Mbax 09

Page 1


สารบัญ ผลการดําเนินงานที่สําคัญ รายงานของคณะกรรมการ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปจจัยความเสีย่ ง ขอมูลทั่วไป โครงสรางการถือหุน โครงสรางองคกร รายละเอียดโดยยอ ของคณะกรรมการ เจาหนาที่ระดับบริหาร รายการระหวางกัน การกํากับดูเเลกิจการและโครงสรางการจัดการ คําอธิบายเเละการวิเคราะห ของฝายจัดการ รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน รายงานการกํากับดูแลกิจการ ของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาตและงบการเงิน

1

2 3 5 7 11 12 13 14 19 20 21 33 35 36 37


ผลการดําเนินงานที่สําคัญ ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม (หนวย : พันบาท)

2552

2551

2550

2549

1,002,998

1,059,326 1,106,771

ผลการดําเนินงาน สินทรัพยรวม

969,380

หนี้สินรวม

686,202

741,562

796,274

799,561

สวนของผูถือหุน

316,796

317,764

310,497

169,819

รายไดรวม

1,397,204

1,769,486 1,611,213 1,362,599

กําไรสุทธิ

28,471

32,867

43,596

55,062

อัตรากําไรสุทธิตอรายไดรวม

2.04%

1.86%

2.71%

4.04%

อัตราผลตอบเเทนตอสวนของผูถือหุน

8.99%

10.34%

14.04%

32.42%

อัตราผลตอบเเทนตอสินทรัพยรวม

2.84%

3.10%

3.94%

5.68%

มูลคาที่ตราไวตอหุน (บาท)

1.00

1.00

1.00

1.00

มูลคาตาม บัญชีตอหุน(บาท)

2.47

2.48

2.43

1.83

0.22

0.26

0.34

0.59

0.22

0.26

0.35

0.66

0.11

0.38

0.38

-

-

-

0.50

128

128

128

93

อัตราสวนทางการเงิน

1)

กําไรสุทธิตอหุน (บาท) 2)

กําไรสุทธิตอหุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (บาท)

0.20

เงินปนผล ตอหุน (บาท) หุนปนผล ตอหุน (หุน) จํานวนหุน

3)

(ลานหุน)

4)

1) FULLY DILUTED 2) WEIGHTED AVERAGE 3) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 4) รวมเงินปนผลระหวางกาลสําหรับผลประกอบการ 6 เดือนแรกของป 2552 อัตราหุนละ 0.12 บาท ซึ่งจายเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552 และคงเหลือเปนเงินปนผลที่จะจายอีกในอัตราหุนละ 0.08 บาท โดยจะนําเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 อนุมัติตอไป

2


รายงานของคณะกรรมการ ป 2551 ธุรกิจถุงพลาสติกทั่วโลกไดรับผลกระทบโดยตรงจากความถดถอยทางเศรษฐกิจเรื่อยมาจนถึงป 2552 โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเกิดวิกฤตทางการเงิน ทําใหผูซื้อขาดความมั่นใจในการเก็บสํารองสินคา เปนจํานวนมาก ภาวะการแขงขันของธุรกิจในป 2552 มีผลมาจากปจจัยภาวะทางเศรษฐกิจที่ถดถอยขางตน กําลังซื้อสินคาที่ ลดลงทําใหผูผลิตในประเทศตาง ๆ โดยเฉพาะประเทศจีน อินเดีย และเวียดนามเขามาแขงขันในทุกตลาด ผูบริโภคเอง ก็มีแนวโนมที่จะใชจายนอยลง มองหาสินคาที่มีราคาถูกลง ในขณะที่ผูแปนเจาของชองทางจัดจําหนาย เชน หางสรรพสินคา ก็พยายามสรางผลกําไรมากขึ้นโดยการออกผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับผลิตภัณฑที่มีตรา สินคาของหาง (House Brands) ที่ไดรับการยอมรับแตมีราคาขายต่ํากวาโดยสินคากลุมนี้มีแนวโนมเติบโตมากขึ้น ในสวนของราคาผลิตภัณฑก็เปนปจจัยที่มผี ลกระทบตอการแขงขัน เนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาท ตอดอลลารที่คาเงินบาทมีคาแข็งขึ้นตลอดโดยเฉพาะใน 6 เดือนหลังของป 2552 ทําใหบริษัทลดความไดเปรียบลงเมื่อ เปรียบเทียบกับจีนและเวียดนาม ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศทั้งสองมีผลตอการสงออกในสินคาบางประเภทที่ บริษัทแขงขันอยู สงผลใหไตรมาสสุดทายบริษัทมีผลประกอบการที่ลดลง โดยบริษัทมีกําไรสุทธิประจําป 2552 จํานวน 28.47 ลานบาท หรือรอยละ 2.06 ของรายไดจาการขาย ลดลงเมื่อเทียบกับกําไรสุทธิ 32.87 ลานบาท หรือรอย ละ 1.88 ของรายไดจากการขายในป 2551 อยางไรก็ตามในปจจุบันบริษัทมีการจัดการบริหารความเสี่ยงดานอัตรา แลกเปลี่ยนอยูตลอดเวลา มีวงเงินที่เหมาะสมในการลดทอนความเสี่ยงและสรางความสามารถในการแขงขันกับ ประเทศคูแขงดวยเชนเดียวกัน ในดานวัตถุดิบซึ่งเปนตนทุนหลักของบริษัทก็มีความผันผวนอยูตลอดเวลา อีกทั้งมีตลาดเกิดใหมโดยเฉพาะ จีน, อินเดีย, เวียดนาม และแอฟริกา ดังนั้นปริมาณความตองการใชพลาสติกสําหรับชีวิตประจําวันในประเทศของ ประเทศเหลานี้ไดเพิ่มมากขึ้น ตัวเลขของประเทศจีน มียอดนําเขาเม็ดพลาสติกจากตางประเทศสูงขึ้นจากป 2551 จํานวน 8% หรือ 180,000 ตัน แตในขณะที่แหลงผลิตในประเทศตะวันออกกลางและจีนเพิ่มมากขึ้น แตก็ยังไมพรอม นําสูตลาดได เนื่องจากความสามารถในการผลิตเม็ดพลาสติกมีขอจํากัดทั้งดานเทคโนโลยีและวัตถุดิบที่ผลิตเม็ด พลาสติกก็ขาดแคลนดวยเชนเดียวกัน ทําใหผูขายวัตถุดิบสงมอบลาชาหรือวัตถุดิบเหลานั้นไดรับการสงมอบไมตรง เวลาซึ่งมีบอยครั้ง ในขณะเดียวกันปญหาของผูผลิตวัตถุดิบหลักของบริษัทก็มีสถานที่ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมมาบ ตาพุต จังหวัดระยอง ซึ่งไดรับคําสั่งศาลปกครองสูงสุดระงับโครงการที่อาจจะมีผลกระทบตอชุมชนในพื้นที่นิคม อุตสาหกรรม ทําใหหลายโรงงานที่พรอมจะผลิตเม็ดพลาสติกไมสามารถดําเนินการได สงผลทําใหเม็ดพลาสติกทุก ชนิดเกิดความขาดแคลนและมีผลตอราคาสูงขึ้นอยางมาก บริษัทจึงจําเปนตองพัฒนาแหลงเม็ดพลาสติกรายใหม เชน ประเทศเกาหลีและประเทศในกลุมตะวันออกกลาง ซึ่งในเดือนธันวาคม 2552 บริษัทมีการนําเขาจากตางประเทศ 250 ตัน ซึ่งพบวาหลังจากที่รัฐบาลประกาศนํา FTA มาใชแลวราคาและจํานวนของเม็ดพลาสติกจะมีแนวโนมที่สอดคลอง กับความตองการของตลาดที่มีเพิ่มขึ้น ปญหาหลักที่สําคัญอีกดานหนึ่งที่สงผลตอการดําเนินงาน คือปญหาการเมืองของประเทศไทยซึ่งไดสงผล กระทบตอความเชื่อมั่นจากลูกคาพอสมควรและบริษัทไดรับการสอบถามจากลูกคาหลายรายถึงสภาพความพรอมใน การผลิตและสงมอบ ตลอดจนขอใหบริษัทจัดเตรียมแผนสํารองเพื่อรับประกันการสงมอบเพื่อใหเปนไปตามคําสั่งซื้อ ซึ่งบริษัทไดวางแผนกระจายความเสี่ยงออกไป โดยจัดใหการสงออกระจายตัวไปตามทาเรือที่ทาเรือแหลมฉบังและ ทาเรือคลองเตยเพื่อลดความเสี่ยง หากมีทาเรือแหงใดไมสามารถดําเนินการไดดวยเหตุผลจากการเมืองของประเทศ ซึ่ง

3


การจัดทําแผนและดําเนินการเหลานี้ทําใหบริษัทมีภาระตนทุนที่สูงขึ้นแตความเสี่ยงในการดําเนินงานของบริษัทก็ลด ลงเชนกัน ปจจุบันบริษัทจะมุงเนนพัฒนาสินคาที่มีความหลากหลายมากขึ้น เชน ถุงบรรจุอาหารแบบใหม, ถุงใสผลไม, แผนฟลมที่ใชทางการเกษตร ซึ่งมีมาตรฐานผลิตภัณฑที่สูงขึ้นมีประโยชนตอผูบริโภคและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ทํา ใหการเขามาในตลาดของคูแขงขันเปนไปไดยากขึ้น ซึ่งเปนกลยุทธหลักของบริษัทในการแขงขันในธุรกิจ ซึ่งในขณะ นี้บริษัทเองก็มีหนวยงานวิจัยพัฒนาสินคาที่หองปฏิบัติการของตนเองเพื่อพัฒนาวัตถุดิบชนิดใหมๆ ซึ่งคาดวาจะนําสู ตลาดไดในระยะเวลาอันใกลนี้ ในดานการพัฒนา ป 2552 บริษัทไดรับสมัครพนักงานที่มีความรูความสามารถในงานวิจัยดานตางๆ เขามา จํานวนหนึ่ง ซึ่งบริษัทไดทําการมุงเนนการพัฒนาพลาสติกชีวภาพ, แผนฟลมพลาสติกที่สามารถใหอากาศผานเขาออก เพื่อใชถนอมอาหารและสารอนุภาคที่มีขนาดเล็กระดับนาโน เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของพลาสติกใหมากขึ้น การจัดการดานพลังงานและสิ่งแวดลอม บริษัทจัดใหมีคณะกรรมการทํางานทั้ง 2 เรื่อง โดยมีเปาหมายที่จะ ลดการใชพลังงานของบริษัทใหสอดคลองกับการควบคุมการปลอยคารบอนไดออกไซค ซึ่งจะถูกกําหนดตามพิธีสาร โตเกียวในอนาคตอันใกลนี้ การบริหารของบริษัทยังคงรักษามาตราฐานของระบบ ISO 9001 – 2000 เปนระเบียบวิธีการปฏิบัติงานและ ระบบการบริหารการผลิตใหถูกตองตามสุขลักษณะตามมาตรฐาน GMP โดยใหเพิ่มระบบ LEAN เขามาเพื่อลด ขั้นตอนการปฏิบัติงานของบริษัทและพัฒนาตนทุนของบริษัทในอนาคต บริษัทตองขอขอบคุณทานผูถือหุน ลูกคา สถาบันการเงิน ผูบริหาร และพนักงานทุกทานที่มีสวนรวมพัฒนา ใหบริษัทดําเนินงานดวยความเจริญกาวหนาดวยดีตลอดมา

