทาให้ บริ ษัทสามารถผลิตสินค้ าที่ตอบสนองความต้ องการของผู้บริ โภค ภายในประเทศนันได้ ้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความได้ เปรี ยบทางด้ านปั จจัยการผลิต ซึง่ ส่งผล ให้ เป็ นการประหยัดต้ นทุนในการขนส่งวัตถุดิบ การบริหารความเสี่ยง สรุปผลการศึกษาการบริ หารความเสีย่ ง ในแต่ละองค์ประกอบ พบว่า 1. การกาหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) ในการกาหนดวัตถุประสงค์ของการบริ หารความเสี่ยงจะต้ องคานึงถึงหลัก SMART ซึ่งวัตถุประสงค์ของบริ ษัทคือ คงความเป็ นผู้นาในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารแบบครบ


159 วงจร บริ ษัท มี ความมุ่งมั่นในการผลิต อาหารที่มี คุณภาพ มี คุณค่าทางโภชนาการ สะอาดถูก สุขอนามัย และปลอดภัย สู่ผ้ ู บริ โภค ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ซึ่งวัตถุประสงค์ ดังกล่าวมี ความ เป็ นไปได้ และชัดเจน (Specific) ซึ่งผู้ปฏิบัติสามารถเข้ าใจความหมายและปฏิบัติได้ จริ งและ เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน บริ ษัทเป็ นผู้นาในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมอาหารแบบครบวงจร ซึ่ง สามารถวัดผลได้ (Measurable) และวัตถุประสงค์ดงั กล่าว ผู้ปฏิบตั ิงานสามารถนาไปปฏิบตั ิได้ (Achievable) เนื่ อ งจากวัต ถุป ระสงค์ ไม่ สูง เกิ น กว่ า ความสามารถของผู้ป ฏิ บัติ ง าน มี ค วาม สมเหตุ ส มผล (Reasonable) สามารถปฏิ บั ติ ไ ด้ จริ งภายในระยะเวลาที่ ก าหนด (Time Constrained) 2. การระบุความเสีย่ ง (Risk Identification) เป็ นการระบุความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์กร ประกอบด้ วย ความ เสี่ยงด้ านโครงสร้ างการกากับดูแลกิ จการ คือบริ ษัทมีความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์ องค์ กร ความ เสีย่ งด้ านกลยุทธ์ บริ ษัทมีความเสีย่ งในเรื่ องของความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อ ม การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ประสิทธิภาพในการจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน ความ ผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและ ราคาเนื ้อสัตว์ และความเสีย่ งด้ านกฎหมายและระเบียบทางการค้ า ความเสี่ยงด้ านตลาด บริ ษัทมี ความเสี่ยงด้ านการเงินและรายงานทางการเงิน คือ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย และความเสี่ยงด้ านปฏิบตั ิการ ซึ่งบริ ษัทไม่ได้ กาหนดความเสี่ยงจากการทุจริ ต ความเสี่ยงด้ านบุคลากร ความเสี่ยงด้ านความปลอดภัยของ ทรั พย์สินไว้ เว้ นแต่ความเสี่ยงจากลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ และวิธีปฏิบัติในการดาเนินธุ รกิ จ บริ ษัทมี ความเสีย่ งในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค ความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า การ เกิดโรคระบาดในสัตว์ และบริ ษัทไม่ได้ มีการระบุความเสีย่ งด้ านเครดิตและด้ านสภาพคล่อง 3. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) ในหลักการประเมิ นความเสี่ยง ได้ พิจารณาจากความรุ นแรงของผลกระทบที่เกิ ด จากเหตุการณ์ตา่ งๆ ว่ามีมากน้ อยเพียงใด โดยจัดระดับความรุ นแรงและผลกระทบ เป็ น 5 ระดับ คือ ความเสี่ยงในระดับที่สงู มาก ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดับที่ต่า ต่ามาก โดยบริ ษัทมีเพียง


