20170707 ptl ar20162017 th

Page 1


สารบัญ 002 สานสจากประธานกรรมการ 004 คณะกรรมการ 006 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ป 2559-2560 008 รายงานของคณะกรรมการ ในสวนความรับผิดชอบเรือ่ งงบการเงิน 009 ดัชนีชวี้ ดั การเงิน 010 ขอมูลทางการเงินโดยสรุป 011 ขอมูลทัว่ ไป 014 นโยบายภาพรวมการประกอบธุรกิจ 020 ลักษณะการประกอบธุรกิจ 042 ปจจัยความเสีย่ ง 053 โครงการในอนาคต

054 054 055 056 066 070 071 072 076 082 098

ขอพิพาททางกฏหมาย โครงสรางผูถ อื หุน นโยบายการจายเงินปนผล โครงสรางการจัดการ การกํากับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบตอสังคม การควบคุมภายใน รายการระหวางกัน ฐานะการเงินและผลดําเนินงาน การวิเคราะหและอธิบายของฝายจัดการ รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ผูบ ริหาร ผูม อี าํ นาจควบคุม 105 งบการเงิน

“ผูลงทุนสามารถศึกษาขอมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพยเพิ่มเติมไดจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ( แบบ56-1 ) ของบริษัทที่แสดงไวใน www.sec.or.th หรือเวปไซตของบริษัท www.polyplexthailand.com”


โพลีเพล็กซ เขารวมงานแสดงสินคา SNEC PV Power Expo 2017 ทีน่ ครเซีย่ งไฮ เดือนเมษายน 2560

โพลีเพล็กซ เขารวมงานแสดงสินคา Interpack packaging – ทีป่ ระเทศเยอรมัน – เดือนพฤษภาคม 2560

ในการประชุมนอกสถานที่ โพลีเพล็กซทีมไดรังสรรคความคิดและกลยุทธ ในการนําพาองคกรสูความสําเร็จ

โครงการริเริม่ CSR โดยโพลีเพล็กซ – จัดกิจกรรมบริจาคโลหิต โดยพนักงานของบริษทั

001


สาส นจากประธานกรรมการ นายมนู เลียวไพโรจน ประธานกรรมการ

เร�ยนทานผูถือหุนที่เคารพ ปทผี่ า นมา ผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของบริษทั ปรับตัวดีขนึ้ อยางมีนยั สําคัญแมวา สภาวะตลาดจะมีความคงตัว สาเหตุเกิดจากการทีม่ บี ริษทั สามารถใชประโยชนจากสินทรัพยไดมากขึน้ อีกทัง้ บริษทั ยังไดพฒ ั นาสวนผสมของผลิตภัณฑ และการลดตนทุนคาใชจาย นอกจากนี้ ยังเกิดจากการที่บริษัทมีผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอัน เนื่องมาจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ปรับตัวดีขึ้น แมวาบริษัทจะเปรียบเทียบการทํากําไรตามปกติโดย เปรียบเทียบกับปที่ผานมาซึ่งเปนปที่มีการตั้งสํารองขาดทุนขาดทุนจากการดอยคา ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ตราตางประเทศและภาษีแลวก็ตาม แตอัตรากําไรจากการดําเนินงานของบริษัทก็ยังปรับตัวดีขึ้นอยางเห็นไดชัด

002


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

สินทรัพยใหมเกือบทัง้ หมดทีบ่ ริษทั จัดหามาเพิม่ ตัง้ แตปพ .ศ. 2554 โดยเฉพาะอยางยิง่ สายการผลิตแผนฟลม หนาในประเทศไทย และสายการผลิตแผนฟลม บางในสหรัฐอเมริกานัน้ มีการดําเนินงานใกลจะเต็มขีดความสามารถ โดยสายการผลิตแผน ฟลม หนานัน้ มีฐานลูกคาทีค่ อ นขางมัน่ คง และเปนกลุม ลูกคาทีใ่ ชแผนฟลม หนาทีห่ ลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิง่ ในสวน การผลิตแผงโซลารเซลล นอกจากนี้ บริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปาก็ยงั คงมีผลการดําเนินงานทีน่ า พึงพอใจ แมวา จะมีระดับการผลิตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ จากการลงทุนของบริษทั ในปกอ นๆ แตยอดขายของบริษทั ยังคงทีอ่ ยูท ปี่ ระมาณ 12,000 ลานบาท ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากการปรับตัวลดลงของราคาขายอันเกิดขึน้ เปนผลมาจากการทีต่ น ทุนวัตถุดบิ ปรับตัวลดลง ทัง้ นี้ กําไรสุทธิตามทีม่ กี ารรายงานในงบการเงินอยูท ี่ 1,366 ลานบาท เปรียบเทียบกับปทกี่ อ นมีผลขาดทุนสุทธิจาํ นวน 123 ลานบาท โดยกําไรนั้นเปนกําไรภายหลังจากการคิดผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศจํานวน 326 ลานบาท ในขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมแผนฟลม PET มีปญ  หาอุปทานลนตลาด แตบริษทั ก็ยงั สามารถรักษาความเขมแข็งทางการเงิน และมีความมัน่ ใจวาบริษทั จะสามารถดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมนีต้ อ ไปในอนาคต การทีบ่ ริษทั มีการประกอบธุรกิจใน หลายพืน้ ที่ ตลอดจนมีผลิตภัณฑและกลุม ลูกคาทีห่ ลากหลาย ทําใหบริษทั มีผลการดําเนินงานทีด่ ขี นึ้ และยังชวยใหบริษทั ยังคงมีผลการดําเนินงานทีด่ ตี อ ไปในอนาคตได เมือ่ สภาวะตลาดมีความสมดุลบริษทั จะสามารถปรับปรุงผลการดําเนิน งานใหดขี นึ้ ไดอยางมีนยั สําคัญ ทัง้ นี้ โดยอาศัยพืน้ ฐานทีแ่ ข็งแกรงซึง่ บริษทั ไดพฒ ั นาขึน้ ตลอดระยะเวลาหลายปทผี่ า นมา งบแสดงฐานะการเงินของบริษัทยังคงแสดงใหเห็นวาบริษัทมีฐานะการเงินที่เขมแข็ง และบริษัทจะหาโอกาสใหมๆ เพื่อเพิ่มอัตราการเติบโตของความสามารถในการทํากําไร ทั้งนี้ บริษัทอยูระหวางดําเนินการสายการผลิตแผนฟลม Metallizer ในสหรัฐอเมริกาและ สายการผลิตแผนฟลม Blown PP สายที่สอง ในประเทศไทย โดยเงินทุนทีร่ ะดมไดจากการเพิม่ ทุนเพือ่ เสนอขายหุน เพิม่ ทุนใหแกผถู อื หุน เดิมตามสัดสวนในประเทศไทยเมือ่ ปทผี่ า น มานัน้ ไดนาํ ไปลดสัดสวนของหนีส้ นิ ของบริษทั ทัง้ นี้ เพือ่ ใหสอดคลองกับผลการดําเนินงานทีป่ รับตัวดีขนึ้ คณะกรรมการ บริษทั เสนอใหมกี ารจายเงินปนผลในอัตรา 0.36 บาทตอหุน ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก บั การไดรบั อนุมตั จิ ากมติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน โรงงานรีไซเคิลทีบ่ ริษทั จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศไทยเมือ่ หลายปทผี่ า นมีสว นในการลดผลกระทบดานสิง่ แวดลอมจากขยะพลาสติก บริษัทยังคงมุงมั่นที่จะเปนสวนหนึ่งในการหาแนวทางแกไขปญหาจากของเสียและขยะที่เกิดขึ้นจากขบวนการผลิต นอกจากนี้ บริษัทยังมีการจัดโครงการชุมชนในทุกพื้นที่ซึ่งเปนที่ตั้งธุรกิจของบริษัทอยางสมํ่าเสมอ ในนามของคณะกรรมการบริษัท กระผมขอขอบคุณทานผูถือหุนทุกทาน รวมตลอดจนพันธมิตรทางธุรกิจและ พนักงานทุกคนของบริษัทที่ไดใหการสนับสนุนและไดทุมเทการทํางานอยางหนัก ซึ่งหากไมมีบุคคลดังกลาวแลว บริษัทคงไมสามารถรับมือกับสภาวะผันผวนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในการประกอบธุรกิจของบริษัทได โดยกระผม หวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับการสนับสนุนที่ดีเชนเคยตอไปในอนาคต

นายมนู เลียวไพโรจน ประธานกรรมการ

003


คณะกรรมการบร�ษัท

นายมนู เลียวไพโรจน

ดร. วีรพงษ รามางกูร

นายซีราช อีรัช ปุณวาลา

นายซันจีฟ ซาราฟ

ประธานกรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบ

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

004

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

รองประธานกรรมการ


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

นายอมิต ปรากาซ

นายประพัฒน โพธิวรคุณ

นายปราเนย โกธารี

นายมานิตย กุปตา

กรรมการผู จัดการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

005


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ป 2559-60 เร�ยน ผูถือหุนบร�ษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เนื่องจากการแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2547 ที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทที่จัดขึ้นเมื่อ วันที่ 2 กันยายน 2547 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระจํานวน 3 ทาน ซึ่งเปน ผูทรงคุณวุฒิ มีความรู ความสามารถ และประสบการณในดานการเงิน บัญชี อุตสาหกรรม และธุรกิจ ไดแก คุณมนู เลียวไพโรจน (ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ) ดร. วีรพงษ รามางกูร และ คุณชีราช อีรัช ปุณวาลา คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ความรับผิดชอบตามการกระจายอํานาจที่คณะกรรมการบริษัทกําหนดขึ้น หนึ่ง ในหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คือ การสอบทานผลการดําเนินงานดานการเงินรายไตรมาส/รายป ควบคุม ดูแลบริษัทใหมีการปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย) และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) ควบคุมดูแลใหมคี วามโปรงใสในระบบบัญชี สอบทานระบบควบคุมภายใน และสงเสริมใหมีการใชหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีในการปฏิบัติงาน ในปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทมีการจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง ทั้งนี้ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบสามารถสรุปไดดังนี้ 1. สอบทานและอนุมตั งิ บการเงินรายไตรมาสและรายปของบริษทั และบริษทั ยอยเพือ่ ใหมกี ารปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการ บัญชีทเี่ ปนทีย่ อมรับโดยทัว่ ไปและการเปดเผยขอมูลสําคัญเสนอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ อนุมตั กิ อ นเสนอ ตลาดหลักทรัพย และ กลต. หลังจากทีไ่ ดมกี ารพิจารณาแลว คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา งบการเงินดัง กลาวมีความเหมาะสมตามหลักการบัญชีที่เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปและการเปดเผยขอมูลมีความเพียงพอ 2. สอบทานการเปดเผยขอมูลรายการระหวางบริษัทและบริษัทในเครือ หรือรายการที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชน 3. สอบทานและกํากับดูแลการปฏิบตั ติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ แี ละระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนมาตรการ การลดความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบเชื่อมั่นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอ 4. สอบทานและพิจารณาการงดจายเงินปนผลสําหรับปบัญชี 2558-59 กอนนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาอนุมัติ 5. สอบทานและพิจารณางบประมาณประจําปสําหรับปบัญชี 2559-60 ของบริษัทและบริษัทยอย กอนนําเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ

006


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

6. สอบทานและอนุมัติการลงทุนเพื่อการทดแทนสําหรับเครื่อง Metallizer ใหมที่ โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี 7. พิจารณาและเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อแตงตั้ง นายชยพล ศุภเศรษฐนนท (ผูสอบบัญชีเลขที่ 3972) และ/หรือ นางสาวพิมพใจ มานิตขจรกิจ (ผูสอบบัญชีเลขที่ 4521) และ/หรือนางสาวสุมนา พันธพงศสานนท (ผูสอบบัญชีหมายเลข 5872) หรือนางสาวรสพร เดชอาคม (ผูสอบบัญชีหมายเลข 5659)แหงบริษัท สํานักงาน อี วาย จํากัด เปนผูส อบบัญชีของบริษทั สําหรับรอบปบญ ั ชีสนิ้ สุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 โดยกําหนดคาตอบแทน ผูสอบบัญชีเปนจํานวนไมเกิน 3,060,000 บาท

นายมนู เลียวไพโรจน ประธานกรรมการและ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ดร. วีรพงษ รามางกูร กรรมการตรวจสอบ

นายซีราช อีรัช ปุณวาลา กรรมการตรวจสอบ

007


รายงานของคณะกรรมการ ในส วนความรับผิดชอบในเร�่องงบการเง�น เร�ยน ผูถือหุนบร�ษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษทั ไดตระหนักถึงหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบในการสรางเสริมเพือ่ ใหเกิดการกํากับดูแลทีด่ ขี องกิจการ เพือ่ กอใหเกิดประโยชนสงู สุดของผูถ อื หุน โดยรวม คณะกรรมการเชือ่ มัน่ วางบการเงินและ ขอมูลทางการเงินของบริษทั ที่ปรากฎในรายงานประจําปของบริษัทนั้นเปนขอมูลที่มีความถูกตอง และ ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปของ ประเทศไทย เพื่อใหมีการปฎิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่ เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปและเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ รวมถึงการปฎิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ดี และไดรับการตรวจสอบเปนระยะ ๆ จากคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ไดนําเสนอรายงานการตรวจสอบดังกลาว ไวในรายงานประจําปฉบับนี้แลว งบการเงินสําหรับป 2559-2560 ของบริษทั ทีไ่ ดผา นการตรวจสอบจากผูส อบบัญชีตามมาตรฐานการ บัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ไดนําเสนอฐานะทางการเงินผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด ตลอดจนรายการที่ เกี่ยวของอื่นๆ ในสาระสําคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

นายมนู เลียวไพโรจน ประธานคณะกรรมการ

008

นายอมิต ปรากาซ กรรมการผู จัดการ


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ดัชนีชี้วัดทางการเง�น

009


ข อมูลทางการเง�นโดยสรุป 2555-56

2556-57

2557-58

2558-59*

2559-60#

9,230,018 9,495,185 1,355,850 402,494 16,512,186 8,267,306 8,244,880

10,702,538 11,912,727 12,278,323 11,538,844 10,792,537 12,483,602 12,314,180 11,929,093 928,678 1,518,896 2,326,078 2,207,367 (479,718) 390,025 (123,235) 1,366,361 19,581,075 16,166,437 15,631,119 14,399,016 10,943,098 8,534,566 7,427,982 4,732,616 8,637,976 7,631,870 8,203,137 9,666,400

ขอมูลทางการเงิน (พันบาท) ยอดขาย รายไดรวม กําไรขัน้ ตน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สินทรัพยรวม หนีส้ นิ รวม สวนของผูถ อื หุน อัตราสวนทางการเงิน อัตราสวนกําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนสวนผูถ อื หุน (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%)

4.24% 4.81% 2.83%

-4.44% -5.75% -2.66%

3.11% 4.80% 2.17%

-0.95% -1.47% -0.73%

11.45% 15.32% 9.10%

ขอมูลการเงินตอหุน (บาท) จํานวนหุน เงินปนผลตอหุน (บาท) กําไรตอหุน (บาท) มูลคาทีต่ ราไว (บาทตอหุน )

800,000,000 800,000,000 800,000,000 800,000,000 881,643,836^ 0.14 NIL 0.10 NIL 0.36 0.5 -0.6 0.49 (0.15) 1.55 1 1 1 1 1

หมายเหตุ ตัวเลขและอัตราสวนขางตนใชเกณฑงบรวม อันเปนการรวมขอมูลของบริษัทยอยในประเทศ สหรัฐอเมริกา , ตุรกี, สิงคโปร, เนเธอรแลนด, จีน และประเทศไทย * ตัวเลขของปที่แลวไดรับการปรับปรุง # ตามที่นําเสนอโดยคณะกรรมการบริษัท ซึ่งจะนําเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2560 ^ จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงนํ้าหนัก รวมหุนที่ออกระหวางป โดยเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนถืออยูในบริษัทฯ (Rights Offering)

010


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ข อมูลทั่วไป 2.1

ชือ่ บริษทั ชือ่ ยอหลักทรัพย ทีต่ งั้ สํานักงานใหญ โทรศัพท โทรสาร ทีต่ งั้ โรงงาน

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

เลขทะเบียนบริษทั โทรศัพท โทรสาร Website ทุนจดทะเบียน หุน สามัญ มูลคาทีต่ ราไว ทุนเรียกชําระแลว จํานวนพนักงาน

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) PTL 75/26 อาคารโอเชีย่ นทาวเวอร 2 ชัน้ 18 ซอยสุขมุ วิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 (662) 665-2706-8 (662) 665 2705 1) 60/24 หมู 3 นิคมอุตสาหกรรมสยามอีสเทิรน อินดัสเตรียลพารค อําเภอปลวกแดง ตําบลมาบยางพร จ.ระยอง 21140 2) 60/91 หมู 3 นิคมอุตสาหกรรมสยามอีสเทิรน อินดัสเตรียลพารค อําเภอปลวกแดง ตําบลมาบยางพร จ.ระยอง 21140 3) 60/109 หมู3 นิคมอุตสาหกรรมสยามอีสเทิรน อินดัสเตรียลพารค อําเภอปลวกแดง ตําบลมาบยางพร จ.ระยอง 21140 ผูผ ลิตและจําหนายแผนฟลม PET ชนิดบาง (แบบเรียบและเคลือบ อลูมเิ นียม) เม็ดพลาสติก แผนฟลม PET ชนิดหนา (แบบเรียบ) แผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป แผนฟลม CPP (แบบเรียบและเคลือบอลูมิเนียม) ฟลมเคลือบซิลิโคน และแผนฟลม Blown PP 0107547000729 (66) 38 627 074 - 99 (66) 38 627 070 http://www.polyplexthailand.com 900,000,000 ลานบาท # 900,000,000 หุน # 1.00 บาทตอหุน 900,000,000 ลานบาท # 1,078 คน ประกอบดวยประเทศตุรกี สหรัฐอเมริกา และจีน และ 645 คนในประเทศไทย

# ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

011


2.2

บริษทั ยอยทีบ่ ริษทั ถือหุน ในสัดสวนสูงกวารอยละ 10 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ชือ่ บริษทั และทีอ่ ยู

โพลีเพล็กซ (สิงคโปร) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด 61 คลับสตรีท สิงคโปร - 069436 โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอร ฟลม * ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ การาเมเมท มาห อาวูปา เซอเบสท โบลเกซี 3 ซอกัก 4 เออรยนี เทคิแดก ประเทศตุรกี โพลีเพล็กซ เทรดดิง้ (เซินเจิน้ ) จํากัด* หอง 1309 บล็อกเอ, ตึกกาแลคซีเ่ ซ็นจูรี่ ถนนไชเทียนใต เขตฟูเทียน เซินเจิน้ ประเทศจีน โพลีเพล็กซ อเมริกา โฮลดิง้ จํากัด คอรปอเรชัน่ ทรัสต เซ็นเตอร 1209 ถนนออเรนจ วิลมิงตัน นิวคาสเซิล รัฐเดลาแวร 19801 โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี*** 3001 มัลลารด ฟอกซ ไดรฟ เอ็นดับบลิว ดีเคเตอร รัฐอลาบามา 35601 อิโคบลู จํากัด 60/91 หมู 3 สยามอีสเทิรน อินดัสเตรียลพารค ตําบลมาบยางพร อําเภอปลวกแดง ระยอง ประเทศไทย โพลีเพล็กซ ปาเกตเลอเม คอซัมเลอรี ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ# มูฮติ ติน มาฮาเลซี เซติน เอเมค บูลวารี เอคัน ซอกัก เซมิล เบราม อพารทเมนต เลขที่ 7/1 คอรล/ู เทคิแดก ประเทศตุรกี โพลีเพล็กซ ยุโรป บี วี สตราวินสกีลนั 1749 ดับลิวทีซี ทอเรน ดี 12e 1077XX อัมสเตอรดมั ประเทศเนเธอรแลนด * ** *** **** #

าระแลว การถือหุน ประเภทของ ยน หุน ที–อ่ อกและชํ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบี จํ า นวนหุ น ที่ (หุน ) (%) หุน บริษทั ถือ

กิจการเพือ่ ลงทุน

100,000 300,000 1,500,000

100,000 39,100 1,500,000

100% 100% 100%

หุน สามัญ หุน ปุรมิ สิทธิ หุน สามัญ

400,000 เหรียญ ดอลลาร สหรัฐ** 10,000

400,000 เหรียญ ดอลลารสหรัฐ**

100%

หุน สามัญ

9,324

100%

หุน สามัญ

100%

หุน สามัญ

กิจการเพือ่ การผลิต 1,065,000

46,616,500 เหรียญ ดอลลารสหรัฐ 788,255

66.5% หุน สามัญ

บริษทั เพือ่ การคา

20,000

20,000

100%

หุน สามัญ

บริษทั เพือ่ การคา

30,000

2,000

100%

หุน สามัญ

ผลิตแผนฟลม PET และเม็ด พลาสติก กิจการเพือ่ การจัด จําหนาย กิจการเพือ่ ลงทุน การคา และการจําหนาย

กิจการเพือ่ การผลิต ****

ถือหุนทางออมผาน PSPL 400,000 เหรียญดอลลารสหรัฐ เปนทุนจดทะเบียนที่ชําระแลวของบริษัทโพลีเพล็กซ เทรดดิ้ง (เซินเจิ้น) จํากัด ซึ่งไมมีขอกําหนดเกี่ยวกับ จํานวนหุนหรือราคาตอหุนที่ตราไวในประเทศจีน ถือหุนทางออมผานโพลีเพล็กซ (อเมริกา) โฮลดิ้ง จํากัด โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซีไมมที นุ จดทะเบียน การลงทุนทัง้ หมดอยูใ นรูปแบบของทุนจากผูถ อื หุน โดย PAH ซึง่ ถือหุน รอยละ 100 ถือหุนทางออมผานโพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอร ฟลม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ

012


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

2.3

บุคคลอางอิงอืน่ ๆ (ก) นายทะเบียน ชือ่ ทีอ่ ยู โทรศัพท โทรสาร

บริษทั ศูนยรบั ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง กรุงเทพฯ 10400 (662) 009-9000 (662) 009-9991

(ข) ผูด แู ลผลประโยชน -ไมมี (ค) บริษทั ผูส อบบัญชี (1) ชือ่ ทีอ่ ยู โทรศัพท โทรสาร ผูส อบบัญชี *

บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด ชัน้ 33 เลครัชดา ออฟฟศ คอมเพล็กซ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก (เยือ้ งศูนยประชุมแหงชาติสริ กิ ติ ) คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 (662) 264-0777 (662) 661-9190 นายชยพล ศุภเศรษฐนนท (ผูส อบบัญชีเลขที่ 3972) และ/หรือ นางสาวพิมพใจ มานิตขจรกิจ (ผูส อบบัญชีเลขที่ 4521) และ/หรือ นางสาวสุมนา พันธพงศสานนท (ผูส อบบัญชีหมายเลข 5872) หรือ นางสาวรสพร เดชอาคม (ผูส อบบัญชีหมายเลข 5659) * ผูสอบบัญชีของบริษัท สําหรับปบัญชี 2559-60

(ง) ทีป่ รึกษากฎหมาย ชือ่ ทีอ่ ยู โทรศัพท โทรสาร ชือ่ ผูต ดิ ตอ ชือ่ ทีอ่ ยู โทรศัพท โทรสาร ชือ่ ผูต ดิ ตอ

บริษทั ลิง้ คเลเทอรส (ประเทศไทย) จํากัด อาคารแคปปตอล ทาวเวอรชนั้ 20 ออลซีซนั่ ส เพลส เลขที่ 87/1 ถนนวิทยุ กรุงเทพมหานคร 10330 ประเทศไทย (662) 305-8000 (662) 305-8010 นายพิชติ พล เอีย่ มมงคลชัย บริษทั เบเคอร แอนด แม็คเค็นซี่ จํากัด เลขที่ 990 อาคารอับดุลราฮิม ชัน้ 5 และชัน้ 22-25 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 (662) 636-2000 (662) 636-2110 นายยุทธชัย วิธกี ล

(จ) ทีป่ รึกษาหรือผูจ ดั การตามสัญญาจางบริหาร - ไมมี -

013


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 3.1

วิสยั ทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และกลยุทธของบริษทั

คานิยมองคกร

คานิยมองคกรของเรารวมอยูในอักษรยอ S.C.O.R.E. ซ�่งสรางแรงบันดาลใจในการปฏิบัติงานทั้งภายในและภายนอกองคกร เราผสานพลังขามระดับชั้น ตําแหนงงาน และทําเลที่ตั้ง อยางกลมกลืนเปนหนึ่งเดียว เราเห็นคุณคาและมุงมั่นพัฒนาบุคลากรของเรา รวมทั้งมุงผลระยะยาวในการสรางและรักษาความสัมพันธ เรายึดคํามั่นสัญญาที่มีตอผูมีสวนไดเสียทั้งภายในและภายนอกองคกร เราปรับปรุงว�ธ�การทํางานของเราอยางตอเนื่อง มุงแสวงหาไอเดีย กระบวนการ ผลิตภัณฑ และว�ธ�ปฏิบัติใหมๆที่ดีกวาเดิมอยูเสมอ

014


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

3.2

ประวัตคิ วามเปนมา การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าํ คัญ บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“PTL” หรือ “บริษทั ”) จดทะเบียนกอตัง้ บริษทั เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2545 เพือ่ ผลิตและจําหนาย Polyethylene Terephthalate Film หรือ Polyester Film (แผน ฟลม PET หรือ แผนฟลม Polyester) บริษทั แปรสภาพ เปนบริษทั มหาชนในเดือนสิงหาคม 2547 ดวยทุนจด ทะเบียน 960 ลานบาท และเสนอขายหุน สามัญแกประชาชนทัว่ ไปเปนครัง้ แรก (IPO) ในเดือนธันวาคม 2547 ป จ จุ บั น ทุ น จดทะเบี ย นและชํ า ระแล ว ของบริ ษั ท เท า กั บ 900 ล า นบาทบริ ษั ท ก อ ตั้ ง โดยบริ ษั ท แม คื อ บริษทั โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ จํากัด (“Polyplex Corporation Limited” หรือ “PCL”) ซึง่ มีฐานอยูใ นประเทศ อินเดียและประกอบธุรกิจเดียวกันนี้ เปนเวลามากกวา 29 ปแลว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทแมถือ หุน ทัง้ ทางตรงและทางออมในบริษทั จํานวน รอยละ 51 ของทุนจดทะเบียนทีช่ าํ ระแลว สวนทีเ่ หลืออีกรอยละ 49 ถือโดยประชาชนทั่วไป บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญที่ผานมาดังนี้ มีนาคม 2545 PTL ไดจดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ โดย PCL ซึง่ เปนบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนใน Bombay Stock Exchange และ National Stock Exchange ประเทศอินเดีย เปนการขยายธุรกิจของ PCL ดวยการพัฒนาโครงการใหมเพือ่ กอสรางโรงงานผลิตแผนฟลม PET ชนิดบาง เมษายน 2546 เริม่ สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางสายที่ 1 ในประเทศไทย พฤศจิกายน 2546 เริม่ สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางสายที่ 2 ในประเทศไทย สิงหาคม 2547 PTL จดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษทั มหาชน กันยายน 2547 เริม่ สายการผลิตเม็ดพลาสติกแบบ Batch ในประเทศไทย ธันวาคม 2547 บริษทั ทําการเสนอขายหุน แกประชาชนทัว่ ไป (IPO) จํานวน 240,000,000 หุน ราคาหุน ละ 6.90 บาท กุมภาพันธ 2548 วันเริม่ การผลิตของโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET แบบตอเนือ่ งในประเทศไทย สิงหาคม 2548 เริม่ โรงงานผลิตแผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียมสายการผลิตที่ 1 ในประเทศไทย ธันวาคม 2548 เริม่ สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบาง สายการผลิตที่ 1 ในประเทศตุรกี โดยบริษทั ยอยที่ บริษทั ถือหุน รอยละ 100 โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอรฟล ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ มกราคม 2549 เขาซือ้ หุน ทุนสัดสวนรอยละ 80.24 ในบริษทั การคาในสหรัฐอเมริกาและเปลีย่ นชือ่ เปน โพลีเพล็กซ (อเมริกา) อิงค (Polyplex (Americas) Inc. – PA) มีนาคม 2549 เริม่ การผลิตแผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม สายการผลิตที่ 1 ในประเทศตุรกี ธันวาคม 2549 เริม่ การผลิตโรงงานเม็ดพลาสติก PETในประเทศตุรกี เมษายน 2551 เริม่ การผลิตแผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป สายการผลิตที่ 1 ในประเทศไทย พฤษภาคม 2551 เริม่ การผลิตสายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางสายที่ 2 ในประเทศตุรกี และแผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียมสายที่ 2 ในประเทศไทยและตุรกี กันยายน 2552 จัดตัง้ บริษทั การคาในประเทศจีนในนามบริษทั โพลีเพล็กซ เทรดดิง้ (เซินเจิน้ ) จํากัด (Polyplex Trading (Shenzhen) Co., Ltd.) ดวยเงินทุนผานมาทางโพลีเพล็กซ (สิงคโปร) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด (Polyplex (Singapore) Pte Ltd. มีนาคม 2553 สายการผลิตคาสทโพลิโพรพิลนี ฟลม (plain CPP) และสายเคลือบอลูมเิ นียมสายที่ 3 ในประเทศไทยเริม่ ดําเนินงาน มีนาคม 2555 โรงงานเคลือบซิลโิ คนในประเทศไทยเริม่ การผลิต สิงหาคม 2555 จัดตัง้ สํานักงานประสานงานในประเทศมาเลเซีย

015


กรกฎาคม 2555 โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี ไดซอื้ เครือ่ ง Metalizing จาก Vacumet Plastics Division ใน ออสเตล, รัฐจอรเจีย, ประเทศสหรัฐอเมริกา มกราคม 2556 เขาซือ้ หุน ทุนสวนทีเ่ หลือรอยละ 19.76 ใน โพลีเพล็กซ อเมริกา อิงค - PA จากผูถ อื หุน สวนนอย และควบรวมบริษทั การคาดังกลาวกับบริษทั ยอยทีเ่ ปนโรงงานผลิต คือ โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี (Polyplex USA LLC - PUL) เมษายน 2556 โรงงานแผนฟลม PET ชนิดบางสายการผลิตที่ 1 ในเมืองดีเคเตอร สหรัฐอเมริกา ซึง่ บริษทั ถือหุน รอยละ 100 เริม่ การผลิต - โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอล ซี เมษายน 2556 จัดตัง้ บริษทั การคาและจัดจําหนายขึน้ ในประเทศเนเธอรแลนดในนาม โพลีเพล็กซ ยุโรป บี.วี. (Polyplex Europe B.V.) โดยเปนบริษทั ยอยทีบ่ ริษทั ถือหุน รอยละ 100 มิถนุ ายน 2556 โรงงานแผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูปสายที่ 2 ในประเทศไทยเริม่ การผลิต กันยายน 2556 จัดตัง้ บริษทั การคาและจัดจําหนายขึน้ ในประเทศตุรกีในนามโพลีเพล็กซ ปาเกตลีเม โคซูมเลริ ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (Polyplex Paketleme Çözümleri Sanayi ve Ticaret A.S.) โดยเปนบริษทั ยอยที่ โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอรฟล ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ถือหุน รอยละ 100 ตุลาคม 2556 เริม่ การผลิตโรงงานแผนฟลม PET ชนิดหนาและสายการผลิตแผนฟลม Blown PP ในประเทศไทย ธันวาคม 2556 โรงงานรีไซเคิลของเสียจากการผลิตแผนฟลมในประเทศไทยเริ่มดําเนินงานในนาม บริษัทยอยแหงใหม คือ บริษัท อีโคบลู จํากัด กุมภาพันธ 2557 โรงงานเม็ดพลาสติก PET สําหรับสายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดหนาในประเทศไทยเริม่ การผลิต มีนาคม 2557 เครือ่ งเคลือบอลูมเิ นียมนอกสายการผลิตของ โพลีเพล็กซ ยูโรปา ประเทศตุรกีเริม่ การผลิต ตุลาคม 2557 จัดตัง้ สํานักงานประสานงานในประเทศเกาหลี ตุลาคม 2557 โรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ในสหรัฐอเมริกาเริม่ การผลิต ตุลาคม 2557 สายเคลือบอลูมเิ นียมสายที่ 4 ในประเทศไทยเริม่ ดําเนินงาน มกราคม 2558 สายเคลือบอลูมเิ นียมสายที่ 3 ในประเทศตุรกีเริม่ ดําเนินงาน มกราคม 2558 ขายหุน ในบริษทั บริษทั โพลีเพล็กซ เรซิน่ ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PR) ซึง่ บริษทั ฯถือหุน ทัง้ หมด คือบริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอร ฟลม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ประเทศตุรกี (“PE”) และบริษทั ใหญของบริษทั ฯ คือ บริษทั โพลีเพล็กซ (เอเชีย) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด ประเทศสิงคโปร (“PAPL”) (โดย PE และ PAPL ถือหุน ในสัดสวนรอยละ 67 และ 33 ตามลําดับ ใหกบั บริษทั อินโดรามา เนเธอรแลนดส บี.วี. มีนาคม 2559 คณะกรรมการมีมติอนุมตั แิ ละเสนอใหทปี่ ระชุมผูถ อื หุน พิจารณาอนุมตั เิ พิม่ ทุน เพิม่ ทุนจํานวน 100,000,000 หุน เพือ่ เสนอขายใหแกผถู อื หุน เดิมของบริษทั ฯ ตามสัดสวน จํานวนหุน ทีผ่ ถู อื หุน นัน้ ถืออยู (Rights Offering) ในอัตราสวนการเสนอขายคือ 8 หุน สามัญเดิมตอ 1 หุน สามัญเพิม่ ทุน (8:1) ทีร่ าคาเสนอขายหุน ละ 6.40บาท เมษายน 2559 การเสนอขายหุน เพิม่ ทุนตามสัดสวนจํานวนหุน ทีผ่ ถู อื หุน ถืออยู (Rights Offering) ขางตนไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน พฤษภาคม 2559 การใชสทิ ธิสาํ หรับการเสนอขายหุน เพิม่ ทุนเต็มจํานวน รวมถึงการจองซือ้ เกินจํานวน ซึง่ การเพิม่ ทุนจํานวน 640 ลานบาท เสร็จสิน้ พฤศจิกายน 2559 คณะกรรมการอนุมตั กิ ารลงทุนเพือ่ การทดแทนในโครงการแผนฟลม เคลือบโลหะที่ โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี พฤษภาคม 2560 คณะกรรมการอนุมตั กิ ารลงทุนสายการผลิตแผนฟลม Blown PP สายที่ 2 ทีป่ ระเทศไทย

016


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

3.3

โครงสรางการถือหุน โครงสรางการถือหุน ของกลุม บริษทั ในปจจุบนั เปนดังนี้

โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด (“บริษทั แม” หรือ “PCL”) PCL เปนผูผลิตและจําหนายแผนฟลมพลาสติกรายใหญรายหนึ่งของประเทศอินเดีย ดําเนินธุรกิจผลิตแผน ฟลม PET มาเปนระยะเวลามากกวา 29 ปนับตั้งแตป 2531 โดยจําหนายทั้งในประเทศและตางประเทศ PCL เปนบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยบอมเบย (Bombay Stock Exchange) และตลาดหลักทรัพยอนื่ ในประเทศ อินเดียมา เปนเวลาหลายปแลว มีทนุ ทีช่ าํ ระแลวเทากับ 325.6 ลานอินเดียรูป (INR) (ประมาณ 172.4 ลานบาท) PCL มีกาํ ลังการผลิต ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ดังตอไปนี้ ผลิตภัณฑ แผนฟลม PET (Polyester Film) เม็ดพลาสติก (Polyester Chips) แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม (Metallized Film) แผนฟลม BOPP (BOPP Film) แผนฟลม เคลือบ (Coated Films)

กําลังการผลิตตอป 55,000 77,600 28,500 35,000 270

หนวยวัด เมตริกตัน เมตริกตัน เมตริกตัน เมตริกตัน ลานตารางเมตร

บริษทั แมถอื หุน ทัง้ ทางตรงและทางออมในบริษทั ในสัดสวนทัง้ หมดรอยละ 51 ของทุนทีช่ าํ ระแลวของบริษทั

017


โพลีเพล็กซมีการดําเนินนโยบายที่เทาเทียมกันในการแบงพื้นที่การทําการตลาดสําหรับธุรกิจที่ตรงกันระหวางบริษัท ในกลุมในประเทศตาง ๆ คือ อินเดีย ไทย ตุรกี และสหรัฐอเมริกา โดยใชเกณฑการพิจารณาดานตางๆ เชน ประเภท ผลิตภัณฑ ตนทุนการจัดสงสินคาและ ระยะเวลาในการขนสง การกีดกันทางการคา สิทธิประโยชนทางภาษี เปนตน จากนโยบายการแบงตลาดดังกลาว บริษัทจะจําหนายสินคาใหแก ลูกคาเอเชียตะวันออกเฉียงใต, เอเชียแปซิฟก จีน ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด สวนบริษัทแมจะมุงลูกคาในแถบเอเชียใต ในขณะที่โรงงานในประเทศตุรกีจะมุง ตลาดทวีปยุโรป อัฟริกา และกลุมรัสเซีย/รัฐอิสระซีไอเอส สวนโรงงานในสหรัฐอเมริการับผิดชอบตลาดอเมริกาเหนือ นอกจากนี้ กลุม โพลีเพล็กซยงั มีนโยบายการลงทุนในอนาคตในแผนฟลม โพลีเอสเตอร/ดานอืน่ ๆระหวางบริษทั และบริษทั แม การลงทุนในประเทศอินเดีย/ประเทศในแถบเอเชียใต จะมีการตัดสินใจและดําเนินการโดย PCL และบริษทั ยอย อืน่ ๆของ บริษทั แม (ยกเวนบริษทั ) สวนการลงทุนในประเทศไทย และเขตอาเซียน รวมถึงประเทศอืน่ ๆ จะดําเนินการในลักษณะ คลายคลึงกันโดย PTL หรือบริษัทยอยซึ่งบริษัทมีหุนใหญอยู ทั้งนี้ การลงทุนใดๆดังกลาวตองขึ้นอยูกับความเพียงพอ ของแหลงเงินทีจ่ ะใชลงทุน/ความสามารถในการขอกูย มื เงินโดยบริษทั ในปจจุบนั /บริษทั ทีเ่ ห็นสมควรใหดาํ เนินการตาม นโยบายทีว่ างไว โพลีเพล็กซ (เอเชีย) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด (“PAPL”) PAPL จัดตัง้ ขึน้ ในเดือนกรกฎาคม 2547 โดยมีบริษทั แมเปนผูถ อื หุน เต็มจํานวนรอยละ 100 และในปจจุบนั เปนผูถ อื หุน ใหญของบริษทั โดยถือหุน รอยละ 33.81 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 PAPL มีทนุ จดทะเบียนทีอ่ อกและชําระแลว 1.13 ลานเหรียญสหรัฐ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 โพลีเพล็กซ (สิงคโปร) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด (“PSPL”) PSPL กอตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม 2547 โดยเปนบริษัทยอยของ PTL ในสัดสวนรอยละ 100 ตอมา PSPL ไดเขาลงทุนใน Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (PE) โดยการเพิม่ ทุนและการ ใหเงินกูด อ ยสิทธิเพือ่ การจัดตัง้ โรงงานผลิตในประเทศตุรกี เพือ่ ตอบสนองความตองการในตลาดแถบยุโรปและประเทศ ใกลเคียงอืน่ ๆ ในเดือนกันยายน 2552 PSPL ไดจัดตั้งบริษัทการคา (เทรดดิ้ง) ขึ้นในประเทศจีน คือ บริษัท โพลีเพล็กซ เทรดดิ้ง (เซินเจิน้ ) จํากัด (Polyplex Trading (Shenzhen) Co., Ltd. - PTSL) ดวยเงินลงทุนทีม่ าจากทุนเรือนหุน จํานวน 400,000 เหรียญสหรัฐ ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2560 PSPL มี ทุ น จดทะเบี ย นที่ อ อกและเรี ย กชํ า ระแล ว (รวมส ว นที่ เ ป น หุ  น บุ ริ ม สิ ท ธิ ) 9.14 ลานยูโร โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอรฟล ม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (“PE”) PSPL จั ด ตั้ ง PE ในประเทศตุ ร กี โดยถื อ หุ  น ในสั ด ส ว นร อ ยละ 100 เพื่ อ จั ด ตั้ ง โรงงานแห ง ใหม สํ า หรั บ ผลิ ต แผนฟลม PET ในประเทศตุรกี เพื่อสนองความตองการของตลาดทวีปยุโรปและแถบใกลเคียง กิจการเริ่มการผลิต เชิงพาณิชยตั้งแตเดือนธันวาคม 2548 โดยเริ่มจากการผลิตแผนฟลมชนิดบางเปนสายการผลิตแรกกอน การผลิต แผนฟลมเคลือบอลูมิเนียมสายการผลิตแรกเริ่มในเดือนมีนาคม 2549 สวนเม็ดพลาสติก PET เริ่มการผลิตเชิง พาณิชย ตั้งแตเดือนธันวาคม 2549 สายการผลิตแผนฟลมชนิดบางสายที่สองและสายการผลิตแผนฟลมเคลือบ อลูมิเนียม เริ่มการผลิตเชิงพาณิชยในเดือน พฤษภาคม 2551 สินทรัพยที่มีการเพิ่มลาสุดคือ เครื่องเคลือบนอกสาย การผลิตซึ่งเริ่มการผลิตเชิงพาณิชยในเดือนมีนาคม 2557 และสายเคลือบอลูมิเนียมสายที่ 3 ซึ่งเริ่มการผลิตเชิง

018


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

พาณิชยในเดือนมกราคม 2558 ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 PE มีทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกชําระแลว ซึง่ รวมสวนเพิม่ เติมจาก PSPL รวมจํานวน 8.8 ลานยูโร บริษทั โพลีเพล็กซ (เทรดดิง้ ) เซินเจิน้ จํากัด (“PTSL”) ในปบญ ั ชี 2552-53 PTL ไดลงทุนกอตัง้ บริษทั การคา (เทรดดิง้ ) ในเซินเจิน้ ประเทศจีน โดยถือหุน เต็มจํานวนผานบริษทั เพือ่ การลงทุนในเครือในประเทศสิงคโปร (PSPL) ทุนทีอ่ อกและเรียกชําระแลวของ PTSL เทากับ 0.4 ลานเหรียญสหรัฐ ณ 31 มีนาคม 2560 โพลีเพล็กซ อเมริกา โฮลดิง้ อิงค (“PAH”) ในปบญ ั ชี 2554-55 PTL ลงทุนจัดตัง้ บริษทั โฮลดิง้ ในสหรัฐอเมริกาโดยบริษทั ถือหุน รอยละ 100 PAH ไดทาํ การลงทุนใน โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี อันเปนโรงงานผลิต ทุนจดทะเบียนทีอ่ อกและเรียกชําระแลวของ PAH (รวมสวนเกินมูลคา หุน เพิม่ ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เทากับ 46.62 ลานเหรียญสหรัฐ โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี (“PUL”) โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี เมืองดีเคเตอร รัฐอลาบามาไดกอตั้งขึ้นในปบัญชี 2554-55 โดยเปนบริษัทยอย ที่ถือหุนเต็มจํานวนของ PAH และเปนฐานการผลิตแรกของโพลีเพล็กซในสหรัฐอเมริกา สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางไดเริ่มการผลิตเชิงพาณิชยแลวในเดือนเมษายน 2556 สวนโครงการโรงงานเม็ดพลาสติก PET ไดเริม่ การผลิตเชิงพาณิชยในเดือนตุลาคม 2557 ทุนชําระแลว ณ 31 มีนาคม 2560 เทากับ 46.5 ลานเหรียญสหรัฐ โพลีเพล็กซ ยุโรป บี.วี. โพลีเพล็กซ ยุโรป บี.วี. จัดตัง้ ขึน้ ในเดือนเมษายน 2556 โดยมีบริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เปนผูถ อื หุน รอยละ 100 โดยมีทนุ จดทะเบียน 3 ลานยูโร โดยเรียกชําระแลว 0.2 ลานยูโร ณ 31 มีนาคม 2560 กิจการนีป้ ระกอบ ธุรกิจคลังสินคาและจัดจําหนายผลิตภัณฑตา งๆของบริษทั ในตลาดยุโรปเปนหลัก โพลีเพล็กซ ปาเกตลีเม โคซูมเลริ ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอรฟลม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ (PE) ไดกอตั้งกิจการขึ้นในประเทศ ตุรกีในนามโพลีเพล็กซ ปาเกตลีเม โคซูมเลริ ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ โดย PE ถือหุนในสัดสวนรอยละ 100 กิจการนีป้ ระกอบธุรกิจการคา (เทรดดิง้ ) แผนฟลม PET เม็ดพลาสติก PET และผลิตภัณฑอนื่ ๆ ของบริษทั เปนหลัก โดยมีทนุ จดทะเบียน 100,000 ลีรต รุ กี ณ 31 มีนาคม 2560 ซึง่ ไดเรียกชําระเต็มจํานวนแลว

019


ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4.1

โครงสรางรายไดของบริษทั มูลคาการจําหนายของบริษทั ตามงบเฉพาะและงบรวมสามารถแยกตามภูมภิ าคไดดงั นี้ งบเฉพาะบริษทั ลูกคา จําหนายตางประเทศ เอเชีย อเมริกาเหนือ ยุโรป อืน่ ๆ รวมมูลคาจําหนายตางประเทศ จําหนายในประเทศ เม็ดพลาสติก/อืน่ ๆ1 รวมรายไดจากการจําหนาย รายไดอนื่ 2 รวมรายไดทงั้ สิน้ งบรวม ลูกคา จําหนายตางประเทศ เอเชีย อเมริกาเหนือ ยุโรป อืน่ ๆ รวมมูลคาจําหนายตางประเทศ จําหนายในประเทศ - PTL (ประเทศไทย) - PE (ประเทศตุรกี) - PUL (สหรัฐอเมริกา) รวมมูลคาจําหนายในประเทศ เม็ดพลาสติก/อืน่ ๆ1 รวมรายไดจากการจําหนาย รายไดอนื่ 2 รวมรายไดทงั้ สิน้

2557-58 ลานบาท %

2558-59 ลานบาท %

2559-60 ลานบาท %

2,604.67 47.48 1,002.95 18.28 360.82 6.58 151.24 2.76 4,119.67 75.09 867.26 15.81 204.99 3.74 5,191.92 94.63 294.45 5.37 5,486.36 100.00

2,738.76 49.99 1,090.81 19.91 347.69 6.35 200.55 3.66 4,377.81 79.90 840.44 15.34 231.68 4.23 5,449.93 99.47 28.95 0.53 5,478.88 100.00

2,703.52 48.84 1,136.52 20.53 223.78 4.04 198.38 3.58 4,262.21 76.99 769.69 13.90 238.49 4.31 5,270.39 95.20 265.60 4.80 5,535.99 100.00

2557-58 ลานบาท %

2558-59 ลานบาท %

2559-60 ลานบาท %

2,656.67 1,368.92 3,139.47 437.77 7,602.83

21.28 2,773.63 10.97 1,636.88 25.15 2,989.91 3.51 389.85 60.90 7,790.28

22.52 2,739.30 13.29 1,760.63 24.28 2,656.20 3.17 466.77 63.26 7,622.91

867.26 6.95 840.44 6.82 769.69 6.45 1,022.81 8.19 969.92 7.88 799.65 6.70 2,097.76 16.80 2,307.72 18.74 2,069.64 17.35 3,987.82 31.94 4,118.08 33.44 3,638.98 30.51 322.08 2.58 369.96 3.00 276.95 2.32 11,912.73 95.43 12,278.32 99.71 11,538.84 96.73 570.88 4.57 35.86 0.29 390.25 3.27 12,483.61 100.00 12,314.18 100.00 11,929.09 100.00

หมายเหตุ : 1) เม็ดพลาสติก/อื่นๆจําหนายทั้งในประเทศและตางประเทศ 2) ประกอบดวย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ยอดขายเบ็ดเตล็ด สิทธิประโยชนการสงออก ดอกเบี้ยรับ เปนตน

020

22.96 14.76 22.27 3.91 63.90


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

4.2

เปาหมายการดําเนินธุรกิจ วิสัยทัศนของกลุมโพลีเพล็กซ คือ มีการเติบโตอยางตอเนื่อง สรางมูลคา และสรางฐานความเปนผูนําใน ธุรกิจแผนฟลมพลาสติกระดับโลก โดยการสรางความเปนหุนสวนทางธุรกิจระหวางนักลงทุน ลูกคา คูคา และพนักงาน ดวยวิสัยทัศนดังกลาว กลุมโพลีเพล็กซมุงมั่นผลักดันองคกรสูความเปนเลิศ ของการเปนผูผลิต วัสดุหีบหอ มิใชเพียงผูผลิตแผนฟลม PET ชนิดบาง โดยการขยายธุรกิจสูการ เปนผูผลิตแผนฟลม BOPP, แผนฟลม CPP และแผนฟลม Blown PP / PE films ซึ่งเปนวัสดุบรรจุ หีบหอที่มีผูผลิตใชเชนเดียวกับแผน ฟลม PET ชนิดบาง สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดหนาในประเทศไทยซึง่ เริม่ การผลิตเชิงพาณิชยในเดือน ตุลาคม 2556 เปนกาวยางแรกของโพลีเพล็กซในการเจาะเขาไปยังตลาดแผนฟลมชนิดหนา ซึ่งเปนการชวย ใหบริษัทมีผลิตภัณฑและกลุมลูกคาหลากหลายขึ้น บริษัทจัดจําหนายฟลมใหกับผูผลิตแผงเซลลพลังแสดง อาทิตย (PV back sheet) รายใหญ และ ไดริเริ่มการทดลองในสวนของฟลมชนิดใสพิเศษสําหรับผลิตเลนส และจอภาพ (optical segment) สงผลใหบริษทั ฯ สามารถเพิม่ กําลังผลิตไดในปปจ จุบนั และมีแผนทีจ่ ะขยาย ลูกคาเพิม่ ขึน้ ดวยการทําใหผลิตภัณฑของเราผานการรับรองจากลูกคารายใหม และหรือ ผลิตภัณฑใหมในปนี้ กลุม โพลีเพล็กซมเี ปาหมายทางธุรกิจทีจ่ ะเพิม่ สวนแบงการตลาดในภูมภิ าคตาง ๆ ใหมากขึน้ โดยการ ขยายฐาน การผลิตไปยังทําเลทีห่ ลากหลาย การเขาถึงตลาดเปาหมายใหไดมากยิง่ ขึน้ รวมถึงการ ผลิตสินคาประเภทใหม ๆ เชน แผนฟลมเคลือบอลูมิเนียม แผนฟลมแบบใสพิเศษ แผนฟลมเคลือบอัดชั้นดวยความรอน แผนฟลม เคลือบซิลิโคน แผนฟลม Blown PP แผนฟลมเคลือบเคมี และแผนฟลมบรรจุหีบหอเกรดอื่น ๆ เชน CPP, BOPP เปนตน สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางในสหรัฐอเมริกาซึ่งไดเริ่มดําเนินการเมื่อเดือนเมษายน 2556 ชวยใหบริษัทสามารถเพิ่มสวนแบงตลาดในทวีปอเมริกาโดยการเขาไปตั้งใกลกลุมลูกคาและจะทําให กลายเปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑในประเทศที่ลูกคาเลือกใช จากที่ในอดีตลูกคาตองอาศัยผูผลิตและ จําหนายจากตางประเทศหรือจากภูมิภาคใกลเคียง

021


4.3

บัตรสงเสริมการลงทุน บริษทั ไดรบั บัตรสงเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน 10 ฉบับ โดยมีสาระสําคัญ คือ ลําดับ บัตรสงเสริม เลขที่ ประเภทธุรกิจ วันทีไ่ ดรบั การสงเสริม 1 1321(2)/2545 แผนฟลม PET 20 พฤษภาคม 2545 2 1287(2)/2546 แผนฟลม PET และเม็ดพลาสติก 11 มิถนุ ายน 2546 3 1159(2)/2548 แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม 22 กุมภาพันธ 2548 4 1261(2)/2550 แผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป 14 มีนาคม 2550 5 1044(2)/2551 แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม 10 มกราคม 2551 6 1110(2)/2552 แผนฟลม CPP (แบบเรียบและแบบเคลือบ) 4 กุมภาพันธ 2552 7 1719(2)/2553 แผนฟลม เคลือบซิลโิ คน / แผนฟลม Blown PP 14 กรกฎาคม 2553 8 1705(2)/2555 แผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป (สายที่ 2) 12 พฤษภาคม 2555 9 1827(2)/2555 แผนฟลม PET ชนิดหนาและเม็ดพลาสติก PET 21 พฤษภาคม 2555 10 1357(2)/2557 แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม 20 มีนาคม 2557 โดยอาศัยขอกําหนดของพระราชบัญญัติคณะกรรมการการสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 บริษัทไดรับ สิทธิประโยชนตามมาตรฐานในเรือ่ งการผลิตและการจัดจําหนายแผนฟลม /เม็ดพลาสติก/แผนฟลม เคลือบอัดชัน้ ดวยความรอน /แผนฟลม CPP/แผนฟลม เคลือบซิลโิ คน/แผนฟลม Blown PP ตามมาตราที่ 25, 26, 27, 28, 31, 34, 35(1), 35(2), 35(3), 36(1), 36(2) และ 37 ตามลําดับ โดยบริษทั ตองปฏิบตั ติ าม เงือ่ นไขและขอกําหนด ทีร่ ะบุ ไวในบัตรสงเสริมการลงทุนขางตน ทัง้ นีส้ ามารถดูรายละเอียดของ สิทธิประโยชนของ แตละมาตราเพิม่ เติมไดที่ www.boi.go.th

4.4

การประกอบธุรกิจแตละสายผลิตภัณฑ การผลิตและจําหนายแผนฟลม Polyester ชนิดบาง (Polyethylene Terephthalate Film หรือเรียกวา PET Film จัดจําหนายภายใตตราสินคา “Sarafil”) เปนธุรกิจหลักของบริษทั และบริษทั ยอย โดยเนนลูกคาทีป่ ระกอบ ธุรกิจใน 3 อุตสาหกรรมหลัก คือ บรรจุภณ ั ฑ อุตสาหกรรม และอุปกรณไฟฟา ซึง่ ลูกคาจะนําแผนฟลม PET ชนิดบางของบริษทั ไป เปนสวนประกอบในการผลิตผลิตภัณฑ เพือ่ จําหนาย ใหแกผใู ชตอ ไป เชน ซองบรรจุกาแฟ ชา ขนม ขบเคีย้ ว ซองบรรจุภณ ั ฑสาํ หรับ นํา้ ยาปรับผานุม และผงซักฟอก ฉนวนหุม สายไฟฟา ตลอดจน แผน ฟอยลสตี า งๆ เปนตน

