Newspaper

Page 1

ฉบับวันพุธ ที่ 1 สิงหาคม 2555 ราคา 15 บาท

เหมื อ งโปแตชรุ ก อี ส านเตรี ย ม ผุดที่ยโสธร ศศส. แจงน่าห่วง วันพุธ ที่ 1 สิงหาคม 2555 ราคา 15 บาท

แฉโรงงานบ�ำบัดทิ้งสารพิษ ลงน�้ำ จ่ายเงินปิ ดปากจนท. อุตฯจ่อฟันนับสิบแห่ง จนท.อุ ต สาหกรรม เปิ ดโปงขบวนการทิ้งสารพิษ ลงแม่ น�้ำ แอบตั้งโรงบ�ำบัดนับ สิ บแห่ ง ก่ อนยื่นประมูลก�ำจัด กากอุตสาหกรรม แต่ เอาไปทิง้ ทีส่ าธารณะโกยก�ำไร

เมื่ อ วัน ที่ 31 กรกฎาคม นายวิฑูรย์ สิ มะโชคดีปลัดกระทรวง อุ ต สาหกรรม เปิ ดเผยว่ า กรมโรง งานอุ ต สากรรมได้แ ข้แ จ้ง ความที่ สภ.บางปูเพื่อด�ำเนินคดีตามกฎหมาย กับบริ ษทั เวสต์รีโคเวอรี่ เมเนจเม้นท์ จ�ำกัด หลังจากพบหลักฐานว่า บริ ษทั ลัก ลอบทิ้ ง น�้ำ เสี ย ปนเปื้ อนสารเคมี ในแหล่งน�้ำสาธารณะ จากการตรวจ สอบด้วยเทคนิ คการตรวจสอบย้อน กลับ กรณี การปล่อยน�้ำเสี ยในพื้นที่ จ.สมุทรปราการ พบว่าเป็ นการปล่อย จากนิคมอุตสาหกรรมบางปู ซึ่งในน�้ำ มีสารฟี นอลความเข้มข้นสู ง และพบ ว่ามีโรงงานที่บำ� บัดสารฟี นอล 1 ราย คือบริ ษทั เวสต์ รี โคเวอรี่ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด มีการน�ำสารฟี นอล เข้ามาบ�ำบัด 1.7 พันต้น ตั้งแต่เดื อนพฤศจิ กายน 2554-เมษายน 2555 "ผลวิเคราะห์คณ ุ ภาพน�้ำรอบ โรงงานดังกล่าวพบสารฟี นอลความ เข้มข้นสู งระดับ 1,000 พีพีเอ็มและ ได้ตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพน�้ำใน บ่อน�้ำหลังสถานี ตำ� รวจภูธรบางปูที่ ถูกระบุว่าเป็ นแหล่งรับทิ้งพบสารฟี นอลสู งมากเช่นกัน เจ้าหน้าที่ตำ� รวจ จึ งได้จบั กุมรถบรรทุ กน�้ำทิ้ งมาจาก บริ ษทั ดังกล่าวจริ ง ซึ่งเมื่อพิจิรณาแล้ว เห็นว่ามีหลักฐานเพียงพอ จึงได้ส่งส�ำ นวนคีดเพือ่ ให้ สภ.บางปูดำ� เนินคดีตา มกฆกมาย"นายวิฑูรกล่าว ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวต่อว่ากรมโรงงานอุตสาหกรรม

พังยับ: การขุดเจาะเพื่อขยายพืน้ ที่เหมืองแร่ ในจังหวัดยโสธร โดยมีการถางป่ าซึ่ งเป็ นแหล่ งท�ำกินของชาวบ้ าน เอ็ น จี โ อฮึ่ ม ทุ น จี น สยาย ปี กรุ กส� ำรวจเหมืองโปแตช 2 แสน ไร่ ภาคอี ส าน ดั ก คอรั ฐ อย่ า เอื้ อ ประโยชน์ ให้ ทุนต่ างชาติเข้ ามากอบ โกยทรัพยากร เตือนเหมืองในจีนยังมี ปัญหามาตรฐานวิศวกรรม ท�ำลายสิ่ง แวดล้อม ละเมิดสิ ทธิมนุษยชน ขณะ ที่ภาครั ฐ รั บมีการยื่นขอสั มปทาน จริง อยู่ระหว่ างรอพิจารณา

วัน นี้ (27 มิ . ย.) นายสุ วิ ท ย์ กุหลาบวงษ์ ผูป้ ระสานงานศูนย์ขอ้ มูล สิ ทธิ มนุ ษยชนและสันติ ภาพ (ศสส.) อี ส านซึ่ งได้ติ ด ตามตรวจสอบกรณี เหมื อ งแร่ โปแตชในภาคอี ส านมา

อย่า งต่ อ เนื่ อ งเปิ ดเผยกับ ผูส้ ื่ อ ข่ า วถึ ง ความคื บ หน้า การขอสัม ปทานแหล่ ง แร่ โปแตชในภาคอีสานว่า รัฐบาลชุดนี้ โดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้ยื่นเรื่ อง ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม ประกาศยกเลิกมาตรา 6 ทวิ ว รรคสอง ของ พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510ในเขตพื้นที่ที่กำ� หนดให้เป็ นเขต ส�ำหรับด�ำเนิ นการส�ำรวจ การทดลอง การศึ ก ษา หรื อการวิ จ ัย เกี่ ย วกับ แร่ ได้เ ป็ นกรณี พิ เ ศษเพื่ อ เปิ ดให้ เ อกชน สามารถยื่ น ค�ำ ขออาชญาบั ต รเพื่ อ ประกอบการเชิ ง พาณิ ช ย์แ ละท�ำ การ ผลิตแร่ โปแตชได้ในหลายพื้นที่

นายสุ วิ ท ย์ ให้ ข ้อ มู ล ว่ า ที่ ผ่ า นมารั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง ทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม โดยนายปรี ชา เร่ ง สมบู ร ณ์ สุ ข ได้ ประกาศยกเลิกมาตรา 6 ทวิวรรคสอง ตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510ไปแล้ว ใน พื้นที่อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร จ�ำนวน 120,000 ไร่ , พื้ น ที่ อ.เรณู น คร และ อ.พระธาตุพนม จ�ำนวน 200,000 ไร่ และในส่ วน จ.หนองคาย คือ อ.สระใคร อ.ท่อบ่อ อ.สังคม และ อ.ศรี เชียงใหม่ จ�ำนวน 100,000 ไร่ “ล่ า สุ ด คื อ ที่ อ ำ� เภอเมื อ ง และอ�ำ เภอ ค�ำ เขื่ อ นแก้ ว จั ง หวัด ยโสธร ได้ มี

วิถีประมงริมน�้ำน่าน พลิกวิกฤติชาวนา สู่โอกาสเพิม่ รายได้ แหล่ งเรียนรู้ กลุ่มวิถปี ระมง ริ ม นํ้ า นั้ น เป็ นแหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ เ ป็ น ตัวอย่ างให้ กับชาวบ้ านหรื อชุ มชน ใกล้ เคียงรวมถึงตทบํ ลทีส่ นใจเข้ ามา แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ กับ ต�ำบลวังน�้ำคู้ จ.แพร่ ถือเป็ นอีกกลุ่มทีส่ ทํคญ ั ทีช่ ่ วย ผลักดันและส่ งเสริ มกลุ่มเศรษฐกิจ ของชุมชนให้ มคี วามเข้ มแข็ง อ่านต่ อหน้ า 2

เอกชน คือบริ ษทั ไทยอินเตอร์ โปแตช คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ก�ำลังยืน่ ขออาชญา บัต รส� ำ รวจแหล่ ง แร่ โปแตช พื้ น ที่ จ�ำนวน 190,000 ไร่ นอกจากนี้ ก็พบ ว่ามีนายทุนไปหากว้านซื้ อที่ดินหลาย พันไร่ ในบริ เวณนั้น ขณะที่ผวู ้ ่าฯ และ อุตสาหกรรมจังหวัดได้ลงพื้นที่ไปคุย กับ ชาวบ้า น แต่ อ ้า งว่ า จะพัฒ นาการ เกษตร คือปลูกยางพารา” นายสุ วทิ ย์ ด้านนายอุบล อยูห่ ว้า ผูป้ ระสาน งานเครื อข่ายเกษตรทางเลือก ภาคอีสาน เปิ ดเผยว่า เป็ นเรื่ องที่ยอมไม่ได้ที่จะให้ อ่านต่ อหน้ า 2

