เนื้อเยื่อพืช

Page 1

เนือ้ เยือ่ พืช

เนื้อเยือ่ พืชที่ประกอบกันเป็ นโครงสร้างส่ วนต่างๆ ของพืชแบ่งเป็ นหลายประเภท เช่น แบ่งตามความ สามารถในการแบ่งเซลล์ หน้าที่ ลักษณะโครงสร้าง หรื อตามตำาแหน่งที่อยู่ ถ้าจำาแนกตามความสามารถใน การแบ่งเซล์จะแบ่งเนื้ อเยือ่ พืชเป็ น 2 ประเภท คือ 1. เนื้อเยือ่ เจริ ญ (Meristem tissue) 2. เนื้อเยือ่ ถาวร (Permament tissue)

เนื้อเยือ่ เจริ ญ (Meristem tissue)

เนื้อเยือ่ เจริ ญเป็ นเนื้ อเยือ่ ที่สามารถแบ่งตัวได้ มักมีรูปร่ างเป็ นสี่ เหลี่ยมขนาดเล็ก ผนังเซลล์บาง นิวเคลียส ใหญ่ เด่นชัด แวคิวโอลขนาดเล็ก เซลล์อยูช่ ิดกัน ซึ่งเราสามารถแบ่งประเภทของเนื้ อเยือ่ เจริ ญอกเป็ น 3 ประเภท ตามตำาแหน่ง 1.เนื้อเยือ่ เจริ ญส่วนปลาย (Apical meristem) : เนื้อเยือ่ ประเภทนี้ พบอยูบ่ ริ เวณปลายยอด ปลายราก และตา เนื้อเยือ่ ปลายยอด

เนื้อเยือ่ ปลายราก


2.เนื้อเยือ่ เจริ ญด้านข้าง (Laterral meristem) : จะพบหลังจากมีการเจริ ญขั้นที่สอง เป็ นเซลล์รูปร่ างสี่ เหลี่ยม ผืนผ้า ผนังเซลล์บาง เรี ยงตัวเป็ นระเบียบ แบ่งเป็ น 2 ชนิด 1) วาสคิวลาร์ แคมเบียม : แทรกอยูร่ ะหว่าง ไซเลม และโฟลเอ็ม มีหน้าที่ สร้าง secondary xylem และ secondary pholem พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด 2) คอร์ ก แคมเบียม : ทำาหน้าที่สร้างคอร์ก เพื่อทำาหน้าที่แทนเซลล์เอพิเดมิส วาสคิวลาร์ แคมเบียม คอร์ ก แคมเบียม


3.เนื้อเยือ่ เจริ ญ เหนือข้อ(Intercalary meristem) : เนื้อเยือ่ เจริ ญชนิดนี้ จะอยูบ่ ริ เวณเหนือข้อของพืชใบเลี้ยง เดี่ยว ทำาให้ปล้องยืดยาวขึ้น ซึ่งมีฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเข้ามาเกี่ยวข้อง เนื้อเยือ่ เจริ ญเหนือ ข้อ

