kts

Page 1

โครงการ

ศึกษาออกแบบรายละเอียด

ระบบขนสงสาธารณะในเขตจังหวัดขอนแกน และผลกระทบสิ่งแวดลอม ออกแบบอนาคตเมืองขอนแกน ออกแบบคุณภาพชีว�ตชาวขอนแกน จากการวางแผนอนาคตและบทบาทของจังหวัดขอนแกน ประกอบกับสภาพปญหาการขนสงและการจราจรของ เมืองขอนแกนปจจ�บัน สนข. จึงสนับสนุนงบประมาณ เพ�่อการศึกษาออกแบบรายละเอียด ระบบขนสงสาธารณะ และศึกษาผลกระทบ สิ�งแวดลอมโครงการนี้

KTS

สะดวก

ฉับไว

ปลอดภัย

คุมคา

รักษา สิ�งแวดลอม

ลดโลกรอน


ที่มาของโครงการ

สถานะเมืองขอนแกน - เปนมหานครแหงอาเซียน - เปนเมืองศูนยกลางการศึกษา การแพทย และสาธารณสุขของอนุภูมิภาค - เปนเมืองศูนยกลางการคมนาคมและโลจิสติกส - เรากำลังเตร�ยมรับรถไฟรางคู - รถไฟความเร็วสูง ปญหาการขนสง-จราจรเมืองขอนแกน 1. เมืองขยายอยางไรทิศทาง 2. คนเพ�่ม-งานเพ�่ม-รถเพ�่ม 3. ขาดการเชื่อมตอที่สะดวกระหวางการเดินทางภายในเมืองกับรถไฟ เคร�่องบิน และรถโดยสารระหวางจังหวัด 4. ไมมีระบบขนสงมวลชน 5. ผูคนขาดระเบียบ ขาดว�นัยจราจร 6. การจราจรติดขัด การเดินทางใชเวลา คาใชจาย และพลังงานมาก 7. อุบัติเหตุจราจร 8. ผลกระทบสิ�งแวดลอม สภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ การเตร�ยมแกปญหาการขนสง-จราจร เมื่อป 2551 มีการจัดทำแผนแมบท ของระบบขนสงสาธารณะ ตอมาป 2554 มีการศึกษาระบบรถโดยสารดวนพ�เศษ (BRT) ตนแบบเมืองภูมิภาคและ ในป 2555 ไดมีการออกแบบรายละเอียด พรอมทั้งออกแบบระบบการดำเนินการเดินรถโดยสาร ดวนพ�เศษ BRT ปจจ�บันสถานการณ ไดเปลี่ยนแปลงไปทั้งดาน การเจร�ญเติบโตของประชากรและ การพัฒนาเมืองแบบชาญฉลาด (Smart City) จึงเปนที่มาของ การศึกษาระบบขนสงสาธารณะ อีกครั้งหนึ่ง

วัตถุประสงค โครงการ

1. ว�เคราะหความเหมาะสมของระบบขนสงสาธารณะ 2. ศึกษาความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ ว�ศวกรรม และสิ�งแวดลอม เพ�่อออกแบบรายละเอียดโครงการนำรอง 1 เสนทาง 3. จัดทำแผนพัฒนาพ�้นที่และแผนการจัดระบบจราจร โดยรอบพ�้นที่สถานีและจ�ดจอด

ระยะเวลาการศึกษา

12 เดือน (มกราคม 2559 - มกราคม 2560)


ขั้นตอนการศึกษาและการจัดแบงกลุมงาน งานสวนที่ 1 งานศึกษาความเหมาะสมระบบขนสงสาธารณะ งานสำรวจและว�เคราะหขอมูล งานศึกษาความเหมาะสมและคัดเลือกระบบขนสงสาธารณะเมืองขอนแกน

งานสวนที่ 2 งานออกแบบรายละเอียดระบบขนสงสาธารณะ

งานสวนที่ 3 งานออกแบบพัฒนาพ�้นที่รอบสถานี

งานศึกษาความเหมาะสม ดานเศรษฐกิจและการลงทุน

งานจัดทำแผนพัฒนาพ�้นที่รอบสถานี (Transit Oriented Development TOD)

งานศึกษาความเหมาะสมดานว�ศวกรรม และออกแบบรายละเอียด

งานจัดทำแผน จัดระบบการจราจร

งานศึกษาและว�เคราะห ผลกระทบสิ�งแวดลอม

งานการมีสวนรวมและประชาสัมพันธ


“A B C” เอะ! ระบบไหนดีสำหรับขอนแกน ระบบขนสงสาธารณะจำแนกตามสิทธิในเขตทาง เทคโนโลยีและการใหบร�การได 3 ประเภทคือ

ประเภท A

Mass Rapid Transit (MRT)

Monorail

เปนระบบที่มีการกำหนดสิทธิ์ในเขตทางโดยสมบูรณ คือ ไมมีการอนุญาตใหยานพาหนะหร�อการจราจรอื่นเขามา ในเขตทาง ยานยนตที่ใชมีเทคโนโลยีขั้นสูง ขนาดความจ� ผูโดยสารมาก เหมาะสำหรับเมืองหร�อมหานครใหญ เชน รถไฟฟาใตดิน รถไฟฟารางหนัก ระบบรางเดี่ยว

ประเภท B

เปนระบบที่เขตทางและแนวเสนทางการเดินทางถูกแยกออก มาจากการจราจรของยวดยานประเภทอื่น แตอาจมี ยานพาหนะอื่นแลนตัดผาน หร�อมีคนเดินขามทางได และเปนเสนทางที่ผานทางแยกทั่วไป เชน รถโดยสารดวนพ�เศษ Bus Rapid Transit (BRT) Light Rail Transit (LRT) (BRT) และระบบรถไฟฟารางเบา (LRT) เปนตน

