การบัญชีบริหารทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวกับการบริหารโครงการเพื่อการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปั ญหาพิเศษ การบัญชีบริ หารทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวกับการบริ หารโครงการเพือ่ การพึ่งพาตนเองด้านอาหาร กรณี ศึกษา บริ ษทั ซียอู ีแอล จํากัด ACCOUNTING FOR HUMAN RESOURCE MANAGEMENT ON PROJECT MANAGEMENT FOR SELF-RELIANCE IN FOOD CASE STUDY CUEL CO.,LTD.

โดย นางสาวกัญญารัตน์

นวรัตนไพบูลย์

นายอรรถวีร์

อรรถบดีสกุล

นางสาวพิชญา

มิตรประทาน

นายสถาพร

แสนละเอียด

รายงานผลการศึกษานี้ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555



รายงานผลการศึกษารายวิชาปั ญหาพิเศษ

การบัญชีบริ หารทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวกับการบริ หารโครงการเพือ่ การพึ่งพาตนเองด้านอาหาร กรณี ศึกษา บริ ษทั ซียอู ีแอล จํากัด ACCOUNTING FOR HUMAN RESOURCE MANAGEMENT ON PROJECT MANAGEMENT FOR SELF-RELIANCE IN FOOD CASE STUDY CUEL CO.,LTD.

โดย นางสาวกัญญารัตน์

นวรัตนไพบูลย์

นายอรรถวีร์

อรรถบดีสกุล

นางสาวพิชญา

มิตรประทาน

นายสถาพร

แสนละเอียด

รายงานผลการศึกษานี้ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(1) บทคัดย่อ กัญญารัตน์ นวรัตนไพบูลย์ และคณะ 2555: การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้โครงการ สวนผักคนเมือง กรณี ศึกษา: บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด ปริ ญญาบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิชาปัญหาพิเศษ: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์, บ.ธ.ม 134 หน้า การศึ ก ษาปั ญหาพิเศษครั้ งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อศึ ก ษาเกี่ ย วกับ สถานการณ์ สาเหตุ และ ผลกระทบของความไม่ ม ่ัน คงทางอาหารต่ อ บุ ค ลากรและองค์ก าร รวมทั้ง การบัญ ชี บ ริ ห าร ทรัพยากรมนุษย์ ศึกษาแนวทางการประเมินผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ องค์การ และศึกษาแนวคิดและผลที่ได้รับการนาเอาโครงการสวนผักมาใช้ในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ขององค์การที่เป็ นกรณี ศึกษา การบริ หารโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยทัว่ ไปควรเริ่ มจากการศึกษาความต้องการ ในการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ การวางแผนดาเนินการ การดาเนินการ การติดตามและประเมินผล วิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทน โดยที่ผลตอบแทนนั้นควรวิเคราะห์ท้ งั ผลตอบแทนที่เป็ นตัวเลข และผลตอบแทนที่ไม่เป็ นตัวเลขประกอบกัน การสรุ ปผลของโครงการ และใช้ขอ้ เสนอเพื่อการ ดาเนินงานต่อไป การศึกษาปั ญหาพิเศษครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทาได้เลือกศึกษา เรื่ องการบริ หารทรัพยากรมนุ ษย์ ภายใต้โครงการสวนผัก คนเมื อง กรณี ศึ ก ษา บริ ษ ัท ซี ยูอี แ อล จากัด ผลการศึ ก ษาพบว่า บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด คัดเลือกโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยมิได้มีการศึกษาความต้องการ จากพนักงาน แต่เป็ นการนาโครงการเข้ามาพัฒนาเพื่อการทาปฏิสัมพันธ์กบั พนักงานเพียงอย่างเดียว และใช้สภาพแวดล้อมจากภายนอกเกี่ยวกับวิกฤตการณ์ความไม่มน่ั คงทางอาหารเป็ นหลักเกณฑ์ใน การวัดโครงการ บริ ษทั วัดความสาเร็ จของโครงการเพียงระดับความพึงพอใจของพนักงานเท่านั้น แต่มิได้วิเคราะห์ผลการดาเนิ นการในส่ วนของการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนทุกด้าน ทาให้ ทราบว่าฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ของบริ ษทั ฯ ยังขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ ดังนั้นฝ่ ายทรัพยากร มนุ ษ ย์ค วรที่ จ ะให้ ค วามส าคัญ ต่ อ การวางแผนงาน การประเมิ น ผลทางด้า นการบัญ ชี บ ริ ห าร ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ซึ่ ง ถ้า บริ ษ ัท ได้ท าอย่า งครบถ้ว นกระบวนการจะก่ อ ให้เกิ ด ประโยชน์ แก่ ก าร บริ หารงานของแผนกทรัพยากรมนุษย์เป้ นอย่างมาก


(2) กิตติกรรมประกาศ การศีกษาค้นคว้าปั ญหาพิเศษเรื่ อง การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้โครงการสวนผักคน เมือง กรณี ศึกษา บริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด ฉบับนี้ จะสาเร็ จอย่างสมบูรณ์ไม่ได้หากไม่ได้รับความ เมตตาจากพนัก งานฝ่ ายทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ และพนัก งานบริ ษ ัท ซี ยูอี แ อล จ ากัด ทุ ก ท่ า นที่ ค อย ช่วยเหลือ อานวยความสะดวกและให้ความอนุเคราะห์ ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ เป็ นไปได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ อาจารย์ประจาวิชาปั ญหาพิเศษและใน ฐานะอาจารย์ที่ปรึ กษาประจากลุ่ม ที่เป็ นผูใ้ ห้วิชาความรู้ ช่วยเหลือ ชี้ แนะ ตลอดจนตรวจแก้ไขและ ให้กาลังใจในปั ญหาพิเศษครั้งนี้ เสร็ จจนสมบูรณ์ คณะผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งมา ณ โอกาสนี้ ที่ได้ประสิ ทธิ ประสาทวิชาแขนงต่างๆ ให้ผจู้ ดั ทาได้เรี ยนรู้และประสบความสาเร็ จใน ที่สุด ขอขอบพระคุ ณบิดามารดาที่ไ ด้อุปการะเงิ นทุนในการทา การศึกษา สนับสนุ นด้าน การศึกษาดูแลอานวยความสะดวกในเรื่ องต่างๆ มาโดยตลอด รวมทั้งขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่ศึกษา ปั ญหาพิเศษเครื อข่ายการบริ หารต้นทุนและเพื่อนสาขาการบัญชีบริ หารและสาขาอื่นทุกท่านที่คอย ให้กาลังใจให้คาปรึ กษา คา แนะนาและช่วยเหลือมาโดยตลอด ท้ายนี้ ทางคณะผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กล่าวนามและไม่ได้กล่าวนามที่มี ส่ วนร่ วมสนับสนุ น ให้กาลังใจคณะผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด คณะผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า ปั ญหา พิเศษฉบับนี้จะมีประโยชน์ทางด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และมีส่วนช่วยในการดาเนินชีวิตให้ ปลอดภัย ทัน ต่ อสถานการณ์ ค วามไม่ ม น่ั คงทางอาหาร อี ก ทั้ง ยัง ส่ ง ผลดี ต่ อการบริ ห ารจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรอย่างยัง่ ยืน หากเล่มปั ญหาพิเศษนี้มีขอ้ ผิดพลาดหรื อข้อบกพร่ องประการ ใด คณะผูจ้ ดั ทา ต้องขออภัยเป็ นอย่างสู งมา ณ ที่น้ ี

คณะผูจ้ ดั ทา มีนาคม 2556


(3)

สารบัญ

บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตการศึกษา นิยามศัพท์ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง ความมัน่ คงทางอาหาร ความสาคัญของความมัน่ คงทางอาหาร สถานการณ์ความไม่มน่ั คงทางอาหารของประเทศไทย สาเหตุความไม่มน่ั คงทางอาหารของประเทศไทย ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่มน่ั คงทางอาหาร การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน หลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ขององค์การธุรกิจ วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ความสาคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ทฤษฎีการบริ หารจัดการสมัยใหม่ ขั้นตอนการบริ หารทรัพยากรมนุษย์

หน้า (1) (2) (3) (7) (9)

1 2 2 3 4 5 8 9 26 30 31 38 43 43 44 45


(4) สารบัญ(ต่ อ) หน้า การบัญชีทรัพยากรมนุษย์ การวัดมูลค่าในการบัญชีทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดการวัดแบบมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ หลักการบริ หารโครงการ ความหมายการบริ หารโครงการ ความสาคัญของการบริ หารโครงการ ประโยชน์จากการบริ หารโครงการ กระบวนการบริ หารโครงการ โครงสร้างการบริ หารโครงการ การวางแผนโครงการ การประเมินผลโครงการ โครงการพัฒนาและประเมินผลทรัพยากรมนุษย์ขององค์การธุรกิจ การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร แนวทางการประเมินเพื่อคัดเลือกโครงการ การประเมินผลทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรธุรกิจ การสร้างความมัน่ คงทางอาหารโดยการเพาะปลูกพืชสวนครัวเกษตรอินทรี ย ์ งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง งานวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์ เกี่ยวกับการใช้ผกั สวนครัว ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการปลูกผักสวนครัวที่สามารถวัดเป็ นตัวเลขได้ ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการปลูกผักสวนครัว งานวิจยั ทางจิตวิทยา ต่อผลที่ได้จากการเพาะปลูกผักสวนครัว ผลทางจิตวิทยาที่ได้จากการเรี ยนรู้วธิ ีการปลูกพืชผักสวนครัว งานวิจยั ทางการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ปัญหาที่พบในการบริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์ แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทางานของบุคลากร แนวทางในการป้ องกัน และแก้ไขปัญหาการบริ หารทรัพยากรมนุษย์

51 51 52 53 53 53 55 57 59 60 69 70 72

75 76 77 77 78 79


(5) สารบัญ(ต่ อ) หน้า งานวิจยั ทางการบัญชีบริ หารทรัพยากรมนุษย์ การเปิ ดเผยข้อมูลการบัญชีทรัพยากรมนุษย์ งานวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์ ต่อผลที่ได้จากการเพาะปลูกผักสวนครัว กรณี ศึกษาการสร้าง “ ม่านสี เขียว” มาแข่งขันกับเครื่ องปรับอากาศของ บริ ษทั เคียวเซร่ า คอร์ ปอเรชัน่ ประเทศญี่ปุ่น และสรุ ปเปรี ยบเทียบกับ บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด งานวิจยั ทางด้านผลกระทบของความไม่มน่ั คงทางอาหาร ความไม่มน่ั คงทางอาหารส่ งผลต่อระดับบุคคล กรอบแนวคิดในการศึกษา วิธีการศึกษา สรุ ปผลการศึกษา บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศึกษา ภาพรวมองค์กร (Overview) วิสัยทัศน์(Vision) พันธกิจ(Mission) ความสามารถ (Capability) โครงการ CUEL – 2012 Health Care Week วัตถุประสงค์ รายละเอียดโครงการ รู ปแบบและแนวทางการดาเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ แนวทางการประเมินผล แบบสอบถามความพึงพอใจของพนักงานต่อโครงการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ผลสรุ ปการประเมินผลจากบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด งบการเงินของบริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด บทที่ 4 ผลการศึกษา ความคิดเห็นฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด

80

83 89 90 90 91 93 93 93 94 105 106 106 107 107 108 109 112 118


(6) สารบัญ(ต่ อ)

ข้อมูลทัว่ ไปของพนักงานที่เข้าร่ วมโครงการ ความคิดเห็นของผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ ความคิดเห็นของผูเ้ ข้าร่ วมโครงการและนาความรู้ไปปฏิบตั ิจริ ง บทที่ 5 สรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

หน้า 120 123 126 127 129 132


(7)

สารบัญภาพ ภาพที่ 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20 2-21

หน้า องค์ประกอบความมัน่ คงทางอาหาร แผนภูมิห่วงโซ่อาหาร เนื้อที่ถือครองทาการเกษตร จาแนกตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความเหลื่อมล้ าอันเนื่องมาจากโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร จานวนผูถ้ ือครองทาการเกษตร จาแนกตามขนาดเนื้อที่ถือครอง จานวนผูถ้ ือครองทาการเกษตร จาแนกตามลักษณะการถือครองที่ดินและ เนื้อที่ถือครองของตนเอง จาแนกตามเอกสารสิ ทธิ์ ปี 2551 ความต้องการใช้และผลผลิตมันสาปะหลัง ปี 2548-2552 ความต้องการใช้และผลผลิตปาล์มน้ ามัน ปี 2548-2552 ปริ มาณผลผลิต ปริ มาณการใช้ นาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ปี 2552 เปรี ยบเทียบความยากจนตามสาขาการผลิตภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร เส้นความยากจน สัดส่ วนคนจน จานวนคนจน (เมื่อวัดจากรายจ่ายเพื่อการ บริ โภค) ปี 2531-2552 การเพิ่มขึ้นของต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายของปัจเจกบุคคลในการได้มาซึ่งอาหาร และสิ นค้าบริ การที่จาเป็ นพื้นฐานในการดารงชีวิต ปี 2531- 2550 กราฟแสดงความหนาแน่นของประชากรแยกเป็ นภาค ตั้งแต่ปี 2550-2552 ปริ มาณการจับสัตว์น้ าเค็มใน-นอกน่านน้ าไทย ประมาณการ ตั้งแต่ ปี 25382550 ดุลการค้าสิ นค้าสัตว์น้ าและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ า ตั้งแต่ปี 2532 – 2551 แสดงจานวนป่ าไม้ แสดงจานวนป่ าชายเลน แสดงปริ มาณการใช้ปุ๋ย แผนผังแสดงการพัฒนาแบบยัง่ ยืน แผนภาพลักษณะของการพัฒนาที่ยง่ั ยืน (Sustainable Development) ตาม แนวคิดของพระธรรมปิ ฎก แผนภาพ ลักษณะของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Development) ตามแนวคิดของ พระราชวรมุนี

7 9 10 11 12 13 14 14 17 18 21 21 23 25 26 27 28 28 32 34 35


(8)

สารบัญภาพ(ต่ อ) หน้า 2-22 2-23 2-24 2-25 2-26 2-27 2-28 2-29 2-30 2-31 2-32 2-33 2-34 2-35 2-36 2-37 3-1 3-2 3-3 3-4

แผนภาพ แนวคิดทางพระพุทธศาสนาของการพัฒนาที่ยง่ั ยืนที่เน้นคนเป็ น ศูนย์กลางของการพัฒนา แผนภาพแนวคิดการพัฒนาคนตามหลักไตรสิ กขาของพระราชวรมุนี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ขั้นตอนปฏิบตั ิสู่ วถิ ีเศรษฐกิจพอเพียง ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นตอนการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ เปรี ยบเทียบแนวคิดในการเสริ มสร้างสมรรถนะของบุคลากรแบบเก่า และ แบบใหม่ แนวทางการพัฒนาบุคลากรที่จะช่วยสนับสนุนการเรี ยนรู้ และการพัฒนา ในรู ปแบบใหม่ เปรี ยบเทียบวิธีการฝึ กอบรมทัว่ ไปกับการเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิงาน แสดงการสะท้อนของแสงแดดที่ผา่ นเข้ามาโดยตรงยังห้องสานักงาน แสดงการสะท้อนของแสงแดดที่ผา่ นเข้ามาโดยตรงยังห้องสานักงาน แสดงการเปรี ยบเทียบค่าอินฟราเรดของพื้นที่ผนังด้านนอกจากที่มีม่านสี เขียวบังแสงอยู่ เปรี ยบเทียบกับผนังที่ไม่มีม่านสี เขียวบังอยู่ แสดงอุณหภูมิก่อนและหลังการติดตั้งม่านสี เขียว แสดงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาม่านสี เขียว แสดงการติดตั้งตาข่ายเพื่อเริ่ มกระบวนการเลื้อยของพืช แสดงตัวอย่างม่านสี เขียวในบริ ษทั ย่อยของเคียวเซร่ า ผังองค์กรของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด ทัศนียภาพทั้งหมดภายในบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด สาชาแหลมฉบัง ใบรับรองมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 ที่ได้รับจากจาก TUV NORD ใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2008 ที่ได้รับจากจาก TUV Rheinland Thailand Ltd.

35 36 39 40 41 50 61 63 66 84 85 86 86 87 88 88 94 99 102 104


(9)

สารบัญตาราง ตารางที่ 2-1 2-2

2-3

2-4 2-5 3-1 3-2 3-3 3-4 4-1

หน้า จานวนแรงงานทั้งประเทศ แรงงานภาคเกษตร แรงงานในการผลิตข้าวและ สัดส่ วนเปรี ยบเทียบของแรงงาน ปี 2516-2549 แสดงพื้นที่ จานวนประชากร ความหนาแน่น และอัตราการเพิ่มประชากร รายปี ทัว่ ราชอาณาจักร กรุ งเทพมหานครและเขตปริ มณฑล ตั้งแต่ปี 25482549 ประมาณการสัดส่ วนของคนในชุมชนจาแนกตามฐานะทางเศรษฐกิจและ การเปลี่ยนแปลง (ประมาณโดยตัวแทนคนจน) ปี 2500- 2510, ปี 2534 และ ปี 2544 สัดส่ วนคนจนจาแนกตามภูมิภาค ปี 2531-2541 แนวคิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ตารางแสดงซอฟต์แวร์ของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด ของสานักงานที่ กรุ งเทพฯ ตารางแสดงซอฟต์แวร์ของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด ของสานักงานที่แหลม ฉบัง แสดงแบบประเมินความคิดเห็นโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แสดงผลการสรุ ปแบบประเมินความคิดเห็นโครงการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ของ CUEL – 2012 Health Care Week แสดงการสรุ ปผลการตอบแบบสอบถามจากผูเ้ ข้าร่ วมโครงการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์

19

22

23 24 37 96 96 108 109 121


บทที่ 1 บทนำ ทีม่ ำและควำมสำคัญ อาหารเป็ นสิ่ งที่มีความจาเป็ นต่อการดารงชี วิต เป็ นพลังงานให้มนุ ษย์ ในอดีตวิถีชีวิตของ คนไทยทั้ง ในเมื อ งและชนบทมี ชี วิต อยู่บ นผืน ดิ น อัน อุ ด มสมบู รณ์ มี ก ารหาอาหารและน้ า จาก ธรรมชาติ ครอบครัวมีการประกอบอาหารและถนอมอาหารภายในครัวเรื อน แต่ในปั จจุบนั การ พัฒนาประเทศที่เน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆด้านอย่างรวดเร็ ว สังคมไทยจึ งเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงสภาพการดาเนิ นชี วิตจากการพึ่งพาตนเอง มาเป็ นการผลิตเพื่อ การค้า ที่ ตอ้ งพึ่งพิงปั จจัยการผลิ ตทั้งด้านเงินทุน เทคโนโลยี พลังงานเชื้ อเพลิ ง และระบบตลาด อย่า งไรก็ ตาม ประเทศไทยยัง คงมีก ารพัฒนาเพื่อยกระดับ ความมัน่ คงของมนุ ษย์ดงั แผนพัฒนา เศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551-2554) ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทย เสริ ม สร้ า งให้ ค นไทยมี ค วามมั่น คงทางอาหารและการบริ โ ภคอาหารที่ ป ลอดภัย ลด ละ เลิ ก พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ นอกจากนี้ปัญหาด้านโภชนาการยังเป็ นเรื่ องสาคัญ เพราะโภชนาการนั้น มิได้เป็ นเพียงปั จจัยที่กาหนดความเป็ นอยูท่ ี่ดีของมนุษย์เท่านั้น แต่ยงั สะท้อนถึงสถานภาพทางด้าน สังคมและเศรษฐกิจด้วย ผูค้ นจานวนมากไม่สามารถเข้าถึงปริ มาณอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย ได้อย่างเพียงพอ UNICEF (1991) ได้ช้ ี ให้เห็ นสิ่ งสาคัญที่ตอ้ งตระหนักในการวางแผนงานเพื่อ แก้ปัญหาไว้ 3 ประการคือ ความมัน่ คงของอาหาร (Food Security) สุ ขภาพของคนในชุมชน และ การดูแลการแก้ปัญหาโภชนาการ ในภาพรวมของประเทศ เราอาจเป็ นผูส้ ่ งออกอาหารรายใหญ่ของโลกมีบริ ษทั ที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก แต่แท้จริ งแล้วประเทศไทยยังมีความไม่มน่ั คงทางอาหารอยู่ ซึ่ งข้อมูลจากองค์การ อาหารและเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (FAO) ระบุวา่ ในช่วงปี 2547 -2549 ประเทศไทยมีประชากร เป็ นผูข้ าดสารอาหารถึ ง 17% ทาให้การเจริ ญเติบโตของเด็กอยู่อตั ราที่ ต่ า ดังนั้น ในภาพรวมดู เหมือนดี แต่ในทางปฏิ บตั ิถือว่ายังมีปัญหา ดังนั้น การแก้ปัญหาเราจะมองแต่ภาพใหญ่อย่างเดียว ไม่ได้ แต่ตอ้ งเริ่ มจากชุ มชน นอกเหนื อจากความไม่เป็ นธรรมในระบบอาหารข้างต้นแล้ว ความ มัน่ คงทางอาหารของประเทศยังถูกกัดกร่ อนจากวิกฤติการณ์ดา้ นสิ่ งแวดล้อม ความเสื่ อมโทรมของ ทรัพยากร ปั ญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าระหว่างประเทศ และ แรงผลักดันจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ผลิตอาหารเป็ นพื้นที่สาหรับผลิตพืชพลังงาน เป็ นต้น


2 ดังนั้นผูศ้ ึ กษาจึ งมี การเลื อกเครื่ องมือในการจัดการทรัพยากรมนุ ษย์ โดยส่ วนใหญ่จะนา หลักการของสวนผักคนเมืองเข้ามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ภายในองค์กร ซึ่ งทา ให้บุคลากรสามารถพึ่งพาตนเองได้ บรรเทาปัญหาของความไม่มน่ั คงทางอาหาร อีกทั้งผูศ้ ึกษายังนา การบัญชีทรัพยากรมนุษย์มารวมเป็ นเครื่ องมือในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ทาให้ทรัพยากรมนุษย์ ขององค์กรมีประสิ ทธิภาพ และจะทาให้องค์กรสามารถบรรลุเป้ าหมายขององค์กรได้ จากหลักการ และเหตุผลข้างต้นนี้ ผศู้ ึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ ยวกับการบริ หารทรัพยากร มนุ ษย์ภายใต้โครงการสวนผักคนเมืองเพื่อสร้ างสังคมแห่ ง การเรี ยนรู้ ให้กบั บุ คลากร ทาให้เกิ ด กระบวนการเรี ยนรู ้อยูต่ ลอดเวลา รวมทั้งเป็ นความรู้ติดตัวเพื่อการพึ่งพิงตนเองได้ และมีสุขภาพจิต รวมถึ งร่ างกายที่ สมบูรณ์ พร้ อมที่จะทางานซึ่ งเมื่อบุคลากรมีความสุ ขในการทางานจะส่ งผลดี ต่อ องค์กร วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ การศึกษาเรื่ อง “การบริ หารทรัพยากรมนุ ษย์ภายใต้โครงการสวนผักคนเมือง กรณี ศึกษา บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด” ในครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ 1. เพื่ อ ศึ ก ษา สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของความไม่ ม ่นั คงทางอาหารต่ อ บุคลากรและองค์การ 2. เพื่อศึกษาหลักการบัญชีบริ หารทรัพยากรมนุษย์ 3. เพื่อศึกษาแนวทางการวางแผน การดาเนิ นการ และการประเมินผลโครงการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ 4. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวคิ ด และผลที่ ไ ด้รั บ การน าเอาโครงการสวนผัก มาใช้ใ นการพัฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การที่เป็ นกรณี ศึกษา ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษาเรื่ อง การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้โครงการ สวนผักคนเมือง กรณี ศึกษา บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด มีดงั นี้ 1. เข้าใจสถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบ ความไม่มน่ั คงทางอาหาร ของประชากรใน ภาครวมของประเทศ 2. เข้าใจถึงผลกระทบของความไม่มน่ั คงทางอาหารที่ส่งผลกระทบต่อบุคคลากร และต่อ องค์การทางธุ รกิจ


3 3. เข้าใจหลักการบัญชีบริ หารทรัพยากรมนุษย์ 4. เข้าใจหลักคิดในการวางแผน การดาเนินการ และการประเมินผลของโครงการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ 5. สามารถสร้ า งแนวทางที่ เหมาะสมส าหรั บ การประเมิ นโครงการพัฒนาทรั พ ยากร มนุษย์ของโครงการ ขอบเขตกำรศึกษำ ในการศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อง การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้โครงการสวนผักคนเมือง กรณี ศึ กษา บริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด ท าการศึก ษารวบรวมข้อมูล การบริ หารทรั พยากรมนุ ษ ย์ของ บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด ซึ่ งตั้งอยู่ เลขที่ 48 หมู่3 ตาบลทุ่งสุ ขลา อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 20230 และกระบวนการ รวมทั้ง เครื่ องมือที่ใช้ในการบริ ห ารทรัพยากรมนุษย์ คือ การนาบัญชีทรัพยากร มนุ ษย์ เข้า มาเป็ นแนวทางในการบริ หารทรั พยากรมนุ ษย์ และการนาสวนผัก คนเมื องเข้ามาใน องค์กร เพื่อให้บุคลากรมี สุขภาพที่ดีและมีการทางานที่มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น โดยจะศึกษาจาก ผลการวิจยั ที่ผา่ นมา วารสารวิชาการ และข้อมูลต่างๆทั้งในหนังสื อ หรื อ อินเทอร์เน็ต รวมทั้งทาการ สอบถามกับทางบริ ษทั และทาแบบสอบถาม เพื่อดูผลจากการอบรม จากนั้นนาข้อมูลทั้งหมดที่ รวบรวมมาได้ มาทาการวิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อให้ได้ผลออกมาว่าโครงการสวนผักคนเมือง ส่ งผลอย่างไรต่อการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ นิยำมศัพท์ ในการศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อง การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้โครงการสวนผักคนเมือง กรณี ศึกษา: บริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด เพื่อให้คณะผูศ้ ึกษาและผูอ้ ่านเกิ ดความเข้าใจตรงกัน จึงได้ให้ นิยามศัพท์ไว้ ดังต่อไปนี้ กำรบริ ห ำรทรั พ ยำกรมนุ ษ ย์ หมายถึ ง การใช้ก ลยุทธ์ เ ชิ งรุ ก ที่ มี ความสัม พันธ์ ก ันอย่า ง ต่อเนื่องในการบริ หารจัดการทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในองค์กร นัน่ คือบุคคลที่ทางานทั้งกรณี ที่ ทางานรวมกันและกรณี ที่ทางานคนเดียวเพื่อบรรลุเป้ าหมายในการประกอบธุรกิจใดๆ โครงกำรพัฒนำทรั พยำกรมนุษย์ หมายถึง กระบวนการดาเนินงานที่ส่งเสริ มให้ บุคลากร เพิ่ ม ความรู ้ และทัก ษะ มี พ ฤติ ก รรมการทางานที่ เหมาะสมกับ งานที่ รับผิดชอบ ซึ่ ง เป็ นการเพิ่ ม ศักยภาพของบุคลากรให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ


4 ข้ อมูลทำงกำรบัญชี บริหำร หมายถึง การจัดทาข้อมูลทางการบัญชี และรายงานทางการเงิน ในส่ วนต่างๆ ของกิจการสาหรับนาเสนอต่อฝ่ ายบริ หารของกิจการ เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผน ควบคุ ม และตัดสิ นใจได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ เกิ ดประสิ ทธิ ผลสู งสุ ดต่อกิ จการ การจัดทาข้อมูล ทางการบัญชี บริ หารนั้น จัดทาตามความต้องการของฝ่ ายบริ หารไม่มีกฎเกณฑ์ที่ใช้บงั คับ หรื อ รู ปแบบที่แน่นอน กำรบัญชี เพื่อกำรบริหำรทรั พยำกรมนุ ษย์ หมายถึง กระบวนการในการระบุและวัดข้อมูล เกี่ยวกับทรัพยากรมนุ ษย์และทาการสื่ อสารข้อมูลไปยังผูท้ ี่สนใจ การบัญชีทรัพยากรมนุษย์ไม่เพียง เกี่ยวข้องกับการวัดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมดหรื อเงินที่ลงทุนไปกับทรัพยากรมนุษย์ ที่ไม่วา่ จะเป็ น การรับสมัครงาน การฝึ กอบรม หรื อการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์เท่านั้น แต่ยงั เป็ นการวัดมูลค่าเชิ ง เศรษฐกิจของทรัพยากรมนุษย์ในองค์การอีกด้วย


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง ความหมายของความมั่นคงด้ านอาหาร ตาม พรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ได้ให้ความหมายของความมัน่ คงด้าน อาหาร คือ การเข้าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสาหรับการบริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมี ความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ ดี รวมทั้ง การมีระบบการผลิ ตที่เกื้อหนุน รักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยา และความคงอยู่ ของฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิ สาธารณภัย หรื อการก่ อการร้ า ยอันเกี่ ยวเนื่ องจากอาหาร อาหารเป็ นหนึ่ ง ในปั จจัย สี่ ซ่ ึ งเป็ นปั จจัยพื้ นฐานที่ จาเป็ นต่อการรอดชีวติ และการมีสุขภาพทางกายที่ดี ความมัน่ คงทางอาหารจึงเป็ นเรื่ องสาคัญทั้งใน ปั จจุบนั และอนาคต ปั ญหาที่เกิดขึ้นที่ทาให้เกิดวิกฤตการณ์ทางอาหาร ประการแรก แม้เราจะมีอาหารอุดมสมบูรณ์ จนประสบปั ญหาโรคอ้วนและโภชนาการเกิ น ในประชากรกว่าร้ อยละ 10 แล้ว แต่ยงั มีคนที่อดอยาก หิ วโหย ขาดอาหารและทุพโภชนาการอยู่ จานวนไม่นอ้ ย เพราะปั ญหาการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่เหมาะสมคนที่มีอยู่แล้วยังได้มากเกิน ทาให้ คนที่ขาดกลับได้รับน้อยกว่าที่ควร ประการที่ ส อง อิ ท ธิ พ ลครอบง าของระบบทุ น นิ ย มและโลกาภิ ว ฒ ั น์ ท าให้เ รามุ่ ง รั บ เทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ของการแข่งขันและเห็นประโยชน์ของเงินตรามากกว่าคุณค่าของมนุ ษย์ ทาให้ไม่ให้ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาดั้งเดิม จึง เป็ นภัยคุกคามต่อความมัน่ คงทางอาหาร ประการที่สาม ความจาเป็ นของการแสวงหาพลังงานทางเลือกใหม่ ทาให้มีการใช้ที่ดิน และทรัพยากรจานวนมากที่เดิมเคยใช้ผลิตอาหาร ไปใช้ผลิตพลังงานทดแทนโครงการอาหารโลก แห่ งสหประชาชาติ ได้ให้คาจากัดความของความมัน่ คงทางอาหารไว้ว่า หมายถึ งการมีป ริ ม าณ อาหารสาหรับบริ โภคภายในครอบครัวและชุมชนอย่างพอเพียง ปลอดภัย และมีคุณภาพ ตลอดเวลา อย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งรวมถึ งระบบการจัดการผลผลิตที่ส่งเสริ มและสนับสนุนการผลิตอย่างยัง่ ยืน อาทิ การปฏิรูปที่ดิน การจัดการแหล่งน้ า และปั จจัยการผลิตต่างๆ การกระจายผลผลิตและผลประโยชน์ ที่เป็ นธรรมต่อเกษตรกร ชุ มชน และประเทศชาติ ขณะที่มีบางกลุ่มเสนอแนะแนวทางเกษตรกรรม


6 แบบยัง่ ยืน ซึ่ งให้ความสาคัญกับความสมดุลทางธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และการ อนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อม มากกว่าผลประโยชน์ดา้ นการตลาด 1. การดารงอยู่และความเพียงพอของอาหารtคือการมีอาหารเพียงพอสาหรับบริ โภค ทั้ง ภายในครอบครัวtชุมชนtและชุมชนอื่นๆ 2. การเข้าถึงอาหารและปั จจัยการผลิตอาหารtไม่ได้มีความหมายเพียงแค่การเพิ่มขึ้นของ ผลิตผลทางอาหารเท่านั้นtแต่รวมถึงโอกาสของประชาชนทุกคนแม้แต่คนที่จนที่สุดสามารถเข้าถึง อาหารได้tและต้องสามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิตอาหารคือtที่ดินtพันธุ์พืชพันธุ์สัตว์tแหล่งน้ าtฯลฯt 3. การใช้ประโยชน์และความปลอดภัยทางอาหารtคือมีอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทาง โภชนาการมีความหลากหลายและสอดคล้องกับวัฒนธรรมการบริ โภคในแต่ละท้องถิ่นมีระบบการ ผลิตที่เกื้อหนุ นtรักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาสร้างความหลากหลายทางชีวภาพtมีระบบ การจัดการผลผลิตที่สอดคล้องเหมาะสม 4. ความยุติธรรมทางอาหารtคือtการเข้าถึงอาหารที่เสมอภาคเท่าเทียมกันtมีการกระจาย อาหารอย่างทัว่ ถึงทั้งในระดับครอบครัวและชุมชนมีความมัน่ คงทางด้านปั จจัยการผลิต ทั้งที่ดินtน้ า และทรัพยากรtและมีความมัน่ คงในอาชีพและรายได้ 5. อธิ ป ไตยทางอาหารtคื อ สิ ทธิ ข องประชาชนที่ จ ะก าหนดนิ ย ามของอาหารและ การเกษตรของตนเองที่จะปกป้ องและกากับดูแลการผลิตและการค้าด้านการเกษตรภายในประเทศt เพื่อให้บรรลุการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนtอธิ ปไตยทางอาหารไม่ได้ปฏิเสธการค้าแต่จะส่ งเสริ มการจัดทา นโยบายและแนวปฏิ บตั ิทางการค้า ที่รับใช้สิทธิ ของประชาชนที่จะมีการผลิ ตที่ปลอดภัย tเป็ น ประโยชน์ต่อสุ ขภาพยัง่ ยืนและสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ อีกทั้ง องค์การอาหารและเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (FAO) ได้ให้ความหมายของ ความ มัน่ คงทางอาหาร คือ สถานการณ์ที่ทุกคนในทุกเวลาสามารถเข้าถึงอาหารได้ท้ งั ด้านกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ อย่างเพียงพอ ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ และตรงกับรสนิยมของตนเอง เพื่อการมี สุ ขภาพที่ ดี จะเห็ นว่าคานิ ยามของความมัน่ คงทางอาหารนั้นจะพัฒนามาจากความเพียงพอก่ อน ต่อมาก็เพิ่มการเข้าถึงทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม และก็ได้เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและ รสนิ ยมเข้า ไปด้วยโดยจะต้องเกิ ดขึ้ นตั้งแต่ระดับ ปั จเจกบุค คล ครั วเรื อน ชุ มชน ไปจนถึ ง ระดับประเทศ ตามแนวคิดของ องค์การอาหารและเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (FAO) นั้น ความมัน่ คงทาง อาหารจะต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนทั้ง 4 ด้าน หรื อ 4 มิติ คือ การมีอาหารเพียงพอ (Availability) หมายถึง การมีอาหารเพียงพอที่จะบริ โภคในทุกระดับ ซึ่งอาจมาจากโดยการผลิตขึ้นเองในครัวเรื อนหรื อซื้ อในชุมชน หรื อในประเทศ (ครัวเรื อนเพียงพอ/


7 ชุมชนเพียงพอ) หรื อผลิตในประเทศ หรื อนาเข้าจากต่างประเทศ รวมทั้งได้รับการบริ จาคด้วย (ประเทศเพียงพอ) การเข้ าถึงอาหาร (Accessibility) หมายถึง การเข้าถึงอาหารในทางกายภาพ โดยการผลิตเอง หรื อมีผบู้ ริ จาค และการเข้าถึ งในทางเศรษฐกิ จโดยการซื้ อ ทั้งนี้ ตอ้ งมีอาหารให้ซ้ื อและมีรายได้ เพียงพอด้วย การใช้ ประโยชน์ จากอาหาร (Utilization) หมายถึง การใช้ประโยชน์จากอาหารที่มีอยูอ่ ย่าง ถูกหลักโภชนาการ คือมีความปลอดภัย มีความหลากหลาย (ครบหมู่) ให้พลังงานเพียงพอต่อการ เจริ ญเจริ ญเติบโตของร่ างกาย และมีสุขภาพที่แข็งแรง รวมทั้งลดการสู ญเสี ยที่เกิดจากการบริ โภค อาหารด้วย การมีเสถียรภาพด้ านอาหาร (Stability) หมายถึง ทุกมิติขา้ งต้นจะต้องมีเสถียรภาพด้วย เช่น ไม่ขาดแคลนในบางฤดูหรื อบางปี รวมทั้งประชาชนต้องเข้าถึงอาหารได้ตลอดเวลา และการบริ โภค ก็ตอ้ งถูกหลักโภชนาการเสมอ

ภาพที่ 2-1 องค์ประกอบความมัน่ คงทางอาหาร ที่มา: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา, 2554 นิยามความหมายความมัน่ คงทางอาหาร จึงมีบริ บทที่หลากหลาย และไม่สามารถมีตวั ชี้ วดั เพียงตัวเดี ยวที่อธิ บายความมัน่ คงทางอาหารทั้งในระดับประเทศ และระดับชุ มชนได้ เนื่องจาก ความมัน่ คงทางอาหารมี ความสัมพันธ์กบั มิติท้ งั ทางเศรษฐกิ จ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม เกี่ ยวพันกับชี วิตความเป็ นอยูแ่ ละคุณภาพชี วิตที่ดีของครัวเรื อนและชุ มชน ดังนั้นตัวชี้ วดั ที่จะเป็ น เครื่ องมือในการพัฒนาให้สังคมมีความมัน่ คงทางอาหาร จึงต้องมีมิติที่หลากหลาย สอดคล้องกับ


8 ความเปลี่ยนแปลงของสังคม และสะท้อนความเป็ นจริ งของสถานะความมัน่ คงทางอาหารของ ชุ มชนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเป็ นเครื่ องมือที่จะสร้างการมีส่วนร่ วมของกลุ่มและชุมชน เพื่อ กาหนดแนวทางการพัฒนา และทาให้ประชาชนมีสิทธิ และสามารถเข้าถึงอาหารได้อย่างมีศกั ดิ์ศรี เป็ นธรรมและมีคุณภาพชีวติ ที่ดี จากข้อมูลข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึง ความมัน่ คงด้านอาหาร หมายถึง การเข้าถึงอาหารที่มี อย่างเพียงพอสาหรับการบริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทาง โภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมทั้ง การมีระบบการผลิตที่ เกื้ อหนุ น รั กษาความสมดุ ล ของระบบนิ เวศวิทยา และความคงอยู่ของฐานทรัพยากรอาหารทาง ธรรมชาติของประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิ ความสาคัญของความมั่นคงทางอาหาร สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จและสัง คมแห่ ง ชาติ t(2551)tได้ไ ว้ก ล่ า วว่า อาหารเป็ นหนึ่งในปัจจัยสี่ ซ่ ึงเป็ นปัจจัยพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตและการมีสุขภาพทางกายที่ ดี อาหารที่ มีคุณภาพและความปลอดภัยเป็ นปั จจัยสาคัญอย่างหนึ่ งต่อการดารงสุ ข ภาวะที่ดีของ ประชาชนซึ่ งนอกจากจะส่ งผลให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในทุกด้านอย่างมีประสิ ทธิ ภาพแล้วยังมีผล ต่อการค้าและเศรษฐกิจของประเทศด้วย ดังนั้นความมัน่ คงทางอาหารจึงเป็ นปั จจัยสาคัญที่สามารถ บ่งบอกระดับชีวติ ความเป็ นอยูข่ องประชากรและสภาพเศรษฐกิจของประเทศ สุ ภาttใยเมือง (2555) ได้กล่าวไว้วา่ ความมัน่ คงทางอาหารจะเกิดขึ้นได้จากมีการกาหนด นโยบายความมัน่ คงทางอาหารและวางแผนการใช้ที่ดินโดยชุมชนท้องถิ่นโดยการสนับสนุนของรัฐ ซึ่งจะทาให้เกิดการพึ่งตนเองด้านอาหารทั้งระดับชุมชนและประเทศtรวมถึงการสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนtกลุ่มเกษตรกรในระบบห่ วงโซ่ อาหารและถ้ามีการควบคุมและป้ องกันการผูกขาดระบบ อาหารก็จะทาให้ปัญหาความไม่มน่ั คงทางอาหารนั้นลดลงtสิ่ งที่สาคัญต่อการสร้างความมัน่ คงทาง อาหารนั้นต้องรู ้ จกั การฟื้ นฟู ความรู้ ด้า นอาหารและการสร้ า งความรู้ ใ หม่ใ นระบบอาหารให้ก ับ ชุ มชนtอีกทั้งเรื่ องของที่ดินและปั จจัยการผลิตนั้นต้องมีการกระจายและให้เกษตรกรรายย่อยเป็ น เจ้าของอย่างเป็ นธรรมtนอกจากนี้ ยงั ต้องสร้างระบบเกษตรสาหรับคนเมืองและการพิจารณาเกษตร ชานเมื องให้เป็ นแหล่ งอาหารเพื่อที่จะลดการเกิ ดปั ญหาด้านความคลาดแคลนtส่ งผลให้ในระดับ ครัวเรื อนที่ผลิตและบริ โภคอาหารที่ตนเองผลิตนั้นมีแนวโน้มจะไม่ได้รับผลกระทบจากการขึ้นของ ราคาอาหาร กล่ า วโดยสรุ ป คื อ หากประเทศไทยมี ค วามมั่น คงทางอาหารจะท าให้ ป ระเทศมี ฐ าน ทรัพยากรในการผลิตอาหารที่สมบูรณ์และยัง่ ยืนtโดยชุมชนเกษตรกรมีการผลิตอาหารที่เข้มแข็ง tมี


9 ระบบเศรษฐกิ จและการจัดการอาหารที่เป็ นธรรมtสร้ างรายได้ให้แก่ เศรษฐกิ จของประเทศและ ท้องถิ่ นอี กทั้งยังทาให้ผูบ้ ริ โภคเข้าถึ งอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย tมีคุณค่าทางโภชนาการtมี กลไกและระบบจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลtตอบสนองได้ท้ งั ภาวะปกติและภาวะ วิกฤติและสุ ดท้ายยังสามารถสร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั อาหารที่ส่งออกtเพิ่มศักยภาพและขยายโอกาส ด้านการตลาดผ่านทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางโภชนาการ สถานการณ์ความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่งผลิตอาหารสาคัญของโลก สามารถผลิตสิ นค้า เกษตรได้หลากหลาย เกินความต้องการภายในประเทศ และมีมากพอสาหรับส่ งออกเป็ นสิ นค้าไป ขายยังประเทศต่างๆ อย่างไรก็ตามพบว่ามีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการผลิต ซึ่ งจาก การวิเคราะห์สถานการณ์ดา้ นอาหารตลอดห่ วงโซ่ (ดังภาพที่ 2-2) ได้แก่ ฐานทรัพยากร ปั จจัยการ ผลิต แรงงาน ภาคเกษตร ตลอดจนปั จจัยภายนอก ที่มีผลกระทบและสามารถสรุ ปประเด็นปั ญหาที่ สาคัญตามมิติของพระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ดังนี้

ภาพที่ 2-2 แผนภูมิห่วงโซ่อาหาร ที่มา: พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 “ความมัน่ คงด้านอาหาร” หมายความว่า การเข้า ถึ ง อาหารที่มี อย่า งเพีย งพอส าหรั บ การบริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ เพื่อการมีสุขภาวะที่ ดี รวมทั้งการมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุน รักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาและความคงอยูข่ อง


10 ฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิ สาธารณภัยหรื อ การก่อการร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร นัน่ หมายถึงประชากรไทยทุกคนมีสิทธิในการได้รับอาหารอย่างเพียงพอตามความต้องการ ในระดับ ปั จเจกบุ ค คล และมี ก ารผลิ ตและเข้าถึ งทรั พยากรอย่า งเพียงพอ แต่ ที่ผ่านมาพบว่า ฐาน ทรัพยากรธรรมชาติมีแนวโน้มเสื่ อมโทรมรุ นแรงส่ งผลกระทบต่อการผลิตภาคเกษตรและความ มัน่ คงด้านอาหาร ระบบการผลิตภาคเกษตรยังต้องพึ่งปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศ ทาให้มีตน้ ทุน การผลิ ตสู ง ขณะที่พ้ืนที่การเกษตรมีจากัดและถูกใช้ไปเพื่อกิจการอื่น รวมทั้งมีปัญหาชาวต่างชาติ อาศัยช่ องว่างของกฎหมายเข้ามาครอบครองที่ดินเกษตรกรรม ส่ งผลให้คนไทยสู ญเสี ยสิ ทธิ์ การ ครอบครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินและแรงงานภาคเกษตรมี แนวโน้มลดลง ส่ วนการเชื่อมโยง ผลผลิตเกษตรกับภาคอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ายังอยูใ่ นวงจากัดและล่าช้า เนื่องจากการ พัฒนาเป็ นแบบแยกส่ วน ขาดการรวมกลุ่มอย่างเป็ นระบบ อีกทั้งยังมีปัจจัยภายนอกที่กระทบต่อ ความมัน่ คงอาหารเช่นกัน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. สถานการณ์ดา้ นฐานทรัพยากร 1.1 เปลี่ยนแปลงพื้นที่ทาการเกษตรและการใช้ประโยชน์ที่ดิน 1.1.1 การเปลี่ ย นแปลงพื้ น ที่ ท าการเกษตร ประเทศไทยมี เ นื้ อ ที่ ท้ ัง หมด ประมาณ 320.7 ล้านไร่ ในปี 2551 มีการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร 112.6 ล้านไร่ ซึ่ งเนื้ อที่ประมาณ ครึ่ งหนึ่ง (ร้อยละ 50.6) เป็ นที่ปลูกข้าวร้อยละ 12.1 ปลูกยางพารา ร้อยละ 37.3 ปลูกพืชอื่น ๆ ในช่วง ระยะเวลา 5 ปี จากปี 2546 ถึง 2551 เนื้ อที่ปลูกข้าวลดลง 2.0 ล้านไร่ (ร้อยละ 3.3) ขณะที่เนื้ อที่ปลูก พื้นที่ปลูกยางพาราเพิ่มขึ้น ประมาณ 4.0 ล้านไร่ (ร้อยละ 41.3) ดังภาพที่ 2-3

ภาพที่ 2-3 เนื้อที่ถือครองทาการเกษตร จาแนกตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่มา: อวยพร แต้ชูตระกูล. นิตยสารโลกสี เขียว. ปี ที่ 11. ฉบับที่ 4 และประภาส ปิ่ นตบแต่ง. กรุ งเทพธุรกิจ. ฉบับวันพุธที่ 10 มิถุนายน 2552


11 จากการศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างชนบทและเมืองด้านอุตสาหกรรม ในพื้นที่ขยายตัว ของกรุ งเทพมหานคร กรณี ศึกษาจังหวัดปทุมธานี ซึ่ งเป็ นแหล่งปลูกข้าวที่สาคัญของประเทศ ในช่วงเวลาปี 2532-2550 พื้นที่ศึกษามีการเปลี่ยนแปลงของจานวนโรงงานเพิ่มขึ้นจาก 706 เป็ น 2,558 โรงงาน โดยเฉลี่ยร้อยละ 15.02 ต่อปี ทาให้เกิดการลดลงของพื้นที่เกษตร และการเพิม่ ขึ้นของ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจกรรมด้านอุตสาหกรรม โดยเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี ละร้อยละ1.96 อีกทั้งมีการใช้ที่ดิน เพื่อกิ จกรรมอื่นๆ อาทิเช่ น ในปี 2537 จากการสารวจของกรมพัฒนา ที่ ดินในพื้ นที่ อาเภอคลองหลวง ธัญบุรี และหนองเสื อ มี ก ารนาพื้นที่ ก ารเกษตร และอยู่ใ นเขต ชลประทานไปทาโครงการจัดสรรที่ดินบ้านจัดสรร รี สอร์ ท และสนามกอล์ฟรวม 146 โครงการ และแม้จะเหลื อ 30 โครงการในปี 2543 แต่ เมื่อโครงการชะลอหรื อยุติพ้ืนที่ เหล่ านั้นก็ถูก ทิ้งร้ า ง ไม่ได้ใช้ประโยชน์ต่อการเกษตร โดยภาพรวมมีการใช้เนื้ อที่ทางการเกษตรในการปลูกพืชที่ไม่ใช่ อาหารที่มีแนวโน้มเพิ่ม มากขึ้น และมีการขยายตัวของชุมชนเมือง รวมทั้งด้านอุตสาหกรรมรุ กล้ าพื้นที่ทางการเกษตร ส่ งผล ให้เนื้อที่ปลูกพืชอาหารเหลือน้อยลงไปทุกที