4


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน) “บริษัท” กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2538 โดยนักธุรกิจไทยที่มี ความรู แ ละประสบการณ ใ นธุ ร กิ จ ผลิ ต และส ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ พ ลาสติ ก บรรจุ ภั ณ ฑ บริ ษั ท ดํ า เนิ น กิ จ การผลิ ต ผลิตภัณฑพลาสติกบรรจุภัณฑในลักษณะผลิตตามคําสั่ง (Made to Order) ใหแกลูกคาเพื่อการสงออกไปจําหนายใน ตางประเทศ โดยบริษัทไดทําการแบงผลิตภัณฑหลักของบริษัท ออกเปน 2 กลุมผลิตภัณฑ ตามวัตถุดิบหลักที่ใชใน การผลิต ไดแก 1. ผลิตภัณฑที่ผลิตจากเม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีนประเภทความหนาแนนสูง (HDPE : High Density Polyethylene) ไดแก ถุงใสขยะชนิดมวน ถุงหูหิ้ว ถุงถนอมอาหาร 2. ผลิตภัณฑที่ผลิตจากเม็ดพลาสติก โพลิเอททีลีนประเภทความหนาแนนต่ํา (LDPE: Low Density Polyethylene) ไดแก ถุงซิป (ชนิดปด-เปดในตัว) ถุงขยะบางประเภท และถุงถนอมและใสผักผลไมตาง ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีกําลังผลิตสูงสุดจากโรงงานทั้ง 4 โรงงานรวมกันปละ 29,304 ตัน ทั้งนี้ บริษัทไมมีการประกอบธุรกิจผานบริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัทมีทุนจดทะเบียน 128 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 128 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท ไดเรียกชําระแลวจํานวน 128 ลานบาท ณ สิ้นป 2552 บริษัทมีพนักงาน รวมทั้งสิ้น 793 คน โครงสรางรายไดของบริษัทแสดงตามตารางดังนี้

มูลคาการจําหนายผลิตภัณฑตามวัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตของบริษัท ป 2552 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ผลิตภัณฑตามวัตถุดบิ หลักทีใ่ ชในการผลิต ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ HDPE 526.43 38.97 648.83 40.90 679.73 38.98 534.07 38.65 LDPE 820.94 60.82 933.49 58.84 1,060.48 60.81 841.72 60.92 อื่น ๆ 2.77 0.21 4.07 0.26 3.64 0.21 5.91 0.43 รวม 1,350.14 100.00 1,586.39 100.00 1,743.85 100.00 1,381.70 100.00 ปริมาณการจําหนายผลิตภัณฑตามวัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตของบริษัท ป 2552 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ผลิตภัณฑตามวัตถุดิบ ตัน รอยละ ตัน รอยละ ตัน รอยละ ตัน รอยละ หลักทีใ่ ชในการผลิต HDPE 6,761.00 44.40 8,559.00 47.10 8,027.72 44.85 7,254.83 43.14 55.02 9,539.01 56.72 LDPE 8,425.00 55.40 9,591.00 52.77 9,848.63 อืน่ ๆ 29.00 0.20 23.5000 0.13 23.05 0.13 24.10 0.14 รวม 15,215.00 100.00 18,173.50 100.00 17,899.40 100.00 16,817.94 100.00 5


บริษัทไดรับการสงเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ดังนี้ ตามบัตรสงเสริมการลงทุน เลขที่ 7010/2541 ลงวันที่ 10 เมษายน 2541 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยบัตรเลขที่ 4089/2543 (2-7010/2541) ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2543 และตามบัตรสงเสริมการลงทุน เลขที่ 2044 (2)/2547 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2547โดยมีผลตั้งแตวันที่ 5 มีนาคม 2546 บริษัทไดรับสิทธิและประโยชนที่สาํ คัญดังนี้ 1. ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิจากการประกอบกิจการผลิตภัณฑพลาสติก(ถุงพลาสติก) หรือ เคลือบดวยพลาสติกโดยมีกําลังการผลิตตามบัตรสงเสริมการลงทุน เลขที่ 4089/2543(2-7010/2541) และ เลขที่ 2044(2)/2547 ปละ 5,100 ตัน และ 30,000 ตัน ตามลําดับ เปนเวลา 8 ป นับตั้งแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการ ประกอบกิจการในวันที่ 16 กรกฎาคม 2541 และวันที่ 5 เมษายน 2547 ตามลําดับ และหมดอายุการไดรับการ สงเสริมการลงทุนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2549 และวันที่ 4 เมษายน 2555 ตามลําดับ รวมทั้งสามารถนําผลขาดทุน ในระหวางเวลานั้นไปหักออกจากกําไรสุ ทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาที่ รับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล มี กําหนดเวลาไมเกิน 5 ปนับแตวันที่พนกําหนดเวลานั้น 2. ไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดรับจากการลงทุนในอัตรารอยละ 50 ของอัตราปกติมี กําหนด 5 ป นับจากวันที่พนกําหนดระยะเวลาตาม 1. 3. ไดรับอนุญาตใหหักคาขนสง คาไฟฟา และคาประปา 2 เทาของคาใชจายดังกลาวเปนระยะเวลา 10 ป นับแตวันที่ เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ 4. ได รั บ อนุ ญ าตให หั ก เงิ น ลงทุ น ในการติ ด ตั้ ง หรื อ ก อ สร า งสิ่ ง อํ า นวยความสะดวกร อ ยละ 25 ของเงิ น ลงทุ น นอกเหนือไปจากการหักคาเสื่อมราคาตามปกติ 5. ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับวัตถุดิบและวัสดุจําเปนที่ตองนําเขามาจากตางประเทศเพื่อใชในการผลิตเพื่อการ สงออกเปนระยะเวลา 5 ปนับแตวันนําเขาครั้งแรก 6. ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับของที่ผูไดรับการสงเสริมนําเขามาเพื่อสงกลับออกไปเปนระยะเวลา 5 ป นับแต วันนําเขาครั้งแรก 7. ไดรับยกเวนไมตองนําเงินปนผลจากกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนไปรวมคํานวณ เพื่อเสียภาษีเงินได ตลอดระยะเวลาที่บริษัทไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล ในฐานะที่เปนกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน บริษัทจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอกําหนดตางๆ การปนสวนคาใชจายในการขาย คาใชจายบริหารและคาใชจายทางการเงิน ในสวนที่ไมสามารถระบุไดวาเปน สวนที่ดรับสิทธิประโยชนและไมไดรับสิทธิประโยชนนั้นจะปนสวนตามอัตรารายได อยางไรก็ตามบริษัทยังไมตองชําระภาษีเงินได เนื่องจากผลการดําเนินงานรวมของกิจการไมมีกําไรสุทธิตาม ประกาศกรมสรรพากร เรื่องการคํานวณกําไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ไดรับ การสงเสริมการลงทุน

6


ปจจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัถตุดิบ การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกทําใหความตองการทางดานพลังงาน , เคมีภัณฑ และสินคาโภคภัณฑ มีความ ตองการสูงขึ้น โดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนาที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นอยางรวดเร็ว ซึ่งเปนปจจัยทํา ใหราคาเม็ดพลาสติกปรับราคาสูงขึ้นโดยลําดับ ในขณะเดียวกันคาเงินดอลลารที่ใชอางอิงกับราคาตลาดกลับมีราคาที่ ออนตัวลง ทําใหมีผูสนใจยายเงินลงทุนเขาไปเก็งกําไรในสินคาโภคภัณฑ อันสงผลทําใหเม็ดพลาสติกซึ่งเปนสินคา โภคภัณฑชนิดหนึ่งเขาไปอยูในกลไกของการเก็งกําไรมากขึ้น จากขอมูลของบริษัทพบวาตลาดเม็ดพลาสติกรายใหญของโลก คือ ประเทศจีน ซึ่งมีการนําเขาเม็ดพลาสติก จากทั่วโลกถึงปละ 34,892.60 ลานเหรียญ ซึ่งกวารอยละ 50 เปนการเก็งกําไรทั้งสิ้น สิ่งเหลานี้เปนผลทําใหกลไก ทางการตลาดเสียไป ในครึ่งปหลังของป 2552 ปญหาสิ่งแวดลอมใน อ.มาบตาพุต จ.ระยอง ซึ่งเปนแหลงผลิตเม็ดพลาสติกราย หลักกลับสงผลกระทบอยางมากตอบริษัท เชน การสงมอบลาชา, ขาดแคลนวัตถุดิบอยางหนัก ทําใหการผลิตของ บริษัท ไมส ามารถสงมอบใหกับ ลู กคาทั นเวลา และมีผลตอ กลไกการปรับราคาของบริษัท แนวโนมของปญ หา สิ่งแวดลอมที่แหลงผลิตวัตถุดิบหลักของบริษัทจะมีผลกระทบตอบริษัทไปจนถึงกลางป 2553 และจะเริ่มปรับตัวได หลังจากแหลงผลิตใหมๆ ในประเทศและแถบตะวันออกกลางหรือเอเซียตะวันออกเฉียงใตสามารถสงมอบไดมากขึ้น

แผนภูมิราคาวัตถุดิบแตละชนิดป 2550, 2551 และ 2552 ราคาเม็ด HDPE ป 2550-2552 $1,900 $1,850 $1,800 $1,750 $1,700 $1,650 $1,600 $1,550 $1,500 $1,450 $1,400 $1,350 $1,300 $1,250 $1,200 $1,150 $1,100 $1,050 $1,000 $950 $900 $850 $800 $750

ม.ค.

ก.พ.

มี. ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ. ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

2550

$1,290

$1,270

$1,265

$1,270

$1,275

$1,320

$1,330

$1,365

$1,380

$1,380

$1,400

$1,500

2551

$1,530

$1,620

$1,640

$1,630

$1,625

$1,680

$1,845

$1,830

$1,695

$1,430

$900

$800

2552

$810

$915

$960

$1,010

$1,140

$1,200

$1,260

$1,280

$1,315

$1,190

$1,240

$1,280

7


ราคาเม็ด LLDPE ป 2550-2552 $1,900 $1,850 $1,800 $1,750 $1,700 $1,650 $1,600 $1,550 $1,500 $1,450 $1,400 $1,350 $1,300 $1,250 $1,200 $1,150 $1,100 $1,050 $1,000 $950 $900 $850 $800 $750

ม.ค.

ก.พ.

มี. ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ. ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

2550

$1,290

$1,280

$1,285

$1,280

$1,290

$1,320

$1,330

$1,370

$1,380

$1,375

$1,400

$1,500

2551

$1,530

$1,620

$1,640

$1,640

$1,650

$1,705

$1,865

$1,850

$1,740

$1,450

$900

$820

2552

$845

$945

$975

$1,020

$1,150

$1,190

$1,260

$1,280

$1,315

$1,200

$1,240

$1,310

ราคาเม็ด LDPE ป 2550-2552 $1,950 $1,900 $1,850 $1,800 $1,750 $1,700 $1,650 $1,600 $1,550 $1,500 $1,450 $1,400 $1,350 $1,300 $1,250 $1,200 $1,150 $1,100 $1,050 $1,000 $950 $900 $850 $800

ม.ค.

ก.พ.

