Issue07

Page 1

- พลังงานทดแทน พลังงานแหงอนาคตสําหรับประเทศไทย - “กราฟน วัสดุมหัศจรรย” เพื่ออนาคตพลังงานไทย - โปรแกรมวิจยั ดานวัสดุสาํ หรับพลังงานในอนาคต


PETROMAT’s Editor Corner เดิมทีหลายประเทศทั่วโลก

ยังตองพึ่งพาพลังงานหลักจากนํ้ามันซึ่งขุดเจาะไดมากในแถบประเทศตะวันออกกลาง แมกระทั่ง ประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐอเมริกาเองก็ตามยังตองพึ่งพาแหลงขุมทรัพยพลังงานในแถบประเทศเหลานี้ดวย แตดวยเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วทําใหมีพลังงาน อื่น ๆ อีกมากมาย แหลงพลังงานที่กําลังเปนที่โดงดังในตอนนี้ก็คือ Shale Gas ซึ่งเปนจุดเปลี่ยนมหาอํานาจพลังงานโลกใหกับสหรัฐอเมริกา เทคโนโลยีเหลานี้เองสงผลกระทบอยาง มากมาย อาทิ การลดการนําเขานํ้ามันของสหรัฐอเมริกาจากประเทศในแถบตะวันออกกลาง หรือสงผลกระทบอยางรุนแรงกับธุรกิจถานหินซึ่งในอดีตเคยเปนแหลงพลังงานที่สําคัญ นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงานแหงอนาคตอีกหลายแหลง รวมถึงเซลลเชื้อเพลิง เซลลแสงอาทิตย และพลังงานที่ผลิตจากชีวมวล ซึ่งเปนงานวิจัยที่ PETROMAT มีนักวิจัยที่ มีความเชี่ยวชาญภายใตโปรแกรมวิจัย Materials for Future Energy จะเห็นไดวาการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีนั้นสงผลกระทบไปทั่วทุกมุมโลกทั้งทางตรงและทาง ออม ดังนั้นการที่เราติดตามเทคโนโลยีใหกาวทันโลกก็เพื่อจะไดเปนการพรอมรับการเปลี่ยนแปลงกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตไดเปนอยางดี PETROMAT Today ขอรวมเปนสวนหนึ่ง ในการนําเสนอเทคโนโลยีในแงมุมตาง ๆ ใหทานผูอานไดรับความรูและเพลิดเพลินไปกับคอลัมนตาง ๆ ของเรา อีกทั้ง PETROMAT Today ยังไดรับเกียรติจากรองอธิบดีกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานในการใหสัมภาษณถึงแนวนโยบายการพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อเปนแนวทางในการทําวิจัยสําหรับอนาคตดวย

แกวใจ คําวิลัยศักดิ์ kaewjai.k@chula.aac.th

คณะที่ปรึกษา

รศ. ดร. ปราโมช รังสรรควิจิตร ผศ. ดร. ศิริพร จงผาติวุฒิ

บรรณาธิการ

แกวใจ คําวิลัยศักดิ์

ผูชวยบรรณาธิการ ฤทธิเดช แววนุกูล

กองบรรณาธิการ

ชญานิศค ศิริวงศนภา พรพิมล ชุมแจม ธีรยา เชาวขุนทด ภัสรชาพร สีเขียว กุลนาถ ศรีสุข FUTURE ENERGY

กํากับศิลป

อมรฤทธิ์ หมอนทอง

จัดทําโดย

ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ อาคารวิจัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชั้น 7 หอง 705/1 ซ.จุฬาฯ 12 ถ.พญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร : 0-2218-4141-2 แฟกซ : 0-2611-7619 Email: info@petromat.org WWW.PETROMAT.ORG

ที่มาภาพหนาปก 1.http://writing-jobs-uk.com/wp-content/uploads/2012/06/green-energy.jpg 2.http://cooldesktopbackgroundsx.com/wp-content/uploads/2010/08/Green-to-Go.jpg



INTRODUCTION

“นํ้ามันแพง”

แกปญหา ดวยพลังงานแหงอนาคต เรื่องโดย : ฤทธิเดช แววนุกูล

“ ผูจ าํ หนายนํา้ มันปรับขึน้ ราคามผี ลพรุง นี้ ” “ การไฟฟาปรับขึน้ คา Ft ” “ รัฐบาลประกาศขึน้ ราคากา ซหุงตม ” หัวขอขาวเหลานี้พบเห็นไดบอยตามสื่อตาง ๆ แตก็ทําใจยอมรับไมไดซักทีนะครับ ผลที่ตามมาคือการขึ้นคาโดยสาร คาบริการ คาอาหาร กระทบกับ

เงินในกระเปาเราเต็ม ๆ เพราะสินคาอุปโภคบริโภคเขาแถวขึ้นราคากันหมด แตเงินเดือนไมยักจะขึ้นกับเขาบาง ที่ผมเกริ่นนํามาแบบนี้ไมไดจะเขียนเกี่ยวกับเรื่อง เศรษฐกิจ แตผมกําลังจะบอกวาปญหาตาง ๆ เหลานี้ ตางมีที่มาจากราคาของ “พลังงาน” ถึงแมวาเทคโนโลยีปจจุบันสามารถที่จะนําพลังงานจากแหลงตาง ๆ มา ใชไดอยางหลากหลาย แตถือวา “นํ้ามัน” เปนเชื้อเพลิงที่ถูกนํามาใชมากที่สุด การขึ้นลงของ “ราคานํ้ามัน” จึงสงผลตอภาพรวมของราคาพลังงานดวย และจาก การที่เราทราบกันอยางดีวาปริมาณนํ้ามันมีจํากัดและไมสามารถเกิดขึ้นใหมทดแทนได ทําใหแนวโนมราคานํ้ามันมีแตขึ้นและขึ้น สวนทางกับเงินในกระเปา เรานั่นเอง อยางไรก็ตาม เราก็มีการวิจัยและพัฒนา “พลังงานแหงอนาคต” เพื่อนํามาใชทดแทนนํ้ามันรวมถึงเชื้อเพลิงฟอสซิลอื่น ๆ ในปจจุบัน ตั้งแตอดีตมนุษยก็รูจักนําพลังงานจากธรรมชาติมาใชประโยชน เชน การใชไฟในการหุงหาอาหาร ลาสัตว ใหความอบอุน การใชแสงแดดในการตากผา ถนอม อาหาร การใชลมในการเดินเรือ ใชกังหันลมในการเกษตร หรือใชพลังงานจากนํ้าผานกังหันนํ้า เปนตน ตอมามีการคิดคนเครื่องจักรไอนํ้า และพัฒนาจนเปนเครื่องจักรที่ ทันสมัยในปจจุบัน ทั้งนี้แหลงพลังงานที่ใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน ไดแก นํ้ามัน ถานหิน และกาซธรรมชาติ ซึ่งตางก็เปนเชื้อเพลิงฟอสซิลใชแลวหมดไป มีราคาสูงขึ้นเรื่อย ๆ และมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางมาก การตระหนักตอปญหาเหลานี้ทําใหเกิดการวิจัยและพัฒนาพลังงานใหม ๆ เพื่อใชในอนาคต พลังงาน นิวเคลียรเปนตัวเลือกหนึ่งที่ถูกยกขึ้นมา แตปญหาเรื่องความเสี่ยงยังเปนขอโตแยงของสังคมที่ยังไมจบสิ้น เชนเดียวกับ Shale Gas ที่ยังมีปญหาเรื่องสิ่งแวดลอมและ การขนสง หนทางที่มีความเปนไปไดคือการใชพลังงานหมุนเวียนเชนเดียวกับบรรพบุรุษของเราผานการใชเทคโนโลยีเพื่อใหไดประสิทธิภาพสูงขึ้น ไดแก พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนจากใตพิภพ พลังงานนํ้า พลังงานจากมหาสมุทร และพลังงานชีวมวล ซึ่งพลังงานเหลานี้มีการวิจัยและพัฒนาอยางตอเนื่อง และเริ่ม มีการนํามาใชจริงในปจจุบันแลว นับวาเปนทางออกในเรื่องพลังงานของมนุษยในอนาคต


สําหรับ PETROMAT ที่เปนหนวยงานเพื่อการวิจัยและ พัฒนาดานปโตรเคมีและวัสดุ มุงเนนเทคโนโลยีในดานปโตรเคมี ตั้งแตตนนํ้าไปจนถึงปลายนํ้า จึงใหความสําคัญกับพลังงานเปนอยาง มาก ทั้งการนําแหลงเชื้อเพลิงไปใชใหเกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด รวมถึง การหาวัตถุดบิ ทีจ่ ะมาทดแทนพลังงานทีใ่ ชอยูใ นปจจุบนั ddPETROMAT ได จั ด ตั้ ง โปรแกรมวิ จั ย ด า นวั ส ดุ สํ า หรั บ พลั ง งานในอนาคต (Materials for Future Energy) ขึ้นมา โดยมีหัวขอวิจัยหลักเกี่ยวกับ 1) ..เชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพเนื่ อ งจากประเทศไทยมี ศั ก ยภาพในเรื่ อ ง ชี ว มวลจากการเกษตรสามารถที่ จ ะยกระดั บ เป น แหล ง พลั ง งาน ทีย่ งั่ ยืนไดและ 2 ) เซลลเชือ้ เพลิง (Fuel Cell) ซึง่ เปนอุปกรณทสี่ ามารถ เปลี่ยนแปลงออกซิเจนและโฮโดรเจนใหเปนพลังงานไฟฟาไดโดยตรง ไมตองผานการเผาไหม ไมเกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอม โดยหัวขอวิจัย ทั้ง 2 เรื่อง เปนแนวทางที่จะแกปญ  หาดานพลังงานไดอยางยั่งยืน

Methane gas escapes

Blowouts

Leakage of fracking fluid

Poorly treated flowback water

Leakage of fracking fluid

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจาก Shale Gass ที่มา : http://zainullabiddin.com/2013/07/10/shale-gas-and-the-new-world