ได้แ จ้ง ความผิ ด ไป 4 ข้อ หาได้แ ก่ 1.ระบายน�้ำ ทิ้ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ม าตรฐานลง ในพื้ น ที่ ส าธารณะ 2.น�ำ สิ่ ง ปฏิ กู ล ออกจากโรงงานโดยไม่ได้รับอนุญาต จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม 3.เป็ น ตั ว กลางน� ำ น�้ ำเสี ยอกไปปล่ อ ยทิ้ ง ในพื้นที่ สาธารณะ และ 4.ไม่จดั ท�ำ รายงานประจ�ำ ปี ตามประกาศของ กระทรวงอุตสาหกรรม โดยทั้งหมดนี้ มีโทษสู งสุ ดปรับไม่เกิ น 2 แสนบาท และจ�ำคุ ก ปี รวมทั้งได้ประสานไป ยัง กระทรวงคมนาคมให้แ จ้ง เอาผิ ด ตาม พ.ร.บ.ขนส่ งวัตถุอนั ตราย และ ให้ ก รมควบคุ ม มลพิ ษ เอาผิ ด ตาม พ.ร.บ.ควบคุมมลพิษ นอกจากนี้ บริ ทดั ง กล่ า ว จะต้อ งเป็ นผูร้ ั บ ผิ ด ชอบฟื้ นฟู ส ภาพ แวดล้อ มของพื้ น ที่ ที่ ป ล่ อ ยสารพิ ษ ให้ ก ลับ มาสู่ ภ าวะปกติ ซึ่ งเบื้ อ งต้น กระทรวงจะลงไปแก้ไขปั ญหามลพิษ จากนั้ น จะเรี ยกร้ อ งค่ า เสี ย หายจาก โรงงานที่ทำ� ผิดอีกครั้งเพือ่ ให้การแก้ไข ปั ญหาเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว โดยการ จับกุมผูท้ ำ� ผิดครั้งนี้ นับได้วา่ มีหลักฐาน ส� ำ หรั บ โรงงานที่ เ ข้ า ข่ า ย จะต้องเฝ้ าระวังอย่างเข้มงวด ได้แก่ โรงงานบ�ำบัดสารพิษจากอุตสาหกรรม มีจำ� นวน 416 ราย โรงงานคัดแยกขยะ 1.7 พันราย

นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

ตั้งกก.เคาะใบอนุญาตตั้ง-ขยาย

กระทรวงอุ ต ฯ เข้ มตั้ ง กรรมการพิจารณาโครงการเสี่ ยงก่อ มลพิษ เริ่มท�ำหน้ าที่ 6 ก.ค.ชี้ชะตา 67 โรงงาน นายวิฑูรย์ สิ มะโชคดี ปลัด

พลิกชีวติ : ชาวบ้ าน ต. บางน�ำ้ คู้เก็บเกี่ยวผลผลิตในช่ วงฤดูฝน

กระทรวงอุ ต สาหกรรมเปิ ดเผยว่ า กระทรวงได้ต้ งั คณะกรรมการกลัน่ กรองพิ จ ารณาอนุ ญ าตโรงงานบาง ประเภทที่ มี ผ ลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพ ชีวติ และสิ่ งแวดล้อม มีปลัดกระทรวง

อุ ต สาหกรรมเป็ นประธานท�ำ หน้า ที่ ก ลั่ น ก ร อ ง ก า ร อ อ ก ใ บ อ นุ ญ า ต ประกอบกิ จการหรื อใบอนุ ญาตขยาย โรงงานเพื่ อ ลดปั ญหามวลชนต่ อ ต้า นและสร้ า งความเชื่ อ มั่น ให้ เ พิ่ ม ขึ้น ขณะนี้มีโรงงานที่รอพิจารณา 67 โรงงานประเภทโรงงานที่ ต ้อ งผ่ า น การพิจารณา ได้แก่ โรงงานขนาด ใหญ่ลงทุนมากกว่า 200 ล้านบาท โรงงานประกอบกิ จการเกี่ ยวกับของ เสี ย โรงงานที่ อ าจมี ปั ญ หามวลชน

และโรงงานที่ตอ้ งประเมินความเสี่ ยง เป็ นต้น ไม่ได้ครอบคลุมโรงงานทุก ประเภทที่มีอยู่ 107 โรงงาน เ ก ณ ฑ์ ก า ร พิ จ า ร ณ า จ ะ ก�ำ หนดเงื่ อ นไขมาตรฐานดู แ ลสิ่ ง แวดล้อมมวลชน และการก�ำจัดกาก อุ ต สาหกรรมครบวงจรหรื อ ไม่ ซึ่ ง โครงการจะถูกพิจารณาเบื้องต้นจาก หน่ วยงานที่ทำ� หน้าที่รับผิดชอบก่อน เช่ น กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม และ ทางการจะเข้ามาชี้แจงด้วย


2 วันพุธ ที่ 1 สิงหาคม 2555

ต่อจากหน้า 1

บทบรรณาธิการ ความขัดแย้งในสังคมต่อ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อม กับความเชื่อมัน่ ใน การลงทุนของประเทศ ได้ปรากฏภาพ ที่ ชัด เจนขึ้ น หลัง จากที่ ก ระบวนการ กฎหมายทางด้านสิ่ งแวดล้อมเริ่ มท�ำงาน ได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น จากการ ที่ศาลปกครองกลาง ได้ตดั สิ นให้การ คุม้ ครองชุมชน โดยระงับชัว่ คราว 76 โครงการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่มี ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมอย่างรุ นแรง ตามมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญ ทั้งของ ภาครัฐและเอกชนในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง ซึ่งมีมลู ค่าการ ลงทุนเกือบ 4 แสนล้านบาท ตามมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญนั้น ก�ำลังส่ งผลให้ เกิดความกังวลทั้งกับนักอุตสาหกรรม และนักลงทุนในตลาดหุน้ ที่มตี อ่ อนาคต ของธุ ร กิ จ ดัง กล่ า ว จนในที่ สุ ด นาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้ มอบหมายให้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ยืน่ อุทธรณ์ รวมทั้งพยายามสร้างความ

เชื่ อมัน่ ให้กบั นักลงทุน โดยนัดผูแ้ ทน กระทรวงหลัก ที่ เ กี่ ย วข้อ งในวัน ที่ 8 ตุลาคมนี้ เพื่อหาแนวทางในการรองรับ ในทุกกรณี ของค�ำวินิจฉัยของศาล ปกครองสูงสุ ดที่จะมีออกมา ถึงขณะนี้ คดีจะยังไม่ถึงที่สุดและ ค�ำวินิจฉัยของศาลปกครองกลาง ยังเป็ น ค�ำสัง่ คุม้ ครองชัว่ คราวที่ยงั อุทธรณ์อยู่ แต่นายกรัฐมนตรี ก็ยืนยันว่า หลักของ รัฐบาลต้องการให้กระบวนการพัฒนา เดิ นหน้าได้ ซึ่ งต้องเข้าใจความเดื อด ร้ อ นของประชาชน และมี ม าตรการ รองรับที่ชดั เจนให้ประชาชนเกิดความ มั่ น ใจ นอกจากการประชุ ม ในวัน พฤหัส บดี น้ ี แล้ว ก็ จ ะเร่ ง รั ด ให้ ค ณะ กรรมการพื้นที่ทะเลชายฝั่งตะวันออก ที่นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เป็ นประธาน ได้เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาเข้ามา ด้วย โดยเฉพาะจะต้องท�ำความเข้าใจ กับนักลงทุนถึงข้อกฎหมาย และสิ่ งที่ รัฐบาลจะด�ำเนินการต่อไปให้มากที่สุด

อาทิตยา สุ ขาภิรมย์ บรรณาธิการ

the ENVIRONMENT

เหมืองโปแตชรุกอี สานเตรียมผุดที่ ยโสธร ศศส. แจงสถานการณ์น่าห่วง

ต่ อจากหน้ า 1

และไม่เป็ นประโยชน์แก่ คนในท้อ งถิ่ น มาเกิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ ซึ่ ง คนอีสานจะต้องลุกขึ้นมาปกป้ องผืน แผ่นดิน โดยตนและเครื อข่ายชาวบ้าน ก็จะติดตามให้ถึงที่สุด “พื้นที่จงั หวัดยโสธรถือว่าเป็ น แหล่ งอู่ขา้ วอู่น้ ำ� และมี การท�ำเกษตร อิ น ทรี ย ์ม ากที่ สุ ด ในประเทศ หากมี เหมืองแร่ โปแตชเกิดขึ้น ย่อมส่ งผลกระ ทบต่อพื้นที่การเกษตรของชาวบ้านและ ความมัน่ คงทางอาหารของประเทศ ซึ่ง ในเบื้องต้นก็ได้ให้ขอ้ มูลกับแกนน�ำใน พื้นที่แล้วระดับหนึ่ ง และมีแผนจะไป แลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั พี่นอ้ งที่อุ ดรฯ และสกลนครด้วย” นายอุบลกล่าว ผูส้ ื่ อข่าวรายงานเพิ่มเติมว่า สถานการณ์โครงการเหมืองแร่ โปแตช ที่ จ.สกลนคร มีความคืบหน้าค่อนข้าง มาก เมื่อประธานบริ ษทั ไชน่า หมิงต๋ า โปแตช คอร์ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) ผู ้ ยืน่ ขออาชญาบัตรพิเศษจากประเทศจีน ก�ำลังเดินสายพบปะข้าราชการและผูน้ ำ� ชุ มชน และมี แผนจะพาไปดูเหมื องที่ ประเทศจีนในเร็วๆ นี้ ส่วนที่ จ.อุดรธานี อยูร่ ะหว่างการยืน่ ขออนุญาตประทาน บัตรท�ำเหมืองของบริ ษทั เอเชีย แปซิฟิก โปแตช คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (เอพีพซี ี) แต่

