วรรณคดี

Page 1

วรรณคดีเรื่องอิเหนา

โดย

นางสาว ปัทมา เปรมตุ่น คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทยชั้นปี ที่ 3 หมูที่ 1 รหัสนักศึกษา 5315881023

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา1032101ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ภาคเรียนที2่ ปี การศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฎราไพพรรณี


ก คานา

รายงานเรื่ องวรรณคดีเรื่ องอิเหนานี้ เป็ นการจัดทาขึ้นเพื่อที่ตอ้ งการถึงความเป็ นมาของวรรณคดีใน เรื่ องของอิเหนา ว่ ามีประวัติความเป็ นมาอย่างไร เนื้ อเรื่ องเป็ นการดาเนินเรื่ องแบบใด ลักษณะของตัวละคร เป็ นอย่างไร คุณค่าและข้อคิดที่ได้จาการศึกษาวรรณคดีในเรื่ องอิเหนานี้เราได้อะไรบ้าง

และเราได้รับ

ประโยชน์อะไรบ้าง และสามารถนะความรู ้น้ ีไปบอกกล่าวหรื อสอนผูอ้ ื่นได้ไหม และจากการที่ได้ศึกษาวรรณคดีเรื่ องอิเหนานี้ก็ทาให้ได้รับความรู ้มากขึ้นอีกมาก ทาให้รู้อย่างแจ่ม แจ้งชัดเจน จากที่เรารู ้แค่คร่ าวๆเราก็ได้รู้อย่างดีและสามารถรู ้จริ งๆ และสามารถนาความรู ้น้ ีไปใช้ประโยชน์ ได้อย่างมาก

ปั ทมา เปรมตุ่น ผูจ้ ดั ทา


ข สารบัญ

เรื่อง -วรรณคดีเรื่องอิเหนา -วรรณคดีเรื่องอิเหนาแบ่ งเป็ นตอนๆ -เนือ้ เรื่องย่อ -คุณค่ าของวรรณคดี -ข้ อคิดทีไ่ ด้ -เอกสารอ้างอิง

หน้ า 1 2 3 4 6 8


1

เรื่อง อิเหนา อิเหนาเป็ นวรรณคดีเก่าแก่เรื่ องหนึ่งของไทย เป็ นที่รู้จกั มาช้านาน เข้าใจว่าน่าจะเป็ นช่วงปลายของ สมัยกรุ งศรี อยุธยาโดยได้ผา่ นมาทางหญิงเชลยชาวปั ตตานี ที่เป็ นข้าหลวงรับใช้พระราชธิ ดาของสมเด็จพระ เจ้าอยู่ หวั บรมโกศ ชึ่ งครองราชย์เมื่อปี พุทธศักราช 2275-2301 โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ ากุณฑลและเจ้าฟ้ ามงกุฎ พระราชธิ ดา จากนั้นพระราชธิ ดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่ องขึ้นมาองค์ละหนึ่งเรื่ อง เรี ยกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา ) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง ) ซึ่ งประวัติดงั กล่าวมีบนั ทึกไว้ในพระราชนิพนธ์เรื่ องอิเหนา ในพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ดังนี้ “ อันอิเหนาเอามาทาเป็ นคาร้อง สาหรับงานฉลองกองกุศล ครั้งกรุ งเก่าเจ้าสตรี เธอนิพนธ์ แต่เรื่ องต้นตกหายพลัดพรายไป ” นอกจากนี้ยงั มีบรรยายไว้ในปุณโณวาทคาฉันท์ของพระมหานาค วัดท่าทราย ระบุถึงการนมัสการ พระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ เช่นกันโดยเล่าว่ามีงานมหรสพเรื่ องอิเหนาดังนี้ “ ร้องเรื่ องระเด่นโดย บุษบาตุนาหงัน พักพาคูหาบรรณ-

พตร่ วมฤดีโลม ”