ที่มา : https://reich-chemistry.wikispaces.com/BermudezEnergyWaterwiki

NEWS นิ ท รรศการ“การขั บ เคลื่ อ น อนาคตประเทศไทยดวยระบบ วิจยั ของศูนยความเปนเลิศ” สํ า นั ก พั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาและวิ จั ย ด า น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สบว.) รวมกับศูนยความ เปนเลิศในสังกัดทั้ง 11 ศูนย จัดการประชุมทางวิชาการ และแสดงนิทรรศการ เรื่อง “การขับเคลื่อนอนาคต ประเทศไทยดวยระบบวิจัยของศูนยความเปนเลิศ” เมื่อวัน พุธที่ 31 กรกฎาคม 2556 ณ อาคารศูนยประชุมสถาบัน วิจัยจุฬาภรณ โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ฯพณฯ จาตุรนต ฉายแสง เปนประธานในพิธีเปดการ ประชุม ซึ่งมีผูเขารวมงานประกอบดวย คณาจารย นักวิจัย นิสิต/นักศึกษา ตัวแทนจากภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง สิ้นกวา 1,200 คน นอกจากนี้ PETROMAT และศูนย ความเปนเลิศอีก 10 ศูนย ยังไดรวมกันจัดงานเสวนาและ นิทรรศการแสดงกิจกรรมการดําเนินงานพรอมแสดงผล งานเชิงประจักษ โดยมีผูสนใจเขาชมและสอบถามขอมูล เปนจํานวนมาก 1


NEWS

งานเสวนา

Green R&D for Green Industry

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2556 PETROMAT รวมกับ พวอ. จัดงานเสวนา Green R&D for Green Industry ขึ้น ที่โรงแรมคามิโอ แกรนด จ. ระยอง เพื่อเปนการแลกเปลี่ยน ความรูผานวิทยากรผูทรงคุณวุฒิจากภาคการศึกษาและภาค การผลิต ไดแก รศ. ดร. ธํารงรัตน มุงเจริญ (นักวิจัย PETROMAT) ผศ. ดร. มนัสกร ราชากรกิจ (รองผูอํานวยการ HSM) คุณชาตรี ชื่นชมสกุล (ผอ. สํานักงานพัฒนาอยางยั่งยืน บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส) คุณนิรันดร อารียชน (ผจก. ฝายความ ปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท วีนิไทย จํากัด (มหาชน)) โดย มี รศ. ดร. อุดมศิลป ปนสุข (รักษาการผูอํานวยการ โครงการ พวอ.) เปนผูดําเนินรายการ

สัมมนาในหัวขอ

“Innovative Composites for Automotive Industry”

PETROMAT ไดจัดงานสัมมนาในหัวขอ “Innovative Composites for Automotive Industry” ในงาน InterPlas Thailand 2013 เมื่อวันศุกรที่ 21 มิถุนายน 2556 ที่ผานมา ณ ศูนยประชุมไบเทค บางนา สําหรับปนี้ PETROMAT ไดรับเกียรติจาก ผศ. ดร. หทัยกานต มนัสปยะ บรรยาย พิเศษเรื่อง “Bio Cars: Issues and Policies for Sustainable Mobility” หลังจากนั้น เปนการเสวนาในหัวขอ “Innovative Composite Materials from Renewable Resource for Automotive” นอกจากนี้ PETROMAT ไดจัดใหมี “ศูนยใหคําปรึกษาและพัฒนา นวัตกรรม” เพื่อใหคําปรึกษากับภาคการผลิตและบุคคลที่สนใจ พรอมทั้งจัดแสดงผลงานวิจัย และนวัตกรรมดวย ซึ่งไดรับการตอบรับจากผูเขารวมงานเปนอยางดี

PETROMAT ไดจดั ประชุม โปรแกรมวิจยั GPI ครัง้ ที่ 2/2556

ขึ้ น เพื่ อ เป น การพบปะกั น ระหว า งหั ว หน า โโปรแกรมวิจัย/หัวหนารวมโปรแกรมวิจัย/ คคณาจารยผูควบคุมงานวิจัย/นักวิจัยและผู ชชวยวิจัย รวมถึงการแสดงผลงานวิจัยเพื่อให เเกิดการบูรณาการองคความรูและเกิดความ รรวมมือในการทําวิจัยในอนาคต ความคืบ หหนาการดําเนินงานดานตาง ๆ ของ PETROMAT เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2556 ที่ผานมา M ณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี ม.เกษตรศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จัดแถลงขาวเรื่อง “สังคมไทย พร อ มหรื อ ไม ต  อ การรั บ มื อ ป ญ หานํ้ า มั น รั่ ว ไหลในทะเล” ในวันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม 2556 โดยรองผูอํานวยการ PETROMAT รวมเปนผูแถลงขาวพรอมดวยคณาจารยและ นักวิชาการผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขาจากจุฬาฯ 2 FUTURE ENERGY

ผูบ ริหาร PETROMAT รวมแสดงความยินดีกบั ผศ. ดร. สรรค วรอิ น ทร ที่ ไ ด รั บ ตํ า แหน ง ผูอํานวยการสํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและ วิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สบว.) เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม 2556 ที่ผานมา


EVENTS

• วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาฯ เปดรับเขาศึกษาตอ ระดับปริญญาโทและเอก หลักสูตรนานาชาติ สําหรับปการศึกษา 2557

• ภาควิชาฟสิกส ม.มหาสารคาม ขอเชิญรวมการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ รูปแบบพลังงานทดแทนสูชุมชนแหงประเทศไทย ครั้งที่ 6 (TREC-6) วันที่ 13 - 15 พฤศจิกายน 2556 ณ โรงแรมตักสิลา อ.เมือง จ.มหาสารคาม


COVER STORY

พลังงานทดแทน

ดร. ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

พลังงานแหงอนาคตสําหรับประเทศไทย

21 พฤษภาคม 2556 ไฟดับที่ 14 จังหวัดภาคใต และ 27 กรกฎาคม 2556 เกิดนํา้ มันดิบรัว่ ทีม่ าบตาพุด ทัง้ 2 เหตุการณเปน เหตุการณสาํ คัญในปนท้ี เ่ี กีย่ วของกับพลังงานนอกเหนือจากปญหาเรือ่ งราคาและความตองการใชพลังงานทีส่ งู ขึน้ เรือ่ ยๆตามการเจริญเติบโต ของเศรษฐกิจ จะเห็นไดวาพลังงานเปนปญหาใหญท่กี ระทบตอการดํารงชีวิตของทุกคน ความมั่นคงในดานพลังงานจึงเปนเรื่องสําคัญมาก คําถาม Classic เมื่อเราพูดถึงเรื่องพลังงานคือเราจะมีพลังงานใชถึงเมื่อไหรและจะมีพลังงานอะไรมาทดแทนใหเราใชในอนาคตบาง ? PETROMAT Today ฉบับนี้ ไดรบั เกียรติอยางสูงทีไ่ ดเขาสัมภาษณ ดร. ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน โดย ทานไดใหมมุ มอง แนวคิด รวมถึงนโยบายตาง ๆ ทีเ่ ตรียมไวสาํ หรับแกปญ  หาดานพลังงานของประเทศอยางนาสนใจ ซึง่ นับวามีประโยชนตอ พวกเราทุกคนมาก ๆ ครับ 4 FUTURE ENERGY


PETROMAT : อยากให ดร. ทวารัฐ เลาประวัติคราว ๆ ใหฟงวามีความ เปนมาอยางไรถึงมารับตําแหนงรองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน ดร. ทวารัฐ : เดิมผมรับราชการอยูท  กี่ ระทรวงอุตสาหกรรม ผมเปนนักเรียน

ทุนของกรมทรัพยากรธรณี ถูกสงไปเรียนเกีย่ วกับการสํารวจขุดเจาะ ปโตรเลียมดวยกองทุนนํา้ มัน พอกลับมาก็ทาํ งานอยูก รมทรัพยฯ ไดประมาณ 3 ปเศษ รัฐบาลยุคนัน้ มีการปฏิรปู ระบบราชการ จัดตัง้ กระทรวงใหมขนึ้ มา 6 กระทรวง กระทรวงพลังงานเปน 1 ใน 6 กระทรวงใหม ซึง่ เปนการรวบรวม หนวยงานทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งพลังงานใหมาอยูด ว ยกัน ตอนนัน้ เจานายผม เปนอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ไดรบั คัดเลือกใหเปนผูช ว ยจัดตัง้ กระทรวงนี้ และหลังจากนัน้ ทานก็ไดรบั มอบหมายใหเปนปลัดกระทรวง ทานชือ่ ทาน เชิดพงษ สิรวิ ชิ ช ทานไดเลือกผมเปนทีมงานในการจัดตัง้ กระทรวง ผมก็เขา มาอยูก ระทรวงพลังงานตัง้ แตวนั แรกทีม่ กี ารจัดตัง้ เมือ่ 3 ตุลาคม 2545 อยู ในสวนทีเ่ กีย่ วของกับงานดานยุทธศาสตรนโยบาย ทํางานอยูก ระทรวงได ประมาณ 6 ป จนเปน ผอ. สํานักนโยบายและยุทธศาสตร ก็ไดรบั การแตงตัง้ ใหมาดํารงตําแหนงรองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.) ผมก็ดาํ รงตําแหนงจวนจะ 4 ปเต็มแลว พพ. เปนกรมเกา ดัง้ เดิม สมัยกอนชือ่ “การพลังงานแหงชาติ” เปลีย่ นชือ่ มาหลายครัง้ เปน “สํานักงานพลังงานแหงชาติ” “กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน” อันนีก้ ็ เปนประวัตโิ ดยยอของผมครับ PETROMAT : ปจจุบันปญหาเรื่องพลังงานกระทบทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ทางกรมฯ มีนโยบายในการพัฒนาพลังงานทดแทนมา ชวยบรรเทาปญหานี้อยางไรบางครับ ดร. ทวารัฐ : ชือ่ กรมก็บอกนะครับวาทํา 2 เรือ่ ง พ. ที่ 1 ก็เรือ่ งพลังงาน

