SAR63

Page 1

มคอ. 3

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา โปรแกรมวิชา/คณะ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โปรแกรมวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 210111

อักษรจีน (Chinese Calligraphy)

2. จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาวิชาภาษาจีน หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเอกบังคับ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ดร. พชรมน ซื่อสัจลือสกุล ผูส้ อน /กลุ่มเรียน P1,P2 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563/ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ภาษาจีน 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน ห้องเรียน 9.14.10 และ 31.05.03 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 23 พฤศจิกายน 2563

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา (1) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมา และวิวัฒนาการตัวอักษรในภาษาจีนอย่างสังเขป (2) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและอธิบายเกีย่ วกับทฤษฎีการสร้างตัวอักษรจีน และโครงสร้างตัวอักษรจีน (3) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียน และสามารถเขียนตัวอักษรจีนได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้ผู้เรียนรู้ความหมายของคำศัพท์พื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน อย่างน้อย 1500 คำ


2 2. จุดประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา มีการเพิ่มเนื้อหาเรื่อง ทฤษฎีพื้นฐานของการสร้างตัวอักษรจีน 6 ประการ (制造汉字的基本理论---六 书) เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ และจดจำอักษรจีนได้แม่นยำยิ่งขึ้น

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ 1. คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างตัวอักษรจีน อักษรเดี่ยว อักษรผสม หลักการเขียนอักษรจีน การเขียนอักษรให้ถูกต้อง การจดจำตัวอักษร จีนที่ใช้บ่อย 2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (1) บรรยาย 30 คาบเรียน (2x15) คาบเรียน (2) สอนเสริม สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะรายที่ห้องปฏิบัติการภาษาจีน (3) การฝึกปฏิบัติ 30 คาบเรียน (2x15) คาบเรียน (4) การศึกษาด้วยตนเอง 75 คาบเรียน (5x15) คาบเรียน 3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล อาจารย์ประจำวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือกลุม่ ตามความต้องการ โดยจะประกาศให้คำปรึกษา ทางแอปพลิเคชัน่ Line และให้คำปรึกษาทางวิชาการ ด้านเนื้อหาของบทเรียนผ่านหลายช่องทาง เช่น E-mail Facebook และทางโทรศัพท์ เป็นต้น

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1.1 ผลการเรียนรู้ 1.2 ความรับผิดชอบ ทีต่ ้องพัฒนา 1. ซื่อสัตย์สจุ ริตต่อตนเอง ●1. ซื่อสัตย์สุจริตต่อ และผู้อื่น ตนเองและผู้อื่น 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา ●2. มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและ ปฏิบัติตามกฎระเบียบและ ข้อบังคับขององค์กรและ ข้อบังคับขององค์กรและ สังคม สังคม 3. ตระหนักในคุณค่าและ คุณธรรมจริยธรรม เสียสละ อดทน มีจิตอาสา 4. ยอมรับความเป็น ประชาธิปไตย ความ

1.3 วิธีการสอน 1) การบรรยายพร้อม ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับประเด็นทาง จริยธรรม 2) กำหนดวันและเวลาให้ นักศึกษาส่งงานที่ได้รับ มอบหมาย

1.4 วิธีการประเมินผล 1) สังเกตพฤติกรรมการ ช่วยเหลืออาจารย์และเพื่อน ร่วมชั้นเรียน รวมถึงการ คัดลอกชิ้นงานของ นักศึกษา 2) บันทึกพฤติกรรมการเข้า เรียน การแต่งกาย การตรง ต่อเวลา ความรับผิดชอบ


3 ยุติธรรม ความเท่าเทียมกัน ทางสังคม

2. ด้านความรู้ 2.1 ผลการเรียนรู้ ที่ต้องพัฒนา ●1. มีความรู้และความ เข้าใจเกีย่ วกับหลักการและ ทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา ●2. มีความสามารถในการ อธิบายความรู้เกีย่ วกับ หลักการและทฤษฎี 3.สามารถวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้ ทักษะไปใช้ ในการพัฒนาการเรียน ภาษาจีนได้ 4.มีความใฝ่รเู้ ข้าใจและ สนใจพัฒนาความรู้ ความ ชำนาญทางภาษาจีนอย่าง ต่อเนื่อง

