การบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิผลสูง

Page 1

การบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลสูง HIGH PRODUCTIVITY ORGANIZATION ทีมงานคุณภาพ (Quality Teamwork )

งานคุณภาพ ( Quality Product)

บุคลากรคุณภาพ (Quality Personnel)

โดย นางชีวพร สุริยศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1


คานา กรอบแนวคิดการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลสูง จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือสาหรับการบริหาร จัดการและพัฒนาภายในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มุ่งหวังให้เกิดความ สมดุลระหว่าง ฝ่ายบริหาร ฝ่ายปฏิบัติ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกิดผลลัพธ์ที่ทาให้ทุกฝ่าย มีความพึงพอใจต่อการ ให้บริการ ทีมงานและผลงานของกลุ่มนโยบายและแผนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป็น 1 ใน 8 กลุ่มในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ที่เป็นกาลังสาคัญและร่วมขับเคลื่อนการบริหารจัดการ ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ต่อไป กรอบแนวคิดการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลสูงนี้มีองค์ประกอบ 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านบุคลากร ที่เป็นบุคลากรคุณภาพ (Quality Personnel) ด้านผลงาน ที่เป็นผลงานคุณภาพ ( Quality Product) และด้านทีมงาน เป็น ทีมงานคุณภาพ (Quality Teamwork) ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่ากรอบแนวคิดการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อกลุ่มนโยบายและแผนของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงาน องค์กรและผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป

(นางชีวพร สุริยศ) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน


สารบัญ

หน้า คานา หลักการแนวคิด

1

วัตถุประสงค์

2

ขอบเขตการดาเนินงาน

3

นิยามศัพท์เฉพาะ

3

องค์ประกอบการดาเนินงาน

4

ประโยชน์ที่ได้รับ

5

Conceptual Framework

6

รายละเอียดและคาอธิบายประกอบ -องค์ประกอบที่

1

7

-องค์ประกอบที่ 2

16

-องค์ประกอบที่ 3

20

หลักเกณฑ์การประเมิน

21

แบบประเมิน

22

ภาคผนวก -บรรณานุกรม -ที่ปรึกษา


การบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลสูง (High Productivity Organization : HPO) หลักการแนวคิด จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและปัจจัยต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกระบบราชการทาให้หน่วย ราชการจาเป็นต้องมีการพัฒนาและปรับตัวเอง พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ก็เป็นกลไกที่สาคัญประการหนึ่งในการ กระตุ้น ให้หน่วยราชการต้องมีการปรับ ตัวและขับเคลื่อน ให้เข้ากับการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ประกอบทางสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.)เองก็ได้พยายามที่จะนาเสนอ เครื่องมือและเทคนิคในการบริหารจัดการใหม่ๆ เข้ามาใช้ในหน่วยราชการ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบราชการ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อมุ่งหวังที่จะพัฒนาหน่วยงานราชการให้เป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization: HPO) หรือองค์กรที่เป็นเลิศ (Excellence Organization) เพราะองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงนั้นย่อมจะเป็นรากฐานและแนวทาง สาคัญที่จะทาให้องค์กรประสบความสาเร็จอย่างยั่งยืน ประกอบกับทาง สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) ได้ร่วมกับสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติจัดทาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Sector Management Quality Award : PMQA) เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยราชการใช้ในการประเมินผลตนเองอันจะนาไป สู่การ ยกระดับการปฏิบัติงานของภาครัฐ โดยตั้งสมมุติฐานว่าถ้าองค์กรใดที่สามารถปฏิบัตาิ มเกณฑ์เหล่านี้ได้ในระดับที่ดีย่อมจะ เป็นเหมือนกับเครื่องรับรองถึงความเป็นเลิศขององค์กรได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีทั้งสิ้น 7 หมวดประกอบด้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานักพัฒนาระบบบริหาร จึงกาหนดให้สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาทั่วประเทศได้ประเมินผลตนเองตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Sector Management Quality Award : PMQA) ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2547 เป็นต้นมา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกากับ ดูแลของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจหน้าที่ตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 มาตรา 36 และมาตรา 37 แห่งระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบ่งส่วนราชการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ลงวันที่ 13 กันยายน 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 109 ง วันที่ 14 กันยายน 2553 ได้กาหนด อานาจหน้าที่กลุ่มนโยบายและแผนไว้ดังนี้


-21. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา 2. จัดทานโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษาแผนการศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและความต้องการของท้องถิ่น 3 .วิเคราะห์ การจัดตั้งงบประมาณ เงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณ 4. ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการใช้งบประมาณและผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผน 5. ดาเนินการจัดตั้ง ยุบ รวม เลิก และโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 6. ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป็นกลุ่มงานที่มีหน้าที่ในการ ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงานในเชิงนโยบายระหว่างสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดให้สามารถปฏิบัติงานและร่วมกันขับเคลื่อนโยบายไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดประสบผลสาเร็จเป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์ สอดคล้องกับ นโยบาย แนวปฏิบัติ ระเบียบกฎหมาย และได้ตาม มาตรฐานการศึกษา มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ตามหลักธรรมาภิบาล ยึดหลักการสร้าง เครือข่าย การมีส่วนร่วม และนาระบบเทคโนโลยีมาช่วยในการบริหารจัดการและพัฒนางาน ด้วยความตระหนักและให้ความสาคัญในการเป็นส่วนหนึ่งที่จะต้องดาเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) และเป็นองค์กร(กลุ่มนโยบายและแผน)หนึ่งที่ จะช่วยผลักดัน ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ประสบผลสาเร็จ ส่งผลให้สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก้าวไปสู่ความองค์กรที่มีขีดสมรรถนะ สูง (Moving Forward to High Performance Organization) ในอนาคต จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนากลุ่มนโยบายและแผน ซึ่ง เป็นเป้าหมายที่ท้าทายความสามารถ ประกอบกับด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ ของ ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผนซึ่งเป็นผู้บริหารระดับกลาง( Middle Manager) ที่จะพัฒนาบุคลากร พัฒนางาน พัฒนา ทีมงานขององค์กร (กลุ่มนโยบายและแผน) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ให้เป็นบุคลากรที่มี คุณภาพ เป็นทีมงานที่มีคุณภาพ มีผลงานหรือผลผลิตที่มีคุณภาพ มุ่งหวังให้เกิดความสมดุลระหว่าง ฝ่ายบริหาร ฝ่ายปฏิบัติ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกิดผลลัพธ์ที่ทาให้ทุกฝ่ายมีความสุขและความพึงพอใจและขอเป็น 1 ใน 8 กลุ่ม ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ที่เป็นกาลังสาคัญร่วมขับเคลื่อนการบริหารจัดการ ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และส่งผลให้ ผู้เรียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่อไป จึงได้มีกาหนดกรอบแนวคิดสาหรับการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มี ประสิทธิผลสูง (High Productivity Organization) ขึ้นเพื่อใช้เป็นฐานแห่งการพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์ 1.เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการของกลุ่มนโยบายและแผน 2.เพื่อพัฒนาบุคลากร พัฒนางาน และพัฒนาทีมงานของกลุ่มนโยบายและแผน