ทดแทน พ. ที่ 2 ก็เรือ่ งอนุรกั ษพลังงาน ภารกิจของเราทัง้ 2 เรือ่ ง โดย รวมกระทบทัง้ เรือ่ งเศรษฐกิจ ความมัน่ คง ความเปนอยูข องสังคม และ สิง่ แวดลอม แตประเด็นหลัก ๆ ทีเ่ ปน National Agenda เรือ่ งพลังงาน คือ “ความมัน่ คง” ซึง่ กระทบเศรษฐกิจและสังคม หมายความวา ถาไมมี พลังงานใชหรือมีใชแบบไมมนั่ คง เชน แพง หรือมีบา ง ขาดแคลนบาง จะ กระทบความเชือ่ มัน่ ของระบบเศรษฐกิจของประเทศ สังคมทีค่ นเคยอยูอ ยาง สะดวกสบาย มีความมัน่ ใจในชีวติ ประจําวัน ระบบโครงสรางพืน้ ฐานมีความ เพียบพรอม ถามันขาดแคลนหรือไมมั่นคง ความสะดวกสบายหรือความ เชือ่ มัน่ นัน้ ก็จะไมมี จุดออนของประเทศไทยคือเราพึง่ พาพลังงานนําเขาเยอะ เพราะฉะนัน้ กรม พพ. จะตองมีกลยุทธมาชวยเพือ่ ลดการนําเขา ซึง่ ทําไดทงั้ 2 พ. ทีว่ า คือ 1) เพิม่ พลังงานทดแทน และ 2) เรงรัดการอนุรกั ษพลังงานให เปนรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ ทัง้ 2 สวนก็มแี ผนแมบทระดับชาติชดั เจนวา ถาเรือ่ ง พลังงานทดแทนตองเพิม่ สัดสวนใหได 25% ใน 10 ปขา งหนา ซึง่ ตอนนีก้ ็ เหลือ 8 ปกวา เรือ่ งอนุรกั ษพลังงานก็เรงลดดัชนีตวั หนึง่ ชือ่ Energy Intensity ดัชนีสดั สวนการใชพลังงานตอ 1 หนวย GDP ใหได 25% ในอีก 20 ปขา ง หนา เพราะฉะนัน้ นีก่ เ็ ปน 2 ภารกิจหลัก ทีเ่ รามีแผนกลยุทธซงึ่ จะนําเราไปสู เปาหมายใหได พลังงานทดแทนมี 3 เรือ่ ง คือ ไฟฟา ความรอน เชือ้ เพลิงชีวภาพ - ไฟฟา มีการปรับเพิม่ เปาหมายใน 10 ปขา งหนาเปน 13,000 MW ทีผ่ ลิต จากพลังงานทดแทน หรือเทียบเปนสัดสวน 15% ของพลังงานไฟฟาทัง้ หมด ไฟฟาจากพลังงานทดแทนมาจากพลังงานลม พลังงานนํ้า แสงอาทิตย ชีวมวล กาซชีวภาพ และขยะ

- ความรอน เนนหนักการใชพลังงานทดแทนไปทดแทนเชือ้ เพลิงแข็งหรือ เชือ้ เพลิงทีม่ รี าคาแพง เชือ้ เพลิงแข็งชัด ๆ เลย ก็คอื ถานหิน สวนเชือ้ เพลิง ทีม่ รี าคาแพงเพราะวาการปรับโครงสรางราคาพลังงาน ไดแก LPG พลังงาน ทดแทนในเรือ่ งความรอนหลักเลยมี 4 ตัว คือ ชีวมวล กาซชีวภาพ ขยะ และ แสงอาทิตย ปจจุบนั สัดสวนการทดแทนอยูใ นระดับสูงอยูแ ลว ประมาณ 40 – 50% ของการใชความรอนโดยรวม แตวา ยังมีอตุ สาหกรรมบางประเภททีส่ ามารถ จะแปรเปลีย่ นได เชน อุตสาหกรรมอาหารมีเศษวัสดุเหลือใชจากการเกษตร อยูแ ลว แตยงั พึง่ พา LPG อยู เพราะสมัยกอน LPG ราคาไมแพง แตปจ จุบนั LPG เริม่ ขยับตัวไปแลว ก็จะมี Demand เพิม่ ขึน้ จากการนําเศษวัสดุเหลือ ใชจากการเกษตรเหลานัน้ มาแปรรูปใหเปนพลังงานทดแทนความรอนทีใ่ ช ในระบบ - เชือ้ เพลิงชีวภาพ หลัก ๆ ก็ไบโอดีเซล เอทานอล โดยเอทานอลตองการ เพิม่ ใหได 9 ลานลิตร/วัน และไบโอดีเซล 7 ลานลิตร/วัน นอกจากนีจ้ ะมีเชือ้ เพลิงใหมมาทดแทนดีเซล 3 ลานลิตร/วัน เชือ้ เพลิงใหมกค็ อื BHD หรือ Bio Hydrogenated Diesel เปนการนํานํา้ มันทีไ่ ดจากพืชพลังงานมา Crack หรือทําปฏิกริ ยิ าเคมีใหไดโมเลกุลคลายกับนํา้ มันเชือ้ เพลิงปกติใหไดมากทีส่ ดุ

“...เรือ่ งพลังงานคือ “ความมัน่ คง” ซึง่ กระทบเศรษฐกิจและสังคม หมายความวา ถาไมมพี ลังงานใช หรือมีใชแบบไมมนั่ คง จะกระทบความเชือ่ มัน่ ของระบบเศรษฐกิจของประเทศ...”

5


COVER STORY

PETROMAT : Theme ของ PETROMAT Today ฉบับนี้ เปนเรื่อง Future Energy ไมทราบวาในความคิดของ ดร. ทวารัฐ พลังงานทดแทน กับพลังงานในอนาคตจะเชื่อมโยงกันไดอยางไรบางครับ ดร. ทวารัฐ : สําหรับประเทศไทยชัดเจนวาใน 10 ปขา งหนาพลังงานทดแทน

“ สําหรับประเทศไทยชัดเจนวา ใน 10 ป ขางหนาพลังงานทดแทนคือ

พลังงานทีม่ าจากพืช ”

คือพลังงานทีม่ าจากพืช ซึง่ ประเทศไทยทีเ่ ปนประเทศเกษตรกรรม มีเศษ วัสดุดา นการเกษตรมากเพียงพออยูแ ลว อยางทีผ่ มเลาวาเราสามารถใช พลังงานจากพืชทําเปนไฟฟา ความรอน หรือกลายเปนนํา้ มันก็ได เรามี เทคโนโลยีทจ่ี ะทําใหเศษวัสดุเหลือใชเหลานัน้ อยูใ นรูปพลังงานทีเ่ หมาะสมได ตัวอยางพืชทีแ่ ปรรูปเปนไฟฟาไดจากเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตร เชน แกลบ ชานออย ไมสกั รากไมยางพารา เราก็สามารถแปรรูปเปนไฟฟาได อยูแ ลว ปจจุบนั ก็มนี โยบายใหมออกมาสงเสริมหญาเนเปยร สงเสริมใหปลูก พวกไมโตเร็ว หญาโตเร็ว พวกนีก้ เ็ อามาหมักไดไบโอแกส เอามาปน ไฟ แต เรามีนโยบายชัดเจนทีจ่ ะไมแตะตองหวงโซอาหาร

PETROMAT : มุมมองสําหรับการวิจัยและพัฒนาสําหรับประเทศไทยในปจจุบันนี้เปนอยางไร และอยากเห็นแนวโนมงานวิจัยดานพลังงานทดแทนมีทิศทาง เชนใดในอนาคต ดร. ทวารัฐ : ถาเปนเรือ่ งการวิจยั ก็มี 2 เรือ่ งนะครับ เรือ่ งที่ 1 ก็เปน Focus ในเรือ่ ง Technology อยางทีผ่ มวา ถาพลังงานทดแทนกระแสหลักของประเทศไทย

คือพืช เพราะฉะนัน้ Focus ของเราก็นา จะเปนเรือ่ งการแปรรูปพืชใหเปนพลังงานทีเ่ ราจับตองได ดังนัน้ ศาสตรทเี่ กีย่ วของไมวา จะเปนเรือ่ ง Biotech ก็ดี เรือ่ ง Materials Science หรือเรือ่ งอุปกรณทางการเกษตร เครือ่ งจักรสําหรับตัดเก็บ ทีม่ าชวยใหอตุ สาหกรรมเกษตรพลังงานเหลานีค้ ลองตัวมากยิง่ ขึน้ ผมวาเปน Focus ทีเ่ ราควรจะมอง เราไมตอ งไปเหอเหิมกับเซลลแสงอาทิตย พลังงานลมแบบฝรัง่ เขา ถึงเราทําตามก็ตามเขาไมทนั เพราะตนทุนเขาลดไปเยอะแลว เรานา จะมา Focus ในสิง่ ทีเ่ ราคิดวาจะมีศกั ยภาพสูงสุดก็คอื เรือ่ งเกษตรพลังงาน ผมถือวาเปนเรือ่ งทีเ่ ราตองใหความสําคัญ สําหรับประเด็นที่ 2 คือการบูรณาการ Value Chain ของงานวิจยั ประเด็นตอนนีค้ อื ทุกคนก็จะพยายามเหมือนรองวารัฐไมชว ยเหลือจริงจังกับกระบวนการงานวิจยั โดยเฉพาะขัน้ ตอนทีแ่ ปรรูป จากวิจยั มาสู Commercialization อันนีต้ อ งกําหนดกลไก เพราะในบางกรณีกค็ อื ภาครัฐอยากชวยแตชว ยไมตรงจุด หรือวาชวยเยอะเกินไป หรือวาไมเปด ใหมกี ลไกตลาดในการทีจ่ ะเขามาสนับสนุนงานวิจยั เหลานัน้ ผมวาเรือ่ งนีเ้ ปนสวนสําคัญ ตอนนีก้ ระทรวงพลังงานทําแผนรวมกับกระทรวงวิทยาศาสตร ชือ่ วา แผนวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ซึง่ เปนกลยุทธหลักของกระทรวงวิทยาศาสตรเขาเลยนะ เขาจะทําแผน วทน. นีใ้ นทุก Sector สําคัญ เรา มีโอกาสชวยกระทรวงวิทยาศาสตรทาํ แผน วทน. ในเรือ่ งพลังงานทดแทนรวมกับ สวทน. สวทช. ก็ Identify ไดเปนแผน Action Oriented ใน 5 ปขา งหนา ประมาณ 189 โครงการทีต่ อ งทํา โดยใชงบประมาณรวมจากภาครัฐและเอกชน สุดทายนี้ ทีมงาน PETROMAT ขอขอบพระคุณ ดร. ทวารัฐ สูตะบุตร ทีส่ ละเวลาใหเขาสัมภาษณและอนุญาตใหนาํ เนือ้ หามาตีพมิ พครับ