เนื้อเยือ่ ถาวร

เนื้อเยือ่ ถาวร คือ เนื้อเยือ่ พืชซึ่งประกอบด้วยเซลล์ที่แบ่งตัวไม่ได้ และมีรูปร่ างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง กล่าวคือ จะคงรู ปร่ างลักษณะเดิมไว้ตลอดชีวิตของส่วนนั้น ๆ ของพืชเนื้อเยือ่ ชนิดนี้เจริ ญเติบโต และเปลี่ยนแปลงมา จากเนื้อเยือ่ เจริ ญเพื่อทำาหน้าที่ต่าง ๆ กันจนเซลล์น้ ี รูปร่ างเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มี Vacuole และ cell wall ก็ เปลี่ยนแปลงไปสุดแท้แต่วา่ จะกลายไปเป็ นเนื้ อเยือ่ ถาวรชนิดไหน ซึ่งโดยมากมักมีสารประกอบต่าง ๆ ไป สะสมบน cell wall ให้หนาขึ้นเพื่อให้เกิดความแข็งแรง ชนิดของเนื้ อเยือ่ ถาวร เมื่อจำาแนกตามลักษณะของเซลล์ที่มาประกอบกันจำาแนกได้เป็ น 2 ชนิด คือ 1. เนื้อเยือ่ ถาวรเชิงเดี่ยว เป็ นเนื้อเยือ่ ถาวรที่ประกอบด้วย เซลล์ชนิดเดียวกันล้วน ๆ จำาแนกออกเป็ น หลายชนิด คือ Epidermis Parenchyma Collenchyma Sclerenchyma Coke Secretory tissue 2. เนื้อเยือ่ ถาวรเชิงซ้อน เป็ นเนื้อเยือ่ ถาวรที่ประกอบขึ้นด้วย เซลล์หลายชนิดอยูร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ก้อน เพื่อทำางานร่ วมกัน ประกอบขึ้นด้วย 2 กลุ่มด้วยกันคือ Xylem และ Phloem ซึ่งจะอยูร่ วมกัน เป็ นกลุ่มใหญ่ที่เรี ยกว่า Vascular bundle หรื อ Vascular tissue นัน่ เอง เนื้อเยือ่ ถาวร เชิงเดี่ยว Epidermis เป็ น simple tissue ที่อยูผ่ ิวนอกสุดของส่ วนต่าง ๆ ของพืช (ถ้าเปรี ยบกับตัวเรา ก็คือ หนังกำาพร้า นัน่ เอง) เป็ นเซลล์ที่มีชีวิต เมื่อโตเต็มที่แล้ว จะมี Vacuole ขนาดใหญ่ จนดัน protoplasm ส่ วนอื่น ๆ ให้ร่นไป อยูท่ ี่ขอบเซลล์หมด


หน้าที่ของ epidermis - ช่วยป้ องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยือ่ ที่อยูข่ า้ งใน และช่วยเสริ มสร้างความแข็งแรงด้วย ำ ำ ให้ซึมเข้าไป - ช่วยป้ องกันการระเหย (คาย) น้าำ (เพราะถ้าพืชเสี ยน้าไปมากจะเหี ่ ยว) และช่วยป้ องกันน้าไม่ ำ ข้างในด้วย (เพราะถ้าได้รับน้ามากเกิ นไป จะเน่าได้ ) - ช่วยในการแลกเปลี่ยนแก๊สทั้งไอน้าำ คาร์บอนไดออกไซด์ และออกซิเจน โดยทางปากใบ ำ - ช่วยดูดน้าและเกลื อแร่ epidermis คือบริ เวณกลมๆใสๆด้านบน

Parenchyma เป็ น Simple tissue ที่ประกอบด้วย Parenchyma Cell ซึ่งเป็ นเซลล์พ้ืนทัว่ ๆ ไป และพบมาก ำ มาก เช่น ในชั้น Cortex และ Pith ของรากและลำาต้น ที่สุดในพืชโดยเฉพาะส่วนที่อ่อนนุ่มและอมน้าได้ Parenchyma cell เป็ นเซลล์ที่ยงั มีชีวิตอยู่ มีรูปร่ างหลายแบบ แต่ส่วนใหญ่ทรงกระบอกกลม หรื อทรง กระบอกเหลี่ยมด้านเท่า อาจกลมรี มี cell wall บาง ๆ หน้าที่ Parenchyma - ช่วยสังเคราะห์แสง - สะสมอาหาร (พวกแป้ ง โปรตีน และไขมัน ) น้าำ ำ นที่มีกลิ่นหอมหรื ออื่น ๆ ตามแต่ชนิดของพืชนั้น ๆ - สร้างน้ามั - บางส่ วนช่วยทำาหน้าที่หายใจ