022


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

เมือ่ เดือนเมษายน 2551 บริษทั เริม่ ผลิตผลิตภัณฑปลายนํา้ ทีม่ มี ลู คาเพิม่ ทีเ่ รียกวา “แผนฟลม เคลือบอัดชัน้ ดวย ความรอน” โดยใชตราสินคา “Saralam” ในสายผลิตภัณฑนี้ แผนฟลม PET, Nylon หรือ BOPP ใชเปนแผน ฟลม วัตถุดบิ เขาสูก ระบวนการเคลือบอัดขึน้ รูปดวยเม็ดพลาสติกทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการยึดติดอยาง LDPE หรือ EVA ขึน้ อยูก บั ความตองการของลูกคาทีเ่ ปนผูใ ชผลิตภัณฑ หลังจากเริม่ สายการผลิตทีส่ องในเดือนมิถนุ ายน 2556 บริษทั ไดเพิม่ กําลังการผลิตผลิตภัณฑนโี้ ดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ เพิม่ สัดสวนการขายผลิตภัณฑทมี่ มี ลู คาเพิม่ ในสวน ผสมประเภทผลิตภัณฑของบริษทั ผลิตภัณฑทมี่ กี ารใช Saralam ดังตัวอยางตอไปนี้

เพือ่ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของบริษทั ในการเปนผูผ ลิตและจําหนายผลิตภัณฑบรรจุภณ ั ฑครบวงจร ไมใชเพียง ผูผ ลิตและจําหนายแผนฟลม PET ชนิดบางเพียงอยางเดียว เมือ่ เดือนมีนาคม 2553 บริษทั ไดเริม่ การผลิตในสาย แผนฟลม คาสทโพลิโพรพิลนี (Cast Polypropylene – CPP) โดยบริษทั ผลิตและจําหนายแผนฟลม CPP ชนิด เรียบและชนิดเคลือบอลูมเิ นียมภายใตตราสินคา “SaraCPP” ดวยความพยายามอยางตอเนื่องในการสรางความหลากหลายแกผลิตภัณฑและฐานลูกคา โพลีเพล็กซจัดตั้ง สายการผลิตแผนฟลมเคลือบซิลิโคนในประเทศไทยซึ่งเริ่มการผลิตเชิงพาณิชยในเดือนมีนาคม 2555 โดยใช ตราสินคา “Saracote” ผลิตภัณฑที่มีการใช Saracote ดังตัวอยางตอไปนี้

สายการผลิตแผนฟลม Blown PP ในประเทศไทย เปนอีกหนึง่ สายผลิตภัณฑทเี่ ปนการสรางความหลากหลายให กับธุรกิจแผนฟลม PET จากผลิตภัณฑเดิมทีม่ อี ยู แผนฟลม นีใ้ ชเปนแผนฟลม ฐานในการผลิตแผนฟลม เคลือบซิ ลิโคน รวมทัง้ จําหนายแกลกู คาทีส่ นใจอืน่ ๆ เนือ่ งจากสายการผลิตแรกไดรบั การตอบสนองทีด่ แี ละบริษทั เห็นถึง ศักยภาพในการเติบโตของกลุม ผลิตภัณฑนี้ จึงไดตดั สินใจเดินหนาสายการผลิตทีส่ อง ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ได มีมติอนุมตั กิ ารลงทุนในสายการผลิตใหมทปี่ ระเทศไทย ซึง่ อยูร ะหวางการวาจางและคาดวาจะเริม่ ดําเนินการเชิง พาณิชยไดในไตรมาสที่ 1 ป 2561-2562 สวนสายแผนฟลม PET ชนิดหนาในประเทศไทยเปนการสรางความหลากหลายของผลิตภัณฑทเี่ กีย่ วของอีกทาง หนึง่ ของบริษทั ทีม่ งุ สนองความตองการของเซ็กเมนตอตุ สาหกรรมและอุปกรณไฟฟามากขึน้ ในขณะทีแ่ ผนฟลม PET ชนิดบางจะมุง เซ็กเมนตบรรจุภณ ั ฑ แผนฟลม PET ชนิดหนาใชประโยชนดงั ตอไปนี้

023


อีกหนึง่ โครงการริเริม่ เพือ่ ความยัง่ ยืน บริษทั ไดลงทุนในโครงการรีไซเคิล เพือ่ เปนการแกปญ  หาทีย่ งั่ ยืนสําหรับ แผนฟลม ทีเ่ สียจากขบวนการผลิต โดยโครงการไดเริม่ ดําเนินงานเชิงพาณิชยในประเทศไทยในเดือนธันวาคม 2556 ในนามบริษทั อีโคบลู จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ยอย 4.4.1 ลักษณะของผลิตภัณฑ ประเภทผลิตภัณฑของบริษทั มีดงั ตอไปนี้ ก. แผนฟลม PET ชนิดใสบาง (Transparent Thin PET Film) มี 5 ประเภทยอยคือ  แบบธรรมดา (Plain) และแบบมีพนื้ ผิวเปนเงา (Corona)  แบบเคลือบเคมี  แบบมีคณ ุ สมบัตยิ ดึ ติดแนน (High adhesion films)  แบบใสพิเศษ (Ultra clear films)  แบบฟลม หลายชัน้ (Co-extruded films) ข. แผนฟลม PET เคลือบอลูมเิ นียม (Metallized PET Film)  แผนฟลม เคลือบธรรมดา  แผนฟลม กึง่ เคลือบ (มีความหนาทึบนอย) (Semi metalized film – low optical density)  แผนฟลม ทีม่ คี วามหนาทึบสูง ปองกันการรัว่ ซึมหรือการมองทะลุ (High barrier film) ค. แผนฟลม คุณสมบัตพิ เิ ศษเฉพาะ  แผนฟลม ทีบ่ ดิ หรือเปลีย่ นรูปทรงได (Twist film)  แผนฟลม ทีก่ นั ไฟฟาสถิตย (Anti static film)  แผนฟลม ทีผ่ นึกปดดวยความรอน (Heat sealable film)  แผนฟลม ใสทีม่ คี วามยืดหยุน ทุกทิศทาง (Isotropic film) แผนฟลม ทีม่ แี รงเสียดทานสูง (High friction film) เปนตน  แผนฟลม ทีม่ ผี วิ ดาน ไมเงา (Matte film)  แผนฟลม กันโปรงแสงนอกสายการผลิต  แผนฟลม กันโปรงแสงเคลือบอลูมนิ มั่ ออกไซด  แผนฟลม เคลือบปดผนึกและลอกไดนอกสายการผลิต

024


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ง. แผนฟลม เคลือบอัดชัน้ ดวยความรอน  แผนฟลม รอน PET ผิวมันเงา (Gloss PET thermal film)  แผนฟลม รอน PET ผิวดาน (Matte PET thermal film)  แผนฟลม รอน BOPP (BOPP thermal film)  แผนฟลม รอนเคลือบอลูมเิ นียม (Metallized thermal film)  แผนฟลม รอนไนลอน (Nylon thermal film) จ. แผนฟลม เคลือบคาสท โพลิไพรพิลนี หรือ แผนฟลม CPP  แผนฟลม เกรดแปลงสภาพและอัดชัน้ (Lamination & conversion grade film) - แผนฟลม ใสเพือ่ การอัดชัน้ และการพิมพบนพืน้ ผิวฟลม - แผนฟลม ตรึงความรอนสูงสําหรับบรรจุภณ ั ฑหอ ลูกกวาด  แผนฟลมเกรดเคลือบอลูมิเนียม (Metallized grade film) – แผนฟลมใสผนึกปดดวยความ รอนเพือ่ การเคลือบอลูมเิ นียมแบบสูญญากาศ  แผนฟลม เกรดทีบ่ ดิ เปลีย่ นรูปทรงได (Twist grade film)  แผนฟลม เกรดบรรจุภณ ั ฑอาหารสําเร็จรูปพรอมรับประทานทีผ่ า นกระบวนการฆาเชือ้ ดวย ความรอน (Retort grade film) ฉ. แผนฟลมเคลือบซิลิโคน (ภายใตตราสินคา “Saracote”) ทั้งที่เปน PET และ PP มีการนําไปใช ประโยชนตา งๆดังนี้  แผนเทปสําหรับใชในการมุงหลังคายางมะตอย (Shingle roofing tapes)  แผนฟลม ลอกติดหลังแผนตรา (Release liner in pressure sensitive labels)  แผนฟลม ลอกสําหรับติดหลังแผนเทปติดแนน (Release liner in pressure sensitive adhesive tapes)  แผนฟลม ลอกสําหรับผลิตภัณฑทางการแพทยและสุขอนามัย (Release liner in medical and hygiene products) ช. แผนฟลม PET ชนิดหนา แบงเปนประเภทยอยดังนี้  สีขาวนํา้ นม  แบบใส/ใสพิเศษ  โปรงแสง  ฟลม ทึบ 4.4.1.1 คุณสมบัตผิ ลิตภัณฑ ก) คุณสมบัตขิ องแผนฟลม PET แผนฟลม PET มีลกั ษณะดังนี้ - เปนแผนใสบาง - แข็งแรงทนทาน - มีคณ ุ สมบัตเิ ปนฉนวน - มีความเรียบและความเสียดทานนอย - ทนทานตอการฉีกขาดหรือกดกระแทก

025


- รักษารูปทรงไดดใี นอุณหภูมริ ะดับตางๆกัน - ทนทานตอความชืน้ สารหลอลืน่ และตัวทําละลายไดหลากหลายประเภท - สามารถปองกันการซึมของกาซตาง ๆไดดี นอกจากนี้ แผนฟลม PET ยังสามารถดัดแปลงใหมคี วามยืดหด ความใสความขุน หรือ สี รวมทัง้ ลักษณะผิว ตางๆกันสําหรับวัตถุประสงคการใชทแี่ ตกตางกัน นอกจากนีย้ งั สามารถผานกระบวนการทางเคมีในขัน้ ตอนการผลิต เพือ่ ใหสามารถ ยึดติดแนนกับสารเคลือบ ตางๆได (นอกเหนือไปจากการทําใหพนื้ ผิวเปนเงา) ข) คุณสมบัตขิ องแผนฟลม CPP - ใชในการปดผนึกดวยความรอนและทนความรอนไดดเี ยีย่ ม - ชวยในเรือ่ งการหักเหของแสงไดเปนพิเศษ - คงรูปทรงและปองกันการรัว่ ซึมไดดี - สามารถพิมพบนพืน้ ผิวไดดเี ยีย่ ม - แผน CPP เคลือบอลูมเิ นียม ชวยเพิม่ คุณสมบัตใิ นการปองกันการรัว่ ซึมไดดยี งิ่ ขึน้ ค) คุณสมบัตขิ องแผนฟลม เคลือบอัดชัน้ ดวยความรอน - พืน้ ผิวทีม่ นั เงาและมีความคงรูปชวยใหวสั ดุทใี่ ชแผนฟลม นีม้ คี วามคงทนใชงานไดนาน - คุณสมบัตยิ ดึ แนนของสารเคลือบทําใหรอยหมึกบนผิวคงอยูไ ดนานและยึดติดกับกระดาษไดดี - คุณสมบัตขิ องพืน้ ผิวเอือ้ ตอกระบวนการปม ลายหรือตราดวยความรอนและการเคลือบสารยูวี - ชวยใหผลิตภัณฑโดดเดนดึงดูดสายตาผูพ บเห็น ง) คุณสมบัตขิ องแผนฟลม เคลือบซิลโิ คน - แผนฟลม เคลือบซิลโิ คนออกแบบเพือ่ เปนชัน้ carrier (ตัวนํา) วัสดุทไี่ วตอแรงกด - แผนฟลม เคลือบดานเดียว/สองดาน - คงทนตอแรงดึงสูง มีความสามารถในการคงรูปมากกวาแผนบุอนื่ ๆ จ) คุณสมบัตขิ องแผนฟลม Blown PP/PE - เคลือบนอกสายการผลิตไดดี - สามารถกําหนดระยะไดแมนยํา - ใชเฉดสีไดหลายหลาย - เปนแผนกันซึมออกซิเจนแบบประหยัด 4.4.1.2 ลักษณะการนําไปใชงาน แผนฟลม PET ชนิดบาง สามารถนําไปใชงานไดใน 3 อุตสาหกรรมหลักดังนี้ 1. บรรจุภณ ั ฑ (Packaging): แผนฟลม PET ชนิดบางประเภทแผนฟลม ใส และ แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม สามารถนําไปใชเปนสวนประกอบชัน้ นอกและชัน้ กลางของซองบรรจุภณ ั ฑชนิดออนได เชน ซองบรรจุกาแฟ ซองขนมขบเคีย้ ว ซองบรรจุนาํ้ ยาปรับผา นุม และผงซักฟอก เปนตน 2. อุตสาหกรรม (Industrial): ใชทาํ แผนฟอยลสตี า ง ๆ วัสดุหมุ ทอในระบบปรับอากาศงานพิมพขอ ความหรือ รูปภาพลงบนแผนฉลากหรือบัตรประจําตัวงานเคลือบผิววัสดุ (Lamination) เปนตน 3. อุปกรณไฟฟา (Electrical): ใชเปนวัสดุหุมสายไฟ (Wire/Cable Wrap) แผนรองสวิตช (Membrane Switches) สายวงจรในคอมพิวเตอร (Flexible Printed Circuits) ตัวเก็บประจุไฟฟา (Capacitors) และ ฉนวนหุม มอเตอร (Motor Insulation)

026


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

แผนฟลม PET ชนิดหนา สวนใหญใชในกลุม อุตสาหกรรมและอุปกรณไฟฟา

 อุปกรณไฟฟา (Electrical): ใชเกือบรอยละ 60 – 65 ของตลาดฟลม PET ชนิดหนาและมีการเติบโต ในความ

ตองการของแผนฟลม PET ชนิดหนาเซ็กเมนตนสี้ ามารถแบงเปนเซ็กเมนตยอ ยไดดงั นี้  จอภาพ: จอแบน จอแบบเทคโนโลยีขนั้ สูง ภาพสามมิติ holographic แผนสะทอนแสงจอแบบ STN แผนกันสะทอน แผงสัมผัส (ITO) และอุปกรณเกีย่ วกับแสง  ไฟฟา: ฉนวนไฟฟา วัสดุหมุ สายไฟ หมอแปลงไฟฟาชัน้ ฉนวนในคอยลไฟฟา ชองกัน้ ฉนวนสําหรับ มอเตอรและตัวกําเนิดไฟฟา  อิเล็กทรอนิกส: อุปกรณภาพ โพลีเมอรทมี่ คี ณ ุ สมบัตเิ ปลีย่ นแปลงเมือ่ ถูกแสง แผนวงจรอิเล็กทรอนิกส ชนิดออน (FPC) แผนรองสวิตช (MTS) และอุปกรณตรวจวัดทางการแพทย  พลังงานแสงอาทิตย: แผงเซลลพลังแสดงอาทิตย ฉนวนกันความรอน แผนฟลม ปกปองพืน้ ผิว

 อุตสาหกรรม (Industrial): ใชเปนฟลม กรองแสง ฟลม ลามิเนต บัตรเครดิต บัตรเติมเงิน ฟลม สําหรับ งานดานการการแพทย แผนฟลม เคลือบอัดชัน้ ดวยความรอนมีการนําไปใชงานดังนี้ 1. ใชเคลือบเอกสารหรือสือ่ สิง่ พิมพดว ยความรอน 2. ใชทาํ ฉนวนกันความรอน 3. ใชทาํ บรรจุภณ ั ฑชนิดออน 4. ใชทาํ บรรจุภณ ั ฑชนิดแข็งซึง่ ใชกบั กลองกระดาษลูกฟูกทีพ่ มิ พลาย แผนฟลม CPP สามารถนําไปใชงานตอไปนี้ 1. บรรจุภณ ั ฑ – แผนฟลม CPP ใชเปนแผนฟลม ชัน้ ในสุดของบรรจุภณ ั ฑอาหาร เนือ่ งจากมีคณ ุ สมบัตปิ ด ผนึก ดวยความรอนไดดเี ยีย่ ม นอกจากนีย้ งั ใชเปนบรรจุภณ ั ฑสาํ หรับสิง่ ทอ ผลิตภัณฑรกั ษาสุขภาพ สินคาอุปโภค บริโภคตางๆ เปนตน 2. อุตสาหกรรม - ถุงใสของรอน แผนเทปติดผนึกสําหรับสินคาอุตสาหกรรม ขอบอุปกรณภายในรถยนต เปนตน แผนฟลม เคลือบซิลโิ คนสามารถนําไปใชงานตอไปนี้ 1. แผนลอก PET สําหรับฉลากตางๆ 2. เทปหลังคาชิงเกิล้ 3. แผนลอก PP สําหรับฉลาก/สติกเกอร รายไดจากการจําหนายแผนฟลม (ทัง้ แผนฟลม เรียบ แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม PET แผนฟลม เคลือบอัดชัน้ ดวยความรอน/แผนฟลม เคลือบซิลโิ คน/แผนฟลม CPP และแผนฟลม Blown PP) ของบริษทั แบงตามประเภท อุตสาหกรรมของลูกคา (ตามงบการเงินเฉพาะบริษทั และตามงบการเงินรวม) ไดดงั นี้ งบเฉพาะบริษทั 2557-58 2558-59 2559-60 การใชผลิตภัณฑ ลานบาท ลานบาท ลานบาท % ลานบาท % บรรจุภณ ั ฑ (Packaging) 3,180.83 63.78 2,965.67 56.83 2,730.54 54.26 อุตสาหกรรม (Industrial) 1,771.90 35.53 2,217.31 42.49 2,276.22 45.24 อุปกรณไฟฟา (Electrical) 34.20 0.69 35.27 0.68 25.14 0.50 รวม 4,986.93 100.00 5,218.25 100.00 5,031.90 100.00

027


งบรวม การใชผลิตภัณฑ บรรจุภณ ั ฑ (Packaging) อุตสาหกรรม (Industrial) อุปกรณไฟฟา (Electrical) รวม

2557-58 2558-59 2559-60 ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % 7,341.08 63.34 7,006.84 58.84 6,248.97 55.49 4,079.59 35.20 4,773.38 40.08 4,950.40 43.96 169.98 1.47 128.14 1.08 62.52 0.56 11,590.65 100.00 11,908.36 100.00 11,261.89 100.00

หมายเหตุ: 1) ยอดขายของทุกประเภทแผนฟลมแยกตามขางตน โดยขึ้นอยูกับการใชผลิตภัณฑแตละประเภท

4.4.1.3 ผลิตภัณฑทมี่ คี ณ ุ สมบัตคิ ลายกับแผนฟลม PET ในการใชงานบางอยาง เชน ในงานทําภาพกราฟฟคและสื่อบันทึกภาพและเสียง การใชแผนฟลมที่ผลิตจาก วัตถุดบิ อืน่ ทีไ่ มใชแผนฟลม PET จะทําใหเกิดความยอหยอนในการยึด คุณสมบัตสิ าํ คัญๆ ทีแ่ ผนฟลม PET มี เชน ความแข็งแรงทนทาน ความมีผวิ เรียบ ความใส ความทนทานตอการ ฉีกขาด ความทนทานตอการเปลีย่ นแปลง ของอุณหภูมิ และความทนทาน ตอสารเคมี เปนตน อยางไรก็ตาม สําหรับการใชงานบางอยาง ซึง่ ไมจาํ เปนตอง อาศัย คุณสมบัติ พิเศษเหลานี้ แผนฟลม PET จะตองแขงขันกับผลิตภัณฑทสี่ ามารถนํามาใชทดแทนไดอกี หลาย ประเภท ซึง่ มักจะเปน ผลิตภัณฑระดับลางทีร่ าคาถูกกวา เชน แผนฟลม ประเภท พลาสติก PVC (Polyvinyl Chloride), PP (Polypropylene) และ PE (Polyethylene) รวมทัง้ กระดาษดวย ซึง่ มักจะใชในงานธุรกิจ บรรจุภณ ั ฑ และอุตสาหกรรมทัว่ ๆไป แผนฟลม BOPP (Biaxially Oriented Polypropylene Film) เปนผลิตภัณฑทมี่ คี ณ ุ สมบัติ คลายกับแผนฟลม PET มากทีส่ ดุ โดยพิจารณาในแงของคุณสมบัตทิ างกายภาพและทางกล อยางไรก็ตาม การใชแผนฟลม PET และแผนฟลม BOPP ตางก็มขี อ ดีขอ เสียแตกตางกันไป โดยการตัดสินใจเลือกแผนฟลม ชนิดใดนัน้ จะขึน้ อยูก บั ความตองการใชเปนหลัก การเปรียบเทียบแผนฟลม BOPP กับแผนฟลม PET แผนฟลม PET จัดไดวา เปนแผนฟลม ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงสําหรับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑชนิดออนซึง่ จะเห็นความแตก ตางไดจากปริมาณการใชทแี่ ตกตางกันของผลิตภัณฑทงั้ สองชนิด

028


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

คุณสมบัติ ปองกันการซึมของไอนํา้ ปองกันการซึมของกาซ ความสามารถในการรับกระแสไฟฟา ความสามารถในการเปลีย่ นรูปทรงดวยเครือ่ งจักร ความสามารถในการใชสาํ หรับพิมพ ความเหมาะสมในการเคลือบ ความหนาแนน (gm/cc) ความแข็งแรง ความสามารถในการรับกับอุณหภูมทิ เี่ ปลีย่ นแปลง

แผนฟลม BOPP ดีเลิศ ไมดี ไมดี ปานกลาง ปานกลาง ไมดี ตํา่ (0.91) ปานกลาง ไมดี

แผนฟลม PET ปานกลาง ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลิศ สูง (1.39) ดีเลิศ ดีเลิศ

สําหรับแผนฟลม PET หากมีการดึงออกไปทัง้ สองดาน ก็ยงั สามารถคงรูปไดดี ปองกันการซึมของกาซ มีความ สามารถในการรับกระแสไฟฟาได เปนตน ในขณะที่แผนฟลม BOPP หากมีการดึงออกไปก็จะมีสภาพออน ยวบยาบ นอกจากนี้แผนฟลม PET ยังสามารถทนทานตอการ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิไดดีกวา จึงมักจะ เปนทีน่ ยิ มในตลาดผูใ ชทไี่ มซบั ซอนมากนักใน ประเทศเขตรอนชืน้ แผนฟลม PET มักเปนทีต่ อ งการเนือ่ งจาก มีคุณสมบัติในการปองกัน ความชื้นและการซึมของออกซิเจน นอกจากนี้ยังเปนที่นิยมสําหรับ ใชเปนบรรจุ ภัณฑของ ผลิตภัณฑ ที่ตองเก็บรักษาความหอม เชน ชาหรือกาแฟ เปนตน ในอีกดานหนึ่ง การที่แผนฟลม BOPP มีความหนาแนนตํ่า (0.91 เปรียบเทียบกับ 1.39 ของ แผนฟลม PET) ทําใหแผนฟลม BOPP เปนทางเลือกที่มีราคาถูกในการใชผลิตบรรจุภัณฑ อีกทั้งการที่บรรจุภัณฑตองใช ประโยชนจากการที่แผนฟลม BOPP มีความหนากวาก็สามารถชดเชยคุณสมบัติของมันในเรื่องความหนา แนนทีต่ าํ่ กวาแผนฟลม PET ไปได ในระดับหนึง่ นอกจากนี้ แผนฟลม BOPP ยังสามารถผนึกปดดวยความรอน ไดดีกวาแผนฟลม PET อีกดวย จากคุณสมบัตขิ องแผนฟลม BOPP และแผนฟลม PET ขางตน ทําใหผลิตภัณฑทงั้ สองชนิด นีเ้ ปนทีต่ อ งการ ใชงานแตกตางกันโดยมีการใชทดแทนกันไดบา งแตเปนไปในสัดสวนทีไ่ มมากนัก แมวา ในชวงหลายปทผี่ า นมา ราคาขายแผนฟลม BOPP ไดลดลง แตกไ็ มไดสง ผลตอการ ใชแผนฟลม PET มากนัก แสดงวาการทดแทนกัน ระหวางผลิตภัณฑทงั้ สองยังคอน ขางจํากัดอยู 4.5

กลยุทธทางธุรกิจ องคประกอบสําคัญในการกําหนดกลยุทธไดแก - เสริมสรางความเปนผูนําในการผลิตที่มีตนทุนตํ่าโดยการขยายกิจการทั้งในแนวนอน (กําลังการผลิต) และในแนวตัง้ (ผลิตภัณฑตอ เนือ่ ง) - เจาะตลาดทีม่ ศี กั ยภาพในการเติบโต และสรางความสัมพันธอนั ดีกบั ลูกคา - เสริมสรางความสามารถในการจัดสงสินคาทัว่ โลกดวยกลยุทธตลาดในประเทศ ตลาดตางประเทศโพนทะเล และตลาดภูมภิ าคใกลเคียงอยางรอบคอบและสมเหตุผล - มีประเภทสินคาหลากหลายมากขึ้น โดยการลงทุนเพิ่มดานการปรับปรุงสมรรถนะทางเทคโนโลยี และ การวิจยั และพัฒนา (R&D)

029


- สรางความหลากหลายในผลิตภัณฑทเี่ กีย่ วของและกระจายธุรกิจออกจากแกนธุรกิจเดิม (Concentric and related diversification) เพือ่ ความมัน่ คงของรายได - เสริมความแข็งแกรงทางการตลาดของแตละฐานการผลิตในทําเลตางๆกัน บริษทั จึงไดดาํ เนินการในชวงทีผ่ า นมาดังนี้ • บริษัทไดจัดตั้งสายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางตอเนื่อง 2 สายในประเทศไทย ซึ่งเปนกาวแรกสู ความเปนผูน าํ ดานตนทุนและการขยายฐานลูกคาทีห่ ลากหลายขึน้ • สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบาง 2 สาย ชวยใหโครงสรางตนทุนแข็งแกรงยิง่ ขึน้ ในการสนองความตองการ ของลูกคาทีม่ กี ารขยายอยางตอเนือ่ ง ทัง้ ในยุโรป ตะวันออกกลาง อัฟริกา และรัสเซีย/ซีไอเอส • การลงทุนของบริษทั ในสายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางใหมในสหรัฐอเมริกาเปนอีกขัน้ หนึง่ สูก ารสราง ความหลากหลายของทําเลฐานการผลิตของบริษทั ในเชิงภูมศิ าสตร ซึง่ จะชวยใหบริษทั มีสว นรวมไปกับการ เติบโตของธุรกิจบรรจุภณ ั ฑแบบออนในภูมภิ าคอเมริกาและสามารถเพิม่ สวนแบงตลาดได • บริษทั ไดขยายการผลิตสูก ารผลิตเม็ดพลาสติก PET (Backward Integration) ซึง่ ทําให โครงสรางตนทุนของ บริษทั ในประเทศไทย ประเทศตุรกี และสหรัฐอเมริกามีความ แข็งแกรงขึน้ นอกจากนีย้ งั ชวยรักษาคุณภาพ ของเม็ดพลาสติกและผลิตภัณฑขนั้ สุดทาย • ดวยการเพิม่ กําลังการผลิตของสายเคลือบอลูมเิ นียมในทุกฐานการผลิต ทําใหบริษทั สามารถปรับปรุงประเภท ผลิตภัณฑที่มีมูลคาเพิ่มมากขึ้น บริษัทกําลังลงทุนในการเปลี่ยน Metallizer ที่บริษัทยอย ในประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึง่ จะทําให PUL สามารถสรางความแตกตางไดโดยการปรับปรุงผลิตภัณฑ/ลูกคาและสราง ผลกําไรทีด่ ขี นึ้ • สายการผลิตแผนฟลมเคลือบอัดขึ้นรูปทั้งสองสายในประเทศไทย ชวยใหบริษัทสามารถเพิ่มสัดสวนของ ผลิตภัณฑทมี่ มี ลู คาเพิม่ ในประเภทผลิตภัณฑทงั้ หมดของบริษทั ใหสงู ขึน้ • จากการเริม่ สายการผลิตแผนฟลม เคลือบซิลโิ คนในประเทศไทยในเดือนมีนาคม 2555 ทําใหบริษทั สามารถ เจาะตลาดผลิตภัณฑใหม ๆไดมากขึน้ อันเปนการชวยลดผลกระทบจากการขึน้ ลงตามวงจรโดยธรรมชาติ ของอุตสาหกรรมแผนฟลม Polyester ชนิดบาง สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดหนาในประเทศไทยจะ ชวยใหบริษทั สรางความมัน่ คงทางรายได เนือ่ งจากเซ็กเมนตนโี้ ดยทัว่ ไปจะคอนขางมีเสถียรภาพมากกวา เซ็กเมนตแผนฟลม PET ชนิดบาง • สายการผลิตแผนฟลม Blown PP จะชวยใหโพลีเพล็กซสามารถเขาสูต ลาดแผนฟลม PP เคลือบซิลโิ คน และจากความสําเร็จและประสบการณในเชิงบวกของสายการผลิตแรก บริษทั ฯ กําลังลงทุนในสายการผลิต ทีส่ องของแผนฟลม Blown PP เพือ่ ขยายกําลังการผลิตและเพิม่ สวนแบงการตลาด • การกอตัง้ โรงงานรีไซเคิลในประเทศไทยเพือ่ เปนการแกปญ  หาทีย่ งั่ ยืนสําหรับแผนฟลม ทีเ่ สียจากขบวนการผลิต เปนกาวยางแรกของบริษทั สูก ารเปนโรงงานเพือ่ สิง่ แวดลอม • การดําเนินการในการสรางความผูกพันของลูกคาตอบริษทั ในรูปแบบตางๆ ไมเพียงชวยใหบริษทั สามารถ รักษาลูกคาเดิมไวไดเทานัน้ แตยงั เพิม่ และขยายฐานลูกคาออกไปทัว่ โลกดวย • ทัง้ นี้ จากเครือขายตัวแทนจัดจําหนายและผูจ ดั จําหนายทีก่ วางขวางทําใหบริษทั สามารถเขาถึงตลาดสําคัญๆ ตางๆทัว่ โลกไดอยางทัว่ ถึง • สํานักงานประสานงานในประเทศมาเลเซียและเกาหลี ชวยใหบริษัทมีความเขาใจตลาดสําคัญเหลานี้ ในทางที่ดีขึ้น

030


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

4.6

ชองทางการจัดจําหนาย บริษทั จําหนายสินคาไปยังลูกคาทัง้ ในประเทศและตางประเทศ โดยมุง การจําหนายตางประเทศเปนหลัก บริษัทมีทั้งการจําหนายโดยตรงไปยังลูกคาผูใชสินคา โดยใชทีมการตลาดและการขายของบริษัทเอง ในสหรัฐอเมริกา ตุรกี เนเธอรแลนด และจีนรวมทัง้ ผานนายหนาทีร่ บั ผลตอบแทนเปนคาคอมมิชชัน่ (Agent) ทัว่ โลก ทัง้ นี้ ชองทางโดยตรงสวนใหญจะเปนการจําหนายผานตัวแทนจําหนาย (Distributor) ในพืน้ ทีท่ กี่ าํ หนด การจําหนายผานตัวแทนจําหนายและนายหนาชวยสนับสนุนการจําหนายและทําใหบริษทั สามารถ จําหนาย สินคาไดเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากตัวแทนจําหนายและนายหนาจะอยูใ กลกบั ลูกคาจึงสามารถใหบริการไดอยางใกล ชิดสงสินคาไดอยางรวดเร็ว รวมทัง้ ยังสามารถจําหนายไปยังลูกคารายเล็กในพืน้ ทีด่ งั กลาวไดเพิม่ มากขึน้ ดวย มูลคาการจําหนายแผนฟลม โดยรวมใหแกผใู ชสนิ คา (End users) และตัวแทนจําหนาย (Distributors) เปนดัง ตารางดานลางนี้ โดยการจําหนายผานนายหนารวมอยูใ นสวนของการจําหนายใหแกผใู ชสนิ คาแลว งบเฉพาะบริษทั ลูกคา ผูใ ชสนิ คา ตัวแทนจําหนาย ยอดขายรวม งบรวม ลูกคา ผูใ ชสนิ คา ตัวแทนจําหนาย ยอดขายรวม

2557-58 ลานบาท % 2,123.04 42.57 2,863.89 57.43 4,986.93 100.00

2558-59 ลานบาท % 2,251.62 43.15% 2,966.63 56.85% 5,218.25 100.00

2559-60 ลานบาท % 2,180.82 43.34% 2,851.08 56.66% 5,031.90 100.00

2557-58 ลานบาท % 6,839.49 59.01 4,751.16 40.99 11,590.65 100.00

2558-59 ลานบาท % 7,552.18 63.42 4,356.19 36.58 11,908.36 100.00

2559-60 ลานบาท % 7,507.54 66.66 3,754.35 33.34 11,261.89 100.00

4.7 สภาวะตลาดและการแขงขัน 4.7.1 ความตองการและการสนองผลิตภัณฑในตลาดโลก แผนฟลม PET ชนิดบาง การเติบโตของธุรกิจบรรจุภณ ั ฑในหลายปทผี่ า นมา ไดนาํ ไปสูก ารเปลีย่ นรูปแบบการผลิตและการใชแผนฟลม PET ชนิดบาง ลูกคาเปาหมายของบริษทั คือ ธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ อุตสาหกรรม และอุปกรณไฟฟา มีปริมาณความ ตองการใชคดิ เปนเกือบรอยละ 100 ของความตองการทัง้ หมดในตลาดโลก โดยความตองการ ใชในธุรกิจทีจ่ ดั วา ใชเทคโนโลยีสงู เชน ธุรกิจสือ่ บันทึกขอมูลแบบแมเหล็ก (Magnetic Media) และ งานพิมพขอ ความหรือรูปภาพ บนแผนหรือฉลาก (Imaging) อันเปนผลจากการเปลีย่ นแปลงรูปแบบการใชเทคโนโลยี บรรจุภณ ั ฑทดี่ ไี มเพียงสามารถรักษาอายุของสินคาใหวางจําหนาย (Shelf Life) ไดนานขึน้ เทานัน้ แตยงั สามารถ ดึงดูดความสนใจของผูซ อื้ ในตลาดสินคาอุปโภคบริโภคทีม่ กี ารแขงขันสูง บรรจุภณ ั ฑ ชนิดออนยังมีบทบาทสําคัญ ในการชวยลดการใชวสั ดุใหม (หรืออีกนัยหนึง่ คือลดของเสียหรือขยะ) ภายใตหลักการ “เริม่ ตนดวยการใชวสั ดุ

031


ทีช่ ว ยลดของเสีย” ซึง่ จะทําใหการเติบโตของธุรกิจบรรจุภณ ั ฑทวั่ โลกสูงกวาการเติบโตของจีดพี ี ความตองการ ใชแผนฟลม PET ซึง่ เปนวัสดุสาํ หรับบรรจุภณ ั ฑ ในตลาดบน มีการขยายตัวสูงกวาวัสดุประเภทอืน่ คือโดยเฉลีย่ ประมาณรอยละ 5-7 ตอปทวั่ โลก ความตองการบรรจุภณ ั ฑคอ นขางยืดหยุน เนือ่ งจากเปนไปตามความตองการ บริโภคสินคาประเภทอาหาร และสินคาอุปโภคบริโภคหลักๆ ซึง่ โดยธรรมชาติมกั ไมสามารถบังคับดวยกฎเกณฑ หรือขอบังคับ ของทางการได คุณลักษณะเชนนีข้ องเซ็กเมนตบรรจุภณ ั ฑสง ผลใหมกี ารเติบโตของอุปสงคอยาง ตอเนือ่ ง แมวา จะไดรบั ผลกระทบดานลบจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในชวงเวลาทีผ่ า นมาก็ตาม

ที่มา: บริษัทประมาณการจากขอมูลอุตสาหกรรม / รายงานการศึกษาตลาด

กําลังซือ้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ประกอบกับวิถชี วี ติ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปของประชาชนในประเทศกําลังพัฒนาทําใหการใชวสั ดุ บรรจุภัณฑตอหัวเพิ่มสูงขึ้นอยางอยางมีนัยสําคัญ โดยทวีปเอเชียเปนตลาดแผนฟลม PET ชนิดบางที่ใหญ ทีส่ ดุ มีการใชในปริมาณมากกวาสองในสามของแผนฟลม ทีผ่ ลิตทัว่ โลกถูกนํามาใชในภูมภิ าคนี้ ในขณะเดียวกัน ปริมาณการใชวสั ดุบรรจุภณ ั ฑตอ หัวในประเทศกําลังพัฒนายังจัดวาอยูใ นระดับตํา่ มาก เมือ่ เทียบกับประเทศ พัฒนาแลว ปจจัยหลักในการผลักดันใหการบริโภคมีการเติบโตในภูมิภาคนี้ คือ การเพิ่มสวนแบงในตลาดที่ เปนระบบมากขึ้น การที่สังคมมีความเปนบริโภคนิยมมากขึ้น การเปลี่ยน แปลงทางสถิติประชากรศาสตร และความตองการบรรจุภัณฑที่ดีขึ้นและใหความสะดวกมากขึ้น ทางดานการผลิตสามารถเห็นแนวโนมที่คลายคลึงกันกับความตองการ โดยกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นสวนมาก เกิดขึ้นในประเทศกําลังพัฒนาที่มีตนทุนตํ่า อีกทั้งกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น สวนใหญมุงสนองความตองการ ในธุรกิจบรรจุภัณฑ โดยเนนเรื่องประสิทธิภาพในการผลิตสูง แตตนทุนการดําเนินงานตํ่าซึ่งสงผลกระทบใน ทางลบตอผูผลิต แผนฟลม PET รายใหญแตเดิมที่มี โครงสรางตนทุนสูง และปจจุบันจําเปนตองมุงเนนการ ผลิตที่ใชเทคโนโลยีในวงการเฉพาะที่เกิดขึ้นใหม ๆ ในการผลิตแผนฟลม PET เชน แผนฟลมสําหรับจอ LCD แผงรับพลังงานแสงอาทิตย แผนจอสัมผัส และการใชงานอื่น ๆ ที่เฉพาะเจาะจง สําหรับตลาดบนในธุรกิจ บรรจุภัณฑ ในขณะที่มาตรการปองกัน การทุมตลาดและการตอบโตหรือกีดกันทางการคาตาง ๆ มีมากขึ้น ทามกลางสภาวะการแขงขัน ในตลาดที่สูงขึ้น แตก็ไมสามารถแกปญหาที่มีอยูแตเดิมของสายการผลิตหรือ โรงงานที่ไมมี ประสิทธิภาพในการผลิตในประเทศพัฒนา ซึ่งผลิตเพียงแผนฟลมธรรมดา

032


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ที่มา: บริษัทประมาณการจากขอมูลอุตสาหกรรม / รายงานการศึกษาตลาด

ในชวงไมกี่ปที่ผานมา อุตสาหกรรมแผนฟลม PET ชนิดบางเกิดภาวะสินคาลนตลาดอยางมีนัยสําคัญ เนื่องจากมีกําลังการผลิตสวนเกินในอุตสาหกรรมจากการเพิ่มกําลังการผลิตเปนปริมาณสูงหลังจากที่สวน ตางราคาพุง สูงผิดปกติในอุตสาหกรรมแผนฟลม PET ในป 2553 กําลังการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอัตราทีส่ งู ตัง้ แตป 2554 ชะลอลงซึ่งจะชวยแกไขสภาวะความไมสมดุลของอุปสงคและอุปทานได บริษัทที่ผลิตผลิตภัณฑมี คุณภาพแนนอน มีผลิตภัณฑหลากหลาย มีการเขาถึงลูกคาทัว่ โลกไดทวั่ ถึงรวมทัง้ มีรปู แบบ Supply Chain ที่ดีกวา ยอมมีโอกาสมากกวา ในการที่จะเขามามีสวนรวมรองรับการเติบโตของความตองการและไดรับ/ สามารถรักษาอัตรากําไรใหอยูในระดับที่สูงกวาอัตราเฉลี่ยของอุตสาหกรรม แผนฟลม PET ชนิดหนา กลุม ไฟฟาและกลุม อุตสาหกรรมเปนกลุม ทีม่ คี วามสําคัญตออุตสาหกรรมแผนฟลม หนา ในชวงไมกปี่ ท ผี่ า นมา ความตองการของฟลม PET ชนิดหนามีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ ตอป ประมาณรอยละ 5-7 นวัตกรรมใหมและการใชงานใหม ๆ ของกลุม อุปกรณไฟฟา เชนจอแบน (Flat Screen panel) แผงเซลลแสง อาทิตย (PV Solar Cells) เปนตน ชวยผลักดันการเติบโตในอดีตทีผ่ า นมาและจะชวยใหอตุ สาหกรรมนีจ้ ะยังคง มีอตั ราเติบโตเฉลีย่ ตอปประมาณรอยละ 4-6 ในชวง 2-3 ปขา งหนานี้

033


ที่มา: บริษัทประมาณการจากขอมูลอุตสาหกรรม / รายงานการศึกษาตลาด

กําลังการผลิตของแผนฟลม หนาทีเ่ พิม่ ขึน้ มาจากประเทศหลักๆในเอเชีย เชน จีน เกาหลีใต และ ญีป่ นุ ซึง่ คลาย กับอุตสาหกรรมแผนฟลม บาง

ที่มา: บริษัทประมาณการจากขอมูลอุตสาหกรรม / รายงานการศึกษาตลาด

4.7.2 ภาวะอุตสาหกรรม การแขงขันในตลาดโลก ผูผ ลิตแผนฟลม PET ชนิดบางสามารถแบงไดเปน 3 กลุม หลักตามขนาดของกําลังการผลิตคือ (1) กลุม ผูผ ลิตรายใหญของโลก ซึง่ มีกาํ ลังการผลิตมากกวา 100,000 ตันตอป (2) กลุม ผูผ ลิตขนาดกลาง ซึง่ มีกาํ ลังการผลิตระหวาง 50,000 – 100,000 ตันตอป และ (3) กลุม ผูผ ลิตขนาดเล็กในแตละประเทศ ซึง่ มีกาํ ลังการผลิตนอยกวา 50,000 ตันตอป ในอดีตทีผ่ า นมา สือ่ บันทึกขอมูลแบบแมเหล็ก (Magnetic Media) มีความตองการแผนฟลม PET สูง ผูผ ลิต รายใหญจึงใหความสําคัญกับการผลิตสําหรับกลุมธุรกิจนี้มากกวากลุมธุรกิจอื่น และจากประสบการณและ ความชํานาญในการผลิตที่มีมานาน จึงทําใหการแขงขันจํากัดอยูแตกลุมผูผลิตรายใหญเทานั้น สําหรับแผนฟลม PET ประเภทอื่นรวมถึงชนิดบางนั้นก็จะเปนการแขงขันระหวางผูผลิตทุกกลุม เนื่องจาก ความตองการมีเพิ่มขึ้นทุกป โดยเฉพาะแผนฟลม PET ชนิดบางที่ใชในธุรกิจบรรจุภัณฑ อุตสาหกรรม และ อุปกรณไฟฟา ซึง่ ความตองการมีอตั ราการเติบโตสูงในชวงเวลาทีผ่ า นมา จึงทําใหผผู ลิตขนาดเล็กและขนาด กลาง(รวมถึงกลุมโพลีเพล็กซ) ขยายกําลังการผลิตเพื่อตอบสนอง ความตองของกลุมธุรกิจ 3 ประเภทดัง กลาว ดังนัน้ ในอนาคตคาดวากลุม ผูผ ลิตขนาดกลางและผูผ ลิตรายยอยบางรายในประเทศตาง ๆ ซึง่ มีกาํ ลัง การผลิตสวนเกินอยูจะเริ่มมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการมีการเพิ่มกําลังการผลิตใหสูงขึ้น การแขงขันในประเทศ ตลาดแผนฟลม PET ในประเทศไทยมีขนาดเล็ก เมือ่ เทียบกับขนาดของตลาดแผนฟลม โลก โดยบริษทั ประมาณ การวาในปจจุบนั ความตองการแผนฟลม PET (ชนิดบางและชนิดหนา) ภายในประเทศเทากับประมาณ 50,000 ตันตอป และจะมีอตั ราเติบโตในชวง 2-3 ปขา งหนาทีร่ อ ยละ 7-8 ตอป ในอดีตผูผ ลิตแผนฟลม ในประเทศ มุง เนน การผลิตทีส่ ายการผลิตแผนฟลม BOPP เปนหลัก ในสวนของบริษทั นัน้ บริษทั ไดมงุ ผลิตแผนฟลม PET ชนิดบาง

034


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ตัง้ แตเริม่ กอตัง้ กิจการในประเทศไทย โดยเริม่ จากสายการผลิตแผนฟลม PET เพียงสายเดียว และภายใน 9 เดือน หลังจากนัน้ ไดจดั ตัง้ สายการผลิตที่ 2 ในหลายปทผี่ า นมา บริษทั ไดมกี ารขยายกิจการหลายครัง้ ในดานทีเ่ กีย่ ว กับการผลิตแผนฟลม ทีส่ รางมูลคาเพิม่ ไดแก แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม (4 สายการผลิต) แผนฟลม เคลือบอัด ชัน้ ดวยความรอน แผนฟลม เคลือบซิลโิ คน เปนตน รวมทัง้ สรางความหลากหลายโดยขยายไปยังผลิตภัณฑทเี่ กีย่ ว เนือ่ งอยางแผนฟลม CPP และแผนฟลม Blown PP และ PE films (สายการผลิตทีส่ องของ แผนฟลม Blown PP อยูร ะหวางการดําเนินการ) ปจจุบนั บริษทั จัดเปนผูผ ลิตแผนฟลม PET ทีม่ กี าํ ลังการผลิตสูงทีส่ ดุ ในประเทศไทย ทัง้ นี้ กําลังการผลิตของผูผ ลิตแผนฟลม ตางๆในประเทศไทย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เปนดังนี้ บริษทั ไทยฟลม บริษทั เอ. เจ. บริษทั สายการผลิต อิ น ดั ส ตรี ส  จํ า กั ด พลาสท จํ า กั ด เอสอาร เอฟ บริษทั (PTL)* (ตันตอป) (มหาชน) (มหาชน) อินดัสตรีส้  จํากัด แผนฟลม BOPP 103,000 132,000 แผนฟลม PET ชนิดบาง 62,000 28,500 48,000 แผนฟลม PET ชนิดหนา 28,800 แผนฟลม CPP 3,500 16,000 **15,600 แผนฟลม BOPA 18,000 แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม 5,000 28,300 12,000 23,800 แผนฟลม Blown PP # 8,845 รวม 111,500 256,300 40,500 125,045 แผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป - 365 ลาน ตร.ม. แผนฟลม เคลือบซิลโิ คน - 725 ลาน ตร.ม. ที่มา: แบบ 56-1/แหลงขอมูลอุตสาหกรรม * กําลังการผลิตของบริษัทเปนไปตามที่ไดรับอนุมัติจาก BOI (สําหรับโครงการที่ไดรับการสงเสริมจาก BOI) สําหรับกําลังการผลิตจริง โปรดดูตารางดานลางภายใตหัวขอ “กําลังการผลิต” ** เปนกําลังการผลิตรวมตอปที่ไดรับอนุมัติจาก BOI สําหรับแผนฟลม CPP Plain และแผนฟลม CPP เคลือบอลูมิเนียม # รวมกําลังการผลิตตอปของสายการผลิตแผนฟลม Blown PP ใหม อยูระหวางการดําเนินการ

สรุปภาวะอุตสาหกรรมแผนฟลม PET อุตสาหกรรมแผนฟลม PET มีการขยายตัวอยางตอเนือ่ งในชวงเวลาทีผ่ า นมา ปจจัยทีผ่ ลักดัน ใหมกี ารเติบโตใน ชวงไมกปี่ ท ผี่ า นมา คือ การเติบโตในธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ อุตสาหกรรม และอุปกรณเครือ่ งใชไฟฟา ขณะเดียวกัน ผูผ ลิตแผนฟลม PET ไดมกี ารใชกาํ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ และ/หรือ เพิม่ กําลังการผลิตอยางมากเพือ่ สนอง ความ ตองการทีเ่ พิม่ ขึน้ ในระหวางป 2549 - 2555 อัตราการใชกําลังการผลิตโดยเฉลี่ยของผูผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางอยูในชวง รอยละ 80-90 ของกําลังการผลิตของเครือ่ งจักรโดยมีอตั ราการใชสงู สุดในป 2553 (รอยละ 92) ซึง่ หลังจากนัน้ ผูประกอบการจํานวนมากตางมุงเพิ่มกําลังการผลิต เปนผลใหเกิดสภาวะสินคาลนตลาดตั้งแตชวง 4-5 ปที่ผานมา ทําใหการใชกําลังการผลิตลดลงตํ่ากวารอยละ 80 ในชวงหลายปที่ผานมา ในขณะเดียวกันระหวางป 2549- 2555 อัตราการใชกาํ ลังการผลิตโดยเฉลีย่ ของผูผ ลิตแผนฟลม PET ชนิดหนา อยูในชวงรอยละ70 - 80 ของกําลังการผลิตของเครื่องจักรโดยมีอัตราการใชสูงสุดในป 2553 และป 2554 (รอยละ 86-87) ซึง่ หลังจากนัน้ ผูป ระกอบการจํานวนมากตางมุง เพิม่ กําลังการผลิต เปนผลใหเกิดสภาวะสินคา ลนตลาดตัง้ แตชว ง 4-5 ปทผี่ า นมา ทําใหการใชกาํ ลังการผลิตลดลงตํา่ กวารอยละ 70 ในชวงหลายปทผี่ า นมา

035


ระดับการใชกาํ ลังการผลิตรอยละ 85-90 จัดวาสูงมากโดยเกือบเทากับกําลังการผลิตทีก่ าํ หนดมากับเครือ่ งจักร ในทางปฏิบตั ิ ผูผ ลิตบางรายผลิตไดตาํ่ กวากําลังการผลิตทีก่ าํ หนด เนือ่ งจากเครือ่ งจักรมีการใชงานมานาน จึงอยูในสภาพทรุดโทรม ในขณะที่ผูผลิตบางรายผลิตไดสูงกวากําลังการผลิตที่กําหนดมากับเครื่องจักร โดยใชเครื่องจักรใหมและทันสมัย ตลอดจนอาศัยประสบการณ และความเชี่ยวชาญที่มีมายาวนาน แนวโนมการใชกาํ ลังการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางและชนิดหนาของโลกในชวง 10 ปทผี่ า นมา เปนดังนี้

ที่มา: บริษัทประมาณการจากขอมูลอุตสาหกรรม / รายงานการศึกษาตลาด

ที่มา: บริษัทประมาณการจากขอมูลอุตสาหกรรม / รายงานการศึกษาตลาด

แมวา ความตองการแผนฟลม PET จะมีอตั ราการเพิม่ ขึน้ อยูต ลอดเวลา แตผผู ลิตรายใหมทตี่ อ งการจะเขามาดําเนิน ธุรกิจในอุตสาหกรรมนีก้ ไ็ มสามารถเขามาประกอบการแขงขันไดโดยงาย ทัง้ นีเ้ พราะ อุตสาหกรรมการผลิตแผน ฟลม PET เปนอุตสาหกรรมทีต่ อ งใชความรู ทักษะและความชํานาญ ในการผลิตแผนฟลม PET ใหไดตามขนาด มาตรฐานและรายละเอียดคุณสมบัตทิ ลี่ กู คากําหนด ความสามารถในการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ลด ตนทุน (cost effective) ก็เปนอีกหนึง่ ปจจัย ทีจ่ ะทําใหธรุ กิจสามารถดํารงอยูแ ละแขงขันได รวมไปถึงการขยาย กําลังการผลิตใหมขี นาดใหญที่ จะชวยในเรือ่ งของการประหยัดตอขนาด (economy of scale)

036


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

กลุมโพลีเพล็กซ นับเปนกลุมที่มีประสบการณในอุตสาหกรรมการผลิตแผนฟลม PET ยาวนานกวา 29 ป มีความแข็งแกรงจากการทีม่ กี ารขยายกําลังการผลิตอยางตอเนือ่ ง มีฝา ยจัดการทีม่ คี วามสามารถ ในการบริหาร จัดการสูง มีการจัดสงสินคาโดยมุง เนนฐานการผลิตแบงตามทําเลทางภูมศิ าสตรและมีเครือขายการจัดจําหนาย ทีส่ ามารถเขาถึงลูกคาไดงา ย การมุง เนนไปทีก่ ลุม ประเทศทีม่ กี ารเติบโตของความตองการสูง และมีประสิทธิภาพดานการผลิตและดานตนทุน โดยเนนไปยังกลุมธุรกิจบรรจุภัณฑ อุตสาหกรรม และอุปกรณไฟฟา ซึ่งมีอัตราเติบโตของความตองการสูง ลวนสงผลใหกลุมโพลีเพล็กซเปนหนึ่งในผูผลิตแผนฟลมชนิดบางชั้นนําของโลก (ไมรวมกําลังผลิตสื่อบันทึก ขอมูล (magnetic media)) สําหรับปญหาเรือ่ งภาษีกดี กันการคาทีอ่ อกโดยประเทศนําเขาตางๆเชน กําแพงภาษี ปองกันการทุม ตลาด (Antidumping) และปองกันการอุดหนุนการสงออก (Anti-subsidy) นัน้ ทีผ่ า นมาบริษทั แมในประเทศอินเดียเคย เผชิญกับมาตรการดังกลาวมากอน ทัง้ จากสหภาพยุโรป และประเทศสหรัฐอเมริกา ทําใหทราบถึงสาเหตุ วิธกี าร ตรวจสอบของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา และวิธกี ารแกไขปญหาดังกลาว จึงไดดาํ เนินการแกไข จนทําใหใน ปจจุบนั นีป้ ระเทศสหรัฐอเมริกาไดกาํ หนดภาษีทรี่ อ ยละ 0 กับบริษทั แลว จากผลการสอบสวนของรัฐบาลประเทศบราซิลเพือ่ ปองกันการทุม ตลาดจากประเทศตุรกี ไดมกี ารกําหนดอากรขา เขาในอัตราประมาณ 6.7 เซ็นต ตอกิโลกรัมสําหรับสินคานําเขาบราซิลทีม่ าจากตุรกีตงั้ แตมนี าคม 2555 มาตรการ ดังกลาวไมสง ผลกระทบตอบริษทั มากนัก เนือ่ งจากบริษทั มีการสงออกผลิตภัณฑไปยังประเทศบราซิลในปริมาณ ทีน่ อ ยมาก เมือ่ เร็ว ๆ นีร้ ฐั บาลไดเริม่ ใหมกี ารทบทวนอากรขาเขาดังกลาว บริษทั ไดใหความรวมมืออยางเต็มที่ ในการตรวจสอบนีแ้ ละสงขอมูลทีจ่ าํ เปนไปยังหนวยงานสืบสวนสอบสวน จากผลการสอบสวนของรัฐบาลอินโดนีเซียเพือ่ ปองกันการทุม ตลาดจากประเทศไทย มีการกําหนดอากรขาเขา ในอัตรารอยละ 2.2 จากการนําเขาจากบริษทั ไปยังประเทศอินโดนีเซีย เริม่ ตัง้ แตธนั วาคม 2558 ในเดือนเมษายน 2560 เกาหลีไดรเิ ริม่ การตรวจสอบการทุม ตลาดตอการนําเขาฟลม PET จากประเทศไทยไตหวัน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส บริษทั จะใหความรวมมืออยางเต็มทีใ่ นการตรวจสอบนีแ้ ละกําลังอยูร ะหวางการสง ขอมูลทีจ่ าํ เปนตอเจาหนาทีส่ บื สวนของเกาหลี บริษทั จะดําเนินการปองกันทัง้ หมดเพือ่ ปองกันความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากการปองกันการการทุม ตลาดและอุปสรรค ในการปองกันอืน่ ทีก่ าํ หนดโดยประเทศผูน าํ เขา ทิศทางภาวะอุตสาหกรรมการผลิตแผนฟลม PET ในอนาคต  คาดวาในชวง 2-3 ปขา งหนานี้ อัตราการเติบโตเฉลีย่ ของความตองการแผนฟลม PET ชนิดบางของตลาด โลกจะเทากับรอยละ 7-9 ตอป และอัตราการเติบโตเฉลีย่ ของความตองการแผนฟลม PET ชนิดหนาของ ตลาดโลกจะเทากับรอยละ 4-6 ตอป  การเติบโตของความตองการผลิตภัณฑสาํ หรับใชในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑชนิดออนในเอเชียตะวันออก เฉียงใตคาดวาจะเทากับรอยละ 7-10  ผูผลิตรายใหมและผูผลิตขนาดกลางจะพยายามสรางความหลากหลายของประเภทผลิตภัณฑตางๆจาก แผนฟลมเกรดอุปโภคบริโภคเปนแผนฟลมเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะเพื่อเปนการเพิ่มอัตรากําไร  การขยายกําลังการผลิตในอัตราสูงตั้งแตป 2554 นับจากที่อุตสาหกรรมนี้มีอัตรากําไรสูงเปนพิเศษใน ป 2553 คาดวาจะชะลอลงไมกี่ไตรมาสขางหนา ซึ่งจะชวยแกไขสภาวะความไมสมดุลของอุปสงคและ อุปทานได

037


   

การขึ้นลงตามวงจรโดยธรรมชาติของอุตสาหกรรมนี้จะยังคงมีอยู การทีอ่ ตุ สาหกรรมนีห้ นั มาเนนตลาดทวีปเอเชียมากขึน้ จะสรางแรงกดดันในการแขงขันมากขึน้ ในอนาคต ขอตกลงการคาเสรีที่ทํากันอยูระหวางประเทศตางๆ สามารถสรางทั้งโอกาสใหมๆและปญหา ผูผ ลิตรายใหญทงั้ หลายมีแนวโนมมากขึน้ ทีจ่ ะพยายามสรางพันธมิตรทางธุรกิจหรือเขาซือ้ กิจการรายอืน่ เพือ่ สรางการเติบโตของธุรกิจ หรือใหมผี ลิตภัณฑในตลาดทีห่ ลากหลาย หรือแมแตการมีมาตรการในการ เพือ่ สรางผลิตภัณฑใหม ๆ ดวยเทคโนโลยีใหม ๆ หรือเทคโนโลยีระดับสูง

4.8 การผลิตผลิตภัณฑ 4.8.1 การผลิต บริษทั มีทดี่ นิ 3 แปลงทีน่ คิ มอุตสาหกรรมสยามอีสเทิรน อินดัสเตรียล พารค จังหวัดระยอง มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 100 ไร โดยฐานการผลิตทัง้ หมดของบริษทั สรางและตัง้ อยูบ นทีด่ นิ ดังกลาว กําลังการผลิต กําลังการผลิตของกลุม โพลีเพล็กซ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 # จะเปนดังนี้

ประเภทผลิตภัณฑ แผนฟลม PET ชนิดบาง แผนฟลม PET ชนิดหนา เม็ดพลาสติก แผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม* แผนฟลม BOPP แผนฟลม CPP ชนิดเรียบ แผนฟลม Blown PP* แผนฟลม เคลือบ

อินเดีย 55,000 77,600 28,500 35,000 270

ไทย* 42,000 28,800 80,500 21,700

ตุรกี 58,000 57,600 17,700

10,000 8,845 865

146

สหรัฐฯ รวม หนวย 31,000 186,000 ตัน 28,800 ตัน 57,600 273,300 ตัน 9,500 77,400 ตัน 35,000 ตัน 10,000 ตัน 8,845 ตัน 1,281 ลาน ตร.ม.