6 FUTURE ENERGY


บทความพิเศษ

FAQ กรณี ศ ก ึ ษา นํ้ามันดิบรั่วทะเล ระยอง จากเหตุการณนาํ้ มันดิบโอมานรัว่ ไหลลงทะเล ที่ จ. ระยอง เมือ่ วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 ทีผ่ า นมามี คําถามตาง ๆ เกิดขึน้ มากมาย ในฐานะนักวิชาการดาน เทคโนโลยีปโ ตรเคมี PETROMAT จึงคลายขอสงสัย ดังนี้ นํ้ามันดิบ คืออะไร ถาตอบแบบตรงไปตรงมา นํ้ามันดิบก็คือนํ้ามันที่ยังไมสุกนั่นเอง นํ้ามัน ดิบ หรือนํ้ามันปโตรเลียม เกิดขึ้นจากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตเปนเวลาหลาย ลานป ประกอบไปดวยสารจําพวกไฮโดรคารบอนหลายชนิด ปกตินํ้ามันดิบจะถูกนํา มาผานกระบวนการกลั่นโดยผลิตภัณฑที่ได คือเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ เชน กาซ NGV กาซหุงตม นํ้ามันเบนซิน และนํ้ามันดีเซล เปนตน นอกจากเชื้อเพลิงแลว บางสวน จะถูกนําไปผลิตเปนสารปโตรเคมี เพื่อผลิตพลาสติกนานาชนิดอีกดวย เกิดอะไรขึ้นบางกับนํ้ามันดิบที่รั่วไหล เนื่องจากนํ้ามันมีความหนาแนนนอยกวานํ้า เมื่อเกิดการรั่วไหลก็จะลอย อยูบนผิวนํ้า มาดูกันวามีอะไรเกิดขึ้นกับนํ้ามันไดบาง อันดับแรกสารที่เบาจะระเหย สูบรรยากาศอยางรวดเร็ว สารบางจําพวก (สวนนอย) จะละลายในนํ้า ในสวนนี้ จะมีผลกระทบตอสัตวนํ้าไดมากกวานํ้ามัน นํ้ามันดิบที่เหลือจะเกิดการกระจายตัว เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยใชแสง (Photo-oxidation) แสงอาทิตยและอากาศ สามารถทําปฏิกิริยากับสารเคมีได โดยเฉพาะสารจําพวก PAH ซึ่งทําใหโมเลกุลถูก ยอยสลายดวยจุลชีพไดงายขึ้น ในกรณีที่แผนนํ้ามันหนามากอาจเปนอันตรายตอผู ปฏิบัติงานและสัตวทะเล จึงตองมีการเติมสาร Dispersant เพื่อสลายคราบนํ้ามัน แลวนํ้ามันที่เหลืออยูในทะเลจะหายไปไดอยางไร และใชเวลานานเทาใด กระบวนการทางกายภาพที่กลาวมาทั้งหมดนั้น ไมไดทําใหนํ้ามันสลาย ตัวไปเปนสารที่ไมมีพิษ ดังนั้น ผูที่รับผิดชอบควรจะกําจัดนํ้ามัน (เก็บกู หรือ เผา ไหม) เพื่อใหมีผลกระทบกับสิ่งแวดลอมนอยที่สุด อยางไรก็ดีการกําจัดนํ้ามันโดย การเผาไหม มีความเสี่ยงสูงและมีขอจํากัดดานความปลอดภัยและการควบคุม นํ้ามันที่เหลือจะถูกยอยสลายทางชีวภาพโดยจุลชีพ เชน แบคทีเรียหรือรา จุลชีพ เหล า นี้ ส ามารถกํ า จั ด นํ้ า มั น ได เ นื่ อ งจากสามารถผลิ ต เอนไซม ที่ กํ า จั ด นํ้ า มั น ได เนื่องจากนํ้ามันมีองคประกอบหลายชนิด และจุลชีพชนิดหนึ่ง ๆ จะกําจัดนํ้ามันได บางชนิดเทานั้น ดังนั้นจึงตองมีจุลชีพชนิดตาง ๆ ในการกําจัดนํ้ามันทั้งหมด การที่ จุลชีพจะกําจัดนํ้ามันไดชาหรือเร็วนั้นขึ้นอยูกับองคประกอบหลายอยาง เชน ชนิด ของนํา้ มัน สารพาราฟนสจะยอยสลายไดงา ยกวาสารอะโรเมติกส และสาร PAH จะถูก กําจัดไดยากทีส่ ดุ นอกจากนีก้ ารยอยสลายยังขึน้ อยูก บั สภาพของนํา้ มัน คาความเปน กรด-ดางของนํ้าทะเล ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของนํ้าทะเล รวมไปถึงจุลชีพชนิด อื่น ๆ ที่อยูรวมกันอีกดวย

โดย ผศ. ดร. ศิริพร จงผาติวุฒิ วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาฯ และ ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ

จะทราบไดอยางไรวาอาหารทะเลปลอดภัย การวิเคราะหสารปโตรเลียมที่ตกคางในสัตวทะเลสามารถทําไดโดย เทคนิค Total Petroleum Hydrocarbon โดยคาที่ไดจะออกมาอยูในรูปสมมูล ไครซีน (Chrysene equivalent) จากผลการทดสอบตัวอยางอาหารทะเลภาย หลังเกิดเหตุการณนํ้ามันรั่ว (30-31 ก.ค. 2556) โดยภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล จุฬาฯ พบวาคาสมมูลไครซีนมีคาอยูในเกณฑปกติ อยางไรก็ดีทางภาควิชาและกรม ประมงจะติดตามผลในระยะยาวตอไป ผูอานสามารถติดตามบทความพิเศษฉบับ เต็มไดที่ www.petromat.org หรือหากมีคําถามเพิ่มเติมทานสามารถติดตอเรา ไดที่ info@petromat.org เกร็ดความรู -ทั่วโลก นํ้ามันที่รั่วไหลในทะเล ประมาณครึ่งหนึ่งเกิดจากการซึมจาก แหลงนํ้ามันใตทะเล อีกครึ่งหนึ่งมาจากกิจกรรมของมนุษย เชน การรั่วไหลจาก การขนสง การลางคราบนํ้ามันจากเรือ และอื่น ๆ -Slickgone NS เปนสาร dispersant ที่ถูกใชในการสลายคราบนํ้ามัน กรณีนํ้ามันดิบรั่วไหลที่มาบตาพุด Slickgone NS มีองคประกอบของเคโรซีนที่ไดมา จากการกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม 60-70% และมีสารลดแรงตึงผิวประเภทโซเดียมออก ติลซัลโฟซักซิเนตอีก 1-10% เปนสารสลายคราบนํ้ามันที่ไดรบั การยอมรับในระดับ นานาชาติสําหรับการสลายคราบนํ้ามันในทะเล เปนของเหลวสีนํ้าตาล ไมมีพิษและ ไมสะสมในสิ่งมีชีวิต อาจมีการระคายเคืองที่ผิวหนังหรือดวงตาหากมีสัมผัส

แหลงอางอิง 1.Microbes & Oil Spills FAQ, American Society for Microbiology, 2010. 2.Material Safety Data Sheet of Slickgone NS, Dasic International Ltd. 3.งานแถลงขาวเรื่อง “สังคมไทย พรอมหรือไมตอการรับมือปญหานํ้ามันรั่วไหล ในทะเล” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม 2556 ณ อาคารจามจุรี 4 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 7


INTERVIEW

“กราฟน วัสดุมหัศจรรย” เพื่ออนาคตพลังงานไทย อ. ดร. มนตรี สวางพฤกษ

ลังจากที่ อังเดร ไกม (Andre Geim) และ คอนสแตนติน โนโว เซลอฟ (Konstantin Novoselov) ไดวิจัยและพัฒนา “กราฟน (graphene)” ไดสําเร็จในป 2547 และทําใหไดรับรางวัลโนเบลในป 2553 ดวยคุณสมบติที่ โดดเดนเปนอยางมากทําใหกราฟน ถูกเรียกวา “วัสดุมหัศจรรย” และถูกนํา ไปประยุกตใชงานอยางกวางขวาง สําหรับประเทศไทย มีนักวิจัยที่นํากราฟน ไปประยุกตเปนตัวเก็บประจุไฟฟาเคมียิ่งยวด และไดรับรางวัลผลงานประดิษฐ คิดคน ประจําป 2556 จากสภาวิจัยแหงชาติ ซึ่งนักวิจัยคนนั้นก็คือ อ. ดร. มนตรี สวางพฤกษ อาจารยและนักวิจัยของ PETROMAT ประจําภาควิชาวิศวกรรม เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ดังนั้น PETROMAT Today ฉบับนี้ จะพาทานผู อานไปรูจักกับ “กราฟน” และการประยุกตเพื่อปนวัสดุสําหรับพลั งงานในอนาคต อานต อหนาถัดไป 8 FUTURE ENERGY

อานตอหนาถัดไป...