ภาพที่ 2-4 ความเหลื่อมล้ าอันเนื่องมาจากโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร ที่มา: อวยพร แต้ชูตระกูล. นิตยสารโลกสี เขียว. ปี ที่ 11. ฉบับที่ 4 และประภาส ปิ่ นตบแต่ง. กรุ งเทพธุรกิจ. ฉบับวันพุธที่ 10 มิถุนายน 2552 1.1.2 การถื อครองที่ดิน มีความกระจุกตัวมาก ข้อมูลจาก สานักงานที่ดินทัว่ ประเทศ 399 แห่ ง ประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศ (ประมาณ 21 ล้านคน และนิติบุคคลประมาณ 1 ล้านราย) ถื อครองที่ ดินขนาดเล็กคือไม่เกิ น 4 ไร่ ต่อราย ในขณะที่ผูถ้ ื อครองที่ดินขนาดใหญ่มี


12 สัดส่ วนเพียงเล็กน้อยของประชากรทั้งหมด บุคคลธรรมดา 4,613 ราย ถือครองที่ดินขนาดเกิน 100 ไร่ มี 121 รายที่ถือครองที่ดิน 500-999 ไร่ และ 113 รายที่ถือครองที่ดินเกินกว่า 1,000 ไร่ กลุ่มนิ ติ บุคคล 2,205 ราย ถือครองที่ดินตั้งแต่ 100 ไร่ ข้ ึนไป มี 100 ราย ถือครองที่ดินจานวน 500-999 ไร่ และ 42 ราย ที่ถือครองที่ดินเกินกว่า 1,000 ไร่ ดังนั้น การบังคับใช้ภาษีที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างช่ วย ให้เกิ ดการกระจายการถือครองที่ดินที่เป็ นทรัพยากรสาหรับการสร้างโอกาสทางอาชี พสาหรับคน จน (ดังภาพที่ 2-4) 1.1.3 การถื อ ครองที่ ดิ น ภาคการเกษตร ในปี 2551 มี ผู้ถื อ ครองเนื้ อ ที่ ท า การเกษตรทั้งหมด 5.8 ล้านราย และในช่ วง 5 ปี ที่ผ่าน มีแนวโน้มผูถ้ ื อครองเนื้ อที่ทาการเกษตร เพิ่มขึ้น เป็ นร้อยละ 24.6 ทาให้เกษตรกรมีพ้ืนที่ไม่เพียงพอต่อการเกษตร (ดังภาพที่ 2-5) และ ผูถ้ ือ ครองทาการเกษตรส่ วนใหญ่ (ร้อยละ 75.8) ทาการเกษตรในเนื้อที่ของตนเองอย่างเดียว ร้อยละ 15.8 ทาการเกษตรในเนื้อที่ของตนเองและในเนื้อที่ของผูอ้ ื่น และมีผทู้ ี่ทาการเกษตรที่ไม่มีเนื้อที่ถือครอง ของตนเองร้อยละ 8.4 (ดังภาพที่ 2-6)

ภาพที่ 2-5 จานวนผูถ้ ือครองทาการเกษตร จาแนกตามขนาดเนื้อที่ถือครอง ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2551


13

ภาพที่ 2-6 จานวนผูถ้ ือครองทาการเกษตร จาแนกตามลักษณะการถือครองที่ดิน และเนื้อที่ถือครองของตนเอง จาแนกตามเอกสารสิ ทธิ์ ปี 2551 ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2551 1.2 สัดส่ วนผลผลิตพืชอาหารและพืชพลังงาน จากความรุ นแรงของวิกฤตพลังงานและผลกระทบจากราคาน้ ามันในตลาดโลก ทาให้ประเทศไทยหันมาให้ความสาคัญกับการส่ งเสริ มการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน โดย ภาครัฐมีนโยบายส่ งเสริ มการพัฒนาเชื้ อเพลิงชี วภาพและ ชีวมวล เช่ น เอทานอล และไบโอดีเซล เป็ นต้น จากพืชอาหารที่สาคัญได้แก่ มันสาปะหลัง อ้อย และปาล์มน้ ามัน โดยเฉพาะมันสาปะหลัง ซึ่งเป็ นพืชที่มีตน้ ทุนการผลิตเอทานอลต่ากว่าพืชชนิดอื่น ในปี 2552 ประเทศไทยมีโรงงานที่ผลิตเอ ทานอลจานวน 5 โรง กาลังการผลิตรวม 0.83 ล้านลิตรต่อวัน และภายในปี 2553 คาดว่าจะมีโรงงาน เอทานอลที่ใช้มนั สาปะหลังเป็ นวัตถุดิบจานวน 6 โรง กาลังการผลิตรวม 1.77 ล้านลิตรต่อวัน โดย ประเทศไทยเริ่ มมีการใช้มนั สาปะหลังเพื่อผลิตเป็ นเอทานอลตั้งแต่ปี 2549 และมีแนวโน้มที่จะใช้ เพิ่มขึ้น ในปี 2553 ประมาณ 1 ล้านตัน (ดังภาพที่ 2-7) ส่ วนการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน้ ามัน ในปี 2552 ประมาณร้อยละ 23 ของผลผลิตปาล์ม น้ ามัน ถูกนาไปใช้เพื่อผลิตเป็ นพลังงาน ที่เหลือเป็ นการใช้เพื่อบริ โภค ส่ งออกและเก็บไว้เป็ นสต๊อก คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 58 ร้อยละ 9 และร้อยละ 10 ตามลาดับ (ดังภาพที่ 9) และมีจานวนโรงงานที่ ผลิตไบโอดีเซลจากน้ ามันปาล์ม มีท้ งั สิ้ น 14 โรง มีกาลังการผลิต 4.5 ล้านลิตรต่อวัน แต่ผลิตได้จริ ง 1.5 ล้านลิตรต่อวันแสดงให้เห็นว่าอาจจะมีการนาที่ดินไปปลูกปาล์มน้ ามันมากขึ้นเพื่อป้ อนโรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกรณี ที่ราคาน้ ามันสู งขึ้น ซึ่ งจะมีผลกระทบต่อด้านความมัน่ คงอาหาร


14

ภาพที่ 2-7 ความต้องการใช้และผลผลิตมันสาปะหลัง ปี 2548-2552 ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552

ภาพที่ 2-8 ความต้องการใช้และผลผลิตปาล์มน้ ามัน ปี 2548-2552 ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552 1.3 ความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติ แม้ประเทศไทยจะมี การเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิ จจนทาให้กลายเป็ นประเทศที่มีรายได้ ระดับกลาง(Medium income country) แต่ตอ้ งแลกกับความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ในด้านต่าง ๆ โดยขาดการบารุ งรักษาเพื่อความยัง่ ยืน และการบริ หารจัดการของรัฐที่ผา่ นมายังไม่ สามารถยับยั้งปั ญหาได้ ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเสื่ อมโทรม 1.3.1 ความเสื่ อมโทรมของทรั พ ยากรดิ น ที่ผ่า นมามี การใช้ป ระโยชน์จาก ทรัพยากรดินอย่างไม่เหมาะสม เช่น ขาดการดูแลความอุดมสมบูรณ์ในช่วงก่อน ระหว่าง และหลัง การเพาะปลูกทาให้ดินขาดธาตุอาหาร โดยในปี 2551 ที่ดินของประเทศไทยมีปัญหาดังกล่าว ถึ ง


15 ประมาณร้อยละ 60 ของพื้นที่ท้ งั หมด และพื้นที่ที่มีปัญหาการชะล้างพังทลายของดินมากที่สุดส่ วน ใหญ่อยู่ในภาคเหนื อและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ โดยจากการที่ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง และพื้นที่ทาการเกษตรลดลง ทาให้เกษตรกรต้องเพิ่มผลผลิตโดยการใช้สารเคมีมากขึ้น ส่ งผลให้ เกิดปั ญหาการตกค้างของสารเคมีในดินมากขึ้นตามไปด้วย 1.3.2 การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ป่าไม้ของประเทศลดลงอย่างรวดเร็ วซึ่ ง การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน การลดลงของความหลากหลาย ทางชีวภาพ รวมไปจนถึงปั ญหาเกี่ยวกับความแห้งแล้งด้วย ประเทศไทยเคยมีป่าชายเลนเมื่อปี 2504 ถึง 3,679 ตารางกิ โลเมตร(ประมาณ 2.3 ล้านไร่ ) แต่ได้ถูกทาลายลง เนื่องจากการเพิม่ ของการทานากุง้ ทัว่ ทุกภูมิภาคของประเทศ ปั จจุบนั คาดว่าพื้นที่ ป่ าชายเลนเหลือเพียงประมาณ 1,500 ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ กิจกรรมทางเศรษฐกิ จ ได้แก่ การ ทาประมงทั้งในเชิงพาณิ ชย์ และประมงพื้นบ้านที่สาคัญอีกด้วย 1.3.3 ปั ญหาของทรัพยากรน้ า น้ าเป็ นปั จจัยการผลิ ตที่สาคัญควบคู่กบั ดิ นใน การผลิ ตอาหาร โดยความต้องการใช้น้ าเพื่อการเกษตรมากถึงร้อยละ 76 ของความต้องการใช้น้ า ทั้งหมดของประเทศ ในขณะที่ มีปัญหาเรื่ องการจัดการน้ าซึ่ งมีพ้ืนที่ที่ตอ้ งพึ่งพาน้ าฝนเพียงอย่าง เดียวเป็ นส่ วนใหญ่ (ประมาณ 70 ล้านไร่ ) เพราะอยูน่ อกเขตชลประทานทาให้เกิดความไม่แน่นอน ต่อปริ มาณผลผลิต เนื่องจากภาวะฝนทิง้ ช่วงเป็ นเวลานานและไม่ตกต้องตามฤดูกาล นอกจากนี้ ยงั พบปั ญหาพื้นที่ทา้ ยน้ ามีสภาพเสื่ อมโทรม จากการรองรับน้ าที่ผา่ นการใช้ประโยชน์มาแล้วจากพื้นที่ กลางน้ า โดยเฉพาะในฤดูแล้ง น้ าในแหล่งน้ าต่าง ๆ มีคุณภาพต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานถึงร้อยละ 35 โดยเฉพาะในบริ เ วณลุ่ ม แม่ น้ า เจ้า พระยาตอนล่ า ง ท่ า จี นตอนล่ า ง บางปะกง ล าตะคลอง และ ทะเลสาบสงขลา มีคุณภาพน้ าอยู่ในเกณฑ์ต่ามาก จึงต้องมีนโยบายและการบริ หารจัดการน้ าเพื่อ การเกษตร 2. สถานการณ์ดา้ นปัจจัยการผลิต 2.1 พันธุกรรมของพืชและสัตว์ในการผลิตอาหาร อาหารที่จาหน่ ายในท้องตลาดมีความหลากหลายน้อยมาก เช่ น พืชผักสาคัญของตลาดใน ประเทศมีเพียง 8 ชนิ ด ได้แก่ ผักบุง้ คะน้า กะหล่าปลี กะหล่ าดอก ผักกาดขาว กวางตุง้ พริ กขี้หนู และแตงกวา ซึ่ งแสดงถึ ง การละเลยพื ช พื้ น บ้า นที่ มี ค วามส าคัญ ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต และโภชนาการ เช่นเดียวกันกับข้าวซึ่ งเป็ นอาหารหลักของคนไทย โดยกว่าร้อยละ 90 ใช้พนั ธุ์ขา้ วประมาณ 10 สาย พันธุ์ ในขณะที่มีสายพันธุ์พ้ืนบ้านที่มีสารอาหารบางอย่างสู ง และเหมาะสมต่อการปลูกในท้องถิ่ น ยังต้องการการอนุ รักษ์และเผยแพร่ สาหรับสัตว์ที่บริ โภค เช่น ไก่มีไม่กี่สายพันธุ์ จาเป็ นต้องมีการ วิจยั ทรัพยากรพันธุ กรรมของไก่พ้ืนบ้าน


16 2.2 การพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร ประเทศไทยมี ก ารปลู กพืช อย่างเข้ม ข้น ท าให้มีการใช้ปุ๋ ยมากขึ้นอย่างก้าวกระโดดจาก 321,700 ตัน ในปี 2525 เป็ น 4,117,752 ตัน ในปี 2552 คิดเป็ นมูลค่า 46,176 ล้านบาท เช่นเดียวกับ สารเคมี ป้ องกั น ก าจั ด ศั ต รู พื ช ที่ ก ารน าเข้ า ในปี 2552 มี ป ริ มาณมากถึ ง 126,577 ตั น นอกจากนี้ การใช้สารกาจัดศัตรู พืชที่ไม่ถูกต้องและเหมาะสมก่อให้เกิดปั ญหาการได้รับสารพิษเข้า สู่ ร่างกายของเกษตรกรผูใ้ ช้ โดยพบว่าเกษตรกรเกือบทั้งหมดเคยมีอาการเกิดพิษเนื่องจากสารเคมีที่ ใช้ โดยเกษตรกรร้อยละ 56 เคยมีอาการระดับปานกลาง และร้อยละ 1 เคยมีอาการระดับรุ นแรง และ จากการตรวจเลื อดเกษตรกร 187 ราย พบว่า ร้ อยละ 11 มี ความเสี่ ย งในระดับอันตราย และยังมี สารพิษตกค้างในผลผลิตทาง การเกษตร 2.3 อาหารสัตว์ 2.3.1 การนาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ประเทศไทยมีศกั ยภาพการผลิตวัตถุ ดิบ อาหารสัตว์ได้เกือบทุกชนิดยกเว้นถัว่ เหลือง กากถัว่ เหลือง ข้าวโพด และปลาป่ นคุณภาพสู ง ซึ่ งผลิต ได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการใช้ภายในประเทศจึงทาให้มีการนาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์เป็ น จานวนมาก (ดังภาพที่ 8) แสดงให้เห็ นถึงปริ มาณผลผลิ ต ปริ มาณการใช้ และปริ มาณการนาเข้า วัตถุดิบที่เป็ นอาหารสัตว์ ในปี 2552 ที่เห็นชัด คือ มีการนาเข้าถัว่ เหลืองสู งถึง 1.5 ล้านตัน และกาก ถัว่ เหลื องประมาณ 2 ล้านตัน ชี้ ให้เห็ นถึ งความสาคัญของการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการผลิตอาหารของคนและอาหารสัตว์ในแต่ละผลิตภัณฑ์อาหาร 2.3.2 การปนเปื้ อนวัตถุดิบอาหารสัตว์ เนื่องจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ส่วนใหญ่ เป็ นธัญพืช ดังนั้นจึงมักพบการปนเปื้ อนของสารพิษจากเชื้อรา เช่น แอฟลาทอกซิ นในกากถัว่ เหลือง และข้าวโพด ซึ่ งส่ งผลทาให้อาหารที่ผลิตจากสัตว์ดงั กล่าวเกิ ดความไม่ปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค อัน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสัตว์ ส่ งผลให้เกิดการสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจต่อเกษตรกร ดังนั้นจึงต้องมีการ ดูแลวัตถุ ดิบอาหารสัตว์ต้ งั แต่ก่อนปลูก ระหว่างปลูก ขนส่ ง การผลิต การบรรจุและการเก็บรักษา วัตถุดิบดังกล่าว


17

ภาพที่ 2-9 ที่มา:

ปริ มาณผลผลิต ปริ มาณการใช้ นาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ปี 2552 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552

3. สถานการณ์ดา้ นแรงงานภาคเกษตร 3.1 ภาวะหนี้สิน จากข้อมูลสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ในปี 2552 ภาค เกษตรต้องรองรับแรงงานจานวนมากโดยเฉพาะแรงงานการศึกษาต่า โดยที่มูลค่าการผลิตในภาค เกษตรต่า ดังนั้นคนจนส่ วนใหญ่จึงอยูใ่ นภาคเกษตร มากถึงประมาณ 2.8 ล้านคน หรื อคิดเป็ นร้อย ละ 68.5 ของคนจนที่ประกอบอาชีพทั้งหมด (4.1 ล้านคน) ทั้งนี้ โดยมีเกษตรกรยากจนประมาณ 6.6 แสนคนที่ไม่มีที่ดินทากินเป็ นของตนเองต้องเช่าที่ดินและต้องไปรับจ้างผูอ้ ื่น (ดังภาพที่ 2-9) นอกจากนี้ ยงั มีปัญหาความเหลื่อมล้ าด้านรายได้ทาให้เกษตรกรเป็ นหนี้ สิน ซึ่ งตามข้อมูล สานักงานสถิติแห่งชาติ เกษตรกรเกินครึ่ งหนึ่งมีหนี้สินเพื่อการเกษตร (ร้อยละ 59.9) ที่เหลือเป็ นหนี้ จากแหล่ ง อื่ น เช่ น สถาบัน การเงิ น สหกรณ์ ก ลุ่ ม เกษตรกร หน่ ว ยงานราชการอื่ น ๆ เป็ นต้น โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ และภาคเหนือนั้นรุ นแรงกว่าในภาคอื่น


18

ภาพที่ 2-10 เปรี ยบเทียบความยากจนตามสาขาการผลิตภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2552 3.2 โครงสร้างแรงงานภาคเกษตร ในช่วงระหว่างปี 2516-2520 มีสัดส่ วนของแรงงานในภาคเกษตร15.3 ล้านคน หรื อคิด เป็ นร้อยละ 67.03 ของจานวนแรงงานทั้งหมด แม้วา่ แรงงานทั้งหมดจะเพิ่มขึ้น แต่แรงงานในภาค เกษตรกลับถดถอยลงเหลือร้อยละ 42.15 เฉลี่ยในช่ วงปี 2546-2549 (ตารางที่ 2-10) โดยเฉพาะ แรงงานในการผลิตข้าว การเคลื่อนย้ายแรงงานออกจากภาคการเกษตรดังกล่าว มีผลทาให้ขนาดของ ครั ว เรื อ นในภาคการเกษตรลดลงจากเฉลี่ ย 4.75 คนต่ อ ครั ว เรื อ นในปี 2542 เป็ น 3.95 คนต่ อ ครัวเรื อนในปี 2550 และมีขนาดแรงงานในครัวเรื อนลดลงจากเฉลี่ย 3.43 คนต่อครัวเรื อนเป็ น 2.75 คนต่อครัวเรื อน ในช่วงเวลาเดียวกัน ดังนั้นจึ งมีการใช้เครื่ องจักรกลการเกษตรแทนแรงงานคนเพิ่มขึ้น ทาให้ตน้ ทุนการ ผลิตที่เป็ นเงินสดเพิ่มมากขึ้น และทาให้ผลตอบแทนสุ ทธิที่เป็ นเงินสดของเกษตรกรนั้นลดลง ส่ งผล ต่อความยากจนของเกษตรกรขนาดเล็ก


19 ตารางที่ 2-1 จานวนแรงงานทั้งประเทศ แรงงานภาคเกษตร แรงงานในการผลิตข้าวและสัดส่ วน เปรี ยบเทียบของแรงงาน ปี 2516-2549 ช่ วงปี 2516-2520 2531-2535 2546-2549

แรงงำนทัง้ หมด แรงงำนเกษตร แรงงำนผลิตข้ำว (ล้ำนคน) จำนวน(ล้ำนคน) สัดส่วน(ร้ อยละ) จำนวน(ล้ำนคน) สัดส่วน(ร้ อยละ) 22.8 15.3 67 10.8 47.5 32.3 19.4 60 11.8 36.4 36.3 15.3 42.2 9.8 27.1

หมายเหตุ: แรงงานผลิตข้าวคานวณจากการใช้สัดส่ วนของครัวเรื อนที่ปลูกข้าวต่อครัวเรื อน เกษตรทั้งหมดแล้วคูณด้วยจานวนแรงงานเกษตร จากฐานข้อมูลของศูนย์สารสนเทศ การเกษตร สานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร ที่มา: สมพร อิศวิลานนท์, 2553 4. การวางแผนการผลิตและตลาด ปั ญหาสาคัญของสิ นค้าเกษตร คือ ปริ มาณและราคาสิ นค้าเกษตรมีความผันผวนสู ง อีกทั้ง ระบบการกระจายสิ นค้า ของประเทศไทยยัง ขาดการบริ หารจัดการอย่า งเป็ นระบบ ซึ่ ง มี ผลต่ อ คุณภาพของสิ นค้าและต้นทุนการดาเนิ นการ ขณะเดียวกันก็มีการรุ กคืบของสิ นค้า นาเข้าจากการ เปิ ดเขตการค้าเสรี ซึ่งจาเป็ นที่ประเทศไทยจะต้องมียทุ ธศาสตร์ดา้ นการตลาดสิ นค้าเกษตร และจากการที่ประเทศพัฒนาแล้วส่ วนใหญ่ มีแนวโน้มเป็ นสังคมผูส้ ู งอายุ ทาให้ผบู้ ริ โภคมี แนวโน้ ม ให้ ค วามส าคัญ กับ ผลิ ต ภัณ ฑ์ อ าหารเพื่ อ สุ ข ภาพมากขึ้ น ดัง นั้น ผู้ป ระกอบการใน อุตสาหกรรมอาหารจะต้องพัฒนาการผลิตเพื่อสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบั ผลิ ตภัณฑ์ เป็ นอาหารที่ดีต่อ สุ ขภาพ ให้ความสะดวก มีคุณภาพสู ง เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ 5. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร จากหลักฐานเชิ งวิทยาศาสตร์ จากคณะกรรมการศึกษาการเปลี่ย นแปลงสภาพอากาศโลก ระหว่างประเทศ ที่ได้เผยแพร่ อย่างต่อเนื่ องตั้งแต่ปี 2533 ได้รับการยอมรับว่าโลกร้อนขึ้นจริ งและ คาดการณ์วา่ ในปี 2543 อุณหภูมิโลกจะสู งขึ้น 1.4 - 5.8 องศาเซลเซี ยส และจะทาให้น้ าทะเลสู งขึ้น ประมาณ 0.9 เมตร เพราะการละลายของน้ าแข็งขั้วโลก ทาให้เกิดภาวะน้ าท่วมบางแห่ งและฝนแล้ง ในบาง ประเทศ รวมทั้งส่ งผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโตของพืช และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะพืชอาหาร ทาให้เกิ ดภัยธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น ทั้งน้ าท่วม และภัยแล้งเกิ ดการกัดเซาะ ชายฝั่งอย่างรุ นแรงส่ งผลกระทบต่อผูม้ ีอาชีพทาประมงน้ ากร่ อย


20 6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศ ความตกลงระหว่างประเทศเป็ นพันธกรณี ที่ประเทศต่าง ๆ ที่เป็ นสมาชิกจะต้องปฏิบตั ิตาม เช่ น ความตกลงภายใต้ก รอบองค์ก ารการค้า โลก ซึ่ ง เป็ นกฎกติ ก า การค้า ระหว่า งประเทศที่ มี จุ ดประสงค์เพื่ อเปิ ดเสรี ระหว่า งกันในด้า นต่ า ง ๆ มิ ใ ห้มี ก ารกี ดกันการค้า ระหว่า งประเทศด้วย มาตรการต่าง ๆ ซึ่ งจะนาไปสู่ การขยายการค้าระหว่างกัน โดยจะมีการส่ งผลกระทบทั้งด้านบวกและ ด้านลบดังนั้นจึงต้องมีการเตรี ยมความพร้อมด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการรองรับผลกระทบ ด้านลบต่อ การผลิตและการค้าในประเทศ นับตั้งแต่การเสริ มสร้างความเข้มแข็ง ด้านประสิ ทธิ ภาพให้ผผู้ ลิต และผูค้ า้ สามารถแข่งขันกับสิ นค้านาเข้าได้ หรื อการยกระดับคุณภาพสิ นค้าเพื่อสู่ ตลาดบน กระทัง่ การปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อผลิตสิ นค้าอื่นที่ได้เปรี ยบ 7. นโยบายเกี่ยวกับด้านความมัน่ คงอาหารของประเทศ ขณะนี้ประเทศไทย โดยสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติได้บรรจุประเด็นพัฒนาใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ให้มีการพัฒนาภาคเกษตรให้คงอยูก่ บั สังคมไทย และสร้ างความมัน่ คงด้านอาหารให้คนไทยทุกคน เพื่อเป็ นแนวทางให้หน่วยงานที่เกี่ ยวข้องนาไป วางแผนการดาเนิ นงานต่อไป และสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่ ง ได้รับมอบหมายให้เป็ นหน่วยงานที่ดูแลด้านความมัน่ คงอาหาร ได้กาหนดนโยบายความมัน่ คงด้าน อาหาร เพื่อต้านวิกฤตเศรษฐกิ จโลก ในปี 2552 โดยครอบคลุมประสิ ทธิ ภาพการผลิต การพัฒนา พลังงานและการคุ ม้ ครองพื้นที่การเกษตร การกาหนดเขตเกษตรเศรษฐกิ จที่เหมาะสม เพื่อความ มัน่ คงทางด้านอาหารการผลิตการบริ โภคทั้งในระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศอย่างต่อเนื่องและ ยัง่ ยืน 8. การเข้าถึงอาหารของประชากร พิจารณาจาก 2 แนวทาง ได้แก่ 8.1 สภาวะเศรษฐกิจ หลักการสาคัญประการหนึ่ งของความมัน่ คงด้านอาหาร คือ การที่ประชากรทุกคนใน ประเทศสามารถเข้าถึ ง อาหารได้ตามสิ ทธิ และความต้องการทางกายภาพในระดับปั จเจกบุคคล เพื่อให้เกิดสุ ขภาวะที่ดี ซึ่ งจากเส้นความยากจน ที่คานวณรวมต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายของปั จเจกบุคคล ในการได้มาซึ่ งอาหารและสิ นค้าบริ การจาเป็ นพื้นฐานในการดารงชีวิต ในระหว่างปี 2531-2552 มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี (ดังภาพที่ 2-11) ทาให้ตน้ ทุนหรื อค่าใช้จ่ายในการได้มาซึ่ งอาหารในแต่ละ บุคคลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ดังภาพที่ 13) จึงอาจนาไปสู่ ปัญหาความขาดแคลนอาหารในระดับบุคคล ได้


21

ภาพที่ 2-11 เส้นความยากจน สัดส่ วนคนจน จานวนคนจน (เมื่อวัดจากรายจ่ายเพื่อการบริ โภค) ปี 2531-2552 ที่มา : สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2552

ภาพที่ 2-12 การเพิ่มขึ้นของต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายของปัจเจกบุคคลในการได้มาซึ่ งอาหาร และ สิ นค้าบริ การที่จาเป็ นพื้นฐานในการดารงชีวติ ปี 2531- 2550 ที่มา : สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2550 8.2 ภาวะขาดแคลนอาหารและโภชนาการ ภาวะขาดแคลนอาหารและโภชนาการของประชากรบางพื้นที่ในประเทศอาจสะท้อนถึง งานการณ์การเข้าถึงอาหารของประชาชนในพื้นที่ได้ เช่น การขาดโปรตี น และพลั ง งาน จากการกระจายเนื้ อ สั ต ว์ที่ ย ัง ไม่ ท ่ัว ถึ ง ส าหรั บ กลุ่ ม ผูด้ อ้ ยโอกาส การขาดไอโอดีน ซึ่ งส่ งผลต่อการพัฒนาการของสมองและระบบประสาท การขาด สารไอโอดีนจะทาให้สติปัญญาของเด็กลดลง


22 นอกจากการจาแนกสถานการณ์ออกเป็ นด้านๆ โดยทัว่ ไปแล้วเราสามารถจาแนกตามสภาพ พื้ นที่ ลัก ษณะของชุ ม ชน ได้โ ดยแบ่ ง ออกเป็ น ชุ ม ชนเมื อง กับ ชนบทและชนบทสามารถแยก ออกเป็ นชนบทที่เป็ นพื้นที่ปกติ กับพื้นที่ชายฝั่งทะเล สถานการณ์ ความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทยในชุ มชนเมือง โครงการความมัน่ คงทางด้านอาหารอาหารสาหรับประชากรในเขตเมืองจะมีผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลมากกว่าประชากรในเขตชนบท เนื่องการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล จะส่ งผลต่อสถานะความเป็ นอยู่ของประชากรในเขตเมืองในลักษณะที่แตกต่างกับในเขตชนบท โดยจะต้องท าความเข้าใจถึ งการเปลี่ ยนแปลงในฤดูก าลต่ างๆ เช่ น ในฤดู ฝน อุ ตสาหกรรมการ ก่อสร้างจะชะลอตัว และในฤดูเก็บเกี่ยว อาจจะมีการเคลื่อนย้ายแรงงานจากชุมชนเมืองที่ทางานใน ภาคอุตสาหกรรมไปชนบทเพื่อทางานในภาคเกษตรกรรม ตารางที่ 2-2 แสดงพื้นที่ จานวนประชากร ความหนาแน่น และอัตราการเพิ่มประชากรรายปี ทัว่ ราชอาณาจักร กรุ งเทพมหานครและเขตปริ มณฑล ตั้งแต่ปี 2548-2549

ที่มา: สานักบริ หารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (2549)


23

ภาพที่ 2-13 กราฟแสดงความหนาแน่นของประชากรแยกเป็ นภาค ตั้งแต่ปี 2550-2552 ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2550 สถานการณ์ความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทยในชนบท สมพร อิ ศวิลานนท์ (2551) ประชากรในชนบท จานวนไม่น้อยที่เป็ นกลุ่ มคนยากจนทาง อาหาร ทั้งที่มีอาหารไม่เพียงพอต่อการบริ โภคของครัวเรื อนหรื อการขาดโภชนาการทางอาหาร ซึ่ ง ปั ญหาความยากจนทางอาหารนั้นกระจุกตัวอยูใ่ นชนบทของภาคเหนือ และภาคะวันออกเฉี ยงเหนือ ทั้งนี้ในกลุ่มคนที่มีอาชี พทาการเกษตร โดยเฉพาะผูท้ ี่มีที่ดินถือครองขนาดเล็กหรื อผูเ้ ช่ าขนาดเล็ก ในพื้นที่ห่างไกล แม้จะใช้ที่ดินไปในการปลูกข้าวซึ่ งเป็ นพืชอาหารที่เป็ นพื้นฐานหลัก และที่จาเป็ น ในครัวเรื อน แต่ได้พบว่าผลผลิ ตข้าวของกลุ่มคนดังกล่าวไม่เพียงพอต่อการใช้บริ โภคในครัวเรื อน ปัญหาการผลิตอาหารไม่เพียงพอของเกษตรกรขนาดเล็กในชนบทนั้น แม้จะเป็ นปั ญหาของกลุ่มคน ไม่มากนัก แต่ปัญหาดังกล่าวได้สะท้อนถึงสภาวะการเข้าไม่ถึงอาหารของคนในชาติที่ยงั มีอยู่ ตารางที่ 2-3 ประมาณการสัดส่ วนของคนในชุมชนจาแนกตามฐานะทางเศรษฐกิจและการ เปลี่ยนแปลง (ประมาณโดยตัวแทนคนจน) ปี 2500- 2510, ปี 2534 และ ปี 2544

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2544)


24 ตารางที่ 2-4 สัดส่ วนคนจนจาแนกตามภูมิภาค ปี 2531-2541 ปี

กลาง

เหนือ

2531 26.6 32.0 2533 22.3 23.2 2535 13.3 22.6 2537 9.2 13.2 2539 6.3 11.2 2541 7.6 9.1 ที่มา: กองประเมินผลการพัฒนา (2541)

ตะวันออกเฉียงเหนือ

ใต้

48.4 43.1 39.9 28.6 19.4 24.0

32.5 27.6 19.7 17.3 11.5 14.6

กรุ งเทพฯและ ปริมณฑล 6.1 3.5 1.9 0.9 0.6 0.6

สถานการณ์ความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทยทางการประมง ฐานข้อมูล ความรู้ ท างทะเล (2553) กล่ าวว่า ในปี 2538-2547 ตามสถิ ติของผลผลิ ตการ ประมงทะเลในกรมประมงอยู่ระหว่าง 2.6-2.8 ล้านตัน ซึ่ งผลผลิตส่ วนใหญ่ได้จากการทาประมง ทะเลด้วยเครื่ องมือทาการประมงที่มีประสิ ทธิ ภาพ เช่ น อวนลอย อวนรุ น อวนลาก เป็ นต้น โดย เครื่ องมือประมงนั้นมีมากกว่าจานวนทรัพยากรในธรรมชาติจะอานวยให้ เนื่ องจากการทาประมง ทะเลในอดีตให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจค่อนข้างสู ง จึงมีผเู้ ข้ามาลงทุนอาชีพนี้ เพิ่มมากขึ้น ดังจะ เห็ นได้จากการเพิ่ มขึ้ นของจานวนเรื อประมง ประสิ ทธิ ภาพของเรื อประมง รวมทั้ง มีก ารฝ่ าฝื น มาตรการอนุ รักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ า การทาลายแหล่งที่อยูอ่ าศัยของสัตว์น้ า และการดาเนินนโยบาย ที่ผิดพลาดขาดการประสานงานของภาครัฐ ซึ่ งปั ญหาเหล่านี้ เป็ นสาเหตุของการเสื่ อมโทรมของ ทรั พ ยากรสั ต ว์น้ า ที่ เกิ ดจากจากการใช้ป ระโยชน์ข องมนุ ษ ย์ ประกอบกับ การเสื่ อมโทรมตาม ธรรมชาติ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงกระแสน้ า การพังทลายของดินตามชายฝั่งทะเล การเปลี่ยนแปลง อุ ณหภูมิของน้ าในทะเล และการเกิ ดคลื่ นลมอย่างรุ นแรง สาเหตุตามธรรมชาติเหล่ า นี้ ส่งผลต่ อ แหล่ ง วางไข่ แหล่ ง ที่ อ ยู่อ าศัย ขบวนการห่ ว งโซ่ อ าหาร ซึ่ งท าให้ ก ารด ารงชี วิ ต ของสั ต ว์น้ า เปลี่ยนแปลงไป


25

ภาพที่ 2-14 ที่มา:

ปริ มาณการจับสัตว์น้ าเค็มใน-นอกน่านน้ าไทย ประมาณการ ตั้งแต่ ปี 2538-2550 กลุ่มวิจยั และวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง (2550)

การเพาะเลี้ ยงมี ความสาคัญสาหรับประเทศไทย เนื่ องจากเป็ นแหล่งผลิตสัตว์น้ าทดแทน สัตว์น้ าทะเลที่มีแนวโน้มลดลง ที่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีได้อย่างต่อเนื่องและสามารถตรวจสอบ ระบบการผลิตได้ ซึ่ งจะทาให้ผลผลิตสัตว์น้ าเป็ นสิ นค้าส่ งออกที่มีประสิ ทธิ ภาพเป็ นที่ยอมรับของ ตลาดต่างประเทศ ชนิดสัตว์น้ าที่เลี้ยงสามารถเลือกได้ตามที่ตลาดมีความต้องการ ทาให้ขายได้ราคา มีส่วนช่วยสนับสนุ นอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพราะสามารถป้ อนผลผลิตเข้าสู่ ระบบได้อย่างต่อเนื่ อง และคงที่ เป็ นการสร้ างความมัน่ คงทางอาหารให้กบั ชุ มชนชายฝั่งและธุ รกิ จเกษตร อย่างไรก็ตาม พื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าแต่ละชนิดก็มีอยูจ่ ากัด โดยเฉพาะการเพาะเลี้ยงตามชายฝั่ง ยังทาได้ไม่เต็มศักยภาพ แต่บริ เวณแหล่งเพาะเลี้ ยงสัตว์น้ านั้นยังมีปัญหาด้านคุณภาพสิ่ งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่ อง น้ าเสี ย โดยแหล่ งกาเนิ ดมลพิษอาจมาจากโรงงานอุตสาหกรรมบริ เวณใกล้เคียง หรื อจากการปล่อยน้ าทิ้งของเรื อประมง ชุมชน ทาให้มีการปนเปื้ อนสารเคมีกาจัดศัตรู พืช/สารพิษ เช่ น โลหะหนักที่มากับน้ า การเพาะเลี้ ยงเกิ นขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งน้ า และใน บางพื้นที่ ยงั ประสบปั ญหาปริ มาณน้ าในการเพาะเลี้ ยงไม่สม่ าเสมอ ในเขตพื้นที่น้ าเค็มก็ประสบ ปั ญหาเรื่ องความเค็มที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าเนื่องจากน้ าจืดลงมามากเกิ นไป อีกทั้ง สภาพแวดล้ อ มที่ ไ ม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ เช่ น ภัย ธรรมชาติ ภัย แล้ ง ความเสื่ อ มโทรมของ สภาพแวดล้อมและทรัพยากร ที่ทาให้พ้ืนที่เพาะเลี้ยงและผลผลิตสัตว์น้ าเสี ยหาย แต่อย่างไรก็ตามการทาการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่งของประเทศไทยนั้นมี แนวโน้มของปริ มาณผลผลิ ตโดยรวมที่เพิ่มขึ้ นอย่างต่อเนื่ องทุกปี เนื่ องจากตลาดโลกยังมีความ


26 ต้องการบริ โภคสั ตว์น้ า อยู่ป ริ ม าณมาก และน่ า จะเป็ นผลผลิ ตหลัก ของการส่ ง ออกสัตว์น้ า จาก ประเทศไทยไปสู่ ตลาดโลก โดยประเทศไทยก็มีโอกาสขยายตลาดสิ นค้าสัตว์น้ า ได้อีก แม้จะมี ปั ญหาเรื่ องการกีดกันทางการค้าในหลายๆ รู ปแบบในการทาประมงชายฝั่ง แต่เชื่อแน่วา่ การพัฒนา ศัก ยภาพการท าประมงทะเลในลัก ษณะที่ ไ ม่ ท าลายสิ่ ง แวดล้อ มและระบบนิ เ วศ มี ก ารพัฒ นา เทคโนโลยีการผลิ ตอย่างครบวงจรในระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ผูผ้ ลิตสามารถเลือกชนิ ดสัตว์น้ า มาเพาะเลี้ยงได้ตามต้องการ ซึ่ งจะทาให้ชนิดสัตว์น้ าที่เพาะเลี้ยงมีความหลากหลาย นอกจากนี้ ระบบ การเพาะเลี้ยงเป็ นกระบวนการที่สามารถตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน รวมถึงประเทศไทยได้มีการ ศึกษาวิจยั ในทุกด้านจากต้นน้ าไปสู่ ปลายน้ าจะช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเหล่านั้นได้

ภาพที่ 2-15 ดุลการค้าสิ นค้าสัตว์น้ าและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ า ตั้งแต่ปี 2532 - 2551 ที่มา: กรมประมง และ สถิติการประมงแห่งประเทศไทย (2551) จากที่กล่าวมาทาให้ทราบถึงสถานการณ์ของความไม่มน่ั คงทางอาหาร ตอนนี้ ประเทศไทย ก าลัง ประสบกับ ปั ญ หาเหล่ า นี้ แล้ว แต่ มี ค นที่ รู้ เ รื่ อ งและเข้า ใจถึ ง วิธี ก ารใช้ชี วิต ให้อ ยู่ร อดใน สถานการณ์น้ ี อยู่นอ้ ย ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยกาลังละเลย หรื อไม่ให้ความสาคัญกับไม่มน่ั ความมัน่ คงทางอาหาร ผูท้ าการศึกษาจึงอยากจะเน้นย้าให้ทุกคนได้รู้ถึงสถานการณ์ที่ได้เกิดขึ้น และ มีผลกระทบกับประเทศไทยแล้ว สาเหตุความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย ปั ญหาความไม่มน่ั คงทางอาหารของประเทศไทยในปัจจุบนั นั้นสาเหตุหลักๆมาจาก


27 1. ปั ญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรั พยากรอาหาร ตลอดการพัฒนาทางเศรษฐกิ จ หลายทศวรรษที่ ผ่า นมา แม้ป ระเทศไทยจะมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ จนท าให้ป ระเทศ กลายเป็ นประเทศที่ มี ร ายได้ ร ะดั บ กลาง แต่ ก็ ต้ อ งแลกกั บ ความเสื่ อมโทรมของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติในด้านต่างๆ

ภาพที่: 2-16 แสดงจานวนป่ าชายเลน ที่มา: กรมป่ าไม้ จากภาพที่ 2-16 จะเห็ นว่าการลดลงของป่ าชายเลนในปี 2504 จนถึงปั จจุบนั มีอตั ราการ ลดลงเรื่ อยๆ อย่างเห็ นได้ชดั โดยจานวนป่ าชายเลนได้ลดลงจาก 3,679 ตารางกิ โลเมตร ถึง 1,500 ตารางกิ โลเมตร ซึ่ งเป็ นการลดลงอย่างรวดเร็ วภายในเวลาไม่กี่ปี การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ส่งผล กระทบต่ อความอุ ดมสมบูรณ์ ของดิ น การลดลงของความหลากหลายทางชี วภาพ รวมไปจนถึ ง ปั ญหาเกี่ ยวกับความแห้งแล้งที่ผ่านมามีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรดินอย่างไม่เหมาะสม เกิ ด ปั ญหาชะล้างพังทลายของดินในอัตราสู งพื้นที่ดินของประเทศเกิดปั ญหาความเสื่ อมโทรม เช่น การ เกิดดินเค็ม ดินเปรี้ ยว และดินขาดอินทรี ยวัตถุ 2. ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน ระบบการผลิตอาหารของไทยซึ่ งในอดีต เป็ นระบบการผลิ ตแบบผสมผสาน ได้ค่อยๆ เปลี่ยนเป็ นการผลิตเชิงเดี่ยวที่มีการปลูกพืชหรื อเลี้ยง สัตว์อย่างเดียวไม่กี่ชนิ ดในพื้นที่ขนาดใหญ่หรื อมีปริ มาณมากๆ ทาให้เกิดปั ญหาต่างๆตามมาหลาย ประการ เช่น การพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร เกษตรกรต้องพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตรซึ่ ง ส่ วนใหญ่เป็ นผลิตภัณฑ์จากซากฟอสซิล


28

ภาพที่ 2-18 แสดงปริ มาณการใช้ปุ๋ย ที่มา: กรมป่ าไม้ จากภาพที่ 2-18 จะเห็นได้วา่ จากปั ญหาของระบบการผลิตอาหารไม่ยงั่ ยืน มีสาเหตุมาจาก ปริ มาณการใช้ปุ๋ยที่เพิ่มขึ้นด้วย จะเห็นว่าปริ มาณการใช้ปุ๋ยนั้นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยจากปี 2514 มีปริ มาณการใช้ปุ๋ยอยูท่ ี่ 128,139 ตัน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ จนถึงปั จจุบนั อีกทั้งการนาเข้า สารกาจัดศัตรู พืชปี ละ 116,322 ตัน มูลค่า 15,025 ล้านบาท เกือบทั้งหมดนาเข้าจากต่างประเทศ ต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีและสารกาจัดศัตรู พืชกลายเป็ นต้นทุนสาคัญของการผลิตในภาคการเกษตรของ ไทย ระบบอาหารที่ ผูกติดกับการใช้ปุ๋ยเคมีจะก่ อให้เกิ ดต้นทุนที่สูงเกษตรกรประสบปั ญหาการ ขาดทุนส่ งผลต่อชีวติ ความเป็ นอยูข่ องเกษตรกร 3. ปั ญหาโครงสร้ างของที่ดินทากิ นและสิ ทธิ ในการเข้าถึงทรัพยากร ปั ญหาโครงสร้าง การเข้าถึงสิ ทธิในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเป็ นปั ญหาใหญ่และเป็ นปั ญหารากฐาน สาคัญ เป็ นทั้งต้นเหตุและผลพวงของปัญหาความเหลื่อมล้ าทางสังคมและเมื่อราคาข้าวและอาหารมี แนวโน้ม สู ง ขึ้ น เจ้า ของที่ ดิน ก็ จ ะเพิ่ ม ราคาค่ า เช่ า สู ง ขึ้ น ดัง ที่ ต ัว เลขทางสถิ ติ ข องส านัก งาน เศรษฐกิจการเกษตรระบุได้ดงั นี้ 3.1. เกษตรกรร้อยละ 60 ต้องเช่าที่ดินทากิน 3.2. มีเกษตรกรที่เป็ นผูไ้ ร้ที่ดินทากินกว่า 800,000 ครอบครัว 3.3. เกษตรกรมี ที่ ดิ น ขนาดเล็ ก ไม่ เ พี ย งพอต่ อ การท ากิ น ประมาณ 1,000,000 ครอบครัว 3.4. ร้อยละ 40 ของชาวนาทั้งหมดไม่มีที่ดินทากินเป็ นของตนเอง โดยเฉพาะพื้นที่ ภาคกลางมีสัดส่ วนถึงร้อยละ 70-90 4. บทบาทของค้าปลีกขนาดใหญ่และโมเดอร์ เทรดที่มีบทบาทมากขึ้นในระบบกระจาย อาหาร นอกเหนื อจากระบบการผลิตแล้ว ระบบการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบค้าปลีกได้ถูก ครอบครองโดยบรรษัท ดิสเคาท์สโตร์ และคอนวีเนี่ยนสโตร์ กระจาย ขยายเข้าไปในท้องถิ่นและรุ ก


29 คื บ เข้า ไปถึ ง ระดับ หมู่ บา้ น ร้ า นค้า ปลี ก รายย่อย ตลาดสด ตลาดนัด แผงข้า งถนน ถู ก เบีย ดขับ ออกไปอย่างรวดเร็ ว การควบคุมระบบการตลาดดังกล่าวจะส่ งผลต่อระบบอาหารและวัฒนธรรม อาหารของท้องถิ่นทั้งระบบ เช่น ไม่มีพ้นื ที่สาหรับผักพื้นบ้านต่างๆ การลดลงของความหลากหลาย ของอาหารท้องถิ่น รวมถึงพฤติกรรมการบริ โภคที่จะถูกปรับเปลี่ยนไปตามการกาหนดของบรรษัท สถานะของระบบอาหารและวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นจะถูกกลืนหายไป 5. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร การขยายตัวของ ระบบเศรษฐกิ จ โลก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ นน าไปสู่ การใช้ เ ชื้ อเพลิ ง ดึ ก ด าบรรพ์ มี ก ารปลดปล่ อ ย คาร์ บอนไดออกไซด์ไปสู่ บรรยากาศโลก จนเกิดภาวะโลกร้อน ในขณะที่การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ ลดลง ทาให้ความสามารถที่ดูดซับคาร์ บอนไดออกไซด์ลดลง เป็ นการเร่ งภาวะเรื อนกระจก ซึ่ ง ผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโตของพืชและความหลากหลายทางชี วภาพ ประชากรทัว่ โลกจะได้รับ ผลกระทบอย่างหนักจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่ องจากต้องพึ่งพาฝนตามฤดูกาล ใน กรณี ของประเทศไทยนั้น คาดว่าการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศจะส่ งผลกระทบต่อการผสมเกสร ของพืชเกษตรลดลง ปั ญหาการรุ กคืบของน้ าทะเละและการพังทลายของพื้นที่ชายฝั่ง รวมทั้งอาจ ต้องเผชิ ญกับการแปรปรวนของสภาพการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศจนเกิดความเสี ยหายต่อการ ผลิตอาหาร 6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร การ เปิ ดเสรี การเกษตรภายใต้ขอ้ ตกลงการค้ากับต่างประเทศ โดยที่ไม่มีนโยบายความมัน่ คงทางอาหาร เกษตรกรส่ วนใหญ่ของประเทศได้รับผลกระทบ การเปิ ดเสรี กบั ประเทศสหรัฐอเมริ กา ยุโรป และ ญี่ปุ่น จะทาให้ประเทศไทยต้องยอมรับกฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญาที่ทาให้เกิ ดการผูกขาดเรื่ อง พันธุ์พืช การจดสิ ทธิ บตั รสิ่ งมีชีวิต การเข้ามาใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพของไทย และอาจ รวมถึงการเข้ามาลงทุนในภาคการเกษตรของคนต่างชาติ ทาให้สินค้าเกษตรราคาถูก 7. ปั ญหาสุ ขภาวะที่เกิ ดจากระบบอาหาร การใช้สารเคมีทางการเกษตรทาให้เกษตรกร ได้รับพิษภัยสะสมในร่ างกาย ในปั จจุบนั ผลการตรวจระดับของสารเคมีทางการเกษตรในเลือด ของเกษตรกรเพิ่มสู งขึ้นอย่างมาก โดยผลการตรวจเกษตรกรที่ จงั หวัดเชี ยงใหม่จานวน 924 คน พบว่ามีเกษตรกรและแม่บา้ นที่มีสารเคมีตกค้างในระดับที่ไม่ปลอดภัยและเสี่ ยงจานวนรวมกันถึง 75% ในขณะที่กลุ่มผูบ้ ริ โภคซึ่ งรับประทานผักและผลิตภัณฑ์ที่มีสารเคมีปนเปื้ อนมีแนวโน้มที่จะ ได้รับ สารพิ ษ พอๆกันหรื อมากกว่า เกษตรกรผูผ้ ลิ ตเสี ย อี ก ดัง ผลการสุ่ ม ตรวจกลุ่ ม ผูบ้ ริ โภคใน จังหวัดเชี ยงใหม่จานวน 1,412 คน ครอบคลุมนักศึกษา อาจารย์ และประชาชนทัว่ ไปพบว่า มีผู้ ได้รับสารพิษในระดับที่ไม่ปลอดภัยและมีความเสี่ ยงรวมกันถึง 89%


