one year o-n | A Life I See [Biography]

Page 1

one year o-n

A Life I See [Biography] เรื่อง : ภัทรานิษฐ์ พัฒน์ธนพร

{ September 2014 - August 2015 }


one year o-n

[ one year o-n ] คือ โปรเจกต์เล็กๆ ที่รวบรวมเนื้อหาแต่ละคอลัมน์ของนิตยสาร o-n ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาให้มาอยู่ ในที่แห่งเดียวกัน


A Life I See คือ คอลัมน์เล่าถึงวิถีชีวิตที่หลากหลายบนโลกใบนี้ ซึ่งเป็นทั้งแรงบันดาลใจ และแรงผลักดัน ในเวลาเดียวกัน


รถเก่ากับวันใหม่

ที่มา : O-N issue 01 | เราไม่ ใช่คนกู้ โลก


หลังจากพายุร้าย (Dust Bowl) พัดผ่านไป พายุลกู ใหม่แห่งการขยายตัวของนายทุน ที่ดนิ และภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำช่วงทศวรรษที่ 1930s ก็มาถึงสหรัฐอเมริ กา ครอบครัวชาว เท็กซัสและโอกลาโฮมานับหมื่นครัวเรื อนถูกขับไล่ออกจากที่ท�ำกินจนต้ องพากันอพยพสูต่ ะวัน ตก โดยมีพาหนะเพียงอย่างเดียวคือรถยนต์มือสองซึง่ ต้ องบรรทุกทังสั ้ มภาระ เครื่ องเรื อนจาก บ้ านหลังเก่า และสมาชิกทังหมด! ้ เหล่า 'โอกี ้' ที่ได้ รับใบปลิวชวนเชื่อว่าตะวันตกคือดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์และ ไร่ส้มที่มีงานและอาหารอย่างเหลือเฟื อ จากบ้ านเกิดที่ทิ ้งไว้ เบื ้องหลังสูท่ างหลวงหมายเลข 66 ที่เต็มไปด้ วยเพื่อนร่วมทางผู้มีชะตากรรมเดียวกัน ณ ช่วงเวลานัน้ รถมือสองคือสมบัตชิ ิ ้น ส�ำคัญที่เป็ นทังพาหนะและสื ้ ่อกลางในการแลกเปลี่ยน พวกเขายอมขายทรัพย์สนิ ทุกอย่าง ที่มีเพียงเพื่อให้ ได้ เป็ นเจ้ าของรถเก่าๆ เพียงคันเดียว และถ้ าหากไม่มีเงินใช้ จา่ ยระหว่างทาง อะไหล่รถยนต์เหล่านี ้ก็เป็ นสิง่ ที่มีคนเต็มใจซื ้อทุกเมื่อ บนเส้ นทางอันยาวไกลของทางหลวงหมายเลข 66 รถยนต์บโุ รทัง่ ก็สามารถเป็ นของ มีคา่ ขึ ้นมาได้ อย่างไม่นา่ เชื่อ ธุรกิจรถยนต์เฟื่ องฟูมากในยุคนี ้ภายหลังการออกแบบระบบการ ผลิตแบบใหม่ของเฮนรี ฟอร์ ด (Henry Ford) รถยนต์กลายเป็ นสิง่ ที่คนสัมผัสได้ งา่ ยขึ ้น โดย เฉพาะรถมือสองซึง่ มีราคาถูกลงไปอีกและเพียงแค่ซอ่ มแซมก็สามารถน�ำไปใช้ งานได้ ทนั ที ไม่ น่าแปลกเลยว่าท�ำไมพวกเขาถึงต้ องพยายามมากมายเพื่อที่จะได้ เป็ นเจ้ าของมัน ก็อะไรจะดีไปกว่ารถยนต์ราคาถูกแต่สามารถพาเราไปเริ่ มต้นชี วิตใหม่ได้ล่ะ?