มี. ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ. ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

2550

$1,310

$1,305

$1,310

$1,310

$1,330

$1,380

$1,430

$1,490

$1,530

$1,530

$1,560

$1,620

2551

$1,640

$1,730

$1,755

$1,750

$1,770

$1,815

$1,920

$1,905

$1,830

$1,580

$1,030

$830

2552

$875

$945

$975

$1,020

$1,150

$1,205

$1,270

$1,310

$1,345

$1,240

$1,295

$1,405

จากรายละเอียดดัวกลาวขางตนแสดงใหเห็นถึงความผันผวนของราคาวัตถุดิบในแตละชนิด บริษัทเริ่ม นโยบายการจัดซื้อวัตถุดิบในแหลงผลิตใหม ๆ เชนตะวันออกกลาง, ญี่ปุน เกาหลีและสิงคโปร บริษัทยังไดรวมกับ ผูผลิตในตางประเทศผลิตเม็ดพลาสติกบางชนิดที่ไมอางอิงกับราคาตลาดหรือไมเปนชนิดสากล และมีการเก็บสํารอง เม็ดพลาสติกมากขึ้น เพื่อลดการขาดแคลนลง

8


ความเสี่ยงจากภาวะการแขงขันในตลาด ภาวะการแขงขันในตลาด ยังคงมีอยูคอนขางสูงจากผูผลิตทั้งในประเทศจีน ไทย เวียดนาม และประเทศใน กลุมยุโรปตะวันออก โดยสวนใหญจะแขงขันในดานราคา, ดานคุณภาพ, ดานบริการ และการสงมอบตามเวลา การแขงขันจะรุนแรงมากขึ้นตามจํานวนผูผลิตในตลาดที่เพิ่มมากขึ้น บรรดาถุงหรือบรรจุภัณฑพลาสติกรูปแบบเดียว กับที่บริษัทผลิตจะมีลักษณะและรูปแบบที่แตกตางกันเปนจํานวนมาก ซึ่งบริษัททําการผลิตอยูเพียงบางประเภทเทานั้น เพื่อจัดการกับการแขงขันในตลาดบริษัทไดดําเนินการดังนี้ ลูกคาของบริษัทยังเปนกลุมเดิมซึ่งอยูภายใตเครื่องหมายการคาของลูกคาเองและกลุมอุตสาหกรรมที่ใชบรรจุ ภัณฑที่เปนอุตสาหกรรมผลไม โดยกลุมที่อยูภายใตเครื่องหมายการคาซึ่งกลุมแรกยังเปนการประกวดราคาเพื่อที่จะได คําสั่งซื้อ ซึ่งปจจัยของราคาเปนตัวกําหนดวิธีดังกลาวเปนระบบที่มีการแขงขันรุนแรง สวนกลุมที่สองจะเนนเรื่อง มาตรฐานการผลิ ต ที่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะและเน น เรื่ อ งของการส ง มอบให ทั น เวลาและให ค วามสํ า คั ญ กั บ การควบคุ ม มาตรฐานคุณภาพสินคา แตการแขงขันดานราคาไมสูงนักเนื่องจากมีผูผลิตนอยราย ตั้งแตป 2549 บริษัทไดเฟนหากลุมลูกคาที่มีสัญญาระยะยาวเปนสินคาคุณภาพสูงมีการผลิตอยางตอเนื่อง มี การปรับราคาใหสอดคลองกับภาวะวัตถุดิบ การทําแผนการตลาดรวมกัน เพื่อลดทอนภาวะการแขงขันในตลาดที่จะ สงผลถึงบริษัท ขณะนี้ลูกคากลุมนี้ยังคงทําธุรกิจกับบริษัทอยางตอเนื่องและมีจํานวนเพิ่มขึ้นอีก 2 รายในป 2552 ในดานการจัดการดานบริการและดานคุณภาพ บริษัทยังคงวัดผลความพึงพอใจกับลูกคาในดานมาตรฐาน ของคุณภาพสินคาและดานการบริการ การสงมอบที่ตรงตอเวลาอยูเสมอ ในปจจุบันบริษัทเองไดเดินเครื่องจักรที่ ทันสมัยสามารถชวยเพิ่มผลผลิตและยอดขายอยางมากเพราะสินคาจะมีคุณภาพแตกตางจากผลิตภัณฑเดิมที่มีอยูใน ทองตลาดทั่วไป ซึ่งไดรับการตอบรับที่ดี ดานจํานวนผูผลิตในตลาดจะแขงขันลดนอยลง เพราะราคาเม็ดพลาสติกที่สูงมากอยางตอเนื่องในตลอดป 2552 นาจะทําใหผูผลิตถุงพลาสติกขนาดกลางและเล็กไมสามารถเขาถึงตลาดวัตถุดิบได การขอปรับราคากับผูซื้อก็ ทําไดยากเพราะอํานาจตอรองนอยกวา ในขณะเดียวกันความตองการถุงพลาสติกก็ยังมีแนวโนมความตองการสูงขึ้น โดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแลว เพราะถือเปนของใชจําเปนในชีวิตประจําวัน

ความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศนั้นถือวาเปนระบบสําคัญในการเก็บรักษาขอมูลของบริษัททั้งหมด ความเสี่ยงของระบบที่ อาจเกิดขึ้นมีหลายปจจัย ไดแก 1. การถูกคุกคามจากแฮกเกอรหรือผูไมหวังดีที่ตองการเขามาดูขอมูลภายในของบริษัท 2. การโจมตีของไวรัสคอมพิวเตอรที่แฝงมากับอีเมลหรือจากการทํางานของพนักงานที่รูเทาไมถึงการณ 3. การสูญหายของขอมูลที่เกิดจากอุปกรณจัดเก็บ คือ เซิฟเวอรกลางของบริษัท 4. ความผิดพลาดในการสงขอมูลผานทางระบบเครือขายของบริษัทและระบบอินเตอรเน็ท 5. ความผิดพลาดของโปรแกรมบัญชีและการผลิต ปจจัยทั้งหมดนี้ถือเปนปจจัยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับระบบสารสนเทศ ถึงแมจะมีกฎหมาย พ.ร.บ. วา ดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 คุมครองดานกฎหมาย แตบริษัทมีการปองกันอยูตลอดเวลา โดยพัฒนาเทคโนโลยีดานสารสนเทศใหทันสมัยใหมีความพรอมเสมอ เพื่อปองกันเหตุปจจัยความเสี่ยงรวมถึงการ

9


ฝกอบรมพนักงานของบริษัทสําหรับปองกันความเสี่ยงเบื้องตนและฝกใหพนักงานรูจักวิธีการใชงานเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศที่ถูกตอง พนักงานสารสนเทศจะตองมีการพัฒนาความรูติดตามขาวสารดานระบบสารสนเทศอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เพื่อปองกันภัยจากปจจัยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น แนวทางในป 2553 ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศมีแผนจัดทําระบบ MRP อยางเต็มรูปแบบ เพื่อพัฒนาการรายงานผลการผลิตที่รวดเร็วและลดขั้นตอนการทํางานในการจัดสงขอมูล

ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน รายไดของบริษัท มาจากการสงสินคาออกไปขายยังตางประเทศ โดยในป 2552 รายไดจากการขายดังกลาวมี จํานวนเงินรวมทั้งสิ้น 1,381.70 ลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนเงินเหรียญดอลลารสหรัฐ ในป 2552 คาเงินบาทยังมีความ ผันผวน โดยคาเงินบาทมีแนวโนมแข็งคาขึ้น จากอัตราแลกเปลี่ยน 34.8051 บาทตอดอลลารสหรัฐ ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2551 มาเปน 33.2207 บาทตอดอลลารสหรัฐ ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2552 บริษัทไดลดทอนความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในรูปแบบตางๆ ทั้งการซื้อเม็ดพลาสติก โดยอิงราคาเปนดอลลารสหรัฐและการนําเขาเม็ดพลาสติกจากตางประเทศ และบริษัทไดทําการขาย (Forward) เงิน สกุลตางประเทศที่จะไดรับจากการขายสินคาลวงหนาใหเพียงพอกับรายรับที่จะเกิดขึ้นในระยะ 3 เดือน เพื่อปองกัน ปญหาความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน จากมาตรการปองกันความเสี่ยงดังกลาว ทําใหบริษัทมีกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 9.12 ลานบาท สําหรับ ชดเชยรายรับที่ไดรับผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนตลอดทั้งป 2552 ทั้งนี้บริษัทไมมีนโยบายเก็งกําไรจากอัตรา แลกเปลี่ยน จะเห็นไดจากการซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนาทุกสัญญาจะตัดยอดรายรับและรายจายที่เปนสกุลเงิน ตางประเทศที่เกิดขึ้นจริง

ความเสี่ยงจากความสามารถชําระเงินกูยืม และความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมียอดเงินกูระยะยาวกับสถาบันการเงินรวม 19.63 ลานบาท บริษัทมีเงิน เบิกเกินบัญชีเงินกูระยะสั้นและเงินกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งป กับสถาบันการเงินรวม 540.42 ลานบาท เมื่อดูฐานะการเงินของบริษัท ณ สิ้นป 2552 บริษัทมีสัดสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนที่ 2.17 เทา ซึ่งอยูในระดับ ใกลเคียงกับคาเฉลี่ยโดยทั่วไปของธุรกิจประเภทอุตสาหกรรม สําหรับอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมของบริษัทที่ใชอยูนั้น จัด วาอยูในระดับที่ไมไดสูงเกินไป เนื่องจากเปนระดับที่เทากับหรือต่ํากวาอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําประเภทเบิกเกินบัญชีแกก ลูกคา ชั้นดี (MOR) และอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําประเภทเงินใหกูยืมแกลูกคาชั้นดี (MLR) เนื่องจากสัญญาเงินกูบางฉบับเปดโอกาสในบางกรณีใหบริษัทสามารถชําระคืนเงินกูไมวาเต็มจํานวน หรือ บางสวนกอนกําหนดระยะเวลาที่ระบุไว ดังนั้นในอนาคตหากอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมมีความผันผวนมากขึ้น บริษัทก็ อาจจะหาแหลงเงินทุนแหลงอื่นมาใชทดแทนเงินกูตามสัญญานี้ได ซึ่งคาดวาความเสี่ยงของบริษัทที่จะเกิดจากความ ผันผวนของอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับที่ไมสูง บริษัทอาจมีความเสี่ยงเนื่องจากการใชเงินกูยืมระยะสั้นจํานวนที่สูง แตตราบใดที่บริษัทยังมีผลประกอบการ และกระแสเงินสดสุทธิที่ดี บริษัทเชื่อวาสถาบันการเงินจะไมเรียกคืนเงินกูยืมระยะสั้น

10


ขอมูลทั่วไป 1. ขอมูลบริษัท ชื่อ ทะเบียนเลขที่ จดทะเบียนกอตั้ง แปลงสภาพเปนมหาชน ธุรกิจหลัก สถานประกอบการ

บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน) 0107548000170 19 มิถุนายน 2538 22 มีนาคม 2548 ผลิตและจําหนายถุงพลาสติก สํานักงานใหญ เลขที่ 211 หมู 3 ตําบลทุงสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สาขาเลขที่ 456 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ สาขาเลขที่ 211/1 หมู 3 ตําบลทุงสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สาขาเลขที่ 211/8 หมู 3 ตําบลทุงสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สาขาเลขที่ 211/9 หมู 3 ตําบลทุงสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

2. บุคคลอางอิง ผูสอบบัญชี

ที่ปรึกษากฎหมาย

ผูตรวจสอบภายใน

นางวิไลรัตน โรจนนครินทร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3104 แหงสํานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ 316/32 ซอยสุขมุ วิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 0 2259 5300 นาย หลุย วิวงศศักดิ์ สํานักงานกฎหมาย เอส.พี.แอนด หลุยส 22 ซอยสาธุประดิษฐ 24 ถนนสาธุประดิษฐ แขวงบางโคล เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 0 2674 1951-2 นายประวิทย วงศคณิต สํานักงาน ชุติกาญจนการบัญชี เลขที่ 25/92 ซอยรามคําแหง 124 ถนนสุขาภิบาล 3 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร 10240 โทรศัพท 0 2373 8016-17

11


โครงสรางการถือหุน รายชื่อผูถือหุน ณ วันที่ 27 กรกฎาคม 2552

ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมายเหตุ

ชื่อผูถือหุน นายอนุวัฒน สุดมหาตยางกูร 2 นายสุรชัย อัศวแกวมงคล 1 นายวรพจน ศรีมหาโชตะ 2 นายโรเบิรต สแตนเลย โนเซ็ค นางบุษกร พานิช นายธราธร ลิ้มเจริญ นายพิสุทธิ เลิศวิไล 1 นายกวิน ตั้งอุทัยศักดิ์ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด นายเอ็ดวารด พอล จอหนสัน 1 2

จํานวนหุน 15,189,610 15,083,610 13,559,960 11,806,430 7,004,288 5,409,700 4,873,332 4,789,920 4,753,900 4,650,000

รวมสวนของบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ รวมสวนของคูสมรส

12

รอยละ 11.87 11.78 10.59 9.22 5.47 4.23 3.81 3.74 3.71 3.63


โครงสรางองคกร คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร ผูตรวจสอบภายใน