ติดอยู่ที่ชาวบ้านในพื้นที่คดั ค้าน และ อยูร่ ะหว่างการแต่งตั้งคณะกรรมการ ร่ วมสองฝ่ าย คือ ฝ่ ายกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) และ ฝ่ ายชาวบ้านกลุ่มอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อม อุ ด รธานี เพื่ อ ศึ ก ษาร่ ว มกัน ทั้ง ในข้อ กฎหมายและข้อเท็จจริ งตามขั้นตอน ประทานบัตร จากการแถลงข่าวของอธิบดี กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการ เหมืองแร่ (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง กพร. และกลุม่ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อุดรธานีหารื อได้ขอ้ ยุติการตรวจสอบ ขั้นตอนการขอประทานบัตรเหมืองแร่ โปแตช ทั้งนี้ ในเนื้อหาส่ วนหนึ่งอธิบดี กพร.ได้ระบุ ว่า การเดิ นทางไปเยือน สาธารณรัฐประชาชนจีนของนางสาว ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เมื่อ ประมาณกลางเดือนเมษายน 2555 ได้ มีการยกแหล่งแร่ โปแตชให้ประเทศ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น พร้ อ มทั้ง แก้ไขกฎหมายอ�ำนวยความสะดวกให้ แก่บริ ษทั เหมืองแร่ ของจีนนั้น ข่าวดัง กล่าวไม่เป็ นความจริ ง ประสานงานศูนย์ขอ้ มูลสิ ทธิ มนุษยชนและสันติภาพ (ศสส.) อีสาน ซึ่ งได้ติดตาม ตรวจสอบ กรณี การท�ำ เหมืองแร่ โปแตชในภาคอีสานมาอย่าง

ต่ อเนื่ อง เปิ ดเผยกับผูส้ ื่ อข่าวว่า หลัง จากที่นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี เดินทางไปเยือนประเทศจีนก็ ปรากฏว่ามีข่าวที่เกี่ยวเนื่องกับนายทุน เหมืองของจีน รุ กเข้ามาเพือ่ ขอสัมปทาน แหล่งแร่ ในภาคอีสานเพิ่มขึ้นอีกหลาย พื้นที่ นอกจากนี้โครงการเหมือง แร่ โ ปแตช จ.อุ ด รธานี ที่ มี ช าวบ้า น กลุ่มอนุ รักษ์ฯ คัดค้านมากว่า 12 ปี ก็ มี ข่ า วว่ า บริ ษ ัท อิ ต าเลี่ ย นไทย ผู ข้ อ ประทานบัตรก�ำลังจะขายหุน้ เพือ่ ระดม ให้กบั โครงการที่ตอ้ งใช้ทุนมหาศาล อย่างโครงการท่าเรื อน�้ำลึกและนิคม อุตสาหกรรมทวายในพม่า พร้อมกันนี้ บริ ษทั อิตาเลี่ยนไทย ก็ได้ตกลงที่จะขาย หุน้ ส่ วนหนึ่งในเหมืองแร่ อลูมิเนียมใน ลาวให้กบั ผูร้ ่ วมลงทุนจากจีน “ถึงแม้วา่ ยังไม่มีการเปิ ดเผยอ อกมาก็เชื่อว่าเหมืองแร่ โปแตชที่อุดรฯ จะขายให้จีน เพราะที่ผา่ นมาอิตาเลี่ยน ไทย มีความสัมพันธ์ที่ดีกบั นายทุนจีน ซึ่ งรวมทั้งโครงการทวายนี้ดว้ ย” นายสุ วิทย์ให้ขอ้ มูล

การผลักดันโครงการ เหมื อ งแร่ โ ปแตชในภาคอี ส าน เกิ ด ภายหลังการแก้ไขพรบ.แร่ ปี 2545 ซึ่ง เดิมกฎหมายแร่ ไทยไม่อนุญาตให้ทำ� เหมืองใต้ดิน แต่ฝ่ายนักการเมืองและ ฝ่ านนายทุน ได้ผลักดันให้มีการแก้ไข พรบ.แร่ ในปี 2545 ให้ทำ� เหมืองใต้ดิน โดยไม่ตอ้ งขออนุญาตเจ้าของที่ดินได้ ทัว่ ประเทศ ได้แก่ 1. โครงการเหมื อ งแร่ โปแตช จ. นครราชสี ม า 13 พฤษภาคม 2548 บริ ษ ัท เหมื อ งไทยสิ น ทรั พ ย์ จ�ำ กัด ได้ยนื่ ขออาชญาบัตรพิเศษส�ำรวจใน พื้นที่ อ.คง อ.บัวใหญ่ อ.บ้านเหลื่อม อ.ขามสะแกแสง จ. นครราชสี มา 28 แปลง เนื้อที่ 280,000 2. โครงการเหมื อ งแร่ โปแตช จ. นครราชสี ม า 12 กรกฎาคม 2548 บริ ษทั ธนสุ นทร (1997) จ�ำกัด ได้ยนื่ ขออาชญาบัตรพิเศษส�ำรวจในพื้นที่ ต.ด่านช้าง อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสี มา 3 แปลง เนื้อที่ 30,000 ไร่ 3 . โ ค ร ง ก า ร เ ห มื อ ง แ ร่ โ ป แ ต ช จ.ขอนแก่น 5 กรกฎาคม 2548 บริ ษทั กรุ งเทพโยธา อุตสาหการ จ�ำกัด ได้ยนื่ ค�ำขออาชญา บัตรพิเศษส�ำรวจแร่ โปแตช 10 แปลง เนื้อที่ 100,000 ไร่ ในท้องที่ ต.บ้านทุ่ม

วิถีประมงริมน�้ำน่าน พลิกวิกฤติชาวนาสู่โอกาสเพิม่ รายได้ ต่ อจากหน้ า 1

"วิถีประมงริ มน�้ำน่านคือการ ช่ วยเหลื อเกื้ อกูลกันระหว่าง ผูท้ ี่ เลี้ ยง ปลาในริ มน�้ำน่านบริ เวณใกล้เคียง เช่น จับปลา ให้อาหารช่ วยกัน ปลาป่ วยก็ ช่ วยกันดูแล แม้เป็ นการรวมตัว รวม กลุ่มกันก็จริ ง แต่ไม่ได้เอาเงิ นมารวม กัน ไม่ มีการปั นผล ไม่มีการจ้าง เรา ช่วยเหลือเกื้อกูลกันตลอด เพราะเราเป็ น ระบบพึ่งพากันและกัน" นรัตน์ ใจมัน่ ประธานกลุ่มวิถี ประมงริ มน�้ำน่าน เล่าถึงการท�ำงานใน ระบบวิถีประมงริ มน�้ำน่าน การเปลี่ยนแปลงไปของสภาพ ทางเศรษฐกิจ ส่ งผลให้ชาวนา ชาวไร่ รวมถึงเกษตรหลายครัวเรื อนต้องผิด หวัง หลังจากขายข้าวไม่ได้ราคาตามเป้ า หมายที่กำ� หนด ผลผลิตทาง การเกษตร ตกต�่ำ หน�ำซ�้ำเกษตรกรบางรายยังต้อง กู้ห นี้ ยื ม สิ น ทั้ง ในและนอกระบบ อย่างคับคัง่ การเงิ นภายในครั วเรื อน หมุนเวียนไม่ทนั ตามต้องการ แต่ ย งั มี ต �ำ บลวัง น�้ำคู ้ อี ก 1 ต�ำบล ที่ เปลี่ ยนวิกฤติ ให้เป็ น โอกาส โดยการจัดศูนย์การเรี ยนรู ้"วิถปี ระมงริ ม น�้ำน่าน" ให้เป็ นตัวอย่างแก่คนในชุมชน และต�ำบลใกล้เคียง อีกทั้งต�ำบลวังน�้ำ คู ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ยังเป็ น ต�ำบลสุ ขภาวะ ภายใต้การสนับสนุ น ของส�ำนักสนับสนุนสุ ขภาวะชุมชน ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริ มสุ ขภาพ(สสส.)อีกด้วย โดย นรัตน์ เล่าว่า วิถปี ระมงริ ม น�้ำน่านกลุ่มการเรี ยนรู ้ระบบเศรษฐกิจ ชุมชนเดิมมีเพื่อนบ้านเขาเลี้ยงไว้ก่อน

ถิน่ ท�ำกิน: หมู่บ้านชาวบประมงที่ อ. ปากนาย จ. น่ าน แล้ว ตนจึ ง เข้า ไปขอข้อ มู ล และค�ำ ปรึ ก ษา เมื่ อ ทดลองเลี้ ย งปลากระชัง แม่น้ ำ� จึงชักชวนเพือ่ นบ้านอีกหลายครัว เรื อนเข้ารวมกลุ่มเลี้ยงปลากระชัง แต่ การรวมกลุ่มไม่มีการปันผลใดๆ ทั้งสิ้ น แต่รวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือดูแลปลากระ ชังของสมาชิก อีกทั้งตนยังเป็ นที่ปรึ กษา ให้กบั สมาชิกพร้อมทั้งช่วยเหลือด้าน การดูแล การให้อาหารหรื อแม้กระทัง่ ยกกระชังปลาส่ งออกขาย แหล่งเรี ยนรู ้กลุม่ วิถีประมงริ ม