แหวกม่านความเชื่อ

ที่มา : O-N issue 02 | ส�ำรวจความคิดผ่านการเดินทาง


ถ้ าหากว่าการเดินทางคือการค้ นหาบางสิง่ บางอย่าง ภาพที่เราวาดหวังไว้ อาจเป็ น จริ งก็ได้ ไม่จริ งก็ได้ แต่สิ่งทีแ่ น่นอนทีส่ ดุ คือ ทีเ่ ส้นขอบฟ้ านัน้ จะต้องมี บางอย่างรอคอยเราอยู่ อย่างแน่นอน ด้ วยแรงเชื่อมัน่ นี ้ ท�ำให้ คริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส ออกเดินทางจากสเปนในช่วงปลาย ศตวรรษที่ 15 เขาและลูกเรื อคาราเวลซานตามาเรี ยจ�ำนวนหนึง่ รอนแรมไปกลางทะเลเพื่อ ค้ นหาอินเดียทางตะวันออก แต่แล้ วลมมรสุมและวิทยาการการเดินเรื อที่ยงั ไม่ก้าวหน้ าเท่า ที่ ควรในยุคนัน้ ก็ พาเขาไปพบกับชายฝั่ งลึกลับ...ส่วนหนึ่งของหมู่เกาะคิวบาในอเมริ กาใต้ โคลัมบัสและลูกเรื อขึ ้นฝั่ งในวันที่ 12 ตุลาคม 1492 พร้ อมทังปั ้ กธงชาติแห่งสเปนในนาม พระเจ้ าเฟอร์ ดินานท์วา่ เขาได้ ค้นพบแผ่นดินอินเดียแล้ ว มันเป็ นความผิดพลาด และผิดพลาดตลอดชีวิตของโคลัมบัส เขาเชื่อมัน่ จนวาระ สุดท้ ายว่าทวีปที่ตนได้ เดินทางไปถึงคืออินเดียอย่างแน่นอน แต่ในความผิดพลาดนันก็ ้ เป็ น ประตูหนึง่ สูห่ น้ าประวัตศิ าสตร์ ใหม่ของมนุษยชาติ โลกได้ รับรู้วา่ มีแผ่นดินขนาดใหญ่อีกแห่ง หนึง่ อยูท่ างตะวันตกของยุโรป นัน่ ท�ำให้ นกั เดินเรื อผู้ยิ่งใหญ่ในยุคต่อมา เฟอร์ ดนิ านท์ แมคเจล ลัน พร้ อมกองเรื อแห่งสเปนออกเดินทางอีกครัง้ ในวันที่ 20 กันยายน 1519 มุง่ สูต่ ะวันตก เพื่อ ที่จะกลับมายังสเปนอีกครัง้ ด้ วยความเชื่อว่าแท้ จริ งแล้ วโลกมีสณ ั ฐานกลม และมนุษย์สามารถ เดินเรื อรอบโลกได้ พ้ นจากยุคที่ผ้ คู นเชื่อว่าหากออกทะเลไปไกลจะท�ำให้ ตกขอบโลก พ้ นจากยุคสมัย ที่ความเชื่อเลื่อนลอยเป็ นผู้ชี ้น�ำหนทางสูอ่ นาคต แม้ เฟอร์ ดนิ านท์ แมคเจลลัน จะสิ ้นชีวิตเสีย ก่อนที่หมูเ่ กาะฟิ ลปิ ปิ นส์ แต่กองเรื อและลูกเรื อของเขาที่เหลืออยูเ่ พียงน้ อยนิดก็หนีตายออก จากฟิ ลปิ ปิ นส์ได้ ส�ำเร็ จ และกลับสูส่ เปนในท่าเรื อเดียวกับที่แล่นจากมาในวันที่ 6 กันยายน 1522 เป็ นข้ อพิสจู น์อย่างชัดเจนว่าแท้ ที่จริ งแล้ ว โลกนันกลม ้ และลบล้ างความเชื่องมงายของ คริ สตจักรจนหมดสิ ้น โลกในยุคหลังจากนี ้จะไม่ใช่โลกใบเดิมอีกต่อไป ผู้คนจะเริ่มออกเดิน ทางเพื่อเชื่อมโลกอันกว้ างใหญ่ ให้ เข้ าใกล้ กัน และไม่ กลัวอีกแล้ วทีจ่ ะออกผจญภัยเพื่อ ค้ นหาบางสิ่งบางอย่ างทีย่ ังไม่ มีใครสามารถพิสูจน์ ได้ แล้ วคุณพร้ อมที่จะออกผจญภัยหรื อยัง?


ชัยชนะ

ที่มา : O-N issue 03 | เพราะเราคือเรา


ในโลกนีม้ ี หลายคนทีป่ ระสบความส�ำเร็ จ แต่สิ่งทีน่ ่าทึ่งยิ่ งกว่าการประสบความส�ำเร็ จ อย่างคนทัว่ ไป คือ การถีบตัวเองขึ้นจากความตกต�่ำสุดขัว้ ในชี วิตและค้นพบสิ่ งทีเ่ ป็ นตัวเองได้ ในทีส่ ดุ Jay-Z ราชาเพลงฮิพฮอพผู้เติบโตจากย่านคนจนที่เลวร้ ายที่สดุ ของบรู๊คลิน นิวยอร์ ค เขาอาศัยอยูก่ บั แม่สองคนหลังจากถูกพ่อทิ ้ง และสนุกสนานกับการสร้ างจังหวะแปลกใหม่จาก การเคาะโต๊ ะในห้ องครัว จนกระทัง่ กลายเป็ นนักดนตรี ซงึ่ ประสบความส�ำเร็ จที่สดุ แห่งยุค Jacob Arabo นักธุรกิจอัญมณีและออกแบบผลิตภัณฑ์ในครอบครัวผู้อพยพจาก อุซเบกิสถาน เขาเรี ยนไม่จบและใช้ ชีวิตท�ำงานในโรงงานอัญมณีเพื่อหาเลี ้ยงครอบครัว แต่หลัง จากที่งานดีไซน์อญ ั มณีของเขาเป็ นที่นิยม เขาจึงก่อตังกลุ ้ ม่ บริ ษัทอุตสาหกรรมอัญมณีและ เครื่ องประดับ โดยเฉพาะนาฬิกาข้ อมือ Jacob and Co., Jesse Owens นักกรี ฑาเหรี ยญทองโอลิมปิ คปี 1936 ผิวสีของสหรัฐอเมริ กา เขาเกิด ในโอกลาโฮมาขณะที่การแบ่งแยกสีผิวยังคงรุนแรงโดยเฉพาะทางตอนใต้ และการแข่งขันถูก จัดในเบอร์ ลนิ ซึง่ อยูใ่ นสมัยปกครองของฮิตเลอร์ ที่เหยียดสีผิว ฮิตเลอร์ ไม่ยอมจับมือกับเขาใน พิธีมอบรางวัลด้ วยซ� ้ำ แต่เขาก็ประสบความส�ำเร็ จเป็ นเจ้ าของสถิตกิ รี ฑาที่ดีที่สดุ เท่าที่เคยมีมา Lena Maria Klingvall สาวชาวสวีเดนผู้เกิดมาโดยที่ไม่มีแขนทังสองข้ ้ างและมีขาข้ าง เดียวที่ยาวแค่ครึ่งหนึง่ ของคนปกติ เธอใช้ ชีวิตปกติธรรมดาในสังคมด้ วยการใช้ ขาเทียมและท�ำ ทุกอย่างด้ วยเท้ าและปาก เป็ นนักกีฬาว่ายน� ้ำเหรี ยญทองพาราลิมปิ คเกมและศึกษาต่อใน The Royal College of Music เพลงที่เธอร้ องได้ รับเกียรติให้ ใช้ ในพิธีเปิ ดการแข่งขันพาราลิมปิ ค และเป็ นแรงบันดาลใจให้ ผ้ พู ิการทัว่ โลก คนเหล่ านี้เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของคนที่ตามหาสิ่งที่เป็ นตัวตนของตัวเองได้ ท่า มกลางความมืดมิด และแสงตะเกียงแห่ งความหวังนี้กจ็ ะยังคงอยู่ต่อไปเพื่อคนรุ่ นหลัง อีกนานเท่ านาน