เนื้อเรื่ องตรงกับอิเหนาเล็ก ที่วา่ ถึงตอนที่ลกั บุษบาไปไว้ในถ้ า ซึ้ งไม่ปรากฏในเรื่ องของอิเหนาใหญ่ เรื่ องอิเหนาหรื อที่เรี ยกกันว่านิทานปั นหยีน้ นั เป็ นนิทานที่เล่าอย่างแพร่ หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็ น นิยายอิงประวัติศาสตร์ ของชวาในสมัยนั้น ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุ งแต่งมาจากพงศาดารชวา แ ละมี ด้วยกันหลายสานวน พงศาวดารเรี ยกอิเหนาว่า “ ปันจี อิน กรัตปาตี ” แต่ในหมู่ชวามักเรี ยกสั้นๆว่า “ ปัน หยี ”ส่ วนเรื่ องอิเหนาที่เป็ นนิทานนั้น น่าจะแงขึ้นในราวพุทธศวรรษที่ 20-21 ในยุคเสื่ อมของราชวงศ์อิเหนา แห่งราชอาณาจักรมัชปาหิ ต และอิสลาม เริ่ มเข้ามาครอบค รอง นิทานปั นหยีของชาวชวานั้นมีดว้ ยกันหลาย ฉบับ แต่ฉบับที่ตรงกับอิเหนาของเรานั้น ฉบับมาลัต ใช้ภาษากวีของชวาโบราณมาจากเกาะบาหลี


2 ในเรื่องอิเหนาจะแบ่ งเป็ นตอนๆ และในเรื่องอิเหนานั้นแบ่ งได้ ท้งั หมด20ตอน 1. อิเหนาพบจินตะหราวาตี 2. อิเหนารบกับท้าวบุศสิ หนา 3. อิเหนาได้นางมาหยารัษมีและนางสะการะวาตี 4. ช่างเขียนลอบวาดรู ปบุษบา 5. วิหยาสะกาสลบบนหลังม้า 6. ท้าวกะหมังกุหนิงเคลื่อนทัพ 7. อิเหนาจากจินตะหรา 8. อิเหนายกทัพจากหมันหยา 9. อิเหนารบท้าวกะหมังกุหนิง 10. อิเหนาพบบุษบา 11. อิเหนาไม่ยอมกลับเมือง 12. อิเหนาทาเหตุ ในวิหารพระปฏิมา 13. อิเหนาแต่งถ้ า 14. อิเหนาเผาเมือง 15. อิเหนาได้บุษบา 16. อิเหนาแก้สงสัย 17. ลมหอบ 18. อิเหนา มะงุมมะหงาหรา เข้ามะละกา


3 19. อิเหนาบวช 20. อิเหนาพบบุษบา

เนือ้ เรื่องย่อ อิเหนา เริ่ มเรื่ องกล่าวถึงกษัตริ ยว์ งศ์เทวา 4 พระองค์ที่มีนามตามชื่อกรุ งที่ครองราชย์ คือ กุเรปัน ดาหา กา หลัง และสิ งหัดส่ าหรี ยังมีนครหมันหยาซึ่ งเกี่ยวดองเป็ นญาติกนั กับนครเหล่านี้ โดยท้าวกุเรปั นได้นางนิ หลาอระตาแห่งเมืองหมันหยาเป็ นชายา ส่ วนท้าวดาหาได้นางดาหราวาตีเป็ นชายาเช่นกัน กษัตริ ยแ์ ห่งวงศ์เท วามีพระมเหสี 5 พระองค์ เรี ยงลาดับตามตาแหน่งดังนี้ ประไหมสุ หรี มะเดหวี มะโต ลิกู และเหมาหลาหงี ต่อมาท้าวกุเรปั นได้โอรสกับพระมเหสี เอก ซึ่ งโอรสองศ์น้ ีมีวาสนาสู ง องศ์ปะตาระกาหลา ซึ่ งเป็ นต้นวงศ์เท วาอยูบ่ นสวรรค์ได้นากริ ชวิเศษลงมาให้ พร้อมจารึ กชื่อไว้บนกริ ชว่า