* กําลังการผลิตของประเทศไทยที่แสดงขางตนเปนกําลังการผลิตจริงที่จะดําเนินการได สวนกําลังการผลิตที่ไดรับอนุมัติจาก BOI ตามมาตรฐานเครื่องจักรจะสูงกวานี้ โปรดดูรายละเอียดกําลังการผลิตของประเทศไทยที่ไดรับอนุมัติจาก BOI ในตารางภายใตหัวขอ “การแขงขันภายในประเทศ”

038


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

# รวมถึงกําลังการผลิตของสายการผลิตแผนฟลม Blown PP ใหมในประเทศไทยและการใช metallizer ใหมทดแทนที่ ประเทศสหรัฐอเมริกาอยูระหวางการดําเนินการ

การใชกาํ ลังการผลิตของสายการผลิตแผนฟลม PET ของ PTL (งบเฉพาะบริษทั และงบรวม) เปนดังนี้

หมายเหตุ: กําลังการผลิตและการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางในสหรัฐอเมริกาและแผนฟลม PET ชนิดหนาในประเทศไทยรวมอยูใน กราฟขางตนแลว เนื่องจากทั้งสองสายการผลิตไดเริ่มการผลิตเชิงพาณิชยตั้งแตเดือนเมษายนและตุลาคม 2556 ตามลําดับ

4.8.2 วัตถุดบิ ทีส่ าํ คัญในการผลิต เม็ดพลาสติก PET เม็ดพลาสติก PET (Polyethylene Terephthalate Resin) เปนวัตถุดิบสําคัญในการผลิตแผนฟลม PET โพลีเพล็กซกําหนดกลยุทธที่จะผลิตเม็ดพลาสติกของตนเองที่ฐานการผลิตแผนฟลมทุกแหง ดังนั้น ทุกฐาน การผลิตจะมีสายการผลิตเม็ดพลาสติกอยูดวยโดยมีกําลังการผลิตเพียงพอตอความตองการ Purified Terephthalic Acid (PTA) และ Mono Ethylene Glycol (MEG) วัตถุดบิ ทีส่ าํ คัญทีใ่ ชในการผลิตเม็ดพลาสติก PET คือ Purified Terephthalic Acid (PTA) และ Mono Ethylene Glycol (MEG) และเพือ่ ใหการจัดหาวัตถุดบิ เปนไปอยางสมํา่ เสมอและตอเนือ่ งบริษทั จึงได จัดทํา สัญญาซือ้

039


วัตถุดบิ กับผูจ าํ หนายวัตถุดบิ ในประเทศสําหรับ PTA และ MEG สําหรับบริษทั ยอยในตุรกีจะจัดหาโดยนําเขา PTA จากเอเชีย และ MEG จากตะวันออกกลาง สวนบริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกามีการจัดหาจากผูจ าํ หนายในประเทศ บริษทั ทําสัญญารายปตามความตองการทัง้ หมดของบริษทั ฯ ซึง่ ผูจ าํ หนายจะมีการการสูตรการคํานวณราคาที่ กําหนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา วัตถุดิบสําคัญของสายการผลิตแผนฟลมเคลือบอัดขึ้นรูป นอกเหนือจากวัตถุดิบอยางแผนฟลม PET ซึ่งมาจากการผลิตภายในบริษัทเองแลว วัตถุดิบสําคัญอื่นสําหรับ สายการผลิตแผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูปไดแก แผนฟลม พืน้ ฐาน BOPP และสารเคมีสาํ หรับเคลือบ เชน LDPE และ EVA โดยทัง้ หมดสามารถจัดหาจากผูผ ลิต/ผูค า ตางๆในประเทศไทยรวมทัง้ นําเขาจากประเทศในภูมภิ าค วัตถุดบิ สําคัญของสายการผลิตแผนฟลม CPP วัตถุดบิ สําคัญสําหรับการผลิตแผนฟลม CPP คือ Homo Polymer และ Co-Polymer โดย Homo Polymer สามารถจัดซือ้ ไดในประเทศในขณะที่ Co-Polymer สามารถจัดหาจากผูผ ลิต/ผูค า ตางๆในประเทศไทยรวมทัง้ นําเขาจากประเทศในภูมภิ าค วัตถุดบิ สําคัญของสายการผลิตแผนฟลม เคลือบซิลโิ คน สําหรับสายเคลือบซิลิโคน วัตถุดิบสําคัญคือ แผนฟลม PET ซึ่งรับโอนจากการผลิตภายในของบริษัทเองรวม ทัง้ นําเขาจากบริษทั แมในอินเดียดวยดวยราคาเดียวกันกับทีซ่ อื้ จากบุคคลภายนอก (arm’s length pricing) ซิลิโคนและสารเคมีอื่นๆนําเขาจากผูจําหนายชั้นนําในสหรัฐอเมริกาและยุโรป วัตถุดบิ สําคัญของสายการผลิตแผนฟลม Blown PP สําหรับสายแผนฟลม Blown PP วัตถุดิบสําคัญคือ เม็ดพลาสติก PP (Homopolymer, co-polymer และ PP color master batches) บริษัทจัดหาจากผูจําหนายในประเทศรวมทั้งนําเขาจากประเทศอื่นในภูมิภาค หวงโซมลู คากระบวนการผลิตและสงมอบผลิตภัณฑ (Value Chain) ในธุรกิจแผนฟลม PET แผนฟลม CPP และแผนฟลม Blown PP ของบริษทั เปนดังนี้

040


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

Value Chain ของแผนฟลม เคลือบอัดชัน้ ดวยความรอนเปนดังนี้

4.8.3 ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม เนือ่ งจากแผนฟลม PET และ เม็ดพลาสติก PET โดยทัว่ ไปเปนวัสดุทสี่ ามารถนํากลับมาใชใหมได ดังนัน้ กระบวนการ ผลิตของบริษทั จึงไมสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมแตอยางใด สําหรับสายการผลิตเม็ด พลาสติก บริษทั ไดรบั การ รับรองจาก EIA แลว โดย EIA กําหนดใหบริษทั ตองจัดทํารายงานดานสิง่ แวดลอมเสนอตอหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ อยางสมํา่ เสมอ ตั้งแตเริ่มดําเนินการผลิตเมื่อเดือนมีนาคม 2546 บริษัทไมเคยมีประวัติกระทําผิดกฎหมาย หรือ ขอพิพาท เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมที่สําคัญๆแตอยางใด บริษัทไดรับการตรวจสอบจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมอยาง สมํ่าเสมอ ซึ่งผลการตรวจสอบสรุปไดวากระบวนการผลิตของบริษัทมิไดกอใหเกิดมลภาวะแตอยางใด ผลิตภัณฑของบริษทั ในประเทศไทยทัง้ หมดไดรบั การรับรองมาตรฐานดังตอไปนี้ • มาตรฐาน ISO 14001:2004 ดานการจัดการสิง่ แวดลอม (Environment Management System) • มาตรฐาน ISO 9001:2008 ดานระบบบริหารจัดการคุณภาพ • มาตรฐานOHSAS 18001:2007 ดานระบบการจัดการความ ปลอดภัยและสุขภาพใน การประกอบ วิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System) • มาตรฐาน ISO 22000:2005 ในเรือ่ งของความปลอดภัยดานอาหารสําหรับผลิตภัณฑ • รางวัล TPM Excellence Award (ประเภท A) ผลิตภัณฑของบริษัทในประเทศตุรกีทั้งหมดไดรับการรับรองมาตรฐานดังตอไปนี้ • มาตรฐาน ISO 14001:2004 ดานการจัดการสิง่ แวดลอม (Environment Management System) • มาตรฐาน ISO 9001:2008 ดานระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management system) • มาตรฐานOHSAS 18001:2007 ดานระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพในการ ประกอบ วิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System) • มาตรฐาน BRC/loP ดานการรับรองเกีย่ วกับมาตรฐานระดับโลกสําหรับบรรจุภณ ั ฑและผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ (สายการผลิตฟลมและสายการผลิตแผนฟลมเคลือบอลูมิเนียม) • มาตรฐาน ISO 50001: 2011 มาตราฐานระบบจัดการดานพลังงาน (Energy Management system)

041


ป จจัยความเสี่ยง กอนตัดสินใจลงทุนซื้อหุนของบริษัท ผูลงทุนควรพิจารณาขอมูลเกี่ยวกับปจจัยความเสี่ยงตามที่ระบุไวใน สวนนี้และ ขอมูลทั้งหมดที่อยูในเอกสารฉบับนี้อยางรอบคอบ อยางไรก็ดี นอกเหนือจากปจจัยความเสี่ยงดังกลาวแลว ยังมีความ เสี่ยงอื่นๆที่อาจมีผลกระทบในทางลบตอผลการดําเนินงานของบริษัทซึ่งเปนความเสี่ยง ที่ยังไมอาจคาดการณได

ปจจัยเสี่ยงที่สําคัญประกอบดวย 5.1

ความเสี่ยงเกี่ยวกับวงจรอุตสาหกรรม (Industry Cycle) วงจรอุตสาหกรรมของอุตสาหกรรมแผนฟลม PET จะขึ้นอยูกับสวนตางของราคาแผนฟลม PET กับ ราคาของ PTA และ MEG ซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญในการผลิตแผนฟลม PET หากในชวงระยะเวลาที่สภาวะ ความตองการและการสนองแผนฟลม PET เปนไปในทิศทางทีเ่ อือ้ ตอผูผ ลิตหรือผูจ าํ หนายก็จะทําใหสว นตาง ของราคาจําหนายแผนฟลมกับราคาวัตถุดิบสูงมากขึ้น ทําใหผูประกอบการตางเรงขยาย กําลังการผลิตเพื่อ ผลิตสินคาออกสูตลาดมากขึ้น ในทางกลับกัน หากปริมาณสินคาที่ผลิตมีมากกวาความตองการของตลาดก็ ทําใหราคาจําหนายลดลง ทําใหผลตางของราคาจําหนายแผนฟลมและราคาตนทุนวัตถุดิบเหลือนอยลงสง ผลกระทบตอรายไดและกําไรของผูประกอบการ ภายหลังจากวงจรขาขึ้นของอุตสาหกรรมแผนฟลม PET ชวงป 2553-54 กําลังการผลิตในอุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ ในปริมาณสูง ทําใหเกิดภาวะอุปสงคและอุปทานไมสมดุล ซึง่ สรางแรงกดดันตอราคาจําหนายและทําใหสว นตางกําไรหดตัวลง นอกจากนี้ ผูป ระกอบการไมสามารถปรับ ราคาจําหนายเพื่อใหสะทอนตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นไดมากนัก เนื่องจากภาวะสินคาลนตลาดดังกลาว เพือ่ ใหเห็นผลกระทบของวงจรอุตสาหกรรมแผนฟลม PET ชนิดบาง บริษทั จึงนําเสนออัตรากําไรกอน หักภาษี ของ PTL (งบรวม) โดยเฉพาะเปรียบเทียบกับราคาจําหนายแผนฟลม PET และราคาวัตถุดิบ ดังนี้

042


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

เปรียบเทียบอัตรากําไรกอนหักภาษี (Profit before tax/sale) ของ PTL ตามงบการเงินรวม กับ ราคาจําหนายแผนฟลม PET (ชนิดบางและชนิดหนา) วัตถุดิบ และสวนเพิ่มมูลคา (ตามงบรวม - เฉลี่ยสําหรับ PTL ประเทศไทย PE ประเทศตุรกี และ PUL สหรัฐอเมริกา)

* กําไรกอนหักภาษี คํานวณโดยไมรวมขาดทุนจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัท โพลีเพล็กซ เรซิ่น ปบัญชี 2557-58 ขาดทุนจากการดอยคาในสินทรัพย ปบัญชี 2558-59

ที่มา: ขอมูลจากบริษัท

043


จากขอมูลขางตนดังกลาว จะเห็นแนวโนมของวงจรกําไรกอนหักภาษีและราคาจําหนายผลิตภัณฑใน ชวงเวลาทีผ่ า นมา ซึง่ สงผลกระทบโดยตรงตอผลประกอบการของผูผ ลิตแผนฟลม PET ตลอดจน โพลีเพล็กซ อยางไรก็ตาม บริษัทมีนโยบายที่จะลดความเสี่ยงดังกลาว ดวยการใชมาตรการดังตอไปนี้  ดวยการมีประสิทธิภาพในการผลิตในระดับสูงและมาตรการควบคุมตนทุนการผลิต ทําใหบริษัทเชื่อมั่น วาบริษทั เปนหนึง่ ในผูผ ลิตแผนฟลม PET ทีม่ ตี น ทุนตํา่ รายหนึง่ ในโลก ซึง่ ชวย ใหบริษทั มีผลประกอบการ ที่ดีกวาบริษัทอื่นในอุตสาหกรรม  สรางความหลากหลายของผลิตภัณฑดวยการเสนอผลิตภัณฑใหม ๆ เชน แผนฟลมเคลือบอัดขึ้นรูป คาสทโพลิโพรพิลีนฟลม สายเคลือบซิลิโคน แผนฟลม PET ชนิดหนา เครื่องเคลือบนอกสายการผลิต และสายการผลิตแผนฟลม Blown PP เปนตน เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการตองอาศัยผลิตภัณฑใดผลิตภัณฑ หนึ่งและอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง  การลงทุนเพิม่ กําลังการผลิตสําหรับฟลม เคลือบอลูมเิ นียม จะทําใหโพลีเพล็กซสามารถนําเสนอผลิตใหมๆ แกลูกคาได และยังชวยปรับปรุงสวนผสมผลิตภัณฑเฉพาะอยางของโพลีเพล็กซใหดีขึ้นดวย  เขาถึงลูกคาที่ดําเนินงานในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑชนิดออนและในภาคอุตสาหกรรมตาง ๆทั่วโลก โดยนําเสนอผลิตภัณฑหลากหลายเปนทางเลือกแกลูกคา อาศัยความไดเปรียบที่กลุมโพลีเพล็กซมีฐาน การผลิตทัง้ ในประเทศไทย ตุรกี และสหรัฐอเมริกาในปจจุบนั ตลอดจนมีคลังสินคาและหนวยจัดจําหนาย ตั้งอยูในยุโรปและจีน ทําใหมีความเสี่ยงจากการที่อาศัยลูกคาเพียงไมกี่รายลดลง  มีฐานการผลิตและการจัดจําหนายที่หลากหลายซึ่งชวยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของตลาด เชน ตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งโดยธรรมชาติคอนขางผันผวน ในขณะที่ตลาดสหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุน เปนตน มีความผันผวนนอยกวา โพลีเพล็กซพยายามลดความเสี่ยงดังกลาวดวยการมีพอรตยอด จําหนายที่หลากหลาย  บริษัทจะเนนการพัฒนาผลิตภัณฑใหมโดยการทําวิจัยและพัฒนาและการรับเทคโนโลยีใหมๆ รวมทั้ง การมีทีมบริการดานเทคนิคที่แข็งแกรง ซึ่งเปนสิ่งที่สรางความแตกตางระหวาง โพลีเพล็กซ และคูแขง 5.2

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาและวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักในการผลิตแผนฟลม PET คือเม็ดพลาสติก PET (PET Resin) ซึ่งผลิตมาจาก Purified Terephthalate Acid (PTA) และ Mono Ethylene Glycol (MEG) เนื่ อ งจากต น ทุ น การผลิ ต ของแผ น ฟ ล  ม PET มาจากต น ทุ น ของเม็ ด พลาสติ ก PET เป น หลั ก ดั ง นั้ น การเปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของราคาเม็ดพลาสติก PET จะสงผลกระทบโดยตรงตอ กําไรจากการการ ดําเนินงาน ผลกระทบดังกลาวจะมากหรือนอยก็จะขึ้นอยูที่ความสามารถ ของบริษัทวาจะสามารถสงผาน ภาระตนทุนที่สูงขึ้นนี้ไปยังลูกคาไดมากนอยเพียงใด จากการที่บริษัทจะตกลงราคาจําหนายสินคากับลูกคา เปนรายเดือนหรือรายไตรมาส ดังนั้น ในภาวะตลาดปกติที่มีความสมดุลของความตองการและการสนอง ผลิตภัณฑ หากมีการเปลี่ยนแปลงตนทุนของ เม็ดพลาสติก PET และตนทุนการดําเนินงานอื่นๆ บริษัทก็มัก จะสามารถปรับราคาจําหนายสินคาไดในงวดถัดไป กราฟความเคลือ่ นไหวราคาวัตถุดบิ และราคาจําหนายผลิตภัณฑในอดีตขางตนแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวาง ตนทุนวัตถุดบิ และราคาจําหนายผลิตภัณฑ สวนใหญจะมีการเคลือ่ นไหวของราคาจําหนายตามแนวโนมตนทุน วัตถุดบิ ยกเวนในบางปทรี่ ะดับราคาจําหนายไดรบั อิทธิพลจากปจจัยอืน่ เชน ชวงทีเ่ ปนวงจรขาขึน้ และขาลง ที่สําคัญของอุตสาหกรรมแผนฟลม PET อันเปนผลจากภาวะความไมสมดุลของอุปสงคและอุปทาน เปนตน

044


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ภาวะสินคาลนตลาดยังคงมีอยูตอเนื่องในอุตสาหกรรมแผนฟลม PET ในปบัญชี 2559-60 แมวาการ เพิ่มกําลังการผลิตจะลดลง ความผันผวนของราคานํ้ามันดิบในอดีตที่ผานมาสงผลกระทบตอราคาวัตถุดิบ ของเรา และในขณะที่ราคาวัตถุดิบลดลงชวยในการปรับปรุงอัตรากําไรแตเนื่องจากความลาชาผลประโยชน ถูกสงผานไปใหกับลูกคา อัตรากําไรถูกบีบในขณะที่ราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคานํ้ามันดิบที่เพิ่มขึ้น ความมัน่ คงของระดับราคานํา้ มันดิบจะชวยเพิม่ ความเชือ่ มัน่ ทางธุรกิจ และยังชวยใหทกุ คนในหวงโซอปุ ทาน ทั้งหมดเอาชนะความไมแนนอนที่เกิดจากความผันผวนของราคานํ้ามันดิบ วิเคราะหขอ มูลในอดีตแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางราคาของ PTA/MEG และราคาของแผนฟลม PET สวนตางของราคาของแผนฟลม PET และ PTA/MEG จะมากหรือนอยนัน้ จะขึน้ อยูก บั ภาวะอุปสงค-อุปทาน เปนสําคัญ รวมทั้งการเคลื่อนไหวอยางเฉียบพลันและในระดับสูงของ ราคาวัตถุดิบดวย กราฟแสดงแนวโนมดานราคาของแผนฟลม PET และ PTA และ MEG และอัตราการเพิ่มขึ้นของมูลคา ตอกิโลกรัม ในชวง เวลาที่ผานมาใน ตะวันออกไกล / อเมริกา / ยุโรป

045


ที่มา: ขอมูลอุตสาหกรรม

ขอมูลอุตสาหกรรมขางตนของภูมิภาคตะวันออกไกล แสดงใหเห็นวา การเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบ โดยสวนใหญจะสงผานไปยังผูใชผลิตภัณฑ นอกจากนี้ ภาวะความสมดุลของอุปสงค-อุปทานของแผนฟลม PET ซึ่งแตกตางกันในแตละภูมิภาคก็สงผลกระทบตอสวนตางดังกลาวดวยสวนตางระหวางราคาวัตถุดิบ และราคาแผนฟลม โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงหลายปที่ผานมา เคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน การที่บริษัท มีการติดตอกับลูกคาสวนหนึ่งชวยในการที่จะทบทวนการตั้งราคาเปนรายไตรมาส หรือเปนระยะ ๆ ซึ่งจะ ทําใหสามารถปรับเปลี่ยนราคาตามการ เคลื่อนไหวของราคาวัตถุดิบได นอกจากนี้ บริษัทยังติดตามแนวโนมของราคาวัตถุดิบทั้งในตลาดโลกและในประเทศอยางใกลชิดพรอม ทั้งวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบใหสอดคลองสภาวะราคาและความตองการของลูกคา 5.3

ความเสี่ยงจากการซื้อวัตถุดิบจากผูจําหนายนอยราย วัตถุดิบสําคัญ 2 ชนิดของบริษัทคือ PTA และ MEG เปนสินคา Commodity ที่มีการซื้อขายโดยทั่วไป และจัดหาไดจากผูผลิตตางๆทั่วโลก ในประเทศไทย ปจจุบันบริษัทสามารถหาแหลงจากภายในประเทศโดยจัดหาวัตถุดิบแตละชนิดไดทั้งหมด จากผูจ าํ หนายภายในประเทศ ซึง่ ทําใหบริษทั มีความไดเปรียบอยางชัดเจนในเรือ่ งของการใชเวลาดําเนินการสัน้ ลง/ ระดั บ วั ต ถุ ดิ บ คงคลั ง ที่ ต  อ งจั ด เก็ บ ลดตํ่ า ลง เป น ต น ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ได ล งนามในสั ญ ญาระยะยาว/ รายปสาํ หรับวัตถุดบิ ดังกลาวเพือ่ ใหมนั่ ใจวาจะสนองความตองการไดอยางเพียงพอ ตอไป ตามสัญญาดังกลาวมี การรับประกันปริมาณการจําหนายใหแกบริษทั ดวย เพือ่ ใหบริษทั มีปริมาณวัตถุดบิ ตอเนือ่ งเปนระยะเวลาพอ สมควรในกรณีที่เกิดสถานการณอันไมคาดคิด ในประเทศตุรกี บริษัทสั่งซื้อ PTA และ MEG จํานวนมากจากผูผลิตระดับโลก 2-3 รายโดยมีการลงนามใน สัญญาระยะยาว/รายป นอกจากนี้บริษัทยังแสวงหาโอกาสในจังหวะที่วัตถุดิบลนตลาดโดยสั่งซื้อปอนธุรกิจ บางสวนเพื่อใชประโยชนจากสถานการณดังกลาวเปนระยะ ๆ ตามสัญญาดังกลาวมีการ รับประกันปริมาณ การจําหนายใหแกบริษัทยกเวนกรณีเกิดเหตุสุดวิสัย

046


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ในสหรัฐอเมริกา บริษัทจะจัดหา PTA และ MEG ทั้งหมดจากผูผลิตภายในประเทศ ทําใหมีความไดเปรียบ ในเรื่องของระยะเวลาดําเนินการที่สั้นลง/ระดับวัตถุดิบคงคลังที่ตองจัดเก็บลดตํ่าลง เปนตน โดยบริษัทไดลง นามในสัญญาระยะยาว/รายปใหมีการจัดสงวัตถุดิบอยางตอเนื่อง สวนในเรื่องของราคาก็มีความโปรงใสเนื่องจากมีกลไกราคาอิงตามอัตรามาตรฐานระดับนานาชาติตางๆ ในการผลิตแผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป นอกจากใชแผนฟลม PET ซึง่ ไดรบั การปอนจากสายการผลิตภายในของ บริษทั และนําเขาจากบริษทั อืน่ หรือบริษทั ในเครืออืน่ ๆ ตามราคาตลาด (arm’s length pricing) ยังมีการใชแผน ฟลม พืน้ ฐานอยาง BOPP และสารเคมีทใี่ ชเคลือบเชน LDPE และ EVA เปนวัตถุดบิ วัตถุดบิ เหลานีล้ ว นหาได จากผูผลิต/ผูคาตางๆทั้งในประเทศไทยและนําเขาจากประเทศอื่นในภูมิภาค วัตถุดิบสําคัญของแผนฟลมคาสทโพลิโพรพิลีน คือ Homo Polymer และ Co-Polymer โดย Homo Polymer สามารถจัดหาไดในประเทศ ขณะที่ Co-Polymer สามารถจัดหาผูขายในประเทศรวมทั้งจาก การนําเขาจากประเทศอื่นในภูมิภาค สําหรับสายเคลือบซิลิโคน วัตถุดบิ หลักคือแผนฟลม PET และ แผนฟลม Blown PP ซึง่ สวนใหญมาจากสาย การผลิตภายในของบริษทั และบางครัง้ นําเขาจากบริษทั อืน่ หรือบริษทั ในเครืออืน่ ๆ ตามราคาตลาด (arm’s length pricing) สวนซิลิโคนและสารเคมีอื่นๆนําเขาจากผูผลิตชั้นนําในสหรัฐอเมริกาและยุโรป สําหรับสายการผลิตแผนฟลม Blown PP วัตถุดบิ หลักคือ เม็ดพลาสติก PP (Homopolymer, Co-polymer และ PP Color master batches) บริษัทจัดหาจากผูขายในประเทศรวมทั้งจากการนําเขาจากประเทศอื่น ในภูมิภาค 5.4

ความเสี่ยงจากมาตรการทางการดานสิ่งแวดลอม สายการผลิตตาง ๆ ของบริษัท ยกเวนเพียงสายการผลิตเม็ดพลาสติก ไมตองมีการประเมินผลกระทบดาน สิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment – EIA) สายการผลิตเม็ดพลาสติกนั้นบริษัทไดรับการ รับรองจากหนวยงานกํากับดูแลแลว ทัง้ นี้ บริษทั ใหความเอาใจใสดแู ลในเรื่องนีอ้ ยางเต็มที่เพือ่ ใหเปนไปตาม กฎระเบียบดังกลาว

5.5

ความเสี่ยงจากการแขงขันกับคูแขงปจจุบันและคูแขงรายใหม จากการที่ความตองการแผนฟลม PET เพิ่มสูงขึ้นมาโดยตลอดและมีแนวโนมที่จะเติบโตตอไป จึงเปนแรง จูงใจให เกิดการผลิตเพิ่มขึ้นจากผูผลิตรายใหญปจจุบัน ซึ่งเปนผูผลิตที่มีประสบการณใน อุตสาหกรรมนี้มา ยาวนาน รวมไปถึงคูแขงขนาดกลาง-ขนาดเล็ก และคูแขงรายใหมที่มี ความสามารถ ที่จะสรางโรงงานและ เครือ่ งจักรทีใ่ ชในการผลิต เปนวงจรปกติในอุตสาหกรรมนีท้ โี่ รงงานตางๆมักพากันเพิม่ กําลังการผลิตอยางเปน ลํา่ เปนสันหลังจากทีไ่ ดรบั แรงจูงใจจากสวนตางราคาหรือกําไรทีพ่ งุ สูงขึน้ จนทําใหอปุ สงค-อุปทานเสียสมดุลไป เปนระยะเวลาหนึง่ จนกวาอุปสงคจะมีปริมาณเพิม่ สูงขึน้ จนทันกับอุปทานใหมๆทีอ่ อกมา ในหลายๆกรณีดงั ที่ ปรากฏในชวงไมกปี่ ท ผี่ า นมาภาวะสินคาลนตลาดดังกลาวอาจมีปริมาณสูงมากจนวงจรทีจ่ ะยอนกลับมาสูภ าวะ ปกติตองใชระยะเวลานานถึง 4-5 ป อยางไรก็ตาม แมอุตสาหกรรมจะมีลักษณะเปนวงจรเชนนี้ แตก็ยังเปน อุตสาหกรรมทีน่ า สนใจสําหรับผูป ระกอบการโดยมีฐานรากทีม่ นั่ คงและมีการเติบโตของอุปสงคอยางตอเนือ่ ง

047


อยางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับผูผลิตอื่นแลว โพลีเพล็กซมีตนทุนในการผลิตที่ตํ่ากวา ผลิตภัณฑมีคุณภาพ ที่แนนอนและการบริการทางเทคนิค ฐานการผลิตตั้งอยูในทําเลที่กระจายทั่วถึง ประเภทผลิตภัณฑมีความ หลากหลาย และครอบคลุมตลาดทั่วโลกเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหโพลีเพล็กซเปนหนึ่งในผูผลิตชั้นนําของ อุตสาหกรรมนี้ ดังนั้น โพลีเพล็กซจึงมีความเชื่อมั่นวามีศักยภาพเพียงพอที่จะ แขงขันไดทั้งกับ ผูผลิตราย ใหญของโลกและคูแขงรายใหม บริษัทไดมีการประเมินแนวทางอื่นๆ ในการสรางการเติบโตสําหรับผลิตภัณฑแผนฟลม PET และ ผลิตภัณฑ ที่มีมูลคาเพิ่ม และผลิตภัณฑอื่น ๆที่เกี่ยวของ เชน แผนฟลม CPP/ BOPP/ แผนฟลมเคลือบซิลิโคนสําหรับ ทําเลตาง ๆ ในประเทศตุรกี ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา รวมทั้งมีการประเมินทางเลือกการสรางการ เติบโตในทําเลทีต่ งั้ ใหม ๆ /ผลิตภัณฑประเภทใหมๆ นอกจากนี้ บริษทั ยังไดทาํ การประเมินความเปนไปไดใน การเขาซือ้ กิจการเพือ่ ขยายฐานการผลิตออกไปอีก อีกทัง้ เพือ่ เปนการปรับปรุงโครงสรางตนทุน การนําเสนอ ผลิตภัณฑ และการเจาะ/ครอบคลุมตลาด 5.6

ความเสี่ยงจากมาตรการกีดกันทางการคา มาตรการกีดกันทางการคาที่ประเทศตาง ๆ ใชในการกีดกันการคา แบงออกเปน 2 ประเภทคือ 1. มาตรการตอบโตการทุมตลาด (Anti Dumping - AD) : เปนมาตรการทางภาษีที่ประเทศตาง ๆ ใชเปน ภาษีตอบโตการทุม ตลาด ซึง่ จะนํามาใชกบั สินคาทีน่ าํ เขา หากพิสจู นไดวา สินคาดังกลาว มีราคาจําหนาย ณ โรงงานตํ่ากวาราคาจําหนายของสินคาประเภทเดียวกัน ที่จําหนายในประเทศของผูสงออก ในไมกี่ ปที่ผานมาประเทศที่ใชมาตรการนี้ก็คือ กลุมสหภาพยุโรปและประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งใชกับประเทศ อินเดีย จีน บราซิล และเกาหลีใต 2. มาตรการตอบโตการสนับสนุนทางการคา(Anti-Subsidy) : ภาษีตอบโตการสนับสนุนทางการคา (Countervailing Duty - CVD) จะนํามาใชกบั สินคาทีน่ าํ เขาหากพิสจู นไดวา รัฐบาล หรือ หนวยงานของ รัฐบาลของประเทศผูสงออกใหผลประโยชนหรือสิทธิพิเศษแกผูสงออก รายใดรายหนึ่งเปนการเฉพาะ ซึ่งผลของการใชมาตรการภาษีดังกลาว จะสงผลใหสินคาของผูผลิตจากประเทศที่ถูกตอบโต ตองเสียภาษี ในอัตราที่สูงขึ้นมาก จนทําใหสินคามีราคาแพงและแขงขันกับผูผลิตรายอื่นไดยาก อยางไรก็ตาม สําหรับผู ผลิตที่มีฐานการผลิตในทําเลหรือตลาดดังกลาว มาตรการกีดกันทางการคาดังกลาว จะกลับเปนโอกาสทาง ธุรกิจสําหรับผูผ ลิตนัน้ ๆ หากมีการกําหนดภาษีปอ งกันการ ทุม ตลาดจากสินคาทีน่ าํ เขาจากผูผ ลิต ตนทุนตํา่ ในประเทศแถบเอเชีย บริษทั ไดมกี ารดําเนินมาตรการตางๆ ทีจ่ ะชวยปองกันความเสีย่ งจากการถูกตอบโตทางภาษี รวมทัง้ มาตรการ กีดกันทางการคาอื่นๆตามที่ประเทศผูนําเขาสินคาจะกําหนด ทั้งนี้นโยบายการกระจายพื้นที่การตลาดใน ลักษณะทีก่ ลุม ดําเนินการจะชวยลดผลกระทบจากมาตรการการกีดกันการคา หากมีการนํา มาใชโดยประเทศ ผูน าํ เขาได และการทีม่ ฐี านการผลิตในสหรัฐอเมริกาและยุโรป กลุม สามารถใชประโยชนจากมาตรการกีดกัน ทางการคาที่กําหนดโดยประเทศเหลานั้นตอสินคาที่นําเขาจากประเทศแถบเอเชีย จากผลของการสอบสวนเรื่องมาตรการตอบโตการทุมตลาด (Anti Dumping - AD) สําหรับแผนฟลม PET นําเขาจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส เม็กซิโก และตุรกี เขาไปยังบราซิลโดยรัฐบาลประเทศบราซิลเมื่อเดือน ธันวาคม 2553 รัฐบาลบราซิลมีมติ โดยมีผลบังคับในเดือนมีนาคม 2555 กําหนดอากร AD กับบริษัทยอย ในตุรกี (โพลีเพล็กซยูโรปา) ในอัตรา 67.44 เหรียญสหรัฐตอเมตริกตัน ซึ่งเปนอัตราตํ่าสุดเมื่อเทียบกับอัตรา

048


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ที่ประกาศใชกับผูผลิตในประเทศอื่นหรือผูผลิตอื่นในตุรกี ทั้งนี้ ปจจุบันการสงออกของ Polyplex Europa ไปยังบราซิลมีปริมาณไมมากนักเมื่อเทียบกับปริมาณจําหนาย จึงคาดวาจะไมมีผลกระทบในทางลบที่สําคัญ ใดๆจากมาตรการดังกลาว เมื่อเร็ว ๆ นี้รัฐบาลไดเริ่มใหมีการทบทวนอากรขาเขาดังกลาว บริษัทไดใหความ รวมมืออยางเต็มที่ในการตรวจสอบนี้และสงขอมูลที่จําเปนไปยังหนวยงานสืบสวนสอบสวน จากผลของการสอบสวนเรื่องมาตรการตอบโตการทุมตลาด (Anti Dumping - AD) โดยรัฐบาลประเทศ อินโดนีเซีย สําหรับแผนฟลม PET นําเขาจากประเทศไทย มีมติโดยมีผลบังคับตั้งแตเดือนธันวาคม 2558 กําหนดอากร AD กับสําหรับสินคาที่นําเขาจากบริษัทฯ ในอัตรา รอยละ 2.2 ในเดือนเมษายน 2560 เกาหลีไดเริ่มดําเนินการไตสวนเกี่ยวกับการนําเขาแผนฟลม PET จากประเทศไทย, ไตหวันและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส บริษัทฯ จะใหความรวมมืออยางเต็มที่ในการตรวจสอบนี้และกําลังอยู ระหวางการสงขอมูลที่จําเปนตอเจาหนาที่สืบสวนของเกาหลี 5.7

ความเสี่ยงจากโครงการลงทุนในอนาคต ความเสี่ยงสําคัญ ๆ ของโครงการใหมใด ๆไดแก  ความเสี่ยงดานตลาด เนื่องจากกลุมโพลีเพล็กซมีเครือขายทั่วโลกทั้งในดานการตลาดและจัดจําหนาย บริษัทคาดวาจะมีความเสี่ยงไมมากนักในการพัฒนาตลาดสําหรับผลิตภัณฑใหมตางๆ  ความเสี่ยงดานการแขงขัน บริษัทเชื่อวาโครงสรางตนทุนเอื้อตอการแขงขันไดทั่วโลก และ เปนหนึ่งใน หลาย ๆ ขอไดเปรียบที่สําคัญของบริษัทเมื่อเทียบกับผูผลิตอื่นในปจจุบัน / ผูผลิตรายใหม  ความเสีย่ งดานการลงทุนในโครงการ ทีมบริหารโครงการทีม่ ปี ระสบการณของกลุม โพลีเพล็กซ สามารถ สรางความมั่นใจในการดําเนินการโครงการใหมตาง ๆ ใหประสบความสําเร็จ โดยเสร็จตามกําหนดและ ใชเงินลงทุนไมเกินงบประมาณที่กําหนดไว เวนแตจะมีเหตุการณที่ไมอาจคาดการณไดเกิดขั้น  ความเสี่ยงดานการระดมเงินทุนโดยปกติบริษัทจะขอเงินกูระยะยาวจํานวนรอยละ 65-75 ของ เงินลงทุนในโครงการทัง้ หมด สวนทีเ่ หลือจะมาจากเงินคางรับของกิจการ จากการทีบ่ ริษทั มีความสัมพันธ อันดีกับธนาคารตางๆในปจจุบัน บริษัทคอนขางมั่นใจวาจะสามารถระดมเงินสวนที่ตองใชสําหรับโครง การใหมๆใดๆในอนาคตได  ความเสี่ยงดานสกุลเงินกู การตัดสินใจกูเงินในสกุลใดๆ สําหรับโครงการใหมขึ้นอยูกับกระแสเงินสด เพื่อการดําเนินงานที่ประมาณการไวของโครงการ สกุลเงินที่จะเลือกตองเปนสกุลเงินที่มีสวนเกินสูงสุด ในกระแสเงินสดเพื่อการดําเนินงาน อันเปนการปองกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) สําหรับการชําระคืนเงินกูเมื่อถึงกําหนดการชําระคืนเงินกู นอกจากนี้ บริษัทยังมีแนวทางภายในเกี่ยว กับการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตนทุนโครงการสุทธิโดยการทํา Net Exposure สกุลเงินตาง ๆ ในการทําสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Contract) เพือ่ เปนการลดความเสีย่ ง เงินลงทุนในโครงการโดยรวมที่ไดมีการประมาณการไวแตแรกเริ่มจากความผันผวนของสกุลเงินตรา นอกจากความเสีย่ งตาง ๆ ของโครงการและมาตรการลดความเสีย่ งดังกลาวขางตนแลว ขอกลาว ถึงหลักปฏิบตั ิ ของบริษทั ทีม่ กี ารทํากรมธรรมประกันภัย เพือ่ การคุม ครองสําหรับโครงการใหม ๆ อยูแ ลว เพือ่ ใหครอบคลุม ความเสีย่ งในการติดตัง้ การกอสราง รวมถึงความเสีย่ ง ทัง้ หลายเชน ความเสีย่ งจากการขนสงทางเรือ การสูญ เสียรายไดเนื่องจากความลาชาในการเริ่มดําเนินงานตามโครงการ เปนตน

049


5.8

ความเสี่ยงจากการพึ่งพาบริษัทแม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 มีผูถือหุนรายใหญคือ PCL ถือหุนทั้งทางตรงและทางออมในสัดสวนรอยละ 51 ของทุนที่เรียกชําระแลวของบริษัท ในชวง 2-3 ปแรกของการกอตัง้ กิจการ ผูบ ริหารหลักบางคนของบริษทั เคยเปนพนักงานของ PCL และมีสว น สําคัญในการชวยบริษัทสามารถเริ่มดําเนินงานไดสําเร็จในระยะเวลาที่รวดเร็วกวากําหนด และดวยเงินทุนที่ นอยกวาที่ไดประมาณการไว รวมทั้งความสามารถในการผลิตในระดับสูงทําให บริษัทสามารถผลิตสินคาใน ราคาทีส่ ามารถแขงขันได อยางไรก็ตามหลังจากกิจการดําเนินงานไปได 4-5 ป โดยกิจการมีความมัน่ คงดีแลว บริษทั สามารถพัฒนาสูก ารพึง่ พาผูบ ริหารหรือบุคลากร ตางชาตินอ ยลง และเพิม่ สัดสวนของบุคลากรคนไทย ใหมีมากขึ้น ทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับบริหารจัดการ โดยสามารถบริหารการผลิตและการดําเนินงาน อยางมีประสิทธิภาพ นับจากนั้นเปน ตนมา โดยในปจจุบันนี้ บริษัทมีทีมผูบริหารที่มีประสบการณครอบคลุมตั้งแตการผลิต การตลาด การจําหนาย และการบัญชี/การเงิน บริษัทจึงสามารถดําเนินธุรกิจไดเองโดยที่ไมตองพึ่งพิงบริษัทแมมากเกินไป นอกจากนี้การดําเนินธุรกิจของบริษัทก็สามารถกระทําไดโดยอิสระจากบริษัทแมในเรื่องตางๆ เชน การเพิ่ม ทุนโดยเสนอขายหุน ตอประชาชน การกูย มื เงิน และ การลงทุนอืน่ ใดทีจ่ ะมีขนึ้ ในอนาคต เปนตน โดยทีบ่ ริษทั แมไมตอ งดําเนินการขออนุมตั จิ ากหนวยงานราชการใด ยกเวนแตเพียงการ รายงาน เมือ่ มีเหตุการณสาํ คัญไป ยังตลาดหลักทรัพยทบี่ ริษทั แมจดทะเบียนอยู 2 แหงคือ Mumbai Stock Exchange และ National Stock Exchange เทานั้น บริษัทมีความเชื่อมั่นวาในการดําเนินธุรกิจ จะไมเกิดผลประโยชนขัดแยงกันระหวางบริษัท และ PCL ซึ่งเปนบริษัทแม เนื่องจาก  กลุม โพลีเพล็กซมนี โยบายในการดําเนินธุรกิจทีเ่ ทาเทียมกันระหวางฐานการผลิตตางๆ โดยการจัดสรรจะ ขึ้นอยูกับความสามารถในการบริการที่ดีที่สุดใหแกลูกคาเปนสําคัญ  การลงทุนของบริษทั แมในบริษทั และบริษทั ยอยนับเปนจํานวนเงินทีส่ งู เมือ่ เทียบกับสินทรัพย ของบริษทั แม ดังนั้นผลประกอบที่ดีของบริษัทก็จะสงผลโดยตรงตอบริษัท แมดวย

5.9

ความเสี่ยงจากความที่ผูถือหุนใหญถือหุนในสัดสวนรอยละ 51 ของหุนทั้งหมดของบริษัท บริษัทมีผูถือหุนใหญคือ PCL ถือหุนรอยละ 17.19 (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 นายซันจีฟ ซาราฟ ผูกอตั้ง บริษัท และกลุมที่เกี่ยวของถือหุนใน PCL ในสัดสวนรอยละ 50.03) และ โพลีเพล็กซ(เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด (“PAPL”) (ซึ่งบริษัทแมถือหุนรอยละ 100) ถือหุนบริษัทในสัดสวน รอยละ 33.81 รวมเปน การถือหุนรอย ละ 51 ของทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลวจํานวน 900 ลานบาท ดังนั้นในกรณีที่มีเรื่องใดๆ เสนอที่ประชุมผู ถือหุน ทีต่ อ งการ เสียงสนับสนุนอยางนอย 3 ใน 4 ของผูม าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงไดทงั้ หมด ผูถ อื หุน ราย ยอยก็ยังสามารถรวบรวมคะแนน เสียงเพื่อถวงดุลการบริหารงานได อยางไรก็ตาม บริษัทแมยังคงมีบทบาท สําคัญในการกําหนด นโยบายการบริหารและดําเนินกิจการของบริษัท อยางไรก็ตาม บริษัทไดจัดใหมีคณะ กรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการ 3 ทานเพือ่ ถวงดุลและ ตรวจสอบการดําเนินงานและการบริหาร นอกจากนี้ บริษัทแมเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในประเทศอินเดีย จึงตองปฏิบัติตาม กฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยดังกลาวดวย

050


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

5.10

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ การจําหนายสินคาของบริษัทประมาณรอยละ 75-85 เปนการจําหนายไปยังตางประเทศ บริษัท จึงมีรายได สวนใหญเปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐและเงินยูโร ซึง่ รายไดดงั กลาวบริษทั ก็จะนํามาชําระคาใชจา ย เชน วัตถุดบิ ไดแก PTA และ MEG ที่เชื่อมโยงกับสกุลเงินเหรียญสหรัฐ แมวาจะชําระเปนเงินบาท รวมทั้งมีการชําระเงิน กูห รือดอกเบีย้ สําหรับเงินกูร ะยะยาวเปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐและ เงินยูโร ทัง้ นี้ หากพิจารณาในสวนเฉพาะ บริษทั ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั มีเงินกูส กุลเงินยูโร จํานวนประมาณ 73.1 ลานยูโร และเงินกูส กุลเงิน เหรียญสหรัฐจํานวนประมาณ 23.4 ลาน เหรียญสหรัฐ รวมถึงเงินกูย มื จากบริษทั ยอยในประเทศตุรกีจาํ นวน 63.4 ลานยูโรเพื่อใชในการชําระคืนเงินกูระยะยาวจากธนาคาร มีคาใชจายบางรายการที่เปนเงินบาท เชน วัตถุดบิ ทีจ่ ดั หาในประเทศ บรรจุภณ ั ฑตา ง ๆ เงินเดือนพนักงาน คาสาธารณูปโภค และคาใชจา ยในการบริหาร ตางๆ เปนตน ซึง่ จายดวยเงินจากการจําหนาย ในประเทศและจากรายไดสว นเกินทีม่ าจากการสงออกในรูปเงิน เหรียญสหรัฐ/เงินยูโร ดังนัน้ หากกลาวโดยรวมบริษทั มีรายรับสุทธิสกุลเงินเหรียญสหรัฐและ สกุลเงินยูโรสวน เกินอยู ซึง่ สามารถนําไปชําระเงินคืนเงินกู ระยะยาวสกุลเงิน ดังกลาวได โดยบริษทั พยายามทีจ่ ะมีการปองกัน ความเสีย่ งแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) เพือ่ ลดความเสีย่ ง จากความผันผวนของคาเงิน นอกจากนี้ บริษทั ยังไดมีการปองกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนโดยการ ซื้อขายเงินตราลวงหนา (Forward) อยางตอเนื่อง เพื่อเปนการปดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของสกุลเงินเหรียญสหรัฐและสกุลเงินยูโร ในทํานองเดียวกัน บริษัทยอยของบริษัทที่อยูในตุรกีมีสวนเกินสุทธิในสกุลเงินเหรียญสหรัฐและยูโร ในขณะ ที่บริษัทดังกลาวตองชําระเงินเปนสกุลเงินในประเทศ ซึ่งมีการปองกันความเสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) เปนระยะๆ โดยทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Contract) บริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกามีรายรับและรายจายเปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐเปนสวนใหญ ดังนัน้ จึงเปนการปองกัน ความเสี่ยงแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) เงินสนับสนุนทางการเงินสําหรับโครงการก็เปนสกุลเงินเหรียญ สหรัฐเชนกัน ทัง้ นี้ เงินกูย มื จากธนาคารนอกจากใชเพือ่ การลงทุนในโครงการและใชเปนเงินทุนหมุนเวียนแลว บริษัทยอยในสหรัฐอเมริกายังมีการขอกูยืมระหวางบริษัทโดยกูจากโพลีเพล็กซ ยูโรปา (PE) เพื่อใชในการ สนับสนุนทางการเงิน เงินกูเหลานี้เปนเงินกูสกุลยูโร โดยมียอดคงคาง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เทากับ 32.8 ลานยูโร

5.11

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2560 บริ ษั ท มี เ งิ น กู  ยื ม ระยะยาวคงค า ง (งบรวม โดยรวมเงิ น กู  จ ากบริ ษั ท ย อ ย ซึง่ งดคํานวณในงบรวม) จํานวน 105.9 ลานยูโร 61.7 ลานเหรียญสหรัฐ ในขณะทีเ่ งินกูย มื ระยะสัน้ คงคางเทากับ 18.5 ลานเหรียญสหรัฐและ 75 ลานบาท ทั้งนี้เงินกูสกุลเงินเหรียญสหรัฐ เปนอัตราดอกเบี้ยลอยตัวที่เปน LIBOR สวนเงินกูสกุลยูโรทั้งหมดมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวที่เปน EURIBOR การใชอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อาจทําใหบริษัทมีความเสี่ยงจากตนทุน ทางการเงินที่อาจเพิ่มขึ้น ในอนาคตหากอัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้บริษัทไดมีการติดตามภาวะ ดอกเบี้ยอยางใกลชิดและ สมํ่าเสมอ และจะทํา Swap อัตราดอกเบี้ยเพื่อ แปลงเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่หากเห็นวาจะเปนประโยชนตอกิจการ

5.12

ความเสี่ยงจากการซํ้าซอนของสินคาและตลาด บริษัท (PTL) บริษัทแม (PCL) PE และ PUL ผลิตสินคาประเภทที่ใกลเคียงกัน ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยง จากการมีผลิตภัณฑที่ซํ้าซอนกันหรือมีตลาดเดียวกัน บริษัทในกลุมในประเทศตาง ๆ คือ อินเดีย ไทย ตุรกี และสหรัฐอเมริกา โดยใชเกณฑการพิจารณาดานตาง ๆ เชน ประเภทผลิตภัณฑ ตนทุนการจัดสงสินคา

051


และระยะเวลาในการขนสง ตลอดจนสิทธิประโยชนทางภาษี เปนตน จากนโยบายการแบงตลาดดังกลาว บริษัทจะจําหนายสินคาสวนใหญใหแกลูกคา เอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชียแปซิฟก จีน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด สวนบริษัทแม จะมุงลูกคาในแถบเอเชียใต โรงงานในประเทศตุรกีจะมุงตลาด ทวีปยุโรป อัฟริกา และกลุม รัสเซีย/รัฐอิสระซีไอเอส ในขณะทีโ่ รงงานผลิตในสหรัฐอเมริกาจะสนองตลาดทวีปอเมริกาเหนือ ตลาดที่มีความแนอนมีการซื้อขายทันที (spot markets) เชน ตะวันออกกลาง อเมริกาใต ซึ่งอาจใหบริการ บางรายทั้งนี้ขึ้นอยูกับ สถานที่และความพรอมของสินคาและปจจัยอื่น ๆ นอกจากนี้ กลุม โพลีเพล็กซยงั มีนโยบายการลงทุนในอนาคตในแผนฟลม โพลีเอสเตอร/ดานอืน่ ๆระหวางบริษทั และบริษทั แม การลงทุนในประเทศอินเดีย/ประเทศในแถบเอเชียใต จะมีการตัดสินใจและดําเนินการโดย PCL และบริษทั ยอย อืน่ ๆของบริษทั แม (ยกเวนบริษทั ) สวนการลงทุนใน ประเทศไทย และเขตอาเซียน รวมถึงประเทศอืน่ ๆ จะดําเนินการในลักษณะคลายคลึงกันโดย PTL หรือบริษทั ยอยซึง่ บริษทั มีหนุ ใหญอยู ทัง้ นี้ การลงทุนใดๆดังกลาว ตองขึน้ อยูก บั ความเพียงพอของแหลงเงินทีจ่ ะใชลงทุน/ความสามารถในการขอกูย มื เงินโดยบริษทั ในปจจุบนั /บริษัทที่เห็นสมควรใหดําเนินการตามนโยบายที่วางไว 5.13

ความเสี่ยงดานเครดิต ความเสีย่ งดานเครดิตของลูกคาเปนปจจัยความเสีย่ งทีส่ าํ คัญปจจัยหนึง่ ในการทําธุรกิจใดก็ตาม บริษทั บริหาร ความเสี่ยงโดยการใชนโยบายและวิธีการควบคุมเครดิตอยางเหมาะสม การจําหนายสินคาแบบใหระยะเวลา เครดิตแกลกู คาสวนใหญจะไดรบั การคุม ครองจากเล็ตเตอรออฟเครดิตทีอ่ อกโดยลูกคา หรือดวยการคุม ครอง จากการทําประกันเครดิตตามความเหมาะสม สําหรับ การจําหนายภายใตสภาวะเศรษฐกิจในปจจุบนั บริษทั ไดใช ความระมัดระวังมากเปนพิเศษในการคัดเลือกลูกคาใหม ๆและการใหระยะเวลาเครดิตในการซือ้ สินคาของลูกคา

052


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

โครงการในอนาคต 6.1.

