Mti 10

Page 162

160

ร า ย ง า น ป ร ะ จ �ำ ปี 2 5 5 3

25.3 คดีฟ้องร้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ ถูกฟ้องร้องคดีจากการเป็นผู้รับประกันภัย โดยมีทุนทรัพย์ถูกฟ้องเป็นจ�ำนวนเงิน โดยรวมประมาณ 1,064.9 ล้านบาท การพิจารณาคดีดงั กล่าวยังไม่แล้วเสร็จและบริษทั ฯ คาดว่าจะชนะคดี อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้บันทึกส�ำรองเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในงบการเงินเป็นจ�ำนวน 211.0 ล้านบาท

26. เครื่องมือทางการเงิน 26.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเบี้ยประกันภัยค้างรับ เงินค้างรับเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ และเงินให้กู้ยืมโดยมีทรัพย์สินจ่ายเป็นประกัน

ความเสี่ยงเกี่ยวกับการกระจุกตัวของสินเชื่อซึ่งเกิดจากเงินให้กู้ยืมและเบี้ยประกันภัยค้างรับไม่มีสาระส�ำคัญ เนื่องจาก ผู้กู้ยืมเงินและผู้เอาประกันภัยของบริษัทฯ กระจายอยู่ในอุตสาหกรรมที่แตกต่างกันและภูมิภาคต่างๆ ในประเทศ และ มูลค่าสูงสุดของความเสีย่ งคือมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ดงั กล่าวหักด้วยค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญตามทีแ่ สดงไว้ในงบดุล

ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงินและเงินลงทุนในหลักทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพย์ทางการเงินที่ส�ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และส�ำหรับสินทรัพย์ ทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบก�ำหนด หรือวันที่มีการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือ วันที่ครบก�ำหนด (แล้วแต่วันใดจะถึงก่อน) ได้ ดังนี้ อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ปี

เงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนในหลักทรัพย์ พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้นกู้ หลักทรัพย์อื่น เงินให้กู้ยืมโดยมีทรัพย์สิน จำ�นองเป็นประกัน - สุทธิ รวม

1 - 5 ปี

659.45

660.00

787.14 20.00 130.09 30.57 1,627.25

อัตราดอกเบี้ย ไม่มี มากกว่า ปรับขึ้นลงตาม อัตรา 5 ปี ราคาตลาด ดอกเบี้ย (ล้านบาท)

รวม

อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

-

206.63

-

1,526.08 0.00-3.30

607.27 50.00 564.30 10.04

562.97 141.41 -

-

-

1,957.38 1.75-7.50 70.00 1.50-3.50 835.80 2.90-7.40 10.04 0.33

1,891.61

0.28 704.66

206.63

-

30.85 5.00-9.50 4,430.15

ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ พิจารณาว่าไม่มคี วามเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ �ำคัญเนือ่ งจากบริษทั ฯ ไม่มธี รุ กรรมทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศ และ ไม่มีสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่มีสาระส�ำคัญคงเหลือ ณ วันที่ในงบดุล 26.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จ�ำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการ ก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะก�ำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือ ก�ำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.