เมล็ดพันธุ์แห่งความเจริญงอกงาม

ที่มา : O-N issue 04 | จังหวะชีวิตในห้องสมุด


เคยมีทฤษฎีวิวัฒนาการของมนุษย์ ในระยะเริ่ มต้ นซึ่งเปรี ยบเทียบชีวิตของคนเรา เหมือนต้ นไม้ ต้นหนึง่ ความหมายของมันคือมีการเจริ ญงอกงามจากจุดเล็กๆ ไปสูจ่ ดุ เติบโต สูงสุด และเหี่ยวเฉาตายลงในลักษณะเดียวกันทุกคน แต่เมื่อมีการศึกษาเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ นัก สัง คมวิ ท ยาทัง้ หลายจึง ตระหนัก ว่า มนุษ ย์ ทุก คนไม่ไ ด้ เ จริ ญ เติ บ โตในอัต ราก้ า วหน้ า แบบ เดียวกันหมด บางคนอาจงอกงามไปในทางดี บางคนอาจไปในทางร้ าย แต่ที่ส�ำคัญที่สดุ ที่ ท�ำให้ แนวคิดนี ้ตกกระป๋ องล้ าหลัง เป็ นเพราะมนุษย์คือสิง่ มีชีวิตที่ไม่สามารถท�ำนายทิศทาง การเจริ ญเติบโตได้ มันก็เหมือนกับต้ นไม้ ที่ต้องขึ ้นอยูก่ บั สถานที่ซงึ่ มันฝั งเมล็ด ขึ ้นอยูก่ บั พันธุ์ และขึ ้นอยู่ กับสารอาหารว่าจะมีใครใส่ป๋ ยเพิ ุ ่มเติมให้ หรื อไม่ มีดนิ เพียงพอหรื อเปล่า มนุษย์ก็ไม่ตา่ งกัน เลย ในขันตอนของการเติ ้ บโตผลิดอกออกผล เราอาจเปรี ยบเทียบว่า ‘ความรู้ ’ คือปุ๋ยที่ชว่ ยให้ เราเอาตัวรอดได้ ต้ นไม้ ใดได้ รับปุ๋ยมากย่อมเป็ นต้ นไม้ ที่สวยงามยัง่ ยืน ไม่ถกู ลมแรงหักโค่น ไม่ ดึงดันดื ้อรัน้ จนถูกท�ำลาย อีกปั จจัยที่ชว่ ยให้ ต้นไม้ งอกงามได้ ดีนนคื ั ้ อ น�ำ้ ซึง่ อาจเทียบได้ กบั ‘ความฝั น’ ที่เป็ น แหล่งหล่อเลี ้ยงชีวิตที่แท้ จริ ง ต้ นไม้ ใดไม่ได้ รับการใส่ป๋ ยอาจพออยู ุ ไ่ ด้ แต่หากต้ นไม้ นนขาดน� ั้ ้ำ ความตายก็จะเป็ นเพียงสิง่ เดียวที่เหลืออยู่ แต่มนั จะดีกว่าไหม ถ้าหากเราทุกคนในโลกนีเ้ ติ บโตเป็ นต้นไม้ทีพ่ รัง่ พร้อมไปด้วยปุ๋ ย และน�้ำอุดมสมบูรณ์ และร่ วมเปลีย่ นโลกใบนีใ้ ห้งดงามไปพร้อมๆ กัน