30 8. การแผ่ข ยายของอาณานิ ค มทางอาหาร วิก ฤติ อ าหารและพลัง งานที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ ปี 2550-2551 ทาให้เกิ ดความไม่มน่ั คงทางอาหารขึ้นในหลายประเทศ ประเทศผูผ้ ลิตน้ ามัน ประเทศ อุตสาหกรรม และประเทศที่ไม่สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอ เริ่ มกระบวนการเข้ามาเช่าที่ดิน และ ลงทุนทาการเกษตรในต่างประเทศอย่างขนานใหญ่ ประเทศไทยก็เป็ นเป้ าหนึ่ งของการเข้ามาลงทุน ของต่างชาติ ในการใช้พ้ืนที่ของประเทศไทยในการผลิตอาหารเพื่อสร้างหลักประกันความมัน่ คง ทางอาหารของตน 9. วัฒ นธรรมอาหารต่ า งชาติ ค รอบง าวัฒ นธรรมอาหารท้อ งถิ่ น การเปิ ดกว้า งทาง วัฒนธรรมผ่า นนโยบายทางการค้า และการเปิ ดรั บ สื่ อท าให้ว ฒ ั นธรรมการบริ โภคอาหารแบบ อุตสาหกรรม และการบริ โภคอาหารจากวัฒนธรรมต่างชาติมีบทบาทในสังคมไทยมาก โดยเฉพาะ อย่างยิง่ กลุ่มเด็ก เยาวชน และคนรุ่ นใหม่ 10. การขาดนโยบายเกี่ ย วกับ ความมัน่ คงทางอาหาร โดยภาพรวมประเทศไทยยัง ขาด นโยบายและความตระหนักเกี่ยวกับอาหารที่ชดั เจน ประเด็นเรื่ องความมัน่ คงทางอาหารไม่ปรากฏ อยูใ่ นรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย หรื อในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติในหลาย ฉบับที่ผา่ นมา ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่ มั่นคงทางอาหาร สถานการณ์การเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากอาหาร สาเหตุส่วนใหญ่ของการเจ็บป่ วยเกิดจากการ บริ โ ภคอาหารที่ ป นเปื้ อนเชื้ อจุ ลิ น ทรี ย ์แ ละสารเคมี เช่ น สารเคมี ที่ ใ ช้ใ น การก าจัดศัตรู พืช ยา ปฏิ ชี วนะและยาที่ ใ ช้ใ นการเลี้ ย งสัตว์ วัตถุ เ จื อปนอาหาร รวมไปถึ ง สารพิ ษ จากจุ ลิ นทรี ย ์ และ สารเคมีปนเปื้ อนจากโรงงานอุตสาหกรรม สถานการณ์โรคติดต่อทางอาหารและน้ า จากการเฝ้ าระวังโรคของสานักระบาดวิทยา กรม ควบคุมโรค โดยอัตราการระบาดของโรคอาหารเป็ นพิษเพิ่มขึ้น 1. การเจ็บป่ วยจากอาหารที่ปนเปื้ อนจุลินทรี ย ์ การปนเปื้ อนจุ ลิ นทรี ย ์ในอาหารเกิ ดได้ใ นทุก ขั้นตอนตลอดห่ วงโซ่ อาหาร ตั้ง แต่ ในขั้น วัตถุดิบที่มาจากการเพาะปลูก/เพาะเลี้ ยง การผลิต การขนส่ ง และการเก็บรักษาจนกระทัง่ การปรุ ง เพื่อจาหน่ายต่อผูบ้ ริ โภคหรื อแม้แต่ผบู้ ริ โภคปรุ งอาหารเองอย่างไม่ถูกสุ ขลักษณะ 2. การเจ็บป่ วยจากอาหารที่ปนเปื้ อนสารเคมี สารเคมีปนเปื้ อนหรื อตกค้างในอาหารมีท้ งั โลหะหนักที่ปนเปื้ อนอยูใ่ นสภาพแวดล้อม และ สารเคมีที่ใช้ในการผลิตสิ นค้าเกษตรหรื ออาหารทุกขั้นตอนที่นามาใช้โดยปราศจากความรู้ หรื อเกิด จากการจงใจส่ งผลให้อาหารไม่ปลอดภัยต่อการบริ โภค สารเคมีบางส่ วนจะถูกสะสมอยูใ่ นร่ างกาย


31 ก่อให้เกิ ดพิษในระยะยาว แต่บางส่ วนอาจถูกเปลี่ยนแปลงในร่ างกายทาให้เป็ นพิษอย่างเฉี ยบพลัน ได้ ตัวอย่างของพิษสารเคมีปนเปื้ อนในอาหาร เช่น พิษจากโลหะหนัก ปั ญหาการปนเปื้ อนของโลหะหนักในอาหารส่ วนใหญ่พบในอาหาร ทะเลต่าง ๆ โลหะหนักที่ พบประจาได้แก่ สารปรอท แคดเมียม และตะกัว่ โดยตรวจพบในสัตว์ ประเภทกุ้ง หอย ปลา และปลาหมึก แม้ที่ผ่านมาส่ วนใหญ่ไม่เกิ นมาตรฐาน แต่แนวโน้มคาดว่า อาหารทะเลจะมีโลหะหนักเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมสี โรงงานอุตสาหกรรมพลาสติก ซึ่ งเมื่อมีการระบายน้ าทิ้งของโรงงาน แม้จะผ่านระบบบาบัดน้ าเสี ยแล้วก็ตาม แต่ก็ยงั มีการปนเปื้ อนของโลหะหนักและไหลลงสู่ แหล่งน้ า และถึงทะเลในที่สุด จากที่ กล่ าวมา สาเหตุความไม่มน่ั คงทางอาหารที่ประเทศไทยกาลังประสบอยู่ คือภาพ สะท้อนของปั ญหาเชิงโครงสร้าง หรื อปั ญหาระบบอาหารของประเทศไทย ซึ่ งมีความเชื่อมโยงกับ ปั ญหาและองค์ประกอบต่างๆ หลายประการ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ทั้งจากปั จจัยที่ ควบคุมได้ แต่ละเลยจนเกิดผลเสี ยมหาศาลและจากปั จจัยที่ควบคุมไม่ได้ที่รุมเร้ารุ นแรงขึ้นเรื่ อยๆ เช่น ความแปรปรวนของสภาพอากาศ หรื อการขาดแคลนพลังงานน้ ามัน หรื อผลกระทบของวิกฤต การเงิน เศรษฐกิจในระดับโลก การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ความหมาย คณะกรรมาธิ ก ารแห่ ง โลกด้า นสิ่ ง แวดล้อ ม และการพัฒ นาของสหประชาชาติ ได้ใ ห้ ความหมายของการพัฒ นาแบบยัง่ ยืนไว้ว่า การพัฒ นาแบบยัง่ ยืน คื อ การพัฒนาที่ ส ามารถจะ ตอบสนองความต้องการต่างๆของคนในรุ่ นปั จจุบนั โดยที่การพัฒนานี้ จะไม่ทาให้เกิ ดผลเสี ยต่อ ความสามารถในการพัฒนาของคนรุ่ นต่อไปในอนาคต (Sustainable Development is development that meets the needs of the present without compromising the ability of future generations to meets their own needs) รู ปแบบของการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน คณะกรรมาธิ ก ารแห่ ง โลกด้า นสิ่ งแวดล้อม และการพัฒนาของสหประชาชาติ ได้เสนอ รู ปแบบทัว่ ไป ของการพัฒนาแบบยัง่ ยืน ไว้ดงั นี้


32

ภาพที่ 2-19 แผนผังแสดงการพัฒนาแบบยัง่ ยืน ที่มา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550, มหาวิทยาลัยมหิดล เป้ าหมายของการพัฒนาแบบยัง่ ยืน มีดงั นี้ 1. เป้ าหมายทางสังคม ในการพัฒนาชนบทเพื่อจะให้ได้ผลเป็ นรู ปธรรมนั้นต้องเข้าใจ รู ปแบบของสังคมชนบทที่อยูใ่ นพื้นที่น้ นั ๆ 2. เป้ าหมายทางเศรษฐกิ จ ต้องเข้าใจปั จจัยต่างๆที่จะมีผลต่อระบบเศรษฐกิ จของสังคม ชนบท และในการพัฒ นาระบบเศรษฐกิ จ ดัง กล่ า ว ต้อ งน าเอาปั ญ หาจากผลกระทบที่ มี ต่ อ สิ่ งแวดล้อมมาพิจารณาด้วย 3. เป้ าหมายทางด้านสิ่ งแวดล้อม (ทรัพยากรธรรมชาติ ) การศึกษาเป้ าหมายทางด้าน สิ่ งแวดล้อมของทรัพยากรธรรมชาติ เราจาเป็ นต้องเข้าใจถึงผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในการ พัฒนาชนบท หลักการของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน United Nation Environment Programmer (UNEP) และ World Wild Fund for Nature (WWF) ได้ให้ความหมายของขอบเขตของการพัฒนาที่ยงั่ ยืนไว้ดงั นี้ 1. การให้ความเคารพต่อสรรพสิ่ งต่างๆ ทั้งในปัจจุบนั และอนาคต 2. ปรับปรุ งคุณภาพชีวติ ของมนุษย์ 3. การดารงรักษาโลก และความหลากหลายทางชีวภาพ


33 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ลดความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ การคานึงถึงสมรรถนะ (Carrying Capability) ของโลก การปรับเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมของบุคคล ให้ชุมชนดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อมด้วยตนเอง กาหนดขอบเขตในการผสมผสานระหว่างการพัฒนา และการอนุรักษ์ ส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างประเทศ

ความเชื่ อมโยงของเหตุปัจจัยของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน กรอบแนวทางการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (2550) ได้กล่าวถึงปั ญหาที่ทาให้ประเทศชาติไม่สามารถ ที่จะไปสู่ การพัฒนาที่ยง่ั ยืนไปเป็ นในทิศทางเดียวกันกับ พัฒนพัฒน์ พิชญธรรมกุล (ม.ป.ป.) ดังนี้ 1. ความต้องการบริ โภคสิ นค้าและบริ การที่เกินความจาเป็ น ฟุ่ มเฟื อย เป็ นเหตุให้เกิดการ นาทรั พยากรธรรมชาติ มาใช้ในการผลิตและบริ การที่เกิ นความจาเป็ น เกิ นความต้องการของการ ดาเนิ นชี วิตแบบพอเพียง ถึงแม้จะส่ งผลให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แต่ก็ทาให้เกิ ดมลพิษทาง สิ่ งแวดล้อมและทาให้สิ่งแวดล้อมขาดสมดุล 2. การที่ ชุมชนไม่เข้มแข็ง รับวัฒนธรรมและแนวความคิดเกี่ ยวกับความฟุ่ มเฟื อย วัตถุ นิยม อีกทั้งยังขาดการอบรม ละเลยธรรมเนียมประเพณี ด้ งั เดิม ทาให้สังคมเปลี่ยนเป็ นสังคมบริ โภค เกิ ดการลงทุนทางธุ รกิจที่สูญเปล่า ทาให้เกิ ดผลเสี ยทางเศรษฐกิ จ เกิ ดความขัดแย้งทางสังคม และ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมถูกทาลายอย่างรุ นแรง 3. การเคลื่ อนย้ายทุนจากต่างประเทศ ส่ งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อระบบเศรษฐกิ จ และสิ่ งแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจที่พ่ ึงพิงอยูก่ บั ทุนต่างประเทศโดยขาดรากฐานที่มนั่ คงภายใน ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมอย่างรวดเร็ ว 4. นโยบายการเร่ งรั ดพัฒนาเศรษฐกิ จของรัฐในอดี ต โดยขาดการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่ ง แวดล้อม มี ก ารใช้ท รั พ ยากรเป็ นฐานการผลิ ตอย่า งฟุ่ มเฟื อย เกิ นอัตราการฟื้ นตัวของระบบ ธรรมชาติ สงผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและความยัง่ ยืนของระบบนิเวศ 5. การที่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมอย่างรวดเร็ วและรุ นแรงนี้ เอง ทา ให้เกิ ดกระแสของสังคมทั้งจากภายในและนอกประเทศ ผลักดันให้รัฐบาลดาเนิ นมาตรการต่างๆ รวมถึงการแก้ไขกฎหมายที่มีผลในการอนุรักษ์และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปั ญหาความยากจนและยุทธศาสตร์ เพิ่มทุนทางสังคม โดยเน้น การมีส่วนร่ วมของประชาชน เมื่อเกิดการบริ หารจัดการที่ดีก็เกิดการแบ่งสรรทรัพยากรที่ใช้ในการ


34 ผลิ ตอย่างเป็ นธรรม และเกิ ดการกากับดูแลด้านอุปสงค์ที่สมเหตุสมผลและไม่ฟุ่มเฟื อย ลดความ ขัดแย้งในสังคม เปิ ดโอกาสให้สังคมเรี ยนรู้ พัฒนาความคิดและจิตใจ จนทาให้เกิดสังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเองได้ในที่สุด 7. ยุท ธศาสตร์ เ พิ่ ม ความสามารถในการแข่ ง ขัน นอกจากจะท าให้ป ระเทศสามารถ ควบคุ มการเคลื่ อนย้ายทุ นจากต่างประเทศเพื่อลดความสู ญเสี ยที่อาจเกิ ดกับระบบเศรษฐกิ จและ สิ่ ง แวดล้อ มของประเทศ ยัง จะเป็ นกลไกขับ เคลื่ อ นให้เ กิ ด การขยายการผลิ ต และการตลาดที่ เหมาะสมที่จะทาให้เศรษฐกิจเติบโตแบบยัง่ ยืน การพัฒนาอย่ างยัง่ ยืนตามแนวคิดเชิงพุทธศาสตร์ พระธรรมปิ ฎก กล่าวว่าหัวใจของการพัฒนาที่ยงั่ ยืนนั้น ประกอบด้วยคาศัพท์ที่นามาจับคู่ กัน 2 คู่ คือ การพัฒนา กับสิ่ งแวดล้อม และเศรษฐกิ จ กับนิ เวศวิทยา โดยเห็นว่าควรให้ความเจริ ญ ทางเศรษฐกิจอยูภ่ ายใต้เงื่อนไขของการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม การพัฒนาที่ยงั่ ยืนนี้ มีลกั ษณะเป็ นการพัฒ นาที่ เป็ นบูรณาการ คือทาให้เกิ ดเป็ นองค์รวม (holistic) หมายความว่าองค์ประกอบทั้งหมดที่เกี่ ยวข้องกันจะต้องมาประสานกันทั้งหมด และมี ลักษณะอีกอย่างหนึ่งคือ มีดุลยภาพ

ภาพที่ 2-20 แผนภาพลักษณะของการพัฒนาที่ยง่ั ยืน (Sustainable Development) ตาม แนวคิดของพระธรรมปิ ฎก ที่มา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550, มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนั้น ธรรมชาติแวดล้อมกับเศรษฐกิ จจะต้องถูกบูรณาการเข้าด้วยกันแล้วจึงจะทาให้เกิ ด สภาพที่ เรี ยกว่าเป็ นภาวะยัง่ ยืนทั้งในเศรษฐกิจ และในทางสภาพแวดล้อมหรื อกล่าวอีกความหมาย หนึ่งคือ การทาให้กิจกรรมของมนุษย์สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ซึ่ งเป็ นรากฐานของการ พัฒนาที่ยง่ั ยืน


35 พระราชวรมุนี กล่ าวถึ ง การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนต่างไปจากพระธรรมปิ ฎกไว้ว่า ในภาษา พระไตรปิ ฎก หรื อภาษาบาลี จะปรากฏในคา 2 คา คือ ภาวนา กับ พัฒนา โดยให้ความหมาย ของคาทั้งสองนี้วา่

ภาพที่ 2-21 ที่มา:

แผนภาพ ลักษณะของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Development) ตาม แนวคิดของ พระราชวรมุนี เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550, มหาวิทยาลัยมหิดล

พัฒนา หรื อ วัฒนา หมายถึง การเติบโต ภาวนาที่ใช้ในการพัฒนามนุษย์ คือ กายภาวนา จิตภาวนา ศีลภาวนา และปัญญาภาวนา นอกจากนี้แนวคิดทางพระพุทธศาสนายังถือว่ามนุษย์เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญ คือ ให้คน เป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา เพื่อให้การพัฒนาเป็ นไปเพื่อการสร้างความสงบสุ ขระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ โดยใช้การศึกษาและมีหลักธรรมทางพุทธศาสนาเป็ นเครื่ องมือ โดยจะมุ่งไปที่การพัฒนา ระบบการดาเนิ นชี วิตของคน ชุ มชน และสังคม ตลอดจนสภาพแวดล้อมให้ดารงอยูอ่ ย่างเป็ นสุ ข อย่างต่อเนื่อง

ภาพที่ 2-22 แผนภาพแนวคิดทางพระพุทธศาสนาของการพัฒนาที่ยง่ั ยืนที่เน้นคนเป็ นศูนย์กลาง ของการพัฒนา ที่มา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550, มหาวิทยาลัยมหิดล


36 ในทัศนะของพระราชวรมุนี เห็นว่า พฤติกรรมของคนต้องปรับเปลี่ยนและพฤติกรรมนั้น ต้องโยงไปถึ งคุ ณธรรม และมีความรู้ ที่เป็ นระบบ เห็ นสรรพสิ่ งเชื่ อมโยงกันเป็ นระบบ เมื่อรวม พฤติกรรม คุณธรรม และความรู้ที่ เป็ นระบบแล้ว จะกล่าวได้วา่ พฤติกรรมก็คือศีล คุณธรรมคือ สมาธิ และความรู ้คือปั ญญา เรี ยกว่า ไตรสิ กขา

ภาพที่ 2-23 แผนภาพแนวคิดการพัฒนาคนตามหลักไตรสิ กขาของพระราชวรมุนี ที่มา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550, มหาวิทยาลัยมหิดล จากแนวคิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของทั้ง 2 ท่าน มีแนวคิดที่คล้ายกัน และแตกต่างกันซึ่ ง สามารถสรุ ปได้ ดังนี้


37 ตารางที่ 2-5 แนวคิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน แนวคิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน พระธรรมปิ ฎก 1. การพัฒนาที่ยง่ั ยืนประกอบด้วย 1.1 การพัฒนากับสิ่ งแวดล้อม 1.2 เศรษฐกิจกับนิเวศวิทยา 2. ลักษณะของการพัฒนาที่ยง่ั ยืน 2.1 เป็ นบูรณาการหรื อองค์รวม 2.2 มีดุลยภาพ 3. จุ ดมุ่ง หมายของการพัฒนา คื อการทาให้ กิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ส อดคลองกับ กฎเกณฑ์ ของธรรมชาติ และให้คนมีจริ ยธรรม

พระราชวรมุนี 1. การพัฒนาที่ยง่ั ยืนประกอบด้วย 1.1 ภาวนา 1.2 พัฒนา 2. ลักษณะของการพัฒนาที่ยง่ั ยืน 2.1 เน้นคนเป็ นศูนย์กลาง 2.2 อาศัยหลักไตรสิ กขา 2.3 เป็ นบูรณาการ ไมเน้นด้านใดด้านหนึ่ง 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนา คือการสร้างสันติ สุ ข การอยู ร่ว มกันระหว่า งมนุ ษ ย์ก ับ ธรรมชาติ และต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอรอบด้าน ที่มา: เพ็ญพิสุทธ์ หอมสุ วรรณ, 2550, มหาวิทยาลัยมหิดล หนทางนาไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืนบนพืน้ ฐานเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีคนเป็ นศู นย์ กลางการ พัฒนา กิเลส ตัณหาที่มีอยูใ่ นตัวคน จึงเป็ นปัญหาอุปสรรค์ที่จะทาให้โลกไม่สามารถเดินไปสู่ การ พัฒนาอย่างยัง่ ยืนได้กิเลส 3 ตัว ดังที่ (โอเคเนชัน่ , 2552 อ้างถึง พระธรรมปิ ฎก (ป.อ ปยุตโต)) ได้ อธิ บายความไว้ดงั นี้ ตัณหา คือ ความอยากได้ความสุ ขสะดวกสบายที่เต็มไปด้วยวัตถุที่มากมายสมบูรณ์ มานะ คือ ความ อยากมีอานาจครอบงาผูอ้ ื่น ทิฎฐิ คือ ความยึดมัน่ จนกลายเป็ นค่านิยม แนวความคิดสิ ทธิ ศาสนา อุดมการณ์ต่างๆ ใน องค์ประกอบทั้ง 3 นี้ ทิฎฐิทาให้เกิดผลเสี ยต่อมนุษย์มากที่สุด จะเห็ นได้ว่าตัวกิ เลสเป็ นอุ ปสรรคต่ อการพัฒนาที่ ยงั่ ยืน ถ้า ไม่ส ามารถขจัดออกจากตัว มนุ ษ ย์ไ ด้ เพราะตัว กิ เ ลสตัณ หานี้ เป็ นตัว ที่ ท าลายทุ ก อย่ า งในโลก เพื่ อ สนองความอยากได้ ผลประโยชน์ ความอยากมีอานาจความยิ่งใหญ่หรื อความยึดมัน่ ถือมัน่ ในค่านิยมอุดมการณ์ มนุษย์ ทาร้ายสิ่ งรอบตัวไม่วา่ จะเป็ นทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ สรรพสิ่ ง หรื อแม้แต่มนุษย์ดว้ ยกันเอง เพื่อ


38 สนองต่อกิเลส ดังจะเห็นได้จากการเกิดภัยธรรมชาติ น้ าท่วม สึ นามิ ต้นเหตุเกิดจากมนุษย์ไปทาการ ตัดไม้ทาลายป่ า และทาลายระบบนิเวศวิทยา ผลสุ ดท้ายก็คือ มนุษย์จะประสบกับความพินาศเอง ดังนั้นการที่จะทาให้มนุ ษย์ลดละจากกิ เลสที่เป็ นตัวปั ญหาก็คือ การพัฒนาด้านจิตใจ ให้ มนุษย์มีมโนสานึกที่ดี สามารถแยกแยะสิ่ งดีสิ่งชัว่ ด้วยใช้หลักพุทธธรรมมาขัดเกลาจิตใจด้วยการ ใช้หลักไตรสิ กขา คือ ศีล สมาธิ ปั ญญา เมื่อมนุษย์ได้รับการพัฒนาจิตใจให้ดีงามแล้ว มนุษย์ก็จะ เกิ ดปั ญญารู ้ แจ้ง เห็ นจริ ง ลดละจากกิ เลสตัณหาทั้งปวง โดยการสร้ า งดุ ลภาพให้เกิ ดขึ้นระหว่า ง มนุ ษย์ สิ่ งแวดล้อม สังคม เทคโนโลยี ทุกที่จะอยู่อย่างเกื้ อกูลกัน ซึ่ งจะเป็ นหนทางที่จะนาสู่ การ พัฒนาที่ยง่ั ยืน หลักเศรษฐกิจพอเพียง จากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่ สั ง คมไทยอย่า งมากในทุ ก ด้า น ไม่ ว่า จะเป็ นด้า นเศรษฐกิ จ การเมื อ ง วัฒนธรรม สั ง คมและ สิ่ งแวดล้อม รวมถึงกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงนั้น มีความซับซ้อนจนยากที่จะอธิ บาย เพราะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งหมดต่างเป็ นปัจจัยที่เชื่อมโยงซึ่ งกันและกัน สาหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นก็คือ ผลจากการพัฒนาประเทศในด้านบวก ซึ่ งได้แก่ การ เพิ่มขึ้นของอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริ ญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ การมี ระบบสื่ อสารที่ทนั สมัย หรื อการขยายปริ มาณและกระจายการศึกษาอย่างทัว่ ถึงมากขึ้น แต่จากการ เปลี่ ยนแปลงเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะกระจายไปถึงคนในชนบท หรื อผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมน้อยมาก โดยผลกระทบดังกล่าวจะก่อให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เกิดผลในด้านลบตามมา ด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ซึ่ งส่ งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้ง การที่ตอ้ งพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสิ นค้า ความเสื่ อมโทรมขอทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครื อญาติ รวมถึงการใช้ความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกัน มาถูกลืมเลือนและเริ่ ม สู ญหายไป ซึ่ งสิ่ งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชีวิต ซึ่ งเป็ นเงื่อนไข พื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดาเนินชีวิตได้อิสระในการกาหนดชีวิตความเป็ นอยู่ ของตนเอง โดยใช้ค วามสามารถควบคุ ม และจัด การปั ญหาสิ่ ง ต่ า งๆเพื่ อ ให้ ต นเองได้รั บ การ สนองตอบต่อความต้องการด้วยตนเอง


39 หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิ จพอเพียง เป็ นแนวพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทาน เป็ นแนวคิดเพื่อชี้ แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศในทางที่ควรจะเป็ นไป แนวทางการพัฒนาที่ต้ งั บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถี ชี วิตดั้งเดิ มของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา เพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิ วัตน์ โดยมุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมัน่ คง และความยัง่ ยืนของการพัฒนา

ภาพที่ 2-24 ที่มา:

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ปรัชญา พลพุฒินนั ท์ (2555)

รวมถึ ง การค านึ ง ความพอประมาณ ความมี เ หตุ ผ ล การสร้ า งภู มิ คุ ้ม กัน ในตัว เองสู่ หมู่บา้ น และสู่ เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด ตลอดจนใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับวิชาการต่างๆ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบตั ิ และควรมีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริ ตและมีความอดทนในการดาเนินชีวิต ซึ่ ง สิ่ งเหล่านี้ เป็ นคุ ณธรรมที่จะต้องเสริ มสร้างควบคู่ไปกับความรู้ เพื่อใช้ในการตัดสิ นใจและดาเนิ น กิจกรรมต่างๆในการดารงชีวติ โดยจะนาไปสู่ “ความสุ ข” ในการดาเนินชีวติ อย่างแท้จริ ง


40

ภาพที่ 2-25 ขั้นตอนปฏิบตั ิสู่ วถิ ีเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา: มูลนิธิชยั พัฒนา (2550) ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิ จพอเพียง สามารถนาไปสู่ เป้ าหมายของการสร้างความมัน่ คงในทางเศรษฐกิ จใน ระยะยาวได้ โดยการมุ่งเน้นให้ผผู ้ ลิต หรื อผูบ้ ริ โภค พยายามเริ่ มต้นผลิต หรื อบริ โภคภายในขอบเขต ของการมีรายได้ที่จากัด หรื อใช้ทรัพยากรที่มีอยูไ่ ปก่อน ซึ่ งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา ซึ่ งจะทา ให้ผบู้ ริ โภคสามารถควบคุ มการผลิ ตได้ด้วยตนเอง และลดสภาวะการเสี่ ยงจากการไม่สามารถ ควบคุมระบบตลาดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ แนวพระราชดาริในการดาเนินชีวติ แบบพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเข้าใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมื่อได้พระราชทานแนว พระราชด าริ หรื อ พระบรมราโชวาทในด้า นต่ า งๆ จะทรงค านึ ง ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต สภาพสั ง คมของ ประชาชนด้วย เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด ที่อาจนาไปสู่ ความขัดแย้งในทางปฏิบตั ิได้


41 1. ยึดความประหยัด ลดค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่ มเฟื อยในการใช้ชีวติ 2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริ ต 3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้า 4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวติ หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝ่ หาความรู้ ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเป็ นเป้ าหมายสาคัญ 5. ปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่ งชัว่ ประพฤติตนตามหลักศาสนา ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียงในนิ ยามของปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง มิได้หมายความเพียงแค่บุคคล พึ่งตนเองได้ หรื อไม่ใช่ การหยุดอยู่กบั ที่ แต่เศรษฐกิ จพอเพียง มีความหมายกว้างมากกว่า เพราะ เศรษฐกิ จพอเพียงสามารถพัฒนาได้ตามเหตุผลให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และ ยังสามารถประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ท้ งั กับกลุ่มบุคคล ชุมชน และระดับประเทศอีกด้วย โดยสรุ ปคือ เศรษฐกิจพอเพียงมี 3 ระดับ คือ

ภาพที่ 2-16 ระดับของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา: ชัย ราชวัตร (2550) ระดับที่หนึ่ ง เป็ นเศรษฐกิ จพอเพียงแบบพื้นฐานที่เน้นความพอเพียงในระดับบุคคลและ ครอบครัว คือ การที่สมาชิกในครอบครัวมีพอกิน มีอาหาร สามารถสนองความต้องการพื้นฐานหรื อ


42 ปั จจัย สี่ ข องครอบครั วได้ มี ความเป็ นอยู่คุ ณภาพชี วิตที่ ดีก่อน ใช้ส ติ ปั ญญาในการดารงชี วิตไม่ ประมาท รู้จกั การแบ่งปั น พึ่งตนเองและช่วยเหลือกันในครอบครัวได้ ระดับที่สอง เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า คือ ยกระดับความพอเพียงเป็ นระดับกลุ่ม มีการรวมตัวทั้งความคิด ความร่ วมมือ ความช่วยเหลือส่ วนรวม รักษาผลประโยชน์ภายในชุมชน มี การเรี ยนรู ้แลกเปลี่ยนการจัดการและแก้ไขปัญหาร่ วมกัน ของคนในชุมชน มุ่งเน้นความสามัคคีและ สร้างความเข้มแข็งในชุมชน ระดับที่สาม เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวไกลระดับสร้างเครื อข่าย โดยมุ่งไปที่แผนการ บริ หารจัดการประเทศ พัฒนาประเทศให้เจริ ญก้าวหน้าไปอย่างสอดคล้องสมดุลกับสถานภาพความ เป็ นจริ งของคนในประเทศอย่างเป็ นขั้นตอนเป็ นลาดับๆ โดยเน้นความร่ วมมือระหว่างชุมชนกลุ่ม องค์กรเอกชน หรื อธุ รกิจภายนอก เพื่อส่ งเสริ มให้บุคคล/ชุ มชนต่างๆ มีความร่ วมมือในการปฏิบตั ิ ตามแนวทางของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการประยุกต์ ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล ระดับชุมชน และระดับประเทศมี แนวทางดังนี้ ระดับบุคคล 1. รู้จกั “พอ” ไม่เบียดเบียนผูอ้ ื่น 2. พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้มแข็งของตนเอง 3. ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวติ ที่พอเพียง ระดับชุ มชน 1. รวมกลุ่ม ใช้ภูมิปัญญาของชุมชน 2. เอื้อเฟื้ อกัน 3. พัฒนาเครื อข่ายความร่ วมมือ


43 ระดับประเทศ 1. 2. 3. 4.

ชุมชนร่ วมมือกัน วางระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็ นค่อยไป เติบโตจากข้างใน

หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ขององค์ การธุรกิจ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (human resource management) การที่องค์การจะทาภารกิจหลักให้บรรลุวตั ถุประสงค์ จาเป็ นต้องมีบุคลากรที่มีคุณภาพใน ปริ ม าณที่ เ หมาะสม ดัง นั้น การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์จึ ง เป็ นปั จ จัย ส าคัญ อย่ า งหนึ่ งในการ บริ หารงาน เพราะบุ ค ลากรเป็ นผูจ้ ัดหาและใช้ท รั พ ยากรอื่ น ๆ ซึ่ งถ้า องค์ก ารเริ่ ม ต้น ด้วยการมี บุ คลากรที่ ดี ปั จจัยด้า นอื่ นๆก็จะดี ตามไปด้วย การบริ หารทรัพยากรมนุ ษย์เป็ นการดาเนิ นการที่ เกี่ ย วกับ บุ ค คลที่ ถื อ ว่ า เป็ นทรั พ ยากรที่ มี ค่ า ที่ สุ ด ขององค์ก ารเพื่ อ ให้ส ามารถปฏิ บ ัติ ไ ด้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ โดยมีภารกิจหลัก ได้แก่ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การกาหนดงานหรื อออกแบบ งาน การวิเคราะห์งาน การสรรหา การคัดเลื อก การประเมินผลพนักงาน การฝึ กอบรมและพัฒนา ค่าตอบแทนสุ ขภาพ และความปลอดภัย ดังนั้นจึงเป็ นหน้าที่หลักของผูบ้ ริ หารทุกระดับที่จะต้อง รับผิดชอบต่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วัตถุประสงค์ ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 1. 2. 3. 4.

เพื่อสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู ความสามารถเข้ามาทางานในองค์การ เพื่อใช้คนให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เพื่อบารุ งรักษาพนักงานที่มีความสามารถให้อยูก่ บั องค์การนานๆ เพื่อพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถ

ความสาคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 1. ช่ วยให้บุคคลที่ปฏิบตั ิงานในองค์การมีขวัญและกาลังใจในการปฏิบตั ิงานเกิ ดความ จงรักภักดีต่อองค์การที่ตนปฏิบตั ิงาน 2. ช่วยพัฒนาให้องค์การเจริ ญเติบโตและพัฒนายิง่ ขี้น


44 3. ช่วยเสริ มสร้างความมัน่ คงแก่สังคมและ ทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่ (the contemporary management theory) เนื่ องจากทฤษฎี การจัดการแบบเดิ มทฤษฎี เชิ งพฤติก รรม และทฤษฎี วิทยาการจัดการ สามารถนามาใช้โดยตรงกับปั ญหาต่าง ๆ ในปั จจุบนั ได้อย่างจากัด และเจาะจงเป็ นกรณี ๆ ไปตาม เงื่อนไขของแต่ละปั ญหาซึ่งเป็ นผลจากทฤษฎีเหล่านี้มุ่งเน้นการจัดการกับปั ญหาภายในองค์การเป็ น หลักอย่างไรก็ตามตั้งแต่ปี ค.ศ. 1950 เป็ นต้น ดังนั้นช่ วงนี้ ตลาดโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็ น อย่างมากดังนั้นผูจ้ ดั การจาเป็ นต้องแสวงหาวิธีการจัดการใหม่โดยผสมผสานทฤษฎีต่าง ๆอย่าง สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมมากยิง่ ขึ้น ทฤษฎีเชิงระบบ ทัศนะที่อธิ บายถึงผลกระทบจากสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีต่อองค์การถูกเสนอโดย แด เนียบ แคทซ์ ( Daniel Katz) โรเบิร์ต คาห์น (Robert Kahn) และเจมส์ ธอมปสัน(James Thompson) ทฤษฎีเชิ งระบบ เป็ นวิธีการจัดการที่ผสมผสานหน้ าที่การจัดการกิจกรรม และการวางแผนเชิ งกล ยุทธ์เข้าด้วยกันโดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมภายนอกการที่ระบบถูกนามาอธิ บายว่าเป็ นระบบเปิ ดเพราะองค์การต้องมีปฏิสัมพันธกับสภาพแวดล้อมเพื่อความอยูร่ อด ในการใช้ทศั นะเชิงระบบได้ ให้ความสนใจในวิธีการนาส่ วนต่างๆ ของระบบหนึ่ งๆมาทางานร่ วมกันเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิผลซึ่งการนาแนวคิดเชิ งระบบมาใช้ช่วยให้เกิดการรวมพลัง เกิดขึ้นในองค์การ ทฤษฎีตามสถานการณ์ ทฤษฎี ก ารจัดการอี ก ทฤษฎี หนึ่ ง ได้ถู ก พัฒ นาขึ้ นในทศวรรษที่ 1960 ได้แ ก่ ท ฤษฎี ตาม สถานการณ์ โดยทอม เบิร นส์ (Tom Burns) และจีเอ็ม สตัลเกอร์ (G.M. Stalker) ทฤษฎี ตาม สถานการณ์ แตกต่างจากแนวคิด “วิธีการทางานที่ดีที่สุดวิธีเดี ยว”อันเป็ นผลจากการทดลองตาม ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ เพราะทฤษฎีแบบเดิมมีสมมติฐานที่วา่ หลักการจัดการสามารถ นาไปใช้ได้อย่างเป็ นสากลหรื อนาไปใช้ได้ในทุกกรณี โดยไม่ตอ้ งพิจารณาถึ งสภาพแวดล้อมของ องค์ก ารถึ ง แม้จ ะไม่ ถื อ เป็ นกฎเกณฑ์ ที่ ต ายตัว ก็ ต าม ในทฤษฎี ต ามสถานการณ์ เ งื่ อ นไขของ สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อความสามารถในการจัดหาและการใช้ประโยชนจากทรัพยากรเพื่อให้ ได้ผลประโยชน์ สู ง สุ ดดัง นั้นผูจ้ ดั การต้อ งอนุ ญาตให้หน่ วยงานต่ า งๆ ขององค์ก ารจัดการและ ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ในวิถีทางที่ให้ได้รับผลประโยชนสู งสุ ดภายใต้ขอ้ จากัดของ สภาพแวดล้อม


45 นั้น ๆหรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ งผูจ้ ดั การต้องออกแบบองค์การ ระบบการควบคุมการนาและการสร้าง แรงจูงใจให้กบั บุคลากรตามสถานการณ์ ของลักษณะสภาพแวดล้อมองค์การประเด็นสาคัญของ สภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดาเนิ นงานขององค์การคือระดับความเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดล้อมโดยทัว่ ไปสภาพแวดล้อมองค์การยิง่ มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ วมากขึ้นเท่าใดยิ่ง ก่อให้เกิดปั ญหาต่อการจัดหาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรมากยิ่งขึ้นเท่านั้นดังนั้นผูจ้ ดั การจา เป็ นต้องหาวิธีการในการประสานกิจกรรมต่าง ๆเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม ในช่ วงรอยต่ อกับ ยุค วิท ยาการจัดการสภาพแวดล้อ มทางธุ ร กิ จมี ก ารเปลี่ ย นแปลงและ ซับซ้อนมากขึ้นจนมีผลกระทบต่อการจัดการองค์การดังนั้นแนวคิดการจัดการในช่วงนี้ จึงเป็ นการ ผสมผสานแนวคิดการจัดการแบบเดิมการจัดการเชิงพฤติกรรมและวิทยาการจัดการเข้าด้วยกันและ ประยุกต์ใ ช้ภายใต้เงื่ อนไขของสภาพแวดล้อมนั้นๆซึ่ ง พอสรุ ปได้ว่าทฤษฎี ตามสถานการณ์ อาจ เป็ นทฤษฎีอะไรก็ได้ที่มีการนามาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสมกับสถานการณหนึ่งๆ ขั้นตอนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. การวางแผนกาลังคน การวางแผนกาลังคน หมายถึง การะบวนการ การพิจารณาถึงกาลังคนที่ตอ้ งการเพื่อให้ได้ กาลังและปริ มาณที่มีคุณภาพเพียงพอ เพื่อช่วยให้องค์การบรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ กระบวนการในการวางแผนกาลังคนประกอบไปด้ วย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้น ตอนแรก ประมาณก าลัง คนที่ ต้อ งการในอนาคต โดยประมาณจากแผนการผลิ ต แผนการตลาด โดยการประมาณนี้ อาจจะประมาณจากรายได้ของพนักงานจากการขาย หรื อผลผลิต ต่อชัว่ โมงในการทางานรวมทั้งมีการใช้เทคโนโลยีโดยจะขึ้นอยูก่ บั ตัวแปรหลายๆอย่าง ขั้นตอนที่ ส อง วิเ คราะห์ กาลัง คนที่ มี อยู่ ดู จากข้อมูล ในองค์ก ารว่า มี ก าลัง คนเท่ า ไรใน ปั จจุ บ ัน ทัก ษะความช านาญเป็ นอย่า งไร จะมี ปั จ จัย ในเรื่ อ งการเลื่ อนขั้น โอน ย้า ย ลาออก มา พิจารณาด้วย ขั้น ตอนที่ ส าม ด าเนิ น การวางแผน เป็ นการน าขั้น ตอนที่ 1และ2 มาเปรี ย บเที ย บเพื่ อ ตัดสิ นใจ


46 ประโยชน์ของการวางแผนกาลังคน 1. เพื่อใช้กาลังคนให้มีประสิ ทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุ ด 2. เพื่อให้องค์การจัดเตรี ยมกาลังคนได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกาลังคน 4. เพื่อให้ผูเ้ กี่ ย วข้องทุ กฝ่ ายเข้า ใจเกี่ ยวกับ ระบบการจัดการทรัพยากรมนุ ษย์ เกิ ดการ พัฒนาระบบข้อมูลกาลังคน 2. การสรรหา การสรรหา หมายถึ ง กระบวนการในการแสวงหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถเข้ามา ทางานในองค์การซึ่ งกระบวนการเริ่ มต้นขึ้นตั้งแต่การแสวงหาบุคคลเข้ามาทางาน สิ้ นสุ ดเมื่อบุคคล มาสมัครงานในองค์การ แหล่งในการสรรหามี 2 แหล่งใหญ่ๆคือ 1. จากแหล่งภายในองค์การ แบ่งย่อยได้ 2 ลักษณะ คือ 1.1 ผูบ้ งั คับบัญชาเลือกเอง โดยดูจากผลงานของผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อตัวพนักงาน 1.2 ประกาศรับสมัครจากบุคคลภายในองค์การอย่างเป็ นทางการ 2. จากแหล่ งภายนอกองค์การ วิธีน้ ี เป็ นการสรรหาบุคคลภายนอกเข้ามาปฏิบตั ิงานใน องค์การทาให้ได้บุคคลที่มีความเหมาะสมกับตาแหน่ งที่ตอ้ งการโดยตรง เป็ นการนาความคิดหรื อ นวัตกรรมใหม่ๆ เข้าสู่ องค์การได้ วิธีการจัดหาบุคคลภายนอกสามารถทาได้ ดังนี้ 1. พนักงานปัจจุบนั เป็ นผูแ้ นะนา 2. การรับจากบุคคลที่เคยทางานอยูก่ ่อน 3. ติดต่อผ่านกรมแรงงาน 4. ติดต่อผ่านสถาบันการศึกษา 5. การประกาศรับสมัครโดยทัว่ ไป 6. ประมูลหรื อดึงตัวจากบริ ษทั คู่แข่ง 3. การคัดเลือก การคัดเลือก หมายถึง กระบวนการที่องค์การใช้เครื่ องมือต่างๆ มาพิจารณาคัดเลือกบุคคล จานวนมากให้เหลื อตามจานวนที่องค์การต้องการ โดยคัดเลื อกบุคคลที่ตรงตามคุณลักษณะที่ได้ กาหนดไว้ หลังจากที่ได้มีการสรรหาบุคคลทั้งจากแหล่งภายในและภายนอกองค์การ


47 ระบบการคัดเลือกแบ่งเป็ น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ 1. ระบบคุณธรรม เป็ นระบบที่ใช้ความรู้ความสามารถเป็ นตัวคัดเลือก วิธีที่สาคัญของ ระบบนี้ คือ การสอบคัดเลือก แนวคิดของระบบคุณธรรมสามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภท คือ 1.1 หลัก ความเสมอภาค เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ บุ ค คลที่ มี ค วามสามารถและ คุณสมบัติที่กาหนดไว้เข้ามาปฏิบตั ิงาน 2.2 หลักความสามารถ การคัดเลือกบุคคลจะเลือกจากความสามารถที่แท้จริ ง และตรงกับตาแหน่งมากที่สุด 3.3 หลัก ความมัน่ คง เป็ นหลัก ประกันการปฏิ บ ตั ิ งานให้แก่ บุ ค คลที่ ได้รับความ คุม้ ครอง ทาให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานรู ้สึกมัน่ คงในหน้าที่มากขึ้น 4.4 หลัก ความเป็ นกลางทางการเมื อง เป็ นการไม่ เปิ ดโอกาสให้ใ ช้อิท ธิ พ ลทาง การเมืองมาแทรกแซงในการปฏิบตั ิงาน ซึ่ งหลักข้อนี้จะเน้นระบบราชการมากกว่าการทาธุรกิจ 2. ระบบอุ ป ถัม ภ์ เป็ นการคัดเลื อกบุ คคลเข้า ท างาน โดยใช้เหตุ ผลทางการเมื องหรื อ ความสัมพันธ์เป็ นสิ่ งสาคัญในการพิจารณา โดยไม่คานึงถึง ความรู้ความสามารถในระบบนี้ มีหลาย ชื่อที่เรี ยก เช่น ระบบพรรคพวกระบบชุบเลี้ยง เป็ นต้น เมื่อพิจารณาทั้ง 2 ระบบสรุ ปได้วา่ การบริ หารทรัพยากรมนุษย์น้ ีควรจะใช้ระบบคุณธรรม มาเป็ นหลักในการปฏิบตั ิงาน เพื่อเป็ นการสร้างเสริ มกาลังใจให้แก่ผปู้ ฏิบตั ิงาน 4. การปฐมนิเทศ เมื่อองค์การได้ดาเนิ นการคัดเลือกพนักงาน ก็จะนาพนักงานไปบรรจุในตาแหน่งที่กาหนด และขั้นต่อไปคือการจัดปฐมนิเทศ ความสาคัญของการปฐมนิเทศ การปฐมนิเทศนับว่าเป็ นกิจกรรมที่องค์การจะต้องให้ความสาคัญ โดยจะเริ่ มที่ตวั พนักงาน ในแต่ละระดับ เพื่อให้พนักงานปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีความอบอุ่น และคุ น้ เคยกับ การปฏิบตั ิงานซึ่ งจะส่ งผลดีต่อองค์การในอนาคต จุดมุ่งหมายของการจัดการปฐมนิเทศ 1. เพื่อให้พนักงานใหม่รู้จกั ประวัติความเป็ นมาขององค์การ 2. เพื่อให้พนักงานรู ้จกั ผูบ้ งั คับบัญชาระดับต่างๆ 3. เพื่อให้พนักงานใหม่รู้ถึงระเบียบ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิ


48 4. เพื่อให้เกิดความอบอุ่นใจ คลายความกังวล 5. เพือ่ ให้พนักงานได้รู้ถึงการแบ่งสายงาน 5. การทดลองงาน การทดลองงาน หมายถึง การปฏิบตั ิงานโดยมีระยะเวลาเป็ นตัวกาหนดตั้งแต่ 1 เดือน แต่ไม่ เกิน 1 ปี เพื่อที่จะทดลองดูวา่ พนักงานใหม่น้ นั มีความรู้ความสามารถเหมาะสมที่จะปฏิบตั ิงานต่อไป หรื อไม่ 6. การบรรจุคนเข้าทางานและการแต่งตั้ง หมายถึง การที่กาหนดให้พนักงานที่เพิ่งรับเข้ามาทางานใหม่ให้เข้าไปทางานในหน้าที่ใด หน้าที่หนึ่งที่กาหนดให้หลังจากที่ได้ผา่ นขั้นตอนต่างๆ มาแล้ว โดยปกติแล้วการพิจารณาบรรจุและแต่งตั้ง มีวธิ ีการอยู่ 2 วิธีการ คือ 1. การบรรจุและการแต่งตั้งจากผูท้ ี่สอบได้สูงสุ ด โดยเรี ยงลาดับก่อนหลัง ผูท้ ี่ได้คะแนน สู งสุ ดจะได้บรรจุก่อน 2. การบรรจุ และแต่งตั้งโดยใช้หลักหนึ่ งในสามคือ การพิจารณาการบรรจุและแต่งตั้ง โดยดูจากผูส้ อบได้คนใดคนหนึ่งเพียงคนเดียวจากผูส้ อบได้คะแนนสู งสุ ด 3 คน 7. การฝึ กอบรม การฝึ กอบรม เป็ นการเพิ่มพูนสมรรถภาพในการทางานของผูป้ ฏิบตั ิงาน โดยการจัดให้ผทู้ ี่ ทางานได้รับความรู ้ ประสบการณ์ต่างๆ เพิ่มขึ้นหลังจากที่ทางานมาแร้วระยะหนึ่ง โดยผูเ้ ข้ารับการ อบรมและองค์กรจะได้รับผลประโยชน์ ดังนี้ 1. เพิ่มพูนความรู ้และทักษะในการทางานมากขึ้น 2. สร้างขวัญและกาลังใจในการทางาน 3. ทาให้ผลผลิตสู งขึ้น 4. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในด้านต่างๆ ขององค์กร 5. ส่ งเสริ มทัศนคติที่ดีต่อองค์กร เทคนิคทีใ่ ช้ ในการฝึ กอบรม 1. การบรรยาย เป็ นวิธีการฝึ กอบรมที่มีลกั ษณะเป็ นทางการ และเป็ นการติดต่อสื่ อสาร ด้วยวาจาระหว่างผูบ้ รรยายและผูร้ ับฟังการบรรยาย ผูบ้ รรยายจะมีอิทธิพลต่อผูร้ ับฟังการบรรยาย ทั้ง


49 ในแง่การกาหนดขอบเขตของหัวเรื่ องที่จะบรรยาย และในแง่รายละเอียดของเนื้ อหาสาระที่บรรยาย ผูบ้ รรยายจะต้องเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในเรื่ องที่จะทาการบรรยายเป็ นอย่างดี 2. การประชุ มอภิปราย ลักษณะสาคัญของการประชุ มอภิปราย คือ การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มาร่ วมประชุ มปรึ กษาหารื อ แลกเปลี่ ยนความรู้ ความคิดเห็ น และข่าวสารข้อมูลต่างๆ เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจร่ วมกัน ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมทุกคนนั้นจะต้องเป็ นทั้งผูพ้ ูดและผูฟ้ ังใน เรื่ องราวต่างๆ ที่กลุ่มได้รับมอบหมาย 3. การแสดงบทบาทสมมติ ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมแต่ละคนจะได้รับมอบหมายให้แสดง บทบาทอย่างใดอย่างหนึ่ งตามที่กาหนดขึ้น เมื่อได้รับมอบหมายบทบาทเรี ยบร้อยแล้ว จึงปล่อยให้ ทุกคนได้แสดงกันตามลาพัง ส่ วนผูแ้ สดงบทบาทสมมติแต่ละคนจะแสดงปฏิกิริยาและเจรจากัน อย่างไรนั้นเป็ นไปตามธรรมชาติ ตามความรู้สึกนึกคิดของบุคคลนั้นๆ เมื่อการแสดงสิ้ นสุ ดลงแร้ว จะเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอบรมอื่นๆ ที่มิได้ร่วมแสดง วิพากษ์วิจารณ์บทบาทของผูแ้ สดงแต่ ละคนที่แสดงออกมา 4. การศึกษากรณี ตวั อย่าง วิธีการศึกษากรณี ตวั อย่าง คือ การนาเอาประเด็นต่างๆ หรื อ เหตุ การณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ งที่ได้เลือกสรรแล้วว่าเป็ นประโยชน์และเหมาะสม มาให้ผเู้ ข้ารับการ ฝึ กอบรมศึกษาวิเคราะห์แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน 5. การสาธิต ลักษณะสาคัญของการใช้วธิ ีการสาธิตในการฝึ กอบรม คือ จะมีการแสดงให้ เห็ นของจริ งหรื อทาให้ดูจริ งๆ ในสิ่ งที่ตอ้ งการฝึ กอบรม โดยจะมีการอภิปรายประกอบ ซึ่ งโดยวิธี เช่ นนี้ จะทาให้ผูเ้ ข้ารั บการฝึ กอบรมเกิ ดความเข้าใจได้โดยง่ายและอย่างรวดเร็ ว นอกจากวิธีการ สาธิ ตยังช่วยเร่ งให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอบรมเกิดความสนใจที่เรี ยนรู้ และเมื่อได้พบเห็นการปฏิบตั ิอย่าง แท้จริ งแล้ว จะทาให้เกิดความเชื่อมัน่ ในตัวเองมากยิง่ ขึ้น 6. การระดมความคิด ลักษณะสาคัญของวิธีการฝึ กอบรมนี้ คือ การกระตุน้ ให้ผเู้ ข้ารับการ ฝึ กอบรมทุ กคนได้ใช้สมองหรื อแสดงความคิดเห็ นที่กาหนดขึ้นได้อย่างเต็มที่โดยมิตอ้ งกังวลว่า ความคิ ดเห็ นของตนนั้นถู ก ต้องเหมาะสม แล้วในขั้นต่ อไปจึ ง ให้ทุ ก คนร่ วมพิจารณาเลื อกเฟ้ น ความคิดที่ทุกคนหรื อส่ วนใหญ่เห็นสอดคล้องต้องกันว่าดีที่สุดเหมาะสมที่สุดสาหรับกรณี น้ นั ๆ 7. การสัมมนา ลักษณะสาคัญของการสัมมนาคือ เป็ นการประชุมเพื่อพิจารณาถกเถี ยงถึง ประเด็ นที่ ไ ด้กาหนดไว้ โดยผูเ้ ข้า รับ การฝึ กอบรมทุ กคน จะกาหนดให้บุ ค คลหนึ่ ง เป็ นผูน้ าการ ประชุ ม สั ม มนา ผูน้ าการสั มมนาจะจัดเตรี ย มเอกสารประกอบการสัม มนาแจกจ่า ยให้ผูเ้ ข้า ร่ วม สัมมนาทุกคนก่อนล่วงหน้า เพื่อจะได้มีเวลาศึกษาพิจารณาเอกสารเหล่านั้นเสี ยก่อน ส่ วนในการ สัมมนานั้น จะเน้นในด้านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซักถามปัญหาข้อข้องใจ


50

ภาพที่ 2-27 ที่มา :

ขั้นตอนการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ศินารถ ศิริจนั ทพันธ์, มปป.