“หยังหยั งหนึ่งหรัดอินดรา อุดากัน

สาหรี ปาตี อิเหนาเองหยังตาหลา ” แต่เรี ยกสั้นๆว่าอิเหนา ท้าวหมันหยาได้ธิดากับพระมเหสี เอกชื่อ จินตะ หราวาตี และท้าวดาหาก็ได้ธิดากับมเหสี เอกของตนเช่นเดียวกันชื่อว่าบุษบา ท้าวกุเรปั นได้ขอหมั้นบุษบาไว้ ให้กบั อิเหนา เพื่อเป็ นการสื บราชประเพณี ส่ วนอิเหนาเติบโตเป็ นเจ้าชายรู ปงาม ชานาญการใช้กริ ช ครั้น หนึ่ งพระอัยกีเมืองหมันหยาได้สิ้นพระชนม์ลงอิเหนาได้ไปงานปลงพระพระศพแทนพระบิดา และพระ มารดาอิเหนาได้ไปพบกับจินตะหราวาตีกิอหลงรักและได้นางเป็ นชายา โดยที่

ไม่ฟังคาทัดท้านจากท้าว

กุเรปั นและได้บอกยกเลิกหมั้น กับบุษบาไปเฉยๆทาให้ทา้ วดาหาขัดเคืองพระทัยมาก ดังนั้นพอจรกา รู ปชัว่ ตัวดามาขอหมั้น ท้าวดาหาก็ยอมรับเพราะโกรธแค้นอิเหนา ฝ่ ายองศ์อสัญแดหวา เทวดาผูท้ รงเป็ นต้นวงศ์ตระกูลไม่พอพระทัยอิเหนา เห็นว่าต้องดัดสันดานให้ สานึกตัวจึงบันดาลให้วหิ ยาสะกาโอรสท้าวกะหมังกุหนิงเก็บรู ปนางบุษบาได้ และเกิดการคลัง่ ไคล้ รบเร้าให้ บิดาไปขอ ท้าวดาหาก็ไม่ให้ ท้าวกะหมังกุหนิงก็รักลูกมาก ก็ยกทัพไปรบเพื่อแย่งนางบุษบาท้าวดาหาแจ้ง ข่าวให้ทา้ วกุเรปั นและจรกายก ทัพมาช่วย ท้าวกุเรปั นโปรดให้อิเห นาเป็ นแม่ทพั ยกไปช่วย อิเหนาจึงจาใจ ต้องจากนางจินตะหราวาตียกทัพไปช่วยท้าวดาหาจนรบได้ชยั ชนะ และฆ่าท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกา ตาย หลังจากเสร็ จศึกแล้วอิเหนาได้เข้าเฝ้ าท้าวดาหาและเมื่อได้พบนางบุษบาเป็ นครั้งแรก อิเหนาถึงกับตะลึง หลงรักนางบุษบา ต่อมามะเดหวีคงจะวุน่ พระทัยว่าบุษบาจะลงเอยประการใด จึงชวนบุษบากับนางกานัลไป