160 ความสูงที่อยู่ในระดับสูงและปานกลางเท่านัน้ ซึ่งในระดับสูง ได้ แก่ ความเสี่ยงด้ านภาพลักษณ์ องค์กร ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม ประสิทธิ ภาพในการบริ หารจัดการด้ าน ห่วงโซ่อุปทาน การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ความผันผวนของราคาวัตถุดิบ ที่ใช้ ใน การผลิตอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์มีชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความเสีย่ งด้ านกฎหมาย และระเบียบทางการค้ า ความผันผวนของการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ความผันผวนของ อัตราดอกเบี ้ย และการเกิดโรคระบาดต่างๆในสัตว์ และความเสี่ยงที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้ แก่ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค และความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า 4. การจัดการความเสีย่ ง (Risk Treatment) การหลีกเลี่ยง เป็ นความเสี่ยงที่สูงเกินไปไม่สามารถรับความเสี่ยงที่เกิดขึ ้นได้ ซึ่ง บริ ษัทไม่มีเหตุการณ์ความเสีย่ งที่อยูใ่ นระดับนี ้ การป้องกันภัย ประกอบด้ วย การป้องกันก่อนที่จะ เกิดขึ ้น บริ ษัทใช้ วิธีนี ้จัดการกับ ความแปรปรวนของภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม การเกิดโรค ระบาดต่างๆในสัตว์ ประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการด้ านห่วงโซ่อุปทาน ความผันผวนของราคา วัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์ ความผันผวนของราคาสัตว์ มี ชีวิตและสินค้ าเนื ้อสัตว์ ความ เสีย่ งด้ านกฎหมายและระเบียบทางการค้ า ความเสีย่ งด้ านภาพลักษณ์ องค์กร เนื่องจากเป็ นความ เสีย่ งที่อยูใ่ นระดับสูง และการทาให้ ความสูญเสียน้ อยที่สดุ เท่าที่ทาได้ บริ ษัทควรใช้ วิธีนี ้จัดการกับ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริ โภค ความปลอดภั ยและคุณภาพของสินค้ า เนื่อ งจากเป็ น ความเสีย่ งที่อยูใ่ นระดับปานกลาง การเลือกที่จะรับความเสี่ยงไว้ เอง แบ่งเป็ น การรับความเสี่ยง แบบรู้ตวั การรับความเสีย่ งโดยไม่ร้ ูตวั แต่บริ ษัทไม่มีความจาเป็ นต้ องใช้ วิธีนี ้หรื อใช้ วิธีนี ้น้ อยที่สดุ ในการจัดการความเสี่ยง การถ่ายโอนความเสี่ยงไปให้ บุคคลผ่านทางสัญญา บริ ษัทควรใช้ วิธีนี ้ จัดการกับ การลงทุนและการดาเนินงานในต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ย เนื่องจากเป็ นความเสี่ยงที่อยู่ในระดับสูงเกินกว่าจะ รับความเสีย่ งนันไว้ ้ เอง 5. การติดตามและการรายงาน (Monitoring Evaluating and Reporting) บริ ษัทมีการติดตามผลและการรายงานโดยจัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ซึง่ ได้ ข้อสรุปดังนี ้ ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทมีความเหมาะสมและเพียงพอต่อธุรกิจของ