-3ขอบเขตการดาเนินงาน กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 นิยามศัพท์เฉพาะ องค์กร(Organization) หมายถึง กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 บุคลากร(Personnel) หมายถึง บุคลากรทางการศึกษา 38 ค (2) ที่ปฏิบัติหน้าที่ในกลุ่มนโยบายและแผน สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ งาน ( Product)หมายถึง ผลงาน ชิ้นงาน หรือผลผลิต ตามกรอบภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผนตามโครงสร้าง ประกอบด้วย 6 งานคือ งานธุรการ งานข้อมูลสารสนเทศ งานนโยบายและแผน งานวิเคราะห์งบประมาณ งานติดตาม ประเมินและรายงานผล และงานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา รวมหมายถึงงานนโยบายพิเศษและงานที่ได้รับ มอบหมายอื่นด้วย ทีมงาน (Teamwork) หมายถึง กลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติภารกิจ หรือปฏิบัติงานร่วมกันในกลุ่มนโยบายและแผน หรือแต่ละกิจกรรม แต่ละชิ้นงานของกลุ่มนโยบายและแผนที่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ของงาน ของกลุ่มของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และของสถานศึกษาในสังกัด ประสิทธิผล(Productivity) หมายถึง ผลงาน ชิ้นงาน หรือผลลัพธ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานหรือการดาเนินงานของบุคลากร กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 พฤติกรรมพึงประสงค์( DO’s) หมายถึง การปฏิบัติ การกระทา การแสดงออกต่าง ๆ ที่คาดหวังหรือต้องการให้เกิดขึ้นกับ บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผู้รับบริการ ( Customer) หมายถึง ผู้มารับบริการจากกลุ่มนโยบายและแผนโดยตรงหรือผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ประกอบด้วย บุคลากรทุกคนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ประชาชน องค์กรภาครัฐและองค์กรเอกชนอื่นที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Steakholders) หมายถึง ผู้ที่ได้ผลกระทบทั้งทางบวก ทางลบ ทางตรง และทางอ้อมจากการบริหารงาน หรือการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน ประกอบด้วย บุคลากรทุกคนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากร นักเรียน รวมถึงผู้รับบริการด้วย สถานศึกษา ( School) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

3 ในสังกัด


-4องค์ประกอบการดาเนินงาน

บุคลากรคุณภาพ (Quality Personnel) บุคลากร หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในกลุ่มนโยบายและแผน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ บุคลากรที่มีคุณภาพ หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งและได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะที่กาหนดไว้ ทีมงานคุณภาพ (Quality Teamwork) ทีมงาน หมายถึง กลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติภารกิจ หรือปฏิบัติงานร่วมกันในกลุ่มนโยบายและแผน หรือแต่ละ กิจกรรม แต่ละชิ้นงานของกลุ่มนโยบายและแผนที่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ของงาน ของกลุ่มของสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และของสถานศึกษาในสังกัด ทีมงานที่มีคุณภาพ หมายถึง การมีความพร้อม ความตั้งใจ ที่จะปฏิบัติงานร่วมกันของบุคลากรทุกคนในกลุ่ม นโยบายและแผนหรือเป็นส่วนหนึ่งที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน รวมถึงความสามารถในการสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ ดี ความสามัคคีภายใต้องค์ประกอบ 4 ประการคือ ยึดเป้าหมายของงานและองค์กร (Goal) การมีส่วนร่วม( Participation) การ สร้างบรรยากาศที่ดีต่อการปฏิบัติงาน (Good Workforce Climate) งานคุณภาพ (Quality Product) งาน หมายถึง ผลงาน ชิ้นงาน หรือผลผลิต ตามภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผนตามกรอบโครงสร้าง ประกอบด้วย 6 งานคือ งานธุรการ งานข้อมูลสารสนเทศ งานนโยบายและแผน งานวิเคราะห์งบประมาณ งานติดตาม ประเมินและรายงานผล และงานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา รวมหมายถึงงานนโยบายพิเศษและงานที่ได้รับ มอบหมายอื่นด้วย งานที่มีคุณภาพ หมายถึง ประสิทธิผลของผลงาน ชิ้นงานหรือผลผลิตของกลุ่มนโยบายและแผน ที่ตอบสนอง ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับการยอมรับ สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการและ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้การควบคุมคุณภาพกระบวนการปฏิบัติงานหรือการดาเนินงาน โดยวงจรการบริหารงาน คุณภาพ PDCA หลักธรรมาภิบาล (Good Gorvernance) และระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management : RBM)


-5ประโยชน์ที่ได้รับ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 1.มีบุคลากรด้านนโยบายและแผนที่มีความรู้ความสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นบุคลากรที่มี คุณภาพ 2.มีผลงานและชิ้นงานด้านนโยบายและแผน ประสบผลสาเร็จ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3.มีทีมงานด้านนโยบายและแผนที่มีคุณภาพ เป็นแบบอย่างได้ 4.สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีความเข้มแข็งมีคุณภาพตามมาตรฐานสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ระดับสถานศึกษา 1.ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเป็นไปตามความต้องการ ขาดแคลน อย่างทั่วถึง เป็นธรรม 2.สถานศึกษามีความเข้มแข้งมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหาร ครู บุคลากร 1.มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและดาเนินงานกับกลุ่มนโยบายและแผน รูปแบบเครือข่ายสถานศึกษา คณะกรรมการ คณะทางาน 2.ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเป็นไปตามความต้องการ ขาดแคลน อย่างทั่วถึง เป็นธรรม 3.มีความพึงพอใจต่อผลงานและการให้บริการของกลุ่มนโยบายและแผน ผู้รับบริการ 1.มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและดาเนินงานกับกลุ่มนโยบายและแผน รูปแบบเครือข่ายสถานศึกษา คณะกรรมการ คณะทางาน 2.ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเป็นไปตามความต้องการ ขาดแคลน อย่างทั่วถึง เป็นธรรม 3.มีความพึงพอใจต่อผลงานและการให้บริการของกลุ่มนโยบายและแผน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและดาเนินงานกับกลุ่มนโยบายและแผน รูปแบบเครือข่ายสถานศึกษา คณะกรรมการ คณะทางาน 2.ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเป็นไปตามความต้องการ ขาดแคลน อย่างทั่วถึง เป็นธรรม 3.มีความพึงพอใจต่อผลงานและการให้บริการของกลุ่มนโยบายและแผน


-6-

Conceptual Framework High Porductivity Oganization (HPO)

ทีมงานคุณภาพ (Quality Teamwork)

งานคุณภาพ (Quality Product)

บุคลากรคุณภาพ (Quality Personnel)

ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ( Customer & Stakeholders )


-7รายละเอียดและคาอธิบายองค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 : บุคลากรคุณภาพ (Quality Personnel) บุคลากร (Personnel) บุคลากร หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มนโยบายและแผน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ

พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.สมรรถนะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ สมรรถนะในการทางาน (Competency)หมายถึงความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ (Knowledge, Skills, Personal Attribute) ของบุคคลที่จาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการปฏิบั ติงานของกลุ่มนโยบายและแผน ให้ประสบผลสาเร็จตามที่ กาหนดไว้ 2 สมรรถนะ คือ สมรรถนะหลัก (Core Competency: CC) และสมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency: FC) ดังนี้ สมรรถนะหลัก (Core Competency: CC) หมายถึง ทักษะและคุณลักษณะที่บุคลากรทุกคนในกลุ่ม นโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จาเป็นต้องมีเป็นพื้นฐานเพื่อการเป็นบุคลากรที่มี คุณภาพนาไปสู่การปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดงานที่มีคุณภาพ และเป็นทีมงานที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย 3 สมรรถนะหลักดังนี้ การให้บริการที่ดี ( Service Mind) การทางานเป็นทีม (Teamwork) การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (Communicate In English) การให้บริการที่ดี (Service Mind) คานิยาม : ความสามารถในการเข้าใจถึงต้องการและความคาดหวังของบุคลากรในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรอื่นที่จะมาติดต่อขอรับบริการจากกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยมีการปฏิสัมพันธ์ ปฏิบัติต่อผู้มาติดต่อขอรับบริการด้วยกิริยา อาการ ภาษากาย และภาษาพูดอย่างเหมาะสม เพื่อสร้างความประทับใจ ความพึงพอใจในการให้บริการ


-8พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.บุคลิกภาพการแสดงออกด้วยการอ่อนน้อม ถ่อมตน ความมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี 2.ความสามารถในการอธิบายชี้แจงให้เกิดความกระจ่าง ชัดเจน การสื่อสารสร้างความสัมพันธ์ที่ดี 3.ความสามารถในการประชาสัมพันธ์ ติดต่อประสานงานให้เกิดความเข้าใจที่ดี 4.ความสามารถในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 การปฏิสัมพันธ์ การปฏิบัติ กับผู้มาติดต่อขอรับบริการด้วยการมีบุคลิกภาพที่ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส ทักทาย สอบถาม ถึง จุดประสงค์ ความต้องการ งานที่ต้องการติดต่อ และหรือให้คาปรึกษา แนะนากับผู้มาติดต่อให้ได้รับบริการ ตามที่ต้องการหรือตั้งเป้าหมายหมาย 2 แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ ให้บริการแก่ผู้มาติดต่อขอรับบริการด้วยความจริงใจ เต็มใจ กระตือรือร้น ในการ ให้บริการในทันทีหรือตามแนวทางในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ให้ผู้มาติดต่อเกิดความพึงพอใจและยอมรับได้ 3 แสดงสมรรถนะระดับ 2 และสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งเรื่องงาน และการสื่อสารสร้างความเข้าใจ เกิดผลสาเร็จ สามารถบริหารอารมณ์ความรู้สึกในขณะที่ให้บริการได้ดี 4 แสดงสมรรถนะระดับ 3 และสามารถสร้างแรงจูงใจที่ดี โน้มน้าวให้บุคลากรภายในกลุ่มให้บริการที่ดีแก่ผู้มา ติดต่อได้ 5 แสดงสมรรถนะระดับ 4 และสามารถถ่ายทอดเทคนิค ถ่ายทอดความรู้ แนวทางการแก้ไขปัญหา การบริหาร อารมณ์ความรู้สึกที่ดีแก่ผู้มาติดต่อให้กับบุคลากรภายในกลุ่มได้

การทางานเป็นทีม (Teamwork) คานิยาม: ความสามารถในการเข้าถึงความต้องการและความคาดหวัง บุคลากรทุกคนและกลุ่มทุกกลุ่มภายในสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สถานศึกษาในสังกัดในการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน กิจกรรม หรืองานที่ กาหนดขึ้น ความสามารถในการสร้างความรัก ความสามัคคีของบุคลากรและผลสาเร็จของงาน พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.ความมีเหตุมีผล 2.ความกล้าแสดงออกอย่างเปิดเผย 3.ความสามัคคี ความร่วมมือ 4.ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์


-9ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 ยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างของบุคลากรภายในกลุ่มนโยบายและแผน และกลุ่มอื่นสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 1 ให้ความร่วมมือในการทางานร่วมกันในทุกกิจกรรมที่ได้รับ มอบหมายจนบรรลุความสาเร็จ 2 แสดงสมรรถนะระดับ 1 และมีความสามารถในการแสดงความคิดเห็น ที่ดีและสร้างสรรค์ในการสนับสนุน และส่งเสริมแนวทางการดาเนินงาน วิธีปฏิบัติที่ดี เพื่อให้ปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรมบรรลุตามเป้าหมาย เกิดผลสาเร็จ 3 แสดงสมรรถนะระดับ 2 และสามารถสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรภายในกลุ่มมีขวัญกาลังใจทีดีพร้อมที่จะให้ ความร่วมมือ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน 4 แสดงสมรรถนะระดับ 3 และสามารถถ่ายทอดเทคนิค วิธีการในการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ของงาน หรือสามารถช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงานได้ 5 แสดงสมรรถนะระดับ 4 และสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น หรือคณะบุคคลอื่นได้อย่างเหมาะสม ได้รับการ ยอมรับ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (Communicate In English) คานิยาม: ความสามารถในการการฟัง พูด อ่านและเขียน ภาษาอังกฤษด้วยความเข้าใจและสามารถสื่อสารเพื่อใช้ใน ชีวิตประจาวัน และสื่อสารสนทนา ประสานงาน ในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.ความสนใจและความพยายาม 2.ความสามารถในการศึกษา เรียนรู้ ฝึกทักษะ 3.ทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษ(ฟัง พูด อ่านและเขียน) ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 มีความพยายามและความสามารถในการศึกษา เรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษอย่างสม่าเสมอ 2 แสดงสมรรถนะระดับ 1 และมีความสามารถในการฟัง พูด สื่อสารสนทนาในชีวิตประจาวันขั้นพื้นฐานอย่าง ง่ายได้ 3 แสดงสมรรถนะระดับ 2และมีความสามารถในการฟัง พูด สื่อสารสนทนาเกี่ยวกับงานและหรือภาระงานที่ รับผิดชอบกับเพื่อนร่วมงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน หรือภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้ 4 แสดงสมรรถนะระดับ 3 และมีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน สื่อสาร และนาเสนอภายในกลุ่มหรือต่อที่ ประชุมได้ 5 แสดงสมรรถนะระดับ 4 และมีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียนและสื่อสารเกี่ยวกับภาระงานที่ รับผิดชอบหรือนาเสนอ ถาม-ตอบได้ภายในกลุ่มหรือต่อที่ประชุมได้


-10สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency: FC) หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะที่บุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จาเป็นต้อง มีเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในสายงานวิเคราะห์นโยบายและแผนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายงานเกิดผลสาเร็จ และเพื่อ การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพนาไปสู่การปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดงานที่มีคุณภาพ และเป็นทีมงานที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย 3 สมรรถนะ ดังนี้ การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication&Influencing) การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) คานิยาม: ความสามารถในการทาความเข้าใจและวิเคราะห์สถานการณ์ประเด็นปัญหาแนวคิดโดยการแยกแยะประเด็น ออกเป็นส่วนย่อยๆ หรือทีละขั้นตอนรวมถึงการจัดหมวดหมู่อย่างเป็นระบบระเบียบ เปรียบเทียบแง่มุมต่างๆสามารถลาดับ ความสาคัญ ช่วงเวลาเหตุและผล ที่มาที่ไปของกรณีต่างๆได้ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.ความมีเหตุมีผล 2.ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.ความสามารถในการศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 -แยกแยะปัญหาออกเป็นรายการอย่างง่ายๆ ได้โดยไม่เรียงลาดับความสาคัญ -วางแผนงานโดยแตกประเด็นปัญหาออกเป็นส่วนๆหรือเป็นกิจกรรมต่างๆ ได้ 2 แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ -ระบุเหตุและผล ในแต่ละสถานการณ์ต่างๆ ได้ -ระบุข้อดีข้อเสียของประเด็นต่างๆ ได้ -วางแผนงานโดยจัดเรียงงาน หรือกิจกรรมต่างๆ ตามลาดับความสาคัญหรือความเร่งด่วนได้ 3 แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ -เชื่อมโยงเหตุปัจจัยที่ซับซ้อนของแต่ละสถานการณ์หรือเหตุการณ์ -วางแผนงานโดยกาหนดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนินงานต่างๆ ที่มีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และสามารถคาดการณ์เกี่ยวกับปัญหา หรืออุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นได้