4 ทาพิธีเสี่ ยงเทียนยังวิหาร ใกล้ๆวิหารนั้นพวกอิเหนากาลังตั้งวงเตะตะกร้อ ครั้นเมื่อสาวใช้มะเดหวีข้ ึนมาไล่ ก้ พากันวิง่ กระจายไป แต่อิเหนา สังคามาระตาและประสันตาวิง่ เข้าไปแอบอยูห่ ลังพระปฏิมาในวิหาร วิธีเสี่ ยง เทียนนั้น ใช้เทียนสามเล่มเล่มหนึ่งเป็ นบุษบาปั กตรงหน้านาง อีกเล่มเป็ นอิเหนาปั กข้างขวา และข้างซ้ายเป็ น จรกา และมะเดหวีสอนให้บุษบาอธิ ฐาน หลังจากอธิ ฐานก็มีเสี ยงจากพระปฏิมาว่า อันนางบุษบานงเยาว์ จะ ได้แก่อิเหนาเป็ นแม่นมัน่ จรกาใช่วงศ์เทวัญ แม้นได้ครองกันจะอันตราย มะเดหวีได้ยนิ เช่นนั้นก็ตื่นเต้น พระทัยเป็ นอย่างมาก แต่ไม่ชา้ เรื่ องก็แตก เพราะอิเหนาต้อนค้างคาวจนเทียนดับ และใช้ความมืดเข้ามากอด บุษบาแล้วก็ไม่ยอมปล่อยจ นพี่เลี้ยงวิง่ ไปเอาคบเพลิง มา ก็ เห็นอิเหนากอดบุษบาไว้แน่น มะเดหวีทรงกริ้ ว โกรธอย่างไร ก็เห็นว่าเสี ยทีอิเหนาเสี ยแล้ว จึงยอมสัญญาว่าจะหาทางให้อิเหนาได้กบั บุษบา อิเหนาจึงยอม ปล่อย ครั้นไม่เห็นทางได้บุษบาแต่โดยดี อิเหนาจึงคิดอุบายที่ร้ายแรงที่สุด คือเผาโรงมหรสพในพิธีแต่งงาน ของบุษบากับจรกาในเมืองดาหา และลักนางไปไว้ในถ้ าทองซึ่ งเตรี ยมไว้ก่อนแล้ว องศ์ปะตาระกาหลากริ้ ว อิเหนามาก จึงบันดาลให้เกิดพายุใหญ่หอบรถนางบุษบาและพี่ เลี้ยงไปตกที่เมืองประมอตัน และแปลงกาย นางบุษบาให้เป็ นชายชื่อว่า อุณากรรรณ และประทานกริ ชวิเศษให้ และบอกให้เดินทางเข้าสู่ เมือง ประมอ ตัน ฝ่ ายอิเหนาก็เป็ นฝ่ ายตามหานางบุษบาเดินทางไปยังเมืองต่างๆ ปราบเมืองนั้นๆไว้ในอานาจ มีเหตุการณ์ ต่างๆเกิดขึ้นอย่างมากมาย เมื่ อสิ้ นเวร สิ้ นกรรมกันแล้ว กษัตริ ยว์ งศ์เทวัญทั้งหมดได้พบกัน อิเหนาได้ปรับ ความเข้าใจกับนางบุษบาและนางจินตะหราวาตี และได้ครองเมืองกุเรปั นอย่างมีความสุ ขสื บไป

คุณค่ าของวรรณคดีเรื่องอิเหนา 1. คุณค่ าในด้ านเนือ้ เรื่อง บทละครเรื่ องอิเหนา มรโครงเรื่ องและเนื้อเรื่ องที่สนุก โครงเรื่ องสาคัญเป็ นเรื่ อง การชิงบุษบาระหว่างอิเหนากับจรกา เรื่ องความรักระหว่างอิเหนากับบุษบา เนื้อเรื่ องสาคัญก็คือ อิเหนาไป หลงรักจินตะหรา ทั้งที่มีคู่หมั้นอยูแ่ ล้ว ซึ่ งก็คือบุษบา ทาให้เกิดปมปั ญหาต่างๆ 2. คุณค่ าในด้ านวรรณศิลป์ 2.1 ความเหมาะสมของเนื้อหาและรู ปแบบบทละครเรื่ องอิเหนานั้นป็ นบทละครใน มีเนื้อเรื่ องเกี่ยวกับ กษัตริ ย ์ กลวิธีการดาเนินเรื่ องจึงยึดรู ปแบบอย่างเคร่ งครัด อากัปกิริยาของตัวละครต้องสง่า มีลีลางดงาม ตาม แบบแผนของละครใน โดยเฉพาะการแสดงศิลปะการร่ ายรา จะต้องมีความงดงาม ภาษาที่ใช้เหมาะสมกับตัว