161 บริ ษัท รวมทัง้ มี ประสิทธิ ผลเพียงพอที่จะช่วยลดความเสี่ยงทางธุรกิจ และป้องกันทรั พย์ สินของ บริ ษัท จากการที่ผ้ บู ริ หารนาไปใช้ โดยมิชอบ หรื อโดยไม่มีอานาจ วิกฤตการณ์ อาหารโลก อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง ได้ รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์ อาหารอยู่ในระดับต่า เนื่องจากประเทศไทยมีลกั ษณะภูมิประเทศที่อุดมไปด้ วยทรัพยากรธรรมชาติ และบริ ษัท เจริ ญโภค ภัณฑ์อาหาร จากัด เป็ นผู้นาของอุตสาหกรรมอาหารในประเทศ ประกอบกับบริ ษัท มีการบริ หาร ความเสีย่ งที่มีประสิทธิภาพสูง ดังนันปั ้ ญหาวิกฤตการณ์ อาหารโลกไม่สง่ ผลกระทบต่อการบริ หาร ความเสีย่ งของบริ ษัท แนวทางการพัฒนาอย่ างยั่งยืน แนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของ มีนโยบายในการดาเนินธุรกิจในลักษณะที่เป็ นมิตร ต่อสิง่ แวดล้ อม และไม่สง่ ผลกระทบต่อชุมชน มีการจัดการทรัพยากรการผลิตอย่างยัง่ ยืน เพื่อสร้ าง ความมัน่ คงทางด้ านอาหาร โดยกระบวนการผลิตในแต่ละขันตอนนั ้ น้ บริ ษัททาการผลิตที่เป็ นไป ตามมาตรฐาน ISO 18001 อีกทังบริ ้ ษัทได้ มีการปลูกฝั งให้ บุคลากรในองค์กรทังในประเทศและ ้ ต่างประเทศให้ ความสาคัญต่อการรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดหลักปรัชญา 3 ประโยชน์ ที่ม่งุ เน้ น การทาธุรกิจที่เป็ นประโยชน์ตอ่ ประเทศ ต่อประชาชน และต่อบริ ษัท โดยเน้ นให้ บุคลากรทุกคนรู้ จัก ตอบแทนคุณแผ่นดิน ข้ อเสนอแนะ 1. บริ ษัทควรทาการติดสัญญาณเตือนภัยต่างๆ การทาประกันภัยโรงงาน หรื อก่อ น การจัดตังโรงงานควรส ้ ารวจพื ้นที่ ให้ อยูใ่ นบริ เวณที่เหมาะสม จัดสรรบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ เพื่อกากับดูแลกับความเสีย่ งจากการแปรปรวนด้ านภูมิอากาศและสภาพแวดล้ อม และเตรี ยมการ จัดทาแผนฉุกเฉินเพื่อเตรี ยมพร้ อมต่อสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดได้ อย่างทันท่วงที 2. บริ ษัทควรทาการเฝ้าระวังการเกิดโรคระบาดในสัตว์ทงในประเทศและต่ ั้ างประเทศ โดยการค้ นคว้ า วิจัย จัดการฟาร์ ม สุขาภิบาล การดูแลสัตว์ อ ย่างต่อเนื่อ ง ควบคุมคุณภาพการ


162 จัดการฟาร์ ม และจัดการฟาร์ มตามมาตรฐานการจัดการฟาร์ มที่กาหนด ตลอดจนการจัดทาการ เตือนภัยล่วงหน้ า (Early Warning) เพื่อป้องกันการเกิดโรคระบาดไม่ให้ เกิดการแพร่กระจาย 3. บริ ษัทควรที่จะคอยปรับปรุงข้ อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ ้นภายในห่วงโซ่อุปทานอย่าง สม่าเสมอ เพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบตั ิงาน 4. บริ ษัทควรทาสัญญาทางการค้ าเพื่อ ประกันเรื่ องความผันผวนของราคาวัตถุดิบที่ อาจจะสูงขึ ้น ส่งผลกระทบต่อต้ นทุนการผลิตสินค้ า 5. บริ ษัทควรทาการติดตามและประเมินผลต่อสถานการณ์ ที่จะส่งผลกระทบต่อความ ผันผวนของราคา หรื อทาการหาช่องทางการทาการค้ าระหว่างประเทศ 6. บริ ษัทควรทาการแต่งตังพนั ้ กงานที่มีความชานาญการในเรื่ อ งของกฎหมายและ ข้ อบังคับของประเทศนันๆ ้ 7. บริ ษัทควรให้ ความสาคัญในเรื่ องของการกากับดูแลกิจการที่ดี การเปิ ดเผยข้ อมูล ของบริ ษัทให้ มีความชัดเจน ถูกต้ องและเหมาะสม 8. บริ ษัทควรที่จะทาสัญญากับสถาบันทางการเงินโดยกาหนดอัตราการแลกเปลี่ยน เงินตราระหว่างประเทศไว้ ลว่ งหน้ า 9. บริ ษัทควรที่จะมีการติดตามข่าวความเคลือ่ นไหวของอัตราดอกเบี ้ยในท้ องตลาด ข้ อเสนอแนะในการศึกษาครัง้ ต่ อไป 1. ควรมีการวิเคราะห์ ให้ ครบองค์ประกอบของ COSO เนื่องจากปั ญหาพิเศษเล่มนี ้ จัดทาเกี่ ยวกับ การบริ หารความเสี่ยงเพียงอย่างเดียว จึงไม่เห็นภาพรวมของการควบคุมภายใน องค์กร