ประเภท C

Tram/Street Car

BUS

เปนระบบที่ยวดยานและระบบจราจรใชสิทธิ์ในเขตทางรวมกัน รถทุกชนิดรวมใชถนน ยานพาหนะจึงมีทั้ง รถสวนบุคคล รถแท็กซี่ รถโดยสารประจำทาง รถรับจางอื่นๆ เปนระบบ ของเมืองที่กำลังพัฒนาทั่วไป

เลื อ กระบบไหน ใช อ ะไรเป น ตั ว ชี ว ้ ด ั การเลือกระบบขนสงสาธารณะ ตองพ�จารณาดวยตัวชี้วัดตอไปนี้ 1. จำนวนประชากร 2. ขนาดของเมืองและความตองการในการเดินทาง 3. ความตองการใชระบบขนสงสาธารณะ 4. การจัดการจราจรรองรับผลกระทบ 5. การจัดการความปลอดภัยในเสนทาง 6. คุณภาพการใหบร�การและภาพลักษณะของระบบ 7. ความคุมคาในการลงทุนดานเศรษฐกิจ

8. ศักยภาพในการพัฒนาพ�้นที่รอบสถานี (TOD) 9. สนับสนุนการพัฒนาดานเศรษฐกิจของเมือง 10. ผลกระทบดานเสียงและการสั่นสะเทือน 11. ผลกระทบดานมลพ�ษทางอากาศและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ 12. ผลกระทบดานทัศนียภาพ


เสนทางไหนหนอเหมาะสมพอจะนำรอง เกณฑการพ�จารณาคัดเลือกเสนทางที่เหมาะสมเพ�่อเปนเสนทางนำรอง ในการออกแบบรายละเอียดและศึกษาผลกระทบสิ�งแวดลอม

1. ปร�มาณผูโดยสารคาดการณ (เที่ยวคน/วัน) (Demand) 2. จำนวนสถานีขนสงระหวางเมืองที่เสนทางผาน ไดแก สถานีขนสงผูโดยสาร สถานีรถไฟ ทาอากาศยาน เปนตน (Connectivity) 3. เขตทางและพ�้นที่กอสราง (Constructability) 4. ศักยภาพในการพัฒนาการใชประโยชนที่ดินและพ�้นที่โดยรอบ (Transit Oriented Development) 5. สนับสนุนการเขาถึงแหลงกิจกรรมและการจางงานของเมือง (Accessibility) 6. ระดับผลกระทบดานสิ�งแวดลอม (Environmental Impact) 7. ระดับผลกระทบตอระบบจราจรตามแนวเสนทาง (Traffic Impact)


โครงขายเสนทางของระบบขนสงสาธารณะเมืองขอนแกน


ชาวขอนแกนจะไดอะไร แบบรายละเอียดของระบบขนสง สาธารณะนำรอง1เสนทาง แผนพัฒนาพ�้นที่รอบสถานี และจ�ดจอดใหเปนเมืองกระชับและพ�้นที่สีเข�ยว มีพ�้นที่สันทนาการอยางเหมาะสม เนนการเดิน และการใชจักรยาน

ผลการศึกษาผลกระทบสิ�งแวดลอม

ผลผลิต

จากโครงการ

การศึกษาความเหมาะสม ของระบบขนสงสาธารณะ

แผนการจัดระบบการจราจรรอบสถานี และจ�ดจอด ที่มีความเชื่อมตอกับระบบอื่นๆ

การเดินทางสะดวก ฉับไว คุมคา และมีคุณภาพชีว�ตที่ดี สงเสร�มเมืองนาอยูที่ยั่งยืน

สงเสร�มความเชื่อมโยงของโครงขาย คมนาคมขนสงของจังหวัด

ผลประโยชน ทางตรง

สงเสร�มการพัฒนาเมือง

ลดการใชน้ำมันเชื้อเพลิง

มีระบบขนสงสาธารณะที่ปลอดภัย สรางความเทาเทียมกันในการเดินทาง

ลดภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

ลดมลพ�ษทางอากาศ ลดมลพ�ษทางเสียง

แผนการจัดตั้งองคกรเพ�่อบร�หาร จัดการระบบขนสงมวลชน และแผนปฏิรูปแบบการลงทุน

ผลประโยชน ทางออม

ลดอุบัติเหตุทางถนน สงเสร�มความเติบโตทางเศรษฐกิจ


ชาวขอนแกนจะมีสวนรวมในการพัฒนาไดอยางไร ประชาชน

ไมวาทานจะเปนใครในทุกภาคสวน

หนวยงาน ราชการ

ก็ลวนสามารถรวมออกแบบ ระบบขนสงสาธารณะเมืองขอนแกนได โดย

เอกชน

• การใหขอมูล • ตอบแบบสอบถาม • ใหสัมภาษณ • แสดงความคิดเห็น • บอกความตองการของทาน • อำนวยความสะดวกในการสำรวจ • รวมประชุมสัมมนา • ติดตามขาวสาร • ซักถามขอสงสัย • บอกขอหวงใย • กระจายขาวสารที่ถูกตอง

สื่อมวลชน

หนวยงาน การศึกษา

องคกรปกครอง สวนทองถิ�น

สำนักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม www.Otp.go.th

ศูนยว�จัยและพัฒนาโครงสรางมูลฐานอยางยั่งยืน ภาคว�ชาว�ศวกรรมโยธา คณะว�ศวกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยขอนแกน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน โทร. 043 202 355 โทรสาร 043 202 355 ตอ 12 E-mail : ktskk2016@gmail.com www.KTS2016.com Facebook : ktskhonkaen2016


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.