-11ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 4 แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -เข้าใจประเด็นปัญหาในระดับที่สามารถแยกแยะเหตุปัจจัยเชื่อมโยงซับซ้อนในรายละเอียดและสามารถวิ เคราะห์ความสัมพันธ์ของปัญหากับสถานการณ์หนึ่งๆ ได้ -วางแผนงานที่ซับซ้อนโดยกาหนดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนินงานต่างๆ ที่มีหน่วยงานหรือผู้เกี่ยวข้องหลาย ฝ่าย รวมถึงคาดการณ์ปัญหา อุปสรรค และวางแนวทางการป้องกันแก้ไขไว้ล่วงหน้า 5 แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่เหมาะสมในการแยกแยะประเด็นปัญหาที่ซับซ้อนเป็นส่วนๆ -ใช้เทคนิคการวิเคราะห์หลากหลายรูปแบบเพื่อหาทางเลือกในการแก้ปัญหารวมถึงพิจารณาข้อดีข้อเสียของ ทางเลือกแต่ละทาง -วางแผนงานที่ซับซ้อนโดยกาหนดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนินงานต่างๆ ที่มีหน่วยงานหรือผู้เกี่ยวข้อง หลายฝ่าย คาดการณ์ปัญหา อุปสรรค แนวทางการป้องกันแก้ไขรวมทั้งเสนอแนะทางเลือกและข้อดีข้อเสีย ไว้ให้

การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) คานิยาม: ความสามารถในเชิงสังเคราะห์ มองภาพองค์รวม โดยการจับประเด็นสรุปรูปแบบเชื่อมโยงหรือประยุกต์ แนวทางจากสถานการณ์ข้อมูล หรือทัศนะต่างๆ จนได้เป็นกรอบความคิดหรือแนวคิดใหม พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.ความสามารถในวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปผล 2.ความสามารถในการเลือกแนวปฏิบัติที่ดี 3.ความสามารถในการประยุกต์ใช้และบูรณาการ


-12

ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 ใช้แนวคิด ข้อเท็จจริง หรือหลักเกณฑ์ ในการระบุประเด็นปัญหา หรือแก้ปัญหาในงาน 2 แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ -สามารถระบุถึงความเชื่อมโยงของข้อมูล แนวโน้ม และความไม่ครบถ้วนของข้อมูลได้ -ประยุกต์ใช้ประสบการณ์ในการระบุประเด็นปัญหาหรือแก้ปัญหาในงานได้ 3 แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ - ประยุกต์ใช้ทฤษฎีแนวคิดที่ซับซ้อน หรือแนวโน้มในอดีตในการระบุหรือแก้ปัญหาตามสถานการณ์แม้ใน บางกรณีแนวคิดที่นามาใช้กับสถานการณ์อาจไม่มีสิ่งบ่งบอกถึงความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันเลย 4 แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -สามารถอธิบายความคิด หรือสถานการณ์ที่ซับซ้อนให้ง่ายและสามารถเข้าใจได้ -สามารถสังเคราะห์ข้อมูล สรุปแนวคิด ทฤษฎีองค์ความรู้ที่ซับซ้อนให้เข้าใจได้โดยง่ายและเป็น ประโยชน์ต่องาน 5 แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -มีความคิดเริ่ม สร้างสรรค์ รวมถึงสามารถนาเสนอรูปแบบ วิธีการหรือบูรณาการเพื่อเกิดองค์ความรู้ใหม่

ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication&Influencing) คานิยาม: ความสามารถในการสื่อสารด้วยการพูด การเขียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจการยอมรับและการให้การสนับสนุน ความคิด หรือสนับสนุนผลการปฏิบัติงานของตน พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.ความสามารถและทักษะการพูด การใช้ภาษา 2.ความสามารถและทักษะวิธีการแสดงออกที่ดี สร้างความสัมพันธ์ที่ดี 3.ความสามารถในการอธิบาย ชี้แจง ให้เหตุผล ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 นาเสนอ ข้อมูล หรือความเห็นอย่างตรงไปตรงมาโดยยังมิได้ปรับรูปแบบการนาเสนอตามความสนใจและ ระดับของผู้ฟัง 2 แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ -นาเสนอข้อมูล ความเห็น ประเด็น หรือตัวอย่างประกอบที่มีการเตรียมอย่างรอบคอบ เพื่อให้ผ้อู ื่นเข้าใจ ยอมรับ และสนับสนุนความคิดของตน


-13ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 3 แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ -ปรับรูปแบบการนาเสนอให้เหมาะสมกับความสนใจและระดับของผู้ฟัง -คาดการณ์ถึงผลของการนาเสนอ และคานึงถึงภาพลักษณ์ของตนเอง 4 แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -วางแผนการนาเสนอโดยคาดหวังว่าจะสามารถจูงใจให้ผ้อู ื่นคล้อยตาม -ปรับแต่ละขั้นตอนของการสื่อสาร นาเสนอ และจูงใจให้เหมาะสมกับผู้ฟังแต่ละกลุ่ม หรือแต่ละราย -คาดการณ์และพร้อมที่จะรับมือกับปฏิกิริยาทุกรูปแบบของผู้ฟังที่อาจเกิดขึ้น 5 แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -แสวงหาผู้สนับสนุน เพื่อเป็นแนวร่วมในการผลักดันแนวคิด แผนงานโครงการให้สัมฤทธิ์ผล -ใช้ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยามวลชน ให้เป็นประโยชน์ในการสื่อสารจูงใจ 2.ด้นคุณธรรมจริยธรรม คุณธรรมจริยธรรม คานิยาม: หลักการ แนวทางที่พึงประพฤติ ปฏิบัติภายใต้ความถูกต้องดีงาม ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรภายในกลุ่ม นโยบายและแผน บุคลากรภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้เกี่ยวข้อง หรือต่อสังคมทั่วไป พฤติกรรมพึงประสงค์ 1. การเทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ความกตัญูต่อบิดา มารดา บุพการีและผู้มีพระคุณ 2. ความมีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับแนวปฏิบัติ 3. ความรับผิดชอบ มุ่งมั่นตั้งใจ 4. ความซื่อสัตย์สุจริตการประพฤติตนในทางที่ถูกต้องดีงาม 5. ความสามัคคี ความร่วมมือ