ใครช่วยใคร

ที่มา : O-N issue 05 | ไปดีมาดี


ประเทศอังกฤษในต้ นศตวรรษที่ 19 มีกฎหมายอันเลื่องลือฉบับหนึง่ ที่เกิดขึ ้นในระยะ แรกของการปรับปรุงสวัสดิการทางสังคมในรัฐบาลเอิร์ลเกรย์ (Earl Charles Grey) รู้จกั กันใน นาม ‘Poor Law Act 1834’ อันเป็ นที่มาและรากฐานของกฎหมายว่าด้ วยเรื่ องสังคมสงเคราะห์ ในประเทศอังกฤษจวบจนทุกวันนี ้ สาระส�ำคัญของ Poor Law Act 1834 คือ การหาเสื ้อผ้ าและอาหารที่จ�ำเป็ นให้ แก่คน ที่สมควรจะได้ รับการดูแล ได้ แก่ คนเร่ร่อน คนชรา คนยากจน โสเภณี เด็กก�ำพร้ า โดยจะต้ อง แลกเปลี่ยนกับการเข้ าไปท�ำงานใน Workhouses มีแต่คนที่ท�ำงานจึงจะได้ รับสิง่ ตอบแทนเป็ น เสื ้อผ้ าและอาหาร กฎหมายนี ้ถูกต่อต้ านอย่างมากในหมูน่ กั ธุรกิจอุตสาหกรรมและชนชันกลาง ้ เนื่องจากถูกมองว่าเป็ นการหยิบยื่นความช่วยเหลืออย่างเปล่าประโยชน์ให้ กบั พวกเกียจคร้ าน ที่ดีแต่รอรับความช่วยเหลือจากรัฐ แต่ก็สร้ างผลดีโดยเป็ นการปรับทัศนียภาพ ขจัดคนไร้ บ้านที่ เร่ร่อนอยูต่ ามริ มถนนของอังกฤษ กฎหมายนี ้เป็ นประเด็นใหญ่ในการถกเถียงและเดินขบวนประท้ วงในอังกฤษเพราะ เป็ นการสูญเสียเงินโดยใช่เหตุ ชาร์ ลส์ ดิกเคนส์ (Charles Dickens) นักประพันธ์ชื่อก้ อง โลกแห่งอังกฤษก็เป็ นหนึง่ ในผู้ตอ่ ต้ าน Poor Law Act ด้ วยการสื่อสารผ่านผู้อา่ นในนวนิยาย เรื่ องเอก Oliver Twist โจมตีความไม่เหมาะสมของกฎหมายนี ้ แต่ถงึ กระนัน้ อาหารที่ได้ รับ ตอบแทนจาก Workhouses ก็เป็ นอาหารชันเลว ้ และสถานที่พกั อาศัยก็ไม่ถกู สุขอนามัย ซึง่ เป็ นการผลักดันทางอ้ อมของรัฐบาลเพื่อไม่ให้ คนเข้ ามารับสวัสดิการกันอย่างพร�่ ำเพรื่ อ และ เพื่อลดรายจ่ายของประเทศในการด�ำเนินการช่วยเหลือคนจนแบบให้ เปล่า แต่เมื่อมองในมุมกลับกัน มาตรการที่รัฐบาลจัดหาเสื ้อผ้ าอาหารชันเลวให้ ้ แก่ผ้ เู ข้ ารับ สวัสดิการ ก็เป็ นหนึง่ ในหนทางที่พยายามผลักดันให้ พวกเขาเหล่านันเข้ ้ าสูต่ ลาดแรงงานและ ประกอบอาชีพเลี ้ยงดูตนเอง แม้ จะเกิดข้ อถกเถียงวิจารณ์กนั อย่างกว้ างขวาง แต่ชื่อเสียงของ สวัสดิการอันเลวร้ ายนันก็ ้ ช่วยลดจ�ำนวนคนที่คิดจะนอนรอความช่วยเหลือโดยไม่ท�ำอะไรลง ไปได้ รัฐบาลชุดนี ้จึงนับว่าประสบความส�ำเร็จในการปฏิรูปสังคม และยังแสดงออกถึงความมี มนุษยธรรม แท้ จริ งแล้ วสิง่ ที่ Poor Law Act ฉบับนี ้ต้ องการสื่อสารไปยังประชาชน อาจไม่ใช่แค่ เพื่อการหาคะแนนนิยมเพื่อชนะเสียงเลือกตังอย่ ้ างในหลายๆ ประเทศในปั จจุบนั แต่เป็ นการ สะกิดเตือนและให้ บทเรี ยนกับผู้ที่หวังแต่จะรับสวัสดิการทังหลายให้ ้ รับรู้ถงึ สัจธรรมที่วา่ "ใครช่ วยตัวเรา ถ้ าเราไม่ ช่วยตัวเองก่ อน"


เสียงจากดอกไม้

ที่มา : O-N issue 06 | with love, girl band, you rock!