ปจจุบันบริษัทฯ มีโครงการขนาดเล็กสองโครงการที่กําลังดําเนินการอยู โดยโครงการหนึ่งอยูที่ประเทศไทย และอีกโครงการหนึ่งอยูที่บริษัทยอยในประเทศสหรัฐอเมริกา 6.1.1. สายการผลิตแผนฟลมเคลือบอลูมิเนียม - ประเทศสหรัฐอเมริกา เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2559 คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมตั กิ ารลงทุนเพือ่ การทดแทนสําหรับเครือ่ ง เคลือบอลูมเิ นียม (Metallizer) และ เครือ่ งตัด (Slitter) ทีบ่ ริษทั โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี (PUL) รายละเอียดโครงการ  เงินลงทุนในโครงการทั้งหมดเทากับประมาณ 3.4 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา  กําลังการผลิตสําหรับแผนฟลมเคลือบอลูมิเนียมใหมเทากับ 6,000 ตันตอป  แหลงที่มาของเงินลงทุนในโครงการจะมาจากกระแสเงินภายในของบริษัทเอง  คาดวาจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชยในเดือนมีนาคม 2561 เหตุผลในการลงทุน  ชวยให PUL สามารถสรางความแตกตางจากการปรับปรุงผลิตภัณฑ/ สวนผสมทางดานลูกคา เพื่อสรางผลกําไรที่ดีกวาอัตรากําไรเฉลี่ยของอุตสาหกรรมนี้  โดยปกติแลว แผนฟลมเคลือบโลหะจะใหผลตอบแทนที่ดีกวาแผนฟลมธรรมดา  ดวยสินทรัพยที่ดีและทันสมัย จะชวยใหบริษัทสามารถรักษาความสามารถในการแขงขันใน ตลาดตอไปได 6.1.2. สายการผลิตแผนฟลม Blown PP สายที่ 2 - ประเทศไทย เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2560 คณะกรรมการมีมติอนุมตั กิ ารลงทุนในสายการผลิตแผนฟลม Blown PP ใหม (สายที่ 2) ที่ประเทศไทย รายละเอียดโครงการ  เงินลงทุนในโครงการทั้งหมดคาดวาเทากับประมาณ 4.4 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา  กําลังการผลิตแผนฟลม Blown PP จะเทากับ 4,200 ตันตอป  แหลงที่มาของเงินลงทุนในโครงการจะมาจากกระแสเงินภายในของบริษัทเอง  คาดวาจะเริ่มการผลิตเชิงพาณิชยในเดือนมิถุนายน 2561 เหตุผลในการลงทุน  เพิม่ กลุม ผลิตภัณฑและการกระจายความเสีย่ งดวยการเพิม่ สัดสวนการขายของสินคาทีม่ มี ลู คาเพิม่  การเขาถึงตลาด /ลูกคาทีด่ ขี นึ้ ดวยประสบการณทพี่ ฒ ั นาขึน้ จากสายการผลิตแผนฟลม Blown PP สายที่ 1  การเขาสูก ลุม เปาหมายใหม / การประยุกตใชใหม ซึง่ บริษทั ไมสามารถดําเนินการอยางเต็มทีไ่ ด ในปจจุบันเนื่องจากมีขอจํากัดดานกําลังการผลิต

6.2.

คาใชจา ยลงทุนอืน่ ๆ ในความพยายามอยางตอเนื่องที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ลดการสูญเสีย พัฒนาผลิตภัณฑ และยก ระดับการควบคุมคุณภาพ บริษทั และบริษทั ยอยในตุรกี/สหรัฐอเมริกาไดมกี ารวางแผนคาใชจา ยลงทุนขนาดเล็ก /กลางหลายรายการโดยตัง้ อยูบ นพืน้ ฐานของการวิเคราะหเปรียบเทียบตนทุนและผลประโยชนตอบแทน (cost benefit analysis) แลว เงินลงทุนโดยรวมของโครงการเหลานั้นในชวง 12 เดือนขางหนาคาดวาจะเทากับ ประมาณ 200 -300 ลานบาทซึง่ รวมถึงคาประกันภัยตามปกติและคาอุปกรณเบ็ดเตล็ดเพือ่ การดูแลเครือ่ งจักร

053


กรณีพ�พาททางกฎหมาย -ไมม-ี

โครงสร างผู ถือหุ น 8.1

โครงสรางการถือหุน 8.1.1 หลักทรัพย บริษัทมีทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ทั้งสิ้น 900 ลานบาท ชําระแลวเทากับ 900 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 900 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท 8.1.2 โครงสรางผูถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เปนดังนี้ โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด (PCL) โพลีเพล็กซ(เอเชีย)พีทอี ี ลิมเิ ต็ด (PAPL) ประชาชนทัว่ ไป รวม โครงสรางผูถือหุนของ PCL ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เปนดังนี้ ชือ่ ผูถ อื หุน กลุม ผูก อ ตัง้ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนทีม่ ใิ ชสถาบัน ( ประชาชนชาวอินเดียทัว่ ไป) ผูถ อื หุน อืน่ ๆ รวมทัง้ สิน้

หุน สามัญ 154,710,000 304,290,000 441,000,000 900,000,000

% 17.19 33.81 49.00 100.00 % 50.03 8.49 31.42 10.06 100.00

ผูถือหุนหลัก (รอยละ 100) ของ โพลีเพล็กซ (เอเชีย) พีทีอี ลิมิเต็ด (PAPL) คือ โพลีเพล็กซ คอรปอเรชั่น ลิมิเต็ด (PCL) โดยทั้ง PCL และ PAPL เปนผูถือหุนของบริษัทในสัดสวน รอยละ 51

054


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

นโยบายการจ ายเง�นป นผล ตามนโยบายการจายเงินปนผลที่ระบุในหนังสือชี้ชวน บริษัทจายเงินปนผลในอัตราประมาณ รอยละ 40 ของกําไร สุทธิในแตละป โดยพิจารณาปจจัยตางๆประกอบดวย สภาวะเศรษฐกิจ แผนการขยายธุรกิจ โอกาสในการปรับปรุง ประสิทธิภาพตางๆในอนาคตฐานะการเงินและสภาพคลองของบริษัท ตลอดจนจะตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุม ผูถือหุนของบริษัท สําหรับปบัญชี 2559-60 คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควรเสนอจายเงินปนผลในอัตรา 0.36 บาท ตอหุนตอที่ประชุม ผูถือหุนประจําป 2560 เพื่อพิจารณาอนุมัติ แผนภูมิตอไปนี้แสดงการจายเงินปนผลของบริษัทในปที่ผานมานับตั้งแตบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยเมื่อ เดือนธันวาคม 2547 เปนตนมา

* ไมมีการจายเงินปนผล สําหรับปบัญชี 2556-57 และปบัญชี 2558-59 เนื่องจากบริษัทมีผลขาดทุนสุทธิในงบการเงินรวม

055


โครงสร างการจัดการ โครงสรางองคกร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560* เปนดังนี้

* ผูบ ริหารระดับสูงดานการเงินของบริษทั ยอยในประเทศตุรกี ไดยา ยมาประจําทีป่ ระเทศไทยเปนผูบ ริหารระดับสูงดานการเงินคนใหม และหัวหนาฝายบัญชีและการเงิน (กรุงเทพ) และหัวหนาฝายบัญชีและการเงิน (ระยอง) จะรายงานกับผูบ ริหารระดับสูงดานการเงินเมือ่ เขารับ ตําแหนงใหมทปี่ ระเทศไทย

บริษัทมีคณะกรรมการ ไดแก คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทมีขอกําหนดใหมีคณะกรรม การอื่นๆไดตามความจําเปนซึ่งแตงตั้งโดยผูถือหุนหรือ คณะกรรมการบริษัท ซึ่งคณะกรรมการบริษัทและผูบริหาร ของบริษทั ประกอบไปดวย ผูท รงคุณวุฒทิ มี่ คี ณ ุ สมบัตเิ ปนไปตาม มาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยที่ กจ. 12/2543 เรื่อง การขอ อนุญาตและการอนุญาตใหเสนอขายหุน สามัญที่ออกใหม ลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 ทุกประการ

056


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

รายละเอียดของคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการตรวจสอบ ดังตอไปนี้ 10.1 คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 คณะกรรมการบริษัทประกอบดวย กรรมการจํานวน 8 ทานดังนี้ 1. นายมนู เลียวไพโรจน ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ 2. ดร.วีรพงษ รามางกูร กรรมการ (และกรรมการตรวจสอบ) 3. นายซีราช อีรัช ปุณวาลา กรรมการ (และกรรมการตรวจสอบ) 4. นายซันจีฟ ซาราฟ รองประธานกรรมการ 5. นายประพัฒน โพธิวรคุณ กรรมการ 6. นายปราเนย โกธารี กรรมการ 7. นายมานิตย กุปตา กรรมการ 8. นายอมิต ปรากาซ กรรมการผูจัดการ มี นางสุปรีตรา ไปร กาสทูรี เปนเลขานุการคณะกรรมการบริษัท ผูมีอํานาจลงนาม กรรมการทานใดทานหนึ่งในจํานวนกรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัท 4 ทาน ประกอบดวย นายซันจีฟ ซาราฟ นายปราเนย โกธารี นายมานิตย กุปตา และนายอมิต ปรากาซ ลงลายมือชื่อและประทับตราสําคัญ ของบริษัท อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการมีอาํ นาจและหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบในการจัดการบริษทั ใหเปนไปตามกฎหมายวัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถือหุนที่ชอบดวยกฎหมายดวยความซื่อสัตยสุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท โดยสรุปอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ ที่สําคัญไดดังนี้ 1. จัดใหมกี ารประชุมผูถ อื หุน เปนการประชุมสามัญประจําป ภายใน 4 เดือน นับแตวนั สิน้ สุดรอบระยะเวลา บัญชีของบริษัท 2. จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการอยางนอยทุกไตรมาสปฏิทิน 3. จัดใหมกี ารทํางบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนของบริษทั ณ วันสิน้ สุดรอบระยะเวลาบัญชีของ บริษัท ซึ่งผูสอบบัญชีตรวจสอบแลว และนําเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาและอนุมัติ 4. คณะกรรมการอาจมอบอํานาจใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอยาง หนึ่งอยางใดแทนคณะกรรมการได โดยอยูภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจ เพือ่ ใหบคุ คลดังกลาวมีอาํ นาจตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการเห็น สมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแกไขบุคคลที่ไดรับมอบอํานาจ หรืออํานาจนั้น ๆ ไดเมื่อเห็นสมควร ทั้งนี้คณะกรรมการอาจมอบอํานาจ ใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงานตาง ๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขต อํานาจหนาที่ ของคณะกรรมการบริหาร ซึ่งการมอบ อํานาจนัน้ ตองไมมลี กั ษณะเปนการมอบอํานาจทีท่ าํ ใหคณะกรรมการบริหารสามารถพิจารณาและอนุมตั ิ รายการที่คณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีสวนไดเสีย หรือมีความขัดแยงทางผล ประโยชนอื่นใดทํากับบริษัท หรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบายและ หลักเกณฑที่คณะกรรมการพิจารณาและอนุมัติไวแลว

057


5. กําหนดเปาหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของบริษัท ควบคุม กํากับดูแลการบริหาร และการจัดการของคณะกรรมการบริหารใหเปนไปตามนโยบายทีไ่ ดรบั มอบหมาย เวนแตในเรือ่ งดังตอไปนี้ คณะกรรมการตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนกอนการดําเนินการ อันไดแกเรื่องที่กฎหมาย กําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน เชน การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุนกู การขาย หรือโอนกิจการของบริษัททั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญให แกบุคคลอื่น หรือการซื้อ หรือรับโอนกิจการ ของบริษัทอื่นมาเปนของบริษัท การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ หรือขอบังคับ เปนตน นอกจากนี้ คณะกรรมการยังมีขอบเขตหนาทีใ่ นการกํากับดูแล ใหบริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลัก ทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย อาทิเชน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกันและ การซื้อหรือขายทรัพยสินที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 6. พิจารณาโครงสรางการบริหารงาน แตงตั้งคณะกรรมการบริหารประธาน เจาหนาที่บริหาร และคณะ กรรมการอื่นตามความเหมาะสม 7. ติดตามผลการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนงานและงบประมาณอยางตอเนื่อง 8. กรรมการจะตองไมประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขัน กับกิจการของบริษัท หรือเขาเปนหุนสวนในหางหุนสวนสามัญ หรือเปนหุนสวนไมจํากัดความรับผิดในหางหุนสวนจํากัด หรือเปนกรรมการของบริษทั เอกชน หรือบริษทั อืน่ ทีป่ ระกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการ แขงขันกับกิจการของบริษัทไมวาจะทําเพื่อประโยชนตนหรือเพื่อประโยชนผูอื่น เวนแตจะไดแจงใหที่ ประชุมผูถือหุนทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้งกรรมการ 9. กรรมการตองแจงใหบริษัททราบโดยไมชักชา หากมีสวนไดเสียไมวาโดยตรง หรือโดยออมในสัญญาที่ บริษัททําขึ้นหรือถือหุนหรือหุนกูเพิ่มขึ้นหรือลดลง ในบริษัทหรือบริษัทในเครือ 10.2

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบดวย 1. นายมนู เลียวไพโรจน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. ดร.วีรพงษ รามางกูร กรรมการตรวจสอบ 3. นายซีราช อีรัช ปุณวาลา กรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสุปรีตรา ไปร กาสทูรี เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษทั มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอโดยประสานงานกับผูส อบบัญชีและ ผูบริหารที่รับผิดชอบจัดทํารายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาสและประจําป คณะกรรมการตรวจสอบ อาจเสนอแนะใหผูสอบบัญชีสอบทานหรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นวาจําเปนและเปนเรื่องสําคัญใน ระหวางการตรวจสอบบัญชีของบริษัทได 2. สอบทานใหบริษทั มีระบบการควบคุม ภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพโดยสอบทาน รวมกับผูสอบบัญชีและ ผูตรวจสอบภายใน

058


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

3. สอบทานใหบริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตัง้ และเสนอคาตอบแทนผูส อบบัญชีของบริษทั โดย คํานึงถึงความนาเชือ่ ถือ ความเพียงพอของทรัพยากรและปริมาณงานตรวจสอบของบริษัทผูสอบบัญชีนั้น รวมถึงประสบการณ ของบุคลากรที่ไดรับมอบหมาย ใหทําการตรวจสอบบัญชีของบริษัท และการประชุมกับผูสอบบัญชีเมื่อ มีความจําเปน โดยไมจําเปนตองมีคณะกรรมการบริหารหรือผูบริหารของบริษัท 5. พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความขัด แยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองและครบถวน 6. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบดวย เชน ทบทวน นโยบายการบริหารทางการเงินและการบริหารความเสีย่ ง ทบทวนการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณทางธุรกิจของ ผูบริหารของบริษัทในรายการสําคัญๆ ที่ตองเสนอสาธารณชนตามที่กฎหมายกําหนด ไดแก บทรายงาน และการวิเคราะหของฝายบริหาร เปนตน 7. จัดทํารายงานการสอบทานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงาน ประจําปของ บริษัทซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งใหความเห็นเกี่ยวกับ (ก) กระบวนการจัดทําและ การเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงิน ถึงความถูกตองครบถวนและ เชื่อถือได (ข) ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (ค) เหตุผลที่เชื่อวา ผูสอบบัญชีของ บริษัทเหมาะสมที่จะไดรับการแตงตั้งตอไปอีกวาระหนึ่ง (ง) การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท และรายงานอื่นใดที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบภายใตขอบเขตหนาที่ และความรับผิด ชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 8. รายงานการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการทราบเปนประจําอยาง นอยไตรมาส ปฏิทินละหนึ่งครั้ง 9. ร ว มให ค วามเห็ น ในการพิ จ ารณาผลงาน การแต ง ตั้ ง การถอดถอน และกํ า หนดค า ตอบแทนของ ผูตรวจสอบภายใน

059


10.3

ผูบริหาร ในชวงป 2559-60* ผูบริหารของบริษัทมีทั้งสิ้น 9 คน ดังนี้ 1. นายอมิต ปรากาซ กรรมการผูจัดการ 2. นายราเมช กุปตา หัวหนาธุรกิจ – แผนฟลมเคลือบอัดขึ้นรูป 3. นายซันเจย กุมาร จา หัวหนา – ฝายปฏิบัติการ 4. นายอาชิช กุมาร โกช หัวหนา – ฝายการขายและการตลาด 5. นายอนุรักษ บาเฮติ หัวหนา – ฝายบัญชีและการเงิน, ระยอง 6. นางสุปรีตา ไปร กาสทูรี หัวหนา – ฝายบัญชีและการเงิน, กรุงเทพฯ 7. นายอังกูร อาการวาล หัวหนา – ฝาย Supply Chain Management 8. นายจักรกฤต ศรีสมุทรนาค หัวหนา – ฝายบุคคลและธุรการ 9. นายอนุบาฟ หัวหนาธุรกิจแผนฟลม CPP & Blown PP * ผูบริหารระดับสูงดานการเงินของบริษัทยอยในประเทศตุรกี ไดยายมาประจําที่ประเทศไทยเปนผูบริหารระดับสูงดาน การเงินคนใหม และหัวหนาฝายบัญชีและการเงิน (กรุงเทพ) และหัวหนาฝายบัญชีและการเงิน(ระยอง) จะรายงานกับผู บริหารระดับสูงดานการเงินเมื่อเขารับตําแหนงใหมที่ประเทศไทย

อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการ 1. ควบคุมดูแลการดําเนินกิจการและ/หรือบริหารงานประจําวันของบริษัท 2. ดําเนินการหรือปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะ กรรมการและคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท 3. เปนผูร บั มอบอํานาจของบริษทั ในการบริหารกิจการของบริษทั ใหเปนตาม วัตถุประสงค ขอบังคับนโยบาย ระเบียบ ขอกําหนด คําสัง่ มติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน และ/หรือมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ทุกประการ 4. มีอํานาจแตงตั้งและบริหารงานคณะทํางานตาง ๆ เพื่อประโยชนและประสิทธิภาพ ของการจัดการที่ดี และโปรงใส และใหมีอํานาจในการมอบอํานาจชวงและ/หรือ มอบหมายใหบุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะ อยางแทนได โดยการมอบอํานาจชวง และ/หรือการมอบหมายดังกลาวใหอยูภายใตขอบเขตแหงการ มอบอํานาจตามมติที่ประชุมคณะกรรมการนี้ และ/หรือเปนไปตามระเบียบขอกําหนด หรือคําสั่งที่คณะ กรรมการของบริษัท และ/หรือบริษัทไดกําหนดไว 5. กําหนดภารกิจ วัตถุประสงค แนวทางนโยบายของบริษัทเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดขององคกร 6. ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของบริษทั อยางสมํา่ เสมอ เพือ่ ปองกันความเสีย่ งจากปจจัยตาง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกบริษัท 7. มีอํานาจพิจารณาอนุมัติการใชจายเงินในการดําเนินการตามปกติธุรกิจของบริษัท 8. มีอํานาจพิจารณาวาจางพนักงาน และบรรจุแตงตั้ง ตลอดจนการโอนโยกยายขามสายงาน/ฝาย/แผนก หรือการพนจากการเปนพนักงาน กําหนดอัตราคาจาง คาตอบแทนเงินโบนัส รวมถึงสวัสดิการ เกี่ยวกับ พนักงานทั้งหมดของบริษัท

060


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

9. มีอาํ นาจออกคําสัง่ ระเบียบ ประกาศ บันทึกเพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านเปนไปตาม นโยบายและผลประโยชน ของบริษัท และเพื่อรักษาระเบียบวินัยการทํางานภายใน องคกร 10. ปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทเปนคราว ๆ ไป ทั้งนี้ อํานาจตลอดจนการมอบอํานาจแกบุคคลอื่นที่เห็นสมควร จะไมรวมถึงอํานาจและ/หรือการมอบ อํานาจในการอนุมัติ (i) รายการใดที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชนกับ บริษัทหรือบริษัทยอย (ii) รายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสียหรือผลประโยชน ในลักษณะอื่นใดขัดแยงกับ บริษัท หรือบริษัทยอยตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะ ดังกลาว จะตองเสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการและ/หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาและอนุมตั ริ ายการ ดังกลาวตามที่ขอบังคับของบริษัทหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนด 10.4

บทบาทหนาที่เลขานุการบริษัท บริษัทไดแตงตั้ง นางสุปรีตรา ไปร กาสทูรีเปนเลขานุการบริษัท มีคุณสมบัติเปนผูสอบบัญชีจากสถาบันการ บัญชีของประเทศอินเดีย ซึง่ เปนผูท มี่ คี ณ ุ วุฒเิ หมาะสมและมีประสบการณทางดานดังกลาว และทําหนาทีเ่ ปน เลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบดวย เลขานุการบริษัทมีหนาที่และรับผิดชอบหลักไดแก  จัดการประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการประชุมผูถ อื หุน ใหเปนไปตาม กฎหมาย ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของ  จัดทําวาระการประชุม/เอกสารตางๆ สําหรับการจัดประชุมตางๆ ขางตน และจัดสงแกสมาชิกทีเ่ กีย่ วของ ลวงหนาประมาณ 1 สัปดาหกอนการประชุม เพื่อมีเวลาเพียงพอในการสอบทานเอกสาร  บันทึกรายงานการประชุมดังกลาวขางตน รวมทั้งติดตามใหมีการปฏิบัติตามมติที่ประชุมดังกลาว  ดูแลการเปดเผยขอมูลแกหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ (ตลาดหลักทรัพย/ก.ล.ต. และหนวยงานอื่นๆที่ เกี่ยวของ) ใหเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของ  หนาที่และความรับผิดชอบตางๆ นอกเหนือจากที่กลาวขางตนเปนไปตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะ กรรมการเปนครั้งคราว

10.5

การแตงตั้งคณะกรรมการบริษัท, กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษทั ไมมคี ณะกรรมการสรรหา ในการคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะแตงตัง้ เปนกรรมการของบริษทั อยางไรก็ ตามคณะ กรรมการจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกตามประสบการณ ความรู ความสามารถและตองมีคุณสมบัติตามเกณฑ ของพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศของ สํานักงาน ก.ล.ต. และหนวยงานที่ เกีย่ วของ ตลอดจน ตามขอบังคับของบริษทั โดยจะเสนอตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน และดําเนินการตามกระบวนการ เลือกตั้งตามขอบังคับบริษัทดังตอไปนี้ 1) การสรรหาคณะกรรมการ ก) บริ ษั ท ต อ งมี ค ณะกรรมการคณะหนึ่ ง ประกอบด ว ยกรรมการอย า งน อ ย ห า (5) คน และให คณะกรรมการเลือกตัง้ กรรมการดวยกันเปนประธานกรรมการ และอาจเลือกรองประธานกรรมการ และตําแหนงอื่นตามที่เห็นเหมาะสมดวยก็ได และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการ ทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร ผูเปนกรรมการของบริษัทตองไมเปนผูถือหุนของบริษัท

061


ข) ใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ ก. ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทาจํานวนหุนที่ตนถือ ข. ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการ ก็ไดในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอย เพียงใดไมได ค. บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปน กรรมการเทา จํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งใน ลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้ง นั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด ค) ในการประชุมสามัญประจําปทกุ ครัง้ กรรมการจะตองออกจากตําแหนงอยางนอย จํานวนหนึง่ ในสาม (1/3) โดยอัตรา ถาจํานวนกรรมการจะแบงออกใหเปนสามสวน ไมไดก็ใหออกโดยจํานวน ใกลเคียง ที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม (1/3) ง) กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรก และปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นใหจับสลาก วาผูใดจะออก สวนปหลัง ๆ ตอไป ใหกรรมการที่อยูในตําแหนงนานที่สุดเปนผูออกจากตําแหนง กรรมการผูออกจากตําแหนงไปนั้น อาจจะเลือกเขารับตําแหนงอีกก็ได 2) การสรรหาคณะกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระอยางนอย 3 คน โดยมีวาระอยูใ นตําแหนงคราวละ 2 ป บริษัทมีนโยบายในการสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ใหสอดคลองกับประกาศคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่ กจ. 12/2543 เรื่องการขออนุญาตและการอนุญาต ใหเสนอขายหุนที่ออกใหม โดยจะตองมี คุณสมบัติ ดังนี้ ก) ถือหุน ไมเกินรอยละหาของจํานวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวมหรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ข) ไมเปนลูกจางพนักงานที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแยง ค) ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่ เปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตรรวมทั้งคูสมรส ของบุตรของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือ บุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย ง) ไมมคี วามสัมพันธทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวมหรือ นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใช วิจารณญาณอยางอิสระของตน และไมมีลักษณะอื่นใดที่ ทําใหไมสามารถให ความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท นอกจากนี้ กรรมการอิสระอยางนอยหนึ่งคนที่ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการตรวจสอบ จะตองเปน บุคคลที่มีความรูและประสบการณดานการบัญชี หรือการเงินเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการสอบ ทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได รวมทั้งบริษัทจะพิจารณาคุณสมบัติในดานอื่น ๆ ประกอบดวย เชน ประสบการณในธุรกิจ ความเชีย่ วชาญเฉพาะทางทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจ ความมีจริยธรรม ทัง้ นีเ้ พือ่ ประโยชนสงู สุด ของบริษัท

062


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

สําหรับหลักเกณฑและวิธกี ารแตงตัง้ กรรมการตรวจสอบเปนไปตามหลักเกณฑและวิธกี ารแตงตัง้ กรรมการบริษทั กรรมการตรวจสอบซึง่ พนจากตําแหนงตามวาระทุก ๆ 2 ป อาจไดรบั การแตงตัง้ ใหกลับมาดํารงตําแหนง ใหมได กรณีที่ตําแหนงกรรมการตรวจสอบ วางลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการบริษัทแตงตั้ง บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนเปน กรรมการตรวจสอบมีจํานวนครบตาม ทีค่ ณะกรรมการ บริษทั กําหนด โดยบุคคลทีเ่ ปนกรรมการตรวจสอบแทนจะอยูใ นตําแหนง ไดเพียงวาระ ที่เหลืออยูของกรรมการ ตรวจสอบซึ่งตนทดแทน 10.6

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ก. คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน กรรมการ กอนการแปลงสภาพเปนบริษัทมหาชน บริษัทมีกรรมการจํานวน 5 ทาน กรรมการดังกลาว ไมไดรับคาเบี้ย ประชุมแตอยางใด นับตัง้ แตบริษทั แปลงสภาพเปนบริษทั มหาชน ในป 2547 บริษทั มีกรรมการจํานวน 8 ทาน ในปบัญชี 2559-60 บริษัทจายคาตอบแทนใหแกกรรมการอิสระ จํานวนทั้งหมด 4,200,000 บาท ตามที่ได รับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนจํานวนทั้งหมด 4,200,000 บาท ดังราย ละเอียดดานลางนี้ จํานวนเงินทีไ่ ดรบั อนุมตั ิ จํานวนทีจ่ า ยจริง ลําดับที่ รายชือ่ กรรมการ (บาทตอป) (บาทตอป) 1. นายมนู เลียวไพโรจน 1,500,000 บาท 1,500,000 บาท 2. ดร. วีรพงษ รามางกูร 900,000 บาท 900,000 บาท 3. นายประพัฒน โพธิวรคุณ 900,000 บาท 900,000 บาท 4. นายซีราช อีรชั ปุณวาลา 900,000 บาท 900,000 บาท นอกจากคาตอบแทนทีก่ ลาวขางตน คณะกรรมการตรวจสอบแตละทานมีสทิ ธิไดรบั เบีย้ ประชุมจํานวน 10,000 บาทตอครั้ง ซึ่งเปนไปตามที่ไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนเมื่อเดือนกรกฎาคม 2559 สําหรับปบัญชี 2560-61 ไดเสนอใหกําหนดคาตอบแทนจํานวน 100,000 บาทตอเดือน แกกรรมการอิสระ ทั้งหมดดังตอไปนี้ 1. นายมนู เลียวไพโรจน 2. ดร. วีรพงษ รามางกูร 3. นายประพัฒน โพธิวรคุณ 4. นายซีราช อีรัช ปุณวาลา นายมนู เลียวไพโรจน ในฐานะประธานคณะกรรมการบริษทั และประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ มีสทิ ธิได รับคาตอบแทนเพิ่มจํานวน 25,000 บาทตอเดือนสําหรับตําแหนง แตละตําแหนงดังกลาว สําหรับคณะกรรมการตรวจสอบกรรมการแตละทานมีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมจํานวน 10,000 บาท ตอครั้ง คาตอบแทนดังกลาวขางตนสําหรับกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบจะนํา เสนอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2560 เพื่อพิจารณาและอนุมัติตอไป

063


ตารางตอไปนีเ้ ปนรายละเอียดคาตอบแทนสําหรับผูบ ริหารโดยรวมคาตอบแทนของกรรมการบริหาร 1 ทาน คาตอบแทน (พันบาท) จํานวนผูบ ริหาร เงินเดือน (พันบาท) เงินโบนัสและอืน่ ๆ (พันบาท) รวม

2555-56 2556-57 2557-58 2558-59 2559-60 (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) 7* 11,113 14,576 25,689

6* 13,201 18,503 31,704

6* 11,422 16,612 28,034

5 11,232 21,627 32,859

9 16,397 19,071 35,468

*รวมบางทานซึ่งเปนระยะเวลาชวงหนึ่งของปเทานั้น

ข.

10.7

คาตอบแทนอื่น กรรมการ -ไมมี ผูบริหาร -ไมมี -

บุคลากร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทมีพนักงานรวม 645 คน แบงเปนพนักงานที่ทํางานประจําโรงงานจังหวัด ระยอง จํานวน 638 คน และ พนักงานทีป่ ระจําอยูท สี่ าํ นักงานใหญ ในกรุงเทพฯ จํานวน 7 คน รวมทัง้ บริษทั ยังมีพนักงานทีไ่ มไดถอื สัญชาติไทยจํานวน 36 คน โดยพนักงาน 2 คน ประจําอยูท สี่ าํ นักงานใหญในกรุงเทพฯ และอีก 34 คนทํางานประจําอยูที่จังหวัดระยอง จํานวนพนักงาน ฝาย ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 มี.ค. 31 มี.ค. 31 มี.ค. 31 มี.ค. 31 มี.ค. 2556 2557 2558 2559 2560 1. ผูบ ริหาร 7 5* 4* 5 9 2. ฝายผลิต 180 206 183 239 250 3. ฝายการพาณิชย,สารสนเทศ,บุคคล 46 49 51 47 41 และบริหาร 4. ฝายขายและการตลาด 26 33 36 30 18 5. ฝายโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก 34 38 37 37 39 6. ฝายโรงงานผลิตแผนฟลม เคลือบโลหะ 35 39 54 49 47 7. ฝายโรงงานผลิตแผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป 70 76 81 74 61 8. ฝายโครงการคาสทโพลิโพรพิลนี 53 55 52 46 54 9. ฝายโครงการแผนฟลม เคลือบซิลโิ คน 54 54 43 42 39 10. ฝายโครงการแผนฟลม PET ชนิดหนา 70 86 84 70 71 11. ฝายโครงการแผนฟลม Blown PP 2 9 18 16 16 รวม 577 650 643 655 645 *ไมรวมผูซึ่งดํารงตําแหนงเพียงระยะเวลาชวงหนึ่งของปเทานั้น

064


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

คาตอบแทนพนักงานไมรวมผูบริหาร 2555-56 2556-57 2557-58 (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) (เม.ย.-มี.ค.) จํานวนพนักงาน 572 650 643 เงินเดือนและคาจาง 151,656 199,476 227,926 คาลวงเวลา 18,120 27,286 30,365 เงินโบนัส 30,851 33,603 36,503 เงินกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ* 4,338 4,666 5,370 อืน่ ๆ 79,809 86,208 108,483 รวม 284,774 351,239 408,647 คาตอบแทน

2558-59 (เม.ย.-มี.ค.) 650 208,124 29,452 27,917 5,338 88,894 359,725

หนวย: พันบาท 2559-60 (เม.ย.-มี.ค.) 636 193,631 31,137 44,088 5,238 87,880 361,974

* บริษัทเริ่มจายเงินสมทบเขากองทุนสํารองเลี้ยงชีพตั้งแตเดือนกันยายน 2547

เงินสะสมของลูกจางและเงินสมทบของนายจางเทากับรอยละ 4 จนกระทัง่ ป 2553-54 ตัง้ แตปบ ญ ั ชี 2554-55 บริษทั ไดมกี ารปรับเงินสมทบเขากองทุนสํารองเลีย้ งชีพใหม ซึง่ จะขึน้ อยูก บั ระยะเวลาในการทํางาน สงผลให เงินสมทบของนายจางเทากับรอยละ 4 ถึงรอยละ 7 ทั้งนี้ในปที่ผานมาบริษัทไมมีขอพิพาทดานแรงงานใดๆ นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทตระหนักถึงความสําคัญของพนักงานเนื่องจากพนักงานถือเปนสินทรัพยที่มีคาและมีสวนสําคัญใน ความสําเร็จและการเติบโตของบริษัท ดังนั้นบริษัทจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาประสิทธิภาพความรูและทักษะ ของพนั ก งานในทุ ก ระดั บ โดยจั ด ให มี โ ครงการฝ ก อบรมเป น ระยะๆ หลายโครงการ โครงการฝ ก อบรมจัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาการทํางานในดานตางๆ เชน ทักษะความรูความสามารถในงานการทํางานเปน ทีม การเสริมสรางทักษะความเปนผูน าํ เทคนิคการบริหารเวลา เปนตน ซึง่ ทําใหชวี ติ การทํางานของ พนักงานดีขนึ้ โดยไดนําเสียงสะทอนหรือขอคิดเห็น จากพนักงานที่เขารับการฝกอบรมมาใชในการ ปรับปรุงคุณภาพของ การจัดฝกอบรม และสัมมนาในอนาคตใหดียิ่งๆขึ้นไป

065


การกํากับดูแลกิจการ 11.1

หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 11.1.1 นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ บริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดีและมีความมุงมั่นอยางยิ่งที่จะดําเนินธุรกิจตาม แนวหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด บริษัทมีความเชื่อมั่นใน การดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส (Transparency) ความรับผิดชอบ (Accountability) และจรรยาบรรณ (Ethical Conduct) บริษทั ฯ ใหความสําคัญในการนําระบบ การควบคุมและการตรวจสอบภายในทีเ่ ขมงวดมาใช นอกจากนี้ยังไดกําหนดนโยบาย การบริหารความเสี่ยงตางๆโดยใหความสําคัญกับการรักษาความสัมพันธที่ ดีและมีจริยธรรมทางธุรกิจกับคูคา ผูถือหุนและทุกฝายที่เกี่ยวของ 11.1.2 สิทธิของผูถือหุน บริษัทเล็งเห็นความสําคัญของสิทธิที่เทาเทียมกันของผูถือหุนทุกคน และถือวาผูถือหุนทุกคนเปนเจาของ บริษัท ไมวาจะมีสัดสวนการถือครองหุนเทาใดก็ตาม บริษทั มีนโยบายในการรายงานความคืบหนาของการดําเนินงานตอผูถ อื หุน อยางสมํา่ เสมอ ไมวา โดยการรายงาน โดยตรงหรือผานตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือโดยการใหขอมูล ทางเว็บไซตของบริษัทหลังจากที่ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแลว บริษทั จะสงหนังสือ เชิญประชุมถึงผูถ อื หุน ทุกคนรวมทัง้ วาระการประชุม และเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของลวงหนา 14 วัน โดยจะเชิญชวนใหผูถือหุนเขารวมการ ประชุมและจะบันทึก ความเห็น และขอเสนอ แนะของผูถือหุน ไวในบันทึกการประชุม รวมทั้งใหมีการติดตามผลดวย นอกจากนี้ ผูถือหุนยังมีสิทธิตอไปนี้ในที่ประชุมผูถือหุน  การแตงตั้งกรรมการที่ออกตามวาระและการกําหนดคาตอบแทนกรรมการ  การแตงตั้งผูสอบบัญชีและการกําหนดคาตอบแทนผูสอบบัญชี  การอนุมัติจายเงินปนผล 11.1.3 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย โพลีเพล็กซใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกฝายอยางเทาเทียมกัน ไดแก  พนักงาน : บริษัทเห็นวาพนักงานของบริษัทเปนทรัพยสินที่ทรงคุณคาขององคกร มีความสําคัญยิ่งตอ ความสําเร็จและการเติบโตขององคกร บริษัทมีความมุงมั่นที่จะสรางบรรยากาศการทํางานที่มีคุณภาพ โดยเนนเปนพิเศษในเรือ่ งความปลอดภัย และผลตอบแทนทีเ่ ทาเทียมและเปนธรรม ทัง้ นี้ นอกเหนือจาก การใหเงินเดือนตามปกติ เงินโบนัสทีอ่ งิ ผลการปฏิบตั งิ าน การสมทบเงินทุนสํารองเลีย้ งชีพ และเงินประกัน สังคม บริษัทยังจัดใหมีผลประโยชนอื่นๆอีกแกพนักงาน เชน คาทํางานลวงเวลา คาที่พัก คาเดินทาง คาโทรศัพท การประกันสุขภาพ การประกันชีวิต เปนตน  คูคา : โพลีเพล็กซมีนโยบายในการสรางและพัฒนาความสัมพันธกับคูคา เพื่อ ผลประโยชนรวมกันตาม แนวทางจริยธรรมทางธุรกิจ อีกทัง้ บริษทั ใหความสําคัญกับความสัมพันธระยะยาวกับพันธมิตรทางธุรกิจ ไมวาจะเปนธนาคารซึ่งสนับสนุนดานธุรกิจการคาระหวางประเทศ (Trade Finance) และเงินกูสําหรับ

066


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

โครงการตางๆ หรือ เครือขายตัวแทนหรือผูจัดจําหนายที่เขมแข็งในภูมิภาคตางๆทั่วโลก ซึ่งชวยในการ พัฒนาตลาดและทําใหการดําเนินธุรกิจของบริษัทเปนไปดวยความราบรื่น  คูแ ขง : โพลีเพล็กซจะดําเนินธุรกิจตามกรอบแหงการแขงขันทีเ่ ปนธรรม และจะพยายามพัฒนาตลาดให เติบโตเพื่อผลประโยชนรวมกันในอุตสาหกรรม  เจาหนี้ : บริษัทจะปฏิบัติตามเงื่อนไขเงินกูและใหขอมูลตางๆ เกี่ยวกับความ คืบหนาในการดําเนินงาน แกเจาหนี้ตามที่รองขอ เพื่อใหการดําเนิน ธุรกิจเปนไปโดยราบรื่น  ลูกคา : โพลีเพล็กซมีความมุงมั่นที่จะสรางความพอใจแกลูกคาโดยการรักษาความแนนอนของคุณภาพ ผลิตภัณฑอยางตอเนื่องและนําเสนอผลิตภัณฑที่มีคุณลักษณะตรงตามความตองการของฐานลูกคาใน ตลาดโลก  ผูถือหุน : โพลีเพล็กซมีความมุงมั่นที่จะดําเนินธุรกิจอยางโปรงใสและ มีประสิทธิภาพ โดยมุงที่จะเพิ่ม มูลคาผลตอบแทนแกผถู อื หุน และยังมีการประเมินการลงทุนในโครงการใหม ๆ อยางรัดกุมเพือ่ ใหมนั่ ใจ วาโครงการจะใหผลตอบแทนที่ดีและเพิ่มคุณคาตอผูถือหุน  ชุมชน/สังคม : โพลีเพล็กซตระหนักดีและใสใจในความปลอดภัยของสังคม สิ่งแวดลอม และคุณภาพ ชีวิตของประชาชน โดยไดเนนการรวมทํากิจกรรมตางๆของชุมชนและสังคม รวมทั้งการปฏิบัติตาม กฎหมาย และกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ บริษัทไดจัดกิจกรรมเปนระยะ ๆ สําหรับการบริจาคโลหิต และยังสนับสนุนใหพนักงานทุกคนเขารวมในการบริจาคโลหิต นอกจากนี้บริษัทยังบริจาคเงินเปนครั้ง คราวเพื่อรวมสมทบทุนแกองคกรที่มีสวนรวมในการบริการชุมชนตาง ๆ 11.1.4 การประชุมผูถือหุน บริษัทจะจัดการประชุมโดยปฏิบัติตอผูเขารวมประชุมทุกคนอยางเทาเทียมกันและใหเปนไปตามขั้นตอน ตามกฎหมายอยางเครงครัด นับแตการออกหนังสือเชิญประชุม การออกใบมอบฉันทะสําหรับผูที่ไมสามารถ เขารวมประชุมได การแจกเอกสารประกอบ การประชุมไปจนถึงการแจงวาระการประชุมใหผเู กีย่ วของทราบ และจะกําหนดสถานที่ และวันเวลาการประชุมทีเ่ หมาะสมมี ระยะเวลาในการประชุมทีเ่ พียงพอใหผถู อื หุน ได ซักถาม เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจและไดแสดง ความคิดเห็น 11.1.5 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการบริษทั มีหนาทีใ่ นการทบทวนแผนงาน วิสยั ทัศน กลยุทธ และนโยบายหลัก โดยมี การจัดสรร งบประมาณใหแกหนวยงานตางๆ และมีการนําระบบ Key Result Areas (KRAs) มาใชกับทุกหนวยงาน เพื่อใหสอดคลองกับผลประโยชนและลําดับความสําคัญ ในองคกร คณะกรรมการจะมีบทบาทสําคัญในการ ทบทวน ผลการปฏิบัติงานตามจริง เปรียบเทียบกับงบประมาณ 11.1.6 ความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัท มีนโยบายในการใหผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมในการตัดสินใจในการดําเนินงานทุกดาน โดยตั้ง อยูบนพื้นฐานแหงผลประโยชนสูงสุดของบริษัท บุคลากรทุกคน มีหนาที่ตองหลีกเลี่ยงการทํารายการและ หรือธุรกรรมอื่นใดที่อาจกอใหเกิดความสูญเสีย ทางการเงินแกบริษัทและผลประโยชนสวนตัวในรูปของเงิน

067


คณะกรรมการตรวจสอบไดรบั มอบหมายใหตดิ ตามและสอบทานระบบ การควบคุมและการตรวจสอบภายใน ใหมี ประสิทธิภาพรวมทั้งใหมีการเปดเผยขอมูลที่เพียงพอ ตามหลักเกณฑของ ตลาดหลักทรัพย และกลต. 11.1.7 จริยธรรมธุรกิจ โพลีเพล็กซไดกาํ หนดจรรยาบรรณใหพนักงานทุกคน โดยเนนการปฏิบตั ติ ามหลักจริยธรรม ความซือ่ สัตยและ ความรับผิดชอบ และสงเสริมใหพนักงานมีความรับผิดชอบตอผูม สี ว นไดเสีย และหนวยงานภายนอกทุกฝาย เพื่อใหเกิดวัฒนธรรมบรรษัทภิบาลที่ดีและความรับผิดชอบ ตอสังคม 11.1.8 นโยบายการรองเรียนและแจงเบาะแสการทุจริต บริษทั ยึดมัน่ ในมาตรฐานขัน้ สูงสุดตามหลักจรรยาบรรณ ศีลธรรม และกฎหมายของการดําเนินธุรกิจ ในการ รักษามาตรฐานเหลานี้ คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายการรองเรียนและแจงเบาะแสการทุจริตเมื่อ เดือนกุมภาพันธ 2558 ซึ่งสงเสริมใหพนักงานที่มีความกังวลเกี่ยวกับการกระทําที่ตองสงสัยวามิชอบแสดง ความกังวลไดโดยปราศจากความกลัววาจะถูกลงโทษหรือไดรับการปฏิบัติอยางไมเปนธรรม นโยบายนี้มุง เปดชองทางใหพนักงานที่พบเห็นการกระทําที่ผิดหลักจรรยาบรรณ (ไมวาจะเปนการฝาฝนกฎหมายหรือไม ก็ตาม) นําเรื่องสูคณะกรรมการพิจารณาการรองเรียนและแจงเบาะแสการทุจริตซึ่งประกอบดวยกรรมการ 4 คนซึ่งเปนผูบริหารหัวหนาสายงานหลักขององคกรและจะเปนผูรายงานเรื่องรองเรียนและเบาะแสที่ไดรับ ตอคณะกรรมการตรวจสอบ 11.1.9 การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการ 8 ทาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ สถานะ กรรมการทีเ่ ปนผูบ ริหาร กรรมการทีไ่ มเปนผูบ ริหาร กรรมการผูแ ทนผูถ อื หุน 1 3 กรรมการอิสระ 1

กรรมการตรวจสอบ 3

11.1.10 การรวมหรือแยกอํานาจหนาที่ ประธานคณะกรรมการบริษทั เปนกรรมการอิสระและเปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ดวย กรรมการ อิสระมีจํานวนคิดเปนรอยละ 50 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด ดังนั้นจากองคประกอบของคณะกรรมการ ดังกลาวนี้ ทําใหมั่นใจไดวาจะมีการติดตามการบริหารงานอยางเปนธรรมและมีประสิทธิผล สวนกรรมการ ผูจัดการทําหนาที่เปนประธานเจาหนาที่บริหารรับผิดชอบดูแลการปฏิบัติงานและมีอํานาจตามที่กําหนด โดยการตัดสินใจสําคัญในบางเรื่องจะตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ 11.1.11 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร คาตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบไดรับการเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อ พิ จ ารณาและอนุ มั ติ ส ว นค า ตอบแทนกรรมการผู  จั ด การจะกํ า หนดโดยคณะกรรมการบริ ษั ท ในการ ปฏิบัติหนาที่ประธานเจาหนาที่บริหาร (CEO) คาตอบแทนฝายจัดการสามารถ มีการทบทวนไดโดยผู ถือหุนซึ่งอาจกําหนดนโยบายและแนวทางที่เหมาะสมเพื่อการนี้ 11.1.12 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการมีการประชุมตามปกติอยางนอยไตรมาสละ 1 ครัง้ เพือ่ ทบทวนผลการปฏิบตั งิ าน ผลงานดาน การเงินรายไตรมาส และเรื่องอื่น ๆ สําหรับป 2559 – 2560 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัททั้งหมด 4 ครั้ง กรรมการที่เขารวมประชุมมีดังนี้

068


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

รายชือ่ กรรมการ นายมนู เลียวไพโรจน ดร.วีรพงษ รามางกูร นายซีราช อีรชั ปุณวาลา นายซันจีฟ ซาราฟ นายอมิต ปรากาซ นายประพัฒน โพธิวรคุณ นายปราเนย โกธารี นายมานิตย กุปตา

ตําแหนง จํานวนครัง้ ทีเ่ ขาประชุม ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ 4/4 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ 4/4 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ 4/4 รองประธานกรรมการ 0/4 กรรมการผูจ ดั การ 4/4 กรรมการ 4/4 กรรมการ 3/4 กรรมการ 3/4

11.1.13 คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการไดนําเสนอและที่ประชุมผูถือหุนไดอนุมัติแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวย กรรมการอิสระ 3 ทาน กรรมการตรวจสอบมีคุณสมบัติตามกฎเกณฑที่ กําหนดโดยตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ผูถือหุนไดกําหนดอํานาจและขอบเขต การดําเนินการของคณะกรรมการตรวจสอบไวอยาง ชัดเจน ไดแก การสอบทานระบบ การควบคุมภายใน รายงานทางการเงิน รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการ ที่กอใหเกิด ความขัดแยง ทางผลประโยชน คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระอยูในตําแหนงคราวละ 2 ป และเลือกคณะกรรมการใหมทุก 2 ป 11.1.14 ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษัททําหนาที่ควบคุมการดําเนินงานโดยการกําหนดงบประมาณและ เปาหมายการดําเนิน งานประจําป รวมทัง้ มีการทบทวนสิง่ ทีไ่ ดดาํ เนินการ แลวเปนระยะๆ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่ ดูแลการควบคุมและการตรวจสอบภายใน และเสนอ แนะแนวทางในการปรับปรุงแกไข 11.1.15 รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีหนาที่รับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท ทั้งนี้จะมีการใหความเห็นเกี่ยวกับ ผลการดําเนิน งานทางการเงินเพื่อจัดพิมพเปนสวนหนึ่งของรายงานประจําป 11.1.16 ความสัมพันธกับผูลงทุน บริษัทใหความสําคัญกับการเปดเผยขอมูลที่ถูกตองและทันเหตุการณตอผูถือหุนและนักลงทุนโดยมีการ จัดประชุมกับนักวิเคราะหและนักลงทุนเปนบางครั้งคราว รวมทั้งเขารวม โครงการบริษัทจดทะเบียนพบ ผูลงทุน (SET Opportunity Day) เพื่อเผยแพรขอมูลและ ผลการดําเนินงานของบริษัทแกนักลงทุนและนัก วิเคราะห นอกจากนี้ บริษัทยังจัดใหมีการเยี่ยมชมโรงงานสําหรับผูถือหุนนักวิเคราะหและนักลงทุนที่สนใจ ในดานนักลงทุนสัมพันธนั้น บริษัทไดพัฒนาสวนของนักลงทุนสัมพันธขึ้นมาในเว็บไซตของบริษัทนักลงทุน/ นักวิเคราะห ยังสามารถลงทะเบียนขอมูล สวนตัวสําหรับการติดตอทางอีเมล (E-mail ID) และรับขาวสาร จากนักลงทุนสัมพันธ (IR alert) ทุกครั้งที่มีขอมูลขาวสารลาสุดทางเว็บไซตของบริษัท อีกทั้งติดตอสอบถาม ขอมูลตางๆจากบริษัทไดที่โทรศัพทหมายเลข +66 26652706-8 มาตรการปองกันการใชขอมูลภายในบริษัทเพื่อประโยชนสวนตัวของผูบริหาร บริษทั ฯตระหนักถึงความจําเปนในการกํากับดูแลการใชขอ มูลภายในโดยกรรมการและผูบ ริหาร ของบริษทั ฯเพือ่ ประโยชนสว นตน กรรมการและผูบ ริหารทีส่ ามารถเขาถึงขอมูลภายในของบริษทั จะไมไดรบั อนุญาตใหทาํ การ ซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทในชวงระยะเวลาหนึ่งตามที่กําหนดกอน ที่บริษัทจะประกาศผลการดําเนินงาน

069


ความรับผิดชอบต อสังคม 12.1

การประกอบกิจการดวยความเปนธรรม โพลีเพล็กซมีการกําหนดนโยบายของการปฏิบัติสําหรับบุคลากรทุกคนที่เนนการปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติทาง จริยธรรมความซื่อสัตยสุจริตและความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบตอผูม สี ว นไดเสียและหนวยงานภายนอก ไดรับการสนับสนุนในการที่จะสงเสริมใหเกิดวัฒนธรรมองคกรที่ดีและความรับผิดชอบตอสังคม

12.2

การตอตานการทุจริตและการใหสนิ บน โพลีเพล็กซไดกําหนดจรรยาบรรณใหพนักงานทุกคน โดยเนนการปฏิบัติตามหลักจริยธรรม ความซื่อสัตย และความรับผิดชอบ และสงเสริมใหพนักงานมีความรับผิดชอบตอผูม สี ว นไดเสียและหนวยงานภายนอกทุกฝาย เพื่อใหเกิดวัฒนธรรมบรรษัทภิบาลที่ดีและความรับผิดชอบตอสังคม คณะกรรมการบริษัทในการประชุม เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ 2558 มีมติอนุมัตินโยบายการปองกันการทุจริตและการใหสินบน เพื่อใหแนใจ ไมมีบุคลากรใดของบริษัทมีสวนรวมในการทําธุรกิจที่ผิดจรรยาบรรณใด ๆ เพื่อผลประโยชนสวนบุคคล ทั้งนี้ ใหนโยบายนี้มีผลบังคับใชทั้งในโรงงานที่ประเทศไทยและที่บริษัทยอยในตางประเทศของบริษัท

12.3

การปฏิบตั ติ อ แรงงานอยางเปนธรรม บริษัทเห็นวาพนักงานของบริษัทเปนทรัพยสินที่ทรงคุณคาขององคกร มีความสําคัญยิ่งตอความสําเร็จและ การเติบโตขององคกร บริษัทมีความมุงมั่นที่จะสรางบรรยากาศการทํางานที่มีคุณภาพ โดยเนนเปนพิเศษใน เรือ่ งความปลอดภัย และผลตอบแทนทีเ่ ทาเทียมและเปนธรรม ทัง้ นี้ นอกเหนือจากการใหเงินเดือนตามปกติ เงินโบนัสที่อิงผลการปฏิบัติงาน การสมทบเงินทุนสํารองเลี้ยงชีพ และเงินประกันสังคม บริษัทยังจัดใหมีผล ประโยชนอื่นๆอีกแกพนักงาน เชน คาทํางานลวงเวลา คาที่พัก คาเดินทาง คาโทรศัพท การประกันสุขภาพ การประกันชีวิต เปนตน

12.4

ความรับผิดชอบตอลูกคา โพลีเพล็กซมคี วามมุง มัน่ ทีจ่ ะสรางความพอใจแกลกู คาโดยการรักษาความแนนอนของคุณภาพผลิตภัณฑอยาง ตอเนื่องและนําเสนอผลิตภัณฑที่มีคุณลักษณะตรงตามความตองการของฐานลูกคาในตลาดโลก

12.5

ความรับผิดชอบดานสิง่ แวดลอม โพลีเพล็กซตระหนักถึงความสําคัญของการดูแลสิ่งแวดลอม โดยการคิดริเริ่มในการพัฒนาอยางยั่งยืนผาน การลงทุนในโครงการการรีไซเคิล เพื่อเปนการแกปญหาที่ยั่งยืนสําหรับแผนฟลมที่เสียจากขบวนการผลิต เพือ่ โครงการดังกลาวไดเริม่ ดําเนินงานเชิงพาณิชยเมือ่ เดือนธันวาคม 2013 ในประเทศไทยภายใตบริษทั ยอย ของบริษัท คือ บริษัท อีโคบลู จํากัด แมในการดําเนินงานตามปกติ บริษัทก็พยายามที่จะหาทางเลือกที่เปน ไปไดในการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ

12.6

การพัฒนาสังคมและชุมชน โพลีเพล็กซตระหนักดีและใสใจในความปลอดภัยของสังคมสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยไดเนนการรวมทํากิจกรรมตาง ๆ ของชุมชนและสังคมรวมทัง้ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ บริษัทไดจัดกิจกรรมเปนระยะ ๆ สําหรับการบริจาคโลหิต และยังสนับสนุนใหพนักงานทุก คนเขารวมในการบริจาคโลหิต นอกจากนี้บริษัทยังบริจาคเงินเปนครั้งคราวเพื่อรวมสมทบทุนแกองคกรที่ มีสวนรวมในการบริการชุมชนตาง ๆ

070


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2560 โดยมี กรรมการตรวจสอบทั้ง จาก 2 ใน 3 ทาน ทานเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัทไดประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยการซักถาม ขอมูลจากฝายบริหารแลว สรุปไดวา จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท ในดานตางๆ 5 ดานคือ องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงาน ของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารขอมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ ในการทําธุรกรรมกับหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือ ผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวขางตน คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแลวเห็นวา ระบบการติดตามและควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมดังกลาว จะชวยปกปองสินทรัพยของบริษัทจากการใชอยางไมถูกตองใดๆของผูบริหาร

071


072

เปนผูถ อื หุน ใหญของบริษทั การซือ้ วัตถุดบิ – เม็ดพลาสติกและโพลีเอสเตอรฟล ม โดยถือหุน ทัง้ ทางตรงและ โดยบริษทั ยอยทัง้ หมดของ PTL รวมทัง้ PTL ทางออม ในสัดสวนรอยละ 51 และมีกรรมการรวมกัน

โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด (PCL)

นโยบายราคา

มูลคารายการ (ลานบาท) 2.0

เปนไปตามนโยบายราคาโอน (Transfer 572.3 485.1 379 Pricing) ของ PCL โดยใชวธิ สี ว นตางกําไรสุทธิ จากธุรกรรม (Transactional Net Margin Method - TNMM) ซึง่ ไดทาํ การศึกษาและ เสนอแนะโดยบริษทั สํานักงานอีวาย จํากัด

7.0

2557-58 2558-59 2559-60 PCLไดชาํ ระเงินซึง่ เปนคาใชจา ยในการบริหารลวงหนา มูลคารายการระหวาง PCL กับบริษทั เปน 13.1 แทนบริษทั และบริษทั ยอย คาใชจา ยดังกลาวไดแก ราคาปกติทางธุรกิจ โดยถือตาม ราคา ที่ PCL คาใชจา ยในการเดินทางของพนักงาน คาทีพ่ กั อาศัย ไดจา ยจริงลวงหนาแทนบริษทั ซึง่ PCL ไมได ของ ครอบครัวพนักงาน และคาเลาเรียนบุตร ของ มีการคิดคาใชจา ยพิเศษ เพิม่ ขึน้ แตอยางใด พนักงาน ตลอดจนคาเรียกรองสิทธิประโยชนประกันภัย การจายคาเบีย้ ประกัน คาใชจา ยทีเ่ กีย่ วของกับโครงการตางๆ เปนตน โดยบริษทั ไดมกี ารบันทึกทางบัญชีสาํ หรับคา ใชจา ยเหลานีอ้ ยางเหมาะสมและหรือไดเรียกเก็บจาก พนักงานและ ชําระเงินดังกลาวคืนใหกบั PCL แลว

ลักษณะของรายการ

เปนผูถ อื หุน ใหญของบริษทั โดยถือหุน ทัง้ ทางตรงและ ทางออมในสัดสวนรอยละ 51 และมีกรรมการรวมกัน

ความสัมพันธ

โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด (PCL)

บุคคลทีม่ คี วาม ขัดแยงทางผล ประโยชน

รายการระหว างกัน 14.1 สรุปรายการระหวางกันของบริษัทกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันในชวง 3 ปที่ผานมา ดังนี้


มูลคารายการ (ลานบาท)

-

-

* โพลีเพล็กซ เรซิ่น ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ขาดจากสถานะการเปนบริษัทยอยตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม 2558 เมื่อโพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอร ฟลม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ และ โพลีเพล็กซ (เอเชีย) พีทีอี แอลทีดี ไดจําหนายเงินลงทุนในกิจการดังกลาวออกไปทั้งหมด

-

-

2557-58 2558-59 2559-60

เงินกูย มื อัตราดอกเบีย้ รอยละ 4.5 ตอป ถึง 8.8 กันยายน 2555 และไมคดิ ดอกเบีย้ ตัง้ แตวนั ที่ 1 ตุลาคม 2555 หลังจากนัน้ นับตัง้ แตวนั ที่ 1 ตุลาคม 2556 คิดดอกเบีย้ ในอัตรารอยละ 6M Eurobor + 3.25

นโยบายราคา

โพลีเพล็กซ เปนผูถ อื หุน ใหญของบริษทั การจายดอกเบีย้ โดย โพลีเพล็กซ เรซิน่ ซานายิ เว (เอเชีย) พีทอี ี โดยถือหุน ทางตรงในสัดสวน ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ สําหรับเงินกูย มื จาก PAPL* แอลทีดี (PAPL) รอยละ 34.5 และมีกรรมการรวมกัน

ลักษณะของรายการ เปนไปตามนโยบายราคาโอน (Transfer 1.5 Pricing) ของ PCL โดยใชวธิ สี ว นตางกําไรสุทธิ จากธุรกรรม (Transactional Net Margin Method - TNMM) ซึง่ ไดทาํ การศึกษาและ เสนอแนะโดยบริษทั สํานักงานอีวาย จํากัด

ความสัมพันธ

เปนผูถ อื หุน ใหญของบริษทั การขายวัตถุดบิ – เม็ดพลาสติกใหแก PCL โดย PTL โดยถือหุน ทัง้ ทางตรงและ ทางออม ในสัดสวนรอยละ 51 และมีกรรมการรวมกัน

โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด (PCL)

บุคคลทีม่ คี วาม ขัดแยงทางผล ประโยชน

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

073


14.2

ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน รายการระหวางกันที่เกิดขึ้นเปนรายการที่เกิดขึ้นจากคาใชจายในการบริหารซึ่ง PCL ไดทดรองจาย ลวงหนาแทนบริษัทและบริษัทยอยสําหรับคาใชจายในการบริหาร โดยบริษัทและบริษัทยอยไดมีการบันทึก ทางบัญชีสาํ หรับคาใชจา ยเหลานีอ้ ยางเหมาะสมและชําระเงินดังกลาวคืนใหกบั PCL แลว ซึง่ บริษทั ไดชาํ ระคืน เงินทดรองจายลวงหนา/คาใชจายดังกลาวใหแก PCL โดยที่ PCL ไมไดมกี ารคิดคาใชจา ย เพิ่มขึน้ แตอยางใด ทั้งนี้ ยังมีรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นจากการจายเงินทดรองลวงหนาโดยบริษัทและบริษัทยอยแทน PCL สําหรับเปน คาใชจายในการบริหาร ซึ่งในเวลาตอมา PCL ไดมีการชําระคืนแลว ในระหว า งป ยั ง มี ร ายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ เ กี่ ย วกั บ การซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ได แ ก เม็ ด พลาสติ ก และแผ น ฟ ล  ม โพลีเอสเตอรจาก PCL โดยทั้งหมดเปนรายการซื้อที่ราคาเสมือนทํากับบุคคลภายนอกทั่วไปหรือราคาตลาด (Arm’s Length Pricing) ตามทีม่ กี ารเสนอแนะไวในการศึกษาาเกีย่ วกับ Transfer Pricing ทีด่ าํ เนินการโดย หนวยงานภายนอกในทําเลตางๆ

14.3

มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารทํารายการระหวางกัน รายการระหวางกันทีไ่ ดกลาวในตารางขางตนของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได ตรวจสอบแลว มีความเห็นวาเปนไปตามลักษณะการคาปกติ ในอนาคตหากมีรายการตามลักษณะการคาปกติเกิดขึ้น บริษทั สามารถดําเนินการไดและรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั เปนรายไตรมาส สําหรับรายการระหวางกันอืน่ ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตซึง่ ไมเปนไปตามลักษณะการคาปกตินนั้ บริษทั จะมอบ หมายใหฝา ยงานทีเ่ กีย่ วของรวบรวมขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับรายการดังกลาว เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาใหความเห็นวารายการดังกลาวเปนไป ตามลักษณะธุรกิจทั่วไปและ เปนไปตามราคาตลาดหรือไม ในการนี้บริษัทจะดําเนินการใหมั่นใจวาไดมีการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่มีการบังคับใชอยู คณะกรรมการ ตรวจสอบจะพิจารณา และนําเสนอตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ โดยการใหความเห็นตอการ ทํารายการ ระหวางกันนั้นจะตองไมมีกรรมการที่มีสวนไดเสียรวมพิจารณาอยูดวย

14.4

นโยบายสําหรับรายการระหวางกันทีอ่ าจเกิดขึน้ ได สําหรับรายการระหวางกันที่จะเกิดขึ้นในอนาคตนั้น บริษัทมีนโนบายจะกําหนดเงื่อนไขตาง ๆ ให เหมาะสม ตามเหตุผลและความจําเปนของบริษทั ซึง่ รายการระหวางกันทีผ่ า นมา เปนเพียงรายการ จายเงินทดรอง ลวง หนาสําหรับคาเดินทาง คาที่พักอาศัยสําหรับครอบครัวพนักงาน คาเลาเรียนบุตร พนักงานและคาเรียกรอง สิทธิประโยชนประกันภัย ตลอดจนการซื้อวัตถุดิบบางรายการตามที่ไดกลาวไวขางตน เปนตน นอกจากนี้ บริษทั แมคอื PCL จะไมคดิ คาธรรมเนียมตางๆจากบริษทั ทัง้ นีร้ ายการ ระหวางกัน ทีอ่ าจเกิดขึน้ ใน อนาคตนัน้ คณะกรรมการบริษัทจะปฏิบัติใหเปนไปตาม กฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยและขอบังคับ ประกาศหรือขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามขอกําหนดเกี่ยว กับการเปดเผยขอมูล การทํารายการเกี่ยวโยง และการไดมาหรือจําหนายทรัพยสินที่สําคัญของบริษัทหรือ บริษทั ยอย ตามมาตรฐานการบัญชี ทีก่ าํ หนดโดยสมาคมนักบัญชีและผูส อบบัญชีรบั อนุญาตแหงประเทศไทย ทั้งนี้ หากมีรายการระหวางกันของบริษัทเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนมีสวนได เสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคต บริษัทจะให คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูใหความ

074


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

เห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความ ชํานาญในการพิจารณารายการ ระหวางกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะใหผูเชี่ยวชาญอิสระหรือผูสอบบัญชี ของบริษัทเปน ผูใหความเห็นเกี่ยวกับ รายการระหวางกันดังกลาว ซึ่งจะนําไปใชประกอบการ ตัดสินใจของ คณะกรรมการหรือผูถือหุน ตามแตกรณี ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายการระหวางกัน ไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ที่ไดรับการตรวจสอบจากผูสอบบัญชี ของบริษัท

075


ฐานะการเง�นและผลการดําเนินงาน งบการเง�น ผูส อบบัญชี ป

ชือ่ ผูส อบบัญชี

2559-2560 (1 เม.ย.2559 – 31 มี.ค. 2560) นายชยพล ศุภเศรษฐนนท

ผูส อบบัญชี อนุญาตเลขที่

บริษทั ผูส อบบัญชี

3972

บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด

2558-2559 (1 เม.ย.2557 – 31 มี.ค. 2558) นายชยพล ศุภเศรษฐนนท

3972

บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด

2557-2558 (1 เม.ย.2557 – 31 มี.ค. 2558) นายเติมพงษ โอปนพันธุ

4501

บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด

2556-2557 (1 เม.ย.2556 – 31 มี.ค. 2557) นายเติมพงษ โอปนพันธุ

4501

บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด

2555-2556 (1 เม.ย.2555 – 31 มี.ค. 2556) นายเติมพงษ โอปนพันธุ

4501

บริษทั สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด

สรุปรายงานการสอบบัญชี ในรอบหลายปที่ผานมารวมถึงปสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 ผูสอบบัญชีไดใหความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขวา งบการเงินไดจัดทําขึ้นโดยถูกตองตามที่ควรและไดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในที่นี้ไดแสดงงบการเงิน ทั้งงบรวมและงบเฉพาะบริษัทในชวงเวลา 3 ปท่ีผานมาสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 เพื่อการเปรียบเทียบและ เพื่อแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของรายไดและการทํากําไรในชวงเวลาดังกลาว

076


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

077


078


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

079


080


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

081


การว�เคราะห และคําอธิบายของฝ ายจัดการ 16.1

ผลการดําเนินงาน PTL เปนบริษัทยอยของ PCL จดทะเบียนกอตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2545 เพื่อประกอบกิจการ ผลิตและ จําหนาย แผนฟลม PET (Polyethylene Terephthalate Film หรือ Polyester Film) เพื่อสงออกไป จําหนายใหแกลูกคาในตางประเทศเปนสวนใหญ โดยเนนลูกคาที่ประกอบ ธุรกิจใน 3 อุตสาหกรรมหลัก คือ บรรจุภัณฑ อุตสาหกรรม และ อุปกรณไฟฟา บริษัทเริ่ม ดําเนินการผลิตสายการผลิตที่ 1 ในเดือนเมษายน 2546 จากนัน้ เปนตนมา บริษทั ไดขยายกิจการมาโดยตลอด ทัง้ ในประเทศไทยและตางประเทศ ในประเทศไทย บริษัทไดลงทุนในสายเคลือบอัดขึ้นรูป สายแผนฟลม CPP สายเคลือบซิลิโคน สายแผนฟลม PET ชนิดหนา สายแผนฟลม Blown PP และสายเคลือบอลูมิเนียมสองสามสาย นอกจากนั้น บริษัทยังไดกอตั้งบริษัทเพื่อ ทําการผลิตในประเทศตุรกี (ป 2548) และในสหรัฐอเมริกา (ป 2555) บริษัทเพื่อคาในเนเธอรแลนด, ตุรกี และประเทศจีน นอกจากนี้ มีสํานักงานประสานงานในประเทศมาเลเซียและประเทศเกาหลี ผลิตภัณฑของบริษทั ทีด่ าํ เนินการอยูใ นประเทศไทยทัง้ หมดไดรบั การรับรองมาตรฐานดังตอไปนี้  มาตรฐาน ISO 14001:2004 ดานการจัดการสิง่ แวดลอม (Environment Management System)  มาตรฐาน ISO 9001:2008 ดานระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management system)  มาตรฐานOHSAS 18001:2007 ดานระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพในการ ประกอบวิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System)  มาตรฐาน ISO 22000:2005 ในเรือ่ งของความปลอดภัยดานอาหารสําหรับผลิตภัณฑ  รางวัล TPM Excellence Award (ประเภท A) ผลิตภัณฑของบริษทั ในประเทศตุรกีทงั้ หมดไดรบั การรับรองมาตรฐานดังตอไปนี้  มาตรฐาน ISO 14001:2004 ดานการจัดการสิง่ แวดลอม (Environment Management System)  มาตรฐาน ISO 9001:2008 ดานระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management system)  มาตรฐานOHSAS 18001:2007 ดานระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพในการ ประกอบวิชาชีพ (Occupational Health and Safety Management System)  มาตรฐาน BRC/loP ดานการรับรองเกีย่ วกับมาตรฐานระดับโลกสําหรับบรรจุภณ ั ฑและผลิตภัณฑบรรจุ ภัณฑ (สายการผลิตฟลม และสายการผลิตแผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียม)  มาตราฐาน ISO 50001: 2011 มาตราฐานระบบจัดการดานพลังงาน (Energy Management system) กลุมโพลีเพล็กซมีเปาหมายในการเปนผูนําในดานอุตสาหกรรมแผนฟลมพลาสติกชนิดบางในระดับโลก โดยมุง เพิม่ สวนแบงตลาดดวยการขยายกําลังการผลิตและเพิม่ ความหลากหลายของพอรตผลิตภัณฑอยางตอ เนือ่ ง จากการจัดตัง้ สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางในสหรัฐอเมริกาและสายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดหนาในประเทศไทย ซึง่ เริม่ การผลิตในป 2556 ทําใหกาํ ลังการผลิตแผนฟลม PETโดยรวมของบริษทั เพิม่ ขึน้ 31,000 ตันตอป และ 28,800 ตันตอป ตามลําดับ กลุม โพลีเพล็กซไดรกุ สูก ารผลิตผลิตภัณฑตอ เนือ่ งตาง ๆ เชน แผน ฟลม BOPP (ในอินเดีย) และแผนฟลม CPP (ในประเทศไทย) ซึง่ เปนวัสดุบรรจุภณ ั ฑอนื่ ทีผ่ แู ปรรูป ใชกัน นอกเหนือไปจากแผนฟลม PET โพลีเพล็กซมุงมั่นที่จะเปนผูผลิตวัสดุบรรจุภัณฑที่เปนที่ตองการใช ในอุตสาหกรรมโดยไมใชเปนเพียงผูผ ลิตแผนฟลม PET ชนิดบาง นอกจากนี้ เพือ่ เพิม่ ความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ กลุม โพลีเพล็กซยงั ไดขยายธุรกิจ สูผ ลิตภัณฑมากขึน้ อยางตอเนือ่ ง เชน แผนฟลม เคลือบซิลโิ คน

082


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

(ในอินเดีย ป 2550 ในประเทศไทย ป 2555) แผนฟลมเคลือบอัดขึ้นรูป (ประเทศไทย สายแรกในป 2551 และสายที่สองในป 2556) แผนฟลม Blown PP (ในประเทศไทย 2556) และแผนฟลมเคลือบอลูมิเนียม โครงการทีอ่ ยูร ะหวางการดําเนินการ คือการเปลีย่ นเพือ่ ทดแทน Metallizer ในสหรัฐอเมริกา และสายการ ผลิตแผนฟลม Blown PP สายที่สอง สวนโครงการรีไซเคิลในประเทศไทยไดมีการจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนการ แกไขปญหาที่ยั่งยืนสําหรับแผนฟลมเสียจากกระบวนการผลิต กลุม โพลีเพล็กซไดกาํ หนดกลยุทธตอ ไปนี้ 1) การเนนการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการดานเทคนิคเพือ่ ใหเขาถึงตลาดทีม่ ศี กั ยภาพในการเติบโตและ มีอตั ราการทํากําไรสูงไดมากขึน้ 2) การเนนการปรับปรุงประสิทธิภาพดานตนทุน 3) การเสริมสรางความสามารถในการจัดสงสินคาโดยมุง เนนฐานการผลิตทีส่ ามารถเขาถึงลูกคาไดงา ย 4) การผลิตสินคาหลากหลายประเภทเพิม่ มากขึน้ เพือ่ ลดความเสีย่ งจากผลกระทบของวงจรอุตสาหกรรมแผนฟลม PET อันเปนการเพิม่ ความมีเสถียรภาพของกําไร 5) มุง มัน่ ตอเนือ่ งในการเพิม่ สัดสวนของผลิตภัณฑทมี่ มี ลู คาเพิม่ ในประเภทผลิตภัณฑ ทัง้ หมดของบริษทั 6) การสรางความพึงพอใจแกลกู คาดวยการนําเสนอผลิตภัณฑทมี่ คี ณ ุ ภาพอยางตอเนือ่ ง 7) มีการผสมผสานกลยุทธตลาดในประเทศ ตลาดตางประเทศโพนทะเล และตลาดภูมิภาคใกลเคียงอยาง รอบคอบและสมเหตุผล ในปปจ จุบนั เนือ่ งจากความตองการทีเ่ พิม่ ขึน้ และภาวะการชะลอตัวของกําลังการผลิตเพิม่ ขึน้ ความเชือ่ มัน่ ใน ตลาดมีการปรับตัวดีขึ้นสงผลใหการดําเนินงานโดยรวมของไทย ตุรกีและสหรัฐอเมริกาดีขึ้น สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทฯ มีกําไรสุทธิตามงบการเงินรวมจํานวน 1,366.36 ลานบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปทผี่ า นมามีผลขาดทุนสุทธิจาํ นวน 123.23 ลานบาท ซึง่ ปทผี่ า นมาไดรวมขาดทุนจากการ ดอยคาของสินทรัพยจาํ นวน 351.2 ลานบาทและการกลับรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีจาํ นวน 245 ลานบาททีบ่ ริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกา และปทผี่ า นมามีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศจํานวน 313.24 ลานบาท (ซึง่ เปนขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไมเกิดขึน้ จริง 368.55 ลานบาทบางสวนชดเชยกับ กําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นทีเ่ กิดขึน้ จริง) หากไมรวมรายการพิเศษนีก้ าํ ไรสุทธิในปกอ นมีจาํ นวน 787.2 ลานบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ เปน 1,366.36 ลานบาทในปปจ จุบนั ไมรวมกําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นในปปจ จุบนั จํานวน 326.01 ลานบาท (ซึง่ เปนกําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไมเกิดขึน้ จริง 274.63 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากปกอ นจาก 787.2 ลานบาทเปน 1,040.35 ลานบาทในปปจ จุบนั ตามงบการเงินเฉพาะบริษทั บริษทั มีกาํ ไรสุทธิจาํ นวน 498.97 ลานบาทเมือ่ เทียบกับกับปทผี่ า นมามีผลขาดทุนสุทธิ 331.95 ลานบาท ในปทผี่ า นมารวมขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนใน บริษทั ยอยของสหรัฐจํานวน 246.28 ลานบาทและรวมขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นจํานวน 249.18 ลานบาท (ซึง่ เปนขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง 269.65 ลานบาทบางสวนชดเชยกับกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริง) หากไมรวม รายการพิเศษเหลานี้ กําไรสุทธิในปกอ นมีจาํ นวน 163.51 ลานบาท ซึง่ พิม่ ขึน้ เปน 498.74 ลานบาทในปปจ จุบนั ไมรวมกําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นในปปจ จุบนั จํานวน 233.16 ลานบาท (ซึง่ เปนกําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไมเกิดขึน้ จริงจํานวน 200.81 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากปกอ น 163.51 ลานบาทเปน 265.82 ลานบาทในปปจ จุบนั

083


ผลการดําเนินงานทีส่ าํ คัญในรอบปมรี ายละเอียดดังตอไปนี้ รายไดรวม งบการเงินรวม รายไดจากการขาย รายไดจากการขายตามงบการเงินรวมของบริษัทลดลง จาก 12,278.32 ลานบาท เปน 11,538.84 ลานบาท ซึง่ ลดลง 739.48 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 6.02 จากปทผี่ า นมา เนือ่ งจากราคาขายลดลง (เชนเดียวกับราคาวัตถุดิบหลักลดลง) ในทุกหนวยงานของธุรกิจ ซึ่งบางสวนชดเชยกับปริมาณขายที่เพิ่ม สูงขึ้นที่ประเทศไทย (สวนใหญจากแผนฟลมเคลือบซิลิโคนและ แผนฟลม Blonw PP) และปริมารณขาย ที่เพิ่มขึ้นในบริษัทยอยที่สหรัฐอเมริกา ตารางตอไปนีแ้ สดงรายไดจากการขายตามงบการเงินรวมทัง้ จากการสงออกและการจําหนายในประเทศ 2557-58 2558-59 2559-60 ตลาด ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % สงออก 7,690.47 64.56 7,996.33 65.13 7,714.32 66.86 จําหนายในประเทศ 4,222.26 35.44 4,281.99 34.87 3,824.52 33.14 รวม 11,912.73 100.00 12,278.32 100.00 11,538.84 100.00 หมายเหตุ: การจําหนายผานบริษัทตัวแทนจําหนายที่ตั้งอยูในเนเธอรแลนด/จีน ถือเปนการสงออก

รายไดอนื่ รายไดอนื่ เพิม่ ขึน้ จาก 35.86 ลานบาทในปทผี่ า นมา เปน 64.24 ลานบาท เนือ่ งจากรายไดจากคาชดเชยการ ประกันภัยในบริษัทยอยที่ตุรกี (เนื่องจากโรงผลิตเม็ดพลาสติกมีปญหาในไตรมาสที่ 3) และรายไดอื่นเพิ่มขึ้น ในประเทศไทย ดังที่อธิบายขางตน กําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นสําหรับปจาํ นวน 326.01 ลานบาทเปรียบเทียบกับปกอ นมีผลขาดทุนจากอัตราแลก เปลี่ยนจํานวน 313.24 ลานบาท สาเหตุหลักจากกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคาเงินกูสกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกาและเงินยูโร เนือ่ งจากคาเงินบาทแข็งคาเมือ่ เปรียบเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาและ เงินยูโร และเนือ่ งจากกําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศทีบ่ ริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกาจากการแปลง คาเงินยูโรของเงินกูย มื ระหวางบริษทั เนือ่ งจากคาเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาแข็งคาเมือ่ เปรียบเทียบกับเงินยูโร จากปจจัยทีก่ ลาวขางตน ทําใหรายไดรวมลดลงเทากับ 11,929.09 ลานบาท ลดลงจํานวน 385.09 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 3.13 เมื่อเปรียบเทียบกับปกอน งบการเงินเฉพาะบริษทั รายไดจากการขาย รายไดจากยอดขายรวมของบริษทั มาจากการสงออกเปนหลัก โดยมีสดั สวนการสงออกคิดเปน รอยละ 80-85 ของรายไดยอดขายรวม

084


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ตารางตอไปนีแ้ สดงรายไดจากการขายทัง้ จากการสงออกและการจําหนายในประเทศของบริษทั 2557-58 2558-59 2559-60 ตลาด ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % สงออก 4,248.43 81.83 4,498.67 82.55 4,410.71 83.69 จําหนายในประเทศ 943.49 18.17 951.27 17.45 859.68 16.31 รวม 5,191.92 100.00 5,449.94 100.00 5,270.38 100.00 บริษัทมียอดขายเทากับ 5,270.38 ลานบาท ลดลงจํานวน 179.55 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 3.29 เนื่องจากราคาขายลดลง (สอดคลองกับราคาวัตถุดิบลดลง) และปริมาณขายลดลงในบางสวนของธุรกิจ ซึ่งไดชดเชยบางสวนกับ ปริมาณการขายและราคาขายที่เพิ่มขึ้นสําหรับแผนฟลมเคลือบซิลิโคน และ แผนฟลม Blown PP รายไดอนื่ รายไดอื่นเพิ่มขึ้นจาก 28.95 ลานบาท เปน 32.45 ลานบาท เนื่องจากไดรับเงินชดเชยการประกันภัย และกําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ยอย ซึง่ ชดเชยกับเงินชดเชยภาษีจากการสงออกลดลง กําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นสําหรับปจาํ นวน 233.16 ลานบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปทผี่ า นมามีผลขาดทุนจาก อัตราแลกเปลีย่ นจํานวน 249.18 ลานบาท จากการแปลงคาเงินกูส กุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา และ เงินยูโร เนือ่ งจากเงินบาทแข็งคาเมือ่ เปรียบเทียบกับเงินยูโรและเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เมือ่ รวมปจจัยทีก่ ลาวขางตน ทําใหรายไดรวมเพิม่ ขึน้ จํานวน 57.10 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ คิดเปนรอยละ 1.04 คาใชจา ยรวม งบการเงินรวม คาใชจา ยหลักของบริษทั ประกอบดวย ตนทุนดานวัตถุดบิ คาบรรจุหบี หอ คาไฟฟาและเชือ้ เพลิง คาเสือ่ มราคา เงินเดือนพนักงาน คาใชจา ยในการขายและบริหาร และคาใชจา ยทางการเงิน บริษัทและบริษัทยอยมีคาใชจายรวมเทากับ 10,384.10 ลานบาท ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปกอนจํานวน 1,560.69 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 13.07 ซึง่ ปกอ นรวมรายการขาดทุนจากการดอยคาในสินทรัพย ที่บริษัทยอยในสหรัฐอเมริกา จํานวน 351.19 ลานบาท และขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 313.24 ลานบาท ตนทุนขายลดลงจํานวน 620.77 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 6.24 เนือ่ งจากราคาวัตถุดบิ หลัก ลดลงในปนแี้ ละเนือ่ งจากกําไรสุทธิจากการตัดกําไรทีเ่ กีย่ วของกับหุน ระหวางบริษทั เนือ่ งจากการลดลงในหุน ที่ บริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกา จากการซือ้ ระหวาบริษทั ทีท่ าํ การขาย

085


ตนทุนขายสามารถแยกประเภทไดดงั นี้ รายละเอียด วัตถุดบิ และวัสดุสนิ้ เปลืองทีใ่ ชในการผลิต (รวมการเปลีย่ นแปลงสินคาคงคลัง) คาเสือ่ มราคา (ในตนทุนขาย) เงินเดือน คาจางและผลตอบแทนอืน่ ๆสําหรับพนักงาน (ในตนทุนขาย) คาสาธารณูปโภค (ไฟฟา/กาซธรรมชาติ/นํา้ หลอเย็น เปนตน) อืน่ ๆ

2557-58

2558-59

2559-60

74.6% 6.9%

74.4% 7.6%

73.7% 7.9%

7.9% 8.4% 9.3% 8.1% 7.8% 7.6% 2.5% 1.7% 1.4% 100.0% 100.00% 100.00%

คาใชจา ยในการขายลดลงจํานวน 180.25 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 20.84 เนือ่ งจากคาขนสงลดลง คานายหนาลดลง (เนื่องจากราคาขายลดลง) การเรียกรองเรื่องคุณภาพลดลง (เปรียบเทียบกับปกอน รวมการตั้งสํารองสําหรับการเรียกรองเรื่องคุณภาพสําหรับฟลมชนิดพิเศษ ที่บริษัทยอยที่ประเทศตุรกี ซึง่ บางสวนกลับรายการในปนเี้ มือ่ การเรียกรองคาความเสียหายไดขอ ยุต)ิ และเนือ่ งจากการคิดริเริม่ ประหยัด คาใชจายอื่น ๆ เชน การลดลงสําหรับการเดินทางไปตางประเทศของฝายขาย และการบริหารจัดการการ ดําเนินงานคลังสินคาตามที่ไดอธิบายไวสําหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท คาใชจายในการบริหารลดลงจํานวน 95.23 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 20.57 สาเหตุหลักมาจาก การคิดริเริ่มในการลดตนทุนบางสวนในปที่ผานมาที่ดําเนินการโดยบริษัทที่ประเทศไทย(อธิบายในงบการ เงินเฉพาะบริษัท) และบริษัทยอย ซึ่งไดสะทอนใหเห็นอยางเต็มที่ในปปจจุบัน นอกจากนี้ในปที่ผานมามี เงินเพิม่ จากภาษีเงินไดนิตบิ คุ คล ปบญ ั ชี 2554-2555 จํานวน 7.9 ลานบาท ซึง่ ไดรบั คืนจากกรมสรรพากร ในปปจ จุบนั ตามประกาศกระทรวงการคลัง ซึง่ ไมตอ งเสียเบีย้ ปรับและเงินเพิม่ ในกรณีดงั กลาว นอกจากนี้ การเรียกรองคาความเสียหายของผลิตภัณฑซึ่งตั้งสํารองไว ที่ประเทศไทย จากผูซื้อแผนฟลมเคลือบ ซิลโิ คนรายใหญ ซึง่ สามารถตกลงชําระในยอดทีต่ าํ่ กวาทีต่ งั้ สํารองไว ซึง่ สํารองสวนเกินไดกลับรายการในปนี้ สัดสวนของคาใชจา ยรวมตอรายไดรวมลดลง จากรอยละ 97 เปนรอยละ 87 เนือ่ งจากขาดทุนจากการดอยคาใน สินทรัพยทบี่ ริษทั ยอยทีส่ หรัฐอเมริกา และขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นในปทผี่ า นมา นอกเหนือจากนี้ สัดสวน ของคาใชจายรวมตอรายไดรวมลดลง เนื่องจาก การลดลงของตนทุนขาย, คาใชจายในการขายและบริหาร และยังเกิดจากกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนในปนี้ เมื่อเปรียบเทียบขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในปที่ผานมา คาใชจา ยทางการเงินเฉพาะบริษทั ระหวางปเทากับ 96.62 ลานบาท ลดลง 32.6 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 25.23 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา เหตุผลที่สําคัญของการลดลง เนื่องจากการจายชําระเงินกูสําหรับเงิน ทุนหมุนเวียนทีป่ ระเทศไทยจากเงินทีไ่ ดจากการเพิม่ ทุนแบบ Right Offering เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2559 จํานวน 640 ลานบาท และ การจายชําระคืนเงินกูย มื สําหรับเงินทุนหมุนเวียนลวงหนาทีป่ ระเทศไทย ในเดือน สิงหาคม 2559 โดยการกูย มื เงินระหวางบริษทั จาก บริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา ประมาณ 20 ลานยูโร เหตุผลสําหรับการ จายชําระลวงหนาของเงินกูย มื สําหรับเงินทุนหมุนเวียน เพือ่ ลดความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากความไมสงบทางการเมือง ทีผ่ า นมาในประเทศตุรกี และ เพือ่ ประโยชนจากการใชเงินสวนเกินทีบ่ ริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา

086


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ดอกเบีย้ เงินกูล ดลงในไตรมาสนีเ้ นือ่ งจากการจายชําระเงินกูท ปี่ ระเทศไทยและสหรัฐอเมริกาในหนึง่ ปทผี่ า นมา รวมถึงการจายชําระคืนเงินกูล ว งหนาจํานวน 14 ลานเหรียญสหรัฐทีบ่ ริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกา ในเดือนกันยายน 2559 และ จํานวน 6.4 ลานเหรียญสหรัฐที่ประเทศไทยในเดือน ธันวาคม 2559 เพื่อใชประโยชนจากเงิน สวนเกินที่บริษัทยอยในประเทศตุรกี สําหรับงบการเงินรวม มีคา ใชจา ยจากภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสําหรับป จํานวน 23.55 ลานบาท เมือ่ เปรียบเทียบ กับปที่ผานมา จํานวน 262.81 ลานบาท เนื่องจากการกลับรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี จํานวน 246 ลานบาทที่บริษัทยอยในสหรัฐอเมริกา งบการเงินเฉพาะบริษัท คาใชจายเฉพาะบริษัท เทากับ 4,940.39 ลานบาท ซึ่งลดลงจากปกอน จํานวน 768.02 ลานบาท ซึ่งปกอน รวมขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในบริษทั ยอยทีส่ หรัฐอเมริกา จํานวน 246.29 ลานบาท และขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยน จํานวน 249.18 ลานบาท ตนทุนขายเทากับ 4,605.65 ลานบาท ลดลงจํานวน 176.57 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 3.69 เนืองจากราคาวัตถุดิบลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา ซึ่งไดชดเชยบางสวนกับปริมาณการขายที่เพิ่มสูง ขึ้นในบางสวนของธุรกิจ ตนทุนขายสามารถแยกประเภทไดดงั นี้ รายละเอียด วัตถุดบิ และวัสดุสนิ้ เปลืองทีใ่ ชในการผลิต (รวมการเปลีย่ นแปลงสินคาคงคลัง) คาเสือ่ มราคา (ในตนทุนขาย) เงินเดือน คาจางและผลตอบแทนอืน่ ๆสําหรับพนักงาน (ในตนทุนขาย) คาสาธารณูปโภค (ไฟฟา/กาซธรรมชาติ/นํา้ เย็น เปนตน) อืน่ ๆ

2557-58

2558-59

2559-60

71.8% 7.4%

72.0% 7.9%

71.8% 8.2%

8.7% 10.0% 2.1% 100.0%

8.3% 9.6% 2.3% 100.0%

8.7% 9.0% 2.3% 100.0%

คาใชจา ยในการขายลดลงจํานวน 79.62 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 22.96 สาเหตุหลักจากการดําเนิน การจัดการคลังสินคาเองเมื่อเปรียบเทียบกับการทําสัญญาจางจากบุคคลภายนอกในปที่ผานมา คาขนสง, คานายหนาลดลง(เนือ่ งจากราคาขายลดลง) และคาใชจา ยในการเดินทางไปตางประเทศลดลง คาใชจา ยในการบริหารลดลงเมือ่ เปรียบเทียบกับปทผี่ า นมา จํานวน 16.37 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 19.50 เนือ่ งจากคาใชจา ยเกีย่ วกับคาบริการทางวิชาชีพลดลง (โดยการสิน้ สุดสัญญาทางเทคนิคและสัญญาการให คําปรึกษา) และความคิดริเริม่ ในการประหยัดคาใชจา ยอืน่ ๆ เชน การลดขนาดพืน้ ทีส่ าํ นักงานทีเ่ ชาในกรุงเทพฯ โดยการยายบุคคลากรใหไดมากทีส่ ดุ ไปยังโรงงานเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการประหยัดคาใชจา ย เชนเดียวกันกับการ ปรับปรุงประสิทธิภาพโดยการสรางผลลัพธแบบทวีคณ ู จากการทํางานรวมกัน ในการดําเนินงานจากสถานทีเ่ ดียว ซึ่งไดอธิบายไวขางตน และในปกอนมีการตั้งสํารองการเรียกรองเกี่ยวกับผลิตภัณฑของลูกคาสําคัญรายใหญ

087


รายหนึง่ ของแผนฟลม เคลือบซิลโิ คน และรวมถึงเงินเพิม่ จากภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลปบญ ั ชี 2554-2555 ซึง่ ทัง้ สอง รายการไดมกี ารกลับรายการในปนี้ และมีสว นชวยทําใหคา ใชจา ยในการบริหารลดลง สัดสวนคาใชจา ยรวมตอรายไดรวมลดลง จากรอยละ 104 เปนรอยละ 89 เปนผลมาจากขาดทุนจากการดอย คาในสินทรัพยทบี่ ริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกาในปทผี่ า นมา ซึง่ นําไปสูก ารประมาณการขาดทุนจากการดอยคา เงินลงทุนในบริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกา นอกเหนือจากนี้ สัดสวนคาใชจา ยตอรายไดรวมลดลงเนือ่ งจากตนทุน ขายและคาใชจา ยในการขายและบริหารลดลง และเนือ่ งจากกําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นในปนี้ เปรียบเทียบกับ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในปที่ผานมา คาใชจา ยทางการเงินเฉพาะบริษทั ระหวางปเทากับ 96.62 ลานบาท ลดลง 32.6 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 25.23 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา เหตุผลที่สําคัญของการลดลง เนื่องจากการจายชําระเงินกูสําหรับเงิน ทุนหมุนเวียนทีป่ ระเทศไทยจากเงินทีไ่ ดจากการเพิม่ ทุนแบบ Right Offering เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2559 จํานวน 640 ลานบาท และ การจายชําระคืนเงินกูย มื สําหรับเงินทุนหมุนเวียนลวงหนาทีป่ ระเทศไทย ในเดือน สิงหาคม 2559 โดยการกูย มื เงินระหวางบริษทั จาก บริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา ประมาณ 20 ลานยูโร เหตุผลสําหรับการ จายชําระลวงหนาของเงินกูย มื สําหรับเงินทุนหมุนเวียน เพือ่ ลดความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากความไมสงบทางการเมือง ทีผ่ า นมาในประเทศตุรกี และ เพือ่ ประโยชนจากการใชเงินสวนเกินทีบ่ ริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา ดอกเบีย้ เงินกูล ด ลงในไตรมาสนีเ้ นือ่ งจากการจายชําระเงินกูท ปี่ ระเทศไทยและสหรัฐอเมริกาในหนึง่ ปทผี่ า นมา สําหรับงบการเงินเฉพาะบริษทั ไมมภี าษีเงินไดนติ บิ คุ คลในปนี้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปทผี่ า นมามีผลประโยชนจาก ภาษีเงินไดจาํ นวน 26.8 ลานบาท เนือ่ งจากการตัง้ สํารองเพิม่ อัตรากําไร – อัตราสวนกําไรขัน้ ตน กําไรจากการดําเนินงาน และกําไรสุทธิ อัตราสวนกําไรขัน้ ตน กําไรจากการดําเนินงาน และกําไรสุทธิเพิม่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับปทผี่ า นมา อันเปนผลจากการ ปรับตัวดีขนึ้ โดยรวมของผลประกอบการ รวมถึงการดําเนินงานโครงการใหม ๆ ในประเทศไทยและประเทศ สหรัฐอเมริกา เนือ่ งจากการใชกาํ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ มีกาํ ไรจากอัตราแลกเปลีย่ นในปนเี้ มือ่ เปรียบเทียบกับปที่ ผานมามีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น สงผลใหอตั รากําไรสุทธิดขี นึ้ ในปนี้ 16.2

ฐานะการเงิน เนื่องจากการแข็งคาของเงินบาทตอเงินยูโร (ประมาณ 3.11 บาทตอยูโร) และ เงินเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 0.79 บาท ตอเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา) ในปนี้ เมือ่ เปรียบเทียบกับ มีนาคม 2559 ดังนัน้ การแปลงคารายงาน ของบริษัทยอยที่แสดงไวเปนเงินสกุลยูโรมีอัตราแลกเปลี่ยนที่ต่ําลง สงผลใหเกิดผลขาดทุนจากการแปลงคา จํานวน 551.89 ลานบาท สินทรัพย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทมีสินทรัพยรวมเทากับ 14,399 ลานบาท ลดลงคิดเปนรอยละ 8.56 จากป ที่ผานมาซึ่งมีสินทรัพยรวมจํานวน 15,631 ลานบาท สําหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท สินทรัพยรวมของบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เทากับ 8,222 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 2.1 จากปที่ผานมาซึ่งมีสินทรัพยรวม 8,054 ลานบาท

088


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

สินทรัพยที่สําคัญของบริษัทประกอบดวยสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยถาวร เงินลงทุน และสินทรัพย ไมหมุนเวียนอื่น โดยสินทรัพยแตละประเภทมีการเคลื่อนไหวดังตอไปนี้ สินทรัพยหมุนเวียน  ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นตามงบการเงินรวมลดลง เนื่องจากราคาขายและปริมาณการขายลดลง การลดลงนีไ้ ดชดเชยบางสวนกับปจจัยจากอัตราแลกเปลีย่ นของเงินยูโรตอเงินบาท เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา ตอเงินบาท ดังที่กลาวขางตน  สินคาคงคลังในงบการเงินรวมลดลง เนือ่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นลดลง สินคาคงคลังประเภท วัตถุดบิ และ สินคาสําเร็จรูปเพิม่ ขึน้ ในบริษทั ยอยทีต่ รุ กี ไดชดเชยบางสวนกับอัตราแลกเปลีย่ นทีล่ ดลงในบริษทั ยอยที่ สหรัฐอเมริกา  ตามงบการเงินรวมเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลง ประมาณ 346 ลานบาท เนื่องจาก การใชประโยชนจากเงินสวนเงินที่บริษัทยอยที่ประเทศตุรกี – โพลีเพล็กซ ยูโรปา โดยการจายคืนเงินกู สําหรับเงินทุนหมุนเวียนที่ประเทศไทย และจายคืนเงินกูยืมระยะยาวที่ประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา โดยการกูยืมเงินระหวางบริษัท  เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการลงทุนในเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่ม ของบริษัทยอย – บริษัท อีโคบลู จํากัด ซึ่งไดจากกําไรที่เกิดจากการดําเนินงานที่เกิดขึ้นระหวางป  ภาษีซื้อรอเรียกคืนเพิ่มขึ้นที่ประเทศไทย แตภาษีซื้อรอเรียกคืนลดลงที่บริษัทยอย  สินทรัพยหมุนเวียนอื่น – สินทรัพยหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น สวนใหญที่ประเทศไทยเนื่องจากกําไร MTM จากสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา เดือน มีนาคม 2560 เมือ่ เปรียบเทียบกับ เดือน มีนาคม 2559 นอกกจากนีย้ งั มีการเพิม่ ขึน้ ของสินทรัพยหมุนเวียนอืน่ ซึง่ สวนใหญเปนคาใชจา ยลวงหนาทีบ่ ริษทั ยอยที่ตุรกี ซึ่งบางสวนชดเชยกับอัตราแลกเปลี่ยนที่ลดลง สินทรัพยไมหมุนเวียน  เงินฝากธนาคารที่มีภาระคํ้าประกันตามเงื่อนไขของเงินกูยืมระยะยาว ของบริษัทยอยในสหรัฐอเมริกา การลดลงนี้เกิดจาก เนื่องจากการจายชําระคืนเงินกูลวงหนาในเดือนกันยายน 2559 ซึ่งงวดการชําระ ทั้งหมดจะถึงกําหนดชําระในป 2560 - 61  เงินลงทุนในบริษัทยอยเพิ่มขึ้น จํานวน 344 ลานบาท เนื่องจากเงินลงทุน 10 ลานเหรียญสหรัฐโดย บริษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ในหุนสามัญของโพลีเพล็กซ ยูเอสแอล แอล แอล ซี ในเดือนกันยายน 2559 เพื่อการชําระเงินกูลวงหนา  ที่ดิน อาคารและอุปกรณ(สุทธิ) ลดลง 798.55 ลานบาท ตามงบการเงินรวม และลดลง 225.54 ลานบาท สําหรับงบเฉพาะบริษทั เนือ่ งจากคาเสือ่ มราคาระหวางป ซึง่ ไดชดเชยบางสวนกับรายจายฝาย ทุนตามปกติเพิ่มขึ้นที่ประเทศไทยและบริษัทยอย  เงินจายลวงหนาคาสินทรัพยเพิ่มขึ้นตามงบการเงินรวม เนื่องจากเงินจายลวงหนาโดยบริษัทยอยใน สหรัฐอเมริกาสําหรับโครงการฟลมเคลือบอลูมิเนียม ซึ่งไดชดเชยบางสวนกับเงินจายลวงหนาคาซื้อ สินทรัพยลดลงที่ประเทศไทย เนื่องจากสินทรัพยถกู สงมอบแลว อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพย ตามงบการเงินรวม อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยของบริษทั เทากับรอยละ 9.10 เปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทน ตอสินทรัพยของบริษทั ติดลบทีร่ อ ยละ 0.73 ในปทผี่ า นมา สําหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราผลตอบแทนตอ สินทรัพยเทากับรอยละ 6.12 เปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยตดิ ลบทีร่ อ ยละ 4.02 ในปทผี่ า นมา

089


16.3

สภาพคลอง กระแสเงินสด งบการเงินรวม  ในปบญ ั ชี 2559-60 บริษทั และบริษทั ยอยมีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน จํานวน 2,114.20 ลานบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้  เงินสดทีม่ าจากกิจกรรมดําเนินงาน (กอนเปลีย่ นแปลงสินทรัพยและหนีส้ นิ ในการดําเนินงาน) มีจาํ นวน 1,994.18 ลานบาท  การเปลีย่ นแปลงของเงินทุนหมุนเวียน (เงินทีร่ บั เขา จํานวน 120.0 ลานบาท) ดังนี้ - ลูกหนีก้ ารคาลดลงจํานวน 91.89 ลานบาทเนือ่ งจากรายไดจากการขายลดลง จากราคาขายเฉลีย่ ทีล่ ดลง และปริมาณการขายทีล่ ดลงในบางธุรกิจ - เจาหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ จํานวน 140.67 ลานบาท เนือ่ งจากราคาวัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ ในเดือนกุมภาพันธ/ มีนาคม 2560 - จายผลประโยชนระยะยาวพนักงาน จํานวน 0.8 ลานบาท - จายภาษีเงินได จํานวน 34.7 ลานบาท - สินคาคงคลังลดลงจํานวน 56.78 ลานบาท - สินทรัพยหมุนเวียน/ไมหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 30.21 ลานบาท (เงินคืนภาษีมูลคาเพิ่มเพิ่มขึ้น /สวนลดคาวัตถุดบิ และ กําไรจาก MTM จากสัญญาซือ้ ขายอัตราแลกเปลีย่ นลวงหนา (forward contracts) เพิม่ ขึน้ ทีป่ ระเทศไทย) - หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ ลดลง จํานวน 103.6 ลานบาท เนือ่ งจากคาใชจา ยลดลงและเนือ่ งจากการกลับ รายการสํารองสวนเกินทีป่ ระเทศไทยและบริษทั ยอย  เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุนเทากับ 208.7 ลานบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้  สุทธิสนิ ทรัพยถาวรเพิม่ ขึน้ จํานวน 199.5 ลานบาท  เงินฝากธนาคารทีม่ ภี าระคํา้ ประกันเพิม่ ขึน้ 4.6 ลานบาท (กันไวสาํ หรับชําระคืนเงินกูแ ละชําระดอกเบีย้ อันเปนสวนหนึง่ ของเงือ่ นไขเงินกูร ะยะยาวของบริษทั ยอยในสหรัฐอเมริกาสําหรับโครงการสายการผลิต แผนฟลม PET)  สินทรัพยไมมตี วั ตนเพิม่ ขึน้ จํานวน 0.1 ลานบาท  เงินจายลวงหนาและเจาหนีค้ า ซือ้ สินทรัพยถาวรเพิม่ ขึน้ จํานวน 12.2 ลานบาท  เงินลงทุนชัว่ คราวเพิม่ ขึน้ จํานวน 4.6 ลานบาท  กระแสเงินสดใชไปสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 2,143.9 ลานบาท  การชําระคืนเงินกูร ะยะสัน้ สําหรับเงินทุนหมุนเวียนจํานวน 1,748.1 ลานบาท  การชําระคืนเงินกูร ะยะยาวแกธนาคาร จํานวน 890.9 ลานบาท  เงินสดจายคาดอกเบีย้ ของเงินกูร ะยะยาวและระยะสัน้ จํานวน 142.8 ลานบาท  เงินสดรับจากการเพิม่ ทุนจากการจัดสรรหุน สามัญใหมแกผถู อื หุน เดิม จํานวน 638 ลานบาท ยอดทีล่ ดลงประกอบกับขาดทุนจากการแปลงคางบการเงิน จํานวน 107.3 ลานบาทและเงินสดคงเหลือตนปเทากับ 1,076.4 ลานบาทสงผลใหบริษทั มีเงินสดสุทธิปลายปเทากับ 730.7 ลานบาท

090


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

งบเฉพาะกิจการ  ในป 2559-60 บริษัทมีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน ตามงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวน 710.6 ลานบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้  เงินสดทีม่ าจากกิจกรรมดําเนินงาน (กอนเปลีย่ นแปลงสินทรัพยและหนีส้ นิ ในการดําเนินงาน) มีจาํ นวน 780.6 ลานบาท  การเปลีย่ นแปลงของเงินทุนหมุนเวียน(เงินทีจ่ า ยไปจํานวน 69 ลานบาท) มีดงั นี้ - ลูกหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ จํานวน 56 ลานบาทเนือ่ งจากราคาขายลดลง - สินคาคงคลังลดลงจํานวน 3.6 ลานบาท - สินทรัพยหมุนเวียน/ไมหมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ จํานวน 24.1 ลานบาท (เงินคืนภาษีมลู คาเพิม่ เพิม่ ขึน้ /สวนลดคาวัตถุดบิ และ กําไรจาก MTM จากสัญญาซือ้ ขายอัตราแลกเปลีย่ นลวงหนา (forward contracts) เพิม่ ขึน้ ทีป่ ระเทศไทย) - การจายผลประโยชนระยะยาวของพนักงานจํานวน 0.3 ลานบาท - เจาหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ จํานวน 51.1 ลานบาท เนือ่ งจากราคาวัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ ในเดือนกุมภาพันธ/ มีนาคม 2560 - หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ ลดลงจํานวน 31.6 ลานบาท - จายภาษีเงินไดจาํ นวน 11.7 ลานบาท เนือ่ งจากการจายภาษีเงินไดสาํ หรับปบญ ั ชี 2554-2555  เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุนเทากับ 497.5 ลานบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้  การลงทุนในหุน สามัญในบริษทั โพลีเพล็กซ อเมริกา โฮลดิง้ จํานวน 346.3 ลานบาท (เทียบเทากับ 10 ลานเหรียญสหรัฐ) เพือ่ รองรับการจายชําระเงินกูล ว งหนาทีจ่ ะถึงกําหนดชําระในปบญ ั ชี 2560-2561  การเพิม่ ขึน้ สุทธิของสินทรัพยถาวรจํานวน 168.3 ลานบาท (คาใชจา ยลงทุนเพือ่ การบํารุงรักษาตาม ปกติอื่นๆ)  เงินจายลวงหนาและเจาหนีก้ ารคาสําหรับสินทรัพยถาวรลดลง 13.6 ลานบาท  เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ยอย – บริษทั อีโคบลู จํากัด 3.5 ลานบาท  กระแสเงินสดรับสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 200.2 ลานบาทดังรายละเอียดดานลาง  การชําระคืนเงินกูระยะสั้นสําหรับเงินทุนหมุนเวียนจํานวน 1,559 ลานบาท จากการเพิ่มทุนใหแกผู ถือหุนเดิมตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนถืออยู และจากเงินกูระหวางบริษัท  การชําระคืน (รวมการชําระคืนกอนกําหนดบางสวน) เงินกูร ะยะยาวแกธนาคารจํานวน 379.3 ลานบาท  เงินสดจายคาดอกเบีย้ ของเงินกูร ะยะยาวและระยะสัน้ จํานวน 96.2 ลานบาท  การเบิกเงินกูจ ากบริษทั ยอย (โพลีเพล็กซ ยูโรปา, ตุรกี) จํานวน 1,196.3 ลานบาท เพือ่ ชําระคืนเงิน กูเงินทุนหมุนเวียนและเงินกูระยะยาวธนาคารกอนกําหนด  เงินสดรับจากการเพิม่ ทุนจากการจัดสรรหุน สามัญใหมแกผถู อื หุน เดิม จํานวน 638 ลานบาท ยอดที่เพิ่มขึ้นประกอบกับเงินสดคงเหลือตนงวดจํานวน 25.7 ลานบาท สงผลใหบริษัทมีเงินสดสุทธิปลาย งวดเทากับ 38.6 ลานบาท อัตราสวนสภาพคลอง ในป 2559-60 ตามงบการเงินรวมบริษทั มีอตั ราสวนสภาพคลองเทากับ 1.66 เทาและ อัตราสวนสภาพคลอง หมุนเร็วเทากับ 0.94 เทา และตามงบการเงินเฉพาะบริษัท 0.52 เทา และ 0.31 เทาตามลําดับ ตามงบการ

091


เงินรวมมีระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลีย่ 58 วัน ในชวงป 2559-60 ระยะเวลาเจาหนีก้ ารคาเทากับ 42 วัน และระยะ เวลาขายเฉลี่ย 19 วัน ทําใหมี cash cycle เทากับ 35 วันเทียบกับ cash cycle ในปที่ผานมาคือ 31 วัน ตามงบการเงินเฉพาะบริษทั มีระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลีย่ 74 วันในป 2559-60 ระยะเวลาชําระหนีก้ ารคา 48 วัน และระยะเวลาขายเฉลี่ย 5 วัน ทําใหมี cash cycle เทากับ 32 วันเหมือนกับในปที่ผานมา 16.4

