คำชี้แจงข้อกล่าวหาจำนำข้าวของยิ่งลักษณ์

Page 1

1

หนังสื อชี้แจงแก้ ข้อกล่ าวหา

เลขที่ ๓๘/๙ หมู่ที่ ๙ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุ งเทพมหานคร วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๗ เรื่อง ชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหา (ครั้งที่ ๑) เรียน ประธานและกรรมการ ป.ป.ช. อ้ างถึง บันทึกการแจ้งข้อกล่าวหานางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ฉบับลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ คดีหมายเลขดำาที่ ๕๗๓๐๐๓๐๖๐๕ สิ่ งทีส่ ่ งมาด้ วย ๑. บัญชีลาำ ดับพยานบุคคลอ้างนำาสื บ รวม ๑๑ คน ๒. บัญชีลาำ ดับพยานเอกสารอ้างนำาสื บ รวม ๕๙ รายการ ตามที่ เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ คณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้างว่าคณะ กรรมการ ป.ป.ช.ได้ทาำ การไต่สวนข้อเท็จจริ งโดยรวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับข้อกล่าว หาพบว่ามีมูลจึงได้แจ้งข้อกล่าวหาข้าพเจ้า ว่า ระหว่างวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลากลางวันและกลางคืนต่อเนื่องกัน สถานที่เกิดเหตุ แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุ งเทพมหานคร กล่าวหาอ้างว่า ข้าพเจ้าได้กระทำาความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อ ละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้น การปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๕๗ และความผิดฐานเป็ นเจ้า หน้าที่ของรัฐปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิอย่างใดในตำาแหน่งหรื อหน้าที่หรื อใช้อาำ นาจใน ตำาแหน่งหรื อหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการ ปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันการปราบ ปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๑๒๓/๑ อีกทั้งกล่าวหาอ้างว่าข้าพเจ้า จงใจใช้อาำ นาจหน้าที่ขดั ต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๘ โดยอ้างว่าอันเป็ นเหตุแห่ง การถอดถอนออกจากตำาแหน่งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐


2

มาตรา ๒๗๐ –ดังมีรายละเอียดตาม บันทึกการแจ้งข้อกล่าวหา นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี คดีหมายเลขที่ ๕๗๓๐๐๓๐๖๐๕ ข้อ ๑ ถึง ข้อ ๕ ซึ่งเป็ นการกล่าวหาว่ากระทำาความผิด ใน ๒ สถานะ คือ ในสถานะนายกรัฐมนตรี ผดู ้ ูแลนโยบายโดยรวมและในฐานะประธาน กขช. ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการเสนอกรอบนโยบายข้าว อนุมตั ิแผนงานโครงการ ดูแลปฏิบตั ิตามนโยบาย และอื่น ๆ โดยในการกล่าวหาตาม ข้อ ๑ ถึง ข้อ ๕ ข้างต้น คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีเอกสาร อ้างอิง ๑๐ รายการตามตารางอ้างอิง คือ ลำาดับ ที่

เอกสารจาก

เลขที่เอกสาร

ลงวันที่

๑.

สำ านักงาน ป.ป.ช.

ปช๐๐๐๒/๐๑๑๐

๑๕ พ.ย. ๕๓

๒.

สำ านักงาน ป.ป.ช.

-

๓.

สำ านักงาน ป.ป.ช.

๔.

เรื่อง ข้ อเสนอแนะเพือ่ ป้องกันการทุจริตในการ แทรกแซงตลาดข้ าวของรัฐบาล

ส.ค. ๕๓

ผลวิจัยของ ป.ป.ช. โครงการศึกษามาตรการ แทรกแซงตลาดข้ าวเพือ่ ป้องกันการทุจริต (TDRI)

ปช๐๐๐๓/๐๑๑๘

๗ ต.ค. ๕๔

ยืนยันข้ อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการแก้ ปัญหาการทุจริตจากการแทรกแซง ตลาดข้ าวข้ องรัฐบาล

สำ านักงาน ป.ป.ช.

ปช ๐๐๐๓/๐๑๙๘

๓๐ เม.ย. ๕๕

ข้ อเสนอแนะของ ป.ป.ช. เพือ่ ป้องกันการทุจริต

๕.

สำ านักเลขาฯ ครม.

นร ๐๕๐๖/๑๖๓๓๔

๒๒ มิ.ย. ๕๕

มติ ครม.ยืนยันดำาเนินโครงการต่ อ

๖.

สภาฯอภิปราย

-

๒๕-๒๗ พ.ย. ๕๕

การทุจริต

๗.

วรงค์ เดชกิจวิกรม

-

๑๘ เม.ย. ๕๖

การทุจริต

๘.

คณะอนุกรรมการปิ ด บัญชีฯ ของ กขช.

กค ๐๒๐๑/ล.๑๕๖๙

๙ ต.ค. ๕๕

แจ้ งการขาดทุนนาปี ๕๔/๕๕ จำานวน ๓๒,๐๐๐ ล้ านบาท

๙.

คณะอนุกรรมการปิ ด บัญชีฯ ของ กขช.

กค ๐๒๐๑/๘๐๘๑

๒๓ พ.ค. ๕๖

แจ้ งการขาดทุน ๓ ครั้ง ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้าน บาท

๑๐.

สตง.

ตผ ๐๐๑๒/๐๒๘๐

๓๐ ม.ค. ๕๗

แจ้ งผลการตรวจสอบโครงการรับจำานำา


3

นอกจากนี้ เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม๒๕๕๗ คณะกรรมการ ป.ป.ช.ได้อนุญาตให้ ทนายความของข้าพเจ้าตรวจพยานหลักฐานที่ใช้ในการการกล่าวหาข้าพเจ้าจำานวน ๔๙ แผ่นและ อนุญาตให้ทนายความข้าพเจ้าถ่ายเอกสารดังกล่าวทั้ง ๔๙ แผ่นปรากฏตามเอกสารที่แนบท้าย หนังสื อชี้แจงข้อกล่าวหานี้ (เอกสารแนบท้ายหมายเลข ๑-รวม๔๙หน้า ประทับหมายเลข ๐๐๑ ถึง หมายเลข ๐๔๙) โดยจากบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาของ คณะกรรมการ ป.ป.ช.ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ คณะกรรรมการ ป.ป.ช.ได้ต้ งั ประเด็นในการกล่าวหา โดยมีประเด็นการกล่า วหาที่สืบเนื่องมาจาก “การอ้ างว่ านายกรัฐมนตรีรับทราบข้ อเท็จจริงใน ๗ ประเด็น (๗เหตุผล หลัก)” อันนำาไปสู่การกล่าวหาข้าพเจ้า คือ ประเด็นแรก อ้างว่า นายกรัฐมนตรี ได้รับทราบข้อเสนอแนะ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่า “ในอดีต ได้ก่อให้เกิดปัญหามากมาย..และประการสำาคัญมีปัญหาในการทุจริ ตทุกขั้น ตอน” (เอกสาร คณะกรรมการ ป.ป.ช. ๗ ต.ค. ๕๔) คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีหนังสื อแจ้งไป ยังนายกฯ ยืนยัน “ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช.” ว่าการจำานำาก่อให้เกิดปัญหา มากมาย โดย 1) บิดเบือนกลไกตลาด มากจนเกินไปหรื อไม่ 2) มีขา้ วในโกดัง เสี ยค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาเป็ นจำานวนมากหรื อไม่ ำ อไม่ 3) ข้าวเสื่ อมคุณภาพเพราะระบายออกไม่ทน ั ทำาให้ราคาข้าวตกต่าหรื 4) มีปัญหาทุจริ ตในทุกขั้นตอนหรื อไม่ 5) ผูไ้ ด้รับผลประโยชน์เป็ นเพียงคนบางกลุ่ม ไม่ครอบคลุมเกษตรกรอย่าง ทัว่ ถึงหรื อไม่ ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้างว่า นำาไปสู่การทุจริ ตหรื อแสวงหาผลประโยชน์ที่ ไม่ควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย อันก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ประเทศชาติและคณะกรรมการ ป.ป.ช.เห็นว่า “รัฐบาลจึงควรยกเลิกโครงการจำานำาข้าวเปลือก และนำาระบบการประกันความ เสี่ ยงด้านราคาข้าวมาดำาเนินการ ซึ่งจะส่ งผลให้การค้าข้าวดำาเนินการไปตามกลไกตลาด ก่อให้ เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในภาพรวม อีกทั้งสามารถป้ องกันการดำาเนินนโยบายอย่างไม่ เหมาะสม” (อ้างการศึกษาของ TDRI ก่อนที่รัฐบาลยิง่ ลักษณ์จะเข้ามา)


4

ประเด็นทีส่ อง อ้างว่า นายกรัฐมนตรี รับทราบผลการติดตามของ ป.ป.ช. ว่ามี “ปัญหาการทุจริ ตเชิงนโยบาย และในขั้นตอนและกระบวนการดำาเนินโครงการ” (เอกสาร ป.ป.ช. ๓๐ เม.ย. ๕๕) ป.ป.ช.มีหนังสื อแจ้งไปยัง นายกรัฐมนตรี สรุ ปว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ติดตาม พบว่า ... โครงการได้ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ “ปัญหาการทุจริ ตเชิง นโยบาย” และในส่ วนของขั้นตอน และกระบวนการดำาเนินโครงการ ประเด็นทีส่ าม อ้างว่า นายกรัฐมนตรี รับทราบเกี่ยวกับเรื่ องทุจริ ตจากการ อภิปรายไม่ไว้วางใจของฝ่ ายค้านในสภา (๒๕-๒๗ พ.ย. ๒๕๕๕) ประเด็นทีส่ ี่ นายกรัฐมนตรี รับทราบปัญหาจาก การตั้งกระทูถ้ ามเรื่ องการระบาย ข้าวแบบรัฐต่อรัฐ และปัญหาโครงการรับจำานำาข้าวของนายวรงค์ (๑๘ เม.ย. ๒๕๕๖) ประเด็นทีห่ ้ า นายกรัฐมนตรี ในฐานะ ประธาน กขช. ทราบจากรายงานจากคณะ อนุฯ กขช. (๙ ต.ค. ๒๕๕๕) ว่ามีการขาดทุน ๓๒,๓๐๑ ล้านบาท และรับทราบข้อสังเกตและข้อ เสนอแนะ ๕ ข้อที่เป็ นจุดอ่อนของโครงการ (แต่ไม่มีเรื่ องการทุจริ ต) โดยคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ รายงาน อ้างว่า ว่ามีการขาดทุน ๓๒,๓๐๑ ล้าน บาท และรับทราบข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ๕ ข้อได้แก่ (1) ราคาสูงกว่าตลาดมาก เป็ นภาระของรัฐ..ควรลดปริ มาณและราคาลงให้ เหมาะสม..และช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพแทนราคาจำานำาสูงกว่าราคาตลาด .. เสี่ ยงเป็ นภาระรายจ่าย ของรัฐและขาดทุนจำานวนมาก (ทั้งการอุดหนุนเกษตรกร และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น สี แปรสภาพ ขนส่ ง... ดังนั้นปริ มาณการรับจำานำา..ที่ไม่ทาำ ให้กลไกตลาดถูกแทรกแซงมากจนเกินไป โดยการ กำาหนดราคารับจำานำาควรอยูใ่ นระดับที่เหมาะสม สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตที่เกษตรกรรับ ภาระอยู่ .. ควรมุ่งช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ลูกข้าวอย่างยัง่ ยืน ..ประสิ ทธิภาพ..เพิ่มผลผลิตต่อไร่ คุณภาพวัตถุดิบ..ลดต้นทุนการผลิตข้าว (๒)รับซื้ อทุกเมล็ดกระตุน้ ให้ผลิตข้าวเพิ่ม คุณภาพต่าำ เป็ นภาระในอนาคต การรับจำานำาในราคาสูงและไม่จาำ กัดปริ มาณเป็ นแรงกระตุน้ ให้เกษตรกรเพิ ่มรอบการผลิตมาก ขึ้น..ปริ มาณข้าวสูง..คุณภาพข้าวด้อยลง..สร้างภาระรัฐบาล (3) รัฐบาลกลายเป็ นผูค้ า้ ข้าวรายใหญ่..ทำาลายตลาดเอกชนโดยเฉพาะ • ตลาดกลางข้าวเปลือกถูกทำาลาย • โรงสี ผูส้ ่ งออก ในโครงการ ได้เปรี ยบ โรงสี นอกโครงการ • ข้าวไทย แพง กว่าข้าวคู่แข่ง ทำาให้ไทยสูญเสี ยตลาด


5

(๔) รับซื้ อทุกเม็ดเกิดความเสี่ ยง สวมสิ ทธิ์จากประเทศเพื่อนบ้านและคุณภาพข้าว ต่าำ การรับจำานำาข้าวเปลือกทุกเม็ดโดยไม่จาำ กัดพื้นที่และวงเงิน...ส่ งผลต่อความเสี่ ยงในการเกิด ความเสี ยหายต่อโครงการ...โดยเฉพาะประเด็นข้าวสวมสิ ทธิ์ .. ปริ มาณรับจำานำาสูงเกินกว่าข้อ ำ าราคาจำานำา เท็จจริ ง แต่คุณภาพข้าวต่ากว่ (๕)โครงการของประเทศไทยส่ งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้ น ประเทศไทย ส่ งออกไม่ได้และได้มีการสรุ ป อ้างว่า “โครงการของประเทศไทยส่ งผลให้ราคาข้าวในตลาด โลกสูงขึ้น ..ประเทศส่ งออกรายอื่น ได้ประโยชน์ ..ประเทศไทยไม่สามารถจำาหน่ายข้าวใน โครงการได้ เนื่องจากราคาจำานำาสูงกว่าราคาตลาดโลก ...” คณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้างว่า “แม้นายกรัฐมนตรี จะได้รับข้อเท็จจริ งดังกล่าว แต่ ยังดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปรังปี ๒๕๕๕ และโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก นาปรัง ๒๕๕๕/๕๖ ต่อมาตามลำาดับ” ประเด็นทีห่ ก - คณะอนุฯ กขช. แจ้ง นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธาน กขช. (๒๓ พ.ค. ๒๕๕๕) ว่าโครงการฯ ขาดทุน ๒๒๐,๙๖๘ ล้านบาท (แต่ไม่มีเรื่ องการทุจริ ต..) คณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้างว่า คณะอนุฯได้รายงานผลการปิ ดโครงการ..ว่า โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปรัง ๒๕๕๕ และโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปรัง ๒๕๕๕/๒๕๕๖ มีผลขาดทุนรวม ๒๒๐,๙๖๘ ล้านบาท คณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้างว่า แม้นายกรัฐมนตรี จะได้รับข้อเท็จจริ งดังกล่าว แต่ยงั ดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกในฤดูการผลิตต่อมา ประเด็นทีเ่ จ็ด - นายกรัฐมนตรี ได้รับข้อมูลเป็ นหนังสื อจาก สตง (๓๐ ม.ค. ๒๕๕๗) ซึ่งอ้ างว่ า ว่าโครงการจำานำามีจุดอ่อนหรื อความเสี ยงทุกขั้นตอน กระทบต่องบ ประมาณแผ่นดินและเกษตรกร และไม่เกิดการพัฒนาข้าวอย่างยัง่ ยืน สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินอ้างว่า จากการตรวจสอบของสำานักงานการ ตรวจเงินแผ่นดินพบว่า (๑)การดำาเนินการมีจุดอ่อน หรื อความเสี่ ยงในทุกขั้นตอน (๒)เกิดผลกระทบสร้างความเสี ยหายต่อเงินงบประมาณแผ่นดินและเกษตรกร ความเสี่ ยงต่อระบบการคลัง ..ไม่ก่อให้เกิดการพัฒนาการผลิตข้าวอย่างยัง่ ยืน และ สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเสนอแนะว่า (1) พิจารณาทบทวน ยุติการดำาเนินโครงการ


6

(2) กรณี จ่ายเงินล่าช้าควรมีมาตรการเยียวยาให้เกษตรกร นอกจากนี้ มีขอ้ กล่าวหาย่อย เรื่ อง “ชาวนาไม่ได้รับเงิน" (ในบันทึกการแจ้งข้อ กล่าวหา ข้อ ๔) อ้างว่ามีขอ้ เท็จจริ ง ว่ามีชาวนาที่เข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวยังไม่ได้รับเงินอยู่ เป็ นจำานวนมาก ทำาให้ได้รับความเดือดร้อน คณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้างว่า - แทนที่ท่านจะระงับยับยั้งโครงการ กลับยืนยันที่ จะดำาเนินโครงการต่อไป อันก่อให้เกิดผลเสี ยหายแก่ราชการมากขึ้นเรื่ อยๆ ทั้งๆ ที่ท่านมีอาำ นาจ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑ (๑) และในฐานะประธาน คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ที่จะระงับยับยั้งโครงการฯ ดังกล่าวได้ โดยหนังสื อนี้ ข้ าพเจ้ า นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ขอใช้ สิทธิตาม รัฐธรรมนูญและตามกฎหมาย ขอชี้แจงแก้ ข้อกล่ าวหาตามสิ ทธิ พร้ อมขอนำาทนายความและ/ หรือบุคคลทีไ่ ว้ วางใจเข้ าฟังการชี้แจง และขอใช้ สิทธินำาสื บแก้ ข้อกล่ าวหาโดยอ้ างพยานบุคคล และนำาพยานหลักฐานมาเองในบางปากและประสงค์ ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช.เรียกหรือไต่ สวน พยานหลักฐานนั้น ๆ ด้ วย ซึ่งข้ าพเจ้ าจักได้ แจกแจงต่ อไปนั้น ซึ่งข้ าพเจ้ า ขอชี้แจงแก้ ข้อกล่ าวหาเป็ นหนังสื อ โดยข้ าพเจ้ าขอปฏิเสธ ว่ า ระหว่ างวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลากลางวันและกลางคืนต่ อเนื่อง กัน ข้ าพเจ้ า มิได้ กระทำาความผิด “ฐานเป็ นเจ้ าพนักงานปฏิบัตหิ รือละเว้ นการปฏิบัตหิ น้ าทีโ่ ดย มิชอบเพือ่ ให้ เกิดความเสี ยหายแก่ ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัตหิ รือละเว้ นการปฏิบัตหิ น้ าทีโ่ ดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๕๗ และมิได้ กระทำาความผิด “ฐานเป็ นเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ปฏิบัตหิ รือละเว้ นการปฏิบัตอิ ย่ างใดในตำาแหน่ งหรือหน้ าทีห่ รือใช้ อาำ นาจในตำาแหน่ งหรือหน้ าที่ โดยมิชอบเพือ่ ให้ เกิดความเสี ยหายแก่ ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัตหิ รือละเว้ นการปฏิบัตหิ น้ าทีโ่ ดย ทุจริต ตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยการป้องกันการปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม มาตรา ๑๒๓/๑ อีกทั้งข้ าพเจ้ ามิได้ จงใจใช้ อาำ นาจหน้ าทีข่ ัดต่ อ บทบัญญัตแิ ห่ งรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๘ และไม่ มเี หตุแห่ งการถอดถอนออกจากตำาแหน่ งตาม รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๐ ดังเหตุผลรายละเอียดข้ อ เท็จจริงและข้ อกฎหมายดังทีจ่ ะได้ กราบเรียน ตามลำาดับ เป็ นข้ อๆ ไป ดังต่อไปนี้


7

ข้ อ ๑. กระบวนการรับคำาร้ องและเริ่มคดีของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่ ชอบด้ วย กฎหมาย และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผู้ไต่ สวนไม่ มอี าำ นาจกล่ าวหาเสี ยเองเพิม่ เติมจากคำาร้ อง ถอดถอนอีกหนึ่งประเด็นโดยอ้ างว่ ากระทำาความผิดตาม มาตรา ๖๖ แห่ งพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ทีแ่ ก้ ไข เพิม่ เติมคือไม่ มอี าำ นาจกล่ าวหา “กรณีคณะกรรม ป.ป.ช. มีเหตุอนั ควรสงสั ยว่ าข้ าพเจ้ าได้ ปล่ อย ให้ มกี ารทุจริตในโครงการรับจำานำาข้ าวและการระบายข้ าวโดยเพิกเฉยไม่ ระงับยับยั้งความเสี ย หายทีเ่ กิดขึน้ แก่ ทางราชการตามที่มหี น้ าที่” เพิม่ เติมจากกรณีกล่ าวหาร้ องขอให้ ถอดถอน ข้ าพเจ้ าอันสื บเนื่องมาจากการอภิปรายไม่ ไว้ วางใจรัฐบาล ของพรรคฝ่ ายค้ านในสภา ข้าพเจ้าขอชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหาว่า กระบวนการรับคำาร้องและเริ่ มคดีของคณะ กรรมการ ป.ป.ช. ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะการดำาเนินกระบวนการของคณะกรรมการ ป.ป.ช.ไม่ ชอบด้วยหลักนิตธิ รรม มีลกั ษณะเป็ นการดำาเนินการตามอำาเภอใจ (มาตรา ๓ วรรค สอง แห่ งรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ) และจงใจฝ่ าฝื นบทบัญญัติ ของกฎหมายที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เองจะต้องยึดถือปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด และฝ่ าฝื นระเบียบ คณะกรรมการป้ องกันและปรามปราบการทุจริ ตแห่งชาติ ว่าด้วย ประมวลจริ ยธรรมคณะ กรรมการป้ องกันและปรามปราบการทุจริ ตแห่งชาติ ข้าราชการ และลูกจ้างสำานักงานคณะ กรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ เนื่องจาก ๑.๑ กระบวนการรับคำาร้ องและเริ่มคดีของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่ ชอบ การรับคำาร้องของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และเริ่ มคดีไม่เป็ นไปตาม มาตรา ๖๑แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่บญั ญัติวา่ การร้ องขอให้ ถอดถอนจากตำาแหน่ งตามมาตรา ๕๙ และมาตรา ๖๐ ต้ องทำาเป็ นหนังสื อระบุชื่อ อายุ ทีอ่ ยู่ หมายเลขประจำาตัวประชาชนพร้ อม สำ าเนาบัตรประจำาตัวประชาชน บัตรประจำาตัวประชาชนทีห่ มดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอืน่ ใดของทางราชการทีม่ รี ู ปถ่ ายสามารถแสดงตนได้ และลงลายมือชื่อของผู้ร้องขอ โดยระบุวนั เดือน ปี ทีล่ งลายมือชื่อให้ ชัดเจน และ ต้ องระบุพฤติการณ์ ทกี่ ล่ าวหาผู้ดาำ รงตำาแหน่ งตามมาตรา ๕๘ เป็ นข้ อ ๆ อย่ างชัดเจนว่ ามีพฤติการณ์ ร่ำารวยผิดปกติ ส่ อไปในทางทุจริตต่ อหน้ าที่ ส่ อว่ า


8

กระทำาผิดต่ อตำาแหน่ งหน้ าทีร่ าชการ ส่ อว่ ากระทำาผิดต่ อตำาแหน่ งหน้ าทีใ่ นการยุตธิ รรม หรือส่ อ ว่ าจงใจใช้ อาำ นาจหน้ าทีข่ ัดต่ อบทบัญญัตแิ ห่ งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด และต้ องระบุพยาน หลักฐานหรือเบาะแสตามสมควรและเพียงพอทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. จะดำาเนินการไต่ สวนข้ อ เท็จจริงต่ อไปได้ และให้ ยนื่ คำาร้ องขอดังกล่ าวต่ อประธานวุฒิสภาภายในหนึ่งร้ อยแปดสิ บวันนับ แต่ วนั ทีผ่ ู้ริเริ่มรวบรวมรายชื่อไปแสดงตนต่ อประธานวุฒสิ ภา และไม่เป็ นไปตาม มาตรา ๖๒ ที่ บัญญัติวา่ ในกรณีทสี่ มาชิกสภาผู้แทนราษฎรร้ องขอให้ ถอดถอนผู้ดาำ รงตำาแหน่ งตามาตรา ๕๘ ออกจากตำาแหน่ ง หรือในกรณีทสี่ มาชิกวุฒสิ ภาร้ องขอให้ ถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจาก ตำาแหน่ ง ให้ นำาบทบัญญัตมิ าตรา ๖๑ มาใช้ โดยอนุโลม กล่าวคือ ทั้ง ๆ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบว่า เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ นายถาวร เสนเนียม นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย นาย วิทยา แก้วภราดัย นายชุมพล จุลใส นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นายเอกณัฏ พร้อมพันธุ์ และนาย ณัฏฐพล ทีปสุ วรรณ มิได้เป็ นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์แล้ว และสื่ อมวลชน เสนอข่าวดังกล่าวปรากฏตามหนังสื อพิมพ์ การยืน่ คำาร้องจึงไม่ชอบด้วยมาตรา ๖๑ แห่งกฎ หมายฯ ข้างต้น เนื่องจากบุคคลดังกล่าวพ้นจากสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร จึงไม่มีอาำ นาจร่ วม ลงชื่อในการยืน่ คำาร้องต่อประธานวุฒิสภาเพื่อ “ให้ดาำ เนินการส่ งเรื่ องดังกล่าวให้คณะกรรมการ ป้ องกันและปรามปราบการทุจริ ตแห่งชาติดาำ เนินการไต่สวน และดำาเนินการเพื่อให้วฒ ุ ิสภามีมติ ถอดถอนนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ออกจากตำาแหน่งตามบทบัญญัติ มาตรา ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐” ประกอบกับตามคำาร้องก็ มิได้มีการระบุในคำาร้องเกี่ยวกับรายละเอียดของข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับชื่อ อายุ ที่อยู่ ของผูย้ นื่ คำาร้อง นอกจากนี้ ตวั อักษรที่พิมพ์ในคำาร้องกับตัวอักษรที่พิมพ์ทา้ ยคำาร้องก็เป็ นคนละแบบกัน ทำาให้มีพิรุธสงสัยว่ามีการแอบอ้างชื่อ หรื อใช้ลายมือชื่อเดิมมาประกอบ หาใช่การลงนามตาม คำาร้องนั้น ๆ ไม่ โดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็มิได้ไต่สวนแสดงให้ปรากฏโดยชัดแจ้งเป็ นที่ยตุ ิวา่ มีการตรวจสอบลายมือชื่อดังกล่าวว่าผูย้ นื่ คำาร้องมีอาำ นาจในการยืน่ คำาร้องจริ ง แต่เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ คณะกรรมการ ป.ป.ช. กลับมีมติให้ไต่สวนข้อเท็จจริ งโดยให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งคณะเป็ นองค์คณะในการไต่สวนข้าพเจ้า โดยรี บด่วน โดยอ้างว่า “มีพฤติการณ์ส่อว่า จงใจใช้อาำ นาจหน้าที่ขดั ต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรื อกฎหมาย ด้วยการแถลงนโยบายต่อ รัฐสภาว่าจะป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริ งจัง เข้มงวด


9

ในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาการทุจริ ตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่ กลับปล่อยให้มีการทุจริ ตในโครงการรับจำานำาข้าวและการระบายข้าว และ โดยอ้างว่า มีเหตุอนั ควรสงสัยว่านางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ได้ปล่อยให้มีการทุจริ ตในโครงการรับจำานำาข้าวและการ ระบายข้าว โดยเพิกเฉยไม่ระงับยับยั้งความเสี ยหายที่เกิดขึ้นแก่ทางราชการตามอำานาจหน้าที่” จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นจึงเป็ นข้อสังเกตและมีขอ้ ระแวงสงสัยอย่างมีขอ้ พิรุธอย่างยิง่ ว่าเป็ นการรับคำาร้องและเริ่ มคดีต่อข้าพเจ้าตามอำาเภอใจ เป็ นการไม่ชอบด้วย รัฐธรรมนูญ มาตรา ๓ วรรคสอง และไม่ชอบด้วย พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๖๑ และมาตรา ๖๒ ๑.๒ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ใช้ อาำ นาจเกินขอบแห่ งอำานาจ คณะกรรมการป.ป.ช.ไม่ มอี าำ นาจกล่ าวหาเพิม่ เติมนอกเหนือจาก “กรณี ร้ องขอให้ ถอดถอนทีส่ ื บเนื่องมาจากการอภิปรายไม่ ไว้ วางใจ โดยอ้ างว่ าข้ าพเจ้ ากระทำาความผิด ไม่ เข้ มงวดแต่ ปล่ อยให้ มกี ารทุจริตในโครงการรับจำานำาข้ าวทั้งๆทีไ่ ด้ รับคำาแนะนำาจากคณะ กรรมการ ป.ป.ช. แล้ ว แต่ ไม่ ยกเลิกโครงการรับจำานำาข้ าว” เดิมเมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เคยใช้อาำ นาจ หน้าที่ของตนเองตามมาตรา ๑๙ (๑๑) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมเสนอแนะนายกรัฐมนตรี วา่ รัฐบาลควรยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกและให้นาำ ระบบการประกันความเสี่ ยงด้านราคา ข้าวมาดำาเนินการ แต่รัฐบาลของข้าพเจ้ามิได้ยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าวดังที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอแนะ จึงถือว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. เข้ามาเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยและเป็ นปฏิปักษ์อย่าง ร้ายแรงกับรัฐบาลของข้าพเจ้าในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวดังกล่าวที่รัฐบาลของข้าพเจ้า ยังคงดำาเนินการโครงการดังกล่าวต่อไปตามนโยบายของรัฐบาล ข้อ ๑.๑๑ ที่ได้แถลงไว้กบั รัฐสภา ในขณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็อา้ งว่ายังคงติดตามนโยบายรับจำานำาข้าวของรัฐบาล ต่อไป ต่อมามีการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลของข้าพเจ้าในสภาผูแ้ ทนราษฎร ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในประเด็นเกี่ยวกับการดำาเนินโครงการตามนโยบายรับ


10

จำานำาข้าวและการระบายข้าวที่ฝ่ายค้านโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อ้างว่ารัฐบาลของข้าพเจ้าไม่ เข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาการทุจริ ตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ แต่กลับปล่อยให้มีการทุจริ ตในโครงการรับจำานำาข้าวและระบายข้าว ซึ่งตาม กระบวนการเป็ นกรณี สืบเนื่องที่จะต้องร้องขอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ถอดถอนข้าพเจ้า ออกจากตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี ดว้ ยเพียงกรณี น้ี กรณี เดียวเท่านั้น ดังนั้น ในการประชุมของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ครั้งที่ ๕๓๙-๗/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ คณะ กรรมการ ป.ป.ช. จึงคงมีอาำ นาจเพียงกรณี มีมติให้ไต่สวนข้อเท็จจริ งข้าพเจ้าในเรื่ องกรณี กล่าวหา “โดยอ้ างว่ ามีพฤติการณ์ ส่อไปในทางทุจริ ตต่ อหน้ าที่ ส่ อว่ ากระทำาความผิดต่ อตำาแหน่ งหน้ าที่ ราชการ ส่ อว่ าจงใจใช้ อาำ นาจที่ขดั ต่ อบทบัญญัติแห่ งรั ฐธรรมนูญหรื อกฎหมาย ตาม รั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๐ - กรณี ร้องขอให้ ถอดถอน นางสาวยิ่งลักษณ์ ชิ นวัตร ออกจากตำาแหน่ ง นายกรั ฐมนตรี โดยอ้ างว่ ามีพฤติการณ์ ส่อว่ าจงใจ ใช้ อาำ นาจหน้ าที่ขดั ต่ อบทบัญญัติแห่ งรั ฐธรรมนูญหรื อกฎหมาย ด้ วยการแถลงนโยบายต่ อ รั ฐสภาว่ าจะป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในภาครั ฐอย่ างจริ งจัง เข้ ม งวดในการบังคับใช้ กฎหมายเพื่อแก้ ไขปั ญหาการทุจริ ตและประพฤติมิชอบของเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐ แต่ กลับปล่ อยให้ มีการทุจริ ตในโครงการรั บจำานำาข้ าวและการระบายข้ าว” เท่านั้น คณะ กรรมการ ป.ป.ช. ไม่ มอี าำ นาจในการมีมติให้ไต่สวนข้าพเจ้า “โดยอ้ างว่ ากระทำาความผิดต่ อ ตำาแหน่ งหน้ าที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา หรื อกระทำาความผิดต่ อตำาแหน่ งหน้ าที่หรื อ ทุจริ ตต่ อหน้ าที่ตามกฎหมายอื่น ตามมาตรา ๖๖ แห่ งพระราชบัญญัติประกอบรั ฐธรรมนูญว่ า ด้ วยการการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ ไขเพิ่มเติม - กรณี คณะ กรรมการ ป.ป.ช. อ้ างว่ ามีเหตุอันควรสงสัยว่ านางสาวยิ่งลักษณ์ ชิ นวัตร นายกรั ฐมนตรี ได้ ปล่ อยให้ มีการทุจริ ตในโครงการรั บจำานำาข้ าวและการระบายข้ าว โดยเพิกเฉยไม่ ระงับยับยัง้ ความเสี ยหายที่เกิดขึน้ แก่ ทางราชการตามที่มีอาำ นาจหน้ าที่” แต่อย่างใด เพราะ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้เปิ ดช่องทางสำาหรับการกล่าวหากรณี อา้ งว่า “มีเหตุอันควรสงสัยว่ านางสาวยิ่งลักษณ์ ชิ นวัตร นายกรั ฐมนตรี ได้ ปล่ อยให้ มีการทุจริ ตในโครงการรั บจำานำาข้ าวและการระบายข้ าว โดยเพิกเฉยไม่ ระงับยับยัง้ ความเสี ยหายที่เกิดขึน้ แก่ ทางราชการตามที่มีอาำ นาจหน้ าที่ ” ด้วยการ เริ่ มช่องทางด้วยการใช้อาำ นาจหน้าที่ของตนเองตามมาตรา ๑๙ (๑๑) แห่งพระราชบัญญัติ


11

ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไข เพิ่มเติมเสนอแนะนายกรัฐมนตรี วา่ รัฐบาลควรยกเลิกนโยบายโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกและ นำาระบบการประกันความเสี่ ยงด้านราคาข้าวมาดำาเนินการ – เสี ยแล้ว เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เลือกที่จะใช้อาำ นาจหน้าที่ในช่องทางขั้นต้น ตามมาตรา ๑๙ (๑๑) คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึง ไม่มีอาำ นาจที่จะเลือกใช้บทบัญญัติมาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มากล่าวหา ข้าพเจ้าว่า “กรณี คณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้ างว่ ามีเหตุอันควรสงสัยว่ านางสาวยิ่งลักษณ์ ชิ นวัตร นายกรั ฐมนตรี ได้ ปล่ อยให้ มีการทุจริ ตในโครงการรั บจำานำาข้ าวและการระบายข้ าว โดยเพิก เฉยไม่ ระงับยับยัง้ ความเสี ยหายที่เกิดขึน้ แก่ ทางราชการตามที่มีอาำ นาจหน้ าที่ ” พร้อม ๆ กัน ทั้ง สองกรณี ในวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ แต่อย่างใด เพราะหากยอมให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาำ นาจกระทำาได้เช่นนั้นก็จะกลายเป็ นว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาำ นาจเหนือรัฐบาลสามารถ สัง่ รัฐบาลให้ดาำ เนินโครงการตามนโยบายที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้องการได้ตามอำาเภอใจ หาก รัฐบาลไม่ดาำ เนินการตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้องการตามที่ได้ให้คาำ แนะนำา ตามมาตรา ๑๙ (๑๑) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม รัฐบาลก็อาจถูกดำาเนินคดีโดยอาศัยมาตรา ๖๖ แห่งพระราช บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้ ซึ่งถือว่าเป็ นการใช้อาำ นาจโดยไม่ชอบด้วยหลักนิติธรรม อันเป็ นการใช้ อำานาจฝ่ าฝื นบทบัญญัติมาตรา ๓ วรรคสอง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ อันเท่ากับว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาำ นาจกล่าวหาได้ในประเด็นที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้เสนอคำาแนะนำา และหากไม่ดาำ เนินการตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. แนะนำาก็จะถูก ดำาเนินคดีโดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเป็ นผูก้ ล่าวหาเสี ยเองในประเด็นที่ฝ่าฝื นไม่ปฏิบตั ิตามคำา แนะนำา ซึ่งหากคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาำ นาจกระทำาได้เช่นนั้น ก็จะเป็ นการใช้อาำ นาจโดยการ แทรกแซงอำานาจฝ่ ายบริ หารโดยไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญขัดกับหลักนิติธรรม เป็ นการไม่ชอบ ด้วยหลักการแบ่งแยกอำานาจซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่มีอาำ นาจที่จะดำาเนินการดังกล่าวได้ ซึ่ง มีแต่จะก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อบ้านเมืองอย่างใหญ่หลวง ไร้ความซึ่งความยุติธรรม เพราะ ตามรัฐธรรมนูญก็เห็นเป็ นการชัดเจนตามหลักการแบ่งแยกอำานาจและตามหลักนิติธรรมอยูแ่ ล้ว


12

ว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่มีอาำ นาจสัง่ ให้รัฐบาลซึ่งเป็ นฝ่ ายบริ หารดำาเนินการตามนโยบายใดๆ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้องการ นอกจากนี้ การดำาเนินการตามกระบวนการคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็ นการดำาเนินการอันเป็ นมีผลเป็ นคำาสัง่ ทางปกครอง โดยใช้หลักกฎหมายมหาชนและ ใช้วิธีการไต่สวน ซึ่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๓ บัญญัติวา่ “เจ้ าหน้ าที่ดังต่ อไปนีจ้ ะทำาการพิจารณาทางปกครองไม่ ได้ (๑) เป็ นคู่กรณี เอง...” มาตรา ๑๔ บัญญัติวา่ “เมื่อมีกรณี ตามมาตรา ๑๓ หรื อคู่กรณี คัดค้ านให้ เจ้ าหน้ าที่ผ้ นู ั้นหยุด เรื่ องไว้ ก่อน...” มาตรา ๑๕ วรรคสอง บัญญัติวา่ “ถ้าคณะกรรมการที่มีอาำ นาจพิจารณาทาง ปกครองคณะใดมีผถู ้ ูกคัดค้าน ในระหว่างที่กรรมการผูถ้ ูกคัดค้านต้องออกจากที่ประชุม...” จึง เห็นได้วา่ ในคดีน้ ี ไม่วา่ กรณี จะเป็ นอย่างไรก็ตามคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ปฏิบตั ิหน้าที่อยูใ่ น ขณะนี้หากอยูใ่ นฐานะเป็ นผูก้ ล่าวหาเสี ยเองเท่ากับเป็ นคู่กรณี คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่มี สถานะเป็ นคู่กรณี ไม่มีอาำ นาจในการไต่สวนพิจารณาคดี น้ ีต่อไปในอีกกรณี หนึ่งด้วย อย่างไรก็ดีในกรณี ดงั กล่าวข้างต้นบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๕ วรรคสี่ บัญญัติวา่ “...ในกรณี ที่ผ้ ถู กู กล่ าวหาตามวรรคหนึ่ง เป็ นผู้ดาำ รงตำาแหน่ งนายกรั ฐมนตรี รั ฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรื อประธานวุฒิสภา ผู้เสี ยหายจากการกระทำาดังกล่ าว จะยื่นคำาร้ องต่ อคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามทุจริ ต แห่ งชาติเพื่อให้ ดาำ เนินการตามมาตรา ๒๕๐ (๒) หรื อจะยืน่ คำำร้ องต่ อทีป่ ระชุมใหญ่ ศำลฎีกำ เพือ่ ขอให้ ตั้งผู้ไต่ สวนอิสระตำมมำตรำ ๒๗๖ ก็ได้ …” และบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๗ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า “ในการพิจารณาคดี ให้ ศาล ฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดาำ รงตำาแหน่ งทางการเมืองยึดสำำนวนของคณะกรรมกำรป้ องกันและ ปรำบปรำมกำรทุจริ ตแห่ งชำติหรื อของผู้ไต่ สวนอิสระ แล้ วแต่ กรณี เป็ นหลักในกำรพิจำรณำ และอาจไต่ สวนหาข้ อเท็จจริ งและพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ ตามที่เห็นสมควร...” จาก บทบัญญัติดงั กล่าวข้างต้น ช่ องทางในการดำาเนินกระบวนพิจารณา “โดยชอบ” ด้วยบทบัญญัติ ดังกล่าวข้างต้นอันเป็ นปฏิปักษ์ ต่อกันอย่ างร้ ายแรงอย่ างมีอคติในประเด็นเกีย่ วกับการเลือก นโยบายในการแทรกแซงกลไกการตลาดของการค้ าข้ าว ว่า “ควรเป็ นไปตามนโยบายโครงการ รับจำานำาข้าวของรัฐบาล” หรือ “ควรเป็ นการเลือกนโยบายในการแทรกแซงกลไกการตลาดของ การค้าข้าวด้วยการนำาระบบประกันความเสี่ ยงด้านราคาข้าวมาดำาเนินการตามนโยบายที่คณะ


13

กรรมการ ป.ป.ช. ต้องการ” ข้อขัดแย้งระหว่างข้าพเจ้ากับคณะกรรมการ ป.ป.ช. นั้น ควร เป็ นการขอให้ดาำ เนินการตั้ง “ผู้ไต่ สวนอิสระ” ตามกระบวนการที่บญั ญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยข้างต้นเท่านั้น เพราะกรณี ดงั กล่าวข้างต้นสำานวนของผูไ้ ต่สวนอิสระเท่านั้นที่ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมืองจะยึดเป็ นหลักในการพิจารณา เพราะผู ้ ไต่สวนอิสระมิได้เป็ นคู่กรณี กบั ข้าพเจ้าและไม่มีปัญหาเรื่ องความเป็ นกลางกับข้าพเจ้าแต่อย่างใด ประกอบกับพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยการการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม เป็ นเพียงกฎหมายลำาดับรอง กรณี ตามปัญหาคณะ กรรมการ ป.ป.ช. จึงไม่มีอาำ นาจใช้บทบัญญัติ มาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม แต่จะต้องใช้บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๕ วรรคสี่ เรื่ อง “กำรตั้งผู้ไต่ สวนอิสระ” มาแก้ไขปัญหากรณี ดงั กล่าวเพื่ออำานวยความยุติธรรมให้ กับข้าพเจ้าตามสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรม ตามบทบัญญัติ มาตรา ๔๐ (๔) , (๗) ประกอบ มาตรา ๓ วรรคสอง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ให้มีความ เหมาะสม อย่างเป็ นธรรม และมีโอกาสในการต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ และเป็ นไปโดยชอบด้วย หลักนิติธรรมเท่านั้น ความยุติธรรมจึงจะบังเกิดขึ้นได้ในสังคมไทย นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๒ วรรคสอง บัญญัติว่า “...ให้ คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติทาำ รายงานเสนอต่ อวุฒิสภาโดยในรายงานดังกล่ าวต้ องระบุให้ ชัดเจนว่ า ข้ อกล่ ำวหำตำมคำำร้ องขอ ข้ อใดมีมูลหรื อไม่ เพียงใด มีพยำนหลักฐำนทีค่ วรเชื่อได้ เพียงใด พร้ อมทั้งระบุข้อยุติว่าจะ ดำาเนินการอย่ างไร...” ตามบทบัญญัติดงั กล่าวแสดงให้เห็นว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้องอยูใ่ น ฐานะเป็ น “คนกลำง” ระหว่างผูก้ ล่าวหากับผูถ้ ูกกล่าวหาเท่านั้น ในการพิจารณาคำาร้องถอดถอน ว่ามีพยานหลักฐานที่ควรเชื่อถือได้เพียงใด และมีมูลตามคำาร้องขอให้ถอดถอนหรื อไม่ คณะ กรรมการ ป.ป.ช. ไม่มีอาำ นาจที่จะพิจารณาไต่สวนในประเด็นอื่นนอกคำาร้องขอถอดถอนโดย คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเข้าไปเป็ นคู่กรณี ในฐานะผูก้ ล่าวหาเสี ยเอง แล้วนำาพยานหลักฐาน


14

ทั้งหมดมารวมกับคำาร้องถอนถอนของผูร้ ้องมาเพื่อกล่าวหาว่ากระทำาความผิดต่อตำาแหน่ง ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ หาได้ไม่ ดังนั้น ในคดีน้ ี จึงต้องดำาเนินการผ่านผูไ้ ต่สวนอิสระตามที่ได้รับแต่งตั้งจากที่ ประชุมใหญ่ศาลฎีกา ผูท้ ี่มีกรณี เป็ นปฏิปักษ์อย่างร้ายแรงนั้นไม่อาจจะเป็ นกรรมการหรื อคณะ กรรมการในการไต่สวนคดีน้ี ได้เพราะจะเป็ นการขัดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๓ วรรคสอง อันเป็ นผลทำาให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมืองไม่มี อำานาจยึดเอาสำานวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดำาเนินการโดยมิชอบดังกล่าวมาเป็ นหลักในการ พิจารณา เพราะถือเป็ นพยานหลักฐานที่ได้มาโดยไม่ชอบ ทั้งนี้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๗ วรรคแรก ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างต้น ด้ วยเหตุผลข้ อเท็จจริงและข้ อกฎหมายดังกล่ าวมาแล้ วข้ างต้ น ข้ าพเจ้ าจึงติดใจขอ ใช้ สิทธิโดยชอบด้ วยกฎหมายนำาสื บแก้ ข้อกล่ าวหาในประเด็นดังกล่ าวข้ างต้ น ทั้งด้ วยการอ้ าง พยานบุคคลและนำาพยานหลักฐานมาเองในบางปากและประสงค์ ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช.เรียก หรือไต่ สวนพยานหลักฐานนั้น ๆ ด้ วย ซึ่งจะขอแจ้ งรายละเอียดการนำาสื บแก้ข้อกล่ าวหาข้ างต้ น ในประเด็นนีใ้ นชั้นการนำาสื บแก้ข้อกล่ าวหาต่ อไป ๑.๓ คณะกรรมการไต่ สวนข้ อเท็จจริงไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย คณะกรรมการไต่ สวนข้ อเท็จจริงไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย กล่ าวคือคณะ กรรมการบางท่ าน คือ นายวิชา มหาคุณ มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามระเบียบคณะกรรมการป้องกัน และปรามปราบการทุจริตแห่ งชาติ ว่ าด้ วย ประมวลจริยธรรมคณะกรรมการป้องกันและปราม ปราบการทุจริตแห่ งชาติ ข้ าราชการ และลูกจ้ างสำ านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้ อ ๒๗ , ๒๘ ,๒๙ ,และข้ อ ๓๔ ข้าพเจ้าขอชี้แจงข้อกล่าวหาว่า การตั้งคณะกรรมการไต่สวนข้อเท็จจริ งบางท่าน คือ นายวิชา มหาคุณ มีลกั ษณะต้องห้ามตามระเบียบคณะกรรมการป้ องกันและปรามปราบการ ทุจริ ตแห่งชาติ ว่าด้วย ประมวลจริ ยธรรมคณะกรรมการป้ องกันและปรามปราบการทุจริ ตแห่ง ชาติ ข้าราชการ และลูกจ้างสำานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๗ , ๒๘ ,๒๙ ,และข้อ ๓๔ เพราะตามหนังสื อที่ ปช ๐๐๑๒/๐๐๙๘ ลงวันที่


15

๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ กรณี มีมติกาำ หนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งคณะ เป็ นองค์คณะในการ ไต่สวนข้อเท็จจริ ง โดยมอบหมายให้ นายวิชา มหาคุณ และนายประสาท พงษ์ศิวาภัย กรรมการ ป.ป.ช. เป็ นกรรมการผูร้ ับผิดชอบสำานวนการไต่สวนข้อเท็จจริ ง .....นั้น เห็นว่า มติคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดังกล่าว กรณี ต้ งั นายวิชา มหาคุณ ขัดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๕๐ และฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔) มาตรา ๑๐๗ ประกอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๙ เนื่องจากนายวิชา มหาคุณ มีสาเหตุโกรธเคืองกับข้าพเจ้า โดยข้าพเจ้าเห็นว่า เฉพาะนาย วิชา มหาคุณ ได้ให้สมั ภาษณ์ ต่อหนังสื อพิมพ์กรุ งเทพธุรกิจ , AS TV ,ผูจ้ ดั การออนไลน์ และ ทางสถานีโทรทัศน์ THAI PBS ในรายการ “ตอบโจทย์” ออกอากาศ เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยนายวิชา มหาคุณ ได้ให้สมั ภาษณ์ ในทำานองเป็ นการชี้ นาำ ต่อสังคม ว่า ข้าพเจ้าผูถ้ ูก กล่าวหา ได้กระทำาผิดแล้ว ทั้งที่การไต่สวนข้อเท็จจริ งยังไม่เสร็ จสิ้ นและข้าพเจ้ายังไม่มีโอกาส ยืน่ คำาชี้แจง และขอตรวจพยานเอกสาร อันเป็ นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๕๐ และฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๔) ซึ่งข้าพเจ้าได้ยนื่ คำาขอคัดค้านและขอให้เปลี่ยนตัว บุคคลเป็ นกรรมการผูร้ ับผิดชอบสำานวนการไต่สวนข้อเท็จจริ ง รายนายวิชา มหาคุณ ปรากฏ ตาม หนังสื อ เรื่อง คัดค้ านและขอเปลีย่ นตัวบุคคล ฯ เมือ่ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ พยาน เอกสารในลำาดับที่ ๑ เพื่อให้ขา้ พเจ้าได้รับสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมอย่างเหมาะสม แต่คณะ กรรมการ ป.ป.ช. ได้มีหนังสื อลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เรื่ อง ขอให้ไปรับทราบข้อกล่าว หา และแจ้งด้วยว่า มีมติยกคำาคัดค้าน โดยพิจารณาเห็นว่า คำาคัดค้านดังกล่าวไม่เข้าเหตุ อย่าง หนึ่งอย่างใด ตามมาตรา ๔๖ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้ องกันและปราบ ปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๕๐ และฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๔) ปรากฏ ว่ า ต่อมาระหว่างวันที่ ๙ – ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๗ นายวิชา มหาคุณ ก็ยงั ให้สมั ภาษณ์ต่อ หนังสื อพิมพ์ ฐานเศรษฐกิจ ในลักษณะทำานองพูดจา “เหน็บแนม อันเป็ นการพูดจากระทบ กระเทียบ กระแหนะกระแหน ในลักษณะถากถาง ดูถูก เย้ยหยัน และดูหมิ่นข้าพเจ้าให้ได้รับ ความเสี ยหาย” เช่น ให้สมั ภาษณ์วา่ “ดิฉันไม่ มเี วลา ต้ องไปถางต้ องไปดับไฟป่ า ท่ านก็ส่งคำา ชี้แจงเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรมา” รวมทั้งข้อความที่วา่ “ไม่ มใี ครนั่งอยู่ ขออยู่ขอตายคา


16

ประชาธิปไตย” ซึ่งข้าพเจ้าเห็นว่าถ้อยคำาดังกล่าวเป็ นถ้อยคำาที่ถากถาง ดูถูก เย้ยหยัน และดูหมิ่น ข้าพเจ้า จนต่อมาในวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ ข้าพเจ้าจึงได้ยนื่ คำาร้องคัดค้านและเรี ยกร้องให้ นายวิชา มหาคุณ ถอนตัวจากการปฏิบตั ิหน้าที่เป็ นกรรมการ ป.ป.ช. ผูร้ ับผิดชอบสำานวนและ กรรมการไต่สวนข้อเท็จจริ งในคดีของข้าพเจ้า ปรากฏตาม หนังสื อเรื่อง คัดค้ านนายวิชา มหา คุณ และเอกสารทีส่ ่ งมาด้ วย พยานเอกสารในลำาดับที่ ๒ ซึ่งต่อมาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็ได้มีคาำ สัง่ ให้ยกคำาคัดค้าน ฉบับลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ ของข้าพเจ้าอีก ข้าพเจ้าเห็นว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็ นส่ วนหนึ่งขององค์กร ในกระบวนการยุติธรรม การที่ขา้ พเจ้าตั้งข้อรังเกียจนายวิชา มหาคุณ ดังกล่าวและได้ยนื่ คำา คัดค้านไปยังคณะกรรมการ ป.ป.ช.ถึง ๒ ครั้ง ย่อมแสดงให้เห็นว่าข้าพเจ้าไม่มีความเชื่อมัน่ ที่จะ ให้นายวิชา มหาคุณ เป็ นกรรมการ ป.ป.ช.ผูร้ ับผิดชอบสำานวนและกรรมการไต่สวนข้อเท็จจริ ง ในคดีของข้าพเจ้า ซึ่งการตั้งข้อรังเกียจดังกล่าวของข้าพเจ้านั้น หากทางคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะดำาเนินการเปลี่ยนตัวกรรมการ ป.ป.ช. เป็ นกรรมการป.ป.ช. ท่านอื่น ก็มิใช่เป็ นเรื่ องกระทำา การตามที่ขา้ พเจ้าในฐานะผูถ้ ูกกล่าวหาต้องการ แต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและมีความเป็ นกลางอยูเ่ ป็ นจำานวนมากย่อมที่จะทำาหน้าที่เป็ นผูร้ ับผิดชอบสำานวน ของข้าพเจ้าแทนนายวิชา มหาคุณได้ และจะเป็ นการป้ องกันข้อครหาจากสังคมได้ อีกทั้งข้าพเจ้า ยังเห็นได้วา่ ในการรับฟังพยานหลักฐานและ/หรื อข้อเท็จจริ งใด ๆ จากนายวิชา มหาคุณ จึงเป็ น พยานหลักฐานที่ไม่ควรรับฟังเข้าสู่สาำ นวนใด ๆ ทั้งสิ้ น เพราะเป็ นพยานหลักฐานที่มีที่มาจาก บุคคลที่มีอคติต่อข้าพเจ้าและมีปัญหาด้านจริ ยธรรมของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามระเบียบของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ข้าพเจ้าจึงเห็นว่านายวิชา มหาคุณ มีลกั ษณะต้องห้ามตามระเบียบคณะ กรรมการป้ องกันและปรามปราบการทุจริ ตแห่งชาติ ว่าด้วย ประมวลจริ ยธรรมคณะกรรมการ ป้ องกันและปรามปราบการทุจริ ตแห่งชาติ ข้าราชการ และลูกจ้างสำานักงานคณะกรรมการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๗ , ๒๘ ,๒๙ และข้อ ๓๔ ด้วย เหตุผลข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมายดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น และเห็นว่าความเห็นต่างๆ ของนาย วิชา มหาคุณ มีปัญหาอย่างยิง่ ในการรับฟังเข้าสู่สาำ นวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่านอื่นควรมีขอ้ สังเกตข้อระแวงสงสัยต่อนายวิชา มหาคุณ ในสำานวนที่บุคคลท่านนี้ นาำ เสนอทั้งในข้อเท็จจริ ง


17

และในข้อกฎหมายด้วยความระมัดระวังเป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะใน การนำาเสนอพยานหลักฐาน ต่อที่ประชุมคณะกรรมการที่อาจเป็ นการนำาเสนอเอกสารแต่ในแง่มุมที่เป็ นผลร้ายต่อผูถ้ ูกกล่าว หาเท่านั้น พยานหลักฐานที่เป็ นคุณแก่ผถู ้ ูกกล่าวหาอาจหาได้นาำ เสนอต่อที่ประชุมกรรมการหรื อ ไม่ ๑.๔ คณะกรรมการ ป.ป.ช.ดำาเนินการไต่ สวนโดยไม่ เป็ นธรรม รวบรัด รีบร้ อน เร่ งรีบ อย่ างเป็ นพิเศษ การดำาเนินการไต่ สวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็ นการไม่ ชอบ ด้ วยพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม มาตรา ๑๒๓/๑ ในลักษณะเป็ นการไต่ สวนข้ อเท็จจริงทีม่ คี วาม รวบรัด รีบร้ อน และเร่ งรีบ อย่ างยิง่ เป็ นพิเศษอันเป็ นการรับฟังพยานหลักฐานทีเ่ ป็ นปฏิปักษ์ ปิ ดบังพยานหลักฐานในการตรวจพยานหลักฐาน โดยมุ่งแต่ จะเอาผิดผู้ถูกกล่ าวหาอย่ างข้ าพเจ้ า โดยไม่ รวบรวมพยานหลักฐานทีอ่ าจพิสูจน์ ความบริสุทธิ์ของข้ าพเจ้ าทีถ่ ูกกล่ าวหาจึงถือว่ า เป็ นการปฏิบัตหิ น้ าที่ โดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมายทำาให้ ข้าพเจ้ าได้ รับความเสี ยหาย กล่าวคือ ๑.๔.๑ ในการประชุม ครั้งที่ ๕๓๙-๗/๒๕๕๗ วันที่ ๒๘ มกราคม๒๕๕๗ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติกาำ หนดให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งคณะ เป็ น องค์คณะในการไต่สวนข้อเท็จจริ ง และมอบหมายให้นายวิชา มหาคุณ กรรมการ ป.ป.ช. และ นายประสาท พงษ์ศิวาภัย กรรมการ ป.ป.ช. เป็ นกรรมการผูร้ ับผิดชอบการไต่สวนข้อเท็จจริ ง รวมทั้งแต่งตั้งคณะพนักงานเจ้าหน้าที่ ฝ่ ายเลขานุการในการไต่สวนข้อเท็จจริ งของคณะ กรรมการ ป.ป.ช. ด้วย แต่หลังจากนั้น ๒๑ วัน คือวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีหนังสื อ ที่ ป.ช.๐๐๑๒/๐๑๔๑ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ แจ้งให้ขา้ พเจ้าได้รับ ทราบข้อกล่าวหา นั้น จากข้อเท็จจริ งข้างต้นจึงเห็นได้วา่ การไต่สวนข้อเท็จจริ ง และการแจ้งข้อ กล่าวหา ข้าพเจ้านั้นเป็ นไปโดยรวบรัด รี บร้อน และเร่ งรี บอย่างยิง่ ทั้งที่ตามข้อกล่าวหานั้นอ้าง ว่า “ ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี ที่เป็ นหัวหน้ารัฐบาล และในฐานะประธานคณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ปล่อยปละละเลยให้มีการทุจริ ตในทุกขั้นตอนของโครงการรับ จำานำาข้าว และปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่ ไม่ระงับยับยั้งโครงการรับจำานำาข้าวของ


18

รัฐบาล ” ซึ่งเป็ นที่ทราบกันดีวา่ โครงการรับจำานำาข้าวของรัฐบาลนั้นได้ดาำ เนินการมาเป็ นเวลา ๒ ปี เศษนับตั้งแต่ปีการผลิตข้าวเปลือกปี ๒๕๕๔/๕๕ ถึง ปี การผลิตข้าวเปลือกปี ๒๕๕๖/๕๗ ซึ่งเกี่ยวข้องกับหน่วยงานราชการหลายหน่วยงาน มีท้ งั กระทรวงพาณิ ชย์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงการคลัง สำานักงบประมาณ สำานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ องค์การคลังสิ นค้า (อคส.) องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) รวมทั้งเกี่ยวข้องกับคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ จำานวน ๑๒ อนุกรรมการ และแต่ละคณะอนุกรรมการมีการแต่งตั้งคณะทำางานอีกด้วย อีกทั้งโครงการรับ จำานำาข้าวมีการดำาเนินกระบวนการขั้นตอนทั้งการขึ้นทะเบียนเกษตรกร รับจำานำาข้าว จำานำายุง้ ฉาง จำานำาใบประทวนและการระบายข้าว การชำาระคืนเงินกูข้ องเกษตรกร ซึ่งจะเห็นว่าเกี่ยวข้อง กับส่ วนราชการ และบุคคลหลายฝ่ าย รวมทั้งประชาคมเกษตรกร ปรากฏตามผังการบริหาร งานการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าว พยานเอกสารในลำาดับที่ ๓ เมื่อข้อเท็จจริ ง และพยาน เอกสาร และพยานบุคคลจำานวนมาก ดังนั้นจึงเห็นได้วา่ การไต่สวนข้อเท็จจริ งในสำานวนจึงมี ลักษณะ รวบรัด เร่ งรี บ และรี บร้อน โดยไม่รอบคอบ รวมทั้งมีลกั ษณะที่ยงั มีความเคลือบแคลง น่าสงสัยอยูเ่ ป็ นจำานวนมาก เป็ นการขัดต่อหลักนิติธรรมและไม่เป็ นธรรม โดยเฉพาะเมื่อเทียบ กับคดีของผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมืองอื่น เช่น คดีเกี่ยวกับโครงการประกันราคาข้าวที่มีนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ กับพวกเป็ นผูถ้ ูกกล่าวหา คดีทุจริ ต ปรส. คดีทุจริ ตคุรุภณั ฑ์อาชีวะศึกษา คดี ทุจริ ตโครงการไทยเข้มแข็ง คดีก่อสร้างสถานีตาำ รวจ จำานวน ๓๙๐ กว่าแห่ง ซึ่งล้วนแต่เป็ นคดี ของผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมืองทั้งสิ้ น และเป็ นคดีที่มีผกู ้ ล่าวหาก่อนคดีของข้าพเจ้า แต่การ ไต่สวนข้อเท็จจริ งของกรรมการ ป.ป.ช. กลับล่าช้า ซึ่งแตกต่างกับคดีของข้าพเจ้าซึ่งใช้ระยะ เวลาไต่สวนข้อเท็จจริ งเพียง ๒๑ วัน ก็แจ้งข้อกล่าวหากับข้าพเจ้าแล้ว และที่น่าประหลาดใจก็คือ คดีรับจำานำาข้าวของนายบุญทรง เตริ ยาภิรมย์ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์รัฐบาลเดียวกับ ข้าพเจ้าเป็ นรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการระบายข้าวโดยตรงคณะกรรมการ ป.ป.ช. กลับแจ้งข้อ กล่าวหาหลังข้าพเจ้า ดังนั้นการรวบรัด เร่ งรี บ และรี บร้อน ดำาเนินคดีกบั ข้าพเจ้าดังกล่าวจึงถือว่า มีขอ้ พิรุธเคลือบแคลงสงสัยในคุณธรรมทางกฎหมายของกระบวนการแห่งคดี ๑.๕ การรับฟังพยานบุคคลของคณะกรรมการป.ป.ช.ปากนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และปากนายวรงค์ เดชกิจวิกรม เป็ นไปโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย


19

นอกจากนี้ ในประการสำาคัญการรับฟังพยานบุคคลนั้นเห็นได้วา่ มี การอ้างพยานบุคคลจากการอภิปรายของนายแพทย์วรงค์ เดชกิจวิกรม และนายอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ นั้น เป็ นพยานหลักฐานที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะเป็ นการรับฟังพยานบุคคลที่มีขอ้ บกพร่ องอันกระทบต่อความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานโดยมีพฤติการณ์พิเศษแห่งคดีที่ไม่อาจ เชื่อ และไม่อาจรับฟังพยานหลักฐานของบุคคลทั้งสองที่มีลกั ษณะที่เป็ นโทษแก่ขา้ พเจ้า เนื่องจากเป็ นที่ทราบกันดีวา่ พยานทั้งสองปากนั้น นอกจากจะสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ยิง่ เป็ น พรรคการเมืองที่เป็ นคู่แข่งทางการเมืองและเป็ นคู่แข่งทางนโยบายเกี่ยวกับนโยบายการรับจำานำา ข้าวแล้ว ประการสำาคัญการดำาเนินการนโยบายเรื่ องข้าวที่จะช่วยชาวนานั้น ก็ยงั มีความแตกต่าง กันโดย นายอภิสิทธิ์ฯ ในสมัยที่เป็ นรัฐบาลได้ใช้นโยบายประกันราคาข้าว มาใช้เป็ นนโยบายใน การดำาเนินการเกี่ยวกับข้าวในขณะนั้น อีกทั้งที่มีการกล่าวอ้างว่ามีขอ้ เท็จจริ งเรื่ องการทุจริ ตใน ทุกขั้นตอนของโครงการรับจำานำาข้าว หรื อที่มีการอ้างข้อเท็จจริ งว่าโครงการรับจำานำาข้าวมีการ ขาดทุน จำานวนกว่า ๒ แสนล้านบาทนั้น ล้วนแต่เป็ นสิ่ งที่เป็ นการคาดการณ์จินตนาการเท่านั้น การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. นำาพยานทั้งสองปากดังกล่าวมารับฟังประกอบการพิจารณาไต่สวน นั้น จึงเป็ นไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะเป็ นการนำาพยานที่เป็ นปฏิปักษ์อย่างชัดแจ้งมี ความเคลือบแคลง ระแวงสงสัยไม่น่าเชื่อถืออย่างยิง่ ต่อการรับฟังพยานหลักฐานมารับฟังเป็ น โทษแก่ขา้ พเจ้า คำาให้การของพยานบุคคลทั้งสองปากดังกล่าวจึงถือว่าเป็ นพยานหลักฐานที่ได้ มา โดยไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๗/๑ ไม่มีนาหนั ้ ำ กเพียง พอที่จะรับฟัง เพื่อกล่าวหาข้าพเจ้าได้ ๑.๖ มติคณะกรรมการป.ป.ช.ในการประชุ มครั้งที่ ๕๓๙-๗/๒๕๕๗ เมือ่ วันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ ทีม่ มี ติให้ ไต่ สวนข้ อเท็จจริง ไม่ ชอบด้ วยระเบียบคณะกรรมการป.ป.ช.ว่ า ด้ วยการไต่ สวนข้ อเท็จจริง มติคณะกรรมการป.ป.ช.ในการประชุมครั้งที่ ๕๓๙-๗/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ ที่มีมติให้ไต่สวนข้อเท็จจริ งว่านายกรัฐมนตรี เป็ นผูส้ ่ วนร่ วมในการกระ ทำาความผิด กรณี เหตุอนั ควรสงสัยว่า นายกรัฐมนตรี ได้ปล่อยให้มีการทุจริ ตในโครงการรับ จำานำาข้าวและการระบายข้าว โดยเพิกเฉยไม่ระงับยับยั้งความเสี ยหายที่เกิดขึ้นกับทางราชการ ตามที่มีอาำ นาจหน้าที่-นั้น ไม่ชอบด้วยระเบียบคณะกรรมการป.ป.ช.ว่าด้วยการไต่สวนข้อเท็จ