การบัญชี ทรัพยากรมนุษย์ ในช่วงสองถึงสามทศวรรษที่ผา่ นมา มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของโลก จากเศรษฐกิจฐานอุตสาหกรรมไปสู่ เศรษฐกิจฐานบริ การอย่างเห็นได้ชดั เจน โดยความแตกต่างของ พื้นฐานทั้งสองระบบนั้นอยูท่ ี่ “สิ นทรัพย์” ซึ่ งสิ นทรัพย์ของระบบเศรษฐกิจฐานอุตสาหกรรม ส่ วน ใหญ่จะเป็ นสิ นทรัพย์ทางกายภาพ ได้แก่ โรงงาน เครื่ องจักร หรื อวัสดุ ในทางตรงกันข้าม สิ นทรัพย์ ที่ ส าคัญ ของระบบเศรษฐกิ จ ฐานบริ การ ได้แ ก่ ความรู้ และทัศ นคติ ข องพนัก งานที่ ถื อ ว่ า มี ความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ หากเปรี ยบเทียบมูลค่าสิ นทรัพย์ของทั้งสองระบบจะพบว่า มูลค่าสิ นทรัพย์ ทางกายภาพจะมีค่าน้อยกว่าเมื่อเทียบกับทักษะ ความรู้ และความสามารถที่เป็ นมูลค่าสิ นทรัพย์ของ พนักงาน ดังนั้นความสาเร็ จขององค์การในยุคของการเปลี่ยนแปลงในปั จจุบนั จึงได้มาจากคุณภาพ ของทรัพยากรมนุ ษย์ที่มีความรู้ ทักษะ ความสามารถ แรงจูงใจ และความเข้าใจของวัฒนธรรม องค์การ คณะกรรมการสมาคมการบัญชี แ ห่ ง อเมริ ก า (American Accounting Association’s Committee, 1973) ได้ให้คาจากัดความของการบัญชีทรัพยากรมนุษย์ ไว้วา่ คือกระบวนการในการ ระบุ แ ละวัดข้อมู ล เกี่ ย วกับ ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์แ ละท าการสื่ อสารข้อ มู ล ไปยัง ผูท้ ี่ ส นใจ การบัญ ชี ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ไ ม่ เ พี ย งเกี่ ย วข้องกับ การวัด ค่ า ใช้จ่า ยที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ง หมดหรื อเงิ น ที่ ล งทุ นไปกับ ทรัพยากรมนุ ษย์ ที่ ไม่ว่าจะเป็ นการรับสมัครงาน การฝึ กอบรม หรื อการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ เท่านั้น แต่ยงั เป็ นการวัดมูลค่าเชิงเศรษฐกิจของทรัพยากรมนุษย์ในองค์การอีกด้วย


51 การวัดมูลค่ าในการบัญชี ทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดการวัดมูลค่าในการบัญชีทรัพยากรมนุษย์น้ นั แบ่งออกได้เป็ น 2 แนวทางหลัก คือ แนวคิดการวัดแบบต้ นทุน (Cost) 1. ต้น ทุ น ในอดี ต เป็ นต้น ทุ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ที่ ผ่า นมา เช่ น ค่าใช้จ่ายในการสรรหา คัดเลือก ปฐมนิเทศ และฝึ กอบรม เป็ นต้น 2. ต้นทุนค่าเสี ยโอกาส เป็ นต้นทุนที่เกิ ดขึ้นจากสิ่ งที่องค์การไม่ได้รับผลตอบแทนจาก กิ จกรรมที่สูญเสี ยโอกาสไปในการเลื อกทากิ จกรรมอย่างหนึ่ งแทน เช่ น การเลือกพนักงานเข้ามา ทางาน แทนที่จะเลือกการใช้หน่วยงานที่มีความชานาญ 3. ต้นทุนทดแทน เป็ นต้นทุนหรื อค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นหากต้องมีการทดแทนพนักงานที่ได้ ออกจากองค์การไป เช่น ค่าใช้จ่ายในการสรรหา คัดเลือก ปฐมนิเทศ และฝึ กอบรม เป็ นต้น สาหรับการคานวณมูลค่าต้นทุนด้านทรัพยากรมนุ ษย์ มีสูตรที่ใช้ในการคานวณ เช่ น การ คานวณหาต้นทุนในการจ้างพนักงาน ค่าใช้จ่าย(ต่อปี )*+ เงินเดือนและสวัสดิการพนักงานใหม่ (ต่อปี ) ต้นทุนในการจ้างพนักงาน = + เงินเดือนและสวัสดิการกรรมการสอบสัมภาษณ์ (ต่อปี ) (ต่อคน) จานวนพนักงานที่จา้ งทั้งหมดทั้งปี ที่ผา่ นมา *คือ ค่ าโฆษณา ค่ าโทรศัพท์ ค่ าเอกสาร ค่ าใบสมัคร ค่ าตรวจร่ างกาย และค่ าใช้ จ่ายในการปฐมนิเทศ แนวคิดการวัดแบบมูลค่ าเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economic Value) แนวคิดการวัดแบบมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ประกอบไปด้วย วิธีการวัดบนพื้นฐานของมูลค่า เชิงเศรษฐศาสตร์ ของทรัพยากรมนุษย์ในการทางานให้กบั องค์การกับสิ่ งที่องค์การได้รับ สาหรับการคานวณมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ ดา้ นทรัพยากรมนุ ษย์ มีสูตรที่ใช้ในการคานวณ เช่นการหาผลตอบแทนจากการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ (Return on Investment of HR) คือ ROI of HR =

รายได้ – (ค่าใช้จ่ายอื่น) – (ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานทั้งหมด) ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับพนักงานทั้งหมด


52 ผลจากการคานวณจะทาให้ทราบว่า การลงทุนในทรัพยากรมนุ ษย์ทุกๆ 1 บาท จะทาให้ องค์การมีผลตอบแทนกลับมาเป็ นจานวนเงินเท่าใด อย่างไรก็ตาม ในการวัดมูลค่าของทรัพยากรมนุษย์แบบไม่ได้คานึงถึงตัวเลขทางการเงิน ยัง สามารถประเมินหรื อวัดได้จากพฤติกรรมของคนในองค์การ ได้แก่ 1. ทัก ษะหรื อความสามารถ (Skill or Capability Inventory) ได้แก่ การศึ ก ษา ประสบการณ์ และทักษะของบุคลากร 2. การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน (Performance Evaluation) เป็ นการสะท้อนให้เห็นถึง ประสิ ทธิ ภาพของพนักงาน ซึ่ งสามารถวัดได้โดยการเปรี ยบเทียบ หรื อจัดอันดับกับพนักงานในกลุ่ม หรื อแผนกเดียวกัน 3. การประเมินศักยภาพ (Assessment Potential) ได้แก่ การประเมินความสามารถของ บุคลากรสาหรับการส่ งเสริ มและพัฒนางานในตาแหน่งหรื อสายงานที่สูงขึ้น 4. การวัดทัศนคติ (Attitude Measurement) เป็ นการวัดและตรวจสอบความพึงพอใจ หรื อไม่พึงพอใจที่มีต่องาน และสภาพการทางานที่รับผิดชอบ หลักการการบริหารโครงการ การบริ หารโครงการ ต้อ งอาศัยองค์ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การ การบริ หารและพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ การควบคุม และการประเมินผลเพื่อกาหนดกิ จกรรมต่างๆ ของโครงการให้เป็ นไปตามวัตถุ ประสงค์ที่กาหนดไว้ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จากัด ทั้งทรัพยากร บุคคลและอุปกรณ์ เครื่ องมือ รวมทั้งสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ ให้เหมาะสม ความหมายของการบริหารโครงการ การบริ หารโครงการเป็ นการบูรณาการหลักการจัดการเพื่อก าหนดกิ จกรรมและการใช้ ทรัพยากรที่มีอยูจ่ ากัดให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล โดย ผูจ้ ดั การจะต้องเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ในเรื่ องการจัดการเป็ นอย่างดี การบริ หารโครงการ (Project Management) หมายถึง การจัดการใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่ อย่างเหมาะสมและสมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้การดาเนินโครงการบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ ทรัพยากร หมายถึง บุคลากร ความเชี่ยวชาญ ความสามารถที่มีอยู่ ความร่ วมมือของทีมงาน เครื่ องมือ เครื่ องใช้ และสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆตลอดจนข้อมูล ระบบงาน เทคนิค เงินทุนและ เวลา


53 ความสาคัญของการบริหารโครงการ 1. ทาให้ทราบถึ งวัตถุ ป ระสงค์และหน้า ที่ ต่า งๆของการปฏิ บตั ิ งาน (Objectives and functions) ซึ่ งทาให้เกิดความชัดเจนในการจัดลาดับงาน 2. ท าให้เ กิ ด การประสานงาน (Coordination) อย่า งต่ อ เนื่ องในแต่ ล ะโครงการโดยมี จุดประสงค์รวมที่แผนแม่บทและนโยบายขององค์การ 3. ทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency in utilization of resources) ในการจัดสรรทรัพยากรในโครงการควรคานึงถึงความประหยัดที่สุดเท่าที่จะทาได้ 4. ทาให้เกิ ดผลลัพธ์ หรื อเกิ ดประสิ ทธิ ผลสู งสุ ด (Output and effectiveness) ในการ บริ หารโครงการนั้น ประโยชน์ จากการบริหารโครงการ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ลดความเสี่ ยงจากโครงการ ช่วยให้การดาเนินงานโครงการเป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ทาให้เกิดความเชื่อมัน่ ว่าทุกกิจกรรมดาเนินไปตามทิศทางที่กาหนดไว้ ทาให้เกิดระบบการประสานงานและความร่ วมมือ ช่วยให้สามารถปรับแผนหรื อแก้ปัญหาได้ทนั ท่วงที ทาให้ทราบว่าผลการดาเนินงานโครงการประสบผลสาเร็ จมากน้อยเพียงใด

กระบวนการบริหารโครงการ ในการบริ หารโครงการถึ งแม้จะมีลกั ษณะเฉพาะต่างจากการบริ หารงานประจาแล้ว แต่ เพื่ อให้โครงการต่ างๆ บรรลุ วตั ถุ ประสงค์ องค์ก ารที่รับผิดชอบในการบริ หารโครงการจะต้อง กาหนดภารกิจพื้นฐานในการบริ หารโครงการที่สาคัญ โดยนาเอากระบวนการบริ หารทัว่ ไปมาปรับ ใช้อย่า งเหมาะสม และนาเอาระบบสนับ สนุ นในการท าหน้า ที่ ใ นการบริ หารมาปรั บ ใช้ใ นการ บริ หารโครงการดังนี้ คือ 1. การวางแผนโครงการ ในการบริ หารโครงการนั้นจะทาโดยละเอียด โดยจะกาหนด กิจกรรมต่างๆ ให้สัมพันธ์สอดคล้องกันเป็ นช่ วงๆ เช่น การวางแผนด้านงบประมาณ การวางแผน ด้านบุคลากร เป็ นต้น ซึ่ งการวางแผนโครงการชัดเจนเป็ นระบบดียอ่ มจะทาให้ควบคุมงานได้ง่ายขึ้น 2. การจัดองค์การโครงการ ในการบริ หารโครงการนั้นมักจัดองค์การแบบชั่วคราว มี กาหนดระยะเวลาเริ่ มต้นและสิ้ นสุ ดโครงการ การจัดองค์การจึงอาจจัดแบบการจัดองค์การตาม


54 หน้าที่ (pure functional organization) การจัดองค์การแบบโครงการ (pure project organization)และ การจัดองค์การแบบแมททริ กซ์ (matrix organization) ก็ได้ ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั ลักษณะของโครงการว่า จะเป็ นโครงการแบบใด เช่น ถ้าเป็ นโครงการขนาดใหญ่อาจจะจัดองค์การแบบโครงการ 3. การจัดเจ้าหน้าที่โครงการ ในการบริ หารโครงการต้องเลือกเจ้าหน้าที่เป็ นพิเศษเพราะ ลักษณะงานโครงการนั้นต้องการบุคคลที่มีความสามารถในการประสานงาน การควบคุมงานและ สามารถใช้กลวิธีที่จะทาให้โครงการสาเร็ จได้ ดังนั้นจึงต้องมีการเลือกผูจ้ ดั การโครงการ (project manager) และทีมงานที่เหมาะสม เพราะถ้าทีมงานดี โครงการย่อมบรรลุผลสาเร็ จได้ง่าย 4. การอานวยการโครงการ ในการบริ หารโครงการ ผูจ้ ดั การโครงการจะมีหน้าที่ในการ ประสานงานและควบคุ มงานเพื่อให้บรรลุ วตั ถุ ประสงค์ ตลอดจนการบังคับบัญชาสั่งงานตามที่ ได้รับมอบหมายอานาจหน้าที่จากเจ้าของโครงการ 5. การควบคุมโครงการ มีวตั ถุประสงค์เพื่อที่จะค้นหาสิ่ งที่เบี่ยงเบนหรื อผิดพลาดแล้ว แก้ไขให้ถูกต้องอย่างรวดเร็ ว เพื่อป้ องกันมิให้ผิดพลาดอีกในอนาคต ดังนั้นในการบริ หารโครงการ ผูจ้ ดั การโครงการจะต้องควบคุมทรัพยากรบุคคล ควบคุมงบประมาณและระยะเวลาการดาเนินงาน ตามโครงการ นอกจากนั้นในการบริ หารโครงการกู๊ดแมนและเลิฟ (goodman and love) ยังเสนอว่าถ้าจะ ให้โครงการบรรลุผลสาเร็ จต้องมีระบบสนับสนุนที่สาคัญคือ 1. ระบบสารสนเทศ ในการบริ หารโครงการนั้นจะต้องมีระบบข่าวสารที่ดีเป็ นระบบและ รวดเร็ ว 2. ระบบการติดต่อสื่ อสาร การบริ หารโครงการควรมีระบบติดต่อสื่ อสาร ในแนวดิ่งและ แนวนอน ตลอดจนมีการติดต่อสื่ อสารแบบ 2 ทางด้วย 3. ระบบความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่ คือความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่การ บริ หารโครงการต้องกาหนดไว้ชดั เจน และเฉพาะเจาะจงว่าผูจ้ ดั การมีอานาจหน้าที่เพียงใด หัวหน้า หน่ วยงานมี อานาจหน้า ที่ เพีย งใด เพื่อป้ องกันมิ ใ ห้ก้าวก่ า ยในหน้าที่ ข องกันและกันง่ า ยต่ อการ ควบคุมโครงการด้วย ในกระบวนการบริ หารโครงการที่สมบูรณ์หรื อเต็มระบบนั้นจะประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ที่ต่อเนื่อง 1. การริ เริ่ มโครงการ (project initiation) เป็ นการเริ่ มจัดทาโครงการตามกรอบนโยบาย ปั ญหา และความต้องการขององค์การ โดยจัดทาเป็ นร่ างหรื อข้อเสนอโครงการเพื่อเสนอผูบ้ ริ หาร ระดับสู งพิจารณา


55 2. การวางแผนโครงการ (project planning) เป็ นการกาหนดกิ จกรรมย่อยต่างๆ และ เป้ าหมายทั้งด้านปริ มาณและคุณภาพของกิจกรรมย่อยๆ นั้น กาหนดค่าใช้จ่าย ระยะเวลาดาเนินการ และทรัพยากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตลอดจนผูจ้ ดั การโครงการและทีมงานหรื อผูร้ ับผิดชอบโครงการ 3. การวิเคราะห์โครงการ (project analysis) การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ เป็ น การวิเคราะห์ เพื่อประเมิ นค่ าความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ข องโครงการด้า นเทคนิ คหรื อ วิชาการ ด้านสังคม ด้านสถาบัน ด้านสิ่ งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจและการเงิน จากการศึกษา วิเคราะห์ดงั กล่าวจะช่ วยให้มองเห็ นเป้ าหมายและผลที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละกิ จกรรมชัดเจนขึ้น และสามารถตัดสิ นใจดาเนินโครงการได้อย่างมัน่ ใจโดยมีความเสี่ ยงหรื อข้อผิดพลาดน้อย 4. การปฏิ บตั ิ ตามโครงการ (project implementation) เป็ นการดาเนิ นการตามแผน โครงการที่กาหนดไว้หรื อนาโครงการไปสู่ การปฏิบตั ิ 5. การควบคุมโครงการ ซึ่งประกอบด้วย 5.1 การติดตามโครงการ (project monitoring) เป็ นการตรวจสอบติดตามผลของ โครงการ กิจกรรมที่สาคัญ ได้แก่ การติดตามความก้าวหน้าการเปรี ยบเทียบผลลัพธ์ที่ปรากฏจริ งกับ ผลลัพธ์ที่คาดหวัง การวิเคราะห์ผลกระทบ และการปรับปรุ งโครงการ 5.2 การประเมินโครงการ (project evaluation) เป็ นการตรวจสอบความก้าวหน้า ของโครงการหรื อแผนงาน ตลอดจนผลสัม ฤทธิ์ โดยรวมของโครงการหรื อ แผนงาน เพื่อ การ ปรับปรุ งโครงการหรื อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับโครงการ (ยุติหรื อยุบเลิกโครงการ หรื อขยายโครงการ) 6. การยุติโครงการ (project termination) เป็ นขั้นตอนที่การดาเนินการของโครงการสิ้ นสุ ด ลง ตามระยะเวลาที่ กาหนดไว้ โดยผูจ้ ดั การโครงการจะต้องรายงานผลการดาเนิ น โครงการต่ อ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง หรื อผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจ เพื่อทราบผลการปฏิบตั ิงานโครงการว่าประสบผลสาเร็ จ มากน้อยเพียงใด ถือว่าเป็ นการสิ้ นสุ ดการปฏิบตั ิงานสาหรับโครงการนี้ โครงสร้ างการบริหารโครงการ ในการบริ หารโครงการทัว่ ไปแล้ว ประกอบด้วยคณะบุคคลอย่างน้อยที่สุด 3 ระดับ คือ 1. ระดับ ผูก้ าหนดนโยบายโครงการ เป็ นคณะบุคคลระดับ สู งทาหน้าที่ใ นการกาหนด นโยบาย ระเบี ยบข้อบังคับ ควบคุ ม ติดตาม เร่ งรัด ตรวจสอบ จัดหาทรัพยากรต่างๆ เพื่อดาเนิ น โครงการและอานวยการต่างๆ เพื่อให้การดาเนินโครงการบรรลุผลสาเร็ จ 2. ระดับผูป้ ระสานงานโครงการ เป็ นบุคคลหรื อคณะบุคคลทาหน้าที่ในการนานโยบาย แนวคิดระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่กาหนดไว้แตกเป็ นแผนงานหรื อโครงการ เพื่อการปฏิบตั ิงานและ ประสานงานกับกลุ่มงานหรื อฝ่ ายต่างๆ ภายในองค์การตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การ


56 ดาเนินโครงการเป็ นไปตามแผนที่วางไว้และนอกจากนี้ ยงั ทาหน้าที่ควบคุม ดูแล กากับ ติดตามและ ให้คาแนะนาปรึ กษาการดาเนิ นงานโครงการแก่ระดับผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อเจ้าหน้าที่ประจาโครงการ ด้วย 3. ระดับ ปฏิ บ ตั ิ ง านหรื อเจ้าหน้าที่ ประจาโครงการ เป็ นคณะบุ คคลที่ ท าหน้าที่ ปฏิ บตั ิ โครงการขึ้นตรงกับหัวหน้างานในส่ วนต่างๆของโครงการซึ่ งมีศูนย์รวมอยู่ที่สานักงานโครงการ ระบบการบริ หารโครงการ โครงการได้รับการคัดเลือกหรื อยอมรับให้ดาเนินการได้ การบริ หารโครงการโดยบุคคลที่ รับผิดชอบโครงการและที่เกี่ยวข้องก็จะเกิดขึ้นทันที โดยจะต้องพยายามทาให้กิจกรรมทุกกิจกรรม ของโครงการบรรลุถึงความสาเร็ จใน 3 ลักษณะ คือ 1. โครงการสาเร็ จภายในระยะเวลา (schedule) ที่กาหนดไว้ 2. โครงการสาเร็ จภายใต้งบประมาณ (budget) ที่จดั สรรให้ 3. โครงการสาเร็ จตามวัตถุประสงค์หรื อเป้ าหมาย (objective หรื อ goal) ที่ตอ้ งการ ในขณะเดียวกันการบริ หารโครงการจะเป็ นไปได้ดว้ ยดี ขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบที่สาคัญ คือ 1. ทรั พ ยากร (resources) จะต้อ งมี ท รั พ ยากรสนับ สนุ น ในปริ ม าณและคุ ณ ภาพที่ เหมาะสม 2. การดาเนินงานโครงการ (team) ต้องมีทีมงานที่ทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม 3. ผูบ้ ริ หารโครงการและผูเ้ กี่ยวข้องกับโครงการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในโครงการ เป็ นอย่างดี การบริ หารโครงการต้องดาเนินการเป็ นระบบ จะมีความเกี่ยวพันกับระบบย่อยเป็ นจานวน มากดังนั้นการจะทาให้การบริ หารโครงการประสบความสาเร็ จต้องอาศัยผูบ้ ริ หารโครงการ (project manager) ที่ จะต้องผสมผสานระบบย่อยต่างๆ เข้าด้วยกัน ซึ่ งประกอบด้วยระบบย่อยที่มีลกั ษณะ ต่อไปนี้ 1. ระบบย่อยการจัดหน่ วยงาน (facilitative organizational subsystem) เป็ นการจัด โครงสร้างของอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบและสายงานของกลุ่มผูด้ าเนินโครงการ เพื่อให้สามารถ ดาเนินโครงการไปด้วยดี ชัดเจน คล่องตัว 2. ระบบย่อยการควบคุ มโครงการ (project control subsystem) เป็ นการเลือกวิธีการ ดาเนินการ จัดสรรงบประมาณและการกาหนดระยะเวลาในการดาเนิ นโครงการ เพื่อให้โครงการ บรรลุ ความสาเร็ จตามกาหนดระยะเวลา โดยมีการตรวจสอบความก้าวหน้า ปั ญหาอุปสรรค และ การรายงานผลการดาเนินงานที่ชดั เจน จุดเน้นที่สาคัญ คือ การตรวจสอบงานให้เป็ นตามแผน การ


57 ตรวจสอบปริ มาณและคุ ณภาพของงานให้เป็ นไปตามมาตรฐาน การวิเคราะห์ขอ้ มูลย้อนกลับ การ ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณโครงการ 3. ระบบย่อยการบริ หารจัดการสารสนเทศโครงการ (project management information subsystem) เป็ นการรวบรวมพิจารณาข้อมูลและรายงานต่างๆ เพื่อจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อการบริ หารโครงการให้เกิดประสิ ทธิภาพ เพื่อการตัดสิ นใจร่ วมกันเกี่ยวกับการดาเนินโครงการ 4. ระบบย่อยสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม (cultural ambience subsystem) เป็ นการ พิจารณาถึงสภาพทางวัฒนธรรมของคนในสังคมที่มีอิทธิ พลต่อการบริ หารโครงการ ตลอดจนการ พิจารณาในความรู ้สึก เจตคติค่านิยม ความเชื่อ ของบุคคลในสังคมที่มีต่อโครงการ 5. ระบบย่อยการวางแผน (planning subsystem) เป็ นการดาเนิ นงานที่เกี่ ยวข้องกับการ ก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์ วิ ธี ก ารด าเนิ น งาน การก าหนดระยะเวลา การจัด สรรงบประมาณและ ทรัพยากรอื่นๆ เช่น คน วัสดุอุปกรณ์ เพื่อให้การดาเนินการโครงการบรรลุถึงเป้ าหมายที่กาหนดไว้ 6. ระบบย่อยที่เกี่ ยวข้องกับมนุ ษย์ (human subsystem) เป็ นการดาเนินการเกี่ ยวกับการ สร้างแรงจูงใจให้บุคคลากร ต้องเข้าใจสภาพและความต้องการของคน การทาภารกิจร่ วมกัน การ ติดต่อสัมพันธ์ รวมทั้งความรู ้ ที่เกี่ ยวข้องทางสังคมวิทยา จิตวิทยา มานุ ษยวิทยา และอื่นๆ จะทาให้ เกิดความเข้าใจเห็นใจ สามัคคี ในการที่จะดาเนินโครงการร่ วมกันเพื่อให้สาเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ ได้กาหนดไว้ นอกจากระบบย่อยดัง กล่ า วแล้ว ยัง มีเรื่ องของเทคนิ ค และวิธี ก าร เช่ น เรื่ องของการใช้ เทคนิคที่สาคัญอีกประการหนึ่ง คือ ผูบ้ ริ หารโครงการต้องสามารถบูรณาการและผสมผสานระบบ ย่อยต่ างๆ ของโครงการให้ไ ปด้วยกันและเข้า กันได้ดี โดยปกติแล้วผูบ้ ริ หารโครงการควรจะมี บทบาทที่สาคัญดังนี้ คือ บทบาทให้คาแนะนาปรึ กษาโดยตรง และบทบาทความเป็ นผูน้ าในด้าน การให้บริ การแก่บุคคลในคณะทางาน การวางแผนโครงการ การวางแผน หมายถึ ง กระบวนการวิเคราะห์และการตัดสิ นใจ ของผูบ้ ริ หารที่จะกาหนด วิ ธี ก ารไว้ล่ ว งหน้ า อย่ า งเป็ นระบบเพื่ อ ใช้เ ป็ นแนวทางปฏิ บ ัติ ใ ห้ บ รรลุ ผ ลตามเป้ าหมายและ วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิภาพ จุดมุ่งหมายในการวางแผนโครงการ 1. เพื่อดาเนินงานตามนโยบาย แผนงาน ที่รัฐบาลหรื อหน่วยงานกาหนดไว้


58 2. เพื่อแก้ไขปั ญหาและข้อขัดข้องที่เกิ ดขึ้นในองค์การหรื อสังคมและสนองตอบต่อความ ต้องการขององค์การและประชาชน 3. เพื่อพัฒนางานในองค์การและสังคม 4. เพื่อแสวงหาโอกาสและสิ่ งใหม่ ขั้นตอนการวางแผนโครงการ 1. ขั้นการกาหนดโครงการ จัดเป็ นขั้นตอนแรกที่มีการริ เริ่ มหรื อก่อตัวของโครงการ ซึ่ ง ประกอบด้วยกิจกรรมที่สาคัญคือ 2. ขั้นการจัดทารายละเอียดของโครงการ เป็ นขั้นตอนการร่ างโครงการ ระบุกิจกรรมที่จะ ดาเนินงาน โดยใช้ขอ้ มูลที่ได้จาการศึกษาและสารวจ 3. วัตถุประสงค์ คือผลลัพธ์ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้น หลังจากการดาเนิ นโครงการแล้ว ซึ่ งจะ กาหนดไว้อย่างกว้างๆ มีลกั ษณะเป็ นนามธรรม แต่จะต้องชัดเจน ไม่คลุมเครื อ โครงการหนึ่งๆ อาจ มีวตั ถุประสงค์มากกว่า 1 ข้อก็ได้ และวัตถุประสงค์อาจจาแนกได้ 2 ลักษณะ คือวัตถุประสงค์ทวั่ ไป และวัตถุประสงค์เฉพาะ 4. เป้ าหมาย หมายถึ งการแสดงผลผลิ ตขั้นสุ ดท้ายในแง่ปริ มาณ จานวนหรื อการวัด ความสาเร็ จในช่วงระยะเวลาหนึ่ งๆ เป้ าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์แต่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง มากกว่า มีการระบุส่ิ งที่ตอ้ งการกระทาหรื อการไปถึงชัดเจนกว่าและระบุเวลาที่ตอ้ งการบรรลุ 5. วิธี ดาเนิ นการ เป็ นภารกิ จที่ ผูน้ าโครงการไปปฏิ บ ตั ิ จ ะต้องปฏิ บตั ิ ใ ห้บรรลุ ตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ วิธีดาเนิ นการโดยปกติจะแยกเป็ นกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรม โดยจะ แสดงให้เห็ นอย่างชัดเจนตั้งแต่กิจกรรมเริ่ มต้น จนถึงกิ จกรรมสุ ดท้ายว่ามีกิจกรรมใดที่ตอ้ งทาบ้าง ถ้าเป็ นโครงการที่ไม่ ซับซ้อนมากนักมักจะนิยมใช้แผนภูมิแท่ง 6. สถานที่ดาเนินการ ในการเขียนโครงการจะต้องระบุให้ชดั เจนว่ากิจกรรมนั้นจะจัดทา ณ สถานที่ใด 7. ระยะเวลาในการดาเนินงาน กิจการนั้นจะต้องระบุต้ งั แต่เริ่ มต้นโครงการจนกระทัง่ ถึง เวลาเสร็ จสิ้ นโครงการว่า ใช้เวลาทั้งหมดเท่าใด 8. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ การเขียนโครงการต้องระบุ ชื่อหน่ วยงานหรื อชื่ อผูร้ ับผิดชอบ โครงการไว้ดว้ ย เพื่อจะได้ทราบว่าโครงการนี้ อยู่ในความรับผิดชอบของใคร เมื่อมีปัญหาจะได้ ติดต่อประสานงานได้ง่าย


59 9. งบประมาณและทรัพ ยากรที่ ตอ้ งใช้ การเขีย นโครงการทุก โครงการจะต้องระบุ งบประมาณและทรัพยากรที่จะต้องใช้ เช่น ระบุจานวนเงิ นเท่าไร แยกเป็ น หมวดวัสดุ หมวดค่าใช้ สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดครุ ภณั ฑ์ ให้ชดั เจน 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ การเขียนโครงการต้องแสดงถึงผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับเมื่อ โครงการเสร็ จสิ้ นแล้ว ทั้งผลทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ จะต้องระบุดว้ ยว่าใครจะได้รับ ประโยชน์ ได้รับประโยชน์อย่างใด ระบุท้ งั เชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ 11. การประเมินผลโครงการ ส่ วนนี้ จะแสดงถึงการติดตามควบคุม และประเมินผล โครงการโดยจะแสดงให้ทราบว่าใช้เครื่ องมืออะไรในการประเมินผล ระยะเวลาในการประเมินผล และใครเป็ นผูป้ ระเมินผล เป็ นต้น 12. ผูเ้ สนอโครงการ 13. ผูอ้ นุมตั ิโครงการ การประเมินผลโครงการ การประเมินโครงการ เป็ นการพิสูจน์วา่ โครงการได้ผลผลิต และผลลัพธ์ตามที่คาดหมาย หรื อไม่ มากน้อยเพียงใด มีปัญหาอุปสรรคในเรื่ องอะไรบ้าง ดังนั้น การประเมินโครงการคือ การใช้ วิธีการของการวิจยั ที่จะวัดประสิ ทธิภาพของโครงการหรื อแผนปฏิ บตั ิการ การกาหนดขอบข่ ายของการประเมิน 1. การประเมินก่อนเริ่ มดาเนินโครงการ เป็ นการประเมินเพื่อวางแผนโครงการ นับตั้งแต่ การกาหนดหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และวิธีดาเนินโครงการ 2. การประเมินระหว่างดาเนินโครงการเป็ นการประเมินกระบวนการ 3. การประเมินหลังสิ้ นสุ ดโครงการ แบ่งออกเป็ น 2 ขั้นตอนคือ 3.1 การประเมินทันทีที่สิ้นสุ ดโครงการ เป็ นการประเมินผลผลิต หรื อผลลัพธ์ของ โครงการ โดยมุ่งตอบคาถามว่าโครงการประสบความสาเร็ จตามแผนที่วางไว้หรื อไม่ผลผลิตของ โครงการเป็ นไปตามวัตถุประสงค์/เป้ าหมายหรื อไม่คุม้ ค่าเพียงใด 3.2 การประเมิ น ภายหลัง สิ้ น สุ ด โครงการแล้ว ช่ ว งระยะเวลาหนึ่ ง เป็ นการ ประเมินผลกระทบ ของโครงการอันเป็ นผลที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากผลผลิตของโครงการ หรื อผลผลิต ของโครงการก่อให้เกิดผลอื่น ๆ ตามมา ซึ่ งเป็ นผลที่มิได้ระบุไว้ในวัตถุประสงค์หรื อเป้ าหมายของ โครงการ


60 การประเมินโครงการฝึ กอบรมของเคิร์กแพททริค (Kirkpatrik) เคิร์กแพททริ ค เสนอรู ปแบบการประเมินผลโครงการฝึ กอบรมไว้ 4 ด้านดังนี้ 1. การประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง เป็ นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของผูเ้ ข้ารับการ อบรมว่ามีความรู ้สึกอย่างไรเกี่ยวกับโครงการฝึ กอบรม 2. การประเมิ น การเรี ย นรู้ เป็ นการประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กับ ผู้เ ข้า รั บ การ ฝึ กอบรมซึ่ งครอบคลุ มทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ โดยเปรี ยบเทียบระหว่างก่อนและหลังการ ฝึ กอบรม 3. การประเมินพฤติกรรม เป็ นการประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูผ้ ่านการ อบรมเมื่อกลับไปทางานแล้วว่าเป็ นไปในทิศทางที่พึงประสงค์หรื อไม่ มีการนาความรู้และทักษะที่ ได้รับจากการฝึ กอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานมากน้อยเพียงใด 4. การประเมินผลลัพธ์ ที่เกิ ดขึ้ นกับองค์กร (Results) เป็ นการประเมินผลลัพธ์หรื อ ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อองค์กร อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูผ้ า่ นการฝึ กอบรมว่า ก่อให้เกิดผลดีต่อองค์กรอย่างไรบ้าง โครงการพัฒนาและประเมินผลทรัพยากรมนุษย์ขององค์ การธุรกิจ สานัก งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ม.ป.ป.: 4-13) ได้ก ล่ าวถึ ง การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การธุ รกิจว่าจาแนกได้ 4 อย่าง ดังนี้ การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร หากองค์การต้องการปรับเปลี่ ยนหรื อพัฒนาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง ซึ่ งมักจะเป็ นส่ วนของ “ปั จจัยที่ ผลัก ดัน ” องค์ก ารต้องเตรี ย มความพร้ อมในส่ วนของ “ปั จจัย สนับสนุ น ” โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง competency ซึ่งถือเป็ นรากฐานสาคัญที่จะสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาขององค์การให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงและกลยุทธ์


61 ในปั จจุบนั แนวคิดเรื่ องการเรี ยนรู้ และการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป โดยมุ่งเน้นให้บุคลากร สามารถนาความรู้ ไ ปใช้ไ ด้ต รงกับ การปฏิ บ ัติ ง านของตน ซึ่ ง จะสะท้อ นออกมาเป็ นผลลัพ ธ์ ที่ สามารถวัดได้และสอดคล้องกับเป้ าประสงค์ทางกลยุทธ์ขององค์การ

ภาพที่ 2-28 เปรี ยบเทียบแนวคิดในการเสริ มสร้างสมรรถนะของบุคลากรแบบเก่า และแบบ ใหม่ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ วิธีในการเสริ มสร้ างสมรรถนะของบุคลากรด้วยแนวคิดแบบเก่าไม่สามารถตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ วและความต้องการใหม่ๆ ขององค์การได้ 1. ให้ความสาคัญกับการจัดหลักสู ตรฝึ กอบรมและการฝึ กอบรมตามตารางที่กาหนด ซึ่ ง หลักสู ตรฝึ กอบรมอาจจะเชื่อมโยงหรื อไม่เชื่อมโยงกับงานปั จจุบนั 2. ขาดการมีส่วนร่ วมจากหน่วยงานต่างๆในการเสนอแนะถึงเนื้อหาการเรี ยนการสอน 3. เนื้อหาของการเรี ยนรู ้ผสมผสานระหว่างหลักแนวคิดและข้อมูล 4. ไม่มีตวั ชี้วดั ผลหรื อประโยชน์จากการเรี ยนรู้ได้ชดั เจน 5. ใช้เวลานานในการเรี ยนรู้ในห้องเรี ยน 6. การเรี ยนรู้เน้นการใช้ความสามารถของผูส้ อนเป็ นหลัก 7. ขาดการสื่ อสารข่าวสารข้อมูลใหม่ๆที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ผลลัพธ์จากวิธีในการเสริ มสร้างสมรรถนะของบุคลากรด้วยแนวคิดแบบเก่า 1. เนื้อหาการเรี ยนรู ้ไม่ตรงกับความจาเป็ นในการปฏิบตั ิงาน 2. การเรี ยนรู้และการพัฒนาไม่ครอบคลุมกับกลุ่มบุคลากรที่ตอ้ งการพัฒนาเร่ งด่วน 3. การเรี ยนรู้จากการฝึ กอบรมอาจไม่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน


62 4. ไม่สะท้อนผลการปฏิบตั ิงานที่ดีข้ ึนอย่างชัดเจน 5. ค่าใช้จ่ายสู งเนื่องจากความเชื่อมโยงระหว่างความจาเป็ นกับการพัฒนาไม่ชดั เจน วิธีในการเสริ มสร้ างสมรรถนะของบุคลากรที่สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ ยนแปลงที่ รวดเร็ วและตอบสนองใหม่ๆขององค์การได้ 1. แนวทางการฝึ กอบรมและการพัฒนามี หลายรู ปแบบนอกเหนื อจากการเรี ย นรู้ ใ น ห้องเรี ยนและถูกกาหนดขึ้นเพื่อสอดรับและสนับสนุนเป้ าหมายขององค์การ 2. มี ส่วนร่ วมจากหน่ วยงานต่างๆในการเสนอแนะถึงเนื้ อหาการเรี ยนรู้ ที่จาเป็ นในการ ปฏิบตั ิงาน 3. บุคลากรสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาได้โดยจัดสรรเวลาของตนเองตามความสะดวก 4. มีตวั ชี้วดั ที่วดั ผลได้เนื่องจากรู้ถึงสาเหตุและความจาเป็ นในการพัฒนาเพื่อให้ปฏิบตั ิงาน ได้ตามที่ตอ้ งการ 5. รู ปแบบการฝึ กอบรมและพัฒนารู ปแบบใหม่สามารถเป็ นช่องทางการสื่ อสารข่าวสาร ข้อมูลใหม่ๆ ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การได้ ผลลัพธ์จากวิธีในการเสริ มสร้างสมรรถนะของบุคลากรด้วยแนวคิดแบบใหม่ 1. เสริ มสร้างศักยภาพที่จาเป็ นในการปฏิบตั ิงานตามเป้ าหมายขององค์การ 2. พัฒนาศักยภาพตรงตามกลุ่มเป้ าหมายที่ตอ้ งการ 3. ระดับผลการปฏิบตั ิงานโดยรวมดีข้ ึนและอาจเห็นผลได้จากการเรี ยนรู้และการพัฒนาได้ อย่างชัดเจน 4. ค่าใช้จ่ายลดลงเนื่องจากให้ความสาคัญในการลงทุนตามความจาเป็ นในการเรี ยนรู้ เพื่อ นาไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน


63

ภาพที่ 2-29 แนวทางการพัฒนาบุคลากรที่จะช่ วยสนับสนุ นการเรี ยนรู้ และการพัฒนาใน รู ปแบบใหม่ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ การเรียนรู้ ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ การเรี ยนรู้ ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ คือ การเรี ยนรู้ และการพัฒนาที่บุคลากรสามารถเรี ยนรู้ ได้ดว้ ยตนเองผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ แทนการเข้าฝึ กอบรมในห้องเรี ยน วัตถุประสงค์ เพื่อเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรขององค์การโดยเน้นการเรี ยนรู้ ด้วยตนเองในเวลาที่เหมาะสมผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนในการดาเนินงาน 1. ศึกษาศักยภาพขององค์การ 1.1 ศึกษาศักยภาพของบุคลากรในองค์การเบื้องต้นว่ามีความรู้ความสามารถในการ ใช้คอมพิวเตอร์มากน้อยเพียงใดและเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเข้าถึงได้มีจานวนเท่าใด


64 1.2 เมื่อศึกษาทั้งสองด้านข้างต้นและเห็นว่าองค์การพร้อมที่จะดาเนินงานแนวทาง นี้ ลาดับต่อไปคือการศึกษาศักยภาพของบุคลากรในส่ วนเทคโนโลยีสารสนเทศว่ามีความพร้อมที่จะ ดาเนินการเองหรื อองค์การมีงบประมาณเพียงพอที่จะจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามา 2. กาหนดทีมงานรับผิดชอบและออกแบบรู ปแบบการจัดทา เมื่อองค์การประเมินศักยภาพของตนและตัดสิ นใจได้แล้วว่าจะดาเนิ นการเองหรื อจัดจ้าง หน่วยงานภายนอกในการออกแบบระบบนั้น บุคลากรที่เข้ามาร่ วมรับผิดชอบอีกส่ วนหนึ่งอาจเป็ น บุคลากรในส่ วนงานฝึ กอบรมที่จะเขามาทางานอย่างใกล้ชิดร่ วมกับส่ วนของการออกแบบระบบ คอมพิวเตอร์ เพื่อกาหนดรู ปแบบหน้าจอการเรี ยนรู้ ที่เป็ นมาตรฐานและง่ายในการใช้งาน ตลอดจน เหมาะสมกับวัฒนธรรมองค์การ 3. กาหนดหลักสู ตรและพัฒนาเนื้อหาในแต่ละหลักสู ตร 3.1 ในขณะเดียวกันนั้น บุคลากรในส่ วนงานฝึ กอบรมต้องกาหนดหลักสู ตรที่คาด ว่าจะใช้เพื่อการเรี ยนรู้ ผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ งการคัดเลื อกหลักสู ตรต้องสอดคล้องกับ ความต้องการในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่องค์การตั้งไว้ 3.2 หากองค์ ก ารมี ก ารจัด ท าแบบทดสอบความสามารถ ไว้ก่ อ นหน้ า นี้ แล้ว ก็ สามารถอ้างอิงข้อมูลการพัฒนา/ฝึ กอบรมที่จาเป็ นและต้องการพัฒนาเพื่อให้บุคลากรมีศกั ยภาพใน การดาเนินงานตามเป้ าขององค์การได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 4. ทดลองการใช้งานผ่านระบบที่ใช้งานจริ งในวงจากัด เมื่ อ ก าหนดหลัก สู ต รและพัฒ นาเนื้ อ หาให้ เ หมาะสมกับ วิ ธี ก ารเรี ย นรู้ ผ่ า นทางระบบ คอมพิวเตอร์ แล้ว ก่ อนที่จะนาระบบไปใช้งานจริ งกับบุคลากร ส่ วนงานที่เกี่ ยวข้องในการจัดทา ระบบและหลักสู ตรต่างๆ ควรทดลองใช้งานกับระบบในวงจากัด เพื่อให้แน่ ใจว่ามีประสิ ทธิ ภาพ ตามที่คาดไว้ 5. ใช้งานในระบบจริ งและติดตามประเมินผล 5.1 เมื่อทดลองการเรี ยนรู้ ผา่ นระบบคอมพิวเตอร์ และมัน่ ใจในการใช้งานแล้วนั้น ทางองค์การควรทาการประชาสัมพันธ์ หรื อสื่ อสารแก่บุคลากรในองค์การให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ ในการจัดทาสารสนเทศให้ทวั่ ถึง 5.2 เมื่ อ ระบบการเรี ย นรู้ ถู ก น าไปใช้ อ ย่า งเป็ นทางการ ส่ ว นงานฝึ กอบรมควร กาหนดระบบการติดตามและประเมินเนื้อหาภายในหลักสู ตรเป็ นระยะๆ เพื่อให้มน่ั ใจว่าหลักสู ตร ต่างๆ มีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการขององค์การ