เนื้อเยือ่ พาเรงคิมา

Collenchyma เป็ น Simple tissue ที่ประกอบด้วย Collenchyma cell พบมากในบริ เวณ Cortex ใต้ epidermis ลงมา ในก้านใบ เส้นกลางใบ เป็ นเซลล์ที่ยงั มีชีวิตอยู่ เซลล์อดั แน่น ขนาดของเซลล์ส่วนมากเล็ก หน้าตัดมัก เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมแต่ยาวมาตาม ความยาวของต้น และปลายทั้งสองเสี้ ยมหรื อตัดตรง หน้าที่ของ Collenchyma - ช่วยทำาให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยูไ่ ด้ - ช่วยป้ องกันแรงเสี ยดทานด้วย Sclerenchyma เป็ น Simple tissue ที่ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ซ่ ึ งมีลกั ษณะทัว่ ๆ คือ เป็ นเซลล์ที่ตายแล้ว (ตอน เกิดใหม่ ๆ ยังมีชีวิตอยูแ่ ต่พอโตขึ้น Protoplasm ก็ตายไป ) เซลล์วอลหนามากประกอบขึ้นด้วยเซลล์ลูโลส และลิกนิก เนื้อเยือ่ ชนิดนี้แข็งแรงมากจัดเป็ นโครงกระดูกของพืช Sclerenchyma จำาแนกออกได้เป็ น 2 ชนิดตามรู ปร่ างของเซลล์ คือ 1. Fiber เรามักเรี ยกว่าเส้นใย ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว มีลกั ษณะเรี ยวและยาวมากปลายทั้งสองเสี้ ยม หรื อค่อนข้างแหลม มีความเหนียวและยึดหยุน่ ได้มากจะเห็นได้จากเชือกที่ทาำ จากลำาต้นหรื อใบของพืช ต่าง ๆ หน้าที่ของ Fiber - ช่วยให้ความแข็งแรงแก่พืช - ช่วยพยุงลำาต้นให้ต้ งั ตรงและแข็งแรง และให้ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของ คนมาก เช่น พวกเชือก เสื้ อผ้า ฯลฯ ก็ได้มาจากไฟเบอร์ ของพืชเป็ นส่วนใหญ่ 2. Stone cell ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว มีลกั ษณะคล้ายกับไฟเบอร์ แต่เซลล์ไม่ยาวเหมือนไฟเบอร์ เซลล์ อาจจะสั้นกว่าและป้ อม ๆ อาจกลมหรื อเหลี่ยมหรื อเป็ นท่อนสั้น ๆ รู ปร่ างไม่แน่นอน พบอยูม่ ากตามส่ วน แข็ง ๆ ของพืช โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตามเปลือกของเมล็ดหรื อผลไม้ เช่น กะลามะพร้าว เมล็ดพุทรา เมล็ด แตงโม หรื อ ในเนื้อของผลไม้ที่เนื้ อสาก ๆ เช่น เสี้ ยนในเนื้อของลูกสาลี่ เนื้อน้อยหน่า ฝรั่ง หน้าที่ของ Stone cell - ช่วยให้ความแข็งแรงแก่ส่วนต่าง ๆ ของพืช (เพราะเป็ นเซลล์ที่แข็งมาก)


Cork เป็ นเนื้อเยือ่ ชั้นนอกสุด ของลำาต้นและรากใหญ่ ๆ ที่แก่แล้ว ของไม้ยนื ต้น เซลล์ของคอร์ก มีลกั ษณะคล้ายพาเรนไคมาเซลล์ แต่ผนังหนากว่ามีท้ งั ไพมารี และเซคันดารี วอลล์ และตาม ปกติจะไม่มีพิตเลย เนื้อเยือ่ คอร์ก มีแต่เซลล์ที่ตายแล้ว ต้นไม้บางชนิดมีคอร์ก หุ ม้ หนามาก จนบางทีเราลอกเอามาทำาจุกขวดหรื อแผ่นไม้คอร์ กนัน่ เอง คอร์ กยังพบที่ โคนก้านใบขณะที่ใบกำาลังจะร่ วง และแผลเป็ นตามลำาต้น หน้าที่ของคอร์ก - ช่วยป้ องกันการระเหยของน้าำ ป้ องกันความร้อน ความเย็น และอันตรายต่าง ๆ จากภายนอก เนื้อ เยือ่ ถาวรเชิงซ้อน Xylem ำ นทรี ย สารและวัตถุดิบเป็ นสารละลาย รวมทั้ง Xylem เป็ น complex tissue ซึ่งทำาหน้าที่เป็ นท่อลำาเลียงน้าอนิ แร่ ธาตุ ๆ จากรากขึ้นข้างบนไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช การลำาเลียงแบบนี้ เรี ยกว่า Coonduction ำ นเสริ มความแข็งแรงให้แก่ส่วนต่าง ๆ ของพืชอีกด้วย นอกจากนี้แล้ว ไซเลม ยังมีหน้าที่ช่วยค้าจุ