20

จริ ง พ.ศ.๒๕๕๕ ข้อ ๓๕ เพราะการอ้างว่ามีการไต่สวนข้อเท็จจริ งแล้ว ได้พบว่ามีนายก รัฐมนตรี ในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีส่วนร่ วมในการกระทำาความผิดไม่มีมูลความจริ งเพียงพอ แก่การที่จะมีมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามคำาสัง่ ที่ ๒๗/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ ข้อ ๑.๒ “กรณี คณะกรรมการ ป.ป.ช.มีเหตุอนั ควรสงสัยว่า นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้ปล่อยให้มีการทุจริ ตในโครงการรับจำานำาข้าวและการระบายข้าว โดยเพิกเฉย ไม่ระงับยับยั้งความเสี ยหายที่เกิดขึ้นกับทางราชการตามที่มีอาำ นาจหน้าที่”แต่อย่างใด เนื่องจาก ผลของการไต่สวนข้อเท็จจริ งกรณี นายบุญทรง เตริ ยาภิรมย์ เมื่อครั้งเป็ นรัฐมนตรี วา่ การ กระทรวงพาณิ ชย์ กับพวกนั้น ได้ความว่า มีส่วนร่ วมในการกระทำาความผิดเรื่ อง การขายข้าว แบบจีทูจีเพื่อการระบายข้าว ตามนโยบายรัฐบาลข้อ ๑.๑๑ โครงการรับจำานำาข้าว แต่ ตามข้ อเท็จ จริงทีไ่ ด้ ความดังกล่ าว ไม่ มขี ้ อเท็จจริงทีเ่ ป็ นการเพียงพอที่จะมีเหตุอนั ควรสงสั ยว่ า “นายก รัฐมนตรี ได้ ปล่ อยให้ มกี ารทุจริตในโครงการรับจำานำาข้ าวและการระบายข้ าว โดยเพิกเฉยไม่ ระงับยับยั้งความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้ กับทางราชการตามทีม่ อี าำ นาจหน้ าที่” ดังที่มีการกล่าวอ้างตาม มติ ในการประชุมครั้งที่ ๕๓๙-๗/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ จึงไม่ เข้ าเงือ่ นไขที่ เริ่มคดี ด้ วยการสั่ งให้ ไต่ สวนข้ าพเจ้ าได้ ตามระเบียบคณะกรรมการป.ป.ช.ว่าด้วยการไต่สวน ข้อเท็จจริ ง พ.ศ.๒๕๕๕ ข้อ ๓๕ ซึ่งกรณี ดงั กล่าวยังได้ความอีกว่า นายวิชา มหาคุณ กรรมการ ป.ป.ช.ได้ให้ข่าวกับสื่ อมวลชนตอนหนึ่งว่า "เรามีมติเป็ นเอกฉันท์ แต่ มมี ติอยู่อนั หนึ่งทีม่ กี าร หารือกันว่ าจะแจ้ งข้ อกล่ าวหา น.ส.ยิง่ ลักษณ์ ไปในคราวเดียวกันเลยหรือไม่ แต่ ทปี่ ระชุ มเห็นว่ า ควรจะรอไว้ ก่อน เพือ่ ให้ โอกาสในการไต่ สวนก่ อน ซึ่งเราให้ ความเป็ นธรรมทีส่ ุ ดแล้ ว" ปรากฏ ตาม หนังสื อพิมพ์ คมชัดลึก ออนไลน์ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๗ ซึ่งการประชุมของคณะกร รมการป.ป.ช. ให้สมั ภาษณ์ดงั กล่าวข้างต้นนั้น เท่ากับเป็ นการยอมรับอยูใ่ นตัวว่า ผลการไต่สวน ของอนุกรรมการไต่สวนกรณี นายบุญทรงฯ ถือว่า ข้อเท็จจริ งที่ปรากฏในการประชุมของคณะ กรรมการ ป.ป.ช.นั้น ไม่ได้ขอ้ เท็จจริ งเพียงพอที่จะฟังว่า นายกรัฐมนตรี มีส่วนร่ วมในการกระ ทำาความผิดดังที่คณะกรรมการป.ป.ช. อ้าง จึงเป็ นไม่ชอบด้วยระเบียบคณะกรรมการป.ป.ช.ว่า ด้วยการไต่สวนข้อเท็จจริ ง พ.ศ.๒๕๕๕ ข้อ ๓๕ ๑.๗ การตรวจพยานหลักฐานไม่ ชอบด้ วยระเบียบคณะกรรมการ ป.ป.ช.ว่ า ด้ วยการไต่ สวนข้ อเท็จจริง พ.ศ.๒๕๕๕ ข้ อ ๔๐


21

ในชั้นตรวจพยานหลักฐาน ภายหลังที่ขา้ พเจ้ารับทราบข้อกล่าวหาแล้วนั้น มิได้เป็ นเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมของข้าพเจ้า เพราะกระบวนการตรวจสอบพยานหลัก ฐานในสำานวนการไต่สวนข้อเท็จจริ งเพื่อจะใช้ประกอบในการชี้ แจงข้อกล่าวหาของข้าพเจ้าไม่ ได้รับความร่ วมมือจากเจ้าหน้าที่สาำ นักงานคณะกรรมการ ป.ป.ช.อย่างเพียงพอที่จะนำาเอาพยาน หลักฐานที่ได้จากการตรวจไปทำาชี้ แจงแก้ขอ้ กล่าวหา อันถือว่าเป็ นการไม่ชอบ ด้วยระเบียบคณะ กรรมการ ป.ป.ช.ว่าด้วยการไต่สวนข้อเท็จจริ ง พ.ศ.๒๕๕๕ ข้อ ๔๐ เนื่องจาก ในการตรวจ พยานหลักฐานนั้น จะต้องเป็ นไปตามสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูถ้ ูกกล่าวหา ที่จะต้องได้รับการคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๔๐ (๒) (๗) ประกอบระเบียบคณะกรรมการป้ องกันและปรามปราบการทุจริ ตแห่งชาติ ว่าด้วย การ ไต่สวนข้อเท็จจริ ง พ.ศ. ๒๕๕๕ ข้อ ๔๐ วรรคสอง และ วรรคสาม ในอันที่ขา้ พเจ้าต้องได้รับ สิ ทธิ์ในการได้รับทราบข้อเท็จจริ งและตรวจสอบ หรื อได้รับทราบพยานหลักฐานตามสมควร แต่ปรากฏข้อเท็จจริ งว่า ในวันตรวจพยานหลักฐาน เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๗ นั้น กรรมการ ไต่สวนข้อเท็จจริ งกลับมอบเอกสารให้เพียง ๑๒ รายการ จำานวน ๔๙ แผ่นเท่านั้น ส่ วนพยาน หลักฐานอย่างอื่น “ อ้ างไม่ มี” แต่นายวิชา ฯ กลับไปให้สมั ภาษณ์ต่อหนังสื อพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ว่า “แต่ เรื่องจำานำาข้ าวจีทูจี บังเอิญท่ านเป็ นประธาน กขช.ไม่ ใช่ รับผิดชอบเฉพาะตัวงานทีเ่ ป็ นนา ยกฯ ท่ านไปยุ่งเกีย่ วด้ วยในฐานะประธาน กขช. มัน ๒ ซ้ อน ท่ านรับรู้ ท้งั หมดว่ าจะทำาอย่ างไร เอาจีทูจีหรือไม่ จะบอกว่ าไม่ ได้ รับผิดชอบโดยตรงมอบให้ รมต.ไปดูแลแล้ ว มันไม่ ใช่ หนีไม่ พ้น เลย ท่ านรับรู้ หมด มีมติในทีป่ ระชุ มชัดเจน เวลารายงานท่ านสุ ภา ปิ ยะจิตติ ซึ่งเป็ นรองประธาน คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชี ก็ส่งตรงถึงประธานซึ่งก็คอื นายกรัฐมนตรี ...” คำาว่ า “แต่ เรื่องจำานำา ข้ าวจีทูจี บังเอิญท่ านเป็ นประธาน กขช.” และ “...รับรู้ หมด มีมติในทีป่ ระชุ มชัดเจน...” แสดงว่า ยังมีเอกสารเกี่ยวกับจีทูจี และมติที่ประชุม ที่กรรมการ ป.ป.ช. ไม่ได้ให้ตรวจและไม่มอบให้แก่ ข้าพเจ้า และการที่นายวิชาฯ กรรมการ ป.ป.ช. ผูร้ ับผิดชอบสำานวนนำาข้อเท็จจริ งในสำานวนไป เปิ ดเผยต่อสาธารณชน อันไม่ใช่เป็ นประโยชน์แก่ทางราชการ แทนที่จะนำามาให้ขา้ พเจ้าตรวจ สอบตามสิ ทธิที่รัฐธรรมนูญคุม้ ครอง การกระทำาของนายวิชา ฯ กรรมการ ป.ป.ช.ผูร้ ับผิดชอบ สำานวน จึงเป็ นการขัดต่อกฎหมายและตามระเบียบคณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่าด้วย ประมวล จริ ยธรรม ฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๓๔ นอกจากนี้ เมื่อข้าพเจ้าได้รับเอกสาร จำานวน ๔๙ แผ่น และนำา


22

มาตรวจสอบแล้วปรากฏว่า เอกสารลำาดับที่ ๘ - ๙ นั้น ไม่ได้ให้รายละเอียดคำาอภิปรายของนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และของนายวรงค์ เดชกิจวิกรม ให้เฉพาะใบปะหน้าและคำาอภิปรายนาย อภิสิทธิ์ ๑ หน้า และใบปะหน้ากระทูถ้ ามของนายวรงค์ เดชกิจวิกรม ๑ หน้า โดยไม่มีเอกสาร รายละเอียดประกอบ อีกทั้งเมื่อนำาเอกสารทั้ง ๔๙ แผ่นไปตรวจสอบกับบันทึกแจ้งข้อกล่าวหา แล้ว ก็ปรากฏว่าไม่มีเอกสารใดๆเกี่ยวข้องกับข้อหาในอันที่จะทำาให้ขา้ พเจ้าเข้าใจข้อหาได้ดี จากสภาพของพยานหลักฐานในชั้นตรวจพยานหลักฐานข้างต้นจึงขัดแย้งต่อข้อเท็จจริ งที่นาย วิชา มหาคุณ ที่เป็ นกรรมการ ป.ป.ช. ผูร้ ับผิดชอบสำานวน อ้างว่า “คดีดงั กล่าวได้ไต่สวนมาเป็ นปี แล้ว” และขัดแย้งกับมติในการประชุมของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ครั้งที่ ๕๓๙-๗/๒๕๕๗ เมื่อ วันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ อันแสดงว่าเพิ่งมีมติให้ไต่สวนข้อเท็จจริ ง โดยให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งคณะเป็ นองค์คณะในการไต่สวน นอกจากนี้ จากการให้สมั ภาษณ์ต่อสื่ อมวลชนของ นายวิชา มหาคุณ ตามหนังสื อพิมพ์ฐานเศรษฐกิจการเมือง เมื่อวันที่ ๙-๑๒ มีนาคม ๒๕๕๗ มี บางช่วงบางตอนว่า “ กรณี ของนายกไต่สวนมาเป็ นปี แล้ว เริ่ มตั้งแต่มีการแจ้งให้นายกทราบ เตือนว่าเรื่ องจำานำาข้าวมันทุจริ ตมาก....” และอีกตอนหนึ่งว่า “แต่เรื่ องจำานำาข้าว จีทูจี บังเอิญท่าน เป็ นประธาน กขช. ไม่ใช่รับผิดชอบต่องานที่เป็ นนายกฯ ท่านไปยุง่ เกี่ยวด้วยในฐานะประธาน กขช. มัน ๒ ซ้อน ท่านรับรู้ท้งั หมดว่าจะทำาอย่างไร เอาจีทูจี หรื อไม่ จะบอกว่าไม่ได้รับผิดชอบ โดยตรงมอบให้ รมต. ไปดูแลแล้ว มันไม่ใช่หนีไม่พน้ เลย ท่านรับรู้หมด มีมติในที่ประชุม ชัดเจน เวลารายงานท่านสุ ภา ปิ ยะจิตติ ซึ่งเป็ นรองประธานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชี ก็ส่งตรง ถึงประธาน ก็คือนายกรัฐมนตรี ซึ่งจากการให้สมั ภาษณ์ดงั กล่าว ข้างต้นนั้น คำาว่าไต่สวนมาเป็ น ปี หรื อท่านรับรู้หมด มีมติที่ประชุมชัดเจน...” ซึ่งแสดงให้ เห็นว่ า คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้ องมี เอกสารอีกเป็ นจำานวนมาก อาทิเช่ น มติทปี่ ระชุ มทีน่ ายวิชา ฯให้ สัมภาษณ์ ถึงเป็ นมติทปี่ ระชุ ม อะไรทีน่ ายวิชาฯมีอยู่ และเป็ นเอกสารในสำ านวนการไต่ สวนข้ อเท็จจริงหรือไม่ กรรมการ ป.ป.ช. มิได้ ให้ ผู้ถูกกล่ าวหาตรวจสอบ ปรากฏตามคำาร้ องขอตรวจพยานหลักฐานเพิม่ เติม ฉบับลงวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๗ ในสำ านวนคดี การกระทำาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ไม่มีการให้ทนายความของข้าพเจ้าตรวจ พยานหลักฐานใด ๆ ทั้งสิ้ น และเพียงแต่ถ่ายเอกสาร จำานวน ๔๙ แผ่น มอบให้ทนายความของ ข้าพเจ้าเท่านั้น จึงถือว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. ปิ ดบัง ซ่อนเร้นพยานหลักฐานเพื่อไม่ให้ขา้ พเจ้า


23

ได้เข้าใจข้อหาได้ดี และเพื่อไม่ให้ช้ ีแจงแก้ขอ้ กล่าวหาได้อย่างถูกต้องอันเป็ นการเอาเปรี ยบใน เชิงคดี มุ่งแต่จะเอาผิด หรื อกล่าวโทษกับข้าพเจ้าในลักษณะที่เป็ นการฝ่ าฝื นต่อหลักการตาม บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๕๐ ตามมาตรา ๔๐ (๒) (๗) และถือว่าเป็ นการขัด จริ ยธรรมตามระเบียบคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ ว่าด้วย ประมวล จริ ยธรรมคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ ข้าราชการ และลูกจ้าง สำานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๑ ข้อ ๓๔ ประกอบ ข้อ ๒๙ ที่จะต้องรวบรวมพยานหลักฐานที่อาจพิสูจน์ความบริ สุทธิ์ของผูถ้ ูกกล่าวหา ด้วย แต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่เป็ นองค์คณะในการไต่สวนหาได้กระทำาไม่ ดังเหตุผลและข้อ เท็จจริ งและข้อกฎหมายดังกล่าวมาแล้วข้างต้น สรุ ป-จากเหตุผลข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมายดังกล่าวมาแล้วข้างต้น จึงถือว่าการ ดำาเนินการไต่สวนข้อเท็จจริ งของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในชั้นรับคำาร้องและเริ่ มคดีน้ นั เป็ นการดำาเนินการที่ถือว่าไม่ชอบด้วย ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๑๒๓/๑ โดยเทียบ เคียงตามนัยแห่งคำาพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๐๙/๒๕๔๙ คดีระหว่าง นายประทีป ปิ ติสนั ต์ โจทก์ นายสุ กรี สุ จิตติกลุ จำาเลย ข้ าพเจ้ าขออ้ างนำาสื บพยานบุคคล ราย พลตำารวจโท ดร.วิเชียรโชติ สุ กโชติรัตน์ อดีตกรรมการป.ป.ช. เพือ่ หักล้ างนำาสื บการใช้ อาำ นาจของคณะกรรมการป.ป.ช.ทีไ่ ต่ สวนคำาร้ อง ถอดถอนตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๗๒ แต่ กลับเป็ นผู้กล่ าวหาร่ วมด้ วยกับผู้ร้องถอดถอนและ พิจารณาคดีคาำ ร้ องถอดถอนรวมกันกับคดีทคี่ ณะกรรมการป.ป.ช.กล่ าวหาโดยผิดระเบียบการ ไต่ สวนของคณะกรรมการป.ป.ช. ตามเนือ้ หาประเด็นดังทีไ่ ด้ กล่ าวมาข้ างต้ น พยานบุคคลใน ลำาดับที่ ๑ ข้ อ ๒. นายกรัฐมนตรีมไิ ด้ กระทำาความผิดในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าว ข้าพเจ้าฯ ในฐานะนายกรัฐมนตรี มิได้กระทำาความผิดในการดำาเนินโครงการรับ จำานำาข้าว ตามบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ปปช.


24

ข้าพเจ้าขอชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหาว่า ข้าพเจ้ามิได้กระทำาความผิดตามที่กล่าวหาข้าง ต้นแต่อย่างใดทั้งสิ้ น และลำาพังเพียงข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฏในบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาของคณะ กรรมการ ป.ป.ช. ฉบับลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ และข้อมูลตามภาพถ่ายเอกสาร จำานวน ๔๙ แผ่น ที่เจ้าหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบให้ทนายความของข้าพเจ้า เมื่อไปขอตรวจ พยานหลักฐานนั้น ก็ไม่เป็ นการเพียงพอที่จะชี้ วา่ มีมูลความผิดใดๆ ดังที่มีการกล่าวอ้างในบันทึก การแจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพราะ ๒.๑ นายกรัฐมนตรีเป็ นหนึ่งในคณะรัฐมนตรี ทีด่ าำ เนินโครงการรับจำานำาข้ าว ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี ตามบทบาทอำานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของนายกรัฐมนตรี ในโครงการรับจำานำาข้าว ข้าพเจ้ากระทำาการในฐานะเป็ นหนึ่งในรัฐมนตรี ของ “คณะรัฐมนตรี ” ที่ดาำ เนินโครงการรับจำานำาข้าวตามที่รัฐบาลได้แถลงไว้กบั รัฐสภา ข้าพเจ้า จึงมิได้เป็ นผูก้ ระทำาความผิดใดๆ ทั้งสิ้ นตามที่มีการแจ้งข้อกล่าวหา ๒.๒ นายกรัฐมนตรีปฏิบัตติ ามหลักความรับผิดชอบร่ วมกัน ตามรัฐธร รมนูญฯ มาตรา ๑๗๑ เมื่อคำานึงถึงบทบาทและอำานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของนายก รัฐมนตรี จะเห็นว่า ข้าพเจ้ามีฐานะเป็ นหัวหน้ารัฐบาลที่มีบทบาทในทางการบริ หารรัฐ (governmental) ซึ่งมีพ้ืนฐานมาจากหลักการปกครองใน “ระบบรัฐสภา” ที่ถือหลักการบริ หาร กิจการของรัฐในรู ปของ “คณะบุคคล” (collective body) โดยยึดหลักความรับผิดชอบร่ วมกัน (collective responsibility) โดยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๑ ระบุว่าคณะ รัฐมนตรี มีหน้ าทีบ่ ริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่ วมกัน และในบันทึกการ แจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เอง ก็ยอมรับในประเด็นของหลักความรับผิดชอบ ร่ วมกัน รวมทั้งในบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาดังกล่าวก็มีขอ้ ความระบุชดั แจ้งว่าเป็ นการกล่าวหา ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี บริ หารราชการแผ่นดินร่ วมกับรัฐมนตรี อื่นตามบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญ ตามกฎหมาย และตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ๒.๓ นโยบายรับจำานำาข้ าวเป็ นหนึ่งในนโยบายเร่ งด่ วนของรัฐบาล ข้ อ ๑.๑๑ ซึ่งตรงกับแนวนโยบายพืน้ ฐานแห่ งรัฐ ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๘๔(๘)


25

การบริ หารราชการแผ่นดินของข้าพเจ้าโดยมีนโยบายรับจำานำาข้าวเป็ นส่ วน หนึ่งของนโยบายรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา นั้น นโยบายการรับจำานำาข้าวเป็ นนโยบายตาม ข้อ ๑.๑๑ โดยเป็ น ๑ ใน ๑๖ โครงการที่รัฐบาลต้องเร่ งดำาเนินการอย่างรี บด่วน และเป็ นโครงการที่ ตรงกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๘๔(๘) ที่ทุกรัฐบาลต้องปฏิบตั ิ ซึ่งนโยบายรับจำานำาข้าวก็เป็ นนโยบายที่รัฐบาลไทยได้ถือ ปฏิบตั ิกนั มาเนิ่นนานแล้วโดย ตั้งแต่ปี ๒๕๑๘ เป็ นต้นมา รัฐบาลให้ความสนใจกับการ แทรกแซงราคาข้าวเปลือกภายในประเทศมากขึ้ น มีการปรับปรุ งแก้ไขเปลี่ยนแปลงกันมาโดย ตลอดมิใช่เพิ่งจะมาริ เริ่ มดำาเนินการในสมัยรัฐบาลของข้าพเจ้า แต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เองได้ แสดงในบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอคติไม่ชอบนโยบายรับจำานำาข้าว โดยอ้างอิงข้อมูลด้านเดียวที่เป็ นความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่า รัฐบาลควรยกเลิก โครงการรับจำานำาข้าวและนำาระบบประกันความเสี่ ยงด้านราคาข้าวมาดำาเนินการ อ้างว่า จะส่ งผล ให้การผลิตและการค้าข้าวดำาเนินการไปตามกลไกการตลาด อ้างว่าจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจในภาพรวม อ้างว่าการยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าวและนำาระบบประกันความเสี่ ยง ด้านราคาข้าวมาใช้จะป้ องกันการทุจริ ตและไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ประเทศชาติท้ งั ๆ ที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เองก็ไม่มีความเชี่ยวชาญในด้านการดำาเนินนโยบายเกี่ยวกับการผลิตและ การค้าข้าวแต่อย่างใด กลับมาให้ความเห็นและใช้ความเห็นดังกล่าวกล่าวหาข้าพเจ้าโดยอคติ โดยอ้างพยานหลักฐานอ้างลอยๆ ว่าข้าพเจ้ารับทราบข้อมูลในเรื่ องต่างๆ ซึ่งล้วนแต่เป็ นเรื่ องของ การดำาเนินการของคณะรัฐบาลของข้าพเจ้าที่รับผิดชอบในรู ปแบบของคณะรัฐมนตรี ซ่ ึงรับผิด ชอบต่อรัฐสภาตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญในทางการเมืองซึ่งรัฐสภามีกระบวนการตรวจสอบ การกระทำาของรัฐบาลอยูแ่ ล้วตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ๒.๔ ความรับผิดชอบของรัฐบาลตามทีแ่ ถลงนโยบายต่ อรัฐสภา ตามรัฐธร รมนูญฯ มาตรา ๑๗๘ ดังนั้น เมื่อคณะรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายที่จะใช้ในการบริ หารราชการแผ่น ดินต่อรัฐสภาแล้วตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๘ ซึ่งได้บญั ญัติให้เห็นถึงความรับ ผิดชอบของคณะรัฐมนตรี ซึ่งในที่น้ ี ยอ่ มจะต้องหมายความรวมถึงนายกรัฐมนตรี เนื่องด้วยมี ฐานะเป็ นรัฐมนตรี ผหู ้ นึ่ง ด้วยว่า ในการบริ หารราชการแผ่นดินรัฐมนตรี ตอ้ งดำาเนินการตาม


26

บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ตามมาตรา ๑๗๖ และต้องรับผิด ชอบต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรในหน้าที่ของตน รวมทั้งต้องรับผิดชอบร่ วมกันต่อรัฐสภาในนโยบาย ทัว่ ไปของคณะรัฐมนตรี ซึ่งหากพิจารณาบทบัญญัติมาตรา ๑๗๘ นี้แล้ว เห็นได้วา่ มุ่งหมายให้ รัฐมนตรี จะต้องดำาเนินการใด ๆ ในการบริ หารราชการแผ่นดินที่จะต้องเป็ นไปตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญที่ได้บญั ญัติไว้ บรรดาบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และต้องดำาเนินการ ให้เป็ นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภาก่อนเข้าบริ หารราชการแผ่นดินตามมาตรา ๑๗๖ ของรัฐธรรมนูญ โดยไม่อาจดำาเนินการใด ๆ ในลักษณะที่เป็ นการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามรวม ทั้งกระทำาการใด ๆ เพื่อมิให้เป็ นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย หรื อบรรดา นโยบายที่คณะรัฐมนตรี ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และหากพิจารณาบทบัญญัติในมาตรา ๑๗๘ นี้ แล้ว จะเห็นได้วา่ ได้บญั ญัติไว้อย่างชัดเจนว่า การที่รัฐมนตรี ตอ้ งดำาเนินการตามบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภานี้ จะต้องรับผิดชอบต่อสภาผูแ้ ทน ราษฎรในหน้าที่ของตน รวมทั้งต้องรับผิดชอบร่ วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทัว่ ไปของคณะ รัฐมนตรี โดยหากพิจารณาประกอบกับบทบัญญัติอื่น ๆ ของรัฐธรรมนูญที่ระบุถึงการตรวจสอบ และควบคุมการบริ หารราชการแผ่นดิน อันได้แก่บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในส่ วนที่ ๙ “การควบคุมการบริ หารราชการแผ่นดิน” โดยเฉพาะใน มาตรา ๑๕๖ ที่กาำ หนดให้สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรหรื อสมาชิกวุฒิสภามีสิทธิต้ งั กระทูถ้ าม รัฐมนตรี เกี่ยวกับงานในหน้าที่ หรื อในมาตรา ๑๕๘ และมาตรา ๑๕๙ ที่กาำ หนดให้สมาชิกสภาผู ้ แทนราษฎรมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิ ดอภิปรายทัว่ ไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี เป็ นรายบุคคลหรื อในมาตรา ๑๖๑ สมาชิกวุฒิสภามีสิทธิเข้าชื่อขอเปิ ดอภิปราย ทัว่ ไปในวุฒิสภาเพื่อให้คณะรัฐมนตรี แถลงข้อเท็จจริ งหรื อชี้ แจงปัญหาข้อสำาคัญเกี่ยวกับการ บริ หารราชการแผ่นดินโดยไม่มีการลงมติ ยิง่ แสดงให้เห็นว่าการดำาเนินการของรัฐมนตรี ในการ บริ หารราชการแผ่นดินที่จะต้องดำาเนินการให้เป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่แถลงไว้ โดยเป็ นกรณี ที่รัฐมนตรี ตอ้ งรับผิดชอบต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรและรัฐสภา ซึ่งมีกระบวนการตรวจสอบควบคุมการบริ หารราชการแผ่นดินดังที่ได้กล่าวมา หากรัฐมนตรี ไม่ ดำาเนินการ ฝ่ าฝื น ไม่ปฏิบตั ิตาม หรื อกระทำาการใด ๆ ในลักษณะที่เป็ นการส่ อว่าจะไม่ดาำ เนิน การตามที่บญั ญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย หรื อนโยบายที่แถลงไว้ ดังกล่าว ย่อมจะเป็ นการ


27

ดำาเนินการที่เป็ นการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๗๘ ซึ่งอาจนำาไปสู่การที่จะถูกเสนอให้มี การถอดถอนออกจากตำาแหน่งรัฐมนตรี ได้ตามมาตรา ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญฯ ๒.๕ การปฏิบัตหิ น้ าทีข่ องนายกรัฐมนตรีตามหลักการพืน้ ฐาน ตาม ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๗๘ การแปลงนโยบายเป็ นแผนงานของหน่ วยงานต่ างๆทีเ่ กีย่ วข้ อง ในการปฏิบตั ิหน้าที่ของข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี จึงย่อมจะต้อง อยูบ่ นหลักการพื้นฐานตามบทบัญญัติมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญฯ กล่าวคือ รัฐมนตรี จะ กระทำาการใด ๆ ในลักษณะที่เป็ นการไม่ดาำ เนินการให้เป็ นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภาไม่ได้ ซึ่งที่ผา่ นมาข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี บริ หารราชการแผ่นดินโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญ โดยชอบด้วยกฎหมาย และเป็ นการชอบด้วย นโยบายที่แถลงไว้ต่อรัฐสภาทุกประการ โดยเฉพาะโครงการรับจำานำาข้าว ข้าพเจ้า “ ในฐานะ นายกรัฐมนตรี ” มิได้กระทำาความผิดใด ๆ ตามบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่อย่างใดทั้งสิ้ น การกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็ นเพียงการคาดคะเนที่ จินตนาการเอาเองโดยอคติ ดังเหตุผลข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมายดังกล่าวมาแล้วข้างต้น “หน่ วยงานต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง” ของราชการมีหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ในการดำาเนินการให้ นโยบายของรัฐบาลบรรลุตามเป้าประสงค์ ทกี่ าำ หนด การทีค่ ณะรัฐมนตรี ของข้ าพเจ้ าดำาเนินการให้ เป็ นไปตามนโยบายทีแ่ ถลงไว้ ต่อรัฐสภา เมือ่ วันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ ตามโครงการรับจำานำาข้ าว พร้ อมกับมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำาเนิน การให้ เป็ นไปตามนโยบายดังกล่ าว ข้ าพเจ้ าในฐานะนายกรัฐมนตรีจึงไม่ ได้ กระทำาความผิดใด ๆ ดังทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช.แจ้ งข้ อกล่ าวหาแต่ อย่ างใดทั้งสิ้น เนื่องจาก หากพิจารณาความในตอนท้ายของมาตรา ๑๗๖ ของรัฐธรรมนูญแล้ว ที่ บัญญัติให้เมื่อแถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้วต้องจัดทำาแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อ กำาหนดแนวทางการปฏิบตั ิราชการแต่ละปี ซึ่งในแผนการบริ หารราชการแผ่นดินจะนำานโยบาย ที่คณะรัฐมนตรี ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภามากำาหนดมาตรการ และรายละเอียดของแนวทางในการ ปฏิบตั ิราชการแผ่นดิน หรื อที่เรี ยกว่าการนำานโยบายที่แถลงไว้มาแปลงให้เป็ นแผนงานในการ บริ หารราชการแผ่นดินที่ “หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ” สามารถนำาไปปฏิบตั ิต่อไป จะเห็นว่า


28

ในการนำานโยบายเกี่ยวกับการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ตาม “นโยบายเร่ งด่วนของรัฐบาลของข้าพเจ้า ข้อ ๑.๓” และในการนำาเอา “นโยบายการยกระดับ สิ นค้าเกษตร และให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน และการนำาระบบจำานำาสิ นค้าเกษตรมาใช้ใน การสร้างความมันคงด้ ่ านรายได้ให้แก่เกษตรกร และการรับจำานำาข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ ตามนโยบายเร่ งด่วนของรัฐบาลของข้าพเจ้า ข้อ ๑.๑๑” ที่กาำ หนดในนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ มากำาหนดมาตรการและรายละเอียดในการปฏิบตั ิไว้ดว้ ยเช่นกัน ในแผนบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ โดยรัฐบาลของข้าพเจ้า มีการนำาเอา นโยบายตามข้อ ๑.๓ (ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ) มีการนำา มาปฏิบตั ิอย่างจริ งจัง และมีการนำาเอานโยบายตามข้อ ๑.๑๑ (ยกระดับราคาสิ นค้าเกษตรและให้ เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุนซึ่งระบุถึงการใช้ระบบการรับจำานำาสิ นค้าเกษตรและการรับจำานำา ข้าวเปลือก) มาเป็ นวิธีการในการดำาเนินการตามนโยบายอย่างเร่ งด่วนตามลำาดับซึ่งมีการกำาหนด เป้ าประสงค์เชิงนโยบายและตัวชี้ วดั รวมถึงกลยุทธ์หรื อวิธีการที่จะปฏิบตั ิรวมถึงการกำาหนด แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลเพื่อให้เป็ นไปตามนโยบายดังกล่าว โดยในการ จัดทำาแผนการบริ หารราชการแผ่นดินนั้น ปรากฏชัดเจนมีกระบวนการ ขั้นตอน รวมถึง ”หน่วย งานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง” เข้าร่ วมในการจัดทำาแผนบริ หารราชการแผ่นดิน และหน่วยงานตามที่ ระบุไว้ในระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการจัดทำาแผนบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เช่น เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ ผูอ้ าำ นวยการสำานักงบประมาณ เลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู ้ อำานวยการสำานักงานเศรษฐกิจการคลัง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็ นต้น โดยมีการรวบรวม ข้อมูลจากส่ วนราชการที่เกี่ยวข้องกับนโยบายแต่ละเรื่ องมาร่ วมกันจัดทำาแผนบริ หารราชการ แผ่นดิน ส่ วนในการปฏิบตั ิเพื่อให้นโยบายบรรลุผลและเป็ นไปโดยถูกต้องตาม กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ย่อมเป็ นหน้าที่ของ “หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง” ที่มีหน้าที่ และความรับผิดชอบในการดำาเนินการปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามนโยบายนั้น ๆ เพื่อให้บรรลุตาม เป้ าประสงค์ที่กาำ หนด


29

๒.๖ การยืนยันดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้ าวต่ อไปกับ “ทฤษฎีการก ระทำาของรัฐบาล” การที่คณะรัฐมนตรี ที่มีขา้ พเจ้าเป็ นนายกรัฐมนตรี ยงั คงยืนยันดำาเนิน โครงการต่อไปให้เป็ นไปตามนโยบายที่แถลงไว้ต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ ใน เรื่ องที่ถูกกล่าวหา นั้น เป็ น “การกระทำาทางการเมืองหรื อการกระทำาของรัฐบาล” (act of government หรื อ act of state)เป็ นเรื่ องการตัดสิ นใจเลือกทิศทางการบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นการใช้อาำ นาจขององค์กรบริ หารในฐานะที่เป็ นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ และเป็ นการกระทำา ในฐานะที่เป็ นรัฐบาลโดยการกระทำาทางรัฐบาลมีลกั ษณะเป็ นการกระทำาในความสัมพันธ์กบั รัฐสภาและการกระทำาในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี มี อำานาจกระทำาการได้สองฐานะด้วยกัน คือ กระทำาการในฐานะที่เป็ นรัฐบาล และกระทำาในฐานะ ที่เป็ น “องค์กรของรัฐฝ่ ายปกครอง” หรื อ “เจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่ ายปกครอง” ทั้งนี้ หากพิจารณาจาก กฎหมายอันเป็ นแหล่งที่มาของอำานาจกระทำาการแล้ว ถ้าการกระทำาการของนายกรัฐมนตรีเป็ นไป โดยอาศัยอำานาจตามรัฐธรรมนูญก็จะถือได้วา่ เป็ นการกระทำาในฐานะทีเ่ ป็ น “รัฐบาล” แต่ในกรณีที่ กระทำาการโดยอาศัยอำานาจตามพระราชบัญญัติ ก็จะถือว่ากระทำาการในฐานะที่เป็ น “องค์กรของรัฐ ฝ่ ายปกครอง” สำาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่ ายปกครองซึ่งได้แก่ องค์กรหรื อเจ้าหน้าที่ที่อยูใ่ นบังคับ บัญชาหรื อในกำากับหรื อควบคุมดูแลโดยตรงหรื อโดยอ้อมของนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี (ซึ่ง กรณี น้ ี นายกรัฐมนตรี เป็ นผูม้ ีอาำ นาจหน้าที่ตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริ หารราชการแผ่นดินฯ นัน่ เอง) มีฐานะเป็ น “องค์กรของรัฐฝ่ ายปกครอง” หรื อ “เจ้าหน้าที่ของ รัฐฝ่ ายปกครอง” ตามทฤษฎีการกระทำาของรัฐบาลเป็ นแนวคิดเกีย่ วกับการจำากัดอำานาจของศาลในการ ควบคุมการกระทำาของฝ่ ายบริหาร ก่อให้เกิดผลทางกฎหมายกับรัฐบาลไม่ตอ้ งถูกควบคุมโดยศาล จะ นำาเรื่ องไปฟ้ องศาลไม่ได้ แม้วา่ จะก่อให้เกิดความเสี ยหายก็ตาม แต่การกระทำาดังกล่าวจะตกอยู่ ในความควบคุมทางการเมือง โดยกระบวนการทางการเมือง เช่น การลงมติไม่ไว้วางใจของ รัฐสภา จึงเป็ นการกระทำาที่อยูน่ อกเหนือการควบคุมทางศาลโดยสิ ้ นเชิงเมื่อหน้าที่ในฐานะ รัฐบาลมีระบบการควบคุมตรวจสอบทางการเมืองอยูแ่ ล้ว จึงไม่ควรอยูภ่ ายใต้บงั คับแห่ง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗


30

ดังนัน้ การดำาเนินการของนายกรัฐมนตรีตามโครงการรับจำานำาข้าวทีเ่ ป็นนโยบายของ รัฐบาลซึ่งได้แถลงต่อสภา จึงเป็ นการกระทำาในการบริ หารราชการแผ่นดินที่อาศัยอำานาจ ตาม รัฐธรรมนูญ (มาตรา ๑๗๑ มาตรา ๑๗๖ และมาตรา ๑๗๘) จึงเป็ น “การกระทำาของรัฐบาล”ในขณะที่ การใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ (๑) เป็ นการกระทำาในฐานะที่เป็ นเจ้าหน้าที่ของ รัฐฝ่ ายปกครอง การใช้อาำ นาจหน้าที่เกี่ยวกับนโยบายของรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญเป็ นส่ วนหนึ่ง ของการใช้อาำ นาจหน้าที่ของฝ่ ายบริ หาร โดยอำานาจหน้าที่ของฝ่ ายบริ หารในการปกครองหรื อ บริ หารกิจการของรัฐแบ่งได้เป็ นสองส่ วน ซึ่ง ส่ วนแรกอำานาจหน้าที่ของรัฐบาลซึ่งเป็ นองค์กรที่ มีอาำ นาจหน้าที่ในการกำาหนดและกำากับนโยบายของรัฐในระดับสูงสุ ด ซึ่งเรี ยกว่า “ฝ่ ายบริ หาร” หรื อ “รัฐบาล”โดยองค์กรบริ หารของประเทศไทยนั้น คณะรัฐมนตรี เป็ นองค์กรกลุ่มประกอบ ด้วยนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี มีอาำ นาจหน้าที่ในการบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นผูก้ าำ กับ นโยบายและวางแนวทางในการบริหารประเทศ และคอยควบคุมกำากับและชีแ้ นะให้เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ปฏิบตั เิ พือ่ ให้เป็ นไปตามนโยบายอำานาจหน้าที่ของรัฐบาลจะเป็ นการใช้อาำ นาจทางการเมืองอันเป็ น “การกระทำาทางรัฐบาล”และเป็ นการกระทำาทีอ่ ยูใ่ นขอบเขตของรัฐธรรมนูญ เป็ น “อำานาจหน้าทีต่ าม รัฐธรรมนูญมาตรา ๑๗๖” การดำาเนินการของรัฐบาลซึ่งนายกรัฐมนตรีเป็ นหัวหน้ารัฐบาลตาม โครงการรับจำานำาข้าวจึงเป็ นการกระทำาของรัฐบาล เป็ นอำานาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ และส่ วนที่ สอง อำานาจหน้าที่ของฝ่ ายปกครอง ซึ่งเป็ นองค์กรที่มีอาำ นาจหน้าที่ในการดำาเนินการหรื อเป็ น ฝ่ ายปฏิบตั ิเพื่อให้เป็ นไปตามนโยบายที่รัฐบาลได้กาำ หนดไว้ ถือได้วา่ เป็ นการกระทำาในทาง ปกครองอันเป็ นอำานาจหน้าที่ในการจัดทำาบริ การสาธารณะ เป็ นการกระทำาในฐานะฝ่ ายปกครอง ซึ่งอาจเป็ นการกระทำาตามที่กฎหมายต่าง ๆ กำาหนดให้เป็ นอำานาจหน้าที่โดยฝ่ ายปกครองนี้ อาจ เป็ นคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐก็ได้ องค์กรฝ่ ายบริหารทีใ่ ช้อาำ นาจตามทีก่ าำ หนดไว้ในรัฐธรรมนูญในส่วนแรกอันเป็ น “การกระทำาทางรัฐบาล” นั้น จะต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา เรื่ องใดที่ฝ่ายบริ หารซึ่งได้แก่ คณะรัฐ มนตรี หรื นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลได้มีมติหรื อดำาเนินการในทางนโยบายไปแล้ว ย่อมถือว่าได้ยอมรับความรับผิดชอบต่อรัฐสภาโดยตรงตามการปกครองระบอบประชาธิปไตย องค์กรอืน่ ซึ่งใช้อาำ นาจตามรัฐธรรมนูญไม่สมควรเข้าแทรกแซงอำานาจฝ่ ายบริหารในส่วนทีเ่ ป็ นงาน


31

นโยบายของรัฐบาลแต่มีอาำ นาจตรวจสอบการทำางานของฝ่ ายบริ หารเฉพาะในส่ วนที่เป็ นงาน ประจำามิให้ขดั ต่อกฎหมาย การดำาเนินการตามโครงการรับจำานำาข้าวจึงเป็ นการใช้อาำ นาจทางบริหารของรัฐตาม รัฐธรรมนูญเพื่อการพัฒนาประเทศ นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมิได้ใช้อาำ นาจทาง บริ หารของรัฐตามพระราชบัญญัติหรื อกฎหมายอื่นที่มีผลใช้บงั คับดังเช่นพระราชบัญญัติ อำานาจ ดังกล่าวเป็ นเรื่ องในทางการเมืองที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการใช้อาำ นาจอธิปไตยโดยตรง ของรัฐ ซึง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช.ทีเป็่ นองค์กรบังคับใช้กฎหมายจะเข้ามาแทรกแซงการดำาเนินนโยบายของ ฝ่ายบริหารไม่ได้ รวมทัง้ ไม่ถอื ว่าการใช้อำานาจของนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลเป็ นเจ้า พนักงานหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ใช้อาำ นาจหน้าที่ตามที่กฎหมายได้กาำ หนดไว้ กรณี จึงไม่สามารถ นำาบทบัญญัติเรื่ องความรับผิดทางอาญาตามมาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และ มาตรา ๑๒๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการ ทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งมีวตั ถุประสงค์ที่จะมุ่งคุม้ ครองสังคมไม่ให้ได้รับความเสียหายจากการ ปฏิบตั หิ น้าทีข่ องเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ผูมี้ หน้าทีต่ ามกฎหมาย มาบังคับใช้ รวมทัง้ มิได้เป็ นกรณีทนี่ ายก รัฐมนตรี มพี ฤติการณ์สอ่ ว่ากระทำาผิดต่อตำาแหน่งหน้าทีราชการตามมาตรา ่ ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย ซึ่งมุ่งประสงค์จะใช้บงั คับเฉพาะกรณี ที่นายกรัฐมนตรี ได้ใช้อาำ นาจหน้าที่ตามพระ ราชบัญญัติหรื อกฎหมายอื่นที่มีผลใช้บงั คับดังเช่นพระราชบัญญัติอนั เป็ นอำานาจในฐานะที่เป็ น ฝ่ ายปกครอง การบังคับใช้มาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และมาตรา ๑๒๓/๑ แห่งพระ ราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ กับ การพิจารณาการดำาเนินการทางปกครองในโครงการรับจำานำาข้าวนั้น ขอบเขตของความผิดตาม มาตราดังกล่าวประสงค์ที่จะมุ่งคุม้ ครองประชาชนมิให้ได้รับความเดือดร้อนเสี ยหายจากการ ปฏิบตั ิหน้าที่ของเจ้าพนักงาน แต่กต็ อ้ งไม่ทาำ ให้เกิดปัญหาและอุปสรรคต่อหน้าที่ของนายก รัฐมนตรี ในการบริหารราชการแผ่นดิน ในส่วนทีเ่ ป็ นการดำาเนินการทางนโยบายของรัฐบาล การ ตีความบังคับใช้มาตรา ๑๕๗ และมาตรา ๑๒๓/๑ จึงควรมีขอบเขตจำากัด หากตีความให้ ครอบคลุมถึงการกระทำาทางนโยบาย ซึ่งเป็ นกรณีทนี่ ายกรัฐมนตรีเลือกใช้ตามความเหมาะสมของ สถานการณ์ อันอยูใ่ นดุลพินจิ ของนายกรัฐมนตรี และไม่ได้มีการฝ่ าฝื นกฎหมายหรื อมีเจตนา


32

พิเศษที่ชดั เจนแล้ว(ซึ่งไม่รวมถึงเล็งเห็นผล) ก็จะเป็ นการขัดต่อหลักกฎหมายอาญาทีต่ อ้ งมีความ ชัดเจนแน่นอนตามมาตรา ๒ วรรคหนึ่ง แห่งประมวลกฎหมายอาญา หากคณะกรรมการ ป.ป.ช. นำามาตรา ๑๕๗ และมาตรา ๑๒๓/๑ มาตีความและบังคับใช้กบั การกระทำาทางนโยบายย่อม เป็ นการบังคับใช้กฎหมายตามอำาเภอใจและเห็นได้วา่ การใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ในทาง นโยบายซึ่งเป็ นอำานาจตามรัฐธรรมนูญเพือ่ ควบคุมและกำากับการปฏิบตั ใิ ห้หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ ของรัฐดำาเนินการเพือ่ ให้เป็ นไปตามนโยบายดังกล่าว โดยไม่มีพฤติการณ์วา่ เป็ นการประพฤติมิชอบ นั้น การใช้อาำ นาจดังกล่าวศาลปกครองและศาลอาญายังไม่เคยเข้ามาตรวจสอบในเรื่ องการ ดำาเนินการในลักษณะนี้ แต่อย่างใด ๒.๗ นายกรัฐมนตรีมไิ ด้ ละเว้ นกระทำาการโดยไม่ ใช้ อาำ นาจ ตามมาตรา ๑๑(๑) แห่งพระราชบัญญัติบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี มิได้ละเว้นกระทำาการโดยไม่ใช้อาำ นาจตาม มาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ เกี่ยวกับการดำาเนิน โครงการรับจำานำาข้าว ดังที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวหาตามบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาแต่ อย่างใด เนื่องจาก ๒.๗.๑ อำานาจหน้าที่นายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ หากเพื่อให้นโยบายบรรลุเป็ น “การกระทำาของรัฐบาล” , แต่หากเพื่อควบคุมกำากับการปฏิบตั ิหน้าที่ของรัฐที่มิใช่เพื่อบรรลุ นโยบาย เป็ น “การกระทำาทางปกครอง” อำานาจนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งบัญญัติวา่ “มาตรา ๑๑ นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอาำ นาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) กำากับโดยทัว่ ไปซึ่งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้ จะสัง่ ให้ ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค และส่ วนราชการซึ่งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทำารายงานเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาำ เป็ นจะยับยั้งการ ปฏิบตั ิราชการใด ๆ ที่ขดั ต่อนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี กไ็ ด้และมีอาำ นาจสัง่ สอบสวนข้อ


33

เท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค และราชการส่ วน ท้องถิ่น (๒) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กาำ กับการบริ หารราชการของ กระทรวงหรื อทบวงหนึ่งหรื อหลายกระทรวงหรื อทบวง (๓) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตำาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมและส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม (๔) สัง่ ให้ขา้ ราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการ สำานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไม่กไ็ ด้ ในกรณี ที่ให้ ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้น ที่ไม่สูงกว่าเดิม (๕) แต่งตั้งข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำารง ตำาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เช่นว่านี้ ให้ขา้ ราชการซึ่งได้รับแต่งตั้งมีฐานะเสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดำารงตำาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการแต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาำ แหน่ง อธิบดีหรื อเทียบเท่าขึ้นไป ต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี (๖) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ นคณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใด ๆ และกำาหนดอัตราเบี้ย ประชุมหรื อค่าตอบแทนให้แก่ผซู ้ ่ ึงได้รับแต่งตั้ง (๗) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสำานักนายกรัฐมนตรี (๘) วางระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดินเป็ นไป โดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิภาพ เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี หรื อกฎหมายอื่น (๙) ดำาเนินการอื่น ๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบายระเบียบตาม (๘) เมื่อคณะ รัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บงั คับได้” บทบัญญัติมาตรา ๑๑ ดังกล่าวเป็ นกฎหมายหลักในการบริ หารราชการแผ่นดินที่ กำาหนดให้นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอาำ นาจหน้าที่กาำ กับโดยทัว่ ไปซึ่งการบริ หาร ราชการแผ่นดิน มีอาำ นาจสัง่ ให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค และส่ วนราชการที่มีหน้า ที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่นชี้แจงและแสดงความคิดเห็น ทำารายงาน เกี่ยวกับการปฏิบตั ิ ราชการ ในกรณี จาำ เป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใด ๆ ที่ขดั ต่อนโยบายหรื อ มติคณะรัฐมนตรี


34

ก็ได้ มีอาำ นาจสัง่ สอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการ ส่ วนภูมิภาค และราชการส่ วนท้องถิ่น มีอาำ นาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารในทุกตำาแหน่ง สังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม รวมทั้งมี อำานาจดำาเนินการอื่น ๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบาย นอกจากนี้ อำานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ นั้น แม้วา่ จะเป็ น อำานาจหน้าที่ที่มีที่มาจากกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ แต่เช่นเดียวกับอำานาจหน้าที่ของคณะ รัฐมนตรี ตามที่ได้กล่าวไว้ขา้ งต้นว่า หากเป็ นกรณี ที่นายกรัฐมนตรี ใช้อาำ นาจหน้าที่เพื่อควบคุม หรื อกำากับการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อให้นโยบายของรัฐบาลบรรลุเป้ าหมายแล้ว การใช้ อำานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีดงั กล่าวก็จะมีสถานะเป็ น “การกระทำาทางรัฐบาล” แต่หากเป็ นกรณีที่ นายกรัฐมนตรี ใช้อาำ นาจหน้าที่เพื่อควบคุมหรื อกำากับการปฏิบตั ิหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม กฎหมายต่างๆ แล้ว การใช้อาำ นาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ในกรณี น้ี กจ็ ะมีสถานะเป็ น “การกระ ทำาทางปกครอง” ดังนั้น กรณี การดำาเนินการของนายกรัฐมนตรี ตามโครงการรับจำานำาข้าว ซึ่งเป็ น นโยบายของรัฐบาลโดยใช้อาำ นาจหน้าที่ตามมาตรา ๑๑ ในการควบคุมหรื อกำากับการปฏิบตั ิ หน้าทีข่ องเจ้าหน้าทีข่ องรัฐซึ่งไม่ได้อาศัยอำานาจตามกฎหมายในระดับพระราชบัญญัตหิ รือกฎหมาย อืน่ ที่มีผลใช้บงั คับดังเช่นพระราชบัญญัติแล้ว จึงมีสถานะเป็ น “การกระทำาของรัฐบาล” ๒.๗.๒ การกล่าวหาของพนักงาน ป.ป.ช.ว่าไม่ระงับยับยั้งโครงการฯเป็ น ความผิดนั้น-เป็ นการกล่าวหาที่ไม่คาำ นึงถึงหลักการบริ หารราชการแผ่นดิน และความจริ งมิได้ ก่อความเสี ยหายแก่ทางราชการมากขึ้นเรื่ อยๆแต่อย่างใด การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวหาตามบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาอ้าง ว่า “แทนที่ท่านจะระงับยับยัง้ โครงการรั บจำานำาข้ าว กลับยืนยันที่จะดำาเนินการโครงการต่ อไป อันจะก่ อให้ เกิดความเสี ยหายแก่ ทางราชการมากขึน้ เรื่ อยๆ ทั้งที่ท่านมีอาำ นาจหน้ าที่ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่ นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑(๑) และในฐานะประธานคณะ กรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ ที่จะสั่งระงับยับยัง้ การดำาเนินโครงการรั บจำานำาข้ าวดังกล่ าวได้ ” นั้น เป็ นการกล่าวหาที่ไม่คาำ นึงถึงกฎหมายหลักในการบริ หารราชการแผ่นดิน ตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญ ตลอดจนพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ รวม ทั้ง พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖


35

เพราะนายกรัฐมนตรี ได้ดาำ เนินการตามกรอบของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่แถลงไว้ ต่อรัฐสภาและใช้ดุลพินิจในการบริ หารราชการแผ่นดินตามความเหมาะสมกับสถานการณ์และ ข้อเท็จจริ งที่เกิดขึ้นแล้ว ทั้งในด้านนโยบายการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตและประพฤติมิ ชอบในภาครัฐอย่างจริ งจัง และนโยบายการยกระดับสิ นค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่ง เงินทุน โดยการนำาระบบจำานำาสิ นค้าเกษตรมาใช้ในการสร้างความมัน่ คงด้านรายได้ให้แก่ เกษตรกรซึ่งเริ่ มจากการรับจำานำาข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ กรณี จึงไม่เป็ นไปตาม ข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่กล่าวหาต่อข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ เนื่องจาก 1) ข้าพเจ้าบริ หารราชการตาม “หลักความรับผิดชอบร่ วมกัน” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๗๑ ได้กาำ หนดให้คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี คนหนึ่งและ รัฐมนตรี อื่นอีกไม่เกินสามสิ บห้าคน มีหน้าที่บริ หารราชการแผ่นดินตาม “หลักความรับผิดชอบ ร่ วมกัน” ซึ่งโดยข้อเท็จจริ งแล้ว นายกรัฐมนตรี กเ็ ป็ นรัฐมนตรี คนหนึ่ง เพียงแต่ในการทำางาน ขององค์กรที่มีลกั ษณะเป็ นองค์กรกลุ่มย่อมจะต้องมีผเู ้ ป็ นหัวหน้าหรื อผูน้ าำ องค์กรกลุ่มหรื อเพื่อ กำากับควบคุมการทำางานโดยทัว่ ไปของบุคคลอื่นที่อยูร่ วมกันเป็ นองค์กรกลุ่มนั้น ๆ เพื่อให้แต่ละ คนปฏิบตั ิและทำาหน้าที่ในส่ วนที่แต่ละบุคคลซึ่งรับผิดชอบให้สาำ เร็ จตามเป้ าหมายขององค์กร กลุ่มและถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ดังเช่นรู ปแบบของการปฏิบตั ิงานขององค์กรกลุ่มอื่น ๆ เช่น คณะกรรมการหรื อคณะทำางาน เป็ นต้น ที่ยอ่ มจะมีประธานของคณะกรรมการหรื อคณะ ทำางานนั้นเพื่อกำากับควบคุมให้ปฏิบตั ิงานหรื อทำาหน้าที่ตามที่กรรมการหรื อคณะทำางานนั้นจะ ต้องปฏิบตั ิ ในกรณี ทาำ นองเดียวกับคณะรัฐมนตรี ซ่ ึงประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี อื่นอีกไม่เกินสามสิ บห้าคน ก็เป็ นองค์กรที่ได้รับการแต่งตั้งเข้ามาทำาหน้าที่ในการบริ หารราชการ แผ่นดิน ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยซึ่งได้กาำ หนดไว้วา่ ก่อนที่จะเข้า บริ หารราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรี จะต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาได้รับทราบ ถึงแนวทางและนโยบายในการบริ หารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรี วา่ เป็ นไปตามนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐตามหมวด ๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสามารถติดตามตรวจ สอบว่าคณะรัฐมนตรี ได้ดาำ เนินการให้เป็ นไปตามนโยบายที่ได้แถลงต่อรัฐสภาไว้หรื อไม่ อัน เป็ นความรับผิดชอบของคณะรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ


36

ในการบริ หารราชการแผ่นดินนอกจากจะเป็ นไปตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แล้ว ในการบริ หารราชการแผ่นดินจะต้องเป็ นไปตามกฎหมายที่เป็ นหลักการสำาคัญในการ บริ หารราชการแผ่นดิน ได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ด้วย ซึ่งตามกฎหมายดังกล่าวมีการบัญญัติถึงการปฏิบตั ิหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี อื่น และ คณะรัฐมนตรี ไว้ดว้ ย โดยเฉพาะในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับนายกรัฐมนตรี ดงั ปรากฏในหมวด ๑ การจัด ระเบียบราชการในสำานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งได้กาำ หนดภาระหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ไว้ท้งั ใน ฐานะของรัฐมนตรี ที่กาำ กับควบคุมการปฏิบตั ิงานของสำานักนายกรัฐมนตรี ซ่ ึงนายกรัฐมนตรี จะ เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกำาหนดนโยบาย เป้ าหมาย และ “ผล สั มฤทธิ์ของงาน” ในสำานักนายกรัฐมนตรี ให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงไว้ต่อ รัฐสภาหรื อที่คณะรัฐมนตรี กาำ หนดหรื ออนุมตั ิตามมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ สำาหรับกรณี นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลซึ่งในการบริ หารราชการ แผ่นดิน นอกจากกรณี ที่นายกรัฐมนตรี จะต้องเป็ นรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้าของรัฐมนตรี อื่นใน คณะรัฐมนตรี ที่จะกำากับ โดยทัว่ ไปในการปฏิบตั ิงานของรัฐมนตรี อื่นให้ปฏิบตั ิหน้าที่ของตน แล้วตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นี้ นายกรัฐมนตรี จะต้อง “กำากับโดยทัว่ ไป” ถึงการปฏิบตั ิหน้าที่ของส่ วนราชการและหน่วยงานของรัฐต่าง ๆ ทั้งราชการ ส่ วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค และราชการส่วนท้องถิน่ รวมตลอดถึงข้าราชการ พนักงาน และเจ้า หน้าทีข่ องรัฐต่าง ๆ เพื่อให้ปฏิบตั ิหน้าที่ตามอำานาจหน้าที่ของส่ วนราชการ หน่วยงาน หรื อเจ้า หน้าที่ของรัฐนั้น ๆ ด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้นโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภาก่อนเข้าบริ หารราชการ แผ่นดิน เป็ นไปตามตามนโยบายและเป้ าประสงค์รวมถึงตามกระบวนการที่ได้กาำ หนดไว้ 2) อำานาจหน้าที่ของข้าพเจ้าในฐานะหัวหน้ารัฐบาล ตามมาตรา ๑๑ เป็ น อำานาจหน้าที่โดยทัว่ ไป อำานาจหน้าที่ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลตามรายละเอียดที่กาำ หนดในมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็ น “อำานาจหน้ าทีโ่ ดยทัว่ ๆ ไป” ที่จะทำาให้การบริ หารราชการแผ่นดินเกิดประสิ ทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิด ขึ้น รวมทั้งที่จะกำากับดูแลผูม้ ีอาำ นาจหน้าที่โดยตรงในเรื่ องนั้น ๆ ไม่วา่ จะเป็ นรัฐมนตรี ส่ วน ราชการหรื อหน่วยงานของรัฐ ข้าราชการ พนักงานของรัฐ หรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้ดาำ เนินการ


37

ตามอำานาจหน้าที่ได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ได้ แถลงไว้ต่อรัฐสภา ๓) อำานาจหน้าที่ทวั่ ไปของนายกรัฐมนตรี ต้องคำานึงถึง “หลักการบริ หาร กิจการบ้านเมืองที่ดี” ในเรื่ อง “การมีผรู ้ ับผิดชอบต่อผลงาน” ตามมาตรา ๓/๑ แห่งพ.ร.บ.ระเบียบ บริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แม้วา่ มาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ จะได้บญั ญัติให้อาำ นาจแก่นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลที่จะกำากับโดย ทัว่ ไปซึ่งการบริ หารราชการแผ่นดิน ฯลฯ แต่ในการใช้อาำ นาจดังกล่าวก็จะต้องคำานึงถึง “หลัก การบริหารกิจการบ้ านเมืองทีด่ ี”ในเรื่ องของ “การมีผู้รับผิดชอบต่ อผลงาน” ตามนัยของมาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ทีบ่ ญั ญัตวิ า่ “มาตรา ๓/๑ การบริ หารราชการตามพระราชบัญญัติน้ี ตอ้ งเป็ นไปเพื่อประโยชน์ สุ ขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิ ทธิภาพ ความคุม้ ค่าในเชิง ภารกิจแห่งรัฐการลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยที่ไม่จาำ เป็ น การกระ จายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ทอ้ งถิ่น การกระจายอำานาจตัดสิ นใจ การอำานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่ อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำารงตำาแหน่งหรื อ ปฏิบตั ิหน้าที่ตอ้ งคำานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบตั ิหน้าที่ของส่ วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิง่ ให้คาำ นึงถึงความรับผิดชอบของผูป้ ฏิบตั ิงาน การมีส่วนร่ วมของประชาชน การเปิ ดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสม ของแต่ละภารกิจเพื่อประโยชน์ในการดำาเนินการให้เป็ นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราช กฤษฎีกากำาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบตั ิราชการและการสัง่ การให้ส่วนราชการและ ข้าราชการปฏิบตั ิกไ็ ด้” 4) อำานาจการกำากับโดยทัว่ ไปของนายกรัฐมนตรี ในลักษณะการกระทำาของ รัฐบาลรับผิดชอบต่อสภา การกำากับโดยทัว่ ไป ยังไม่ใช่อาำ นาจกำากับโดยตรง ที่จะเอื้ออำานวยต่อการกระ ทำาความผิดในทางกฎหมายอาญา ฐานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบได้ ทั้งนี้ ศาลฎีกาได้เคยตัดสิ นไว้


38

ในหลายคดีวา่ การจะถือเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ นั้น ผูก้ ระทำา ความผิด ต้องมีอาำ นาจกำากับโดยตรง อาทิเช่น คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๒๗๘/๒๕๒๒ วินิจฉัยว่า กรณี จะเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ ต้องเป็ นการปฏิบตั ิหรื อละเว้น การปฏิบตั ิ เฉพาะแต่ตามหน้าที่ของเจ้าพนักงานผูน้ ้ นั โดยตรง ตามที่ได้รับมอบหมาย หรื อให้ มีหน้าที่น้ นั ๆ เท่านั้น (และคำาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๕๖๔/๒๕๔๒ และ ๑๐๐๕/๒๕๔๙ ก็ได้ วินิจฉัยไปในทำานองเดียวกัน) เมื่อยังไม่ปรากฏบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่บญั ญัติไว้โดยเฉพาะ ให้นายก รัฐมนตรี มีอาำ นาจในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตโดยตรง นายกรัฐมนตรี จึงมีเพียง “อำานาจกำากับโดยทัว่ ไป” ในเชิงการขับเคลื่อนนโยบายตามที่แถลงไว้ ในลักษณะการกระทำา ของรัฐบาล (Acts of Government) ที่มีเพียงความรับผิดชอบต่อรัฐสภาในนโยบายที่ได้แถลงไว้ เท่านั้น ตามนัยแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๖ จึงมิใช่เป็ นความรับผิดส่ วนตัว และหากปรากฏว่า มีบุคคลในชั้นผูป้ ฏิบตั ิตามนโยบายรับจำานำาข้าว ถูกกล่าวหาว่าทุจริ ตหรื อประพฤติมิชอบ ก็เป็ น เพียงการกระทำาส่ วนตัวของบุคคลนั้นๆ ไม่ใช่กรณี ที่นายกรัฐมนตรี ต้องมาร่ วมรับผิดด้วย ๕) การละเลยหรื อเพิกเฉย ต้องมีหน้าที่โดยตรง การจะถือว่า “ละเลยหรื อเพิกเฉย” ในลักษณะมีเจตนางดเว้นการที่จะต้องกระทำา เพื่อป้ องกันผลนั้น ตามนัยแห่งประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๙ วรรคสาม ต้องปรากฏว่า ผู ้ กระทำาความผิด มีหน้าที่โดยตรงด้วย เมื่อไม่ปรากฏบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรื อกฎหมาย อันแสดงถึงอำานาจหน้าที่ ของนายกรัฐมนตรี ที่มีอยู่ “โดยตรง” จึงยังไม่มีมูลเพียงพอ ที่จะกล่าว หาว่า นายกรัฐมนตรี งดเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต อีกทั้ง ไม่ปรากฏบัญญัติแห่งกฎหมายใด ให้นายกรัฐมนตรี เป็ นผูป้ ราบปรามการ ทุจริ ตและเป็ นทนายของแผ่นดิน เพื่อฟ้ องข้าราชการ หรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่กระทำาการทุจริ ต เป็ นรายบุคคล อีกด้วย ๖) อำานาจหน้าที่ของประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) เป็ น อำานาจเชิงการกำาหนดกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์


39

ส่ วนกรณี ที่ขา้ พเจ้าดำารงตำาแหน่งประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ก็ เป็ นเพียงอำานาจหน้าที่ในเชิงการกำาหนดกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อเสนอต่อคณะ รัฐมนตรี ส่ วนการติดตาม กำากับ ดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบาย ก็เป็ นเพียงการกำากับ โดยทัว่ ไป ส่ วนหากข้าราชการหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐ รายอื่นๆ ไม่ได้ปฏิบตั ิตามกรอบนโยบาย ที่ฝ่ายบริ หาร ได้วางไว้ ก็เป็ นความรับผิดส่ วนบุคคล ที่นายกรัฐมนตรี ไม่ตอ้ งร่ วมรับผิดด้วย บันทึกแจ้งข้อกล่าวหา ควรมีเนื้อหาแห่งข้อกล่าวหาที่ชดั เจนเพียงพอ เพื่อให้ท่าน ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ในฐานะผูถ้ ูกกล่าวหา ได้เข้าใจถึงข้อกล่าวหาเพียงพอ ในระดับที่สามารถต่อสู้ แก้ขอ้ กล่าวหาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ทั้งนี้ ตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา ๔๐ ได้บญั ญัติวา่ “บุคคล ย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังต่อไปนี้ ... (๒) สิ ทธิพ้ืนฐานในกระบวนพิจารณา ... ได้ รับทราบข้อเท็จจริ งและตรวจสอบเอกสารอย่างเพียงพอ … (๗) ในคดีอาญา ผูต้ อ้ งหาหรื อจำาเลย มีสิทธิได้รับการสอบสวนหรื อการพิจารณาคดี ที่ถูกต้อง รวดเร็ ว และเป็ นธรรม โอกาสในการ ต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ การตรวจสอบหรื อได้รับทราบพยานหลักฐานตามสมควร” และตามนัยแห่งมาตรา ๑๓ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการหลักเกณฑ์และวิธีการ บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่บญั ญัติวา่ ให้คณะรัฐมนตรี จดั ให้มีแผนการบริ หาร ราชการแผ่นดินตลอดระยะเวลาการบริ หารราชการของคณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้ว ให้สาำ นักเลขาธิการคณะ รัฐมนตรี สาำ นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สาำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และสำานักงบประมาณ ร่ วมกันจัดทำาแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน เสนอคณะ รัฐมนตรี พิจารณาภายในเก้าสิ บวันนับแต่วนั ที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบในแผนการบริ หารราชการแผ่นดินตามวรรค หนึ่งแล้ว ให้มผี ลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่ วนราชการ ที่จะต้องดำาเนินการจัดทำา ภารกิจให้เป็ นไปตามแผนการบริ หารราชการแผ่นดินนั้น นอกจากนี้ จะเห็นได้วา่ มาตรา ๑๑ (๑) นี้บญั ญัตไิ ว้วา่ “...กำากับโดยทัว่ ไป...” ซึ่งความ หมายของคำาว่า “กำากับโดยทัว่ ไป” ย่อมจะต้องหมายถึงติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบตั ิ ของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่มีอาำ นาจหน้าที่และรับผิดชอบโดยตรงในการปฏิบตั ิงานในเรื่ องนี้