กรรมการผูจดั การ รองกรรมการผูจัดการ

ผูอํานวยการ ฝายขาย ผูจัดการ ฝายขาย

ผูอํานวยการ ฝายวิศวกรรม ผูจัดการ ฝายซอมบํารุง 1

ผูอํานวยการ ฝายผลิต ผูจัดการ ฝายผลิต 1

ผูอํานวยการ ฝายบัญชี ผูจัดการ ฝายบัญชี

ผูอํานวยการ ฝายบริหาร ผูจัดการฝายจัดซื้อ ผูจัดการฝายการเงิน

ผูจัดการ ฝายซอมบํารุง 2

ผูจัดการ ฝายผลิต 2

ผูจัดการ ฝายซอมบํารุง 3

ผูจัดการ ฝายผลิต 3

ผูจัดการ ฝายบัญชีตนทุน

ผูจัดการฝายบุคคล ผูจัดการฝายคลังสินคา ผูจัดการฝายสารสนเทศ ผูจัดการ ฝายความปลอดภัย ผูจัดการ ฝายประกันคุณภาพ

13

ผูจัดการ ฝายควบคุมคุณภาพ


รายละเอียดโดยยอของคณะกรรมการ นายวิเชียร ตัง้ อุทัยศักดิ์ ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

ประธานกรรมการ ไมมี ไมมี - ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - Master in Marketing (MIM) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง พ.ศ.2540 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยเฮาสซิ่ง ดิเวลล็อปเมนท จํากัด พ.ศ.2545 – ปจจุบัน ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด สิงหาคม 2551 – ประธานกรรมการ ปจจุบัน บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน)

นายอดิเรก ศรีวัฒนาวงษา ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ ไมมี ไมมี - ปริญญาโท สาขาการจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศิน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - Director Accreditation Program (DAP รุน 39/2005) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2547 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ บริษัท ไฮเจนเพาเวอร จํากัด พ.ศ.2548 – ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน) พ.ศ.2550 – ปจจุบัน กรรมการคณะกรรมการบริหารคลัสเตอร พลังงานทดแทน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

14


นายธนดล ทองสุข ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ไมมี ไมมี - ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ประกาศนียบัตร สํานักอบรมกฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา - Director Accreditation Program (DAP รุน 53/2006) - Director Certification Program (DCP รุน 74/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2540 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท สยามชีทไพลิ่งเวอรค จํากัด พ.ศ.2541 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท วิจิตร วัฒนะ จํากัด พ.ศ.2547 – ปจจุบัน ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ทรานส แอร คารโก จํากัด พ.ศ.2548 – ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน)

นางสาวเบญจวรรณ สินคุณากร ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ไมมี ไมมี - ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต, นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - Director Accreditation Program (DAP รุน 24/2004) - Director Certification Program (DCP รุน 79/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ. 2541 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท พรอสเพค คอนซัลติ้ง จํากัด พ.ศ. 2546 – ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท ซินเทค คอนสตรัคชั่น จํากัด(มหาชน) พ.ศ.2552 – ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน)

15


นายอนุวฒ ั น สุดมหาตยางกูร ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการและกรรมการผูจัดการ 13,089,610 หุน ไมมี - ปริญญาโท โครงการ MIM สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาตรี ศิลปศาสตร สาขามนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง - Director Accreditation Program (DAP รุน 53/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2538 – ปจจุบัน กรรมการและกรรมการผูจัดการ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน) พ.ศ.2548 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร และรักษาการผูอํานวยการฝายบริหาร บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน)

นายสุรชัย อัศวแกวมงคล ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการและรองกรรมการผูจัดการ 12,983,610 หุน ไมมี - ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาการเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยหอการคาไทย - Director Accreditation Program (DAP รุน 51/2006) - Director Certification Program (DCP รุน 72/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2538 – ปจจุบัน กรรมการและรองกรรมการผูจัดการ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน) พ.ศ.2548 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน)

16


นายพิสุทธิ เลิศวิไล ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการและกรรมการบริหาร 1,783,332 หุน ไมมี - ปริญญาเอก วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - Director Accreditation Program (DAP รุน 51/2006) - Director Certification Program (DCP รุน 72/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2537 – ปจจุบัน ผูจัดการฝายการตลาด บริษัท โรวิไทย จํากัด พ.ศ.2538 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท สํานักพิมพประพันธสาสน จํากัด พ.ศ.2548 – ปจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท มัลติแบกซ จํากัด(มหาชน)

นายรุงนริศย กุลกฤติยวณิชย ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการ 1,125,000 หุน ไมมี - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนปญญาพาณิชย - Director Accreditation Program (DAP รุน 51/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2548–ปจจุบัน กรรมการ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน)

17


นายประกิตติ์ เสกสรรค ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัว คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

กรรมการ 1,652,660 หุน ไมมี - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA) NORTH TEXAS STATE UNIVERSITY , USA - Director Accreditation Program (DAP รุน 53/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2542 – ปจจุบัน ที่ปรึกษาการเงิน บริษัท เจริญกฤษเอ็นเตอรไพรส จํากัด พ.ศ.2548 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน)

18


เจาหนาที่ระดับบริหาร ชื่อ นามสกุล

ตําแหนง

นายอนุวัฒน

สุดมหาตยางกูร

กรรมการผูจดั การ/รักษาการผูอํานวยการฝายบริหาร

นายสุรชัย

อัศวแกวมงคล

กรรมการและรองกรรมการผูจัดการ

นายทรงเกียรติ วิชญเวทางค

ผูอํานวยการฝายขาย

นายจิระชัย

นิลนพคุณ

ผูอํานวยการฝายผลิต

นายบุญเลิศ

ดีบานโสก

ผูอํานวยการฝายวิศวกรรม

นางสาวสุวรรณา ธีรภาพธรรมกุล

ผูอํานวยการฝายบัญชี

19


รายการระหวางกัน ไมมี

20


การกํากับดูแลกิจการและโครงสรางการจัดการ คณะกรรมการบริษัท เห็นวาการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนสิ่งที่มีความสําคัญ และมีสวนชวยสงเสริมผลการ ดําเนินงานของบริษัท เพื่อใหมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องและเพิ่มความเชื่อมั่นใหแกผูถือหุน ผูลงทุน และ ผูเกี่ยวของทุกฝาย บริษัทจึงไดยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีมาโดยตลอด พรอมทั้ง ปฏิบัติตามขอกําหนดของกฎหมาย ขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (สํานักงานก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยางเครงครัด ทั้งนี้บริษัทยังไดสงเสริมใหผูบริหารและ พนักงานของบริษัทเห็นความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดีอยางตอเนื่อง และใหความรูแกพนักงานเกี่ยวกับ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งหลักจรรยาบรรณของบริษัทเพื่อนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง บริษัทยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาการกํากับดูแลกิจการที่ดีอยางตอเนื่อง พรอมทั้งกําหนดใหการพัฒนาหลักการ กํากับดูแลกิจการใหอยูในแผนปฏิบัติการประจําปของบริษัท เพื่อใหมีการปฏิบัติใหสอดคลองกับหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนฉบับปรับปรุงป 2549 ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยในรายงาน ประจําป 2552 บริษัทไดปรับปรุงรูปแบบการรายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีใหสอดคลองกับ หลักการฯที่ปรับปรุงเพิ่มเติมโดยตลาดหลักทรัพยฯ ที่ใชในระดับสากล โดยแบงเปน 5 หมวด

1. สิทธิของผูถือหุน บริษัท ใหความสําคัญต อสิทธิของผูถือหุนและตระหนักถึงสิ ท ธิของผูถือหุนอย างเท าเที ยมกันพร อมทั้ ง สงเสริมการใชสิทธิและไมละเมิดหรือลิดรอนสิทธิ โดยบริษัทไดจัดประชุมผูถือหุนตามขอกําหนดของกฎหมายที่ เกี่ยวของ ตลอดจนขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงาน ก.ล.ต. และขอบังคับของบริษัท ซึ่งผูถือหุน สามารถรับทราบขอบังคับของบริษัทไดจากเว็บไซตของบริษัท บริษัทกําหนดใหมีขั้นตอนการประชุมผูถือหุนอยาง ถูกตอง ตั้งแตการเรียกประชุม การจัดสงเอกสารและแจงวาระการประชุม ขั้นตอนในการดําเนินการประชุม ตลอดจน การจัดสงรายงานการประชุมใหเปนไปตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยฯ บริษัทไดอํานวยความสะดวกแกผูถือหุน ในการเขารวมประชุมโดยจัดสงขอมูลสารสนเทศที่ครบถวน ชัดเจน เพียงพอและทันเวลา และเปดโอกาสใหผูถือหุนมี สิทธิอยางเทาเทียมกันในการสอบถามและแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้บริษัทยังไดกําหนดเวลาการประชุมและ สถานที่จัดประชุมที่เหมาะสมโดยคํานึงถึงความสะดวกของผูถือหุน บริษัทจะเริ่มประชุมเมื่อมีจํานวนผูถือหุนหรือผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุนครบองคประชุม กอนเริ่มการ ประชุมผูถือหุน บริษัทไดช้ีแจงขั้นตอนการประชุม วิธีการออกเสียงลงคะแนน การนับคะแนนเสียง และการแสดงผล การนับคะแนน การผานมติของที่ประชุมจะนับจากผูถือหุนหรือผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน ซึ่งมาประชุมและออก เสียงลงคะแนน โดย 1 หุน เทากับ 1 เสียง

2. การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน เมื่อคณะกรรมการบริษัทมีมติใหจัดประชุมผูถือหุน บริษัทไดประกาศแจงมติกําหนดการประชุมผูถือหุน และวาระการประชุมใหผูถือหุนทราบผานทางสื่อเผยแพรขอมูลของตลาดหลักทรัพยฯ ลวงหนา 14 วันกอนวันปด สมุดทะเบียนหุน และไดจัดสงหนังสือนัดประชุม ขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตางๆ โดยในแตละวาระมี ขอเท็จจริงและเหตุผลสําหรับเรื่องเพื่อพิจารณาและความเห็นของคณะกรรมการบริษัทประกอบ พรอมแนบรายงาน

21


ประจําป หนังสือมอบฉันทะและรายละเอียดชี้แจงวิธีการมอบฉันทะ รวมทั้งระบุรายการเอกสารที่ตองใชเพื่อเขา ประชุมใหผูถือหุนทราบลวงหนา 14 วันกอนวันประชุม สําหรับรายชื่อและประวัติกรรมการที่ครบวาระและไดรับ การเสนอชื่อเปนกรรมการอีกวาระหนึ่งนั้น บริษัทไดแจงไวในหนังสือนัดประชุมฯ เปนการลวงหนาแลว นอกจากนี้ บริษัทไดทําการประกาศคําบอกกลาวเรียกประชุมผูถือหุนในหนังสือพิมพติดตอกันเปนเวลา 3 วัน ในกรณีที่ผูถือหุน ไมสามารถเขารวมประชุมได ผูถือหุนสามารถใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนโดยการมอบฉันทะใหบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เขารวมประชุม หรือกรรมการอิสระเปนผูรับมอบอํานาจจากผูถือหุนในการออกเสียงในมติตางๆ สําหรับการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายในนั้น บริษัทไดจัดใหมีมาตรการปองกันการใชขอมูลภายในในทางที่ ไมถูกตอง มาตรการควบคุมภายใน และการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสภาวะแวดลอมของงาน หรือกิจกรรมของหนวยงานนั้น โดยกําหนดไวในจรรยาบรรณของบริษัท นอกจากนี้บริษัทมีขอกําหนดหามไมให กรรมการและผูบริหาร หรือหนวยงานที่ไดรับทราบขอมูลภายในเปดเผยขอมูลภายในแกบุคคลภายนอกหรือบุคคลที่ ไมมีหนาที่เกี่ยวของ และไมแสวงหาผลประโยชนใหตนเองและผูที่เกี่ยวของจากตําแหนงหนาที่และขอมูลอันเปน ความลั บ ของบริ ษั ท คณะกรรมการบริ ษั ท ได กํ าหนดให ก รรมการและผูบ ริ ห ารรายงานการเปลี่ ย นแปลงการถื อ หลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ตามมาตรา 59 แหง พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ การซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยของบริษัท กรรมการและผูบริหารของบริษัทจะตองรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยตอสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยภายใน 3 วันทําการ หลังจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน กรรมการและผูบริหารจะตอง สงสําเนารายงานดังกลาวจํานวน 1 ชุดใหแกบริษัทเพื่อเก็บไวเปนหลักฐาน