5 ละคร จะใช้ถอ้ ยคะไพเราะ แสดงออกถึงอารมณ์ของตัวละคร ไม่วา่ จะเป็ นควา มอาลัยอาวรณ์ ความโ กรธ ความรัก การประชดประชัน กระบวนกลอนตลอดจนเพลงขับร้องและเพลงหน้าพากย์มีความไพเราะอย่าง ยิง่ ซึ่ งถือว่าเป็ นบทละครในที่เพียบพร้อมด้วยรู ปแบบของการละครอย่างครบถ้วน 2.2 การบรรยายและการพรรณนามีความละเอียดชัดเจน ทาให้เกิดจินตนา

การภาพ ไม่วา่ จะเป็ นฉาก

เหตุการณ์ สภาพบ้านเมือง ภูมิประเทศ รวมทั้งอารมณ์และความรู ้สึกของตัวละคร ผูอ้ ่านเกิดความรู ้สึกและ เกิดความเข้าใจบทละครเป็ นอย่างดี เนื่องจากการใช้โวหารเรี ยบง่ายอย่างประณี ต เรี ยบง่ายและชัดเจน 2.3 การเลือกใช้ถอ้ ยคาดีเด่นและไพเราะกินใจ การใช้ถอ้ ยคาง่าย แสดงความหมายลึกซึ้ ง กระบวนกลอนมร ความไพเราะ เข้ากับบทบาทของตัวละคร โดยใช้กลวิธีต่างๆในการแต่ง 2.4 การใช้ถอ้ ยคาให้เกิดเสี ยงเสนาะ คาสัมผัสในบทกลอนทาให้เกิดเสี ยงเสนาะทั้งสัมผัสสระละสัมผัสอักษร ทาให้กลอนเกิดความไพเราะ 3. คุณค่ าในด้ านความรู้ 3.1 สังคมและวัฒนธรรมไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงสร้างฉากและบรรยากาศในเรื่ อง ให้เป็ นสังคม และวัฒนธรรม และบ้านเมืองของคนไทย แม้วา่ บทละครเรื่ องอิเหนาจะได้เค้าเรื่ องเดิมมาจาก ชวา ทาให้ผอู ้ ่านเข้าใจสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี ไทยในพระราชสานักและ ของชาวบ้านหลายประการ 4. คุณค่ าทางด้ านการละครและศิลปกรรม 4.1 การละคร บทละครเรื่ องอิเหนาเป็ นยอดของละครรา เพราะใช้คาประณี ต ไพเราะ เครื่ องแต่งตัวงาม ท่ารา งาม บทเพลงขับร้องและเพลงหน้าพากย์กลมกลื้นกับเนื้อเรื่ องและท่ารา จึงนับว่าดีเด่นในเรื่ องของ ศิลปะการแสดงละคร 4.2 การขับร้องและดนตรี วงดนตรี ไทยนิยม นากลอนจากวรรณคดีเรื่ องอิเหนาไปขับร้องกันมาก เช่น ตอน บุษบาเสี่ ยงเทียน และตอนประสันตาต่อนก เป็ นต้น 4.3 การช่างของไทย ผูอ้ ่านจะได้เห็นศิลปะการแกะสลักลวดลายการปิ ดทองล่องชาด และลวดลายกระหนก ที่งดงามอันเป็ นความงามของศิลปะ ซึ่ งจะทาให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็ นชาติ