40

ว่ากระทำาการไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย นโยบายและมติของคณะรัฐมนตรี ที่ กำาหนดหรื อมอบหมายไว้หรื อไม่ อย่างไร โดยไม่เป็ นการใช้อาำ นาจที่จะก้าวล่วงต่ออำานาจหน้าที่ ตามกฎหมายที่บญั ญัติไว้เป็ นการเฉพาะของส่ วนราชการ หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ด้วย อีกทั้งการใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นี้กจ็ ะต้องพิจารณาถึงบทบัญญัติของกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน ไม่วา่ จะเป็ นบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กฎหมายอื่น ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ หรื อมติของคณะรัฐมนตรี กรณี น้ ี ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวหาข้าพเจ้าดังกล่าวมาแล้วข้างต้นนั้น ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี ขอชี้ แจงแก้ขอ้ กล่าวหาว่า - คณะรัฐมนตรี ที่มีขา้ พเจ้าเป็ นนายก รัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ ก่อนที่จะเข้าบริ หาร ราชการแผ่นดิน ซึ่งตามนโยบายได้แถลงต่อรัฐสภานั้น ได้กาำ หนดไว้ใน ข้อ ๑. นโยบายเร่ งด่วน ที่จะเริ่ มดำาเนินการในปี แรก โดยในข้อ ๑.๓ ระบุเป็ นใจความว่า “จะป้ องกันและปราบปรามการ ทุจริ ตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริ งจัง” และโดยในข้อ ๑.๑๑ ระบุเป็ นใจความว่า “จะ ยกระดับราคาสิ นค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยดูแลราคาสิ นค้าเกษตรให้มี เสถียรภาพที่เหมาะสม คำานึงถึงกลไกราคาตลาดโลกโดยใช้วิธีบริ หารจัดการทางการตลาด และ กลไกตลาดซื้ อขายล่วงหน้ารวมทั้งผลักดันให้เกษตรกรสามารถขายสิ นค้าเกษตรได้ในราคาสูง เพียงพอเมื่อเทียบกับต้นทุน และนำาระบบจำานำาสิ นค้าเกษตรมาใช้ในการสร้างความมัน่ คงด้าน รายได้ให้แก่เกษตรกรเริ่ มต้นจากการรับจำานำาข้าวเปลือกเจ้า และข้าวเปลือกหอมมะลิความชื้น ไม่เกินร้อยละ ๑๕ ที่เกวียนละ ๑๕,๐๐๐ บาท และ ๒๐,๐๐๐ บาท ตามลำาดับ” ซึ่งตามมาตรา ๑๗๘ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัตวิ า่ “ ในการบริ หารราชการ แผ่นดิน รัฐมนตรี ตอ้ งดำาเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ได้ แถลงไว้ตามมาตรา ๑๗๖ และต้องรับผิดชอบต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรในหน้าที่ของตน รวมทั้งต้อง รับผิดชอบร่ วมกันต่อรัฐสภาในนโยบายทัว่ ไปของคณะรัฐมนตรี ” ดังนั้น คณะรัฐบาลของ ข้าพเจ้าจึงมีหน้าที่ตอ้ งดำาเนินการให้เป็ นไปตามนโยบายที่แถลงไว้ต่อรัฐสภา และการที่นายก รัฐมนตรี จะใช้อาำ นาจในฐานะหัวหน้ารัฐบาลตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ก็จะต้องสอดคล้องกับนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภาและ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าวด้วย


41

สำาหรับกรณี ที่ตามข้อกล่าวหาที่วา่ “ การที่นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ในฐานะ นายกรัฐมนตรี และอยูใ่ นฐานะหัวหน้ารัฐบาลซึ่งได้กาำ หนดนโยบายการรับจำานำาข้าวมาตั้งแต่ตน้ และอยูใ่ นฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่มีอาำ นาจหน้าที่เป็ นการกำาหนด นโยบายและส่ วนร่ วมในการบริ หารโครงการรับจำานำาข้าวซึ่งสำานักงาน ป.ป.ช. ได้มีหนังสื อแจ้ง แล้วว่าการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาและความเสี ยหายและยังแจ้ง ด้วยว่าการดำาเนินการตามโครงการได้ก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ อย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ ปัญหาการทุจริ ตเชิงนโยบายในส่ วนของขั้นตอนและกระบวนการในการดำาเนินโครงการ และยังได้ทราบเรื่ องการทุจริ ตในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวและการระบายข้าวจากการ อภิปรายในสภาผูแ้ ทนราษฎร นอกจากนี้ ย ังได้ทราบรายงานเรือ่ งผลการดำาเนินโครงการทีผ่ า่ นมาว่ามี การขาดทุนถึงสองแสนล้านบาท ประกอบกับได้รับทราบหนังสื อจากสำานักงานการตรวจเงินแผ่น ดินว่าการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกได้เกิดผลกระทบสร้างความเสี ยหายต่อเงินงบ ประมาณและเกษตรกร มีความเสี่ ยงต่อระบบการคลังของประเทศ และไม่เกิดการพัฒนาการ ผลิตข้าวอย่างยัง่ ยืน อีกทั้งปรากฏว่ามีชาวนาเข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวที่ยงั ไม่ได้รับเงินอยู่ เป็ นจำานวนมากทำาให้ได้รับความเดือดร้อนเสี ยหาย โดยแทนที่นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ใน ฐานะนายกรัฐมนตรี จะระงับ ยับยั้ง โครงการรับจำานำาข้าว กลับยืนยันที่จะดำาเนินโครงการต่อไป อันจะก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ทางราชการมากขึ้นไปเรื่ อย ๆ ทั้งที่มีอาำ นาจหน้าที่ตามพระราช บัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑ (๑) ที่จะสัง่ ระงับยับยั้งการ ดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวได้” นั้น ในกรณี เช่นนี้ แม้วา่ มาตรา ๑๑ (๑) ดังกล่าวจะให้อาำ นาจแก่นายกรัฐมนตรี ใน ฐานะหัวหน้ารัฐบาลที่จะ “กำากับโดยทัว่ ไป” ในการบริ หารราชการแผ่นดิน ซึ่งรวมไปถึงอำานาจ ในการสัง่ ระงับ ยับยั้ง การปฏิบตั ิราชการใด ๆ ก็ตาม แต่เมื่อตามที่ได้ช้ ี แจงมาแล้วว่า อำานาจ หน้าที่ในมาตรานี้ ของนายกรัฐมนตรี เป็ นเพียงอำานาจกำากับโดยทัว่ ไปเพื่อให้การบริ หารราชการ แผ่นดินเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยและกาำกับควบคุมให้ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่วา่ จะเป็ นราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค หรื อราชการส่ วนท้องถิ่น ปฏิบตั ิหน้าที่ของตน อย่างถูกต้องตามกฎหมาย และตามนโยบายและมติคณะรัฐมนตรี


42

การปฏิบตั ิหน้าที่ในเรื่ องใดย่อมเป็ นอำานาจหน้าที่โดยตรงของส่ วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีอาำ นาจหน้าที่ในเรื่ องนั้นโดยตรงหรื อตามที่มีกฎหมาย เฉพาะให้อาำ นาจ ๗)การสัง่ ระงับยับยั้งการปฏิบตั ิราชการ ต้องกระทำา “เท่าที่จาำ เป็ น” การจะสัง่ ระงับ ยับยั้ง การปฏิบตั ิราชการใดก็จะต้องกระทำาเท่าที่จาำ เป็ นไม่ เป็ นการเข้าไปก้าวล่วงหรื อขัดแย้งกับอำานาจหน้าที่ของหน่วยงานหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่มี กฎหมายเฉพาะรองรับอยู่ รวมทั้งการปฏิบตั ิราชการนั้น ๆ จะต้องเป็ นกรณี ที่ขดั ต่อนโยบายหรื อ มติของคณะรัฐมนตรี อีกด้วย นายกรัฐมนตรี มิได้มีอาำ นาจหน้าที่ในเรื่ องดังกล่าวโดยตรง ดังจะเห็นได้ตาม คำา สั่ งคำาร้ องของศาลปกครองสู งสุ ด ที่ ๓๗๘/๒๕๔๖ เรื่ อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิและการกระทำาละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ ซึ่งศาลปกครองชั้นต้นเห็นว่าตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรี ใน ฐานะผูถ้ ูกฟ้ องคดีมิได้มีหน้าที่โดยตรงในการที่จะจัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างถนนเพื่อ บรรเทาความเดือดร้อนให้ผฟู ้ ้ องคดี แต่เป็ นอำานาจหน้าที่โดยตรงขององค์กรปกครองส่ วนท้อง ถิ่น อีกทั้งการจะจัดสรรงบประมาณเพื่อดำาเนินการตามที่ผถู ้ ูกฟ้ องคดีร้องขอหรื อไม่น้ ัน ถือได้วา่ เป็ นเรื่ องการใช้ดุลพินิจในทางนโยบาย และศาลปกครองสูงสุ ดก็วินิจฉัยเพิ่มเติมด้วยว่า “...การ ดำาเนินการจัดสรรงบประมาณให้แก่ส่วนราชการต่าง ๆ ย่อมเป็ นไปตามนโยบายทางการบริ หาร ราชการของรัฐบาลที่กาำ หนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำาปี ซึ่งได้ผา่ นการ พิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภาซึ่งเป็ นฝ่ ายนิติบญั ญัติแล้ว เมื่อผูถ้ ูกฟ้ องคดีไม่ได้มีหน้าที่จดั สรรงบ ประมาณในการก่อสร้างเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ผฟู ้ ้ องคดี ผูถ้ ูกฟ้ องจึงมิได้กระทำาการ หรื องดเว้นกระทำาการอย่างหนึ่งอย่างใดที่เป็ นเหตุให้ผฟู ้ ้ องคดีได้รับความเดือดร้อนเสี ยหาย...” ๘) หากนายกรัฐมนตรี สัง่ ระงับยับยั้ง การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าว จะไม่ เป็ นไปตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๗๘


43

เมื่อตามข้อเท็จจริ งคณะรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาก่อนเข้าบริ หาร ราชการแผ่นดินถูกต้องตามกระบวนการในมาตรา ๑๗๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยตามนโยบายที่แถลงหรื อระบุถึงนโยบายการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตในภาครัฐ อย่างจริ งจัง และนโยบายยกระดับสิ นค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน เช่น กำาหนดการนำาระบบสิ นค้าเกษตรมาใช้ในการสร้างความมัน่ คงด้านรายได้ให้แก่เกษตรกร เริ่ ม ต้นจากการจำานำาข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิดว้ ยแล้ว การที่นายกรัฐมนตรี จะใช้ อำานาจหน้ าทีใ่ นฐานะหัวหน้ ารัฐบาลตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ สั่ งระงับ ยับยั้ง การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวตามที่คณะ กรรมการ ป.ป.ช. แจ้งในข้อกล่าวหา ก็จะเป็ นการใช้ อาำ นาจหน้ าทีโ่ ดยไม่ เป็ นไปตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญในมาตรา ๑๗๘ ทีน่ ายกรัฐมนตรีในฐานะรัฐมนตรีคนหนึ่งที่จะต้ องดำาเนินการ ให้ เป็ นไปตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายทีแ่ ถลงไว้ ต่อรัฐสภา อันเป็ น เหตุที่จะทำาให้ถูกร้องเพื่อถอดถอนออกจากตำาแหน่งตามมาตรา ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญได้ เนื่องจากจงใจไม่ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ๙) นายกรัฐมนตรี จะใช้อาำ นาจสัง่ ระงับยับยั้ง ฯ ตามมาตรา ๑๑(๑) เป็ นดุลพินิจ และตามดุลพินิจ ต้องเห็นว่าเป็ นกรณี จาำ เป็ นและไม่ขดั กับนโยบายรัฐบาล นอกจากนี้ การที่จะใช้อาำ นาจสัง่ ระงับยับยั้ง การปฏิบตั ิราชการใด ๆ ตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ก็ได้ระบุไว้ชดั เจนว่า จะต้ องเป็ นกรณีจาำ เป็ นและเป็ นกรณีทกี่ ารปฏิบัตริ าชการนั้นขัดต่ อนโยบายหรื อมติคณะรัฐมนตรี ดังจะเห็นได้ ว่าเป็ นการให้อาำ นาจแก่นายกรัฐมนตรี ที่จะใช้ ดุลพินิจในการบริหารราชการแผ่ นดิน ที่จะดำาเนินการใด ๆ เพื่อประโยชน์แก่การบริ หารราชการแผ่นดิน ๑๐) นายกรัฐมนตรี ยังไม่มีความจำาเป็ นที่จะระงับยับยั้งฯ ตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ต่อโครงการรับจำานำาข้าว เมื่อ คณะกรรมการป.ป.ช. เตือน ก็มิได้นิ่งเฉย แต่มีการตั้งคณะกรรมการอำานวยการตรวจสอบเพื่อ ป้ องกันการทุจริ ตในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จ่าย เงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕


44

หากเห็นว่ายังไม่ มคี วามจำาเป็ นที่จะใช้อาำ นาจในการสัง่ ระงับ ยับยั้งตามมาตรา ๑๑ (๑) ยังให้อาำ นาจนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลที่จะมีอาำ นาจสัง่ สอบสวนข้อเท็จจริ ง เกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้ ซึ่งในกรณี ของการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวที่สาำ นักงาน ป.ป.ช. มีหนังสื อแจ้งมายังนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ และวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ ที่สรุ ปว่า “คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ดาำ เนินการติดตาม การดำาเนินการตามโครงการรับ จำานำาข้าวของรัฐบาลแล้ว พบว่ามีการดำาเนินการตามโครงการอันก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ อย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาการทุจริ ตเชิงนโยบาย และในส่ วนของขั้นตอนและ กระบวนการในการดำาเนินโครงการ” ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี กไ็ ด้มีคาำ สัง่ สำานักนายก รัฐมนตรี ที่ ๑๕๖/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำานวยการตรวจสอบเพื่อป้ องกันการ ทุจริ ตในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จ่ายเงินงบ ประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เพื่อตรวจสอบป้ องกัน และปราบปรามการทุจริ ตในการดำาเนินการตามนโยบายการรับจำานำาข้าว โดยมีหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงพาณิ ชย์ ให้ความ ร่ วมมือและหากพบว่ามีการทุจริ ตก็จะมีการดำาเนินการตามกฎหมายอย่างเคร่ งครัดต่อไป ๒.๗.๓ การไม่ระงับยับยั้ง โครงการรับจำานำาข้าวของนายกรัฐมนตรี คือ การไม่ใช้อาำ นาจตามมาตรา ๑๑(๑) และดำาเนินโครงการต่อไป-เป็ นการชอบแล้ว ตามบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้อ ๔ ที่กล่าวหา ว่า “เมื่อนายกรัฐมนตรี ได้รับทราบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับปัญหาและการทุจริ ต รวมทั้งความเสี ยหาย ที่เกิดขึ้นในโครงการรับจำานำาข้าวแล้ว แทนที่นายกรัฐมนตรี จะระงับยับยั้งโครงการรับจำานำาข้าว กลับยืนยันที่จะดำาเนินโครงการต่อไป ทั้งที่มีอาำ นาจหน้าตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่จะสัง่ ยับยั้งการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวดัง กล่าวได้” นั้น ข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมายมิได้เป็ นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีบนั ทึกการ แจ้งข้อกล่าวหา กล่าวคือ นายกรัฐมนตรีซง่ ึ เป็ นผูบั้ งคับบัญชาสูงสุดของรัฐบาลนัน้ มีหลายสถานะทับซ้อนกัน อยู่ นายกรัฐมนตรี มีอาำ นาจหน้าที่ในการบริ หารราชการแผ่นดินตามมาตรา ๑๑ ซึ่งอาจเป็ นการ


45

กำากับควบคุมสัง่ การเพือ่ ประสานนโยบายของหน่วยงานต่าง ๆ และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐให้ไปใน แนวทางเดียวกัน หรื อในแนวทางของนโยบายที่คณะรัฐมนตรี ได้แถลงต่อสภา ในแง่น้ ี การใช้ อำานาจของนายกรัฐมนตรี กจ็ ะมีลกั ษณะเป็ น “กิจการที่ฝ่ายบริ หารปฏิบตั ิในฐานะของ รัฐบาล”หรื อ “การกระทำาทางรัฐบาล” ซึ่งแม้ศาลก็ไม่เข้าไปตรวจสอบการใช้อาำ นาจ รวมทั้งไม่ ได้มีฐานะเจ้าพนักงานหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐตามมาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรื อ มาตรา ๑๒๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการ ทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๑ (๑) เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบการควบคุมการใช้อาำ นาจขององค์กร ของรัฐฝ่ ายบริ หารซึ่งเป็ นการควบคุมภายใน โดยให้เป็ นอำานาจของนายกรัฐมนตรี ซ่ ึงเป็ นผูบั้ งคับ บัญชาสูงสุดขององค์กรของรัฐฝ่ ายบริหาร การใช้อาำ นาจในการควบคุมดังกล่าวเป็ นคนละเรื่องกับ “การปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงาน” ซึ่งเป็ นเรื่ องการปฏิบตั ิหน้าที่ของเจ้า พนักงานที่กฎหมายต่าง ๆ ได้ให้อาำ นาจไว้ ๑) การยืนยันดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวต่อไป-เป็ นการตัดสิ นใจทางการเมือง ที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจใช้อาำ นาจตามมาตรา ๑๑(๑) ขัดแย้งกับรัฐบาล การใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ตามาตรา ๑๑ (๑) ในการที่จะพิจารณาสัง่ ระงับ ยับยัง้ การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวนัน้ เนือ่ งจากการดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้าวเป็ นเรือ่ ง นโยบายของรัฐบาลทีไ่ ด้แถลงต่อรัฐสภา การใช้อาำ นาจหน้าทีข่ องนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๑ (๑)ก็ ย่อมจะต้องสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ในเมื่อรัฐบาลได้พิจารณาทบทวนภายหลังจาก ทราบปัญหาต่าง ๆ แล้ว ยังคงยืนยันที่จะดำาเนินโครงการต่อไปอันเป็ นการตัดสิ นใจทางการเมือง นายกรัฐมนตรี กย็ อ่ มจะไม่สามารถใช้อาำ นาจตามาตรา ๑๑ (๑) ให้ขดั แย้งกับรัฐบาลได้ แม้จะถือว่าการใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๑ จะมีฐานะเป็ นเจ้า พนักงานหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่นายกรัฐมนตรี ได้ดาำ เนินการใช้อาำ นาจตามมาตรา ๑๑ (๑) ใน การสัง่ การต่าง ๆ ทีเ่ ห็นว่าเหมาะสม โดยมิได้เพิกเฉยหรือละเลยเพือ่ ป้ องกันไม่ให้โครงการรับจำานำา ข้าวเกิดการทุจริ ตหรื อเกิดปัญหารวมทั้งความเสี ยหาย ดังรายละเอียดข้อเท็จจริ ง ดังกล่าวมาแล้ว


46

ข้างต้น และตามรายละเอียดที่จะได้นาำ สื บแก้ขอ้ กล่าวหาต่อไปซึ่งจะมีการอ้างพยานบุคคล และ นำาส่ งพยานเอกสารประกอบด้วย ๒) ศาลตรวจสอบการใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ในการใช้มาตรา ๑๑(๑) เฉพาะกรณี ที่เป็ นเรื่ อง “การใช้ดุลพินิจไม่ชอบ” การดำาเนินการใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ (๑) ดังกล่าว เป็ นที่ ยอมรับกันว่า ศาลไม่วา่ จะเป็ นศาลยุติธรรมหรื อศาลปกครองจะมาตรวจสอบว่าไม่ถูกต้องหรื อ ไม่เหมาะสมไม่ได้ ยกเว้นแต่เป็ นเรื่ องการใช้ดุลพินิจไม่ชอบ และไม่วา่ ผลจะออกมาจะดีหรื อไม่ ดีกต็ าม เพราะไม่เช่นนั้นจะขัดกับหลักการแบ่ งแยกอำานาจ เป็ นการเข้ามาแทรกแซงฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการ ป.ป.ช. และศาลจึงไม่อาจนำามาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และมาตรา ๑๒๓/๑แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาบังคับใช้ได้ ๓) นายกรัฐมนตรี ใช้ดุลพินิจโดยชอบ ไม่ได้มีพฤติการณ์ที่เป็ นการใช้ดุลพินิจ โดยชอบ ไม่มีพฤติการณ์ใช้ดุลพินิจโดยไม่สุจริ ต การใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ตามาตรา ๑๑ (๑) แตกต่างจากกรณี ที่ศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมืองได้มีคาำ พิพากษาศาลฎีกาที่ อ.ม. ๗/๒๕๕๒ และ คำาพิพากษาที่ อ.ม. ๑๐/๒๕๕๒ ซึ่งเป็ นกรณี ที่มติคณะรัฐมนตรี ขดั ต่อกฎหมาย แต่ในการใช้ อำานาจของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ (๑) ซึ่งเป็ นเรื่ องการใช้อาำ นาจในการควบคุมกำากับ ให้การดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้าวบรรลุผลตามนโยบายของรัฐบาล ไม่ได้ มีการดำาเนินการทีข่ ัดต่อ กฎหมายแต่อย่างใด และเป็ นการใช้ดุลพินิจโดยชอบ ไม่ได้มีพฤติการณ์วา่ เป็ นการใช้ดุลพินิจโดย ไม่สุจริ ต คณะกรรมการ ป.ป.ช. และศาลจึงไม่ สามารถเข้ ามาตรวจสอบเพือ่ ให้ นายกรัฐมนตรี ต้ องรับผิดชอบ ดังนัน้ หากไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่านายกรัฐมนตรีมเี จตนาทุจริตหรือเจตนาร้ายแล้ว ย่อมไม่เป็ นความผิดอาญาตามมาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และมาตรา ๑๒๓/๑ แห่ง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒


47

๔) การตรวจการใช้อาำ นาจนายกรัฐมนตรี โครงการรับจำานำาข้าว ตามมาตรา ๑๑(๑) เป็ นเรื่ องตรวจสอบนโยบายของรัฐบาล เป็ นการตรวจสอบกัน ตามรัฐธรรมนูญฯมิใช่การ ตรวจสอบควบคุมทางอาญา การใช้อาำ นาจของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๑ (๑) เกี่ยวกับโครงการรับจำานำา ข้าวนั้นเป็ นนโยบายของรัฐบาล ควรเป็ นความรับผิดทางการเมือง ซึ่งเป็ นการควบคุมตรวจสอบ การใช้อาำ นาจทางนโยบายทางการเมือง ซึ่งควรมีการตรวจสอบกันตามรัฐธรรมนูญ มิใช่การ ตรวจสอบควบคุมทางอาญา ซึ่งมีวตั ถุประสงค์มุ่งการคุม้ ครองทางสังคมให้เกิดความสงบ เรี ยบร้อย และการแก้ไขผูก้ ระทำาความผิด การให้มีการตรวจสอบทางอาญาได้จะทำาให้การตรวจสอบการใช้อาำ นาจรัฐเกิด ความสับสนก่อให้เกิดการก้าวก่ายกลไกตรวจสอบซึ่งอยูใ่ นความรับผิดชอบของรัฐสภาโดย เฉพาะอย่างยิง่ การแทรกแซงดุลพินิจในการตัดสิ นใจของนายกรัฐมนตรี ซ่ ึงเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาเจ้า หน้าที่ของรัฐ ๕) การจะผิดตามมาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และมาตรา ๑๒๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ จะต้องมีเจตนาพิเศษ คือ “เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด” แต่โครงการรับ จำานำาข้าวเป็ นโครงการที่ชาวนาได้รับประโยชน์ -จึงไม่มีเจตนาพิเศษที่จะผิดอาญาดังกล่าว การกระทำาความผิดตามมาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และมาตรา ๑๒๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ จะต้องมีเจตนาพิเศษ คือ “ เพือ่ ให้เกิดความเสียหายแก่ผหู้ นึง่ ผูใ้ ด” ซึ่งนายกรัฐมนตรี ได้ดาำ เนินการเกี่ยวกับโครงการรับจำานำาข้าว เพื่อให้ชาวนาได้รับประโยชน์ ดังรายละเอียดที่กล่าว มาแล้วข้างต้นแล้วนั้น การที่นายกรัฐมนตรี ไม่ได้ยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าว ก็ไม่ได้มีเจตนา พิเศษเพื่อให้รัฐบาลหรื อชาวนาได้รับความเสี ยหายแต่อย่างใด ๖) การที่ชาวนายังไม่ได้รับเงิน


48

ส่ วนการที่ชาวนายังไม่ได้รับเงินนั้น ก็มิได้เป็ นผลมาจากการการที่ขา้ พเจ้าดำาเนิน การโครงการรับจำานำาข้าวดังกล่าวในฐานะนายกรัฐมนตรี แต่อย่างใด ซึ่งรายละเอียดข้าพเจ้าจะได้ ชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหาในประเด็นนี้ ในคำาให้การชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหาข้อต่อไป ๒.๗.๔ นายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ ง ชาติมไิ ด้ กระทำาความผิดใดๆ ตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีบันทึกการแจ้ งข้ อกล่ าวหา นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติมิได้ กระทำาความผิดใดๆ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีบนั ทึกการแจ้งข้อกล่าวหา - เนื่องจาก การมีคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ สื บเนื่องมาจากการที่ขา้ พเจ้า ในฐานะนายกรัฐมนตรี ได้มีคาำ สัง่ สำานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๕๓/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้งคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ลงวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๔ โดยอาศัยอำานาจตามมาตรา ๑๑ (๖) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่ให้อาำ นาจนายกรัฐมนตรี ใน ฐานะหัวหน้ารัฐบาลในการแต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใด ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวมีอาำ นาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ ๑. เสนอกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขา้ วต่อคณะรัฐมนตรีทง้ ั ในระยะสั้น และระยะยาวเพื่อให้การจัดการข้าวสอดคล้องกันทั้งระบบและมีการพัฒนาต่อเนื่อง ๒. อนุมตั แิ ผนงาน โครงการ และมาตรการเกีย่ วกับการผลิตและการตลาด ข้าว ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจยั และพัฒนา เพือ่ เพิม่ คุณภาพ ลดต้นทุน และส่ งเสริ มการผลิตข้าวที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดโลก โดยผ่านกองทุน วิจยั พัฒนาและส่ งเสริ มการผลิตและการตลาด ๔. พิจารณาหลักเกณฑ์ และวิธีการสนับสนุน ช่วยเหลือเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ผูป้ ระกอบการโรงสี ผูค้ า้ และผูส้ ่ งออกข้าว เพื่อให้การบริ หารจัดการข้าวทั้ง ระบบเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ ๕. ติดตาม กำากับดูแลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย มาตรการ และโครงการทีอ่ นุมตั ิ


49

๖. แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ คณะทำางาน และคณะทีป่ รึกษา เพือ่ ดำาเนินการ ด้านการผลิต การตลาด และการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับข้าว ๗. เชิญบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องมาชีแ้ จงหรือขอเอกสารหลักฐาน โดยให้สว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของทางราชการให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดำาเนินการของคณะ กรรมการ ๘. ดำาเนินการอื่นตามที่นายกรัฐมนตรี หรื อคณะรัฐมนตรี มอบหมาย” ๑.) ลักษณะของอำานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ อำานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ จะเห็นได้วา่ เป็ นเพียงเรื่องการ ดำาเนินการต่างๆ ในทางปฏิบตั เิ พือ่ ให้โครงการรับจำานำาข้าวซึ่งเป็ นนโยบายของรัฐบาลบรรลุผลโดย ไม่ได้เป็ นการดำาเนินการโดยอาศัยอำานาจตามกฎหมายใด มีลกั ษณะเป็ นงานนโยบาย การใช้อาำ นาจ หน้าทีข่ องคณะกรรมการฯ จึงเป็น “การกระทำาทางรัฐบาล” นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรีกม็ ฐี านะเป็ น ประธาน ไม่ ได้ มอี าำ นาจดำาเนินการแทนคณะกรรมการฯ เป็ นเอกเทศแต่ อย่ างใด คณะกรรมการดังกล่าวเป็ นองค์กรที่มีหน้าที่หลักในการให้คาำ ปรึ กษาแก่นายก รัฐมนตรี เกี่ยวกับการดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้าว คณะกรรมการฯ ไม่ได้เป็ นผูใ้ ช้อาำ นาจ หน้าที่ทางกฎหมายแต่อย่างใด ประกอบกับคณะกรรมการดังกล่ าวไม่ ได้ มอี าำ นาจในการมีมติสั่ง ยกเลิกโครงการรับจำานำาข้ าว เป็ นเพียงทำาหน้าที่ที่ปรึ กษาและดำาเนินการต่าง ๆ ในบางเรื่ อง เพื่อ ให้การดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้าวบรรลุผล นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรม การฯ ก็ไม่มีอาำ นาจที่จะกระทำาการดังข้อที่ถูกกล่าวได้ ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี จึงไม่ตอ้ ง รับผิดตามมาตรา ๑๕๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และมาตรา ๑๒๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังที่คณะ กรรมการ ป.ป.ช. มีบนั ทึกการแจ้งข้อกล่าวหาแต่อย่างใด ๒.) หากคณะกรรมการ ป.ป.ช ชี้มูลความผิดนายกรัฐมนตรี จะขัดกับรัฐธรรมนูญ ฯ มาตรา ๑๘๑


50

ทั้งนี้การดำาเนินการของคณะกรรมการ ปปช. ยังขัดกับหลักกฎหมายขัดกัน กล่าว คือในกรณี น้ ี ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๑ บัญญัติวา่ “คณะรัฐมนตรี ที่พน้ จากตำาแหน่ง ต้องอยูใ่ นตำาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปจนกว่า คณะรัฐมนตรี ชุดใหม่จะเข้ารับหน้าที่ แต่ในกรณีพน้ จากตำาแหน่งตามมาตรา ๑๘๐ (๒) คณะ รัฐมนตรี และรัฐมนตรี จะปฏิบตั ิหน้าที่ได้เท่าที่จาำ เป็ นภายใต้เงื่อนไขที่กาำ หนด....” และตามพระ ราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปราบปรามและป้ องกันการทุจริ ต พุทธศักราช ๒๕๔๒ มาตรา ๕๕ บัญญัติวา่ “ ในกรณี ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวา่ ข้อกล่าวหาใดมีมูล และข้อกล่าวหานั้นเป็ นเรื่ องตามมาตรา ๔๓ (๑) หรื อ (๒) นับแต่วนั ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มี มติดงั กล่าวผูถ้ ูกกล่าวหาจะปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปมิได้จนกว่าวุฒิสภาจะมีมติหรื อศาลฎีกาแผนกคดี อาญาของผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมืองจะมีคาำ พิพากษา แล้วแต่กรณี ” จึงเห็นได้วา่ การดำาเนิน การของคณะกรรมการ ปปช.ในขณะนี้ที่หากจะมีการชี้มูลความผิด ก็จะขัดกับบทบัญญัติตาม กฎหมายรัฐธรรมนูญที่กาำ หนดให้นายกรัฐมนตรี ตอ้ งอยูใ่ นตำาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไป จนกว่าคณะรัฐมนตรี ชุดใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ซึ่งโดยผลของกฎหมายขัดกันดังกล่ าวจึงต้ องบังคับ ใช้ กฎหมายทีม่ ศี ักดิ์สูงกว่ าคือกฎหมายรัฐธรรมนูญ ดังนั้นในขณะนี้ คณะกรรมการ ปปช.จึงยัง ไม่มีอาำ นาจที่จะสอบสวนและชี้ มูลความผิดได้จนกว่าจะมีคณะรัฐมนตรี ชุดใหม่จะเข้ารับหน้าที่ แต่อย่างไรก็ดี เหตุแห่งการต้องหยุดปฏิบตั ิหน้าที่น้ ี ไม่ใช่เหตุแห่งการพ้นความเป็ นรัฐมนตรี ตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๘๒ ดังนั้น แม้ ว่า นายกรัฐมนตรี จะถูกชี้มูลโดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. บุคคลในคณะรัฐมนตรี ทีไ่ ด้ ยุบสภาแล้ ว ก็สามารถปฏิบัตหิ น้ าที่ รักษาการในตำาแหน่ ง ตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๘๑ ต่ อไปได้ เพราะการหยุดปฏิบัตหิ น้ าที่ เป็ นเหตุเฉพาะตัว และไม่ ใช่ เหตุที่ทาำ ให้ นายกรัฐมนตรี ต้ องพ้ นจากความเป็ นรัฐมนตรี จึงไม่ อาจจะทำาให้ รัฐมนตรีท้งั คณะ ต้ องพ้ นจากการเป็ นรัฐมนตรีรักษาการ ซ้ำ าซ้ อนอีก ภายหลังได้ มกี ารยุบสภาผู้แทนราษฎรแล้ ว ดังนั้นจึงสรุปได้วา่ การทำาหน้ าทีข่ องนายกรัฐมนตรีตามบทบาทหน้ าทีใ่ น โครงการรับจำานำาข้ าวไม่ มคี วามผิดใด ๆทั้งสิ้นตามทีถ่ ูกกล่ าวหา เพราะ ตามบทบาทอำานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของนายกรัฐมนตรี ในโครงการรับจำานำาข้าว การกระทำาของนายก รัฐมนตรี เป็ นการกระทำาการในฐานะเป็ นหนึ่งในรัฐมนตรี ของ “คณะรัฐมนตรี ” ที่ดาำ เนิน


51

โครงการรับจำานำาข้าวตามที่รัฐบาลได้แถลงไว้กบั รัฐสภาเท่านั้น มิได้เป็ นผูก้ ระทำาความผิดใดๆ ทั้งสิ้ นตามที่มีการแจ้งข้อกล่าวหา “หน่ วยงานต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง” ของราชการมีหน้าที่และความ รับผิดชอบในการดำาเนินการให้นโยบายของรัฐบาลบรรลุตามเป้ าประสงค์ที่กาำ หนด การที่คณะ รัฐมนตรี ของข้าพเจ้าดำาเนินการให้เป็ นไปตามนโยบายที่แถลงไว้ต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ ตามโครงการรับจำานำาข้าว พร้อมกับมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การดำาเนินการให้เป็ นไปตามนโยบายดังกล่าว จึงถือว่าข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี ไม่ได้ กระทำาความผิดใด ๆ ดังที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.แจ้งข้อกล่าวหาแต่อย่างใดทั้งสิ้ น นอกจากนี้ การที่คณะรัฐมนตรี ที่มีขา้ พเจ้าเป็ นนายกรัฐมนตรี ยงั คงยืนยันดำาเนินโครงการต่อไปให้เป็ นไป ตามนโยบายที่แถลงไว้ต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ ในเรื่ องที่ถูกกล่าวหา ซึ่งตาม ข้อเท็จจริ ง ที่ปรากฏกรณี วา่ ยังได้มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การดำาเนินการให้เป็ น ไปตามนโยบายดังกล่าว โดย การมีมติของคณะรัฐมนตรี ประกาศและคำาสัง่ ใด ๆ ที่ออกมาเพื่อ ติดตาม ตรวจสอบในเรื่ องดังกล่าว (ซึ่งจะได้นาำ เสนอในชั้นนำาสื บแก้ขอ้ กล่าวหาต่อไป) หรื อ ยัง ปรากฏมีกรณี ที่มีการตั้ง “คณะทำางานติดตามตรวจสอบการทุจริ ตโครงการรั บจำานำาข้ าวฯ” ที่มี ร.ต.อ. เฉลิม อยูบ่ าำ รุ ง รองนายกรัฐมนตรี เป็ นประธานคณะทำางานตามคำาสัง่ สำานักนายก รัฐมนตรี ที่ ๑๕๖/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ นั้น การกระทำาของข้าพเจ้าก็ไม่เป็ น ความผิดใด ๆ ตามกฎหมาย ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีบนั ทึกแจ้งข้อกล่าวหาแต่อย่างใดทั้ง สิ้ น และถือว่าข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี มิได้ละเว้นกระทำาการโดยไม่ใช้อาำ นาจตามมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ เกี่ยวกับการดำาเนินโครงการ รับจำานำาข้าว แต่ในทางตรงกันข้าม เหตุที่มีคาำ สัง่ ของข้าพเจ้าดังกล่าวข้างต้นเป็ นไปเพราะข้าพเจ้า มีเจตนาให้โครงการรับจำานำาข้าวมีบุคคลในคณะรัฐมนตรี ที่มีความรู้ความสามารถในการตรวจ สอบเข้าไป กำากับ ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ ให้โครงการรับจำานำาข้าวตามข้อเสนอแนะของคณะ กรรมการ ป.ป.ช. เป็ นไปโดยมีประสิ ทธิภาพปราศจากการทุจริ ตทุกขั้นตอนเพื่อหักล้างข้อกล่าว หาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในเรื่ องดังกล่าว ดังนั้น ข้ าพเจ้ าขอนำาสื บแก้ ข้อกล่ าวหาโดยขอนำาพยานบุคคลรายร้ อยตำารวจเอก เฉลิม อยู่บำารุง รองนายกรัฐมนตรี ประธานคณะทำางานตามคำาสั่ งสำ านักนายกที่ ๑๕๖/๒๕๕๕ ลง วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ปัจจุบันรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงาน เพือ่ นำาสื บในประเด็นให้


52

เห็นถึงผลการดำาเนินงานของคณะทำางานตามคำาสั่ งของข้ าพเจ้ า ในการติดตาม ตรวจสอบการ ทุจริตโครงการรับจำาข้ าวทัว่ ประเทศเพือ่ ชี้ให้ เห็นถึงการตั้งบุคคลในคณะรัฐมนตรี ติดตาม ตรวจ สอบ กำากับ ควบคุม ดูแลมิให้ เกิดการทุจริตในขั้นตอนและกระบวนการในการดำาเนินการรับ จำานำา พยานบุคคลในลำาดับที่ ๒ ข้ อ ๓.ทำาไมรัฐบาลยังคงดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวทั้งทีส่ ำ านักงาน ป.ป.ช. ได้ มี หนังสื อ ด่ วนมาก ที่ ปช ๐๐๐๓/๐๑๑๘ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ ยืนยันข้ อเสนอแนะของคณะ กรรมการ ป.ป.ช. ให้ ยกเลิกโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกและนำาระบบประกันความเสี่ ยงด้ านราคา ข้ าวมาดำาเนินการ ต่ อมาสำ านักงาน ป.ป.ช. ได้ มหี นังสื อที่ ปช ๐๐๐๓/๐๑๙๘ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ ส่ งข้ อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริต การดำาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการรับ จำานำาข้ าวเปลือก ปัญหาว่ ารัฐบาลไม่ สนใจ ไม่ นำาพา ในข้ อเสนอแนะหรือไม่ หากไม่ ใช่ แล้ วรัฐบาล ได้ ปฏิบัตติ ่ อข้ อเสนอแนะอย่ างไรบ้ าง เพือ่ สร้ างมาตรการในการป้องกันความเสี ยหายและ ป้ องกันการทุจริตอย่ างไร ข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี หวั หน้าผูบ้ ริ หารราชการแผ่นดินขอชี้ แจงว่า รัฐบาลมิได้ละเลยไม่สนใจ ไม่นาำ พาต่อข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดังกล่าวข้างต้น แต่อย่างใด แต่ดว้ ยเหตุผลที่นโยบายโครงการรับจำานำาข้าว คณะรัฐมนตรี ได้จดั ทำาเป็ นนโยบาย แถลงต่อรัฐสภา ดังนั้น โครงการรับจำานำาข้ าวจึงมิใช่ นโยบายของนายกรัฐมนตรีหัวหน้ าผู้บริหาร ราชการแผ่ นดิน และในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติแต่ ประการใด ที่มาของนโยบายเริ่ มต้นจากเป็ นนโยบายของพรรคการเมือง ผ่านประชาชน เลือกตั้งและนำาสู่กระบวนการในการจัดทำาเป็ นนโยบายรัฐบาลตามขั้นตอนและกระบวนการตาม ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ และก่อนเป็ นนโยบายรัฐบาลก็ได้ผา่ นกระบวนการในการแข่งขันกัน ทางการเมืองในการนำาเสนอนโยบายอันเป็ นสัญญาประชาคมต่อประชาชนโดยผ่านกระบวนการ ของการเลือกตั้ง เมื่อพรรคการเมืองหนึ่งได้นาำ นโยบายไปบอกกล่าวประชาชน และเมื่อ ประชาชนได้เลือกพรรคการเมืองนั้นให้ชนะการเลือกตั้งได้เสี ยงข้างมากมาจัดตั้งรัฐบาล เป็ นที่ เข้าใจกันโดยทัว่ ไปว่าเมื่อไปสัญญาประชาคมผ่านกระบวนการการเลือกตั้งแน่นอน พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งย่อมไม่อาจตระบัดสัตย์ต่อประชาชนที่ได้สญ ั ญาไว้จึงต้องนำา นโยบายพรรคที่ผา่ นการเลือกตั้งของประชาชนมาจัดทำาเป็ นนโยบายของรัฐบาล ปรากฏตาม


53

ภาพการปราศรัยในการเสนอโครงการรับจำานำาข้ าวทีเ่ ป็ นนโยบายใช้ หาเสี ยงผ่ านการเลือกตั้ง และ ก่ อนบริหารราชการแผ่ นดินได้ นำาโครงการรับจำานำาข้ าวจัดทำาเป็ นคำาแถลงนโยบายของคณะ รัฐมนตรี ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๔ และ ๕ ข้าพเจ้าขอชี้แจงในประการสำาคัญว่า นโยบายพรรคของแต่ละพรรคนั้นต้องมี การแข่งขันกันในทางการเมืองโดยผ่านกระบวนการการเลือกตั้ง และผูก้ ล่าวหากับพวกในคดีน้ ี เองก็เป็ นบุคคลที่อยูใ่ นพรรคการเมืองที่เป็ นคู่แข่งทางการเมืองเสนอนโยบายในลักษณะเดียวกับ ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. คือ โครงการประกันรายได้ หรื อ ประกันความเสี่ ยงด้าน ราคา ซึ่งสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศ (TDRI) เป็ นผูจ้ ดั ทำารายงานให้กบั คณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งรายงานดังกล่าวของ TDRI คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้นาำ มากล่าวอ้างไว้ในบันทึกแจ้ง ข้อกล่าวหาในข้อ ๓ ว่า รัฐบาลนี้ ไม่ยอมยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก และมิได้นาำ ระบบ การประกันความเสี่ ยงด้านราคาข้าว ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาดำาเนินการ และในบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาในข้อ ๔ ก็อา้ งอิงอีกว่า สำานักงาน ป.ป.ช. ได้มีหนังสื อแจ้งให้ ข้าพเจ้าแล้ว แต่ขา้ พเจ้าไม่ระงับยับยั้งการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าว หากจะอธิบายความสภาพ ปัญหาข้างต้นที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีขอ้ เสนอแนะให้นาำ นโยบายประกันความเสี่ ยงด้านราคา มาแทนนโยบายรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาล การนำาผลงานทางวิชาการโดยอ้างอิงข้อมูล การ วิเคราะห์ขอ้ มูล ข้อเสนอแนะ ความเห็นทางวิชาการ ของผูว้ ิจยั TDRI ซึ่งการจัดทำารายงานการ วิจยั ไม่ใช่ขอ้ เท็จจริ งการกระทำาความผิด มาอ้างอิงเป็ นพยานหลักฐานในข้อเท็จจริ งเพื่อ สนับสนุนข้อกล่าวหาต่อข้าพเจ้า เห็นว่าวิธีการที่นาำ รายงานการวิจยั ของ TDRI จัดทำารายงานโดย มีเนื้อหาที่ไม่เห็นด้วยกับนโยบายรับจำานำาข้าว และข้อเท็จจริ งที่ปรากฏในรายงานการวิจยั ที่ยงั ไม่มีขอ้ ยุติและความถูกต้องแท้จริ งมาเป็ นพยานหลักฐานสนับสนุนการกล่าวหาว่าข้าพเจ้าว่า กระทำาความผิดที่ไม่ระงับยับยั้งโครงการรับจำานำาข้าวและไม่นาำ ระบบประกันความเสี่ ยงด้าน ราคาข้าวตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่นาำ รายงานของ TDRI เรื่ อง นโยบาย ประกันความเสี่ ยงด้านราคามาใช้ดาำ เนินการเป็ นนโยบายของรัฐบาลนั้น ข้าพเจ้าขอให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทบทวนการดำาเนินการที่จะนำารายงานของ TDRI มาเป็ นข้อเท็จจริ งเพื่อสนับสนุนข้อกล่าวหา ในลักษณะอ้างเป็ นพยานหลักฐานในคดี อาญาเพื่อพิสูจน์ความผิดของข้าพเจ้านั้น จึงไม่สมควรที่จะกระทำาและเป็ นการแสวงหาพยาน หลักฐานที่มิชอบด้วยกฎหมายเพราะ การรวบรวมและแสวงหาพยานหลักฐานทางคดีอาญาจะ ต้องรวบรวมพยานหลักฐานซึ่งน่าจะพิสูจน์ได้วา่ ผูถ้ ูกกล่าวหามีผดิ หรื อบริ สุทธิ์ จึงจะให้อา้ งเป็ น


54

พยานหลักฐานได้ แต่การนำาความเห็นทางวิชาการตามรายงานการวิจยั ของ TDRI อันปราศจาก ข้อเท็จจริ งที่เป็ น พยานหลักฐานที่ควรเชื่อได้วา่ มีมูลหรื อไม่เพียงใดมารับฟังตามข้อกล่าวหาต่อ ข้าพเจ้า จึงเป็ นการแสวงหาพยานหลักฐานที่ไม่ชอบและไม่เป็ นธรรมต่อข้าพเจ้า แต่ภายหลังการเลือกตั้งพรรคของผูก้ ล่าวหาที่ได้นาำ นโยบายประกันราคา หรื อ นโยบายประกันความเสี่ ยงด้านราคาตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีขอ้ เสนอแนะต่อรัฐบาลของผู ้ กล่าวหากับพวก แต่นโยบายดังกล่าวที่พรรคประชาธิปัตย์นาำ เสนอ คือ นโยบายประกันราคา หรื อ นโยบายประกันความเสี่ ยงด้านราคาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีขอ้ เสนอแต่นโยบายดังกล่าว มิได้มีการตอบรับจากประชาชนผลการเลือกตั้งทำาให้พรรคประชาธิปัตย์แพ้การเลือกตั้งต่อพรรค ของข้าพเจ้า ทำาให้เข้าใจว่าแน่นอนนโยบายใด ๆ ที่นาำ เสนอเมื่อชนะการเลือกตั้งจัดตั้งรัฐบาล เมื่อนำานโยบายโครงการรับจำานำาข้าวนำามาเป็ นนโยบายของรัฐบาลแล้วในทางหลักการ ถือ เป็ นการกระทำาของรัฐบาล (Acts of Government)” การตรวจสอบความรับผิดชอบคงต้องหา ความรับผิดชอบกันในระบบรัฐสภาตามนัยแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๘ เท่านั้น (กล่าวคือ การถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็ นต้น ) ตามที่ได้ช้ ีแจงในประเด็นนี้ มาแล้วในข้อ ๑. และ ข้อ ๒. สำาหรับนโยบายโครงการรับจำานำาข้าว กับนโยบายประกันรายได้หรื อประกัน ความเสี่ ยงด้านราคา นโยบายใดจะเป็ นประโยชน์กบั ชาวนามากกว่ากันแน่นอนย่อมมีขอ้ ถกเถียง และความเห็นต่างกัน ซึ่งแต่ละโครงการมีขอ้ สังเกตว่า หาข้อยุติในความพึงพอใจไม่ได้อยูท่ ี่ พรรคการเมืองหรื อรัฐบาลนั้นจะมีหลักคิด ทฤษฎีในการนำานโยบายเรื่ องข้าวที่มีขอ้ ถกเถียงกัน มาช้านานแต่กห็ าข้อยุติได้ไม่วา่ นโยบายใดจะเป็ นที่พึงพอใจกับการแทรกแซงด้านการตลาด เพื่อช่วยเหลือชาวนาปัญหา การกำาหนดราคาข้ าวว่ าราคาข้ าวจะกำาหนดอย่ างไร ใช้ วธิ ีการใด กำาหนด ถือเป็ นปัญหาทีม่ ขี ้ อถกเถียงกันมาโดยตลอดว่ า “อะไรเป็ นตัวกำาหนดราคาข้ าว” เช่น เดียวกันปัญหาที่รัฐบาลเห็นควรนำาโครงการรับจำานำาข้าวมาเป็ นนโยบายช่วยเหลือชาวนา แต่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ผูก้ ล่าวหา และผูร้ ้องถอดถอนคือหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) กับพวกเห็นว่าการประกันราคาเป็ นนโยบายที่ดีไม่เห็นด้วยกับนโยบายรับจำานำา ซึ่ง หลักคิดของพรรคประชาธิปัตย์คล้ายและมีหลักคิดเดียวกันกับคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่เห็นว่า ควรนำานโยบายประกันความเสี่ ยงด้านราคามาใช้ การเห็นต่างกันระหว่างรัฐบาลก็ดี พรรค ประชาธิปัตย์หรื อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็ดี มิใช่เรื่ องที่จะต้องนำาความคิดของตนมากล่าวหา เพื่อให้อีกฝ่ ายหนึ่งต้องยุติระงับยับยั้งการนำานโยบายมาช่วยเหลือชาวนา และเมื่อไม่เห็นด้วยกับ ข้อเสนอกลับถูกดำาเนินคดีและยังคงนำาหลักคิดนโยบายของตนมาสนับสนุนข้อกล่าวหาให้เกิด


55

ความรับผิดทางอาญากับผูเ้ ห็นต่างเสี ยอีก จึงไม่น่าจะเป็ นธรรมต่อตัวข้าพเจ้าและรัฐบาลพรรค เพื่อไทย การนำาทฤษฎีมาอธิบายก็จะมีความแตกต่างกัน ซึ่งถ้าจะว่าไปแล้วผูท้ ี่ออกมา แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายข้าวของรัฐบาลในแต่ละรัฐบาล ต่างก็ใช้ทฤษฎีที่แตกต่างกัน ไปในการสนับสนุนข้อเสนอของต้น ปัญหาก็คือว่าทฤษฎีใดมีความสมเหตุสมผลและ สอดคล้องกับความเป็ นจริ งมากที่สุด การขัดแย้ งกันนีม้ ใิ ช่ เป็ นแต่ เพียงการขัดแย้ งในระดับ ทฤษฎีระหว่ างพรรคการเมือง นักวิชาการ ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องในการวางนโยบายข้ าว สื่ อมวลชน กลุ่ม ผลักดันทางการเมืองต่ าง ๆ ทั้งจากภาคเกษตรกรรม และภาพธุรกิจ เท่ านั้น แต่ มผี ลกระทบ โดยตรงต่ อนโยบายการแทรกแซงของรัฐบาล ข้าพเจ้าขอนำาเสนอเพื่อความเข้าใจต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ร่วมเสนอนโยบาย ในเรื่ องข้าวและกลายมาเป็ นผูก้ ล่าวหาต่อตัวข้าพเจ้าว่าความเห็นต่างกันระหว่างรัฐบาลกับ องค์กรตรวจสอบไม่ควรจะกลายเป็ นว่าฝ่ ายที่เห็นต่างกันต้องเกิดความรับผิดในทางอาญาโดยมี ข้อสนับสนุนทางความคิดของข้าพเจ้าโดยสุ จริ ตเมื่อได้ตรวจพบ ข้อความจากบทความที่ปรากฏ ในบทนำาของหนังสื อ “ประมวลความรู้ เรื่องข้ าว” ที่ได้จดั ทำาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๓ โดย สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศ (TDRI) เช่นกัน ความในบทนำาหน้าที่ ๑ ย่อหน้าที่ ๓ ปรากฏ ข้อความว่า “...ภาพในใจของผู้บริหารนโยบายเหล่ านี้ จะถูกผิดอย่ างไรนั้นยากทีจ่ ะประเมินได้ แต่ ในช่ วง ๔ ทศวรรษทีผ่ ่ านมา มีงานวิจยั จำานวนมากทีไ่ ด้ ศึกษาส่ วนต่ างๆ ของระบบการผลิต และค้ าข้ าว และผลงานวิจยั หลาบชิ้นมีข้อสรุปทีข่ ัดกับภาพในใจของคนทัว่ ไปซึ่งอาจรวมถึงผู้ บริหารนโยบายทั้งหลายด้ วย ผลงานวิจยั เหล่ านีน้ ่ าจะได้ มกี ารรวบรวมและเผยแพร่ เพือ่ ว่ าการ ถกเถียงในเรื่องนโยบายข้ าว (ซึ่งคงจะมีอยู่ตราบเท่ าที่ไทยยังเป็ นประเทศประชาธิปไตย) จะ เป็ นการถกเถียงทีเ่ ริ่มต้ นจากฐานข้ อมูลและความเข้ าใจทีช่ ัดเจนขึน้ ...” ปรากฏตาม “หนังสื อ ประมวลความรู้ เรื่องข้ าว” ในหน้ าที่ ๑ ของบทนำา พยานเอกสารในลำาดับที่ ๖ จากเนื้อหาข้อความข้างต้น ข้าพเจ้าจึงขอให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทบทวนการ แจ้งข้อหาต่อตัวข้าพเจ้าเสี ยใหม่วา่ การที่พรรคการเมืองของข้าพเจ้าในนามพรรคเพื่อไทย พรรคการเมืองของฝ่ ายที่กล่าวหา จนกระทัง่ มาถึงองค์กรของคณะกรรมการ ป.ป.ช. คือ สำานักงาน ป.ป.ช. ที่มีความเห็นต่าง และยังมีขอ้ ถกเถียงในเรื่ องนโยบายข้าวกันอยูเ่ ช่นนี้ สมควร หรื อไม่ที่จะนำาหนังสื อของสำานักงาน ป.ป.ช. รวม ๒ ครั้ง คือ หนังสื อ ด่วนมาก ที่ ปช. ๐๐๐๓/๐๑๑๘ ลงวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ และหนังสื อสำานักงาน ป.ป.ช. ที่ ๐๐๐๓/๐๑๙๘ ลงวัน


56

ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ มาถือเป็ นพยานหลักฐานที่สาำ คัญของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มากล่าวหา ต่อคณะรัฐมนตรี ถึงเหตุที่ไม่ปฏิบตั ิตามนโยบายประกันความเสี่ ยงด้านราคาให้ตวั ข้าพเจ้าต้อง เกิดความรับผิดทางอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๕๗ และ พ.ร.บ. ประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐ และฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔) มาตรา ๑๒๓/๑ นอกจากนี้ หากพิจารณาถึง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วย ด้วยการป้ องกัน การทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๙(๑๑) ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ใช้อาำ นาจหน้าที่ในการจัดทำา ข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี มิใช่บทบังคับเด็ดขาดดังเช่นมาตรา ๑๐๓/๗ ในเรื่ องการกำาหนด ราคากลางและการคำานวณราคากลางไว้ในระบบข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อไม่ใช่บทบังคับ เด็ดขาดในฐานะที่มีสภาพบังคับตามกฎหมายว่า เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใช้อาำ นาจหน้าตาม กฎหมายข้างต้นในมาตรา ๑๙ (๑๑)มีขอ้ เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี แล้ว คณะรัฐมนตรี ตอ้ งถือ ปฏิบตั ิเหมือนสภาพบังคับตามมาตรา ๑๐๓/๗ แล้วจะเป็ นการให้เกิดการตรวจสอบ และไต่สวน ข้อเท็จจริ ง เพื่อกล่าวหาคณะรัฐมนตรี ที่ผา่ นมาเอง คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็ได้เคยมีขอ้ เสนอแนะ ต่อรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผูก้ ล่าวหาข้าพเจ้าในคดีน้ ี กย็ อ่ มจะต้องมีความรับผิดตาม กฎหมายในเรื่ องไม่ปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี ของนายอภิสิทธิ์ฯ ในเรื่ องการ ดำาเนินโครงการประกันราคาซึ่งก็หาเป็ นเช่นนั้นไม่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. หาได้ดาำ เนินการ ดำาเนินคดีต่อนายอภิสิทธิ์ฯ ในฐานะนายกรัฐมนตรี เหมือนกับที่ดาำ เนินคดีต่อข้าพเจ้า และในการ ดำาเนินคดีกบั หยิบยกหนังสื อสำานักงาน ป.ป.ช. รวม ๒ ครั้ง ที่มีขอ้ เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี ดงั กล่าวข้างต้นมากล่าวอ้างเป็ นพยานหลักฐานที่สาำ คัญในบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาในข้อที่ ๓ และข้อ ที่ ๔ ว่า “สำานักงาน ป.ป.ช. ได้มีหนังสื อแจ้งไปยังข้าพเจ้าแล้วว่าการดำาเนินโครงการรับจำานำา ข้าวดังกล่าวจะก่อให้เกิดปัญหาและความเสี ยหาย และยังแจ้งด้วยว่าการดำาเนินการตามโครงการ ได้ก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ อย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาการทุจริ ตเชิงนโยบาย ใน ส่ วนของขั้นตอน และกระบวนการในการดำาเนินโครงการ” จึงถือเป็ นการอ้างพยานหลักฐานที่ ขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมายข้างต้นในมาตรา ๑๙ (๑๑) เสี ยเองเพราะเมื่อไม่มีสภาพบังคับตาม กฎหมายให้ตอ้ งปฏิบตั ิเป็ นเพียงข้อเสนอแนะที่ยงั เป็ นข้อถกเถียงและความเห็นต่างกันดังที่กล่าว ข้างต้นจะถือเอาพยานเอกสารซึ่งเป็ นหนังสื อของสำานักงาน ป.ป.ช. จำานวน ๒ ฉบับ มาเป็ น เหตุกล่าวหาต่อตัวข้าพเจ้านั้นถือว่าไม่เป็ นธรรมต่อตัวข้าพเจ้า


57

จึงสมควรอย่างยิง่ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะต้องทบทวนการกล่าวหาหรื อ ยกเลิกการกล่าวหาโดยยุติการนำาเอกสารดังกล่าวข้างต้นของสำานักงาน ป.ป.ช. มาเป็ นมูลเหตุก ล่าวหาเพราะนอกจากถือเป็ นการเลือกปฏิบตั ิแล้วจะทำาให้เข้าใจได้วา่ นำาเรื่ องข้อถกเถียงที่มีหลัก คิดและทฤษฎีต่างกันระหว่างรัฐบาลกับคณะกรรมการ ป.ป.ช. เมื่อรัฐบาลไม่ปฏิบตั ิรัฐบาลโดย ข้าพเจ้าเพียงลำาพังกลับถูกดำาเนินคดีอาญา จากบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาที่อา้ งการทุจริ ตในส่ วนของขั้นตอนและ กระบวนการในการดำาเนินโครงการก็ได้หามีการบรรยายข้อเท็จจริ งอันเป็ นพฤติการณ์แห่งคดี รวมทั้งไม่มีพยานเอกสารเพื่อสนับสนุนข้ออ้างตามบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาว่า ขั้นตอน และ กระบวนการในการดำาเนินโครงการที่ทุจริ ตนั้น มีการทุจริ ตในขั้นตอน และกระบวนการใด ที่ ตำาบล อำาเภอ จังหวัดใด หรื อในหน่วยงานใด เป็ นข้อกล่าวหาที่เคลือบคลุมและจินตนาการความ ผิดในลักษณะสร้างวาทะกรรมในเรื่ อง “ ทุจริ ตเชิงนโยบาย” มากล่าวหาข้าพเจ้าโดยไม่เป็ นธรรม ทั้ง ๆที่ตามพ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันการทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๐ (๓) บัญญัติวา่ ข้อกล่าวหา คำาแก้ขอ้ กล่าวหา ต้องสรุ ปข้อเท็จจริ งและพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้จากการไต่สวนข้อเท็จจริ ง (๔) เหตุผลในการพิจารณาวินิจฉัยทั้งในปัญหาข้อเท็จจริ ง และ ข้อกฎหมาย เมื่อมาตรวจสอบจากบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรรมการป.ป.ช. หาได้ ปรากฏข้อเท็จจริ งในข้อกล่าวหาในเรื่ องการทุจริ ตเชิงนโยบายที่อา้ งว่ามีการทุจริ ตในส่ วนของ ขั้นตอน และกระบวนการในการดำาเนินโครงการนั้นเกิดการทุจริ ตในขั้นตอนและกระบวนการ ใด เพื่อสนับสนุนข้อกล่าวหาเรื่ องการทุจริ ตเชิงนโยบาย เมื่อคำานึงถึงบทบัญญัติของข้อกฎหมาย แล้ว คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรา ๕๐ (๓) คือต้องสรุ ปข้อเท็จจริ งและ พยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้จากการไต่สวนข้อเท็จจริ งในเรื่ องการทุจริ ตเชิงนโยบาย แต่หา เป็ นเช่นนั้นไม่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. คงกล่าวอ้างว่ามีการทุจริ ตเชิงนโยบายขึ้นมาลอยๆ โดย ไม่มีการสรุ ปข้อเท็จจริ งและพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องซึ่งได้จากการไต่สวนข้อเท็จจริ งให้เป็ นที่ ประจักษ์ชดั และรับฟังได้โดยปราศจากข้อสงสัย จากการตรวจพยานหลักฐานก็ไม่ปรากฏพบ พยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการทุจริ ตเชิงนโยบาย ข้าพเจ้าขอให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทบทวนการรับฟังพยานหลักฐานอันเป็ น พยานบุคคลรายนายอภิสิทธิ์ฯ และนายวรงค์ เดชกิจวิกรม และนางสาวสุ ภา ปิ ยะจิตติ คณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ล้วนแต่เป็ นพยานบุคคลที่เป็ นปฏิปักษ์ต่อข้าพเจ้าทั้งสิ้ น ต้องรับฟังพยาน


58

หลักฐานด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากยังมีขอ้ ตำาหนิ ข้อระแวงสงสัยในตัวพยานว่าข้อกล่าว อ้างที่นาำ มากล่าวหาข้าพเจ้าในคำาอภิปรายในเรื่ องญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจและกระทูถ้ ามมีพยาน เอกสารสนับสนุนข้อกล่าวหาในตัวข้าพเจ้าเรื่ องการเข้าไปเกี่ยวข้องมีหรื อไม่ ซึ่งจะได้กล่าวราย ละเอียดต่อไปในคำาชี้ แจงนี้ ในทำานองเดียวกันจากบทบัญญัติ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกัน การทุจริ ต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๐ (๓) ได้บญั ญัติวา่ คำาแก้ขอ้ กล่าวหาเองก็ตอ้ งสรุ ปข้อเท็จจริ ง และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องซึ่งได้จากการไต่สวนข้อเท็จจริ งมิใช่สรุ ปจากข้อกล่าวหาแต่เพียง ด้านเดียว กฎหมายบัญญัติให้ตอ้ งนำาทั้งข้อกล่าวหาและคำาแก้ขอ้ กล่าวหามาสรุ ปเป็ นข้อเท็จจริ ง และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้จากการไต่สวนข้อเท็จจริ งและระบุเหตุผลในการพิจารณา วินิจฉัยทั้งในปัญหาข้อเท็จจริ งและปัญหาข้อกฎหมาย เมื่อบันทึกแจ้งข้อกล่าวหายังเป็ นข้อกล่าว หาที่เคลือบคลุมกล่าวอ้างการทุจริ ตเชิงนโยบายแต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กลับไม่มีพยานหลัก ฐานสนับสนุนข้อกล่าวหาว่าเกิดการทุจริ ตในขั้นตอนและกระบวนการใด ของโครงการรับจำานำา ข้าวที่ขา้ พเจ้าเป็ นผูก้ าำ หนดนโยบายและเข้าไปยุง่ เกี่ยวหรื อเกี่ยวข้องในลักษณะเป็ นผูป้ ฏิบตั ิเสี ย เองซึ่งหามีไม่ ดังนั้น จึงไม่เป็ นธรรมอย่างยิง่ ที่จะกล่าวอ้างอย่างเลื่อนลอยเรื่ องการทุจริ ตเชิง นโยบายต่อตัวข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามิได้ปฏิเสธการตรวจสอบแต่กไ็ ม่ตอ้ งการให้การตรวจสอบตกเป็ นเครื่ อง มือของผูห้ นึ่งผูใ้ ดหรื อคณะบุคคลใด เพราะเมื่อในเบื้องต้น นโยบายดังกล่าวได้เกิดขึ้นโดย สุ จริ ต หากเกิดปัญหาในชั้นการปฏิบตั ิที่คณะรัฐมนตรี ให้ไป มีตวั แปรในอนาคตหลายตัวแปรที่ ไม่อาจควบคุมได้ท้ งั หมดดังเช่นที่คณะกรรมการไต่สวนมีความคิดแสดงออกในบันทึกแจ้งข้อ กล่าวหา อาทิเช่น ตัวแปรที่เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจ สังคม หรื อการชุมนุมทางการเมือง มาขัด ขวางการดำาเนินนโยบายดังกล่าว ก็ไม่สมควรอย่างยิง่ ที่จะนำาความนับผิดทางอาญามาให้แก่ รัฐบาลผูก้ าำ หนดนโยบายนี้ ความรับผิดทางอาญาต้องเกิดขึ้นจากการกระทำาดังเช่นที่บญั ญัติไว้ใน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒ วรรคแรก “บุคคลจักต้ องรับโทษในทางอาญาต่ อเมือ่ ได้ กระทำาการอันกฎหมายทีใ่ ช้ ในขณะกระทำานั้นบัญญัตเิ ป็ นความผิดและกำาหนดโทษไว้ และโทษที่ จะลงแก่ ผู้กระทำาความผิดนั้น ต้ องเป็ นโทษทีบ่ ัญญัติไว้ ในกฎหมาย...” มิฉะนั้นจะเป็ นการกล่าว หากันโดยไม่มีขอบเขต และดุลพินิจที่กล่าวหาโดยไม่จาำ กัดตามบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาแล้วจะ ทำาให้เกิดความไม่เป็ นธรรมต่อเจ้าหน้าที่รัฐผูถ้ ูกกล่าวหาโดยไม่อยูใ่ นหลักนิติธรรม