3. บทบาทของผูมีสวนไดเสีย บริษัทไดใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูมีสวนไดสวนเสียภายใน ไดแก พนักงาน และผูบริหารของบริษัท หรือผูมีสวนไดสวนเสียภายนอก ไดแก ลูกคา คูคา คูแขง เจาหนี้ ภาครัฐ ชุมชน และหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เนื่องจากบริษัทตระหนักถึงการสนับสนุนจากผูมีสวนไดสวนเสียตางๆ ซึ่งจะ สรางความสามารถในการแขงขัน และสรางกําไรใหกับบริษัท ซึ่งถือวาเปนการสรางความสําเร็จในระยะยาวของ บริษัทได ผูถือหุน : บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผู ถือหุน โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตของมูลคาของบริษัทในระยะยาวดวยผลตอบแทนที่ดีและ ตอเนื่องรวมทั้งการดําเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือได บริษัทตระหนักถึง ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจและทบทวนมาตรการบรรเทาความเสี่ยงเปนประจํา ลูกคา : บริษทั มีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจระดับสูงสุดแกลูกคา และสงเสริมความสัมพันธ บนพื้นฐานของผลประโยชนรวมกัน โดยการเพิ่มคุณคาใหกับสินคาและบริการของบริษัทและ พรอมจะดําเนินการกับขอรองเรียนของลูกคาทันทีที่ไดรับแจง โดยกําหนดไวในจรรยาบรรณ ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทมีความรับผิดชอบตอลูกคาที่จะไดรับผลิตภัณฑและบริการที่ดีมี คุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม มีการเปดเผยขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการอยาง ครบถวนถูกตองรวมทั้งไดใหคําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการนําสินคามาใชอยางมีประสิทธิภาพ บริษัทยังไดรวมกับลูกคาหาวิธีการแกไขปญหาอยางเต็มความสามารถเพื่อลดผลกระทบตางๆ ที่

22


อาจเกิดขึ้นกับลูกคาใหม ากที่สุด พรอมทั้งสนับสนุนความรวมมือกับลูกคาในการพัฒนา ผลิตภัณฑ เพื่อเสริมสรางความมั่นคงทางธุรกิจที่ยั่งยืน ทั้งนี้บริษัทยังไดสํารวจความพึงพอใจของ ลูกคาอยางสม่ําเสมอ คูคา : บริษัทคํานึงถึงความเสมอภาคในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชนรว มกันกับคูคาโดยเปนไป ตามเงื่อนไขทางการคา และไมขัดตอกฎหมายใดๆ การคัดเลือกคูคาเปนไปอยางยุติธรรม คูแขง : บริษัทสนับสนุน และสงเสริมนโยบายการแขงขันอยางเสรี และเปนธรรมประพฤติตามกรอบ กติกาการแขงขันที่ดี มีจรรยาบรรณ และอยูในกรอบของกฎหมาย เจาหนี้ : บริษัทปฏิบัติตามเงื่อนไขขอกําหนดของสัญญาและพันธะทางการเงินตอเจาหนี้อยางเครงครัด ถูกตองและครบถวน พนักงาน : บริษัทสงเสริมและพัฒนาความสามารถของพนักงานใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงานสูงสุด จัด ใหมีสภาพการจางที่ยุติธรรม และจัดใหมีสภาพแวดลอมของการทํางานที่ดีและปลอดภัย ภาครัฐ : บริษัทใหความสําคัญตอการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของอยาง เครงครัด ชุมชน : บริษัทใหความสําคัญอยางยิ่งในเรื่องสิ่งแวดลอม ความปลอดภัย และความรับผิดชอบตอชุมชน โดยจัดใหมีการดูแลดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยอยางมีประสิทธิภาพที่สุด พรอมทั้งสนับ สนุนกิจกรรมของชุมชน และทองถิ่นที่บริษัทมีการดําเนินธุรกิจ นอกจากนี้บริษัทยังไดกําหนด นโยบายทางดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมโดยใหความสําคัญในการปองกัน อุบัติเหตุที่เปนผลเนื่องจากกิจกรรม ผลิตภัณฑและบริการของบริษัทและรวมถึงการจํากัดความ ความรุนแรงและปองกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น บริษัทวางแผนการจัดการภาวะเหตุฉุกเฉิน อยางมีประสิทธิภาพโดยรวมมือกับหนวยงานราชการและชุมชนทองถิ่น ซึ่งแผนการดังกลาวได รับการทบทวนและมีการฝกซอมอยางสม่ําเสมอ นอกจากนี้ ผูมีสวนไดเสีย เชน ผูถือหุน ลูกคา และชุมชน สามารถติดตอบริษัท เพื่อเสนอขอคิดเห็น ขอ ซักถาม หรือขอเสนอแนะตางๆ โดยขอมูลในเว็บไซตของบริษัท ไดระบุผูรับผิดชอบและชองทางการสื่อสารไว ครบถวน

4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส คณะกรรมการบริษัทไดตระหนักและมีความรับผิดชอบตอความเชื่อถือไดและถูกตองของขอมูลทางการเงิน และไดจัดใหมีการดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดวาการบันทึกขอมูลทางบัญชีมี ความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน เพื่อประโยชนตอผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปที่จะได รับทราบขอมูลที่แสดงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานที่ครบถวนเปนจริงและสมเหตุสมผล คณะกรรมการ บริษัทจึงไดจัดใหมีคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทําหนาที่ในการสอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินอยางถูกตอง และเพียงพอ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทไดจัดทํา “รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอรายงานทาง การเงิน” แสดงไวในรายงานประจําป คณะกรรมการบริษัทตระหนักดีวาขอมูลของบริษัททั้งที่เกี่ยวกับการเงินและที่ ไมใชการเงินลวนมีผลตอกระบวนการตัดสินใจของผูลงทุนและผูที่มีสวนไดสวนเสียของบริษัท จึงไดกําชับใหฝาย จัดการปฏิบัติตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ ในเรื่องการเปดเผยสารสนเทศของบริษัทจดทะเบียนอยางถูกตอง

23


ครบถวน ตรงตอความเปนจริง เชื่อถือได สม่ําเสมอ และทันเวลา ซึ่งฝายจัดการของบริษัทไดใหความสําคัญและ ยึดถือปฏิบัติมาโดยตลอด นอกจากการเผยแพรขอมูลตามขอกําหนดและผานทางชองทางของตลาดหลักทรัพย บริษัท ยังไดเผยแพรขอมูลดังกลาว รวมทั้งรายงานประจําปผานเว็บไซตของบริษัท เพื่อใหเขาถึงผูถือหุนโดยเทาเทียมกัน นอกจากนี้บริษัทไดเปดเผยการทําหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอยในรอบปที่ ผานมา เชน จํานวนครั้งการประชุม จํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุม และไดเปดเผยนโยบายการจาย คาตอบแทนแกกรรมการและผูบริหาร ทั้งนี้การพิจารณาคาตอบแทนของกรรมการใหอยูในอํานาจอนุมัติของที่ประชุม ผูถือ หุ น สว นคาตอบแทนของผูบ ริ ห ารจะอยู ในอํา นาจอนุ มัติ ข องคณะกรรมการบริ ษัท โดยการพิจ ารณาอนุ มั ติ คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารดังกลาวจะอยูในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม ดานผูรับผิดชอบงานผูลงทุนสัมพันธ บริษัทไดมอบหมายใหเลขานุการคณะกรรมการบริหารเปนผูรับผิดชอบในการทําหนาที่ติดตอสื่อสารกับผูลงทุน สถาบัน ผูถือหุน รวมทั้งนักวิเคราะหและภาครัฐที่เกี่ยวของ ผูถือหุนและนักลงทุนสามารถติดตามขอมูลตางๆ ของ บริษัททางเว็บไซตของบริษัท หรือติดตอขอทราบขอมูลของบริษัทไดที่โทรศัพทหมายเลข 0 2683 3300 ตอ 604 โทรสารหมายเลข 0 2683 3800 หรือสอบถามขอมูลทาง E-Mail : siriwan@multibax.com

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 5.1 โครงสรางคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการ 9 ทาน ซึ่งไมมีความเกี่ยวโยงกันทางดานครอบครัว แบง ออกเปน 4 กลุม คือ กรรมการซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ 2 ทาน กรรมการซึ่งเปนผูถือหุนกลุมอื่นๆ 3 ทาน กรรมการซึ่ง ไมเปนผูถือหุนและกรรมการอิสระรวม 4 ทาน คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งในดานทักษะ ประสบการณและความสามารถ เพื่อเสริมสรางประโยชนสูงสุดแกบริษัท และผูถือหุน กรรมการ แตละทานดํารงตําแหนงในฐานะกรรมการไมเกิน 5 บริษัท เพื่อประสิทธิภาพของการปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการ บริษัท บริษัทไดเปดเผยรายละเอียดไวในรายงานประจําปและแบบ 56-1 นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ยั ง ได จั ด ให มี ก ารแบ ง แยกบทบาทหน า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บั ติ ง านของ คณะกรรมการบริษัท และฝายบริหารออกจากกันอยางชัดเจน รวมทั้งประธานกรรมการบริษัทไมเปนบุคคลเดียวกัน กับกรรมการผูจัดการ ดังนั้นกรรมการผูจัดการจึงมีความเปนอิสระในการบริหารงานตามบทบาทและหนาที่ที่แยกกัน กรรมการอิสระของบริษัท มีคุณสมบัติตามแนวทางของสํานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยฯ ดังนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง 2. เปนกรรมการที่ไมมีสวนรวมในการบริหารงาน ไมเปนลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา หรือ เปนผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือเปนบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยตองไมมีผล ประโยชนหรือสวนไดเสียในลักษณะดังกลาวมาแลวเปนเวลาไมนอยกวา 1 ป 3. เปนกรรมการที่ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจ ไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียไมวาทางตรงหรือทางออม ทั้งใน ดานการเงินและการบริหารงานในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในลักษณะที่ จะทําใหขาดความเปนอิสระ 4. เปนกรรมการที่ไมใชเปนญาติสนิทของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวมหรือบุคคลที่ อาจมีความขัดแยงและไมไดรับการแตงตั้งขึ้นเปนตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชนของกรรมการหรือผูถือหุนรายใหญ