น�้ำน่านเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่เป็ นตัวอย่าง ให้กบั ชาวบ้านหรื อชุมชนใกล้เคียง รวมถึงต�ำบล ที่สนใจเข้ามาแลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้กบั ต�ำบลวังน�้ำคูเ้ พราะถือเป็ นอีก กลุ่มที่สำ� คัญที่ช่วยผลักดันและส่ งเสริ ม กลุ่มเศรษฐกิจของชุมชนให้มีความเข้ม แข็งและสามารถยืนหยัดได้ดว้ ยอาชีพ ที่มน่ั คง ประธานกลุ่มวิถีประมงริ มน�้ำ น่าน เล่าว่า ตนเริ่ มท�ำวิถีประมงริ มน�้ำ น่านหรื อเลี้ยงปลาในแม่น้ ำ� น่านเพราะ

ผลผลิตหรื อรายได้จากการท�ำนาเริ่ ม ลดลง โดยการถูกชักชวนจากเพือ่ นบ้าน และเริ่ มศึกษากระบวนการจัดการ การ เลี้ยงปลา จนกระทัง่ ส่ งผลผลิตออกสู่ ตลาดปลา "เมื่อเริ่ มท�ำครั้งแรกลงทุนไป ประมาณ 40,000 บาท จัดท�ำกระชัง ปลาได้ถึง 12 กระชัง เฉลี่ยแล้วประมาณ 1,000 ตัว โดยเลี้ยงเฉพาะปลาทับทิม เพราะเป็ นปลาที่แข็งแรง มีภมู ิตา้ นทาน สูง เลี้ยงเพียงประมาณ 4 เดือน ก็สามารถ

จับ ปลา ขึ้ น มาขายได้แ ล้ว โดยแบ่ ง จ�ำแนกตัวปลาเล็กใหญ่ ขายราคาต่างกัน หลังจากหักค่าใช้จ่ายแล้วได้กำ� ไรเกือบ 40,000 บาท หรื อเกือบเท่ากับการลงทุน และการส่ งขายจะมีพอ่ ค้า แม่คา้ ปลามา รับถึงที่ โดยเราไม่จำ� เป็ นต้องเสี ยค่าน�้ำ มันรถเอาปลาออกไปข้างนอก แต่อย่าง ใด" นรัตน์ เล่าถึงการท�ำกระชังปลาครั้ง แรกความเปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ ชัดว่าผูเ้ ลี้ยงปลากระชัง หรื อแหล่งเรี ยน รู ้วถิ ีประมงริ มน�้ำน่านมีรายได้เพิ่มขึ้น

และยังมีอาชีพเสริ มจากการท�ำนา เพราะ การเลี้ยงปลากระชังไม่ได้ใช้เวลามาก เพียงแต่ละวันผูเ้ ลี้ยงต้องหมุนเวียนเข้า ให้อาหารปลาประมาณวันละ 3-4 ครั้ง ไม่จำ� เป็ นต้องเลี้ยงทั้งวันทั้งคืน และยัง ท�ำให้เกษตรกรมีเงินหมุนเวียนเพิม่ มาก ขึ้นจากการท�ำนาอีกด้วย นรัตน์ยงั บอกอีกว่า การเลี้ยง ปลากระชังเป็ นอาชีพเสริ ม ที่ง่ายต่อการ ดูแล แต่ก็มีปัญหาในช่วงน�้ำท่วมหรื อ ช่วงที่มีสารเคมีรั่วไหลลงแม่น้ ำ� ก็เกิด ปั ญหาหนักแต่ไม่ถึงกับขาดทุน "เมื่อเลี้ยงปลาในกระชังมา เรื่ อยๆ เราก็จะสังเกตเห็นปัญหาเล็กน้อย บ้าง อะไรบ้าง ซึ่งเราต้องรู ้จกั การแก้ไข ปัญหา และช่วงระยะเวลาที่ปัญหาก�ำลัง จะเริ่ ม ขึ้ น ที่ เ ป็ นปั ญ หามากที่ สุ ด คื อ หน้าแล้ง น�้ำในแม่น้ ำ� ไม่เพียงพอ ท�ำให้ กระชังลงไปกระทบกับพื้นดินใต้แม่น้ ำ� เมือ่ กระชังลงไปติดใต้ดินแล้วท�ำให้ปลา เบี ยดกันจนขาดออกซิ เจน และปลาก็ ตายไปในบางส่ วน อีกทั้งสิ่ งแวดล้อมหรื อน�้ำที่ ไหลมาจากภาคเหนื อ มี ส ารพิ ษ มาก และยังรั่วไหลลงสู่ แม่น้ ำ� ท�ำให้ปลาใน กระชังของทุกครัวเรื อนตายเกือบหมด แต่มีบางส่ วนที่พอยังน�ำมาขายได้ แต่ ไม่ดีเท่าไรนัก เราต้องรี บยกขึ้นมาขาย เพราะหากปลาตายหมด ผูเ้ ลี้ยงปลากระ ชังก็จะไม่ได้แม้แต่ทุนคืน โดยการขาย เราจะขายถูก เช่น ขาย 3 กิโลกรัมต่อ 100 บาท" นรัตน์ เล่าถึงปั ญหาต่อการ เลี้ยงปลากระชังในแม่น้ ำ� น่านส�ำหรับ การแก้ไขปั ญหาที่พบระหว่างการเพาะ เลี้ยงปลาในแม่น้ ำ�


the ENVIRONMENT

วันพุธ ที่ 1 สิงหาคม 2555

ข่าว

พายุฝนซัดกุย้ โจวดับ 14 โตเกียว-ทางการญีป่ ุ่ นจะตั้ง งบประมาณ 10 ล้ านล้ านเยน (ราว 3.9 ล้ านล้ านบาท) และเจียดรายจ่ าย อีก 3 ล้ านล้ านเยน (ราว 1.13 ล้ าน ล้ านบาท) สมทบโครงการฟื้ นฟู พืน้ ทีภ่ ยั พิบัตทิ างตะวันออกเฉียง เหนือ

หนังสื อพิมพ์นิกเกอิของญี่ปุ่น รายงานว่า งบประมาณราว 8-9 ล้าน ล้า นเยน (ราว 3-3.4 ล้า นล้า นบาท) จากจ�ำนวนดังกล่าวจะน�ำไปใช้ในการ ปรับปรุ งระบบสาธารณูปโภค และอีก 3 ล้านล้านเยน จะน�ำไปใช้ในการสร้าง โรงเรี ยนและจ้างงานใหม่ โดยคาดว่า คณะท�ำงานด้านการฟื้ นฟูของ ด้านเจ้า หน้าที่เปิ ดเผยว่าทางการมีแผนตั้งงบ

ประมาณโดยการออกพันธบัตรพิเศษ ลดรายจ่าย และประกาศขายทรัพย์สิน ของรั ฐ โดยกระทรวงการคลังเตรี ยม ออกพันธบัตรอายุ 5 ปี ขณะที่ทางการ เองก็กำ� ลังอยูร่ ะหว่างพิจารณาแผนขึ้น ภาษี ทั้งนี้ นักลงทุนต่างฝากความหวัง ไว้กบั แผนงบประมาณฟื้ นฟูในฐานะ กุญแจที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นก้าวพ้นจาก ผลกระทบของภัยพิบตั ิแผ่นดินไหวและ สึ นามิ เมื่ อ มี .ค.ที่ ผ่านมา และช่ วยให้ เศรษฐกิจของญี่ปุ่นซึ่งใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของโลก กลับมาเติบโตเป็ นปกติใน ไตรมาสที่ 3 ของปี นี้ ขณะที่มีรายงานว่า นายบันรี คาอิเอดะ รัฐมนตรี กระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุ ต สาหกรรมของญี่ ปุ่ น

กล่าวกับผูส้ ื่ อข่าวที่กรุ งโตเกียวในวันนี้ ว่า บริ ษทั โตเกียว อิเล็กทริ ก เพาเวอร์ (เทปโก้) ควรจะมีส่วนแบกรับภาระ ต้นทุนที่รัฐบาลต้องรับซื้อเนื้อวัว ทั้งหมดที่ปนเปื้ อนสารกัมมันตรังสี ซีเซียมในระดับที่สูงกว่าก�ำหนด นอกจากนี้ นายคาอิเอดะยังได้วางแผน ที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเทป โก้ในเรื่ องการจ่ายเงินชดเชยให้กบั ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจาก อุบตั ิเหตุซ่ ึงเกิดขึ้นที่โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ฟูกุชิมะ ผลส�ำรวจของส�ำนักข่าวเกียว โดระบุว่า โคกระบือกว่า 1,600 ตัวที่ สงสัยว่าได้รับการเลี้ยงดูดว้ ยฟางที่ปน เปื้ อนสารกัมมันตรังสี น้ นั ถูกส่ งไปยัง จังหวัดต่างๆ ในญี่ปุ่น เช่น โอกินาวา