IINTERVIEW NTERV VIEW

PETROMAT : ปจจุบันมีกาารศึ รศกึ ษา “กราฟน”เพื่อใชในงานอ นงานอะไรบางครับ อ. ดร. มนตรี : เนื่องจากคุณสมบัติท่ีโดดเ ดดเด เดนของวัสดุกรา ราฟนมีมากมาย การประยุ านกราฟ ดังกลาวขางตนกา ารประยุ​ุกตใชงานกร ราฟนจึงมากมายไปดวยยเชน สามารถ ใชทําจอภาพของอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณอิเล็คโท โทรนิคพกพาอื่น Samsung ของ ๆ ที่มีนํ้าหนักเบา โปรงใส และ ยืดหยุนสูง โดยบริษัท Sa เกาหลีเปนผูนําดานนี้ ใชทําขั้วไฟฟาในตัวเก็บประจุไฟฟ ฟฟ าเคมียิ่งยวด แบตเตอรี่ และอุปกรณตรวจวัดเชิงเคมีและชีวภาพ ใชเปนวัสดุรองรับของ ตัวเรงปฏิกิริยา ใชเปนสารเติมแตงในพอลิเมอรคอมโพสิท ทําใหพอลิเมอร มีความตานทานไฟฟานอยลงนําไปใชงานไดหลากหลาย เชน ถุงหรือฟลม ตาน ไฟฟาสถิต (antistatic plastics) บรรจุชิ้นสวนอิเล็กทรอนิคส เปนตน PETROMAT : อยากใหอาจารยชว ยอธิบายใหพวกเรารูจ กั “กราฟน” วา ทําไมถึงถูกเรียกวาเปน “วัสดุมหัศจรรย” ครับ อ. ดร. มนตรี : เมื่อเราพูดถึงวัสดุกราฟนอาจจะทําใหเราคิดวาเปนวัสดุ ที่ทันสมัย ใหมจนเราไมคุนเคย แทจริงแลวทุกคนคุนเคยกับกราฟนเปน อยางดี เพราะวาพวกเราทุกคนนาจะเคยใชดินสอเขียนหนังสือหรือวาด รูป ไสดินสอมีกราไฟตเปนองคประกอบหลัก โดย‘กราไฟต’ ก็คือ ‘กราฟน หลาย ๆ ชั้น ยึดเหนี่ยวกันดวยแรงออน ๆ เชิงฟสิกส หรือ แรงแวนเดอร วาลล (Van der Waals forces)’ ถ า เปรี ย บเที ย บให เ ข า ใจง า ยขึ้ น กราไฟตก็เปรียบเหมือนกระดาษหนึ่งรีม สวนกราฟนก็คือกระดาษแผน เดียวเทานั้นครับ สวนประเด็น ทําไมกราฟนถูกเรียกวาเปน “วัสดุมหัศจรรย” เนือ่ งจากกราฟนหรือแผนคารบอนทีม่ คี วามหนาเพียงแคหนึง่ อะตอมมีโครงสราง อันเกิดจากการจัดเรียงกันของคารบอนอะตอมแบบวงหกเหลี่ยมตอกัน หลาย ๆ วง และคารบอนแตละอะตอมยึดกันไวดวยพันธะโควาเลนต ในแนวระนาบ 2 มิติ สงผลใหเกิดคุณสมบัติอันเปนที่สุดหรือโดดเดน หลายประการ เชน เปนวัสดุสองมิติที่บางที่สุด มีคาความคลองตัวของ อิเล็กตรอนสูง มีคาการนําไฟฟาสูง เปนวัสดุที่มีความยืดยุนสูงที่สุด มีความแข็งแรงสูงที่สุด (Science 2008: 321, 385-388) หรือแข็งแรง มากกวาเหล็ก 200 เทา กราฟน มีพื้นที่ผิวทางทฤษฎีสูง และยังสามารถ ยับยั้งเชื้อราและแบคทีเรียไดดี 10 FUTURE ENERGY

PETROMAT : ทราบมาวาอาจารยไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน ประจําป 2556 จากสภาวิจัยแหงชาติ เรื่อง ตัวเก็บประจุไฟฟาเคมียิ่งยวด ของวัสดุมหัศจรรย “กราฟน” อยากทราบวาอะไรทําใหอาจารยมาสนใจ เรื่องนี้ และอาจารยคิดวาอะไรเปนเหตุผลที่ทําใหงานนี้ไดรับรางวัลครับ อ. ดร. มนตรี : เนื่องจากตัวเก็บประจุไฟฟาเคมียิ่งยวด ไดรับความสนใจ ในประชาคมวิจยั ดานนาโนเทคโนโลยีในตางประเทศคอนขางมากเปนทีร่ จู กั ในฐานะอุปกรณเก็บพลังงานสําหรับอนาคต เพราะปจจุบันตัวเก็บพลังงาน เชน แบตเตอรี่ ยังมีประสิทธิภาพตํ่า ใชเวลาในการบรรจุไฟและคายไฟ คอนขางนาน ราคาแพง มีอายุการใชงานสั้น สรางปญหาเรื่องขยะที่ทําลาย ยากและเปนมลพิษตอสิ่งแวดลอม ที่สําคัญกวานั้น นักวิจัยไทยยังไมคอย ไดทํางานวิจัยดานนี้มากนัก อีกทั้งขณะที่ผมเรียนปริญญาเอกที่อังกฤษได ใชเทคนิคทางไฟฟาเคมี ซึ่งเปนเทคนิคที่จําเปนสําหรับศึกษาวิจัย ตัวเก็บ ประจุไฟฟาเคมียิ่งยวด จึงทําใหผมเลือกทํางานวิจัยดานนี้ครับ PETROMAT : พอดีวารสาร PETROMAT Today ฉบับนี้ มี Theme เกี่ยวกับ Future Energy ทราบวาอาจารยมีแนวคิดในการนํา “กราฟน” มาพัฒนาเซลลเชือ้ เพลิงดวยอาจารยพอจะเลาใหพวกเราฟงไดหรือเปลาครับ อ. ดร. มนตรี : เราไดเริม่ งานดานนีไ้ ปสักพักแลวครับ เราใชเทคนิค การตก ตะกอนดวยไฟฟาเคมี (Electrodeposition) ของวัสดุนาโนแพลเลเดียมบน วัสดุรองรับกราฟน จากนั้นใชเปนขั้วไฟฟาของเซลลเชื้อเพลิงเพื่อเรง ปฏิกิริยาวิวิธพันธุของแอลกอฮอลหลากหลายชนิด เชน เอทานอล และ


เมทานอล เปนตน ผลจากการศึกษาวิจยั ในระยะเวลาสองปทผี่ า นมาก็เปน ทีน่ า พอใจ เราสามารถผลิตตัวเรงปฏิกริ ยิ าทีร่ าคาถูก ประสิทธิภาพสูง มีผล งานวิ จั ย ที่ ตี พิ ม พ ใ นระดั บ นานาชาติ ใ นวารสารที่ คุ ณ ภาพดี สองเรื่ อ ง (J. Mater. Chem. A 2013 และ Fuel Cells 2013) และเราก็กาํ ลังศึกษา วิจยั ดานนีอ้ ยูค รับ PETROMAT : สิ่งผลักดันใหอาจารยเลือกที่จะมาเปนอาจารยและนักวิจัย คืออะไรครับ อ. ดร. มนตรี : สมัยเด็กผมชอบทํากิจกรรมวิชาการ เชน สอนหนังสือรุน นอง หรือ ชวงปดเทอมผมก็รว มกับเพือ่ นทํากิจกรรม พีส่ อนนอง สอนวิชาเคมีให กับเด็กมัธยมในตางจังหวัดเปนประจําอยูแ ลว ทําแลวก็มคี วามสนุกและสุข ดี ก็เหมือนผมไดเลือกอาชีพนีต้ งั้ แตตอนนัน้ แลวมัง้ ครับ อีกทัง้ ผมไดรบั ทุน จาก สกอ. เพือ่ ไปเรียนปริญญาเอกทางดานนาโนเทคโนโลยี และตองกลับมา เปนอาจารยดว ย ผมก็เลยไมไดมองอาชีพอืน่ เลยครับ สวนทําไมเลือกเปนนัก วิจยั ...ผมคิดวาอาชีพนักวิจยั เปนอาชีพทีค่ อ นขางอิสระทางความคิด ทาทาย ใหเราใชจนิ ตนาการสรางสรรคผลงานไดเต็มที่ ดังนัน้ อาชีพนีน้ า จะเหมาะกับ ผมมากทีส่ ดุ แลวครับ PETROMAT : กอนที่จะประสบความสําเร็จในการวิจัยจนไดรับรางวัลจาก สภาวิจัยแหงชาติ อาจารยผานความทาทายอะไรมาบางครับ อ. ดร. มนตรี : กอนอืน่ ผมขอปฏิเสธ และยังไมขอรับประโยคทีว่ า ผมประสบความสําเร็จ ในการวิจยั … เพราะยังอายทีจ่ ะรับคําชมนีค้ รับ! จริง ๆ ผมยังเปนนักวิจยั รุน ใหมเพิง่ เริม่ ทํางานทีเ่ มืองไทย 3 กันยายน 2556 ก็จะครบสามปเองครับ ผมยังมีความฝนดานงานวิจยั อีกหลายอยาง และตองทํางานหนักอีกมากถึง จะสําเร็จครับ รางวัลทีไ่ ดรบั จากสภาวิจยั แหงชาติ ถือเปนรางวัลทีส่ าํ คัญ มากสําหรับผมและลูกศิษย เปนกําลังใจใหพวกเราทํางานหนักตอไปครับ ตองขอบคุณทานกรรมการสภาวิจยั แหงชาติทเี่ ห็นประโยชนจากสิง่ ประดิษฐ ของเราครับ สวนเรือ่ งความยากลําบากและทาทายในการทํางานวิจยั ผม คิดวาก็เหมือนพี่ ๆ เพือ่ น ๆ ทีเ่ คยทําวิจยั ในตางประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลว ทีน่ นั้ มีวสั ดุอปุ กรณและเครือ่ งมือการทดลองทีท่ นั สมัย อาจารยมที นุ วิจยั ใหซอื้ วัสดุและสารเคมีอะไรก็ได เราแคขยันทํางานก็อาจมีผลงานทีด่ ไี ด ...แตการ ทํางานวิจยั ทีเ่ มืองไทย นอกจากขยัน เราก็จะตองอดทน พยายามสรางงาน ทีส่ รางสรรคแตใชทนุ วิจยั ไมมากนัก เราก็จะสามารถทํางานไดครับ อีกทัง้ ผม โชคดีมากเพราะที่ทํางานของผมภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มีอาจารยผใู หญทใี่ หการสนับสนุนอาจารยรนุ ใหมอยางผมได ทํางานวิจยั อยางเต็มที่ สองปแรกอาจารยรนุ ใหมทาํ งานวิจยั และสอนหนังสือ เทานัน้ ภาระงานอืน่ ๆ ยังไมคอ ยไดทาํ จึงทําใหเรามีเวลาทํางานวิจยั อยาง เต็มทีค่ รับ ....ตองขอบพระคุณหัวหนาภาคในอดีต (รศ. ดร. ผึง่ ผาย พรรณ วดี) และในปจจุบนั (รศ. ดร. อภิญญา ดวงจันทร) ทีม่ นี โยบายดี ๆ สําหรับ