ทุกวันนีผ้ ูห้ ญิ งเข้ามามี บทบาทในสังคมอย่างมากมาย และเมื อ่ มองย้อนกลับไป ผูท้ ี ่ ริ เริ่ มอะไรหลายๆ อย่างในโลกนีแ้ ละมี ผลงานอันน่าทึ่งน่าจดจ� ำก็ไม่พน้ ผูห้ ญิ งอีกนัน่ แหละ วิชาการพยาบาลได้ รับการยอมรั บในสังคมเป็ นครั ง้ แรกด้ วยการลุกขึน้ สู้ของนาง พยาบาลหญิงที่เรี ยกร้ องให้ มีการทบทวนมาตรฐานสาธารณสุขกันอย่างจริ งๆ จังๆ มีอศั วินหญิงจากบ้ านนอกที่ให้ สตั ย์สาบานกับกษัตริ ย์วา่ จะพาพระองค์ไปสวมมงกุฎ ในเมืองที่ถกู ข้ าศึกยึดครองให้ ได้ แล้ วเธอก็ท�ำได้ จริ งเสียด้ วย ผู้หญิงอีกหลายคนออกมาเรี ยกร้ องสิทธิอนั เท่าเทียมกันระหว่างหญิงชาย โดยมีแนว หน้ าเป็ นหญิงวัยกลางคนในอังกฤษต้ นศตวรรษที่ 20 ขอบคุณการเรี ยกร้ องของพวกเธอที่ท�ำให้ สิทธิการเลือกตังเผื ้ ่อแผ่มาถึงผู้หญิงคนอื่นๆ ในโลกหลังจากนัน้ ส่วนในสังคมที่สทิ ธิสตรี ยงั ไม่ ได้ รับความส�ำคัญมากนัก พวกเธอคือแรงบันดาลใจให้ สตรี ในทุกหนทุกแห่งของโลกมีความ หวัง อาจเพราะเอกลักษณ์ ของความเป็ นผู้หญิ งนี เ้ องที่ท�ำให้ พวกเธอมีวิสัยทัศน์ ที่ต่าง มุมมองไปจากผู้ชายโดยสิ ้นเชิง ไม่มีใครปฏิเสธได้ วา่ ความละเอียดอ่อนอันเป็ นธรรมชาติใน เพศหญิงนันได้ ้ ให้ อะไรหลายๆ อย่างกับโลกมาตลอดตังแต่ ้ มีมนุษย์ถือก�ำเนิดขึ ้น ผู้หญิงเป็ น สัญลักษณ์ของครอบครัวที่อบอุน่ สังคมที่เสรี และทุกวันนี ้ก็คือตัวแทนของพลังอีกประเภทหนึง่ ที่แม้ ไม่แข็งแกร่งเท่าผู้ชาย แต่ก็มีสงิ่ ดีๆ อยูใ่ นตัวไม่แพ้ กนั ลองมองไปรอบๆ แล้ วสังเกตผู้หญิงใกล้ ตัวให้ ดี เพราะเธออาจมีสิ่งพิเศษ ซุกซ่ อนเอาไว้ กเ็ ป็ นได้ !


หางเสือ

ที่มา : O-N issue 07 | ในโลกอีกใบที่ ใช้ ใจบันดาลแรง


ค�ำกล่าวที่ได้ ยินกันจนคุ้นหูวา่ “ใจคนเรายากแท้หยัง่ ถึง” บางครัง้ มันก็อาจฟั งดูเป็ น เรื่ องลึกลับเข้ าถึงยาก แต่หลายครัง้ ไอ้ 'ใจ' นี ้แหละที่ชว่ ยให้ คนเราสามารถท�ำอะไรก็ตามได้ ลุลว่ งไปได้ เราจะทุม่ เทแรงกายสร้ างสรรค์บางสิง่ บางอย่างขึ ้นมาได้ อย่างไร ถ้ าหากเราไม่มี 'ใจ' กับมันแต่แรก? แล้ วเราจะอดทนท�ำมันต่อได้ อย่างไร ถ้ าหากเราไม่มี 'ใจ' คอยน�ำ? เหมือนเรื อล�ำหนึง่ ที่ถ้าหากไม่มีหางเสือ มันก็คงได้ แต่ลอยเคว้ งคว้ างอย่างไร้ จดุ หมาย หาทิศทางที่ถกู ต้ องแม่นย�ำไม่เจอ มนุษย์เดินทางมายาวไกลนับล้ านๆ ปี กว่าจะวิวฒ ั นาการมาจนถึงทุกวันนี ้ ยังไม่มีการ ทดลองไหนที่ยืนยันว่าเซลล์เล็กๆ เพียงเซลล์หนึง่ จะมีความคิดจิตใจในฐานะสัตว์ชนต� ั ้ ่ำเซลล์ เดียว แต่ก็มีการทดลองอีกมากที่พยายามค้ นหาว่าในอะตอมใดอะตอมหนึง่ ย่อมมีวิญญาณ สถิตอยู่ และวิญญาณนันก็ ้ คือพลังงานให้ เซลล์ดงั กล่าวสามารถขับเคลื่อนไปข้ างหน้ าได้ ดังนัน้ กว่าที่เซลล์เหล่านันจะกลายมาเป็ ้ นมนุษย์ มันก็คงจะต้ องผ่านการเดินทางมาอย่างยาวนานที เดียว ความส�ำเร็ จก็ต้องใช้ เวลาเดินทางไม่ตา่ งกัน แต่ มันก็ขน้ึ อยู่กับว่ า ใครจะมีหางเสือแบบไหน และใครจะทุ่ม 'ใจ' ไปได้ มากกว่ ากัน