-14ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 เทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยแ์ ละ มีความกตัญูต่อบิดา มารดา บุพการีและผู้มีพระคุณ 2 แสดงสมรรถนะที่ 1 และ -มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับแนวปฏิบัติของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3 แสดงสมรรถนะที่ 2 และ -มีความรับผิดชอบ มุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัตงิ านของตนตามที่ได้รับมอบหมายภายใต้กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติอย่างถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดไว้ 4 แสดงสมรรถนะที่ 3 และ -ซื่อสัตย์สุจริต ไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ หรือปฏิบัติตนอันเป็นการเสื่อมเสียชื่อเสียงทั้งต่อตนเอง และหน่วยงาน 5 แสดงสมรรถนะที่ 4 และ -มีความรักสามัคคีและยินดีช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความจริงใจ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาทักษะ สมรรถนะ ความสามารถตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ของบุคลากรกลุ่มนโยบาย และแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 2.เพื่อสร้างบรรยากาศในการทางานร่วมกันของบุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน และกลุ่มอื่นในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ให้เป็​็นไปอย่างสร้างสรรค์ เป้าหมาย บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต

1

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลผลิต( Outputs) 1.บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ทุกคน มีทักษะ สมรรถนะ ความสามารถตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ มีคุณธรรม จริยธรรม 2.บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนมีมีทักษะมีความสามารถด้านการประสานการทางานและทางาน ร่วมกับบุคลากรกลุ่มอื่นในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้อย่างสร้างสรรค์งานสัมฤทธิ์ผลตาม วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดไว้


-15ผลลัพธ์(Outcomes) บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ บุคลากรที่มีคุณภาพ(Quality Personnel) หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งและได้รับการพัฒนาตาม สมรรถนะที่กาหนดไว้และมีคุณธรรมจริยธรรม


-16องค์ประกอบที่ 2 : ทีมงานที่มีคุณภาพ (Quality Teamwork) ทีมงาน (Teamwork) ทีมงาน หมายถึง บุคลากรทุกคนที่ปฏิบัติหน้าที่ในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 พฤติกรรมพึงประสงค์ 1.ยึดเป้าหมายขององค์กร (Goal) 2.การมีส่วนร่วม(Participation) 3.การสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการปฏิบัติงาน (Good Workforce Climate)

ยึดเป้าหมายขององค์กร (Goal) คานิยาม: หมายถึงการจัดกิจกรรม ดาเนินการหรือปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผนที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงานภายในกลุ่ม ส่งผลให้บรรลุวิสัยทัศน์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ระดับที่ 1 2

3

4

5

พฤติกรรมพึงประสงค์ มีความพยายามที่ปฏิบัติงานให้ถูกต้อง ทันตามกาหนดเวลา แสดงออกตามระดับที่ 1 และ -ปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบแนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์ กระบวนการ ขั้นตอน -ติดตาม ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข แสดงออกตามระดับที่ 2 และ -พัฒนา ปรับปรุงกระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินงาน -ติดตาม ตรวจสอบผลงานตรงตามวัตถุประสงค์ เป้ามาย -จัดทารายงานและส่งให้ทันตามกาหนดเวลา แสดงออกตามระดับที่ 3 และ -คิดริเริ่มสร้างสรรค์พัฒนาระบบ ลดขั้นตอน ลดทรัพยากร ปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานและงานสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์เป้าหมาย แสดงออกตามระดับที่ 4 c]t -มีผลการปฏิบัติงานที่ดีกว่าเดิม เป็นที่ยอมรับ -จัดทาผลงาน เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์


-17การมีส่วนร่วม(Participation) คานิยาม: หมายถึงการประสานการทากิจกรรม และหรือการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ด้วยความเต็มใจของ บุคลากรภายในกลุ่มนโยบายและแผน หมายความรวมถึงการให้ผู้แทนองค์คณะบุคคล เครือข่ายสถานศึกษา ผู้แทนจาก สถานศึกษาเข้ามาร่วมทากิจกรรมและหรือปฏิบัติงาน รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องช่วยปฏิบัติงานทั้งนีเพื ้ ่อให้บรรลุตาม เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กาหนดมุ่งผลสาเร็จของานอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง

ระดับที่ 1 2

3

4

5

พฤติกรรมประสงค์ -ให้ความช่วยเหลือ เกื้อกูล ประสานความสามัคคีกับเพื่อนร่วมงานและผู้เกี่ยวข้องด้วยความเต็มใจ -ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม และหรือการปฏิบัติงานร่วมอย่างสร้างสรรค์กับบุคลากรภายในกลุ่ม แสดงออกตามระดับที่ 1 และ -ร่วมแสดงความคิดเห็น เสนอแนวคิด และให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง -ยอมรับฟังความคิดเห็น และแนวคิดของเพื่อร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้อง แสดงออกตามระดับที่ 2 และ -ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินงาน ตัดสินใจ ร่วมแก้ปัญหาดาเนินกิจกรรม และหรือปฏิบัติงานร่วมกันทุก ขั้นตอนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย แสดงออกตามระดับที่ 3 และ -ความสามารถประสานความร่วมมือกับองค์คณะบุคคล เครือข่ายสถานศึกษาหรือบุคคลอื่นเข้ามามีส่วน ร่วมในการปฏิบัติงาน -ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน แสดงออกตามระดับที่ 4 และ -ร่วมพัฒนา สรุปรายงานผลและจัดทาผลงานเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ -ร่วมกาหนดและจัดสรรให้ผลประโยชน์แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย


-18การสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการปฏิบัติงาน (Good Workforce Climate) คานิยาม: การสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการปฏิบัติงาน หมายถึง ความสามารถในการสร้าง ปรับตัว ยอมรับนับถือ และ สนับสนุนช่วยเหลือปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพกับบุคคลที่แตกต่าง หลากหลาย ในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

ระดับที่ 1 2 3

4 5

พฤติกรรมพึงประสงค์ เข้าใจ ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม บริบทและวัฒนธรรมการปฏิบัติงาน แสดงออกตามระดับที่ 1 -ยอมรับความคิดเห็น ทัศนคติของบุคลากรภายในกลุ่มและหรือบุคลกรภายนอก แสดงออกตามระดับที่ 2 และ -เต็มใจรับและปฏิบัติงานที่รับผิดชอบและงานที่ได้รับมอบหมาย -พร้อมที่จะใช้บริการ สื่อสารและสร้างความเข้าใจและสัมพันธภาพที่ดีภายในกลุ่ม แสดงออกตามระดับที่ 3 และ -พร้อมและเต็มใจในการให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม และการปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรภายในกลุ่ม แสดงออกตามระดับที่ 4 และ -ให้เกียรติ ยอมรับ นับถือซึ่งกันและกันกับเพื่อนร่วมงาน -ให้เกียรติ ยอมรับ นับถือตามสายงานการบังคับบัญชา

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมความตระหนัก ความพร้อมในการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมร่วมกันของบุคลากรกลุ่ม นโยบายและแผน 2.เพื่อส่งเสริมการรักษาสัมพันธภาพที่ดี และความสามัคคีในการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมร่วมกันของ บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน และกลุ่มอื่นในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป้าหมาย บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต

1


-19-

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลผลิต( Outputs) 1.บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน ทุกคนมีความรัก สามัคคี ตั้งใจและพร้อม สาหรับการปฏิบัติงานหรือ กิจกรรมร่วมกัน 2.บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนทุกคนมีความสามารถในการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเข้า มามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานและใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานได้ ผลลัพธ์(Outcomes) บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนเป็นทีมงานที่มีคุณภาพ ทีมงานที่มีคุณภาพ (Quality Teamwork) หมายถึง การมีความพร้อม ความตั้งใจ ที่จะปฏิบัติงาน ร่วมกันของบุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผนหรือเป็นส่วนหนึ่งที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน รวมถึงความสามารถใน การสร้าง รักษาสัมพันธภาพที่ดี ความสามัคคี ประสานความร่วมมือภายใต้หลักการแนวคิด 3 ประการคือ ยึดเป้าหมายของงาน และองค์กร (Goal) การมีส่วนร่วม(Participation) การสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการปฏิบัติงาน (Good Workforce Climate)เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานและประสิทธิผลของงาน


-20-

องค์ประกอบที่ 3 : งานที่มีคุณภาพ (Quality Product) งาน (Product) งาน หมายถึง ผลงาน ชิ้นงาน หรือผลผลิต ตามภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผนตามกรอบโครงสร้าง ประกอบด้วย 6 งานคือ งานธุรการ งานข้อมูลสารสนเทศ งานนโยบายและแผน งานวิเคราะห์งบประมาณ งานติดตาม ประเมินและรายงานผล และงานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา รวมหมายถึงงานนโยบายพิเศษและงานที่ได้รับ มอบหมายอื่นด้วย ลักษณะพึงประสงค์ 1. 2. 3. 4.

ความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคลากรตามคู่มือการปฏิบัติงาน ความสามารถในการประสานความร่วมมือและใช้เทคโนโลยีช่วยในการปฏิบัติงาน ผลสาเร็จของงาน คุณภาพของงาน การยอมรับ และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้เกี่ยวข้อง

ระดับที่ ลักษณะพึงประสงค์ 1 -เป็นงานที่ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน -เป็นงานที่ปฏิบัติงานภายใต้การมีส่วนร่วมและใช้เทคโนโลยีช่วยปฏิบัติงาน 2 แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ - งานสาเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ถูกต้อง ตรงตามกาหนดเวลา 3 แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ -งานเป็นที่พึงพอใจและได้รับการยอมรับ ตอบสนองความต้องการต่อผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานต้นสังกัด -งานเป็นที่พึงพอใจและได้รับการยอมรับ ตอบสนองความต้องการต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือผู้รับบริการ 4 แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -ผลงานนาไปอ้างอิงเพื่อการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานได้ 5 แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -ผลงานได้รับการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้กลุ่มนโยบายและแผนมีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ 2.เพื่อให้ผลงาน ชิ้นงานของกลุ่มนโยบายและแผน มีคุณภาพและประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับตอบสนอง ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับการยอมรับ 3.เพื่อให้ผู้รับบริการและ/หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจในผลงาน ชิ้นงาน


-21ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลผลิต(Outputs) 1.กลุ่มนโยบายและแผนมีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ 2.ผลงาน ชิ้นงานของกลุ่มนโยบายและแผน มีคุณภาพและประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับตอบสนองความ ต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับการยอมรับ 3.ผู้รับบริการและหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจ ผลลัพธ์(Outcomes) ผลงานของกลุ่มนโยบายและแผนเป็นผลงานที่มีคุณภาพ งานที่มีคุณภาพ (Quality Product) งานที่มีคุณภาพ หมายถึง ประสิทธิผลของผลงาน ชิ้นงานของกลุ่มนโยบายและแผน ที่ตอบสนองความ ต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับการยอมรับ สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการและหรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้การควบคุมคุณภาพกระบวนการปฏิบัติงานหรือการดาเนินงาน โดยวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA หลักธรรมาภิบาล (Good Gorvernance) และระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management : RBM) การประเมินผล 1.การประเมินผล มีแบบประเมินของ 3 องค์ประกอบคือบุคลากรคุณภาพ (Quality Personnel) จานวน 7 รายการ ทีมงานที่มีคุณภาพ (Quality Teamwork) จานวน 3 รายการ งานที่มีคุณภาพ (Quality Product) จานวน 1 รายการ ซึ่งกาหนดรายการประเมินเป็นระดับการปฏิบัติตามพฤติกรรมพึงประสงค์ และลักษณะพึงประสงค์ 2.รายการประเมินมี 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1. ระดับการปฏิบัติแบ่งเป็น 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ 3.ผู้ประเมิน ประกอบด้วย บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนประเมินตนเอง ,ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน ประเมิน ,ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือผู้เกี่ยวข้อง 4.สรุป ประมวลผลเป็ นค่าเฉลีย่ จัดทารายงานผล แจ้ งบุคลากรกลุม ่ นโยบายและแผน และผู้บงั คับบัญชาทราบ 5.ปรับปรุงแก้ ไข พัฒนา

และดาเนินการประเมินตามข้ อ 3 ข้ อ 4 และข้ อ 5 ตามลาดับ อย่างต่อเนื่อง


-22-

แบบประเมินพฤติกรรมพึงประสงค์ กรอบแนวคิดการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลสูง บุคลากรคุณภาพ (Quality Personnel) การให้บริการที่ดี (Service Mind) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ

1

พฤติกรรมพึงประสงค์ การปฏิสัมพันธ์ การปฏิบัติ กับผู้มาติดต่อขอรับบริการด้วยการมีบุคลิกภาพที่ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส ทักทาย สอบถามถึง จุดประสงค์ ความต้องการ งานที่ต้องการติดต่อ และหรือให้คาปรึกษา แนะนากับผู้มา ติดต่อให้ได้รับบริการตามที่ต้องการหรือตั้งเป้าหมายหมาย

2

แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ ให้บริการแก่ผู้มาติดต่อขอรับบริการด้วยความจริงใจ เต็มใจ กระตือรือร้น ในการให้บริการในทันทีหรือตามแนวทางในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ให้ผู้มาติดต่อเกิด ความพึงพอใจและยอมรับได้

3

แสดงสมรรถนะระดับ 2 และสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งเรื่องงาน และการสื่อสารสร้าง ความเข้าใจเกิดผลสาเร็จ สามารถบริหารอารมณ์ความรู้สึกในขณะที่ให้บริการได้ดี

4

แสดงสมรรถนะระดับ 3 และสามารถสร้างแรงจูงใจที่ดี โน้มน้าวให้บุคลากรภายในกลุ่มให้บริการที่ดีแก่ ผู้มาติดต่อได้

5

แสดงสมรรถนะระดับ 4 และสามารถถ่ายทอดเทคนิค ถ่ายทอดความรู้ แนวทางการแก้ไขปัญหา การ บริหารอารมณ์ความรู้สึกที่ดีแก่ผู้มาติดต่อให้กับบุคลากรภายในกลุ่มได้

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-23การทางานเป็นทีม (Teamwork) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ

1

2

3 4 5

พฤติกรรมพึงประสงค์ ยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างของบุคลากรภายในกลุ่มนโยบายและแผน และกลุ่มอื่นสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 1 ให้ความร่วมมือในการทางานร่วมกันในทุก กิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจนบรรลุความสาเร็จ แสดงสมรรถนะระดับ 1 และมีความสามารถในการแสดงความคิดเห็น ที่ดีและสร้างสรรค์ในการ สนับสนุนและส่งเสริมแนวทางการดาเนินงาน วิธีปฏิบัติที่ดี เพื่อให้ปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรมบรรลุ ตามเป้าหมายเกิดผลสาเร็จ แสดงสมรรถนะระดับ 2 และสามารถสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรภายในกลุ่มมีขวัญกาลังใจทีดีพร้อมที่จะ ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน แสดงสมรรถนะระดับ 3 และสามารถถ่ายทอดเทคนิค วิธีการในการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของงาน หรือสามารถช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงานได้ แสดงสมรรถนะระดับ 4 และสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น หรือคณะบุคคลอื่นได้อย่างเหมาะสม ได้รับการยอมรับ