2.2 ความรับผิดชอบ

2.3 วิธีการสอน

2.4 วิธกี ารประเมินผล

1.มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี ที่สำคัญในรายวิชาอักษรจีน 2.สามารถอธิบายความรู้ เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี

1) การบรรยาย อภิปราย ผ่านสื่อต่างๆ เช่น เอกสาร ประกอบการสอน ppt และ เว็บไซด์ทเี่ กี่ยวข้องกับ ตัวอักษรจีน 2) มอบหมายงานเดี่ยว/ กลุ่ม ให้นักศึกษาสืบค้นและ รวบรวมอักษรจีนอักษร เดี่ยว อักษรผสม เป็นต้น

1) การสอบย่อย สอบกลาง ภาค สอบปลายภาค การ สอบปฏิบัติ 2) ความถูกต้องของ แบบฝึกหัด

3.3 วิธกี ารสอน

3.4 วิธีการประเมินผล

1) การบรรยายอภิปราย หลักการเขียนอักษรจีนโดย ใช้สื่อการเรียนการสอนที่ หลากหลาย เช่น เอกสาร ประกอบการสอน ppt รายงานวิจัย และเว็บไซด์ที่ เกี่ยวข้องกับตัวอักษรจีน 2) มอบหมายงานเดี่ยว/ กลุ่ม

1) การสอบย่อย สอบกลาง ภาค สอบปลายภาค การ สอบปฏิบัติ 2) ความถูกต้องของ แบบฝึกหัด และความถูก ต้องของข้อมูลทีไ่ ด้นำเสนอ หน้าชั้นเรียน

3. ด้านทักษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรียนรู้ 3.2 ความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา ●1. สามารถค้นหาความรู้ 1. สามารถค้นหาความรู้ ข้อมูล และประเมินความ ข้อมูล และประเมินความ ถูกต้องได้ด้วยตนเอง ถูกต้องได้ด้วยตนเอง 2. สามารถศึกษาวิเคราะห์ 3.สามารถวิเคราะห์ ปัญหาและเสนอแนะแนว สถานการณ์ต่างๆ และ ทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ ประยุกต์ความรู้และ แก้ปัญหาได้อย่าง ●3. สามารถวิเคราะห์ สร้างสรรค์ สถานการณ์ต่างๆและ ประยุกต์ความรู้และ


4 แก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ 4.สามารถประยุกต์ความรู้ ภาคทฤษฎี การปฏิบัตไิ ปสู่ การทำงานได้

3)การนำเสนองานหน้าชั้น เรียน 4) เล่นเกมทายตัวอักษรจีน

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ผลการเรียนรู้ 4.2 ความรับผิดชอบ 4.3 วิธีการสอน ที่ต้องพัฒนา 1) จัดกิจกรรมการเรียนการ ●1. มีความรับผิดชอบใน 1.สามารถสื่อสารโดยใช้ สอนที่ต้องทำงานเป็นกลุ่ม งานที่ได้รับมอบหมาย งาน อักษรจีนในการสื่อสารได้ 2.สามารถนำตัวอักษรจีนมา เช่น รายงานหน้าชั้นเรียน รายบุคคลและงานกลุ่ม ●2.สามารถปรับตัวเข้ากับ ช่วยเหลือและอำนวยความ 2) มอบหมายงานรายกลุ่ม สะดวกแก่การแก้ปัญหา งานเดี่ยว/กลุ่ม สถานการณ์และการ สถานการณ์ต่าง ๆในกลุม่ 3) เล่นเกมตัวอักษรจีน(เป็น เปลี่ยนแปลงได้ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือ กลุ่ม) 3.สามารถปฏิบัตติ น รู้ รับผิดชอบและมีส่วนร่วมใน ในบทบาทของผู้ร่วมทีม การช่วยเหลือผู้ร่วมงานด้วย ทำงาน ความสนใจ 4.มีความรับผิดชอบในการ เรียนรู้และพัฒนาตนเอง

4.4 วิธีการประเมินผล 1) การประเมินการทำงาน กลุ่ม การแสดงออก และ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมาย หรือต่อ กิจกรรมต่างๆในชั้นเรียน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรู้ 5.2 ความรับผิดชอบ 5.3 วิธกี ารสอน 5.4 วิธีการประเมินผล ที่ต้องพัฒนา 1) มอบหมายให้ค้นคว้า 1) ประเมินจากความ ●1. สามารถสรุปหัวข้อ 1.พิมพ์ตัวอักษรจีนใน