163 2. ควรศึก ษาบริ ษั ท ที่ มี อ งค์ ก รขนาดปานกลาง สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ ง่า ยกว่ า เนื่องจากบริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) เป็ นองค์กรขนาดใหญ่ ยากที่จะหาข้ อมูล ในเชิงลึก


เอกสารอ้ างอิง กรมอนามัย. 2549. การบริหารความเสี่ยง. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 30 มกราคม 2556, จาก http://www.anamai.moph.go.th/hpmp2/. กองบริ การศึกษา สานักงานอธิการบดี. 2553. แนวปฏิบัติท่ ดี ี ระบบควบคุมภายใน. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 30 มกราคม 2556, จาก http://www.atikarn.rbru.ac.th กฤตยาวดี เกตุวงศา. 2553. ผลกระทบของคุณลักษณะองค์ กรที่มีต่อประสิทธิผลการ บริหารความเสี่ยงของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. 2548. เอกสารคู่มือการบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: กลุม่ งานบริ หารความเสีย่ ง สานักพัฒนาโครงการพิเศษ. จันทนา กุศลรุ่งรัตน์ . 2548. การบริหารความเสี่ยงของอุตสาหกรรมส่ งออกกุ้งสดแช่ แข็ง แช่ เย็น. วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . เจนเนตร มณีนาค. 2548. การบริหารความเสี่ยงระดับองค์ กร. กรุงเทพมหานคร: ซัม ซิส เต็ม. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้ าแห่งประเทศไทย. 2543. ทิศทางการส่ งออกและลงทุน เล่ ม 3. กรุงเทพมหานคร: เปรี ย้ ว. ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2555. รายงานราคาสินค้ าเกษตรสาคัญของไทย เดือนมิถนุ ายน 2555. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2556, จาก http://www.bot.or.th ทิศณา แขมมณี. 2542. เอกสารประกอบการสัมมนาโครงการปราชญ์ เพื่อแผ่ นดิน เรื่อง ปรัชญาการพัฒนา: ทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดาริ มิตดิ ้ านการศึกษาและพัฒนา คน. กรุงเทพฯ: (ม.ป.พ.). (เอกสารอัดสาเนา). นุจรี กลัน่ ดอน. 2555. ศึกษาแนวคิดด้ านการควบคุมภายในตามแนวโคโซ่ (COSO) กับ ประสิทธิภาพการทางานด้ านการบัญชีและการเงินของการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค สาขาพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์. สารวิจยั บัญชีบณ ั ฑิต, มหาวิทยาลัยศรี ปทุม. นฤมล สอาดโฉม. 2548. การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: ก.พลพิมพ์. _____________ . (2550, พฤษภาคม). การบริหารความเสี่ยงกับเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารบริ หารธุรกิจนิด้า.


เอกสารอ้ างอิง (ต่ อ) นวรัตน์ ชนาพรรณ. 2550. การศึกษากลยุทธ์ ในการดาเนินงาน ภูมิความรู้ความชานาญ เชาว์ เชิงปฏิบตั ิและความสาเร็จในการประกอบธุรกิจอาหารแช่ แข็งกลุ่มผลิตภัณฑ์ จากสัตว์ นา้ .วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและ องค์การ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . นวลน้ อย ตรี รัตน์ . 2551. ความมั่นคงทางอาหาร. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 27 มกราคม 2556, จาก http://www.nidambe11.net บมจ. ธนาคารกรุงไทย. สารวิจยั ธุรกิจ. อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่ แข็ง. 2553. ปานทิพย์ เปลีย่ นโมฟี่ . 2551. อาหารแช่ แข็ง: อุตสาหกรรมที่น่าจับตามอง. อุตสาหกรรมสาร, 51, 4-7. ปราชญา กล้ าผจัญ. 2551. การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: ปราชญา พับบลิชชิ่ง. ประพันธ์ เศวตนันท์ และ ไพศาล เล็กอุทยั . 2544. หลักเศรษฐศาสตร์ (พิมพ์ครัง้ ที่ 7). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปวรรัตน์ พรรธนประเทศ. 2555. ความมั่นคงทางอาหาร. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 27 มกราคม 2556, จาก http://www.nutrition.anamai.moph.go.th เพ็ญศรี เปลีย่ นขา. (2550, กรกฎาคม-ธันวาคม). วิธีการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิชาการ ราชภัฎตะวันตก. 2(1): 27-30. พิชยั จรรย์ศภุ ริ นทร์ และคณะ. 2548. คู่มือการบริหารความเสี่ยง ชสอ. ชุมนุมสหกรณ์ ออมทรัพย์ แห่ งประเทศไทย. (ออนไลน์). ค้ นเมื่อ 30 มกราคม 2556, จาก http://www.fsct.com. ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส. 2547. แนวทางการบริหารความเสี่ยง. ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2547 (ฉบับปรับปรุง) กรุงเทพมหานคร: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. มิกโฟเซ็น. 2551. จุดกาเนิดอาหารแช่ แข็ง. ค้ นเมื่อ 6 มกราคม 2556, จาก http://www.mix4zen.com มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2541. การบริหารธุรกิจขนาดกลางขนาดย่ อมและค้ า ปลีก. พิมพ์ครัง้ ที่ 13. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. รงค์ ประพันธ์ พงษ์ . 2550. เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ . กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.