59

เมื่อจุดกำาเนิดของโครงการรับจำานำาข้าวได้เขียนโดยสุ จริ ตจากพรรคการเมืองหนึ่ง ที่นาำ เสนอประชาชนโดยผ่านกระบวนการการเลือกตั้งและมิใช่นโยบายปกปิ ดเพื่อวางแผนจะ ทำาการทุจริ ตเชิงนโยบายดังที่ถูกกล่าวหา จากคณะกรรมการ ป.ป.ช. คงไม่นาำ นโยบายโครงการ รับจำานำาข้าวไปใช้หาเสี ยงและผ่านการเลือกตั้ง ข้าพเจ้าขอทำาความเข้าใจต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช.ว่า แท้จริ งแล้วเจตนาของพรรคการเมืองที่นาำ นโยบายของพรรคผ่านประชาชนเลือกตั้งใน ส่ วนของรัฐบาลที่นาำ โครงการรับจำานำาข้าวมาเป็ นนโยบายรัฐบาลก็เพราะ “ ตั้งใจทีจ่ ะยกระดับ รายได้ ชาวนาให้ ทดั เทียมกับการประกอบอาชีพอย่ างอืน่ ” มิได้มีเจตนาพิเศษให้มีการทุจริ ตเชิง นโยบายในส่ วนของขั้นตอน และกระบวนการในการดำาเนินโครงการเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ บุคคลหนึ่งบุคคลใดจึงขอให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ความเป็ นธรรมและพิจารณาคดีน้ี โดย เข้าใจอย่างถูกต้องและเที่ยงธรรมในเจตนาที่ดีดว้ ย ข้าพเจ้าขอชี้แจงว่าข้อเสนอแนะของสำานักงาน ป.ป.ช. ข้างต้นมิใช่วา่ ข้าพเจ้าใน ฐานะนายกรัฐมนตรี หวั หน้าผูบ้ ริ หารราชการแผ่นดินจะไม่สนใจ ไม่นาำ พา ต่อข้อทวงติงของ สำานักงาน ป.ป.ช. ดังกล่าวข้างต้นในฐานะที่เป็ นองค์กรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และ เป็ นองค์กรตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายองค์กรหนึ่ง ที่มีความเห็นต่างกันในหลักคิดและ ทฤษฎีการจัดการของพรรคการเมืองและของรัฐบาล แต่เมื่อหลักคิดและทฤษฎีที่พรรคการเมือง คิดนำานโยบายโครงการรับจำานำาข้าวมาใช้หาเสี ยงและชนะการเลือกตั้งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็ ต้องเข้าใจต่อข้าพเจ้าในฐานะผูไ้ ปให้สญ ั ญากับประชาชนผ่านการหาเสี ยง ข้าพเจ้าจะตระบัด สัตย์กบั ประชาชนได้อย่างไร เมื่อเป็ นนโยบายที่ผา่ นการชนะการเลือกตั้งไปจัดทำาเป็ นนโยบายของรัฐบาลโดย แถลงต่อสภาตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๖ แล้ว ก็มีสภาพบังคับตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญมาตรา ๑๗๘ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามนโยบายที่แถลงจึงมีสภาพความจำาเป็ นที่จะต้อง ปฏิบตั ิตามนโยบาย แต่ขอ้ ทวงติงตามข้อเสนอแนะของสำานักงาน ป.ป.ช. ก็อยูใ่ นหัวใจของ ข้าพเจ้า ในการมุ่งมัน่ ที่จะปฏิบตั ิหน้าที่อย่างชัดแจ้ง กล่าวคือ ในฐานะที่ขา้ พเจ้าเป็ นประธาน คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ข้าพเจ้าได้ทาำ หน้าที่ของประธานในที่ประชุม ในการ ประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่อวันศุกร์ที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๔ ปรากฏรายงานการประชุมคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ข้าพเจ้าขอนำาเสนอเป็ นพยานเอกสาร ในลำาดับที่ ๗ ข้าพเจ้าในฐานะประธานกล่าวเปิ ดการประชุมได้ให้นโยบายต่อคณะบุคคลที่มา จากหลายฝ่ ายในฐานะผูป้ ฏิบตั ิงาน หากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาตรวจสอบจากเนื้ อหาที่


60

ข้าพเจ้าแจ้งในที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติในลักษณะเป็ นการให้นโยบายแล้ว จะพบเจตนาของข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี หวั หน้าผูบ้ ริ หารราชการเป็ นอย่างดีและถือเป็ น ข้อหักล้างอันเป็ นข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่กล่าวหาข้าพเจ้าในเรื่ องว่าจัดทำา นโยบายเพื่อให้เกิด “การทุจริ ตเชิงนโยบาย” นั้นน่าจะไม่เป็ นธรรมต่อตัวข้าพเจ้าอย่างแน่นอน โดยปรากฏเนื้ อหาตามพยานเอกสาร ในหน้าที่ ๓ และ ที่ ๔ ของพยานเอกสาร ดังนี้ “ประธำนกรรมกำรได้ แจ้ งว่ า นโยบายข้ าวถือเป็ นนโยบายทีส่ ำ าคัญของชาติ เนื่องจากข้ าวเป็ นพืน้ ฐานของประเทศไทย และเป็ นอาชีพหลักทีพ่ นี่ ้ องเกษตรกรสามารถทีจ่ ะนำา ข้ าวมาทำาให้ เกิดผลผลิตและเกิดคุณค่ าทางด้ านรายได้ ทกี่ ลับมา ตลอดระยะเวลาข้ าวเป็ นสิ่ งที่ เปรียบเสมือนจิตใจของคนไทยที่มคี วามผูกพันและเชื่อมัน่ ว่ าข้ าวของไทยเป็ นข้ าวทีม่ คี ุณภาพ ของข้ าว ดังนั้นรัฐบาลจึงนำาเอาระบบการรับจำานำาข้ าวกลับมาดำาเนินการใหม่ เนื่องจาก ตลอดเวลาทีผ่ ่ านมาข้ าวทีม่ คี วามเป็ นพรีเมีย่ มมีคุณภาพสู งแต่ ราคากลับไม่ ได้ สะท้ อนกลไกอย่ าง แท้ จริง ดังนั้น การนำาเอาระบบการรับจำานำาข้ าวกลับมาเป็ นการทำาให้ กลไกต่ างๆ ถูกสะท้ อนราคา ทีเ่ ป็ นจริงเพือ่ ให้ พนี่ ้ องเกษตรกรได้ ราคาที่เป็ นธรรม เพราะจากการทีม่ กี ารใช้ ระบบประกันราคา ข้ าวจะถูกกำาหนดโดยราคาต่ำ าสุ ดดังนั้นการดำาเนินการจะไม่ ส่งเสริมให้ พนี่ ้ องเกษตรกรผลิตข้ าว ให้ สะท้ อนตามผลผลิตจริง แต่ เป็ นเพียงการผลิตเพือ่ การจ่ ายเงินชดเชย ราคาข้ าวไม่ ได้ สะท้ อน ราคาจริง จึงเป็ นสาเหตุทที่ าำ ให้ รัฐบาลนำาระบบการรับจำานำาข้ าวกลับมา แต่ การทำางานในระบบรับจำานำาข้ าวนั้นขอฝากทุกท่ านให้ เคร่ งครัดในเรื่องของ กระบวนการของข้ าวให้ เกิดความสุ จริตและโปร่ งใสเพราะส่ วนนีเ้ ป็ นกระบวนการทีจ่ ะให้ ความ สำ าคัญ จึงได้ มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรี ช่ วยว่ าการกระทรวงพาณิชย์ (นายภูมิ สาระผล) และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็ นเจ้ าภาพ ในการทำางานนีอ้ ยากเห็นการบูรณาการและปรับปรุงระบบกระบวนการรับจำานำาข้ าวให้ เกิดความ สุ จริตและโปร่ งใส นำาความชอบธรรมและความชัดเจนให้ กบั ทางด้ านของหน่ วยงานดำาเนินการ โดยมีการตรวจสอบอย่ างชัดเจนและทีส่ ำ าคัญต้ องพิจารณาการดำาเนินงานในส่ วนทีผ่ ่ านมาว่ าเป็ น อย่ างไรทีสิ่งใดคงค้ างเพือ่ ทีจ่ ะนำามาปรับปรุงและแก้ ไขให้ เสร็จสิ้น ดังนั้นถ้ านำาระบบรับจำานำาข้ าวกลับมาจะคืนความเสมอภาคให้ พนี่ ้ องเกษตรกร ซึ่งถือว่ าเป็ นกระดูกสั นหลังของประเทศ เพือ่ ทีจ่ ะได้ ราคาทีม่ คี วามเป็ นธรรมมากขึน้ ระบบการ รับจำานำาข้ าวทีจ่ ะดำาเนินการ จะส่ งผลให้ ประเทศไทยแข็งแรงขึน้ จึงขอฝากระบบการจำานำาข้ าวที่


61

จะนำากลับมาพิจารณา ในเรื่องของราคาข้ าวเชื่อว่ ากลไกของข้ าวจะดีขนึ้ เป็ นไปตามราคาตลาด แต่ ขณะเดียวกันขอให้ พจิ ารณาในเรื่องของราคาส่ งออกข้ าวต่ างประเทศด้ วย เพราะข้ าวทีส่ ่ งออก มีราคาลดลง แต่ เนื่องจากคุณภาพข้ าวของไทยดีกว่ าข้ าวของเวียดนาม แต่ ราคากลับต่ำ ากว่ าราคา ข้ าวของเวียดนาม จึงขอให้ ดูแลกลไกของราคาข้ าวให้ สะท้ อนอุปสงค์ และอุปทานข้ าวในประเทศ และต่ างประเทศเพือ่ รองรับและสะท้ อนกลับมา นอกจากนีใ้ นเรื่องของกลไกทีถ่ ูกบิดเบือนมาตลอดในเรื่องของการปรับราคาข้ าว ถ้ านำาการรับจำานำากลับมาจะทำาให้ สิ่งต่ าง ๆ เกิดความเป็ นธรรมขึน้ และในส่ วนของนโยบายจะ ดำาเนินการอย่ างไรในการให้ ความรู้ ส่งเสริมเกษตรกรเพิม่ คุณภาพและเพิม่ ผลผลิตโดยทำาให้ มี รอบการผลิตเพิม่ ขึน้ และเพิม่ เทคโนโลยีต่างๆ ทีจ่ ะทำาให้ ผลผลิตต่ อไร่ เพิม่ มากขึน้ จะทำาให้ งาน ทุกอย่ างสั มพันธ์ และสอดคล้ องกับปริมาณ รวมทั้งระบบน้ำ าก็จะเป็ นสิ่ งสำ าคัญทีจ่ ะต้ องนำามา วางแผนร่ วมกันในรอบของเพาะปลูกข้ าว อีกประการหนึ่งข้ าวของไทยเป็ นข้ าวคุณภาพเกรดเอ จะทำาการประชาสั มพันธ์ อย่ างไรทีจ่ ะให้ ข้าวเป็ นทีร่ ู้ จกั และเป็ นทีย่ อมรับของนานาประเทศทีอ่ ยู่ ในกลุ่มทีร่ ับรู้ แต่ ยงั ไม่ มกี ารประชาสั มพันธ์ ในเรื่องของคุณภาพข้ าว และข้ อสุ ดท้ ายข้ าวจะทำาให้ เศรษฐกิจขอไทยเติบโตขึน้ และเป็ นพืน้ ฐานสำ าคัญของส่ วนอืน่ ซึ่งจะมีขอบเขตทีม่ ากกว่ าการ พิจารณาเฉพาะเรื่องราคาข้ าวในเรื่องการนำาระบบการรับจำานำาข้ าวกลับมา ซึ่งจะเริ่มดำาเนินการ ในวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ นี้ ต้ องขอความกรุณาทุกท่ านในการนำาระบบการรับจำานำากลับมาให้ ทาำ ให้ เกิดความ สมบูรณ์ มากขึน้ และปรับปรุงให้ ดขี นึ้ รวมทั้งประชาสั มพันธ์ ให้ พนี่ ้ องเกษตรกรทุกคนทีห่ ่ วงใย เรื่องนีใ้ ห้ มคี วามสบายใจว่ าทุกอย่ างนั้นรัฐบาลตั้งใจทำาอย่ างดี มีการดูแลในเรื่องการทุจริตไม่ ให้ เกิดขึน้ กระบวนการทุกอย่ างต้ องโปร่ งใสขอฝากทุกท่ านช่ วยดำาเนินการและขอขอบคุณทีไ่ ด้ มี โอกาสมาชี้แจงและประชุ มในวาระสำ าคัญเรื่องข้ าวเพือ่ คนไทยทั้งประเทศ” ข้าพเจ้าเองดังที่ได้ช้ี แจงมาข้างต้นว่า ข้าพเจ้าเพียงเป็ นผูก้ าำ กับโดยทัว่ ไป ในการ ดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวในภาพรวมเท่านั้น ส่ วนปัญหาที่อา้ งความเสี ยหายอันเกิดจาก โครงการรับจำานำาข้าว หรื ออ้างว่ามีการทุจริ ตในรายละเอียดชั้นการปฏิบตั ิในส่ วนย่อย ก็ตอ้ งไป ตรวจสอบกับเจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิ จะเหมารวมเอาผิดทางอาญากับข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี แต่เพียงผูเ้ ดียวไม่น่าจะเกิดความเป็ นธรรมต่อตัวข้าพาเจ้าเนื่องจาก “การกำากับโดยเฉพาะในส่ วน ของนโยบาย”


62

ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงขอชี้แจงให้เกิดความเข้าใจว่า เมื่อสำานักงาน ป.ป.ช. ได้มี หนังสื อ ด่วนมาก ที่ ปช ๐๐๐๓/๐๑๑๘ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ จะเห็นได้วา่ ช่วงเวลาที่คณะ กรรมการ ป.ป.ช. มีขอ้ เสนอแนะต่อรัฐบาลนั้นเป็ นเวลาภายหลังจากที่คณะรัฐมนตรี ได้ทาำ คำาแถลงนโยบายโครงการรับจำานำาข้าวเมื่ออังคารที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ ต่อรัฐสภาและเป็ น เวลาภายหลังจากการที่ขา้ พเจ้าได้ให้นโยบายต่อที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เมื่อวันศุกร์ที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๔ แล้ว เมื่อดูจากกรอบเวลาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีขอ้ เสนอแนะต่อรัฐบาลภายหลังที่ คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภาและเป็ นเวลาภายหลังจากการที่คณะกรรมการนโยบาย ข้างแห่งชาติได้เริ่ มดำาเนินโครงการรับจำาข้าว ซึ่งจะเริ่ มดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวในวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ ซึ่งเป็ นวันเดียวกันกับที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทำาหนังสื อมีขอ้ เสนอแนะต่อ รัฐบาล วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ เป็ นวันเดียวกันกับที่รัฐบาลต้องเริ่ มดำาเนินโครงการตามแผน งานการบริ หารราชการแผ่นดินที่แถลงต่อรัฐสภาหนังสื อข้อเสนอแนะของสำานักงาน ป.ป.ช.ดัง กล่าว จึงเป็ นไปไม่ได้ในรู ปแบบวิธีการของการปฏิบตั ิของการบริ หารราชการแผ่นดินตามที่ รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ในอันที่จะยุติโครงการใดๆ ที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภาว่าจะ แก้ปัญหาให้กบั ประชาชนโดยวิธีการอย่างหนึ่งอย่างใดอย่างชัดแจ้ง แต่เมื่อถึงขั้นตอนการปฏิบตั ิ กลับนำาวิธีการอื่นที่มิได้แถลงเป็ นนโยบายต่อรัฐสภามาปฏิบตั ิ ซึ่งในเรื่ องนี้ เมื่อรัฐบาลโดยคณะ รัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาถึงวิธีการแทรกแซงกลไกการตลาดโดยวิธีการรับจำานำาข้าว แต่ภายหลังแถลงนโยบายเพื่อนำาไปสู่ข้ นั ตอนการปฏิบตั ิคณะรัฐมนตรี กลับมีคาำ สัง่ ให้ยกเลิก โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก แล้วนำาระบบประกันความเสี่ ยงด้านราคาข้าวมาดำาเนินการ นอกจากจะถูกประชาชนลงโทษว่าผิดสัญญาประชาคมแล้วก็คงอยูใ่ นประการที่จะต้องถูกผูห้ นึ่ง ผูใ้ ดหรื อพรรคการเมืองใดกล่าวหาต่อคณะรัฐมนตรี วา่ กระทำาผิดต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญอย่าง แน่นอน นอกจากนี้ จะเห็นได้วา่ ในเวลาที่สาำ นักงาน ป.ป.ช. ได้มีหนังสื อด่วนมากที่ ปช ๐๐๐๓/๐๑๑๘ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ ยืนยันข้อเสนอแนะให้ยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าว เปลือกทั้ง ๆที่โครงการยังมิได้เริ่ มปฏิบตั ิแต่อย่างใด ตามมติคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ มีการกำาหนดวันเริ่ มโครงการรับจำานำาในวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ ก่อนหน้ามีคาำ เสนอแนะของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เพียง ๒ วันซึ่งขณะนั้นถือได้วา่ ยังไม่เริ่ มโครงการรับจำานำาข้าว คณะ กรรมการ ป.ป.ช. ก็ได้ใช้อาำ นาจตามพ.ร.บ. ป.ป.ช. มาตรา ๑๙(๑๑) ให้รัฐบาลยกเลิกโครงการรับ


63

จำานำาข้าวแล้วนำาระบบการประกันความเสี่ ยงด้านราคาข้าวมาดำาเนินการทั้งๆ ที่ ยังไม่พบความ เสี ยหายของขั้นตอนและกระบวนการในการดำาเนินโครงการแต่อย่างใด รัฐบาลก็ถูกคณะกรรม การป.ป.ช. ระงับยับยั้งโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกเสี ยแล้ว จึงถือได้วา่ โดยหลักคิดและวิธี การนำาเสนอระหว่างรัฐบาลกับคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรื อพรรคประชาธิปัตย์โดยนายอภิสิทธิ์ ฯ กับพวก ที่เป็ นผูก้ ล่าวหาในคดีน้ ี เป็ นปฏิปักษ์ต่อกันอย่างร้ายแรงและเป็ นกรณี พิเศษต่อการแก้ ปัญหาความทุกข์ยากของประชาชน กระบวนการดำาเนินโครงการมีข้ นั ตอน และกระบวนการทำางานมิใช่เป็ นการ ปฏิบตั ิหน้าที่ “โดยอำาเภอใจ” ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรื อเจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิรวมทั้งฝ่ ายบริ หาร โครงการแต่อย่างใดไม่ ขั้นตอนและกระบวนการจะเริ่ มจากมีการจัดทำาโครงการ และนำา โครงการเข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ จากนั้นนำาเข้าสู่ที่ประชุมคณะ รัฐมนตรี เพื่อให้มีมติของคณะรัฐมนตรี เพื่ออนุมตั ิโครงการ โดยในโครงการจะมีกาำ หนดระยะ เวลาในการดำาเนินโครงการว่าเริ่ มโครงการวันที่เท่าไหร่ และโครงการสิ้ นสุ ดลงในวันใด ฝ่ าย บริ หารโครงการที่ให้นโยบายมีกรอบรัฐธรรมนูญ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และมติคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เป็ นสภาพบังคับที่ใช้กาำ กับ ควบคุม ดูแลการปฏิบตั ิการตาม หน้าที่ในระดับนโยบาย ในส่ วนของเจ้าหน้าที่หรื อบุคคลตลอดจนหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง และเป็ นผูป้ ฏิบตั ิกย็ อ่ มมีสภาพบังคับตามกฎหมายที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี มติคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ กฎ ระเบียบ และคำาสัง่ อันเป็ นแบบแผนของการปฏิบตั ิงานหาก พิจารณาโดยถูกต้อง เป็ นธรรมจะพบว่าการทำางานในรู ปคณะบุคคลจำาต้องมีแบบแผนดังกล่าว ทั้งสิ้ น ในเรื่ องนี้ การดำาเนินโครงการนับแต่คณะรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายโครงการรับ จำานำาข้าว เมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ จากนั้นคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๔ แต่งตั้ง คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธานและ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์เป็ นรองประธาน ปลัดกระทรวงพาณิ ชย์เป็ นกรรมการและ เลขานุการ ปรากฏตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๔ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๘ จากนั้นเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๔ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ได้มีมติ อนุมตั ิ กรอบ ชนิด ราคา ปริ มาณ ระยะเวลา วิธีการ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และงบประมาณโครงการรับ จำานำาข้าวเปลือกนาปี ๕๔/๕๕ ปรากฏตามมติคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๙


64

โดยข้าพเจ้าเป็ นประธาน ในที่ประชุมครั้งแรก และนับจากการประชุมในครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้มอบหมายให้นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี วา่ การ กระทรวงพาณิ ชย์ในขณะนั้นเป็ นประธาน ต่อมามีการปรับคณะรัฐมนตรี นายบุญทรง เตริ ยา ภิรมย์ เป็ นรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์ ข้าพเจ้าก็ได้มอบหมายให้เป็ นประธานในที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติแทนข้าพเจ้าทั้งสิ้ น และเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๔ คณะรัฐมนตรี ได้มีมติ ๑) รับทราบ กรอบ ชนิด ราคา ปริ มาณ ระยะเวลา วิธีการ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และงบประมาณ ๒)อนุมตั ิในหลักการเงินจ่ายขาด โดยใช้จ่ายจากงบประมาณปี ๒๕๕๔ ไปพลางก่อน ๓) มอบ กระทรวงการคลังระดมเงินทุนหมุนเวียน ๔) มอบกระทรวง พาณิ ชย์ประสานและตรวจสอบให้การดำาเนินการสอดคล้องกับข้อตกลง WTO ด้วย และ ประเด็นสำ าคัญ ๑) ราคารับจำานำา ๑๕,๐๐๐ – ๒๐,๐๐๐ บาท ระยะเวลาจำานำา ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔– ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ๒) ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้ น ๔๓๕,๕๔๗.๖๔๗ ล้านบาท วงเงินจ่ายขาด ๒๕,๕๔๗.๖๔๗ ล้านบาท ๓) ตั้งคณะอนุกรรมการ ๖ คณะ ปรากฏตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๔ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๐ ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๔ คณะรัฐมนตรี ได้มีมติคณะรัฐมนตรี ๑) อนุมตั ิให้ยกเว้นการปฏิบตั ิตามมติ ครม. (๗ เมษายน ๒๕๕๒ ) เป็ นกรณีพิเศษ โดยให้โอน เปลี่ยนแปลงงบประมาณค่าใช้จ่ายในการส่ งเสริ มการจำาหน่ายผลผลิตของจังหวัดชายแดนภาค ใต้ ๒๑.๙ ล้านบาท ไปเป็ นค่าใช้จ่ายในการยกระดับราคาข้าวเพื่อสร้างความมัน่ คงให้เกษตรกร ๒) อนุมตั ิในหลักการให้องค์การคลังสิ นค้าประสานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตรเพื่อจ่ายเงินสำารองให้องค์การคลังสิ นค้าเป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการรับจำานำาข้าว เปลือกนาปี ๒๕๕๔/๕๕ จำานวน ๑๕ ล้านตัน ๔,๑๙๕.๓๑๙ ล้านบาท ปรากฏตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๔ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๑ และต่ อมาก่ อนทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. จะได้ มขี ้ อเสนอแนะตามหนังสื อ ด่ วนมาก ที่ ปช ๐๐๐๓/๐๑๑๘ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ คณะ รัฐมนตรีได้ มมี ติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ ๑) อนุมตั ิให้ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตรจ่ายเงินสำารองให้องค์การตลาดเพื่อเกษตรกรเป็ นเงินทุนหมุนเวียน ๑๐ ล้านตัน ๓,๘๑๘.๘๑๘ ล้านบาท ปรากฏตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๒


65

การดำาเนินโครงการที่มีข้ นั ตอน กระบวนการทั้งในฝ่ ายผูบ้ ริ หารนโยบาย และใน ฝ่ ายผูป้ ฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ และมติคณะรัฐมนตรี ดงั ที่กล่าวมา จึง เป็ นเหตุผลที่สมควรที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้องให้ความเป็ นธรรมต่อตัวข้าพเจ้าได้เป็ นอย่างดี ว่า การไม่ปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในรู ปแบบและกระบวนการตาม บทบัญญัติรัฐธรรมนูญและหากคำานึงถึงที่มาของนโยบายที่ใช้หาเสี ยงผ่านการเลือกตั้งจึงเป็ นไป ไม่ได้โดยความชอบธรรมที่คณะรัฐมนตรี จะยุติโครงการรับจำานำาข้าวตามข้อเสนอแนะของคณะ กรรมการ ป.ป.ช. นอกจากนี้ ขา้ พเจ้าขอยกตัวอย่างเพื่อความเข้าใจต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่า เพราะเหตุใดเมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีขอ้ เสนอแนะต่อรัฐบาลให้ยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าว เปลือกตามบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาในข้อ ๓ แต่รัฐบาลจำาเป็ นต้องปฏิบตั ิตามสัญญาประชาคมและ นโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา คือ “ การปรับโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ ปรากฏตามหนังสื อกระทรวงพาณิ ชย์ ที่ พณ ๐๔๑๔/๒๑๗๔ ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ เรื่ อง การปรับโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ และ หนังสื อสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๖/๑๖๑๓๔ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ แจ้งมติคณะรัฐมนตรี และผลการประชุมคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๓ จากราคาตันละ ๑๕,๐๐๐ บาท เป็ นราคาตันละ ๑๒,๐๐๐ บาท” รัฐบาลก็ถูกชาวนาเรี ยกร้องพร้อมยืน่ ข้อเสนอทัว่ ประเทศแล้ว ทั้ง ๆ ที่รัฐบาลเห็นว่าการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตั้งแต่ปีการผลิต ๒๕๕๔/๕๕ จนถึงปัจจุบนั ทำาให้เกษตรกรได้รับประโยชน์จากโครงการโดยมีรายได้เพิ ่มขึ้นและมีความเป็ น อยูท่ ี่ดีระดับหนึ่ง จึงเห็นควรกำาหนดราคารับจำานำาให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิต และมีความ ยืดหยุน่ สอดคล้องกับภาวะราคาข้าวในตลาดโลก จึงควรพิจารณากำาหนดราคารับจำานำาข้าว เปลือกให้มีความยืดหยุน่ และสอดคล้องกับสถานการณ์ราคาข้าวในตลาดโลก เพื่อให้การดำาเนิน การรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ สอดคล้องรับกับมติคณะรัฐมนตรี ที่กาำ หนด ปริ มาณการรับจำานำารวมไม่เกิน ๒๒.๐ ล้านตัน และกรอบวงเงินที่ใช้ในการรับจำานำาไม่เกิน ๓๔๕,๐๐๐ ล้านบาท และกำาหนดวงเงินดำาเนินการสิ้ นสุ ด ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ต้องไม่ เกิน ๕๐๐,๐๐๐ ล้านบาท เป็ นวงเงินกูจ้ าำ นวน ๔๑๐,๐๐๐ บาท และเงินทุนของ ธ.ก.ส. จำานวน ๙๐,๐๐๐ ล้านบาท รวมทั้งรักษาวินยั ทางการคลังตามข้อเสนอของกระทรวงการคลัง และ สถานการณ์ภาวะการค้าข้าวในตลาดโลกที่เปลี่ยนแปลงไป จึงจำาเป็ นต้องปรับลดราคารับจำานำา


66

วงเงินรับจำานำาของเกษตรกรแต่ละครัวเรื อน รวมทั้งการกำากับดูแลโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ เห็นชอบให้ปรับราคารับจำานำาข้าวเปลือกเจ้า ๑๐๐% โครงการรับจำานำาข้าว เปลือกปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ จากราคาตันละ ๑๕,๐๐๐ บาท เป็ นราคาตัน ละ ๑๒,๐๐๐ บาท และข้าวเปลือกชนิดอื่นๆ ปรับลด ๒๐% จากราคาที่กาำ หนดไว้เดิม โดยราคาที่ ปรับลดลงใกล้เคียงกับราคาต้นทุน แต่กถ็ ูกชาวนาขู่ ประท้วงทัว่ ประเทศ ปรากฏตามข่ าวที่ นายกสมาคมชาวนาฯ ขู่ ไม่ ได้ จาำ นำาข้ าง ๑๕,๐๐๐ บาท/ตัน ชาวนาประท้ วงทัว่ ประเทศ และ ข่ าวสารสมาคมผู้ส่งออกข้ าวไทยระบุข่าวว่ า “ชาวนาไม่ พอใจและไม่ เห็นด้ วยกับราคาจำานำา ๑๒,๐๐๐ บาท คุ้มต้ นทุนการผลิต ชาวนาโวยตายแน่ ลดราคาจำานำา และผู้นำาฝ่ ายค้ าน “นาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำาฝ่ ายค้ านซึ่งเป็ นผู้กล่ าวหาและยืน่ คำาร้ องถอดถอนข้ าพเจ้ าในคดีนีใ้ นเวลา นั้นให้ สัมภาษณ์ ต่อสื่ อมวลชนว่ าการลดราคาจำานำาเหลือ ๑๒,๐๐๐ บาท กระทบเกษตรกรเป็ นหลัก และระบุว่าคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบเรื่องนีเ้ พราะว่ าแถลงนโยบายแล้ วปฏิบัตไิ ม่ ได้ ก็ต้องมา อธิบายกับสภา ส่ วนตัวมองเรื่องความรับผิดชอบทางการเมือง นายเจษฏ์ โฑณะวณิ ช คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย สยาม กล่าวถึงการปรับลดราคาจำานำาข้าว ซึ่งไม่ตรงกับที่รัฐบาลเคยแถลงนโยบายต่อรัฐสภา ว่า โดยหลักการสามารถปรับเปลี่ยนได้ แต่ตอ้ งชี้แจงกับประชาชนให้เข้าใจ การที่พรรคการเมือง หาเสี ยงไว้ ย่อมถือเป็ นสัญญาประชาคมหากดำาเนินการไปแล้วมีความผิดพลาดและไม่สามารถ ทำาได้ตามสัญญา ในทางการเมืองจำาเป็ นต้องมีผรู ้ ับผิดชอบ เช่น อาจต้องปรับรัฐมนตรี หรื อนายก รัฐมนตรี ตอ้ งแถลงให้ชดั เจน เนื่องจากการเปลี่ยนสาระสำาคัญของโครงการน่าจะทำาให้ ประชาชนจำานวนไม้นอ้ ย ไม่พอใจ (ที่มากรุ งเทพธุรกิจออนไลน์) จากเรื่ องข้างต้นสามารถตอบ ปัญหาต่อการกระทำาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่มีขอ้ เสนอแนะให้รัฐบาลยุติโครงการรับจำานำา ข้าวได้วา่ ๑.ผูน้ าำ ฝ่ ายค้าน(นายอภิสิทธิ์ฯ ) จี้ให้รับผิดชอบทางการเมืองเพราะแถลงนโยบายแล้ว ปฏิบตั ิไม่ได้จึงมีคาำ ถามกลับต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่า ถ้าข้าพเจ้าไม่ปฏิบตั ินโยบายที่แถลงต่อ รัฐสภาคงเป็ นที่เข้าใจได้วา่ ผูน้ าำ ฝ่ ายค้านคงจะดำาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งทั้งทางรัฐธรรมนูญ และกฎหมายเพื่อตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายในการบริ หารราชการแผ่นดินที่ไม่ปฏิบตั ิ ตามนโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภาและในทางการเมืองนายเจษฏ์ฯ นักวิชาการตั้ง คำาถามต่อรัฐบาลในเรื่ องความรับผิดชอบในเรื่ องสัญญาประชาคม และเลือกให้รับผิดชอบ ทางการเมืองจึงมีคาำ ถามในทำานองเดียวกันว่าหากยุติการดำาเนินโครงการตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. รัฐบาลจะรับผิดชอบต่อนโยบายที่ให้สญ ั ญาประชาคมต่อประชาชนใน


67

เวลาหาเสี ยงได้อย่างไร ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งต่อชาวนา ผูน้ าำ ฝ่ ายค้าน นักวิชาการ ที่โต้แย้ง การกระทำาของรัฐบาลแม้รัฐบาลจะมีเจตนาดีในการบริ หารโครงการก็ตาม ทำาให้เข้าใจได้วา่ เมื่อ มีการเริ่ มจัดตั้งคณะรัฐมนตรี และแถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้วมีการเริ่ มกระบวนการดำาเนินการ ตามมติคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติจนกระทัง่ มีมติคณะรัฐมนตรี ออกไปใช้ปฏิบตั ิแล้วจึง ถือว่ากระบวนการตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญมีสภาพบังคับตามกฎหมายแล้ว ดังนั้น ข้ออ้างตามบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาตามหนังสื อสำานักงาน ป.ป.ช. ด่วนมาก ที่ ปช ๐๐๐๓/๐๑๑๘ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ ซึ่งมีขอ้ เสนอแนะภายหลังเวลาจากที่ได้มีมติ ของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ และมติคณะรัฐมนตรี ดงั กล่าวข้างต้นแล้ว จึงไม่ถูกต้อง ด้วยบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๗๖ และ มาตรา ๑๗๘ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการหลัก เกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ เพราะการปฏิบตั ิตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญที่ได้แถลงต่อรัฐสภาและการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี ถือเป็ นสภาพบังคับตาม กฎหมายที่สาำ คัญในอันที่ตอ้ งปฏิบตั ิ ข้าพเจ้าจึงขอให้คณะกรรมการป.ป.ช. ได้โปรดพิจารณา ทบทวนเหตุผลในข้อกล่าวอ้างว่ารัฐบาลไม่ปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะจึงถือเป็ นเหตุผลสำาคัญที่นาำ มาดำาเนินคดีต่อข้าพเจ้าเสี ยใหม่ ด้วยเหตุผลทั้งข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมายดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ข้างต้น ข้ อ ๔. ข้ อกล่ าวหาทีว่ ่ าโครงการรับจำานำาข้ าวเป็ นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่ สร้ างขึน้ เพือ่ ให้ เกิด “การทุจริตเชิงนโยบาย” โดยนำาไปสู่ การทุจริต หรือการแสวงหาประโยชน์ ที่ มิควรได้ โดยชอบด้ วยกฎหมายอันจะก่ อให้ เกิดความเสี ยหายต่ อประเทศชาติในทุกขั้นตอน และ กระบวนการในการดำาเนินโครงการจนถึงขนาดทีไ่ ม่ สมควรทีจ่ ะนำาโครงการรับจำานำาข้ าวมาใช้ เป็ นนโยบายของรัฐบาลหรือไม่ ข้าพเจ้าขอชี้แจงเพื่อหักล้างข้อกล่าวหาในเรื่ องข้างต้น ดังนี้ ๔.๑ การทำางานในรู ปแบบคณะบุคคล โครงการรับจำานำาข้าว มีกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการปฏิบตั ิในรู ป แบบ “คณะบุคคล” ที่เรี ยกว่า “คณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ” มีกรรมการ และผูท้ รง คุณวุฒิหลากหลาย จากหน่วยงานของรัฐ อาทิเช่น จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้แก่ ปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรื อผูแ้ ทน ปลัดกระทรวงมหาดไทยหรื อผูแ้ ทน ปลัดกระทรวง การคลังหรื อผูแ้ ทน ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงพาณิ ชย์ ปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม อธิบดีกรมการค้าภายใน อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ อธิบดีกรมการข้าว


68

เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผูอ้ าำ นวยการสำานักงบประมาณ หรื อผูแ้ ทน ผูท้ รงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยมหิ ดล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น องค์การคลังสิ นค้า องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ำ า ๕๐ คน อีกทั้งยังมีการแต่งตั้งคณะ การเกษตร และกรรมการอื่นอีก รวมแล้วไม่ต่ากว่ อนุกรรมการแต่ละด้านขึ้นมาปฏิบตั ิหน้าที่ไม่วา่ จะเป็ นขั้นตอนการรับจำานำาข้าว หรื อขั้นตอนการ ระบายข้าว จากโครงการสร้างที่มีการทำางานในรู ปคณะบุคคลมีกระบวนการและขั้นตอน การปฏิบตั ิตามแผนผังข้างต้นจึงเป็ นไปไม่ได้เลยที่คณะรัฐมนตรี จะไปดำาเนินการสร้างนโยบาย เพื่อนำาไปสู่การทุจริ ต หรื อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายท่ามกลางการ ปฏิบตั ิหน้าที่ในรู ปของคณะบุคคล อีกทั้งการปฏิบตั ิงานเมื่อเป็ นรู ปคณะบุคคลและมี กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบตั ิหน้าที่ลว้ นแต่ใช้การสัง่ การในรู ปของมติที่ประชุมไม่วา่ จะ เป็ นมติคณะรัฐมนตรี มติคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) มติคณะอนุกรรมการ ระเบียบ และคำาสัง่ ในการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งจัดทำาเป็ นเอกสาร ดังนั้นข้อกล่าวหาในเรื่ องการทุจริ ต เชิงนโยบายจึงเป็ นข้อสมมุติฐาน และการจินตนาการโดยขาดไร้พยานหลักฐานสนับสนุน และ จากบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหา พร้อมพยานเอกสารเท่าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ขา้ พเจ้าตรวจ สอบก็ไม่มีพยานเอกสารใดว่ามีมติคณะรัฐมนตรี คราวใด มติ กขช. ครั้งใด หรื อ มีพยานหลักฐาน การทุจริ ตในขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ตาำ บล อำาเภอ และจังหวัดใด รายงานคณะอนุกรรมการปิ ด บัญชีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. นำามากล่าวอ้างประกอบรายงานสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ไม่ได้ แสดงหลักฐานการทุจริ ตแต่อย่างใด และถือไม่ได้วา่ เป็ นหลักฐานที่บ่งชี้ ถึงการทุจริ ตแต่จะถือ เป็ นหลักฐานที่บ่งบอกถึงความเสี ยหายของโครงการรับจำานำาข้าวที่ถูกต้องแท้จริ งหรื อไม่ ข้าพเจ้าจะได้ช้ ีแจงต่อไป ๔.๒ โครงการรับจำานำาข้ าวมุ่งหมายทีจ่ ะยกระดับรายได้ ชาวนาให้ ทัดเทียมกับการประกอบอาชีพอย่ างอืน่ มิใช่ มุ่งหมายกระทำาการทุจริตหรือการแสวงหา ประโยชน์ ทมี่ คิ วรได้ โดยชอบด้ วยกฎหมายอันจะก่ อให้ เกิดความเสี ยหายแก่ ประเทศชาติ มีการยกประเด็นว่าการประกาศนโยบายที่ให้ผลโดยตรงกับประชาชน เป็ นนโยบายเชิงการตลาดบ้างนโยบายประชานิยมบ้าง แต่พรรคการเมืองที่เข้าสู่กระบวนการ เลือกตั้งยืนหยัดมีนโยบายที่ทาำ งานให้กบั ประชาชน หากนโยบายจำานำาข้าวเป็ นนโยบายประชา


69

นิยม ก็เป็ นนโยบายที่พรรคการเมืองใช้ขณะหาเสี ยงโดยเจตนาต้องการให้ผลประโยชน์ตกอยูก่ บั ประชาชน เช่นเดียวกับนโยบายหลักประกันสุ ขภาพถ้วนหน้า หรื อ กองทุนหมู่บา้ น เท่านั้น คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ซึ่งมีอาำ นาจหน้าที่เสนอ กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขา้ วต่อคณะรัฐมนตรี ท้งั ในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อให้การ จัดการข้าวสอดคล้องกันทั้งระบบและมีการพัฒนาต่อเนื่อง และอนุมตั ิแผนงาน โครงการและ มาตรการเกี่ยวกับการผลิตและการตลาดข้าว ส่ งเสริ มและสนับสนุนการศึกษาวิจยั และพัฒนาเพื่อ เพิ่มคุณภาพ ลดต้นทุน และส่ งเสริ มการผลิตข้าวที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดโลก โดยผ่านกองทุนวิจยั พัฒนาและส่ งเสริ มการผลิตและการตลาด พิจารณาหลักเกณฑ์ และวิธีการ สนับสนุน ช่วยเหลือเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ผูป้ ระกอบการโรงสี และผูส้ ่ งออกข้าว เพื่อ ให้การบริ หารจัดการข้าวทั้งระบบเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ ติดตาม กำากับดูแลการปฏิบตั ิตาม นโยบาย มาตรการ และโครงการที่อนุมตั ิ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำางาน และคณะที่ ปรึ กษา เพื่อดำาเนินการด้านการผลิตการตลาด และการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับข้าว เชิญบุคคลที่ เกี่ยวข้องมาชี้แจงหรื อขอเอกสารหลักฐาน โดยให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานของ ทางราชการให้ความร่ วมมือและสนับสนุนการดำาเนินการของคณะกรรมการ ดำาเนินการอื่นตาม ที่นายกรัฐมนตรี หรื อคณะรัฐมนตรี มอบหมาย ปรากฏตาม คำาสัง่ สำานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๕๓/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๔ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๔ หากหลักการทางกฎหมายที่มีเพื่อวินิจฉัยเจตนาของผูห้ นึ่งผูใ้ ดที่ถูกกล่าวหาให้ รับผิดทางอาญาที่วา่ “กรรมเป็ นเครื่องชี้เจตนา” แล้วจะเห็นได้วา่ ข้าพเจ้าในฐานผูถ้ ูกกล่าวหาได้ แสดงออกโดยชัดแจ้งในการให้นโยบายต่อผูป้ ฏิบตั ิงานในที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าว แห่งชาติ เป็ นเวลาต่อมาภายหลังจากการออกคำาสัง่ ดังกล่าวข้างต้นข้าพเจ้าได้ให้นโยบายต่อที่ ประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ ๑ /๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๔ ดังที่กล่าวมาข้างต้นโดยมีเจตนาให้การดำาเนินการเกิดความสุ จริ ตและโปร่ งใส และเคร่ งครัดในเรื่ องของกระบวนการเพื่อสร้างการตรวจสอบหาใช่สร้างนโยบายเพื่อให้เกิดการ ทุจริ ตแต่อย่างใดตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวหาว่าสร้างนโยบายโครงการรับจำานำาข้าวเพื่อ ให้มีการทุจริ ตเชิงนโยบายเพื่อนำาไปสู่การทุจริ ตหรื อการแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ ด้วยกฎหมายแต่อย่างใดไม่ และเมื่อเป็ นนโยบายเพื่อให้นาำ ไปสู่การปฏิบตั ิทาำ ให้คณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติได้นาำ นโยบายของข้าพเจ้าไปสู่การปฏิบตั ิโดยแสดงออกต่อสาธารณะอย่าง


70

ชัดแจ้งว่า “โครงการรับจำานำาข้าวมีเจตนาทำาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นแน่นอนสร้างอำานาจต่อ รองและเพิ่มทางเลือกให้เกษตรกรยกระดับราคาข้าวให้สูงขึ้ นทั้งระบบราคาส่ งออกข้าวไทยปรับ ตัวสูงขึ้นมีประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมเพื่อความกินดีอยูด่ ีของพี่นอ้ งชาวนาไทย” ปรากฏตามเอกสารรู้ลึกรู้จริ งจำานำาข้าวของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) พยาน เอกสารในลำาดับที่ ๑๕ จากพยานเอกสารได้ระบุในคำานำาของเอกสารชัดแจ้งว่า “กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิ ชย์ ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.)จึงได้จดั เอกสารฉบับนี้ ข้ ึนเพื่อให้เห็นถึงประโยชนที่เกษตรกรจะได้รับจากโครงการรับจำานำาข้าวและให้ ความกระจ่างเกี่ยวกับขั้นตอนในโครงการรับจำานำาข้าวซึ่งมีการวางระบบและมีการติดตามตรวจ สอบที่เข้มงวด โดยเฉพาะอย่างยิง่ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี ๒๕๕๕/๕๖ ที่ได้มีการ ปรับปรุ งและนำามาตรการต่างๆ มาใช้ให้รัดกุมยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ ยงั ได้สรุ ปผลการศึกษาของ สถาบันการศึกษา ซึ่งชี้ถึงความพึงพอใจของเกษตรกร หวังว่าเอกสารนี้ จะสามารถสร้างความ เข้าใจอันดีต่อโครงการรับจำานำาข้าวมากยิง่ ขึ้น ปรากฏตามเอกสารรู้ลึก รู้จริ ง จำานำาข้าวคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ(กขช.) พยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๕ และได้มีการสื่ อสารต่อ สาธารณะและต่อเกษตรกรรวมทั้งเจ้าหน้าที่รัฐทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องรวมทั้งเอกชนให้เข้าใจถึงขั้น ตอนและกระบวนการถึงการดำาเนินโครงการเริ่ มตั้งแต่ (๑)ทำาไมจึงต้องรับจำานำาข้าว (๒) นโยบายการรับจำานำามีเจตนาเพื่อยกระดับราคาสิ นค้าเกษตรและเพิ่มรายได้เกษตรกร และการ ดำาเนินโครงการเป็ นนโยบายเร่ งด่วนของรัฐบาล มีการแจ้งถึงวัตถุประสงค์ของโครงการรับจำานำา ข้าวเปลือก (๓) ขั้นตอนการรับจำานำา เริ่ มตั้งแต่ การออกหนังสื อรับรองการเกษตร การจำานำาข้าว เปลือก ณ จุดรับจำานำา เกษตรกรต้องนำาใบประทวนที่ได้รับไปติดต่อกับธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร การแปรสภาพข้าวเก็บโกดังกลาง การรับมอบข้าวและการเก็บรักษารอ การระบายข้าว การกำากับดูแล (๔)ราคารับจำานำาข้าว ข้าวจะได้ราคาสูงได้ราคาดี ต้องเป็ นข้าวที่มี คุณภาพและได้มาตรฐานถึงจะได้ราคาตามที่กาำ หนดไว้ (๕) ภาพรวมโครงการรับจำานำาข้าว จากข้อมูลข่าวสารที่แสดงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกก็ดี ขั้นตอนและกระบวนการของการดำาเนินโครงการก็ดีลว้ นแต่เป็ นมาตรการที่ป้องกันการทุจริ ต หรื อการแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายทั้งสิ้ น หากโครงการรับจำาข้าวรัฐบาลมีเจตนาพิเศษเพื่อทุจริ ตเชิงนโยบายดังที่คณะกร รมการป.ป.ช.กล่าวหาเพื่อให้เกิดการทุจริ ตแล้วคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติจะสร้างขั้น


71

ตอนและกระบวนการในการรับจำานำาข้าวไปเพื่ออะไรเพราะจะทำาให้ทุจริ ตในขั้นตอนการรับ จำานำาไม่ได้ ในทางตรงกันข้ามจะเห็นได้วา่ จากขั้นตอนการรับจำานำาตามเอกสารที่คณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติได้แสดงออกต่อสาธารณะจะพบว่าขั้นตอนการรับจำานำาและราคารับจำานำา ข้าวรวมทั้งภาพรวมโครงการรับจำานำาข้าวมีการสร้างมาตรการในการกำากับการปฏิบตั ิหน้าที่ของ ผูเ้ กี่ยวข้อง อาทิ เช่น การออกหนังสื อรับรองการเกษตรจะมีการทำาประชาคมที่เรี ยกว่า ๕ เสื อ คือ เกษตรกรที่ข้ ึนทะเบียน กำานัน/ผูใ้ หญ่บา้ น อบต. ผูแ้ ทน ธ.ก.ส. เกษตรตำาบล ปลัดองค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่นและผูแ้ ทนสภาเกษตรกรเป็ นผูต้ รวจสอบการออกหนังสื อรับรองเกษตรกร และการจำานำาข้าวเปลือก ณ จุดรับจำานำา (โรงสี ) จำามีเจ้าหน้าที่กาำ กับ ณ จุดรับจำานำา โดยลูกจ้าง อคส. หรื อ อตก. ตัวแทนเกษตรกร ๓ คน (เดิม ๒ คน) ตัวแทนภาพราชการ ๑ คน เจ้าหน้าที่ ตำารวจ ๒ คน (เดิมไม่มี) และจุดรับจำานำาต้องมาการติดกล้อง CCTV เกษตรกรต้องนำาใบประทวนที่ได้รับไปติดต่อกับ ธ.ก.ส. สาขาที่เกษตรกรเป็ น ลูกค้าและทำาสัญญากูเ้ งิน โดยจำานำาใบประทวนเป็ นประกัน และ ธ.ก.ส. ต้องจ่ายเงินให้เกษตรกร ภายใน ๓วันทำาการนับแต่วนั ทำาสัญญาและชาวนาได้เงินโดยตรงจาก ธ.ก.ส. โดยไม่ผา่ นผูใ้ ด ใน เรื่ องการแปรสภาพข้าวเก็บโกดังกลางโรงสี ตอ้ งแปรสภาพตามคำาสัง่ อคส. หรื อ อ.ต.ก. และส่ ง มอบข้าวที่มีคุณภาพได้มาตรฐานกระทรวงพาณิ ชย์เข้าโกดังกลางตามเวลาที่กาำ หนด ในเรื่ องการ รับมอบข้าวและการเก็บรักษารอการระบายโดยบริ ษทั ตรวจสอบคุณภาพข้าวต้องรับผิดชอบ คุณภาพข้าวให้ได้มาตรฐานตามที่กาำ หนด และสุ ดท้ายมีการกำากับดูแลติดตามตรวจสอบทั้ง ระบบตลอดโครงการทุกขั้นตอนเพื่อให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาำ หนด ซึ่งรายละเอียดปรากฏ ตามพยานเอกสารลำาดับที่ ๑๕ ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พฤติการณ์ที่ปรากฏเห็นได้วา่ คณะบุคคลที่ร่วมการงานในคณะกรรมการนโยบาย ข้าวแห่งชาติ (กขช.) ก็ได้สร้างมาตรการและหลักเกณฑ์ เพื่อมิให้มีการทุจริ ตหรื อแสวงหา ประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้น ข้อกล่าวหาว่านโยบายโครงการรับจำานำาข้าว เป็ นปัญหาการทุจริ ตเชิงนโยบายในส่ วนของขั้นตอนและกระบวนการในการดำาเนินโครงการจึง ไม่ถูกต้องเพราะหากมีบุคคลหรื อคณะบุคคลใดมีเจตนาพิเศษในทางอาญาที่จะมีเจตนาทุจริ ต หรื อการแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายแล้วจะไปสร้างขั้นตอนและ กระบวนการในการปฏิบตั ิหน้าที่เพื่อมิให้เกิดการทุจริ ตหรื อประพฤติผดิ ต่อหน้าที่ในการรับ จำานำาหรื อการระบายข้าวแต่ประการใด


72

นอกจากที่คณะรัฐมนตรี โดยข้าพเจ้าจะได้มีคาำ สัง่ สำานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๕๓/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๓ เพื่อดำาเนินการตามอำานาจหน้าที่ตามที่กล่าวมาข้างต้น และคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่ง ชาติได้สร้างขั้นตอนและกระบวนการดังกล่าวมาตามพยานเอกสารเรื่ องรู้ลึก รู้จริ ง จำานำาข้าว พยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๔ และเพื่อการกำากับ ควบคุม ดูแลโครงการรับจำานำาข้าวให้เป็ นไป ด้วยความเรี ยบร้อยและมีประสิ ทธิภาพข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรี มีเจตนาเพื่อป้ องกันความ เสี ยหาย ให้เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย และเกิดประโยชน์สูงสุ ด ในการดำาเนินการโครงการรับ จำานำาข้าว ข้ าพเจ้ าในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ จึงได้ มคี าำ สั่ งคณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติแต่ งตั้งคณะอนุกรรมการในด้ านต่ างๆ เพือ่ ดำาเนินงานของ คณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติขนึ้ หลายคณะเพือ่ ให้ เกิดการ ตรวจสอบ กำากับ ควบคุม ดูแล งานในโครงการรับจำานำาข้ าวอย่ างใกล้ ชิด ทั้ง ๆทีง่ านบางด้ านไม่ เคยมีการตั้งคณะอนุกรรมการ โดยเฉพาะมาก่ อน ข้ าพเจ้ าก็ได้ มกี ารจัดตั้งคณะอนุกรรมการโดยเฉพาะขึน้ เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพ ดังนี้ ๑.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติดา้ นการผลิต เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๔ ปรากฏ ตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๖ ๒. คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๒/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติดา้ นการตลาด เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๔ ปรากฏ ตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๗ ๓.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๓/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการติดตามกำากับดูแลการรับจำานำาระดับจังหวัด เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๔ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๑๘ ๔.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๔/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการกำากับดูแลการรับจำานำาข้าว เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๔ ปรากฏตามพยาน เอกสารในลำาดับที่ ๑๙


73

๕.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๕/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการพิจารณาระบายข้าว เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๔ ปรากฏตามพยานเอกสาร ในลำาดับที่ ๒๐ ๖.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๖/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการตรวจสอบและติดตามการรับจำานำาข้าว เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๔ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๑ ๗. คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๗/๒๕๕๔ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการระบายข้าวผ่านตลาดสิ นค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย(AFET) เมื่อวันที่ ๒๒พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๒ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ในการดำาเนินการโครงการรับจำานำาข้าวข้าพเจ้า ได้มีคาำ สัง่ สำานักนายกรัฐมนตรี ปรับปรุ งและแต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการนโยบายข้าว แห่งชาติ เพิ่มเติม และคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติได้นาำ เสนอข้าพเจ้าในฐานะประธาน คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติเพื่อแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นอีกหลายคณะเพื่อให้เกิด ประสิ ทธิภาพและสามารถดำาเนินงานโครงการรับจำานำาข้าวให้เป็ นไปโดยความเรี ยบร้อย ดังนี้ ๑.คำาสัง่ สำานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๔๒/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ งและแต่งตั้ง กรรมการในคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (เพิ่มเติม) เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๓ ๒.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ ง และแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติดา้ นการผลิต (เพิ่มเติม) เมื่อ วันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๔ ๓.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๒/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ ง และแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติดา้ นการตลาด (เพิ่มเติม) เมื่อ วันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๕ ๔.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๓/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ ง และแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการกำากับดูแลการรับจำานำาข้าว (เพิ่มเติม) เมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๖


74

๕.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๔/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ ง และแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการพิจารณาระบายข้าว (เพิ่มเติม) เมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๗ ๖.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๕/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ ง และแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการตรวจสอบและติดตามการรับจำานำาข้าว (เพิ่มเติม) เมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๒๘ ๗. คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๖/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ ง และแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการระบายข้าวผ่านตลาดสิ นค้าเกษตรล่วงหน้าแห่ง ประเทศไทย(AFET) (เพิ่มเติม) เมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารใน ลำาดับที่ ๒๙ ๘.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๗/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ ง และแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการติดตามกำากับดูแลการรับจำานำาระดับจังหวัด (เพิ่ม เติม) เมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๐ ๙.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๘/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการติดตามกำากับดูแลการรับจำานำาข้าวกรุ งเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๑ ๑๐.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๙/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล เมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๒ ซึ่งคณะอนุกรรมการคณะนี้ ถือ เป็ นคณะอนุกรรมการเฉพาะด้านแยกมาจากคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าว เปลือกและพืชผลการเกษตรซึ่งไม่เคยมีการตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะโครงการปิ ดบัญชี โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกโดยเฉพาะตามที่กล่าวมา ๑๑.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑๐/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการกำากับดูแลการรับจำานำาข้าว เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยาน เอกสารในลำาดับที่ ๓๓ ๑๒.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑๑/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่ง ตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบและติดตามการรับจำานำาข้าว เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๔


75

๑๓.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑๒/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่ง ตั้งคณะอนุกรรมการติดตามกำากับดูแลและให้ความเป็ นธรรมแก่เกษตรกร ณ จุดรับจำานำา เมื่อ วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๕ ๑๔.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑๓/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่ง ตั้งคณะอนุกรรมการกำากับดูแลสัง่ สี แปรสภาพและการส่ งมอบข้าวสารเข้าโกดังกลาง เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๖ ๑๕.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑๔/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่ง ตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำาบัญชีหมุนเวียนและกรอบวงเงินสิ นเชื่อที่เหมาะสมสำาหรับการดำาเนิน โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ปรากฏ ตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๗ ๑๖.คำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่ ๑๕/๒๕๕๕ เรื่ อง ปรับปรุ งและแต่งตั้งอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการติดตามกำากับดูแลการรับจำานำาระดับ จังหวัด(เพิ่มเติม) เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๓๘ จากการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อกำากับ ควบคุม ดูแล ตรวจสอบดัง กล่าวข้างต้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ และปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติกไ็ ด้เสนอแต่งตั้งคณะทำางานในโครงการรับจำานำาข้าวเพื่อปฏิบตั ิงานเฉพาะ ด้านเพื่อการตรวจสอบที่ชดั เจนขึ้นอีก ซึ่งข้าพเจ้าเห็นว่าข้อเสนอของกรรมการนโยบายข้าวแห่ง ชาติเป็ นไปเพื่อประโยชน์ของทางราชการ และเพื่อป้ องกันความเสี ยหายรวมทั้งตรวจสอบข้อ เท็จจริ งของข้อมูลปริ มาณข้าวคงเหลือขององค์การคลังสิ นค้า และองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ปรากฏตามคำาสัง่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ที่ ๑/๒๕๕๖ เรื่ อง แต่งตั้งคณะทำางาน ตรวจสอบข้อเท็จจริ งและข้อมูลปริ มาณข้าวคงเหลือขององค์การคลังสิ นค้าและองค์การตลาด เพื่อเกษตรกร เมือ่ วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ ภายหลังเวลาเพียงเล็กน้อยที่นางสาวสุ ภา ปิ ยะจิต ติ ได้จดั ทำารายงานตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่วนที่สุดที่ กค ๐๒๐๑/๘๐๘๑ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ โดยมีตวั แทนของสำานักงานตำารวจแห่งชาติคือ พลตำารวจเอกวรพงษ์ ชิวปรี ชา รองผูบ้ ญั ชาการตำารวจแห่งชาติและประธานอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้า เปลือกตามนโยบายรัฐบาลเป็ นคณะทำางาน โดยมีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง (พล ตำารวจตรี ธวัช บุญเฟื่ อง) เป็ นประธานคณะทำางาน ปรากฏตามพยานเอกสารคำาสัง่ คณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ที่ ๑/ ๒๕๕๖ พยานเอกสารลำาดับที่ ๓๙


76

ข้ าพเจ้ าขออ้ างพยานบุคคลราย พลตำารวจเอกวรพงษ์ ชิวปรีชา รองผู้ บัญชาการตำารวจแห่ งชาติ และพลตำารวจตรีธวัช บุญเฟื่ อง เพือ่ นำาสื บหักล้ างบันทึกแจ้ งข้ อกล่ าว หาในประเด็นความไม่ ถูกต้ องของรายงานผลการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาผลิตผลการเกษตร รวมถึงการรับจำานำาข้ าวเปลือกของรัฐบาล และแจ้ งให้ ข้าพเจ้ าทราบในฐานะประธานคณะ กรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ ตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค ๐๒๐๑/ ๘๐๘๑ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ตามบันทึกแจ้ งข้ อกล่ าวหาในข้ อ ๓ หน้ าที่ ๕ ในประเด็น ข้ าวมิได้ สูญหายจากโกดัง และการกักเก็บข้ าวไม่ เป็ นไปตามรายงานผลการปิ ดบัญชีโครงการรับ จำานำาของนางสุ ภา ปิ ยะจิตติ และชี้แจงถึงผลการตรวจสอบของคณะทำางานต่ อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพือ่ ให้ รับทราบข้ อมูลทีถ่ ูกต้ อง แท้ จริง ไม่ เป็ นเท็จ พยานบุคคลในลำาดับที่ ๓ และ ๔ พฤติการณ์การแสดงออกของคณะบุคคลได้แก่ คณะกรรมการนโยบาย ข้าวแห่งชาติ นำาเสนอข้าพเจ้าในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เพื่อให้ ข้าพเจ้ามีคาำ สัง่ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหลายคณะจำานวนมากดังกล่าวข้างต้น ทั้งในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ และปี พ.ศ.๒๕๕๕ ต่อเนื่องถึงปี พ.ศ.๒๕๕๖ เพื่อกำากับ ควบคุม ดูแล งานในแต่ละด้าน ซึ่งข้าพเจ้าเองในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติกม็ ีเจตนาให้การดำาเนินการ ในโครงการรับจำานำาข้าวเป็ นไปเพื่อชาวนาและประโยชน์ต่อทางราชการเป็ นสำาคัญจึงได้มีคาำ สั ง่ แต่งตั้งอนุกรรมการดังกล่าวข้างต้นให้มีการปฏิบตั ิหน้าที่ในโครงการรับจำานำาข้าวเพื่อสร้าง กระบวนการตรวจสอบติดตามควบคุมกำากับดูแลงานในแต่ละด้านมีความชัดเจน ป้ องกันความ เสี ยหายและเมื่อมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการในแต่ละด้านตามที่ได้กล่าวข้างต้นคณะ อนุกรรมการในแต่ละด้านก็ได้ดาำ เนินการในส่ วนที่เกี่ยวข้องตามอำานาจหน้าที่ของคณะ อนุกรรมการแต่ละฝ่ ายเพื่อระงับยับยั้งมิให้การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเกิดความเสี ยหาย ซึ่ง เป็ นทางตรงกันข้ามกับสิ่ งที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวหาต่อตัวข้าพเจ้าว่ามีพฤติการณ์ที่ไม่ ระงับยับยั้งการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวจนเกิดความเสี ยหาย โดยเฉพาะประการที่สาำ คัญข้าพเจ้าในฐานะผูถ้ ูกกล่าวหาจำาเป็ นต้องชี้ แจง เพื่อขอความเป็ นธรรมในเรื่ องคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตาม นโยบายของรัฐบาลที่ได้มีการรายงานผลการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาผลิตผลการเกษตรรวมถึง การรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาลรวม ๒ ครั้ง คือ ครั้งที่ ๑ ตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๒๐๑/ ล.๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ว่าโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก นาปี ปี ๒๕๕๔/๕๕ มีผลขาดทุนสุ ทธิ ๓๒,๓๐๑.๐๐ ล้านบาท รวมข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ


77

และ ครั้งที่ ๒ ตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๒๐๑/ ๘๐๘๑ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ว่า โครงการรับจำานำาข้าวนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ โครงการรับจำานำาข้าว นาปรัง ปี ๒๕๕๕ และโครงการรับจำานำาข้าวนาปี ปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ มีผลขาดทุนรวม ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้านบาท ว่าการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาในข้อ ๓ และข้อ ๔ โดยกล่าวอ้างถึงรายงานของคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ตามนโยบายของรัฐบาล เป็ นพยานเอกสารที่สาำ คัญเพื่อกล่าวหาต่อตัวข้าพเจ้าในทำานองว่าเมื่อ ข้าพเจ้าได้รับรายงานเรื่ องผลการดำาเนินโครงการที่ผา่ นมาว่ามีการขาดทุน ถึง ๒ แสนล้านบาท สร้างความเสี ยหายต่อเงินงบประมาณแผ่นดิน มีความเสี่ ยงต่อระบบการคลังของประเทศ แทนที่ ข้าพเจ้าจะระงับยับยั้งโครงการรับจำานำาข้าว กลับยืนยันที่จะดำาเนินโครงการต่อไปอันจะก่อให้ เกิดความเสี ยหายแก่ทางราชการมากขึ้นไปเรื่ อย ๆ พฤติการณ์ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. นำารายงานดังกล่าวข้างต้นของคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ รวม ๒ ครั้ง มาเป็ นพยานสำาคัญกล่าวหาข้าพเจ้าดังกล่าวข้างต้นนั้น ยังมี ข้อไม่สมบูรณ์ของการรับฟังพยานเอกสารเพื่อนำามากล่าวหาข้าพเจ้าโดยพิจารณาแต่ “ผลของ การจัดทำารายงาน” เท่านั้น ซึ่งจะถูกต้องแท้จริ งหรื อไม่ขา้ พเจ้าจะได้ช้ี แจงต่อไปว่าผลของการ จัดทำารายงานมีขอ้ ไม่สมบูรณ์และไม่ถูกต้องอย่างไรในการจัดทำารายงานในแต่ละประเด็นของ รายงานทั้ง ๒ ครั้ง อาทิเช่น เรื่ องการสรุ ปภาระหนี้ สินถูกต้องหรื อไม่เป็ นต้น แต่ก่อนจะถึงเรื่ อง ดังกล่าวข้าพเจ้าขอความเป็ นธรรมและขอทำาความเข้าใจต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้พิจารณาถึง ข้อไม่สมบูรณ์ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่ได้พิจารณาถึง คือ “เหตุของการจัดให้ มคี ณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้ าวฯ” ว่าเป็ นเจตนาที่ดีของคณะกรรมการนโยบายข้าว แห่งชาติที่ได้เห็นชอบให้แต่ต้ งั คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตาม นโยบายรัฐบาลตามข้อเสนอของกระทรวงการคลังโดยมีปลัดกระทรวงการคลังเป็ นประธาน อนุกรรมการมิใช่รองปลัดกระทรวงการคลัง(นางสาวสุ ภา ปิ ยะจิตติ) ให้มีหน้าที่พิจารณาบริ หาร จัดการเงินกูจ้ นกว่าจะชำาระเสร็ จและสรุ ปภาระหนี้ สิน ได้แก่ เงินต้น ดอกเบี้ย และค่าใช้จ่ายต่าง ๆที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวฯ รวมทั้งกำาหนดแนวทางจัดหาเงินทุนเพื่อชำาระ หนี้คืนให้แก่ ธ.ก.ส. ซึ่งไม่เคยมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก มาก่อนหน้านี้ เพราะก่อนหน้าคงมีคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวโดยรวมถึง ผลิตผลการเกษตรในเรื่ องอื่นด้วย แต่คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติเห็นชอบตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ เพราะเพื่อให้การตรวจสอบมีความชัดเจน หากคณะกรรมการนโยบาย