24


สําหรับการสรรหาคณะกรรมการบริษัทนั้น คณะกรรมการบริษัทจะมีมติเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้ง กรรมการใหมแทนกรรมการที่พนจากตําแหนงตามวาระ และแกไขอํานาจกรรมการ (ถามีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ) ซึ่งที่ประชุมผูถือหุนจะลงมติโดยใชคะแนนเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 1. ผูถือหุนรายหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ตนถือ 2. ผูถือหุนแตละรายจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตามขอ 1. เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเปนกรรม การก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได 3. บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทากับจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหประธานในที่ประชุม นั้นเปนผูออกเสียงชี้ขาด ในการประชุมผูถือหุนสามัญประจําปทุกครั้งใหกรรมการออกจากตําแหนง เปนอัตราจํานวนหนึ่งในสาม แตถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกเปนสามสวนกระทําไมไดก็อนุโลม ใหออกจากตําแหนงในจํานวนใกลเคียงที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดคนหนึ่งออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระได ดวย คะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูถือหุนซึ่งเขารวมประชุมดวยตนเอง หรือโดยมอบฉันทะและมีสิทธิออก เสียง และถือหุนรวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่เขารวมประชุมและมีสิทธิออกเสียง 5.2 คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อชวยในการบริหารและการกํากับดูแลกิจการของบริษัท ดังนี้ คณะกรรมการบริหาร : คณะกรรมการบริหารประกอบดวยกรรมการ จํานวน 3 ทาน ดังมีรายชื่อตอไปนี้ 1. นายอนุวัฒน สุดมหาตยางกูร ประธานกรรมการบริหาร 2. นายสุรชัย อัศวแกวมงคล กรรมการบริหาร 3. นายพิสุทธิ เลิศวิไล กรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ดังนี้ 1. พิจารณากําหนดนโยบายสําคัญของบริษัท โดยกําหนดวัตถุประสงค ภารกิจ แนวทางตลอดจนการกํากับดูแลการ ดําเนินงานของบริษัทในเรื่องเกี่ยวกับการผลิต การจําหนาย 2. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพยถาวร ไมเกิน 80 ลานบาท ตามแผนงบประมาณที่คณะกรรมการอนุมัติไว และ ตองเปนไปตามขอบังคับตลาดหลักทรัพยในเรื่องเกี่ยวกับการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจด ทะเบียนหรือรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. ดําเนินการในการทําและลงนามสัญญากูเงินและการตออายุสัญญากูเงินในวงเงินไมเกิน 80 ลานบาท 4. พิจารณาอนุมัติหลักการการลงทุนในโครงการใหมหรือการขยายธุรกิจเพื่อนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัท พิจารณาตอไป 5. พิจารณาอนุมัติการดําเนินการที่เกี่ยวของกับการบริหารงานทั่วไปของบริษัทในสวนที่เกินขอบเขตอํานาจอนุมัติ ของกรรมการผูจัดการ 6. จัดผังโครงสรางองคกรและการบริหาร และกรรมการบริหาร โดยใหครอบคลุมทุกรายละเอียดของการคัดเลือก การฝกอบรม การวาจาง การเลิกจางของพนักงานของบริษัท

25


7. กําหนดนโยบายอัตราคาจาง คาตอบแทน และโครงสรางเงินเดือนของพนักงาน 8. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ : คณะกรรมการบริษัท จัดใหมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งมีคุณสมบัติตามที่ กฎหมายหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด มีจํานวนอยางนอยสามคน และอยางนอยหนึ่งคน ตองมีความรูดาน บัญชีและการเงิน ปจจุบัน ประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการที่เปนอิสระ โดยมีวาระในการดํารง ตําแหนงคราวละ 3 ป ดังมีรายชื่อตอไปนี้ 1. นายอดิเรก ศรีวัฒนาวงษา กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายธนดล ทองสุข กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 3. นางสาวเบญจวรรณ สินคุณากร กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีอํานาจหนาที่ดังนี้ 1. สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเปดเผยอยางเพียงพอ โดยการประสานงานกับผูสอบ บัญชีและผูบริหารที่รับผิดชอบจัดทํารายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจําป คณะกรรมการตรวจสอบ อาจเสนอแนะใหผูสอบบัญชีสอบทาน หรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นวาจําเปนและเปนเรื่องสําคัญในระหวาง การตรวจสอบบัญชีของบริษัทก็ได 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง และพิจารณาเสนอคาตอบแทนของผูสอบบัญชีของบริษัท โดยคํานึงถึงความ น า เชื่ อ ถื อ ความเพี ย งพอของทรั พ ยากร และปริ ม าณงานตรวจสอบของสํ า นั ก งานสอบบั ญ ชี นั้ น รวมถึ ง ประสบการณของบุคลากรที่ไดรับมอบหมายใหทําการตวรวจสอบบัญชีของบริษัท 5. พิ จ ารณาการเป ด เผยข อ มู ล บริ ษั ท ในกรณี ที่ เ กิ ด รายการที่ เ กี่ ย วโยงหรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทาง ผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน 6. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่ง รายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานดังกลาวควรประกอบดวยข อมูล ดังตอไปนี้ ความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดทําและการเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงินของบริษัทถึงความถูกตอง ครบถวนเปนที่เชื่อถือได ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท เหตุผลที่เชื่อวาผูสอบบัญชีของบริษัทเหมาะสมที่จะไดรับการแตงตั้งตอไปอีกวาระหนึ่ง ความเห็นเกี่ย วกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอ กําหนดของตลาด หลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท รายงานอื่นใดที่เห็นวาผูถือหุน และผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

26


คณะกรรมการสรรหา : บริษัทยังไมไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหา อยางไรก็ตาม บริษัทจะพิจารณาคัดเลือก บุคคลที่มีคุณสมบัติและความรูความสามารถที่เหมาะสม คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน : บริษัทยังไมไดแตงตั้งคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน อยางไรก็ตาม บริษัทไดกําหนดการพิจารณาคาตอบแทนของกรรมการใหอยูในอํานาจอนุมัติของที่ประชุมผูถือหุน สวน คาตอบแทนของผูบริหารจะอยูในอํานาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท โดยการพิจารณาอนุมัติคาตอบแทนกรรมการ และผูบริหารดังกลาว จะอยูในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม 5.3 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท กําหนดนโยบายและทิศ ทางการดําเนินงานของบริษัท รวมทั้งกํากับดูแลใหการบริหารจัดการเปนไปตามเปาหมายและแนวทางเพื่อประโยชน ระยะยาวแกผูถือหุนภายใตกรอบขอกําหนดของกฎหมายและจริยธรรมทางธุรกิจ ขณะเดียวกันก็คํานึงถึงผลประโยชน ของผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝาย คณะกรรมการบริษัท มีอํานาจและหนาที่โดยสรุปดังตอไปนี้ 1. บริหารจัดการบริษัทใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผู ถือหุนที่ชอบดวยกฎหมาย ดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. กําหนดเปาหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของบริษัท ควบคุมกําหนดดูแลการบริหารและการ จัดการของคณะกรรมการบริหาร และผูบริหาร ใหเปนไปตามนโยบายที่ไดรับมอบหมาย และตามขอบังคับของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เวนแตในเรื่องดังตอไปนี้ คณะกรรมการตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน กอนการดําเนินการ ไดแก เรื่องกฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน เชน การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุนกู การควบ หรือเลิกบริษัท การขาย หรือโอนกิจการของบริษัททั้งหมด หรือบางสวนที่ สําคัญใหแกบุคคลอื่น หรือการซื้อ หรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเปนของบริษัท หรือการรวมกิจการกับ บุคคล หรือนิติบุคคลอื่นโดยมีวัตถุประสงคจะแบงกําไรขาดทุนกัน การทํา แกไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให เชากิจการของบริษัททั้งหมด หรือบางสวนที่สําคัญ การมอบหมายใหบุคคลอื่นเขาจัดการธุรกิจของบริษัท การแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิ หรือขอบังคับ รวมถึงการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้อและขาย สินทรัพยที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆกําหนด 3. แตงตั้งกรรมการ และ/หรือผูบริหารจํานวนหนึ่งตามที่เห็นสมควร ใหเปนคณะกรรมการบริหาร โดยใหมีอํานาจ หนาที่บริหารจัดการบริษัทตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และใหคณะกรรมการบริษัทแตงตั้ง กรรมการบริหารคนหนึ่งเปนประธานกรรมการบริหาร 4. แตงตั้งกรรมการผูจัดการ หรือมอบอํานาจใหบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัทภายใตการควบคุมของ คณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจเพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายใน เวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแกไขอํานาจดังกลาว ได ในกรณีที่คณะกรรมการบริษัทไดมอบอํานาจใหกรรมการผูจัดการหรือบุคคลอื่นทําหนาที่แทนในเรื่อง เกี่ยวกับการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ การมอบอํานาจดังกลาวตองเปนไปตามมติของที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทที่มีกรรมการอิสระ หรือกรรมการที่เปนกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุม และหากกรรมการอิสระ

27


หรือกรรมการที่เปนกรรมการตรวจสอบคัดคานการมอบอํานาจนั้น ตองบันทึกความเห็นของกรรมการดังกลาว ในรายงานการประชุมใหชัดเจน ทั้งนี้การมอบอํานาจดังกลาวจะตองกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และความ รับผิดชอบของผูรับมอบอํานาจไวอยางชัดเจน และตองไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจที่ทําใหผูรับมอบอํานาจ สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลอื่นที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประ โยชนในลักษณะอื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทยอย 5. พิจารณาอนุมัติในการนําสินทรัพย หรือทรัพยสินของบริษัท หรือบริษัทในเครือไปเปนประกัน หรือเขาค้ําประ กันใดๆ ที่กอใหเกิดภาระผูกพันแกบริษัท 6. พิจารณาอนุมัติการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจนการเขารวมทุนกับผูประกอบกิจการอื่นๆ 7. พิจารณาอนุมัติการมอบอํานาจภายในบริษัท บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท และฝายบริหารไดแบงแยกอยางชัดเจน คณะกรรมการบริษัทไดมอบอํานาจไวเปนลายลักษณอักษร ระบุขอบเขตที่ชัดเจนใหผูบริหารดําเนินการจัดการ และ ดูแลกิจการของบริษัท อยางมีประสิทธิภาพตามอํานาจหนาที่ที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัทมีหนาที่กํากับดูแลให ฝายบริหารดําเนินงานตามนโยบายและแผนที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทั้งติดตามการดําเนินการ แนะนํา และสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของฝายจัดการผานทางคณะกรรมการบริหารของบริษัทอยางสม่ําเสมอ โดยไมไดกาว กายในงานประจําวันที่ฝายจัดการมีหนาที่เปนผูรับผิดชอบดูแล ผูบริหารของบริษัท มีจํานวน 6 ทาน ดังมีรายชื่อตอไปนี้ 1. นายอนุวัฒน สุดมหาตยางกูร กรรมการผูจัดการ/ รักษาการผูอํานวยการฝายบริหาร 2. นายสุรชัย อัศวแกวมงคล กรรมการรองกรรมการผูจัดการ 3. นายทรงเกียรติ วิชญเวทางค ผูอํานวยการฝายขาย 4. นายจิระชัย นิลนพคุณ ผูอํานวยการฝายผลิต 5. นายบุญเลิศ ดีบานโสก ผูอํานวยการฝายวิศวกรรม 6. นางสาวสุวรรณา ธีรภาพธรรมกุล ผูอํานวยการฝายบัญชี กรรมการผูจัดการมีอํานาจและหนาที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการบริษัท ตามที่คณะกรรมการจะมอบหมาย และจะตองบริหารบริษัทตามแผนงาน หรืองบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการอยางเครงครัด ซื่อสัตยสุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท และผูถือหุนอยางดีที่สุด อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหรวมถึง เรื่องหรือกิจการตางๆ ดังตอไปนี้ดวย 1. ดําเนินกิจการและหรือบริหารงานประจําวันของบริษัท 2. บรรจุ แตงตั้ง เลื่อนตําแหนงพนักงาน ปรับเงินเดือนพนักงาน ซึ่งผานความเห็นชอบตามสายงานตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนด 3. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพยถาวรมูลคาไมเกิน 10,000,000 บาท (สิบลานบาท) ทั้งนี้ตองเปนไปตามขอบังคับ ของตลาดหลักทรั พยแ หง ประเทศไทยในเรื่องเกี่ย วกับการไดม าหรือ จําหนายไปซึ่งสิน ทรัพยข องบริษัท จด ทะเบียน หรือรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ 4. ดํ า เนิ น การให มี ก ารจั ด ทํ า และส ง มอบนโยบายทางธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท รวมถึ ง แผนงานและงบประมาณต อ คณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติและมีหนาที่รายงานความกาวหนาตามแผน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ ดังกลาวตอคณะกรรมการทุกๆ 3 เดือน