แหลงทีม่ าของเงินทุน แหลงเงินทุนของบริษัทมาจากการกูยืมเงินระยะยาวและระยะสั้นจากสถาบันการเงินและสวนของ ผูถือหุน หนีส้ นิ รวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ตามงบการเงินรวม บริษัทมีหนี้สินรวมเทากับ 4,732 ลานบาท ลดลง 2,695 ลานบาท เมื่อเทียบกับปที่ผานมา การเคลื่อนไหวของหนี้สินที่สําคัญๆมีดังตอไปนี้ หนีส้ นิ หมุนเวียน  เงินกูย มื ระยะสัน้ ลดลง จํานวน 1,748.07 ลานบาท ตามงบการเงินรวม เนือ่ งจากเงินกูส าํ หรับเงินทุนหมุนเวียน ลดลงทีป่ ระเทศไทย เนือ่ งจากการจายชําระคืนเงินกูด ว ยเงินจากการเพิม่ ทุนแบบ Right Offering จํานวน 640 ลานบาท เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2559 และเงินทีไ่ ดเงินกูย มื ระหวาง บริษทั จํานวน 20 ลานยูโร ในเดือน สิงหาคม 2559 จากบริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา เพือ่ ลดความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากความไมสงบทางการเมืองที่ ผานมาในประเทศตุรกี และ เพือ่ ประโยชนจากการใชเงินสวนเกินทีบ่ ริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา  เงินกูย มื ระยะยาวรวมถึงทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ปลดลง ตามงบการเงินรวม เนือ่ งจากการจายชําระ เงินกูท ปี่ ระเทศไทย และการจายชําระคืนเงินกูล ว งหนา ของ บริษทั โพลีเพล็กซ ยูเอสเอแอล แอล ซี ใน เดือนกันยายน 2559 ทีจ่ ะถึงกําหนดชําระใน ปบญ ั ชี 2560 – 61 (14 ลานเหรียญสหรัฐ) ซึง่ การจายชําระคืน เงินกูด งั กลาวไดจาก เงินลงทุนในหุน สามัญ โดย บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) และเงินทีไ่ ดจากการดําเนินงาน รวมถึงเงินกูย มื สําหรับเงินทุนหมุนเวียนทีส่ หรัฐอเมริกา ในเดือนธันวาคม 2559 มีการจายชําระคืนเงินกูจ าํ นวน 6.4 ลานเหรียญสหรัฐทีป่ ระเทศไทย ซึง่ บางสวนกูย มื เงินระหวางบริษทั จากบริษทั ยอยทีต่ รุ กี สวนเหลือจาก เงินสดภายใน  เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ เพิม่ ขึน้ สวนใหญ เนือ่ งจากเจาหนีก้ ารคาคาวัตถุดบิ เพิม่ สูงขึน้ ทีป่ ระเทศไทย และบริษทั ยอย เนือ่ งจากราคาวัตถุดบิ หลักเพิม่ สูงขึน้ ในเดือนกุมภาพันธ – มีนาคม 2560 ซึง่ ไดชดเชยบาง สวนกับอัตราแลกเปลีย่ นทีล่ ดลง  ภาษีเงินไดคางจายลดลง เนื่องจากมีการจายภาษีเงินไดที่ประเทศไทยสําหรับปบัญชี 2554-2555 ซึง่ ไดบนั ทึกในเดือนมีนาคม 2559  หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ ลดลง เนือ่ งจากการตัง้ คาใชจา ยลดลงและเนือ่ งจากการกลับรายการการตัง้ สํารองสวน เกินทีป่ ระเทศไทยและบริษทั ยอย และเนือ่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นลดลง การเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน ทีส่ าํ คัญ  กําไรสะสมตามงบการเงินรวมเพิม่ ขึน้ 1,366.55 ลานบาท และกําไรสะสมตามงบการเงินเฉพาะกิจการเพิม่ ขึน้ 489.97 ลานบาท เนื่องจากผลกําไรสุทธิระหวางป  การลดลงจํานวน 553 ลานบาท ขององคประกอบอืน่ ของสวนของผูถ อื หุน เนือ่ งจากขาดทุนจากการแปลง คางบการเงินของบริษัทยอย เนื่องจากการแข็งคาของเงินบาทเทียบกับเงินยูโร และเงินเหรียญสหรัฐ ดังที่อธิบายขางตน

092


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

 สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ยอยเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากผลกําไรสุทธิระหวางป และยังเกิด จากการเพิม่ ขึน้ ของสัดสวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ยอยเพิม่ ขึน้ จาก รอยละ 26 เปน รอยละ 33.5 เนือ่ งจากการขายหุน รอยละ 7.5 จากบริษทั ฯ ใหกบั ผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุม ของบริษทั ยอยในเดือนกรกฎาคม 2559 อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถ อื หุน อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนเทากับรอยละ 15.32 ตามงบการเงินรวม และเทากับรอยละ 14.98 ตามงบเฉพาะกิจการ เปรียบเทียบกับปที่ผานมาติดลบรอยละ 1.56 ตามงบการเงินรวม และติดลบรอยละ 11.18 ตามงบเฉพาะกิจการ บริษัทมีนโยบายจายเงินปนผลประมาณรอยละ 40 ของกําไรสุทธิตามงบการเงินรวม โดยพิจารณาภาวะ เศรษฐกิจ แผนการเติบโตของธุรกิจ โอกาสการใชทรัพยากรในอนาคต ฐานะการเงิน และสภาพคลองของบริษทั ตลอดจนตองไดรับการอนุมัติจากผูถือหุน สําหรับป 2559-60 โดยคํานึงถึงสภาพคลองโดยรวมของบริษทั ถึงภาระหนาทีใ่ นการชําระคืนเงินกูร ะยะยาวที่ ประเทศไทยและประเทศสหรัฐอเมริกาและความจําเปนในการรักษาเงินสดเพือ่ ใชในโครงการทีก่ าํ ลังดําเนินการอยู ตลอดจนโอกาสในการเติบโตในอนาคต คณะกรรมการเห็นสมควรเสนอจายปนผล 0.36 บาทตอหุนหรือ คิดเปนจํานวนเงินรวม 324 ลานบาทและนําเสนอเพื่อไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุน ในเดือนกรกฎาคม 2560 อัตราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน และความสามารถในการชําระดอกเบีย้ อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน(เฉพาะหนี้เงินกูระยะสั้นและระยะยาวรวมทั้งสวนที่ครบ กําหนดใน 1 ป สุทธิจากเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและเงินลงทุนสินทรัพยหมุนเวียน) เทากับ 0.26 เทาตาม งบการเงินรวม (เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาเทากับ 0.59 เทา) และ 0.92 เทาตามงบการเงินเฉพาะบริษัท (เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาเทากับ 1.64 เทา) การลดลงเนื่องจากการชําระคืนเงินกูยืมสําหรับเงิน ทุนหมุนเวียนในประเทศไทยโดยใชเงินจํานวน 640 ลานจากการการเสนอขายหุนเพิ่มทุน Rights Offering ในเดือนพฤษภาคม 2559 และ การชําระคืนเงินกูย มื สําหรับเงินทุนหมุนเวียนในเดือนสิงหาคม 2560 โดยการ กูย มื เงินระหวางบริษทั จาก โพลีเพล็กซ ยูโรปา จํานวน 20 ลานยูโร เหตุผลในการชําระคืนเงินกูย มื สําหรับเงิน ทุนหมุนเวียนลวงหนาเนือ่ งจากการลดความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากความไมสงบทางการเมืองทีผ่ า นมาในประเทศตุรกี และ เพื่อประโยชนจากการใชเงินสวนเกินที่บริษัท โพลีเพล็กซ ยูโรปา นอกจากนี้ ยังมีการชําระคืนเงินกูยืม ระยะยาวจํานวน 14 ลานเหรียญสหรัฐที่บริษัทยอยในประเทศสหรัฐอเมริกา ในเดือนกันยายน 2559 และ จํานวน 6.4 ลานเหรียญสหรัฐที่ประเทศไทยในเดือนธันวาคม 2559 เพื่อใชประโยชนจากเงินทุนสวนเกินที่ บริษทั ยอยในตุรกี ซึง่ ชวยลดอัตราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน ตามงบการเงินรวมและเงินการเงินเฉพาะบริษทั อัตราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน (สําหรับหนีส้ นิ รวมซึง่ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียนและหนีส้ นิ ไมหมุนเวียน) เทากับรอยละ 0.49 เมื่อเทียบกับงบการเงินรวมและ 1.12 สําหรับงบเฉพาะกิจการ อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบีย้ ตามงบรวมและงบเฉพาะบริษทั เทากับ 15.24 และ 7.60 ตามลําดับ เทียบปทผี่ า นมา เทากับ 6.56 และ 5.76 ตามลําดับ เนือ่ งจากกําไรจากการดําเนินงานในระหวางปดขี นึ้

093


ภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั มีภาระผูกพันและหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตดังนี้ (ก) บริษทั ฯมีสญ ั ญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ดังตอไปนี้ 2560 สกุลเงิน

จํานวนทีซ่ อื้ (ลาน)

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร เยน

3.18 1.02 -

จํานวนทีข่ าย (ลาน) 31.30 1.25 51.35 2559

สกุลเงิน

จํานวนทีซ่ อื้ (ลาน)

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร เยน

1.37 0.36 -

จํานวนทีข่ าย (ลาน) 31.39 1.26 19.42

อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญาของ จํานวนทีซ่ อื้ จํานวนทีข่ าย (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 34.4552 - 35.4615 34.4400 - 35.7600 37.6760 36.9500 - 37.9000 0.3082 - 0.3114 อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญาของ จํานวนทีซ่ อื้ จํานวนทีข่ าย (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 35.2300 - 36.4989 35.2000 - 36.3900 39.3700 - 41.3900 38.1500 - 40.1600 0.3143 - 0.3145

(ข) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2558 บริษทั ยอยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจายฝายทุนจํานวนประมาณ 0.6 ลาน บาท ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับการกอสรางอาคาร และการซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ (ค) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 บริษทั ฯมีภาระผูกพันในการจายคาบริการตามสัญญาบริการหลายฉบับ คิดเปน จํานวนรวม 15.1 ลานบาท (2558: 91.7 ลานบาท) สัญญาดังกลาวสิน้ สุดในระหวางเดือนเมษายน 2559 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2562 (ง) บริษทั ฯไดทาํ สัญญาเชาทีเ่ กีย่ ของกับการเชาพืน้ ทีใ่ นอาคารสํานักงานและอุปกรณ อายุของสัญญามีระยะ เวลาตัง้ แต 1 ถึง 4 ป บริษทั ฯมีภาระผูกพันในการจายคาเชาตามสัญญาเชาดังกลาวดังนี้ (หนวย: ลานบาท)

จายชําระ ภายใน 1 ป มากกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 2559 0.3 -

2.0 0.3

(จ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั ฯมีภาระคํา้ ประกันระยะสัน้ ใหแกบริษทั ยอยแหงหนึง่ (Polyplex USA LLC) จํานวน 30.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 30.0 ลานเหรียญ-สหรัฐอเมริกา) สําหรับวงเงินทุนหมุนเวียน ทีบ่ ริษทั ยอยไดรบั จากสถาบันการเงิน

094


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

(ฉ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั ฯคํา้ ประกันเงินกูย มื ระยะยาวใหแกบริษทั ยอยแหงหนึง่ ((Polyplex USA LLC) เปนจํานวน 84.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 84.0 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา) สําหรับเงินกูย มื ระยะยาวทีบ่ ริษทั ยอยไดรบั จากสถาบันการเงิน โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั ยอยมียอดคงคางของ เงินกูย มื เปนจํานวน 38.3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 52.2 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) (ช) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi คํา้ ประกันวงเงินสินเชือ่ ใหแก Polyplex Paketleme Cozumleri Sanayi Ve Tickaret Anonim Sirketi เปนจํานวน 5.7 ลานยูโร (2559: 5.7 ลานยูโร) (ซ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทฯมีภาระคํ้าประกันใหแกผูจําหนายวัตถุดิบของ Polyplex USA LLC เปนจํานวน 2.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 1.8 ลานเหรีญสหรัฐอเมริกา) (ฌ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีหนังสือคํา้ ประกันเหลืออยูด งั นี้ (หนวย: ลาน)

หนังสือคํา้ ประกันสําหรับ การใชไฟฟา ภาษีซอื้ รอเรียกคืน อืน่ ๆ รวม อืน่ ๆ รวม การชําระคาสินคา รวม

16.5

สกุลเงิน บาท บาท บาท บาท ยูโร ยูโร เหรียญสหรัฐอเมริกา เหรียญสหรัฐอเมริกา

งบการเงินรวม 2560 2559 0.6 0.6 106.9 4.1 0.1 4.7 107.6 2.8 7.2 2.8 7.2 1.2 1.8 1.2 1.8

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 0.6 0.6 106.9 4.1 0.1 4.7 107.6

ปจจัยและอิทธิพลหลักทีอ่ าจมีผลตอการดําเนินงานและฐานะการเงินในอนาคต ในชวงไมกปี่ ท ผี่ า นมาเปนชวงทีท่ า ทายอยางมากสําหรับอุตสาหกรรมแผนฟลม โพลีเอสเตอร โดยมีภาวะสินคา ลนตลาดจากการเพิม่ ปริมาณอุปทานของผูป ระกอบการเพือ่ รับกับวงจรอุตสาหกรรมในชวงขาขึน้ ป 2553/2554 สําหรับโพลีเพล็กซแลว มีความทาทายมากขึน้ จากการใชกาํ ลังการผลิตของโครงการใหมๆ ทีเ่ ริม่ ดําเนินการผลิตในป 2556 ในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา สิง่ ทีเ่ ปนความทาทายสําหรับบริษทั ในปทจี่ ะถึงนีม้ ดี งั ตอไปนี้ - ความผันผวนของราคาวัตถุดบิ และการเคลือ่ นไหวของราคาทีเ่ พิม่ ขึน้ อยางมีนยั สําคัญ ซึง่ อาจทําใหบริษทั ไมสามารถสะทอนตนทุนทีส่ งู ขึน้ ในราคาจําหนายแกลกู คาไดเต็มทีใ่ นสภาวะตลาดทีเ่ ปราะบางในปจจุบนั ความผันผวนของราคาวัตถุดิบไมดีเนื่องจากกระทบตอความเชื่อมั่นทางธุรกิจโดยรวม - ถึงแมวา อัตราการใชกาํ ลังการผลิตของสายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดบางในสหรัฐอเมริกา สายการผลิต แผนฟลม PET ชนิดหนาในประเทศไทยดีขนึ้ อยางมากเมือ่ เปรียบเทียบกับปกอ น ซึง่ ใกลเคียงกับระดับที่ เหมาะสม ความทาทายทีย่ งั คงมีตอ ไปคือการการรักษาเสถียรภาพและความสมํา่ เสมอในประสิทธิภาพอยาง ตอเนือ่ ง

095


- ภาวะความผันผวนอยางตอเนือ่ งของอัตราแลกเปลีย่ นเงินบาทตอเงินเหรียญสหรัฐและยูโร ตลอดจนการ เคลือ่ นไหวของเงินยูโรเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐ สงผลกระทบตอกําไรของบริษทั บริษทั มีความเสีย่ งจาก ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นสองประการ ประการแรกคือ กําไรจากการดําเนินงานตลอดจนการปรับ มูลคาสินทรัพย/หนี้สินที่เปนสกุลเงินตางประเทศของบริษัทในงบการเงินเฉพาะ และประการที่สองคือ การแปลงตัวเลขในงบการเงินของบริษทั ยอยซึง่ เปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐ เงินยูโร และเงินหยวนจีนมาเปน เงินบาทสําหรับการจัดทํางบการเงินรวม แมวา บริษทั จะมีการปองกันความเสีย่ งรายการการดําเนินงานที่ เปนสกุลเงินตางประเทศโดยสวนใหญ แตกไ็ มสามาถปองกันความเสีย่ งไดโดยสมบูรณในการแปลงคาเงิน กูระยะยาว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เงินกูสกุลเงินตางประเทศทั้งหมดในประเทศไทยมีจํานวนเทากับ 73.1 ลานยูโร (รวมเงินกูยืมกับกิจการที่เกี่ยวของกัน) และ 23.4 ลานเหรียญสหรัฐ ตลอดจนเงินกูยืมกับ กิจการที่เกี่ยวของกันจํานวน 32.8 ลานยูโรในสหรัฐอเมริกา ในระยะยาว บริษทั ยังคงมัน่ ใจวาจะสามารถรักษาความสามารถในการแขงขันไวไดดว ยเหตุผลตอ ไปนี้ 1. ประโยชนทบี่ ริษทั จะไดรบั จากโครงการตางๆและการขยายงานในชวงทีผ่ า นมา ทัง้ โครงการเดิมและโครงการ ทีก่ าํ ลังดําเนินการ ดังนี้ ก. PTL และบริษทั ยอยทีเ่ ปนโรงงานผลิตตางก็ไดรบั ประโยชนอยางชัดเจนจากการ ทีม่ โี รงงานผลิตเม็ด พลาสติกของตนเอง เพือ่ ใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิต ทัง้ ในเชิง ตนทุนคุณภาพ และความแนนอนของ ปริมาณวัตถุดบิ ในการปอนการผลิต ประโยชนทชี่ ดั เจนของการมีสายการผลิตเม็ดพลาสติกของตนเองคือ การที่ บริษทั จะสามารถลดตนทุนการผลิตอันเนือ่ งมาจาก ประสิทธิภาพในการจัดหา วัตถุดบิ ซึง่ จะสงผล ใหการจัดสงวัตถุดบิ มายังโรงงานแผนฟลม PET ของ บริษทั ได แนนอนและทันเวลา การทีส่ ามารถจัดหา PTA และ MEG ซึง่ เปนวัตถุดบิ หลักได แนนอน ทําใหความเสีย่ งในเรือ่ งการขาดแคลนวัตถุดบิ ลดลงดวย อยางไรก็ตาม จากภาวะตลาดที่ปรับตัวดีขึ้น ราคาวัตถุดิบ ที่เพิ่มสูงขึ้นสวนหนึ่งสามารถสงผานไป ยังลูกคาหรือผูใ ชสนิ คา ปลายทาง เพือ่ เปนการรักษา margin นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสให บริษทั สามารถ พัฒนาผลิตภัณฑแผนฟลม ประเภทใหมๆทีเ่ ปนความเชีย่ วชาญเฉพาะไดเพิม่ ขึน้ อีกดวย ข. การจัดตัง้ สายการผลิตแผนฟลม เคลือบอลูมเิ นียมทัง้ ในประเทศไทย ประเทศตุรกี และสหรัฐอเมริกา เปนการชวยเพิ่มประเภทผลิตภัณฑโดยการเพิ่มสัดสวนของแผนฟลมที่เปนความเชี่ยวชาญเฉพาะ ในพอรตการจัดจําหนายโดยรวม ในประเทศไทย แผนฟลม PET ตลอดจน CPP และ Blown PP มีการเขากระบวนการเคลือบอลูมิเนียมในขณะที่ในตุรกีและสหรัฐอเมริกา มีการใชเครื่องเคลือบอลู มิเนียมสําหรับเคลือบแผนฟลม PET เครือ่ งทดแทนใหมสาํ หรับ Metallizer ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา จะเพิ่มขีดความสามารถสําหรับฟลมเพิ่มมูลคา ค. สายการผลิตแผนฟลมเคลือบอัดขึ้นรูป (Extrusion Coating) สองสายในประเทศไทย สามารถชวย ลดความเสี่ยงใหแกบริษัทจากการที่ตองอาศัยแผนฟลมธรรมดาที่เปน สินคา commodity ทั่วไป โดยใหเนนผลิตภัณฑที่มีมูลคาเพิ่ม และผลิตภัณฑเกรด พิเศษและคุณสมบัติเฉพาะอื่นๆมากขึ้น ง. โครงการแผนฟลม CPP ซึง่ เริม่ ดําเนินงานในประเทศไทยแลวในป 2553 ทําใหบริษทั สามารถขยายฐาน ผลิตภัณฑใหกวางออกไปจนเปนผูผ ลิตและจําหนายผลิตภัณฑดา นบรรจุภณ ั ฑอยางครบวงจร (Complete packaging solution provider) มิใชเปนเพียงผูผ ลิตหรือจําหนายแผนฟลม PET จ. โครงการเคลือบซิลิโคนที่เริ่มการผลิตในป 2555 และโครงการแผนฟลม Blown PP ซึ่งเริ่มการ ผลิตในป 2556 ในประเทศไทย จะเปนการสรางความหลากหลายแกประเภทผลิตภัณฑของบริษัท โดยเฉพาะอยางยิง่ เปนการเพิม่ ผลิตภัณฑทมี่ มี ลู คาเพิม่ ใหมากขึน้ สายการผลิตแผนฟลม Blown PP สายที่สองที่ประเทศไทยอยูระหวางการดําเนินการ

096


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ฉ. สายการผลิตแผนฟลม PET ชนิดหนาซึง่ เริม่ ดําเนินการในป 2556 ในประเทศไทยจะชวยในการกระจาย สัดสวนจําหนายผลิตภัณฑแตละประเภทและชวยลดความเสีย่ งจากการขึน้ ลงของวงจรอุตสาหกรรม แผนฟลม PET ชนิดบาง เนื่องจากแผนฟลม PET ชนิดหนาจะมีเสถียรภาพมากกวา 2. โพลีเพล็กซไดรับประโยชนจากการที่มีขนาดธุรกิจที่ใหญขึ้น และมีเครือขายการจัด จําหนายทั่วถึง ใน 4 ภูมภิ าคในปจจุบนั โดยบริษทั ไดรบั การยอมรับในความเปนผูผ ลิต ทีม่ เี ครือขายการผลิตและการจําหนาย ทั่วโลก และมีฐานลูกคาที่แนนอน 3. โพลีเพล็กซสามารถวางสถานะของกลุม ในฐานะผูผ ลิตและจําหนายผลิตภัณฑคณ ุ ภาพทีแ่ นนอนสมํา่ เสมอ 4. โพลีเพล็กซไดมกี ารลงทุนทีส่ าํ คัญในดานของการจัดจําหนาย โดยเฉพาะในการทีเ่ ขาซือ้ ธุรกิจในสหรัฐอเมริกา คือ โพลีเพล็กซ (อเมริกา) อิงค (PA) ซึ่งปจจุบันไดควบรวมกิจการกับ โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี (PUL) ทีเ่ ปนกิจการเพือ่ การผลิตในสหรัฐอเมริกา การลงทุนในโพลีเพล็กซ (เทรดดิง้ ) เซิน้ เจิน้ ประเทศจีน การจัดตัง้ บริษทั เพือ่ คาในประเทศเนเธอรแลนดในป 2556 ตลอดจนการจัดตัง้ คลังสินคาใหครอบคลุมทัว่ ยุโรปเพือ่ ใหการจัดจําหนายเปนไปไดดยี งิ่ ขึน้ รวมถึงการจัดตัง้ สํานักงานประสานงานในประเทศมาเลเซีย และเกาหลี 16.6

คาตอบแทนของผูส อบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษทั และบริษทั ยอย จายคาตอบแทนจากการสอบบัญชี ดังนี้ - ผูส อบบัญชีของบริษทั ในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมามีจาํ นวนเงินรวม บาท และ - สํานักงานสอบบัญชีทผี่ สู อบบัญชีสงั กัดบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกับผูส อบบัญชีและ สํานักงาน สอบบัญชีทผี่ สู อบบัญชีสงั กัด ในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมีจาํ นวนเงินรวม 2,330,000 บาท 2.

คาบริการอืน่ (Non -audit Fee) บริษัทและบริษัทยอยจายคาตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งไดแก การตรวจสอบการปฏิบัติตาม เงือ่ นไขของบัตรสงเสริม การใหบริการทีป่ รึกษาดานกฎหมายและภาษี รวมทัง้ บริการตรวจสอบดานภาษี และบริการเกีย่ วกับ BOI ดังนี้ - ผูส อบบัญชีของบริษทั ในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมามีจาํ นวนเงินรวม บาท และจะตองจายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงทีย่ งั ใหบริการไมแลวเสร็จในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมามี จํานวนเงินรวม บาท และ - สํานักงานสอบบัญชีทผี่ สู อบบัญชีสงั กัด บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกับผูส อบบัญชีและ สํานักงานสอบบัญชีดงั กลาวในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมามีจาํ นวนเงินรวม 160,000 บาท และจะตองจายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงทีย่ งั ใหบริการไมแลวเสร็จในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมามี จํานวนเงินรวม 570,000 บาท

097


1 นายมนู เลียวไพโรจน

ชือ่ - สกุล

 

ประธาน 74  กรรมการ และประธาน กรรม  การตรวจสอบ 

ตําแหนง

อายุ (ป)

ความสัมพันธ สัดสวน ทางครอบครั ว อหุน คุณวุฒกิ ารศึกษา ระหวาง การถื ชวงเวลา ผูบ ริหาร (รอยละ) 2547 - ปจจุบนั ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบณ ั ฑิต (เกียรตินยิ มดี), 2546 - ปจจุบนั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท M.Sc (Econ.) 2548 - 2553 University of Kentucky, U.S.A. ปริญญาเอก บริหารธุรกิจ ดุษฎี 2553 - ปจจุบนั บัณฑิต กิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัย 2547 - ปจจุบนั ธรรมศาสตร 2549 - ปจจุบนั วุฒบิ ตั ร การพัฒนาอุตสาหกรรม จากศูนยอบรมนาโงยา 2547 - ปจจุบนั ประเทศญีป่ นุ ปริญญาบัตร วปอ. รุน ที่ 34 2554 - ปจจุบนั วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการ 2553 - ปจจุบนั บริษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Role of Chairman 2553 - ปจจุบนั (RCM) รุน ที่ 3/2001 2547 - ปจจุบนั - หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน ที่ 30/2003

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ และ ผูบร�หารของบร�ษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

098 บริษทั / ประเภทธุรกิจ

ประธานคณะกรรมการและ บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) ประธานกรรมการตรวจสอบ จํากัด (มหาชน) กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 5 สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ดานการคาและอุตสาหกรรม) สํานักงานความรวมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับ ประธานคณะกรรมการ ประเทศเพื่อนบาน บริษทั เออารไอพี จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั นํา้ ตาลขอนแกน จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั สยามสตีลอินเตอรเนชัน่ แนล กรรมการและกรรมการ จํากัด (มหาชน) บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ตรวจสอบ ตลาดหลักทรัพยสงิ คโปร บริษทั ที.เอ็ม.ซี อุตสาหกรรม ประธานกรรมการ จํากัด (มหาชน) บริษทั ยูบลิ ลี่ เอ็นเตอรไพรส ประธานกรรมการ จํากัด (มหาชน) บริษทั เอสวีโอเอ จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั บางกอกสหประกันภัย ประธานกรรมการ จํากัด (มหาชน)

ตําแหนง

ประสบการณทาํ งานในระยะ 5 ป ยอนหลัง


58  Fellow Chartered Accountant Institute of Chartered Accountants of India  Associate Company Secretary The Institute of Company Secretaries of India

กรรมการ

3 นายปราเนย โกธารี

คุณวุฒกิ ารศึกษา

กรรมการและ 59  ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร, รองประธาน Indian Institute of กรรมการ Technology, Kharagpur

ตําแหนง

2 นายซันจีฟ ซาราฟ

ชือ่ - สกุล

อายุ (ป)

ความสัมพันธ สัดสวน ประสบการณทาํ งานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ทางครอบครัว การถื อหุน ระหวาง (รอยละ) ชวงเวลา ตําแหนง บริษทั / ประเภทธุรกิจ ผูบ ริหาร พ.ค. 2554-มี.ค.2558 ผูจ ดั การทัว่ ไปและประธาน บริษทั โพลีเพล็กซ (เอเชีย) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด เจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอร กรรมการและประธาน 2547-มิ.ย.2559 ฟลม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม กรรมการ ซิเกติ ประเทศตุรกี บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) กรรมการผูจ ดั การ 2545-ก.ค.2553 จํากัด (มหาชน) บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) ก.ค.2553- ปจจุบนั รองประธานกรรมการ จํากัด (มหาชน) บริษทั โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด พ.ค. 2545- ปจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั โพลีเพล็กซ อเมริกา โฮลดิง้ จํากัด 2554- มี.ค. 2559 กรรมการ บริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอร 2547- มิ.ย. 2559 กรรมการ ฟลม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ ประเทศตุรกี บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) กรรมการ 2545-ปจจุบนั จํากัด (มหาชน) บริษทั โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด กรรมการบริหาร 2539-ปจจุบนั

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

099


ชือ่ - สกุล

5 ดร.วีรพงษ รามางกูร

4 นายมานิตย กุปตา

100

ความสัมพันธ สัดสวน ประสบการณทาํ งานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ทางครอบครั ว ตําแหนง คุณวุฒกิ ารศึกษา อหุน ระหวาง การถื ชวงเวลา ตําแหนง บริษทั / ประเภทธุรกิจ (ร อ ยละ) ผูบ ริหาร กรรมการ 48  Master’s degree MBA, India มี.ค.2551-ปจจุบนั ผูอ าํ นวยการสูงสุดดานการเงิน บริษทั โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด of Institute of Management, (กลุม โพลีเพล็กซ) Bangalore พ.ย. 2555-ปจจุบนั กรรมการ บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) กรรมการและกรรมการ 2547-ปจจุบนั กรรมการและ 74  ปริญญาตรี จํากัด (มหาชน) ตรวจสอบ กรรมการ รัฐศาสตรบณ ั ฑิต บมจ.ทางดวนและรถไฟฟากรุงเทพ ประธานกรรมการ ม.ค.2559-ปจจุบนั ตรวจสอบ เกียรตินยิ มอันดับหนึง่ , บมจ.ดับ๊ เบิล้ เอ (1991) ประธานกรรมการ 2538-ปจจุบนั จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บมจ. ฟนนั ซา ประธานกรรมการ 2548-ปจจุบนั  ปริญญาโท บริษทั เซาทอสี ท เอเชีย เอนเนอรจี จํากัด ประธานกรรมการ 2549-ปจจุบนั เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, บริษทั โรงพยาบาลบางมด จํากัด ประธานกรรมการ 2548-ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเพนซิล บริษทั ไฟฟานํา้ งึม 2 จํากัด ประธานกรรมการ 2543-ปจจุบนั วาเนีย สหรัฐอเมริกา มูลนิธสิ ถาบันเพือ่ การพัฒนาประเทศไทย กรรมการ ปจจุบนั  ปริญญาเอก กลุม บริษทั คิง พาวเวอร ประธานทีป่ รึกษาคณะ 2551-ปจจุบนั เศรษฐศาสตรดษุ ฎีบณ ั ฑิต, อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด มหาวิทยาลัยเพนซิล บมจ.อารียา พรอพเพอรตี้ กรรมการ 2547-ปจจุบนั วาเนีย สหรัฐอเมริกา ประธานทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์  ปริญญาเอก นิตศิ าสตรดษุ ฏีบณ ั ฑิตกิตมิ ศักดิ,์ มหาวิทยาลัยเวบสเตอร เซ็นหลุยส สหรัฐอเมริกา  เครือ่ งราชอสริยาภรณ - มหาปรมาภรณชา งเผือก - มหาวชิรมงกุฎไทย

อายุ (ป)


ตําแหนง

71  ปริญญาดานการบริหารธุรกิจ, วิทยาลัยเทคโนโลยี แหงเชฟฟลด ประเทศอังกฤษ  ปริญญาโท บริหารธุรกิจ, รัฐประ ศาสนศาสตร และปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง  ปริญญาเอก บริหารธุรกิจดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ สายบริหารธุรกิจและการจัดการ สถาบัน ราชภัฏลําปาง

คุณวุฒกิ ารศึกษา

-

กรรมการ

ตําแหนง

กรรมการและกรรมการ บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) ตรวจสอบ จํากัด (มหาชน) มี.ค.2551-ปจจุบนั Director – Investment G.P. Group of Companies Limited กรรมการ บริษทั เมกา ไลฟ ไซแอ็นซ จํากัด (มหาชน) ก.พ.2556-ปจจุบนั พ.ค. 2559-ปจจุบนั กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษทั บูทคิ คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

2547-ปจจุบนั

บริษทั มิตซูบชิ ิ อีเล็คทริค กันยงวัฒนา จํากัด บริษทั โยโกฮมา รับเบอร (ประเทศไทย) จํากัด บริษทั กุลธรเคอรบี้ จํากัด (มหาชน) มิ.ย. 2537 - ปจจุบนั กรรมการ ส.ค.2551- ปจจุบนั กรรมการสรรหาและกําหนด บริษทั กันยงอีเลคทริก จํากัด (มหาชน) คาตอบแทน

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษทั กันยง อีเลคทริก จํากัด (มหาชน)

บริษทั / ประเภทธุรกิจ

ประสบการณทาํ งานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ต.ค. 2542 - ปจจุบนั ประธานกรรมการ /ประธานกรรมการบริหาร พ.ย. 2538 - ปจจุบนั ประธานกรรมการ ก.ค. 2539 - ปจจุบนั ประธานกรรมการ

ความสัมพันธ สัดสวน ทางครอบครัว การถื อหุน ระหวาง (รอยละ) ชวงเวลา ผูบ ริหาร 2547-ปจจุบนั

7 นายซีราช อีรชั ปุณวาลา กรรมการและ 52  Bachelors of Commerce กรรมการ Sydenham College of ตรวจสอบ Commerce, ประเทศอินเดีย  Master of Commerce Sydenham College of Commerce, India  Associated Chartered Accountant Institute of Chartered Accountants, India

6 นายประพัฒน โพธิวรคุณ กรรมการ

ชือ่ - สกุล

อายุ (ป)

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

101


ชือ่ - สกุล

9. นายราเมช กุปตา

8 นายอมิต ปรากาซ

102

หัวหนาธุรกิจ 50  - แผนฟลม เคลือบอัด  ขึน้ รูป

B Tech REC Allahabad,University of Allahnbad - ประเทศอินเดีย PGDBM - Marketing, Management development Institute,Gurgaon - ประเทศอินเดีย

-

หัวหนาธุรกิจ บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) - แผนฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป จํากัด (มหาชน) Bhilwara Energy Limited ก.ค.2553-ธ.ค.2555 General Manager - Project Management

ม.ค.2556-ปจจุบนั

ความสัมพันธ สัดสวน ประสบการณทาํ งานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ทางครอบครั ว ตําแหนง คุณวุฒกิ ารศึกษา อหุน ระหวาง การถื ชวงเวลา ตําแหนง บริษทั / ประเภทธุรกิจ (ร อ ยละ) ผูบ ริหาร บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) ก.พ. 2558-ปจจุบนั กรรมการผูจ ดั การ กรรมการผู 46  Bachelor of Technology in จํากัด (มหาชน) จัดการ Electronics , Harcourt Butler บริษทั โพลีเพล็กซ ยูโรปา โพลีเอสเตอร ธ.ค. 2555-ปจจุบนั กรรมการ Technical Institute, KANPUR ฟลม ซานายี เว ติคาเรท อาโนนิม - INDIA ซิเกติ ประเทศตุรกี  Master’s degree in Marketing, บริษทั โพลีเพล็กซ ยูเอสเอ แอลแอลซี เม.ย.2559-ปจจุบนั กรรมการ Warwick Business School – บริษทั โพลีเพล็กซ อเมริกา โฮลดิง้ เม.ย.2559-ปจจุบนั กรรมการ U.K. บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) ม.ค.2545-ก.ค. 2547 Head - Engineering จํากัด (มหาชน) บริษทั โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด ก.ค.2541-ธ.ค. 2554 Head – Production & Instrumentation บริษทั โพลีเพล็กซ (เอเชีย) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด ส.ค. 2554-ปจจุบนั กรรมการ บริษทั โพลีเพล็กซ (สิงคโปร) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด ก.พ. 2558-ปจจุบนั กรรมการ บริษทั โพลีเพล็กซ ปาเกตลีเม โคซูมเลริ ก.ย. 2556-ปจจุบนั กรรมการ ซานายิ เว ติคาเรท อาโนนิม ซิเกติ บรัษทั อีโคบลู จํากัด มี.ค. 2558-ปจจุบนั กรรมการ บริษทั โพลีเพล็กซ เทรดดิง้ (เซินเจิน้ ) จํากัด พ.ค. 2558-ปจจุบนั กรรมการ

อายุ (ป)


12. นายอังกูร อาการวาล

11. นายซันเจย กุมาร จา

10. นายอาชิช โกช

ชือ่ - สกุล

-

หัวหนา 40  B. Tech ZCollege of – ฝาย Technology, Pantnagar Supply Chain ประเทศอินเดีย Management  M.B.A.- (IIM,Lucknow), ประเทศ อินเดีย

หัวหนา 49  - ฝายปฏิบตั ิ การ Bachelor’s degree of Engineering, Mechanical - Nagpur University ประเทศอินเดีย PGDBM- Instiute of Management Sciences - Delhi, ประเทศอินเดีย -

กรรมการ

พ.ค.2559-ปจจุบนั

เม.ย. 2558-ปจจุบนั หัวหนา - ฝาย Supply Chain Management ก.ย. 2555-มี.ค. 2558 Head - Purchase

หัวหนา- ฝายปฏิบตั กิ าร

2555-ปจจุบนั

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน บริษทั โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษทั โพลีเพล็กซ เทรดดิง้ (เซินเจิน้ ) จํากัด

ความสัมพันธ สัดสวน ประสบการณทาํ งานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ทางครอบครั ว ตําแหนง คุณวุฒกิ ารศึกษา อหุน ระหวาง การถื ชวงเวลา ตําแหนง บริษทั / ประเภทธุรกิจ (ร อ ยละ) ผูบ ริหาร บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) พ.ย. 2552-ปจจุบนั หัวหนาฝายขายและฝาย หัวหนาฝาย 51  ปริญญาตรี / ปริญญาโท สาขา การตลาด จํากัด (มหาชน) ขายและฝาย Science – มหาวิทยาลัย Jiwaji, บริษทั โพลีเพล็กซ เทรดดิง้ (เซินเจิน้ ) จํากัด ก.ค. 2558-ปจจุบนั กรรมการ การตลาด Gwalior – ประเทศอินเดีย, บริษทั โพลีเพล็กซ (สิงคโปร) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด เม.ย.2559-ปจจุบนั กรรมการ  ปริญญาโท Business บริษทั โพลีเพล็กซ (เอเชีย) พีทอี ี ลิมเิ ต็ด เม.ย.2559-ปจจุบนั Administration บรัษทั อีโคบลู จํากัด เม.ย.2559-ปจจุบนั – BIT Ranchi, ประเทศอินเดีย

อายุ (ป)

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

103


ชือ่ - สกุล

คุณวุฒกิ ารศึกษา

หัวหนาธุรกิจ 38  Post Graduate Diploma แผนฟลม CPP in Marketing and Finance & Blown PP – IIPM Delhi อินเดีย  Bachelor of Engineering in Mechanical, Karnatake University Dharwad, Karnataka ประเทศอินเดีย

ตําแหนง

อายุ (ป)

หัวหนา 43  - ฝายบัญชี และการเงิน, ระยอง  -

Semi-Qualified Chartered Accountant Institute of Chartered Accountants of India B-Com, Commerce College, Rajasthan University

16. นางสุปรีตา ไปร กาสทูรี เลขานุการ 36  Associate Chartered บริษทั และ Accountant-Institute of หัวหนา Chartered Accountants of - ฝายบัญชี India และการเงิน, กรุงเทพฯ

15. นายอนุรกั ษ บาเฮติ

-

-

-

ก.พ. 2550 -ปจจุบนั ผูจ ดั การอาวุโสฝายบัญชีและ บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) การเงิน, กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

ก.พ. 2549 -ปจจุบนั ผูจ ดั การอาวุโส บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) ฝายบัญชีและการเงิน, ระยอง จํากัด (มหาชน)

ต.ค. 2550 -ปจจุบนั หัวหนา-ฝายบุคคลและธุรการ บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

ความสัมพันธ สัดสวน ประสบการณทาํ งานในระยะ 5 ป ยอนหลัง ทางครอบครัว การถื อหุน ระหวาง (รอยละ) ชวงเวลา ตําแหนง บริษทั / ประเภทธุรกิจ ผูบ ริหาร พ.ย. 2556-ปจจุบนั หัวหนาธุรกิจแผนฟลม CPP บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) & Blown PP จํากัด (มหาชน) พ.ย.2553-ต.ค. 2556 Country Head บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) - Malaysia & Singapore จํากัด (มหาชน) ก.ค.2550-ต.ค. 2556 Business Analyst บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) – Malaysia Representative Office

14. นายจักรกฤต ศรีสมุทรนาค หัวหนา 57  ปริญญาโท สาขาวิชาการพัฒนา - ฝายบุคคล ทรัพยากรมนุษยและองคกร และธุรการ (HROD), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

13. นายอนุบาฟ

104


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย รายงาน และ งบการเงินรวม 31 มีนาคม 2560

รายงานของผู สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอตอผูถือหุนของบร�ษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ความเห็น ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย (กลุม บริษทั ) ซึง่ ประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 งบกําไรขาดทุนรวม งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน รวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบ งบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ และ ไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ขาพเจาเห็นวางบการเงินขางตนนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย และเฉพาะของบริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เกณฑในการแสดงความเห็น ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของขาพเจาไดกลาวไวในสวนของความรับผิด ชอบของผูส อบบัญชีตอ การตรวจสอบงบการเงินในรายงานของขาพเจา ขาพเจามีความเปนอิสระจากกลุม บริษทั ตามขอ กําหนดจรรยาบรรณของผูป ระกอบวิชาชีพบัญชีทกี่ าํ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ ในสวนทีเ่ กีย่ วของกับ การตรวจสอบงบการเงิน และขาพเจาไดปฏิบตั ติ ามขอกําหนดดานจรรยาบรรณอืน่ ๆตามทีร่ ะบุในขอกําหนดนัน้ ดวย ขาพเจา เชือ่ วาหลักฐานการสอบบัญชีทขี่ า พเจาไดรบั เพียงพอและเหมาะสมเพือ่ ใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา

เร�่องสําคัญในการตรวจสอบ เรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งตางๆ ทีม่ นี ยั สําคัญทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป ระกอบวิชาชีพของขาพเจาในการตรวจ สอบงบการเงินสําหรับงวดปจจุบนั ขาพเจาไดนาํ เรือ่ งเหลานีม้ าพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวม และในการแสดงความเห็นของขาพเจา ทัง้ นี้ ขาพเจาไมไดแสดงความเห็นแยกตางหากสําหรับเรือ่ งเหลานี้ ขาพเจาไดปฏิบตั ิ งานตามความรับผิดชอบทีไ่ ดกลาวไวในสวนของ ความรับผิดชอบของผูส อบบัญชีตอ การตรวจสอบงบการเงิน ในรายงาน ของขาพเจา ซึง่ ไดรวมความรับผิดชอบทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งเหลานีด้ ว ย การปฏิบตั งิ านของขาพเจาไดรวมวิธกี ารตรวจสอบที่ ออกแบบมาเพือ่ ตอบสนองตอการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงิน ผลของวิธกี ารตรวจสอบของขาพเจา ซึง่ ไดรวมวิธกี ารตรวจสอบสําหรับเรือ่ งเหลานีด้ ว ย ไดใชเปนเกณฑในการแสดงความ เห็นของขาพเจาตองบการเงินโดยรวม เรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบ พรอมวิธกี ารตรวจสอบสําหรับแตละเรือ่ งมีดงั ตอไปนี้

105


การรับรูรายได เนือ่ งจากรายไดจากการขายเปนตัวเลขทีม่ สี าระสําคัญในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และเปนตัวชีว้ ดั หลักในแง ผลการดําเนิน งานของธุรกิจซึง่ ผูใ ชงบการเงินใหความสนใจ ประกอบกับบริษทั ฯมีรายการขายกับลูกคาเปนจํานวนมากราย ดังนัน้ จึงมี ความเสีย่ งเกีย่ วกับมูลคาและระยะเวลาในการรับรูร ายได ขาพเจาไดตรวจสอบการรับรูร ายไดของบริษทั ฯโดยการ • • • •

ประเมินและทดสอบระบบสารสนเทศและระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯทีเ่ กีย่ วของกับวงจรรายได โดยการ สอบถามผูร บั ผิดชอบ ทําความเขาใจและสุม เลือกตัวอยางมาทดสอบการปฏิบตั ติ ามการควบคุมทีบ่ ริษทั ฯออกแบบไว สุมตัวอยางรายการระหวางปและชวงใกลสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อตรวจสอบการเกิดขึ้นจริงของรายการ และความถูกตองของการบันทึกรายการขายวาเปนไปตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุ และสอดคลองกับนโยบายการรับรูร ายได ของบริษทั ฯ สอบทานใบลดหนีท้ บี่ ริษทั ฯออกภายหลังวันสิน้ รอบระยะเวลาบัญชี วิเคราะหเปรียบเทียบขอมูลบัญชีรายไดแบบแยกยอย เพือ่ ตรวจสอบความผิดปกติทอี่ าจเกิดขึน้ ของรายการขาย ตลอดรอบระยะเวลาบัญชี โดยเฉพาะรายการบัญชีทที่ าํ ผานใบสําคัญทัว่ ไป

มูลคาเง�นลงทุนในบร�ษัทยอย ขาพเจาใหความสําคัญเรือ่ งมูลคาของเงินลงทุนในบริษทั ยอยตามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 11 เนือ่ งจาก การประเมินการดอยคาของเงินลงทุนในบริษทั ยอยถือเปนประมาณการทางบัญชีทสี่ าํ คัญ ทีฝ่ า ยบริหารตองใชดลุ ยพินจิ อยางสูงในการประมาณมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนจากเงินลงทุนในบริษทั ยอย ประกอบกับจํานวนคาเผือ่ การดอยคาเงิน ลงทุนในบริษทั ยอยทีบ่ นั ทึกอยูใ นงบแสดงฐานะการเงินมีสาระสําคัญ ซึง่ ทําใหเกิดความเสีย่ งเกีย่ วกับมูลคาของเงินลงทุน ในบริษทั ยอย ขาพเจาไดประเมินแบบจําลองทางการเงินทีฝ่ า ยบริหารของบริษทั ฯเลือกใช โดยการทําความเขาใจกระบวนการพิจารณา ของฝายบริหาร นอกจากนี้ ขาพเจาไดทาํ ความเขาใจและประเมินเรือ่ งดังตอไปนี้ •

ขอสมมติทใี่ ชในการจัดทําแผนและคาดการณกระแสเงินสดในอนาคตของบริษทั ยอยทีม่ ขี อ บงชีก้ ารดอยคาโดยการ ทําความเขาใจในกระบวนการทีท่ าํ ใหไดมาซึง่ ตัวเลขดังกลาว เปรียบเทียบขอสมมติดงั กลาวกับแหลงขอมูลภายนอก และภายในของบริษทั ยอย และเปรียบเทียบประมาณการกระแสเงินสดในอดีตกับผล การดําเนินงานทีเ่ กิดขึน้ จริง เพือ่ ประเมินการใชดลุ ยพินจิ ของฝายบริหารในการประมาณการกระแสเงินสดทีค่ าดวาจะไดรบั ในอนาคตดังกลาว รวมถึงเปรียบเทียบอัตราการเติบโตระยะยาวของบริษทั ยอยกับการคาดการณของภาคอุตสาหกรรม อัตราคิดลด โดยประเมินตนทุนถัวเฉลีย่ ของเงินทุนและขอมูลอืน่ ๆ กับบริษทั อืน่ ทีเ่ ปรียบเทียบกันได

ขาพเจาไดประเมินขอสมมติของฝายบริหารและพิจารณาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่สําคัญตอ มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนโดยเฉพาะอัตราคิดลดและอัตราการเติบโตของรายไดในระยะยาว

106


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ภาษีเง�นไดรอการตัดบัญช� บริษทั ฯไดเปดเผยนโยบายการบัญชีและรายละเอียดเกีย่ วกับภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 4 และขอ 21 ตามลําดับ โดยสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะสามารถรับรูร ายการไดเมือ่ มีความเปนไปไดคอ นขาง แนวา บริษทั ฯจะมีกาํ ไรทางภาษีเพียงพอทีจ่ ะนําสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีมาใชประโยชนในอนาคตได ซึง่ การ พิจารณาวาบริษทั ฯจะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะนําผลแตกตางชัว่ คราวหรือผลขาดทุนทางภาษีมาใชประโยชน ไดนนั้ ตองอาศัยดุลยพินจิ ของฝายบริหารอยางมากในการจัดทําแผนธุรกิจและประมาณการกําไรทางภาษีในอนาคตทีค่ าด วาจะเกิดขึน้ ตามแผนธุรกิจทีไ่ ดอนุมตั แิ ลว ดังนัน้ จึงมีความเสีย่ งเกีย่ วกับมูลคาสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ขาพเจาไดประเมินประมาณการกําไรทางภาษีในอนาคตโดยการตรวจสอบขอมูลทีจ่ าํ เปนและขอสมมติทสี่ าํ คัญทีใ่ ชในการ จัดทําประมาณการดังกลาว โดยการเปรียบเทียบกับแหลงขอมูลทัง้ ภายนอกและภายในของบริษทั ฯ โดยขาพเจาไดให ความสําคัญกับขอมูลและขอสมมติทมี่ ผี ลกระทบกับอัตราการเติบโตของรายไดและอัตรากําไรขัน้ ตน เชน อัตราเงินเฟอ และประมาณการความตองการใชผลิตภัณฑ นอกจากนีข้ า พเจาไดทาํ การเปรียบเทียบประมาณการกําไรทางภาษีในอดีต กับกําไรทางภาษีทเี่ กิดขึน้ จริงเพือ่ ประเมินความนาเชือ่ ถือของประมาณการกําไรดังกลาว ตลอดจนทดสอบการคํานวณ ตามขอมูลและขอสมมติดงั กลาวขางตน

ขอมูลอื่น ผูบ ริหารเปนผูร บั ผิดชอบตอขอมูลอืน่ ซึง่ รวมถึงขอมูลทีร่ วมอยูใ นรายงานประจําปของกลุม บริษทั (แตไมรวมถึงงบการเงิน และรายงานของผูส อบบัญชีทแี่ สดงอยูใ นรายงานนัน้ ) ซึง่ คาดวาจะถูกจัดเตรียมใหกบั ขาพเจาภายหลังวันทีใ่ นรายงานของ ผูส อบบัญชีนี้ ความเห็นของขาพเจาตองบการเงินไมครอบคลุมถึงขอมูลอืน่ และขาพเจาไมไดใหขอ สรุปในลักษณะการใหความเชือ่ มัน่ ใน รูปแบบใดๆตอขอมูลอืน่ นัน้ ความรับผิดชอบของขาพเจาทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอานและพิจารณาวาขอมูลอืน่ นัน้ มีความขัด แยงทีม่ สี าระสําคัญกับงบการเงินหรือกับความรูท ไี่ ดรบั จากการตรวจสอบของขาพเจาหรือไม หรือปรากฏวาขอมูลอืน่ แสดง ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม เมือ่ ขาพเจาไดอา นรายงานประจําปของกลุม บริษทั ตามทีก่ ลาวขางตนแลว และหากสรุปไดวา มีการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ขาพเจาจะสือ่ สารเรือ่ งดังกลาวใหผมู หี นาทีใ่ นการกํากับดูแลทราบเพือ่ ใหมกี ารดําเนินการ แกไขทีเ่ หมาะสมตอไป

ความรับผิดชอบของผูบร�หารและผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลตองบการเง�น ผูบ ริหารมีหนาทีร่ บั ผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินเหลานีโ้ ดยถูกตองตามทีค่ วรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อใหสามารถจัดทํางบการเงินที่ ปราศจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด

107


ในการจัดทํางบการเงิน ผูบ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม บริษทั ในการดําเนินงานตอเนือ่ ง การเปด เผยเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการดําเนินงานตอเนือ่ งในกรณีทมี่ เี รือ่ งดังกลาว และการใชเกณฑการบัญชีสาํ หรับกิจการทีด่ าํ เนินงาน ตอเนือ่ ง เวนแตผบู ริหารมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิกกลุม บริษทั หรือหยุดดําเนินงานหรือไมสามารถดําเนินงานตอเนือ่ งอีกตอไปได ผูม หี นาทีใ่ นการกํากับดูแลมีหนาทีใ่ นการสอดสองดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุม บริษทั

ความรับผิดชอบของผูสอบบัญช�ตอการตรวจสอบงบการเง�น การตรวจสอบของขาพเจามีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหไดความเชือ่ มัน่ อยางสมเหตุสมผลวา งบการเงินโดยรวมปราศจากการ แสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผูส อบบัญชีซงึ่ รวมความเห็นของขาพเจาอยูด ว ย ความเชือ่ มัน่ อยางสมเหตุสมผลคือความเชือ่ มัน่ ในระดับสูงแตไมได เปนการรับประกันวาการปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริง อันเปนสาระสําคัญทีม่ อี ยูไ ดเสมอไป ขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาดและถือวามีสาระ สําคัญเมือ่ คาดการณอยางสมเหตุสมผลไดวา รายการทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงแตละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลตอ การตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใ ชงบการเงินจากการใชงบการเงินเหลานี้ ในการตรวจสอบของขาพเจาตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขาพเจาใชดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัย เยีย่ งผูป ระกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และขาพเจาไดปฏิบตั งิ านดังตอไปนีด้ ว ย •

ระบุและประเมินความเสีย่ งทีอ่ าจมีการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงิน ไมวา จะเกิด จากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ านตามวิธกี ารตรวจสอบเพือ่ ตอบสนอง ตอความเสีย่ งเหลานัน้ และไดหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ พียงพอและเหมาะสมเพือ่ เปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเสีย่ งทีไ่ ม พบขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญซึง่ เปนผลมาจาก การทุจริตจะสูงกวาความเสีย่ งทีเ่ กิดจากขอผิดพลาด เนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับการสมรูร ว มคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง้ ใจละเวนการแสดงขอมูล การแสดงขอมูลทีไ่ มตรงตามขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน

ทําความเขาใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบให เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพือ่ วัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอความมีประสิทธิผลของ การควบคุม ภายในของกลุม บริษทั

ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู ริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและ การเปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของทีผ่ บู ริหารจัดทํา