Tracheid เป็ นเซลล์เดี่ยว ๆ ยาว ๆ ซึ่งเมื่อเจริ ญเต็มที่แล้วจะตายไป และโพรโทพลาซึมจะสลายไป ทำาให้ตรง กลางกลายเป็ นช่องลูเมน ( lumen ) ใหญ่ เซลล์มีรูปร่ างทรงกระบอกกลมหรื อเหลี่ยมปลายทั้งสองค่อนข้าง แหลม เทรคีด พบอยูม่ ากในพืชพวก เฟิ ร์น และสนภูเขา ำ หน้าที่ของเทรคีต ทำาหน้าที่เป็ นท่อลำาเลียงน้าและเกลื อแร่ ซึ่งจะลำาเลียงไปทางข้าง ๆ และจะ ลำาเลียงได้ดีเมื่อ ำ นส่ วนต่าง ๆ ของพืชอีกด้วย เพราะมีผนังที่แข็ง เซลล์ตายแล้ว นอกจากนี้เทรคีตยังช่วยค้าจุ Vessel member เวสเซลล์ เมมเมอร์ เป็ นเซลล์เดี่ยวๆ ซึ่งเมื่อเจริ ญเต็มที่แล้วจะตายไปและ โพรโทพลาซึมตรงกลางสลายไป กลายเป็ น ช่องลูเมนใหญ่ เวสเซลล์ เมมเมอร์ หลายๆ เซลล์เมื่อมาต่อกันเข้าเป็ นท่อยาว และมีผนังกันห้องตาม ขวาง หรื อ เอน วอลล์ (end wall) ขาดไป ก็จะกลายเป็ นท่อกลางยาว หน้าที่ของเวสเซลล์ เมมเมอร์ เป็ นท่อลำาเลียงน้าำ และเกลือแร่ เช่นเดียวกับ เทรคีด แต่ส่วนใหญ่ลาำ เลียงขึ้นไป ำ น ตรง ๆ ไม่ได้ช่วยทำาหน้าที่ในการค้าจุ


Xylem Parenchyma cell เป็ นเซลล์ที่ยงั มีชีวิตอยู่ เรี ยงตัวกันอยูใ่ นแนวตั้งตามความยาวของต้นไม้ มีลกั ษณะและรู ปร่ างคล้ายกับ พา เรนไคมา ทัว่ ๆ ไป ำ นอื่น ๆ และยังทำาหน้าที่ลาำ เลียงน้าำ หน้าที่ของ Xylem Parenchyma cell ทำาหน้าที่สะสมอาหารพวกแป้ ง น้ามั และเกลือแร่ ได้ดว้ ย Xylem Fiber เป็ น fiber เปลี่ยนแปลงมาจาก tracheid อีกทีหนึ่ง เพื่อทำาหน้าที่คาจุ ้ ำ นช่วยเหลือ เวสเซลล์ เป็ นเซลล์ที่มีรูปร่ าง ยาว ๆ แต่ยงั สั้นกว่าไฟเบอร์ธรรมดาทัว่ ๆ ไป มีปลายเสี้ ยม Phloem เป็ น คอมเพล็ก ทิชชู ซึ่งทำาหน้าที่เป็ นท่อลำาเลียงอาหาร จำาพวกอินทรี ยสาร ซึ่งพืชปรุ งขึ้นหรื อสังเคราะห์แสง ได้จากใบและส่วนอื่น ๆ ที่มีคลอโรฟิ ลล์ ไปยังส่ วนต่าง ๆ ของพืช การลำาเลียงอาหารที่ปรุ งขึ้นเองของโฟลเอ็ มนี้เรี ยกว่า Translocation Sieve Tube Member เป็ นเซลล์ที่ยงั มีชีวิตอยู่ มีรูปร่ างทรงกระบอกยาว ปลายทั้งสองเสี้ ยม ประกอบขึ้นด้วยโพรโทพลาสซึม เมื่อ เซลล์ได้รับอันตราย โพรโทพลาสซึมทั้งหมด จึงมักหดตัวอยูต่ รง กลางเซลล์ ซีฟทิว เมมเบอร์ที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่ ๆ หรื อที่ยงั อ่อนอยูจ่ ะมีนิวเคลียสอยูด่ ว้ ย แต่พอเจริ ญเต็มที่แล้ว นิวเคลียสก็สลายไป โดยที่เซลล์ยงั มีชีวิตอยู่ หน้าที่ของซีฟทิว เมมเบอร์ เป็ นหลอดหรื อท่อสำาหรับลำาเลียงอาหารโดยตรง ดังนั้นจึงนับว่าเป็ นเซลล์ที่ สำาคัญที่สุดของโฟลเอม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.