78

ข้าวแห่งชาติหรื อข้าพเจ้ามีเจตนาทุจริ ตเชิงนโยบายตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวหาจริ งแล้ว คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติหรื อข้าพเจ้าจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ โครงการ รับจำานำาข้าวโดยแยกบัญชีการดำาเนินการในเรื่ องข้าวออกจากผลิตผลการเกษตรในเรื่ องอื่นทำาไม ซึ่งผิดกับพฤติการณ์ของผูท้ ี่มีเจตนาพิเศษในอันที่จะก่อการทุจริ ตหรื อการแสวงหาประโยชน์ที่มิ ควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะการแยกบัญชีเพื่อให้เกิดความชัดเจนและอำานาจหน้าที่ที่ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ และข้าพเจ้ามีคาำ สัง่ ตั้งคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ก็เพราะ ต้องการตรวจสอบให้เกิดความชัดเจนถึงภาระหนี้ สินของโครงการอันได้แก่ เงินต้น ดอกเบี้ย และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล รวมทั้ง กำาหนดแนวทางการจัดหาเงินทุนเพื่อชำาระหนี้ คืนให้แก่ ธ.ก.ส. คณะกรรมการ ป.ป.ช. หากพิจารณาถึงเหตุของการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ ดังกล่าวแล้วจะพบว่าแท้จริ งแล้ว พฤติการณ์ดงั กล่าวข้างต้นของข้าพเจ้าได้แสดงออกชัดแจ้งว่าข้าพเจ้าประสงค์จะระงับยับยั้ง การกระทำาใด ๆที่จะทำาให้เกิดการทุจริ ตและความเสี ยหายในทุกขั้นตอนและทุกกระบวนการใน การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าว เพื่อมิให้นาำ ไปสู่การทุจริ ตหรื อการแสวงหาประโยชน์ที่มิควร ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ข้าพเจ้าขอให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาถึงความตั้งใจและเจตนาที่ดี ของข้าพเจ้าเพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมด้วย และในเรื่ องนี้มีขอ้ สังเกตว่าบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาใน ข้อ ๓ ที่มีขอ้ ความว่า “พบว่าการดำาเนินการตามโครงการได้ก่อให้เกิดปัญหาด้านต่างๆ อย่าง มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาทุจริ ตเชิงนโยบายและในส่ วนของขั้นตอนและกระบวนการ ในการดำาเนินโครงการตามหนังสื อของสำานักงาน ป.ป.ช. ที่ ๐๐๐๓/๐๑๙๘ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ นั้น ไม่ปรากฏว่ารายงานของคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ที่รายงานตามหนังสื อ กระทรวงการคลัง ลับ ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๒๐๑/ล.๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ และหนังสื อ กระทรวงการคลัง ลับ ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๒๐๑/๘๐๘๑ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ไม่ ปรากฏในรายงานว่ามีการตรวจพบการทุจริ ตในส่ วนของขั้นตอนและกระบวนการใดในการ ดำาเนินโครงการ ดังนั้น การรายงานของหนังสื อดังกล่าวข้างต้นทั้ง ๒ ครั้ง จึงมิใช่พยานหลักฐาน ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. อ้างว่าเป็ นปัญหาการทุจริ ตเชิงนโยบายแต่อย่างใด ข้ อ ๕. การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกมิใช่ เป็ นกรณีทคี่ ณะรัฐมนตรีชุ ดนี้ กำาหนดนโยบายขึน้ ใหม่ แต่ เป็ นการดำาเนินโครงการทีม่ มี านานเพือ่ มีเจตนาพิเศษให้ เกิดการ ทุจริตเชิงนโยบาย ในส่ วนของขั้นตอนและกระบวนการในการดำาเนินโครงการแต่ อย่ างใด แต่


79

การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกเป็ นโครงการทีเ่ กิดขึน้ มาก่ อนหน้ ารัฐบาลทีผ่ ู้ถูกกล่ าวหา จะเข้ ามาบริหารราชการแผ่นดิน และรัฐบาลนีเ้ ห็นว่ าเป็ นโครงการทีด่ จี งึ ได้ มกี ารปรับเปลีย่ น หลักเกณฑ์ การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือก ในอันทีจ่ ะยกระดับรายได้ และชีวติ ความเป็ น อยู่ทดี่ ขี นึ้ ของชาวนามาดำาเนินการในรัฐบาลนีใ้ หม่ มิใช่ มเี จตนาพิเศษเพือ่ ให้ เกิดการทุจริตเชิง นโยบาย ดังนี้ ๕.๑ เมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๒๙ ได้มีคณะกรรมการนโยบาย แทรกแซงข้าวและยกระดับราคาข้าว (กรข.) เป็ นผูก้ าำ หนดนโยบายช่วยเหลือต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็ น คณะกรรมการนโยบายข้าว (กนข.) มีอาำ นาจหน้าที่เสนอแนวนโยบายและมาตรการข้าว ตลอด จนควบคุม ประสานงาน และแก้ไขปัญหาการปฏิบตั ิตามนโยบายมาตรการที่กาำ หนด โดยเริ่ มใช้ ำ ผคู ้ า้ ข้าว นโยบายรับจำานำาข้าวเปลือก วงเงิน ๕,๐๐๐ ล้านบาท และให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่าแก่ เปลือก (ธปท.) โครงการของกระทรวงมหาดไทย กองทัพบก กองทัพเรื อ กองทัพอากาศ มีนโย บายเร่ งรัดการส่ งออก แทรกแซงตลาดข้าวสารของกระทรวงพาณิ ชย์ ที่บางปี มีการแทรกแซงซื้ อ เก็บไว้ถึง ๑ ล้านตันและให้ ธ.ก.ส. รับจำานำาข้าวเปลือก และการดำาเนินการดังกล่าว ได้ดาเนิน การต่อเนื่องถึงปี การเพาะปลูก ๒๕๓๓/๓๔ นับว่าประสบผลสำาเร็ จด้วยดี และแก้ไขปัญหาข้าวที่ เป็ นนโยบายของชาติ ๕.๒ การดำาเนินการรับจำานำา ได้มีการดำาเนินการมาตั้งแต่ปี ๒๕๓๗/๓๘ โดย ธ.ก.ส. เป็ นผูด้ าำ เนินการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปี ซึ่ง อคส. และ อ.ต.ก. เข้ามาร่ วมดำาเนิน การด้วย และเริ่ มรับจำานำาข้าวเปลือกนาปรังมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ และดำาเนินการรับจำานำาทั้งข้าว เปลือกนาปี และนาปรัง มาจนถึง ปี ๒๕๕๑/๕๒ (อ.ต.ก. ไม่ได้รับจำานำานาปรังปี ๒๕๔๗ – ๒๕๕๐) และดำาเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปี ๒๕๓๗/๓๘ – ๒๕๔๓/๔๔ ปี ๒๕๕๑/๕๒ – ๒๕๕๒/๕๓ ได้ปรับเปลี่ยนมาใช้โครงการประกันราย ได้เกษตรกรผูป้ ลูกข้าว ปี ๒๕๕๒/๕๓ และปี ๒๕๕๓/๕๔ ๕.๓ ปี การผลิต ๒๕๕๔/๕๕ รัฐบาลใหม่ดาำ เนินการ โดยนายกรัฐมนตรี (น.ส. ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร) ได้ดาำ เนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ทั้งนาปี และนาปรัง กลับมา ดำาเนินการใหม่ โดยมีคาำ สัง่ สำานักนายกรัฐมนตรี แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เมื่อ วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๔ โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธานกรรมการ มีรัฐมนตรี วา่ การ กระทรวงพาณิ ชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงการคลัง เป็ นรองประธาน


80

กรรมการทำาหน้าที่เสนอกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขา้ ว เสนอแผนงาน โครงการและ มาตรการเกี่ยวกับการผลิตและการตลาดข้าวเปลือก พิจารณาหลักเกณฑ์ วิธีการสนับสนุน ปริ มาณที่รับจำานำา ช่วยเหลือเกษตรกร สถาบัน เกษตรกร ผูป้ ระกอบการโรงสี ผูค้ า้ และผูส้ ่ ง ออกข้าว เพื่อให้การบริ หารจัดการข้าวทั้งระบบเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ ๕.๔ หน่วยงานที่ดาำ เนินการรับจำานำาโครงการรับจำานำาประกอบด้วย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมส่ งเสริ มการเกษตร รับขึ้นทะเบียน และการทำาประชาคม อคส./อ.ต.ก. กำากับดูแลการรับจำานำาให้เป็ นไปตามคุณภาพ ชนิด และ ำ ก วัดความชื้น ปริ มาณข้าวเปลือกจัดเตรี ยมเจ้าหน้าที่ประจำาจุดรับจำานำา กำากับดูแลการชัง่ น้าหนั และสิ่ งเจือปน และออกใบประทวนให้เกษตรกรภายใน ๓ วัน ธ.ก.ส. รับขึ้นทะเบียนเกษตรกรเป็ นลูกค้า ธ.ก.ส. ตรวจสอบการใช้สิทธิ์ เกษตรกรให้เป็ นไปตามหนังสื อรับรองและใบประทวน จัดทำาสัญญา และจ่ายเงินให้เกษตรกร ภายใน ๓ วัน กระทรวงมหาดไทย กำากับดูแลการทำางานของคณะอนุกรรมการติดตาม กำากับดูแลการรับจำานำา คณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด กำากับดูแลการออกหนังสื อรับรอง เกษตรกรเพื่อป้ องกันการทุจริ ต รับรองโรงสี /โกดังกลาง จัดเกรดโรงสี /โกดังกลาง ที่จะเข้าร่ วม โครงการ ดูแลและแก้ไขปัญหาการรับจำานำาในพื้นที่ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ เพิ่มความถี่ในการ สุ่ มตรวจสอบเป็ นระยะๆ และประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรทราบเรื่ องการฉ้อโกง และการแอบ อ้างของโรงสี กระทรวงพาณิ ชย์ กำากับดูแล ตรวจสอบ และแก้ไขปัญหา การรับจำานำาให้ ลุล่วงไปด้วยดี คณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ ได้ มกี ารแต่ งตั้งคณะอนุกรรมการเพิม่ ขึน้ เพือ่ ให้ มกี ารรับจำานำาทีร่ ัดกุม และมีประสิ ทธิภาพเพิม่ มากขึน้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้


81

คณะอนุกรรมการชุ ดเดิม - คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติดา้ นการผลิต - คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติดา้ นการตลาด - คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติระดับจังหวัด - คณะอนุกรรมการดาเนินการรับจำานำาข้าวเปลือก - คณะอนุกรรมการพิจารณาระบายข้าวสาร - คณะอนุกรรมการกำาหนดราคาอ้างอิงโครงการประกันราย ได้เกษตรกรผูป้ ลูกข้าว - คณะอนุกรรมการดำาเนินการกำากับดูแลการแทรกแซง ตลาดรับซื้อข้าวเปลือกของรัฐบาล

คณะกรรมการชุ ดใหม่ - คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่ งชาติดา้ นการผลิต - คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่ งชาติดา้ นการตลาด - คณะอนุกรรมการติดตามกำากับดูแลการรับจำานำาระดับ จังหวัด - คณะอนุกรรมการกำากับดูแลการรับจำานำาข้าว - คณะอนุกรรมการพิจารณาระบายข้าว - คณะอนุกรรมการตรวจสอบและติดตามการรับจำานำา ข้าว - คณะอนุกรรมการระบายข้าวผ่านตลาดสิ นค้าเกษตร ล่วงหน้าแห่ งประเทศไทย - คณะอนุกรรมการติดตามกำากับดูแลการรับจำานำาข้าว กรุ งเทพมหานคร - คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ตามนโยบายรัฐบาล - คณะอนุกรรมการติดตามกำากับ ดูแล และให้ความเป็ น ธรรมแก่เกษตรกร ณ จุดรับจำานำา - คณะอนุกรรมการกำากับดูแลการสัง่ สี แปรสภาพ และ การส่ งมอบข้าวสารเข้าโกดังกลาง - คณะอนุกรรมการจัดทำาบัญชีหมุนเวียนและกรอบวงเงิน สิ นเชื่อ ที่เหมาะสม สาหรับการดำาเนินโครงการรับจำานำา ข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล - คณะทำางานตรวจสอบข้อเท็จจริ งและปริ มาณข้าวคง เหลือของ อคส. และ อ.ต.ก. - คณะอนุกรรมการบริ หารการนำาเข้าข้าวภายใต้เขตการ ค้าเสรี อาเซียน

การปรับเปลีย่ นหลักเกณฑ์ การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกปี ๒๕๕๕/๕๖ กับ ๒๕๕๖-๕๗ หลักเกณฑ์ /เงื่อนไข การขึน้ ทะเบียน

โครงการปี ๕๕/๕๖ - ไม่ได้กาำ หนดระยะเวลา

โครงการปี ๕๖/๕๗ - กำาหนดระยะเวลาการใช้หนังสื อ


82

เกษตรกร - การออกหนังสื อรับรอง เกษตรกร

หลักเกณฑ์ การรับจำานำา - การเข้าร่ วมโครงการของโรงสี

- ระยะเวลาการเปิ ดจุดรับจำานำา นอกพื้นที่

- ระยะเวลารับจำานำา

- เจ้าหน้าที่ประจำาจุด

การใช้หนังสื อรับรอง

รับรองเกษตรกรนับจากวันเก็บเกี่ยว ที่ระบุในหนังสื อรับรอง ๑) จำานำาใบประทวนก่อนหรื อหลัง ๓๐ วัน ๒) จำานำายุง้ ฉางเกษตรกรก่อนหรื อ หลัง ๖๐ วัน (เพื่อป้ องกัน การขายสิ ทธิ์ หนังสื อรับรอง การนำา กลับมาใช้หลายครั้ง ป้ องกัน การสวมสิ ทธิ์ เกษตรกร) - จะต้องติดตั้งกล้องวงจรปิ ดไว้ใน - เพิ่มการติดตั้งกล้องวงจรปิ ดอย่าง ำ ก การ บริ เวณที่สามารถบันทึกภาพการ น้อย ๓ จุด ได้แก่ การชัง่ น้าหนั รับจำานำาข้าวจากเกษตรกรอย่าง วัดความชื้นและสิ่ งเจือปน และจุดที่ ำ ก เจ้าหน้าที่ประจำาจุดรับจำานำาปฏิบตั ิ น้อย ๒ จุด ได้แก่ การชัง่ น้าหนั การวัดความชื้นและสิ่ งเจือปน งาน (เพื่อสามารถติดตามการปฏิบตั ิ รวมทั้งจุดอื่นๆที่สามารถดำาเนิน งานของเจ้าหน้าที่ประจำาจุดรับจำานำา การได้ ได้) - ไม่กาำ หนดระยะเวลาในการเปิ ด - ให้เปิ ดจุดรับจำานำานอกพื้นที่ได้ไม่ จุดรับจำานำานอกพื้นที่ จะอยูใ่ น เกิน ๓๐ วัน ถ้าจะให้เปิ ดเกินกว่าที่ ช่วงผลผลิตออกสู่ตลาดมากหรื อ กำาหนดให้คณะอนุกรรมการระดับ ในพื้นที่ไม่มีโรงสี หรื อมีนอ้ ย จังหวัด เสนอเหตุผลความจำาเป็ น แจ้งฝ่ ายเลขานุการ กขช. เพื่อเสนอ คณะอนุกรรมการกำากับดูแลการรับ จำานำาข้าวพิจารณาต่อไป (เพื่อ ป้ องกันการทุจริ ตการสวมสิ ทธิ์ เกษตรกร และมีภาระค่าใช้จ่ายของ จุดรับจำานำา) - กำาหนด ระยะเวลารับจำานำาทุก - ให้รับจำานำาทุกวันไม่เว้นวันอาทิตย์ วันเว้นวันอาทิตย์ เวลารับจำานำา ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ –๑๘.๐๐ น. เพื่อ ๐๘.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. อำานวยความสะดวกและให้ความ เป็ นธรรมแก่เกษตรกรที่นาข้าว เปลือกมาจำานำา - ผูช้ ่วยปฏิบตั ิงาน อคส./อ.ต.ก. - เจ้าหน้าที่ประจาจุดเหมือนเดิม แต่


83

\๒ คน เจ้าหน้าที่ตาำ รวจ ๒ คน ข้าราชการ ๑ คน และตัวแทน เกษตรกร ๓ คน โดยตัวแทน เกษตรกรมอบหมายให้คณะ อนุกรรมการระดับจังหวัด ธ.ก.ส. และ กสก. ในระดับพื้นที่ เป็ นผูค้ ดั เลือก

ตัวแทนเกษตรกร ๓ คน ให้ผแู ้ ทน สมาคมชาวนาข้าวไทย สมาคมส่ ง เสริ มชาวนาไทย สมาคม ชาวนาและเกษตรกรไทย และสภา เกษตรกรแห่ งชาติ เป็ นผูค้ ดั เลือก - เจ้าหน้าที่ประจาจุดทุกคนต้องมี ซึ่ง รู ปถ่ายและเบอร์ โทรศัพท์ปิด ประกาศไว้ที่บริ เวณโรงสี ให้เห็น ชัดเจน - การสี แปรสภาพข้าวเปลือก และ - ให้โรงสี สี แปรสภาพข้าว - ให้โรงสี สีแปรสภาพข้าวเปลือกทุก การกำาหนดอัตราส่งมอบ เปลือกทุก ๗ วัน ในอัตราร้อยละ ๗ วัน ในอัตราร้อยละ ๑๐๐ ของ ๑๐๐ ของปริ มาณข้าวเปลือกที่ ปริ มาณข้าวเปลือกที่รับจำานำา โดยใช้ จำานำา ณ วันที่สงั่ สี แปรสภาพ โดย อัตราส่ งมอบในช่ วง ๑๕ วัน ใช้ราคาเฉลี่ยย้อนหลัง ๕ วัน - การส่ งมอบข้าวสาร - กำาหนด ให้ส่งมอบข้าวสารที่ได้ - กำาหนดให้ส่งมอบเฉพาะต้ นข้ าว จากการแปรสภาพข้าวเปลือก ตามมาตรฐานของกระทรวงพาณิ ชย์ เป็ นต้นข้าว ข้าวท่อน และปลาย ข้าว - โกดังกลาง/ไซโล - กำาหนดให้เป็ นโกดังกลาง/ไซโล - กำาหนดเป็ นโกดังกลาง/ไซโล จาก โดยเช่าจากผูป้ ระกอบการ – ผู ้ เช่าเป็ นฝากเก็บ โดยไม่รับค่าฝากเก็บ ประกอบการได้ค่าฝากเก็บตาม ตามกำาหนด ระยะเวลาที่ฝากเก็บ - ผูป้ ระกอบการที่เป็ นเจ้าของต้อง - ผูป้ ระกอบการไม่ตอ้ งร่ วมรับผิด ร่ วมรับผิดชอบ ชอบกรณี เกิดปั ญหาข้าวไม่ได้ - การรับมอบข้าวและการส่ งมอบ คุณภาพ ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาำ หนด - โกดังกลาง (กล้องวงจรปิ ด) - จะต้องติดตั้งกล้องวงจรปิ ด - จะต้องติดตั้งกล้องวงจรปิ ดให้มาก บันทึกภาพบริ เวณคลังกลางอย่าง ขึ้นอย่างน้อย ๓ จุด คือบริ เวณที่ทา น้อย ๓ จุด ได้แก่ จุดที่ส่งมอบ การส่ งมอบ จุดภายในโกดังกลางทั้ง ข้าวสารเข้าโกดังกลาง/ไซโล การ ด้านหน้าและด้านหลัง กรณี โกดัง ขนย้ายข้าวสารออกจากโกดัง กลางมีขนาดใหญ่ให้มีการติดเพิ่ม กลางและจุดภายในโกดังกลางทั้ง เติม เพื่อให้สามารถมองเห็นได้ ด้านหน้าและด้านหลัง ชัดเจน


84

- การระบายข้าวเปลือก/ข้าวสาร

- ให้ระบายตามสภาพ

- กำาหนดให้ระบายข้าวสารตาม สภาพและ/หรื อระบายข้าวตาม มาตรฐานของกระทรวงพาณิ ชย์

นอกจากนี้ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ได้มีมติ เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๖ เห็นชอบให้ องค์การคลังสิ นค้า และ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกรดำาเนินการจัดทำาเพื่อ ประสิ ทธิภาพระบบรับจำานำาออนไลน์ โดยให้ท้งั ๒ หน่วยงาน บูรณาการรับจำานำา ให้เป็ นไปใน ทิศทางและมาตรฐานเดียวกัน โดยของบจุดติดตั้งระบบรับจำานำาให้ครอบคลุมพื้นที่ทวั่ ประเทศ รวมทั้งจุดรับจำานำาในและนอกพื้นที่ เพื่อให้ระบบสารสนเทศในการรับจำานำามีประสิ ทธิภาพ ครอบคลุมกระบวนการรับจำานำาทั้งหมด การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกของรัฐบาล ไม่ ขัดกับรัฐธรรมนูญและ หลักการรับจำานำา เนื่องจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ มาตรา ๘๔ (๓) กำาหนดว่ารัฐต้องดำาเนินการ คุม้ ครองและรักษาผลประโยชน์ของเกษตรกร ในการผลิตและการตลาด ส่ งเสริ มให้สินค้า เกษตรได้รับผลตอบแทนสูงสุ ด ซึ่งการดำาเนินการรับจำานำาของรัฐบาลมีวตั ถุประสงค์ เพื่อยก ระดับรายได้และฐานะความเป็ นอยูข่ องเกษตรกรและสร้างความแข็งแกร่ ง ความมีเสถียรภาพ และการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ การกำาหนดนโยบายของพรรค รัฐบาลได้กาำ หนดเป็ นนโยบาย ในการหาเสี ยงใน การเลือกตั้งไว้วา่ จะนำาระบบรับจำานำาสิ นค้าเกษตร มาใช้ในการสร้างความมัน่ คงด้านรายได้ให้ แก่เกษตรกร โดยการรับจำานำาข้าวเปลือกเจ้าในราคาตันละ ๑๕,๐๐๐ บาท และข้าวเปลือกหอม มะลิ ในราคาตันละ ๒๐,๐๐๐ บาท ซึ่งพรรคอื่นๆ ก็มีการหาเสี ยงในลักษณะเดียวกัน โดยพรรค ประชาธิปัตย์ มีนโยบาย จะเพิ่มกำาไร ๒๕ % ให้เกษตรกรจากโครงการประกันรายได้เกษตรกร พรรคภูมิใจไทย มีนโยบายกองทุนประกันราคาสิ นค้าเกษตรข้าวเปลือกตันละ ๒ หมื่นบาท พรรคชาติไทยพัฒนา นโยบายประกันราคาข้าว ข้าวเปลือกเจ้า ๑๕,๐๐๐ บาท ข้าวเปลือกหอม มะลิ ๒๐,๐๐๐ บาท เป็ นต้น โครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกของรัฐบาล : ทำาไมต้ องกำาหนดราคารับจำานำาสู ง ๑. เพือ่ ยกระดับรายได้ ของชาวนาให้ ใกล้ เคียงกับรายได้ ของเกษตรกรทีป่ ลูกพืช ชนิดอืน่ ๆ และค่ าแรงขั้นต่ำ าวันละ ๓๐๐ บาท เนื่องจากในช่วงหลายสิ บปี ที่ผา่ นมา รายได้ชาวนา ำ าเกษตรกรที่ปลูกพืชชนิดอื่นๆ ทำาให้ชาวนามีคุณภาพชีวิตในระดับต่าำ มีปัญหา เฉลี่ยต่อวัน ต่ากว่


85

หนี้สิน อยูใ่ นวัฎจักรความยากจนหากกำาหนดราคารับจำานำาข้าวเปลือกเจ้า ไว้ที่ตนั ละ ๑๐,๐๐๐ บาท ชาวนาจะมีรายได้ต่อครัวเรื อนเพิ่มขึ้นต่อตัน ๙๓๓ บาท หรื อ เพียงคนละ ๘๙๗ บาท/เดือน* และหากรัฐบาลกำาหนดราคารับจำานำาที่ตนั ละ ๑๕,๐๐๐ บาท** ก็จะช่วยให้ชาวนามีรายได้เพิ่มขึ้น ตันละ ๕,๙๓๓ บาทหรื อ คนละ ๕,๗๐๐ บาท/เดือน ซึ่งถือว่าเป็ นการช่วยยกระดับรายได้ให้สูง ขึ้น ในระดับที่ใกล้เคียงกับค่าแรงขั้นต่าำ ๓๐๐ บาท/วัน * ถ้าราคาตันละ ๑๐,๐๐๐ บาท เกษตรกรจะมีรายได้ต่อครัวเรื อนเพิ่มขึ้นต่อตัน ๙๓๓ บาท (๑๐,๐๐๐ บาท – ต้นทุน ๙,๐๖๗ บาท/ตัน) ซึ่งโดยเฉลี่ยพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกร ต่อครัวเรื อนเฉลี่ย ๒๑ ไร่ /ครัวเรื อน ปลูกข้าวปี ละ ๒ ครั้ง รวมเป็ น ๔๒ ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย ๕๔๙ กก/ไร่ ผลผลิตรวมต่อครัวเรื อน ๒๓.๐๕๘ ตัน ดังนั้น เกษตรกรจะมีรายได้ ๒๑,๕๑๓ บาท/ปี หรื อ ๑,๗๙๓ บาท/เดือน ในครัวเรื อนเกษตรกรจะมีประมาณ ๓ – ๔ คน และถือเป็ นวัยทำางาน ๒ ำ าค่าแรงขั้นต่าำ (๓๐๐ บาท/วัน จะมี คน/ครัวเรื อน จะมีรายได้ต่อคน ๘๙๗ บาท/เดือน ซึ่งต่ากว่ รายได้ต่อเดือน ๖,๖๐๐ บาท) ** กรณี กาำ หนดราคารับจำานำาที่ตนั ละ ๑๕,๐๐๐ บาท เกษตรกรจะมีรายได้ต่อครัว เรื อนเพิ่มขึ้นตันละ ๕,๙๓๓ บาท (๑๕,๐๐๐ บาท – ต้นทุน ๙,๐๖๗ บาท/ตัน) เกษตรกรจะมีรายได้ ๑๓๖,๘๐๓ บาท/ปี (๕,๙๓๓ บาท x ๒๓.๐๕๘ ตัน) หรื อ ๑๑,๔๐๐ บาท/เดือน ในครัวเรื อน เกษตรกรจะมีประมาณ ๓ – ๔ คน และถือเป็ นวัยทำางาน ๒ คน/ครัวเรื อน จะมีรายได้ต่อคน ๕,๗๐๐ บาท ๒. เพือ่ ยกระดับราคาข้ าวเปลือกในตลาดให้ สูงขึน้ และมีเสถียรภาพ เนื่องจาก ำ แม้วา่ ที่ผา่ นมาจะมีโครงการรับ หลายสิ บปี ที่ผา่ นมา ราคาข้าวเปลือกในตลาดอยูใ่ นระดับต่ามาก ำ าราคาตลาด ก็ไม่ จำานำาและโครงการประกันรายได้มาอย่างต่อเนื่อง แต่ราคารับจำานำาที่ต่ากว่ สามารถช่วยยกระดับราคาข้าวเปลือกในตลาดให้สูงขึ้ นได้ จึงมีความจำาเป็ นต้องกำาหนดราคารับ จำานำาให้สูงกว่าราคาตลาด ในโครงการรับจำานำาช่วงปี ๒๕๔๗-๒๕๕๐ ได้กาำ หนดราคารับจำานำา ข้าวเปลือกเจ้าทีต่ นั ละ ๖,๕๐๐ – ๗,๑๐๐ บาท ซึ่งส่ งผลให้ราคาตลาดอยูท่ ี่ราคาตันละ ๖,๒๐๐ – ๖,๗๐๐ แต่เมือ่ รัฐบาลชุดนี้กาำ หนดราคารับจำานำาข้าวเปลือกเจ้า ๑๐๐% ทีร่ าคาตันละ ๑๕,๐๐๐ บาท ก็ ส่ งผลให้ราคาตลาดปรับตัวสูงขึ้นถึงตันละ ๑๐,๔๐๐ บาท ซึ่งเป็ นการช่วยยกระดับราคาข้าว


86

ภายในประเทศให้ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากเกษตรกรและโรงสี มีอาำ นาจต่อรองและมีทางเลือกมาก ขึ้น ส่ งผลให้ระดับราคาข้าวเปลือกที่เกษตรกรขายได้ในตลาดมีเสถียรภาพขึ้ น ๓. เพือ่ ยกระดับราคาข้ าวไทยในตลาดโลกให้ สูงขึน้ เนื่องจากหลายสิ บปี ทีผ่ ่ านมา แม้วา่ ไทยจะเป็ นผูส้ ่ งออกข้าวรายใหญ่ของโลก ราคาข้าวไทยในตลาดโลกก็ยงั ไม่สามารถปรับ ราคาสูงขึ้นได้ (โดยราคาเฉลี่ยข้าวไทยอยูท่ ี่ ๔๙๘ เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อตัน) แต่เพราะการดำาเนิน โครงการรับจำานำาข้าวในรัฐบาลปัจจุบนั ไทยสามารถดึงราคาข้าวในตลาดโลกให้เพิ่มสูงขึ้น ประมาณร้อยละ ๑๓ เมื่อเทียบกับช่วงก่อนดำาเนินโครงการฯ(ต.ค.๕๔ – ธ.ค.๕๕ ราคาส่ งออก ข้าวขาว ๕% ของไทยเฉลี่ยอยูท่ ี่ ๕๖๓ เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อตัน) ๔. เพื่อทำาให้เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง สร้างการขยายตัวของการบริ โภค ภายในประเทศ เนื่องจากที่ผา่ นมาชาวนามีรายได้ต่าำ ไม่สามารถช่วยสร้างการขยายตัวหรื อความ เข้มแข็งให้กบั เศรษฐกิจรากฐานของประเทศได้มากนัก จึงต้องช่วยยกระดับรายได้และชีวิตความ เป็ นอยูข่ องชาวนาให้ดีข้ ึน เพราะเมื่อชาวนามีรายได้เพิม่ ขึ้น ก็จะช่วยลดภาวะหนี้ สินของชาวนา เกิดการบริ โภคจับจ่ายใช้สอย มีเงินหมุนเวียนให้กบั ระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ และยัง สามารถสร้างสมดุลระหว่างภาคเศรษฐกิจต่าง รวมถึงสมดุลระหว่างภาคการบริ โภคในประเทศ และภาคต่างประเทศอีกด้วย การกำาหนดราคารับจำานำาข้าวเปลือกเจ้า ๑๐๐% ที่ราคาตันละ ำ ๑๕,๐๐๐ บาท เป็ นการชดเชยรายได้ให้แก่เกษตรกรทีย่ ากจนและเป็ นหนี้ เนือ่ งจากรายได้ต่าและ ต้นทุนการทำานาก็มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี ๒๕๔๗/๔๘ ต้นทุนตันละ ๔,๕๖๙ บาท ปรับตัวสูงขึ้นในปี ๒๕๕๓/๕๔ ตันละ ๗,๕๓๔ บาท ในขณะที่ราคาตลาดในปี ๒๕๔๗/๔๘ – ๒๕๕๓/๕๔ มีราคาตันละ ๖,๔๗๕ – ๘,๘๒๙ บาท ส่งผลให้เกษตรกรมีกาำ ไรจาก การขายข้าวเจ้าเพียงตันละ ๑,๕๙๙ บาท ทำาให้ชาวนามีภาระหนี้สินล้นพ้นตัว ต้องไปกูย้ มื หนี้นอก ระบบ ทำาให้ชาวนาอยูใ่ นวัฏจักรความยากจน ดังนั้นในปี ๒๕๕๔/๕๕ รัฐบาลจึงกำาหนดราคารับ จำานำาสูง โดยราคารับจำานำาตันละ ๑๕,๐๐๐ บาท ส่ งผลให้ราคาข้าวในตลาดปรับตัวสูงขึ้นเป็ น ราคาตันละ ๑๐,๔๓๐ บาท ซึ่งสูงขึ้นกว่าในปี ที่ที่ผา่ นมาถึงตันละ ๑,๖๐๑ บาท ซึ่งรัฐบาลก็มี แนวทางที่จะรับจำานำาในราคานี้ ต่อไปอีก ๔ ปี เพื่อยกระดับราคาข้าวในตลาดให้สูงขึ้นใกล้เคียง กับราคารับจำานำาตันละ ๑๕,๐๐๐ บาท ซึ่งจะทำาให้เกษตรกรทั้งประเทศมีรายได้สูงขึ้นอย่างต่อ เนื่องในระยะยาว


87

ต้ นทุนของเกษตรกรทีม่ แี นวโน้ มสู งขึน้ ฤดูการผลิต ข้ าวเปลือกเจ้ า - ต้นทุนต่อตัน - ราคารับจำานำา ข้าวเปลือกเจ้า ๕% - กำาไรที่เกษตรกรได้ รับ - เงินชดเชยต่อตัน (ประกันรายได้)

หน่วย บาท : ตัน

๔๗/๔๘ ๔๘/๔๙ ๔๙/๕๐ ๕๐/๕๑ ๕๑/๕๒ ๕๒/๕๓ ๕๓/๕๔ ๕๔/๕๕ ๔,๕๖๙ ๔,๑๕๒ ๔,๖๓๔ ๔,๙๓๓ ๗,๑๒๑

๗,๐๓ ๗,๕๓ ๙,๐๖๗ ๒ ๔ ๖,๕๐๐ ๗,๐๐๐ ๖,๔๐๐ ๖,๖๐๐ ๑๑,๘๐๐ ประกัน ประกัน ๑๔,๘๐๐ ๑,๙๓๑ ๒,๘๔๘ ๑,๗๖๖ ๑,๖๗๗ -

-

-

-

๔,๖๗๙ -

-

-

๕,๗๓๓

๑,๖๔๐ ๑,๘๘๙

-

หมายเหตุ ปี ๕๑/๕๒ เป็ นปี ที่เกิดวิกฤตอาหารช่วง เม.ย. – ก.ค. ๕๑ ส่ งผลให้ราคาข้าวเปลือกสู งผิด

ปกติ การนำานโยบายของพรรคไปปฏิบตั ิ เมื่อพรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้ง ก็ได้นาำ นโยบายที่หาเสี ยงไว้มากำาหนดเป็ นนโยบาย และแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔โดยกำาหนดเป็ นนโยบายเร่ งด่วนในการยกระดับราคาสิ นค้าเกษตร และให้ เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยนำาระบบรับจำานำาสิ นค้าเกษตรมาใช้ในการสร้างความมัน่ คง ด้านรายได้ ได้แก่ เกษตรกร โดยการรับจำานำาข้าวเปลือกเจ้า ข้าวเปลือกหอมมะลิความชื้ นไม่เกิน ๑๕ % ที่ราคาตันละ ๑๕,๐๐๐ บาท และ ๒๐,๐๐๐ บาท ตามลำาดับ รวมทั้งเยียวยาความเสี ยหาย ของพืชผลจากภัยธรรมชาติให้แก่เกษตรกร ซึ่งการนำานโยบายดังกล่าวไปปฏิบตั ิเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์และเป็ นไปตามนโยบายที่กาำ หนด ได้ใช้คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เป็ น กลไกในการดำาเนินการ และกำากับดูแลให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และนโยบายที่กาำ หนด หลักเกณฑ์ การรับจำานำา ตามประมวลกฎหมายแห่งพาณิ ชย์ จะต้องมีการส่ งมอบทรัพย์สิน เพื่อใช้เป็ น หลักประกันในการชาระหนี้ ซึ่งกรณี น้ ี คือข้าวของเกษตรกรรวมทั้งให้สิทธิในการไถ่ถอน ทรัพย์สินที่นามาค้าประกัน ภายในกำาหนดระยะเวลา กรณี ที่รัฐบาลรับจำานำาข้าวเปลือกในราคา สูง เนื่องจากต้องการยกระดับราคาข้าวและให้ชาวนา ซึ่งเป็ นคนส่ วนใหญ่ที่มีฐานะยากจน มีราย


88

ได้เพิ่มขึ้น ยกระดับฐานะความเป็ นอยูข่ องเกษตรกรให้ดีข้ึ น เพราะราคาข้าวที่ซ้ื อขายในตลาดมี ำ ราคาต่ามาตลอด เนื่องจากเป็ นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ตลาดเป็ นของผูซ้ ื้ อ เกษตรกรขาดอำานาจ ต่อรอง โดยเฉพาะข้าวเปลือกเจ้า ประกอบกับไม่มีกฎหมายกำาหนดราคาทรัพย์ที่จาำ นำาจะต้องรับ ำ าราคาตลาดขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์และข้อตกลงระหว่างผูร้ ับจำานำากับผูซ้ ื้ อ จำานำาในราคาต่ากว่ รวมทั้งราคาสิ นค้าเกษตรมีความผันผวนขึ้นลง นโยบายรับจำานำาของรัฐบาลในการกำาหนดราคาสู งกว่ าท้ องตลาดและรับซื้อทุก เมล็ดไม่ ใช่ การรับจำานำาแต่ เป็ นการรับซื้อข้ าวเปลือกจากเกษตรในราคาทีส่ ู งกว่ าท้ องตลาด ไม่ บิดเบือนกลไกตลาด เพราะการดำาเนินการดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์ที่จะยกระดับราคาข้าวให้สูงขึ้ น ให้ เกษตรกรจำาหน่ายผลผลิตได้ในราคาที่เหมาะสมเป็ นธรรม คุม้ กับต้นทุนการผลิต ใกล้เคียงกับค่า ำ จ้างขั้นต่าของผู ใ้ ช้แรงงาน มีเงินทุนเพียงพอในการจับจ่ายใช้สอยในชีวิตประจำาวันและปลูกพืช ในฤดูใหม่ ซึ่งการที่ชาวนามีเงินก็จะนำาไปจับจ่ายใช้สอยก่อให้เกิดการลงทุนในสิ นค้าต่างๆ ตาม มาและทำาให้เศรษฐกิจพื้นฐานมีการหมุนเวียนมัน่ คงมากขึ้น ประกอบกับตลาดข้าวเป็ นตลาด ขนาดใหญ่ มีผซู ้ ้ื อผูข้ ายจำานวนมากการขายอยูท่ วั่ โลก แต่เป็ นตลาดที่ไม่มีการพัฒนากฎเกณฑ์ กติกา ทำาให้ชาวนาไทยเสี ยเปรี ยบแม้รัฐบาลไทยจะเข้ามาจำานำาก็ไม่สามารถบิดเบือนกลไกตลาด ได้ การกำาหนดนโยบายรับจำานำา ไม่ ขัดกับเรื่องการค้ าเสรี เพราะ (๑) รัฐบาลไม่ได้มุ่งเพื่อจะทำาการค้าแข่งกับภาคเอกชน (๒) เป็ นการดำาเนินการเพื่อพัฒนากลไกตลาด ซึ่งเป็ นตลาดไม่สมบูรณ์ให้มีความ เข้มแข็งเพื่อให้ผผู ้ ลิตขั้นต้น (ชาวนา) มีอาำ นาจต่อรอง เพิ่มช่องทางการจาหน่ายมีรายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งอาจจะกระทบผูส้ ่ งออกบางส่ วนบ้าง โดยเฉพาะข้าวขาว ๕ % ที่มีปริ มาณมาก คนบริ โภคมาก ผูซ้ ้ือ ผูข้ ายกระจายอยูท่ วั่ โลก ประกอบกับข้าวเป็ นพืชเศรษฐกิจ เป็ นสิ นค้าเกษตร ซึ่งมีความ ผันผวน เนื่องจากมีปัจจัยต่างๆ เป็ นตัวแปรหลายประการเช่น สภาพดิน ฟ้ า อากาศ โรคพืชต่างๆ และการพัฒนาตลาดอยูใ่ นระดับต่าำ (๓) การที่รัฐบาลมีนโยบายการรับจำานำาข้าวทุกเมล็ด ในปี ๒๕๕๔/๕๕ และปี ๒๕๕๕/๕๖ นั้น ปรากฏว่าข้าวหลายชนิดไม่ได้เข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาล ทั้งหมด โดยจะเห็นได้จากในปี ๒๕๕๔/๕๕ หรื อปี ๒๕๕๕/๕๖ข้าวหอมมะลิซ่ ึงผลผลิตมี ประมาณปี ละประมาณ ๗-๘ ล้านตัน แต่เข้าร่ วมโครงการรับจำานำาประมาณ ๓.๔ และ ๓.๙ ล้าน


89

ตัน ตามลาดับ และข้าวเปลือกเหนียวนาปี ซึ่งมีประมาณ ๗-๘ ล้านตันข้าวเปลือก เข้าร่ วม โครงการรับจำานำาเพียงประมาณ ๐.๔๕ และ ๐.๗๐ แสนตัน เท่านั้น เป็ นต้น การเปรียบเทียบนโยบายประกันรายได้ กบั นโยบายการรับจำานำา การรับจำานำา ข้อดี ๑. ช่วยดูดซับปริ มาณผลผลิตส่วนเกินในช่วงต้นฤดู ทำาให้ราคาตลาดปรับตัวสูงขึ้น ๒. เพิ่มช่องทางเลือก ในการจำาหน่ายให้แก่เกษตรกร ๓. เกษตรกรมีอาำ นาจต่อรอง ไม่ถูกกดราคา ๔. เกษตรกรไม่ถูกเอารัดเอาเปรี ยบในการขาย ผลผลิตเพราะมีเจ้าหน้าที่ ให้ความเป็ นธรรมแก่ ำ ก การวัดความชื้น เกษตรกร ทั้งในเรื่ องการชัง่ น้าหนั และหักสิ่ งเจือปน ๕. เกษตรกรจำาหน่ายผลผลิตได้ในราคาที่สูงขึ้น ทำาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น นำาเงินไปจับจ่าย ใช้สอยได้เพิม่ ขึ้น เกิดการหมุนเวียนในระบบ เศรษฐกิจ ทำาให้เศรษฐกิจมัน่ คง ข้อเสีย 1. มีความเสี่ ยงเรื่ องการสวมสิ ทธิเกษตรกร การเวียนเทียน/เปาเกา

การประกันรายได้ ข้ อดี ๑. เกษตรกรทราบล่วงหน้าก่อนการเพาะปลูกว่าจะ ขายผลผลิตได้ในราคาใด ๒. รัฐบาลไม่ตอ้ งรับภาระในการสต็อกและระบาย ข้าวสาร ๓. เกษตรกรที่ปลูกข้าวเพื่อบริ โภค หากได้รับความ เสี ยหายจากภัยธรรมชาติจะได้รับเงินชดเชย

ข้ อเสี ย ๑. เกษตรกรถูกเอารัดเอาเปรี ยบในการจำาหน่าย ำ ก ความชื้น และสิ่ งเจือปน ผลผลิตถูกโกงน้าหนั ๒. ไม่มีอาำ นาจต่อรอง จำาเป็ นต้องจำาหน่ายผลผลิตใน ราคาที่มีผคู ้ า้ รับซื้ อ เพิ่มอำานาจให้พอ่ ค้ารับซื้ อ ๓. กลไกตลาดอ่อนแอ เพราะพ่อค้ารวมหัวกดราคา รับซื้อ เพราะคิดว่าเกษตรกรได้รับเงินชดเชยจากรัฐ อยูแ่ ล้ว ทำาให้ราคาข้าวตกต่าำ ๔. เปิ ดช่องให้มีการทุจริ ต เช่น การขยายครัวเรื อน เพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ ๓ ล้านครัวเรื อน เป็ น ๔ ล้านครัวเรื อน เป็ นต้น ๕. เจ้าของที่ดินหรื อผูใ้ ห้เช่าได้รับประโยชน์ในขณะ ที่ผเู ้ ช่านาไม่ได้รับความช่วยเหลือ เพราะเป็ นการจ่าย ตามหลักฐานที่ข้ ึนทะเบียน


90

๖.ไม่สามารถตรวจสอบได้ จึงง่ายต่อการทุจริ ต เพราะไม่มีการส่ งมอบข้าว

การดำาเนินโครงการแทรกแซงตลาดโดยโครงการรับจำานำาข้าวมีผลงานเป็ นที่ ประจักษ์ คือ (๑) โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี ผลิต ๒๕๕๕ ตั้งแต่วนั ที่ ๑ มีนาคม – ๑๕ กันยายน ๒๕๕๕ กรณี ภาคใต้ ธ.ก.ส. ได้จ่ายเงินตรงให้เกษตรกรแล้วเป็ นเงิน ๒๑๘,๑๙๖ ล้าน บาท (๒)โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี การผลติ ๒๕๕๕/๕๖ รอบที่ ๑ ตั้งแต่วนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึง ๑๕ กันยายน ๒๕๕๖ จ่ายเงินให้เกษตรกรเป็ นเงิน ๒๓๔,๑๘๕ ล้านบาท รอบที่ ๒ ตั้งแต่วนั ที่ ๑๔ มีนาคม – ๑๕กันยายน ๒๕๕๖ ได้จ่ายเงินให้แก่เกษตรกรแล้วเป็ นเงิน ๙๓,๔๘๘ ล้านบาท โดยสรุปประโยชน์ และผลสำ าเร็จของโครงการรับจำานำาข้ าวต่ อชาวนาทีร่ ัฐบาลได้ แถลงนโยบายต่ อรัฐสภา ดังนี้ ๑.ชาวนามีรายได้ในปี ที่หนึ่งเป็ นจำานวนเงินที่จ่ายให้แก่เกษตรกร รวมทั้งสิ้ น ๑๔๘,๘๗๘ ล้านบาท โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปรัง ปี ๒๕๕๕ ดำาเนินการรับจำานำาใบ ประทวนโดย อคส. และ อ.ต.ก. ออกใบประทวนและ ธ.ก.ส. รับจำานำาใบประทวนที่ออกให้ เกษตรกร เป้ าหมายไม่จาำ กัดปริ มาณ โดยใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก นาปี ปี การผลิต ๒๕๕๔/๕๕ ระยะเวลารับจำานำา ตั้งแต่วนั ที่ ๑ มีนาคม – ๑๕ กันยายน ๒๕๕๕ ภาคใต้ต้ งั แต่วนั ที่ ๑กรกฎาคม /๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ โดยการดำาเนินงาน ณ วันที่ ๒๒ สิ งหาคม ๒๕๕๕ มีการทำาสัญญากับ ธ.ก.ส. รวมทัว่ ประเทศ ๐.๙๕ ล้านราย เป็ นข้าวเปลือกที่รับจำานำา ทั้งหมด ๑๐.๐๓ ล้านตัน ทั้งนี้เป็ นจำานวนเงินที่จ่ายให้แก่เกษตรกร รวมทั้งสิ้ น ๑๔๘,๘๗๘ ล้าน บาท ปรากฏตามรายงานแสดงผลการดำาเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื้นฐาน แห่งรัฐ ปี ที่หนึ่ง (วันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ –วันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๕) หน้าที่ ๓๔๖ อ้ าง เป็ นพยานหลักฐานในลำาดับที่ ๔๐ ๒. ผลการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกตั้งแต่ ปีการผลิต ๒๕๕๔/๕๕ ผลการ ดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกตั้งแต่ ปีการผลิต ๒๕๕๔/๕๕ ถึงปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ สามารถยกระดับรายได้ ของเกษตรกรเพิม่ ขึน้ จากการจำาหน่ ายข้ างเปลือกได้ ในราคาสู งขึน้ เฉลีย่ ๔,๐๐๐ บาทต่ อตัน ขณะทีเ่ กษตรกรทีไ่ ม่ ได้ เข้ าร่ วมโครงการได้ รับประโยชน์ จากราคาตลาดทีเ่ พิม่ สู งขั้นเฉลีย่ ๒,๕๐๐ บาทต่ อตัน คิดเป็ นมูลค่ ารวม ๒๐๔,๐๑๘ ล้ านบาท ทำาให้ เกษตรกรมีความ


91

เป็ นอยู่และคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และมีการนำาเมล็ดเงินทีไ่ ด้ รับมาใช้ ในการเศรษฐกิจ ส่ งผลให้ เศรษฐกิจโดนรวมของประเทศมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ปรากฏตามรายงานแสดงผลการดำาเนิน การของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพืน้ ฐานแห่ งรัฐปี ที่ ๒ (วันที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๕ –วัน ที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๖ ) หน้ าที่ ๓๗๔ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๔๑ ข้ าพเจ้ าขออ้ างนายยรรยง พวงราช อดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปัจจุบันเป็ น รัฐมนตรีช่วยกระทรวงพาณิชย์ เป็ นพยานบุคคลเพือ่ นำาสื บหักล้ างข้ อกล่ าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในประเด็นเรื่องปัญหาการทุจริตเชิงนโยบายในส่ วนของขั้นตอนและกระบวนการในการ ดำาเนินโครงการตามบันทึกแจ้ งข้ อกล่ าวหาในข้ อ ๓ และข้ อ ๔ และเพือ่ สนับสนุนบันทึกคำาชี้แจง ของผู้ถูกกล่ าวหาในฐานะทีเ่ ป็ นผู้เคยปฏิบัตทิ ้งั โครงการรับจำานำาข้ าว และโครงการประกันรายได้ เมือ่ คราวดำารงตำาแหน่ งเป็ นปลัดกระทรวงพาณิชย์ และเคยเป็ นผู้ปฏิบัตใิ นคณะกรรมการ นโยบายข้ าวแห่ งชาติ ว่ าข้ อกล่ าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทีอ่ ้ างเรื่องผู้ได้ รับประโยชน์ จาก นโยบายเป็ นเพียงบุคคลบางกลุ่มไม่ คอบคลุมเกษตรกรอย่ างทัว่ ถึงรัฐบาลจึงควรยกเลิกโครงการ รับจำานำาข้ าวเปลือกและนำาระบบการประกันความเสี่ ยงด้ านราคาข้ าวมาดำาเนินการ และข้ ออ้ างที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ ดาำ เนินการติดตามการดำาเนินการตามโครงการรับจำานำาข้ าวของรัฐบาล พบว่ าการดำาเนินการตามโครงการได้ ก่อให้ เกิดปัญหาด้ านต่ างๆ อย่ างมากมายโดยเฉพาะปัญหา การทุจริตในทุกขั้นตอนของกระบวนการรับจำานำาตามหนังสื อสำ านักงาน ป.ป.ช. ได้ มหี นังสื อ ที่ ปช ๐๐๐๓/๐๑๙๘ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ ไม่ เป็ นความจริงตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่ าวหา ตามบันทึกแจ้ งข้ อกล่ าวหาในข้ อ ๓ หน้ า ๓ และนำาสื บหักล้ างคำาอภิปรายนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ทีอ่ ภิปรายไม่ ไว้ วางใจวันที่ ๒๕-๒๗พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในประเด็นการอภิปราย เรื่อง โครงการรับจำานำาข้ าวว่ าเป็ นนโยบายทีผ่ ดิ พลาดและการอภิปรายในประเด็นรัฐบาลจะเป็ นผู้ ผูกขาดซื้อขายข้ าวทั้งประเทศด้ วยนโยบายซื้อแพงแล้ วตั้งขายถูก การขาดทุนเกิดขึน้ แน่ นอน ซื้อในราคาทีส่ ู งกว่ าตลาดหลายสิ บเปอร์ เซ็นต์ โกงทุกขั้นตอน และในประเด็นการอภิปราย เรื่อง ประเทศไทยจะสู ญเสี ยตลาดข้ าว อีกทั้งหักล้ างคำาอภิปรายของนายอภิสิทธิ์ฯ ในประเด็นเรื่อง กลไกการแข่ งขันเสี ยหาย พยานบุคคลรายนีใ้ นฐานะอดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ จะนำาสื บหักล้ างนายอภิสิ ทธิ์ฯ ทีอ่ ภิปรายว่ าการรับจำานำาข้ าวทุกเมล็ดถือว่ านโยบายนีเ้ ป็ นนโยบายรับซื้อข้ าวและเป็ น นโยบายทีน่ ำาไปสู่ การผูกขาดการค้ าข้ าวของรัฐบาลเป็ นโครงการซึ่งทำาลายกลไกของการซื้อขาย


92

ตามปกติโดยสิ้นเชิงว่ าไม่ เป็ นความจริง และประการทีส่ ำ าคัญพยานบุคคลรายนีจ้ ะนำาสื บหักล้ าง คำาอภิปรายของนายอภิสิทธิ์ ฯ ในเรื่องทีน่ ายอภิสิทธิ์ฯ อภิปรายว่ าการรับจำานำาคือ อะไร รับจำานำา ก็คอื ว่ ารับของๆ คนเข้ าไปและให้ เงินต่ำ ากว่ าราคาตลาดและผู้ทเี่ อาของมาฝากไว้ มาไถ่ คนื การรับ จำานำาคือการซื้อของมิใช่ เป็ นการจำานำาจริงในโครงการรับจำานำาข้ าวเป็ นไปตามทีน่ ายอภิสิทธิ์ฯ อภิปรายหรือไม่ และโครงการรับจำานำาข้ าวเป็ นโครงการทีร่ ัฐบาลจัดทำาขึน้ โดยมิได้ มีหลักคิด ทางการค้ าเพือ่ หวังผลกำาไรตามหลักการทางธุรกิจ แต่ เป็ นการช่ วยเหลือเกษตรกร และนำาสื บให้ เห็นถึงความเดือดร้ อนเสี ยหายนับแต่ วนั ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ทีร่ ัฐบาลปัจจุบันไม่ สามารถ ดำาเนินแทรกแซงการตลาดโดยมาตรการโครงการรับจำานำาข้ าวได้ พยานบุคคลในลำาดับที่ ๕ ข้ อ ๖. ทีม่ าของโครงการและมูลเหตุจูงใจของการจัดทำาโครงการรับจำานำาข้ าวมา เป็ นนโยบายของรัฐบาลว่ าแท้ จริงแล้ วการจัดทำาโครงการรัฐบาลมีเจตนายึดหลักการยกระดับราย ได้ ชาวนาให้ ทดั เทียมกับการ ประกอบอาชีพอย่ างอืน่ ของคนในชาติโดยมีความเห็น ต่ างกับระบบ การประกันความเสี่ ยงด้ านราคาข้ าวของสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย(TDRI) ตามที่ คณะกรรมการป.ป.ช. เสนอให้ รัฐบาลยกเลิกโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกและนำาระบบการ ประกันความเสี่ ยงด้ านราคาข้ าวมาดำาเนินการว่ าเป็ นการกระทำาของรัฐ (Acts of Government) โดยสุ จริตดังนี้ นโยบายของรัฐบาลในข้อ ๑.๒ ความว่า “… ๑.๒ โครงสร้างเศรษฐกิจไทยยังคง พึ่งพาการส่ งออกสิ นค้า...จึงมีความเสี่ ยงสูงจากความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก...ภาคการส่ ง ออกที่ขยายตัวได้สูงถึงร้อยละ ๒๘.๕ ซึ่งกระจุกตัวอยูใ่ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่เป็ นของ บริ ษทั ต่างชาติที่ไทยเป็ นเพียงแหล่งประกอบส่ วนการส่ งออกสิ นค้าเกษตรยังคงเป็ นการส่ งออก วัตถุดิบที่ราคาผันผวนขึ้นกับตลาดโลก” นโยบายข้อนี้ แสดงให้เห็นว่า คนไทยที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และใช้ แรงงาน เสี ยเปรี ยบภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมส่ งออกที่ใช้แรงงานมากและส่ วน ใหญ่ลงทุนโดยนักลงทุนต่างชาติ ซึ่งปัจจุบนั ต้องนำาเข้าแรงงานไร้ฝีมือจากต่างประเทศเป็ น จำานวนมากจึงทำาให้ประเทศไทยเสี่ ยงไปกับภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอยและปัญหาทางการเมือง กับประเทศเพื่อนบ้านเสมอมา


93

รัฐบาลเห็นว่าจะปล่อยให้เป็ นอย่างนี้ ต่อไปไม่ได้ จึงจำาเป็ นต้องสร้างกำาลังซื้ อใน ประเทศ โดยเฉพาะจากเกษตรกรซึ่งครอบคลุมประชากรจำานวนมากของประเทศเพื่อทำาให้ เศรษฐกิจไทยลดความเสี่ ยงจากการพึ่งพาการส่ งออกของบริ ษทั ต่างชาติลง นอกจากนโยบายในข้อ ๑.๒ แล้ว ยังปรากฏข้อสนับสนุนของโครงการรับจำานำา ข้าวที่มุ่งการยกระดับรายได้ชาวนาปรากฏอยูใ่ นนโยบายรัฐบาลข้อ ๑.๔ ความว่า “...๑.๔ ความ ำ เหลื่อมล้าทางเศรษฐกิ จที่มีอยูส่ ูงแสดงถึง...ประชาชนระดับฐานรากยังมีรายได้นอ้ ยและขาด โอกาสในการเพิ่มรายได้โดยส่ วนใหญ่อยูใ่ นสาขาเกษตร…ไม่มีโอกาสที่จะเติบโตเป็ นชนชั้น กลาง...ในช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ช่วงภาวะเงินเฟ้ อก็จะเป็ นกลุ่มคนที่เดือดร้อนจากค่าครองชีพและ ต้นทุนการผลิตมากกว่าคนอื่น” รัฐบาลเห็นว่าเกษตรกรเป็ นฐานรากที่ขาดโอกาสการเพิ่มรายได้ และไม่มีวนั ที่จะ เป็ นชนชั้นกลางได้ หากยังคงใช้นโยบายและมาตรการแบบเดิม ก่อนรัฐบาลจะเข้ามาบริ หารราชการ ข้อมูลจากสำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ชี้ ให้เห็นว่า มีประชากรที่อยูใ่ นภาคเกษตรกรทั้งสิ้ นประมาณ ๒๕ ล้านคน (จำานวน ๗.๒ ล้านครัว เรื อน) คิดเป็ นร้อยละ ๓๗.๓ ของประชากรทั้งหมด แต่มีรายได้ประชาชาติเพียงประมาณ ๑.๑ ล้านล้านบาท หรื อเพียงร้อยละ ๑๐ ของรายได้ประชาชาติท้ งั หมด ข้อเท็จจริ งดังกล่าวยืนยันความจำาเป็ นของนโยบายรัฐบาลที่ตอ้ งยกระดับรายได้ ำ ของเกษตรกร เพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิ จให้ตรงจุด และเป็ นข้อสนับสนุนต่อ นโยบายรัฐบาลในข้อ ๑.๑๑ เพราะการบูรณาการในการนำานโยบายไปปฏิบตั ิเพื่อให้เกิด ประสิ ทธิภาพในการยกระดับราคาสิ นค้าเกษตรตามนโยบายรัฐบาลในข้อ ๑.๑๑ นั้น นโยบาย รัฐบาลในข้อ ๑.๒ และข้อ ๑.๔ เป็ นเหตุจูงใจที่ตอ้ งจัดทำานโยบายรัฐบาลในข้อ ๑.๑๑ ความว่า “… ๑.๑๑ ยกระดับรำคำสินค้ ำเกษตรและให้ เกษตรกรเข้ ำถึงแหล่ งเงินทุนโดย ๑.ดูแลราคาสิ นค้าเกษตรให้มีเสถียรภาพที่เหมาะสมคำานึงถึงกลไกราคาตลาดโลก โดยใช้วิธีบริ หารจัดการทางการตลาดและกลไกตลาดซื้ อขายล่วงหน้า ๒. ผลักดันให้เกษตรกรสามารถขายสิ นค้าเกษตรได้ในราคาสูงเพียงพอเมื่อเทียบ กับต้นทุน ๓.นำาระบบรับจำานำาสิ นค้าเกษตรมาใช้ในการสร้างความมัน่ คงด้านรายได้ให้แก่ เกษตรกรเริ่ มต้นจากการรับจำานำาข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิความชื้ นไม่เกินร้อยละ ๑๕ ที่ราคาเกวียนละ ๑๕,๐๐๐ บาท และ ๒๐,๐๐๐ บาทตามลำาดับ


94

๔. จัดให้มีการเยียวยาความเสี ยหายของพืชผลจากภัยธรรมชาติให้แก่เกษตรกร ๕. การจัดทำาระบบทะเบียนครัวเรื อนเกษตรกรให้สมบูรณ์ ๖. การออกบัตรเครดิตสำาหรับเกษตรกร ” รัฐบาลระบุวา่ จะดูแลราคาสิ นค้าเกษตรให้มีเสถียรภาพ โดยใช้วิธีบริ หารจัดการ ทางการตลาด ด้วยวิธีจาำ นำา เพราะทราบดีวา่ “กลไกตลาดสิ นค้ าเกษตรไม่ มคี วามสมบูรณ์ ” มี วงจรราคาที่ผนั ผวนเพราะระหว่างต้นฤดูเมื่อเก็บเกี่ยวราคาจะต่ าำ และท้ายฤดูเมื่อไม่มีสินค้าราคา จะสูง และที่สาำ คัญคือมีอาำ นาจผูกขาดของพ่อค้าแฝงอยู่ และพร้อมจะกดราคาสิ นค้าเกษตรตลอด เวลา โดยเฉพาะในกรณี ของการส่ งออกข้าวขาวของไทย ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป ดังนั้นรัฐบาลที่ผา่ นมาเกือบทุกรัฐบาลจะดำาเนินนโยบายยกระดับราคาสิ นค้า เกษตรโดยเข้าไปแทรกแซงกลไกตลาด ให้ทาำ งานได้ดีข้ ึนและกระจายผลประโยชน์ให้กบั ทุก ฝ่ ายอย่างเที่ยงธรรม ทั้งนี้การแทรกแซงตลาดที่ไม่ได้เป็ นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ถือเป็ นหน้าที่โดย ปรกติของรัฐบาลที่จะต้องเข้าไปกำากับดูแล ลดการเอาเปรี ยบและสร้างความเป็ นธรรม ซึ่งจะส่ ง ผลดีกบั เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมในที่สุด นอกจากนั้น การดำาเนินการของรัฐได้ทาำ ตามนโยบายที่ประกาศไว้ในการคำานึง ถึงราคาในตลาดโลก กลไกการซื้ อขายล่วงหน้า เพื่อผลักดันให้เกษตรกรขายสิ นค้าเกษตร “ใน ราคาที่สูงเพียงพอเมื่อเทียบกับต้นทุนการผลิต” การที่รัฐบาลกำาหนดราคาจำานำาข้าวไว้ในนโยบายรัฐบาลแต่เพียงสิ นค้าเดียว (คือ ราคาข้าวเปลือกเจ้า และ ข้าวหอมมะลิที่ราคา ๑๕,๐๐๐ และ ๒๐,๐๐๐ บาท/เกวียน) นั้น เพราะ ทราบดีวา่ ชาวนาเป็ นเกษตรกรส่ วนใหญ่ของประเทศ คือ มีจาำ นวนประมาณ ๑๒ ล้านคน (๓.๗ ล้านครัวเรื อน) หากไม่สามารถยกระดับรายได้ของชาวนาได้ ก็ไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายการลด ำ ความเหลื่อมล้าของรายได้ และ ไม่สามารถสร้างกำาลังซื้ อให้กบั เศรษฐกิจในประเทศได้ ซึ่งจะ ทำาให้ประเทศไทยต้องพึ่งพาการส่ งออกของอุตสาหกรรมที่ต่างชาติเป็ นเจ้าของตลอดไปและที่ สำาคัญ ตัวเลขราคาจำานำาปรากฏอยูใ่ นเอกสารและคำากล่าวในการหาเสี ยงของพรรคตลอดมา จึง เป็ นพันธะสัญญาและหน้าที่ที่หวั หน้ารัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งจะต้องทำาตามที่ได้สญ ั ญาไว้ กับประชาชน ข้ อ ๗. โครงการรับจำานำาข้ าวเป็ นการแก้ปัญหากลไกตลาดข้ าวทีส่ มบูรณ์ ไม่ เท่ ากันหากประสงค์ จะยกระดับสิ นค้ าเกษตรแล้ วรัฐบาลจึงมีหน้ าทีจ่ ดั ทำานโยบายเพือ่ ไปแก้ ไข ปัญหากลไกตลาดข้ าวทีส่ มบูรณ์ ไม่ เท่ ากัน จึงมิใช่กรณี เรื่ องทุจริ ตเชิงนโยบาย การศึกษาในแนว


95

ลึกพบว่าข้าวแต่ละประเภทที่ผลิตในประเทศไทยมีอุปสงค์ อุปทาน และกลไกตลาดไม่เหมือน กัน ประเทศไทยมีตลาดข้าวทั้งหมด ๔ ตลาดซึ่งแตกต่างกัน ๑. ตลาดข้าวเหนียว มีผลผลิตที่พอเหมาะพอดีกบั ความต้องการในประเทศ รัฐบาลจึงมีบทบาทในการจำานำาน้อยมาก เพราะกลไกตลาดทำางานได้ดีมากอยูแ่ ล้ว ๒. ตลาดข้าวหอมมะลิมีความต้องการมากทั้งในประเทศและต่างประเทศ เมื่อ เทียบกับปริ มาณผลผลิตที่มีจาำ กัด และไม่มีประเทศไหนผลิตแข่งขันได้ รัฐบาลจึงไม่มีปัญหาใน การซื้ อเพื่อดึงราคาให้อยูใ่ นระดับที่เหมาะสม ๓.ตลาดข้าวขาวนาปี ผลผลิตที่มีในประเทศใกล้เคียงกับความต้องการบริ โภค ภายในประเทศ และมีความต้องการของตลาดส่ งออกทุกปี ๔.ตลาดที่มีปัญหาคือตลาดข้าวขาวนาปรังที่เป็ นข้าวคุณภาพไม่สูง ความต้องการ ในประเทศมีนอ้ ยและมีตลาดส่ งออกจำากัดเพียงไม่กี่ประเทศและมีการแข่งขันจากต่างประเทศ มาก (อินเดียและเวียดนาม) ทำาให้ราคาไม่สูง ในชั้นนี้จึงสรุ ปได้วา่ การศึกษาใดก็ตาม (สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI))ที่นาำ ไปสู่นโยบายข้าวโดยที่ไม่แยกแยะประเภทของข้าว จึงเป็ นการศึกษาที่ไม่สมบูรณ์ และขาดข้อเท็จจริ งเชิงในมิติที่สาำ คัญสนับสนุน จึงไม่ควรนำาข้อสรุ ปของการศึกษาเหล่านั้นมาใช้ อ้างอิงในการกล่าวหาว่านโยบายจำานำาข้าวของรัฐบาลเป็ นไปโดยไม่สุจริ ตตามที่ ปปช. กล่าวหา ในประเด็นนีข้ ้ าพเจ้ าในฐานะผู้ถูกกล่ าวหาขออ้ างสื บพยานบุคคลราย ดร.โอฬาร ไชยประวัติ เป็ นพยานบุคคลเพือ่ สนับสนุนคำาชี้แจงของข้ าพเจ้ าในฐานะเป็ นทีป่ รึกษาและจัดทำา นโยบายโครงการรับจำานำาข้ าวให้ แก่ พรรคเพือ่ ไทยในการหาเสี ยงเลือกตั้ง เป็ นพยานบุคคลเพือ่ หักล้ างระบบการประกันความเสี่ ยงด้ านราคาข้ าวทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอแนะให้ รัฐบาลนำา ระบบการประกันความเสี่ ยงด้ านราคาข้ าวมาใช้ เป็ นนโยบายของรัฐบาล ไม่ ถูกต้ อง และไม่ เป็ นไป ตามความประสงค์ ทจี่ ะทำาให้ เกษตรกรมีรายได้ เพิม่ ขึน้ แน่ นอนสร้ างอำานาจการต่ อรองและเพิม่ ทางเลือกให้ เกษตรกรยกระดับราคาข้ าวให้ สูงขึน้ ทั้งระบบราคาส่ งออกข้ างไทยปรับตัวสู งขึน้ มี ประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจโดยรวมเพือ่ ความกินดีอยู่ดขี องพีน่ ้ องชาวไทย และหักล้ างรายงานของ สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ตามข้ ออ้ างและข้ อกล่ าวหาของนายนิพนธ์ พัว พงศกร และนายจิตรกร จารุพงษ์ ผู้จดั ทำาผลการวิจยั ของสำ านักงาน ป.ป.ช. เรื่อง โครงการศึกษา มาตรการแทรกแซงตลาดข้ าวเพือ่ ป้ องกันการทุจริต : การแสวงหาค่ าตอบแทนส่ วนเกินและ เศรษฐศาสตร์ การเมืองของโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือก พยานบุคคลในลำาดับที่ ๖