5 สรุปประเด็นจากการสื่อสาร ได้ถูกต้อง ●2.สามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ที่เหมาะสม 3.สามารถใช้ภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และสรุปประเด็นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4.มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ใ ช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ส วงห า ความรู้ข้อมูลสารสนเทศใน การพั ฒ นาตนเองและการ ปฏิบัติงาน

คอมพิวเตอร์ได้อย่าง ข้อมูลสารสนเทศและจัดทำ คล่องแคล่ว รายงาน 2.สามารถแนะนำประเด็น การแก้ไขปัญหาโดยใช้ ภาษาจีนประยุกต์ต่อปัญหา ที่เกี่ยวข้องอย่าง สร้างสรรค์

ถูกต้องของอักษรจีนที่ นำเสนอ และเทคนิคการ เลือกใช้เครื่องมือเทคโนโลยี สารสนเทศเพือ่ การนำเสนอ

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด ที่ 1 ชี้แจงรายละเอียดของรายวิชา วัตถุประสงค์ แผนการสอน การวัดและประเมินผล นำเข้าสู่เนื้อหารายวิชา - ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับตัวอักษรจีน - ลักษณะของตัวอักษรจีน - วิวัฒนาการของตัวอักษร - ลักษณะเด่นของตัวอักษรแต่ละแบบ 2 บทที่ 1 โครงสร้างตัวอักษรจีน - วิธีการสร้างตัวอักษรจีน -.โครงสร้างตัวอักษรจีน ประกอบด้วย เส้นขีด ( 笔画) ส่วนประกอบตัวอักษร(部件) และ ตัวอักษร(整体)

จำนวน กิจกรรมการเรียนการสอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน ชั่วโมง 3 กิจกรรมการเรียนการสอน อาจารย์ -การบรรยาย ยกตัวอย่าง ดร.พชรมน -กิจกรรมกลุ่ม สื่อที่ใช้ -Power point -แบบฝึกหัด 4

กิจกรรมการเรียนการสอน -ทบทวนลักษณะเด่นของตัวอักษร ยุคต่างๆ -บรรยายวิธีการสร้างตัวอักษร 6 ประการ (ลิ่วซู) และโครงสร้าง

อาจารย์ ดร.พชรมน


6

3

4

- ทฤษฎีพื้นฐานของการสร้างตัวอักษรจีน 6 ประการ----ลิ่วซู 制造汉字的基本理 论---六书 1.อักษรภาพ(เซี่ยงสิง)象形 2.อักษรสัญลักษณ์(จื่อซื่อ)指事 3.อักษรแสดงความหมาย(หุ้ยอี)้ 会意 4.อักษรแสดงความหมายและเสียง(สิงเซิง)形 声 5.อักษรขยายความ(จ่วนจู้)转注 6.อักษรยืม(เจีย่ เจี้ย)假借 บทที่ 2 อักษรเดี่ยว - ทฤษฎีพื้นฐานของการสร้างตัวอักษรจีน 6 ประการ----ลิ่วซู 制造汉字的基本理 论---六书 (ต่อ) 3.อักษรแสดงความหมาย(หุ้ยอี้) 会意 4.อักษรแสดงความหมายและเสียง(สิงเซิง)形 声 5.อักษรขยายความ(จ่วนจู้)转注 6.อักษรยืม(เจีย่ เจี้ย)假借 -ลักษณะของอักษรเดีย่ ว -อักษรเดี่ยวที่พบบ่อย บทที่ 3 อักษรผสม -ลักษณะของอักษรผสม -อักษรผสมที่พบบ่อย

ตัวอักษรจีน -ให้นักศึกษาอภิปรายถึงลักษณะ โครงสร้างของตัวอักษรว่าจัดอยู่ใน แบบใด -กิจกรรมกลุ่ม สื่อที่ใช้ -Power point -แบบฝึกหัด

4

กิจกรรมการเรียนการสอน -การบรรยายลักษณะของอักษร เดี่ยว -กิจกรรมกลุ่ม สื่อที่ใช้ -Power point -แบบฝึกหัด