รับรางวัลสภาวิจัยแหงชาติ

อาจารยรนุ ใหมครับ ผมยังโชคดีทมี่ อี าจารยพเี่ ลีย้ งในภาควิชา (รศ. ดร. เมตตา เจริญพานิช) และอาจารยพเี่ ลีย้ งภายใตโครงการ สกว-สกอ (ศ. ดร. จํารัส ลิม้ ตระกูล) ทีถ่ อื เปนตัวอยางของ อาจารยนกั วิจยั ทีป่ ระสบผลสําเร็จ คอยใหคาํ ปรึกษาและชวยเหลือเรือ่ งงานวิจยั เปนอยางดี และอาจารยทงั้ สอง ทานก็เปนแบบอยางใหผมเดินตามอยูค รับ นอกนัน้ ที่ มก. เรามีทนุ วิจยั เพือ่ ให นิสติ ป. โท-เอก เชน ทุนจากคณะวิศวกรรมศาสตร จากศูนยวทิ ยาการขัน้ สูง ดานนาโนเทคโนโลยีเพือ่ อุตสาหกรรมเคมี อาหาร และการเกษตร และจาก ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโ ตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) และทุน วิจยั จาก สกว - สกอ สําหรับคาวัสดุและสารเคมี ก็เลยทําใหเราสามารถทํา วิจยั ไดอยางไมมปี ญ  หาครับ PETROMAT : สุดทายอยากใหอาจารยฝากอะไรถึงนอง ๆ ที่จะเลือกเสน ทางชีวิตมาเปนนักวิจัย รวมถึงผูที่อยูในแวดวงนักวิจัยครับ อ. ดร. มนตรี : ผมวาเราทุกคนจะมีความสุขและทํางานไดดี ถาเราไดทาํ งาน ในสิง่ ทีเ่ รารัก ผมโชคดีทไี่ ดทาํ งานทีผ่ มรัก คือ สอนหนังสือและทําวิจยั โดย ทําวิจยั จนเกิดความรู ความเชีย่ วชาญ จากนัน้ นําความรูเ หลานัน้ มาถายทอด ใหลกู ศิษย อาชีพ อาจารยนกั วิจยั อาจจะไมรวยแตเรามีอสิ ระทางความคิด ไดใชจนิ ตนาการอยางไรขดี จํากัด เรียนรูส งิ่ ใหมไดทกุ วัน ทําวิจยั ตอเนือ่ งนํา ไปสูการคนพบสิ่งใหมสามารถตีพิมพผลงานในวารสารวิชาการที่มีคา Impact factor สูง ๆ จากนัน้ ถายทอดองคความรูเ หลานัน้ ใหลกู ศิษย ทําให เราสนุกและมีความสุขมากครับ ! นอง ๆ ทีก่ าํ ลังเรียนอยูแ ละจะตองกลับ มาเปนอาจารย ก็อยากใหนอ ง ๆ เปนทัง้ อาจารยและนักวิจยั ชวยกันสราง องคความรูใ หม ๆ ตอยอดไปสูน วัตกรรม เพือ่ นําไปสูก ารพัฒนาประเทศชาติ อยางยั่งยืนครับ ประเทศเรายังตองการ อาจารยนักวิจัย อีกมากครับ เพือ่ ทําการผลิต Know-how ของเราเองครับ

รถตนแบบพลังงานเซลลเชื้อเพลิง 11


RESEARCH

Research on

Future Energy

การผลิตนํ้ามันดิบชีวภาพดวยไฮโดรเทอรมอลลิควิแฟคชัน นํ้ามันดิบชีวภาพ (Bio-crude) เปนเชื้อเพลิงเหลวสังเคราะหที่ไดรับความ สนใจนํามาพัฒนาเปนพลังงานทางเลือก ผลิตไดจากวัสดุชีวมวลชนิดตาง ๆ ผานการ ไพโรลิซิท (Pyrolysis) หรือการยอยสลายดวยความรอน (Thermal decomposition) ภายใตภาวะดําเนินการที่เหมาะสมใหไดผลิตภัณฑของเหลวที่มีสมบัติทางเชื้อเพลิงที่ดี ขึ้ น ใกล เ คี ย งหรื อ เที ย บเท า นํ้ า มั น จากป โ ตรเลี ย ม ไฮโดรเทอร ม อลลิ ค วิ แ ฟคชั น (Hydrothermal liquefaction) เปนกระบวนการที่ไดรับความสนใจอยางกวางขวาง เพราะไมมีขอจํากัดเรื่องความชื้นเริ่มตนของชีวมวล ทําใหสามารถใชชีวมวลไดหลาก หลายโดยเฉพาะชีวมวลที่มีความชื้นสูงโดยธรรมชาติหรือจากแหลงผลิต อาทิ ทะลาย ปาลมเปลา หญาเนเปยร และสาหราย เปนตน งานวิจัยนี้ไดทําการศึกษาอิทธิพลของ ตัวแปรดําเนินการตาง ๆ ตอรอยละผลไดและองคประกอบของผลิตภัณฑนํ้ามันที่ได จากไฮโดรเทอรมอลลิควิแฟคชันจากทะลายปาลมเปลาและสาหราย รวมทั้งศึกษาหา แนวทางสําหรับปรับปรุงกระบวนการ เชน การใชตัวทําละลายหรือตัวเรงปฏิกิริยารวม

ผศ. ดร. ประพันธ คูชลธารา ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (CU-CT)

การแก ป  ญ หาความเป น พิ ษ ของคาร บ อนมอนอกไซด (CO)สําหรับเซลลเชื้อเพลิงพีอีเอ็ม (PEM Fuel Cell) การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรและการขยายตัวทางเศรษฐกิจสงผลใหความตองการใชพลังงาน เพิ่มขึ้น แตแหลงพลังงานมีอยูอยางจํากัดและใชแลวหมดไป จึงจําเปนตองหาพลังงานทางเลือกชนิดใหม ๆ เพื่อ ใหเพียงพอตอความตองการที่เพิ่มสูงขึ้น แหลงพลังงานทางเลือกที่ไดรับความสนใจในปจจุบันคือ ไฮโดรเจน ทั้งนี้กระบวนการเปลี่ยนรูปพลังงานไฮโดรเจนที่สะอาดและมีประสิทธิภาพสู งไดแ ก เ ซลลเชื้อเพลิง พี อี เ อ็ ม ddแต ตั ว เร ง ปฏิ กิ ริ ย าแพลทิ นั ม ในเซลล เ ชื้ อ เพลิ ง ไม ท นต อ ความเป น พิ ษ ของคาร บ อนมอนอกไซด (CO Poisoning) สงผลใหสมรรถนะของเซลลเชื้อเพลิงลดลง งานวิจัยนี้จึงมุงเพิ่มสมรรถนะของเซลลเชื้อเพลิง โดยใชเฮเทอโรพอลิแอซิด (Heteropoly Acid, HPA) เปนตัวออกซิไดซคารบอนมอนอไซดที่เจือปนในไฮโดรเจน และศึ ก ษาการหาภาวะที่ เ หมาะสมในการเตรี ย มขั้ ว ไฟฟ า ที่ มี เ ฮเทอโรพอลิ แ อซิ ด เป น องค ป ระกอบ 12 FUTURE ENERGY

ออ. ดร ดร. คณากร คุณากร ภภูจ ินดา ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (CU-CT)


การสังเคราะหเอทานอลจากหญาขจรจบ พลังงานทดแทนทีเ่ ปนทีร่ จู กั กันดีและมีการใชมากในปจจุบนั คือ พลังงานจากเอทานอล (พลังงาน จากพืชชีวมวล) ซึง่ เราสามารถนําเอทานอลมาผสมกับนํา้ มันไดเปน “แกสโซฮอล” เพือ่ ทดแทนปริมาณนํา้ มัน ทีใ่ ช และยังสามารถนํามาใชทดแทนนํา้ มันไดอยางสมบูรณอกี ดวย งานวิจยั นีน้ าํ หญาขจรจบมาผลิตเอทานอล ซึ่งเปนพืชที่ใหผลผลิตพลังงานมากเมื่อเทียบกับวัตถุดิบทางการเกษตร โดยจะศึกษาตั้งแตกระบวนการ หมักทีใ่ ชเชือ้ ยอยสลายเซลลูโลสใหเปนนํา้ ตาล จนถึงการผลิตเอทานอลโดยการเปลีย่ นสภาพนํา้ ตาลใหเปน แอลกอฮอลโดยใชเชือ้ แบคทีเรีย เพือ่ หาชนิดของเชือ้ สายพันธุ และสภาวะดําเนินการทีเ่ หมาะสม และพัฒนา เพือ่ การยกระดับสูก ารผลิตในอุตสาหกรรมตอไป