นิวยอร์กระทึกฤทธิ์ พายุ ไอรีน ไฟดับทั้งเมือง

ผวา: ชาวเมืองนิวยอร์ กหนีชุลมุนหลังพายุเฮอริ เคน 'ไอรี น' ถล่ ม เมื่อ วันที่ 26 กรกฏาคม ผ ว า น�้ ำ ท่ ว ม ใ ห ญ่ ย่ า น ธุ รกิจ'นิ วยอร์ ก' หลังถู กพายุเฮอริ เคน 'ไอรีน' ถล่มแถมน�ำ้ ทะเลหนุนสู ง คร่ าชีวติ ผู้โชคร้ ายแล้ว 9 รายผู้คนนับ ล้ านไม่ มไี ฟฟ้าใช้ ต้ องอยู่ในความมืด ขณะทีบ่ ัวแก้ วยันยังไม่ มคี นไทยบาด เจ็บหรือเสี ยชีวติ จากพายุถล่ มมะกัน ส่ วนทีฟ่ ิ ลิปปิ นส์ โดนซู เปอร์ ไต้ ฝุ่น

“นันมาดอล” ถล่มดับ 8 ศพ ก่อนเคลื่อนตัวจ่อคิวขึ้นฝั่งที่ไต้หวัน เมื่อวันที่ 28 ส.ค. ส�ำนักข่าวต่างประเทศ รายงานจากนครนิ ว ยอร์ ก ประเทศ สหรั ฐอเมริ กา แจ้งความคืบหน้าของ พายุเฮอริ เคน “ไอรี น” ที่พดั ถล่มสหรัฐ หลัง จากขึ้ นฝั่ ง ที่ แ หลมลุ ค เอาท์ รั ฐ นอร์ทแคโรไลนา เมื่อเช้าวันเสาร์ที่ผา่ น มาว่า แม้ลดระดับความรุ นแรงของพายุ ลงมาเหลือเพียงระดับ 1 ด้วยความเร็ ว ลมพัดเข้าสู่ จุดศูนย์กลาง 140 กม.ต่อ ชัว่ โมง ก่อนที่จะเคลื่อนตัวขึ้นไปทาง ทิ ศเหนื อ มุ่งหน้าสู่ นครนิ วยอร์ กเป็ น ล�ำดับต่ อไป มี รายงานผูเ้ สี ยชี วิตแล้ว อย่างน้อย 9 ศพ ทั้งจากอุบตั ิ เหตุทาง รถยนต์ หัวใจวาย ต้นไม้หักโค่น ใน รัฐนอร์ ทแคโรไลนา, เวอร์ จิเนี ย และ ฟลอริ ดา อย่างไรก็ตาม ตลอดเส้นทาง พาดผ่า นของพายุเ ฮอ ริ เ คนได้ท ำ� ให้ เสาไฟฟ้ าหักโค่น ไม่มีไฟฟ้ าใช้สำ� หรับ ประชาชนกว่า 1 ล้านคน เที่ยวบินต่าง ๆ ต้องถูกยกเลิกกว่า 8,000 เที่ยว และ อพยพผูค้ นเกื อบ 2 ล้านคน อยู่ในรัฐ นิวเจอร์ซี่ ส่ วนที่ นิ วยอร์ ก รายงาน

ข่ า วแจ้ง ว่า พายุเ ฮอริ เ คนได้พ ดั ถล่ ม เมืองใหญ่ของสหรัฐแห่ ง นี้ ท�ำให้เกิด กระแสลมพัดกระโชกแรง ฟ้ าผ่า พายุ ฝน และน�้ำท่วม แต่ทางการนิ วยอร์ ก ได้ สัง่ อพยพผูค้ นออกไปแล้วอย่างน้อย 370,000 คน ในพื้นที่เสี่ ยงที่จะเกิดน�้ำ ท่วม เช่น วอลล์ สตรี ท และเกาะโคนีย ์ รวมทั้งปิ ดระบบขนส่ งมวลชนทั้งหมด ทั้งรถไฟใต้ดิน รถโดยสารสาธารณะ และเรื อโดยสารข้ามฟากไปยังเกาะสตา เตน รวมถึงสนามบิน ท�ำให้เมืองใหญ่ ของสหรัฐแห่งนี้แทบเป็ นเมืองร้าง นายไมเคิล บลูมเบิร์ก นายก เทศมนตรี นครนิวยอร์กแถลงว่า เมื่อถึง เวลานี้การอพยพออกจากพื้นที่คงไม่ทนั การ จึ งแนะน�ำให้ประชาชนอยู่แต่ใน ที่พกั เท่านั้นและปฏิบตั ิตามค�ำแนะน�ำ ของเจ้าหน้าที่ อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ กล่าวว่า อันตรายที่สุดขณะนี้ก็คือเรื่ อง น�้ำท่วม ซึ่งไม่ได้แค่มาจากฝนที่ตกลงมา อย่างหนัก แต่ยงั รวมถึงกระแสน�้ำทะเล ที่พดั มาจากมหาสมุทรแอตแลนติก โดย เฉพาะอย่างยิง่ ช่วงน�้ำขึ้นสูงในตอนเช้า วันอาทิตย์ โดยจุดเสี่ ยงที่อาจถูกน�้ำท่วม ได้แก่ ย่านธุรกิจในเขตแมนฮัตตัน บรุ ค ลิน ควีนส์ และ ลอง ไอร์ แลนด์ ส่ วน ผูท้ ี่เป็ นเจ้าของเรื อก็หาทางผูกเรื อไว้ กับท่าเทียบเรื ออย่างหนาแน่น และเจ้า หน้าที่ของรัฐนิวเจอร์ซียแ์ ละนิวยอร์ก ได้ขอร้องประชาชนว่าอย่าเข้ามาอยูใ่ กล้ ชายหาด ส�ำหรับย่านที่ต้ งั ของตึกระฟ้ า แมนฮัตตันนั้น เจ้าหน้าที่ยนื ยันว่าคงจะ ไม่เกิดความเสี ยหายรุ นแรง

ด้านประธานาธิบดีบารัค โอบามา แห่ งสหรั ฐ ซึ่ งต้องเดิ นทาง กลับมาจากการพักผ่อนช่วงฤดูร้อน ที่เกาะมาร์ ธา ไวน์ยาร์ ด ก่อนก�ำหนด เพราะพายุเฮอริ เคนลูกนี้ ได้เดินทางไป ตรวจเยีย่ มศูนย์ปฏิบตั กิ ารของส�ำนักงาน บริ หารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิ นใน กรุ งวอชิ งตัน ได้กล่าวว่า พื้นที่ตลอด แนวชายฝั่งตะวันออก ของสหรัฐคงต้อง รอคอยไปอีกอย่างน้อย 72 ชัว่ โมง เพือ่ ดู ผลกระทบจากพายุเฮอริ เคนลูกนี้ ด้าน นายธานี ทองภักดี อธิบดี กรมสารนิเทศ และโฆษกกระทรวงการ ต่างประเทศ กล่าวถึงการด�ำเนินการให้ ความช่วยเหลือคนไทยในนครนิวยอร์ก ประเทศสหรั ฐอเมริ กา ซึ่ งประสบภัย จากพายุเฮอริ เคนไอรี น ว่า กระทรวง การต่างประเทศได้ประสานไปยังสถาน เอกอัคร ราชทูตไทย ณ กรุ งวอชิ งตัน ดี.ซี. และสถานกงสุ ลใหญ่ไทย ณ นคร นิ วยอร์ ก ให้ติดตามดูแลคนไทยอย่าง ใกล้ชิด โฆษกกระทรวงการต่าง ประเทศ กล่าวต่อว่า สถานกงสุ ลใหญ่ ไทย ณ นครนิ วยอร์ ก ได้รายงานเพิ่ม เติ มว่า ขณะนี้ ได้ประสานไปยังเครื อ ข่ายคนไทย กลุ่มแพทย์ สมาคมคนไทย ในนิวยอร์ก และวัดไทย 7 แห่ง ให้ดูแล ช่วยเหลือคนไทยในพื้นที่ และเร่ งจัดหา ที่พกั ชัว่ คราวให้ด่วน ขณะเดียวกันได้ เปิ ดบ้านพักของกงสุ ลใหญ่ฯให้เป็ น หน่วยดูแลและให้การช่วยเหลือคนไทย เป็ นการเฉพาะกิจ