อาจารย์ ดร.พชรมน

4

กิจกรรมการเรียนการสอน -การบรรยาย -กิจกรรมกลุ่ม สื่อที่ใช้ -Power point แบบฝึกหัด กิจกรรมการเรียนการสอน - บรรยายวิธีการเขียนเส้นขีด พื้นฐานและวิธีการเขียนลำดับขีด กิจกรรมกลุ่ม สื่อที่ใช้ -Power point -แบบฝึกหัด กิจกรรมการเรียนการสอน -บรรยายกฎเกณฑ์ของการเขียน ตัวอักษรจีน

อาจารย์ ดร.พชรมน

5

บทที่ 4 หลักการเขียนอักษรจีน -วิธีการเขียนตัวอักษรจีน - วิธีการเขียนเส้นขีดต่างๆ - ลำดับในการเขียน

4

6

บทที่ 5 หลักการเขียนอักษรจีน -เรียนรู้กฎเกณฑ์ของการเขียนตัวอักษรจีน -ฝึกเขียนอักษรจีนรูปแบบต่างๆ

4

อาจารย์ ดร.พชรมน

อาจารย์ ดร.พชรมน


7 7

8 9

-การเขียนพู่กันจีน บทที่ 6 หมวดอักษรนำที่ใช้บ่อย รวมถึงการ เปลี่ยนรูปของตัวอักษร และความหมาย -(人,亻,刀,刂,力,冫,又,大,ㄔ, 子,孑)เรียนคำศัพท์พื้นฐาน และเปรียบเทียบ อักษรคล้าย -ฝึกเขียนคำศัพท์ -การสอบปฏิบัติครั้งที่ 1 สอบกลางภาค บทที่ 7 หมวดอักษรนำที่ใช้บ่อย รวมถึงการ เปลี่ยนรูปของตัวอักษร และความหมาย

4

2 4

(口,艹,小,土,囗,辶,马,宀,女, 广)

-บรรยายความหมายของหมวด อักษรนำ -กิจกรรม “ลองเดาดู” (猜一

อาจารย์ ดร.พชรมน

อาจารย์ ดร.พชรมน อาจารย์ ดร.พชรมน

猜)

-.เรียนคำศัพท์ -ฝึกเขียนคำศัพท์

10- บทที่ 8 ระบบการเขียนในภาษาจีน 11 -ความเปลี่ยนแปลงของตัวอักษรจีน จากอักษรตัว เต็มสู่อักษรแบบตัวย่อ -ความแตกต่าง รวมถึงหลักและวิธีการในการลด จำนวนลำดับขีดของตัวอักษรจีน -เรียนคำศัพท์ -เรียนคำศัพท์ที่มีความหมายตรงกันข้าม -เรียนคำศัพท์ 1 ตัว หลายความหมาย -ฝึกเขียนคำศัพท์ 12 -บทที่ 9 วิธีการใช้พจนานุกรมจีน – ไทย - ฝึกการหาความหมายของคำศัพท์จาก สัทอักษรจีน (พินอิน) - ฝึกการหาความหมายของคำศัพท์จากอักษรนำ และจำนวนขีดของอักษรจีน -แบ่งกลุ่มหาความหมายของอักษรจีน -การสอบปฏิบัติครั้งที่ 2

-วีดิทัศน์การเขียนพู่กันจีน -บรรยายความสำคัญของหมวด อักษรนำ -กิจกรรมกลุ่ม สื่อที่ใช้ -Power point --แบบฝึกหัด -ชุดทดสอบ แบบทดสอบกลางภาค

4

4

-การบ้าน คัดลำดับขีดของคำศัพท์ สื่อที่ใช้ -Power point --แบบฝึกหัด กิจกรรมการเรียนการสอน -การบรรยาย - เล่นเกม สื่อที่ใช้ -Power point -แบบฝึกหัด

อาจารย์ ดร.พชรมน

กิจกรรมการเรียนการสอน อาจารย์ -บรรยายวิธีการใช้พจนานุกรมจีน – ดร.พชรมน ไทย -ให้นักศึกษาฝึกเปิดพจนานุกรมจีน – ไทย โดยอาจารย์ให้สัทอักษร ภาษาจีน ( พินอิน ) -พจนานุกรมจีน – ไทย -การบ้าน – คัดลำดับขีดของ คำศัพท์ -แบบทดสอบ สื่อที่ใช้