It's good to shut up sometimes -- มาร์ เซล มาร์ โซ (Marcel Marceau) -22 March 1923 – 22 September 2007 (aged 84) เขาคือพ่อมดผู้ร่ายมนตร์ โดยปราศจากเสียง และสร้ างเสียงหัวเราะจากผู้คนได้ โดย ไม่ต้องใช้ ค�ำพูด มาร์ เซล มาร์ โซ คือ ศิลปิ นละครใบ้ ผ้ ยู ิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 ผู้ผา่ นชีวิตในช่วง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 และมีประสบการณ์รอดชีวิตจากการกวาดล้ างของพวกนาซี เขาเกิดใน เมืองสตราส์บรู ์ ก (Strasbourg) แคว้ นอัลซาส (Alsace) ประเทศฝรั่งเศส ในครอบครัวยิวที่ สนับสนุนศิลปะและดนตรี โดยพ่อของเขามีงานอดิเรกเสริ มในการเป็ นนักร้ องเสียงบาริ โทน มาร์ โซมีความชื่นชอบในละครใบ้ เป็ นพิเศษตังแต่ ้ อายุ 5 ขวบ จากการที่แม่ของเขาพาไปดูการ แสดงของชาร์ ลี แชปลิน (Charlie Chaplin) ในโรงภาพยนตร์ ชีวิตของเขาต้ องพบกับความเปลี่ยนแปลงครัง้ ใหญ่เมื่อเกิดสงครามโลกครัง้ ที่ 2 บิดา ของเขาถูกส่งไปที่คา่ ยกักกันเอาชวิตส์ (Auschwitz) และเสียชีวิตที่นนั่ ในขณะที่เขาและน้ อง ชายหลบหนีไปเข้ าร่วมกับขบวนการเสรี ฝรั่งเศสเพื่อช่วยเด็กคนอื่นๆ หนีไปยังประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ที่วางตัวเป็ นกลางในสงคราม โดยเขาท�ำงานเป็ นล่ามภาษาฝรั่งเศสและเจ้ าหน้ าที่ ประสานงานในกองทัพ เขาได้ เปิ ดการแสดงครัง้ แรกต่อหน้ าผู้คนในกองทัพนี ้เองในตอนที่ปารี ส ได้ รับการปลดปล่อยในเดือนสิงหาคม ปี 1944 และหลังสงครามจบลง เขาก็ได้ เข้ าศึกษาใน โรงเรี ยนสอนศิลปะการแสดงชาร์ ลส์ ดูแลง (Charles Dullin’s Schoo of Dramatic Art) และมี เอเตียน เดอครูซ์ (Etienne Decroux) เป็ นผู้ฝึกสอน โรงเรี ย นศิ ล ปะการแสดงของเดอครู ซ์ นัน้ เป็ นสถานที่ ซึ่ง ผลิ ต นัก แสดงที่ มี ค วาม สามารถมากมายในสมัยนัน้ มาร์ โซเองก็เป็ นหนึง่ ในนักเรี ยนกลุม่ ดังกล่าว การแสดงของเขาได้ รับแรงบันดาลใจทังจากชาร์ ้ ลี แชปลิน และบัสเตอร์ คีตนั (Buster Keaton) ซึง่ เขาได้ สร้ างรูป


แบบการแสดงที่เป็ นของตัวเองโดยมีเอกลักษณ์ คือ การทาหน้ าขาวและสวมหมวกทรงสูง ที่ ต่อมารูปแบบนี ้จะกลายเป็ นรูปแบบที่ได้ รับความนิยมที่สดุ ในการแสดงละครใบ้ ร่วมสมัย แต่ ถึงกระนัน้ เขาก็ไม่เคยก�ำหนดให้ การแสดงของตนเป็ นมาตรฐานการแสดงละครใบ้ แต่กลับ สนับสนุนให้ นกั แสดงคิดค้ นวิธีการน�ำเสนอใหม่ๆ โดยไม่ต้องยึดติดกับขนบใดๆ ความสามารถ ด้ านการแสดงของเขาเป็ นที่ยอมรับทัว่ โลก เขาสามารถแสดงบทบาทได้ อย่างหลากหลาย ตังแต่ ้ เด็กไปจนถึงคนแก่ แสดงได้ ทงละครตลกขบขั ั้ นและละครโศกสะเทือนอารมณ์ ท�ำให้ Compagnie de Mimodrame ของเขาเป็ นบริ ษัทเพื่อการแสดงละครใบ้ แห่งเดียวในโลกยุคนัน้ ตลอดชีวิตการเป็ นนักแสดง มาร์ โซไม่เคยหวาดหวัน่ ต่ออุปสรรคทางอายุ เขายังคง เปิ ดการแสดงทัว่ โลกอย่างต่อเนื่องจนกระทัง่ ถึงปี 2006 โดยให้ สมั ภาษณ์กบั Associated Press (ส�ำนักข่าว AP) ว่า “ถ้ าคุณหยุดท�ำมันตั้งแต่ อายุ 70-80 คุณก็จะไม่ มีทางพัฒนาตัวเองต่ อได้ ดัง นั้นสิ่งทีค่ ุณต้ องท�ำคือ ท�ำมันต่ อไป”

อ้ างอิง : - The Guardian: http://www.theguardian.com/ news/2007/sep/24/guardianobituaries.france - The Paris Review: http://www.theparisreview.org/blog/ 2014/07/09/the-many-poses-of-marcel-marceau/