เอกสารอ้ างอิง (ต่ อ) ราตรี สิทธิพงษ์ และชาลี ตระกูล. 2552. เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซ์ เปอร์ เน็ท. ลินด์ซีย์ ฟาลวีย์. 2548. การเกษตรไทย อู่ข้าวอู่นา้ ข้ ามสหัสวรรษ. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วลัยพร ธรรมบารุง. 2550. การวิเคราะห์ อุปสงค์ การนาเข้ าอาหารทะเลแช่ แข็งของ ประเทศไทยในประเทศญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์ วทิ ยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ เกษตร,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วิทยา อธิปอนันต์ และคณะ. 2543. เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตรที่พ่ งึ พาตนเอง. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริ มการเกษตร สานักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กลุม่ สือ่ ส่งเสริ ม การเกษตร. ศจินทร์ ประชาสันติ์. 2552. สถานการณ์ ความมั่นคงทางอาหารของประเทศไทยภายหลัง ปี 2540. (ออนไลน์), ค้ นเมื่อ 20 มกราคม 2556 จาก http://www.sathai.org ศุภาพิชญ์ ภวนะเจริ ญสุข. 2551. การวิเคราะห์ เชิงกลยุทธ์ อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่ แข็ง. วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตร์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคาแหง. สัญญา สัญญาวิวฒ ั น์. 2544. การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจในชนบท. กรุงเทพฯ: สภาวิจยั แห่งชาติ. สมพงษ์ เฟื่ องอารมณ์. 2546. การค้ าระหว่ างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ สุมาลี จิวะมิตร. 2542. การบริหารการเงิน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. ม.ป.ป. การวิเคราะห์ และการบริหารความ เสี่ยง. (ออนไลน์), ค้ นเมื่อ 30 มกราคม 2556, จาก http://www.opdc.go.th สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ . 2547. เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิชยั พัฒนา. สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ . 2554. ทฤษฎีใหม่ หลักการพึ่งตนเองที่ย่ งั ยืน. ม.ป.ท.


เอกสารอ้ างอิง (ต่ อ) สานักส่งเสริ มและประมวลชน ส่วนส่งเสริ มการมีสว่ นร่วม. 2555. วิกฤตการณ์ อาหารโลก. เกร็ ดความรู้ทรัพยากรธรรมชาติ (ออนไลน์), ค้ นเมื่อ 20 มกราคม 2556 , จาก http://intranet.dwr.go.th. อุษณา ภัทรมนตรี . 2545. การตรวจสอบภายในและควบคุมภายใน: แนวคิดและ กรณีศึกษา. วิ ทยานิพนธ์ บริ หารธุรกิ จมหาบัณฑิ ต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . อาภรณ์ ชีวะเกรี ยงไกร. 2555. วิกฤตอาหารโลก. (ออนไลน์), ค้ นเมื่อ 20 มกราคม 2556, จาก http://www.bangkokbiznews.com.



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.