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-24การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (Communicate In English) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ

1 2

พฤติกรรมพึงประสงค์ มีความพยายามและความสามารถในการศึกษา เรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษอย่างสม่าเสมอ แสดงสมรรถนะระดับ 1 และมีความสามารถในการฟัง พูด สื่อสารสนทนาในชีวิตประจาวันขั้นพื้นฐาน อย่างง่ายได้

3

แสดงสมรรถนะระดับ 2และมีความสามารถในการฟัง พูด สื่อสารสนทนาเกี่ยวกับงานและหรือภาระงานที่ รับผิดชอบกับเพื่อนร่วมงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน หรือภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้

4

แสดงสมรรถนะระดับ 3 และมีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน สื่อสาร และนาเสนอภายในกลุ่มหรือต่อที่ ประชุมได้

5

แสดงสมรรถนะระดับ 4 และมีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียนและสื่อสารเกี่ยวกับภาระงานที่ รับผิดชอบหรือนาเสนอ ถาม-ตอบได้ภายในกลุ่มหรือต่อที่ประชุมได้

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-25การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ 1

2

3

4

5

พฤติกรรมพึงประสงค์ -แยกแยะปัญหาออกเป็นรายการอย่างง่ายๆ ได้โดยไม่เรียงลาดับความสาคัญ -วางแผนงานโดยแตกประเด็นปัญหาออกเป็นส่วนๆหรือเป็นกิจกรรมต่างๆ ได้ แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ -ระบุเหตุและผล ในแต่ละสถานการณ์ต่างๆ ได้ -ระบุข้อดีข้อเสียของประเด็นต่างๆ ได้ -วางแผนงานโดยจัดเรียงงาน หรือกิจกรรมต่างๆ ตามลาดับความสาคัญหรือความเร่งด่วนได้ แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ -เชื่อมโยงเหตุปัจจัยที่ซับซ้อนของแต่ละสถานการณ์หรือเหตุการณ์ -วางแผนงานโดยกาหนดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนินงานต่างๆ ที่มีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และสามารถคาดการณ์เกี่ยวกับปัญหา หรืออุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นได้ แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -เข้าใจประเด็นปัญหาในระดับที่สามารถแยกแยะเหตุปัจจัยเชื่อมโยงซับซ้อนในรายละเอียดและ สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัญหากับสถานการณ์หนึ่งๆ ได้ -วางแผนงานที่ซับซ้อนโดยกาหนดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนินงานต่างๆ ที่มีหน่วยงานหรือผู้เกี่ยว ข้องหลายฝ่าย รวมถึงคาดการณ์ปัญหา อุปสรรค และวางแนวทางการป้องกันแก้ไขไว้ล่วงหน้า แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่เหมาะสมในการแยกแยะประเด็นปัญหาที่ซับซ้อนเป็นส่วนๆ -ใช้เทคนิคการวิเคราะห์หลากหลายรูปแบบเพื่อหาทางเลือกในการแก้ปัญหารวมถึงพิจารณาข้อดี ข้อเสียของทางเลือกแต่ละทาง -วางแผนงานที่ซับซ้อนโดยกาหนดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนินงานต่างๆ ที่มีหน่วยงานหรือผู้เกี่ยว ข้อง หลายฝ่าย คาดการณ์ปัญหา อุปสรรค แนวทางการป้องกันแก้ไขรวมทั้งเสนอแนะทางเลือกและ ข้อดีข้อเสียไว้ให้

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-26การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง)

ระดับปฏิบัติ

1 2 3

4

5

พฤติกรรมพึงประสงค์ ใช้แนวคิด ข้อเท็จจริง หรือหลักเกณฑ์ ในการระบุประเด็นปัญหา หรือแก้ปัญหาในงาน แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ -สามารถระบุถึงความเชื่อมโยงของข้อมูล แนวโน้ม และความไม่ครบถ้วนของข้อมูลได้ -ประยุกต์ใช้ประสบการณ์ในการระบุประเด็นปัญหาหรือแก้ปัญหาในงานได้ แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ - ประยุกต์ใช้ทฤษฎีแนวคิดที่ซับซ้อน หรือแนวโน้มในอดีตในการระบุหรือแก้ปัญหาตามสถานการณ์แม้ใน บางกรณีแนวคิดที่นามาใช้กับสถานการณ์อาจไม่มีสิ่งบ่งบอกถึงความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันเลย แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -สามารถอธิบายความคิด หรือสถานการณ์ที่ซับซ้อนให้ง่ายและสามารถเข้าใจได้ -สามารถสังเคราะห์ข้อมูล สรุปแนวคิด ทฤษฎีองค์ความรู้ที่ซับซ้อนให้เข้าใจได้โดยง่ายและเป็น ประโยชน์ต่องาน แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -มีความคิดเริ่ม สร้างสรรค์ รวมถึงสามารถนาเสนอรูปแบบ วิธีการหรือบูรณาการเพื่อเกิดองค์ความรู้ใหม่

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-27ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication&Influencing) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ

1 2 3 4

5

พฤติกรรมพึงประสงค์ นาเสนอ ข้อมูล หรือความเห็นอย่างตรงไปตรงมาโดยยังมิได้ปรับรูปแบบการนาเสนอตามความสนใจและ ระดับของผู้ฟัง แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ -นาเสนอข้อมูล ความเห็น ประเด็น หรือตัวอย่างประกอบที่มีการเตรียมอย่างรอบคอบ เพื่อให้ ผู้อื่นเข้าใจยอมรับ และสนับสนุนความคิดของตน แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ -ปรับรูปแบบการนาเสนอให้เหมาะสมกับความสนใจและระดับของผู้ฟัง -คาดการณ์ถึงผลของการนาเสนอ และคานึงถึงภาพลักษณ์ของตนเอง แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -วางแผนการนาเสนอโดยคาดหวังว่าจะสามารถจูงใจให้ผู้อื่นคล้อยตาม -ปรับแต่ละขั้นตอนของการสื่อสาร นาเสนอ และจูงใจให้เหมาะสมกับผู้ฟังแต่ละกลุ่ม หรือแต่ ละราย -คาดการณ์และพร้อมที่จะรับมือกับปฏิกิริยาทุกรูปแบบของผู้ฟังที่อาจเกิดขึ้น แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -แสวงหาผู้สนับสนุน เพื่อเป็นแนวร่วมในการผลักดันแนวคิด แผนงานโครงการให้สัมฤทธิ์ผล -ใช้ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยามวลชน ให้เป็นประโยชน์ในการสื่อสารจูงใจ

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-28คุณธรรมจริยธรรม คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง)

ระดับที่ พฤติกรรมพึงประสงค์ 1 เทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยแ์ ละ มีความกตัญูต่อบิดา มารดา บุพการีและผู้มีพระคุณ 2 แสดงสมรรถนะที่ 1 และ -มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับแนวปฏิบัติของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 3