28


5. ดําเนินการหรือปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ ทั้งนี้ การใชอํานาจของกรรมการผูจัดการดังกลาวขางตนไมสามารถกระทําได หากกรรมการผูจัดการอาจมีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะใดๆ กับบริษัทในการใชอํานาจดังกลาว บริษัทไดจัดทําขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของฝายจัดการและพนักงาน โดยครอบคลุมในเรื่องการดูแล ผูมีสวนไดเสียตางๆ การดูแลทรัพยสิน การดูแลการใชขอมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท รวมทั้งการ ปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน เพื่อยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัทดวยความ ซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรม ซึ่งฝายจัดการและพนักงานไดลงนามรับทราบและตกลงที่จะถือปฏิบัติ อีกทั้งได กําหนดใหฝายจัดการตองลงนามรับทราบหลักจรรยาบรรณของบริษัทเปนประจําทุกปเพื่อทบทวนและเขาใจถึง มาตรฐานการปฏิบัติใหสอดคลองกับแนวทางที่กําหนดไว บริษัทไดดําเนินการติดตามใหพนักงานถือปฏิบัติตาม แนวทางดังกลาวอยางตอเนื่อง รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัยไวดวยในกรณีที่มีการฝาฝน เพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการบริษัทไดดูแลอยางรอบคอบสําหรับรายการที่อาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชน โดยคณะกรรมการบริษัทไดรับทราบถึงรายการดังกลาว เพื่อใหมีการปฏิบัติตาม หลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยฯ โดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) กรรมการบริษัท หรือผูบริหารที่มีสวนไดสวนเสียในรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนจะไมเขารวมประชุม หรืองดออกเสียงในวาระนั้นๆ เพื่อใหการตัดสินใจของกรรมการบริษัทเปนไปอยางยุติธรรม คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร และผูบริหารระดับสูงจัดใหมีระบบการควบคุม ภายในที่ดีและควบคุมดูแลการปฏิบัติตามระบบดังกลาว โดยผูตรวจสอบภายในซึ่งเปนสํานักงานอิสระจากภายนอก เปนผูรายงานขอมูลการประเมินระบบควบคุมภายในตอคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้บริษัทไดใหความสําคัญตอ ระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงาน เพื่อความมีประสิทธิภาพจึงไดกําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินการของฝายจัดการ และผูปฏิบัติงานในแตละระดับไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน มีการ แบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบออกจากกันโดยเด็ดขาดระหวางการอนุมัติ การบันทึกรายการทางบัญชีและการดูแล ทรัพยสินเพื่อเปนการตรวจสอบซึ่งกันและกันได มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทใหเกิดประโยชนและมี การแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุมและประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและการตรวจสอบ ระหวางกันอยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการควบคุมภายในที่เกี่ยวกับระบบการเงิน โดยบริษัทไดจัดใหมีระบบ รายงานทางการเงินเสนอผูบริหารสายงานที่รับผิดชอบอยางสม่ําเสมอ บริษัทไดจัดใหมีการตรวจสอบภายในเพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการเงินสําคัญของ บริษัท ไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและ ขอกําหนดที่เกี่ยวของกับบริษัท (Compliance Control) ผูตรวจสอบภายในทําหนาที่ติดตามผลการควบคุมภายในเปน ระยะๆ อยางสม่ําเสมอตามแผนที่กําหนดไวเพื่อเสนอแนะปรับปรุงใหมาตรการควบคุมตางๆ มีความเหมาะสมกับ สถานการณ สิ่งแวดลอมตางๆ และความเสี่ยงที่แปรเปลี่ยนไป จากรายงานผลการตรวจสอบภายใน ไมพบประเด็น ความผิดพลาดที่มีนัยสําคัญ การปฏิบัติงานเปนไปตามขั้นตอนที่กําหนดไว บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และมี ประสิ ท ธิ ภ าพรั ด กุ ม เพี ย งพอและได มี ก ารดู แ ลป อ งกั น ทรั พ ย สิ น มิ ใ ห ผู บ ริ ห ารและพนั ก งานนํ า ไปใช โ ดยมิ ช อบ นอกจากนี้ผูตรวจสอบภายในยังไดติดตามการปฏิบัติการกํากับดูแลกิจการของบริษัท เพื่อใหเปนไปตามหลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยฯ และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการกํากับดูแลกิจการเพื่อสรางความมั่นใจ ใหกับผูมีสวนไดเสียทุกฝาย

29


คณะกรรมการบริษัทไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงเปนอยางมาก บริษัทไดมีการระบุและ ประเมินความเสี่ยงของกิจการในดานตางๆ ซึ่งอาจมีผลกระทบทั้งภายในและภายนอกตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท มีการกําหนดมาตรการปองกันและบริหารความเสี่ยงซึ่งรวมถึงความเสี่ยงที่มีผลตอการดําเนินงานของบริษัท ตามที่ ระบุไวในหัวขอตางหากของรายงานประจําปและแบบ 56-1 หากมีความเสี่ยงใดที่เปนอุปสรรคตอการดําเนินธุรกิจ ไมใหบรรลุเปาหมายตามแผนที่กําหนดแลว บริษัทจะจัดใหมีมาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยงเหลานี้อยาง เหมาะสมและเปนระบบ ตลอดจนดําเนินการกํากับดูแลการบริหารความเสี่ยงใหดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โดย ใหตระหนักถึงความสําคัญของความเสี่ยง และดําเนินการปรับปรุงขั้นตอนในการดําเนินงานรวมทั้งการใชทรัพยากร อยางเหมาะสม 5.4 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท มีกําหนดการประชุมไวลวงหนาตลอดทั้งป และจะมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความ จําเปน โดยมีการกําหนดวาระชัดเจนลวงหนา บริษัทไดสงคําบอกกลาวนัดประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุม ใหแกคณะกรรมการลวงหนา 7 วัน และไดสงเอกสารประกอบการประชุมเปนการลวงหนาเพื่อใหคณะกรรมการไดมี เวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม โดยในป 2552 ที่ผานมา คณะกรรมการมีการประชุมจํานวน 15 ครั้ง ประธานกรรมการทําหนาที่ดูแลจัดสรรเวลาใหอยางเพียงพอที่ฝายจัดการจะเสนอเอกสารและขอมูลเพื่อการอภิปราย ปญหาสําคัญ นอกจากนี้ยังมีการประชุมคณะกรรมการบริหารเปนประจํา และการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบซึ่ง กําหนดการประชุมทุกไตรมาส ซึ่งกรรมการสวนใหญเขารวมประชุมครบถวน เวนแตติดภารกิจสําคัญเรงดวน โดย การเขารวมประชุมของคณะกรรมการแตละทานสรุปไดดังนี้ การเขารวมประชุม/จํานวนการเขาประชุมทั้งหมด(ครั้ง)

รายชื่อ

คณะกรรมการ บริษัท

คณะกรรมการ บริหาร

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

1. นายวิเชียร ตั้งอุทัยศักดิ์ 10/15 2. นายอดิเรก ศรีวัฒนาวงษา 4/4 15/15 3. นายอนุวัฒน สุดมหาตยางกูร 11/12 14/15 4. นายสุรชัย อัศวแกวมงคล 11/12 13/15 5. นายพิสุทธิ เลิศวิไล 9/12 12/15 6. นายธนดล ทองสุข 4/4 14/15 7. นายประกิตติ์ เสกสรรค 14/15 8. นายรุงนริศย กุลกฤติยวณิชย 11/15 9. นางสาวเบญจวรรณ สินคุณากร* 3/4 11/14 * นางสาวเบญจวรรณ สินคุณากร ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการแทนนางสาวพรรณพิมล โกมลภิส ในการประชุม คณะกรรมการครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552

30


5.5 การประเมินผลงานคณะกรรมการ แมวาคณะกรรมการบริษัทยังไมไดจัดใหมีการประเมินผลงานของคณะกรรมการ แตคณะกรรมการบริษัท ไดมีการปฏิบัติหนาที่อยางครบถวนตามบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบ โดยยึดหลักความโปรงใส และปฏิบัติ ตามขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน (Code of Best Practice) ที่เปนไปตามแนวทางของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย 5.6 คาตอบแทน บริษั ท ไดกําหนดนโยบายการใหค าตอบแทนกรรมการและผูบ ริห ารไว อ ยางชัด เจน ทั้งนี้การพิจารณา คาตอบแทนของกรรมการใหอยูในอํานาจอนุมัติของที่ประชุมผูถือหุน สวนคาตอบแทนของผูบริหารจะอยูในอํานาจ อนุมัติของคณะกรรมการบริษัท โดยการพิจารณาอนุมัติคาตอบแทนกรรรมการและผูบริหารดังกลาวจะอยูในระดับ เดียวกับบริษัทอื่นๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน และมีขนาดใกลเคียงกันซึ่งสูงพอที่จะดึงดูดและรักษากรรมการ และ ผูบริหารที่มีคุณสมบัติที่บริษัทตองการ ในป 2552 และ 2551 บริษัทไดใหสิทธิประโยชน คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารดังตอไปนี้

คาตอบแทนกรรมการในรูปเบี้ยประชุม คาตอบแทน คาเบี้ยประชุม ชื่อกรรมการ ตําแหนง ป 2552 50,000 ประธานกรรมการ นายวิเชียร ตั้งอุทัยศักดิ์ 50,000 กรรมการผูจัดการ นายอนุวัฒน สุดมหาตยางกูร 50,000 กรรมการและรองกรรมการผูจัดการ นายสุรชัย อัศวแกวมงคล 50,000 นายพิสุทธิ เลิศวิไล กรรมการ 50,000 นายประกิตติ์ เสกสรรค กรรมการ 50,000 นายรุงนริศย กุลกฤติยวณิชย กรรมการ 300,000 นายอดิเรก ศรีวัฒนาวงษา กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ 200,000 นายธนดล ทองสุข กรรมการตรวจสอบ 64,835 นางสาวพรรณพิมล โกมลภิส กรรมการตรวจสอบ 118,681 นางสาวเบญจวรรณ สินคุณากร* กรรมการตรวจสอบ

หนวย : บาท คาตอบแทน คาเบี้ยประชุม ป 2551 6,697 50,000 50,000 50,000 50,000 50,000 300,000 200,000 200,000 -

* นางสาวเบญจวรรณ สินคุณากร ไดเขาเปนกรรมการแทนนางสาวพรรณพิมล โกมลภิส เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552

31


คาตอบแทนผูบริหาร ประกอบดวยเงินเดือน โบนัส และเบี้ยประชุมคณะกรรมการยอย คาตอบแทน เงินเดือน โบนัส รวม

ป 2552 จํานวนราย

ป 2552 คาตอบแทนรวม

6 6 6

10,534 150 10,684

ป 2551 จํานวนราย 6 6 6

หนวย : พันบาท ป 2551 คาตอบแทนรวม 9,553 400 9,953

5.7 การพัฒนากรรมการและผูบริหาร บริษัทสงเสริมใหมีการฝกอบรมและการใหความรูแกคณะกรรมการบริษัท ฝายบริหาร และพนักงานทุกคน เพื่อใหมีการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง กรรมการบริษัทโดยเฉพาะกรรมการอิสระทุกคนไดผานการอบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ดังรายละเอียดที่ได แสดงไวในประวัติกรรมการในรายงานประจําป 2552 บริษัทไดนําระบบการพัฒนาการวางแผนความกาวหนาในอาชีพมาใช เพื่อพัฒนาศักยภาพของพนักงาน และเตรียมความพรอมบุคลากรที่มีความสามารถไวรองรับความจริญเติบโตขององคกรในอนาคต บริษัทดําเนินการ จัดทําแผนให กั บ พนัก งานในระดับ จั ดการ รวมทั้ง จัดการฝก อบรมและพัฒนาเฉพาะบุค คลใหส อดคล องกั บ ความกาวหนาตอไป