96

ข้ อ ๘. ข้ อกล่ าวหาตามข้ อสั งเกตและข้ อเสนอแนะของหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนทีส่ ุ ด กค ๐๒๐๑/ล๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ โครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกนาปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ในข้ อที่ ๑ รัฐบาลมิได้ ละเลยและได้ ดาำ เนินการแล้ วดังนี้ เรื่อง ข้ อสั งเกตและข้ อ เสนอแนะของหนังสื อดังกล่ าวในข้ อที่ ๑ ภาระเชิงสั งคมทีส่ ร้ างแรงกดดันทางการเมือง ทำาให้ รัฐบาลอาจมีความจำาเป็ นในการกำาหนดราคาจำานำาในโครงการไม่สอดคล้องและสูงกว่าราคาตลาด ซึง่ มีความเสี่ยงในการก่อให้เกิดภาระรายจ่ายของรัฐ และภาวะขาดทุนจำานวนมากทั้งการ อุดหนุนเกษตรกร และค่ าใช้ จ่ายอืน่ ๆ เช่ น การสี แปรสภาพ การขนส่ ง กักเก็บ ข้ าวเสื่ อมคุณภาพ ขายข้ าวขาดทุน และข้ าวสู ญหายจากโกดัง เป็ นต้ น ขณะทีห่ ากรัฐบาลแก้ ปัญหาโดยลดราคาจำานำา ลงมาใกล้ เคียง หรือต่ำ ากว่ าราคาตลาด ก็อาจเกิดปัญหาการประท้ วงของเกษตรกร ดังนั้น ปริมาณ การรับจำา นำา จึงเป็ นตัวจักรสำ า คัญที่ ไม่ ทาำ ให้ กลไกของตลาดถู กแทรกแซงมากจนเกินไป โดย การกำา หนดราคารั บจำา นำา ควรให้ อยู่ในระดับทีม่ คี วามเหมาะสมสอดคล้ องกับต้ นทุนการผลิตที่ เกษตรกรรับภาระอยู่ อันจะส่ งผลให้ ไม่ เป็ นการบิดเบือนกลไกตลาดมากจนเกินไป และควรมุ่ ง เน้ นช่ วยเหลือเกษตรกรผู้ ปลูกข้ าวอย่ างยั่งยืน โดยเฉพาะเทคนิคการทำาการเกษตรทีม่ ี ประสิ ทธิภาพ การเพิม่ ผลผลิตต่ อไร่ คุณภาพวัตถุดบิ และการลดต้ นทุนการผลิตข้ าว ดังได้เรี ยนมาข้างต้นว่าราคาจำานำาข้าวของรัฐบาลได้มีการศึกษามาก่อนมีการ เลือกตั้ง จึงกำาหนดเป็ นนโยบายของพรรค และเมื่อผ่านกระบวนยอมรับจากประชาชนโดยการ เลือกตั้ง จึงได้นาำ มาเป็ นนโยบายรัฐบาล โดย กำาหนดในนโยบายให้ราคาข้าวหอมมะลิความชื้ น ๑๕% อยูท่ ี่ ๒๐,๐๐๐ บาท/เกวียน และ ข้าวขาวความชื้น ๑๕% อยูท่ ี่ ๑๕,๐๐๐ บาท/เกวียน ซึ่งมี ฐานการคำานวนมาจากต้นทุนการผลิตของข้าวทั้ง ๒ ชนิดรวมกับค่าเสี ยโอกาสที่จะมาทำานาปลูก ข้าวให้เรากิน กับการไปขายแรงงานในเมือง ๑.ต้นทุนโดยเฉลี่ย(ไม่รวมค่าแรงตัวเอง) ของข้าวหอมมะลิอยูท่ ี่ประมาณ ๑๑,๖๒๓ บาท/เกวียน ซึ่งราคาจำานำา เมื่อหักความชื้นจริ งอยูท่ ี่ ๑๙,๖๒๑ บาท/เกวียน ทำาให้ได้ กำาไรประมาณ ๘,๐๐๐ บาท/เกวียน หากครอบครัวหนึ่งทำานา ๒ คนในพื้นที่ ๑๕ ไร่ ทำานาได้ปี ละครั้ง(ใช้เวลาทำานา ๕ เดือน) จะได้ผลผลิตประมาณ ๖ เกวียน คิดเป็ นกำาไรจากการทำานา


97

๔๗,๙๘๘ บาท/ครอบครัว/ปี หรื อ ๔,๗๙๙ บาท/คน/เดือน ซึ่งน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่าำ ๓๐๐ บาท/ วัน ๒.ต้นทุนโดยเฉลี่ย(ไม่รวมค่าแรงตัวเอง) ของข้าวขาวอยูท่ ี่ประมาณ ๘,๔๖๙ บาท/เกวียน ซึ่งราคาจำานำา เมื่อหักความชื้นจริ งอยูท่ ี่ ๑๔,๖๐๐ บาท/เกวียน ทำาให้ได้กาำ ไร ประมาณ ๖,๑๓๑ บาท/เกวียน หากครอบครัวหนึ่งทำานา ๒ คนในพื้นที่ ๑๕ ไร่ ทำานาได้ปีละ๒ ครั้ง(ใช้เวลาทำานา ๑๒ เดือน) จะได้ผลผลิตประมาณ ๑๐.๕ เกวียน/ครั้ง คิดเป็ นกำาไรจากการทำา นา ๑๓๗,๑๕๑ บาท/ครอบครัว/ปี หรื อ ๕,๗๑๕ บาท/คน/เดือน ซึ่งน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่าำ ๓๐๐ บาท/วัน ดังนั้น การกำาหนดราคาจำานำาจึงได้คาำ นึงถึงต้นทุนการผลิตข้าวของชาวนาเป็ น สำาคัญ รัฐบาลต้องคำานึงถึงการทำาให้ชาวนาได้ผลตอบแทนที่เหมาะสมเพื่อ- ไม่ตอ้ งทิ้งนาไป ำ าค่าจ้างแรงงานขั้น ทำางานในเมือง และหากไม่ใช้นโยบายนี้ ชาวนาจะได้ผลตอบแทนสุ ทธิ ต่ากว่ ำ ต่าในเมื องมาก ดังเช่นที่ได้แสดงตัวเลขไว้ในส่ วนที่ช้ ีแจงว่า “ทำาไมต้องกำาหนดราคารับจำานำา สูง” นอกจากนี้ การกระจายรายได้ที่ไม่เป็ นธรรมระหว่างชาวนา โรงสี และพ่อค้าใน ช่วงก่อนหน้าที่รัฐบาลจะเข้ามาก็เป็ นอีกเหตุผลหนึ่งที่สนับสนุนให้รัฐบาลมีความมัน่ ใจว่านโย บายรับจำานำาข้าวจะเป็ นประโยชน์ต่อชาวนาอย่างแท้จริ ง ดังจะเห็นได้วา่ ในช่วงที่รัฐบาลเข้ารับ จำานำาข้าวฤดูการผลิตข้าวนาปี ๒๕๕๔/๕๕ นั้นราคาข้าวสารในตลาดภายในประเทศก็ไม่ได้สูง ไปกว่าราคาข้าวสารที่ขายในประเทศที่รัฐบาลก่อนหน้าดำาเนินนโยบายประกันรายได้แม้วา่ ราคา ข้าวเปลือกในช่วงรับจำานำาจะสูงกว่าราคาข้าวเปลือกในช่วงประกันรายได้กต็ ามซึ่งแสดงให้เห็น ว่าผูข้ ายปลีกข้าวสารในประเทศนั้นมีกาำ ไรส่ วนเกินเป็ นจำานวนมากในช่วงประกันรายได้ในขณะ ที่ชาวนามีรายได้นอ้ ย แต่เมื่อเปลี่ยนมาเป็ นนโยบายจำานำา กำาไรส่ วนเกินของผูข้ ายปลีกข้าวสาร ในประเทศได้ถูกถ่ายโอนมาให้กบั ชาวนาผ่านการกำาหนดราคารับจำานำาที่สูงขึ้ นโดยนโยบาย รัฐบาล กล่าวคือ ในปี ๒๕๕๒/๕๓ และ ๒๕๕๓/๕๔ ราคาประกันรายได้ขา้ วเปลือกหอมมะลิ ความชื้น ๑๕% อยูท่ ี่ ๑๕,๐๐๐ บาท/เกวียน ในขณะที่ราคาข้าวสารหอมมะลิ ราคาขายปลีกใน ประเทศ อยูท่ ี่ ๑๘๐ - ๒๐๐ บาท/ถุง ๕ กก. เมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๔/๕๕ และ ๒๕๕๕/๕๖ ราคา


98

รับจำานำาข้าวเปลือกหอมมะลิความชื้ น ๑๕% อยูท่ ี่ ๒๐,๐๐๐/เกวียน ในขณะที่ราคาข้าวสารหอม มะลิ ราคาขายปลีกในประเทศ อยูท่ ี่ ๑๘๐ - ๒๐๐ บาท/ถุง ๕ กก. เช่นเดียวกัน ในปี ๒๕๕๒/๕๓ และ ๒๕๕๓/๕๔ ราคาประกันรายได้ขา้ วเปลือกเจ้าขาว ความชื้น ๑๕% อยูท่ ี่ ๑๐,๐๐๐ - ๑๒,๐๐๐ บาท/เกวียน ในขณะที่ราคาขายปลีกข้าวสารเจ้าขาวใน ประเทศ อยูท่ ี่ ๑๐๐ - ๑๒๐ บาท/ถุง ๕ กก. เมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๔/๕๕ และ ๒๕๕๕/๕๖ ราคา รับจำานำาข้าวเปลือกเจ้าขาวความชื้น ๑๕% อยูท่ ี่ ๑๕,๐๐๐/เกวียน ในขณะที่ราคาขายปลีกข้าวสาร เจ้าขาวในประเทศ อยูท่ ี่ ๑๐๐ - ๑๒๐ บาท/ถุง ๕ กก. เช่นเดียวกัน ส่ วนในเรื่ องการช่วยเหลือเกษตรกรให้ปลูกข้าวอย่างยัง่ ยืน การทำาการเกษตรที่มี ประสิ ทธิภาพ การเพิม่ ผลผลิตต่อไร่ และคุณภาพวัตถุดิบ และการลดต้นทุนการผลิตข้าว นั้น กระทรวงเกษตรได้ช้ี แจงมายัง คณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยไม่ ได้ ละเลยต่ อข้ อเสนอแนะ “... ๑.๑ การเพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตข้าว ๑.ส่ งเสริ มการผลิตข้าวให้ได้มาตรฐานตามข้อกำาหนดการปฏิบตั ิทางการเกษตรที่ ดีสาำ หรับข้าว (Good Agricultural Practice for Rice; GAP) เพื่อให้การผลิตมีประสิ ทธิภาพได้ ผลผลิตที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสากลปลอดภัย ๒.พัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธ์ดีให้เกษตรกรอย่างทัว่ ถึง โดยการ จัดตั้งศูนย์ขา้ วชุมชนเพื่อให้เป็ นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ดีให้กบั ชาวนาในชุมชนอย่างเพียงพอ โดย กรมการข้าวจะเข้าไปให้คาำ แนะนำาและให้การรับรอง (Certified เมล็ดพันธุ์) ๓.การจัดระบบการปลูกข้าวใหม่โดยให้เกษตรกรทำานาไม่เกินปี ละ ๒ ครั้ง และ ำ อยและตลาดต้องการหรื อปลูกพืช ในช่วงระหว่างพักนาจะส่ งเสริ มในมีการปลูกพืชที่ใช้น้าน้ บำารุ งดินเพื่อตัดวงจรระบาดของโรคแมลงศัตรู พืช ๔.พัฒนาระบบเตือนภัยธรรมชาติและเพิ่มขีดความสามารถในการป้ องกัน กำาจัด ความรุ นแรงของการระบาดศัตรู ขา้ ว ลดความเสี่ ยงและความเสี ยหายจากโรคแมลงศัตรู พืชและ ภัยธรรมชาติต่างๆ ๕.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ขยายพื้นที่และปรับปรุ งระบบชลประทาน บริ หาร ำ างบูรณาการ การจัดรู ปที่ดินและการปรับปรุ งฟื้ นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน ให้ จัดการน้าอย่ ครอบคลุมพื้นที่ปลูกข้าวที่สาำ คัญ การฟื้ นฟูอนุรักษ์ดิน ๖.การวิจยั และพัฒนา โดยมุ่งเน้นการวิจยั พันธ์ที่ให้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรค แมลง วิจยั พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้เหมาะสมกับสภาพแต่ละท้องถิ่นและสภาวะภูมิอากาศ


99

ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป (Climate change) จะมีการจัดตั้งสถาบันวิจยั ข้าวแห่งชาติ เพื่อให้เป็ น ศูนย์กลางวิจยั และพัฒนาข้าวที่ครบวงจรตั้งแต่การผลิตไปจนถึงการเก็บเกี่ยว หลังการเก็บเกี่ยว และการแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเป็ นศูนย์กลางในการฝึ กอบรมถ่ายทอดความรู้ให้กบั นักวิชาการด้านข้าวและชาวนา” ในส่ วนของการลดต้นทุนการผลิตข้าว นั้น กระทรวงเกษตรได้ช้ี แจงเพิ่มเติม โดย มีสาระสำาคัญดังนี้ “... ๑.๒ การลดต้นทุนการผลิต ได้กาำ หนดไว้ ๒ มาตรการ ได้แก่ ๑.ด้ านปัจจัยการผลิต ได้แก่ ด้านปุ๋ ย เช่นการส่ งเสริ มปุ๋ ยอินทรี ย ์ ปุ๋ ยชีวภาพและปุ๋ ย สด ส่ งเสริ มการใช้ปุ๋ยตามค่าการวิเคราะห์ดิน ส่ งเสริ มเกษตรผสมปุ๋ ยใช้เอง ด้านเมล็ดพันธุ์ เช่น การผลิตและกระจายพันธุ์ดีให้เพียงพอ คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ และด้านเครื่ องจักรกลเกษตร เช่น การส่ งเสริ มเทคโนโลยีที่เหมาะสม ๒.ด้ านกระบวนการผลิต ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมทุกขั้นตอนของการ ผลิต การจัดเก็บข้อมูลต้นทุนการผลิต การบูรณาการการทำางานร่ วมกันทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง” จึงจะเห็นได้ ว่า รัฐบาลเข้ าใจและมิได้ ละเลยข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของคณะ อนุกรรมการฯ ที่ คณะกรรมการ ปปช.ได้ อ้างถึงในบันทึกการแจ้ งข้ อกล่ าวหาในเรื่องดังกล่ าวดัง จะเห็นได้ จากการทีค่ ณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ (กขช.) มีมติเมือ่ วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๖ ว่ าได้ มกี ารมอบหมายให้ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติทุกท่านนำาผล การดำาเนินการและข้อเสนอแนะจากคณะอนุกรรมการฯ ปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าว และ เอกสารที่เลขานุการ กขช. จัดทำาเกี่ยวกับผลตอบแทนจากการดำาเนินงานโครงการรับจำานาข้าวที่ พิจารณาทั้งเชิงเศรษฐกิจและสังคมผลประโยชน์ท้ งั ทางตรงและทางอ้อมกลับไปพิจารณาเพื่อ วิเคราะห์และเสนอข้อคิดเห็นว่าในการดำาเนินการรับจำานำาข้าวในครั้ งต่อไปควรจะปรับเปลี่ยน มาตรการอย่างไรเช่นกำาหนดปริ มาณราคาและระยะเวลารับจำานำาให้สอดคล้องกับข้อมูล สถานการณ์การผลิตที่มีการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับราคาตลาดโลกเพื่อนำาเสนอคณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) พิจารณาในครั้งต่อไปก่อนนำาเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป กรมการค้าต่างประเทศศึกษาและวิเคราะห์เพื่อเพิ่มช่องทางวิธีการจำาหน่ายข้าวตาม โครงการรับจำานำาโดยขอให้กาำ หนดรายละเอียดขั้นตอนและเงื่อนไขต่างๆเพิ่มเติมจากช่อง ทางการจำาหน่ายตามยุทธศาสตร์การระบายข้าวเดิมที่มีอยูเ่ พื่อให้การระบายข้าวในสต็อกของ


100

รัฐบาลรวดเร็ วขึ้นสามารถเข้าถึงตลาดได้กว้างขวางเพิ่มมากขึ้นเพื่อจะได้นาำ เงินจากการระบาย ข้าวส่ งคืนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรได้รวดเร็ วขึ้ น องค์การคลังสิ นค้าและองค์การตลาดเพื่อเกษตรกรตรวจสอบและจัดทำาข้อมูล โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปี ปี การผลิต ๒๕๕๔/๕๕ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปรัง ปี ๒๕๕๕ และโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ครั้งที่ ๑ (นาปี ) ตัดยอด ณ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ ให้ครบถ้วนและถูกต้องและจัดส่ งให้ฝ่ายเลขานุการคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาลและฝ่ ายเลขานุการ กขช. โดยด่วนเพื่อนำาไปพิจารณาปรับข้อมูลการปิ ดบัญชีให้ถูกต้องตามความเป็ นจริ งต่อไป ข้ อ ๙. ข้ อกล่ าวหาตามข้ อสั งเกตและข้ อเสนอแนะของหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนทีส่ ุ ด กค ๐๒๐๑/ล๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ โครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกนาปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ในข้ อที่ ๒ เรื่องการรับจำานำาในราคาสู งและไม่ จาำ กัดปริมาณ เป็ นแรงกระตุ้นให้ เกษตรกรเพิม่ รอบการผลิตมากขึน้ จาก ๕ ครั้งใน ๒ ปี เป็ น ๗ ครั้งใน ๒ ปี ส่ งผลให้ ปริมาณข้ าว ในระบบเพิม่ สู งขึน้ ขณะทีค่ ุณภาพข้ าวด้ อยลง แต่ สร้ างภาระรัฐบาลในการจัดสรรเงินงบ ประมาณสำ าหรับโครงการจำานำาข้ าวในรอบปี ผลิตนั้น ๆ และปี ต่ อ ๆ ไป เพิม่ สู งขึน้ นั้นรัฐบาลได้ มี มาตรการแก้ ไขดังนี้ ในเรื่ องการเพาะปลูกข้าวนาปรังหลายครั้งนั้น กระทรวงเกษตรได้ช้ ีแจงมายัง คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวคือ ในการดำาเนินการยกระดับราคาข้าวนั้นกระทรวงเกษตรมี มาตรการ “...(๓) การจัดระบบข้าวปลูกใหม่ โดยให้เกษตรกรทำานาปี ละไม่เกิน ๒ ครั้ง และ ำ อยและตลาดต้องการ หรื อปลูกพืชที่ใช้ ในระหว่างที่พกั นาจะส่ งเสริ มให้มีการปลูกพืชที่ใช้น้าน้ ำ อยและตลาดต้องการ หรื อปลูกพืชบำารุ งดินเพื่อตัดวงจรระบาดของโรคแมลงศัตรู พืช” น้าน้ ในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ได้ เร่ งรัดการทำาโซนนิ่ง (Zoning) ให้ เป็ นนโยบายหลักใน การแก้ ปัญหาเกษตรกรระยะยาว ในระยะเริ่ มต้น โดยมอบหมายให้กระทรวงเกษตรฯ ดำาเนิน การที่จะลดการปลูกข้าวนาปรัง และลดการปลูกข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว โดย เปลี่ยนไปปลูกพืชอย่างอื่นเพื่อยกระดับรายได้ เช่น อ้อย ดังจะเห็นได้จากการที่คณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) มีมติเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เห็นชอบแนวทางการเพิ่ม


101

ประสิ ทธิภาพการเพาะปลูกข้าวเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าวและเพิ่มรายได้ให้ชาวนา (Zoning) ซึ่ง ได้กาำ หนดเขตความเหมาะสมมากจำานวน ๑๗.๓๔๖ ล้านไร่ และเหมาะสมปานกลางจำาวน ๒๖.๕๗๒ ล้านไร่ รวมทั้งประเทศ ๔๓.๙๑๘ ล้านไร่ รวมถึงการบูรณาการร่ วมกันระหว่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงพลังงานกระทรวงมหาดไทยและ ผูป้ ระกอบการเพื่อร่ วมดำาเนินการขับเคลื่อนในทุกๆด้านผ่านมาตรการจูงใจเพื่อให้เกษตรกรได้ ใช้พิจารณาตัดสิ นใจปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกเพื่อเพิ่มรายได้ของเกษตรกรตามความต้องการ ของตนเอง นอกจากนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ ตามที่สาำ นัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี แจ้งต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ คณะรัฐมนตรี ได้ประชุมปรึ กษา เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ ลงมติวา่ “ รับทราบตามที่ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาชี้ แจงว่า ตามนโยบายของรัฐบาลที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภามีท้งั นโยบายเร่ งด่วนที่จะเริ่ มดำาเนินการในปี แรก และนโยบายที่จะดำาเนินการใน ๔ ปี เพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพการผลิตสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกร ซึ่งการรับจำานำาข้าวเปลือกในราคาที่ กำาหนดได้ดาำ เนินการแล้ว ส่ วนข้อเสนอของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติที่มีการดูแลรายได้ เกษตรกรให้ยงั คงมีกาำ ไรที่เหมาะสม โดยสอดคล้องกับวินยั การเงินการคลัง และรัฐบาลได้มี มาตรการอื่นในการยกระดับรายได้และให้เพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่เกษตรกร เช่น การจัด zoning ภาคการเกษตร เพื่อกำาหนดพื้นที่ในการผลิตพืชผลทางการเกษตรให้เหมาะสมและส่ งเสริ มการ วิจยั พันธุ์ขา้ วเพื่อพัฒนาคุณภาพของข้าว รวมทั้งการวิจยั เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลผลิตและ ผลิตภัณฑ์ที่มาจากข้าวให้สูงขึ้นในระยะยาว จึงเป็ นการดำาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลครบ ถ้วนแล้ว ทั้งนี้ มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี (นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง) ร่ วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องรับไปกำาหนดมาตรการยกระดับราคาสิ นค้าเกษตรและพืชพลังงาน โดยให้คาำ นึงถึง นโยบายเกี่ยวกับการเงินการคลังของประเทศด้วย ซึ่งปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับที่ ๔๒ ข้ อ ๑๐.โครงการรับจำานำาข้ าวมิใช่ โครงการทีบ่ ิดเบือนกลไกการตลาดจนเกินไป ตามข้ อสั งเกตและข้ อเสนอแนะของหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค ๐๒๐๑/ ล๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ว่ าโครงการรับจำาข้ าวเปลือกนาปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ มีผล ขาดทุนสุ ทธิ ๓๒,๓๐๑.๐๐ ล้ านบาท ในข้ อ ๓ ของข้ อสั งเกตและข้ อเสนอแนะว่ า “รัฐบาลกลาย เป็ นผู้ค้าข้ าวรายใหญ่ ซึ่งผลกระทบทีต่ ามมา คือ เกิดการบิดเบือนราคาตลาด ตลาดข้ าวเอกชน


102

โดยเฉพาะตลาดกลางข้ าวเปลื อกถู กทำา ลาย โรงสี และผู้ ส่ งออกนอกโครงการไม่ สามารถ จั ดหาซื้ อข้ าวได้ เพียงพอ โรงสี ในโครงการและผู้ส่งออกทีช่ นะการประมูลข้ าว จะมีการค้ าขายที่ มีข้อได้ เปรียบโรงสี และผู้ส่งออกนอกโครงการ ตลอดจนราคาข้ าวไทยแพงกว่ าคู่แข่ งในต่ าง ประเทศ ทำาให้ ประเทศไทยสู ญเสี ยตลาดส่ งออกทีส่ ำ าคัญ” ดังที่ขา้ พเจ้าได้เรี ยนมาตั้งแต่ตน้ ว่า กลไกตลาดสิ นค้าเกษตรโดยเฉพาะตลาดข้าว มีความสมบูรณ์ของตลาดไม่เท่ากัน กรณีขา้ วหอมมะลิที่มีผซู ้ ้ื อผูข้ ายจำานวนมากและมีความ ต้องการสูง กลไกตลาดทำางานได้ดีโดยชาวนาและพ่อค้าเอกชนซื้ อขายกันเองครึ่ งหนึ่ง รัฐบาลรับ จำานำาเพียงครึ่ งหนึ่งของผลผลิตในแต่ละปี เท่านั้น ดังนั้น บทบาทของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าวจึงเป็ นการช่วยให้กลไกตลาดต้น ฤดูที่มีผลผลิตมากให้มีราคาที่เหมาะสม และขายออกให้กบั เอกชนทุกรายที่มาประมูลข้าวหอม มะลิไม่เลือกว่าเอกชนรายนั้นจะอยูใ่ นโครงการหรื อนอกโครงการ และในจำานวนที่เห็นว่า เอกชนและตลาดมีความต้องการ ในทางปฏิบตั ิเมื่อเอกชนต้องการข้าวหอมมะลิเพื่อไปขายใน ประเทศหรื อเพื่อส่ งออก ก็สามารถติดต่อมายังกระทรวงพาณิ ชย์เพื่อขอซื้ อข้าวได้อยูแ่ ล้ว ซึ่ง เป็ นการดำาเนินการโดยปรกติของตลาดข้าวหอมมะลิที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ กรณี ขา้ วเจ้าขาวนาปรัง รัฐบาลมีส่วนในการซื้ อข้าวขาวนาปรังมาก เพราะต้อง มีการปรับกลไกให้เหมาะสม ไม่มีความต้องการในประเทศ ประเทศไทยต้องส่ งออกเป็ นส่ วน ใหญ่หรื อเกือบทั้งหมด อีกทั้งกลไกตลาดไม่สมบูรณ์ เพราะมีผสู ้ ่ งออกรายใหญ่อยูจ่ าำ นวน ำ เกิน ๑๐ ประเทศซึ่งส่ วน ประมาณไม่เกิน ๑๐ ราย และมีประเทศผูซ้ ้ื อข้าวเจ้าขาวคุณภาพต่าไม่ ใหญ่เป็ นรัฐบาลหรื อรัฐวิสาหกิจเป็ นผูน้ าำ เข้า ซึ่งหากรัฐบาลปล่อยให้เป็ นไปตามกลไกตลาดโดย ำ ไม่เข้าไปบริ หารจัดการ ราคาข้าวก็จะถูกกดให้ต่าเพราะมี ผซู ้ ้ื อจำานวนน้อยรายและมีอาำ นาจตลาด เหนือชาวนามาก ซึ่งมีผลให้ชาวนามีรายได้นอ้ ยลงมากอย่างไม่เป็ นธรรม การที่รัฐบาลเข้าไปรับจำานำาจึงทำาเพื่อยกระดับรายได้ของชาวนาเป็ นสำาคัญ แต่ก็ ำ ยังเปิ ดโอกาสให้ผสู ้ ่ งออกข้าวเจ้าขาวคุณภาพต่ารายใหญ่ สามารถเข้ามาประมูลซื้ อข้าวจากสต็อก รัฐบาลได้ตลอดเวลา เมื่อพ่อค้าเอกชนไม่ตอ้ งการแล้วจึงเก็บข้าวนี้ ไว้ในสต็อกเพื่อเป็ นสต็อก สำารองทางยุทธศาสตร์สาำ หรับปี ต่อๆไป อีกทั้งรัฐบาลก็มิได้ละเลยที่จะแก้ปัญหาระยะยาว ด้วย การทำาโซนนิ่ง การลดพื้นที่เพาะปลูก และการกำาหนดคุณภาพ และ ปริ มาณของข้าวขาวนาปรังที่ จะเข้ามาในโครงการ


103

ดังได้ช้ ีแจงว่า ในสมัยที่รัฐบาลในอดีตมีนโยบายประกันรายได้ ผูป้ ระกอบการส่ ง ำ ออกข้าวเจ้าขาวคุณภาพต่ารายใหญ่ เหล่านี้ สามารถซื้ อข้าวเปลือกเจ้านาปรังจากชาวนาได้ในราคา ถูก อีกทั้งสามารถเข้าไปซื้ อข้าวในสต็อกรัฐบาลก่อนได้ในราคาถูกโดยไม่มีการประมูลเป็ น จำานวนประมาณ ๓.๔ ล้านตันข้าวสาร ทำาให้สามารถส่ งออกข้าวสารเจ้าและข้าวนึ่งไปยัง ประเทศคู่คา้ ประจำาได้เป็ นปริ มาณสูงถึง ๙.๒ ล้านตัน ในช่วงตุลาคม ๒๕๕๓ – กันยายน ำ าปี ก่อนหน้ามาก ในขณะที่ขา้ วสารขายปลีกในประเทศไม่ได้ ๒๕๕๔ ซึ่งขายได้ในราคาที่ต่ากว่ ำ ราคาข้าวเจ้าขาวคุณภาพต่าส่ ำ งออกของไทยในช่วงนี้ จึงไม่ควรถูกนำามาเป็ นมาตรฐานของ ต่าลง ราคาข้าวเจ้าขาวส่ งออกของประเทศไทยสำาหรับปี ถัดไป เพราะเป็ นการสนับสนุนผูบ้ ริ โภคใน ต่างประเทศ ด้วยการนำาข้าวไทยซึ่งควรมีราคาดี ไปตัดราคาคู่แข่งที่มีคุณภาพด้อยกว่า เมื่อรัฐบาลข้าพเจ้าเข้ามาบริ หารประเทศ เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในช่วงตุลาคม – ำ งออกของไทยก็เพิ่มขึ้นจากประมาณ ๔๘๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ราคาข้าวขาวคุณภาพต่าส่ เหรี ยญสหรัฐ/ตันในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๔ เป็ นประมาณ ๕๘๐ เหรี ยญสหรัฐ/ตันในช่วงที่ รัฐบาลยิง่ ลักษณ์บริ หารประเทศปี แรก (ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๕) มีการกล่าวอ้างอยูเ่ สมอว่า “การจำานำาข้าวทำาให้ราคาข้าวแพงกว่าคู่แข่งในตลาด ต่างประเทศและทำาให้ประเทศไทยสูญเสี ยตลาดส่ งออกสำาคัญ ” เรื่ องนี้เป็ นความเข้าใจผิดที่ก่อให้ เกิดผลเสี ยกับประเทศเป็ นอย่างมาก ทั้งนี้ เพราะการที่ประเทศไทยขายข้าวได้ราคาแพงเป็ นสิ่ งที่ ดีกบั ประเทศ เพราะข้าวทุกเมล็ดใช้ที่ดินของไทย ใช้นาของไทย ้ำ ใช้ชาวนาไทย เมื่อขายได้ราคา ประเทศก็ได้ประโยชน์ ไม่สมควรเป็ นอย่างยิง่ ที่ประเทศไทยจะขายข้าวของไทยในราคาถูกและ ให้การอุดหุนผูน้ าำ เข้าข้าวของไทย ข้อเท็จจริ งปรากฏว่า ในระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๕ ซึ่ง เป็ นช่วงของรัฐบาลข้าพเจ้าประเทศไทยส่ งออกข้าว ๖.๗ ล้านตัน ได้เป็ นมูลค่า ๑๔๓,๓๑๗ ล้าน บาท ในราคาเฉลี่ย (ข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียว ข้าวขาว) ๒๑,๔๐๓ บาท/ตัน หรื อ ๖๘๖ เหรี ยญ สหรัฐต่อตัน เทียบกับราคาเฉลี่ย ๑๗,๕๖๕ บาท/ตัน หรื อ ๕๘๓ เหรี ยญสหรัฐต่อตัน ในช่วง เดือนตุลาคม ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ซึ่งใช้วิธีประกันรายได้ แสดงให้เห็นว่า การส่ งออก เกือบ ๗ ล้านตันเป็ นการส่ งออกในปี ปรกติ มิได้มีขอ้ สนับสนุนว่าเสี ยตลาดส่ งออกแต่อย่างใด ทั้งๆที่ในช่วงเวลาดังกล่าว มีเหตุการณ์ไม่ได้คาดมาก่อน ๒ เหตุการณ์ คือ


104

เป็ นครั้งแรกในรอบหลายปี ที่รัฐบาลอินเดียอนุญาตให้มีการส่ งออกข้าวเจ้าขาว ำ ่อระบายสต็อกออกถึง ๕ ล้านตัน จึงทำาให้ปริ มาณส่ งออกข้าวสารเจ้าขาวของไทย คุณภาพต่าเพื ลดลงเหลือ ๔.๕ ล้านตัน ำ ่สาำ คัญบางประเทศ เช่น อินโดนีเซียและ ประเทศผูน้ าำ เข้าข้าวเจ้าขาวคุณภาพต่าที บังคลาเทศ ก็ลดปริ มาณการนำาเข้าข้าวในปี นั้นลงอย่างมาก กล่าวคือ อินโดนีเซีย ลดลงจาก ๓.๑ ล้านตัน ในปี ๒๕๕๔ เป็ น ๑.๙๖ ล้านตัน ในปี ๒๕๕๕ บังคลาเทศ ลดลงจาก ๑.๔๘ ล้านตันใน ปี ๒๕๕๔ เป็ น ๐.๐๓ ล้านตัน ในปี ๒๕๕๕) ซึ่งเหตุการณ์ท้ งั ๒ เป็ นเหตุการณ์ชวั่ คราวที่ทาำ ให้ตลาดส่ งออกข้าวของไทยมีขอ้ จำากัด แต่ประเทศไทยก็ยงั สามารถส่ งออกข้าวได้ ในทั้งสิ้ นเกือบ ๗ ล้านตัน และได้ราคาส่ งออก ำ ที่ดีกว่าในช่วงประกันรายได้ที่ผสู ้ ่ งออกข้าวขาวคุณภาพต่ าของไทยไม่ เกิน ๑๐ ราย สามารถซื้ อ ข้าวขาวได้ราคาถูกและไปตัดราคาส่ งออกในตลาดที่มีกาำ ลังซื้ อน้อย สิ่ งที่ประเทศไทยได้จากนโยบายประกันรายได้ดงั กล่าว คือ ปริ มาณส่ งออกสูง ราคาส่ งออกถูก ผูบ้ ริ โภคข้าวไทยในต่างประเทศซื้ อข้าวได้ถูกกว่าที่ควรจะเป็ น เห็นได้อย่าง ชัดเจนว่า นโยบายจำานำาข้าวทำาให้ผสู ้ ่ งออกต้องทำางานหนักมากขึ้ นเพราะต้องมุ่งหาตลาดข้าว คุณภาพ เพื่อให้ขายข้าวไทยได้ในราคาที่สูง ไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะปริ มาณส่ งออก ปริมาณและมูลค่ าการส่ งออกข้ าวสารของไทย ๒ ช่ วงเวลา (ต.ค. ๒๕๕๓ – ก.ย. ๒๕๕๔ และ ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๕) ฤดูการผลิต ต.ค. ๒๕๕๓ - ก.ย. ๒๕๕๔ เป็ นช่วงเวลาประกันรายได้ของรัฐบาลที่แล้ว ปริมาณส่งออก (ตัน) ข ้าวขาว ข ้าวเหนียว ข ้าวหอมมะลิ รวม

มูลค่าส่งออก (บาท)

ราคาเฉลีย ่ บาท/ตัน USD/ตัน

๙,๓๒๖,๙๔๒

๑๔๔,๗๒๑,๖๔๕,๖๒๓ ๑๕,๕๑๗

๕๑๓.๑๗

๒๕๗,๘๓๖

๖,๑๓๘,๔๒๙,๗๒๖ ๒๓,๘๐๗

๗๘๗.๓๗

๒,๕๔๐,๕๔๑ ๑๒,๑๒๕,๓๑ ๙

๖๓,๒๓๐,๓๐๔,๓๖๗ ๒๔,๘๘๙

๘๒๓.๑๒

๒๑๔,๐๙๐,๓๗๙,๗๑๖ ๑๗,๖๕๖

๕๘๓.๙๔

หมายเหตุ : ณ อัตราแลกเปลี่ยน ๓๐.๒๔ บาทต่อเหรี ยญสหรัฐ ที่มา : สมาคมผูส้ ่งออกข้าวไทย ฤดูการผลิต ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๕ เป็ นช่วงเวลาจำานำาของรัฐบาลยิง่ ลักษณ์


105 ปริมาณส่งออก (ตัน) ข ้าวขาว ข ้าวเหนียว ข ้าวหอมมะลิ รวม

มูลค่าส่งออก (ล ้านบาท)

ราคาเฉลีย ่ บาท/ตัน USD/ตัน

๔,๕๙๑,๕๑๖

๘๑,๒๖๑,๐๐๖,๖๙๑ ๑๗,๖๙๘

๕๖๗.๗๙

๒๑๑,๘๖๘

๕,๔๐๑,๕๓๙,๑๑๔ ๒๕,๔๙๕

๘๑๗.๙๒

๑,๘๙๒,๗๕๘

๕๖,๖๕๔,๔๕๙,๕๐๔ ๒๙,๙๓๒

๙๖๐.๒๘

๖,๖๙๖,๑๔๒

๑๔๓,๓๑๗,๐๐๕,๓๐๙ ๒๑,๔๐๓

๖๘๖.๖๔

หมายเหตุ : ณ อัตราแลกเปลี่ยน ๓๑.๑๗ บาทต่อเหรี ยญสหรัฐ ที่มา : สมาคมผูส้ ่งออกข้าวไทย

โดยสรุปปัญหาเรื่องบิดเบือนกลไกตลาดมีประเด็นสำ าคัญทีต่ ้ องพิจารณาว่ าเป็ นการ บิดเบือนกลไกการตลาดหรือไม่ มีข้อพิจารณา คือ ๑.ปัญหาเรื่ องการกระจายรายได้ และความไม่เท่าเทียมกัน ๒.ประเทศไทยมีปัญหาเรื่ องการกระจายรายได้ และแก้ไม่หาย วิธีการแก้ คือ สร้าง การขยายตัวของเศรษฐกิจในกิจกรรมของผูม้ ีรายได้นอ้ ย –กรณี ประเทศไทยคือเกษตรกร ๓.สาเหตุที่มีปัญหาเรื่ องความเท่าเทียมเพราะกลไกตลาดไม่สมบูรณ์ เกิดขึ้นต่อเนื่อง กันมา เพราะนโยบายการสนับสนุนการส่ งออกที่ทาำ ให้ภาคอุตสาหกรรมได้เปรี ยบภาค เกษตรกรรม ๔.ปัญหาเรื่ องราคาต้นฤดูและปลายฤดู ดังนั้นการแทรกแซงตลาดของรัฐบาลจึงเป็ น หน้าที่และดำาเนินมาตลอด ไม่วา่ จะเป็ นการจำานำา หรื อ ประกันรายได้ การปล่อยให้กลไกตลาด ทำางานเพราะกลัวการโกง ผลรายได้ตกอยูก่ บั ประชาชน ๕.นโยบายจำานำาข้าวมีประโยชน์กบั ชาวนาและการพัฒนาประเทศ จึงไม่ควรยกเลิก เพราะมีการกล่าวหาว่าทุจริ ต เพราะหากมีการกระทำาทุจริ ตจริ ง ก็ตอ้ งมีการจับกุมดำาเนินคดี ในประเด็นนีข้ ้ าพเจ้ าในฐานะผู้ถูกกล่ าวหาขออ้ างสื บพยานบุคคลรายนาย สั ตวแพทย์ ชัย วัชรงค์ นักวิชาการอิสระซึ่งศึกษากลไกการตลาดข้ าว และนำาเสนอต่ อสาธารณะ จนเป็ นทีป่ ระจักษ์ เพือ่ นำาสื บหักล้ างข้ อกล่ าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามบันทึกแจ้ งข้ อ กล่ าวหาในข้ อ ๓ ในเรื่องข้ ออ้ างการบิดเบือนกลไกตลาดและหักล้ างข้ อสั งเกตและข้ อเสนอแนะที่


106

ปรากฏในข้ อ ๓ ของหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนทีส่ ุ ด กค ๐๒๐๑/ล๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ โครงการรับจำานำาข้ างเปลือกนาปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ทีม่ ขี ้ อสั งเกตและข้ อเสนอ แนะว่ า “รัฐบาลกลายเป็ นผู้ค้าข้ าวรายใหญ่ ซึ่งผลกระทบทีต่ ามมา คือ เกิดการบิดเบือนราคา ตลาด ตลาดข้ าวเอกชนโดยเฉพาะตลาดกลางข้ าวเปลื อกถู กทำา ลาย โรงสี และผู้ ส่ งออกนอก โครงการไม่ สามารถจั ดหาซื้ อข้ าวได้ เพียงพอ โรงสี ในโครงการและผู้ส่งออกทีช่ นะการประมูล ข้ าว จะมีการค้ าขายทีม่ ขี ้ อได้ เปรียบโรงสี และผู้ส่งออกนอกโครงการ ตลอดจนราคาข้ าวไทยแพง กว่ าคู่แข่ งในต่ างประเทศ ทำาให้ ประเทศไทยสู ญเสี ยตลาดส่ งออกทีส่ ำ าคัญ” ไม่ ถูกต้ องตามข้ อเท็จ จริง พยานบุคคลในลำาดับที่ ๗ ข้ อ ๑๑. ข้ อกล่ าวหาตามข้ อสั งเกตและข้ อเสนอแนะของหนังสื อกระทรวงการ คลังลับ ด่ วนทีส่ ุ ด กค ๐๒๐๑/ล๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ โครงการรับจำานำาข้ าวเปลือก นาปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ในข้ อที่ ๔ “… รัฐบาลจำานำาข้ าวเปลือกทุกเมล็ด โดยไม่ จาำ กัดพืน้ ทีผ่ ลิต และวงเงินการรับจำานำา ส่ งผลต่ อความเสี่ ยงในการเกิดความเสี ยหายต่ อโครงการอย่ างยิง่ จึงควร มีมาตรการวางแผนการรับจำานำาทีด่ ี โดยเฉพาะประเด็นข้ าวสวมสิ ทธิ์จากประเทศเพือ่ นบ้ าน ซึ่ง ปัญหามีแนวโน้ มสู งขึน้ หลังจากการเปิ ดเสรีอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ตลอดจนปริมาณรับจำานำาข้ าว สู งเกินกว่ าข้ อเท็จจริง แต่ คุณภาพต่ำ ากว่ าทีร่ ับจำานำา ...” นั้น รัฐบาลมีมาตรการแก้ไขดังนี้ ในเรื่ องการสวมสิ ทธิ์จากประเทศเพื่อนบ้านนั้น กระทรวงเกษตรได้ช้ี แจงมายัง คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวคือในการดำาเนินการการขึ้นทะเบียนเกษตรกรนั้นกระทรวงเกษตร มีมาตรการ “...๑) การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ประโยชน์ในการขึ้นทะเบียนและ รับรองเกษตรกรโดยกรมส่ งเสริ มการเกษตรได้ดาำ เนินการจัดซื้ อเครื่ อง GPS มอบให้สาำ นักงาน เกษตรอำาเภอ อำาเภอละ ๑ เครื่ อง เพื่อใช้ในการตรวจสอบแปลงเพาะปลูกของเกษตรกรที่ข้ึ น ทะเบียนเกษตรกรผูป้ ลูกพืชเศรษฐกิจ โดยเริ่ มดำาเนินการในปี เพาะปลูก ๒๕๕๕/๕๖ ๒) การกำาหนดให้มีมาตรการลงโทษที่เหมาะสมและจริ งจังกับเกษตรกรที่ไม่ สุ จริ ต ได้กาำ หนดมาตรการลงโทษเกษตรกรณี ดงั กล่าวไว้แล้ว เช่น การปรับพื้นที่ให้ตรงกับความ เป็ นจริ ง การเพิกถอนสิ ทธิการเข้าร่ วมโครงการ และ/หรื อการดำาเนินการตามกฎหมาย” ในเรื่ อง การป้ องกันและแก้ไขปัญหาทุจริ ต เช่น การสวมสิ ทธิ คณะรัฐมนตรี กม็ ิได้ละเลยและได้มอบ


107

หมายให้ รองนายกรัฐมนตรี ร้อยตำารวจเอกเฉลิม อยูบ่ าำ รุ ง เป็ นผูร้ ับผิดชอบ จากการดำาเนินการดัง กล่าว พบว่าขณะนี้ มีเกษตรกรที่ถูกเพิกถอนสิ ทธิแล้ว รวมถึงมีการลงโทษเกษตรกรที่ไม่สุจริ ต รัฐบาลโดยกระทรวงพาณิ ชย์ได้ดาำ เนินการติดตามตรวจสอบการรับจำานำาให้ถูก ต้อง โปร่ งใส และมีประสิ ทธิภาพ เพื่อป้ องกันการทุจริ ตในการรับจำานำาโดยสุ่ มตรวจสอบโรงสี ตลาดกลาง โกดังกลาง และเกษตรกร พบการกระทำาความผิดจำานวน ๓,๘๗๐ ราย ได้แก่ ๑. การ ขนย้ายโดยไม่ได้รับอนุญาต ๒. การสวมสิ ทธิเกษตรกร ๓. ข้าวขาดบัญชี มีการเพิ่มมาตรการ ป้ องกัน ตรวจสอบ และลงโทษผูก้ ระทำาความผิดโดยเด็ดขาด ปรากฏตามพยานเอกสารส่ วน ราชการสำานักรัฐมนตรี ประจำาสำานักนายกรัฐมนตรี (นายวราเทพ รัตนากร) ที่ สพล. (ลต๒ ) ๑๐๖/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ ที่สพล. (ลต๑) ๑๒๐/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ที่สพล. (ลต๑) ๑๖๐/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๘ ตุลาคม๒๕๕๖ เรื่ อง การติดตามงานตาม นโยบายเร่ งด่วนของรัฐบาล ด้านเศรษฐกิจ ในส่ วนของรัฐมนตรี ประจำาสำานักนายกรัฐมนตรี (นายวราเทพ รัตนากร)ถึงข้าพเจ้า พยานเอกสารในลำาดับที่ ๔๓ ข้ าพเจ้ าขออ้ างสื บนายวราเทพ รัตนากร รัฐมนตรีประจำาสำ านักนายกรัฐมนตรี ถึง รายงานการติดตามนโยบายเร่ งด่ วนของรัฐบาลด้ านเศรษฐกิจในส่ วนของรัฐมนตรีประจำาสำ านัก นายกรัฐมนตรี เพือ่ ชี้ให้ คณะกรรมการป.ป.ช. เห็นว่ า รัฐบาลโดยข้ าพเจ้ าดำาเนินการติดตาม ตรวจสอบ การรับจำานำาสิ นค้ าเกษตร ให้ ถูกต้ อง โปร่ งใส และมีประสิ ทธิภาพเพือ่ ป้องกันการ ทุจริตในการรับจำานำาโดยเฉพาะการสวมสิ ทธิเกษตรกรตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่ าวหา เพิม่ มาตรการป้ องกัน ตรวจสอบ และลงโทษผู้กระทำาความผิดโดยเด็ดขาด พยานบุคคลใน ลำาดับที่ ๘ ข้ อ ๑๒. ข้ อกล่ าวหาตามข้ อสั งเกตและข้ อเสนอแนะของหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนทีส่ ุ ด กค ๐๒๐๑/ล๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ โครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกนาปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ในข้ อที่ ๕ “โครงการของประเทศไทยส่ งผลให้ ราคาข้ าวในตลาดโลกสู งขึน้ ทำาให้ ประเทศส่ งออกรายอืน่ ได้ รับประโยชน์ โดยตรง ในขณะทีป่ ระเทศไทยไม่ สามารถจำาหน่ าย ข้ าวในโครงการได้ เนื่องจากราคาจำานำายังสู งกว่ าราคาในตลาดโลก ดังนั้น หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจึง ควรหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพือ่ รักษาระดับขีดความสามารถในการแข่ งขันกับประเทศผู้ ส่ งออกข้ าวของประเทศไทย และนำารายได้ จากการส่ งออกเข้ าสู่ ประเทศ มากขึน้ ” นั้น ยังมีข้อไม่ สมบูรณ์ ข้ อสั งเกตและไม่ ถูกต้ องคลาดเคลือ่ นต่ อข้ อเท็จจริงดังนี้


108

หากเทียบกับปี ๒๕๕๑และ ๒๕๕๒ ราคาข้าวไทยในปี ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ไม่ได้ ำ สู ง ขึ้ นแต่ เ พราะราคาข้า วไทยในปี ๒๕๕๓ นั้น ตกต่ามากเกิ น ไปจนไปตี ต ลาดข้า วคุ ณ ข้า ว ำ คุณภาพต่าจากต่ างประเทศ เช่นเวียดนาม โดยมีสาเหตุเนื่องมาจากรัฐบาลก่อนหน้าใช้วิธีจ่ายเงิน ชดเชยรายได้ให้กบั ชาวนาในอัตราเฉลี่ย ๑,๖๐๐-๒,๐๐๐ บาท/เกวียนข้าวเปลือกทำาให้ผสู ้ ่ งออก สามารถซื้ อข้าวขาวได้ถูกเฉลี่ยประมาณ ๘,๔๐๐ บาท/เกวียน ซึ่ งเป็ นการกดราคาซื้ อข้าวเปลือก เพื่ อทำา ให้ราคาส่ งออกข้าวขาวลดลงเหลื อ เพี ยง ๔๙๑ USD/ตันข้าวสาร ทั้งๆที่ ก่อนหน้านั้น สามารถขายได้ในราคา ๕๕๔ USD/ตันข้าวสาร ในปี ๒๕๕๒ ตารางราคาข้าวสารหอมมะลิและข้าวสารขาว (๒๕๕๑ – ก.พ. ๒๕๕๗)

ราคาข้ าวสารหอม มะลิ ๑๐๐%ส่ งออก ณ ท่ าเรือกรุ งเทพ (USD/ตัน) ราคาข้ าวสารขาว ๕%ส่ งออก ณ ท่ าเรือกรุ งเทพ (USD/ตัน) อัตราแลกเปลีย่ น (บาท/USD) ราคาข้ าวสารหอม มะลิ ๑๐๐%ส่ งออก ณ ท่ าเรือกรุ งเทพ (บาท/ตัน) ราคาข้ าวสารขาว ๕%ส่ งออก ณ ท่ าเรือกรุ งเทพ (บาท/ตัน)

๒๕๕๑

๒๕๕๒

๒๕๕๓

๒๕๕๔

๒๕๕๕

๒๕๕๖

๙๒๐

๙๐๘

๑,๑๐๕

๑,๑๑๔

๑,๐๗๑

๑,๑๕๙

๒๕๕๗ (ม.ค. – ก.พ.) ๑,๑๕๒

๖๘๒

๕๕๔

๔๙๑

๕๔๙

๕๗๓

๕๑๖

๔๕๕

๓๓.๔

๓๔.๓

๓๑.๗

๓๐.๕

๓๑.๐

๓๐.๗

๓๒.๑

๓๐,๗๒๘ ๓๑,๑๔ ๔

๓๕,๐๒ ๓๓,๙๗๗ ๓๓,๒๐ ๙ ๑

๓๕,๕๘ ๓๖,๙๗๙ ๑

๒๒,๗๗๙ ๑๙,๐๐๒ ๑๕,๕๖๕ ๑๖,๗๔๕ ๑๗,๗๖๓ ๑๕,๘๔๑ ๑๙,๒๖๐

ทีม่ า: สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย


109

การจำานำาของรัฐบาลจึงเป็ นการดึงราคาข้าวเปลือกส่ งออกให้กลับมาอยูใ่ นระดับ ที่เหมาะสมและสามารถบริ หารจัดการสต็อกข้าวได้ เพราะข้าวไทยเป็ นข้าวที่มีคุณภาพสูง เป็ นที่ ยอมรับในตลาดโลกว่าพร้อมจะจ่ายราคาที่สูงกว่าข้าวของคู่แข่งเช่นเวียดนามตลอดมา อนึ่งการทีร่ ัฐบาลเดิมใช้ นโยบายประกันรายได้ และจ่ ายส่ วนต่ างประมาณ ๑,๖๐๐ -๒,๐๐๐ บาท/ตันข้ าวเปลือกนั้น เป็ นการสนับสนุนให้ พ่อค้ าส่ งออกของไทยตัดราคาและขายข้ าว ได้ ราคาถูก และเป็ นการใช้ งบประมาณอุดหนุนผู้บริโภคข้ าวไทยในต่ างประเทศให้ ได้ บริโภคข้ าว ไทยคุณภาพต่ำ าในราคาทีถ่ ูกว่ าความเป็ นจริงจึงเป็ นผลเสี ยกับประเทศไทย และงบประมาณของ ไทย ทั้งนี้ เป็ นที่น่าสังเกตว่าแม้พอ่ ค้าจะสามารถซื้ อข้าวเปลือกในราคาถูกและส่ งออก ในราคาที่ถูกลงมาก แต่ราคาข้าวขายปลีกในประเทศมิได้ลดลงในสัดส่ วนเดียวกัน กล่าวคือราคา ข้าวสารขาว ๕% ในช่วงประกันรายได้ ปี ๒๕๕๓ ราคาอยูท่ ี่ ๑๑๐ บาท/ถุง ๕ กก.ในขณะที่ ราคา ข้าวสารขาว ๕% ปี ๒๕๕๒ ก็เคยอยูท่ ี่ประมาณ ๑๑๐ บาท/ถุง ๕ กก.เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามกระทรวงพาณิ ชย์ ได้ช้ ีแจงเรื่ องการระบายข้าวมายังคณะกรรมการ ป.ป.ช. “...สำาหรับวิธีการและปริ มาณข้าวที่จะระบายในแต่ละครั้ งจะพิจารณาตามสภาวะ ตลาด โอกาส และจังหวะที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อเสถียรภาพราคาข้าวในประเทศ และไม่กระทบต่อการดำาเนินการทางธุรกิจของผูป้ ระกอบการภายในประเทศ เช่นในช่วงเวลาที่ ข้าวเปลือกไม่ได้อยูใ่ นมือของเกษตรกร ในภาวะตลาดข้าวในประเทศเกิดการตึงตัว อาจจะ ระบายข้าวในปริ มาณมากเพื่อเพิม่ อุปทานข้าวในประเทศ รวมทั้งเพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการข้าวของตลาดต่างประเทศ เพื่อรักษาส่ วนแบ่งข้าวของไทยในตลาดโลก โดยคำาถึงถึง สถานะที่ไทยควรจะเป็ น Price Maker ในตลาดโลกและในราคาของคู่แข่ง อาทิเช่น เวียดนาม..” ข้ อ ๑๓ . การจัดทำารายงานของคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้ าว เปลือกตามนโยบายของรัฐบาล ได้ มกี ารรายงานผลการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาผลิตผล การเกษตรรวมถึงการรับจำานำาข้ าวเปลือกของรัฐบาลและแจ้ งให้ ข้าพเจ้ าทราบในฐานะประธาน คณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ ตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนที่สุ ด ที่ กค ๐๒๐๑/ล.๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ว่ าโครงการรั บจำานำาข้ าวเปลือกนาปี ปี


110

๒๕๕๔/๒๕๕๕ มีผลขาดทุนสุ ทธิ ๓๒,๓๐๑.๐๐ ล้ านบาท และตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค ๐๒๐๑/๘๐๘๑ ลงวั นที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ว่ าโครงการรั บจำา นำา ข้ าว เปลื อกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ โครงการรั บ จำา นำา ข้ าวเปลื อกนาปรั ง ปี ๒๕๕๕ และ โครงการรั บจำา นำา ข้ าวเปลื อกนาปรั ง ปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ มี ผลขาดทุนรวม ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้ านบาท มีข้อไม่ สมบูรณ์ ไม่ ถูกต้ อง ผิดหลักการและมีข้อสั งเกตและข้ อสงสั ยถึงขนาดทีค่ ณะ กรรมการ ป.ป.ช. ไม่ อาจนำาไปสรุปเป็ นข้ อเท็จจริงทีส่ ำ าคัญว่ าข้ อกล่ าวหามีมูลโดยความเห็นของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นักบัญชีอาวุโสและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ดังนี้ ความเห็นของกระทรวงการคลังทีช่ ี้ข้อไม่ สมบูรณ์ ของรายงาน ได้ แก่ ๑.การรายงานการปิ ดบัญชีฯ ได้แสดงยอดรวมของ โครงการรับจำานำาผลิตผล ทางการเกษตรตั้งแต่ปี ๒๕๔๗/๔๘ ซึ่งรวมผลิตผลการเกษตรชนิดอื่น : มันสำาปะหลัง ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ และกุง้ ขาวแวนนาไม ซึ่งเป็ นโครงการของรัฐบาลอื่นไว้ในการรายงานด้วย จึงทำาให้มี ความเสี่ ยงต่อความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนว่า ยอดรวมของภาระผลกำาไร (ขาดทุน) และ/หรื อ ภาระ หนี้เป็ นผลจากการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาลปัจจุบนั โดยหากใช้วิธีการรายงานผลขาดทุนสุ ทธิ ตามแนวทางของประธานอนุกรรมการ ผล (ขาดทุน) ตามโครงการของรัฐบาลปัจจุบนั จะมียอด ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ที่ ๓๒,๓๐๑.๐ ล้านบาท ซึ่งเป็ นเพียงร้อยละ ๑๗.๐ ของยอดรวมโครงการรับจำาข้าวเปลือกจำานวน ๑๒ โครงการ ตั้งแต่ปี ๔๗/๔๘ หรื อเป็ นเพียง ร้อยละ ๑๕.๖ ของยอดรวมโครงการรับจำานำา ผลผลิตทางการเกษตรทุกโครงการ ในขณะที่ยอด ณ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๖ ที่ ๒๒๐,๙๖๘.๗ ล้าน บาท ก็จะเป็ นเพียงร้อยละ ๕๘.๔ ของยอดรวม (ขาดทุน) โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ๑๔ โครงการ จำานวน ๓๗๘,๐๒๑.๕ ล้านบาท ที่รายงาน เป็ นต้น ๒.วิธีการรายงานผล (ขาดทุน) และ ข้อเสนอแนะต่อภาระงบประมาณที่ควรได้รับ จัดสรรให้ ในอนาคตใช้ขอ้ สมมติที่มีลกั ษณะเป็ นการคาดการณ์ และไม่สอดคล้องต่อการปฏิบตั ิ จริ ง ดังนี้ ๒.๑ การรายงานผลขาดทุน ใช้วิธีสมมติให้มีการขายสิ นค้าคงเหลือในราคาที่อา้ งว่าเป็ นราคาตามนโยบายทาง บัญชีท้ งั หมดในวันที่ใช้ในการปิ ดบัญชี และมีการหักค่าเสื่ อมสภาพเพิ่มโดยอ้างนโยบายทาง


111

บัญชีที่กาำ หนดขึ้นเอง นอกจากนั้นยังพบว่ามีความไม่แน่ชดั ในปริ มาณสิ นค้าคงเหลือที่ใช้ในการ คำานวณสิ นค้าคงเหลือ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ในจำานวนที่สูงถึง ๒.๙๘ ล้านตัน รวมทั้ง มีขอ้ สังเกตที่ไม่เป็ นจริ งที่อา้ งว่า มีสินค้าคงเหลือจำานวนหนึ่งที่มีภาระผูกพันที่จาำ หน่ายให้เอกชน ำ แล้วแต่ยงั ไม่มีการส่ งมอบ และหากหักปริ มาณดังกล่าวออกจะมีผลให้มูลค่าสิ นค้าคงเหลือต่าลง ำ ในลักษณะให้เข้าใจว่าจะ (ขาดทุน) เพิ่มขึ้น ซึ่งหากมีการส่ งมอบ และมูลค่าสิ นค้าคงเหลือต่าลง ย่อมเป็ นการแลกกับรายได้ในการขายสิ นค้าคงเหลือดังกล่าวซึ่งอาจทำาให้มีผล (ขาดทุน) น้อยลง ก็เป็ นได้ ผลของการปิ ดบัญชีที่ไม่ถูกต้องดังกล่าวได้นาำ ไปสู่ การวิเคราะห์ของสำานักงาน ตรวจเงินแผ่นดิน ที่วิเคราะห์ ผล (ขาดทุน) ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ว่ามีจาำ นวน ๓๓๒,๓๗๒.๓๒ ล้านบาท และเป็ นผลขาดทุนที่มากกว่ายอดการปิ ดบัญชีสิ้นสุ ดวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ จำานวน ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้านบาท เป็ นจำานวน ๑๑๑,๔๐๓.๕๔ ล้านบาท โดย กระทรวงการคลังมีขอ้ สังเกตว่า การ คำานวณมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ น่าจะมีความคลาดเคลื่อน อย่างมีนยั ยะสำาคัญ ซึ่งอาจเป็ นผลมาจากข้อโต้แย้งในเรื่ องสิ นค้าคงคลัง จำานวน ๒.๙๘ ล้านตัน ดังกล่าว และ/หรื อ การใช้นโยบายการคำานวณราคาสิ นค้าคงเหลือที่ไม่เหมาะสม ๒.๒ ด้านภาระหนี้ คงค้าง มีการเสนอให้ต้ งั งบประมาณ เพื่อจ่ายคืนภาระหนี้ คงค้างทั้งหมด ณ ข้อมูล ตามวันที่ทาำ การปิ ดบัญชี (ของทุกโครงการตั้งแต่ปี ๔๗/๔๘ รวมกับผลผลิตการเกษตรอื่นของรัฐ บาลก่อนๆ) โดยไม่คาำ นึงถึง การที่จะมีเงินรายได้ในอนาคต จากการระบายสิ นค้าคงเหลือที่มีอยู่ ๒.๓ วิธีการทางบัญชีไม่ถูกต้อง ตัวอย่าง เห็นได้จากการรายงาน การปิ ดบัญชี ณ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ ที่มี โครงการรับจำานำาข้าวในอดีต จำานวน ๗ โครงการซึ่งไม่มีภาระหนี้ สุทธิคงเหลือแล้ว ได้แก่ ข้าว เปลือก: (๑) นาปี ๔๗/๔๘ (๒) นาปรัง ๔๘ (๓) นาปี ๔๘/๔๙ (๔) นาปรัง ๔๙ (๕) นาปี ๔๙/๕๐ (๖) นาปรัง ๕๐ (๗) นาปี ๕๐/๕๑ (ไม่มีภาระหนี้ สุทธิคงเหลือแล้ว จากการที่ได้รับค่าขาย สิ นค้าคงเหลือ รวมกับงบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรชดเชยคืนให้แล้ว) แต่ยงั คงรายงานยอด (ขาดทุน) สุ ทธิ ณ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ ในจำานวนเงินที่มีนยั ยะสำาคัญ ทั้ง ๗ โครงการ รวมเป็ น


112

จำานวนเงินทั้งสิ้ น (๑๗,๐๑๓.๕+๑,๗๓๘.๒ + ๑๙,๗๗๒.๔ + ๖,๙๙๖.๓ + ๒,๑๓๒.๐ + ๒.๓๘๐.๓ + ๑๒๑.๙) ถึง ๕๐,๑๕๔.๖ ล้านบาท นอกจากนั้นโครงการที่ยงั มีภาระหนี้ เหลืออยูบ่ า้ งก็มีการรายงานผล (ขาดทุน)สุ ทธิไว้ สูงกว่า ภาระหนี้ที่เหลืออยูอ่ ย่างมาก เช่น โครงการข้าวเปลือกนาปรัง ปี ๕๑ มีภาระหนี้ คงเหลือ สุ ทธิเพียง ๒,๖๒๕.๙ ล้านบาท แต่มีการแสดงภาระขาดทุนสุ ทธิ ณ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ สูงถึง ๓๓,๖๒๒.๙ ล้านบาท ทำาให้ยอดรวมของโครงการฯ ก่อนรัฐบาลปัจจุบนั จำานวน ๑๑ โครงการ โดยรวมทั้งโครงการที่ไม่มีภาระหนี้ แล้ว กับโครงการที่ยงั มีภาระหนี้ อยู่ อีกจำานวน ๔ โครงการ ได้แก่ ข้าวเปลือก : (๑) นาปรัง ๕๑ (๒) นาปี ๕๑/๕๒ (๓) นาปรัง ๕๒ (๔) รับฝากข้าวยุง้ ฉางปี ๕๒/๕๓ ซึ่งมีภาระหนี้ คงเหลือรวมกันทั้งสิ้ นเพียง ๗๐,๒๖๐.๓ ล้านบาท ถูกแสดงภาระขาดทุน สุ ทธิ ณ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ สูงถึง ๑๕๗,๐๕๒.๗ ล้านบาท จึงเป็ นข้อมูลยืนยันว่าวิธีการทาง บัญชีที่ใช้ ไม่ถูกต้อง เพียงพอที่จะแสดงให้เห็นถึงภาระหนี้ และภาระผลกำาไร (ขาดทุน) ณ วันที่ ปิ ดบัญชี ซึ่งรวมถึงการแสดงข้อมูลสำาหรับโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาลปัจจุบนั ด้วย ๓.ในประเด็นภาระทางการคลัง กระทรวงการคลังขอยืนยันว่าการดำาเนิน นโยบายตามโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาลที่ใช้วงเงินในการรับจำานำาในลักษณะให้ ำ รัฐวิสาหกิจที่เป็ นสถาบันการเงิน คือ ธ.ก.ส. เป็ นผูก้ เู้ งินและกระทรวงการคลังค้าประกั นนั้น ถูก บรรจุอยูใ่ นการบริ หารหนี้ สาธารณะของรัฐบาล โดยได้รับการควบคุมให้มีความเข้มงวด ตามมติ ของคณะรัฐมนตรี และด้านวินยั การคลังเป็ นอย่างดี ดังนี้ ๓.๑ ระดับหนี้ สาธารณะรวมต่อ GDP ซึ่งถูกกำาหนดให้มีเพดานวินยั การคลังไว้ที่ ร้อยละ ๖๐ นั้น มีสถานะ ณ วันที่ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๖ อยูท่ ี่เพียง ๕.๐๔๓ ล้านล้านบาท เมื่อเทียบ กับ GDP ที่ ๑๑.๔๓๗ ล้านล้านบาท หรื อเท่ากับร้อยละ ๔๔.๐๙ เท่านั้น (สถานะในปี ปัจจุบนั ณ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๗ อยูท่ ี่เพียงร้อยละ ๔๕.๔๗) ๓.๒ ภาระในการชำาระดอกเบี้ยแก่ยอดหนี้ สาธารณะรวม ก็อยูใ่ นระดับที่มีวินยั การคลังที่ดี และดีข้ ึน จากนโยบายและมาตรการด้านหนี้ สาธารณะของรัฐบาลปัจจุบนั ที่สามารถ บริ หารจัดการให้หนี้ สาธารณะจำานวนกว่า ๑.๑ ล้านล้านบาท ที่เกิดจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อ