สรุปเกีย่ วกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสาํ หรับกิจการทีด่ าํ เนินงานตอเนือ่ งของผูบ ริหาร และสรุปจาก หลักฐานการสอบบัญชีทไี่ ดรบั วามีความไมแนนอนทีม่ สี าระสําคัญทีเ่ กีย่ วกับเหตุการณหรือสถานการณทอี่ าจเปนเหตุ ใหเกิดขอสงสัยอยางมีนยั สําคัญตอความสามารถของกลุม บริษทั ในการดําเนินงานตอเนือ่ งหรือไม หากขาพเจาไดขอ สรุปวามีความไมแนนอนทีม่ สี าระสําคัญ ขาพเจาจะตองใหขอ สังเกตไวในรายงานของผูส อบบัญชีของขาพเจาถึงการ เปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของในงบการเงิน หรือหากเห็นวาการเปดเผยดังกลาวไมเพียงพอ ขาพเจาจะแสดงความเห็นที่ เปลีย่ นแปลงไป ขอสรุปของขาพเจาขึน้ อยูก บั หลักฐานการสอบบัญชีทไี่ ดรบั จนถึงวันทีใ่ นรายงานของผูส อบบัญชี ของขาพเจา อยางไรก็ตาม เหตุการณหรือสถานการณในอนาคตอาจเปนเหตุใหกลุม บริษทั ตองหยุดการดําเนินงาน ตอเนือ่ งได

108


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ประเมินการนําเสนอ โครงสรางและเนือ้ หาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของ ตลอดจน ประเมินวางบการเงินแสดงรายการและเหตุการณทเี่ กิดขึน้ โดยถูกตองตามทีค่ วรหรือไม

รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอยางเพียงพอเกีย่ วกับขอมูลทางการเงินของกิจการหรือของ กิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุม บริษทั เพือ่ แสดงความเห็นตองบการเงินรวม ขาพเจารับผิดชอบตอการกําหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั งิ านตรวจสอบกลุม บริษทั ขาพเจาเปนผูร บั ผิดชอบแตเพียง ผูเ ดียวตอความเห็นของ ขาพเจา

ขาพเจาไดสอื่ สารกับผูม หี นาทีใ่ นการกํากับดูแลเกีย่ วกับขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ่ ดวางแผนไว ประเด็น ทีม่ นี ยั สําคัญทีพ่ บจากการตรวจสอบรวมถึงขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญในระบบการควบคุมภายในซึง่ ขาพเจาไดพบในระหวาง การตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดใหคํารับรองแกผูมีหนาที่ในการกํากับดูแลวาขาพเจาไดปฏิบัติตามขอกําหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับ ความเปนอิสระและไดสอื่ สารกับผูม หี นาทีใ่ นการกํากับดูแลเกีย่ วกับความสัมพันธทงั้ หมดตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ขาพเจา เชือ่ วามีเหตุผลทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของขาพเจาและมาตรการทีข่ า พเจาใชเพือ่ ปองกันไมใหขาพเจาขาดความเปนอิสระ จากเรือ่ งทัง้ หลายทีส่ อื่ สารกับผูม หี นาทีใ่ นการกํากับดูแล ขาพเจาไดพจิ ารณาเรือ่ งตาง ๆ ทีม่ นี ยั สําคัญทีส่ ดุ ในการตรวจ สอบงบการเงินในงวดปจจุบนั และกําหนดเปนเรือ่ งสําคัญในการตรวจสอบ ขาพเจาไดอธิบายเรือ่ งเหลานีไ้ วในรายงานของผู สอบบัญชี เวนแตกฎหมายหรือขอบังคับหามไมใหเปดเผยเรือ่ งดังกลาวตอสาธารณะ หรือในสถานการณทยี่ ากทีจ่ ะเกิดขึน้ ขาพเจาพิจารณาวาไมควรสือ่ สารเรือ่ งดังกลาวในรายงานของขาพเจาเพราะการกระทําดังกลาวสามารถคาดการณไดอยาง สมเหตุสมผลวาจะมีผลกระทบในทางลบมากกวาผลประโยชนทผี่ มู สี ว นไดเสียสาธารณะจะไดจากการสือ่ สารดังกลาว ผูส อบบัญชีทรี่ บั ผิดชอบงานสอบบัญชีและการนําเสนอรายงานฉบับนีค้ อื นายชยพล ศุภเศรษฐนนท

ชยพล ศุภเศรษฐนนท

ผูส อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3972 บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด กรุงเทพฯ: 12 พฤษภาคม 2560

109


บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ สินคาคงเหลือ เงินจายลวงหนาคาสินคา ภาษีซอื้ รอเรียกคืน สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากธนาคารทีม่ ภี าระคํา้ ประกัน เงินลงทุนในบริษทั ยอย ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาความนิยม สินทรัพยไมมตี วั ตน เงินจายลวงหนาคาซือ้ สินทรัพย สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

110

หมายเหตุ

7 8 9

10 11 12 21 13

งบการเงินรวม 2560 2559

730,693,666 6,815,941 1,796,281,800 1,725,572,370 40,039,901 70,799,205 101,195,181 4,471,398,064

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

1,076,440,927 38,581,007 25,700,174 2,214,923 1,921,184,162 1,097,130,956 1,065,966,776 1,750,289,539 653,998,122 645,776,245 18,387,571 17,015,070 4,968,570 53,025,994 64,185,494 38,386,296 91,782,601 47,141,478 42,538,686 4,913,325,717 1,918,052,127 1,823,336,747

13,416,680 21,085,869 - 1,712,615,461 1,368,597,490 9,714,374,803 10,512,927,141 4,463,040,848 4,688,580,815 147,657,449 147,657,449 147,657,449 147,657,449 3,164,328 3,164,328 3,380,161 5,435,741 34,378,825 18,455,068 7,282,870 17,113,566 11,245,544 9,067,627 10,719,319 8,733,119 9,927,617,790 10,717,793,223 6,341,315,947 6,230,682,439 14,399,015,854 15,631,118,940 8,259,368,074 8,054,019,186


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

หนีส้ นิ และสวนของผูถ อื หุน หนีส้ นิ หมุนเวียน เงินกูย มื ระยะสัน้ จากธนาคาร เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ เงินกูย มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน สวนของเงินกูย มื ระยะยาวจากธนาคาร ทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป สวนของหนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน ทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป ภาษีเงินไดคา งจาย หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไมหมุนเวียน เงินกูย มื ระยะยาวจากธนาคาร - สุทธิ จากสวนทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิ จากสวนทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน รวมหนีส้ นิ ไมหมุนเวียน รวมหนีส้ นิ

หมายเหตุ

14 15 6 16

งบการเงินรวม 2560 2559

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

714,048,428 2,462,120,025 75,000,000 1,634,000,000 1,165,324,983 1,024,875,022 634,816,685 580,908,094 - 2,381,614,289 1,338,664,733 500,410,756

162,709,224

495,910,884

154,106,262

17

1,567,755 1,540,890 5,233,170 16,335,452 - 11,696,580 313,788,559 420,191,428 90,482,428 123,296,039 2,700,373,651 4,087,772,041 3,677,824,286 3,842,671,708

16

2,002,230,800 3,311,130,205

17 18

1,629,877 3,270,911 28,381,593 25,808,305 10,583,685 7,712,502 2,032,242,270 3,340,209,421 681,816,999 1,448,585,032 4,732,615,921 7,427,981,462 4,359,641,285 5,291,256,740

671,233,314 1,440,872,530

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

111


บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

สวนของผูถ อื หุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุน สามัญ 900,000,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท (2559: หุน สามัญ 960,000,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว หุน สามัญ 900,000,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท (2559: หุน สามัญ 800,000,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจดั สรร องคประกอบอืน่ ของสวนของผูถ อื หุน สวนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุม ของบริษทั ยอย รวมสวนของผูถ อื หุน รวมหนีส้ นิ และสวนของผูถ อื หุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

112

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

900,000,000

960,000,000

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

900,000,000

960,000,000

23

900,000,000 800,000,000 900,000,000 800,000,000 1,908,449,678 1,370,460,000 1,908,449,678 1,370,460,000

19

96,000,000 96,000,000 96,000,000 96,000,000 7,622,057,882 6,255,504,462 995,277,111 496,302,446 (884,353,703) (331,357,743) 9,642,153,857 8,190,606,719 3,899,726,789 2,762,762,446 24,246,076 12,530,759 9,666,399,933 8,203,137,478 3,899,726,789 2,762,762,446 14,399,015,854 15,631,118,940 8,259,368,074 8,054,019,186


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบกําไรขาดทุน สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560

รายได รายไดจากการขาย กําไรจากอัตราแลกเปลีย่ น รายไดอนื่ รวมรายได คาใชจา ย ตนทุนขาย คาใชจา ยในการขาย คาใชจา ยในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น ขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในบริษทั ยอย ขาดทุนจากการดอยคาทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ รวมคาใชจา ย กําไร (ขาดทุน) กอนคาใชจา ยทางการเงินและ คาใชจา ยภาษีเงินได คาใชจา ยทางการเงิน กําไร (ขาดทุน) กอนคาใชจา ยภาษีเงินได รายได (คาใชจา ย) ภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) สําหรับป

หมายเหตุ 22

11 12

21

การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สวนทีเ่ ปนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุม ของบริษทั ยอย กําไรตอหุน กําไร (ขาดทุน) ตอหุน ขัน้ พืน้ ฐาน กําไร (ขาดทุน) สวนทีเ่ ปนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ จํานวนหุน สามัญถัวเฉลีย่ ถวงนํา้ หนัก (หุน )

งบการเงินรวม 2560 2559

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

11,538,843,997 12,278,322,654 5,270,384,825 5,449,935,949 326,010,027 - 233,157,353 64,239,436 35,856,923 32,445,312 28,946,927 11,929,093,460 12,314,179,577 5,535,987,490 5,478,882,876 9,331,476,614 9,952,244,814 4,605,654,192 4,782,228,533 684,796,193 865,044,774 267,167,793 346,783,532 367,825,596 463,058,316 67,572,805 83,944,281 313,241,229 - 249,176,004 - 246,284,716 351,195,996 10,384,098,403 11,944,785,129 4,940,394,790 5,708,417,066 1,544,995,057 (147,473,629) 1,397,521,428 (23,558,488) 1,373,962,940

369,394,448 (226,400,936) 142,993,512 (262,809,420) (119,815,908)

595,592,700 (96,618,035) 498,974,665 498,974,665

(229,534,190) (129,216,034) (358,750,224) 26,798,698 (331,951,526)

1,366,361,313 7,601,627 1,373,962,940

(123,234,966) 3,419,058 (119,815,908)

498,974,665 (331,951,526)

1.55 881,643,836

(0.15) 800,000,000

0.57 881,643,836

24 (0.41) 800,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

113


บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 งบการเงินรวม 2560 2559 กําไร (ขาดทุน) สําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : รายการทีจ่ ะถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลตางของอัตราแลกเปลีย่ นจากการแปลงคา งบการเงินทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศ รายการทีจ่ ะถูกบันทึกในสวนของกําไร หรือขาดทุนในภายหลัง รายการทีจ่ ะไมถกู บันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลกําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได รายการทีจ่ ะไมถกู บันทึกในสวนของกําไร หรือขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป การแบงปนกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สวนทีเ่ ปนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุม ของบริษทั ยอย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

114

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

1,373,962,940

(119,815,908)

(551,894,582)

769,969,919

-

-

(551,894,582)

769,969,919

-

-

192,107

(468,086)

-

-

192,107 (551,702,475)

(468,086) 769,501,833

-

-

822,260,465

649,685,925

814,658,838

646,266,867

7,601,627 822,260,465

3,419,058 649,685,925

498,974,665 (331,951,526)

498,974,665 (331,951,526)

498,974,665

(331,951,526)


(หนวย: บาท)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 เมษายน 2559 800,000,000 1,370,460,000 96,000,000 6,255,504,462 กําไรสําหรับป - 1,366,361,313 192,107 กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป - 1,366,553,420 หุน สามัญเพิม่ ทุนจากการจัดสรร หุน สามัญใหมแกผถู อื หุน เดิม (หมายเหตุ 23) 100,000,000 537,989,678 สวนตางจากการขายเงินลงทุนบางสวนในบริษทั ยอย สวนไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ยอยเพิม่ ขึน้ จากการลดสัดสวนเงินลงทุนในบริษทั ยอย 900,000,000 1,908,449,678 96,000,000 7,622,057,882 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

(521,222) (1,101,378) (1,622,600)

(887,181,795)

4,450,692

-

4,450,692 -

4,450,692

(521,222)

8,190,606,719 1,366,361,313 (551,702,475) 814,658,838

637,989,678 (1,101,378) 4,113,690 4,113,690 24,246,076 9,666,399,933

-

12,530,759 8,203,137,478 7,601,627 1,373,962,940 - (551,702,475) 7,601,627 822,260,465

2,102,701 2,102,701 12,530,759 8,203,137,478

7,009,000 7,631,870,074 3,419,058 (119,815,908) - 769,501,833 3,419,058 649,685,925 - (80,000,000) (521,222)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

(884,353,703) 9,642,153,857

- 637,989,678 (1,101,378) (1,101,378)

(331,357,743) (551,894,582) (551,894,582)

(331,357,743) 8,190,606,719

4,450,692 (1,100,806,440) 7,624,861,074 - (123,234,966) 769,969,919 769,501,833 769,969,919 646,266,867 - (80,000,000) (521,222) (521,222)

(521,222)

(335,287,213) (551,894,582) (551,894,582)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 เมษายน 2558 800,000,000 1,370,460,000 96,000,000 6,459,207,514 (1,105,257,132) ขาดทุนสําหรับป - (123,234,966) - (468,086) 769,969,919 กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป - (123,703,052) 769,969,919 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 25) - (80,000,000) สวนตางจากการขายเงินลงทุนบางสวนในบริษทั ยอย สวนไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ยอยเพิม่ ขึน้ จากการลดสัดสวนเงินลงทุนในบริษทั ยอย 800,000,000 1,370,460,000 96,000,000 6,255,504,462 (335,287,213) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559

งบการเงินรวม สวนของผูถ อื หุน บริษทั ใหญ องคประกอบอืน่ ของสวนของผูถ อื หุน กําไรขาดทุน สวนตางของราคา เบ็ดเสร็จอืน่ สวนตํา่ กวา ซือ้ เงินลงทุนใน กําไรสะสม ผลตางจาก ทุนจากการ บริษทั ยอยกับ สวนของผูม ี การแปลงคา เปลีย่ นแปลง มูลคาตามบัญชี รวม รวม ทุนเรือนหุน ทีอ่ อก สวนไดเสียทีไ่ มมี จัดสรรแลว งบการเงินทีเ่ ปน สัดสวนเงินลงทุน ของสวนไดเสีย องคประกอบอืน่ สวนของผูถ อื หุน อํานาจควบคุม และชําระ รวม สํารองตาม ของสวนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ ของบริษทั ยอย สวนของผูถ อื หุน เต็มมูลคาแลว สวนเกินมูลคาหุน ทีไ่ ดมา กฎหมาย ยังไมไดจดั สรร เงินตราตางประเทศ ในบริษทั ยอย

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 รายงานประจํ า ปี 2559-2560

115


บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560

(หนวย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม ทุนเรือนหุน ทีอ่ อก จัดสรรแลว และชําระเต็มมูลคาแลว สวนเกินมูลคาหุน สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจดั สรร

รวม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 เมษายน 2558 ขาดทุนสําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559

800,000,000 1,370,460,000 800,000,000 1,370,460,000

96,000,000 96,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 เมษายน 2559 กําไรสําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป หุน สามัญเพิม่ ทุนจากการจัดสรร หุน สามัญใหมแกผถู อื หุน เดิม (หมายเหตุ 23) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

800,000,000 1,370,460,000 -

96,000,000 496,302,446 2,762,762,446 - 498,974,665 498,974,665 - 498,974,665 498,974,665

100,000,000 537,989,678 900,000,000 1,908,449,678

- 637,989,678 96,000,000 995,277,111 3,899,726,789

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

116

908,253,972 (331,951,526) (331,951,526) (80,000,000) 496,302,446

3,174,713,972 (331,951,526) (331,951,526) (80,000,000) 2,762,762,446


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) กอนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเปน เงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน: คาเสือ่ มราคาและคาตัดจําหนาย ขาดทุนจากการดอยคาทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ หนีส้ งสัยจะสูญ (โอนกลับ) การปรับลดสินคาคงเหลือเปนมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั (โอนกลับ) ขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในบริษทั ยอย ขาดทุนจากการดอยคาคาความนิยม ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายเงินลงทุนในบริษทั ยอย ขาดทุนจากการจําหนายและตัดจําหนายอุปกรณ คาใชจา ยผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไมเกิดขึน้ จริง ดอกเบีย้ จาย กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลีย่ นแปลงใน สินทรัพยและหนีส้ นิ ดําเนินงาน สินทรัพยดาํ เนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ดําเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ จายผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

งบการเงินรวม 2560 2559

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

1,397,521,428

142,993,512

498,974,665 (358,750,224)

754,439,801 (1,281,259) (30,185,267) 2,275,442 5,075,199 (274,630,365) 140,969,294

769,146,064 392,568,129 351,195,742 4,080,024 2,465,019 25,305,038 (11,824,001) 3,874,351 (1,194,827) 7,183,251 1,251,495 7,575,949 3,132,027 368,546,446 (200,806,053) 268,522,371 94,993,290

395,050,207 261,511 1,826,712 246,284,716 244,098 4,698,481 2,851,342 269,654,292 127,737,204

1,994,184,273

1,948,422,748

779,559,744

689,858,339

91,888,663 56,778,609 (28,034,603) (2,177,917)

(156,387,053) 31,040,993 57,713,468 31,655,860

(56,003,569) 3,602,125 (22,144,207) (1,986,201)

22,145,964 35,778,025 15,501,042 6,210,561

140,665,979 (103,597,699) (797,701) 2,148,909,604 (34,708,797) 2,114,200,807

(219,341,431) 74,653,184 (5,942,439) 1,761,815,330 (33,294,346) 1,728,520,984

51,090,963 (31,577,713) (260,844) 722,280,298 (11,696,580) 710,583,718

(14,985,191) (14,385,263) (4,838,410) 735,285,067 (1,468) 735,283,599

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

117


บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารทีม่ ภี าระคํา้ ประกันลดลง (เพิม่ ขึน้ ) เงินลงทุนชัว่ คราวลดลง (เพิม่ ขึน้ ) เงินสดจายคาหุน เพิม่ ทุนในบริษทั ยอย เงินสดรับจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษทั ยอย เงินจายลวงหนาคาซือ้ สินทรัพยลดลง (เพิม่ ขึน้ ) เจาหนีค้ า ซือ้ อุปกรณเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงินรับจากการจําหนายอุปกรณ ซือ้ อุปกรณ สินทรัพยไมมตี วั ตนเพิม่ ขึน้ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย มื ระยะสัน้ จากธนาคารลดลง เงินกูย มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วของกันเพิม่ ขึน้ เงินกูย มื ระยะยาวจากธนาคารลดลง จายดอกเบีย้ เงินปนผลจาย เงินสดรับจากการเพิม่ ทุนจากการจัดสรรหุน สามัญใหมแกผถู อื หุน เดิม เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป ขอมูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิม่ เติม รายการทีไ่ มใชเงินสด เงินคางจายคาซือ้ อุปกรณ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

118

งบการเงินรวม 2560 2559 7,669,189 (4,601,018) (15,923,757) 3,731,279 1,414,616 (200,872,552) (147,475) (208,729,718)

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(2,471,079) 2,535,077 - (346,300,000) (247,940,000) 3,476,856 1,581,525 (6,518,573) 9,830,695 (13,979,478) (7,645,089) 3,778,598 (7,806,088) 13,317,825 593,487 13,101,741 (116,822,537) (168,873,145) (53,895,137) (209,801) (117,814,177) (497,493,509) (308,937,437)

(1,748,071,597) (84,085,462) (1,559,000,000) (44,000,000) - 1,196,262,262 571,979,896 (890,947,385) (1,248,665,572) (379,297,344) (760,004,733) (142,843,905) (270,099,913) (96,163,972) (129,440,344) (80,000,000) - (80,000,000) 637,989,678 - 637,989,678 (2,143,873,209) (1,682,850,947) (200,209,376) (441,465,181) (107,345,141) 184,191,967 (345,747,261) 112,047,827 12,880,833 (15,119,019) 1,076,440,927 964,393,100 25,700,174 40,819,193 730,693,666 1,076,440,927 38,581,007 25,700,174

14,122,601

10,676,454

12,056,788

8,563,322


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560

1.

ขอมูลทั่วไป บริษทั โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เปนบริษทั มหาชนซึง่ จัดตัง้ และ มีภมู ลิ าํ เนาใน ประเทศไทย โดยมีบริษทั โพลีเพล็กซ คอรปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด ซึง่ เปนบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ในประเทศสาธารณรัฐ อินเดียเปนบริษัทใหญ ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและจําหนาย โพลีเอสเตอรฟลม ฟลมเคลือบโลหะ ฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป คาสทโพลิโพรพิลนี ฟลม ฟลม เคลือบซิลโิ คนและเม็ดพลาสติก โดยมีทอี่ ยูต ามทีจ่ ดทะเบียน ของสํานักงานและโรงงานดังนี้ สํานักงาน: 75/26 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ชั้น 18 ซอยสุขุมวิท 19 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โรงงาน 1: สยามอีสเทิรน อินดัสเตรียล พารค 60/24 หมู 3 ตําบลมาบยางพร อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โรงงาน 2: สยามอีสเทิรน อินดัสเตรียล พารค 60/91 หมู 3 ตําบลมาบยางพร อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โรงงาน 3: สยามอีสเทิรน อินดัสเตรียล พารค 60/109 หมู 3 ตําบลมาบยางพร อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง

2.

เกณฑในการจัดทํางบการเง�น

2.1

งบการเงินนีจ้ ดั ทําขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีก่ าํ หนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงิน ฉบับภาษาอังกฤษ แปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนีไ้ ดจดั ทําขึน้ โดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอืน่ ในนโยบายการบัญชี

119


2.2

เกณฑในการจัดทํางบการเง�นรวม ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท โพลีเพล็กซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (ซึง่ ตอไปนีเ้ รียกวา “บริษทั ฯ”) และบริษทั ยอย (ซึง่ ตอไปนีเ้ รียกวา “บริษทั ยอย”) ดังตอไปนี้ จัดตัง้ ขึน้ ใน อัตรารอยละของ ชือ่ บริษทั ยอย ลักษณะธุรกิจ ประเทศ การถือหุน 2560 2559 รอยละ รอยละ บริษทั อีโคบลู จํากัด ผลิตและจําหนาย ไทย 66.50 74.00 ผลิตภัณฑพลาสติกรีไซเคิล Polyplex (Singapore) Pte. Ltd. บริษทั เพือ่ การลงทุน สาธารณรัฐ 100.00 100.00 สิงคโปร Polyplex America Holdings Inc. บริษทั เพือ่ การลงทุน สหรัฐอเมริกา 100.00 100.00 Polyplex Europe B.V. จําหนายฟลม พลาสติก เนเธอรแลนด 100.00 100.00 Polyplex Europa Polyester Film ผลิตและจําหนาย สาธารณรัฐ 100.00 100.00 Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi โพลีเอสเตอรฟล ม ตุรกี (ถือหุน รอยละ 100 โดย Polyplex และเม็ดพลาสติก (Singapore) Pte. Ltd.) Polyplex Trading (Shenzhen) Co., จําหนายฟลม พลาสติก สาธารณรัฐ 100.00 100.00 Ltd.(ถือหุน รอยละ 100 โดย Polyplex ประชาชนจีน (Singapore) Pte. Ltd.) สหรัฐอเมริกา 100.00 100.00 ผลิตและจําหนาย Polyplex USA LLC โพลีเอสเตอรฟล ม และ (ถือหุน รอยละ 100 โดย เม็ดพลาสติก Polyplex America Holdings Inc.) Polyplex Paketleme Cozumleri จําหนายฟลม พลาสติก สาธารณรัฐ 99.99 99.99 ตุรกี Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (ถือหุน รอยละ 99.99 โดย Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi) ข) บริษทั ฯจะถือวามีการควบคุมกิจการทีเ่ ขาไปลงทุนหรือบริษทั ยอยได หากบริษทั ฯมีสทิ ธิไดรบั หรือมีสว นได เสียในผลตอบแทนของกิจการทีเ่ ขาไปลงทุน และสามารถใชอาํ นาจในการสัง่ การกิจกรรมทีส่ ง ผลกระทบ อยางมีนยั สําคัญตอจํานวนเงินผลตอบแทนนัน้ ได ค) บริษทั ฯนํางบการเงินของบริษทั ยอยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตัง้ แตวนั ทีบ่ ริษทั ฯ มีอาํ นาจในการ ควบคุมบริษทั ยอยจนถึงวันทีบ่ ริษทั ฯสิน้ สุดการควบคุมบริษทั ยอยนัน้

120


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ง) งบการเงินของบริษทั ยอยไดจดั ทําขึน้ โดยใชนโยบายการบัญชีทส่ี าํ คัญเชนเดียวกันกับของบริษทั ฯ จ) สินทรัพยและหนีส้ นิ ตามงบการเงินของบริษทั ยอยซึง่ จัดตัง้ ในตางประเทศแปลงคาเปน เงินบาทโดยใชอตั รา แลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน สวนรายไดและคาใชจา ยแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลก เปลีย่ นถัวเฉลีย่ รายเดือน ผลตางซึง่ เกิดขึน้ จาก การแปลงคาดังกลาวไดแสดงไวเปนรายการ “ผลตางจากการ แปลงคางบการเงินทีเ่ ปน เงินตราตางประเทศ” ในงบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน รวม ฉ) ยอดคงคางระหวางบริษทั ฯและบริษทั ยอย รายการคาระหวางกันทีม่ สี าระสําคัญไดถกู ตัดออกจากงบการ เงินรวมนีแ้ ลว ช) สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสทุ ธิของบริษทั ยอย สวนทีไ่ มไดเปนของบริษทั ฯ และแสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของกําไรหรือขาดทุนรวมและสวน ของผูถ อื หุน ในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3

บริษทั ฯจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการโดยแสดงเงินลงทุนในบริษทั ยอยตามวิธรี าคาทุน

3.

มาตรฐานการรายงานทางการเง�นใหม ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ ริม่ มีผลบังคับใชในปปจ จุบนั ในระหวางป บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดนาํ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2558) และฉบับใหมรวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างบัญชี ทีอ่ อกโดยสภาวิชาชีพบัญชี ซึง่ มีผลบังคับใชสาํ หรับรอบระยะเวลา บัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวไดรบั การปรับปรุงหรือจัดใหมขี นึ้ เพือ่ ใหมเี นือ้ หาเทาเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ โดยสวนใหญเปนการปรับปรุงถอยคําและคําศัพท การตีความและการใหแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีกบั ผูใ ช มาตรฐาน การนํามาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวมาถือปฏิบตั นิ ไี้ มมผี ลกระทบอยางเปนสาระ สําคัญตองบการเงินของบริษทั ฯและบริษทั ยอย ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีจ่ ะมีผลบังคับใชในอนาคต ในระหวางปปจ จุบนั สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศใชมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2559) รวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างบัญชีฉบับใหมจาํ นวนหลายฉบับ ซึง่ มีผลบังคับใชสาํ หรับงบการเงินทีม่ รี อบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาตรฐาน การรายงานทางการเงินดังกลาวไดรบั การปรับปรุงหรือจัดใหมขี นึ้ เพือ่ ใหมเี นือ้ หาเทาเทียมกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงินระหวางประเทศ โดยสวนใหญเปนการปรับปรุงถอยคําและคําศัพท การตีความและการ ใหแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีกบั ผูใ ชมาตรฐาน ฝายบริหารของบริษทั ฯและบริษทั ยอยเชือ่ วามาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง และแนวปฏิบตั ทิ างบัญชีฉบับใหมจะไมมผี ลกระทบอยางเปนสาระสําคัญ ตองบการเงินเมือ่ นํามาถือปฏิบตั ิ อยางไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ ี การเปลีย่ นแปลงหลัก การสําคัญ สรุปไดดงั ตอไปนี้

121


มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) เรือ่ ง งบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับปรับปรุงนีก้ าํ หนดทางเลือกเพิม่ เติมสําหรับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ยอย เงินลงทุน ในการรวมคา และเงินลงทุนในบริษทั รวม ในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยเลือกบันทึกตาม วิธสี ว นไดเสียได ตามทีอ่ ธิบายไวในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เรือ่ ง เงินลงทุนในบริษทั รวมและการ รวมคา ทัง้ นี้ กิจการตองใชวธิ กี ารบันทึกบัญชีเดียวกันสําหรับเงินลงทุนแตละประเภทและหากกิจการเลือก บันทึกเงินลงทุนดังกลาวตามวิธสี ว นไดเสียในงบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการตองปรับปรุงรายการดังกลาว โดยวิธปี รับยอนหลัง ปจจุบนั ฝายบริหารของบริษทั ฯและบริษทั ยอยอยูร ะหวางการประเมินผลกระทบทีอ่ าจมีตอ งบการเงินในป ทีเ่ ริม่ นํามาตรฐานดังกลาวมาถือปฏิบตั ิ

4.

นโยบายการบัญช�ที่สําคัญ

4.1

การรับรูร ายได ขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเ มือ่ บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดโอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ ปนนัยสําคัญของ ความเปนเจาของสินคาใหกบั ผูซ อื้ แลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกํากับสินคาโดยไมรวมภาษี มูลคาเพิม่ สําหรับสินคาทีไ่ ดสง มอบหลังจากหักสวนลดแลว ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ รับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนทีแ่ ทจริง เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมือ่ บริษทั ฯมีสทิ ธิในการรับเงินปนผล

4.2

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคลองสูง ซึง่ ถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันทีไ่ ดมาและไมมขี อ จํากัดในการเบิกใช

4.3

ลูกหนีก้ ารคา ลูกหนีก้ ารคาแสดงมูลคาตามจํานวนมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั บริษทั ฯและบริษทั ยอยบันทึก คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สําหรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนีไ้ มได ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ การเก็บเงินและการวิเคราะหอายุหนี้

4.4

สินคาคงเหลือ สินคาสําเร็จรูปและสินคาระหวางผลิตแสดงมูลคาตามราคาทุน (ตามวิธถี วั เฉลีย่ ถวงนํา้ หนัก) หรือมูลคาสุทธิที่ จะไดรบั แลวแตราคาใดจะตํา่ กวา ราคาทุนดังกลาวประกอบดวยตนทุนวัตถุดบิ แรงงานและคาโสหุย ในการผลิต วัตถุดบิ อะไหลและวัสดุโรงงานแสดงมูลคาตามราคาทุนถัวเฉลีย่ หรือมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั แลวแตราคาใดจะตํา่ กวา และจะถือเปนสวนหนึง่ ของตนทุนการผลิตเมือ่ มีการเบิกใช

122


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

4.5

เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษทั ยอยทีแ่ สดงอยูใ นงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธรี าคาทุนสุทธิจาก คาเผือ่ การ ดอยคา (ถามี) บริษทั ฯใชวธิ ถี วั เฉลีย่ ถวงนํา้ หนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน ในกรณีทมี่ กี ารโอนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึง่ ไปเปนอีกประเภทหนึง่ บริษทั ฯจะปรับมูลคา ของเงินลงทุนดังกลาวใหมโดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันที่โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ผลแตกตางระหวาง ราคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรม ณ วันที่โอนจะบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนหรือแสดงเปนองค ประกอบอื่นของสวนของผูถือหุนแลวแตประเภทของเงินลงทุนที่มี การโอนเปลี่ยน เมือ่ มีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ดรบั กับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึก ในสวนของกําไรหรือขาดทุน

4.6

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ และคาเสือ่ มราคา ทีด่ นิ แสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสือ่ มราwคาสะสม และคาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพย (ถามี) คาเสือ่ มราคาของอาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครือ่ งจักรและอุปกรณคาํ นวณจากราคาทุน โดยวิธเี สนตรง คาเสือ่ มราคาของอุปกรณอนื่ คํานวณโดยวิธผี ลรวมจํานวนป อายุการใหประโยชนโดยประมาณของอาคารและ อุปกรณแสดงไดดงั นี้ อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครือ่ งจักรและอุปกรณ เครือ่ งตกแตง ติดตัง้ และเครือ่ งใชสาํ นักงาน ยานพาหนะ

20 และ 50 ป 4 - 20 ป 3 - 10 ป 5 ป

คาเสือ่ มราคารวมอยูใ นการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมกี ารคิดคาเสือ่ มราคาสําหรับทีด่ นิ เครือ่ งจักรระหวางทาง และสินทรัพยระหวางติดตัง้ และกอสราง บริษัทฯและบริษัทยอยตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ออกจากบัญชี เมื่อจําหนายสินทรัพยหรือคาด วาจะไมไดรบั ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใชหรือจําหนายสินทรัพย รายการผลกําไรหรือขาดทุน จากการจําหนายสินทรัพยจะรับรูใ นสวนของกําไรหรือขาดทุนเมือ่ บริษทั ฯและบริษทั ยอยตัดรายการสินทรัพย นั้นออกจากบัญชี

123


4.7

ตนทุนการกูย มื ตนทุนการกูย มื ของเงินกูท ใี่ ชในการไดมา การกอสราง หรือการผลิตสินทรัพยทตี่ อ งใชระยะเวลานานในการแปลง สภาพใหพรอมใชหรือขาย ไดถกู นําไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรัพยนนั้ จะอยูใ นสภาพพรอมที่ จะใชไดตามทีม่ งุ ประสงค สวนตนทุนการกูย มื อืน่ ถือเปนคาใชจา ยในงวดทีเ่ กิดรายการ ตนทุนการกูย มื ประกอบ ดวยดอกเบีย้ และตนทุนอืน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการกูย มื นัน้

4.8

สินทรัพยไมมตี วั ตน บริษทั ฯและบริษทั ยอยบันทึกตนทุนเริม่ แรกของสินทรัพยไมมตี วั ตนทีไ่ ดมาจากการรวมธุรกิจ ตามมูลคายุตธิ รรม ของสินทรัพยนนั้ ณ วันทีซ่ อื้ ธุรกิจ สวนสินทรัพยไมมตี วั ตนทีไ่ ดมาจากการอืน่ บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะบันทึก ตนทุนเริม่ แรกของสินทรัพยนนั้ ตามราคาทุน ภายหลังการรับรูร ายการเริม่ แรก สินทรัพยไมมตี วั ตนแสดงมูลคา ตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและ คาเผือ่ การดอยคาสะสม (ถามี) ของสินทรัพยนนั้ บริษทั ฯและบริษทั ยอยตัดจําหนายสินทรัพยไมมตี วั ตนทีม่ อี ายุการใหประโยชนจาํ กัดอยางมีระบบตลอดอายุการให ประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพยนนั้ และจะประเมินการดอยคาของสินทรัพยดงั กลาวเมือ่ มีขอ บงชีว้ า สินทรัพย นัน้ เกิดการดอยคา บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะทบทวนระยะเวลา การตัดจําหนายและวิธกี ารตัดจําหนายของ สินทรัพยไมมตี วั ตนดังกลาวทุกสิน้ ปเปนอยางนอย คาตัดจําหนายรับรูเ ปนคาใชจา ยในสวนของกําไรหรือขาดทุน สินทรัพยไมมตี วั ตนทีม่ อี ายุการใหประโยชนจาํ กัดมีดงั นี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร

4.9

อายุการใหประโยชน 3 - 5 ป

คาความนิยม บริษทั ฯบันทึกมูลคาเริม่ แรกของคาความนิยมในราคาทุน ซึง่ เทากับตนทุนการรวมธุรกิจสวนทีส่ งู กวามูลคายุตธิ รรม ของสินทรัพยสทุ ธิทไี่ ดมา หากมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยสทุ ธิทไี่ ดมาสูงกวาตนทุนการรวมธุรกิจ บริษทั ฯจะรับ รูส ว นทีส่ งู กวานีเ้ ปนกําไรในสวนของกําไรหรือขาดทุนทันที บริษทั ฯแสดงคาความนิยมตามราคาทุนหักคาเผือ่ การดอยคาสะสม และจะทดสอบการดอยคาของ คาความนิยม ทุกปหรือเมือ่ ใดก็ตามทีม่ ขี อ บงชีข้ องการดอยคาเกิดขึน้

4.10

รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกันกับบริษทั ฯและบริษทั ยอย หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี าํ นาจควบคุมบริษทั ฯ และบริษทั ยอย หรือถูกบริษทั ฯและบริษทั ยอยควบคุม ไมวา จะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภ ายใตการ ควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯและบริษทั ยอย นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบุคคลหรือกิจการที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรง หรือทางออมซึ่งทําใหมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญตอบริษัทฯและบริษัทยอย ผูบริหารสําคัญ กรรมการ หรือพนักงานของบริษทั ฯและบริษทั ยอย ทีม่ อี าํ นาจในการวางแผนและควบคุม การดําเนินงานของบริษทั ฯ และบริษัทยอย

124


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

4.11

สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาอุปกรณทคี่ วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกบั ผูเ ชาถือเปนสัญญา เชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยทเ่ี ชาหรือมูลคาปจจุบนั สุทธิของจํานวนเงินทีต่ อ งจายตามสัญญาเชาแลวแตมลู คาใดจะ ตํา่ กวา ภาระผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจา ย ทางการเงินจะบันทึกเปนหนีส้ นิ ระยะยาว สวนดอกเบีย้ จายจะบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุของ สัญญาเชา สินทรัพยทไี่ ดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสือ่ มราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยทเี่ ชา สัญญาเชาอาคารและอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไมไดโอนไปใหกับ ผูเชาถือเปนสัญญาเชาดําเนินงาน จํานวนเงินที่จายตามสัญญาเชาดําเนินงานรับรูเปนคาใชจายในสวนของ กําไรหรือขาดทุนตามวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชา

4.12

เงินตราตางประเทศ บริษทั ฯแสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเปนสกุลเงินบาท ซึง่ เปนสกุลเงินทีใ่ ชในการดําเนินงาน ของบริษทั ฯ รายการตางๆของแตละกิจการทีร่ วมอยูใ นงบการเงินรวมวัดมูลคาดวยสกุลเงินทีใ่ ชในการดําเนินงาน ของแตละกิจการนัน้ รายการทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ สินทรัพย และหนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราแลกเปลีย่ นไดรวมอยูใ นการคํานวณผล การดําเนินงาน

4.13

การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทยอยจะทําการประเมินการดอยคาของที่ดิน อาคารและ อุปกรณหรือสินทรัพยทไี่ มมตี วั ตนอืน่ ของบริษทั ฯและบริษทั ยอย หากมีขอ บงชีว้ า สินทรัพยดงั กลาวอาจดอยคา และจะทําการประเมินการดอยคาของคาความนิยมเปนรายป บริษทั ฯและ บริษทั ยอยรับรูข าดทุนจากการดอยคา เมือ่ มูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนของสินทรัพยมมี ลู คาตํา่ กวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนนั้ ทัง้ นีม้ ลู คาทีค่ าดวาจะ ไดรบั คืนหมายถึงมูลคายุตธิ รรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการใชสนิ ทรัพยแลวแตราคาใด จะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชสนิ ทรัพย บริษทั ฯและบริษทั ยอยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ทีก่ จิ การคาดวาจะไดรบั จากสินทรัพยและคํานวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบนั โดยใชอตั ราคิดลดกอนภาษีทสี่ ะทอน ถึงการประเมินความเสีย่ งในสภาพตลาดปจจุบนั ของเงินสดตามระยะเวลาและความเสีย่ งซึง่ เปนลักษณะเฉพาะ ของสินทรัพยทกี่ าํ ลังพิจารณาอยู ในการประเมินมูลคายุตธิ รรมหักตนทุนในการขาย บริษทั ฯและบริษทั ยอยใช แบบจําลองการประเมินมูลคาทีด่ ที สี่ ดุ ซึง่ เหมาะสมกับสินทรัพย ซึง่ สะทอนถึงจํานวนเงินทีก่ จิ การสามารถจะได มาจากการจําหนายสินทรัพยหกั ดวยตนทุนในการจําหนาย โดยการจําหนายนัน้ ผูซ อื้ กับผูข ายมีความรอบรูแ ละ เต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูท ไี่ มมคี วามเกีย่ วของกัน บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะรับรูร ายการขาดทุนจากการดอยคาในสวนของกําไรหรือขาดทุน หากในการประเมินการดอยคาของสินทรัพย มีขอ บงชีท้ แี่ สดงใหเห็นวาผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ รับรูใ นงวดกอนไดหมดไปหรือลดลง บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะประมาณมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนของสินทรัพย

125


นัน้ และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการดอยคาทีร่ บั รูใ นงวดกอนก็ตอ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงประมาณการทีใ่ ช กําหนดมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนภายหลังจากการรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาครัง้ ลาสุด โดยมูลคาตามบัญชี ของสินทรัพยทเี่ พิม่ ขึน้ จากการกลับรายการผลขาดทุนจากการดอยคาตองไมสงู กวามูลคาตามบัญชีทค่ี วรจะเปน หากกิจการไมเคยรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยในงวดกอนๆ บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะบันทึกกลับ รายการผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยโดยรับรูไ ปยังสวนของกําไรหรือขาดทุนทันที 4.14

ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชนระยะสัน้ ของพนักงาน บริษทั ฯและบริษทั ยอยรับรูเ งินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเปนคาใชจา ยเมือ่ เกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน และผลประโยชนระยะยาวอืน่ ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษทั ฯ บริษทั ยอยและพนักงานไดรว มกันจัดตัง้ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ซึง่ ประกอบดวยเงินทีพ่ นักงานจายสะสม และเงินทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ยอยจายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลีย้ งชีพไดแยกออกจาก สินทรัพยของบริษทั ฯและบริษทั ยอย เงินทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ยอยจายสมทบกองทุนสํารองเลีย้ งชีพบันทึกเปน คาใชจา ยในปทเี่ กิดรายการ โครงการผลประโยชนหลังออกจากงาน และผลประโยชนระยะยาวอืน่ ของพนักงาน บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีภาระสําหรับเงินชดเชยทีต่ อ งจายใหแกพนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน และตามโครงการผลตอบแทนพนักงานอืน่ ๆ ซึง่ บริษทั ฯและบริษทั ยอยถือวาเงินชดเชยดังกลาวเปนโครงการผล ประโยชนหลังออกจากงานสําหรับพนักงาน นอกจากนัน้ บริษทั ฯจัดใหมโี ครงการผลประโยชนระยะยาวอืน่ ของ พนักงาน ไดแก โครงการเงินรางวัลการปฏิบตั งิ านครบกําหนดระยะเวลา บริษทั ฯและบริษทั ยอยคํานวณหนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน และโครงการ ผลประโยชนระยะยาวอืน่ ของพนักงาน โดยใชวธิ คี ดิ ลดแตละหนวยทีป่ ระมาณการไว (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ ชีย่ วชาญอิสระไดทาํ การประเมินภาระผูกพันดังกลาวตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชนหลังออก จากงานของพนักงานจะรับรูท นั ทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชนระยะ ยาวอืน่ ของพนักงานจะรับรูท นั ทีในกําไรหรือขาดทุน

4.15

ประมาณการหนีส้ นิ บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไวในบัญชีเมือ่ ภาระผูกพันซึง่ เปนผลมาจากเหตุการณในอดีต ไดเกิดขึน้ แลว และมีความเปนไปไดคอ นขางแนนอนวาบริษทั ฯและบริษทั ยอยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพือ่ ปลดเปลือ้ งภาระผูกพันนัน้ และบริษทั ฯและบริษทั ยอยสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนัน้ ไดอยางนาเชือ่ ถือ

126


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

4.16

ภาษีเงินได ภาษีเงินไดประกอบดวยภาษีเงินไดปจ จุบนั และภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดปจ จุบนั บริษทั ฯและบริษทั ยอยบันทึกภาษีเงินไดปจ จุบนั ตามจํานวนทีค่ าดวาจะจายใหกบั หนวยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑทก่ี าํ หนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษทั ฯและบริษทั ยอยบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชัว่ คราวระหวางราคาตามบัญชีของ สินทรัพยและหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินที่เกี่ยวของนั้น โดยใชอัตราภาษีที่มีผลบังคับใช ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯและบริษทั ยอยรับรูห นีส้ นิ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชัว่ คราวทีต่ อ งเสียภาษีทกุ รายการ แตรบั รูส นิ ทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกตางชัว่ คราวทีใ่ ชหกั ภาษี รวมทัง้ ผลขาดทุนทางภาษี ทีย่ งั ไมไดใชในจํานวนเทาทีม่ คี วามเปนไปไดคอ นขางแนทบี่ ริษทั ฯและบริษทั ยอยจะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคต เพียงพอที่จะใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชนั้น บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะทบทวนมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทกุ สิน้ รอบระยะเวลา รายงานและจะทําการปรับลดมูลคาตามบัญชีดงั กลาว หากมีความเปนไปไดคอ นขางแนวา บริษทั ฯและบริษทั ยอย จะไมมกี าํ ไรทางภาษีเพียงพอตอการนําสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทงั้ หมดหรือบางสวนมาใชประโยชน บริษัทฯและบริษัทยอยจะบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังสวนของผูถือหุนหากภาษี ที่เกิดขึ้น เกีย่ วของกับรายการทีไ่ ดบนั ทึกโดยตรงไปยังสวนของผูถ อื หุน

4.17

การวัดมูลคายุตธิ รรม มูลคายุตธิ รรม หมายถึง ราคาทีค่ าดวาจะไดรบั จากการขายสินทรัพยหรือเปนราคาทีจ่ ะตองจายเพือ่ โอนหนีส้ นิ ใหผอ ู นื่ โดยรายการดังกลาวเปนรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหวางผูซื้อและผูขาย (ผูรวมในตลาด) ณ วันที่ วัดมูลคา บริษัทฯและบริษัทยอยใชราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคลองในการวัดมูลคายุติธรรมของ สินทรัพยและหนีส้ นิ ซึง่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ กีย่ วของกําหนดใหตอ งวัดมูลคาดวยมูลคายุตธิ รรม ยกเวนในกรณีทไี่ มมตี ลาดทีม่ สี ภาพคลองสําหรับสินทรัพยหรือหนีส้ นิ ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกันหรือไมสามารถหา ราคาเสนอซือ้ ขายในตลาดทีม่ สี ภาพคลองได บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะประมาณมูลคายุตธิ รรมโดยใชเทคนิค การประเมินมูลคาทีเ่ หมาะสมกับแตละสถานการณ และพยายามใชขอ มูลทีส่ ามารถสังเกตไดทเี่ กีย่ วของกับ สินทรัพยหรือหนี้สินที่จะวัดมูลคายุติธรรมนั้นใหมากที่สุด ลําดับชัน้ ของมูลคายุตธิ รรมทีใ่ ชวดั มูลคาและเปดเผยมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยและหนีส้ นิ ใน งบการเงินแบง ออกเปนสามระดับตามประเภทของขอมูลทีน่ าํ มาใชในการวัดมูลคายุตธิ รรม ดังนี้ ระดับ 1 ใชขอ มูลราคาเสนอซือ้ ขายของสินทรัพยหรือหนีส้ นิ อยางเดียวกันในตลาดทีม่ สี ภาพคลอง ระดับ 2 ใชขอ มูลอืน่ ทีส่ ามารถสังเกตไดของสินทรัพยหรือหนีส้ นิ ไมวา จะเปนขอมูลทางตรงหรือทางออม ระดับ 3 ใชขอ มูลทีไ่ มสามารถสังเกตได เชน ขอมูลเกีย่ วกับกระแสเงินในอนาคตทีก่ จิ การประมาณขึน้

127


ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทยอยจะประเมินความจําเปนในการโอนรายการระหวาง ลําดับชัน้ ของมูลคายุตธิ รรมสําหรับสินทรัพยและหนีส้ นิ ทีถ่ อื อยู ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงานทีม่ กี ารวัดมูลคา ยุตธิ รรมแบบเกิดขึน้ ประจํา

5.

การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญช�ที่สําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝายบริหารจําเปนตองใชดลุ ยพินจิ และการประมาณ การในเรือ่ งทีม่ คี วามไมแนนอนเสมอ การใชดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกลาวนีส้ ง ผลกระทบตอจํานวนเงิน ทีแ่ สดงในงบการเงินและตอขอมูลทีแ่ สดงในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกตางไปจาก จํานวนทีป่ ระมาณการไว การใชดลุ ยพินจิ และ การประมาณการทีส่ าํ คัญมีดงั นี้ สัญญาเชา ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชาวาเปนสัญญาเชาดําเนินงานหรือสัญญาเชาทางการเงิน ฝายบริหารได ใชดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาวาบริษัทฯและบริษัทยอยไดโอน หรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชนในสินทรัพยที่เชาดังกลาวแลวหรือไม คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณคาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจําเปนตองใชดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุน ทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ จากลูกหนีแ้ ตละราย โดยคํานึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของหนีท้ คี่ งคางและ สภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ปนอยูใ นขณะนัน้ เปนตน มูลคายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงิน ในการประเมินมูลคายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินทีบ่ นั ทึกในงบแสดงฐานะการเงิน ทีไ่ มมี การซือ้ ขายใน ตลาดและไมสามารถหาราคาไดในตลาดซือ้ ขายคลอง ฝายบริหารตองใชดลุ ยพินจิ ในการประเมินมูลคายุตธิ รรม ของเครือ่ งมือทางการเงินดังกลาว โดยใชเทคนิคและแบบจําลอง การประเมินมูลคา ซึง่ ตัวแปรทีใ่ ชในแบบจําลอง ไดมาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรทีม่ อี ยูใ นตลาด โดยคํานึงถึงความเสีย่ งทางดานเครดิต (ทัง้ ของธนาคารฯ และ คูส ญ ั ญา) สภาพคลอง ขอมูลความสัมพันธ และการเปลีย่ นแปลงของมูลคาของเครือ่ งมือทางการเงินในระยะยาว การเปลีย่ นแปลงของสมมติฐานทีเ่ กีย่ วของกับตัวแปรทีใ่ ชในการคํานวณ อาจมีผลกระทบตอมูลคายุตธิ รรมทีแ่ สดง อยูใ นงบแสดงฐานะการเงิน และการเปดเผยลําดับชัน้ ของมูลคายุตธิ รรม คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุน บริษทั ฯจะตัง้ คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุนในบริษทั ยอยเมือ่ มูลคายุตธิ รรมของเงินลงทุนดังกลาวไดลดลงอยาง มีสาระสําคัญและเปนระยะเวลานานหรือเมือ่ มีขอ บงชีข้ องการดอยคา การทีจ่ ะสรุปวาเงินลงทุนดังกลาวไดลดลง อยางมีสาระสําคัญหรือเปนระยะเวลานานหรือไมนนั้ จําเปนตองใช ดุลยพินจิ ของฝายบริหาร ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ และคาเสือ่ มราคา ในการคํานวณคาเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจําเปนตองทําการประมาณอายุการใหประโยชน และมูลคาคงเหลือเมือ่ เลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือ

128


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ใหมหากมีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ นอกจากนี้ ฝายบริหารจําเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการดอยคาหากคาดวามูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนตํา่ กวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนนั้ ในการนี้ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจที่เกี่ยวของกับการคาดการณรายไดและคาใชจายในอนาคตซึ่ง เกี่ยวเนื่องกับสินทรัพยนั้น คาความนิยม และสินทรัพยไมมตี วั ตน ในการบันทึกและวัดมูลคาของคาความนิยมและสินทรัพยไมมตี วั ตน ณ วันทีไ่ ดมา ตลอดจน การทดสอบการดอย คาในภายหลัง ฝายบริหารจําเปนตองประมาณการกระแสเงินสดทีค่ าดวาจะไดรบั ในอนาคตจากสินทรัพย หรือ หนวยของสินทรัพยทกี่ อ ใหเกิดเงินสด รวมทัง้ การเลือกอัตรา คิดลดทีเ่ หมาะสมในการคํานวณหามูลคาปจจุบนั ของกระแสเงินสดนัน้ ๆ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทยอยจะรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี และขาดทุนทางภาษีทไี่ มไดใชเมือ่ มีความเปนไปไดคอ นขางแนวา บริษทั ฯและบริษทั ยอยจะมีกาํ ไรทางภาษี ในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะใชประโยชนจากผลแตกตางชัว่ คราวและขาดทุนนัน้ ในการนีฝ้ า ยบริหารจําเปนตอง ประมาณการวาบริษทั ฯและบริษทั ยอยควรรับรูจ าํ นวนสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีเปนจํานวนเทาใด โดยพิจารณาถึงจํานวนกําไรทางภาษีที่คาดวาจะเกิดในอนาคตใน แตละชวงเวลา ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน และผลประโยชนระยะยาวอืน่ ของพนักงาน หนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน และตามโครงการผลประโยชนระยะยาวอืน่ ของ พนักงาน ประมาณขึน้ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ซึง่ ตองอาศัยขอสมมติฐานตาง ๆในการประมาณการนัน้ เชน อัตราคิดลด อัตราการขึน้ เงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลีย่ นแปลงในจํานวนพนักงาน เปนตน

129


6.

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการ ธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงือ่ นไขทางการคาและเกณฑตามทีต่ กลงกันระหวางบริษทั ฯและบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวของกันเหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 นโยบายการกําหนดราคา รายการธุรกิจกับบริษทั ยอย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา - 1,253 1,277 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิม่ ซือ้ วัตถุดบิ - 60 16 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิม่ รายไดอนื่ 2 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิม่ รายไดคา เชาและคาบริการ - 10 8 ตามทีร่ ะบุในสัญญา Euribor 6 เดือน + 2.00% ตอป และ 2.80% ตอป (2559: Euribor 6 เดือน + 2.25% ดอกเบีย้ จาย - 37 23 ตอปและ 3.25% - 3.40% ตอป คาใชจา ยอืน่ 1 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิม่ รายการธุรกิจกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน ซือ้ วัตถุดบิ 379 485 คาใชจา ยอืน่ 6 7

130

6 2

40 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิม่ 4 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิม่


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

ยอดคงคางระหวางบริษทั ฯและกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน (หมายเหตุ 8) บริษทั ยอย รวมลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน

-

-

393,286

383,409

-

-

393,286

383,409

เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน (หมายเหตุ 15) บริษทั ใหญ 88,949 บริษทั ยอย -

80,169 -

2,365 19,269

10,104 1,428

รวมเจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน

80,169

21,634

11,532

88,949

เงินกูย มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ยอดคงค า งของเงิ น กู  ยื ม ระหว า งบริ ษั ท ฯกั บ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข อ งกั น ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2560 และ 2559 และการเคลื่อนไหวของเงินกูยืมดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรจาก ยอดคง ยอดคง อั ตราแลก เหลือ เหลื อ ลั ก ษณะ เงินกูย มื ระยะสัน้ เปลี ย่ นทีย่ งั ณ วันที่ ณ วั น ที ่ เพิ ม ่ ขึ น ้ ลดลง ความ จากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน สัมพันธ 31 มีนาคม ระหวางป ระหวางป ไมเกิดขึน้ 31 มีนาคม 2560 จริง 2559 บริษทั อีโคบลู จํากัด บริษทั ยอย 34,000 - (8,500) - 25,500 Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret A.S. บริษทั ยอย 1,304,665 1,204,762 - (153,313) 2,356,114 1,338,665 1,204,762 (8,500) (153,313) 2,381,614 เงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัท อีโคบลู จํากัด คิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 2.80 ตอป (2559: อัตรารอยละ 3.25 ถึง 3.40 ตอป) และมีกําหนดชําระคืนทุก 6 เดือนนับจากวันที่ไดรับเงินกู หากบริษัทฯไมสามารถ ชําระคืนเงินกูยืมไดครบทั้งจํานวนเมื่อถึงกําหนดเวลาชําระคืนสามารถขยายระยะเวลาชําระคืนออกไปได อีกตามที่ตกลงรวมกัน

131


เงินกูย มื ระยะสัน้ จาก Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret A.S. คิดดอกเบีย้ ในอัตรารอยละ Euribor 6 เดือน + 2.00 ตอป (2559: อัตรารอยละ Euribor 6 เดือน + 2.25 ตอป) เงินกูย มื ดังกลาวมีกาํ หนด ชําระคืนภายในวันที่ 31 มีนาคม 2560 เมือ่ ถึงกําหนดไดมกี ารตกลงรวมกันเพือ่ ขยายระยะเวลาชําระคืนออกไป อีกเปนเวลา 1 ป คาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร ในระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีคา ใชจา ยผลประโยชนพนักงาน ทีใ่ หแกกรรมการและผูบ ริหาร ดังตอไปนี้

ผลประโยชนระยะสัน้

งบการเงินรวม 2560 2559 89 103 89

103

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 40 37 40

37

ภาระคํา้ ประกันกับกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บริษทั ฯมีภาระจากการคํา้ ประกันใหกบั กิจการทีเ่ กีย่ วของกันตามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 28.4

7.