32


คําอธิบายและการวิเคราะห ของฝายจัดการ ผลการดําเนินงาน ในป 2552 ปริมาณการขายลดลง เนื่องจากคําสั่งซื้อที่ลดลงและลูกคารายใหญรายหนึ่งไดยกเลิกสัญญาซื้อ ขายกอนกําหนด จึงมีผลทําใหรายไดจากการขายลดลงจาก 1,743.85 ลานบาทในป 2551 มาเปน 1,381.70 ลานบาทใน ป 2552 ลดลง 362.15 ลานบาทหรือลดลงรอยละ 20.77 ตนทุนขายลดลงจาก 1,565.60 ลานบาทในป 2551 มาเปน 1,229.14 ลานบาทในป 2552 ลดลง 336.46 ลาน บาท หรือลดลงรอยละ 21.49 คาใชจายในการขายลดลงจาก 51.25 ลานบาทในป 2551 มาเปน 35.98 ลานบาทในป 2552 ลดลง 15.27 ลาน บาท หรือลดลงรอยละ 29.80 เนื่องมาจากคาระวางเรือลดลงจากการขายสินคาเงื่อนไข CIF ลดลง คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ และคาตอบแทนผูบริหารลดลงจาก 82.03 ลานบาทในป 2551 มาเปน 75.94 ลานบาทในป 2552 ลดลง 6.09 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 7.42 ที่ลดลงสวนใหญมาจากวิธีการคํานวณ การปรับปรุงคาเสื่อมราคาของเครื่องจักรที่ไมเต็มกําลังการผลิตเขาเปนคาใชจายบริหาร ในป 2551 ไดรวมคํานวณคา เสื่อมราคาของอุปกรณสนับสนุน อุปกรณอื่นๆ ไปเปนคาใชจายทั้งจํานวน แตในป 2552 ไดคํานวณเฉพาะชั่วโมง เครื่องจักรที่ไมไดใชงานเทานั้น ดอกเบี้ยจายลดลงจาก 37.73 ลานบาทในป 2551 มาเปน 27.67 ลานบาทในป 2552 ลดลง 10.06 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 26.66 % เนื่องมาจากเงินกูระยะสั้นเพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียนและเงินกูยืมระยะยาวลดลง จากสาเหตุดังกลาวขางตน ทําใหบริษัทมีกําไรสุทธิ 28.47 ลานบาท หรือรอยละ 2.06 ของรายไดจากการขาย ในป 2552 ลดลงเมื่อเทียบกับกําไรสุทธิ 32.87 ลานบาท หรือรอยละ 1.88 ของรายไดจากการขายในป 2551

ฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสินทรัพยรวมลดลงจาก 1,059.33 ลานบาทในป 2551 มาเปน 1,003 ลาน บาท ลดลง 56.33 ลานบาท สินทรัพยที่เปลี่ยนแปลงสวนใหญมาจากรายการดังตอไปนี้ (1) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงจาก 7.58 ลานบาทในป 2551 มาเปน 2.26 ลานบาทในป 2552 ลดลง 5.32 ลานบาท (2) ลูกหนี้การคาลดลงจาก 310.20 ลานบาทในป 2551 มาเปน 220.13 ลานบาทในป 2552 ลดลง 90.07 ลาน บาท หรือลดลงรอยละ 29.04 ลดลงมากกวารายไดจากการขายที่ลดลงรอยละ 20.77 เนื่องจากการบริหารติดตามหนี้ กระชับขึ้น (3) สินคาคงเหลือเพิ่มขึ้นจาก 181.13 ลานบาทในป 2551 มาเปน 235.96 ลานบาทในป 2552 เพิ่มขึ้น 54.83 ลานบาท โดยมีวัตถุดิบและสินคาสําเร็จรูปเปนสวนสําคัญที่ทําใหยอดสินคาคงเหลือลดลง (4) ที่ดินอาคารและอุปกรณสุทธิลดลงจาก 497.64 ลานบาทในป 2551 มาเปน 470.68 ลานบาทในป 2552 ลดลง 26.96 ลานบาท ซึ่งมาจากในป 2552 บริษัทมีคาเสื่อมราคาของสินทรัพย 81.88 ลานบาท และไดมีการซื้อ สินทรัพยเพิ่ม 54.92 ลานบาท

33


ดานหนี้สิน บริษัทมีหนี้สินลดลงจาก 741.56 ลานบาทในป 2551 มาเปน 686.20 ลานบาทในป 2552 ลดลง 55.36 ลานบาท ซึ่งเปนการลดลงจากเงินกูยืมระยะสั้น 12.54 ลานบาท การลดลงของเจาหนี้การคา 3.65 ลานบาท การ ลดลงจากเงินกูยืมระยะยาว (รวมสวนถึงกําหนดชําระใน 1 ป) 45.79 ลานบาท โดยมีหนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 6.62 ลานบาท สวนของผูถือหุนลดลงจาก 317.77 ลานบาทในป 2551 มาเปน 316.80 ลานบาทในป 2551 ลดลง 0.97 ลาน บาท ซึ่งมาจากกําไรในป 2552 จํานวน 28.47 ลานบาท และมีการจายเงินปนผลจากการดําเนินงานป 2551 เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2552 ในอัตราหุนละ 0.11 บาท จํานวน 14.08 ลานบาท รวมทั้งมีการจายเงินปนผลระหวางกาลจากผลการ ดําเนินงานสําหรับงวด 6 เดือน ป 2552 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552 ในอัตราหุนละ 0.12 บาท จํานวน 15.36 ลานบาท อัตราสวนทางดานการเงินตางๆ ซึ่งเปนตัวบงชี้ถึงฐานะการเงินและสภาพคลองของบริษัท ยังอยูในเกณฑ ลดลงเล็กนอย โดยอัตราสวนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) อยูที่ระดับ 0.72 เทาในป 2552 เปรียบเทียบกับ 0.74 เทาในป 2551 ในขณะที่อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน(Debt to Equity Ratio) อยูที่ระดับ 2.17 เทาในป 2552 และ 2.33 เทาในป 2551

34


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท มัลติแบกซ จํากัด (มหาชน) รวมถึงขอมูล สารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป โดยงบการเงินดังกลาวไดจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและไดถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ อีกทั้งไดใชดลุ ยพินิจอยาง ระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งใหมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญอยางโปรงใสและเพียงพอตอ ผูสอบบัญชีและในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหเปนประโยชนตอผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการไดจัดใหมีระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม โดยไดใหความสําคัญตอการปฏิบัติหนาที่ของผู ตรวจสอบภายในที่เปนอิสระและรายงานโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวาการ บันทึกขอมูลทางบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน และเพื่อใหทราบถึงปจจัย เสี่ยงตางๆ ที่จะสงผลตอผลประกอบการของบริษัท อีกทั้งเพื่อปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการดําเนินการที่ผิดปกติ อยางมีสาระสําคัญ ในการนี้คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบดวยกรรมการอิสระรวม 3 ทาน โดยมีประธานกรรมการตรวจสอบซึ่งเปนผูมีประสบการณในฐานะประธานกรรมการตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียน อื่น และกรรมการทานหนึ่งเปนผูมีประสบการณที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบบัญชีและงบการเงิน และอีกหนึ่งทาน เป นผูมีประสบการณในทางวิ ชาชี พกฎหมาย ซึ่งองคประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบดังกลาวจะสงผลให คณะกรรมการตรวจสอบสามารถทําหนาที่สอบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน ตลอดจน ระบบควบคุมและการตรวจสอบภายในของบริษัทไดเปนอยางดี คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทอยูในระดับที่นาพอใจ และสามารถ สรางความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลตอความเชื่อถือไดของงบการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

(นายวิเชียร ตั้งอุทัยศักดิ์) ประธานกรรมการ

35


รายงานการกํากับดูแลกิจการ ของคณะกรรมการตรวจสอบ ในป พ.ศ.2552 คณะกรรมการตรวจสอบไดรับอนุมัติจากกรรมการบริษัทยังคงนโยบายเดิมตามที่เคยปฏิบัติ ตลอดมา โดยใหคณะกรรมการตรวจสอบสามารถใชบุคคลภายนอกมาชวยงานตรวจสอบตามนโยบาย ขอบเขต และ แนวทางที่คณะกรรมการตรวจสอบกําหนด ทั้งนี้เพื่อทําใหการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ยุติธรรม สามารถครอบคลุมกิจกรรมของบริษัทไดอยางทั่วถึงและเปนอิสระจากการ กํากับของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบไดเลือกสํานักงานชุติกาญจนการบัญชี โดยนายประวิทย วงศคณิต และคณะเปนผู ดําเนินกิจกรรมการตรวจสอบ การดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบและสํานักงานชุติกาญจนการบัญชีเปนไป อยางอิสระ ไดรับความรวมมือจากฝายบริหารและพนักงานทุกฝายเปนอยางดี โดยมีการหมุนเวียนการตรวจสอบไปยัง แผนกตาง ๆ คณะกรรมการตรวจสอบไดเสนอผลการตรวจสอบภายในรวมถึงแนวทางแกไขและการปรับปรุงใหกับ คณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส เพื่อปรับปรุงการดําเนินงานของบริษัทใหเปนไปตามระเบียบขอบังคับของบริษัท และตามกฎหมายและขอกําหนดตาง ๆ คณะกรรมการตรวจสอบไดเพิ่มรายละเอียดการตรวจสอบในเรื่องการผลิต ปริมาณสินคาสําเร็จรูปจากการ ผลิต การควบคุมคุณภาพสินคาจากสายการผลิตและปริมาณเม็ดหลอมจากสายการผลิต โดยแยกไปแตละสายการผลิต ซึ่งเปนการตรวจสอบฝายผลิตในเชิงลึกเพิ่มเติมขึ้นในปพ.ศ. 2552 นี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดปรึกษากับฝายบริหาร เพื่อชวยใหผลประกอบการของบริษัทไดรับการทบทวนและพัฒนาใหดียิ่งขึ้น นอกเหนือจากการตรวจสอบตามที่เคย ปฏิบัติในปที่ผานมา คือ การตรวจสอบในฝายบุคคล ฝายผลิต ฝายบัญชี ความเชื่อมโยงของการรายงานขอมูลจากฝาย ตาง ๆ มายังฝายบริหาร การตรวจสอบความพอเพียงในการบริหารความเสี่ยงของคณะกรรมการบริษัท นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบไดตรวจสอบการมีสวนไดเสียของกรรมการและผูบริหาร โดยไดกําหนดใหคณะกรรมการ บริษัทรายงานการมีสวนไดเสียที่เปนประโยชนในการดําเนินการตามขอกําหนดเกี่ยวกับการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการที่กรรมการและผูบริหารตองปฏิบัติหนาที่ดวยความระมัดระวังและซื่อสัตยสุจริตตามประกาศของคณะกรรม การกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 2/2552 ซึ่งกรรมการตรวจสอบไมไดตรวจพบความผิดปกติใด ๆ ในการทําธุรกรรมของ กรรมการและผูบริหารในรายการที่มีการเกี่ยวโยงกัน การพิจารณาคัดเลือกผูสอบบัญชีประจําป พ.ศ. 2553 ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยพิจารณาจากขอเสนอของ 2 บริษัท และไดมีมติคัดเลือกสํานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ เสนอแนะตอคณะกรรมการ บริษัท และเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมใหญผูถือหุนใหแตงตั้ง นายวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาติ เลข ทะเบียน 7309 และ/หรือ นางวิไลรัตน โรจนนครินทร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3104 และ/หรือ นางสาว สมจินตนา พลหิรัญรัตน ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 5599 ใหเปนผูสอบบัญชีของบริษัทสําหรับรอบปบัญชี พ.ศ. 2553 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

นายอดิเรก ศรีวัฒนาวงษา ประธานกรรมการตรวจสอบ

36


37


38


39


40


41


42


43


44


45


46


47


48


49


50


51


52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


64


65


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.