RMUTT THESIS ARCHITECTURE 2018

Page 80

MARINE BIOLOGICAL CENTER ARCH THESIS RMUTT 2018

บทที่ 4 ศึกษารายละเอียดโครงการ 4.1 ความเป็นมาของโครงการ สถานการณ์การประมงของประเทศไทยเป็นส่วนส าคัญต่ อ เศรษฐกิจ ซึ่ ง การทาประมงในประเทศไทยมี ปัจ จั ยที่ ส่ง ผลกระทบต่ อระบบนิเ วศ แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของสั ต ว์ ท ะเล และการขยายพั น ธุ์ ข องสั ต ว์ ท ะเลในปั จ จุ บั น สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล และป่าชายเลน (ทช. ,2560) เผย สถานการณ์ของสัตว์ทะเลที่มีผลต่อระบบนิเวศและความอุดมสมบูรณ์ด้านชายฝั่ง สัตว์ทะเลเหล่านั้นเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าสัตว์ทะเลหายากในประเทศไทย ซึ่งประกอบไป ด้ ว ยสั ต ว์ 4 ชนิ ด คื อ เต่ า ทะเล พะยู น โลมา และวาฬ สั ต ว์ ท ะเลเหล่ า นี้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทางทะเล ทาให้สัตว์ทะเลหายากเหล่านี้ มีจานวนลดลงและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่ง สถานการณ์สัตว์ทะเลหายากในปัจจุบันมีการพบเห็นสัตว์ทะเลหายากที่ ได้รับผลกระทบจากความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศทาให้สัตว์ทะเลเหล่านั้นประสบ ปัญหาการเกยตื้นตายบริเวณชายฝั่งทะเลเป็นจานวนมาก เฉลี่ย 400 ตัวต่อปี

04

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)จึงมีนโยบายจัดตั้งโครงการ ช่วยเหลือสัตว์ทะเลหายาก เพื่อเพิ่มอัตรารอดของสัตว์ทะเลมีชีวิตให้มากที่สุด นามา สู่การจัดตั้งศูนย์ช่วยชีวิตสัตว์ทะเลหายาก

PROGRAMMING 4-1

จึงทาให้เกิดเป็นแนวคิดในการแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบนิเวศชายฝั่ง และ อนุรักษ์สัตว์ทะเลหายากในปัจจุบัน เพื่อส่งผลดีต่อระบบนิเวศ และทรัพยากรณ์ ชายฝั่งทะเลให้ยั่งยืน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.