6 ข้ อคิดทีไ่ ด้ จากวรรณคดีเรื่องอิเหนา 1. การเอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็ นต้องได้ จากวรรณ คดีเรื่ องอิเหนานั้น เราได้ขอ้ คิดเกี่ยวกับการเอาแต่ ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็ นต้องได้ ไม่รู้จกั ระงับความอยากของตน หรื อพอใจในสิ่ งมี่ตนมีแล้ว ซึ่ งการ กระทาเช่นนี้ทาให้เกิดปั ญหามากมายตามมา และอื่นๆก็พลอยเดือนร้อนไปด้วย ดังเช่นในตอนที่อิเหนาได้ เกิดเห็นนางบุษบาแล้วเกิ ดหลงรักนางบุษบาขึ้นมาอยากได้มาเป็ นพระมเหสี ของตน กระนั้นแล้ว อิเหนาจึง หาทางแย่งชิงนางบุษบา แม้วา่ นางจะถูกยกให้จรกาแล้วก็ตาม โดยที่อิเหนาได้ปลอมเป็ นจรกาไปลักพาตัว บุษบาแล้วพาไปยังถ้ าทองที่ตนเตรี ยมไว้ ซึ่ งการกระทาของอิเหนานั้นเป็ นการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทาให้ ผอู้ ื่น เดือนร้อนกันไปทัว่ พิธีที่เตรี ยมไว้ก็ตอ้ งล่ม เพราะบุษบาหายไป อีกทั้งเมืองยังถูกเผา เกิดความเสี ยหายเพียง เพราะความเอาแต่ใจอยากได้บุษบาของอิเหนานัน่ เอง 2. การใช้อารมณ์ในชีวติ ของมนุษย์ทุกคนนั้น ย่อมต้องประสบกับเรื่ องที่ทาให้เราโมโหหรื อทาให้อารมณ์ไม่ ดีซ่ ึ งเมื่อเป็ นอย่างนั้น เราควรจะต้องรู ้จกั ควบคุมตัวเอง เพราะเมื่อเวลาเราโมโห เราจะขาดสติย้งั คิด เราอาจจะ ทาอะไรตามใจตัวเองซึ่ งอาจจะผิดพลาดและพลอยทาให้เกิดปั ญหาตามมาอีก ดังนั้นเราควรที่จะรู ้จกั ควบคุม อารมณ์ตวั เอง และเมื่อเรามรสติแล้วจึงจะมาหาวิธีคิดแก้ปัญหาต่อ ไป ซึ่ งภายในเรื่ องอิเหนานั้นจะเห็นได้ จากที่ทา้ วดาหา ประกาศยกบุษบาให้ใครก็ได้ที่มาสู่ ขอเป็ นคนแรก โดยจะยกให้ทนั ที เพราะทรงกริ้ วที่อิเหนา ไม่ยอมกลับมาแต่งงานกับบุษบาตามที่ได้หมั้นหมายเอาไว้แล้ว การกระทาของท้าวดาหานี้ก่อให้เกิดปั ญหา และความวุน่ วายหลายอย่างตามม า และท้าวดาหานั้นยังกระทาเช่นนี้โดยมิได้สนใจว่าบุตรสาวของตนจะ รู ้สึกเช่นไร หรื อจะได้รับความสุ ขหรื อความทุกข์หรื อไม่ 3. การใช้กาลังในการแก้ปัญหา โดยปกติแล้วเวลาที่เรามีปัญหาเราควรจะใช้เหตุผลในการแก้ปัญหานั้น ซึ่ ง ถ้าเราใช้กาลังในการแก้ปัญหานั้นเป็ นการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ซึ่ งอาจจะทาให้เกิดผลเสี ยหายตามมา และอาจ เป็ นการทาที่ทาให้ผอู ้ ื่นเดือดร้อนไปด้วย ตัวอย่างเช่น ตอนที่ทา้ วก