เง�นสดและรายการเทียบเทาเง�นสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวมเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

งบการเงินรวม 2560 2559 1,485 2,481 729,209 1,073,960 730,694 1,076,441

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 982 1,564 37,599 24,136 38,581 25,700

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เงินฝากออมทรัพยและเงินฝากประจํามีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 0.1 ถึง 0.8 ตอป (2559: รอยละ 0.1 ถึง 1.0 ตอป)

132


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

8.

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีไ่ มเกีย่ วของกัน อายุหนีค้ งคางนับจากวันทีถ่ งึ กําหนดชําระ ยังไมครบกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวมลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีไ่ มเกีย่ วของกัน หัก: คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ รวมลูกหนีก้ ารคา - กิจการที่ ไมเกีย่ วของกัน, สุทธิ

1,685,980 1,758,304

658,606

580,046

96,793 145,738 9,973 6,501 4,353 11,408 4,560 6,106 1,801,659 1,928,057 (5,377) (6,873)

35,807 5,901 3,889 2,536 706,739 (2,894)

87,426 5,570 5,898 4,047 682,987 (429)

1,796,282 1,921,184

703,845

682,558

392,401

374,419

ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน อายุหนีค้ งคางนับจากวันทีถ่ งึ กําหนดชําระ ยังไมครบกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน มากกวา 6 เดือน รวมลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน รวมลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ

8,239 157 - 392,401 382,815 1,796,282 1,921,184 1,096,246 1,065,373

ลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน รวมลูกหนีอ้ นื่ รวมลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ - สุทธิ

885 594 885 594 1,796,282 1,921,184 1,097,131 1,065,967

-

-

133


9.

สินคาคงเหลือ (หนวย: พันบาท)

สินคาสําเร็จรูป งานระหวางทํา วัตถุดบิ อะไหลและวัสดุโรงงาน สินคาระหวางทาง รวม

งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให สินคาคงเหลือ - สุทธิ ราคาทุน เปนมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั 2560 2559 2560 2559 2560 2559 492,485 594,875 (32,712) (55,327) 459,773 539,548 307,662 290,181 (6,087) (14,808) 301,575 275,373 473,134 416,417 (343) (1,068) 472,791 415,349 341,654 334,348 - 341,654 334,348 149,779 185,671 - 149,779 185,671 1,764,714 1,821,492 (39,142) (71,203) 1,725,572 1,750,289 (หนวย: พันบาท)

สินคาสําเร็จรูป งานระหวางทํา วัตถุดบิ อะไหลและวัสดุโรงงาน สินคาระหวางทาง รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนให สินคาคงเหลือ - สุทธิ ราคาทุน เปนมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั 2560 2559 2560 2559 2560 2559 65,823 80,668 (2,677) (5,055) 63,146 75,613 157,225 143,098 (6,088) (14,809) 151,137 128,289 263,744 245,777 (343) (1,068) 263,401 244,709 154,638 174,329 - 154,638 174,329 21,676 22,836 21,676 22,836 663,106 666,708 (9,108) (20,932) 653,998 645,776

รายการเปลีย่ นแปลงของบัญชีปรับลดราคาทุนใหเปนมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั ของสินคาคงเหลือสําหรับป 2560 สรุปไดดงั นี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 71,203 20,932 บวก: ตัง้ เพิม่ ระหวางป 1,400 1,400 หัก: โอนกลับระหวางป (31,585) (13,224) (1,876) หัก: ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 39,142 9,108 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560

10.

เง�นฝากธนาคารที่มีภาระคําประกัน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 คือ เงินฝากประจําจํานวน 0.4 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 0.6 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) มีอตั ราดอกเบีย้ รอยละ 0.45 ตอป (2559: รอยละ 0.05 ตอป) ซึง่ ถูกนําไปคํา้ ประกันภายใตขอ ตกลงและเงือ่ นไขของวงเงินกูย มื ระยะยาวทีบ่ ริษทั ยอย (Polyplex USA LLC) ไดรบั จากธนาคาร

134


รวม

8.4 ลานยูโร

8.4 ลานยูโร

หุน บุรมิ สิทธิ Polyplex (Singapore) Pte. Ltd.

2559

0.8 ลานยูโร 0.8 ลานยูโร 0.2 ลานยูโร 0.2 ลานยูโร 46.6 ลานเหรียญ 36.6 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 26.5 ลานบาท 26.5 ลานบาท

2560

ทุนเรียกชําระแลว

หุน สามัญ Polyplex (Singapore) Pte. Ltd. Polyplex Europe B.V. Polyplex America Holdings Inc. บริษทั อีโคบลู จํากัด

บริษทั ยอย

-

-

41,440 8,157

2560

100.00

100.00

881,904 22,515 954,016

41,440 8,157

2559

414,581 414,581 - 414,581 414,581 414,581 414,581 - 414,581 414,581 1,958,900 1,614,882 (246,285) (246,285) 1,712,615 1,368,597

100.00 1,474,489 1,128,189 (246,285) (246,285) 1,228,204 74.00 20,233 22,515 20,233 1,544,319 1,200,301 (246,285) (246,285) 1,298,034

41,440 8,157

2559

มูลคาสุทธิตามบัญชี

100.00 66.50

41,440 8,157

2560

คาเผือ่ การดอยคา ของเงินลงทุน 2560 2559

100.00 100.00

2559 รอยละ

ราคาทุน

100.00 100.00

2560 รอยละ

สัดสวนเงินลงทุน

11. เง�นลงทุนในบร�ษัทยอย เงินลงทุนในบริษทั ยอยตามทีแ่ สดงในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท)

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

135


บริษทั ยอยไมมกี ารประกาศจายเงินปนผลในระหวางป ในระหวางปบริษทั ฯไดจาํ หนายเงินลงทุนในหุน สามัญของบริษทั อีโคบลู จํากัด จํานวน 79,875 หุน ใหแกผถู อื หุน สวนนอยของบริษทั ดังกลาว ทําใหสดั สวนเงินลงทุนในสวนของบริษทั ฯลดลงเหลือรอยละ 66.5 ของทุนจด ทะเบียนของบริษทั ดังกลาว เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2559 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ไดมมี ติใหลงทุนเพิม่ ในบริษทั Polyplex America Holding Inc. เปนจํานวนไมเกิน 10 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา เมือ่ วันที่ 28 กันยายน 2559 บริษทั ฯชําระเงิน สําหรับการลงทุนเพิม่ ในหุน สามัญของ Polyplex America Holdings Inc. จํานวน 2,000 หุน (คิดเปนรอยละ 100 ของหุน ทีอ่ อกจําหนายทัง้ หมด) รวมเปนจํานวนทัง้ สิน้ 10 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (เทากับ 364.3 ลานบาท) ราคาทีต่ ราไวของหุน สามัญของ บริษทั ยอยคิดเปนหุน ละ 0.01 เหรียญสหรัฐอเมริกา ในระหวางป 2558 บริษทั ยอย Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi (Polyplex Europa) ไดเขาทําสัญญาขายเงินลงทุนกับบริษทั ในตางประเทศแหงหนึง่ เพือ่ จําหนายเงินลงทุนใน บริษทั ยอย โดยมีจาํ นวนเงินทีอ่ าจจะไดรบั ในอนาคตอีกจํานวน 6 ลานยูโร ซึง่ ขึน้ อยูก บั การปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข บางประการทีร่ ะบุไวในสัญญาซือ้ ขายเงินลงทุน สัญญามีผลถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2562

136


ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

ราคาทุน 1 เมษายน 2558 ซือ้ เพิม่ จําหนาย โอนเขา/(โอนออก) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 มีนาคม 2559 ซือ้ เพิม่ จําหนาย/ตัดจําหนาย โอนเขา/(โอนออก) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 มีนาคม 2560

12.

349,841 14,939 364,780 (6,641) 358,139

ทีด่ นิ 2,948,654 10,378 1,299 162,421 3,122,752 7,811 (72,647) 3,057,916

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคาร 11,026,296 93,930 (23,795) 27,460 583,920 11,707,811 107,933 (4,188) 22,984 (306,290) 11,528,250

เครือ่ งจักรและ อุปกรณ 152,232 12,740 (1,353) 4,060 7,678 175,357 11,505 (240) 162 (4,571) 182,213

งบการเงินรวม เครือ่ งตกแตงติด ตัง้ และอุปกรณ สํานักงาน 59,344 1,401 (6,702) 2,826 56,869 (2,327) (1,438) 53,104

ยานพาหนะ 38,306 873 (2,603) (32,819) 562 4,319 88,038 (15,488) (23,146) (194) 53,529

สินทรัพยระหวาง ติดตัง้ และกอสราง

14,574,673 119,322 (34,453) 772,346 15,431,888 215,287 (22,243) (391,781) 15,233,151

รวม

(หนวย: พันบาท)

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

137


138

คาเสือ่ มราคาสะสม 1 เมษายน 2558 385,292 3,091,278 คาเสือ่ มราคาสําหรับป 114,184 617,849 จําหนาย (4,695) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 15,538 164,004 31 มีนาคม 2559 515,014 3,868,436 คาเสือ่ มราคาสําหรับป 115,817 614,460 จําหนาย/ตัดจําหนาย (2,065) (11,443) (124,092) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 619,388 4,356,739 31 มีนาคม 2560 คาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพย 31 มีนาคม 2558 เพิม่ ขึน้ ระหวางป 104,570 246,626 ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 706 1,690 31 มีนาคม 2559 105,276 248,316 ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน (2,357) (5,647) 102,919 242,669 31 มีนาคม 2560 มูลคาสุทธิตามบัญชี 364,780 2,502,462 7,591,059 31 มีนาคม 2559 358,139 2,335,609 6,928,842 31 มีนาคม 2560 คาเสือ่ มราคาสําหรับป 2559 (695.7 ลานบาท รวมอยูใ นตนทุนการผลิต สวนทีเ่ หลือรวมอยูใ นคาใชจา ยในการขายและการบริหาร) 2560 (727.4 ลานบาท รวมอยูใ นตนทุนการผลิต สวนทีเ่ หลือรวมอยูใ นคาใชจา ยในการขายและการบริหาร)

ทีด่ นิ 40,315 9,474 (6,740) 1,847 44,896 6,874 (2,041) (1,255) 48,474 11,973 4,630

107,881 23,461 (18) 5,699 137,023 15,422 (32) (3,826) 148,587 38,334 33,626

-

-

4,319 53,529

งบการเงินรวม (ตอ) เครือ่ งตกแตง สินทรัพย อาคารและสวน เครือ่ งจักรและ ติดตัง้ และ ยานพาหนะ ระหว างติดตัง้ ปรับปรุงอาคาร อุปกรณ อุปกรณ และก อสราง สํานักงาน

764,968 752,573

10,512,927 9,714,375

351,196 2,396 353,592 (8,004) 345,588

3,624,766 764,968 (11,453) 187,088 4,565,369 752,573 (4,138) (140,616) 5,173,188

รวม

(หนวย: พันบาท)


ราคาทุน 1 เมษายน 2558 196,627 1,287,333 5,547,041 ซือ้ เพิม่ 7,775 32,007 จําหนาย (17,810) โอนเขา/(โอนออก) 1,299 45,579 31 มีนาคม 2559 196,627 1,296,407 5,606,817 ซือ้ เพิม่ 6,089 80,971 จําหนาย/ตัดจําหนาย (2,692) 22,984 โอนเขา/(โอนออก) 196,627 1,302,496 5,708,080 31 มีนาคม 2560 คาเสือ่ มราคาสะสม 1 เมษายน 2558 252,641 1,814,891 คาเสือ่ มราคาสําหรับป 64,625 313,190 (1,543) จําหนาย 31 มีนาคม 2559 317,266 2,126,538 คาเสือ่ มราคาสําหรับป 64,993 314,140 จําหนาย/ตัดจําหนาย (1,872) 382,259 2,438,806 31 มีนาคม 2560 มูลคาสุทธิตามบัญชี 196,627 979,141 3,480,279 31 มีนาคม 2559 196,627 920,237 3,269,274 31 มีนาคม 2560 คาเสือ่ มราคาสําหรับป 2559 (377.8 ลานบาท รวมอยูใ นตนทุนการผลิต สวนทีเ่ หลือรวมอยูใ นคาใชจา ยในการขายและการบริหาร) 2560 (379.1 ลานบาท รวมอยูใ นตนทุนการผลิต สวนทีเ่ หลือรวมอยูใ นคาใชจา ยในการขายและการบริหาร)

ทีด่ นิ 32,225 1,820 (6,178) 27,867 27,867 23,630 4,866 (5,981) 22,515 2,961 25,476 5,352 2,391

83,467 10,752 (1,353) 4,046 96,912 8,652 (240) 162 105,486 59,250 12,369 (17) 71,602 10,474 (32) 82,044 25,310 23,442

งบการเงินเฉพาะกิจการ อ่ งตกแตงติด อาคารและสวน เครือ่ งจักรและ เครื ตั ง ้ และอุ ปกรณ ยานพาหนะ ปรับปรุงอาคาร อุปกรณ สํานักงาน

1,872 51,070

-

51,255 1,541 (50,924) 1,872 73,161 (817) (23,146) 51,070

สินทรัพย ระหวางติดตัง้ และกอสราง

395,050 392,568

4,688,581 4,463,041

2,150,412 395,050 (7,541) 2,537,921 392,568 (1,904) 2,928,585

7,197,948 53,895 (25,341) 7,226,502 168,873 (3,749) 7,391,626

รวม

(หนวย:พันบาท)

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

139


ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทยอยมียอดคงเหลือของอุปกรณซึ่งไดมาภายใตสัญญาเชาการเงิน โดยมีมูลคาสุทธิตามบัญชีเปนจํานวนเงิน 9 ลานบาท (2559: 9 ลานบาท) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทฯและบริษัทยอยมีอาคารและอุปกรณจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคา หมดแลวแตยังใชงานอยู มูลคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ดังกลาวมีจํานวนประมาณ 76 ลานบาท (2559: 69 ลานบาท) (เฉพาะของบริษัทฯ: 38 ลานบาท (2559: 36 ลานบาท)) บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดนาํ สินทรัพยมลู คาสุทธิตามบัญชีจาํ นวนประมาณ 7,355 ลานบาท (2559: 7,879 ลานบาท) ไปคํ้าประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากสถาบันการเงิน (เฉพาะของบริษัทฯ: 3,996 ลานบาท (2559: 4,281 ลานบาท))

13.

สินทรัพยไมมีตัวตน มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไมมตี วั ตน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 แสดงไดดงั นี้

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ราคาทุน หัก: คาตัดจําหนายสะสม หัก: ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 ราคาทุน หัก: คาตัดจําหนายสะสม บวก: ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ

140

(หนวย:พันบาท) งบการเงินรวม คอมพิวเตอรซอฟตแวร 20,986 (17,269) (337) 3,380 18,704 (14,204) 936 5,436


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

การกระทบยอดมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไมมตี วั ตนสําหรับป 2560 และ 2559 แสดงไดดงั นี้ (หนวย:พันบาท) งบการเงินรวม 2560 2559 5,436 8,468 147 210 (1,866) (4,178) (337) 936 3,380 5,436

ราคาตามบัญชีสทุ ธิ ณ ตนป ซือ้ เพิม่ ตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ราคาตามบัญชีสทุ ธิ ณ สิน้ ป

14.

เง�นกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร อัตราดอกเบีย้ 2560 2559 (รอยละตอป) (รอยละตอป)

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2560

2559

2560

เงินกูย มื ระยะสัน้ จาก ธนาคาร LIBOR + 2.00% LIBOR + 2.00% 639,048 828,120 ตัว๋ สัญญาใชเงิน 2.60% 2.42% - 3.79% 75,000 1,634,000 รวมเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน 714,048 2,462,120

2559

75,000 1,634,000 75,000 1,634,000

เงินกูย มื ระยะสัน้ จากธนาคาร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เปนเงินกูย มื ในสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาจํานวน 18.5 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 23.5 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) เงินกูยืมดังกลาว คํ้าประกันโดย บริษัทฯและบริษัทยอยตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 28.4

15.

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีไ่ มเกีย่ วของกัน เจาหนีอ้ นื่ - กิจการทีไ่ มเกีย่ วของกัน เจาหนีค้ า ซือ้ สินทรัพย รวมเจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่

งบการเงินรวม 2560 2559 88,949 80,169 1,060,351 928,222 1,902 5,808 14,123 10,676 1,165,325 1,024,875

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2560 21,634 11,532 601,126 559,293 1,520 12,057 8,563 634,817 580,908

141


16.

เง�นกูยืมระยะยาวจากธนาคาร (หนวย: พันบาท) อัตราดอกเบีย้ (รอยละตอป)

การชําระคืน

รอยละ 4.61 ถึง 5.54 ตุลาคม 2553 ถึงกรกฎาคม 2559 Euribor + 2.50% ตุลาคม 2556 ถึงสิงหาคม 2562 Libor + ตุลาคม 2552 (1.75% ถึง 3.375%) ถึงกันยายน 2563 รวม หัก: สวนทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป เงินกูย มื ระยะยาว - สุทธิจากสวนทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 มีนาคม 31 มีนาคม 31 มีนาคม 31 มีนาคม 2560 2559 2560 2559 -

10,197

-

10,197

357,903

412,140

357,903

412,140

2,144,739 3,051,502 809,241 1,172,642 2,502,642 3,473,839 1,167,144 1,594,979 (500,411) (162,709) (495,911) (154,106) 2,002,231 3,311,130

671,233 1,440,873

เงินกูย มื ของบริษทั ฯคํา้ ประกันโดยการจดจํานองทีด่ นิ พรอมสิง่ ปลูกสรางและเครือ่ งจักรของบริษทั ฯ สวนเงิน กูยืมของบริษัทยอยคํ้าประกันโดยการจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางและการจํานําเครื่องจักรและเงินฝาก ธนาคารของบริษทั ยอย และการคํา้ ประกันโดยบริษทั ฯตามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 28.4 ภายใตสญ ั ญาเงินกู บริษทั ฯและบริษทั ยอยตองปฎิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบางประการตามทีร่ ะบุในสัญญา เชน การดํารงอัตราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน และอัตราสวนความสามารถในการชําระหนีใ้ หเปนไปตาม อัตราที่กําหนดในสัญญา เปนตน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 บริษทั ฯมีสญ ั ญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ กับธนาคารแหงหนึง่ โดยบริษทั ฯตกลง ทีจ่ ะเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ ของเงินกูย มื คงเหลือจํานวน 0.08 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และ 0.2 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามอัตรา Libor ตอป เปนอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 2.61 ตอป และอัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ ยละ 3.54 ตอป ตามลําดับ ในระหวางปปจ จุบนั บริษทั ฯไดจา ยชําระคืนเงินกูย มื ที่เกี่ยวของกับสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยดังกลาวแลวทั้งจํานวน

142


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

17.

หนี้สินตามสัญญาเชาการเง�น

หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน หัก: ดอกเบีย้ รอการตัดจําหนาย รวม หัก: สวนทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิจากสวนทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม 2560 2559 3,334 5,115 (136) (303) 3,198 4,812 (1,568) (1,541) 1,630 3,271

บริษทั ยอยมีภาระผูกพันทีจ่ ะตองจายคาเชาขัน้ ตํา่ ตามสัญญาเชาการเงินดังนี้ (หนวย: พันบาท) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ไมเกิน 1 ป 1 - 5 ป รวม ผลรวมของจํานวนเงินขัน้ ตํา่ ทีต่ อ งจายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเชา 1,667 1,667 3,334 ดอกเบีย้ ตามสัญญา เชาการเงินรอการตัดบัญชี (99) (37) (136) มูลคาปจจุบนั ของจํานวนเงินขัน้ ตํา่ ทีต่ อ งจายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเชา 1,568 1,630 3,198 (หนวย: พันบาท) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 ไมเกิน 1 ป 1 - 5 ป รวม ผลรวมของจํานวนเงินขัน้ ตํา่ ทีต่ อ งจายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเชา 1,705 3,410 5,115 ดอกเบีย้ ตามสัญญา เชาการเงินรอการตัดบัญชี (164) (139) (303) มูลคาปจจุบนั ของจํานวนเงินขัน้ ตํา่ ทีต่ อ งจายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเชา 1,541 3,271 4,812

143


18.

สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน จํานวนเงินสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงานซึ่งเปนเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงานและผล ประโยชนระยะยาวของพนักงานอื่น ๆ แสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม สํารองเงินบําเหน็จ สํารองผลประโยชนอนื่ รวม พนักงาน ของพนักงาน 2560 2559 2560 2559 2560 2559 ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนตน ปี 21,527 18,280 4,281 3,560 25,808 21,840 สวนทีร่ บั รูใ นกําไรหรือขาดทุน: ตนทุนบริการในปจจุบนั 2,932 5,765 898 831 3,830 6,596 ตนทุนดอกเบีย้ 1,092 851 154 129 1,246 980 สวนทีร่ บั รูใ นกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : ขาดทุนจากการประมาณการตาม หลักคณิตศาสตรประกันภัย สวนทีเ่ กิดจากการปรับปรุงจาก ประสบการณ (240) 585 - (240) 585 ผลประโยชนทจี่ า ยพนักงานระหวางป (537) (5,704) (261) (239) (798) (5,943) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน (1,464) 1,750 - (1,464) 1,750 ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนปลายป 23,310 21,527 5,072 4,281 28,382 25,808 (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สํารองเงินบําเหน็จ สํารองผลประโยชนอนื่ รวม พนักงาน ของพนักงาน 2560 2559 2560 2559 2560 2559 ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนตน ป สวนทีร่ บั รูใ นกําไรหรือขาดทุน: ตนทุนบริการในปจจุบนั ตนทุนดอกเบีย้ ผลประโยชนทจี่ า ยพนักงานระหวางป

6,140

4,281

3,560

7,712 9,700

1,649 1,538 432 353 - (4,599)

898 154 (261)

831 129 (239)

2,547 2,369 586 482 (261) (4,838)

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนปลายป

5,512

5,072

4,281 10,584 7,713

144

3,431

3,432


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

คาใชจา ยเกีย่ วกับผลประโยชนระยะยาวของพนักงานรวมอยูใ นสวนของกําไรหรือขาดทุนแสดงไดดงั นี้

ตนทุนบริการในปจจุบนั ตนทุนดอกเบีย้ รวมคาใชจา ยทีร่ บั รูใ นสวนของกําไรหรือขาดทุน

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2560 2559 2560 3,830 6,596 2,547 2,369 1,246 980 586 482 5,076 7,576 3,133 2,851

คาใชจา ยดังกลาวรับรูใ นรายการตอไปนีใ้ นสวนของกําไรหรือขาดทุน ตนทุนขาย คาใชจา ยในการขายและบริหาร

4,500 575

6,082 1,494

3,133 -

2,851 -

บริษทั ฯและบริษทั ยอยคาดวาจะจายชําระผลประโยชนระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปขา งหนา เปนจํานวน ประมาณ 21.7 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: จํานวน 1.9 ลานบาท) (2559: จํานวน 18.9 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: จํานวน 1.4 ลานบาท)) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ระยะเวลาเฉลีย่ ถวงนํา้ หนักในการจายชําระผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน ของบริษทั ฯและบริษทั ยอยประมาณ 17-20 ป (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 17 ป) (2559: 17-24 ป (งบการ เงินเฉพาะกิจการ: 17 ป)) สมมติฐานทีส่ าํ คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สรุปไดดงั นี้ งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 อัตราคิดลด 1.1% - 4.2% ตอป 1.1% - 4.2% ตอป 4.2% ตอป 4.2% ตอป อัตราการขึน้ เงินเดือน 1.1% - 8.0% ตอป 1.1% - 8.0% ตอป 3.0% - 8.0% ตอป 3.0% - 8.0% ตอป อัตราการเปลีย่ นแปลง ในจํานวนพนักงาน 3.77% - 20% ตอป 3.74% - 20% ตอป 10% - 20% ตอป 10% - 20% ตอป 20,300 บาท 20,300 บาท 20,300 บาท 20,300 บาท ราคาทองคํา ตอทองคํา 1 บาท ตอทองคํา 1 บาท ตอทองคํา 1 บาท ตอทองคํา 1 บาท

145


ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสมมติฐานทีส่ าํ คัญตอมูลคาปจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชนระยะยาว ของพนักงาน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 สรุปไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

อัตราคิดลด อัตราเงินเดือน

งบการเงินรวม สํารองเงินบําเหน็จพนักงาน สํารองผลประโยชนอนื่ ของพนักงาน เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2,494 1,956 (1,729) (2,471) (226) (205) 251 228 (1,260) (2,109) 2,086 1,713 เพิม่ ขึน้ 1% - 20% ลดลง 1% - 20% เพิม่ ขึน้ 1% - 20% ลดลง 1% - 20% 2560

2559

อัตราการเปลีย่ นแปลง ในจํานวนพนักงาน (1,509) (1,420) ราคาทอง -

2560 2,097 -

2559 1,807 -

2560 (895) 942

2559 (721) 808

2560 1,159 (942)

2559 932 (808)

(หนวย: พันบาท)

อัตราคิดลด อัตราเงินเดือน อัตราการเปลีย่ นแปลง ในจํานวนพนักงาน ราคาทอง

19.

งบการเงินเฉพาะกิจการ สํารองเงินบําเหน็จพนักงาน สํารองผลประโยชนอนื่ ของพนักงาน เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 (1,012) (908) 1,191 1,069 (226) (205) 251 228 1,540 1,276 (1,315) (1,096) เพิม่ ขึน้ 20% ลดลง 20% เพิม่ ขึน้ 20% ลดลง 20% 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 (1,478) (1,188) -

2,065 -

1,653 -

(895) 942

(721) 808

1,159 932 (942) (808)

สํารองตามกฎหมาย ภายใตบทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯตองจัดสรร กําไรสุทธิประจําปสว นหนึง่ ไวเปนทุนสํารองไมนอ ยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหกั ดวยยอดขาดทุน สะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุน จดทะเบียน สํารองตาม กฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจายเงินปนผลได ในปจจุบนั บริษทั ฯไดจดั สรรสํารองตามกฎหมายไวครบ ถวนแลว

146


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

20.

คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจา ยแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจา ยทีส่ าํ คัญดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 1,104,969 1,099,596 401,762 396,740 754,440 769,146 392,568 395,050

เงินเดือน คาแรงและผลประโยชนอนื่ ของพนักงาน คาเสือ่ มราคาและคาตัดจําหนาย ขาดทุนจากการลดมูลคาของสินคาคงเหลือ (กลับรายการ) (32,061) 25,305 (11,824) 1,827 วัตถุดบิ และวัสดุสนิ้ เปลืองใชไป 8,203,905 8,510,963 3,307,571 3,385,191 การเปลีย่ นแปลงในสินคาสําเร็จรูปและงานระหวางทํา 84,909 (77,208) 718 55,991 ขาดทุนจากการดอยคาของทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ - 351,196 (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น (326,010) 313,241 (233,157) 249,176 คาเชาตามสัญญาเชาดําเนินงาน 5,546 8,114 2,414 4,877

21.

ภาษีเง�นได รายได (คาใชจา ย) ภาษีเงินไดสาํ หรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 สรุปไดดงั นี้

ภาษีเงินไดปจ จุบนั : ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสําหรับป รายการปรับปรุงคาใชจา ยภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลของปกอ น ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี: ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกตาง ชัว่ คราวและการกลับรายการผลแตกตางชัว่ คราว (รายได) คาใชจา ยภาษีเงินไดทแี่ สดงอยูใ น งบกําไรขาดทุน

งบการเงินรวม 2560 2559 23,464 94

19,107 11,897

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 -

11,697

- 231,805

- (38,496)

23,558 262,809

- (26,799)

147


จํานวนภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับสวนประกอบแตละสวนของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 สรุปไดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากผลกําไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตาม หลักคณิตศาสตรประกันภัย 48 (117) 48 (117) บริษทั ฯไดรบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนภายใตบตั รสงเสริมการลงทุนหลายบัตร สิทธิพเิ ศษดังกลาวรวมถึงการไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลเปนระยะเวลา 8 ป นับตัง้ แตวนั ทีเ่ ริม่ มีรายได จากการประกอบกิจการนัน้ นอกจากนีบ้ ริษทั ยอยในประเทศสาธารณรัฐตุรกีกไ็ ดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล จากผลกําไรทีเ่ กิดจากการขายสินคาทีผ่ ลิตจนกวาประเทศนีจ้ ะเขาเปนสมาชิกของสหภาพยุโรปอยางสมบูรณ รายการกระทบยอดระหวางกําไรทางบัญชีกับคาใชจายภาษีเงินไดมีดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 กําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอ นภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 1,397,521 142,994 498,975 (358,750) อัตราภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล กําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอ นภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล คูณอัตราภาษี รายการปรับปรุงคาใชจา ยภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลของปกอ น ผลกระทบทางภาษีสาํ หรับ การสงเสริมการลงทุน รายไดทไี่ ดรบั ยกเวน/คาใชจา ยตองหาม/คาใชจา ยทีม่ ี สิทธิหกั ไดเพิม่ /อืน่ ๆ ขาดทุนทางภาษียกมา รวม คาใชจา ย (รายได) ภาษีเงินไดทแี่ สดงอยูใ น งบกําไรขาดทุน

148

รอยละ 17-38 รอยละ 17-38 รอยละ 20 รอยละ 20 286,989 94

11,504 11,555

99,795 (71,750) - 11,697

(175,199)

(93,950) (42,254)

(39,808) (48,518) (263,525)

117,940 (9,023) (36,828) 215,760 (48,518) 70,082 239,750 (99,795) 33,254

23,558

262,809

-

- (26,799)


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

สวนประกอบของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีประกอบดวยรายการดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 2560 2559 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สํารองคาใชจา ยอืน่ สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน เงินชดเชยการสงออกคางรับ ขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไมไดใช รวม

4,602 1,542 (745) 142,258 147,657

4,602 1,542 (745) 142,258 147,657

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 4,602 1,542 (745) 142,258 147,657

4,602 1,542 (745) 142,258 147,657

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีรายการผลแตกตางชัว่ คราวทีใ่ ชหกั ภาษี และขาดทุนทาง ภาษีที่ยังไมไดใชจํานวน 2,474 ลานบาท (2559: 2,159 ลานบาท) (เฉพาะของบริษัทฯ: 1,499 ลานบาท (2559: 1,741 ลานบาท)) ทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ยอยไมไดบนั ทึกสินทรัพยเงินไดรอตัดบัญชี เนือ่ งจาก บริษทั ฯ และบริษทั ยอยพิจารณาแลวเห็นวาอาจไมมกี าํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะนําผลแตกตางชัว่ คราวและ ผลขาดทุนทางภาษีมาใชประโยชนได

22.

การสงเสร�มการลงทุน บริษทั ฯไดรบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนสําหรับโครงการผลิต โพลีเอสเตอรฟล ม ฟลม เคลือบโลหะ ฟลม เคลือบอัดขึน้ รูป คาสทโพลิโพรพิลนี ฟลม ฟลม เคลือบซิลโิ คน และเม็ดพลาสติก โดยมีเงือ่ นไข ตามทีก่ าํ หนด สิทธิพเิ ศษดังกลาวรวมถึงการไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสําหรับกําไรทีไ่ ดจากการประกอบ กิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริมเปนระยะเวลา 8 ป และไดรบั ลดหยอนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสําหรับกิจการทีไ่ ดรบั การ สงเสริมในอัตรารอยละ 50 ของอัตราปกติ มีกาํ หนด 5 ปนบั จากวันทีพ่ น กําหนดไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล รายไดของบริษทั ฯสําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 จําแนกตามกิจการทีไ่ ดรบั ยกเวนภาษี เงินไดและไมไดรับยกเวนภาษีเงินไดสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการทีไ่ ดรบั ยกเวน กิจการทีไ่ มไดรบั ยกเวน ภาษีเงินได ภาษีเงินได รวม 2560 2559 2560 2559 2560 2559 รายไดจากการขาย ขายในประเทศ 482 595 378 356 860 951 ขายสงออก 2,533 2,993 1,877 1,506 4,410 4,499 รวม 3,015 3,588 2,255 1,862 5,270 5,450

149


23.

ทุนเร�อนหุน เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ไดมีมติอนุมัติเรื่องตางๆดังนี้ 1) อนุมตั ลิ ดทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯจากทุนจดทะเบียนเดิมจํานวน 960 ลานบาท เปนทุนจดทะเบียน ใหมจํานวน 800 ลานบาท โดยยกเลิกหุนสามัญจดทะเบียนที่ยังไมไดออกจําหนายจํานวน 160 ลานหุน บริษัทฯไดจดทะเบียนการลดทุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 2) อนุมตั เิ พิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯจากทุนจดทะเบียนเดิมจํานวน 800 ลานบาท เปนทุนจดทะเบียน ใหมจํานวน 900 ลานบาท โดยออกหุนสามัญจํานวน 100 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เพือ่ เสนอขายตอผูถ อื หุน ของบริษทั ฯตามสัดสวนการถือหุน (Right Offering) ในอัตราสวน 8 หุน เดิมตอ 1 หุนใหม ในราคาเสนอขายหุนละ 6.40 บาท เมือ่ วันที่ 7 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ฯไดจดทะเบียนเพิม่ ทุนออกจําหนายและชําระแลวจํานวน 900 ลานบาท กับกระทรวงพาณิชย บริษทั ฯไดรบั เงินจากการออกหุน ทัง้ สิน้ 640 ลานบาท จํานวนนีร้ วมสวนเกินมูลคาหุน จํานวน 540 ลานบาท คาใชจายในการออกหุนจํานวน 2 ลานบาท ไดนํามาหักกับสวนเกินมูลคาหุนดังกลาว

24.

กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไร (ขาดทุน) สําหรับปสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงนํ้าหนักของหุนสามัญที่ออกอยูในระหวางป งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 กําไร (ขาดทุน) สําหรับป (บาท) 1,366,361,313 (123,234,966) 498,974,665 (331,951,526) จํานวนหุน สามัญถัวเฉลีย่ ถวงนํา้ หนัก (หุน ) 881,643,836 800,000,000 881,643,836 800,000,000 กําไร (ขาดทุน) ตอหุน (บาทตอหุน ) 1.55 (0.15) 0.57 (0.41)

25.

เง�นปนผลจาย เงินปนผล เงินปนผลประจําป 2558 รวมเงินปนผลสําหรับป 2559

150

อนุมตั โิ ดย ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน เมือ่ วันที่ 25 กรกฎาคม 2558

เงินปนผลจาย

(หนวย: บาท) เงินปนผลจายตอ หุน

80,000,000

0.10

80,000,000

0.10


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

26.

ขอมูลทางการเง�นจําแนกตามสวนงาน ขอมูลสวนงานดําเนินงานทีน่ าํ เสนอนีส้ อดคลองกับรายงานภายในของบริษทั ฯทีผ่ มู อี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดดาน การดําเนินงานไดรบั และสอบทานอยางสมํา่ เสมอ เพือ่ ใชในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรใหกบั สวนงาน และประเมินผลการดําเนินงานของสวนงาน ทัง้ นีผ้ มู อี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานของบริษทั ฯคือ กรรมการผูจัดการ เกณฑการวัดมูลคาของกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานของสวนงานดําเนินงานเปน เกณฑเดียวกับที่ใชในการวัดกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานในงบการเงิน เพื่อวัตถุประสงคในการบริหารงาน บริษัทฯและบริษัทยอยมีสวนงานหลักทางธุรกิจเดียวคือการผลิตและ จําหนายโพลีเอสเตอรฟลม ฟลมเคลือบโลหะ ฟลมเคลือบอัดขึ้นรูป คาสทโพลิโพรพิลีนฟลม ฟลมเคลือบซิ ลิโคน และเม็ดพลาสติก และดําเนินธุรกิจในสวนงานหลักทางภูมิศาสตรสองแหงคือในประเทศไทยและตาง ประเทศซึ่งดําเนินงานโดยบริษัทยอย ขอมูลรายไดและกําไรของสวนงานทางภูมิศาสตรในงบการเงินรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 เปนดังนี้ (หนวย: ลานบาท) สวนงานใน สวนงานในตาง การตัดรายการ งบการเงินรวม ประเทศไทย ประเทศ บัญชีระหวางกัน 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 รายไดจากการขายภายนอก 4,128 4,327 7,411 7,951 - 11,539 12,278 รายไดจากการขายระหวาง สวนงาน 1,286 1,253 563 453 (1,849) (1,706) 5,414 5,580 7,974 8,404 (1,849) (1,706) 11,539 12,278 รายไดจากการขายทัง้ สิน้ ขาดทุนจากการดอยคาทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ - (351) - (351) กําไร (ขาดทุน) จากการ ดําเนินงานตามสวนงาน 627 (212) 950 437 (32) 144 1,545 369 คาใชจา ยทีไ่ มไดปน สวน: คาใชจา ยทางการเงิน (147) (226) คาใชจา ยภาษีเงินได (24) (263) 1,374 (120) กําไร (ขาดทุน) สําหรับป สินทรัพยรวมของสวนงาน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ 4,499 4,727 5,228 5,799 (13) (13) 9,714 10,513 สินทรัพยไมมตี วั ตน 3 5 3 5 สินทรัพยสว นกลาง 4,682 5,113 14,399 15,631 รวมสินทรัพย บริษทั ฯและบริษทั ยอยใชเกณฑในการกําหนดราคาระหวางกันตามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 6

151


ขอมูลเกีย่ วกับลูกคารายใหญ ในป 2560 บริษทั ฯและบริษทั ยอย มีรายไดจากลูกคารายใหญจาํ นวนหนึง่ ราย เปนจํานวน 1,642 ลานบาท ซึง่ มาจากสวนงานตางประเทศ (2559: 1,905 ลานบาท จากลูกคารายใหญหนึง่ ราย ซึง่ มาจากสวนงานตางประเทศ)

27.

กองทุนสํารองเลี้ยงช�พ บริษทั ฯ บริษทั ยอยและพนักงานไดรว มกันจัดตัง้ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสํารอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทยอยและพนักงานจะจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรา รอยละ 4 - 7 ของเงินเดือน (2559: รอยละ 4 - 7) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัท หลักทรัพย จัดการกองทุนกสิกรไทย จํากัด และจะจายใหแกพนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจากงานตามระเบียบวาดวย กองทุนของบริษัทฯและบริษัทยอย ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทฯและบริษัทยอยรับรู เงินสมทบดังกลาวเปนคาใชจายจํานวนเงิน 6.1 ลานบาท (2559: 6.1 ลานบาท)

28.

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดข�้น

28.1

ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจายฝายทุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุนจํานวนประมาณ 16.3 ลานบาท ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ

28.2

ภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาเชาดําเนินงาน บริษทั ฯไดทาํ สัญญาเชาทีเ่ กีย่ ของกับการเชาพืน้ ทีใ่ นอาคารสํานักงานและอุปกรณ อายุของสัญญามีระยะเวลาตัง้ แต 1 ถึง 4 ป บริษัทฯมีภาระผูกพันในการจายคาเชาตามสัญญาเชาดังกลาวดังนี้

จายชําระ ภายใน 1 ป มากกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป 28.3

(หนวย: ลานบาท) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 2559 0.3 -

2.0 0.3

ภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาบริการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทฯมีภาระผูกพันในการจายคาบริการตามสัญญาบริการหลายฉบับ คิดเปนจํานวนรวม 8.8 ลานบาท (2559: 15.1 ลานบาท) สัญญาดังกลาวสิ้นสุดในระหวางเดือนเมษายน 2560 ถึงเดือนกันยายน 2562

152


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

28.4

การคํา้ ประกัน ก) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั ฯมีภาระคํา้ ประกันระยะสัน้ ใหแกบริษทั ยอยแหงหนึง่ (Polyplex USA LLC) จํานวน 30.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 30.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) สําหรับวงเงินทุนหมุนเวียน ทีบ่ ริษทั ยอยไดรบั จากสถาบันการเงิน ข) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั ฯคํา้ ประกันเงินกูย มื ระยะยาวใหแกบริษทั ยอยแหงหนึง่ (Polyplex USA LLC) เปนจํานวน 84.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 84.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) สําหรับเงินกูย มื ระยะยาวทีบ่ ริษทั ยอยไดรบั จากสถาบันการเงิน โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษทั ยอยมียอดคงคางของ เงินกูย มื เปนจํานวน 38.3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 52.2 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) ค) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 Polyplex Europa Polyester Film Sanayi Ve Ticaret Anonim Sirketi คํา้ ประกันวงเงินสินเชือ่ ใหแก Polyplex Paketleme Cozumleri Sanayi Ve Tickaret Anonim Sirketi เปนจํานวน 5.7 ลานยูโร (2559: 5.7 ลานยูโร) ง) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 บริษัทฯมีภาระคํ้าประกันใหแกผูจําหนายวัตถุดิบของ Polyplex USA LLC เปนจํานวน 2.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2559: 1.8 ลานเหรีญสหรัฐอเมริกา) จ) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีหนังสือคํา้ ประกันเหลืออยูด งั นี้ (หนวย: ลาน) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หนังสือคํา้ ประกันสําหรับ สกุลเงิน 2560 2559 2560 2559 การใชไฟฟา บาท 0.6 0.6 0.6 0.6 ภาษีซอื้ รอเรียกคืน บาท 106.9 106.9 อืน่ ๆ บาท 4.1 0.1 4.1 0.1 รวม บาท 4.7 107.6 4.7 107.6 อืน่ ๆ ยูโร 2.8 7.2 รวม ยูโร 2.8 7.2 การชําระคาสินคา เหรียญสหรัฐอเมริกา 1.2 1.8 รวม เหรียญสหรัฐอเมริกา 1.2 1.8

153


29.

ลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯและบริษัทยอยมีสินทรัพยและหนี้สินที่วัดมูลคาดวยมูลคา ยุติธรรมหรือเปดเผยมูลคายุติธรรมแยกแสดงตามลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม ดังนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม สินทรัพยทวี่ ดั มูลคาดวยมูลคายุตธิ รรม ตราสารอนุพนั ธ สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา 20 20

หนีส้ นิ ทีว่ ดั มูลคาดวยมูลคายุตธิ รรม ตราสารอนุพนั ธ สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา

สินทรัพยทวี่ ดั มูลคาดวยมูลคายุตธิ รรม ตราสารอนุพนั ธ สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา

หนีส้ นิ ทีว่ ดั มูลคาดวยมูลคายุตธิ รรม ตราสารอนุพนั ธ สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา

154

ระดับ 1 -

ระดับ 1 -

ระดับ 1 -

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม 16

-

16

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม 20

-

20

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม 13

-

13


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

30.

เคร�่องมือทางการเง�น

30.1

นโยบายการบริหารความเสีย่ ง เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯและบริษัทยอยตามที่นิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวย เงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสด ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ เงินลงทุนระยะสัน้ เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ เงินกูย มื ระยะสัน้ และเงินกูยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายการบริหารความเสีย่ งดังนี้ ความเสีย่ งดานการใหสนิ เชือ่ บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีความเสีย่ งดานการใหสนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ ฝายบริหาร ควบคุมความเสีย่ งนีโ้ ดยการกําหนดใหมนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม และจะทําสัญญา ประกันสินเชือ่ เปนครัง้ คราว ดังนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ยอยจึงไมคาดวาจะไดรบั ความเสียหายทีเ่ ปนสาระสําคัญ จากการใหสินเชื่อ นอกจากนี้ การใหสินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทยอยไมมีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯ และบริษทั ยอยมีฐานของลูกคาทีห่ ลากหลายและมีอยูจ าํ นวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ยอย อาจตองสูญเสียจากการใหสนิ เชือ่ คือมูลคาตามบัญชีของลูกหนีแ้ ละลูกหนีอ้ นื่ ทีแ่ สดงอยูใ นงบแสดงฐานะการเงิน ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ าํ คัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินกูย มื ระยะสัน้ และเงินกูย มื ระยะยาว สินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงิน สวนใหญมอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตรา ตลาด หรือมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีซ่ งึ่ ใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบนั นอกจากนี้ บริษทั ฯจะพิจารณาทําสัญญา แลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ เปนครัง้ คราวเพือ่ ลดความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 สินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงินทีส่ าํ คัญสามารถจัดตามประเภทอัตรา ดอกเบีย้ และสําหรับสินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีส่ ามารถแยกตามวันทีค่ รบกําหนด หรือ วันทีม่ กี ารกําหนดอัตราดอกเบีย้ ใหม (หากวันทีม่ กี ารกําหนดอัตราดอกเบีย้ ใหมถงึ กอน) ไดดงั นี้

155


-

-

75.0 1.6

หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินกูย มื ระยะสัน้ จากธนาคาร เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ เงินกูย มื ระยะยาวจากธนาคาร หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน

1.6

-

13.4

-

13.4 ดูหมายเหตุ 10

729.2 1.5 730.7 ดูหมายเหตุ 7 6.8 6.8 - 1,796.3 1,796.3 -

-

3.3

-

-

-

-

-

อัตราดอกเบีย้ (รอยละตอป)

-

21.1 ดูหมายเหตุ 10 828.1 - 2,462.1 ดูหมายเหตุ 14 - 1,024.9 1,024.9 3,463.6 - 3,473.8 ดูหมายเหตุ 16 4.8 4.8

21.1

1,044.6 31.8 1,076.4 ดูหมายเหตุ 7 2.2 2.2 - 1,921.2 1,921.2 -

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 อัตราดอกเบีย้ คงที่ อัตรา ดอกเบีย้ มากกวา ปรับขึน้ ลง ภายใน 1 ถึง มากกวา5 ตามราคา ไมมอี ตั รา ป ตลาด ดอกเบีย้ รวม อัตราดอกเบีย้ 1 ป 5 ป (รอยละตอป) (ลานบาท)

งบการเงินรวม

- 639.0 - 714.0 ดูหมายเหตุ 14 1,634.0 - 1,165.3 1,165.3 - 2,502.6 - 2,502.6 ดูหมายเหตุ 16 10.2 3.2 4.0 1.5

-

-

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 อัตราดอกเบีย้ คงที่ อัตรา ดอกเบีย้ มากกวา ปรับขึน้ ลง ภายใน 1 ถึง มากกวา ตามราคา ไมมอี ตั รา 1 ป 5 ป 5 ป ตลาด ดอกเบีย้ รวม (ลานบาท)

สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ เงินฝากธนาคารทีม่ ภี าระ คํา้ ประกัน

156


หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินกูย มื ระยะสัน้ จากธนาคาร เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ เงินกูย มื ระยะสัน้ จากกิจการ ทีเ่ กีย่ วของกัน เงินกูย มื ระยะยาวจาก ธนาคาร

สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสด ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่

-

-

-

25.5

-

-

75.0 -

-

-

-

-

-

1,167.1

2,356.1

-

-

- 1,167.1 ดูหมายเหตุ 16

- 2,381.6 ดูหมายเหตุ 6

10.2

34.0

- 75.0 ดูหมายเหตุ 14 1,634.0 634.8 634.8 -

37.6 1.0 38.6 ดูหมายเหตุ 7 - 1,097.1 1,097.1 -

-

-

-

-

-

-

-

-

1,584.8

1,304.7

-

- 1,595.0 ดูหมายเหตุ 16

- 1,338.7 ดูหมายเหตุ 6

- 1,634.0 ดูหมายเหตุ 14 580.9 580.9 -

21.5 4.2 25.7 ดูหมายเหตุ 7 - 1,066.0 1,066.0 -

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 อัตราดอกเบีย้ คงที่ อัตรา อัตราดอกเบีย้ คงที่ อัตรา ดอกเบีย้ ดอกเบีย้ ปรับขึน้ ลง ปรับขึน้ ลง ภายใน มากกวา มากกวา ตามราคา ไมมอี ตั รา ภายใน มากกวา มากกวา5 ตามราคา ไมมอี ตั รา 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป ตลาด ดอกเบีย้ รวม อัตราดอกเบีย้ ตลาด ดอกเบีย้ รวม อัตราดอกเบีย้ 1 ป 1 ถึง 5 ป ป (ลานบาท) (รอยละตอป) (ลานบาท) (รอยละตอป)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายงานประจํ า ปี 2559-2560

157


ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 บริษทั ฯมีสญ ั ญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ กับธนาคารเพือ่ เปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ จาก อัตราดอกเบีย้ ลอยตัวเปนอัตราดอกเบีย้ คงทีต่ ามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 16 ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ าํ คัญอันเกีย่ วเนือ่ งจากการซือ้ หรือขายสินคาและ การกูย มื ซึง่ เปนเงินตราตางประเทศ บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดตกลงทําสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวง หนา ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งปเพื่อใชเปนเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯมียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงินทีเ่ ปนสกุลเงิน ตราตางประเทศ ดังนี้ สกุลเงิน

สินทรัพยทางการเงิน 2560 2559 (ลาน)

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร เยน ปอนดสเตอรรงิ ริงกิต รูป วอน

หนีส้ นิ ทางการเงิน 2560 2559

(ลาน)

24.08 1.56 54.26 0.10 0.06 24.55

(ลาน)

22.98 1.89 25.36 0.08 0.09 27.90

25.06 73.80 0.67 0.10 -

(ลาน)

36.11 42.90 4.82 0.10 -

อัตราแลกเปลีย่ นเฉลีย่ 2560 2559 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ)

34.4097 36.7398 0.3073 42.9528 7.7690 0.5201 0.0308

35.2392 39.8996 0.3134 50.5790 8.9978 0.5305 0.0309

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯมีสญ ั ญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือดังนี้ 2560

สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร เยน

158

จํานวนทีซ่ อื้ (ลาน) 3.18 1.02 -

อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญาของ จํานวนทีซ่ อื้ จํานวนทีข่ าย (ลาน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 31.30 34.4552 - 35.4615 34.4400 - 35.7600 1.25 37.6760 36.9500 - 37.9000 51.35 0.3082 - 0.3114

จํานวนทีข่ าย


รายงานประจํ า ปี 2559-2560

2559

สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร เยน

จํานวนทีซ่ อื้ (ลาน) 1.37 0.36 -

อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญาของ จํานวนทีซ่ อื้ จํานวนทีข่ าย (ลาน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 31.39 35.2300 - 36.4989 35.2000 - 36.3900 1.26 39.3700 - 41.3900 38.1500 - 40.1600 19.42 0.3143 - 0.3145

จํานวนทีข่ าย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 และ 2559 บริษทั ยอยมีสญ ั ญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือดังนี้ จํานวนทีซ่ อื้ 3.8 ลานเหรียญตุรกี 6.6 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา 0.4 ลานยูโร

2560 จํานวนทีข่ าย อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญา 3.9360 - 4.2196 เหรียญตุรกีตอ 1 ยูโร 1.0570 - 1.0912 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอ 1 ยูโร 1.0796 ยูโรตอ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา

จํานวนทีซ่ อื้ 3.0 ลานเหรียญตุรกี 3.0 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา

2559 จํานวนทีข่ าย อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญา 3.2936 - 3.3850 เหรียญตุรกีตอ 1 ยูโร 1.0905 - 1.1187 เหรียญสหรัฐอเมริกาตอ 1 ยูโร

30.2 มูลคายุติธรรมของเคร�่องมือทางการเง�น เนือ่ งจากเครือ่ งทางการเงินสวนใหญของบริษทั ฯและบริษทั ยอยจัดอยูใ นประเภทระยะสัน้ หรือมีอตั ราดอกเบีย้ ใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯจึงประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินใกลเคียงกับ มูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน

31.

การบร�หารจัดการทุน วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนทีส่ าํ คัญของบริษทั ฯคือการจัดใหมซี งึ่ โครงสรางทุนทีเ่ หมาะสมเพือ่ สนับสนุน การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯและเสริมสรางมูลคาการถือหุนใหกับผูถือหุน โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 กลุม บริษทั มีอตั ราสวนหนีส้ นิ ตอทุนเทากับ 0.49:1 (2559: 0.91:1) และเฉพาะบริษทั ฯมีอตั ราสวนหนีส้ นิ ตอทุนเทากับ 1.12:1 (2559: 1.92:1)

159


32.

การจัดประเภทรายการในงบการเง�น บริษัทฯและบริษัทยอยไดจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบกําไรขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2559 ใหม เพือ่ ใหสอดคลองกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปปจ จุบนั ซึง่ ไมมผี ลกระทบตอขาดทุน สุทธิหรือสวนของผูถ อื หุน ตามทีไ่ ดรายงานไวแลว การจัดประเภทรายการใหมมดี งั ตอไปนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม ตามทีจ่ ดั ประเภทใหม งบกําไรขาดทุน รายไดจากการขาย รายไดอนื่

33.

งบเฉพาะกิจการ

ตามทีร่ ายงาน ตามทีจ่ ดั ประเภท ตามทีร่ ายงาน ไวเดิม ใหม ไวเดิม

12,278,322,654 12,233,254,551 5,449,935,949 5,404,867,846 35,856,923 80,925,026 28,946,927 74,015,030

การอนุมัติงบการเง�น งบการเงินนีไ้ ดรบั อนุมตั ใิ หออกโดยกรรมการผูม อี าํ นาจของบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 12 พฤษภาคม 2560

160




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.