ที่มา : O-N issue 08 | without words

*Biography


คลื่นเปลี่ยนโลก

-- ชาร์ ลส์ เดวิด เฮอร์ โรลด์ (Charles David Herrold) --

มี ผูก้ ล่าวกันว่าก้าวแรกของยุคการสือ่ สารสมัยใหม่นนั้ เริ่ มขึ้นจากสิ่ งทีม่ องไม่เห็น... จากการค้ นพบการรับและส่งคลื่นวิทยุในอากาศผ่านระบบการกระจายเสียงและการ เกิดของธุรกิจ Broadcasting นับตังแต่ ้ ที่วิทยาศาสตร์ ได้ รับการพัฒนาให้ ก้าวหน้ าขึ ้นเรื่ อยๆ มนุษย์ก็ประดิษฐ์ นวัตกรรมใหม่ๆ ขึ ้นมาอย่างมากมาย รวมไปถึงในปี ค.ศ.1912 ซึง่ ชาร์ ลส์ เฮอร์ โรลด์ ได้ ริเริ่ มท�ำกิจการกระจายเสียงวิทยุเป็ นครัง้ แรกในเมืองซานโจเซ่ แคลิฟอร์ เนีย ประเทศสหรัฐอเมริ กา


เฮอร์ โรลด์เข้ าศึกษาในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ ดด้ านดาราศาสตร์ และฟิ สกิ ส์ แต่แล้ ว เขาก็ออกจากมหาวิทยาลัยก่อนที่จะส�ำเร็ จการศึกษาและหันไปสนใจเทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่งถูก ค้ นพบ นัน่ ก็คือคลื่นวิทยุ เขาได้ เริ่ มพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้ สายและบุกเบิกธุรกิจ แบบใหม่นี ้ขึ ้นด้ วยตัวเอง ในระยะแรกคลื่นวิทยุนนมี ั ้ ไว้ เพียงเพื่อใช้ รับส่งรหัสมอร์ สเพื่อการสื่อสารในกองทัพ คลื่นวิทยุในยุคแรกที่สง่ ออกอากาศผู้รับจ�ำเป็ นจะต้ องเข้ าใจรหัสมอร์ ส แต่เฮอร์ โรลด์มองไกล กว่านัน้ เขาต้ องการให้ วิทยุมีบทบาทในด้ านการให้ ความบันเทิงแก่ผ้ คู นนอกเหนือไปจากการ แจ้ งข่าวสารทัว่ ไปหรื อพยากรณ์อากาศเพียงอย่างเดียว หลังผ่านการทดลองใช้ เครื่ องแปลง สัญญาณหลายต่อหลายครัง้ สุดท้ ายในทศวรรษที่ 1910 เขาก็สามารถเปิ ดกิจการกระจาย เสียงวิทยุได้ ส�ำเร็ จ การเกิดสถานีวิทยุที่ผ้ คู นทัว่ ไปสามารถเข้ าถึงได้ ถือเป็ นการพลิกโฉมประวัติศาสตร์ โลกยุคใหม่ครัง้ ส�ำคัญ เพราะข่าวสารสามารถเดินทางไปได้ อย่างรวดเร็ ว วิทยุกลายเป็ นสิง่ ที่ได้ รับความนิยมในทุกชนชัน้ เข้ าถึงประชาชน และมีสว่ นในกิจการส�ำคัญหลายอย่างของโลกทัง้ ในช่วงของการเกิดสงครามและในชีวิตประจ�ำวัน นอกจากนันมั ้ นยังท�ำให้ ศลิ ปกรรมอันส�ำคัญ ยิ่งของมวลมนุษยชาติเช่นดนตรี กลายเป็ นส่วนหนึง่ ของสังคมอย่างแท้ จริ ง การเปลี่ยนคลื่นที่ลอยอยู่กลางอากาศให้ กลายเป็ นเสียงดนตรี และแทรกซึมเข้ าไปใน หัวใจของคนทังหลายที ้ ่รอฟั งนันนั ้ บเป็ นก้ าวย่างอันยิ่งใหญ่ที่สดุ ของกิจการกระจายเสียงวิทยุ วิทยุเพื่อกิจการสงครามจึงกลายเป็ นวิทยุเพื่อความบันเทิง วิทยุของประชาชน ซึง่ คงจะกล่าวได้ วา่ การที่ดนตรี ได้ รับความนิยมมากขึ ้นเรื่ อยๆ และต่อเนื่องอย่าง ยาวนานจนถึงทุกวันนี ้นันก็ ้ เนื่องมาจากคุณปู การของเฮอร์ โรลด์ผ้ นู ี ้นัน่ เอง

ที่มา : O-N issue 09 | listen to your freedom

*Biography


ผู้ที่หันหลังให้สรวงสวรรค์ -- ซัลมาน รัชดี (Salman Rushdie) --

ในโลกของวรรณกรรมร่วมสมัย มีนกั อ่านน้ อยคนนักที่จะไม่ร้ ูจกั ชื่อเสียงของซัลมาน รัชดี และวจนะปี ศาจ (The Satanic Verses) ซึง่ เป็ นผลงานล�ำดับที่สี่ที่สร้ างชื่อของเขาให้ เป็ น หนึง่ ในผู้ที่ถกู ไล่ลา่ อย่างหนักหน่วงที่สดุ คนหนึง่ ในโลกมุสลิม ถึงขันที ้ ่ท�ำให้ เขาถูกประกาศฟั ตวา(การขับออกจากศาสนาซึง่ เป็ นค�ำสัง่ อนุญาตให้ ประหารทันทีที่เจอตัว)จากอะยาตุลเลาะห์ โคไมนี ผู้น�ำสูงสุดแห่งรัฐอิสลามอิหร่านในปี 1989 ท�ำให้ โลกอิสลามเกิดการสัน่ สะเทือนอย่าง ใหญ่หลวงที่สดุ ครัง้ หนึง่