65 ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. บุคลากรสามารถจัดสรรเวลาในการเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม 2. บุคลากรสามารถเรี ยนรู้ในสิ่ งที่ตนเองต้องการพัฒนาได้ทนั ต่อเหตุการณ์ 3. บุคลากรสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้ในหลากหลายด้านมากขึ้น 4. ค่าใช้จ่ายด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยการเรี ยนรู้ ตามหลักสู ตรในห้องเรี ยนที่ ไม่ได้มาตรฐานในระยะยาวจะลดลง ข้ อพึงระวัง 1. งบประมาณที่ใช้อาจสู งมากในระยะแรกของการเริ่ มจัดทาระบบ 2. องค์ ก ารต้ อ งจัด ท าระบบติ ด ตามและประเมิ น เนื้ อ หาภายในหลัก สู ต รอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภาพเพื่ อให้ ม น่ั ใจว่าความรู้ ที่บุ คลากรในองค์ก ารจะได้รับ ผ่านทางระบบคอมพิ วเตอร์ เป็ นข้อมูลที่ทนั สมัยและมีประโยชน์ในการใช้งาน ณ เวลานั้นๆ 3. ปริ มาณหลักสู ตรในระบบการเรี ยนรู้ผา่ นทางคอมพิวเตอร์ น้ นั อาจมีมากจนเกินไปและ ไม่สอดคล้องกับความต้องการ ทาให้สิ้นเปลืองงบประมาณในการบารุ งรักษา ดังนั้นหากองค์การมี การจัดทาแบบฝึ กหัดความสามารถ มาก่อนแล้ว จะช่วยให้สามารถคัดเลือกหลักสู ตรหรื อเนื้อหาใน ระบบได้ตรงกับความต้องการเพื่อสนับสนุนเป้ าหมายขององค์การมากขึ้น การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน และ การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การเรี ยนรู้ จากการปฏิ บตั ิงานและการเรี ยนรู้ ด้วยตนเอง คือ การฝึ กอบรมระหว่างการ ปฏิบตั ิงานจริ งเพื่อให้ผูเ้ ข้าอบรมเข้าใจถึงวิธีการทางานที่ถูกต้อง จากัดเฉพาะงานที่จะต้องทาจริ ง เท่านั้น โดยให้ผูเ้ ข้าอบรมทางานนั้นๆ ตามปกติแล้วมีผูค้ อยกากับดูแลให้ปฏิบตั ิอย่างถูกต้อง ซึ่ ง อาจจะเป็ นหัวหน้างานหรื อครู ฝึกก็ได้ ทาหน้าที่อธิบายหรื อสาธิตเพิ่มเติมจากการเรี ยนรู้ วัตถุประสงค์ เพื่อเป็ นการสร้างการเรี ยนรู้จากประสบการณ์ในการทางานโดยตรง สิ่ งทีต่ ้ องมีเบือ้ งต้ น ผูท้ ี่สามารถทาหน้าที่เป็ นผูฝ้ ึ กสอนที่มีความรู้ความเข้าใจในการทางานที่ถูกต้อง


66 ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับ 1. ผูท้ ี่ได้รับการฝึ กอบรมได้เรี ยนรู้จากประสบการณ์การเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง 2. ผูท้ ี่ได้รับการฝึ กอบรมสามารถนาสิ่ งที่ได้รับคาแนะนามาใช้ในการปฏิบตั ิงานได้จริ ง 3. สนับ สนุ นให้ ผูท้ ี่เข้ารั บการฝึ กอบรมได้เรี ยนรู้ โดยตรงจากผูส้ อน เนื่ องจากวิธี ก าร ฝึ กอบรมแบบนี้มกั จะทากับกลุ่มเล็กๆ เท่านั้น 4. เป็ นวิธีการฝึ กอบรมที่ค่อนข้างประหยัดงบประมาณในการฝึ กอบรม ข้ อพึงระวัง 1. ผูท้ ี่ ท าหน้า ที่ ใ นการให้ ค าแนะน าจะต้อ งเป็ นผูท้ ี่ มี ค วามรู้ แ ละความเข้า ใจในการ ปฏิบตั ิงานที่แท้จริ งมิฉะนั้นอาจส่ งผลให้เกิดผลการปฏิบตั ิงานที่ผดิ พลาด 2. เป็ นการยากที่ จ ะน าบุ ค คลภายนอกที่ มี ค วามรู้ ค วามช านาญในเรื่ อ งต่ า งๆ มาให้ คาแนะนา ถ้าบุคคลนั้นขาดความเข้าใจในวิธีการปฏิบตั ิงานของส่ วนราชการ 3. ในบางกรณี ผูท้ ี่มีความรู้และความเข้าใจในการทางานด้านนั้นๆ อาจจะไม่มีทกั ษะใน การเป็ นผูฝ้ ึ กสอนที่ดี

ภาพที่ 2-30 เปรี ยบเทียบวิธีการฝึ กอบรมทัว่ ไปกับการเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิงาน ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ


67 การสร้ างเครือข่ ายผู้ทมี่ ีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้ าน การสร้างเครื อข่ายผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน คือ การสร้างเครื อข่ายติดต่อสื่ อสารกับผู-้ ที่มีความเชี่ ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่ งเป็ นพิเศษ เพื่อสนับสนุ นให้ผูอ้ ื่นได้เรี ยนรู้ และแลกเปลี่ ยน ประสบการณ์ อาจจะเป็ นการรวมกลุ่มของส่ วนราชการที่มีประเด็นยุทธศาสตร์ เดียวกันหรื อใกล้เคียงกันเพื่อรวมจัดตั้งเครื อข่ายในการแลกเปลี่ยนความรู้ วัตถุประสงค์ เพื่อเป็ นการสร้ างเครื อข่า ยของการแลกเปลี่ ยนความรู้ และประสบการณ์ จากผูท้ ี่มีความ เชี่ยวชาญในเรื่ องต่างๆ สิ่ งทีต่ ้ องมีเบือ้ งต้ น ข้อมูลของผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ ตามสาขาที่องค์การต้องการจะจัดตั้งโครงการ ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับ 1. สามารถศึกษาแนวความรู้จากผูเ้ ชี่ยวชาญในด้านนั้น 2. สามารถใช้ประโยชน์จากประสบการณ์และทาให้ ได้รับมุมมองที่กว้างขึ้นหรื อแตกต่าง จากกรอบเดิมที่เคยคิด 3. เป็ นการนาความรู้และประสบการณ์ที่มีอยูแ่ ล้วมาขยายผลในวงกว้าง 4. เป็ นการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกันและกัน และเป็ นการนาองค์ความรู้ที่มีอยูม่ าใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุ ด 5. เป็ นการประหยัดเวลาในการค้นหาหรื อเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง ข้ อพึงระวัง 1. ประสบการณ์ จากผูท้ ี่มีความสามารถด้านนั้นๆ อาจไม่สามารถนามาใช้ได้ทนั ที เพราะ อาจจะมีสภาวะแว้ดล้อม และสถานการณ์ ที่ต่างกัน ซึ่ งผูท้ ี่นาความรู้ เหล่า นั้นมาใช้ตอ้ งพิจารณาสิ่ ง แวดล้อมและปั จจัยอื่นๆเป็ นองค์ประกอบ


68 2. ในบางกรณี ผศู้ ึกษาอาจจะเชื่อถือแนวทางที่ได้รับมาจนมากเกินไป จนไม่กล้าที่จะปฏิบตั ิ หรื อคิดอะไรแตกต่างจากแนวทางที่ได้รับมา และในที่สุดก็จะไม่พยายามที่จะคิดอะไรใหม่ๆด้วย ตนเอง 3. ในบางกรณี ผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญอาจจะไม่มีทกั ษะในการสื่ อสารที่ดีพอ และอาจจะไม่ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผอู้ ื่นเข้าใจอย่างที่หน่วยงานต้องการได้ ขั้นตอนในการดาเนินงาน 1. สรรหา/พิจารณาผู้ ที่มีคุณสมบัติ 1.1 ส่ วนราชการควรเริ่ มต้นจากการสรรหาหรื อพิจารณาผูท้ ี่มีคุณสมบัติในการมา เป็ นผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านที่ส่วนราชการมีความสนใจที่จะเผยแพร่ ความรู้ 1.2 คุณสมบัติโดยทัว่ ไปของผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญ 1.3 เป็ นผูท้ ี่มีความรู้และประสบการณ์ในสาขานั้นๆเป็ นพิเศษ 1.4 เป็ นผูท้ ี่มีทกั ษะในการสื่ อสารและถ่ายทอดความรู้ 1.5 เป็ นผูท้ ี่มีความตั้งใจและเต็มใจที่จะเผยแพร่ ความรู้ให้กบั ผูอ้ ื่น 2. สร้างช่องทางในการสื่ อสาร 2.1. องค์การจะต้องพัฒนาช่องทางในการสื่ อสารระหว่างผูเ้ ชี่ยวชาญกับผูท้ ี่ตอ้ งการ สอบถามข้อมูล 2.2. โดยช่องทางในการสื่ อสารนั้นอาจจะเป็ นในรู ปแบบต่างๆ เช่น 2.2.1 การพูดคุ ย โดยตรง โดยอาจจะก าหนดวันและเวลาล่ วงหน้า ในแต่ ล ะ สัปดาห์ 2.2.2 การพูดคุยทางโทรศัพท์ 2.2.3 การติดต่อสื่ อสารทางจดหมายอิเลคโทรนิคส์โดยตรง 2.2.4 การติดต่อสื่ อสารทางเวบไซต์โดยการส่ งกระทูถ้ าม-ตอบ 3. กาหนดหลักการและบทบาทหน้าที่ 3.1 กาหนดหลักการในการดาเนินงาน และติดต่อสื่ อสารรวมทั้งบทบาท หน้าที่ของ แต่ละส่ วน 3.2 ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราสร้างช่องทางในการติดต่อสื่ อสารทางเว็บไซท์โดยการส่ ง กระทู ้ ดังนั้นหน้าที่ของผูท้ ี่ดูแลเว็บไซท์จะต้องส่ งต่อกระทูใ้ ห้กบั ผูเ้ ชี่ยวชาญได้ทาการตอบคาถาม หรื อให้คาแนะนา ซึ่งอาจจะต้องมีการกาหนดหลักการว่าจะต้องตอบกลับภายในกี่วนั เป็ นต้น 4. สื่ อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ


69 4.1 ทาการสื่ อสารให้บุคลากรภายในที่มีบทบาทหน้าที่ต่างๆ ได้เข้าใจในบทบาท ของตนเองรวมทั้งหลักการต่างๆ ที่ถูกกาหนดขึ้น 4.2 ทาการสื่ อสารและประชาสัมพันธ์ ให้กบั กลุ่มเป้ าหมายได้รับทราบถึงช่ องทาง ในการติดต่อกับผูเ้ ชี่ยวชาญรวมทั้งวิธีการและหลักเกณฑ์ต่างๆ 5. ประเมินและปรับปรุ ง 5.1 ทาการประเมินประสิ ทธิ ภาพของการจัดตั้งเครื อข่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งจานวน ของ ผูท้ ี่เขามาใช้ประโยชน์ หรื อปรึ กษากับผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญรวมทั้งผลกระทบต่างๆจากการสร้ าง เครื อข่าย 5.2 ปรับปรุ งเครื อข่ายให้มีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้นโดยอาจมุง้ เน้นให้เกิ ดการเผยแพร่ ความรู ้เพิ่มมากขึ้น แนวทางการประเมินเพือ่ คัดเลือกโครงการ ขั้นตอนแรกในการพิจารณาคัดเลือกโครงการคือ โครงการควรจะต้องมีความเกี่ยวข้องกับ กลยุท ธ์ของบริ ษทั หลายบริ ษทั ได้ใช้เงิ นลงทุนไปเป็ นจานวนมากกับสิ่ งที่อาจจะไม่เกี่ ย วข้อง โดยตรงกับ กลยุทธ์ ข องบริ ษ ทั เมื่ อรวบรวมโครงการที่ เกี่ ยวข้องกับกลยุท ธ์ข ององค์ก รมาได้ ครบถ้วนแล้ว การเรี ยงลาดับความสาคัญของโครงการสามารถพิจารณาได้จากปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ความเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ถึงแม้วา่ โครงการที่เลือกมานี้ จะต้องเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ แต่ ระดับความเกี่ ยวข้องอาจจะไม่เท่ากัน โครงการที่มีความสาคัญเป็ นอย่างยิ่งต่อความสาเร็ จของ กลยุทธ์ก็จะเป็ นโครงการที่ควรจะต้องดาเนินการก่อนหรื อมีความสาคัญเหนือกว่าโครงการอื่น 2. อัตราผลตอบแทนของโครงการ นอกจากความเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์แล้ว โครงการที่จะ ดาเนิ นงานควรจะต้องมีผลตอบแทนที่น่าสนใจทั้งนี้เป้ าหมายหลักขององค์กรธุ รกิ จก็คือการสร้าง มูลค่าเพิม่ ให้กบั ผูถ้ ือหุ น้ 3. เงินลงทุนรวมทั้งหมดที่ใช้ถึงแม้วา่ จะมีการวัดผลตอบแทนโครงการเพื่อเปรี ยบเทียบ ความน่ าสนใจของโครงการ แล้วเงิ นลงทุ นรวมของโครงการก็ เป็ นอี ก ปั จจัย หนึ่ งที่ องค์ก รควร จะต้องพิจารณา การที่โครงการสองโครงการมีอตั ราผลตอบแทนที่ใกล้เคียงกัน แต่โครงการหนึ่ ง ต้องใช้เงินลงทุนที่สูงมากกว่าเมื่อเทียบกับอีกโครงการหนึ่ง ก็แสดงว่าโครงการนั้นจะมีความเสี่ ยงที่ สู งกว่าตามไปด้วย 4. ความต้องการใช้ทรัพยากรอื่นๆ ในการดาเนินโครงการ นอกเหนือจากเงินลงทุนที่ตอ้ ง ใช้แล้ว โครงการที่มีผลตอบแทนใกล้เคียงกับโครงการอื่น อาจจะต้องใช้ทรัพยากรอื่นๆ ในจานวน ที่มากกว่า และจะทาให้องค์กรละเลยหรื อขาดการเอาใจใส่ ในการทางานในด้านอื่นๆ อีกด้วย


70 5. เวลาที่ใช้ในการดาเนิ นโครงการ โครงการที่น่าสนใจเป็ นโครงการที่ไม่ควรใช้เวลา มากนัก ถ้าโครงการใดที่ใช้เวลานานมากกว่า โครงการนั้นยิ่งมีความเสี่ ยงมากขึ้น เนื่องจากอาจจะ เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันเกิดขึ้นจากสภาวะแวดล้อมต่างๆ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ ดังนั้นหากปั จจัย อื่นๆ เหมื อนกันแล้ว โครงการที่ใช้เวลาในการดาเนิ นโครงการสั้นย่อมที่จะน่ าสนใจมากกว่า โครงการที่ใช้ระยะเวลาในการดาเนินโครงการนาน 6. ความเกี่ ยวข้องกับโครงการอื่นๆ โครงการที่มีความน่ าสนใจคือโครงการที่เมื่อทา สาเร็ จแล้วยังส่ ง ผลดี ต่อโครงการอื่นๆ อีกด้วย โครงการในลักษณะนี้ จะเป็ นโครงการที่ จะได้ ประโยชน์หลายทาง นอกจากจะบรรลุเป้ าหมายของโครงการเองแล้วยังช่ วยให้โครงการอื่นๆ ที่ ดาเนิ นโครงการอยู่บรรลุ เป้ าหมายตามไปด้วยโครงการในลักษณะนี้ จึงมีความน่ าสนใจมากกว่า โครงการที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการอื่น จากปั จจัยทั้ง 6 ข้อนี้ องค์กรสามารถจะพิจารณาในรายละเอียดในแต่ละหัวข้อ และอาจจะ ทาการให้คะแนนในแต่ละหัวข้อ นอกจากนี้ ยงั อาจจะให้คะแนนน้ าหนักความสาคัญของแต่ละ หัวข้อ ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั สิ่ งที่ผบู ้ ริ หารต้องการจะเน้น โดยทัว่ ไปแล้วปั จจัยที่น่าจะมีความสาคัญสู งสุ ดคือ เรื่ องความเกี่ ยวข้องกับกลยุทธ์ รองลงมาน่ าจะเป็ นเรื่ องของผลตอบแทนโครงการ ส่ วนที่เหลือก็ น่าจะมีระดับความสาคัญใกล้เคียงกัน เมื่อให้คะแนนในแต่ละปั จจัยแล้ว หลังจากนั้นก็นาคะแนน นั้นมาคูณกับค่าน้ าหนักของแต่ละปั จจัยเพื่อที่จะหาคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก และทาการเรี ยงลาดับ ตามความสาคัญของโครงการ และนาไปใช้ในการปั นส่ วนทรัพยากรหรื อเงินลงทุนที่มีจากัดต่อไป เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิง่ ขึ้น การประเมินผลทรัพยากรมนุษย์ขององค์ กรธุรกิจ ดร. นภดล ร่ มโพธิ์ (2552: 4-7) ได้กล่าวถึง การประเมินผลทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรธุ รกิจ ในวารสารธุ รกิจ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดังนี้ ระบบการประเมินผลการปฏิบตั ิงานองค์กรเป็ นสิ่ งที่มีความสาคัญสาหรับธุ รกิจในปั จจุบนั ไม่ใช่ เฉพาะในส่ วนของการแสดงผลของการดาเนิ นงานเท่านั้น การประเมินผลการปฏิ บตั ิงาน องค์กรยังสะท้อนให้เห็นถึงความสาเร็ จหรื อความล้มเหลวของกลยุทธ์ที่ใช้ ซึ่ งหลายครั้งนามาสู่ การ ปรั บกลยุทธ์ ให้เข้ากับ สถานการณ์ จึง กล่ า วได้ว่าระบบการประเมินผลการปฏิ บ ตั ิงานองค์กรจึ ง เปรี ยบเสมือน “สัญญาณชี พ” ขององค์กรธุ รกิ จว่ายังมีสุขภาพที่ดีและแข็งแรงต่อไปหรื อไม่ หรื อ ควรจะต้องถูกรักษาและดูแลใกล้ชิดอย่างเร่ งด่วน ด้วยสาเหตุน้ ี เองจึงทาให้หลายองค์กรมีความพยายามที่จะลงทุนด้วยเงินจานวนมาก เพื่อ สร้างระบบการประเมินผลการปฏิบตั ิงานองค์กรที่จะเป็ นกระจกที่สะท้อนให้เห็นภาพที่ถูกต้องของ


71 องค์กร อันจะนาไปสู่ การแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที แต่อย่างไรก็ตามหลายครั้งเราจะพบว่า ความพยายามเหล่ า นั้น กลับ เป็ นความพยายามที่ สู ญเปล่ า กล่ า วคื อ ระบบการประเมิ น ผลการ ปฏิบตั ิงานองค์กรที่ได้ถูกออกแบบมาเป็ นอย่างดีและใช้เงินจานวนมากนั้นกลับไม่ได้รับการเอาใจ ใส่ หรื อไม่ได้ถูกนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ ซึ่ งนับเป็ นสิ่ งที่น่าเสี ยดายเป็ นอย่างยิง่ และยิง่ ไปกว่านั้น เมื่อทาการสัมภาษณ์ผบู้ ริ หารหลายท่านถึงความสาเร็ จในการนาระบบการประเมินผล การปฏิ บตั ิงานองค์กรไปใช้คาตอบกลับกลายเป็ นว่า “ไม่ทราบว่ามีอะไรบ้างที่จะต้องพิจารณา” “ปั จจัยใดบ้างที่ควรจะต้องทราบ” ดังนั้นบทความนี้ จึงมีจุดมุ่งหมายที่จะสร้าง check list ให้กบั ผูบ้ ริ หาร เพื่อใช้ในการตรวจดูการใช้ระบบการประเมินผลการปฏิบตั ิงานองค์กร หรื ออาจจะเรี ยกได้ ว่าเป็ น “การวัด” ของระบบการวัดผลนัน่ เอง โดยการตรวจสอบนี้ อาจแบ่งออกได้เป็ น 4 หัวข้อ ดังต่อไปนี้ 1. ความครบถ้วนของตัววัดผล 1.1 การวัดความพึงพอใจลูกค้า ซึ่ งรวมถึงลูกค้าทั้งภายในและภายนอกองค์กร และ อาจรวมถึงการรักษาลูกค้า และพฤติกรรมที่สาคัญของลูกค้า 1.2 การวัดความพึงพอใจของผูถ้ ือหุน้ ซึ่ งส่ วนใหญ่จะเป็ นการวัดผลทางด้านการเงิน เช่นกาไร หรื อการเจริ ญเติบโตของยอดขายเป็ นต้น 1.3 การวัดความพึงพอใจของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยอื่นๆ นอกเหนื อจากลูกค้าและผู้ ถือหุน้ เช่นความพึงพอใจของคู่คา้ หรื อพันธมิตรทางการค้าเป็ นต้น 2. ความพร้อมของระบบการประเมินผลองค์กร 2.1 ระบบการวัดมีความถูกต้องและสามารถสะท้อนให้เห็นถึงผลการปฏิบตั ิงานที่ แท้จริ งขององค์กร 2.2 ระบบการวัดมีความสมบูรณ์และครบถ้วนทัว่ ทั้งองค์กร 2.3 ระบบการวัดมีตวั วัดผลที่ไม่มากและไม่นอ้ ยจนเกินไป โดยตัววัดครอบคลุมใน ทุกเรื่ องที่สาคัญ 2.4 ระบบการวัดสามารถสร้างรายงานได้อย่างรวดเร็ วและทันการณ์ 2.5 องค์กรมีเป้ าหมายระยะสั้นและระยะยาวอย่างชัดเจน 2.6 ทุกตัววัดมีคนรับผิดชอบที่ชดั เจน 2.7 ระบบการวัดให้ขอ้ มูลที่เป็ นที่ตอ้ งการของพนักงานทุกระดับ 2.8 ระบบสามารถแจ้งความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที


72 3. ความพร้อมของผูบ้ ริ หารและบุคลากร 3.1 ผูบ้ ริ หารสู งสุ ดให้ความสาคัญในการใช้ระบบการวัดผล 3.2 ผูบ้ ริ หารมีการสื่ อสารกับพนักงานเรื่ องระบบการวัดผล 3.3 พนักงานในองค์กรเข้าใจตัวชี้วดั ทุกตัวที่เกี่ยวข้อง 3.4 พนักงานในองค์กรยอมรับระบบการวัดผล 3.5 พนักงานในองค์กรเห็นประโยชน์ที่ได้รับจากการวัดผล 4. ความง่ายในการใช้ประโยชน์จากระบบการประเมินผลองค์กร 4.1 รายงานรวมถึงแผนภาพต่างๆ สามารถเข้าใจได้ง่าย 4.2 พนัก งานในส่ ว นงานต่ า งๆ ได้รั บ รายงานเฉพาะในเรื่ องที่ เกี่ ย วข้องกับ การ ทางานของตนเท่านั้น 4.3 รายงานสะท้อนให้เห็ นผลการปฏิ บตั ิงานที่ถู กต้องชัดเจน และอยู่ในความ รับผิดชอบของพนักงาน 4.4 พนักงานและผูบ้ ริ หารสามารถเข้าใจรายงานได้อย่างรวดเร็ ว 4.5 รายงานมีบทวิเคราะห์ซ่ ึ งแสดงถึงเหตุผลอย่างถูกต้องและครบถ้วน 4.6 รายงานนาเสนอเฉพาะข้อมูลที่สาคัญและจาเป็ นเท่านั้น 4.7 มีการจัดส่ งรายงานได้อย่างทันเวลา และสม่าเสมอ 4.8 หลังจากอ่านรายงานแล้ว ผูใ้ ช้รายงานทราบทันทีวา่ จะต้องทาการปรับปรุ งการ ดาเนินงานอย่างไรในส่ วนใดบ้าง 4.9 มีการเปรี ยบค่าที่เกิดขึ้นจริ งกับค่าที่ได้จากการวางแผนอย่างชัดเจนในรายงาน 4.10 มีการนาเอาผลที่ได้รับจากรายงานไปใช้ในการปฏิบตั ิงานจริ ง การสร้ างความมั่นคงทางอาหารโดยการเพาะปลูกพืชสวนครัวเกษตรอินทรีย์ อาหารเป็ นปั จจัยที่สาคัญสาหรับมนุ ษย์ ทั้งเป็ นพลังงาน ใช้ประกอบกิ จกรรมเพื่อดาเนิ น ชี วิตประจาวันต่างๆให้แก่มนุษย์ อีกทั้งยังมีส่วนช่วยสร้างความคิดพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์เพื่อ สนองความต้องการความเจริ ญก้าวหน้าอื่นๆ ซึ่ งในปั จจุบนั สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการ ดาเนินชีวิตจากการพึ่งพาตนเอง การเพาะปลูกตามธรรมชาติ เพื่อใช้ในการบริ โภคภายในครัวเรื อน เป็ นหลัก มาเป็ นการผลิตเพื่อการค้า ที่ตอ้ งพึ่งพิงปั จจัยการผลิตทั้งด้านเงินทุน เทคโนโลยี พลังงาน เชื้อเพลิง และระบบตลาด เพื่อให้เกิดการซื้ อขายอาหารเพื่อการบริ โภคมากขึ้น ทาให้เศรษฐกิจโลก ได้เข้า มามีบทบาทมากยิ่งขึ้ น สิ่ ง เหล่ า นี้ ไ ด้ก่อให้เกิ ดผลกระทบต่ อความมัน่ คงของประชาชน โดยเฉพาะความมัน่ คงด้านอาหาร (Food Security) ซึ่ งถือว่าเป็ นปัจจัยพื้นฐานหลักที่สาคัญ


73 ปั ญหาเรื่ องความมัน่ คงทางอาหารในปั จจุบนั เริ่ มเกิ ดขึ้นทั้งในและต่างประเทศ โดยกลุ่มที่ ได้รั บ ผลกระทบมากที่ สุ ด คื อ กลุ่ ม คนที่ มี ฐ านะยากจน เนื่ อ งจากระดับ การบริ โ ภคอาหารมี ความสัมพันธ์กบั ความยากจน ที่ไม่ใช่เรื่ องปริ มาณอาหารเพียงอย่างเดียว แต่หมายความว่าเมื่อเกิ ด วิกฤติราคาอาหารแพง คนจนจะเป็ นกลุ่มแรกๆที่จะได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก เนื่ องจากไม่มี เงินที่จะซื้ออาหาร เพราะรายได้อาจจะไม่เพิ่มขึ้นหรื อเพิ่มขึ้นอย่างจากัด นอกจากนี้ ปัญหาการเข้าถึง อาหารของผูบ้ ริ โภคในชุมชนเมืองต้องพึ่งพาระบบตลาด เช่น ตลาดสด ร้านอาหาร หาบเร่ แผงลอย ซุ ปเปอร์ มาร์ เก็ต ซึ่ งไม่สามารถควบคุ มชนิ ด คุ ณภาพ ความปลอดภัยและราคาของอาหารได้ดว้ ย ตนเอง ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้ช้ ีให้เห็นถึงความไม่มน่ั คงทางอาหารได้ชดั เจน การเพาะปลูกพืชผักสวนครัวแบบเกษตรอินทรี ย ์ ก็เป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งที่สามารถแก้ไข ปั ญ หาเรื่ อง ความมั่นคงทางอาหารได้ ซึ่ งการปลู ก พื ช พื ช ผัก สวนครั ว แบบเกษตรอิ น ทรี ย ์ นั้น หมายถึ ง การเพาะปลูกพืชผักสวนครัวที่เน้นหลักความยัง่ ยืนทั้งทั้งทางสิ่ งแวดล้อม สังคม และ เศรษฐกิจ โดยเน้นหลักที่การปรับปรุ งบารุ งดิน การเคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และนิ เวศการเกษตร เกษตรอินทรี ยล์ ดการใช้ปัจจัยการผลิ ตจากภายนอกและหลี กเลี่ ยงการใช้ สารเคมี สัง เคราะห์ โดยจะใช้เฉพาะวัตถุ ดิบ ที่ ไ ม่ ท าลายทรั พ ยากรธรรมชาติ นอกจากนี้ เกษตร อินทรี ยย์ งั ให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลของวงจรของธาตุอาหาร การประหยัดพลังงาน การ อนุรักษ์ระบบนิเวศการเกษตร และการฟื้ นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการทาเกษตรอินทรี ย ์ จึงมีหลักการสาคัญ 4 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. มิติด้านสุ ขภาพ เกษตรอินทรี ยค์ วรจะต้องส่ งเสริ มและสร้างความยัง่ ยืนให้กบั สุ ขภาพ อย่างเป็ นองค์รวมของดิ น พืช สัตว์ มนุษย์ และโลกสุ ขภาวะของสิ่ งมีชีวิตแต่ละปั จเจกและของ ชุมชน เป็ นหนึ่ งเดียวกันกับสุ ขภาวะของระบบนิเวศ การที่ผืนดินมีความอุดมสมบูรณ์จะทาให้พืช พรรณต่างๆ แข็งแรง มีสุขภาวะที่ดี ส่ งผลต่อสัตว์เลี้ยงและมนุ ษย์ที่อาศัยพืชพรรณเหล่านั้นเป็ น อาหารสุ ข ภาวะเป็ นองค์ร วมและเป็ นปั จ จัย ที่ ส าคัญ ของสิ่ ง มี ชี วิต การมี สุ ข ภาวะที่ ดี ไ ม่ ใ ช่ ก าร ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ แต่รวมถึงภาวะแห่ งความเป็ นอยู่ที่ดีของกายภาพ จิตใจ สังคม และ สภาพแวดล้อมโดยรวม ความแข็งแรง ภูมิตา้ นทาน และความสามารถในการฟื้ นตัวเองจากความ เสื่ อมถอยเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญของสุ ขภาวะที่ดีบทบาทของเกษตรอินทรี ย ์ ด้วยเหตุน้ ี เกษตร อินทรี ยจ์ ึงเลือกที่จะปฏิเสธการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาจัดศัตรู พืช เวชภัณฑ์สัตว์ และสารปรุ งแต่ง อาหาร ที่อาจมีอนั ตรายต่อสุ ขภาพ 2. มิติด้านนิเวศวิทยา เกษตรอินทรี ยค์ วรจะต้องตั้งอยูบ่ นรากฐานของระบบนิ เวศวิทยา และวัฏจักรแห่งธรรมชาติ การผลิตการเกษตรจะต้องสอดคล้องกับวิถีแห่ งธรรมชาติ และช่วยทาให้ ระบบและวัฏจักรธรรมชาติเพิ่มพูนและยัง่ ยืนมากขึ้น ดังนั้นการผลิตการเกษตรจึงต้องพึ่งพาอาศัย


74 กระบวนการทางนิเวศวิทยาและวงจรของธรรมชาติ โดยการเรี ยนรู้และสร้างระบบนิเวศสาหรับให้ เหมาะสมกับการผลิตแต่ละชนิด ดังนั้นการจัดการเกษตรอินทรี ยจ์ ึงจาเป็ นต้องสอดคล้องกับเงื่อนไข ท้องถิ่น ภูมินิเวศ วัฒนธรรม และเหมาะสมกับขนาดของฟาร์ ม เกษตรกรควรใช้ปัจจัยการผลิตและ พลังงานอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ เน้นการใช้ซ้ า การหมุนเวียน เพื่อที่จะอนุ รักษ์ทรัพยากรและ สิ่ งแวดล้อมให้มีความยัง่ ยืนฟาร์ มเกษตรอินทรี ยค์ วรสร้ างสมดุ ล ของนิ เวศน์ก ารเกษตรโดยการ ออกแบบระบบการท าฟาร์ ม ที่ เหมาะสม การฟื้ นฟูระบบนิ เวศท้องถิ่ น และการสร้ างความ หลากหลายทั้งทางพันธุ กรรมและกิจกรรมทางการเกษตร ผูค้ นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การ แปรรู ป การค้า และการบริ โภคผลผลิตเกษตรอินทรี ยค์ วรช่วยกันในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทั้งใน แง่ของภูมินิเวศ สภาพบรรยากาศนิเวศท้องถิ่น ความหลากหลายทางชีวภาพ อากาศ และน้ า 3. มิติด้านความเป็ นธรรม เกษตรอินทรี ยค์ วรจะตั้งอยู่บนความสัมพันธ์ที่มีความเป็ น ธรรมระหว่างสิ่ งแวดล้อมโดยรวมและสิ่ งมีชีวิตความเป็ นธรรมนี้ รวมถึงความเท่าเทียม การเคารพ ความยุติธรรม และการมีส่วนในการปกปั กษ์พิทกั ษ์โลกที่เราอาศัยอยู่ ทั้งในระหว่างมนุ ษย์ดว้ ย กันเอง และระหว่างมนุษย์กบั สิ่ งมีชีวติ อื่นๆในหลักการด้านนี้ ความสัมพันธ์ของผูค้ นที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการผลิตและการจัดการผลผลิตเกษตรอินทรี ยใ์ นทุกระดับควรมีความสัมพันธ์กนั อย่างเป็ น ธรรม ทุกผูค้ นควรได้รับโอกาสในการมีคุณภาพชีวติ ที่ดี และช่วยแก้ไขปั ญหาความยากจน การผลิต อาหารและผลผลิตการเกษตรอื่นๆ ที่เพียงพอ และมีคุณภาพที่ดี การจัดสภาพการเลี้ยงให้สอดคล้อง กับลักษณะและความต้องการทางธรรมชาติของสัตว์ รวมทั้งดูแลเอาใจใส่ ความเป็ นอยู่ของสัตว์ อย่างเหมาะสมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมที่นามาใช้ในการผลิตและการบริ โภค รวมทั้ง ต้องมีการอนุรักษ์ปกป้ อง ความเป็ นธรรมนี้ จะรวมถึงว่า ระบบการผลิ ต การจาหน่าย และการค้า ผลผลิ ตเกษตรอิ นทรี ย ์จะต้องโปร่ ง ใส มีความเป็ นธรรม และมี การนาต้นทุนทางสังคมและ สิ่ งแวดล้อมมาพิจารณาเป็ นต้นทุนการผลิตด้วย 4. มิติด้านการดูแลเอาใจใส่ การบริ หารจัดการเกษตรอินทรี ยค์ วรจะต้องดาเนินการอย่าง ระมัดระวังและรับผิดชอบ เพื่อปกป้ องสุ ขภาพและความเป็ นอยูข่ องผูค้ นทั้งในปั จจุบนั และอนาคต รวมทั้งพิทกั ษ์ปกป้ องสภาพแวดล้อมโดยรวมด้วยเกษตรอินทรี ยเ์ ป็ นระบบที่มีพลวัตรและมีชีวิตใน ตัวเอง ผูท้ ี่เกี่ ยวข้องกับเกษตรอิ นทรี ยค์ วรดาเนิ นกิ จกรรมต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและเพิ่ม ผลผลิ ตในการผลิ ต แต่ในขณะเดียวกันจะต้องระมัดระวังอย่าให้เกิ ดความเสี่ ยงต่อสุ ขภาพและ สิ่ งแวดล้อม ดังนั้นเทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ จะต้องมีการประเมินผลกระทบอย่างจริ งจังและแม้แต่ เทคโนโลยีที่มีการใช้อยูแ่ ล้ว ก็ควรจะต้องมีการทบทวนและประเมินผลกันอยูเ่ นื่ องๆ เกษตรกรและ ผูป้ ระกอบการควรมีการประเมินความเสี่ ยง และเตรี ยมการป้ องกันจากนาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้ และควรปฏิเสธเทคโนโลยีที่มีความแปรปรวนมาก เช่น เทคโนโลยีพนั ธุ วิศวกรรม การตัดสิ นใจ


75 เลือกเทคโนโลยีต่างๆ จะต้องพิจารณาถึงความจาเป็ นและระบบคุณค่าของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้ ที่อาจได้รับผลกระทบ และจะต้องมีการปรึ กษาหารื ออย่างโปร่ งใสและมีส่วนร่ วม ดังนั้นการสร้างความมัน่ คงทางอาหารโดยการเพาะปลูกพืชสวนครัวเกษตรอินทรี ย ์ จึงต้อง มีการนาหลักการสาคัญทั้ง 4 ประการไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด และเราควรที่จะช่วยกันรณรงค์ ให้ประชาชนหันมาเห็นความสาคัญของการพัฒนาประเทศด้านความมัน่ คงทางอาหารให้มากขึ้น มี การนาไปปรับใช้ให้เข้ากับการดาเนินชีวติ ของแต่ละบุคคล อนุรักษ์และฟื้ นฟูประเทศชาติให้พน้ จาก สภาวะวิกฤตความ (ไม่) มัน่ คงทางอาหารให้หมดไป งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง งานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ เกีย่ วกับการใช้ ผกั สวนครัว ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการปลูกผักสวนครัวทีส่ ามารถวัดเป็ นตัวเลขได้ สรณ มรกตวิจิตรการ (2542:83-85) ได้ทาการศึกษาเรื่ องการประเมินผลกระทบทางสังคม และเศรษฐกิ จ จากการส่ ง เสริ มการเกษตรยั่ง ยื น เพื่ อ การส่ ง ออก ต าบลแม่ สุ ก อ าเภอแจ้ห่ ม จังหวัดลาปาง จากการศึกษาสรุ ปผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ได้ดงั นี้ โดยจากเดิมที่ตาบลแห่งนี้ปลูกต้นยาสู บ ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่อนั ตราย ทาให้ชาวบ้านหันมาปลูกพืช เกษตรยัง่ ยืนแทน งานวิจยั เล่มนี้ จึงแสดงผลกระทบหลังจากที่เปลี่ยนมาปลูกพืชยัง่ ยืนเปรี ยบเทียบ กับตอนที่ปลูกต้นยาสู บ ในเรื่ องของรายได้ เกษตรกรที่ทาการเกษตรยัง่ ยืนเพื่อการส่ งออกมีรายได้ที่ แน่ นอนจากผลผลิ ตทางการเกษตรอินทรี ย ์คือ ผักคะน้าที่มีคุณภาพและเป็ นที่ตอ้ งการของตลาด ผูบ้ ริ โภค ประกอบกับเป็ นผักปลอดสารพิษทาให้มีมูลค่า เพิ่มขึ้น เมื่อเปรี ยบเทีย บมูลค่า เพิ่มจาก ผลผลิตผักคะน้าปลอดสารพิษกับใบยาสู บ ในพื้นที่ปลูกจานวน 550 ไร่ เท่ากัน ผักคะน้าได้ผลผลิต รวม 9,625,000 บาท ส่ วนใบยาสู บ ได้ผลผลิ ต 5,280,000 บาท จะเห็ น ได้ว่า รายได้จากการปลู ก ผักคะน้าปลอดสารพิษมีมูลค่าเพิ่มขึ้นถึง 4,345,000 บาท อีกทั้งในเรื่ องการนามาใช้ในการบริ โภค ยังสามารถนามาเป็ นสิ นค้าอุปโภคและบริ โภคตามความจาเป็ นในชี วิตประจาวัน และจะเก็บออม เงินไว้ส่วนหนึ่ง นอกจากนี้ ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ ดินและน้ า มีสภาพและคุณสมบัติดีข้ ึน เนื่ องจากไม่มีสารพิษตกค้างและสารพิษเจือปน มีความหลากหลายทางชี วภาพ มีพืชและสัตว์บาง ชนิดเกิดขึ้น เช่น พืชที่คลุมดิน แหล่งน้ ามีจานวนสัตว์น้ าเพิ่มขึ้น เป็ นต้น


76 ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการปลูกผักสวนครัว สามารถ ใจเตี้ย, (2555: 42) ได้ทาการศึกษาเรื่ องโครงการการพัฒนารู ปแบบการผลิตพืชผัก สวนครัวเพื่อสุ ขภาพของประชาชนชุมชนสลวง – ขี้เหล็ก อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ขอ้ สรุ ป ดังนี้ ส่ วนที่ 1 พบว่า ประชาชนบางส่ วนมีการใช้ที่ดินหลังบ้านและไร่ นาในการเพาะปลูกพืชผัก เพื่อสุ ขภาพ โดยชนิ ดของพืชที่ที่ปลูกส่ วนใหญ่จะเป็ นพืชไร่ ลม้ ลุก เช่ น ถัว่ ฝักยาว ผักกาด พริ ก ตะไคร้ เป็ นต้น นอกจากนี้บางส่ วนยังปลูกชะอม ผักหวานบ้าน ส่ วนที่ 2 ความรู ้เกี่ยวกับการผลิตพืชผักเพื่อสุ ขภาพ พบว่า ประชาชนมีระดับความรู้มาก ที่ ผลผลิตพืชผักเพื่อสุ ขภาพจะต้องได้รับการรับรอง จากหน่วยงานที่เกี่ ยวข้องก่อนจึงจะขายผลผลิต ได้ แต่อย่างไรก็ตามประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชเพื่อสุ ขภาพในมุมมองของการผลิตเพื่อ การบริ โภคในครั ว เรื อ นเท่ า นั้น โดยการปลู ก จะเลื อกพื ชผัก ที่ ใ ช้ใ นการประกอบอาหารใน ชีวิตประจาวันเป็ นหลักแต่ยงั ไม่คิดที่จะลงทุนเพราะคงไม่สามารถแข่งขันกับพืชผักที่ปลูกโดยใช้ สารเคมีการเกษตร ส่ วนที่ 3 การปฏิบตั ิเกี่ยวกับการผลิตพืชผักเพื่อสุ ขภาพ ผลการศึกษายัง พบว่า ประชาชนไม่ รู้จกั การใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในการผลิตปุ๋ ยหมักหรื อนาไปใช้ เพราะคิด ว่ามี กระบวนการที่ ยุ่งยากและใช้เวลานาน และยังขาดการสนับสนุ นทั้งการให้ความรู้ และการ ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ซึ่ งการปลูกพืชผักเพื่อสุ ขภาพสิ่ งจาเป็ น คือ ปุ๋ ยหมัก การใช้ปุ๋ยหมักที่ผลิตจาก เศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร จะช่วยลดหมอกควันได้ดว้ ย และเพิ่มผลผลิตให้สามารถขายได้ ส่ วนที่ 4 การพัฒนารู ปแบบการผลิตพืชผักเพื่อสุ ขภาพ ผลการศึกษา พบว่า ประชาชนที่เข้า ร่ วมโครงการให้ขอ้ เสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้การผลิตปุ๋ ยหมักจากอินทรี ยวัตถุโดยไส้เดือน ดินย่อยสลายเพื่อเป็ นการใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรช่วยลดการเผาเศษวัสดุ เหลือทิ้งในพื้นที่เกษตรกรรมในทางเศรษฐศาสตร์ ว่า การสร้ างแหล่ งเรี ยนรู้ ที่มีกิจกรรมที่ให้ ประชาชนมีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์จะช่วยให้ทศั นคติของประชาชนเปลี่ยนไป ส่ วนการใช้ ไส้เดือนดินเป็ นแนวทางหนึ่งในการผลิตปัจจัยการผลิตที่ง่ายและไม่ตอ้ งใช้ทุนมาก และควรส่ งเสริ ม ให้เกิดการรวมกลุ่มผูส้ นใจอันจะนาไปสู่ การผลิตปุ๋ ยหมักเพื่อการค้าต่อไป


77 งานวิจัยทางจิตวิทยา ต่ อผลทีไ่ ด้ จากการเพาะปลูกผักสวนครัว ผลทางจิตวิทยาทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้วธิ ีการปลูกพืชผักสวนครัว พิศวาส วรรณพัฒน์ (2549: 115-117) ได้ศึกษาเรื่ อง การพัฒนาการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ เรื่ อง การปลูกผักสวนครัว ซึ่งสามารถสรุ ปเป็ นประเด็นทางจิตวิทยาได้ดงั นี้ แผนการจัดการเรี ยนรู ้ทางโรงเรี ยนได้มีการศึกษาจากหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมี การจัดการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเนื้ อหาเกี่ยวกับงานเกษตร เรื่ อง การปลูกพืชผักสวน ครั ว โดยมี ก ารจัดแผนโดยการใช้เครื่ องมื อเป็ นการสร้ า งบทเรี ย นเป็ นภาพการ์ ตูนให้เข้า ใจง่ า ย นอกจากนี้ ยงั มีการจัดปฐมนิ เทศชี้ แจงเกี่ ยวกับการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้แบบโครงงานเชิ งทดลอง แจ้งวัตถุประสงค์การเรี ยน เกณฑ์การวัดและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน กระบวนการทางานกลุ่ม แบบจิ๊กซอ การเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ ข้อตกลงในการการทากิจกรรมตามตารางเรี ยน นอกตารางเรี ยน และวิธีแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน มีการทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) เพื่อตรวจสอบ ความรู ้ พ้ื นฐานของนัก เรี ย นซึ่ ง จากการจัดกิ จกรรม มี ผลท าให้นัก เรี ย นเกิ ดการเรี ย นรู้ อย่า งเป็ น ขั้นตอนตามรู ปแบบของกิจกรรมการเรี ยนรู้ นักเรี ยนจึงมีความรู้ความเข้าใจตรงตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู ้ที่ต้ งั ไว้ มีการพัฒนาการทางด้านการเรี ยนรู้ที่เพิ่มมากขึ้น มีความก้าวหน้าทางการศึกษาในการ เรี ยน อีกทั้งนักเรี ยนยังมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนอีกทั้งแผนการจัดการเรี ยนรู้ยงั ได้ผา่ นการตรวจ แก้ไขข้อบกพร่ องตามข้อบกพร่ องตามข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผคู้ วบคุมวิทยานิพนธ์ การประเมิน ความถู ก ต้อ ง ความเหมาะสมจากผู้เ ชี่ ย วชาญ รวมทั้ง ผ่ า นการทดลองใช้เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ไ ข ข้อบกพร่ องก่ อนนาไปทดลองสอนจริ ง ตามแผนการทดลอง ส่ ง ผลให้แ ผนการจัดการเรี ย นรู้ มี ประสิ ทธิ ภาพ นักเรี ยนสามารถนาประสบการณ์ในชีวิตมาประกอบกันกับการเรี ยนรู้ได้เป็ นอย่างดี และผลจากการเรี ยนรู ้ยงั สามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้ โดยสรุ ป แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลเหมาะสม นักเรี ยน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู ้ สูง ขึ้น และมีค วามพึง พอใจมาก ซึ่ ง ส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้ค รู นา แผนการจัดกิจกรรมนี้ไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนต่อไป งานวิจัยทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ปัญหาทีพ่ บในการบริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์ จากการศึกษาของ วิเชษฐ บุตรเสน่ ห์ (2553: 56) ได้ทาการศึกษาถึงปั ญหาที่พบในการ บริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่ งสามารถสรุ ปได้ดงั นี้