113

ปี ๒๕๔๐ และเคยเป็ นภาระดอกเบี้ยต่องบประมาณประจำาปี ของรัฐบาลก่อนๆ มาอย่างต่อเนื่อง กว่า ๑ ทศวรรษ ได้รับการบริ หารจัดการโดยหน่วยงาน และในรู ปแบบที่เหมาะสม ซึ่งส่ งผลให้ ภาระดอกเบี้ยตามงบประมาณประจำาปี ๒๕๕๔ ที่เคยใช้สูงถึง ๑๗๘,๘๖๑.๕ ล้านบาท (ก่อน รัฐบาลปัจจุบนั จะเข้าบริ หาร) ลดลงเหลือเพียง ๑๒๔,๙๓๒.๘ ล้านบาทในปี งบประมาณ ๒๕๕๖ (และ เป็ นเพียง ๑๒๘,๕๗๐.๙ ล้านบาทในปี งบประมาณ ๒๕๕๗) ภาระดอกเบี้ยในงบประมาณ ำ ประจำาปี ต่าลงกว่ าเดิม เป็ นจำานวนเงินถึง ปี งบประมาณละ ๕ หมื่นล้านบาท ๓.๓. หากพิจารณายอดหนี้ สาธารณะ เฉพาะส่ วนที่เป็ นภาระต่องบประมาณของ ำ รัฐบาล ในด้าน ดอกเบี้ยและ/หรื อ เงินต้น ยอดหนี้ สาธารณะจะต่าลงกว่ าที่รายงานไว้ตาม ๓.๑ เป็ นจำานวน ๑.๑ ล้านล้านบาท ระดับหนี้ สาธารณะที่เป็ นภาระต่องบประมาณของรัฐบาล ต่อ GDP ณ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๖ จึงเท่ากับร้อยละ ๓๔.๒ เท่านั้น (สถานะ ณ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๗ อยูท่ ี่ เพียงร้อยละ ๓๖.๕) ำ าเพดานวินยั การคลังเป็ นอย่างมาก และ ระดับหนี้ สาธารณะโดยรวมที่อยูต่ ่ากว่ ำ ภาระดอกเบี้ยที่ต่าลงกว่ าเดิมตามข้อ ๓.๒ จึงเป็ นสิ่ งยืนยันความมีวนิ ยั และความเข้มแข็งทางการ คลังที่ดีของรัฐบาลในการดำาเนินนโยบายด้านต่างๆ ของรัฐบาล ๔. ในด้านการจัดสรรงบประมาณเพื่อโครงการรับจำานำาผลิตผลทางการเกษตร ในด้านค่าบริ หารจัดการ ชดเชยภาระหนี้ และภาระ (ขาดทุน) จากการจำาหน่ายสิ นค้าคงเหลือ รัฐบาลได้จดั สรรงบประมาณที่เหมาะสมแก่การดูแลโครงการรับจำานำาผลิตผลทางการเกษตรทุก โครงการ ซึ่งได้ให้ความสำาคัญแก่โครงการที่เกิดขึ้นในรัฐบาลก่อนๆ เป็ นอย่างดี และงบ ประมาณรวมที่จดั สรรให้มียอดรวมที่มิได้เกินความเข้มแข็งทางการคลัง หรื อ เป็ นภาระที่เกิน ความสามารถด้านงบประมาณของประเทศในแต่ละปี ดังนี้ งบประมาณประจำาปี งบประมาณรวม

๒๕๕๕ ๔๘,๑๘๐.๐๕๔

๒๕๕๖ ๔๐,๓๐๒.๒๓๒

งบชดเชยต้นทุนเงินรวมทุกโครงการ ๔๓,๑๒๙.๔๖๒ ๓๓,๓๐๙.๕๑๐

๒๕๕๗ ๘๔,๓๑๕.๐๑๙ ๗๓,๔๒๖.๕๔๔


114

งบชดเชยต้นทุนเงินของโครงการเดิม ก่อนรัฐบาลปัจจุบนั

๓๖,๒๐๔.๔๖๒

๑๙,๕๒๖.๐

๒๐,๙๕๕.๕๖๔

โดยการจัดสรรงบประมาณ จะมีการจัดสรรให้ เพียงพอแก่ การชำาระดอกเบีย้ และ ค่ าใช้ จ่ายบริหารโครงการตามภาระจริง และจะจัดสรรให้ ชำาระคืนต้ นเงินกู้จาำ นวนทีเ่ หมาะสม ด้ วย ซึ่งประธานอนุกรรมการปิ ดบัญชีมไิ ด้ ใช้ ข้อมูลงบประมาณทีไ่ ด้ รับชดเชยไป คำานวณลด ภาระ (ขาดทุน) คงค้ างของโครงการรับจำานำาฯ ทั้งโครงการเดิม และโครงการของรัฐบาล ปัจจุบัน ทำาให้ ภาระ (ขาดทุน) คงค้ างของการปิ ดบัญชี ณ วันทีต่ ่ างๆ สู งกว่ าความเป็ นจริง กระทรวงการคลังจึงมีความเห็นว่า การพิจารณาถึงภาระทางการคลังของ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกโดยใช้ขอ้ มูลของประธานอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำา ข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล ตามหนังสื อที่อา้ งถึงทั้ง ๓ ฉบับ ยังมีขอ้ ไม่สมบูรณ์ ไม่ถูกต้อง มี ข้อสังเกต ทำาให้ไม่มีความน่าเชื่อถือเพียงพอในเรื่ องภาระ (ขาดทุน) คงค้างที่ถูกต้อง มิใช่มี ลักษณะเป็ นการแสดงภาระ (ขาดทุน) ที่เป็ นการสะสม คงค้าง จนนำาไปสู่ความเข้าใจว่าเป็ นภาระ (ขาดทุน) ของอนาคต และควรดำาเนินการพิจารณาปิ ดบัญชีเสี ยใหม่ให้ได้รับผลที่เป็ นปัจจุบนั และมีความถูกต้องครบถ้วนต่อไป ข้ าพเจ้ าขออ้ างสื บพยานบุคคลรายนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่ากระทรวงการคลัง ซึ่งเป็ นผู้รู้ข้อเท็จจริงเกีย่ วกับภาระการคลังเป็ นพยานบุคคล เพือ่ นำาสื บหักล้ างข้ อกล่ าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในประเด็นเรื่องโครงการรับจำานำาข้ าว ไม่ มคี วามเสี่ ยงและเป็ นภาระต่ อระบบวินัยการเงินและการคลัง ประกอบกับประเด็นหนี้ สาธารณะของประเทศในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าว และข้ ออ้ างความเสี ยหายในเรื่องผล ขาดทุนรวม ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้ านบาท ตามรายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชี เมือ่ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ พยานบุคคลในลำาดับที่ ๙ นอกจากนี้ ข้ าพเจ้ าขออ้ างนำาสื บพยานบุคคล ราย นายพิชัย ชุณหวชิร บัญชี บัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ MBA (Business Administration) Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี


115

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารการเงิน มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร หลักสู ตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่ วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ ๑๓ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ประกาศนียบัตรหลักสู ตร Director Accreditation Program (DAP ๔๙/๒๕๔๙)ประกาศนียบัตรหลักสู ตร Director Certification Program (DCP ๑๔๓/๒๕๕๔)ประกาศนียบัตรหลักสู ตรผู้บริหารระดับสู ง สถาบันวิทยาการ ตลาดทุน (หลักสู ตร วตท.รุ่นที่ ๕) เพือ่ นำาสื บหักล้ างรายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ที่ นางสาวสุ ภา ปิ ยะจิตติ สรุปผลการปิ ดบัญชีและภาระหนีส้ ิ น ได้ แก่ เงินต้ น ดอกเบีย้ และค่ าใช้ จ่ ายต่ าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล ยังไม่ มคี วาม สมบูรณ์ ในหลักการทางบัญชีทถี่ ูกต้ อง และยังมีข้อโต้ แย้ ง ทีม่ าของการคิดสรุปผลการปิ ดบัญชี และภาระหนีส้ ิ นดังกล่ าวไม่ ถูกต้ อง พยานบุคคลในลำาดับที่ ๑๐ ซึ่งมีข้อไม่ สมบูรณ์ ไม่ ถูกต้ อง และไม่ ใช่ พยานหลักฐานทีค่ วรเชื่อได้ ว่าโครงการ รับจำานำาข้ าวมีความเสี ยหายถึงขนาดทีจ่ ะต้ องระงับยับยั้งและยุตโิ ครงการเสี ย รวมทั้งกรอบ วงเงินทีใ่ ช้ ในโครงการรับจำานำาข้ าวว่ ามิได้ มคี วามเสี ยหาย และความเสี ยหายยังไม่ เป็ นรู ปธรรม ชัดเจน เพียงพอ จนถึงขนาดต้ องยุตหิ รือระงับยับยั้ง โครงการรับจำานำาข้ าว การชี้ขอ้ ไม่สมบูรณ์ของรายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าว เปลือกตามนโยบายของรัฐบาล ตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่ วนที่ สุด ที่ กค ๐๒๐๑/ล. ๑๕๖๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ว่าโครงการรั บจำานำาข้าวเปลือกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ มี ผลขาดทุนสุ ทธิ ๓๒,๓๐๑.๐๐ ล้านบาท และตามหนังสื อกระทรวงการคลัง ลับ ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๒๐๑/๘๐๘๑ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ว่ าโครงการรั บจำา นำา ข้าวเปลื อกนาปี ปี ๒๕๕๔/๒๕๕๕ โครงการรั บจำา นำา ข้าวเปลื อกนาปรั ง ปี ๒๕๕๕ และโครงการรั บจำา นำา ข้าวเปลื อกนาปรั ง ปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ มี ผลขาดทุนรวม ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้านบาท ถือเป็ น เรื่ องเดียวกันกับกรณี ที่ ต่อมากระทรวงการคลังได้นาำ รายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ไป พิจารณาโดยชี้ให้เห็นว่าเมื่อมีขอ้ เสนอแนะต่อโครงการรับจำานำาข้าว ในเรื่ องที่จะเป็ นภาระการ เงินการคลัง รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังไม่ละเลยที่จะตรวจสอบ พิจารณาประเมินผลกระทบ โครงการและแนวทางการบริ หารจัดการวงเงินสำาหรับการดำาเนินโครงการอย่างเป็ นรู ปธรรม


116

กระทรวงการคลังจึงได้มีหนังสื อเมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕ เรื่ อง รายงานผลการดำาเนินการ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปี ปี การผลิต ๒๕๕๔/๕๕ และพิจารณาปริ มาณและวงเงิน โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ในหน้าที่ ๒ ข้อที่ ๒ ความเห็น กระทรวง การคลังได้พิจารณาแล้วเห็นควรเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณา ดังนี้ “คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชี โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล ที่นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบาย ข้าวแห่งชาติได้แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๓๕๕๕ โดยมีรองปลัดกระทรวงการคลังเป็ น ประธานอนุกรรมการ ได้ดาำ เนินการรวบรวมข้อมูลปิ ดบัญชีเบื้องต้นพบว่านับตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ มี การดำาเนินโครงการรับจำานำาผลิตผลทางการเกษตรและโครงการประกันรายได้ตามนโยบาย รัฐบาล และรัฐต้องรับภาระต้นเงินและดอกเบี้ย คิดเป็ นเงินที่ใช้ในโครงการทั้งสิ้ น ๗๘๗,๘๒๓.๓๒ ล้านบาท ณ ๓๑ สิ งหาคม ๒๕๕๕ มีผลขาดทุน ๒๐๗,๐๐๖.๔๔ ล้านบาท และ มีหนี้คงค้างทั้งสิ้ น ๔๕๕,๕๓๘.๘๐ ล้านบาท แต่ยงั ไม่สามารถปิ ดโครงการได้อย่างสมบูรณ์ เป็ น ภาระงบประมาณที่สูงมาก จำาเป็ นต้องปรับโครงสร้างหนี้ อย่างต่อเนื่องเนื่องจากการระบายสิ นค้า เกษตรได้ชา้ และไม่มีงบประมาณเพียงพอ ดังนั้น ก่อนการดำาเนินโครงการรับจำานำาผลิตผล ทางการเกษตรต่อไป จึงควรมีการประเมินผลกระทบโครงการและแนวทางการบริ หารจัดการ วงเงินสำาหรับการดำาเนินโครงการอย่างเป็ นรู ปธรรม การมีหนังสื อของกระทรวงการคลังดังกล่าวข้างต้นเป็ นไปเพื่อให้มีเจตนาว่าเมื่อ คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯมีขอ้ เสนอแนะกระทรวงการคลังก็จดั ให้มีการประเมินผลกระทบ โครงการและแนวทางการบริ หารจัดการวงเงินสำาหรับการดำาเนินโครงการอย่างเป็ นรู ปธรรม การกระทำาเช่นนี้ จะถือว่ารัฐบาลละเลยต่อความเสี ยหายที่คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ อ้างว่ามีผล ขาดทุนทั้งๆ ที่ รายงานของคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ มีขอ้ พิรุธ ข้อตำาหนิ อันเป็ นข้อระแวง สงสัยที่มีขอ้ สังเกตว่า เพราะเหตุใดนางสาวสุ ภาฯ ในฐานะรองปลัดกระทรวงการคลังมิใช่บุคคล ในตำาแหน่งที่นายกรัฐมนตรี มีคาำ สัง่ ให้เป็ นประธานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำา ข้าวแต่อย่างใด นางสาวสุ ภาฯ ในฐานะตำาแหน่งรองปลัดกระทรวงทำาหน้าที่ในฐานะประธานอนุ กรรการปิ ดบัญชีแทนผูด้ าำ รงตำาแหน่งปลัดกระทรวงเท่านั้น เมื่อนางสาวสุ ภาฯ มาปฏิบตั ิหน้าที่แทนปลัดกระทรวงในหน้าที่ประธาน อนุกรรมการปิ ดบัญชี นางสาวสุ ภาฯ ในฐานะประธานอนุกรรมการปิ ดบัญชีรับราชการจนขึ้ นสู่


117

ตำาแหน่งรองปลัดกระทรวงการคลังย่อมรู้ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานและรู้ข้ นั ตอนการบังคับบัญชา เป็ นอย่างดีวา่ เมื่อคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีที่ตนมาทำาหน้าที่แทนปลัดประทรวงการคลังจัดทำา รายงานหรื อหนังสื อในเรื่ องการปฏิบตั ิตามอำานาจหน้าที่แล้วเสร็ จต้องยืน่ รายงานหรื อหนังสื อต่อ ปลัดกระทรวงการคลังซึ่งเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของตนและเสนอรายงานและเสนอรายงานต่อปลัด กระทรวงพาณิ ชย์ซ่ ึงเป็ นเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติเพื่อให้นาำ เสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติเพื่อบรรจุเป็ นวาระประชุมเสี ยก่อนเพื่อให้นาำ เสนอต่อที่ ประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติให้พิจารณา ในเรื่ องนี้ มีขอ้ สังเกตและข้อสงสัยว่า นางสาวสุ ภาฯกลับได้เสนอเรื่ องโดยตรงต่อ ตัวข้าพเจ้าและไม่น่าเชื่อโดยบังเอิญว่ากรรมการ ปปช. บางท่านหยิบยกรายงานคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีนาำ เสนอต่อคณะกรรมการ ปปช.ทั้งคณะเพื่อนำารายงานคณะอนุกรรมการ ปิ ดบัญชีดงั กล่าวมากล่าวหาปรากฎตามบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาต่อตัวข้าพเจ้าโดยขาดการตรวจ สอบการสอบปากคำานางสาวสุ ภาฯโดยลำาพังเป็ นที่แน่นนอนว่านางสาวสุภาฯย่อมสนับสนุน รายงานของตนว่าถูกต้องจากบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาไม่พบข้อเท็จจริ งใดว่าคณะกรรมการ ปปช.ได้ไต่สวนพยานคนกลางที่เป็ นผูม้ ีความรู้ทางบัญชีสนับสนุนการกระทำาของนางสาวสุ ภาฯ ให้ได้ความสมบูรณ์เสี ยก่อนนำารายงานดังกล่าวมาเปิ ดเผยและนำามาเป็ นพยานหลักฐานกล่าวหา ข้าพเจ้าและเป็ นที่น่าสงสัยในเวลาอันรวดเร็ วสำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้รีบเร่ งมีหนังสื อ ด่วนที่สุด ที่ ตผ ๐๐๑๒/๐๒๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ หยิบฉวยรายงานของนางสาวสุ ภาฯ มาเป็ นข้อเท็จจริ งปรากฎในหนังสื อของสำานักงานตรวจเงินแผ่นดินโดยอ้างอิงข้อมูลของ นางสาวสุ ภาฯประธานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโดยที่สาำ นักงานการตรวจเงินแผ่นดินหาได้ ตรวจสอบข้อเท็จจริ งในเรื่ องดังกล่าวด้วยองค์กรของตนและในทันใดมีขอ้ สังเกตและข้อพิรุธอัน น่าระแวงสงสัยโดยสุ จริ ตอย่างยิง่ ว่าในทันใดที่สาำ นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ที่ ตผ. ๐๐๑๒/๐๒๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ก่อนหน้าเพียงวันเดียว คือในวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ คณะกรรมการ ปปช. ได้รีบเร่ งมีมติให้คณะกรรมการ ปปช.ทั้งคณะเป็ นกรรมการ ไต่สวนข้าพเจ้า และในเวลาต่อมาภายหลังที่คณะกรรมการ ปปช.มีมติในวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ เพียงเวลา ๒๑ วัน ข้าพเจ้าก็ถูกแจ้งข้อกล่าวหาโดยคณะกรรมการ ปปช.แจ้งให้ขา้ พเจ้า มารับทราบข้อกล่าวหาในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ และปรากฏว่าในบันทึกการแจ้งข้อหาที่


118

มีต่อข้าพเจ้าในข้อที่ ๓ หน้าที่ ๕ คณะกรรมการ ปปช.ก็ได้อา้ งอิงถึงหนังสื อของสำานักงานการ ตรวจเงินแผ่นดินฉบับลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ คำาถามที่ตอ้ งการถามหาความยุติธรรมต่อ ตัวข้าพเจ้าหากเรี ยงวันเวลาที่คณะกรรมการ ปปช.ปฏิบตั ิต่อตัวข้าพเจ้าโดยมอบหมายให้ ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ ซึ่งเป็ นผูร้ ับผิดชอบสำานวนในคดีน้ี ซ่ ึงข้าพเจ้าตั้งข้อรังเกียจเรี ยก ร้องคัดค้านให้ถอนตัวถึง ๒ ครั้ง ๒ คราว ก็หาถอนตัวไม่จึงตั้งข้อสังเกตให้เป็ นประเด็นสำาคัญที่ กรรมการ ปปช.รายอื่นที่มิใช่ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณได้โปรดทบทวนว่าเพียงสำานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินได้มีหนังสื อด่วนลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ดังกล่าข้างต้นนำาเสนอจุด อ่อนหรื อความเสี่ ยงซึ่งมิใช่ขอ้ มูลของสำานักงานตนทั้งหมดแต่ผรู ้ ับผิดชอบสำานวนหยิบฉวยนำา มาใช้เป็ นเหตุกล่าวหาอย่างรวดเร็ ว หากใครถูกปฏิบตั ิเช่นข้าพเจ้าจะทนความรู้สึกอันขมขื่นต่อกระบวนการไต่สวน คดีเช่นที่ขา้ พเจ้าถูกกระทำาได้หรื อไม่เพราะเป็ นไปไม่ได้เลยตามเหตุและผลในบันทึกแจ้งข้อ กล่าวหาในข้อ ๔ หน้าที่ ๖ ที่กล่าวหาต่อข้าพเจ้าว่าข้าพเจ้าได้รับรู้หนังสื อสำานักงานการตรวจเงิน แผ่นดินฉบับลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ว่าการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกได้เกิด ผลกระทบสร้างความเสี ยหายแล้วข้าพเจ้าละเลยไม่สัง่ ระงับยับยั้งการดำาเนินโครงการรับจำานำา ข้าวเสี ยในทางกลับกันขอให้คณะกรรมการ ปปช.รายอื่นซึ่งมิใช่รายศาสตรจารย์พิเศษ วิชา ฯ ได้ โปรดทบทวนตรวจสอบเรี ยงวันเวลาแล้วจัดพบว่าการรี บเร่ งดำาเนินการโดยสำานักงานการตรวจ เงินแผ่นดินได้มีหนังสื อดังกล่าวลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ และในวันรุ่ งขึ้นจะโดยบังเอิญ หรื อไม่แต่ขอตั้งข้อสังเกตว่าคณะกรรมการ ปปช.มีหนังสื อถึงข้าพเจ้าลงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ ตามหนังสื อที่ ปช ๐๐๑๒/๐๐๙๘ แจ้งการกำาหนดให้คณะกรรมการ ปปช.ทั้งคณะเป็ น องค์คณะในการไต่สวนภายหลังที่สาำ นักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีหนังสื อในวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ เพียงวันเดียวและในที่สุดคณะกรรมการ ปปช.ก็ได้นาำ หนังสื อของสำานักงานการตรวจ เงินแผ่นดินดังกล่าวข้างต้นมากล่าวอ้างเป็ นพยานหลักฐานในการแจ้งข้อกล่าวหาเอากับข้าพเจ้า ในประเด็นที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อภิปรายไม่ไว้วางใจต่อตัวข้าพเจ้าเมื่อวันที่ ๒๕-๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในคำาอภิปรายหน้าที่ ๓๓๕ “ ผมก็ถือเอาตามหนังสื อของ กระทรวงการคลังถึงครม. เช่นเดียวกันลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕ เขียนไว้ชดั ครับ ตาม สมมุติฐานของท่านเลยนะครับ เขียนว่า หากกรณี ระบายผลลิตผลที่รับจำานำาได้ใน ๓ ปี จะมี


119

ภาระการบริ หารการปรับโครวกสร้างหนี้ เฉลี่ย ปี ๒๒๔,๕๕๓ ล้านบาท ปี ละ ๒๒๔,๕๕๓ ล้าน บาท” ก็เป็ นเรื่ องเดียวกันกับที่ขา้ พเจ้าได้กล่าวข้างต้นเพราะหนังสื อกระทรวงการคลังลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕ เป็ นการอ้างอิงเรื่ องรายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าว เปลือกในข้อ ๒.๑ ของหนังสื อกระทรวงการคลังโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีการประเมินผลกระ ทบโครงการและแนวทางการบริ หารจัดการวงเงินสำาหรับการดำาเนินโครงการอย่างเป็ นรู ปธรรม และคำาอภิปรายของนายอภิสิทธิ์ในประเด็นนี้ ยงั ไม่อาจรับฟังเป็ นพยานหลักฐานได้เพราะใน ประเด็นเรื่ องผลขาดทุนที่นายอภิสิทธิ์อภิปรายถึงกระทรวงการคลังก็ได้ช้ี ขอ้ ไม่สมบูรณ์ดงั ที่ กล่าวมา ความเห็นของกระทรวงพาณิชย์ ทชี่ ี้ข้อไม่ สมบูรณ์ ของรายงาน ได้ แก่ ๑.การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกมีสาระ สำาคัญของการแต่งตั้งและการดำาเนินงานดังนี้ ๑.๑ข้าพเจ้าในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ได้ให้ความสำาคัญ มีความบริ สุทธิ์ใจ และมีความตังใจที ่ การดำาเนินการรับจำานำาข้าว และการปิดบัญชีโครงการรับ ้ จะดูแลตรวจสอบ จำานำาข้าวเป็นการเฉพาะ จึงมีคาำ สัง่ ให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ตามนโยบายของรัฐบาล เมือ่ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ โดยทีค่ ณะอนุกรรมการมีหน้าที่ พิจารณาบริ หารจัดการเงินกูจ้ นกว่าจะชำาระแล้วเสร็จ สรุปภาระหนี้สิน และกำาหนดแนวทางการ จัดหาเงินทุนเพื่อชำาระหนี้ คืนให้แก่ ธ.ก.ส. และรายงานการดำาเนินงานต่อ กขช. ต่อไป ซึ่งรัฐบาล ชุดที่ผา่ นมาแต่งตั้งคณะกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาผลิตผลทางการเกษตรตามนโยบาย รัฐบาล ให้ดูแลการปิ ดบัญชีสินค้าเกษตรทั้งหมดรวมกัน ๑.๒ จากภารกิจตามข้อ ๑.๑ คณะอนุกรรมการฯจึงต้องจัดทำาบัญชีเพื่อการชำาระ ำ ่สุด ซึ่งอาจไม่ตรงกับข้อเท็จจริ ง โดย หนี้ ดังนั้นประมาณการต่าง ๆ จะให้มูลค่าที่มีราคาต่าที เฉพาะอย่างยิง่ กับสิ่ งที่ยงั ไม่เกิดขึ้น เช่นมูลค่าของสิ นค้าคงเหลือ (สิ นค้าที่จะต้องขายในอนาคต) ำ ่สุด ซึ่งจะทำาให้มูลค่าการขาดทุนสูง เพื่อให้รัฐเตรี ยมงบประมาณ จะใช้ในการประเมินราคาต่าที จำานวนมากที่สุดเพื่อการชำาระหนี้ ๒.จากทีค่ ณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายของ รัฐบาล ได้นาำ รายงานผลการดำาเนินงานและข้อเสนอแนะจากการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาผลิตผล


120

การเกษตร ณ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ โดยโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปี ปี การผลิต ๒๕๕๔/๕๕ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปรัง ปี ๒๕๕๕ และโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก นาปี ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ มีผลขาดทุนเพิ่มเติม จำานวน ๒๒๐,๙๖๘.๗๘๐ ล้านบาท เสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ที่มีการประชุมเมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๖ ได้มี ข้อโต้แย้ง ดังนี้ ๒.๑ การคำานวณสต็อกข้ าวคงเหลือ ตามมาตรฐานการบัญชี สามารถ คำานวณโดยใช้ราคาต้นทุนหรื อราคาตลาด หรื อราคาจำาหน่าย ซึ่งคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีได้ ำ ่สุด ทำาให้มีผลการ อ้างอิงราคาตลาดมาใช้ในการคำานวณสิ นค้าคงเหลือ เนื่องจากเป็ นราคาที่ต่าที ขาดทุนดังที่กล่าวมาข้างต้น แต่หากใช้วิธีราคาต้นทุนมูลค่าสต็อกคงเหลือจะเพิ่มขึ้น ทำาให้การ ขาดทุนลดลงถึง ๑๑๓,๐๐๐ ล้านบาท จะเห็นได้วา่ การประมาณการมูลค่าสต็อกคงเหลือด้วยวิธี ต่าง ๆ จะมีผลกำาไร/ขาดทุนแตกต่างกันมาก และเป็ นเรื่ องอนาคตที่ไม่มีผใู ้ ดจะตัดสิ นได้วา่ วิธี การใดถูกต้องจนกว่าจะได้มีการขายสต็อกคงเหลือนั้นแล้ว ดังนั้น ที่ประชุม กขช. จึงยังไม่มีขอ้ ยุติในเรื่ องนี้ ๒.๒ การคำานวณมูลค่าข้าวคงเหลือของปี ๒๕๕๕/๕๖ ไม่ได้นำาข้าวทีอ่ ยู่ ระหว่างการสีแปรสภาพและอยูร่ ะหว่างการส่ งมอบ จำานวน ๒.๕๙๓ ล้านตันข้าวสาร มาคำานวณด้วย เนือ่ งจากในแบบฟอร์มทีฝ่ ่ ายเลขานุการคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ (ธ.ก.ส.) ได้จดั ทำา ไม่ได้ กำาหนดให้กรอกข้อมูลข้าวที่อยูร่ ะหว่างการสี แปรสภาพและอยูร่ ะหว่างการส่งมอบ เพียงแต่ระบุ ให้กรอกข้อมูลข้าวคงเหลือในสต็อก ทาง อคส./อ.ต.ก. จึงไม่ได้กรอกข้อมูลในส่วนนี้ให้ฝ่ายเลขา นุการฯ หากใช้วิธีคาำ นวณจากต้นทุนจะมีมูลค่า ๖๔,๔๘๕ ล้านบาท และหากใช้วิธีคาำ นวณตาม วิธขี องคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ จะมีมูลค่า ๔๒,๖๕๕ ล้านบาท ทำาให้การขาดทุนลดลงอย่าง น้อย ๔๒.๖๕๕ ล้านบาท ๒.๓ คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีไม่ได้บนั ทึกบัญชีปริมาณข้าวในโครงการ รับจำานำาทีไ่ ด้นำา ไปบริจาคขายข้ าวราคาถูกให้ ประชาชน (ธงฟ้ า) และขายให้ องค์ กรของรัฐ จำานวน ๗๑๑,๗๑๒ ตัน เป็ นการช่วยเหลือประชาชนและหน่วยงานของรัฐ จึงไม่ ควรเป็ นภาระ ขาดทุนของโครงการฯ มีมูลค่าตามที่คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๖ อนุมตั ิงบ ประมาณเพื่อชดเชยส่ วนต่างของราคาที่จาำ หน่ายกับราคาตลาดในวงเงิน ๗,๐๔๘.๑๔๗ ล้านบาท


121

๓. จากการประชุ มคณะกรรมการนโยบายข้ าวแห่ งชาติ (กขช.) ครั้งนั้น (๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๖) คณะกรรมการฯ ยังได้ ปรึกษาหารือกันถึงผลประโยชน์ เพิม่ เติมของโครง การฯ สรุปได้ ดังนี้ ชาวนาที่เข้าร่ วมโครงการจำานำาข้าว (มีขา้ วเปลือกรวม ๓๑ ล้านตัน ใน ๓ ฤดูกาล) จะขายข้าว ได้ราคาสูงขึ้นประมาณตันละ ๖,๐๐๐ บาท รวมเป็ นเงินประมาณ ๑๙๐,๐๐๐ ล้าน บาท ส่ วนชาวนาที่ไม่ได้เข้าร่ วมโครงการฯ (มีขา้ วเปลือกรวม ๓๖ ล้านตัน ใน ๓ ฤดูกาล) จะขาย ข้าวได้ราคาสูงขึ้นประมาณตันละ ๒,๕๐๐ บาท เป็ นเงินประมาณ ๙๐,๐๐๐ ล้านบาท รวมผล ประโยชน์ที่ชาวนาได้รับเพิ่มขึ้น ๒๘๐,๐๐๐ ล้านบาท ซึ่งส่ วนใหญ่ชาวนาก็จะนำาเงินไปใช้จ่าย ตามหลักเศรษฐศาสตร์เงินดังกล่าวจะหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอีกประมาณ ๓ รอบ ส่ งผลให้ ได้ภาษีที่เพิ่มขึ้น เช่น VAT เพิ่มขึ้นประมาณ ๕๘,๐๐๐ ล้านบาท ภาษีรายได้จากบริ ษทั ห้างร้านที่ ขายสิ นค้า ๓๘,๐๐๐ ล้านบาท รายได้จากการจ้างงานเพิ่มขึ้น ๑๖,๘๐๐ ล้านบาท รวมผล ประโยชน์ทชี่ าวนาและระบบเศรษฐกิจของประเทศได้รับ ๓๙๔,๐๐๐ ล้านบาท อีกทั้ง ปรากฏข้อเท็จจริ งว่าจากการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกทีผ่ า่ นมารัฐบาล สามารถทำาให้เกษตรกรได้รับผลประโยชน์เพิม่ ขึ้นคิดเป็ นมูลค่า ๓๓๘,๕๖๒ ล้านบาท ปรากฏ ตามหนังสือกระทรวงพาณิชย์ ด่วนทีส่ ุด ที่ พณ ๐๔๑๔/๒๑๕๘ ลงวันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ เรื่ อง รายงานผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ พยานเอกสาร ในลำาดับที่ ๔๔ ข้ าพเจ้ าขออ้ างสื บพยานบุคคลรายนายนิวฒ ั น์ ธำารง บุญทรงไพศาล รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่ากระทรวงพาณิชย์ ซึ่งเป็ นผู้รู้ข้อเท็จจริงเกีย่ วกับโครงการรับจำานำาข้ าว ทั้งในส่ วนกระบวนการรับจำานำา และกระบวนการระบายข้ าวเป็ นพยานบุคคลเพือ่ นำาสื บหักล้ าง ข้ อกล่ าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในประเด็นเรื่องโครงการรับจำานำาข้ าวเสี ยหายถึงขนาด ต้ องยุตโิ ครงการและข้ ออ้ างความเสี ยหายในเรื่องผลขาดทุนรวม ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้ านบาท ตาม รายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชี เมือ่ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ มีข้อไม่ สมบูรณ์ ไม่ ถูกต้ อง และไม่ ใช่ พยานหลักฐานทีค่ วรเชื่อได้ ว่าโครงการรับจำานำาข้ าวมีความเสี ยหายถึงขนาดทีจ่ ะต้ อง ระงับยับยั้งและยุตโิ ครงการเสี ย และนำาสื บถึงการดำาเนินการตามขั้นตอนและกระบวนการใน โครงการรับจำานำาข้ าวในส่ วนของการรับจำานำาและการระบายข้ าว ณ ปัจจุบัน ไม่ เกิดความเสี ย หายจนถึงขนาดทีจ่ ะต้ องระงับยับยั้งและยุตโิ ครงการเสี ย และความเสี ยหายยังไม่ เป็ นรู ปธรรม


122

ชัดเจน เพียงพอ จนถึงขนาดต้ องยุตหิ รือระงับยับยั้ง โครงการรับจำานำาข้ าว รวมทั้งปัจจุบันไม่ มี มาตรการแทรกแซงกลไกราคาตลาดและสภาวะการซื้อขายและส่ งออกข้ าวในปัจจุบัน พยาน บุคคลในลำาดับที่ ๑๑ อย่างไรก็ดีคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติหาได้มีเจตนาพิเศษทีจ่ ะละเลย ไม่ สนใจ ไม่นาำ พาในการรักษาไว้ซ่ ึงประโยชน์สูงสุดของทางราชการทีส่ มควรจะได้รับการป้ องกัน ความเสียหายแก่ประเทศชาติ หรื อความเสียหายอันจะเป็ นภาระต่อระบบการคลังของประเทศและ เงินงบประมาณของแผ่นดิน โดยคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติได้มีการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๖ เมือ่ วันที่ ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ และมีการวิเคราะห์ผลการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำา ผลิตผลการเกษตรของคณะอนุกรรมารปิ ดบัญชีตามหนังสือกระทรวงการคลัง ลับ ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๒๐๑/๘๐๘๑ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ดังนี้ “ ๒.๑การคำานวณมูลค่าข้าวคงเหลือของ ปี ๒๕๕๕/๕๖ ยังไม่ได้นาำ ข้าวทีอ่ ยูร่ ะหว่างการสีแปรสภาพและอยูร่ ะหว่างการส่งมอบมาคำานวณ ปิ ดบัญชี เนื่องจากมีการรัยจำานำาข้าวเปลือก ณ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ จำานวน ๙.๙๓๓ ล้านตัน มีขา้ วคงเหลือเป็ นข้าวเปลือก ๒.๙๖๒ ล้านตัน คงเหลือข้าวเปลือกทีน่ าำ มาสีแปรสภาพเป็ นข้าวสาร ๖.๙๘๐ ล้านตัน ซึ่งคิดเป็ นข้าวสารประมาณ ๔.๓๓๐ ล้านบาท แต่ตามทีป่ ิ ดบัญชีมีสต็อกข้าวสาร ๑.๖๔๔ ล้านตัน และจำาหน่ายไปแล้วจำานวน ๙๒,๖๑๘ ตัน รวมเป็ น ๑.๗๓๗ ล้านบาท ดังนั้นจึง มีขา้ วสารทีย่ งั ไม่ได้รับมอบอีก จำานวน ๒.๕๙๓ ล้านตัน คำานวณเป็ นต้นทุนได้ประมาณ ๖๔.๔๘๖ ล้านบาท ซึ่งยังไม่ได้นาำ มาคิดเป็ นข้าวคงเหลือเพือ่ ปิ ดบัญชี (ประธานคณะอนุกรรมการ ปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาลชี้แจงว่า ได้ทาำ บัญชีโดยลงบันทึกมูลค่า สินค้าคงเหลือของโครงการรัยจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาลชี้แจงว่า ได้ทาำ บัญชีโดยลง บัญชีมลู ค่าสินค้าคงเหลือของโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี ๒๕๕๕/๕๖ ไว้ครบถ้วนตามทีไ่ ด้ รับแจ้งจากองค์การคลังสินค้า (อคส.) และองค์การตลาดเพือ่ เกษตรกร (อ.ต.ก.) ทั้งหมดแล้ว โดย ไม่ปรากฏรายการข้าวสารทีย่ งั ไม่ได้รับมอบ ) ปรากฏตามสรุ ปผลการประชุมคณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๖ วันพฤหัสบดีที่ ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ พยานเอกสารใน ลำาดับที่ ๔๕ ถือเป็ นพยานหลักฐานทีส่ าำ คัญทีห่ กั ล้างข้อไม่สมบูรณ์จากรายงานของคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีฯและเมือ่ วันที่ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งขาติได้ มีการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ เพือ่ ให้เป็ นไปต่อประโยชน์สูงสุดของทางราชการในการตรวจ สอบ กำากับ ควบคุม ดูแล ในการตรวจสอบข้อเท็จจริ งและข้อมูลปริ มาณข้าวคงเหลือของโรงสี และโกดังกลางทีเ่ ข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ตามรายละเอียดในข้อ ๑.๒ ของสรุ ปผลการ


123

ประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ ขอถือเป็ นพยานเอกสารในลำาดับที่ ๔๖ ดังนี้ “๑.๒ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะทำางานตรวจสอบข้อเท็จจริ งและปริ มาณข้าวคง เหลือของ อคส. และ อ.ต.ก. ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ โดยมีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ ายการเมือง (พล.ต.ต ธวัช บุญเฟื่ อง)เป็ นประธาน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และประธานคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ หรื อผูแ้ ทน ร่ วมเป็ นคณะทำางาน และผูแ้ ทนกรมการค้าภายใน เป็ นคณะ ทำางานและเลขานุการ ทำาหน้าทีต่ รวจสอบข้อเท็จจริ งและข้อมูลปริ มาณข้าวคงเหลือของโรงสีและ โกดังกลางทีเ่ ข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปี ปี การผลิต ๒๕๕๔/๕๕ โครงการรับจำานำา ข้าวเปลือกนาปรัง ปี ๒๕๕๕ และโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ครั้งที่ ๑ ขององค์การคลังสินค้า และองค์การตลาดเพือ่ เกษตรกร และให้นาำ เสนอผลการตรวจสอบต่อคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายรัฐบาล ดำาเนินการในสาวนที่ เกีย่ วข้องต่อไป” เป็ นพฤติการณ์ในการแสดงออกของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติในการสร้าง ความโปร่ งใสของโครงการหาได้มีเจตนาพิเศษเพือ่ ให้เกิดการทุจริ ตเชิงนโยบายแต่อย่างใด ข้าพเจ้าขออ้างสืบพยานบุคคลราย พล.ต.ต ธวัช บุญเฟื่ อง และ พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิว ปรีชา รองผู้บญ ั ชาการตำารวจแห่ งชาติ เพือ่ นำาสืบหักล้างข้อมูลปริมาณข้าวคงเหลือของโรงสีและ โกดังกลางทีเ่ ข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกดังกล่าวข้างต้น เพือ่ หักล้างรายงานคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ นางสาวสุ ภาฯเพือ่ ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่อาจเชื่อถือรายงานคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีเป็ นพยานหลักฐานชีม้ ลู ความผิดต่อตัวข้าพเจ้าได้ พยานบุคคลในลำาดับที่ ๓และ ๔ ต่อมาเมือ่ วันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ นายวราเทพ รัตนากร รัฐมนตรี ประจำาสำานัก นายกรัฐมนตรี ได้ทาำ หนังสือ เรื่ อง การรวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะของส่วนราชการ และหน่วย งานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายของรัฐบาล และข้อ เสนอแนะต่อข้าพเจ้า และข้าพเจ้าเห็นว่าเป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ของทางราชการเป็ นสำาคัญโดยให้มี การนำาเรื่ องทีเ่ สนอดังกล่าวข้าวสู่ทปี่ ระชุมของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติปรากฏตาม หนังสือกระทรวงพาณิชย์ ฉบับลงวันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ เรื่ อง รายงานผลการประชุมคณะ


124

กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ โดยข้าพเจ้ามอบหมายให้รัฐมนตรี วา่ การเกษตร พาณิชย์รองประธาน กขช. เป็ นประธานแทน สาระสำาคัญของการประชุมมีดงั นี้ (1) การบัญชีโครงการรับจำานำามีขอ้ สังเกตเรื่ องการคำานวณสต็อกคงเหลือ (2) การปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกปี ๒๕๕๕/๕๖ ทีป่ ระชุมเห็นว่าข้อมูลยัง มีความคลาดเคลือ่ นในทีส่ ุดทีป่ ระชุมเห็นว่ามีแนวทางการปรับปรุ งโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ในปี ๒๕๕๖/๕๗ ใน ๔ ด้าน เพือ่ ป้ องกันความเสี่ยหายต่อโครงการรับจำานำาข้าว และแก้ขอ้ จำากัด วงเงินเพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดทำางบประมาสมดุลของประเทศตามข้อเสนอของ กระทรวงการคลัง ดังนี้ “ด้านราคารับจำานำาซึ่งมีแนวทางการปรับลดราคารับจำานำา คือ ๑.ใช้ราคาต้นทุน การผลิต +กำาไรทีเ่ กษตรกรควรจะได้รับ ประมาณร้อยละ ๒๕ เช่นเดียวกับสินค้าเกษตรอืน่ ๆ ที่ รัฐบาลจะดำาเนินการแทรกแซงตลาด ๒. ใช้ราคารับจำานำาเดิมปรับลดลงร้อยละ ๑๕-๒๐ ๓.ใช้ ราคานำาตลาดร้อยละ ๑๐ ซึ่งจะทำาให้ราคารับจำานำาข้าวเปลือกเจ้านาปี ๕ % มีราคาประมาณตันละ ๑๒,๐๐๐ – ๑๓,๐๐๐ บาท ด้านปริ มาณรับจำานำา การกำาหนดปริ มาณรับจำานำาทั้งโครงการไว้ เช่น เดียวกับโครงการรับจำานำามันสำาปะหลัง เช่น กำาหนดปริ มาณรับจำานำาทั้งโครงการ ปี ๒๕๕๖/๕๗ (ทั้งนาปี + นาปรัง) ไม่เกิน๑๗ ล้านตันข้าวเปลือก จำากัดปริ มาณรับจำานำาของเกษตรกรไม่เกินครัว เรื อนละ ๒๕ ตัน เป็ นต้น ด้านวงเงินทีร่ ับจำานำาของเกษตรกรแต่ละราย โดยจำากัดวงเงินรับจำานำา ข้าวเปลือกของเกษตรกรไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ – ๕๐๐,๐๐๐ บาท/ครัวเรื อน ด้านระยะเวลารับจำานำา โดยกำาหนดระยะเวลาการรับจำานำาข้าวเปลือกนาปี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖- กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ และข้าวเปลือกนาปรังระหว่างเดือนมีนาคม –กรกฎาคม ๒๕๕๗ ทังนี้ มอบหมายฝ่ าย เลขานุการฯ รวบรวมข้อมูลและศึกษาทางเลือกข้างต้นพร้อมทั้งการกำาหนดเงื่อนไขประกอบ เพือ่ จำากัดวงเงิน ภาระค่าใช้จา่ ย และผลขาดทุนทีเ่ กิดขึ้นไม่ให้เกินวงเงินปี ละ ประมาณ ๗๐,๐๐๐ ล้าน บาท เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดทำางบประมาณสมดุลของประเทศตามข้อเสนอของ กระทรวงการคลัง” ข้าพเจ้าขออ้างสืบพยานบุคคลรายนายวราเทพ รัตนากร รัฐมนตรีประจำาสำ านัก นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพือ่ นำาสืบแก้ข้อกล่าวหาใน ประเด็นรายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีรายนางสาวสุ ภาฯ ยังมีข้อไม่สมบูรณ์ มีข้อสังเกตใน การจัดทำารายงานโดยพยานบุคคลดังกล่าวเป็ นผู้เข้าไปรวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะของส่ วน


125

ราชการ และหน่ วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบาย ของรัฐบาล และข้อเสนอแนะต่อข้าพเจ้า ภายหลังทีน่ างสาวสุ ภาฯ ประธานคณะอนุกรรมการปิ ด บัญชีฯ จัดทำารายงานทำาให้ เกิดข้อมูลต่อสาธารณะทีไ่ ม่ถูกต้องจึงเป็ นผู้เข้าไปตรวจสอบและ รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะของส่ วนราชการดังกล่าวข้างต้น และนำาเสนอต่อข้าพเจ้า และ ข้าพเจ้าเห็นว่าเป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ ของทางราชการเป็ นสำ าคัญโดยให้ มกี ารนำาเรื่องทีเ่ สนอดังกล่าว ข้าวสู่ทปี่ ระชุมของคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่ งชาติปรากฏตามหนังสือกระทรวงพาณิชย์ ฉบับลงวันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ เรื่อง รายงานผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่ ง ชาติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ นอกจากนี้ ข้าพเจ้ามีพยานหลักฐานทีจ่ ะสนับสนุนให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็น ว่า เมือ่ รัฐบาลได้รับหนังสือสำานักงาน ป.ป.ช. ตามหนังสือที่ ปช. ๐๐๐๓/๐๑๙๘ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ ส่งข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรกรณีการดำาเนินการตามนโยบายของ รัฐบาลในการรับจำานำาข้าวเปลือก รัฐบาล ได้ให้ความสนใจรวมทั้งหน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องใน การบริ หารราชการแผ่นดินรวมทั้งหน่วยงานของรัฐทีเ่ ป็ นผูป้ ฏิบตั ิในโครงการรับจำานำาข้าวทุก หน่วยล้วนแต่ได้รับข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณีการดำาเนินการตามนโยบายของ รัฐบาลไปพิจารณาดำาเนินการทั้งสิ้น อาทิ เช่น สำานักงบประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงการคลัง เป็ นต้น โดยสำานักงานเลขาธิการนกยกรัฐมนตรี เป็ นผูด้ าำ เนินการเพือ่ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องรับข้อเสนอแนะไปพิจารณา โดยเฉพาะกระทรวง พาณิชย์ แม้จะเห็นต่างกลับทางคณะกรรมการ ป.ป.ช.ในบางเรื่ อง อาทิ เช่น เรื่ องการระบายข้าวแต่ กระทรวงพาณิชย์ได้มีการติดตามและประเมินผลโครงการรับจำานำาข้าวด้วย ปรากฏตาม ๑.) หนังสือสำานักงบประมาณ ด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๐๗๐๕/๔๙๖ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕ เรื่ อง ข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณีการดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าว เปลือก พยานเอกสารในลำาดับที่ ๔๗ ๒.)หนังสือกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด่วนทีส่ ุด ที่ กษ ๑๐๐๔/๑๔๘๑ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ เรื่ อง ข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณี การดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าวเปลือกพยานเอกสารในลำาดับที่ ๔๘ ๓.)หนังสือสำานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๑๑๑๔/๒๙๘๙ ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ เรื่ อง ข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณี การดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าวเปลือก พยานเอกสารในลำาดับที่ ๔๙ ๔.)


126

หนังสือสำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๐๙๐๑/๐๖๕๑ ลงวันที่ ๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ เรื่ อง ข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณีการดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการ จำานำาข้าวเปลือก พยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๐ ๕.) หนังสือกระทรวงพาณิชย์ ด่วนทีส่ ุด ที่ พณ ๐๔๑๔/๑๙๖๗ ลงวันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ เรื่ อง ข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณีการ ดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าวเปลือก พยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๑ ๖.)หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๑๐๐๖/๑๐๘๒๒ ลงวันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ เรื่ อง ข้อ เสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณีการดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าวเปลือก สำาหรับกรณีทสี่ าำ นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มีหนังสือ ด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๐๕๐๖/๐๖๓๓๔ ลงวันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ แจ้งให้ทราบว่าคณะรัฐมนตรี ในคราวประชุม เมือ่ วันที่ ๑๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ ได้พจิ ารณาและยืนยันว่าการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกมี วัตถุประสงค์ทเี่ ป็ นประโยชน์ตอ่ เกษตรกรในการยกระดับราคาพืชผลทางการเกษตร รวมทั้ง เป็ นการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวติ ให้แก่เกษตรกรในชนบทตามแนวนโยบายทีร่ ัฐบาลได้ แถลงไว้ตอ่ รัฐสภาทุกประการ ซึ่งหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ยนื ยันว่าการดำาเนินโครงการดังกล่าวมี มาตรการและกลไกในการควบคุม กำากับ ดูแลให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการทุก ประการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ มีระบบการตรวจสอบให้การดำาเนินการเป็ นไปด้วยความโปร่ งใสและ ตรวจสอบได้ แต่อย่างไรก็ตามเพือ่ ให้การดำาเนินโครงการทั้งในระดับพื้นทีแ่ ละในระดับปฏิบตั ิ การมีประสิทธิภาพและป้ องกันการทุจริ ต คณะรัฐมนตรี จึงมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี (ร้อย ตำารวจเอกเฉลิม อยูบ่ าำ รุ ง) สัง่ การให้หน่วยงานในกำากับ ดำาเนินการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการ ทุจริ ตในระดับปฏิบตั ิ โดยให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และกระทรวงพาณิชย์ ให้ความร่ วมมือหากตรวจพบกรณีการทุจริ ตให้ดาำ เนินการตาม กฎหมายอย่างเคร่ งครัดต่อไป นั้น ตามบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในข้อ ๓ วรรคสอง นั้น รัฐบาลได้ดาำ เนินการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตในโครงการรับจำานำาข้าว ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตหรื อแสวงหาประโยชน์ทมี่ ิควร ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย อันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติ โดยมีคาำ สัง่ สำานักนายก รัฐมนตรี ที่ ๑๕๖/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ต ในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงินงบประมาณของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดยมีรองนายกรัฐมนตรี ร้อยตำารวจเอกเฉลิม อยูบ่ าำ รุ ง และคณะ กรรมการดังกล่าวได้ ดำาเนินการวางมาตรการ ในการตรวจสอบ ป้ องกัน และปราบปราม การ


127

ทุจริ ตจากการดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าว และได้มีการดำาเนินการพร้อมทั้ง รายงานผลการดำาเนินการ ปรากฏตามสารบัญ ๑.) สรุ ปผลการดำาเนินการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกัน การทุจริ ตในการรับจำานำาข้าว ของศูนย์ปฏิบตั ิการอำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตใน การรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงินงบประมาณของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ๒.)เอกสารเสนอคณะรัฐมนตรี เรื่ อง ข้อเสนอเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ต กรณีการดำาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าวเปลือก ๓. ) หนังสือสำานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๐๕๐๖/๑๖๓๓๕ ลงวันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๕ เรื่ อง ข้อเสนอแนะเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตกรณีการดำาเนินตามนโยบายของรัฐบาลในการรับจำานำาข้าว เปลือก ๔.) คำาสัง่ สำานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๕๖/๒๕๕๕ เรื่ อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำานวยการ ตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และ การใช้จา่ ยเงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ๕.) สรุ ปการดำาเนินการประชุม คณะ กรรมการอำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกัน สาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ครั้งที่ ๑ /๒๕๕๕ ๖.)คำาสัง่ คณะกรรมการอำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ ๑/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เรื่ อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกัน การทุจริ ตในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงินงบ ประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ๗.) คำาสัง่ อำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันในการรับ จำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงินงบประมาณขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ ๒/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เรื่ อง จัดตั้งศูนย์ปฏิบตั ิการ อำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกัน สาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ๘.) รายชื่อคณะ พนักงานสืบสวนสอบสวน ของ บช.น.,บช.ภ ๑-๙ และ ศชต. กรณีการทุจริ ตโครงการรับจำานำา ข้าวเปลือกนาปี ปี ผลผลิต ๒๕๕๔/๕๕ และการทุจริ ตการเยียวยาผูป้ ระสบภัย ๙.) แผนผัง แนวทางการดำาเนินการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตในการรับจำานำาข้าว ๑๐.)หนังสือสำานักงาน ทีป่ รึ กษา (สบ๑๐) (ด้านสืบสวน) ด่วนทีส่ ุด ที่ ๐๐๐๑(มค๑)/๔๖๒ ลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ เรี ยน รองนายกรัฐมนตรี (ร้อยตำารวจเอกเฉลิม อยูบ่ าำ รุ ง) เรื่ อง รายงานผลการปฏิบตั ิของคณะฯ ๑๑.) หนังสือ ภ.จว.สกลนคร ที่ ๐๐๑๙.(๑๒)/๓๓๘๙ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๕๕ เรี ยน ศปก.ตร.(


128

พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรี ชา ทีป่ รึ กษา(สบ๑๐) เรื่ อง รายงานการทุจริ ตโครงการรับจำานำา ๑๒.)หนังสือ ศูนย์ปฏิบตั ิการอำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตฯ ด่วนทีส่ ุด ที่ ๐๐๕๖/๔๖ ลงวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๕ เรี ยน รองนายกรัฐมนตรี (ร้อยตำารวจเอกเฉลิม อยูบ่ าำ รุ ง) เรื่ อง รายงานผลการปฏิบตั ิของคำาสัง่ คณะกรรมการอำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตในการ รับจำานำาข้าว ฯ ๑๓.) หนังสือ สำานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๔๐๕(ลร๒)/๓๐/๒๕๕๕ ลง วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๕ เรื่ อง รายงานผลการปฏิบตั ิของคณะกรรมการอำานวยการตรวจสอบเพือ่ ป้ องกันการทุจริ ตในการรับจำานำาข้าว การเยียวยา ฟื้ นฟู และป้ องกันสาธารณภัย และการใช้จา่ ยเงิน งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ ปรากฏตามพยานเอกสารในลำาดับ ที่ ๕๒ ข้อ ๑๔ . รายงานผลการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวของ สำ านักงานตรวจเงิน แผ่ นดิน ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ทีร่ ายงานตรงต่ อนายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะ กรรมการ กขช. นั้น ไม่ สมบูรณ์ ไม่ ถูกต้ อง ขาดความน่ าเชื่อถือไม่ อาจใช้ เป็ นพยานหลักฐาน ว่ า “โครงการรับจำานำาข้ าวมีจุดอ่ อนและความเสี่ ยงในทุกขั้นตอน และสร้ างความเสี ยหายต่ องบ ประมาณแผ่ นดินและเกษตรกร มีความเสี่ ยงต่ อระบบการคลังของประเทศ ไม่ เกิดการพัฒนาการ ผลิตข้ าวอย่ างยัง่ ยืน, ควรทบทวนและยุตกิ ารดำาเนินโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกในฤดูกาลต่ อ ไป” ดังที่ สำ านักงานตรวจเงินแผ่ นดินรายงาน เนื่องจาก ตามทีส่ าำ นักงานตรวจเงินแผ่นดินได้เสนอรายงานการตรวจสอบการดำาเนินงาน โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาล โดยอ้างอิงจากรายงานของคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์ และฝ่ ายเลขานุการ กขช. และฝ่ ายเลขานุการฯ ได้นาำ เสนอ ข้อเสนอแนะของสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน เสนอต่อคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ที่มี การประชุมเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ โดย กขช. ได้มีมติให้แต่งตั้งคณะทำางานขึ้น คณะ หนึ่งประกอบด้วยหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ตรวจสอบข้อเท็จจริง และปรับปรุงแก้ไขปัญหา และนำา เสนอต่อ กขช. ต่อไป ซึ่งคณะทำางานชุดดังกล่าวได้มีการศึกษา วิเคราะห์ขอ้ สังเกต ความเห็นข้อ เสนอแนะของสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ปรากฏตามสรุ ปผลการประชุมคณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ พยานเอกสารใน


129

ลำาดับที่ ๕๖ และคำาสัง่ กระทรวงพาณิ ชย์ที่ ๙๑/๒๕๕๗ เรื่ อง แต่งตั้งคณะทำางานตรวจสอบข้อ เท็จจริ งโครงการรับจำานำาข้างเปลือกของรัฐบาลตามความเห็นและข้อเสนอแนะของสำานักการ ตรวจเงินแผ่นดิน พยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๓ ซึ่งพฤติการณ์ที่แสดงออกทำาให้เห็นได้วา่ คณะ บุคคลและเจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิไม่เคยละเลย หรื อมิได้ไม่สนใจ ไม่นาำ พา ต่อหนังสื อของสำานักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน ลงวันที่ ๓๐ มกราคา ๒๕๕๗ เพื่อทำาการศึกษา วิเคราะห์ขอ้ สังเกตความ เห็นและข้อเสนอแนะของสำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่ได้ตรวจสอบการดำาเนินโครงการรับ จำานำาของรัฐบาลที่นาำ มากราบเรี ยนนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ว่ามีขอ้ เท็จ จริ งอย่างไร และแต่ละหน่วยงานได้มีการปรับปรุ งและดำาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างไร โดยมีขอ้ สังเกตต่อความเห็นและข้อเสนอแนะของสำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตามหนังสื อดังกล่าว ข้างต้น ดังนี้ ๑. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของสำ านักงานตรวจเงินแผ่ นดิน สะท้อนให้เห็นถึง ความไม่เข้าใจในนโยบายโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือกของรัฐบาล รวมถึงขั้นตอนการดำาเนินงาน กฎเกณฑ์ มาตรการของโครงการรับจำานำาอย่ าง ถ่ องแท้ ได้ แก่ - การอ้างอิงว่าการระบายข้าวทีล่ า่ ช้า อาจจะต้องกูเ้ งินเพิม่ มากขึ้น ส่งผลให้หนี้สาธารณะ ของประเทศสูงขึ้น ซึ่งในความเป็ นจริ งกรอบวงเงินในการดำาเนินโครงการรับจำานำาได้มีการ อนุมตั ิไว้อย่างชัดเจน - การกล่าวถึงข้อสังเกตของอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ที่ระบุวา่ อคส.และ อ.ต.ก. มีการ รายงานข้อมูลปริ มาณข้าวสารคงเหลือในคลังสินค้ากลางไม่ถกู ต้องครบถ้วน โดยไม่ได้มกี ารตรวจ สอบข้อเท็จจริงถึงความเป็ นมาในการรายงานข้อมูลที่กล่าวหาว่าไม่ครบถ้วนนั้น ว่าส่ วนหนึ่งเป็ น ผลมาจากแบบฟอร์มที่ทางคณะอนุปิดบัญชีฯ จัดส่ งให้หน่วยงานกรอกข้อมูล ก็ไม่ครบถ้วน ชัดเจน แสดงให้เห็นว่าคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ ยังไม่มีความเข้าใจโครงการรับจำานำาข้าว เปลือกอย่างถ่องแท้ เช่นกัน จึงกล่าวได้วา่ สตง. ยังขาดความเข้าใจและยังตรวจสอบประเด็น ต่างๆ ไม่ครบถ้วน ๒.การอ้ างอิงข้ อมูลทีไ่ ม่ เป็ นปัจจุบัน จากแหล่ งข้ อมูลทีย่ งั ไม่ มคี วามชัดเจน และขาดการ ตรวจสอบข้ อมูล ทำาให้ รายงานขาดความน่ าเชื่อถือ ได้ แก่


130

- ข้อเสนอแนะที่กล่าวว่าโครงการมีจุดอ่อนและความเสี่ ยงตั้งแต่การขึ้นทะเบียน เกษตรกร โดยการอ้างอิงผลการตรวจสอบในอดีต เช่นปี ๒๕๔๘- ๒๕๕๓ ทีก่ ล่าวว่ากรมส่งเสริ ม การเกษตรไม่มีความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล ไม่สามารถนำามาเป็ น หลักฐานยืนยันจุดอ่อนด้อยของโครงการรับจำานำาข้าวในปัจจุบนั ได้ เนื่องจากปัจจุบนั กรมส่ งเสริ ม การเกษตรได้มีระบบฐานข้อมูลกลางที่รองรับการทำาประชาคม ได้ท้งั ประเทศ - การกล่าวว่าโครงการมีผลขาดทุนจำานวนสูงมาก โดยอ้างอิงตัวเลขจากรายงานผลการ ปิ ดบัญชี ณ ๓๑ ม.ค. ๕๖ และ ๓๑ พ.ค. ๕๖ ซึ่งยังไม่มีความชัดเจนในมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ (ฝ่ าย เลขานุการ กขช.ได้โต้แย้งว่าสต็อกโครงการ ปี ๕๕/๕๖ ขาดหายไป ๒.๕๙๓ ล้านตันข้าวสาร ซึ่งเป็ นสต็อกที่อยูร่ ะหว่างการส่ งมอบ) ไม่อาจนำามากล่าวได้วา่ โครงการมีผลขาดทุนสูงและมี แนวโน้มการขาดทุนที่สูงขึ้น - การอ้างอิงข้อมูลจากสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย ที่ระบุวา่ เกษตรกรผูป้ ลูก ำ ข้าวที่มีฐานะร่ ารวยได้ รับประโยชน์มากกว่า เกษตรกรที่มีฐานะยากจนนั้น ซึ่งหากสำานักงาน ตรวจเงินแผ่นดินได้มีการตรวจสอบข้อมูลดังกล่าว ให้ชดั เจนจากหน่วยงานปฏิบตั ิในโครงการ รับจำานำา จะพบว่าสัดส่ วนของเกษตรกรที่เข้าร่ วมโครงการรับจำานำา กว่าร้อยละ ๕๐ เป็ นเกษตรกร ทีม่ ฐี านะยากจนถึงปานกลาง เนือ่ งจากมีมลู ค่าการรับจำานำาไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ต่อมาเมือ่ คณะทำางานตรวจสอบข้อเท็จจริ งโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของ รัฐบาลตามความเห็นและข้อเสนอแนะของสำานักการตรวจเงินแผ่นดิน ตามคำาสัง่ กระทรวง พาณิชย์ที่ ๙๑/๒๕๕๗ ได้ทาำ การตรวจสอบศึกษา วิเคราะห์ขอ้ สังเกตความเห็นและข้อเสนอแนะ ของสำานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เมือ่ วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ แล้วได้สรุปประเด็นปัญหา ความเสี่ยงผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาลของสำานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง (ธ.ก.ส, ปปช.,TDRI) ปรากฏตามพยานเอกสารใน ลำาดับที่ ๕๖ จึงเป็ นทีม่ าของข้อมูลทีท่ าำ ให้เห็นว่าข้อสังเกตและข้อเสนอแนะทีเ่ ป็ นจุดอ่อนและจุด เสี่ยงทีค่ ณะอนุกรรมการปิ ดบัญชี ฯ มีขอ้ สังเกตและข้อเสนอแนะนั้นอยูใ่ นวิสยั ทีส่ ร้างมาตรการ ป้ องกันได้(ข้อมูลจากฝ่ ายเลขนุการ กขช. กรมการค้าภายใน มีนาคม ๒๕๕๗)


131

สรุปข้อมูลกรมการค้าภายในประเด็นปัญหาความเสี่ยง ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการดำาเนิน โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาลของสำ านักงานตรวจเงินแผ่นดินและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง (ธ.ก.ส., ป.ป.ช. , TDRI) ประเด็นผลกระทบจากการดำาเนินโครงการ โดยพิจารณาผลการดำาเนิน งาน จาก (๑) โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี ๕๔/๕๕ (๒) โครงการรับจำานำานาปรัง ปี ๕๕ และ(๓) โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี ๕๕/๕๖ (ครั้งที่ ๑) ๑.ประเด็น การขึน้ ทะเบียนเกษตรกร มีปัญหา ความเสี่ยง ผลกระทบตามทีม่ กี ารบันทึกใน ำ อนในพืน้ ทีแ่ ปลงเดียวกันหรื อมา การแจ้งข้อกล่าวหาเช่น การสวมสิทธิและทุจริ ตขึ้นทะเบียนซ้าซ้ การนำาข้าวจากต่างประเทศเพือ่ นบ้านมาสวมสิทธิจาำ นำา ข้อเสนอแนะ ให้จดั ทำาฐานข้อมูลให้มคี วามถูกต้อง ครบถ้วน ตรงกับข้อเท็จจริง คอบคลุมทุก กิจกรรม และเป็ นฐานข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั และต่อเนือ่ งมีการวางระบบและสอบทานข้อมูลทีถ่ กู ต้องทั้งก่อนและหลัง ให้กาำ หนดหลักเกณฑ์เกีย่ วกับการออกใบรับรองการเกษตรกรให้แล้วเสร็จ ก่อนเปิ ดรับจำานำา และต้องมีการประชาคมสัมพันธ์ทาำ ความเข้าใจกับเกษตรกรในการออกใบรับรอง เกษตรกร การปรับปรุงขัน้ ตอนการขึน้ ทะเบียนเกษตรกร โครงการรับจำานำาข้าว - กรมส่งเสริมการเกษตรมีการวางแผนการขึ้นทะเบียนเกษตรกรทั้งในส่วนกลางและใน ระดับจังหวัด - มีการอบรมเจ้าหน้าทีท่ ้งั ในส่วนกลางและในระดับจังหวัดก่อนเริ่มดำาเนินการ - มีการเพิม่ อุปกรณ์และจัดทำาฐานข้อมูลรองรับเพิม่ ขึ้น และมีการประมวลผลทุกวัน - การรับขึ้นทะเบียนโดยเกษตรกรและผูร้ บั รองข้อมูลเกษตรกรแปลงข้างเคียงและผูน้ าำ ชุมชนต้องรับผิดชอบข้อมูลการขึ้นทะเบียน - การประชาคม เพิม่ ประชาคมกลุม่ ย่อย โดยจัดทำาประชาคมกลุม่ ๆละ ๕-๑๐ คน และลง ลายมือชือ่ รับรองข้อมูลก่อนการประชาคมในเวทีประชาคม เกษตรกรชี้ทตี่ ้งั แปลงบน ภาพถ่ายดาวเทียมในเวทีประชาคม