รศ. ดร. สุจิตรา วงศเกษมจิตต วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (CU-PPC)

การพัฒนาเซลลเชื้อเพลิงชนิดปอนเอทานอลโดยตรงแบบเซลลเดี่ยว เซลลเชื้อเพลิง (Fuel cell) เปนอุปกรณที่ใชในการเปลี่ยนพลังงานจากปฏิกิริยา ไฟฟาเคมีเปนพลังงานไฟฟาทางเลือกหนึ่งซึ่งมีประสิทธิภาพสูง โดยไมตองผานกระบวนการ เผาไหม ระบบเซลลเชือ้ เพลิงสามารถทีจ่ ะใหประสิทธิภาพสูงตัง้ แต 1 กิโลวัตต – 100 เมกะวัตต ในงานวิจัยนี้จึงศึกษาการสรางเซลลเชื้อเพลิงแบบปอนเอทานอลโดยตรงแบบเซลลเดี่ยว (Direct ethanol fuel cell) เนื่องจากเอทานอลมีความหนาแนนพลังงานสูงและปลอดภัย กว า การใช เ มทานอลและไฮโดรเจนเป น เชื้ อ เพลิ ง จึ ง สามารถป อ นเชื้ อ เพลิ ง ในรู ป ของ สารละลายเอทานอลเขาสูเซลลไดโดยตรง โดยในงานวิจัยนี้ได พัฒนาเยื่อเลือกผานแนฟฟออนคอมโพสิตเพื่อลดปญหาการ ซึมผานของเอทานอล (Ethanol crossover) และพัฒนาตัวเรงปฏิกิริยาแพลตินัมรวมกับ ตัวเรงปฏิกิริยารวมเพื่อลดการเกาะของคารบอนมอนอกไซด (CO tolerance) โดยมุงศึกษา อิทธิพลของตัวแปรตาง ๆ ในการสังเคราะหตัวเรงปฏิกิริยาตอความหนาแนนกระแสไฟฟาที่ ได รวมทั้งศึกษาหาแนวทางสําหรับปรับปรุงกระบวนการสังเคราะหอีกดวย

อ. ดร. ปวีนา ประไพนัยนา ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (KU-ChE)

Membrane electrode assembly

Pollari ation ccurve Polarization r e off DEFC at 80 oC when h using sing ddifferent iff fferent ttypes pes of composite membranes: recast nafion, nafion-mordenite, nafion-MPTS treated mordenite, and nafion-GMPTS treated mordenite composite membranes

13


บทความพิเศษ

โปรแกรมวิจยั ดานวัสดุสาํ หรับพลังงานในอนาคต

MFE Materials for Future Energy

รศ. ดร. เก็จวลี พฤกษาทร หัวหนาโปรแกรมวิจัยดานวัสดุสําหรับพลังงานในอนาคต (PI - MFE)

พลังงานเป็นปั จจัยพืน้ ฐานในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พลังงานที่ ก

ได้จากแหล่งเชื้ อเพลิงที่ใช้แล้วหมดไป สร้างขึน้ มาทดแทนใหม่ได้ ยากหรือใช้เวลานาน เช่ น ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ และเชื้ อเพลิงเหลว จากปิ โตรเลียม เป็นต้น นอกจากนีก้ ารแปรรูปเชื้ อเพลิงเหล่านี้ ยังก่อให้เกิดมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมด้วย ดังนัน้ การพัฒนาวัสดุ สําหรับพลังงานทดแทนในอนาคตจึงเป็นสิ่งจําเป็นในการพัฒนา ประเทศอย่างยัง่ ยืนต่อไป โดยเฉพาะที่สามารถผลิตได้ในประเทศ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Hydro-pyrolysis of lignocellulosic biomass using high-pressure reactor

ภาพงานวิจัยโดย : ผศ. ดร. ประพันธ คูชลธารา 14 FUTURE ENERGY

ดังนั้นศูนย์ความเป็ นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและ วัสดุ (PETROMAT) เล็งเห็นความสําคัญของการวิจัยเพื่อ ความยั่งยืนของอุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมีในประเทศ จึงได้จัดตัง้ ทีมนักวิจัยที่มีศักยภาพและความเชี่ ยวชาญจากสถาบันต่าง ๆ ในประเทศ ตัง้ เป็นโปรแกรมวิจัยด้านวัสดุสําหรับพลังงานใน อนาคต (Materials for Future Energy, MFE) เพื่อการทํา วิจัยแบบบู รณาการก่อให้เกิดความร่วมมือในการทําวิจัยอย่าง เป็ นรู ปธรรมเพื่อพัฒนาวัสดุสําหรับพลังงานในอนาคตที่เป็ น ปั จจัยหลักสําคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป

พลังงานที่ผลิตจากวัสดุชีวมวล

Medical surgical gloves with antibacterialactivity ภาพงานวิจัยโดย : ศ. ดร. ธราพงษ วิทิตศานต


Gasification pilot plant

ภาพงานวิจัยโดย : ศ. ดร. ธราพงษ วิทิตศานต

Single Cell Fuel Cell

ภาพงานวิจัยโดย : ผูชวยศาสตราจารย ดร. นิสิต ตัณฑวิเชฐ

งานวิจัยด้านการพัฒนางานวิจัยวัสดุสําหรับพลังงานใน อนาคตแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ พลังงานที่ผลิตจากวัสดุชีวมวล เช่ น เอทานอล ไบโอดีเซล ไบโอเจ็ท ไบโอแก๊ส และ ไบโอออยล์ เป็นต้น โดยเน้นการใช้วัตถุดิบตัง้ ต้นที่เหลือทิง้ ทางการเกษตร ขยะ ชุ มชน นํ้ามันพืชทุกชนิด นํ้ามันพืชใช้แล้ว ยางรถยนต์ใช้แล้ว และ นํ้ามันเครื่องใช้แล้ว เป็นต้น ชี วมวลดังกล่าว สามารถเปลี่ยนเป็นเชื้ อ เพลิงในรู ปของแข็ง ของเหลว และก๊าซ โดยผ่านกระบวนการการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีและความร้อน ดังแสดงในแผนผังโครงการ ฯ

ส่วนที่ 2 พลังงานสะอาดจากเทคโนโลยีการแปรรู ป พลังงานในอนาคต เช่ น เซลล์เชื้ อเพลิง (Fuel cell) และเซลล์แสง อาทิตย์ (Solar cell) เน้นศึกษาและพัฒนาองค์ประกอบต่าง ๆ เช่ น ตัวเร่งปฏิกิริยา แผ่นนํากระแสไฟฟ้า ช่ องทางการไหลของแก๊สและ การประกอบเซลล์ และสารกระตุ้นในการแปรรู ปพลังงาน เพื่อเพิ่ม สมรรถนะของเทคโนโลยีต่อไป

แผนผังโครงการวิจัยดานวัสดุสําหรับพลังงานในอนาคต

15


LEARNING CENTER

Get to know เรื่องโดย : ภัสรชาพร สีเขียว

Shale Gas

Future Energy หรือ พลังงานอนาคต ใน PETROMAT Today ฉบับนี้ จะขอกลาวถึง “Shale Gas” ซึ่งเปนพลังงานที่หลายประเทศใหความสนใจ เราลองมาทําความรูจักกับ “Shale Gas” กันนะคะ

Shale Gas คือ กาซธรรมชาติที่เกิด จากการหมักหมมของซากพืชและซาก สัตวที่ตายทับถมกันมาเปนเวลาลาน ๆ ป และถูกกักเก็บอยูภ ายใตชนั้ หินดินดาน

Shale Gas และ Natural Gas ต า งก็ เ ป น กาซธรรมชาติแตจะถูกพบในชัน้ หินทีแ่ ตกตางกันซึง่ Natural Gas นั้นจะพบในชั้นหินทรายทีถ่ กู ปดกัน้ ดวยชัน้ หินดินดานในขณะที่ Shale Gas จะพบใน ชั้นหินดินดานนั่นเอง

เทคโนโลยี Hydraulic Fracturing หรือการขุดเจาะโดยใชนํ้าแรงดันสูงผสม สารเคมี แ ละทรายเพื่ อ ให หิ น แตกร า ว แลวดูดกาซกลับขึ้นมา โดยจะใชรวมกับ วิธีการขุดเจาะ ตามแนวนอนที่เรียกวา Horizontal Drilling

สหรัฐอเมริกามีความไดเปรียบเชิง เศรษฐกิจดวยศักยภาพในการพัฒนา เทคโนโลยีการขุดเจาะอยางตอเนือ่ ง และลักษณะทางธรณีวทิ ยาทําใหคน พบ เทคโนโลยีทที่ าํ ใหสามารถผลิต “Shale Gas” ไดในปริมาณมาก และมีตน ทุน ที่ตํ่าลง

ตามรายงานของEIA ประเทศจีน มีมากเปนอันดับ1(1,275ล า น ลานลูกบาศกฟตุ )แตปญ หาสําคัญ อยู  ที่ แ หล ง ขุ ด เจาะอยู  ใ นเขต ทุรกันดารและตนทุนยังแพงอยู มีกระแสเชิงลบทางสังคมและสิง่ แวดลอมจากการขุดเจาะ ซึง่ หากการสรางฐาน ขุดเจาะไมดแี ตแรกหลุมบอตาง ๆ ปดไมสนิทสารพิษทีใ่ ชในกระบวนการและมลพิษ ที่เกิดขึ้นระหวางดําเนินการผลิตนั้นอาจกระจายขึ้นสูผิวดิน อีกทั้งยังมีปญหา ในการบําบัดนํ้าที่เกิดจากกระบวนการตาง ๆ จํานวนมหาศาลที่ปนเปอนสารเคมี ที่ตองไดรับการควบคุมอีกดวย ขณะเดียวกันการขุดเจาะดังกลาวสามารถทําให เกิดแผนดินไหวอีกดวย

16 FUTURE ENERGY

ที่มา - http://www.rwe.com/web/cms/en/55182/rwe-dea/know-how/production - http://www.chanchaivision.com/2013/01/shale-gas-shale-oil.html - http://www.thaipost.net/node/36963 - http://www.siamintelligence.com/americas-shale-gas - http://www.oknation.net/blog/health2you/2012/10/14/entry-2

- http://www.theguardian.com/environment/2012/apr/17/shale-gas-fracking-uk - http://topicstock.pantip.com/sinthorn/topicstock/2012/07/I12444858 - http://www.ncchurches.org/2012/06/raleigh-report-june-12-update


?