3


4 วันพุธ ที่ 1 สิงหาคม 2555

the ENVIRONMENT

บทความ

ผาเดียวดายเขาใหญ่: ควรปล่อยตามยถากรรมหรือจะฟื้ นฟู ในช่วงสองสามสัปดาห์ที่ผา่ น มา มี ผูใ้ ห้ความสนใจและแสดงท่ าที ห่วงใยเกี่ยวกับการจัดท�ำเส้นทางเดิน ศึกษาธรรมชาติพร้อมลานชมทิวทัศน์ ตรงบริ เวณที่มีความเปราะบางทางนเว ศวิทยามากแห่งหนึ่งในอุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ ซึ่ งเป็ นที่รู้จกั กันในชื่อว่า "ผา เดียวดาย" จนท�ำให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืชในฐานะผูร้ ับผิด ชอบด�ำเนินการ กับปตท. สผ.ในฐานะ ผูใ้ ห้การสนับสนุนด้านทุนทรัพย์ ต้อง ชะลอโครงการไปอย่างไม่มีกำ� หนด ใน บทบาทและหน้าที่ที่ดำ� รงอยูโ่ ดยอิสระ สมาคมอุทยานแห่งชาติจึง ขอน�ำเสนอข้อเท็จจริ งต่อกรณี ดงั กล่าว พร้อมวิเคราะห์บนพื้นฐานของหลัก วิชาการที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์และ การจัด การอุ ท ยานแห่ ง ชาติ เพื่ อ ให้ เพื่อนและสมาชิกของสมาคมฯ ตลอด จนสาธารณชนที่สนใจได้รับรู ้และมี โอกาสได้ไตร่ ตรองก่อนที่จะก้าวเข้า สู่กระแสแห่งความขัดแย้งทางความ คิดโดยไม่มีขอ้ มูลหรื อข้อเท็จจริ งมา ประกอบ สภาพปั ญหาและแนวโน้ม เมื่อราว 20 หรื อ 30 ปี ก่อน ผาเดียวดาย จัดว่ามีความสมบูรณ์ทางนิเวศวิทยา อยูม่ ากเพราะนักท่องเที่ยวทัว่ ไปไม่รู้ จัก จะมีเฉพาะนักวิจยั บางกลุ่มและนัก นันทนาการทีช่ ื่นชอบความสันโดษและ อยากเรี ยนรู ้ธรรมชาติซ่ ึงก็มไี ม่มากนักที่ เข้าไปในบริ เวณนั้น กอปรกับการเดิน ทางไม่สะดวกและระยะทางค่อนข้าง

ไกลเมื่อเปรี ยบเทียบกับจุดท่องเที่ยวที่ โดดเด่ นอื่ น ๆในอุทยานแห่ งชาติ เขา ใหญ่ จึงท�ำให้สภาพป่ าดิบเขาที่บริ เวณ ผาเดี ยวดาย โดยเฉพาะลูกไม้และไม้ พื้นล่าง เช่น มอสส์ เฟิ ร์น ไลเคนส์และ พืชชั้นต�่ำชนิดอื่นๆขึ้นปกคลุมผืนดิน และแผ่นหิ นจนเขียวไปทัว่ บริ เวณใน ทุกฤดูกาล การกัดชะและพังทลายของ ดินเกิดขึ้นน้อยมาก สัตว์ป่าหลายชนิ ด โดยเฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมแม้จะ ไม่พบเห็นตัว แต่กท็ ิ้งร่ องรอยจนท�ำให้ เชื่อได้วา่ มีการออกหากินในบริ เวณนั้น อยูเ่ สมอ ต่ อ มา เมื่ อ กระแสการท่ อ ง เที่ยวทางธรรมชาติได้รับความนิยมมาก ขึ้นตามล�ำดับ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวตาม อุทยานแห่งชาติต่างๆมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างเห็นได้ชดั จากราว 3-4 ล้านคน เมื่อ 30 ปี ที่แล้ว เป็ น 15-16 ล้านคนในปี ที่ ผ่านมา เฉพาะอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ แห่ ง เดี ย ว มี นัก ท่ อ งเที่ ย วอยู่ร ะหว่า ง 7 แสนคน ถึงราว 1 ล้านคนต่อปี โดย เฉลี่ยในห้วงเวลา 10 ปี ที่ ผ่านมา เมื่อ นักท่องเที่ยวมีจำ� นวนมากขึ้น แน่นอน ว่า การกระจายตัวของนักท่องเที่ยวไป ตามจุดท่องเที่ยวต่างๆของอุทยานแห่ง ชาติ เขาใหญ่ ก็มี ปริ มาณมากขึ้ น เป็ น เงาตามตัว ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ ต่อสิ่ งแวดล้อมในรู ปแบบต่างๆ ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ความเปราะบาง และขีดความ สามารถรองรับได้ (carrying capacity) ของระบบนิเวศในบริ เวณนั้นๆ ในกรณี

สมบูรณ์ : ผืนป่ ามรกดกโลกเขาใหญ่ ทยี่ งั คงความอุดมสมบูรณ์ ของผาเดียวดาย ผลกระทบอันเนื่องมา จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยว หรื อปั ญหาที่ สังเกตได้อย่างชัดเจน 1) มีเส้นทางเดินเท้าอันเกิดจากการเดิน ลัดหรื อเดินออกนอกเส้นทางที่อุทยาน จัดท�ำให้ อยูจ่ ำ� นวนมากซึ่ งทั้งหมดเกิด จากพฤติกรรมเบี่ยงเบนของนักท่อง เที่ยวบางกลุ่ม 2) ลูกไม้ กล้าไม้ และไม้พ้ืนล่างชนิ ด ต่ า งๆ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ถู ก เหยี ย บ ย�่ำ ท�ำลาย หัก เด็ด หรื อ เก็บ กลับ บ้า น เป็ นของที่ระลึก โดยเฉพาะเฟิ ร์ นและ กล้วยไม้ป่าซึ่งนับวันจะลดน้อยถอยลง ไปเรื่ อยๆ 3) หน้ า ดิ น ตามเส้ น ทางเดิ น เท้า ถู ก กัด กร่ อ นและเตะออก ท�ำ ให้ ร ากไม้

โผล่อยูเ่ หนือพื้นดินจนลดขีดความ สามารถในการเจริ ญเติบโตของต้นไม้ ไปโดยปริ ยาย 4) เมื่อมีเส้นทางเดินเท้าเกิดขึ้นจ�ำนวน มาก ก็เป็ นสาเหตุสำ� คัญท�ำให้หน้าดิน เปิ ดรับน�้ำฝนโดยตรงเพราะขาดพืชคลุม ดิ น เมื่ อ ฝนตกก็ทำ� ให้เ กิ ด การชะล้า ง หน้าดินและถ้าฝนมีความรุ นแรงมาก ก็ ส ามารถท�ำ ให้ดิ น พัง ทลายได้ โดย เฉพาะจะรุ นแรงมากขึ้นตามบริ เวณ หน้าผา จนอาจท�ำให้ส่วนใดส่ วนหนึ่ ง ของจุดชมวิวซึ่งถูกน�้ำกัดเซาะพังตกลง ในหุ บเหว เป็ นอันตรายอย่างร้ ายแรง ต่อชีวติ ของนักท่องเที่ยวที่บงั เอิญอยูใ่ น บริ เวณนั้นตอนหน้าผา จากสภาพการที่ กล่าวข้างต้นทั้ง 4 ข้อ จึงเป็ นสาเหตุหรื อ

ที่มาของปั ญหาความเสื่ อมโทรมของ ธรรมชาติแวดล้อมบริ เวณผาเดียวดาย อย่างที่เห็นกันอยูท่ ุกวันนี้ หากปล่อยให้ สิ่ งต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นต่อไปโดยไม่มี การป้ องกันหรื อแก้ไขปั ญหาใดๆเลย ผาเดียวดายจะเสื่ อมโทรมและไร้คุณค่า ทั้งในด้านนิเวศวิทยา ความงดงามตาม ธรรมชาติ และการท่ อ งเที่ ย ว เพราะ สภาพธรรมชาติเดิมอย่างเมื่อ 20 หรื อ 30 ปี ก่อนโน้นอันตรธาณไปเกือบหมด สิ้ น มาตรการและทางเลือกในการฟื้ นฟู ธรรมชาติ แนวคิดในการฟื้ นฟูระบบ นิเวศธรรมชาติบริ เวณผาเดียวดาย ควร จะต้องยึดถือหลักและทฤษฎีของการ อนุรักษ์ธรรมชาติอย่างเข้มข้น ควบคูไ่ ป กับการเปิ ดโอกาสให้มกี ารใช้ประโยชน์ เพื่อกิจกรรมนันทนาการ พร้อมกับการ ศึกษาเรี ยนรู ้เพื่อสร้างความตระหนัก ให้แก่ผมู ้ าเยือน ซึ่ งเป็ นไปตามปรัชญา และการด�ำเนินงานในการอนุรักษ์และ จัดการอุทยานแห่งชาติที่ทวั่ โลกยอมรับ ดังนั้น การอนุรักษ์และฟื้ นฟูระบบนิเวศ บริ เวณผาเดียวดาย และเปิ ดโอกาสให้ นักท่องเที่ยวเข้าถึงผาเดียวดายได้โดย ไม่ส่งผลกระทบหรื อส่ งผลกระทบต่อ ธรรมชาติแวดล้อมน้อยที่สุด ก็โดยใช้ วิธีการควบคุมนักท่องเที่ยวที่เข้าไป ไม่ให้สมั ผัสแตะต้องกับธรรมชาติ แวดล้อมโดยตรง แต่ส่งเสริ มให้นกั ท่อง เที่ยวได้ใช้ประสาทสัมผัสอื่นๆในการ รับรู ้ ได้แก่ การมองเห็น การฟัง และการ ดมกลิ่น เป็ นหลักส�ำคัญ การจัดสร้าง