รัชดีเกิดในบอมเบย์ชว่ งปี 1947 ขณะที่อินเดียยังเป็ นส่วนหนึง่ ในเครื อจักรภพอังกฤษ ก่อนที่อินเดียจะได้ รับเอกราชในอีกไม่กี่เดือนถัดมา เขาเติบโตในครอบครัวมุสลิมที่อยูใ่ น บริ เวณแคว้ นกัศมีรี (หรื อแคชเมียร์ ) ได้ รับการศึกษาตามแบบอังกฤษและได้ รับการปกป้องจาก รัฐบาลอังกฤษจากค�ำสัง่ ประหารนี ้ วจนะปี ศาจของเขาเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการต่อสู้ระหว่างความ ดีงามและความชัว่ ร้ ายที่แสดงให้ เห็นถึงความผันผวนผกผันของการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ในยุคที่รัชดีเกิดและเติบโตมาและความซับซ้ อนของความต้ องการในจิตใจของคนซึ่งเป็ นผล กระทบมาจากภายหลังการเกิดสงครามโลกครัง้ ที่สองและการปลดปล่อยอาณานิคมทัว่ โลก จากโลกที่เคยตกอยู่ในการควบคุมของมหาอ�ำนาจเพียงไม่กี่ประเทศกลายเป็ นประเทศอิสระ น้ อนใหญ่ที่ผ้ คู นได้ กลับมาสัมผัสกับอิสรภาพอีกครัง้ หลังจากที่ต้องหายใจอยู่ใต้ การครอบง�ำ ของผู้อื่นมานานแรมปี การแสวงหาจุดสมดุลภายในจิตใจของคนจึงเป็ นแก่นของเรื่ องที่ผ้ เู ขียน สื่อภาพผ่านการรับวจนะของศาสดาโมฮัมหมัดในศาสนาอิสลามว่าในวจนะเหล่านันอาจมี ้ การ ปะปนลวงหลอกของซาตานที่ชวั่ ร้ าย แต่สดุ ท้ ายศาสดาก็สามารถกลับมายืนหยัดอยูใ่ นความ ถูกต้ องและประกาศวจนะลบล้ างความชัว่ ร้ ายนันได้ ้ ส�ำเร็จ จุดที่มีสว่ นพัวพันไปถึงหลักของ ศาสนาอิสลามนี ้เองที่ท�ำให้ โลกมุสลิมบางส่วนลุกขึ ้นต่อต้ านรัชดีวา่ เป็ นพวกนอกศาสนา แต่แท้ จริ งแล้ วนวนิยายเรื่ องนี ้ก็ไม่ใช่แค่การโจมตีใครคนหนึง่ หรื อเย้ ยหยันคนกลุม่ ใด กลุม่ หนึง่ ที่หลงงมงายในความเชื่อ ทว่ามันเป็ นการสะท้ อนให้ เห็นถึงการต่อสู้และทางเลือกที่ คนทุกคนควรมีสทิ ธิ์เดิน ไม่วา่ จะเป็ นพระเจ้ าหรื อซาตาน อนุรักษ์ นิยมหรื อเสรี นิยม โลกตะวัน ตกหรื อโลกตะวันออก ความสับสนของคนในช่วงนันต่ ้ างก็ต้องการผู้ชี ้หนทางสว่างด้ วยกันทัง้ นัน้ ซึง่ สุดท้ ายแล้ วไม่วา่ จะเลือกหนทางใด การมีชีวติ อยู่บนโลกก็ยังคงเป็ นเหรี ยญสอง ด้ านทีเ่ ป็ นทั้งความโหดร้ ายอย่ างหนึ่งและความสวยงามอย่ างยิง่ ยวดในเวลาเดียวกัน

ที่มา : O-N issue 10 | ไม่ตลก

*Biography


ผูค้ นจะเริ่ มออกเดิ นทางเพือ่ เชื อ่ มโลกอันกว้างใหญ่ ให้เข้าใกล้กนั และไม่กลัวอี กแล้วที จ่ ะออกผจญภัยเพือ่ ค้นหา บางสิ่ งบางอย่างทีย่ งั ไม่มีใครสามารถพิ สูจน์ได้ . ในโลกนีม้ ี หลายคนทีป่ ระสบความส�ำเร็ จ แต่สิ่งที ่ น่าทึ่งยิ่ งกว่าการประสบความส�ำเร็ จอย่างคนทัว่ ไป คือ การ ถี บตัวเองขึ้นจากความตกต�่ำสุดขัว้ ในชี วิตและค้นพบสิ่ งที เ่ ป็ น ตัวเองได้ในทีส่ ดุ . - ภัทรานิษฐ์ พัฒน์ธนพร [ Columnist : A Life I See / Biography ]


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.