132

- การออกใบรับรอง โดยระบุเลขทีเ่ อกสารสิทธิในการขึ้นทะเบียน กำาหนดระยะเวลาการ ใช้หนังสือรับรองเกษตรกร ในกรณีจาำ นำาใบประทวนก่อนหรื อหลัง ๓๐ วัน นับจากวัน เก็บเกีย่ วทีร่ ะบุในหนังสือรับรอง กรณีจาำ นำายุง้ ฉางเกษตรกรก่อนหรื อหลัง ๖๐ วัน นับ จากวันเก็บเกีย่ วทีร่ ะบุในหนังสือรับรอง ให้มกี ารระบุขอ้ ความในหนังสือรับรอง เกษตรกร เพือ่ แก้ไขปัญหาการสวมสิทธิเกษตรกรโดยระบุวา่ กรณีทจุ ริ ตหรื อสวมสิทธิ เกษตรกรมีความผิดฐานฉ้อโกง มีโทษจำาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรื อปรับไม่เกิน ๖,๐๐๐ บาท หรื อทั้งจำาทัง้ ปรับ - การสอบทานพืน้ ที่ จัดให้มกี ารใช้ภาพถ่ายดาวเทียม GPS เพือ่ การตรวจสอบพืน้ ทีเ่ พาะ ปลูกของเกษตรกร จากร้อยละ ๑๐ เป็ นร้อยละ ๒๐ มีการตรวจสอบข้อมูลของ เกษตรกรจากระบบโปรแกรมอีกทางหนึ่งด้วย ในกรณีพน้ื ทีม่ เี อกสารสิทธิ์ ระบบ โปรแกรมจะตรวจสอบจากเลขทีเ่ อกสารสิทธิ์ กรณีทเี่ ลขทีเ่ อกสารสิทธิ์ซาซ้ ้ ำ อนระบบ โปรดแกรมจะขึ้นเตือนเพือ่ ให้กลับไปตรวจสอบข้อมูล ในกรณีเกษตรกรทีม่ กี ารเพาะ ปลูกในพืน้ ทีน่ อกเหนือจากเอกสารสิทธิ์ระบบโปรดแกรมจะออกรหัสแปลงตามทีต่ ง้ ั แปลง โดยระบุชนิดพืช จังหวัด อำาเภอ ตำาบล หมู่ และรหัสแปลงภายในหมูเ่ ดียวกัน ำ อน เพือ่ ใช้ในการตรวจสอบข้อมูลเพือ่ ไม่ให้เกิดเกิดความซ้าซ้ - การตรวจสอบกรณีมผี ลผลิตเกิน คณะอนุกรรมการระดับจังหวัดแต่งตั้งคณะทำางาน ตรวจสอสบการจำานำาข้าวเปลือกของเกษตรกร กรณีมผี ลผลิตเกินร้อยละ ๒๐ ของ ปริมาณทีร่ ะบุในหนังสือรับรองและเกินวงเงิน ๕๐๐,๐๐๐ บาทว่าเป็ นข้าวของเกษตรกร จริง ๒. ขัน้ ตอนการรับจำานำา มีปัญหา ความเสี่ยง ผลกระทบ เจ้าหน้าที่ องค์การคลังสินค้า หรื อ องค์การตลาดเพือ่ เกษตรกร ประจำาหน่วยรับผิดชอบดูแลโรงสีหลายแห่ง ไม่สมารถตรวจสอบ ได้ ทำาให้เกิดปัญหาการออกใบประทวนล่าช้า ผูแ้ ทนเกษตรกรและตัวแทนข้าราชการทีแ่ ต่งตัง้ ส่า วนใหญ่ไม่มคี วามรูห้ รือประสบการณ์ในเรื่องกคุณภาพข้าว ไม่สามารถให้ความเป็ นธรรมแก่ ำ ก ความชืน้ และการหักสิ่งเจือปน เกิดการสวมสิทธิ เกษตรกรทัง้ ในเรื่องการวัดกรัมข้าว ชนิด น้าหนั


133

การทุจริ ตโดยโรงสีนาำ ข้าวของตนเองมาเข้าร่วมโครงการ โรงสีนาำ ข้างเปลือกทีร่ บั ฝากมาเวียนออก จำาหน่าย มีการนำาข้าวจากประเทศเพือ่ บ้านเข้ามา สวมสิทธิ โดยใช้ชอื่ เกษตรกรบางราย ข้อเสนอแนะ กรมการค้าภายในควรมีกระบวนการติดตามประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ำ โครงการอย่างต่อเนือ่ ง สม่าเสมอ ทัง้ ในระดับจังหวัดและภาพรวม นำาเสนอปัญหา อุปสรรค รวบรวมและรายงานต่อคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เพือ่ พิจารณาแก้ไขปัญหาอย่างทัน ท่วงที ควรกำาหนดนโยบายล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า ๒ เดือน เพือ่ ให้สามารถดำาเนินการได้ทนั ก่อนการ เปิ ดรับจำานำา ควรมีการวางรับเชือ่ มโยงข้อมูลเกีย่ วกับการขึ้นทะเบียนการรับจำานำาการออกใบ ประทวน การจ่ายเงิน เพือ่ สามารถสอบทานข้อมูล การปรับปรุงขัน้ ตอนการรับจำานำา โครงการรับจำานำาข้าว มีการกำาชับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ จังหวัดและส่วนกลาง ตลอดจนคณะอนุกรรมการ ระดับจังหวัดต่างๆ เพือ่ เข้มงวดกวดขันในการกำากับดูแลในแต่ละขั้นตอน โดย ระดับจังหวัด มอบหมายให้คณะอนุกรรมการระดับจังหวัดเพิม่ ความถีใ่ นการตรวจสอบ ทั้งในเรื่อง เครื่องชัง่ เครื่องวัดความชื้น และประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรทราบเป็ น ระยะ ๆ ส่วนกลาง มอบหมายให้คณะอนุกรรมการต่างๆ เช่น คณะอนุกรรมการตรวจสอบและ ติดตามการรับจำานำาข้าว แต่งตั้งสายตรวจเฉพาะกิจเพิม่ ความถีใ่ นการตรวจสอบโรงสี ปริมาณ และ คุณภาพข้าวทีเ่ ก็บไว้ในโกดังกลาง คณะอนุกรรมการกำากับดูแลการรับจำานำาข้าว กำาหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ป้ องกันการทุจรติและเข้มงวดกวดขันในการติดตามการปฏิบตั งิ านของเจ้า หน้าทีแ่ ละแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึ้นเป็ นระยะๆในทางปฏิบตั ิ ปรับปรุงเจ้าหน้าทีป่ ระจำาหน่วยรับจำานำา โดยองค์การคลังสินค้าเพิม่ เจ้าหน้าทีท่ มี่ อี าำ นาจเซ็นต์ในใบประทวนสินค้าโดยบรรจุพนักงานเพิม่ กรณีไม่เพียงพอให้จดั จ้างเป็ นลูกจ้างและมีการกำากับจากผูท้ รี่ บั ผิดชอบชัดเจน โดย ๑ คน ต่อ ๑ แห่ง ให้องค์การตลาดเพือ่ เกษตรกรบริ หารจัดการให้เจ้าหน้าทีร่ บั ผิดชอบให้สามารถออกใบประทวนไม่ เกิดทีก่ าำ หนดไว้ องค์การคลังสินค้ามีการพัฒนาระบบการรับจำานำาโดยใช้ระบบออนไลน์ให้ สามารถออกใบประทวนจากส่วนกลางทำาให้สามารถควบคุมปริ มาณการรับจำานำาได้ดขี ้นึ มีการวาง ระบบการเชือ่ มโยงข้อมูลการรับจำานำาทุกหน่วยงาน ส่วนกลางมีการจัดทำาการเชือ่ มโยงข้อมูลการรับ


134

จำานำาตั้งแต่ขอ้ มูลการขึ้นทะเบียนเกษตรกร การรับจำานำาขององค์การคลังสินค้า หรื อองค์การตลาด เพือ่ เกษตรกรและการทำาสัญญาและจ่ายเงิน ธ.ก.ส. เพือ่ สอบทานการรับจำานำา ๓. การเก็บรักษาข้าวสารในคลังกลาง มีปัญหา ความเสี่ยง ผลกระทบ มีการจัดเก็บและ ดูแลข้าวในคลังกลางไม่เหมาะสม เช่น ข้าวสารรัว่ ออกจากกระสอบ ได้รบั ความเสียหายจากภัย ำ วม ข้าวขาดหายขากบัญชี บริ ษทั ตรวจสอบคุณภาพข้าวร่วมมือกับเจ้าหน้าทีแ่ ละ ธรรมชาติ เช่น น้าท่ ำ าโกดังกลาง ทำาให้ขา้ วไม่ได้มาตรฐานและเสื่อมคุณภาพเร็ว มี โรงสีในการจัดส่งข้าวคุณภาพต่าเข้ การนำาข้าวสารนาคลังกลางไปหมุนเวียนออกจำาหน่าย ระบบการควบคุมคลังกลางการติดตั้งกล้อง วงจรปิ ดไม่เหมาะสม ไม่สามารถใช้งานได้ การเปิ ด ปิ ด คลังสินค้ากลสง โดยเจ้าหน้าทีผ่ รู ้ บั ผิดชอบ ไม่รดั กุม ระบบการติดตามตรวจสอบของเจ้าหน้าทีไ่ ม่สามารถดำาเนินการได้ทวั่ ถึง ตรวจสอบได้ เพียงบางส่วน การรายงานข้อมูลข้าวสาร ปริ มาณข้าวสารคงเหลือในคลังกลางไม่ถกู ต้อง ล่าช้า ไม่ เป็ นไปตามทีก่ าำ หนด มีการแก้ไขข้อมูลบ่อยครั้ง การปรับปรุงขัน้ ตอนการเก็บรักษาข้าวสารในคลังกลาง โครงการรับจำานำาข้าว การรับมอบและการรมยา มีการกำาหนดบริ ษทั ตรวจสอบคุณภาพข้าวและการรมยาแยก ออกจากกันอย่างชัดเจนโดยไม่ไห้เป็ นบริ ษทั เดียวกัน ทำาให้สามารถกำาหนดความรับผิดชอบได้ ชัดเจน อคส. /อ.ต.ก. กำาหนดระยะเวลาการรมยาชัดเจนและจังหวัดกำากับดูแลอีกทางหนึ่งด้วย การรายงานปริ มาณข้าวสารในคลัง อคส./อตก. กำาหนดให้หวั หน้าคลังฯรายงานปริ มาณ ข้าวสารในคลังให้ส่วนกลางเป็ นประจำาทุกวัน อคส./อตก. ส่าวนกลางรายงานปริ มาณข้าวสารใน คลังฯ เป็ นประจำาทุกสัปดาห์ให้กรมการค้าต่างประเทศในฐานะเลขานุการอนุกรรมการพิจารณา ระบายข้าว การตรวจสอบสต็อกข้าวสารในคลังกลาง ส่วนกลางสายตรวจเฉพาะกิจตรวจสิบเป็ น ระยะ และตรวจสอบตามคำาร้องเรียน อคส.ตรวจสอบสินค้าคงเหลือทุก ๖ เดือน อ.ต.ก. ตรวจสอบ เป็ นระยะ จังหวัดสุม่ ตรวจสอบเป็ นประจำาทุกเดือน ๔ . การระบายข้าว ปัญหา ความเสี่ยง ผลกระทบ มีการระบายข้าวเปลือกอออกจำานวน ำ รัฐบาลรับ น้อยและล่าช้ามาก ส่งผลให้ขา้ วสารคุณภาพเสื่อม ราคาจำาหน่ายข้าวมีแนวโน้มต่าลง


135

ภาระขาดทุนรวมทัง้ ต้นเงินและดอกเบี้ย ธ.ก.ส. ได้รบั ชำาระคืนเงินล่าช้า ส่งผลให้จา่ ยเงินให้ เกษตรกรล่าช้า รัฐบาลไม่ยอมเปิ ดเผยข้อมูลการระบายข้าวแบบ G TO G ข้อเสนอแนะ กำาหนดกรอบระยะเวลาในการระบายข้าวให้สมั พันธ์กบั คลังกลางทีต่ อ้ ง ใช้ในการเก็บรักษาข้าว การปรับปรุงขัน้ ตอนการระบายข้าว โครงการรับจำานำาข้าว มีแผนการระบายข้าวในสต็อกของรัฐบาล ดังนี้ เจรจาขายแบบ G to G กับประเทศเป้ า หมายได้แก่ จีน อินโดนีเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ มาเลเซีย อิรกั บังคลาเทศ ไนจีเรี ย และ กานา การทีไ่ ทย ำ ณภาพและมาตรฐานข้าว ขายข้าวให้ COFCO (รัฐวิสาหกิจจีน) ในปริ มาณมากเป็ นการตอกย้าในคุ ไทย และสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูซ้ ้อื ข้าวจากไทยเพิม่ ขั้น ขายข้าวทัว่ ไปให้กบั ผูป้ ระกอบการใน ประเทศเพือ่ ส่งออกต่างประเทศ และ /หรื อ จำาหน่ายในประเทศ มี ๒ แนวทาง คือ ขายเป็ นการ ทัว่ ไปเดือนละ ๕๐๐,๐๐๐ – ๑,๐๐๐,๐๐๐ ตัน โดยระบายอย่างน้อยเดือนละ ๒ ครั้ง ขายเป็ นการทัง่ ไปให้ผสู ้ ่งออกทีม่ คี าำ สัง่ ซื้อจากต่างประเทศเสนอซื้อข้าวในสต็อกเพือ่ ส่งมอบตามเวลาทีก่ าำ หนด ขายในตลาด AFET ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ – ๑,๐๐๐,๐๐๐ ตัน ภายใน ๖ เดือน (ม.ค. – มิ.ย. ๕๗) ๕.การปิ ดบัญชี ปัญหา ความเสี่ยง ผลกระทบ มีการรายงานข้อมุลทีใ่ ช้ในการจัดทำา บัญชีจาก อคส./อ.ต.ก. ล่าช้า ไม่ถกู ต้องครบถ้วน มีการแก้ไขข้อมูลไม่เป็ นไปตามระยะเวลาทีค่ ณะ อนุกรรมการกำาหนด มีภาระหนี้คงเหลือตามโครงการรับจำานำาก่อนปี ๕๔/๕๕ สะสมค้างชำาระ ธ.ก.ส. จำานวนมาก ข้อเสนอแนะ เร่งรัดให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องรายงานผลการดำาเนินงานให้คณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีฯ โดยเร็วเพือ่ ปิ ดบัญชีและรายงานผลการดำาเนินงานเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน การปรับปรุงการปิ ดบัญชี โครงการรับจำานำาข้าว มีการเข้มงวดกวดขันในการกำากับดูแลและมีหนังสือเร่งรัดให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องแจ้ง ข้อมูลการดำาเนินงานทีเ่ กิดขึ้นจริ งให้คณะอนุกรรมการทราบภายในระยะเวลา เพือ่ ใช้เป็ นข้อมูล ประกอบการปิ ดบัญชีได้ตามระยะเวลา ทีก่ าำ หนด อคส. /อ.ต.ก. มีการรายงานปริ มาณข้าวสารและ ผลิตภัณฑ์ขา้ วโครงการฯนาปี ๕๔/๕๕ นาปรัง ปี ๕๕ และปี ๕๕/๕๖ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม


136

๒๕๕๖ ตามแบบฟอร์มทีค่ ณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีกาำ หนด เมือ่ คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีได้สรุป ผลการปิ ดบัญชีแล้ว จึงตรวจพบว่ามีปริ มาณข้าวสารและผลิตภัณฑ์คลาดเคลือ่ นจากความจริ ง เนือ่ งจากยังมีขา้ วสารค้างส่งมอบทีโ่ รงสีท้งั ๓ โครงการ ซึ่งยังไม่ได้นาำ มารวมเป็ นข้าวสารคงเหลือ เนือ่ งจากในแบบฟอร์มไม่ได้ระบุไว้ อคส. /อ.ต.ก. จึงขอปรับเพิม่ ยอดสินค้าคงเหลือเพิม่ เติมอีก ๒.๘๙ ล้านต้น อคส. / อ.ต.ก. มีการรายงานข้อมูลสินค้าคงเหลือเป็ นรายโรงสี รายโกดังโครงการฯ ปี ๕๔/๕๕ นาปรัง ปี ๕๕ และปี ๕๕/๕๖ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ แจ้งคณะอนุกรรมการปิ ด บัญชีแล้ว จากข้อสรุปประเด็นปัญหาความเสี่ยง ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากการดำาเนินโครงการรับ จำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาลของสำานักงานตรวจเงินแผ่นดินและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง (ธ.ก.ส.,ปปช.,TDRI) ประเด็นผลกระทบจากการดำาเนินโครงการ โดยพิจารณาผลการดำาเนินงาน จาก (๑) โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี ๕๔/๕๕ (๒) โครงการรับจำานำานาปรัง ปี ๕๕ และ(๓) โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี ๕๕/๕๖ (ครั้งที่ ๑) ตามความเห็นของสำานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ดังกล่าวข้างต้นทุกสภาพปัญหามีขอ้ เสนอแนะและแนวทางการปรังปรุงการปฏิบตั งิ านของผูป้ ฏิบตั ิ ในโครงการรับจำานำาข้าวโดยสามารถสร้างมาตรการเพือ่ ป้ องกันความเสียหายหรื อเป็ นการป้ องกัน เรื่องทีจ่ ะนำาไปสู่การทุจริ ตหรื อการแสวงหาประโยชน์ทมี่ คิ วรได้โดยชอบด้วยกฎหมายในทุกขั้น ตอนและกระบวนการในการดำาเนินโครงการอันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติได้มใิ ช่ ปัญหาจากกรณีทคี่ ณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายของรัฐบาล ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ลับ ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๒๐๑/ล.๑๕๖๙ ลงวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๕ และหนังสือกระทรวงการคลัง ลับด่วนทีส่ ุด ที่ ๐๒๐๑/๘๐๘๑ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ทีม่ ี ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะมิใช่ปัญหาทีส่ ามารถแก้ไขไม่ได้แต่จากข้อสรุปประเด็นปัญหาความ เสี่ยงและผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นตามทีก่ ล่าวมาข้างต้นทุกสภาพปัญหามีทางออกในการแก้ไขปัญหาทั้ง สิ้น และจากข้อสรุปดังกล่าวทีท่ าำ ขึ้นภายหลังทีม่ รี ายงานคณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีทง้ ั ๒ ครั้ง และ เป็ นเวลาภายหลังจากการทีส่ าำ นักงานตรวจเงินแผ่นดินได้มหี นังสือ ด่วนทีส่ ุด ที่ ตผ ๐๐๑๒/๐๒๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ล้วนแต่เป็ นปัญหาทีส่ ามารถสร้างมาตรการแก้ไขปัญหาได้ท้งั สิ้น และข้อสรุปดังกล่าวหาได้มขี อ้ สรุปว่าการดำาเนินโครงการทีม่ จี ดุ อ่อนหรื อความเสี่ยงดังกล่าวข้างต้น ไม่สามารถทีจ่ ะมีแนวทางแก้ไขปัญหาได้เลย


137

ดังนั้น การทีส่ าำ นักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้มหี นังสือ ด่วนทีส่ ุด ที่ ตผ ๐๐๑๒/๐๒๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ แจ้งผลการตรวจสอบโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ของรัฐบาลแล้ว กระทรวงพาณิชย์มไิ ด้เพิกเฉย หรื อไม่สนใจและไม่นาำ พา ต่อข้อท้วงติงแต่ประการ ใด ในทางตรงข้ามกระทรวงพาณิชย์ได้มคี าำ สัง่ กระทรวงพาณิชย์ที่ ๙๑/๒๕๕๗ ได้ทาำ การตรวจ สอบศึกษา วิเคราะห์ขอ้ สังเกตความเห็นและข้อเสนอแนะของสำานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เมือ่ วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ จึงได้มขี อ้ เสนอแนะและแนวทางการปรับปุรงโครงการดังนั้นปัญหา ของโครงการรับจำานำาข้าวทีเ่ กิดขึ้นในขั้นตอนปฏิบตั อิ ยูใ่ นวิสยั ทีจ่ ะสร้างมาตรการแก้ไขปัญหาเพือ่ มิ ให้เกิดปัญหาตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีขอ้ เสนอและข้อห่วงใยในขั้นตอนและกระบวนการใน การดำาเนินโครงการทีจ่ ะนำาไปสู่การทุจริ ตหรื อการแสวงหาประโยชน์ทมี่ คิ วรได้โดยชอบด้วย กฎหมายอันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติ อีกทัง้ ข้าพเจ้ามีข้อสังเกตทีข่ อนำาเสนอต่อ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เกีย่ วกับหนังสือของสำ านักงานตรวจเงินแผ่นดิน หนังสือ ด่วนทีส่ ุด ที่ ตผ ๐๐๑๒/๐๒๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ดังชีข้ ้อไม่สมบูรณ์ของโครงการประกันรายได้ เกษตรกรของปี การผลิต ๒๕๕๒/๕๓ และ ๒๕๕๓/๕๔ ซึง่ เป็ นนโยบายของพรรคการเมืองทีเ่ ป็ นผู้ กล่าวหาในคดีนดี้ ้วย ดังนั้น ข้อไม่สมบูรณ์ทเี่ กิดขัน้ จากรายงานสำ านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ดัง กล่าวข้างต้น จึงมิใช่ ข้อสมบูรณ์ของโครงการรับจำานำาข้าวเสียทัง้ หมดแต่ประการใด คงมีขน้ั ตอน การาปฏิบตั บิ างขัน้ ตอนทีต่ รงกันเท่านั้น และมีข้อสังเกตว่าข้อไม่สมบูรณ์ของโครงการประกันราย ได้เกษตรกรของปี การผลิต ๒๕๕๒/๕๓ และ ๒๕๕๓/๕๔ ซึง่ ใช้ เงินงบประมาณแผ่นดินไปทัง้ สิน้ ประมาณ ๑๓๐,๐๐๐ ล้านบาทเศษ เป็ นภาระให้กบั รัฐบาลของข้าพเจ้าต้องจัดงบประมาณประจำาปี ถึง ๒ ปี เพือ่ ชำาระหนีใ้ นโครงการประกันราคาของรัฐบาลผูก้ ล่าวหาในคดีนี้ และปัจจุบนั นีผ้ ลจากการ ดำาเนินโครงการประกันราคาของผู้กล่าวหาข้าพเจ้ายังเป็ นเหตุให้ปจั จุบนั นีย้ งั มีหนีส้ ินทีเ่ กิดจาก โครงการประกันราคาทีต่ ้องจัดหางบประมาณมาชำาระหนีอ้ ยู่อกี ประมาณ ๔๐,๐๐๐ ล้านบาทเศษ ที่ ผู้กล่าวหาในคดีนใี้ นฐานะหัวหน้ารัฐบาลได้สร้ างภาระงบประมาณให้ไว้กบั ประเทศไทย และคณะ กรรมการ ป.ป.ช. ก็เคยตัง้ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลผู้กล่าวหากับพวกในคดีนี้ แต่กห็ ามี ข้อสงสัยทีจ่ ะดำาเนินการกล่าวหาเอากับผู้กล่าวหากับพวกทีเ่ ป็ นผู้บริหารโครงการประกันราคาเช่ น เดียวกับการดำาเนินคดีเอากับข้าพเจ้าในคดีนี้


138

ข้าพเจ้าข้ออ้างสืบพยานบุคคลรายนายยรรยง พวงราช เป็ นพยานเพือ่ นำาสืบในประเด็น เรือ่ งมาตรการและข้อเสนอแนะของกรมการค้าภายในดังกล่าวข้างต้นในฐานะทีเ่ ป็ นอดีตปลัด กระทรวงพาณิชย์เคยปฏิบตั ใิ นขัน้ ตอนต่าง ๆ ทีม่ สี ภาพปัญหาเพือ่ ชีใ้ ห้เห็นว่าหากได้ปฏิบตั ติ าม มาตรการแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นแล้วโครงการรับจำานำาข้าวไม่ต้องระงับยับยัง้ โครงการดังที่ คณะกรรมกร ป.ป.ช. กล่าวอ้าง เพือ่ นำาสืบสนับสนุนข้อชีแ้ จงของข้าพเจ้าในเรือ่ งการไม่ระงับยับยัง้ ให้มกี ารยุตโิ ครงการรับจำานำาข้าว พยานบุคคลในลำาดับที่ ๕ ข้อ ๑๕. นายกรัฐมนตรีได้จัดให้ มีการปรับปรุงการดำาเนินการในทุกขั้นตอน และกระบวนการ ของการดำาเนินโครงการโดยตลอด จนไม่มีความเสี ยหายที่เป็ นรู ปธรรมถึงขนาดที่จะระงับยับยั้งการดำาเนิน โครงการรับจำานำาข้าวนับแต่ ระยะเวลาที่คณะอนุการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้ าวเปลือก(นางสาวสุ ภา ปิ ยะ จิตติ) มีหนังสือลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ มีผลขาดทุน ๒๒๐,๙๖๘.๗๘ ล้ านบาท จนถึงวันที่สำานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินมีหนังสือลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗

ข้าพเจ้าผู้ถกู กล่าวหา ได้จดั ให้มกี ารปรับปรุงการดำาเนินโครงการในทุกขัน้ ตอนและ กระบวนการของการดำาเนินโครงการโดยตลอดจนไม่มคี วามเสียหายทีเ่ ป็ นรูปธรรมถึงขนาดทีจ่ ะสั่ง ระงับยับยัง้ การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวดังกล่าวได้ อีกทัง้ ในทางตรงกันข้ามการดำารงอยู่ของ โครงการรับจำานำาข้าวเป็ นประโยชน์ต่อชาวนา ดังทีจ่ ะกล่าวต่อไปนี้ ๑๕.๑ เมือ่ วันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ นายวราเทพ รัตนากร รัฐมนตรีประจำา สำ านักนายกรัฐมนตรี ได้มหี นังสือ สำ านักงานรัฐมนตรีประจำาสำ านักนายกรัฐมนตรี (นายวราเทพ รัตนากร) ที่ สพล (ลต.๒) ๑๐๕/๒๕๕๖ เรือ่ ง การรวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะของส่ วนราชการและ หน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายของรัฐบาล ซึง่ คณะรัฐมนตรีได้มมี ติเมือ่ วันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ รับทราบผลการดำาเนินงาน ปรากฏตามพยาน เอกสาร หนังสือบันทึกข้อความที่ สพล (ลต.๒) ๑๐๕/๒๕๕๖ เรือ่ ง การรวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ ของส่ วนราชการและหน่วยงานต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตาม นโยบายของรัฐบาล ฉบับลงวันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ ในพยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๒ ๑๕.๒ เมือ่ วันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษา และมีมติรับ ทราบรายงานผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ /๒๕๕๖ ตามทีก่ ระทรวง


139

พาณิชย์เสนอ โดยให้กระทรวงพาณิชย์ รับไปตรวจสอบข้อมูลปริมาณ (stock) ข้าวคงเหลือของ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกให้ตรงกับข้อเท็จจริง โดยให้สำานักงานตำารวจแห่งชาติเข้าร่ วมในการ ตรวจสอบด้วย และให้กระทรวงพาณิชย์รายงานผลการตรวจสอบต่อคณะรัฐมนตรี ภายใน ๓๐ วัน ปรากฏตามพยานหลักฐานหนังสือสำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนทีส่ ุด ที่ นร๐๕๐๖/๑๕๙๗๙ เรือ่ งรายงานผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ ในพยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๓ ๑๕.๓ เมือ่ วันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ คณะรัฐมนตรีได้มมี ติรับทราบข้อมูลทีแ่ ตก ต่างกัน จึงมอบหมายให้รัฐมนตรีประจำาสำ านักนายกรัฐมนตรีรวบรวมข้อมูลไปเสนอคณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติเพือ่ ประกอบการพิจารณาการกำาหนดแนวทางการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าว เปลือกในระยะต่อไป ทัง้ นีใ้ ห้คาำ นึงถึง ๑.ผลประโยชน์ของเกษตรกร โดยให้ยดึ แนวทางตามนโยบายของรัฐบาลในการยก ระดับรายได้และคุณภาพชีวติ ของเกษตรกรเป็ นสำ าคัญ ๒.นโยบายและวินยั ด้านการเงินการคลังทีค่ าำ นึงถึง การบริหารจัดการหนีส้ าธารณะ ของประเทศ ทัง้ นี้ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห้งชาติจะต้องพิจารณากำาหนดแนวทาง วิธกี าร รวมทัง้ กฎเกณฑ์ในการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกทีเ่ หมาะสมชัดเจน แล้วให้นำาผลการ พิจารณาเสนอรัฐมนตรีโดยเร็วต่อไป ปรากฏตามพยานหลักฐานหนังสือกระทรวงพาณิชย์ ด่วน ทีส่ ุด ที่ พณ๐๔๑๔/๒๑๕๘ เรือ่ งรายงานผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ ในพยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๔ ๑๕.๔ เมือ่ วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ สำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มหี นังสือ ด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๐๕๐๖/๑๗๗๐๐ เรือ่ ง โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ถึงรอง นายกรัฐมนตรี (นายกิตริ ัตน์ ณ ระนอง) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ทำาหน้าทีป่ ระธาน คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ว่าคณะรัฐมนตรีได้มมี ติเมือ่ วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖ รับ


140

ทราบและเห็นชอบตามทีน่ ายกิตริ ัตน์ ณ ระนอง ทำาหน้าทีป่ ระธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่ง ชาติ เสนอทัง้ ๓ ข้อ ดังนี้ ๑. รับทราบราคา ปริมาณ วงเงินการรับจำานำาข้าวเปลือกของเกษตรกร และระยะ เวลาการรับจำานำาโครงกาสรรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ทัง้ นี้ โดยยังคงอยูใ่ นกรอบ รวมของปริมาณการรับจำานำาข้าวเปลือก และกรอบวงเงิน ในการดำาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ (เรือ่ งโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ครั้งที่ ๒) โดย ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกต้องอยู่ในกรอบวงเงิน ๕๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ๒. เห็นชอบมาตรการป้ องกัน การทุจริตโครงการรับจำานำาข้าว ทีเ่ กีย่ วข้องกับหน่วย งานต่างๆ และมอบหมายหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องให้ความร่ วมมือปฏิบตั งิ านอย่างเคร่ งครัดตามมติ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๖ เมือ่ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ และให้รายงาน ผลการดำาเนินการ ต่อคณะรัฐมนสตรี ภายในระยะเวลาทีก่ าำ หนดไว้ด้วย ๓. เห็นชอบแนวทางการเพิม่ ประสิทธิภาพการเพาะปลูกข้าว เพือ่ ลดต้นทุนการผลิต ข้าว และเพิม่ รายได้ให้แก่ชาวนา(zoning)ตามมติคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๖ เมือ่ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ทัง้ นีใ้ ห้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับไปประสานงานกับ กระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ดำาเนินการจัดหาพืน้ ทีเ่ พาะปลูกพืชพลังงาน ทดแทน เช่ น อ้อย ปาล์มน้ำ ามัน และหญ้าเนเปี ย (napier) เป็ นต้น ให้แก่เกษตรกรทีจ่ ะปรับเปลีย่ น การเพาะปลูก เพือ่ เพิม่ รายได้ของตนเอง และให้กระทรวงพลังงานเร่ งรัดการดำาเนินการเพือ่ ให้มกี าร จัดตัง้ สถานประกอบการ เพือ่ รองรับผลิตผลจากพืชพลังงานทดแทนดังกล่าวโดยเร็วต่อไป ปรากฏ ตามพยานหลักฐานหนังสือสำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนทีส่ ุด ที่ นร๐๕๐๖/๑๗๗๐๐ เรือ่ ง โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ พยานเอกสารใน ลำาดับที่ ๕๕ ๑๕.๕ เมือ่ วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๕๖ สำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มหี นังสือ ด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๐๕๐๖/๒๓๘๕๘ เรือ่ ง โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ ถึง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ตามทีก่ ระทรวงการคลังสำ านักงบประมาณ สำ านักงานคณะ


141

กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เสนอความเห็นไปเพือ่ ประกอบการพิจารณา ของคณะรัฐมนตรีด้วย คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษา เมือ่ วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๖ ลงมติว่า ๑.รับทราบกรอบชนิด ราคา ปริมาณ ระยะเวลา หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไข โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ ตามทีก่ ระทรวงพาณิชย์เสนอ ๒.อนุมตั ใิ ห้กระทรวงพาณิชย์เร่ งรัดดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าเปลือก (นาปี ) ภาย ใต้กรอบวงเงินของโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ จำานวน ๒๗๐,๐๐๐ ล้าน บาท ให้มคี วามโปร่ งใส ตรวจสอบได้ และเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีค่ ณะ กรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติได้ให้ความเห็นชอบไว้ เพือ่ ให้ข้าวเปลือกทีเ่ ข้าร่ วมโครงการเป็ นไป ตามคุณภาพมาตรฐานทีก่ าำ หนด และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องรับความเห็นของกระทรวงการคลัง สำ านักงบประมาณ และสำ านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปพิจารณา ดำาเนินการในส่ วนทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป ๓.ในกระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง กำากับติดตาม ตรวจสอบ และ รายงานผลการดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก (นาปี ) ต่อคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ เพือ่ พิจารณาผลการดำาเนินการดังกล่าว และให้เสนอคณะรัฐมนตรีดาำ เนินการต่อไป ปรากฏตามพ ยานหลักฐานหนังสือสำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนทีส่ ุด ที่ นร๐๕๐๖/๒๓๘๕๘ เรือ่ งโครงการ รับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ ลงวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๖ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๖ ๑๕.๖ เมือ่ วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๖ สำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มหี นังสือด่วน ทีส่ ุด ที่ นร ๐๕๐๖/๒๘๓๖๗ เรือ่ ง โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ถึงรัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์ ตามสำ านักงบประมาณ และสำ านักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ ได้เสนอความเห็นเพือ่ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ซึง่ คณะรัฐมนตรี ได้ประชุม ปรึกษาเมือ่ วันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๖ ลงมติอนุมตั ติ ามทีก่ ระทรวงพาณิชย์เสนอ เรือ่ งการช่ วยเหลือ เกษตรกรเข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ทัง้ นี้ ให้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงอุตสาหกรรม รับความเห็นของสำ านักงานคณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปพิจารณา ดำาเนินการในส่ วนทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป ปรากฏตามพ


142

ยานหลักฐานหนังสือสำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนทีส่ ุด ที่ นร๐๕๐๖/๒๘๓๖๗ เรือ่ ง การช่ วย เหลือเกษตรกรเข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๕/๕๖ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๖ พยานเอกสาร ในลำาดับที่ ๕๗ ๑๕.๗ เมือ่ วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.๒๕๕๖ แต่คณะรัฐมนตรีทพี่ ้นจากตำาแหน่งต้องอยู่ในตำาแหน่งเพือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ่อไปจนกว่า คณะรัฐมนตรีทตี่ ง้ ั ขึน้ ใหม่จะเข้ารับหน้าที่ โดยคณะรัฐมนตรี และรัฐมนตรี จะปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้เท่าที่ จำาเป็ นภายใต้เงือ่ นไขทีก่ าำ หนดไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๘๑ (๑) - (๒) - (๓) ด้วยเหตุดงั กล่าวข้างต้นข้ออ้างตามบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาทีอ่ ้างว่าข้าพเจ้าได้รับ หนังสือจากสำ านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตามหนังสือด่วนทีส่ ุด ที่ ตผ ๐๐๑๒/๐๒๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ แจ้งผลการตรวจสอบโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกของรัฐบาล แทนทีจ่ ะระงับ ยับยัง้ โครงการรับจำานำาข้าว กลับยืนยันทีจ่ ะดำาเนินโครงการต่อไป อันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ ทางราชการมากขึน้ ไปเรือ่ ยๆ ทัง้ ทีม่ อี าำ นาจตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑ (๑) และในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ทีจ่ ะสั่งระงับ ยับยัง้ การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวดังกล่าวได้ ข้อกล่าวหานี้ เป็ นข้อกล่าวหาทีข่ ดั ต่อบทบัญญัตริ ัฐธรรมนูญ เพราะโดยบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ คณะรัฐมนตรีมขี ้อจำากัดตามบทบัญญัตริ ัฐธรรมนูญ ในการดำาเนินการโครงการรับ จำานำาข้าวอีกต่อไป คงปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้เฉพาะมติคณะรัฐมนตรีก่อนการยุบสภาทีไ่ ด้อนุมตั กิ รอบการ ดำาเนินงานในโครงการรับจำานำาข้าว ทีก่ าำ หนดระยะเวลาในเรือ่ งวันสิน้ สุดโครงการเท่านั้น ( ปรากฏตามหนังสือกระทรวงพาณิชย์ ด่วนทีส่ ุด พณ ๐๔๑๔/๓๐๖๗ เรือ่ งโครงการรับจำานำาข้าว เปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ ฉบับลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ หน้าที่ ๒ ข้อที่ ๔.๑ กรอบวงเงิน ในการดำาเนินการ ราคา ปริมาณ และระยะเวลากำาหนดไว้ ในข้อ ๔.๑ (๒) ว่า การรับจำานำาข้าวเปลือก ในช่ วงนาปี (๑) มีระยะเวลารับจำานำา ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ – ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ (ภาคใต้ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ – ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗) เท่านั้น ทีเ่ กษตรกรทุกรายสามารถเข้าร่ วมโครงการใน วงเงินการรับจำานำาข้าวเปลือก ไม่เกินรายละ ๓๕๐,๐๐๐ บาท ) ปรากฏตามพยานเอกสารหนังสือ กระทรวงพาณิชย์ ด่วนทีส่ ุด พณ ๐๔๑๔/๓๐๖๗ ในลำาดับที่ ๖๕ ปัจจุบนั นีเ้ กษตรกร ไม่มมี าตรการ


143

ใดๆ ในเรือ่ งการแทรกแซรงการตลาดเพือ่ ช่ วยเหลืออีกต่อไป ข้อกล่าวหาว่า ข้าพเจ้าไม่ระงับยับยัง้ การดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าว จึงเป็ นเรือ่ งขัดต่อข้อเท็จจริง และขัดต่อรัฐธรรมนูญ ในการทีจ่ ะ อ้างหนังสือสำ านักการตรวจเงินแผ่นดิน ตามหนังสือด่วนทีส่ ุด ที่ ตผ ๐๐๑๒/๐๒๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๗ ซึง่ เป็ นเวลาภายหลังทีม่ กี ารยุบสภาแล้ว โครงการรับจำานำาข้าวใดๆ ทีจ่ ะช่ วยเหลือ เกษตรกร ก็ยตุ ลิ ง ข้อ ๑๖. โครงการรับจำานำาข้าว เป็ นทีป่ ระจักษ์ว่า มิได้ผดิ วินยั การเงินการคลัง หรือ พ.ร.บ.หนีส้ าธารณะ หรือมติคณะรัฐมนตรี เกีย่ วกับกรอบวงเงิน ทีใ่ ช้ ในการดำาเนินโครงการอัน ทำาให้เห็นว่า โดยภาระการเงินและการคลัง ตามข้ออ้างของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทีอ่ ้างว่ามีความ เสี่ยงต่อระบบการคลังของประเทศ จึงไม่เป็ นความจริง กล่าวคือ เมือ่ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๗ คณะรัฐมนตรี ลงมติรับทราบ ตามทีก่ ระทรวงการ คลังเสนอรายงานการบริหารจัดการในกรอบวงเงินหมุนเวียนของโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เป็ นจำานวนรวม ๔๖๓,๘๐๕ ล้านบาท ซึง่ เป็ นวงเงินทีต่ ่ำ ากว่ากรอบวงเงิน หมุนเวียนของโครงการทีค่ ณะรัฐมนตรีได้อนุมตั ไิ ว้ เมือ่ วันที่ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ จำานวน ๕๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ซึง่ เงินกู้ทกี่ ระทรวงการคลังได้จดั หาเพือ่ เป็ นทุนหมุนเวียน ภายใต้กรอบวงเงินกู้ ไม่เกิน ๔๑๐,๐๐๐ ล้านบาท โดยมีหนีค้ งค้างสำ าหรับโครงการดังกล่าว ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เป็ นจำานวนรวม ๓๙๖,๗๕๖ ล้านบาท ยังคงเหลือกรอบวงเงินกู้จาำ นวน ๑๓,๒๔๔ ล้านบาท (๔๑๐,๐๐๐ – ๓๙๖,๗๕๖ ล้านบาท) ส่ วน ธ.ก.ส. ได้ใช้ จ่ายเงินหมุนเวียนของ ธ.ก.ส. ภายใต้กรอบ วงเงิน ๙๐,๐๐๐ ล้านบาท โดย ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ธ.ก.ส. ได้ใช้ เงินทุนไปแล้วสำ าหรับปี การ ผลิต ๒๕๕๔/๕๕ และ ๒๕๕๕/๕๖ จำานวน ๓๗,๙๙๔ ล้านบาท และปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ จำานวน ๒๒,๐๕๕ ล้านบาท คงเหลือวงเงินอีก ๒๒,๙๕๑ ล้านบาท (๙๐,๐๐๐ – ๓๗,๙๙๔ – ๒๙,๐๕๕ ล้านบาท) ปรากฏตามหนังสือสำ านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีด่วนทีส่ ุด ที่ นร ๐๕๐๖/๖๔๖ เรือ่ งรายงานผลการจัดหาเงินกู้ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๗ และ หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนทีส่ ุด ที่ กค ๐๙๐๔/๑๙๒ เรือ่ ง รายงานผลการจัดการจัดหาเงินกู้ โครงการรับจำานำาข้าวเปลือกฯ ฉบับลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๗ พยานเอกสารในลำาดับที่ ๕๘


144

ข้อ ๑๗. กรณีทชี่ าวนาเข้าร่ วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ ทีย่ งั ไม่ได้รับเงินค่าจำานำาข้าวนั้น ไม่ได้เป็ นผลโดยตรงมาจากดำาเนินโครงการรับจำานำาข้าวของ รัฐบาล การทีช่ าวนา กรณีทชี่ าวนาเข้าร่วมโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก ปี การผลิต ๒๕๕๖/๕๗ทีย่ งั ไม่ได้รบั เงินค่าจำานำาข้าวนั้น ไม่ได้เป็ นผลโดยตรงมาจากดำาเนินโครงการรับจำานำา ข้าวของรัฐบาล แต่เป็ นเพราะมีเหตุปัจจัยมาจากภายนอกทีอ่ ยูน่ อกเหนือการควบคุมของรัฐบาล เป็ น ผลทำาให้การดำาเนินธุรกรรมเพือ่ ให้ได้มาซึ่งเงินสำาหรับชำาระหนี้ตามโครงการรับจำานำาข้าวไม่ สามารถทำาได้ตามกำาหนด เช่น เมือ่ วันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๗ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ซึ่งเป็ นสถาบันการเงิน สำาหรับการชำาระเงินให้กบั ชาวนานั้นถูกกลุม่ ผูช้ มุ นุม กปปส. ข่มขู่ กดดันคณะกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูง (บอร์ด) ของธนาคารเพือ่ การเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ไม่ให้ประชุมพิจารณานำาเงิน ๕.๕ หมืน่ ล้านบาท เพือ่ จ่ายเงินให้กบั ชาวนาตามโครงการรับจำานำาข้าว, ต่อมาเมือ่ วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๗ ผูช้ มุ นุม กปปส. และชาวนา ทีส่ นับสนุน ได้นาำ มวลชนชุมนุมปิ ดล้อมกระทรวงพาณิชย์ กดดันข้าราชการและเจ้าหน้าทีไ่ ม่ให้ ดำาเนินงาน ส่งผลให้การยืน่ ซองประมูลซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ( ข้าวในโครงการรับจำานำาข้าว) ไม่สามารถทำาการประมูลซื้อขายข้าวได้สาำ เร็จ เพือ่ เป็ นการระบายข้าว และนำาเงินมาจ่ายให้แก่ชาวนา ข้อ ๑๘. เรือ่ งกล่าวหาข้าพเจ้าได้รับทราบเรือ่ งการทุจริตในการดำาเนินโครงการรับ จำานำาข้าว และการระบายข้าวจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจของฝ่ ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ระหว่าง วันที่ ๒๕-๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ทีอ่ ภิปรายไม่ไว้วางใจข้าพเจ้าในฐานะนายกรัฐมนตรีและการ ตัง้ กระทู้ถามข้าพเจ้าเรือ่ งผลการตรวจสอบการระบายข้าวแบบรัฐต่อรัฐและปัญหาโครงการรับจำานำา ข้าวของนายวรงค์ เดชกิจวิกรม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เมือ่ วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ ในเรือ่ งนีภ้ ายหลังจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจของฝ่ ายค้านและการตัง้ กระทู้ถาม ข้าพเจ้าเรือ่ งการาตรวจสอบการระบายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ และปัญหาโครงการรับจำานำาข้าวของนาย วรงค์ฯ ข้าพเจ้าขอชีแ้ จงว่า


145

ก่อนหน้าการอภิปรายไม่ไว้วางใจของฝ่ ายค้าน ข้าพเจ้าดังทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น ทัง้ การรับจำานำาข้าว และการระบายข้าว เพือ่ ให้บงั เกิดประสิทธิผลเป็ นผลดีต่อเกษตรกรผูผ้ ลิต และ ระบบการผลิต และการตลาดข้าวโดยส่ วนรวม ข้าพเจ้าเห็นว่า การดำาเนินการในโครงกาสรรับจำานำา ข้าว หากเป็ นรูปคณะบุคคลทีป่ ระกอบด้วยผู้มคี วามรู้ความสามารถ มาทำาหน้าที่ จะเกิดผลดีต่อ โครงการ ข้าพเจ้า จึงมีคาำ สั่งสำ านักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๕๓/๒๕๕๕ เรือ่ งแต่งตัง้ คณะกรรมการ นโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) โดยให้คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) เป็ นผู้เสนอกรอบ นโยบาย และยุทธศาสตร์ ข้าวต่อคณะรัฐมนตรีทง้ั ในระยะสั้นและระยะยาว เพือ่ ให้การจัดการข้าว สอดคล้องกันทัง้ ระบบ และมีการพัฒนาต่อเนือ่ ง รวมทัง้ อนุมตั แิ ผนงาน โครงการ และมาตรการ เกีย่ วกับการผลิตและการตลาดข้าว พิจารณาหลักเกณฑ์และวิธกี ารสนับสนุน ช่ วยเหลือเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ผู้ประกอบการโรงสี ผู้ค้า และผูส้ ่ งออกข้าว เพือ่ ให้การบริหารจัดการข้าวทัง้ ระบบ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตาม กำากับดูแลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย มาตรการ และโครงการที่ อนุมตั ิ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการในแต่ละด้านเพือ่ ดำาเนินการด้านการผลิต การตลาด และการแก้ไข ปัญหาเกีย่ วกับข้าว ซึง่ ข้าพเจ้าก็ได้ต้งั คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ ด้านการผลิต และใน ด้านอืน่ ๆ เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้โดยรวดเร็ว และเป็ นการเฉพาะด้าน โดยเฉพาะการแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการปิ ดบัญชีโครงการรับจำานำาข้าวเปลือกตามนโยบายของรัฐบาลก็เป็ นอนุกรรมการ เฉพาะด้านซึง่ แต่เดิมเป็ นการรวมพืชพลเกษตรกรอืน่ ๆ นอกเหนือจากข้าวไว้ด้วย ดังนั้นการข้าพเจ้า เห็นว่าคณะกรรมการนโยบาลข้าวแห่งชาติ (กขช.) จะเป็ นผู้ให้ความเห็นชอบ กรอบการระบายข้าว ในสต๊อกของรัฐบาล ส่ วนวิธกี ารระบายข้าว ก็ได้นำามติคณะรัฐมนตรีเดิมก่อนข้าพเจ้าเป็ นรัฐบาลมา เป็ นกรอบการปฏิบตั หิ น้าที่ มิได้คดิ ระเบียบ หลักเกณฑ์ใดๆขึน้ มาใหม่ในลักษณะทีจ่ ะเป็ นประโยชน์ ต่อตน หรือบุคคลทีส่ าม โดยตำาแหน่งประธานคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ข้าพเจ้า เข้าไปสังเกตการณ์การประชุมเพียงครั้งเดียว และได้มอบหมายนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็ นประธานแทนข้าพเจ้า และภาย หลังมีมติ กขช. ข้าพเจ้าจะทราบในทีป่ ระชุมของคณะรัฐมนตรีเท่านั้น ในบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาในเรือ่ งนีม้ ขี ้อเคลือบคลุมสงสัยว่า จากการอภิปรายของฝ่ าย ค้าน และการตัง้ กระทู้ถามนั้น ไม่ปรากฏว่า ข้าพเจ้าเข้าไปเกีย่ วข้องใดๆ ในเรือ่ งการทุจริต หามี


146

พยานหลักฐานแต่อย่างใดไม่ เป็ นการกล่าวหาทีไ่ ม่มพี ยานทีน่ ่าเชือ่ ถือมาเบิกความเป็ นพยานต่อศาล ว่า ข้าพเจ้าเข้าไปยิง่ เกีย่ วด้วย ในฐานะประธาน กขช. เมือ่ ใด และเรือ่ งใดในบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาไม่ มีปรากฏ แต่นายวิชา มหาคุณ ได้อ้างว่าข้าพเจ้ารับรู้ทง้ั หมดว่าจะทำาอย่างไร โดยสัมภาษณ์ ใน หนังสือพิมพ์ ฐานเศรษฐกิจ ฉบับที่ ๒๙๒๙ ลงวันที่ ๙ – ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๗ โดยอคติต่อตัว ข้าพเจ้า ซึง่ ข้าพเจ้าไม่อาจเข้าใจได้ดวี ่ามีพยานหลักฐานใดทีน่ ายวิชาฯ อ้างว่าข้าเจ้ารับรู้ทง้ั หมดว่าจะ ทำาอย่างไร ซึง่ โดยถูกต้องเป็ นธรรม ไม่ควรนำาพยานหลักฐานไปพูดนอกสำ านวนคดีความ และเมือ่ ข้าพเจ้าขอตรวจสอบก็ไม่อนุญาตให้ตรวจสอบแต่ประการใด จนกระทัง้ ปัจจุบนั ข้าพเจ้าก็ไม่อาจรู้ ได้ว่าข้อกล่าวหาทีม่ ตี ่อตัวข้าพเจ้านั้น คือพยานหลักฐานใด เพราะพยานหลักฐานจากการอภิปราย ของนายอภิสิทธิ์ และนายวรงค์ เมือ่ มีการตรวจสอบจากรัฐมนตรีผ้มู หี น้าทีเ่ กีย่ วข้องก็ได้ทราบว่า เรือ่ งทีอ่ ภิปรายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้มตี ง้ ั คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง ได้แก่ คำาสั่งกระทรวงพาณิชย์ที่ ๖๘๘/๒๕๕๕ เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงการ จำาหน่ายข้าวสารในสต๊อกของรัฐบาล ส่ วนการรับรู้นอกเหนือจากการอภิปรายในฐานะทีเ่ ป็ นนายกรัฐมนตรี และประธาน คณะกรรมการนโยขายข้าวแห่งชาติ หากเรือ่ งใดอยู่ในขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ มิใช่ เรือ่ งนโยบายแล้ว ข้าพเจ้า มิได้รับรู้ทง้ั หมด จะรับรู้จากรายงานของผูร้ ับผิดชอบเท่านั้น อาทิเช่ น เมือ่ วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี ข้าพเจ้าตอบข้อซักถามของผู้สื่อข่าวในเรือ่ งการระบาย ข้าวแบบ จี ทู จี ซึง่ มีการขายหรือการส่ งออกในหลายประเทศ ข้าพเจ้าได้ตอบคำาถามผู้สื่อข่าวใน เรือ่ งการระบายข้าวโดยการส่ งออกนั้น เป็ นการตอบคำาถามถึงการส่ งออกโดยภาพรวม เพราะทราบ ว่า ได้มกี ารเซ็นสัญญาขายข้าวให้กบั ประเทศคู่ค้าหลายประเทศ มิได้เจาะจงถึงการส่ งออกไปยัง ประเทศหนึง่ ประเทศใดแต่เพียงผู้เดียว ในบางครั้งจะเห็นได้ว่า ข้าพเจ้า ตอบผู้สื่อข่าว เกีย่ วกับรูป แบบของสัญญาโดยภาพรวมว่าเป็ นลักษณะ MOU แต่รัฐมนตรีผ้รู ับผิดชอบ ก็ทกั ท้วง และอธิบายผู้ สื่อข่าวในทันใดว่า ไม่ใช่ MOU แต่เป็ น SALES CONTRACT ซึง่ หากได้ตรวจสอบภาพข่าวทีร่ ้กู นั อยู่ทวั่ ไป โดยสังเกต ก็จะเห็นได้ว่ายังมีความเข้าใจ และความรับรู้ทยี่ งั ไม่ตรงกัน เพราะโดยความ เข้าใจของข้าพเจ้านั้น ข้าพเจ้าเข้าใจถึงการส่ งออกโดยภาพรวม จึงตอบคำาถามผูส้ ื่อข่าวไม่ตรงกันกับ ทีร่ ัฐมนตรีตอบผู้สื่อข่าว แต่จากกรณีดงั กล่าว หากพิจารณาแล้ว ก็จะเป็ นคำาตอบได้เป็ นอย่างดีว่า


147

หากข้าพเจ้ารับรู้ทง้ั หมด เรือ่ งการระบายข้าว ตามทีน่ ายวิชาฯ ไปให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนแล้วจะ ทำาให้เห็นได้ว่า สิ่งทีน่ ายวิชาฯ ให้สัมภาษณ์ ไม่เป็ นความจริง เป็ นไปโดยอคติต่อตัวข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ขอชีแ้ จงว่าให้พจิ ารณาถึงการกระทำาของผู้เกีย่ วข้องโดยแบ่งแยกว่าใครมีอาำ นาจ หน้าทีใ่ นเรือ่ งใด สำ าหรับตัวข้าพเจ้าในฐานะผู้บริหารสูงสุดข้าพเจ้าได้ปรับเปลีย่ นและมีการ เปลีย่ นแปลงตัวผู้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ยู่ตลอดเวลารวมทัง้ หามาตรการใดๆ มาแก้ไขปรับปรุงอย่างไม่ ละเลยอยู่ตลอดเวลาดังข้อเท็จจริงทีไ่ ด้เรียบเรียงมาข้างต้นโดยเฉพาะงานในกระทรวงพาณิชย์เองได้ มีการเปลีย่ นแปลงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพในงานของโครงการ ต่างๆ ในกระทรวงพาณิชย์ รวมทัง้ โครงการรับจำานำาข้าวซึง่ เป็ นนโยบายของรัฐบาลจึงยืนยันได้ว่า เมือ่ ได้รับทราบเรือ่ งใดทีจ่ ะเป็ นปัญหา หรืออุปสรรคต่อการบริหาราชการแผ่นดินก็ไม่ละเลยทีจ่ ะ ละเว้นไม่แก้ไข หรือระงับยับยัง้ ตามทีก่ ล่าวหาข้าพเจ้าแต่ประการใด ด้วยเหตุผลข้อเท็จจริ ง และข้อกฎหมายที่ได้กล่าวมาในคำาชี้ แจงของข้าพเจ้าหากคำานึงถึงการใช้ อำานาจขององค์กรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ภายใต้การยึดหลักสิ ทธิในกระบวนการ ยุติธรรมอย่างไม่เลือกปฏิบตั ิ เสมอภาค โอกาสในการต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ การตรวจสอบหรื อ รับทราบพยานหลักฐานตามสมควร ล้วนแต่เป็ นการปฏิบตั ิที่เหมาะสมในการดำาเนินการตาม กระบวนการยุติธรรม เพื่อให้บุคคลมีสิทธิเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่าย สะดวก และทัว่ ถึงสิ ทธิข้ นั พื้นฐานในกระบวนพิจารณา ซึ่งอย่างน้อยต้องมีหลักประกันขั้นพื้นฐาน เรื่ องการได้ รับการพิจารณาโดยเปิ ดเผย การได้รับทราบข้อเท็จจริ งและตรวจเอกสารอย่างเพียงพอ การเสนอ ข้อเท็จจริ ง ข้อโต้แย้ง และพยานหลักฐานของตนนั้น เมื่อคำานึงถึงคดีอาญาที่ตอ้ งการให้มีการ พิจารณาคดีที่ถูกต้อง และเป็ นธรรม โอกาสในการต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ การตรวจสอบหรื อได้ รับทราบพยานหลักฐานตามสมควร คดีน้ ีโดยสรุ ป เมื่อมาตรวจสอบการอำานวยความยุติธรรมให้แก่ผถู ้ ูกกล่าวหา ซึ่ง เป็ นบุคคลระดับนายกรัฐมนตรี ย่อมมีสิทธิได้รับความคุม้ ครองในการดำาเนินกระบวนพิจารณา อย่างเหมาะสม ปัญหาข้อโต้แย้งที่ผถู ้ ูกกล่าวหาไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องที่ผถู ้ ูกกล่าวหาร้องขอขยายระยะ เวลาชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหาโดยอ้างเหตุผล และความจำาเป็ นเพื่อประโยชน์แห่งความเป็ นธรรมที่


148

ต้องรวบรวมพยานหลักฐานในส่ วนที่เป็ นคุณของผูถ้ ูกกล่าวหา เพื่อประโยชน์แห่งความเป็ น ธรรม และโดยแท้จริ งแล้วหากได้มีโอกาสตรวจสอบพยานหลักฐานอย่างเพียงพอการชี้ แจงแก้ ข้อกล่าวหาจะเป็ นไปโดยไม่หลงประเด็น และหลงข้อต่อสู้ ในฝ่ ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. เองก็ ไม่ตอ้ งวิตกกังวล และจะทำาให้การไต่สวน และการพิจารณาคดีน้ ี เป็ นไปโดยถูกต้องและเที่ยง ธรรม ความหวาดระแวงต่อการดำาเนินการในโครงการรับจำานำาข้าว ไม่น่าจะมีต่อไป เมื่อรัฐบาลโดยผูถ้ ูกกล่าวหาได้ช้ี แจงทั้งข้อเท็จจริ ง และข้อกฎหมายแล้วว่าขณะนี้ อยูใ่ นระหว่าง ยุบสภา ข้อจำากัดตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญเป็ นคำาตอบได้เป็ นอย่างดีถึงการที่โครงการรับจำานำา ข้าวต้องยุติสิ้นสุ ดลง ดังนั้นข้อกล่าวหาว่า ข้าพเจ้าละเลยเพิกเฉยที่จะไม่ระงับยับยั้งโครงการจึง เป็ นเรื่ องที่ไม่ถูกต้อง สำาหรับบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาในลักษณะเหมาจ่ายแจ้งข้อกล่าวหาอย่างไร ขอบเขตต่อกระบวนการในส่ วนของขั้นตอน และกระบวนการในการดำาเนินโครงการว่าเป็ น ปัญหาการทุจริ ตเชิงนโยบาย แต่กไ็ ม่ปรากฏข้อเท็จจริ งเช่นนั้น ในชั้นปฏิบตั ิการว่าเกิดขึ้นที่ หน่วยงานใด ความเสี ยหายเป็ นอย่างไร เท่าใด และในตำาบล อำาเภอ และจังหวัดใด ในราช อาณาจักร ดังนั้นหากมาดูขอ้ อ้างในหลายๆ เรื่ อง อาทิเช่น เรื่ องของการบิดเบือนกลไกการ ตลาด การที่รัฐต้องมีขา้ วจากการรับจำานำาในโกดัง และเสี ยค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาเป็ นจำานวน มาก รวมทั้งคุณภาพของข้าวที่เก็บแล้วระบายออกไม่ทนั จนเป็ นเหตุให้ขา้ วเสื่ อมคุณภาพลง ทำาให้ราคาข้าวตกต่าำ และประการสำาคัญมีปัญหาของการทุจริ ตในทุกขั้นตอนของกระบวนการ รับจำานำา ผูไ้ ด้รับประโยชน์จากนโยบายเป็ นเพียงบุคคลบางกลุ่ม ไม่ครอบคลุมเกษตรกรอย่างทัว่ ถึง รัฐบาลจึงควรยกเลิกโครงการรับจำานำาข้าวเปลือก และนำาระบบการประกันความเสี่ ยงด้าน ราคาข้าวมาดำาเนินการ ข้ออ้างทั้งหมดดังกล่าวข้างต้นที่เกิดปรากฏขึ้นในรายงานของคณะอนุการปิ ด บัญชี ล้วนแต่เป็ นสาเหตุอนั เกิดจากการมีวาระซ้อนเร้นของผูป้ ฏิบตั ิที่ดาำ เนินการวิเคราะห์ขอ้ มูล ทั้งข้อกฎหมายและข้อเท็จจริ ง ไม่มีความรอบครอบ ขาดความรัดกุม เลือกใช้ขอ้ มูลบางส่ วนที่ไม่


149

ตรงกับข้อเท็จจริ งและหลักวิชาการมาปฏิบตั ิหน้าที่ในการไต่สวนข้อเท็จจริ ง เพื่อเชื่อมโยงข้อมูล ที่จะนำามาเป็ นพยานหลักฐานในการต่อสู้คดี ทำาให้ขอ้ มูลที่ปรากฏในรายงานของคณะ อนุกรรมการปิ ดบัญชีไม่อาจชี้ มูลความผิดได้ สำาหรับโครงการรับจำานำาข้าวมีหลักคิดที่หลายๆ รัฐบาลมิได้มุ่งหมายเพื่อหวังผล กำาไรต่อการดำาเนินโครงการแต่อย่างใด จึงไม่ตอ้ งการให้นาำ ตัวเลขภายหลังสิ้ นสุ ดโครงการมาถก เถียงซึ่งกันและกันว่า นโยบายของรัฐบาลใดตอบสนองความต้องการของประชาชนได้มากกว่า กัน สำาหรับเงินรายได้ของโครงการรับจำานำาข้าวถือเป็ นความต้องการของประชาชนไปแล้ว โดยที่มาของโครงการเริ่ มจาก พรรคเป็ นผูน้ าำ เสนอนโยบายในลักษณะสัญญาประชาคม โดยผ่าน การเลือกตั้ง และนำาไปสู่การปฏิบตั ิเมื่อมีการแถลงนโยบายต่อรัฐสภา รัฐจึงไม่เสี ยหาย โครงการรับจำานำาข้าวมิใช่โครงการที่ประสงค์จะก่อให้เกิดการทุจริ ตเชิงนโยบาย แต่มีวตั ถุประสงค์ที่จะสร้างความเป็ นธรรมและยกระดับรายได้ให้กบั เกษตรกร เพื่อลดความ ำ เหลื่อมล้าของคนส่ วนใหญ่ของประเทศ มิได้ประสงค์ให้เกิดการบิดเบือนกลไกตลาด หากแต่ เป็ นการแก้ปัญหาการกดราคาและการเอารัดเอาเปรี ยบของพ่อค้าคนกลาง เพื่อให้รายได้ตกถึงมือ เกษตรกรอย่างแท้จริ ง นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี มิได้ละเลยข้อเสนอแนะจากฝ่ ายต่างๆ โดยมี การปรับปรุ งหลักเกณฑ์การดำาเนินโครงการให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้ น อย่างต่อเนื่อง นอกเหนือ จากข้อกล่าวหาทั้งหลายของ ป.ป.ช. จะไม่สอดคล้องกับข้อกฎหมายและข้อเท็จจริ ง ประเด็น สำาคัญ คือ ความเสี ยหายของโครงการยังไม่เกิดขึ้ นจริ ง จึงไม่สามารถกล่าวหาได้วา่ จงใจละเว้น การปฏิบตั ิหน้าที่ หรื อละเลยเพื่อให้เกิดความเสี ยหายต่อภาระการเงินการคลังของประเทศ จนถึง ขนาดที่ขา้ พเจ้าต้องเข้าไปดำาเนินการเพื่อให้คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาตินาำ เสนอต่อคณะ รัฐมนตรี ต่อไป แต่ขอ้ เท็จจริ งเช่นนั้นก็หามีไม่วา่ ความเสี ยหายที่อา้ ง ภาระการเงินและการคลัง ดังกล่าวข้างต้นต้องเป็ นความเสี ยหายที่เป็ นรู ปธรรมที่ถึงขนาดโดยมีข้ ันตอน และกระบวนการ ในการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารโครงการและต่อตัวผูป้ ฏิบตั ิ เมื่อความเสี ยหายยังไม่เป็ นรู ปธรรมที่ ถึงขนาดแล้วหากตัดสิ นใจระงับยับยั้งต่างหากที่จะถือว่าเป็ นการใช้อาำ นาจตามอำาเภอใจ จึงถือ เป็ นความเห็นต่างกันในหลักคิด และทฤษฎีทางการบริ หารที่ตอ้ งตัดสิ นใจต่อนโยบายใด


150

นโยบายหนึ่งที่จะนำามาใช้เป็ นนโยบายสาธารณะ สร้างความพึงพอใจให้กบั ประชาชน ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงขอให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้อาำ นวยความยุติธรรม โดยรับฟังพยานหลักฐานในคดี นี้ ทั้งที่เป็ นคุณและเป็ นโทษ อันเป็ นเหตุให้มีการกล่าวหาต่อตัวข้าพเจ้า โดยให้มีการรับฟังพยาน ำ กพยานหลักฐานที่ควรเชื่อหรื อไม่ควร หลักฐานให้สิ้นกระแสความเสี ยก่อน ก่อนที่จะชัง่ น้าหนั เชื่อได้อย่างไรเสี ยก่อน และหากไต่สวนพิจารณาอย่างถูกต้อง และเป็ นธรรมแล้วหากเห็นว่าไม่มี พยานหลักฐานที่ควรเชื่อถือได้ขอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ยตุ ิเรื่ องที่ไต่สวนเสี ยจำาเป็ น ประโยชน์ในการอำานวยความยุติธรรมต่อไป ลงชื่อ

ผูถ้ ูกกล่าวหา (นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร)


151


152


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.