Everyday PETROMAT

MACBOOK ... FUEL CELL “แมคบุกพลังเซลลเชื้อเพลิง”

Apple ผูผ ลิตคอมพิวเตอร และ Smartphone รายใหญ

ไดยื่นจดสิทธิบัตร“ระบบเซลลเชื้อเพลิงสําหรับอุปกรณพกพา”กับหนวยงานใน สหรัฐอเมริกาเพื่อจะไปสูการการแจงเกิดแมคบุกที่มีขนาดและนํ้าหนักเบากวารุนที่ ใชแบตเตอรี่ดั้งเดิม เดิมที Apple ตองใชแบตเตอรี่ที่มีความหนาและหนักเปนสวน ประกอบ ความทาทายของ Apple นับจากนี้คือการสรางระบบที่มีขนาดเล็กเพื่อ ใหสามารถพกพาไดงาย หาทางลดนํ้าหนัก ขณะเดียวกันก็ตองพยายามลดตนทุน การผลิตเพื่อใหสามารถตอบโจทยตลาดไดมากที่สุด ภายในระบบเซลลเชื้อเพลิง ของ Apple จะประกอบดวยชั้นเซลลเชื้อเพลิงซึ่งสามารถเปลี่ยนเชื้อเพลิงไปเปน พลังงานไฟฟา ขณะเดียวกันยังมีระบบควบคุมการทํางานของระบบเซลลเชื้อเพลิง เพื่อใหการทํางานของระบบเปนไปอยางราบรื่น เราอาจจะไดพบกับคอมพิวเตอร ขนาดพกพาแบบใหมที่มีนํ้าหนักเบาออกสูตลาดในเร็ว ๆ นี้

เเบตเตอรีรี่กรระดาษ ะดาษ

SoftBatterys บริษทั Enfucell ของประเทศฟนแลนด

ไดคดิ คนแบตเตอรีช่ นิดใหม “SoftBatterys” ทีส่ ามารถใชแลวทิง้ โดยไมตอ งนําไปรีไซเคิลหลังใช อีกทัง้ ยังมีราคาถูกและเปนมิตรกับ สิง่ แวดลอมดวย เซลลเชือ้ เพลิงชนิดนีผ้ ลิตจากกระดาษทํางานดวย หลักการเดียวกันกับถานนาฬกาเเละถานไฟฉาย คือ ไอออน (Ion) เดินทางจากขัว้ ลบ (Anode) ผานสารละลาย Electrolyte ไปสูข วั้ บวก (Cathode) กอใหเกิดกระแสไฟฟา ไอออนเดินผานกระดาษแผน บาง ๆ ทีเ่ คลือบดานหนึง่ ของกระดาษดวยสังกะสี (Zinc) เเละอีกขาง ดวยเเมงกานีสไดออกไซด (Manganese Dioxide) ไอออนจะไหล ผานสารละลายของนํา้ เเละ Zinc Chloride ภายในกระดาษ ซึง่ มี ขนาดเฉลีย่ อยูท คี่ วามบาง 4 ม.ม. ความกวางเเละยาวอยูท ี่ 5 x 5 ซ.ม. เมือ่ ผลิตในจํานวนมากก็จะสามารถขายไดในราคาชิน้ ละไมถงึ บาท แต“SoftBatterys”ยังมีขอ จํากัดตรงทีย่ งั ไมสามารถใหพลังงานไดนาน เพียงพอ ในเบือ้ งตนสามารถใชสาํ หรับระบบ RFID (RadioFrequency Identification) Tag หรือเเผนปายสงขอมูลไรสายทีก่ าํ ลังมาเเทนที่ ระบบบารโคด ทีส่ ามารถติดตัวสินคาในรานคาเพือ่ ตรวจสอบไดวา มี สินคาในสต็อกเทาไหร ขนาดของเเบตเตอรีจ่ ะเหมาะกับความบางของ เเผนปายมาก นอกจากนี้ “SoftBatterys” ยังสามารถนําไปประยุกต ใชกบั บัตรอวยพรทีม่ เี สียงดนตรีหรือเเผนพับโฆษณาสินคาไดอกี ดวย ที่มา : http://www.energy.go.th/?q=th/innovation

ที่มา : http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9540000164221

รูปตัวอยาง : แบตเตอรี่กระดาษ ที่มา : http://www.blogcdn.com/www.engadget.com/media/2006/03/flex_batt.jpg

17


GAMES

PETROMAT Today ฉบับนี้ใหทุกทานไดรวมแสดงความคิดเห็น อยากเห็นวารสารของเราพัฒนาไปในทิศทางใด

รวมกันเปนสวนหนึ่งของ PETROMAT ที่จะกาวไปขางหนาดวยกัน ทุกความคิดเห็นมีสิทธิ์ลุนรับกระเปา ฟรี 5 ทาน!! ชื่อ-นามสกุล : ......................................................................................................................................... ที่อยู : ...................................................................................................................................................... เบอรโทรศัพท : ........................................................................................................................................ Email : .................................................................................................................................................... ชองทางการรับวารสาร ไปรษณีย www.petromat.org App.CU-eBook หนวยงาน ...........................

ทุกความคิดเห็นมีสิทธิ์ลุนรับ กระเปา ฟรี 5 ทาน!!

PETROMAT INTERVIEW : บุคคลที่อยากให PETROMAT สัมภาษณ ............................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................... PETROMAT RESEARCH: งานวิจัยที่อยากให PETROMAT สัมภาษณ เรื่อง .................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ชอบ

เฉย ๆ

ปรับปรุง

ขอเสนอแนะ PETROMAT LEARNING CENTER (Get to know) .............................. Everyday PETROMAT .............................. PETROMAT GAMES .............................. PETROMAT ACTIVITIES (D.I.Y.) .............................. อยากใหมีคอลัมนใดเพิ่ม ............................................................................................................................................................. ขอเสนอแนะอื่นเพิ่มเติม ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. หรือทานสามารถรวมสนุกแบบ Online ไดที่ www.petromat.org/qa07

ประกาศรายชื่อผูโชคดี

ไดรับรางวัล เสื้อ PETROMAT จากการเขารวมตอ

เฉลยคําถามประจําเลมที่แลว

บปญหาชิงรางวัล ประจําฉบับที่ 6 ปที่ 2 มีดังนี้

1. C B D A 2. info@petromat.org orrg rg

18 FUTURE ENERGY

1. คุณอรรคพล 2. คุณอัลวียา 3. คุณศิรินุช 4. คุณธนิต 55. คุณสุเทพ

สายคําธร ลาปอี ภัทรทิวานนท เกิดสมบูรณ ละอองชุรี

ยินดีดวยนะคะสําหรับผูโชคดี ทั้ง 5 ทานที่ไดรับรางวัล เสื้อ PETROMAT แตสําหรับผูที่ผิด PET หวังก็พยายามเขานะคะ ฉบับ หนาก็ยงั มีโอกาสอยูคะ


ทุกวันนี้

เราใชไฟฟาจนกลายเปน ความเคยชิ น ในขณะที่ ค  า ไฟฟ า ก็ แ พงขึ้ น เรื่ อ ยๆ บางครัง้ การไฟฟาก็ทาํ การตัดไฟหรือเกิดเหตุการณไฟดับ ถาเปนเวลากลางคืนเราก็จะมีปญ  หากับความมืดทันที

PETROMAT Today ฉบับนี้มีคําตอบใหคุณ จึงขอ นํ า เสนอสิ่ ง ประดิ ษ ฐ โคมไฟพลังงานจากแสงอาทิตย ทีไ่ มตอ งงอไฟฟาจากปลัก๊ ไฟบานซึง่ นอกจากใชประโยชนแลว ยังสามารถนําไปตกแตงบานหรือที่ทํางานไดอีกดวย

? D.I.Y.

ACTIVITIES

Flashlight -โคมไฟพลังงานแสงอาทิตย

1. ตอวงจรไฟฟาดังนี้

อุปกรณ 1. ขวดนํ้า 2. แบตเตอรี่แบบชารจ จากนั้นประกอบแผงโซลารเซลล รางถานและแผนปรินทเขาดวยกันโดยใชกาวรอน 3. รางถาน 4. แผนปรินท 2. เจาะรูฝาขวดเทาขนาดสายไฟทั้งสอง 5. ไดโอด IN4001 0.7 V เสน แลวใสสายไฟเขาไปในรูฝาแลวทา 6. ตัวตานทาน 56 Ω 7. สายไฟ ดวยกาวรอน สายไฟเสนหนึ่งบัดกรี 8. หัวแรง + ที่วางหัวแรง หลอดไฟกับสวิตซ อีกสายบัดกรีขาอีก 9. แผงโซลารเซลล 6 V ขางของหลอดไฟกับตัวตานทาน แลวทา 10. สวิตช กนขวดดวยกาวซิลิโคนกับแผนไม 11. กาวซิลิโคนใส 12. กาวรอน 3. เจาะไมขนาดเทาสวิตช แลวติดสวิตชดวยความรอน 13. มีดคัตเตอร 14. หลอด LED 4. ติดแผงโซลารเซลล แผนปรินทและแบตเตอรี่บนแผนไม 15. แผนไม

ที่มา http://www.iurban.in.th/diy/diy-solar-power-lamp/attachment/l-3



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.