ทางเดินยกระดับจากพื้นป่ า ที่เรี ยกกันว่า "บอร์ ดวอล์ค" เชื่อมโยงจากบริ เวณริ ม ถนนกับลานหิ นตรงบริ เวณหน้าผา จึง เป็ นสิ่ งที่จะต้องด�ำเนินการอย่างปฏิเสธ ไม่ได้ และจ�ำเป็ นต้องพัฒนาลานชมวิว หรื อ "ซี นิค แพลตฟอร์ ม" ให้เชื่อมต่อ กับทางเดินยกระดับเป็ นโครงสร้างเนื้อ เดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อควบคุมและป้ องกัน ไม่ให้นกั ท่องเที่ยวเดินออกไปเหยียบ ย�่ำพื้นป่ าและเก็บเฟิ ร์ น กล้วยไม้ และ ไม้ชนิ ดอื่นๆไปเป็ นสมบัติส่วนตัว ดัง ที่กล่าวแต่แรก หากด�ำเนินการตามนี้ได้ ก็จะช่วยให้ส่ิ งแวดล้อมบริ เวณผาเดียว ดายกลับฟื้ นคืนชีวติ ด้วยตนเองตาม ธรรมชาติ และหรื อ เจ้าหน้าที่อุทยาน อาจเข้าไปช่วยฟื้ นฟู โดยการย้ายปลูก ชนิดพันธุ์ทอ้ งถิ่นเพื่อเร่ งให้ธรรมชาติ ฟื้ นตัว เร็ ว ขึ้ น สั ต ว์ป่ าบางชนิ ด ที่ เ คย อาศัยหรื อหากินอยูบ่ ริ เวณนั้น ก็อาจจะ กลับมาและช่วยท�ำให้ธรรมชาติของผา เดี ยวดาย มี ชีวิตที่ สมบูรณ์ อย่างยัง่ ยืน สื บไปนานเท่านาน เมื่อมีท้ งั ทางเดินยก ระดับและลานชมทิวทัศน์แล้ว สิ่ งที่ขาด ไม่ได้ซ่ ึงควรจะต้องด�ำเนินการไปพร้อม กัน ก็คือ การออกแบบจัดท�ำอุปกรณ์ หรื อตัวกลางสื่ อความหมายที่เหมาะสม กับบริ เวณผาเดียวดาย เพื่อเปิ ดโอกาส ให้นกั ท่องเที่ยวได้เรี ยนรู ้เรื่ องราวของ ระบบนิ เวศ และทรั พยากรธรรมชาติ บริ เวณนั้น ทั้งนี้ โดยการผูกเรื่ องเชื่ อม โยงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ ต่างๆของระบบนิเวศ

ควรหรือไม่? แบนการใช้ถงุ

ทะเลสะอาดขึ้นหรื อไม่ หรื อ รั ง แต่ ท �ำ ให้ นั ก ช้อ ปร� ำ คาญใจ และ ท�ำร้ายโรงงานที่ใช้ถุงรี ไซเคิลผลิตสิ่ ง ต่างๆ เช่น เสารั้ว ค�ำถามเหล่านี้อ้ืออึงอยูใ่ นงาน ประชุมในออสติน เทกซัส เมื่อเร็ วๆ นี้ เพื่อหาข้อสรุ ปว่า ควรแบนถุงพลาสติก ในวงกว้างหรื อไม่ รอนนี โวลเคนิ ง ประธาน สมาคมผูค้ า้ ปลีกเทกซัส วิพากษ์วา่ ข้อ เสนอดังกล่าวเป็ นกฎเผด็จการและเตือน ว่า จะท�ำให้เกิดความวุน่ วายและสับสน กับผูบ้ ริ โภค แต่ โรบิน ชไนเดอร์ กรรมการ บริ หารเทกซัส แคมเปญ ฟอร์ เอนไวรอนเมนท์ โต้วา่ ถุงพลาสติก ปลิวว่อนไปทัว่ และกลายเป็ นอาหาร ของสัตว์บางชนิ ด ดังนั้น การแบนจึง เป็ นประโยชน์ต่อสิ่ งแวดล้อม การตอบโต้กนั ไปมาแบบนี้มี ให้ได้ยนิ มากขึ้นทัว่ โลก ปั จจุบนั หลาย ประเทศ เช่น จีน ไอร์แลนด์ และหลาย เมือง อาทิ เม็กซิ โก ซิ ตี แบนหรื อเก็บ ภาษีถุงพลาสติกแล้ว ต้นสัปดาห์ที่ผา่ น มา เจ้าหน้าที่ในซาน- ฟรานซิ สโกลง มติขยายมาตรการแบนถุงพลาสติก และ ก�ำหนดให้ผซู ้ ้ื อต้องจ่ายค่าถุงใบละ 10 เซ็นต์ ปั ญหานี้เป็ นที่สนใจของ กรรมาธิการยุโรปเช่นเดียวกัน โดยคาด ว่าจะมีการออกรายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับ ขยะจากพลาสติกในเร็ วๆ นี้ ผลส�ำรวจ ของกรรมาธิ การฯ ที่เผยแพร่ เมื่อเดือน พฤศจิกายนปี ที่แล้วพบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามราว 78% จากกว่า 15,000 คน สนับสนุ นความ พยายามสหภาพยุโรป (อีย)ู ในการลด

การใช้ถุงพลาสติก และส่ วนใหญ่เห็น ด้วยให้แบนถุงพลาสติกไปเลย เจเนซ โปท็อกนิก กรรมาธิการ ยุโรปจากสโลวีเนีย แสดงกังวลกับ "ซุป พลาสติก" ในมหาสมุทร หรื อการสะสม ของพลาสติกก้อนเล็กๆ ที่เพิ่มจ�ำนวน ขึ้นอย่างมาก ขณะนี้ หลายชาติ ในยุโรปมี การเรี ยกเก็บภาษีในบางรู ปแบบ หรื อใช้ นโยบายอื่นๆ เพือ่ ลดการใช้ถงุ พลาสติก คริ ส แคร์รอล จากซีส์ แอต ริ สก์ กลุ่ม อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในบรัสเซลส์ ที่เรี ยก ร้องให้แบนถุงพลาสติกทัว่ อียู ชี้วา่ แต่ละ ปี ชาวยุโรปใช้ถุงพลาสติกเฉลี่ยคนละ 500 ใบ และหลายคนใช้ถุงเพียงครั้ง เดียวแล้วทิ้ง ทว่ า อุ ต สาหกรรมการผลิ ต พลาสติกคัดค้านการเรี ยกเก็บภาษี หรื อ การแบนทัว่ อี ยู โธมัส โบเวนส์ โฆษกกลุ่มกลาสติกส์ยโุ รป ระบุวา่ ถุง พลาสติกเป็ นภาชนะใส่ สินค้าที่ยง่ั ยืน และใช้พลังงานต�่ำ แต่ปัญหาที่แท้จริ ง อยูท่ ี่การทิง้ ขยะอย่างไร้ความรับผิดชอบ และการขาดจิตส�ำนึกต่อคุณค่าของถุง พลาสติก ดัง นั้น วิธี แ ก้ปั ญ หาคื อ การ ก�ำหนดราคาขายปลีกถุงพลาสติกที่ หลายประเทศใช้อยู่ หรื อการให้โบนัส ในบัต รสมาชิ ก หากลู ก ค้า ไม่ รั บ ถุ ง พลาสติก ส�ำหรับที่ที่กำ� ลังพิจารณา การแบนหรื อการเรี ยกเก็บภาษีจากถุง พลาสติก ค�ำถามส�ำคัญคือ การด�ำเนิ น การดังกล่าวจะมีผลต่อสิ่ งแวดล้อม พฤติ ก รรมผูบ้ ริ โ ภค และกลุ่ ม ที่ บ อก ว่าจะได้รับผลกระทบร้ายแรงหากใช้ นโยบายนี้หรื อไม่อย่างไร