78 1. ด้านการจัดหาทรัพยากรมนุษย์ คือ การคัดเลือกพนักงาน ขาดความยุติธรรม มีการใช้ ระบบอุปถัมภ์มากจนเกิ นไป คือ ระบบที่ใช้ในการบริ หารงานบุคคลนับตั้งแต่การได้มาซึ่ งบุคคล การบารุ งรักษา การพัฒนา โดยใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัว ไม่คานึ งถึงความสามารถของบุคคลเป็ น เกณฑ์ ไม่ใช้ระบบคุ ณธรรม ระบบพวกพ้อง และผลประโยชน์ ส่ งผลให้เกิ ดการคัดเลือกที่ไม่เป็ น ธรรม 2. ด้านการให้รางวัลทรัพยากรมนุษย์ คือ ปั ญหาการเลื่อนขั้นเงินเดือนที่ไม่เป็ นธรรม มี การปรับเงินเดือนตามความสัมพันธ์ส่วนตัว โดยอาจไม่คานึงถึงความสามารถและความรับผิดชอบ ของแต่ ละบุ คคล ซึ่ งเป็ นผลท าให้พนักงานขาดขวัญและก าลังใจในเรื่ องที่ เกี่ ยวกับการเลื่ อนขั้น เงินเดือน วิธีการประเมินถูกครอบงาจากระบบอุปถัมภ์ ทาให้เกิดปั ญหาความไม่ยุติธรรม และไม่ เป็ นธรรม 3. ด้านการพัฒนาทรัพ ยากรมนุ ษย์ คือ การฝึ กอบรมที่ไม่ต่อเนื่ อง และทุนการศึกษาไม่ เพียงพอ พบปั ญหาการส่ งเสริ มพัฒนาบุคลากรในเรื่ องของการให้ทุนศึกษา และฝึ กอบรม ไม่เป็ นไป อย่างเสมอภาคและสอดคล้องกับความต้องการของบุคลากรระหว่างสายข้าราชการส่ วนท้องถิ่นและ พนักงานจ้าง 4. ด้านการธ ารงรั กษาและป้ องกันทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ คือ พนัก งานขาดการจัดกิ จกรรม ส่ ง เสริ ม ความสั ม พัน ธ์ อ ัน ดี ภ ายในหน่ ว ยงาน น าไปสู่ ปั ญ หาความขัด แย้ง ระหว่ า งผู้บ ริ ห าร ผูบ้ งั คับบัญชาและพนักงานในหน่ วยงาน และปั ญหาผูบ้ ริ หารและผูบ้ งั คับบัญชาขาดความรู้เข้าใจ เกี่ยวกับการลงโทษทางวินยั ทาให้เกิดการดาเนินการลงโทษอย่างขาดความยุติธรรม แนวทางในการสร้ างแรงจูงใจในการทางานของบุคลากร จากการศึกษาของ กมลพันธ์ คงสมพงษ์ (2553: 63-64) ได้ได้ทาการวิจยั ถึง แนวทางในการ ส่ งเสริ มแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ในการปฏิบตั ิงานของพนักงาน ซึ่ งสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ บริ ษทั ควรมีการสารวจความคิดเห็นตลอดจนทัศนคติของพนักงาน ที่มีต่อผูบ้ งั คับบัญชา เปิ ดโอกาสให้พนักงาน ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายต่างๆ ที่ผบู้ ริ หารกาหนดไว้ เพื่อลด ความขัดแย้งในการปฏิบตั ิงานในองค์การบริ หารส่ วนตาบลได้ ผูบ้ ริ หารความสร้างตัวชี้ วดั ผลสาเร็ จ ในการปฏิบตั ิงานของพนักงานแต่ละคน โดยปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ผูบ้ ริ หาร จะต้องเป็ นผูท้ ี่พิจารณาดาเนิ นการประเมินผลการปฏิ บตั ิ งานของพนักงานด้วยความระมัดระวัง เพราะในเรื่ องนี้ เป็ นเรื่ องที่มีผลต่อสภาพจิตใจของพนักงานเป็ นอย่างมาก อีกทั้งผูบ้ ริ หารต้องเป็ นที่ ปรึ กษาให้แก่พนักงานทุกคนได้ ช่วยแก้ปัญหาทั้งส่ วนตัวและเรื่ องหน้าที่การงาน ควรให้คาชมเชย ให้รางวัลแก่พนักงาน ซึ่ งเป็ นหลักการอยูท่ ี่ว่ามนุษย์ทุกคนชอบการสรรเสริ ญ และจะต้องทาด้วย


79 ความจริ งใจ ผูบ้ ริ หารจะต้องรับรู ้ความสามารถของพนักงานให้ทว่ั ถึงทุกคน มี การสร้ า งบรรยากาศ ในการทางานในองค์การบริ หาร ให้ทุกคนได้มีความหวัง ที่จะมีโอกาสก้าวหน้า รู้อนาคตของตนเอง และสมควรอย่างยิ่งที่ผบู ้ งั คับบัญชาจะเปิ ดโอกาสให้พนักงานทุกคนได้แสวงหาความก้าวหน้าใน การศึกษาหาความรู ้ เพิ่มเติม เพื่อนาความรู้ที่ได้มาพัฒนาองค์กรในอนาคตต่อไป การจัดสถานที่ ทางานให้มีบรรยากาศในการทางาน ซึ่ งถ้าหากสถานที่ทางานมีบรรยากาศที่ดี ก็จะส่ งผลให้การ ปฏิบตั ิหน้าที่ของพนักงานดีตามไปด้วย ดังนั้น ผูบ้ ริ หารและผูเ้ กี่ยวข้องสมควรที่จะจัดหาเครื่ องมือ อานวยความสะดวกเท่าที่จะสามารถที่ทาได้ นอกจากนี้ ผบู้ ริ หารจะต้องทาตัวเป็ นที่ปรึ กษาที่ดีต่อ พนักงานทุกคน และช่วยแก้ปัญหาในการปฏิบตั ิหน้าที่ให้ทุกด้าน การชมเชยด้วยความจริ งใจ หาก พนัก งานท าดี ก็ ค วรสรรเสริ ญให้ป รากฏใครท าไม่ ดี ต้องมี ม าตรการในการควบคุ ม ดู แลให้ก าร ปฏิบตั ิงานขององค์การมีความต่อเนื่องและเกิดประสิ ทธิผลตามที่ได้กาหนดไว้ แนวทางในการป้องกัน และแก้ ไขปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ จากการศึกษาของ ทศพร วงศทะกัณฑ์ และวิเชษฐ บุตรเสน่ห์ พบว่าแนวทางในการป้ องกัน และแก้ไขปั ญหาการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ มีดงั นี้ 1. ด้า นการจัดหาทรั พยากรมนุ ษ ย์ พบว่า แนวทางการแก้ไขอันดับแรก คือ ฝึ กอบรม ผูบ้ ริ หาร ผูบ้ งั คับบัญชา โดยให้ความรู้ ความเข้าใจในการบริ หารงานบุคคล และสร้างจิต สานึกให้มี ความตระหนักในหน้าที่ โดยนาหลักคุณธรรม และหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการคัดเลือก อันดับ รองลงมา คื อ ถ่ วงดุ ลและลดอานาจผูบ้ ริ หาร และผูบ้ งั คับ บัญชาโดยออกกฏระเบีย บว่า ด้วยการ คัดเลือก ให้มีการแต่งตั้งผูป้ ระเมินในรู ปของ คณะกรรมการการคัดเลือก เพื่อสร้ างความเป็ นกลาง และเป็ นธรรม และมีการเสนอให้มีการสร้าง กระบวนการเลือกผูบ้ ริ หารที่ดีมี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ 2. ด้านการให้รางวัลทรัพยากรมนุษย์ พบว่า แนวทางการแก้ไขอันดับแรก คือ ควรจัดให้ มีการฝึ กอบรมให้ความรู้แก่ผบู้ งั คับบัญชา และผูบ้ ริ หาร โดยเพิ่มหลักคุณธรรม จริ ยธรรม และหลัก ธรรมาภิบาล ควรให้ มีการฝึ กอบรมอย่างสม่ าเสมอ มีการวัดความสามารถและประสิ ทธิ ภาพทุก ระยะ หรื อประจาปี อันดับรองลงมาคือ ควรออกระเบียบให้มีผปู้ ระเมินภายนอกที่เป็ นกลางเข้าร่ วม การประเมิ น การเลื่ อ นขั้น เงิ น เดื อ น เพื่ อ ค้า นและลดอ านาจผู้บ ริ ห าร ควรพัฒ นาระบบการ ประเมิ น ผลความดี ความชอบ การเลื่ อ นขั้น เงิ น เดื อ นที่ มี แ นวทาง ที่ ก าหนดมาตรฐานที่ มี ลักษณะเฉพาะเป็ นขององค์การ 3. ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พบว่า แนวทางการแก้ไขอันดับแรก คือ การฝึ กอบรม ให้ความรู้แกผูบ้ ริ หาร ผูบ้ งั คับบัญชา เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูบ้ ริ หาร ให้มีความรู้ ความเข้าใจ


80 ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และความสามารถด้านการบริ หารงานบุคคล และสร้างจิตสานึกใน การใช้อานาจของตนที่มีอยู่ทางการบริ หารงานบุคคล อีกทั้งควรเพิ่มตาแหน่ งเจ้าหน้าที่บุคลากร เพื่อกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้เกิ ดความชัดเจน และควรพัฒนาบุคลากรที่เกี่ ยวข้องกับการ บริ หารงานบุคคล ควรจัดทาแผนกลยุทธ์ ดา้ นการส่ งเสริ มการศึกษาการฝึ กอบรม การส่ งเสริ มการ พัฒนาอาชีพ และความก้าวหน้า ควรจัดทาแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กาหนดให้ มีการส่ งเสริ มการศึ กษา การฝึ กอบรม และการวางแผนและพัฒนาอาชี พของบุคคลไว้อย่างเป็ น รู ปธรรม พร้อมทั้งมีระบบติดตามประเมินผลการดาเนินการ 4. ด้านการธารงรักษา และป้ องกันทรัพยากรมนุษย์ พบว่า ควรส่ งเสริ มกิจกรรมพนักงาน สัมพันธ์ แบบมีส่วนร่ วมและใช้ช่องทางการสื่ อสารที่เหมาะสม เพื่อเชื่ อมระหว่างฝ่ ายบริ หารและ พนักงาน ในระหว่างพนักงานควรสร้างความเข้าใจซึ่ งกันและกัน โดยการจัดกิ จกรรมแบบมีส่วน ร่ วมต่างๆ อี ก ทั้งควรส่ งเสริ มให้มีการจัดกิ จกรรมสันทนาการ เพื่อสร้ างความใกล้ชิ ด ความไว้ วางใจ และการสื่ อสารสร้างความเข้าใจซึ่ งกันและกัน ฝึ กอบรมให้ผบู้ งั คับบัญชา และผูบ้ ริ หารให้ เกิดความรู ้ ความเข้าใจและสร้างจิตสานึก เพื่อสร้ างความตระหนักในหน้าที่ที่ตอ้ งเสริ มสร้ าง และ พัฒนาให้ผอู ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชามีวินยั ป้ องกันมิให้ผอู้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชากระทาผิดวินยั และดาเนินการ ทางวินยั แก่ผอู ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชา ซึ่ งมีกรณี กระทาผิดวินยั ควรอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรองค์ การใน เรื่ องของมนุษย์ งานวิจัยทางการบัญชี บริหารทรัพยากรมนุษย์ การเปิ ดเผยข้ อมูลการบัญชี ทรัพยากรมนุษย์ จุฑาภรณ์ เบ้าทุม (2550: 103-105) ได้ศึกษาเรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลการบัญชี ทรัพยากร มนุษย์ของบริ ษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย ซึ่ งสามารถสรุ ปเป็ นประเด็นได้ดงั นี้ บริ ษทั ทุกบริ ษทั มีการเปิ ดเผยข้อมูลด้านพนักงาน โดยเปิ ดเผยข้อมูลผ่านรายงานอื่นมากกว่า เปิ ดเผยผ่านรายงานจากประธานกรรมการบริ ษทั ซึ่ งรายงานอื่นที่บริ ษทั ใช้ในการเปิ ดเผยข้อมูล คือ แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี โดยมีหวั ข้อด้านพนักงานมากที่เปิ ดเผยมากที่สุดคือ รายละเอียด ผูบ้ ริ หารและโครงสร้ า งเงิ นทุ น ซึ่ ง จะเป็ นการเปิ ดเผยข้อมูล ที่ เกี่ ย วกับ ประวัติของผูบ้ ริ หาร รายละเอียดของผูถ้ ือหุ ้นและนโยบายในการจ่ายเงินปั นผล รองลงมาคือเรื่ องการจัดการ โดยกลุ่ม อุตสาหกรรมที่มีการเปิ ดเผยมากที่สุดคือ กลุ่มการแพทย์ และกลุ่ มอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่ องดื่มส่ วนกลุ่มอุตสาหกรรมสื่ อและสิ่ งพิมพ์ มีการเปิ ดเผยข้อมูลด้านพนักงานน้อยที่สุด


81 การเปิ ดเผยข้อมูลการบัญชีทรัพยากรมนุษย์ ข้อมูลที่มีการเปิ ดเผยมากที่สุดเป็ นการเปิ ดเผย ด้วยข้อมูลเชิ งปริ มาณที่ มีหน่ วยวัดเป็ นเงินตรา คือ ต้นทุนในการฝึ กอบรมในเรื่ องผลตอบแทน พื้นฐานที่มอบให้แก่ พนักงาน รองลงมาบริ ษทั จะมีการเปิ ดเผยด้วยข้อมูลเชิ งคุณภาพโดยเรื่ องที่ เปิ ดเผยด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพส่ วนใหญ่จะเป็ นเรื่ องต้นทุนการฝึ กอบรมและพัฒนาซึ่ งเปิ ดเผยในเรื่ อง บุคลากรและนโยบายในการพัฒนาบุคลากร ถัดมาคือ ต้นทุนการบารุ งรักษา เช่น สวัสดิการที่มอบ ให้แก่พนักงานในด้านต่างๆและทางด้านข้อมูลเชิ งปริ มาณที่ไม่มีหน่ วยวัดเป็ นเงินตรา ส่ วนใหญ่ บริ ษทั จะเปิ ดเผยเรื่ องต้นทุนการฝึ กอบรมและพัฒนาในหัวข้อต้นทุนการฝึ กอบรม เช่น ในปี 2548 บริ ษทั ได้วางแผนจะส่ งพนักงานในฝ่ ายผลิต จานวน 30 คนไปสัมมนาต่างประเทศและในประเทศ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการทางาน เป็ นต้น และจากการเปิ ดเผยข้อมูลเชิ งปริ มาณที่มีหน่วยวัดเป็ น เงินตราที่บริ ษทั มีการเปิ ดเผยมากที่สุด คือ เรื่ องค่าตอบแทนพื้นฐานของพนักงานซึ่ งเป็ นการเปิ ดเผย ข้อมูลของพนักงานในระดับผูบ้ ริ หารเป็ นส่ วนใหญ่ การเปิ ดเผยข้อมูลการบัญชีทรัพยากรมนุษย์สามารถสรุ ปได้ใน 2 มุมมอง คือ มุมมองแรก ด้านภาพรวม หมายถึง แนวความคิดการเปิ ดเผยข้อมูลการบัญชีทรัพยากรมนุษย์กบั ปั จจัยส่ วนบุคคล และปั จจัยธุ รกิจ พบว่า ปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทางาน และปั จจัยธุ รกิจ ได้แก่ ทุนจดทะเบียน อายุการดาเนินงานของบริ ษทั และประเภทอุตสาหกรรมที่ แตกต่างกันมีแนวความคิดในการเปิ ดเผยข้อมูลการบัญชีทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั ที่จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยไม่แตกต่างกัน แต่หากมองในมุมมองที่ 2 คือ รายละเอียดทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั 2. นโยบายด้านการบัญชีทรัพยากร มนุ ษย์ 3. ปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนทรัพยากรมนุ ษย์ และ 4. การเปิ ดเผยข้อมูลการบัญชี ทรัพยากรมนุษย์ พบว่า มีปัจจัยส่ วนบุคคลอยู่ 2 ปั จจัยที่ทาให้ผบู้ ริ หารมีแนวความคิดที่แตกต่างกัน คือ ผูบ้ ริ หารที่มีเพศแตกต่างกันมีแนวความคิดในนโยบายด้านการบัญชีทรัพยากรมนุษย์ที่แตกต่าง กันและผูบ้ ริ หารที่มีอายุแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั ที่แตกต่างกัน โดยพบว่าช่วงอายุ 30-40 ปี มีความคิดเห็นเกี่ ยวกับทรัพยากรมนุ ษย์ของบริ ษทั มากกว่าช่วงอายุต่า กว่า 30 ปี และช่วงอายุ 41-50 ปี มีความคิดเห็นเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั มากกว่าช่วงอายุ ต่ากว่า 30 ปี และมีปัจจัยธุ รกิจอยู่ 1 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อแนวความคิดที่แตกต่างกัน คือ ประเภท อุตสาหกรรมที่แตกต่างกันมีแนวความคิดเรื่ องนโยบายด้านการบัญชีทรัพยากรมนุษย์ที่แตกต่างกัน โดยอุตสาหกรรมสื่ อและสิ่ งพิมพ์มีแนวความคิดเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีทรัพยากรมนุษย์มากกว่า อุตสาหกรรมอาหารและเครื่ องดื่ม


82 งานวิจัยทางด้ านการประเมินความสาเร็จของโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทิวตั ถ์ มณี โชติ (2542 : 148-149) ได้ศึกษาเรื่ อง การวิเคราะห์ผลกระทบโครงการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ด้วยวิธีการเอชแอลเอ็ม สามารถสรุ ปประเด็นได้ดงั นี้ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ พบว่าในโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์มีผลกระทบต่อนักเรี ยน เกี่ยวกับผูป้ กครองของนักเรี ยน คือ ผูป้ กครองของนักเรี ยนเอาใจใส่ ต่อการเรี ยนของบุตรหลานดีข้ ึน และผูป้ กครองนัก เรี ย นมี เ จตคติ ต่ อ โรงเรี ย นดี ข้ ึ น ซึ่ งเป็ นผลกระทบทางบวกทั้ง สองตัว แปร ผลกระทบดังกล่าวตรงกับผลการประเมินของทุกกลุ่มที่ทาการประเมินโครงการฯ ทั้งนี้เป็ นเพราะ ผลกระทบทั้งสองตรงกับจุดเน้นของโครงการฯ ที่แตกต่างจากโครงการอื่นๆ คือ การให้ชุมชนมี ส่ วนร่ วมในการจัดการศึกษา การเปิ ดโอกาสดังกล่าวทาให้ผปู้ กครองนักเรี ยนได้รับรู้สภาพการจัด การศึกษาของครู สภาพการเรี ยนการสอน ตลอดจนสภาพการเรี ยนของบุตรหลานของตนเอง ซึ่ งมี ผลทาให้ผปู้ กครองนักเรี ยนเอาใจใส่ ต่อการเรี ยนของบุตรหลานและมีเจตคติต่อโรงเรี ยนดีข้ ึน ส่ วนการที่โรงเรี ยนเข้าโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ไม่มีผลกระทบต่อตัวแปรอื่นๆทั้ง ต่อนักเรี ย นและต่ อครู น้ ัน อาจเป็ นเพราะตัวแปรผลกระทบที่ นามาศึ กษานั้นเกี่ ยวกับ ปั จจัย อื่นๆ นอกเหนือจากโครงการฯ อภิปรายได้ดงั นี้ จากการวิเ คราะห์ พ หุ ระดับ รู ป แบบลดหลั่นเชิ ง เส้ น ด้ว ยวิธี ก ารเอชแอลเอ็ม เพื่ อยืนยัน ผลกระทบของโครงการฯ ต่อนักเรี ยนและครู ที่ศึกษา โดยผลกระทบต่อนักเรี ยนศึกษาอิทธิ พลของ ตัวแปรอิสระ 3 ระดับ และผลกระทบต่อครู ศึกษาอิทธิพลของตัวแปรอิสระ 2 ระดับ การพิจารณาผล การวิเคราะห์พิจารณาใน 3 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์ ความผันแปร และอิทธิ พลที่ตวั แปรอิสระต่อ ตัวแปรผลกระทบ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรผลกระทบ เปรี ยบเทียบระหว่างโรงเรี ยนใน และนอกโครงการฯ พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทุกระดับสอดคล้องกัน คือ ตัวแปรคู่ใด ของโรงเรี ย นนอกโครงการฯมี ความสัมพันธ์กนั ตัวแปรทั้งสองของโรงเรี ยนในโครงการฯก็จะ สัมพันธ์ ก ันด้วย แต่มี ตวั แปรจานวนหนึ่ งที่ โรงเรี ย นในโครงการฯสัมพันธ์ก ัน แต่โรงเรี ยนนอก โครงการฯไม่สัมพันธ์กนั ด้วย และในทางกลับกัน มีตวั แปรจานวนหนึ่ง(ซึ่ งไม่มากนัก)ของโรงเรี ยน นอกโครงการฯที่สัมพันธ์กนั แต่โรงเรี ยนในโครงการฯไม่สัมพันธ์กนั รายละเอียดดังนี้ ระดับนักเรี ยน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเดิมของนักเรี ยนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ตัว แปรผลกระทบต่ อ นัก เรี ย นทุ ก ตัว แปรที่ น ามาศึ ก ษาทั้ง โรงเรี ย นในและนอกโครงการฯมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับเจตคติของผูป้ กครองนักเรี ยนต่อโรงเรี ยน ซึ่ งโรงเรี ยนนอกโครงการฯไม่ สัมพันธ์กนั แต่การที่ ผปู ้ กครองนักเรี ยนโรงเรี ยนนอกโครงการฯ เป็ นบิดามารดา มีความสัมพันธ์ ทางบวกกับแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยน


83 ระดับห้องเรี ยน พบว่า การได้รับการพัฒนาจากโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ของครู มี ความสัมพันธ์ ทางบวกกับตัวแปรผลกระทบระดับห้องเรี ยนทุกตัวแปร ทั้งโรงเรี ยนในและนอก โครงการฯ มีตวั แปรของโรงเรี ยนในโครงการฯที่สัมพันธ์กนั แต่โรงเรี ยนนอกโครงการฯไม่สัมพันธ์ กัน คือ การเป็ นกรรมการโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของครู สัมพันธ์ทางบวกกับความสัมพันธ์ ระหว่างครู กบั ชุ มชน การได้รับการยอมรับจากบุคคลภายนอกของครู สัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพ การสอนของครู จานวนโครงการที่ครู เป็ นกรรมการสัมพันธ์ทางบวกกับความสัมพันธ์ระหว่างครู กับ ชุ ม ชนและการเอาใจใส่ ต่ อ หน้า ที่ ข องครู ส าหรั บ โรงเรี ย นนอกโครงการฯ พบว่า จ านวน โครงการที่ครู เป็ นกรรมการสัมพันธ์ทางบวกกับคุ ณภาพการสอนและการได้รับการยอมรับจาก บุคคลภายนอกโรงเรี ยนของครู ระดับ โรงเรี ย น เนื่ องจากไม่มี ตวั แปรผลกระทบระดับ โรงเรี ย น พิจารณาความสัม พันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระเปรี ยบเที ยบระหว่างโรงเรี ยนในและนอกโครงการฯ พบว่า ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรสอดคล้องกัน คือ พบว่ามีสหสัมพันธ์ทางบวกระหว่างตัวแปรคุณภาพการบริ หาร ของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน การเอาใจใส่ ต่อหน้าที่ของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ความสัมพันธ์ระหว่างผูบ้ ริ หาร โรงเรี ยนกับชุ มชน การได้รับการยอมรับจากบุคคลภายนอกของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนการได้รับการ พัฒนาจากโครงการของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน และการนิ เทศ กากับ และติดตามการปฏิบตั ิงานของครู โดยผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ทั้งโรงเรี ยนในและนอกโครงการฯ งานวิจัยทางด้ านวิทยาศาสตร์ ต่ อผลที่ได้ จากการเพาะปลูกผักสวนครัว กรณีศึกษา การสร้ าง “ ม่ านสี เขียว” มาแข่ งขันกับเครื่องปรับอากาศของ บริษัท เคียวเซร่ า คอร์ ปอเรชั่ น ประเทศญีป่ ุ่ น บริ ษทั เคียวเซร่ าคอร์ ปอเรชัน่ จะตั้งอยูใ่ นอดีตเมืองหลวงเก่าแก่อย่าง "เกียวโต" ที่ยงั คงทิ้ง ร่ อ งรอยแห่ ง ประวัติศ าสตร์ อ ัน เก่ า แก่ ผ่า นวัดวาอาราม บ้า นเรื อนของผูค้ น ซึ่ งได้ชื่ อว่า เป็ น บริ ษทั ผูผ้ ลิตเทคโนโลยีที่ทนั สมัยที่สุดแห่ งหนึ่ งของญี่ปุ่น ตลอดเส้นทางไปยังสานักงานใหญ่ของ บริ ษ ทั เคี ย วเซร่ า ใจกลางเมื อ งเกี ย วโต บ้า นเรื อนเก่ า แก่ ที่ พ ยายามอนุ รั ก ษ์ใ ห้ค งสภาพแวดล้อ ม แบบเดิ ม สลับ กับแปลงปลู ก ผัก สี เขี ย ว ขนาบข้า งด้วยอาคารขนาดย่อมและวัดวาอาราม ภาพ จิตรกรรมขนาดใหญ่ประดับอยูบ่ นฝาผนังบริ เวณชั้นล่างต้อนรับผูม้ าเยือนทาให้อาคารสี ขาวโปร่ ง แห่งนี้ ดูผอ่ นคลาย ในวันที่ 28 สิ งหาคม 2552 บริ ษทั เคียวเซร่ า เทคโนโลยี คอร์ปอเรชัน่ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ งเป็ น ผูผ้ ลิตชั้นนาในด้านส่ วนประกอบเซรามิก ซึ่ งพื้นที่บริ เวณรั้วของบริ ษทั เต็มไปด้วย “ม่านสี เขียว” ที่


84 อยูบ่ ริ เวณหน้าสานักงาน ซึ่ งมีท้ งั หมด 12 โรงงาน ที่ปลูกพืชเลื้อยแผ่ไปเต็มรั้วจนปกคลุมไปถึงยอด ของรั้วหน้าสานักงาน โดยสิ่ งนี้ เป็ นการป้ องกันแสงแดดที่จะส่ องเข้ามาภายในห้องสานักงาน จึงทา ให้ อุ ณ หภู มิ ภ ายในห้ อ งส านั ก งานไม่ ร้ อ นจนเกิ น ไป อี ก ทั้ง ยัง ช่ ว ยลดการใช้ พ ลัง งานจาก เครื่ องปรับอากาศ ซึ่งเป็ นการช่วยรักษาสิ่ งแวดล้อมและประหยัดพลังงานอีกด้วย ซึ่ งมีผลทาให้ห้อง ยังคงเย็นในช่ วงฤดู ร้อนของญี่ ปุ่น จากการวัดอุณหภูมิบนผนังที่ถูกกาบังอยู่ที่ 15 องศาเซลเซี ยส หรื อ 27องศาฟาเรนไฮต์ ซึ่ งต่ากว่าผนังที่ไม่ถูกบังด้วยม่านสี เขียวนี้ โดยบริ เวณที่ปลูกนั้น สามารถ วัดความยาวทั้งหมดได้ 294 เมตร (965 ฟุต) และครอบคลุมพื้นที่จาก 775 m² (8,342 ft2) ซึ่ งปริ มาณ ของผักที่บริ ษทั ตัดออกไปประมาณ 2,713 กิโลกรัม โดยสามารถดูดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ได้ถึง 5,981 ปอนด์ เปรี ยบเทียบได้กบั ไม้ซีดาร์ถึง 194 ต้น โดยพืชที่บริ ษทั ได้ทาการปลูกนั้น ส่ วนใหญ่จะ เป็ นพืชที่สามารถนามาทาเป็ นอาหารได้ หรื อที่เรี ยกว่า “พืชสวนครัว” นัน่ เอง ซึ่ งเป็ นพื ช ที่ ร าคาไม่ แพงและเป็ นพืชที่มีประโยชน์ เช่น ผักบุง้ แตงกวาญี่ปุ่น และถัว่ ต่างๆ ม่านสี เขียวไม่เพียงแต่ช่วยประหยัดพลังงานแต่ยงั ช่วยในเรื่ องของจิตสานึกด้านสิ่ งแวดล้อม ของพนักงาน ทาให้พนักงานมีสภาพจิตใจที่รักธรรมชาติและเห็นถึงความสาคัญของการปลูกพืช และยังทาให้สภาพจิตใจสดชื่น มีความสุ ข รู้สึกผ่อนคลาย และพืชที่บริ ษทั ใช้ปลูกได้ดีในฤดูร้อนคือ goya(มะระ) ซึ่ งเป็ นพืชที่สามารถเจริ ญเติบโตได้ดีและรวดเร็ ว มีใบที่หนาแน่นและมีรสชาติที่อร่ อย มีสายพันธุ์จากฟั กทอง เป็ นผักฤดูร้อนในแบบฉบับของโอกินาวาและยังเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญ ของอาหารยอดนิ ยมของคนในบริ ษทั อีกด้วย คนญี่ปุ่นเชื่ อกันว่าหากกินมะระเข้าไป จะทาให้อุดม ไปด้วยสารอาหาร และช่ วยให้ลดความเหนื่ อยล้า เพื่อต่อสู่ กบั อากาศที่ร้อนในช่ วงนี้ ได้เป็ นอย่างดี (ที่มา : http://www.kyocera.eu) ความหมายของคาว่า ม่ านสี เขียว หรือ Green curtain

ภาพที่ 2-31: แสดงการสะท้อนของแสงแดดที่ผา่ นเข้ามาโดยตรงยังห้องสานักงาน ที่มา : http://global.kyocera.com สื บค้นวันที่ 27 มกราคม 56

ม่า นสี เขี ย วธรรมชาติ ที่ อยู่ นอกตัวอาคารที่สร้างขึ้นจากต้นไม่ ที่เติบโตได้บนรั้ว เช่น goya (มะระ) หรื อผั ก บุ ้ ง ม่ าน ที่ ช่ ว ย ใ นก า ร ขัด ขวางการแผ่ ข องรั ง สี ที่ ม าจาก พระอาทิ ต ย์ ช่ ว ยป้ องกั น ไม่ ใ ห้ อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ นภายในส านัก งาน และบนพื้นผิวของอาคาร ความเย็น


85 ที่เกิดขึ้นจากการระเหยของน้ าที่มาจากต้นไม้เหล่านี้ จะช่วยให้อุณหภูมิความร้อนลดลงได้ จึงทาให้ ช่ วยลดการใช้พ ลังงานจากเครื่ องปรับ อากาศและท าให้ล ดการปล่ อยก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ เนื่องจากต้นไม้เป็ นตัวดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้เป็ นอย่างดี ในกรณีทเี่ ราไม่ มีม่านสี เขียว แสงแดดที่ส่องโดยตรงมาทางกาแพงทาให้ส่งอุณหภูมิความร้อนมาโดยตรงเข้าสู้ภายใน สานัก งาน นอกจากนี้ ย งั มี อุณ หภู มิ ที่ เพิ่ม ขึ้ นมาจากพื้นดิ นส่ ง ต่ อมายัง ก าแพงอีก ท าให้อุณหภูมิ ภายในสานักงานมีความร้ อนสู ง และทาให้คนที่อยู่ภายในห้องนั้นเกิ ดความร้อนกว่าอุณหภูมิของ ห้องจริ ง ซึ่ งจะทาให้พนักงานไม่มีความสุ ขในการ ทางาน เพราะรู้สึกร้อนและอึดอัดไม่มีอารมณ์ใน การทางานได้อย่างเต็มที่ กรณีมีม่านสี เขียวในการบังแสงแดด ภายหลังม่านสี เขียวทาให้หลีกเลี่ยงจากแสงแดดโยตรงและลดปริ มาณความร้อนที่แผ่เข้ามา ในห้อง นอกจากนี้การขยายของม่านสี เขียวนี้ ยงั ช่วยทาให้ การเพิ่มของอุณหภูมิหอ้ งไม่เพิ่มขึ้นจากที่ ส่ งมาจากพื้นดิน และการสร้ างม่านสี เขียวยังมีการระเหย ของน้ าจากต้นไม้ทาให้อากาศภายในอากาศเย็นกว่าที่เรา ติดม่านกันแดดปกติอีกด้วย เคี ยวเซร่ าได้รับรองว่า การใช้ม่านสี เขียวนั้นมี ประสิ ทธิ ภ าพในการป้ องกั น แสงแดดจากการเพิ่ ม ภาพที่ 2-32 แสดงการสะท้อนของแสงแดดที่ผา่ นเข้ามาโดยตรงยัง ห้องสานักงาน อุณหภูมิภายในสานักงานของผนังด้านนอก โดยมีการ ที่มา : http://global.kyocera.com สืบค้นวันที่ 27 มกราคม 56 วัดค่า อิ นฟราเรดของพื้นที่ ผนังด้านนอกจากที่มีม่านสี เขียวบังแสงอยู่ เปรี ยบเทียบกับผนังที่ไม่มีม่านสี เขียวบังอยู่ โดยที่มีผนังกาบังอยูม่ ีอุณหภูมิต่ากว่าที่ ไม่มีผนังบังอยู่ถึง 15 องศาเซลเซี ยส (27 องศาฟาเรนไฮต์) ซึ่ งสามารถแสดงได้ดงั ภาพที่ 37 ดังต่อไปนี้


86

ภาพที่ 2-33 ที่มา : หมายเหตุ :

แสดงการเปรี ยบเทียบค่า อินฟราเรดของพื้นที่ผนังด้านนอกจากที่มีม่านสี เขียวบัง แสงอยู่ เปรี ยบเทียบกับผนังที่ไม่มีม่านสี เขียวบังอยู่ http://global.kyocera.com สื บค้นวันที่ 27 มกราคม 56 พื้นที่ส่วน ABC และ พื้นที่ DEF

จากการวัดอุณหภูมิก่อนการติดตั้งม่านสี เขียวและภายหลังการติดตั้ง จะเห็นได้วา่ อุณหภูมิ จะแตกต่างกันมากระหว่างก่อนและหลังการนาม่านสี เขียวเข้ามาใช้บริ เวณผนังของสานักงาน ซึ่ ง สามารถสรุ ปค่าอุณหภูมิได้ดงั ภาพที่ 1 ดังนี้

ภาพที่ 2-34 ที่มา :

แสดงอุณหภูมิก่อนและหลังการติดตั้งม่านสี เขียว http://global.kyocera.com สื บค้นวันที่ 27 มกราคม 56


87 วัสดุอุปกรณ์ ทตี่ ้ องใช้

ภาพที่ 2-35 แสดงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาม่านสี เขียว ที่มา : http://global.kyocera.com สื บค้นวันที่ 27 มกราคม 56

1. เมล็ดพันธุ์ที่ตอ้ งการปลูก 2. ต้นกล้า 3. กระถางหรื อแผ่นปูรองบริ เวณสถานที่ ปลูก 4. หินหรื อกาบมะพร้าว 5. ดิน 6. ปุ๋ ย 7. ตาข่าย มี 2 แบบ คือ ตารางแนวตั้ง กับ แนวทแยง 8. ที่รดน้ าต้นไม้ 9. จอบพรวนดิน

วิธีการทาม่ านสี เขียว 1. เตรี ยมสถานที่การปลูกโดยนากระถางหรื อแผ่นปูรอง วางและนาดินมาถมให้เต็มพื้นที่ 2. การนาเมล็ดหรื อต้นกล้ามาลงดิน และรดน้ า ซึ่ งจะงอกขึ้นมาภายใน 2 หรื อ 3 สัปดาห์ ถ้าใช้ตน้ กล้าจะต้องเป็ นต้นกล้าที่มีรากแข็งแรงและใบโตเร็ ว เช่น goya ควรจะลงในช่วงกลางเดือน เมษายนจนถึงต้นเดือนพฤษภาคม (ในภูมิอากาศของญี่ปุ่น ซึ่ งแต่ละที่อาจไม่เหมือนกัน) 3. การสร้างตาข่ายเพื่อให้พืชได้เลื้อยขึ้นไปตามตาข่ายนั้น 3.1 หากสานักงานตั้งอยูท่ างทิศตะวันออกหรื อทิศตะวันตก ผนังที่สร้างควรจะเป็ น แนวตั้ง เพราะมุ ม ที่ แ สงแดดเข้ า จะส่ ง ผ่ า นเข้า มาโดยตรงและการสร้ า งแนวตั้ง จะท าให้ มี ประสิ ทธิภาพในการบังแดดได้ดีที่สุด 3.2 หากสานักงานหันไปทางทิศใต้ พระอาทิตย์จะอยูม่ ุมสู งของเรา ฉะนั้นเราควรที่ จะสร้ างม่านให้เฉี ยงเอนเพื่อรั บกับแสงแดดที่เข้ามาได้ดีกว่า ทาให้เกิ ดเงาที่มากกว่าการตั้งแบบ แนวตั้ง


88

ภาพที่ 2-36 แสดงการติดตั้งตาข่ายเพื่อเริ่ มกระบวนการเลื้อยของพืช ที่มา : http://global.kyocera.com สื บค้นวันที่ 27 มกราคม 56 4. การรดน้ า ควรรดน้ าวันละ 2 ครั้งในตอนเช้า และตอนเย็น 5. การเติมปุ๋ ย หลังจากการปลูกควรเพิ่มปุ๋ ยในช่วงแรกทุกๆ 2 สัปดาห์ แต่ไม่ควรใส่ มาก จนเกินไป ควรใส่ ตามความเหมาะสมตามสภาพของการเจริ ญเติบโตของพืชชนิดนั้น 6. เสร็ จสมบูรณ์ ซึ่ งม่านสี เขียวจะสมบูรณ์ได้ประมาณปลายเดือน มิถุนายนถึงต้นเดือน กรกฎาคม (หากปลูกในช่วงกลางเดือนเมษายนจนถึงต้นเดือนพฤษภาคม) หลังจากนี้ พนักงานก็จะมี ความเพลิดเพลินกับการเก็บเกี่ยวพืชผลไปรับประทานกันต่อไป ตัวอย่างการทาม่ านสี เขียวของแต่ ละบริษัทย่อยของบริษัท เคียวเซร่ า คอร์ ปอเรชั่น ประเทศญีป่ นุ่

ภาพที่ 2-37 แสดงตัวอย่างม่านสี เขียวในบริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั เคียวเซร่ า จากัด ที่มา : http://global.kyocera.com สื บค้นวันที่ 27 มกราคม 56


89 บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด สาขาแหลมฉบัง เป็ นบริ ษทั ที่ผลิตน้ ามันและก๊าซ รวมถึงท่อส่ งที่อยู่ ใต้ทะเล ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่ อยู่ติดทะเล ในนิ คมอุตสาหกรรม ซึ่ งได้เล็งเห็ นถึ งความสาคัญของชี วิต ความเป็ นอยูข่ องพนักงาน จึงมีการจัดโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ของ บริ ษทั ซี ยอู ี แอล จากัด ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่จดั ขึ้นทุกปี เพื่อให้พนักงานได้มาเข้าร่ วมโครงการ สร้างความสัมพันธ์กนั ระหว่าง แผนก ได้รู้ถึงวิธีการในการพัฒนาตนเอง และมีการให้ความรู้ถึงการปลูกผักแบบเกษตรอินทรี ย ์ รู้จกั วิธีการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง และในส่ วนบริ เวณรอบนอกของบริ ษทั นั้น ก็มีการปลูกต้นไม้ตามริ ม ทางเดิ นตลอดบริ เวณทางเข้า และยังมีสวนย่อมเล็กๆด้านหน้าของบริ ษทั ซึ่ งก็ช่วยให้พนักงานไม่ เกิดความอึดอัด และได้ผอ่ นคลายความเครี ยด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่อยูใ่ นอากาศก็มีปริ มาณลด น้อยลง เนื่ องจากต้นไม้ได้ทาการดูดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ไป ทาให้อากาศภายในบริ เวณบริ ษทั เป็ นมิตรต่อพนักงานทุกคนภายในบริ ษทั จากการศึกษาเปรี ยบเทียบกัน จึงสามารถสรุ ปได้วา่ บริ ษทั เคียวเซร่ า นั้นมีหลักการความคิด ที่ดีกว่า เนื่ องจากใช้หลักการสร้างบริ เวณพื้นที่สีเขียวมากกว่า และเกิดประโยชน์ได้มากกว่า ทาให้ พนักงานได้รับรู้ถึงคุณค่าที่พนักงานจะได้รับอย่างเต็มที่ในสิ่ งที่บริ ษทั ได้สร้างไว้ให้ ดังนั้นกรณี ของ บริ ษ ัท ซี ยูอี แ อล หากมี ก ารน าเอาทฤษฎี ข องบริ ษ ัท เคี ย วเซร่ า ไปปรั บ ใช้ จะท าให้ก ารพัฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั ซี ยอู ีแอลนั้นสมบูรณ์แบบ และส่ งผลดีต่อพนักงานได้มากขึ้น งานวิจัยทางด้ านผลกระทบของความไม่ มั่นคงทางอาหาร ความไม่ มั่นคงทางอาหารส่ งผลต่ อบุคคล ดังนี้ ผศ.ดร.นพ.ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ทาการศึกษา เรื่ อง นโยบายความปลอดภัยทางอาหารกับการใช้สารเคมีกาจัดศัตรู พืช ได้ขอ้ สรุ ปดังนี้ ปั ญหาการใช้ส ารเคมี มี ก ารตื่ น ตัวอย่า งกว้า งขวาง ข้อมู ล ทางวิท ยาศาสตร์ พ บอัน ตราย มากมาย โดยภาวะเฉี ยบพลันทาให้ ตาพร่ า ปวดศรี ษะ หายใจติดขัด มึนงง คลื่ นไส้ เหงื่ อออกมา ผิดปกติ ปวดก้ามเนื้อ ผิวหนังเป็ นผืน่ คัน ระบบภูมิคุม้ กัน ระบบสื บพันธุ์ผิดปกติ ขณะที่โรคมะเร็ งที่ สัมพันธ์กบั สารเคมีเกษตร เช่น มะเร็ งสมอง มะเร็ งเต้านม มะเร็ งเม็ดเลือดขาว มะเร็ งต่อม น้ าเหลือง มะเร็ งลาไส้ใหญ่ มะเร็ งไขกระดูก มะเร็ งรังไข่ มะเร็ งตับอ่อน มะเร็ งไต มะเร็ งเนื้ อเยื่ออ่อน มะเร็ ง กระเพาะ มะเร็ งอัณฑะ ต่อมลูกหมาก มะเร็ งปอด สมองเสื่ อม พาร์ กินสัน หอบหื ด ทารกในครรภ์ ไม่เติบโต การแท้งลูก พิการแต่กาเนิด ออติสติก เบาหวาน อสุ จิพิการ นอกจากนี้ ประเทศไทยพบมี คนเสี ยชีวติ จากสารเคมีเกษตรมากถึง 56,000 คนต่อปี มากกว่าโรคใดๆที่วา่ ร้ายแรงไม่วา่ จะเป็ นโรค เอดส์ หรื อโรคอื่นๆ ขณะที่หากป่ วยเป็ นมะเร็ งต่อมน้ าเหลืองจะต้องฉี ดยาเข็มละประมาณ 1 แสน


90 บาท ทั้ง นี้ เ นื่ อ งจากสารเคมี ท าให้เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางดี เ อ็น เอ ล่ า สุ ด ยัง พบว่า เป็ นสาเหตุ เบาหวาน คนไทยเป็ นเบาหวานมากขึ้นโดยในปี 2552 คนอายุ เฉลี่ย 55 ปี ป่ วยเบาหวานกว่า 88 % ขณะที่ ใ นต่ างประเทศ เช่ น สวีเดน อเมริ กามีก ารคุ มเข้ม การใช้ส ารเคมีในการเกษตรอย่างหนัก เพราะที่ผ่านมาส่ งผลกระทบต่อประชากรประเทศอย่างกว้างขวาง “สาหรับประเทศไทยต้องให้มี หลักเกณฑ์การพิจารณาห้ามใช้หรื อเพิกถอนทะเบียนวัตถุอนั ตราย ให้ชดั เจน ปั ญหาสุ ขภาพที่เกิ ด จากสารพิษต้องมีการพูดคุยกันอย่างจริ งจังว่าจะมีมาตรการป้ องกันแก้อย่างไร ไม่ใช่การกินดีอิ่มหมี พีมนั แต่สุดท้ายเป็ นมะเร็ ง”

กรอบแนวคิดในการศึกษา ประเด็นการศึกษา 1.

แนวทางการบริ หารโครงการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย์ 2.

การดาเนินงานของการจัดโครงการ

พัฒนาทรัพยากรมนุษย์รวมถึงการ ติดตามและประเมินผลโครงการ 3.

สรุ ปผลการจัดทาโครงการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย์

ผลของการศึกษา ประเมินผลการจัดโครงการตั้งแต่ การ วา ง แ ผ น ด า เนิ น ก า ร ก าร ด า เ นิ น ก า ร การติดตามและประเมินผล ว่าได้รับผลจาก การจัด ท าอย่ า งไร วิ เ คราะห์ ต้น ทุ น และ ผลตอบแทน โดยที่ ผ ลตอบแทนนั้น ควร วิเคราะห์ ท้ งั ผลตอบแทนที่ เป็ นตัวเลขและ ผลตอบแทนที่ ไ ม่ เ ป็ นตัว เลขประกอบกัน การสรุ ปผลของโครงการ

4. วิธีการศึกษา การศึกษาเรื่ อง การบริ หารทรัพยากรมนุ ษย์ภายใต้โครงการสวนผักคนเมือง กรณี ศึกษา บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด โดยมีการศึกษา 2 วิธี ดังต่อไปนี้


91 ศึกษาข้ อมูลทุติยภูมิ 1. ศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ โดยผูเ้ ชี่ยวชาญและนักวิจยั ท่านต่างๆ ที่ ได้เคยศึกษามาก่อนแล้ว 2. ศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการเพาะปลูกพืชสวนครัวและผลที่ได้รับจากการเพาะปลูกในด้าน ต่างๆ ทั้งทางเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุ ข จิตวิทยา คุณภาพชีวติ เป็ นต้น ศึกษาข้ อมูลปฐมภูมิ 1. ศึกษาแนวคิดการบริ หารทรัพยากรมนุ ษย์ของฝ่ ายทรัพยากรบุคคลบริ ษทั กรณี ศึกษา: บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด โดยใช้การออกแบบสอบถาม เป็ นคาถามปลายเปิ ด และเข้าทาการสัมภาษณ์ ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ถึงแนวคิดในการคัดเลือกโครงการเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั รวม แนวทางการในการประเมินผลความสาเร็ จของโครงการที่บริ ษทั ใช้ในปัจจุบนั 2. เข้าสังเกตการณ์พฤติกรรมของพนักงานในระหว่างกระบวนการฝึ กอบรม 3. การใช้แบบสอบถามและการเข้า สัม ภาษณ์ เชิ งลึ ก พนัก งาน ถึ งผลความพึ งพอใจ ความรู ้ที่ได้รับ ในการจัดฝึ กอบรมโครงการของบริ ษทั ให้กบั พนักงาน 4. การติดตามผลสาเร็ จของโครงการ โดยใช้แบบสอบถามและการเข้าสัมภาษณ์เชิ งลึก พนักงาน หลังจากการเข้าร่ วมโครงการแล้ว มีการนาไปปฏิ บตั ิจริ งมากน้อยแค่ไหน ผูท้ ี่นาไปใช้ ได้รับผลที่น่าพึงพอใจหรื อไม่ สรุ ปผลการศึกษา จากการศึกษาข้างต้นผูศ้ ึกษาได้เห็นถึงความสาคัญของอาหารและได้ทราบถึงสถานการณ์ ความไม่มน่ั คงทางอาหารของประเทศไทย สาเหตุของความไม่มน่ั คงทางอาหาร ซึ่ งมีผลกระทบทั้ง ที่สามารถวัดได้เป็ นตัวเงิ น เช่น ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การนาเข้ายาและเวชภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น และที่ไม่สามารถวัดได้เป็ นตัวเงิน เช่ น การที่ประเทศไทยยังมีประชาชนที่ไม่สามารถเข้าถึงอาหาร ได้อีกร้อยละ 17 ซึ่ งส่ งผลต่อการพัฒนาแก่พวกเขาด้วย อีกทั้งยังทาให้ที่ดินทางการเกษตรลดน้อยลง และสิ่ งมีชีวติ ทางชีวภาพลดน้อยลง ซึ่ งประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม ซึ่ งถ้าสิ่ งเหล่านี้ เกิดขึ้น อาจส่ งผลร้ ายแรงต่อประเทศได้ ดังนั้นการพัฒนาประเทศ เราไม่ควรมุ่งเฉพาะแต่ความมัง่ คัง่ ทาง ธุ รกิจ แต่ควรที่จะสนใจในการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนทางเกษตรกรรมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง


92 ทรัพยากรมนุ ษย์ถือได้ว่าเป็ นทรัพยากรหลักที่มีคุณค่าในองค์กรธุ รกิ จ เพราะถ้าหากขาด ทรัพยากรมนุษย์ ธุ รกิจก็ไม่สามารถดาเนินต่อไปได้ ผูบ้ ริ หารควรให้ความสนใจและเห็นคุณค่าของ บุคลากรในองค์ โดยไม่ได้มุ่งหวังเฉพาะกาไรของบริ ษทั ดังนั้นผูบ้ ริ หารควรมีโครงการพัฒนาและ ประเมิ นผลทรั พยากรมนุ ษย์ขององค์กรอย่างต่อเนื่ อง เพื่อที่ทาให้ผูบ้ ริ หารมีทรัพยากรมนุ ษย์ใน องค์กรที่มีคุณภาพ สามารถทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล บรรลุตามเป้ าหมายของ องค์กร และทาให้ผบู ้ ริ หารทราบถึงข้อบกพร่ องในการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ให้ดียงิ่ ขึ้นต่อไป โครงการสวนผัก คนเมื อง เป็ นอี ก ทางเลื อกหนึ่ งในการบริ หารทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ภายใน องค์ก ร เพราะท าให้บุ คลากรภายในองค์กร สามารถเข้าถึ งแหล่ งอาหารได้ง่ายขึ้ น โดยบุค ลากร เหล่านั้นได้มีความรู ้ ทางด้านการปลูกพืชผักสวนครัว ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้ จะทาให้บุคลากรห่ างไกลจาก สารเคมีจากยาฆ่าแมลง และทาให้บุคลากรภายในองค์กรมีความสนิทสนม รู้จกั การทางานเป็ นทีม มีการติดต่อสื่ อสารกันระหว่างแผนกมากขึ้น จึงเกิดผลดีต่อองค์กรอีกด้วย เช่น ทาให้ผลการดาเนิ น ภายในองค์กรเป็ นไปอย่างราบรื่ นและมีผลประกอบการที่ดีข้ ึน


บทที่ 3 ข้ อมูลกรณีศึกษา ภาพรวมองค์ กร (Overview) CUEL เป็ นผูเ้ ชี่ ยวชาญ EPCIC เป็ นบริ ษทั ที่ ผลิตน้ ามัน และก๊าซนานาชาติ มีความเป็ น เอกลักษณ์เฉพาะในช่วงของการก่อสร้าง และบริ การ ตั้งขึ้นในปี 2000 CUEL มีมาตรฐานระดับโลก มีบริ การที่ครบวงจรที่ครอบคลุมการบริ หารจัด การโครงการ จัดซื้ อจัดจ้าง การออกแบบวิศวกรรม การผลิต และติดตั้งและการว่าจ้าง เนื่ องจากปั ญหาการแข่งขันด้านต้นทุน CUEL ถือว่าเป็ นเป็ นประวัติศาสตร์ ส้ ันๆเพราะได้ พัฒนาปรับปรุ งโดยการบันทึ กการติดตามอย่างกว้างขวางในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้การ ดาเนินงานเป็ นผูร้ ับเหมาแบบครบวงจรCUEL จะส่ งช่ วงของสิ่ งอานวยความสะดวกต่างประเทศ สาหรับลูกค้าในอ่าวไทยเช่นเดียวกับสถานที่เชิงกลยุทธ์อื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก CUEL ประสบความส าเร็ จความส าเร็ จด้วยวิธี ก ารปฏิ บตั ิที่ ดีที่ สุ ดเพื่ อความปลอดภัย คุณภาพ และสิ่ งแวดล้อม เรามีความสามารถที่ชดั เจนในการเข้าใจความคาดหวังของลูกค้าส่ วนใหญ่ ในรู ปแบบธุ รกิจที่ไม่ซ้ ากันที่รวมความเชี่ยวชาญจากทั้งลูกค้า และมุมมองของผูร้ ับเหมาของเรา โรงงานการผลิตของ CUEL ในแหลมฉบัง ประเทศไทย มีความสาคัญมากในการมีส่วน ร่ วมผลักดันให้ประเทศพัฒนาให้การสนับสนุน อุตสาหกรรมน้ ามัน และก๊าซ ทั้งในระดับประเทศ และภูมิภาค CUEL เตรี ยมที่จะเสนอประสบการณ์ บันทึกพิสูจน์ และความสามารถทางเทคโนโลยี ที่จะพัฒนาเพื่อลดต้นทุน วิสัยทัศน์ (Vision) จะเป็ นพันธมิตรทางด้านวิศวกรรมการจัดหาการก่อสร้างติดตั้ง และมอบหมาย (สั ญญา) ชั้นนาในเอเชีย พันธกิจ(Mission) เพื่ อให้สถานที่ ผลิ ตเป็ นเป็ นบริ ษ ทั ส ารวจและผลิ ตในเอเชี ย ที่ มี ความที่ น่า เชื่ อถื อ โดย บริ หารต้นทุนและส่ วนของทุน โดยผ่านทางพันธมิตรและหุน้ ส่ วน


94 โครงสร้ างการบริหารจัดการองค์ กร(Management and Organization structure)

ภาพที่ 3-1 ผังองค์กรของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด ที่มา: http://www.cuel.co.th/ สื บค้นวันที่ 14 มกราคม 2556 ความสามารถ (Capability) การบริหารจัดการโครงการ CUEL รันโครงการกับทีมงานบริ หารโครงการในรู ปแบบเฉพาะที่ทาขึ้นร่ วมกับลูกค้าของ เรา ดังนั้นทาให้มน่ั ใจได้ว่าการประสานงาน และการติดต่อสื่ อสารในโครงการจะดีอย่างต่อเนื่ อง แน่นอน และทาให้เกิดความปลอดภัย คุณภาพ ต้นทุน และผลการปฏิบตั ิการ ภายในอุตสาหกรรม น้ ามัน และก๊าซ ทีมบริ การโครงการเป็ นส่ วนหนึ่ งของแผนกการบริ หารโครงการของ CUEL ที่มีความ เชี่ยวชาญทางด้านกระบวนการและขั้นตอนในการบารุ งรักษาเพื่อสนับสนุ นการดาเนิ นโครงการที่ ประสบความสาเร็ จ ประกอบด้วย • โครงการการจัดการความปลอดภัย • การจัดการคุณภาพโครงการ • วางแผนติดตามความคืบหน้าและการรายงาน


95 • ควบคุมต้นทุน • การกาหนดขอบเขตและโครงสร้างการทางานเสี ย • การควบคุมเอกสารและระบบความร่ วมมือ • การบริ หารความเสี่ ยง • การบริ หารการเปลี่ยนแปลง ทีม บริ ก ารโครงการของ CUEL มีป ระสบการณ์ ในการส่ ง มอบความหลากหลายของ โครงการเช่นวิศวกรรม การจัดซื้ อจัดจ้าง การก่อสร้าง การติดตั้ง การเชื่อมต่อของส่ วนต่าง และวินยั การว่าจ้าง การบันทึกติดตามการทางานของเราช่วยให้เรารู้ขอ้ บกพร่ องของเราเอง วิศวกรรม CUEL ให้บริ การด้านวิศวกรรมที่หลากหลายตั้งแต่ รู ปแบบของความคิด การออกแบบ รายละเอียดทางวิศวกรรมการผลิตสาหรับโรงงาน การติดตั้งสิ่ งอานวยความสะดวกในทะเล ท่อใต้ ทะเล สนับสนุนการผลิตและการก่อสร้าง การติดตั้งในต่างประเทศ และการว่าจ้าง CUEL มีสานักงานออกแบบทั้งในกรุ งเทพฯและแหลมฉบังสานักงานที่กรุ งเทพฯมีทีมงาน ออกแบบเต็มเวลาในขณะที่ที่แหลมฉบังสนับสนุนการดาเนินงานทั้งหมดทั้งการผลิตและก่อสร้าง ความสามารถทางด้านวิศวกรรมของ CUEL มีดงั ต่อไปนี้ • การจัดการด้านวิศวกรรม • การออกแบบโครงสร้าง • ท่อและการออกแบบเครื่ องจักรกล • อุปกรณ์ไฟฟ้ าและการออกแบบอัตโนมัติ • ออกแบบท่อในทะเล • การสนับสนุนด้านวิศวกรรมการผลิตและการก่อสร้าง • การวิเคราะห์ยดึ โครงสร้างในทะเล • สนับสนุนการติดตั้งนอกชายฝั่งวิศวกรรม • การว่าจ้างการสนับสนุนด้านวิศวกรรม ทีมวิศวกรของ CUELคือผูช้ ่วยเสริ มกาลังอย่างเต็มที่โดยพันธมิตรผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับการตอบสนองความต้องการของลูกค้า สานักงานกรุ งเทพฯ สานักงานกรุ งเทพฯ CUEL รับรองการออกแบบของท่อการผลิตในทะเล สานักงานมีการ ติดตั้งดังตารางที่ 6


96 ตารางที่ 3-1 ตารางแสดงซอฟต์แวร์ ของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด ของสานักงานที่กรุ งเทพฯ Software: SACS Offshore Structural Analysis OFFPIPE Pipe-lay Analysis AUTOPLANT 2004 2D/3D drafting AUTOCAD 2005 3D Modeling STAADPRO 3-D structural analysis and design MATHCAD Calculations, analyze data, and plot data. HYSIS Process Simulation CAESAR II Pipe stress Analysis Primavera P3E/C Smart Plant Instrumentation (IN tools) ที่มา: http://www.cuel.co.th/ สื บค้นวันที่ 14 มกราคม 2556 สานักงานแหลมฉบัง ส านัก งานออกแบบที่ แหลมฉบัง พัฒนาออกแบบการเชื่ อ มต่ อ ในการปฏิ บ ตั ิ ที่ ด้รั บ การ ยอมรับตามมาตรฐานและการปฏิบตั ิที่แนะนา (BS, AISC, ASME, API, DIN, Euro norms, JIS, TIS ฯลฯ) สานักงานยังรับรองการผลิต แผนที่วาด แผนตัด / แผนการเชื่อมจากข้อมูล การออกแบบของ ลูกค้า สานักงานมีการติดตั้งดังตารางที่ 7 ตารางที่ 3-2 ตารางแสดงซอฟต์แวร์ ของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด ของสานักงานที่แหลมฉบัง Software: STAADPRO 2000 3-D structural analysis and design CNC Cutting Software Cutting/Nesting plans AUTOCAD 2005 2-D/3-D drafting TEKLA STRUCTURES 3-D drafting (Implementation Stage) SPOOLGEN (Primavera Piping Drafting and Database (Implementation P3E/C) Stage) ที่มา: http://www.cuel.co.th/ สื บค้นวันที่ 14 มกราคม 2556


97 การจัดการวัสดุ CUEL ให้จดั ซื้ อจัดจ้างแบบครบวงจรและบริ การโลจิสติก การออกแบบเพื่อก่อสร้างสิ่ ง อานวยความสะดวกขั้นสุ ดท้าย วัสดุ CUEL ยึดบนพื้นฐานทัว่ โลก, การจัดการกระบวนการจัดซื้ อ ทั้งหมดจากการจัดหาเร่ งการขนส่ งและโลจิสติกผ่านกับการนาเข้าและการส่ งออกและออกจาก ราชอาณาจักรไทย องค์กรและความรับผิดชอบ กลุ่มผูบ้ ริ หารวัสดุของ CUEL ประกอบด้วยฟังก์ชน่ั ที่แตกต่างกัน 6 ฟังก์ชน่ั ซึ่ งรวมกันทา ให้มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของการจัดการวัสดุจากมุมมองของค่าใช้จ่ายที่มีคุณภาพและ ตารางเวลา ฟังก์ชน่ั ของกลุ่มการจัดการวัสดุ - จัดซื้ อจัดจ้าง - วัสดุ Co-ordination - เร่ ง - โลจิสติก - คลัง - การตรวจสอบ ระบบ วัสดุ กระบวนการทั้งหมดจะถูกควบคุ มการบริ หารจัดการทรัพยากรขององค์กรโดย การ วางแผนระบบการ ของ CUEL (ERP) ซึ่ งเป็ นแบบ multi-user, multi-discipline, ระบบโปรแกรม บูรณาการคอมพิวเตอร์ ในส่ วนของการจัดการวัสดุ ERP จัดหาดาเนิ นการติดต่อให้ พร้อมลาดับการดาเนิ น โครงการทั้ง หมด นอกจากนี้ ยัง ให้ โ อกาสในการจัด การรายการวัส ดุ ผ่ า นทุ ก ขั้น ตอนของ กระบวนการซื้ อจากประชาชนครั้งแรกโดยวิศวกร ผ่านการออกใบเสร็ จรับเงินการเก็บรักษาและ ต่อมาของวัสดุสาหรับการผลิตและการใช้งานการติดตั้ง ระบบ ERP ยังให้ชุดของรายงานรายละเอียดเพื่อตอบสนองความต้องการของโครงการและ รายงานการปรับซึ่ งสามารถสร้างให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย นอกจากนี้ ยงั มี ฟังก์ชน่ั หลากหลายผ่านระบบ ERP, ระบบ Web-based และรายงานในรู ปแบบของ Microsoft Excel สามารถสร้างและนามาใช้เพื่อรักษาระดับความคืบหน้ารายงานสถานะที่สูงขึ้นสาหรับการบริ โภค โครงการ


98 สิ่ งอานวยความสะดวก สิ่ งอานวยความสะดวกของ CUEL การจัดการและการเก็บรักษาวัสดุของโครงการจะอยูใ่ น สามสถานที่ ท้ ัง หมดภายในบริ เวณใกล้เ คี ย งของการก่ อ สร้ า งที่ ท่ า เรื อแหลมฉบัง และนิ ค ม อุตสาหกรรม CUEL มีคลังสิ นค้าหลักของตัวเองซึ่ งตั้งอยูภ่ ายในส่ วนก่อสร้างของ CUEL จะให้อุณหภูมิ การเก็บรักษาสภาพแวดล้อมที่ควบคุมการจัดเก็บวัสดุ เช่น อุปกรณ์ท่อ, วาล์ว, เครื่ องมือและวัสดุ ไฟฟ้ า สิ่ งอานวยความสะดวกที่มีพ้ืนที่เก็บข้อมูลเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมการควบคุ มและอุณหภูมิ ใกล้เคียง มีสถานที่สาหรับการจัดเก็บอุปกรณ์ไฟฟ้ าและเครื่ องมือ CUEL ยังมีพ้ืนที่จดั เก็บเพิ่มเติม สาหรับท่อและเหล็กโครงสร้างที่ต้ งั อยูใ่ กล้กบั ลาน เมื่ออุปกรณ์และวัสดุมาถึงในคลัง จะมีการตรวจสอบสภาพโดยรวม รวมทั้งมาตรการรักษา (ถ้ามี) หลังจากการตรวจสอบความเสี ยหายให้กบั รายการใด ๆ จะต้องกลับมารายงานให้ผขู้ ายก่อนที่ จะดาเนินการต่อไป ห้ามเปิ ดเผยสู่ บุคคลภายนอก หลังจากชี้แจงจากผูข้ ายจะได้รับการดาเนินการใน กรณี ที่จาเป็ นก่อน.ในส่ วนกระบวนการจัดเก็บ อุ ป กรณ์ แ ละวัส ดุ จ ะถู ก เก็ บ ไว้ใ นห้อ งเก็ บ ของที่ เหมาะสมป้ องกันอย่า งดี จ ากสิ่ ง ที่ เ ป็ น อันตรายตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต จนกระทัง่ มีรายการที่จาเป็ นสาหรับการใช้งาน ทุ ก พื้ นที่ ก ารจัดเก็ บ รั ก ษาไว้อย่า งดี สะอาดและเป็ นระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยตลอดเวลา วัส ดุ ทั้งหมดภายใต้การเก็บจะถูกระบุและแยกตามประเภท การก่อสร้ าง ศูนย์กลางของการผลิตสาหรับ CUEL ตั้งอยูท่ ี่ท่าเรื อน้ าลึกแหลมฉบัง 130 กิโลเมตรทาง ตะวันออกเฉี ยงใต้ของกรุ งเทพฯ ชายฝั่ งตะวันออกของอ่าวไทย ซึ่ งถือว่าเป็ นโรงงานผลิ ตที่ใหญ่ ที่ สุดและทันสมัยที่ สุดในต่า งประเทศ ในประเทศไทย สิ่ งอานวยความสะดวกของการก่ อสร้ า ง CUELมีพ้นื ที่เท่ากับ 689,000 ตารางเมตร ตั้งอยูภ่ ายในขอบเขตของยูนิไทยและอู่ต่อเรื อวิศวกรรม มี พื้นที่เท่ากับ 818,000 ตารางเมตร ที่ใช้ในการปรับปรุ งซ่ อมแซม สิ่ งอานวยความสะดวกมีการเข้าถึง โดยตรงไปยังริ มอ่าวไทยและมี การเชื่ อมโยงบริ การขนส่ งที่ดีเยี่ยม ซึ่ งติดกับท่าเรื อแหลมฉบังที่ ทันสมัยและมีสถานีรถไฟเชื่อมโยงอีกด้วย สิ่ งอานวยความสะดวกของ CUEL มีกาลังการผลิตสู งถึง 60,000 ตันต่อปี ซึ่ งยังสามารถ ผลิตส่ วนประกอบได้มากถึง 6,000 ตันต่อปี


99 การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ัติ ก ารโดยเฉพาะค่ า เกี่ ย วกับ ค่ า ใช้จ่ า ยการติ ด ตั้ง เครน, เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ ที่ควบคุมการตัดเครื่ องตัดแผ่น, ผูใ้ ช้เครื่ องตัดแผ่น, เครื่ องตัดส่ วนม้วน, กรดไฮโดรลิ , การเจาะ, เครื่ องตัดกระดาษ และอีกหลากหลายของอุปกรณ์เชื่อมกึ่งอัตโนมัติและอัตโนมัติ โรงงาน ระเบิ ด อัต โนมัติ อ ยู่ใ นสถานที่ ที่ ช่ ว ยท าลายวัส ดุ ที่ ใ ช้แ ล้ว แล้ว ก่ อ นที่ จ ะผลิ ต ภาพสุ ด ท้า ยจะ ดาเนินการในแหล่งกาเนิด บริ ษทั ปั จจุบนั มีประมาณ 2,000 คนมีฝีมือได้รับการสนับสนุนโดยการจัดการที่แข็งแกร่ ง และที ม งานบริ หาร CUEL มี ก ารฝึ กอบรมช่ า งเชื่ อม มี โปรแกรมที่ ช่ วยให้ส ามารถรั ก ษาและ ดาเนินการ เพื่อมาตรฐานสากลสู งสุ ดและแนวทางปฏิบตั ิ การจัดการให้บริ การโดยการรวมกันของไทยและต่างประเทศ ผูเ้ ชี่ ยวชาญเน้นเป็ นพิเศษ เกี่ยวกับการถ่ายโอนความรู ้และเทคโนโลยีที่ผา่ นโครงการดูแลจากภายใน

ภาพที่ 3-2 ทัศนียภาพทั้งหมดบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด สาชาแหลมฉบัง ที่มา: http://www.cuel.co.th/ สื บค้นวันที่ 14 มกราคม 2556 • 60,000 ตันต่อปี การผลิต • กระบวนการผลิ ต ที่ มี ป ระสิ ทธิ ภ าพและทัน สมัย ส าหรั บ การผลิ ต กระแสที่ มี ประสิ ทธิ ภาพและมีความยืดหยุน่ • ท่าเรื อที่มีการเข้าถึงน้ าลึกโดยตรง • อาคารท่าเรื อ 360 เมตร • 30 เมตร x 30 เมตร ท่าเทียบเรื อ • 92,800 ตารางเมตรของพื้นที่จดั เก็บนอกสถาน (5 กิโลเมตร จากท่า) การติดตั้งนอกชายฝั่ง CUEL ให้เต็มรู ปแบบของบริ การติดตั้ง ได้แก่ :


100 - การติดตั้งแพลตฟอร์ ม - บริ การดาน้ า / ROV - โหลดออกและยึดลงทะเล - การขนส่ งทางทะเล - การติดตั้งท่อและรักษาเสถียรภาพ - การทดสอบไฮโดร - ออกแบบ Hook-Up และการว่าจ้าง - FSO ติดตั้งระบบ Mooring CUEL ยึดเรื อติดตั้งหลักที่เหมาะสาหรับการให้บริ การโซลูชน่ั การติดตั้งในการแข่งขันใน พื้นที่ของแพลตฟอร์ มหลุมผลิ ตและท่อใต้ทะเล แต่จะมีความยืดหยุน่ เพียงพอที่จะให้การแก้ปัญหา การติดตั้งที่ประหยัดสาหรับ FPSO งานประสานเบ็ดขึ้นและการสนับสนุ นการบารุ งรักษาที่พกั เครื่ อง HES (สุ ขภาพสิ่ งแวดล้ อมและความปลอดภัย) CUEL มีความมุ่งมัน่ ในการเพาะเลี้ยงและการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น (IIF) ที่ HES ประสิ ทธิ ภาพ การทางานจะกล่าวถึ งในแง่ของความสัมพันธ์และไม่ใช่ตวั เลข สิ่ งแวดล้อมและความปลอดภัยนั้น จะอยูท่ ี่มาตรฐานการดาเนินการทั้งหมด ด้วยเหตุ น้ ี CUEL มี การพัฒนาอย่างเต็มที่ของระบบการจัดการ HES (HESMS) การ ดาเนินการทั้งหมดที่ให้กรอบที่ใช้กนั ทัว่ ไปในการจัดการที่มีศกั ยภาพความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้อง HES เอกสารหลักของ HESMS ประกอบด้วย: 1. นโยบาย HES 2. ใช้การจัดการของ HES 3. ขั้นตอนมาตรฐานของ บริ ษทั และรู ปแบบ 4. โปรแกรมปรับปรุ งของ HES 5. ความปลอดภัย และแผนการจัดการสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งครอบคลุมองค์ประกอบดังต่อไปนี้ ซึ่ งมี 10 กุญแจสาคัญของ HES: 1. ความมุ่งมัน่ และความรับผิดชอบการจัดการ 2. สมรรถนะและการฝึ กอบรม 3. การบริ หารความเสี่ ยง 4. การสื่ อสารและการให้คาปรึ กษา


101 5. การจัดการผูร้ ับเหมา 6. อาชีวอนามัย 7. รายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น / การบาดเจ็บและการตรวจสอบข้อเท็จจริ ง 8. การตรวจสอบการบริ หารจัดการ 9. ทบทวนของฝ่ ายบริ หารและการปรับปรุ ง 10. บริ ษทั มาตรฐานการ HES เหล่านี้ 10 องค์ประกอบสาคัญที่จาเป็ นสาหรับการที่มีประสิ ทธิ ภาพระบบการจัดการ HES และถูกออกแบบมาเพื่อให้แน่ใจว่ามีความเสี่ ยงจะมีการระบุ HES อย่างต่อเนื่อง, การประเมินและ ควบคุม HES ความสาเร็จผลการดาเนินงาน - กว่า 13 ล้านคนขององค์กรมีชว่ั โมงการทางาน ฟรี จนถึงปัจจุบนั (ธันวาคม 09) - ได้รับรางวัล CHESM (Chevron หลักสู ตรการบริ หาร HES) ผลการดาเนินงานเกรด "A" สาหรับปี 2008 - BG ในอินเดียมากกว่า 700,000 คน มีชว่ั โมงการทางานฟรี - โครงการ HOEC กว่า 700,000 คน มีชว่ั โมงการทางานฟรี - ได้รับรางวัลจากลูกค้า ด้วยความมุ่งมัน่ ของเราในการทางาน HES, CUEL ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001: 2004 และ OHSAS 18001:2007 ในเดือนธันวาคม 2007 และมกราคม 2008 ตามลาดับโดย TUV NORD GmbH


102

ภาพที่ 3-3 ใบรับรองมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 ที่ได้รับจากจาก TUV NORD ที่มา: http://www.cuel.co.th/ สื บค้นวันที่ 14 มกราคม 2556


103 การประกันคุณภาพ (QA / QC) CUEL มีความมุ่งมัน่ ที่จะให้ผลิตภัณฑ์และบริ การที่มีคุณภาพสู งสุ ดอย่างสม่าเสมอหรื อเกิน กว่าความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าของเรา คุณภาพการจัดการระบบ (QMS) มีการเน้นที่ ชัดเจนเกี่ยวกับข้อเสนอแนะของลูกค้าและปรับปรุ งอย่างต่อเนื่องในทุกกระบวนการการจัดการของ เรา ความมุ่งมัน่ ของเราในการเป็ นตัวแทนคุณภาพจากคณะกรรมการบริ หารผ่านผูบ้ ริ หารทุกระดับ และทุ ก แรงงานที่ มี ปั ญ หาคุ ณ ภาพการจัด การหารื อ ในทุ ก สั ป ดาห์ / เดื อ นและทุ ก การประชุ ม โครงการ ด้วยเหตุน้ ี การดาเนิ นงานระบบบริ หารคุณภาพ CUEL เพื่อ ISO 9001:2008 เป็ นมาตรฐาน ซึ่งเป็ นบุคคลที่สามได้รับการรับรองโดย TÜV Rheinland ประเทศไทย จากัด สาหรับการออกแบบ การก่อสร้างและการติดตั้งโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับน้ ามันและก๊าซธรรมชาติและท่อทั้งบนบกและ นอกชายฝั่ง นอกจากนี้ ยงั มีความมุ่งมัน่ ที่มีคุณภาพในการคว้ารางวัลระดับนานาชาติ CUEL ได้รับ การรับรองอย่างเต็มที่กบั ISO 14001:2004 โดย TUV NORD GmbH CUEL รักษาที่ แข็งแกร่ งในบ้านทีมบริ หารคุ ณภาพเพื่อให้คาแนะนาเกี่ ยวกับประเด็นที่ เกี่ยวข้องทั้งหมด QMS โปรแกรมการตรวจสอบภายใน QMS มีการตรวจสอบอย่างเต็มที่ตลอดทั้ง ปี ในการตรวจสอบ นอกจากนี้ จะดาเนิ นการในผูจ้ ดั หาและผูจ้ ดั หาที่มีศกั ยภาพในการตรวจสอบ คุณภาพของเราตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้


104

ภาพที่ 3-4 ใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2008 ที่ได้รับจากจาก TUV Rheinland Thailand Ltd. ที่มา: http://www.cuel.co.th/ สื บค้นวันที่ 14 มกราคม 2556


105 แนวทางการบริหารโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หลักเกณฑ์ในการบริ หารโครงการเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อนั ดับแรกที่องค์กรใช้ในการ บริ หารโครงการคือ ใช้สภาพแวดล้อมภายนอกเป็ นหลักเกณฑ์ บริ ษทั จะเลือกโครงการในด้านนั้นที่ มีความเป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ ซึ่ งต้องสามารถทาได้จริ ง และง่ายต่อการจัดทา ไม่ทาให้พนักงาน เสี ยงานและแบ่ง ช่ วงเวลาอย่างเหมาะสมของแต่ล ะแผนก อันดับต่อไปคือ การเลื อกโครงการที่ ก่อให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพและนาผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์แก่องค์กรหรื อสังคม ไม่ว่าจะในด้านใดก็ ตาม อี กทั้งการคัดเลื อกต้องนึ กถึ งต้นทุนในการจัดโครงการและผลประโยชน์ที่ได้รับว่ามีความ สอดคล้องกันหรื อไม่ ต้องไม่ใช้ทุนในการจัดกิจกรรมมากเกินความจาเป็ น หลังจากนั้นก็จะปฏิบตั ิ ตามแผนที่วางไว้โดยดาเนิ นการติดต่อผูเ้ ข้าร่ วมโครงการ และดาเนิ นการจัดโครงการขึ้น หลังจาก เสร็ จโครงการก็จะมีการสารวจความพึงพอใจของพนักงานต่อโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของ CUEL – 2012 Health Care Week เนื่ องจากทางบริ ษทั ได้พบปั ญหาในด้านต่างๆ ของพนักงาน แต่ปัญหานั้นล้วนเป็ นผลที่มา จากการทางานเพราะงานในบริ ษทั เสี่ ยงต่อการเกิ ดอันตรายเช่ น เสี ยงที่ดงั เกิ นไป แสงที่จา้ เกิ นไป เป็ นต้น ทางบริ ษทั จึงคิดที่จะจัดกิจกรรมสัปดาห์สุขภาพขึ้นมา เพื่อช่วยให้พนักงานรู้ถึงวิธีป้องกัน อันตรายจากการทางาน ในปั จจุบนั อัตราการเสี ยชีวิตของคนในประเทศส่ วนใหญ่มาจากอุบตั ิเหตุบนท้องถนน ทาง โครงการจึงจัดกิ จกรรมเพื่อให้ความรู้เกี่ ยวกับกฎจราจรต่างๆ รวมทั้งข้อควรพึงปฏิบตั ิและข้อห้าม ขณะขับขี่บนท้องถนนเพื่อช่วยรณรงค์ในการลดอุบตั ิเหตุ อีกทั้งอาหารยังมีความสาคัญต่อการดารงชีวิต ซึ่ งรวมทั้งพืชผัก โดยส่ วนใหญ่ในปั จจุบนั มี สารเคมีตกค้างอยูเ่ ป็ นจานวนมากทางโครงการจึงจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับผักปลอดสารพิษ ซึ่ งเป็ นวิธีการง่ายๆ ที่ทุกคนสามารถทาได้ภายในครัวเรื อนเพื่อให้หันมาบริ โภคผักปลอดสารพิษ มากขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผทู ้ ี่เข้าร่ วมอบรมของโครงการนั้นสามารถนาความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ ในชีวติ ประจาวันได้และสามารถถ่ายทอดความรู้น้ นั ให้กบั ผูอ้ ื่นได้ 2. เพื่อให้ทราบถึงอันตรายต่างๆ ที่มาจากการทางานในที่ทางานและสามารถป้ องกันการ เกิดอุบตั ิเหตุต่างๆ ในที่ทางานได้


106 3. เพื่อให้ทราบถึงประโยชน์ของการบริ โภคผักปลอดสารพิษและชี้ให้เห็นโทษที่มาจาก การบริ โภคพืชผักที่มีสารเคมีเจือปนอยู่ 4. เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากอุบตั ิเหตุบนท้องถนนและสามารถนาความรู้ ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวติ ได้ รายละเอียดโครงการ ชื่อกิจกรรม สัปดาห์สุขภาพประจาปี 2555 จัดขึ้นวันที่ 26-30 พฤศจิกายน 2555 สถานที่ ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคาร 3 ห้อง 3103 กิจกรรมที่ทา การบรรยายเรื่ อง “การดูแลสุ ขภาพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตาม หลักการแพทย์วถิ ีธรรม” คลินิกหูและตา ความรู้ เกี่ ย วกับ เรื่ อ งสุ ร าและยาเสพติ ด โดย ส านัก งานต ารวจ แห่งชาติ ได้รับการสนับสนุนจาก โรงพยาบาลอ่าวอุดม กลุ่มจิตอาสาจากหมอเขียว สานักงานตารวจแห่งชาติ บริ ษทั 3 เอ็ม ประเทศไทย จากัด สวนนงนุช รู ปแบบและแนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดการจัดรู ปแบบของกิ จกรรม และวางแผนงาน ถึงวันและเวลาที่เหมาะสมใน การจัดงาน 2. ประชาสัมพันธ์งานและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อติดต่อมาเข้าร่ วมใน การจัดกิจกรรม 3. จัดให้มีการสัมมนาให้ความรู้เชิ งวิชาการแก่พนักงานจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ โดยจะมีการแบ่งรอบการเข้ารับฟั งบรรยายตามแต่ละส่ วนงาน เพื่อเพิ่มพูนทักษะและความเข้าใจ ของพนักงานมาปรับใช้ภายในชีวติ ประจาวัน


107 4. สรุ ปผลการดาเนินงาน ผลทีค่ าดว่าจะได้ รับ 1. พนักงานมีทศั นคติที่ดีตอ่ องค์กร ทางานอย่างมีประสิ ทธิภาพ 2. พนักงานเกิ ดความรู ้ และความเข้าใจเกี่ ย วกับ การดู แลสุ ข ภาพของตนเอง เนื่ องจาก พนักงานทางานที่เป็ นอันตรายต่อหูและตา 3. พนักงานเข้าใจและปฏิบตั ิอย่างถูกต้องเกี่ยวกับกฎระเบียบ เรื่ องของสุ ราและยาเสพติด 4. พนักงานมีการตอบสนองต่อการจัดโครงการ มีการปฏิบตั ิตามและนาไปประยุกต์ใช้ ได้อย่างถูกต้อง 5. พนักงานเล็งเห็ นถึ งความสาคัญของการดูแลสุ ขภาพตามแนวเศรษฐกิ จพอเพียงตาม หลักแพทย์วถิ ีธรรม 6. พนักงานได้พบปะกับวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในด้านนั้นๆและตอบโต้กนั เมื่อมีขอ้ สงสัยในเรื่ องที่วทิ ยากรได้บรรยาย แนวทางการประเมินผล องค์ก รไม่ ได้มี ก ารวางแผนการประเมิ นผลอย่า งเป็ นทางการ โดยองค์ก รมีก ารท าแบบ สารวจความพึงพอใจของพนักงานหลังจากเข้าร่ วมโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างเดียว ไม่มี การทาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ว่าพนักงานมีความรู้ในเรื่ องที่จดั อบรมมากขึ้นหรื อไม่ และดูจากผลการ ดาเนินงานสิ้ นปี ในงบการเงิน


108 แบบสอบถามความพึงพอใจของพนักงานต่ อโครงการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ตารางที่ 3-3 แสดงแบบประเมินความคิดเห็ นโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ CUEL – 2012 Health Care Week ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุ ง 1.การเตรียมงานและการดาเนินงาน การประชาสัมพันธ์ การลงทะเบียน การดาเนินงานโดยรวม ดีมาก

เหมาะสม

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

ดีมาก

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

4.วิทยากร และเนือ้ หาของการอบรม ความรู ้ความเข้าใจ เนื้ อหาการอบรม สุ รา และ ยาเสพติด ความรู ้ ความเข้าใจ เนื้ อหาการอบรม การได้ ยิน ความรู ้ ค วามเข้า ใจ เนื้ อ หาการอบรม หมอ เขียว พืชสวนคนเมือง

ดีมาก

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

5. การจัดนิทรรศการ และการจัดสถานที่

ดีมาก

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

2. วันและเวลาในการจัดงาน การกาหนดวันจัดงาน เวลาในการจัดกิจกรรม 3.สถานทีจ่ ัดงาน สถานที่

บอร์ดนิทรรศการ การได้ยนิ บอร์ดนิทรรศการ สุ รา และยาเสพติด บอร์ดนิทรรศการ หมอเขียว พืชสวนคน การจาหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรี การจาหน่ายผลิตภัณฑ์พืชสวนคนเมือง ทีม่ า: ฝ่ ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ บริษัท CUEL จากัด


109 ผลสรุ ปการประเมินผลจากบริษัท ซียูอแี อล จากัด ในโครงการ ตารางที่ 3-5 แสดงผลการสรุ ปแบบประเมินความคิดเห็ นโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ของ CUEL – 2012 Health Care Week 1.การเตรียมงานและการดาเนินงาน

ดีมาก

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

การประชาสัมพันธ์

18.98%

66.26%

13.18%

1.58%

การลงทะเบียน

15.72%

69.89%

13.66%

0.73%

การดาเนินงานโดยรวม

15.60%

71.34%

12.33%

0.73%

2. วันและเวลาในการจัดงาน

ดีมาก

เหมาะสม

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

การกาหนดวันจัดงาน

21.16%

64.81%

13.18%

0.85%

เวลาในการจัดกิจกรรม

18.50%

62.76%

16.08%

2.66%

3.สถานทีจ่ ัดงาน

ดีมาก

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

สถานที่

27.81%

62.15%

8.59%

1.45%

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

55.74%

7.13%

0.37%

64.57%

7.62%

0.60%

64.33%

9.55%

0.85%

4.วิทยากร และเนือ้ หาของการอบรม ดีมาก ความรู ้ความเข้าใจ เนื้ อหาการอบรม สุ รา และ 36.76% ยาเสพติด ความรู ้ ความเข้าใจ เนื้ อหาการอบรม การได้ 27.21% ยิน ความรู ้ ค วามเข้า ใจ เนื้ อ หาการอบรม หมอ 25.27% เขียว พืชสวนคนเมือง 5. การจัดนิทรรศการ และการจัดสถานที่

ดีมาก

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุ ง

บอร์ดนิทรรศการ การได้ยนิ

22.37%

69.89%

7.50%

0.24%

บอร์ดนิทรรศการ สุ รา และยาเสพติด

23.46%

68.80%

7.38%

0.36%

บอร์ดนิทรรศการ หมอเขียว พืชสวนคน

22.73%

68.08%

8.59%

0.60%

การจาหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรี

19.83%

70.98%

8.71%

0.48%

การจาหน่ายผลิตภัณฑ์พืชสวนคนเมือง

20.68%

70.01%

9.07%

0.24%

ทีม่ า: ฝ่ ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ บริษัท CUEL จากัด


110 หลังจากที่ได้ดาเนินโครงการเสร็ จสิ้ นแล้วทางองค์กร ได้มีการทาแบบประเมินโดยแบ่งเป็ น 5 ด้านด้วยกันคือ 1. การเตรี ยมงานและการดาเนินงาน โดยแบ่งเป็ น การประชาสัมพันธ์ อยูใ่ นเกณฑ์ดีถึงดี มากคิดเป็ นร้อยละ 85.24 โดยส่ วนใหญ่เห็นว่าองค์กรมีการประสัมพันธ์อย่างถัว่ ถึง เข้าถึงทุกแผนก และทุกระดับขององค์กร การลงทะเบียน อยูใ่ นเกณฑ์ดีถึงดีมาก คิดเป็ นร้อยละ 85.61 โดยส่ วนใหญ่ เห็นว่าองค์กรมีการ แบ่งจุดลงทะเบียนแยกตามแผนกเหมาะสมเพื่อจะได้ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการต่อ แถวคอยเพื่อลงทะเบียนการดาเนินงานในภาพรวม อยูใ่ นเกณฑ์ดีถึงดีมาก คิดเป็ นร้อยละ 86.94 โดย ส่ วนใหญ่เห็นว่าองค์กรมีการดาเนินงานโครงการในภาพรวมได้ดีในภาพรวม 2. วันและเวลาในการจัดงาน โดยแบ่งเป็ น การกาหนดวันจัดงาน อยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก คิดเป็ นร้อยละ 85.97 โดยส่ วนใหญ่เห็นว่าการกาหนดวันจัดงานอยูใ่ น เกณฑ์ดี เพราะองค์กรได้ทา การสอบถามถึงความพอใจ และเวลาที่สะดวกของพนักงานก่อนกาหนดวันที่จะดาเนินการ เวลาใน การจัดกิจกรรม อยูใ่ นเกณฑ์ ดีถึงดีมากคิดเป็ นร้อยละ 81.26 โดยส่ วนใหญ่เห็นว่า การที่มีการอบรม ตลอดทั้งวันเหมาะสมแล้ว เพราะหลังจากอบรมเสร็ จจะมีการให้ลองทดปลูกจริ งเพื่อ จะได้ไปทา ต่อได้อย่างแท้จริ ง 3. สถานที่จดั งาน อยูใ่ นเกณฑ์ดีถึงดีมาก คิดเป็ นร้อยละ 89.96 โดยส่ วนใหญ่เห็นว่า การ จัดอบรมในหอประชุ มใหญ่ขององค์กรในเรื่ องที่ดีเพราะมีพ้ืนที่ในการ จัดแสดงเยอะ มีความโปร่ ง สบาย เหมาะแก่การจัดอบรม 4. วิท ยากรและเนื้ อหาการอบรม โดยพนัก งานมี ค วามพึ งพอใจในวิธี ก ารอบรมของ วิทยากรและความรู้ที่ได้ ในเรื่ องของสุ รา และยาเสพติดมากที่สุดคิดเป็ นร้อยละ 92.5 รองลงมาคือ การได้ยินเสี ยง และเสี ยงที่ดงั ที่สุดที่เราจะรับได้ คิดเป็ นร้อยละ 91.78 และพืชสวนคนเมือง 89.60 ซึ่งก็อยูใ่ นเกณฑ์ดี 5. การจัดนิ ทรรศการ โดยสวนใหญ่เห็นว่าบอร์ ดที่จดั ได้น่าสนใจ มีเนื้อหาที่ดีคือ การได้ ยิน และสุ รา โดยคิดเป็ นร้อยละ 92.26 เท่ากัน โดยที่ จริ งแล้วองค์กร ควรมี การประเมินผลโครงการมากกว่า นี้ เพราะการประเมิ นผล โครงการเป็ นสิ่ งสาคัญที่องค์กร ควรทาแล้วจะทาให้ทราบถึงความคุม้ ค่าของการจัดโครงการว่า เงิน ที่เราต้องจ่ายไปในการจัดอบรมทั้งหมด มีผลตอบแทนให้กบั องค์กรอย่างไรบ้าง สมควรจะจัดต่อไป หรื อไม่เพราะถ้าไม่มีประโยชน์เพิ่มขึ้นเช่ น พนักงานก็มีความสามารถในการทางานเท่าเดิม หรื อ น้อยลง อัตราการลางานเท่าเดิมหรื อมากขึ้น องค์กรก็ไม่มีความจาเป็ นในการจัดโครงการ หรื อต้อง ปรับวิธีการในการดาเนิ นงานของโครงการ รู ปแบบการให้ความรู้ เพื่อที่จะทาให้พนักงานเกิ ดการ ตอบรับ มีความรู ้เพิ่มเติมตามที่องค์กรมุ่งหวังไว้ โดยสามรถวัดได้โดย


111 ตัวอย่างเช่นการหาผลตอบแทนจากการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ (Return on Investment of HR) คือ ROI of HR =

รายได้ – (ค่าใช้จ่ายอื่น) – (ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานทั้งหมด) ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับพนักงานทั้งหมด

ผลจากการคานวณจะทาให้ทราบว่า การลงทุนในทรัพยากรมนุ ษย์ทุกๆ 1 บาท จะทาให้ องค์การมี ผลตอบแทนกลับมาเป็ นจานวนเงิ นเท่าใด และองค์กรควรมีการประเมินความรู้ ของ พนักงานเพื่อดูวา่ พนักงานเข้าใจในเรื่ องที่ได้อบรม และสามารถนาไปใช้ได้ดีมากน้อยเพียงใด และ ควรวัดประสิ ท ธิ ภาพภาพของพนักงานว่า มี ผลดี ข้ ึ นอย่า งไร ผลผลิ ตดี ข้ ึ นอย่า งไร ยอดขายดี ข้ ึ น อย่างไร อัตราการทากาไรดีข้ ึนอย่างไร เพื่อให้ทราบว่าโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีผลต่อผล ประกอบการขององค์กรอย่างไร และส่ งผลต่อตัวพนักงานอย่างไร จากการที่องค์กรได้มีการวางแผนและดาเนินโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ รวมทั้งการ ประเมินผลทาให้เห็ นว่าองค์กรไม่มีการประเมินผลโครงการที่พอเพียงเนื่ องจากการสารวจเพียง ความพึงพอใจในการเข้าร่ วมโครงการของพนักงาน ไม่ช่วยให้องค์กรเห็นภาพของการพัฒนาที่เกิด ขึ้ นกับบุ คลากร และองค์กรอย่า งชัดเจน ท าให้ไม่สามารถสรุ ป ได้ว่าโครงการส่ งผลดี ต่อองค์ก ร หรื อไม่ และการดู ที่ผลการดาเนิ นงานสิ้ นปี ในงบการเงินไม่มีความสมเหตุสมผลเพราะ ถ้ากาไร เพิ่ ม ขึ้ นก็ อาจจะไม่ ไ ด้เกิ ด จากโครงการนี้ เ พีย งอย่า งเดี ย ว ท าให้องค์ก รไม่ ท ราบผลที่ ไ ด้รับ จาก โครงการอย่างแท้จริ ง


112 งบการเงินของบริษัท ซียูอแี อล จากัด (บางส่ วน) บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 หมายเหตุ บาท สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า – บริ ษทั อื่น ลูกหนี้การค้า – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้งานก่อสร้างตามสัญญา – สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในกิจการร่ วมค้า – ราคาทุน อาคารและอุปกรณ์ – สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์ หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า - บริ ษทั อื่น เจ้าหนี้การค้า – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้ า หนี้ สั ญ ญาซื้ อขายเงิ น ตราต่ า งประเทศ ล่วงหน้า - สุ ทธิ เจ้าหนี้งานก่อสร้างตามสัญญา - สุ ทธิ ต้นทุนงานก่อสร้างค้างจ่าย

พ.ศ. 2553 บาท

3 4 4 5 8

2,019,008,885 51,293,553 1,143,031,499 2,361,992,791 91,825,053 5,667,151,781

1,306,023,650 335,079,219 1,470,848,433 2,618,589,952 109,218,820 5,839,760,074

9 10 11 12

0 489,388,795 86,548,588 184,179,742 760,117,125 6,427,268,906

600,126,000 411,841,737 100,089,958 47,281,558 1,159,339,253 6,999,099,327

763,072,656 15,169,816

976,733,954 69,948,284

7,252,139 2,614,883,055 394,512,182

1,948,166 1,798,364,018 1,181,832,245

6


113 บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 หมายเหตุ บาท หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนี้ สินตามสัญญาเช่ าการเงิ นที่ถึงกาหนดชาระ ภายในหนึ่งปี - สุ ทธิ 0 ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 934,474 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 13 511,306,130 รวมหนี้สินหมุนเวียน 4,307,130,452 หนี้สินไม่หมุนเวียน ภาระผูกพันผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ 14 185,075,583 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 185,075,583 รวมหนี้สิน 4,492,206,035 ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุ ้น สามัญ จ านวน 6,000,000 หุ ้ น มู ล ค่ า หุน้ ละ 10 บาท 60,000,000 ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุ ้น สามัญ จ านวน 6,000,000 หุ ้ น มู ล ค่ า หุน้ ละ 10 บาท 60,000,000 ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ 37,252,409 ขาดทุ น ตามหลัก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกัน ภัย จาก ภาระผูกพันผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ 14 (37,376,722) กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - เงินสารองตามกฎหมาย 17 6,000,000 ยังไม่ได้จดั สรร 1,869,187,184

พ.ศ. 2553 บาท

1,843,433 0 454,314,140 4,484,984,240 159,048,710 185,075,583 4,644,032,950

60,000,000

60,000,000 37,252,409 (37,376,722) 6,000,000 2,289,190,690


114 บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2553 หมายเหตุ บาท บาท หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ 1,935,062,871 2,355,066,377 รวมหนี้สินและส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ 6,427,268,906 6,999,099,327 บริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2553 หมายเหตุ บาท บาท รายได้ค่าก่อสร้าง 9,527,709,193 10,305,874,457 ต้นทุนในการก่อสร้าง (8,787,633,658) (9,705,580,295) กาไรขั้นต้น 740,075,535 600,294,162 ดอกเบี้ยรับ 39,771,722 11,269,420 รายได้อื่น 25,467,683 46,701,491 กาไรก่อนค่าใช้จ่าย 805,314,940 658,265,073 ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร (293,289,413) (430,507,491) กาไรก่อนหักต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ 512,025,527 227,757,119 ต้นทุนทางการเงิน - ดอกเบี้ยจ่าย 0 (1,433) กาไรก่อนภาษีเงินได้ 512,025,527 227,755,686 ภาษีเงินได้ 15 (32,740,033) (63,314,067) กาไรสุ ทธิ สาหรับปี 479,285,494 164,441,619


115 บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2554 และ พ.ศ.2553 2. นโยบายการบัญชี 2.1 ผลประโยชน์พนักงาน บริ ษ ทั บันทึ ก หนี้ สิ นเกี่ ย วกับ ผลประโยชน์พ นัก งานเมื่ อเกษี ย ณอายุ ภายใต้ก ฎหมาย แรงงานในประเทศไทยเริ่ มตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หนี้ สินผลประโยชน์พ นักงานเป็ น หนี้สินประเภทโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ (defined benefit obligation) ซึ่ งคานวณโดยวิธี projected unit credit ตามเกณฑ์คณิ ตศาสตร์ ประกันภัย (acturial basis) มูลค่าปั จจุบนั ของโครงการ ผลประโยชน์ กาหนดให้ค านวณโดยการคิดลดกระแสเงิ นสดที่ คาดว่า จะต้องจ่ า ยในอนาคตบน พื้นฐานเงินเดือนพนักงาน อัตราการลาออกอายุจนถึงเกษียณอัตราการตาย อายุงาน และปั จจัยอื่นๆ และคานวณคิดลดโดยใช้อตั ราดอกเบี้ยของหลักทรัพย์รัฐบาลที่มีกาหนดเวลาใกล้เคียงกับระยะเวลา ของหนี้สินดังกล่าว ค่าใช้จ่ายเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์จะถูกบันทึกในงบกาไรขาดทุนเพื่อกระจาย ต้นทุนดังกล่าวตลอดระยะเวลาของการจ้างงาน บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2554 และ พ.ศ.2553 14.

ภาระผูกพันผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ

หนี้สินที่รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิน รายการที่รับรู ้ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุน้ รายการที่รับรู ้ในงบกาไรขาดทุน หนี้สินที่รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงินประกอบด้วย มู ล ค่ า ปัจจุบนั ของภาระผูกพัน

พ.ศ. 2554 บาท 185,075,583 0 32,976,000

พ.ศ. 2553 บาท 159,048,710 37,376,722 53,243,278

185,075,583

84,392,710


116

ขาดทุนตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที่รับรู้ใน ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ขาดทุนจากการเปลี่ยนขนาดโครงการ หนี้สินที่รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิน

พ.ศ. 2554 บาท

พ.ศ. 2553 บาท

0 0 185,075,583

37,376,722 37,279,278 159,048,710

พ.ศ. 2554 บาท 159,048,710 28,140,000 4,836,000 0 0 (6,949,127) 185,075,583

พ.ศ. 2553 บาท 71,664,833 12,450,000 3,514,000 37,376,722 37,279,278 (3,236,123) 159,048,710

28,140,000 4,836,000 0 32,976,000

12,450,000 3,514,000 37,279,278 53,243,278

บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2554 และ พ.ศ.2553 14. ภาระผูกพันผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ การเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์มีดงั ต่อไปนี้

ยอดยกมาต้นปี ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ขาดทุนตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย การเปลี่ยนขนาดโครงการ ผลประโยชน์ที่จ่ายระหว่างปี ยอดคงเหลืองสิ้ นปี จานวนเงินที่รับรู ้ในงบกาไรขาดทุนมีดงั ต่อไปนี้ ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย การเปลี่ยนขนาดโครงการ รวม (แสดงอยูใ่ นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน)

จากงบการเงินของบริ ษทั ซียอู ีแอล จากัด จะเห็นได้วา่ บริ ษทั ไม่มีการแยกค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ พนักงานอย่างเพียงพอทั้งในงบกาไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิ นเพราะบริ ษทั มีการพูดถึ ง


117 ค่าใช้จ่ายเกี่ ยวกับพนักงานเพียงเรื่ องของผลประโยชน์พนักงานซึ่ งเป็ นเรื่ องของพนักงานหลังจาก การออกจากงาน จึงทาให้ไม่มีผลอะไรมากในด้านการบริ หารงาน ดังนั้นบริ ษทั ควรมีการทาการ บัญชีบริ หารทรัพยากรมนุษย์ หรื อแยกค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานเพราะค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานมี ความสาคัญในการบริ หาร เพราะจะให้ให้องค์กรทราบว่าพนักงานมีค่าใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด มี ค่าใช้จ่ายด้านใดบ้าง ถ้าด้านค่ารักษาพยาบาลสู งก็ควรหาวิธีการแก้ทาให้พนักงานมีสุขภาพดีข้ ึน ถ้า ค่าใช้จ่ายในด้านการพัฒนาทรั พยากรมนุ ษย์ยงั น้อยอยู่องค์กรก็จะได้เพิ่มโครงการในการพัฒนา ทรั พยากรมนุ ษย์ ทาให้พนักงานทางานได้มีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผลมากขึ้น แล้วที่สาคัญ ทรั พ ยากรมนุ ษย์ คื อ ทรั พ ยากรที่ มี คุ ณค่ า มากที่ สุ ด ดั ง นั้ นองค์ ก รควรให้ ค วามส าคั ญ ในการบริ การทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบริ หารทรัพยากรมนุษย์


บทที่ 4 ผลการศึกษา เนื่องจากองค์กรมีการประเมินผลโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในเชิงลึกที่ไม่เพียงพอทา ให้ไม่สามารถประเมินขั้นความสาเร็ จของโครงการได้ คณะผูจ้ ดั ทาจึงได้ทาการออกแบบสารวจโดย การเก็บแบบสอบถามจากบุคลากรฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ และพนักงานที่เข้าร่ วมโครงการของบริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด ซึ่ งสามารถสรุ ปผลการศึกษา ได้ดงั ต่อไปนี้ ความคิดเห็นฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ ของบริษัท ซียูอแี อล จากัด จากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของพนักงานฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ถึงโครงการสวนผักคน เมืองได้ขอ้ มูลว่า จานวนพนักงานที่เข้าร่ วมโครงการทั้งหมดมีจานวน 350 คน ซึ่ งจานวนพนักงานที่ เข้า ร่ วมโครงการคิ ดเป็ นอัตราส่ วน ต่ อพนัก งานทั้ง หมด จากการสัม ภาษณ์ ไ ด้ผลสรุ ป ว่า ทาง บริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัด ได้เล็งเห็นถึงปั จจัยทางด้านอาหารที่มีผลกระทบการพัฒนาองค์กรว่า การมี สวัสดิ การให้แก่ พนักงาน มีผลสาคัญอย่างยิ่ง เนื่ องจากในบริ ษทั ตั้งอยู่ในที่ๆ ห่ างไกลจากแหล่ ง อาหาร ห่างไกลจากแหล่งชุ มชน ซึ่ งหากบริ ษทั ไม่มีการให้สวัสดิการแก่พนักงาน พนักงานก็จะเกิด ความลาบาก ไม่มีอาหารรับประทาน จึงต้องมีการจัดโรงอาหาร เพื่อความสะดวกของพนักงานไม่ ต้องเสี ยเวลาในการออกไปรับประทานอาหารข้างนอก กลับมาเข้ างานได้ตรงเวลา โดยราคาจะไม่ แพงนัก ทาให้พนักงานมีกาลังซื้อได้ทุกวัน หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกโครงการเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์อนั ดับแรกที่องค์กรใช้ใน การคัดเลือกโครงการคือ บริ ษทั จะเลือกโครงการที่มีความเป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ ซึ่ งต้องสามารถ ทาได้จริ ง และง่ายต่อการจัดทา ไม่ทาให้พนักงานเสี ยงานและแบ่งช่วงเวลาอย่างเหมาะสมของแต่ละ แผนก อันดับต่อไปคือ การเลือกโครงการที่ก่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและนาผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ แก่องค์กรหรื อสังคม ไม่วา่ จะในด้านใดก็ตาม อีท้ งั การคัดเลือกต้องนึกถึงต้นทุนในการจัดโครงการ และผลประโยชน์ที่ได้รับว่ามีความสอดคล้องกันหรื อไม่ ต้องไม่ใช้ทุนในการจัดกิจกรรมมากเกิ น ความจาเป็ น การที่องค์กรได้นาโครงการที่เกี่ยวกับพืชสวนครัวเข้ามาจัดเป็ นกิ จกรรมฝึ กอบรมนั้น ฝ่ าย ทรัพยากรมนุษย์ได้ให้เหตุผลไว้หลายประการ ดังนี้ 1. เพื่ อเป็ นการส่ ง เสริ มให้พ นัก งานรู้ จกั บริ โภคพืชผัก ที่ มี ประโยชน์ต่อร่ า งกาย ได้ รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ทาให้สุขภาพดีข้ ึน ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาจากการเจ็บป่ วย


119 2. เพื่อให้พนักงานนาไปปฏิบตั ิใช้ ทาให้พนักงานได้ใช้เวลาว่างให้เกิ ดประโยชน์ และ อาจจะเป็ นการเพิ่มรายได้เสริ มอีกทางหนึ่ง 3. พนักงานมีส่วนร่ วมในการทากิ จกรรมของบริ ษทั เพื่อให้พนักงานนาความรู้ที่ได้ไป เผยแพร่ ในสังคมต่อไป พนักงานของบริ ษทั ซี ยอู ีแอล จากัดเป็ นจานวนมากมีปัญหาเกี่ยวกับการป่ วยไข้ที่เกิดจาก อาหาร ซึ่ งเป็ นผลทาให้เกิดการลาป่ วยเป็ นประจา ซึ่ งสาเหตุที่เกิดจากอาหารที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ได้สรุ ปมา คื อ เกิ ดจากการขากวิตามินที่มาจากพืชผัก พนักงานเกิ ดความอ่อนล้ามาทางานไม่ได้ เนื่องจากการรับประทานอาหารที่ไม่ครบ 5 หมู่ นอกจากนี้ ยงั มีโรคอาหารเป็ นพิษ ท้องร่ วง ท้องเสี ย เนื่องจากรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุ ขลักษณะ ไม่สะอาด ซึ่ งอาจเป็ นต้นเหตุมาจากสารเคมีตกค้าง ที่มาจากพืชก็เป็ นได้ บริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด ให้ความสาคัญเกี่ยวกับอาหารการกิ นของพนักงาน เนื่ องจากมีการ ให้ ส วัส ดิ ก ารอาหารกลางวัน ซึ่ งโรงอาหารของบริ ษ ัท สามารถประกอบอาหารได้อ ย่ า งถู ก สุ ข ลัก ษณะ มี ม าตรการณ์ เ รื่ อ งความสะอาดของภายในโรงอาหาร มี ร้ า นค้า ให้พ นัก งานเลื อ ก หลากหลาย อีกทั้งยังมีบริ หารน้ าดื่มให้ในแต่ละส่ วนของโรงงาน วิธีการในการฝึ กอบรมของโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร ภายใต้โครงการพืช สวนครัว คือ มีการแจกเอกสารประชาสัมพันธ์ ถึงข้อดี ข้อเสี ย ในการจัดโครงการ พร้อมเชิญชวน ให้มาร่ วมกิจกรรม จัดทาคู่มืออบรม และทาการอบรมพนักงาน อีกทั้งยังมีการจัดทาแปลงพืชสวน ครัวตัวอย่าง เพื่อให้พนักงานเข้าใจและนาไปปฏิบตั ิตามได้อย่างถูกต้อง จัดทีมผูเ้ ชี่ยวชาญมาแนะนา ความรู ้ พร้อมทั้งเสนอแนะถึงแนวทางแก้ไขในการปลุกผักสวนครัวด้วยตัวเอง มีการขายเมล็ดพันธุ์ และพืชผักปลอดสารพิษให้พนักงานซื้ อไปรับประทานกันได้ การประเมินผลของโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ ภายใต้โครงการพืชสวน ครัว คือ จะมีการประเมินผลจากสุ ขภาพพลานามัยของพนักงาน โดยดูจากการตรวจสุ ขภาพประจาปี ของพนักงาน ตรวจจากอัตราการลางานของพนักงานว่ามีอตั ราที่ลดลงหรื อไม่ อีกทั้งยังมีการเก็บ แบบสอบถามถึงความพึงพอใจและความรู้ที่พนักงานได้รับภายหลังการเข้าฟังอบรมโครงการของ บริ ษทั โดยจะสรุ ปออกมาในรู ปของร้อยละเมื่อเทียบกับพนักงานทั้งหมดที่ได้มาเข้าร่ วมโครงการ อี กทั้งบริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด ยัง ไม่มี การนาเอาหลักการบัญชี เกี่ ย วกับ บริ หารทรัพยากร มนุษย์มาใช้ในการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ของบริ ษทั ทาให้ไม่ทราบถึงผลตอบแทนที่ได้รับจากการ ลงทุ น เกี่ ย วกับ พนัก งานที่ อ อกมาเป็ นตัว เลข และเมื อ ผู้ศึ ก ษาได้น างบการเงิ น ของบริ ษ ัท มา ทาการศึกษาพบว่า บริ ษทั ไม่มีการเปิ ดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ซึ่ งจะทาให้เราไม่


120 สามารถทราบถึงผลจากการลงทุ นทางด้านพนักงานว่า เมื่อเรามีการจัดทาโครงการแล้ว ผลที่ได้รับ จากการอบรมส่ งผลได้ดี เมื่อเทียบเท่ากับการลงทุนที่บริ ษทั ได้สูญเสี ยไป ข้ อมูลทัว่ ไปของพนักงานทีเ่ ข้ าร่ วมโครงการ ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เป็ นเพศชาย มีจานวน 47 คน คิดเป็ นร้อยละ 94 และเพสหญิง 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 6 อายุของผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ อยูใ่ นช่วง 31-40 ปี จานวน 27 คน คิด เป็ นร้อยละ 54 รองลงมาอายุมากกว่า 41 ปี จานวน 18 คน คิดเป็ นร้อยละ 36 และอายุในช่วง 20-30 ปี จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 10 สถานะภาพส่ วนใหญ่ของผูต้ อบแบบสอบถามมีสถานะสมรส จานวน 30 คน คิดเป็ นร้อยละ 60 รองลงมาสถานะโสด จานวน 17 คน คิดเป็ นร้อยละ 34 และ สถานะหย่าร้าง 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 6 ระดับการศึกษาส่ วนใหญ่ของผูต้ อบแบบสอบถาม อยูใ่ น ระดับปริ ญญาตรี จานวน 27 คน คิดเป็ นร้อยละ 54 รองลงมา อยูใ่ นระดับอนุปริ ญญาจานวน 18 คน คิดเป็ นร้อยละ 36 และอยูใ่ นระดับสู งกว่าปริ ญญาตรี จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 10 โรคประจาตัวของผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ไม่มีโรคประจาตัว จานวน 48 คน คิดเป็ น ร้อยละ 96 และมีโรคประจาตัวจานวน 2 คน คิดเป็ นร้ อยละ 4 โดยโรคประจาตัวที่เป็ นคือโรค ไทรอยด์ ทั้ง 2 คน ในส่ วนของโรคที่ป่วยระหว่างปี ของผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เป็ นโรค ไข้หวัด จานวน 32 คน คิดเป็ นร้อยละ 64 รองลงมาคืออาหารเป็ นพิษ จานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 22 โรคไมเกรน จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 10 และโรคไข้เลือดออก 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 4 ลักษณะที่อยู่ของผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่พกั อาศัยในหอพัก จานวน 28 คน คิดเป็ น ร้อยละ 56 รองลงมาเป็ นพักอาศัยในบ้านทาวน์เฮาส์ และพักอาศัยในบ้านเดี่ยว ตามลาดับ โดยบ้าน ทาวน์เฮาส์มีจานวน 18 คน คิดเป็ นร้อยละ 36 ส่ วนบ้านเดี่ยว 12 คน คิดเป็ นร้อยละ 24 และพักอาศัย ในตึกแถว จานวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 4


121 ตารางที่ 4-1 แสดงการสรุ ปผลการตอบแบบสอบถามจากผูเ้ ข้าร่ วมโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1. 2.

3.

4.

5.

6.

รายละเอียด ความรู ้ของพนักงานจากการเข้าร่ วมโครงการ เหตุผลที่พนักงานเข้าร่ วมโครงการ 2.1. นโยบายองค์กร 2.2. เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางานให้แก่ตนเอง 2.3. เพื่อเพิ่มความรู ้ให้แก่ตนเอง 2.4. เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน 2.5. เป็ นผลประโยชน์ที่ตนสมควรได้รับจากองค์กร ความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุของการเข้าร่ วมโครงการ 3.1. ด้านการเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพยากขึ้น 3.2. ราคาของอาหารที่เพิ่มสู งขึ้น 3.3. การได้รับอาหารที่ขาดคุณค่าทางโภชนาการ สาเหตุของความไม่มน่ั คงทางอาหาร 4.1. การใช้สารเคมีในการทาการเกษตร 4.2. วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงาวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น 4.3. ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน 4.4. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกกระทบต่อการผลิตอาหาร 4.5. การขาดนโยบายเกี่ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร 4.6. การเปิ ดการค้าเสรี และข้อตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร 4.7. ปัญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร แนวทางเพาะปลูกสวนผักทางเลือกที่สามารถทาได้ในครัวเรื อน 5.1. การปลูกแบบแขวน 5.2. ปลูกตามระเบียงหน้าต่าง 5.3. ปลูกในกระถาง 5.4. ปลูกโดยใช้วสั ดุเหลือใช้ ประโยชน์ที่ได้รับจากการปลูกสวนผักทางเลือก 6.1. ด้านทาให้ทานผักมากขึ้นเพราะปลูกเองมากที่สุด 6.2. ทาให้ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ร้อยละ 85 40 26 12 12 10 43 39 18 34 30 18 6 6 4 2 37.50 25 25 12.5 30 20


122 ตารางที่ 4-1(ต่อ) แสดงการสรุ ปผลการตอบแบบสอบถามจากผูเ้ ข้าร่ วมโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

7.

8.

9.

10.

11.

รายละเอียด 6.3. ทาให้ครอบครัวมีกิจกรรมร่ วมกันมากขึ้น 6.4. ทาให้ความเครี ยดลดลง 6.5. ทาให้มีความใจเย็นมากขึ้น 6.6. ทาให้เกิดสมาธิ ในการทาสิ่ งต่างๆมากขึ้น 6.7. การที่ได้ประโยชน์ในด้านค่าใช้จ่ายในเรื่ องอาหารน้อยลง สิ่ งที่ได้รับจากการเข้าร่ วมโครงการ 7.1. เพิ่มความสนิทสนมกับเพื่อนร่ วมงาน 7.2. ความรู ้เรื่ องความไม่มน่ั คงทางอาหาร 7.3. ความรู้ในการปลูกผักสวนครัว 7.4. ทาให้มีประสิ ทธิ ภาพในการทางานเพิ่มมากขึ้น 7.5. ทาให้ลดความเครี ยดลงได้ สาเหตุที่นาความรู้ไปปฏิบตั ิจริ ง 8.1. ทาให้มีผกั ปลอดสารพิษบริ โภคเองโดยไม่ตอ้ งหาซื้อ 8.2. ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่ องของอาหาร 8.3. ทาให้ครอบครัวมีกิจกรรมที่ทาร่ วมกันเพิ่มมากขึ้น 8.4. การใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ สาเหตุที่ไม่นาความรู ้ไปปฏิบตั ิจริ ง 9.1. ไม่มีเวลาว่างสาหรับการเพาะปลูก 9.2. วิธีการปลูกที่ยงุ่ ยากซับซ้อน เสี ยค่าใช้จ่ายเยอะ 9.3. ไม่บริ โภคผักอยูแ่ ล้ว ผลที่ได้รับจากการปลูกผักสวนครัว(ด้านสุ ขภาพ) 10.1. ช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวในที่พกั อาศัย 10.2. มีภาวะจิตใจที่แจ่มใส 10.3. ลดอาการภูมิแพ้ต่างๆ 10.4. ด้านสุ ขภาพอื่นๆ ผลที่ได้รับจากการปลูกผักสวนครัว(ด้านครอบครัวและสังคม) 11.1. มีความสัมพันธ์ที่ดีกบั เพื่อนบ้าน 11.2. เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กบั ชุมชน

ร้อยละ 14 12 10 8 6 36 20 18 16 10 38 33 17 12 50 25 25 31 29 11 29 26 26 21


123

ตารางที่ 4-1(ต่อ) แสดงการสรุ ปผลการตอบแบบสอบถามจากผูเ้ ข้าร่ วมโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รายละเอียด 11.3. ครอบครัวมีเวลาและกิจกรรมร่ วมกันมากขึ้น 11.4. ฝึ กความอดทน การช่างสังเกต และการรอคอย 11.5. ฝึ กพัฒนาการและทักษะของบุตรหลาน 12. ผลที่ได้รับจากการปลูกผักสวนครัว(ด้านเศรษฐกิจ) 12.1. ค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาลลดน้อยลง 12.2. ทาให้มีเงินเหลือเพื่อเก็บออมเพิม่ มากขึ้น 12.3. ทาให้สามารถนาผักมาขายเป็ นรายได้เสริ ม 12.4. สามารถนาเงินที่เหลือไปทาให้เกิดมูลค่าสู งขึ้นได้ 12.5. ทาให้มีเงินหมุนเวียนเพิ่มมากขึ้น

ร้อยละ 21 17 15 55 23 10 7 5

ความคิดเห็นของผู้เข้ าร่ วมโครงการ หลังจากได้เข้าร่ วมโครงการแล้วผูต้ อบแบบสอบถามสามารถเข้าใจถึงความไม่มน่ั คงทาง อาหารได้ดีโดยมีการตอบคาถามวัดความรู้เรื่ องความไม่มน่ั คงทางอาหาร ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วน ใหญ่กว่าร้อยละ 85 สามารถตอบคาถามได้ถูกต้อง แสดงว่าผลของโครงการในการบรรยายเกี่ยวกับ ความไม่มน่ั คงทางอาหารมีผลไปในทิศทางที่ดีเพราะทาให้ผเู้ ข้าอบรมเข้าใจ ว่ากาลังเกิดเหตุการณ์ ความไม่มน่ั คงทางอาหารอยู่ และตระหนักถึงผลกระทบเพื่อที่จะได้ดาเนินชีวติ ด้วยความระมัดระวัง ส่ วนเหตุผลที่พนักงานเข้าร่ วมโครงการนี้ส่วนใหญ่เนื่องมากจากทาตามนโยบายขององค์กร จานวน 20 คน คิดเป็ นร้อยละ 40 รองลงมาคือเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางานให้แก่ตนเอง จานวน 13 คน คิดเป็ นร้ อยละ 26 เพื่อเพิ่ มความรู้ ใ ห้แก่ ตนเอง จานวน 6 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 12 เพื่ อความ สนุ กสนานเพลิดเพลินจานวน 6 คน คิดเป็ นร้อยละ 12 และมีผตู้ อบแบบสอบถามคิดว่าที่เข้าร่ วม โครงการเพราะเป็ นผลประโยชน์ที่ตนสมควรได้รับจากองค์กร เพียง 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 10 ผูต้ อบแบบสอบถามมี ความคิดเห็ นเกี่ ยวกับสาเหตุของการเข้าร่ วมโครงการดังนี้ ผูต้ อบ แบบสอบถามส่ วนใหญ่ที่เข้าร่ วมโครงการมีสาเหตุเพราะทาตามนโยบายขององค์กร และเพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพในการทางาน ตามลาดับ


124 ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ได้ประสบกับปั ญหาความไม่มน่ั คงทางอาหารในด้านการ เข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพยากขึ้น ราคาของอาหารที่เพิ่มสู งขึ้น และการได้รับอาหารที่ขาดคุณค่าทาง โภชนาการ เรี ยงตามลาดับ จากการเก็บข้อมูลโดยเรี ยงลาดับจากปัญหาที่ประสบมากที่สุดลงมา ด้านผลกระทบต่อตัวบุคคล พนักงานส่ วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากความไม่มน่ั คงทางดังนี้ โภชนาการไม่ครบถ้วน มีรูปแบบในการบริ โภคถูกรบกวน และมีการเจ็บป่ วยเนื่องจากการบริ โภค อาหาร เรี ยงตามลาดับ จากการเก็บข้อมูลโดยเรี ยงลาดับจากผลกระทบต่อตัวบุคคล ด้านผลกระทบต่อครอบครัว พนักงานส่ วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากความไม่มน่ั คงทาง ดังนี้ เกิดการขายที่ดินทากิน เกิดค่าใช้จ่ายเรื่ องอาหารของครอบครัวสู งขึ้น และเกิดการย้ายถิ่นฐาน เพื่อการเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน เรี ยงตามลาดับ จากการเก็บข้อมูลโดยเรี ยงลาดับจากความเข้าใจของพนักงาน ถึงผลกระทบต่อครอบครัว ด้านผลกระทบต่อองค์กร พนักงานส่ วนใหญ่คิดว่าองค์กรได้รับผลกระทบจากความไม่ มัน่ คงทางอาหารดังนี้ พนักงานมีการลางานเพิ่มสู งขึ้น ทาให้ไม่เกิ ดแรงจูงใจในการทางาน และทา ให้ผลผลิตโดยรวมขององค์กรต่าลง เรี ยงตามลาดับ จากการเก็บข้อมูลโดยเรี ยงลาดับจากความเข้าใจ ของพนักงานถึงผลกระทบต่อองค์กร ด้านผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ พนักงานส่ วนใหญ่คิดว่าการพัฒนาประเทศได้รับ ผลกระทบจากความไม่ ม น่ั คงทางอาหารดัง นี้ ทาให้พ้ื นทางการเกษตร ซึ่ ง เป็ นรายได้หลัก ของ ประเทศลดน้อยลง ทาให้มีสารพิษตกค้าง อยู่ในตัวประชาชน แม่น้ า พื้นดินทางการเกษตรมากจน เกิ ดอันตราย และทาให้ค่าดัชนี ความสุ ขของประชาชนอยู่ในระดับต่ าเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศ เพื่ อ นบ้า น เรี ย งตามล าดับ จากการเก็ บ ข้อ มู ล โดยเรี ย งล าดับ จากความเข้า ใจของพนัก งานถึ ง ผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ผูต้ อบแบบสอบถามคิดว่าสาเหตุของปั ญหาความไม่มน่ั คงทางอาหารอันดับแรกคือ การใช้ สารเคมีในการทาการเกษตร จานวน 17 คน คิดเป็ นร้อยละ 34 รองลามาคือการที่วฒั นธรรมอาหาร ต่างชาติครอบงาวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น จานวน 15 คน คิดเป็ นร้อยละ 30 รองลงมาคือปั ญหาของ ระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน จานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 18 รองลงมาคือการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศโลกกระทบต่อการผลิ ตอาหาร และการขาดนโยบายเกี่ ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร มี จานวนเท่ากันที่ 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 6 รองลงมาคือการเปิ ดการค้าเสรี และข้อตกลงระหว่างประเทศ ต่อระบบอาหาร จานวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 4 และผูต้ อบแบบสอบถามคิดว่าปั ญหาความเสื่ อม โทรมของฐานทรัพยากรอาหาร เป็ นสาเหตุของปั ญหาความไม่มน่ั คงทางอาหารน้อยที่สุด จานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 2


125 ผูต้ อบแบบสอบถามคิ ดว่า จากการเข้า ร่ ว มโครงการตนเองจะสามารถผลิ ต อาหารเพื่ อ บริ โภคในครัวเรื อนด้วยตนเองโดยทาการเพราะปลูกด้วยสวนผักทางเลือกสู ง ถึง 40 คน คิดเป็ นร้อย ละ 80 แสดงว่าผูต้ อบแบบสอบถามให้ความสนใจในเรื่ องของการปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อทากินเอง ในครัวเรื อน เป็ นการพึ่งพาตนเองในขั้นต้น แสดงว่าโครงการนี้ เกิ ดประสิ ทธิ ผลอย่างมากเพราะว่า คนส่ วนใหญ่ที่ให้เขาสามารถพึ่งพาตนเองในขั้นต้นได้ และอีก 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 20 ยังคงคิดว่า จะทาการปลูกในพื้นที่ขา้ งบ้านแบบเดิม และในร้อยละ 80 ที่จะปลูกแบบสวนผักทางเลือกส่ วนใหญ่ คิดว่าจะทาการปลู กแบบแขวน จานวน 15 คน คิดเป็ นร้อยละ 37.50 รองลงมาปลูกตามระเบียง หน้าต่าง และปลูกในกระถาง มีจานวนเท่ากันที่จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 25 และปลูกโดยใช้ วัสดุเหลือใช้ จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 12.5 ผูต้ อบแบบสอบถามคิดว่าตนเองจะได้รับประโยชน์จากการปลูกสวนผักทางเลือกในด้าน ทาให้ทานผักมากขึ้นเพราะปลูกเองมากที่สุด โดยมีจานวน 15 คน คิดเป็ นร้อยละ 30 รองลงมาคือทา ให้ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 20 รองลงมาคือทาให้ครอบครัวมี กิ จกรรมร่ วมกันมากขึ้ น จานวน 7 คน คิดเป็ นร้ อยละ 14 รองลงมาคือท าให้ความเครี ยดลดลง จานวน 6 คน คิดเป็ นร้อยละ 12 รองลงมาคือทาให้มีความใจเย็นมากขึ้น จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อย ละ 10 รองลงมาคือทาให้เกิดสมาธิ ในการทาสิ่ งต่างๆมากขึ้น จานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 8 และ ผูต้ อบแบบสอบถามคิ ดว่า การที่ ได้ป ระโยชน์ในด้านค่ าใช้จ่า ยในเรื่ องอาหารน้อยลง น้อยที่ สุ ด จานวน 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 6 ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ตอบว่าผักสวนครัวที่ตอ้ งใช้ในการบริ โภคในชีวิตประจาวัน มีดงั ต่อไปนี้ แตงกวา พริ กชนิ ดต่างๆ พริ กไทย ผักชี กระเพรา ผักบุง้ และผูต้ อบแบบสอบถามส่ วน ใหญ่คิดว่าจะสามารถปลูกผักสวนควรชนิ ดใดเองได้ดงั นี้ ผักชี กระเพรา พริ กชนิ ดต่างๆ คะน้า ซึ่ ง จะทาให้ค่าใช้จ่ายในการบริ โภคอาหารลดลง สามารถพึ่งพาตนเองได้ ที่สาคัญทาให้ได้บริ โภคผัก ปลอดสารพิษเพื่อสุ ขภาพ ผูต้ อบแบบสอบถามคิ ดว่าสิ่ งที่ตนได้รับจากการเข้าร่ วมโครงการมากที่สุดคือ เพิ่มความ สนิ ทสนมกับเพื่อนร่ วมงาน จานวน 18 คน คิดเป็ นร้อยละ 36 รองลงมาคือความรู้เรื่ องความไม่ มัน่ คงทางอาหาร จานวน 10 คน คิดเป็ นร้ อยละ 20 รองลงมาคือความรู้ในการปลูกผักสวนครัว จานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 18 รองลงมาคือทาให้มีประสิ ทธิ ภาพในการทางานเพิ่มมากขึ้น จานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 16 และสุ ดท้ายคือ ทาให้ลดความเครี ยดลงได้ จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 10 ผูต้ อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ ถึ ง ร้ อ ยละ 84 คิ ด ว่า จะน าความรู้ ที่ ไ ด้จ ากการเข้า ร่ ว ม โครงการไปปฏิบตั ิจริ ง และอีกร้อยละ 16 ไม่นาไปปฏิบตั ิจริ งโดยผูท้ ี่นาไปปฏิบตั ิจริ งมีเหตุผลต่างๆ นาๆ โดยผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ ที่ตอบว่าจะนาไปปฏิ บตั ิ จริ งเพราะเหตุผลว่าทาให้มีผกั


126 ปลอดสารพิษบริ โภคเองโดยไม่ตอ้ งหาซื้ อมากที่สุด จานวน 16 คน คิดเป็ นร้อยละ 38 รองลงมาคือ ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่ องของอาหาร จานวน 14 คน คิดเป็ นร้ อยละ 33รองลงมาคือทาให้ ครอบครัวมีกิจกรรมที่ทาร่ วมกันเพิ่มมากขึ้น จานวน 7 คน คิดเป็ นร้อยละ 17 และสุ ดท้ายการใช้ เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 12 ส่ วนผูท้ ี่ตอบแบบสอบถามว่าจะไม่นาความรู้ ที่ได้จากการเข้าร่ วมโครงการไปปฏิบตั ิจริ ง โดยมีเหตุผลคือ คิดว่าไม่มีเวลาว่างสาหรับการเพาะปลูก มากที่สุด จานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 50 และด้วยวิธีการปลูกที่ยุ่งยากซับซ้อน เสี ยค่าใช้จ่ายเยอะ และประกอบกับไม่บริ โภคผักอยู่แล้ว มี จานวนเท่ากันที่ 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 25 ความคิดเห็นของผู้เข้ าร่ วมโครงการและนาความรู้ไปปฏิบัติจริง ด้านสุ ขภาพ ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เห็นว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการลงมือปลูกจริ ง มากที่สุดคือ ช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวในที่พกั อาศัย จานวน 13 คน คิดเป็ นร้อยละ 31 รองลงมาคือมีภาวะ จิตใจที่แจ่มใส จานวน 12 คน คิดเป็ นร้อยละ 29 รองลงมาคือลดอาการภูมิแพ้ต่างๆ จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 11 ส่ วนที่เหลืออีก ร้อยละ 29 เห็นว่าจะได้ประโยชน์ในด้านสุ ขภาพดังนี้ ตามลาดับ อากาศในที่ พกั อาศัยสดชื่ นขึ้ น ทาให้สารพิษในร่ างกายลดน้อยลง เป็ นหวัดน้อยลง และสุ ขภาพ แข็งแรง กระปี้ กระเปร่ า ด้านครอบครัวและสังคม ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เห็นว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการ ลงมือปลูกจริ ง มากที่สุดคือ มีความสัมพันธ์ที่ดีกบั เพื่อนบ้านเพราะได้แบ่งบันผลผลิตจากการปลูก จานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 26 รองลงมาคือเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กบั ชุมชน และครอบครัวมีเวลา และกิจกรรมร่ วมกันมากขึ้น จานวนเท่ากัน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 21 รองลงมาคือฝึ กความอดทน การ ช่างสังเกต และการรอคอย จานวน 7 คน คิดเป็ นร้อยละ 17 และฝึ กพัฒนาการและทักษะของบุตร หลาน จานวน 6 คน คิดเป็ นร้อยละ 15 ด้านเศรษฐกิ จ ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เห็นว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการลงมือปลูก จริ ง มากที่สุดคือค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาลลดน้อยลง จานวน 23 คน คิดเป็ นร้อยละ 55 รองลงมาคือทาให้มีเงินเหลือเพื่อเก็บออมเพิ่มมากขึ้น จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 23 ส่ วนที่เหลือ อีกร้อยละ 22 มีดงั นี้ตามลาดับ ทาให้สามารถนาผักมาขายเป็ นรายได้เสริ ม สามารถนาเงินที่เหลือไป ทาให้เกิดมูลค่าสู งขึ้นได้ และทาให้มีเงินหมุนเวียนเพิ่มมากขึ้น


บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการศึกษา จากการที่ผศู ้ ึกษาได้เข้าร่ วมไปกับโครงการสวนผักคนเมือง ซึ่ งเป็ นหนึ่ งในโครงการพัฒนา ทรัพยากรมนุ ษย์ของบริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด ทาให้ผูศ้ ึกษาเห็ นกระบวนการบริ หารโครงการส่ วน หนึ่ง และผูศ้ ึกษาได้เข้าไปสัมภาษณ์ฝ่ายบริ หารทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรถึงกระบวนการบริ หาร ทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร ทาให้ได้ทราบว่ากระบวนการบริ หารโครงการต่างๆขององค์กรในการ พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ยงั ไม่พอเพียง เนื่องจากองค์กรไม่มีการวางแผนดาเนินการ การติดตามและ ประเมิ นผลอย่างจริ งจัง โดยมี แต่การประเมินผลความพึงพอใจของพนักงานต่อโครงการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ แต่ไม่ได้มีการดาเนินการในส่ วนของการวิเคราะห์ตน้ ทุน และผลตอบแทนทุกด้าน ทาให้ทราบว่าฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ขององค์กรยังขาดทักษะ ในการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้นผู้ ศึกษาจึงได้ออกแบบสารวจเพื่อวัดผลเชิงลึก ถึงสาเหตุที่องค์กรเลือกโครงการสวนผักคนเมืองเข้ามา เป็ นส่ ว นหนึ่ งของโครงการพัฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ และโครงการส่ ง ผลอย่า งไรกับ พนัก งาน ครอบครัว สังคม และวัดผลว่ามีผทู ้ ี่นาความรู้ที่ได้จากโครงการไปใช้จริ งเป็ นจานวนเท่าไหร่ และ เมื่อนาไปปฏิบตั ิจริ งแล้วเกิดผลกับตัวของพนักงานในด้านสุ ขภาพ ครอบครัว สังคมและเศรษฐกิจ จากการสัมภาษณ์ เกี่ ยวกับโครงการสวนผักคนเมืองได้ขอ้ สรุ ปว่า การที่บริ ษทั ได้จดั ให้มี สวัสดิ การช่ วยเหลื อพนักงานทางด้านอาหารนั้น เป็ นการช่ วยเพิ่มความสะดวกให้แก่ พนักงานได้ พอสมควร ทาให้พนักงานไม่ตอ้ งยุง่ ยากในการที่จะออกไปรับประทานอาหารข้างนอก ช่วยลดเวลา และค่าใช้จ่ายของพนักงานลง จากการรวบรวมข้อมูลของพนักงานในบริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด พบว่าปั ญหาส่ วนใหญ่ของ พนักงานเกี่ยวกับการลาป่ วยที่เกิดจากอาหารนั้น มีความเป็ นจานวนมากซึ่ งสาเหตุเกี่ยวกับโรคที่เกิด จากอาหารนั้นเกิดจากการขาดวิตามินที่มาจากพืชผัก ทาให้พนักงานเกิดความอ่อนล้า ไม่สามารถมา ทางานได้เนื่ องจากการรับประทานอาหารไม่ครบทั้ง 5 หมู่ นอกจากนี้ ยงั รวมถึง โรคอาหารเป็ นพิษ


128 ท้องร่ วง ท้องเสี ย เนื่องมาจากการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุ ขลักษณะ การรับประทานอาหารที่ไม่ สะอาด ซึ่ งสาเหตุของโรคเหล่านี้มาจากสารเคมีตกค้างที่มาจากพืชผัก บริ ษทั ซี ยูอีแอล จากัด ให้ความสาคัญเกี่ ยวกับอาหารการกิ นของพนักงาน โดยทางบริ ษทั ได้มีส่ิ งอานวยความสะดวกภายในบริ ษทั โดยมีโรงอาหารที่สะอาด ถูกสุ ขลักษณะ มีอาหารและน้ า ดื่ มบริ การเพียงพอต่อความต้องการของจานวนพนักงานในบริ ษทั และการฝึ กอบรมของบริ ษทั ภายใต้โครงการพื ช สวนครั ว คื อ มี ก ารแจกเอกสารให้ค วามรู้ เกี่ ย วกับพืช ผัก สวนครั ว เกี่ ย วกับ พนักงานอีกทั้งยังมีการเชิ ญวิทยากรมาให้ความรู้พนักงานเกี่ยวกับ การรับประทานพืชผักสวนครัว อย่างไรให้ปลอดภัย รวมทั้งยังมี การจาหน่ ายอุปกรณ์ และเมล็ดพันธ์พืชไว้ให้พนักงาน สามารถ นาไปเพาะปลูกที่บา้ นได้ การประเมิ นผลของโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ขององค์การ โดยทางบริ ษทั นั้นจะ ประเมินจากการตรวจสุ ขภาพประจาปี ของพนักงาน และตรวจจากบันทึกประจาวันเกี่ยวกับการมา ทางานของพนักงานว่ามี อตั ราที่ ลดลงหรื อไม่ รวมทั้งยังมีการแจกแบบสอบถามเพื่อประเมินถึ ง ความรู้และความพึงพอใจที่พนักงานได้รับจากการอบรมขององค์การต่อไป จากผลของแบบสอบถามสรุ ปผลได้ดงั ต่อไปนี้ โครงการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ที่ จัดอบรมขึ้นทาให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจในประเด็นเกี่ ยวกับความไม่มน่ั คงทางอาหารใน ปั จจุบนั และผูเ้ ข้าร่ วมโครงการส่ วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่มน่ั คงทางอาหาร แล้วโดยสถานการณ์ดงั กล่าวที่เกิดขึ้นเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อยได้ดงั ต่อไปนี้ การเข้าถึงอาหารที่ มีคุณภาพยากขึ้น ราคาของอาหารที่เพิ่มสู งขึ้น และการได้รับอาหารที่ขาดคุณค่าทางโภชนาการ โดย สถานการณ์ท้ งั หมดมีผลกระทบต่อระดับตัวบุคคลดังต่อไปนี้ โภชนาการไม่ครบถ้วน มีรูปแบบใน การบริ โภคถูกรบกวน และมีการเจ็บป่ วยเนื่องจากการบริ โภคอาหาร โดยเรี ยงลาดับจากมากไปหา น้อย ส่ งผลกระทบต่อระดับครอบครัวในเรื่ องดังต่อไปนี้ เกิดการขายที่ดินทากิน เกิดค่าใช้จ่ายเรื่ อง อาหารของครอบครัวสู งขึ้น และเกิดการย้ายถิ่นฐานเพื่อการเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน โดยเรี ยงลาดับจากมากไป หาน้อย ส่ งผลกระทบต่อระดับองค์กรที่ร่วมงานด้วยดังต่อไปนี้ พนักงานมีการลางานเพิ่มสู งขึ้น ทาให้ไม่เกิดแรงจูงใจในการทางาน และทาให้ผลผลิตโดยรวมขององค์กรต่าลง โดยเรี ยงลาดับจาก มากไปหาน้อย และที่สาคัญปั ญหาเหล่านั้นก็มาส่ งผลต่อระดับการพัฒนาประเทศ ดังต่อไปนี้ ทาให้ พื้ นทางการเกษตร ซึ่ ง เป็ นรายได้หลัก ของประเทศลดน้อยลง ท าให้มี ส ารพิษ ตกค้า ง อยู่ใ นตัว


129 ประชาชน แม่ น้ า พื้ น ดิ น ทางการเกษตรมากจนเกิ ด อัน ตราย และท าให้ ค่ า ดัช นี ค วามสุ ข ของ ประชาชนอยู่ในระดับต่ าเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย และสาเหตุที่สาคัญที่ทาให้เกิ ด สถานการณ์ความไม่มน่ั คงทางอาหารคือ การใช้สารเคมีในการทา การเกษตร การที่วฒั นธรรมอาหารต่างชาติครอบงาวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น ปั ญหาของระบบการ ผลิ ตอาหารที่ ไ ม่ ยงั่ ยืน การเปลี่ ยนแปลงของภูมิ อากาศโลกกระทบต่อการผลิ ตอาหาร การขาด นโยบายเกี่ ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร การเปิ ดการค้าเสรี และข้อตกลงระหว่างประเทศต่อระบบ อาหาร และปัญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร โดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย หลังจากที่ได้เข้าร่ วมโครงการพนักงานบางส่ วนได้นาความรู้ที่ได้จากโครงการไปปฏิบตั ิ จริ ง และหลังจากที่ปฏิบตั ิจริ งแล้วก็เกิดผลในแง่บวกขึ้นอย่างมาก โดยจาแนกตามด้านได้ดงั ต่อไปนี้ ด้านสุ ขภาพ ประโยชน์ที่ได้รับจากการลงมือปลูกจริ ง มากที่สุดและเรี ยงลาดับลงไปคือ ช่วยเพิม่ พื้นที่สีเขียวในที่พกั มีภาวะจิตใจที่แจ่มใส ลดอาการภูมิแพ้ต่างๆ อากาศในที่พกั อาศัยสดชื่น ขึ้น ทาให้สารพิษในร่ างกายลดน้อยลง เป็ นหวัดน้อยลง และสุ ขภาพแข็งแรง กระปี้ กระเปร่ า ด้านครอบครัวและสังคม ประโยชน์ที่ได้รับจากการลงมือปลูกจริ ง มากที่สุดและเรี ยงลาดับ ลงไปคือ มีความสัมพันธ์ที่ดีกบั เพื่อนบ้านเพราะได้แบ่งบันผลผลิตจากการปลูก เพิ่มพื้นที่สีเขียว ให้กบั ชุ มชน ครอบครัวมีเวลาและกิจกรรมร่ วมกันมากขึ้น ฝึ กความอดทน การช่างสังเกต และการ รอคอย และฝึ กพัฒนาการและทักษะของบุตรหลาน ด้านเศรษฐกิจ ประโยชน์ที่ได้รับจากการลงมือปลูกจริ ง มากที่สุดและเรี ยงลาดับลงไปคือ ค่า ใช้จ่า ยในด้า นการรั ก ษาพยาบาลลดน้อยลง ทาให้มี เงิ นเหลื อเพื่อเก็ บ ออมเพิ่ ม มากขึ้ น ท าให้ สามารถนาผักมาขายเป็ นรายได้เสริ ม สามารถนาเงินที่เหลือไปทาให้เกิดมูลค่าสู งขึ้นได้ และทาให้มี เงินหมุนเวียนเพิ่มมากขึ้น


132 บรรณานุกรม กิตติพงษ์ พลพันธ์. 2552. ผลสั มฤทธิ์ของผู้เข้ าร่ วมโครงการปลูกผักปลอดสารพิษ อาเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย มหาสารคาม กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม. ม.ป.ป. ความรู้ทไี่ ม่ ลบั นาสู่ การเพิม่ ศักยภาพทางธุรกิจ: กรุ งเทพมหานคร ก่อเกี ยรติ พานิ ชกุล. 2542. ศัพท์ ธุรกิจและตลาดหลักทรั พย์ . พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั บพิธการพิมพ์ จากัด. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ. 2547. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร?. กรุ งเทพมหานคร. จุฑาภรณ์ เบ้าทุม. 2550. การเปิ ดเผยข้ อมูลการบัญชี ทรัพยากรมนุษย์ของบริษัททีจ่ ดทะเบียน ในต ล าดหลั ก ทรั พย์ แห่ งประ เทศ ไทย . วิ ท ย า นิ พนธ์ บั ณ ฑิ ตวิ ท ย าลั ย , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2541). การจัดการทรัพยากรบุคคล. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. 2544. ยอดกลยุทธ์ การบริหารสาหรับองค์ กรยุคใหม่ . ม่านสุ ทธาการพิมพ์ จากัด. กรุ งเทพมหานคร ณรงค์ เพชรประเสริ ฐ และ พิทยา ว่องกุล. ม.ป.ป. “เศรษฐศาสตร์ เพือ่ ชุ มชน.” [เข้าถึงได้จาก]. แหล่งที่มา http://www.baanjomyut.com (9 มกราคม 2556)


133 ปันรส มาลากุล ณ อยุธยา. 2545. การแปลงแผนสู่ การปฏิบัติ. เอกสารประกอบการบรรยาย. กองแผนงานสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. กรุ งเทพมหานคร ปานปรี ย์ พหิ ท ธานุ ก ร. เตรี ย มรั บ มื อ วิ ก ฤตการณ์ อ าหารโลก. [ออนไลน์ ] . เข้า ถึ ง ได้จ าก : http://www.oknation.net/blog/parnpree/2008/04/24/entry-1.(วันที่คน้ ข้อมูล : 21 สิ งหาคม 2551). นงนุช วงษ์สุวรรณ. (ม.ป.ป.). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ . จันทบุรี : โรงพิมพ์อนันตศิลป์ . นภดล ร่ มโพธิ์ . 2552. วารสารบริ หารธุรกิจ. คณะพาณิ ชยศาสตร์และการบัญชี : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิชิต เทพวรรณ์ . 2555. เครื่ องมือการจัดการทรั พ ยากรมนุ ษย์ สมัยใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั วี.พริ้ นท์ (1991) จากัด.

พิม พ์ครั้ งที่ 1.

____________. 2549. การบริ หารทรั พยากรมนุ ษย์ กับกลยุทธ์ Six Sigma เพื่อความได้ เปรี ยบ ทางการแข่ งขันของธุรกิจ. วารสารการจัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ . ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน. ____________. 2548. บทบาทการวิจัยในการพัฒนาฐานข้ อมูลของระบบสารสนเทศเพื่อการ บริ หารทรั พยากรมนุษย์ . วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ . ปี ที่ 23 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน. พิศวาส วรรณพัฒน์. 2549. การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการปลูกผักสวนครัว กลุ่ม สาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 2 ด้ วยกิจกรรมกลุ่ม ร่ วมมือ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาหลักสู ตรและการสอน, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


134 วัชริ นทร์ บัวพรหม. 2552. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบโครงงาน เรื่อง การปลูกผักปลอด สารพิษกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยีช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วรัญญา ผลดี และ สรบุศย์ รุ่ งโรจน์สุวรรณ. 2554. ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการปฏิบัติงานของพนักงานสาย วิชาการ และพนักงานสายปฏิบัติการวิชาชีพและบริหารทัว่ ไป. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วารสาร เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ 2547. มิถุนายน. วิทยากร เชี ยงกุล. 2548. อธิบายศัพท์ เศรษฐกิจ ธุ รกิจ การเงิน และการธนาคาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์สายธาร. ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ. 2547. ศัพท์การบริหารธุรกิจ. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมสาร. สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ . 2547. วารสาร เศรษฐกิจพอเพียง. กรุ งเทพมหานคร สานักส่ งเสริ มสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์ (2550). การสริมสร้ างสั มพันธภาพทีด่ ีในครอบครัว.พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั วี.พริ้ นท์ (1991) จากัด. อภิชาต ทองอยู.่ ม.ป.ป. “แนวทางสู่ สังคมพึง่ ตนเอง.” [เข้าถึงได้จาก]. แหล่งที่มา http://www.sawasdee.or.th : มูลนิธิสวัสดี (9 มกราคม 2556) อภิชยั พันธเสน . 2544. พุทธเศรษฐศาสตร์ . กรุ งเทพมหานคร. : สานักพิมพ์อมริ นร์ .




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.