8

14 บทที่ 10 การจดจำตัวอักษรจีนที่ใช้บ่อย -เรียนรู้คำศัพท์ทใี่ ช้บ่อยจำนวน 1500 คำ -ตัวอักษรจีนกับข้อสอบ HSK -เรียนรู้คำศัพท์ที่ปรากฏในข้อสอบHSK

4

15 - สรุปเนื้อหา - ทบทวนบทเรียน -นำเสนอรายงาน - ชี้แจงแนวข้อสอบ

4

16 สอบปลายภาค

2

- Power point - แบบฝึกหัด กิจกรรมการเรียนการสอน - การบรรยาย - กิจกรรมกลุม่ สื่อที่ใช้ - Power point -แผ่นภาพ - แบบฝึกหัด กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย,ทบทวนบทเรียน, นำเสนอรายงาน สื่อที่ใช้ Power point แบบทดสอบปลายภาค

อาจารย์ ดร.พชรมน

อาจารย์ ดร.พชรมน

อาจารย์ ดร.พชรมน

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ 1.1(1)(2) 2.1(1)(2)

วิธีการประเมิน

การตรงต่อเวลาในการส่งการบ้าน และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 2.1(1)(2), 3.1(1)(3) ,5.1(1) (2) สอบย่อยและสมุดคัดศัพท์ 1.1(1)(2),2.1(1)(2),3.1(2)4.1(1),5. สอบกลางภาค 1(1) (2) 1.1(1),(2),2.1(1)(2),3.1(1)(3) สอบปลายภาค

ตลอดภาคเรียน

สัดส่วนของ การประเมิน 20

สัปดาห์ที่ 7,12 สัปดาห์ที่ 9

20 30

สัปดาห์ที่ 17

30

สัปดาห์ที่ประเมิน


9

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 210111 อักษรจีน 2. เอกสารและข้อมูลสำคัญทีน่ ักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม (1) วีรชาติ วงศ์สัจจา. (2551). หมวดนำอักษรจีน. กรุงเทพมหานคร: ทฤษฎี. (2) เหยิน จิ่งเหวิน. (2547). จุ๊กจิ๊กจอจีน เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: สุดสัปดาห์สำนักพิมพ์. (3) 刘泽彭. (2009). 《中国文化常识(中泰对照)》. 北京 : 高等教育出版社. (4) 张朋朋. (2005). 《常用汉字部首》. 北京 : 华语教学出版社. (5) 周健主编. (2009). 《汉字》. 上海 : 上海外语教育出版社. 3. เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นกั ศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม (1) อาศรมสยาม-จีนวิทยา. (2554). คำจีนใช้สนุก. กรุงเทพมหานคร: ทฤษฎี. (2) https://www.hanzi5.com/ (3) http://www.zdic.net

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (1) นักศึกษาประเมินผ่านระบบออนไลน์ (2) สังเกตและสอบถามจากนักศึกษา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน (1) ผลการสอบ (2) การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 3. การปรับปรุงการสอน (1) กิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องการเขียนอักษรจีนด้วยพู่กันจีน จัดการเรียนการสอนเป็นกลุม่ และใช้วดี ิทัศน์ การเขียนพู่กันจีนเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน (2) การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์การสอนกับผูร้ ับผิดชอบรายวิชาเดิม 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (1) ปรึกษาหารือกับอาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรฯภาษาจีนเบื้องต้น (2) การประชุมอาจารย์ในหลักสูตรฯภาษาจีนเพื่อทบทวนรับรองผลการเรียนของนักศึกษา 5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับเปลีย่ นเนื้อหา เพื่อความทันสมัยในสังคมยุคปัจจุบัน


10 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา : ลงชื่อ

อาจารย์ ดร.พชรมน ซื่อสัจลือสกุล วันที่ส่งรายงาน : 23 พฤศจิกายน 2563

(นางสาวพชรมน ซื่อสัจลือสกุล)

ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร : ลงชื่อ

อาจารย์จริ าพร ปาสาจะ วันที่รับรายงาน : 23 พฤศจิกายน 2563

(นางสาวจิราพร ปาสาจะ)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.