ะหมังกุหนิงที่ได้ส่งสารมาขอบุษบา

ให้กบั วิหยาสะกาบุตรของตน เมื่อทราบเรื่ องจากท้าวดาหาว่าได้ยกบุษบาให้กบั จรกาไปแล้ว ก็ยกทัพมาจะตี เมืองดาหาเพื่อแย่งชิงบุษบา ซึ่ งการกระทาที่ใช้กาลังเข้าแก้ปัญหานี้ก็ทาให้เกิดผลเสี ยหลายประการ ทั้งทหาร ที่ตอ้ งมาต่อสู ้ แล้วพากันล้ มตายเป็ นจานวนมาก สู ญเสี ยบุตรชาย และในท้ายที่สุดตนก็มาเสี ยชีวติ เพียง เพราะต้องการบุษบามาให้บุตรของตน


7 4. การที่ไม่รู้จกั การประมาณตน เราทุกคนเมื่อเกิดมาแล้ว ย่อมมีในสิ่ งที่แตกต่างกันไป เกิดมาในสภาวะ แวดล้อมที่แตกต่างกันไป เราก็ควรรู ้จกั ประมาณตนเองบ้าง ใช้ชีวิ ตไปกับสิ่ งที่คู่ควรกับตนเอง พอใจในสิ่ งที่ ตนมี เราควรเอาใจเค้ามาใส่ ใจเรา คานึงถึงความรู ้สึกของคนอื่นด้วย ถ้าเรารู ้จกั ประมาณตนเอง ก็จะทาให้เรา สามารถใช้ชีวติ ได้อย่างมีความสุ ข ซึ่ งถ้าเราไม่รู้จกั ประมาณตน ก็อาจจะทาให้เราไม่มีความสุ ข เพราะไม่เคย สมหวังในชีวติ เหมือนกับชีวติ ของจรกาในเรื่ องอิเหนา ที่เกิดมารู ปชัว่ ตัวดา อัปลักษณ์ หน้าตาน่าเกลียด จร กานั้นไม่รู้จกั ประมาณตนเอง ใฝ่ สู ง อยากได้คู่ครองที่สวยซึ่ งก็คือบุษบา เมื่อจรกามาขอบุษบา ก็ไม่มีใครที่ เห็นด้วยเลย ในท้ายที่สุด จรกาก็ตอ้ งผิดหวังเพราะอิเหนาเป็ นบุคคลที่เหมาะสมกับบุษบามากกว่าจรกา 5. การทาอะไรโดยไม่ย้งั คิด หรื อคานึงถึงผลที่จะตามมาจากการทาอะไรลงไป เราควรจะคิดทบทวนหรื อชัง่ ใจเสี ยก่อนว่าเป็ นการกระทาที่ถูกต้องหรื อไม่ ทาแล้ว เกิดผลอะไรบ้าง แล้วผลที่เกิดขึ้น นั้นก่อความเดื อนให้ ผูอ้ ื่ นหรื อๆไม่ เกิดอย่างไรบ้างเมื่อเรารู จกั คิ ดทบทวนก่อนจะกระทาอะไรนั้นจะทา ให้เราสามารถที่จะลด ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น หรื อสามารถแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที ถ้าเราทาอะไรโดยไม่ย้งั คิด ก็จะมี แต่เกิดปั ญหาต่างๆมากมาย เราจะเห็นตัวอย่างได้จากเรื่ องอิเหนาในตอนที่อิเหนาได้ไปร่ วมงานพระศพของ พระอัยกีแทนพระมารดาที่เมืองหมันหยาหลังจากที่อิเหนาได้พบกับจินตะหราวาตี ก็หลงรักมากจนเป็ นทุกข์ ไม่ยอมกลับบ้านเมืองของตน ไม่สนใจพระบิดาละพระมารดาไม่สนใจว่าตนเองมีคู่หมั้นอยูแ่ ล้ว ซึ่ งมิได้ คานึงถึงผลที่จะตามมาจากปั ญหาที่ตนเองก่อขึ้น จากการกระทาของอิเหนาในครั้งนี้ทาให้เกิ ดปัญหาหลาย อย่างตามมา


8

เอกสารอ้างอิง

www.wikipedi.org/riki www.board.postjung.com



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.