แสดงสมรรถนะที่ 2 และ -มีความรับผิดชอบ มุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัตงิ านของตนตามที่ได้รับมอบหมายภายใต้กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติอย่างถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดไว้

4

แสดงสมรรถนะที่ 3 และ -ซื่อสัตย์สุจริต ไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ หรือปฏิบัติตนอันเป็นการเสื่อมเสียชื่อเสียงทั้งต่อตนเองและ หน่วยงาน

5

แสดงสมรรถนะที่ 4 และ -มีความรักสามัคคีและยินดีช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความจริงใจ

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-29-

แบบประเมินพฤติกรรมพึงประสงค์ กรอบแนวคิดการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลสูง ทีมงานที่มีคุณภาพ (Quality Teamwork) ทีมงาน (Teamwork) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ

1 2

พฤติกรรมพึงประสงค์ มีความพยายามที่ปฏิบัติงานให้ถูกต้อง ทันตามกาหนดเวลา แสดงออกตามระดับที่ 1 และ -ปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบแนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์ กระบวนการ ขั้นตอน -ติดตาม ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข

3

แสดงออกตามระดับที่ 2 และ -พัฒนา ปรับปรุงกระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินงาน -ติดตาม ตรวจสอบผลงานตรงตามวัตถุประสงค์ เป้ามาย -จัดทารายงานและส่งให้ทันตามกาหนดเวลา

4

แสดงออกตามระดับที่ 3 และ -คิดริเริ่มสร้างสรรค์พัฒนาระบบ ลดขั้นตอน ลดทรัพยากร ปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานและงานสาเร็จตาม วัตถุประสงค์เป้าหมาย แสดงออกตามระดับที่ 4 c]t -มีผลการปฏิบัติงานที่ดีกว่าเดิม เป็นที่ยอมรับ -จัดทาผลงาน เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

5

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-30การมีส่วนร่วม(Participation) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ

1 2 3

4

5

พฤติกรรมประสงค์ -ให้ความช่วยเหลือ เกื้อกูล ประสานความสามัคคีกับเพื่อนร่วมงานและผู้เกี่ยวข้องด้วยความเต็มใจ -ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม และหรือการปฏิบัติงานร่วมอย่างสร้างสรรค์กับบุคลากรภายในกลุ่ม แสดงออกตามระดับที่ 1 และ -ร่วมแสดงความคิดเห็น เสนอแนวคิด และให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง -ยอมรับฟังความคิดเห็น และแนวคิดของเพื่อร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้อง แสดงออกตามระดับที่ 2 และ -ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินงาน ตัดสินใจ ร่วมแก้ปัญหาดาเนินกิจกรรม และหรือปฏิบัติงานร่วมกันทุก ขั้นตอนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย แสดงออกตามระดับที่ 3 และ -ความสามารถประสานความร่วมมือกับองค์คณะบุคคล เครือข่ายสถานศึกษาหรือบุคคลอื่นเข้ามามีส่วน ร่วมในการปฏิบัติงาน -ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน แสดงออกตามระดับที่ 4 และ -ร่วมพัฒนา สรุปรายงานผลและจัดทาผลงานเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ -ร่วมกาหนดและจัดสรรให้ผลประโยชน์แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-31การสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการปฏิบัติงาน (Good Workforce Climate) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง) ระดับปฏิบัติ 1 2 3

พฤติกรรมพึงประสงค์ เข้าใจ ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม บริบทและวัฒนธรรมการปฏิบัติงาน แสดงออกตามระดับที่ 1 -ยอมรับความคิดเห็น ทัศนคติของบุคลากรภายในกลุ่มและหรือบุคลกรภายนอก แสดงออกตามระดับที่ 2 และ -เต็มใจรับและปฏิบัติงานที่รับผิดชอบและงานที่ได้รับมอบหมาย -พร้อมที่จะใช้บริการ สื่อสารและสร้างความเข้าใจและสัมพันธภาพที่ดีภายในกลุ่ม

4

แสดงออกตามระดับที่ 3 และ -พร้อมและเต็มใจในการให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม และการปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรภายใน กลุ่ม

5

แสดงออกตามระดับที่ 4 และ -ให้เกียรติ ยอมรับ นับถือซึ่งกันและกันกับเพื่อนร่วมงาน -ให้เกียรติ ยอมรับ นับถือตามสายงานการบังคับบัญชา

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


-32-

แบบประเมินลักษณะพึงประสงค์ กรอบแนวคิดการบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีประสิทธิผลสูง งานที่มีคุณภาพ (Quality Product) งาน (Product) คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับปฏิบัติ ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ระดับการปฏิบัติ (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = ปานกลาง, 2 = พอใช้, 1 = ควรปรับปรุง ระดับปฏิบัติ 1 2 3

4 5

ลักษณะพึงประสงค์ -เป็นงานที่ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน -เป็นงานที่ปฏิบัติงานภายใต้การมีส่วนร่วมและใช้เทคโนโลยีช่วยปฏิบัติงาน แสดงสมรรถนะระดับ 1 และ - งานสาเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ถูกต้อง ตรงตามกาหนดเวลา แสดงสมรรถนะระดับ 2 และ -งานเป็นที่พึงพอใจและได้รับการยอมรับ ตอบสนองความต้องการต่อผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานต้นสังกัด -งานเป็นที่พึงพอใจและได้รับการยอมรับ ตอบสนองความต้องการต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือผู้รับบริการ

แสดงสมรรถนะระดับ 3 และ -ผลงานนาไปอ้างอิงเพื่อการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานได้ แสดงสมรรถนะระดับ 4 และ -ผลงานได้รับการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์

ส่วนที่ 2 ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้ประเมิน


ภาคผนวก


บรรณานุกรม คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2549). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA). กรุงเทพมหานคร : สานักงาน ก.พ. คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์. (2553). การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน, สานักงาน ก.พ. (2552). การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมสาหรับผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา และผู้ปฏิบัติงาน กรุงเทพฯ : บริษัทอาทิตย์ โพรดักส์ กรุ๊ปจากัด. สานักงาน ก.พ. (2537). คู่มือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เอ.ลิฟวิ่ง จากัด. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). คู่มือการจัดการความรู้ในองค์กรการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และ ทาปกเจริญผล. สานักพัฒนาระบบจาแนกตาแหน่งและค่าตอบแทน, สานักงาน ก.พ.(2553). คู่มือการกาหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน : คู่มือสมรรถนะหลัก. กรุงเทพฯ : บริษัท ประชุมช่าง จากัด.


คณะที่ปรึกษาทรงคุณวุฒิ 1.ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก ที่ปรึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.รศ.ดร.สมาน ฟูแสง คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง 3.นางสาวพิมพ์ใจ นิศาวัฒนานันท์ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.ลาปาง เขต 1

คณะที่ปรึกษา 1.นายสมบัติ สุทธิพรมณีวัฒน์ 2.นายชัย ปองเสงี่ยม

ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

เรียบเรียงและจัดทา นางชีวพร สุริยศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ปฏิบตั ิหน้ าที่ผ้ อู านวยการกลุม่ นโยบายและแผน


จัดทาโดย นางชีวพร สุริยศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โทร. 054-335067-9 ,0818817150 E-mail lp1planning@yahoo.co.th Weblog mychiwaphorn.blogspot.com




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.