งานวิจยั ชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ ในวารสารเอนไวรอนเมนทัล แอนด์ รี ซอร์ส อิโคโนมิกส์และอ้างอิงรายงาน จากปี 2007 พบว่า การเรี ยกเก็บภาษี 0.20 ดอลลาร์ต่อถุง 1 ใบในปี 2002 ส่ งผลอ ย่างชัดเจนในไอร์แลนด์ โดยท�ำให้การ ใช้ถุงพลาสติกลดลงถึง 94% นักวิจยั ยังพบว่า ผูค้ า้ ปลีกมักมี ท่าทีเป็ นกลางหรื อสนับสนุนการแบน เนื่องจากต้นทุนการด�ำเนินการลดลง เพราะสามารถลดการซื้อถุงพลาสติก ขณะที่ผซู ้ ้ือพึงพอใจกับนโยบายนี้เช่น กัน อย่างไรก็ตาม นโยบายต่างๆ มี ความหลากหลายในแต่ละสถานที่ เช่น เดียวกับหลักฐานยืนยันความส�ำเร็ จ ปี 2008 ก่อนปักกิ่ง โอลิมปิ กไม่นาน จีนสัง่ แบนถุงพลาสติกแบบบางพิเศษ รวมถึง ห้ามซูเปอร์มาร์เกตและตลาดกลางแจ้ง แจกถุงพลาสติกฟรี ทอม หวัง ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ าย สื่ อสารของกรี นพีซประจ�ำเอเชียตะวัน ออก เผยว่ า นโยบายดัง กล่ า วได้ผ ล เพราะท�ำให้คนมากมายน�ำถุงไปเองเมื่อ จับจ่าย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ อย่างไรก็ตาม หวังส�ำทับว่า การตรวจสอบเพื่อบังคับใช้นโยบาย นี้ ยงั อ่อนแอ ผลลัพธ์คือ ในตลาดท้อง ถิ่ น หลายแห่ ง โดยเฉพาะตลาดสด ถุงพลาสติกบางเฉี ยบยังมีใช้กนั อยู่ และมีการแจกถุงพลาสติกแบบอื่นๆ ฟรี นอกจากนั้น หนึ่ ง ในแง่ มุ ม ที่ น่ า ประหลาดใจในการแบนถุงพลาสติก อาจเป็ นสถานที่ต่างๆ ที่นโยบายนี้หยัง่ ราก โดยจะเห็นได้วา่ นโยบายนี้ ไปได้ ดีในพื้นที่ที่มีจิตส�ำนึกด้านสิ่ งแวดล้อม เช่น แคลิฟอร์เนียและยุโรป


the ENVIRONMENT

วันพุธ ที่ 1 สิงหาคม 2555

5

ท่องเที่ยว

"ภูเก็ตไข่มกุ แห่งอั นดามัน" เดื อ นพฤศจิ ก ายน เป็ นช่ ว ง ปลายของฤดูฝน ทะเลฝั่งอันดามันก็จะ ถึงฤดูกาลท่องเที่ยว นี่เป็ น ครั้งที่ 2 ที่ผม ได้มาเที่ยวทะเลแดนใต้ ครั้งแรกที่ผมได้ สัมผัสกับทะเลอันดามันก็ก่อนหน้าที่ จะเกิดเหตุแผ่นดินไหวที่เกาะสุ มาตรา ท�ำให้เกิดคลื่นยักษ์สึนามิสกั 2-3 อาทิตย์ ถ้าผมคิดช้าอีกสักนิดก็คงไม่ได้ มาเขียน เรื่ องต่างๆให้คณ ุ ได้อา่ นกันแล้วหละ แต่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมันจะท�ำให้เกิดการ สู ญเสี ย และน่ากลัวเพียงใดก็ไม่ทำ� ให้ ผมลืมภาพอีกด้านที่งดงามของทะเลฝั่ง นี้ ไปได้ ผมไม่เคยกลัวทะเล ผมชอบ ทะเล ถ้าจะเกิดอะไรขึ้นอีกก็ไม่เป็ นไร ขอได้สะใจอีกซักที ผมเลือกที่จะมาสัมผัสไข่มุก แห่ งอันดามันแห่ งนี้ ภูเก็ตเป็ นเมืองที่ สวยงาม มีอาคารเก่าแก่แบบ ชิโน-โป ตุกีส และมีทะเลที่สดใส ผมเลือกพักที่รี สอท์แห่งหนึ่ง ซึ่งอยูห่ ่างจากชายหาดป่ า ตองประมาณซัก 300 เมตร เป็ นรี สอท์ที่ สวยงามพอใช้ได้ทีเดียว หลังจากเช็คอิน

เรี ยบร้อย ผมเลือกที่จะนอนเอาแรง เพือ่ จะได้สมั ผัสแสงสี ยามค�่ำคืนของหาดป่ า ตองว่าเป็ นยังไง เวลา 18.30 น.เป็ นเวลา นัดกับเพือ่ นผอง หลังจากอาบน�้ำแต่งตัว เสร็ จพวกเราก็เดินเท้าชมทะเล เดินผ่าน ร้านต่างๆไปเลื่อยๆสิ่ งที่พอสังเกตเห็น ได้ชดั ท�ำไมไม่มีคนไทยเลย ค�ำเชิญชวน ของบริ กรก็พดู กับเราแต่ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่นบ้าง เกาหลีบา้ ง หน้าผมก็ไม่ได้ กระเดียดไปทางนั้นเลย ออกจะไปทาง แขกๆบ้างด้วยซ�้ำ ถ้าเพื่อนผมก็อาจจะ ใช่ ผมว่า บรรยากาศของที่นี่กค็ ล้ายๆกับ พัทยา แต่ออกจะดูหรู หราและมีรสนิยม มากกว่า เนื่องจากค่าครองชีพที่นี่สูงมาก หลังจากอิ่มกับบรรยากาศจนจุใจแล้ว ผมก็ตอ้ งขอกลับที่พกั เพื่อที่จะเตรี ยม ตัวกับทัวร์ในตอนเช้า ที่จะมารับเราใน เวลาเจ็ดโมงตรง วันนี้รู้สึกจะสดใสเป็ นพิเศษ เพราะได้นอนเต็มที่ โปรแกรมวันนี้คือ เกาะเฮ ไกล์บอกเราว่าที่นี่มีปะการังที่ สวยงามและสมบูรณ์แห่ งหนึ่ ง มีปลา

หลากหลายชนิด ปลาดิบก็แยะ งงไหม ครับปลาดิบก็แยะ ก็สาวๆญี่ปุ่นไงครับ นิยมที่จะมาเที่ยวที่เกาะเฮแห่งนี้เป็ นชา ติตน้ ๆเลย ผมตื่นเต้นที่จะได้เห็นปลา ดิบ เอ้ยไม่ใช่ ปะการังต่างหาก แต่ใน กรุ๊ บทัวร์ของเราก็มีปลาดิบอยูห่ ลายตัว เหมือนกัน หุ หุ! เมื่อเรื อ speed boat มา ถึงเกาะเฮ ใช้เวลาประมาณ 40 นาที ไกล์ ก็บอกให้เราลงด�ำดูปะการังได้ ผมไม่ รอช้ารี บลงจากเรื อแทบจะเป็ นคนแรก ทะเลที่ นี่ใสมาก ปะการั งก็สมบูรณ์ ดี แต่กย็ งั พอให้เห็นซากปะการังเขากวาง แตกหักอยูบ่ า้ ง แต่ก็ไม่มากนัก ปลาที่ นี่ ส่วนใหญ่จะเป็ นปลาโนรี ปลาผีเสื้ อ ปลานกแก้ว แต่ผมชอบปลาปักเป้ าหน้า หมานะ เพราะว่าหน้าเหมือนไกล์ของ เราดี หลังจากชุ่มช�่ำกับเกาะเฮเราก็ต่อ ด้วยเกาะราชา นัง่ เรื อไปอีกไม่กี่นาทีเรา ก็มาถึง ไกล์ของเราเอาขนมปั งโยนลง ไป โอ้พระเจ้า! ผมนึ กไปถึงปลาสวาย ตามหน้าวัด มันเยอะมากๆ แต่นี่มนั ใน ทะเล ปลาเสื อทะเลทัง่ นั้น ปลานกแก้ว

ก็มี ผมอยากจะกระโดดลงไปในฝูงปลา นั้นจริ งๆ ทะเลที่ นี่ใสไม่ แพ้ที่เกาะเฮ เลย ปะการังส่ วนใหญ่เป็ นปะการังแข็ง ปะการังจานส่ วนปะการังเขากวางผม ไม่เห็นเลย เห็นกุง้ มังกรด้วย แต่มีแต่หวั เพราะเจ้าปลานกแก้วก�ำลังแถะอยู่ ปลา โนรี ปลาผีเสื้ อ เจอกันอี กแล้วเจ้าปั ก เป่ าหน้าหมา แต่ที่ทำ� ให้ผมตื่นเต้นเป็ น พิเศษก็เจ้าปลาไหล มอร์เลย์ตวั สี น้ ำ� ตาล เข้มที่มนั จองมองผม ซักพักมันก็วา่ ยหนี ไป โอ้โฮ จากสายตาที่ผมเห็นตัวมันน่า จะยาวซัก 2 เมตร ใหญ่จริ งๆ ถ้าผมรู ้วา่ มันตัวขนาดนี้ ผมโกยขึ้นเรื อตัง่ แต่แรก แล้วโชคดีที่มนั หนี ไปซะก่อน เมื่อได้ เวลาพวกเราก็ตอ้ งขึ้นเรื อเพือ่ จะเดินทาง กลับเข้าฝัง ผมใช้เวลาอยู่ในภูเก็ต 4 วัน 3 คืน ผมยังเทียวได้เพียงเศษเสี้ ยวของ แหล่งท่องเทียวที่นี่ ถ้ามีโอกาศอีกเมื่อ ไหร่ ดินแดนไข่มุขแห่ งอันดามันแห่ ง นี้ตอ้ งได้เจอกับผมอีกแน่

งดงาม:ท้ องทะเลสี ฟ้าตัดกับหมูแมกไม้

ตื่นตา:นักท่ องเที่ ยวด�ำน�ำ้ ชมปะการั งท่ ามกลางหมูปลานกแก้ ว


6


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.