แผนธุรกิจเคสผ้าไหม

Page 1


คำนำ

ข้าพเจ้าจัดทาแผนธุ รกิจ Thai Silk Case ขึ้นมาเพื่อเป็ นการกระจายรายได้เข้าสู่ ชุมชน เพื่อเป็ น การอนุ รักษ์ผา้ ไหมไทยไม่ให้ถูกลืมเลือน และเพื่อเป็ นการนาธุ รกิจใหม่เข้าสู่ ตลาด โดยธุ รกิจ Thai Silk Case เป็ นการนาผ้าใหม่ไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์นอกจากการสวมใส่ เนื่องจากปั จจุบนั มีการใช้เทคโนโลยีเกี่ยวกับเครื่ องมือสื่ อสารที่เป็ นสมาร์ ทโฟนกันเป็ นจานวน มากจึงทาให้มีแนวคิดในการสร้างธุ รกิจขึ้นมาให้เข้ากับกระแสในสังคมปั จจุบนั โดยการนาวัตถุดิบจาก ผ้าไหมมาสร้างความแตกต่างโดยนาผ้าไหมมาทาเป็ นเคสสาหรับใส่ สมาร์ ทโฟนเพื่อความสวยงามและ เพื่อป้ องกันการหล่นกระแทก ข้าพเจ้าหวังว่าเล่มแผนการธุ จกิจ Thai Silk Case จะเป็ นแนวทางให้กบั ผูท้ ี่ได้อ่านหรื อผูท้ ี่สนใจ ได้รับข้อมูลจากการศึกษาจากแผนงานเล่นนี้ไม่มากก็นอ้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา


สำรบัญ เรื่อง

หน้ ำ

วิเคราะห์สถานการ์

1-4

ตารางสื่ อประชาสัมพันธ์

5

งบประมาณ

6-7

ภาคผนวก

8-


แผนธุรกิจ Thai Silk Case 1. วิเครำะห์ สถำนกำรณ์ ในปั จจุบนั สภาพการณ์ทางการตลาดของธุ รกิ จสมาร์ ทโฟนอย่าง Iphone, Ipad กาลังได้ความ นิยมเป็ นอย่างมากในหมู่ของประชาชนที่มีกาลังซื้ อประกอบกับมีรสนิ ยมในด้านเทคโนโลยีการสื่ อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่ มคนวัยทางานและกลุ่มวัยรุ่ น ซึ่ งกลุ่มคนเหล่านี้ มกั ต้องการความสะดวกสบาย และความรวดเร็ วในการติดต่อสื่ อสารในรู ปแบบต่างๆ เช่ น โทรศัพท์ แชท เล่นเกมส์ ฟั งเพลง ถ่ายรู ป ฯลฯ เมื่อธุ รกิ จสมาร์ ทโฟนอย่าง Iphone, Ipad มีแนวโน้มที่จะได้รับความนิ ยมจากผูบ้ ริ โภคมากขึ้น เรื่ อยๆ การตลาดที่มาคู่กนั ก็คือ สมาร์ ทโฟน เคส หรื อเคสโทรศัพท์ ซึ่ งก็มีหลายรู ปแบบ หลายราคา และ หลายคุณภาพ บางครั้งราคาแพงแต่คุณภาพไม่ดี ปั ญหาที่พบบ่อยของเคสโทรศัพท์ คือ - เปลี่ยนสี ไปจากเดิม เช่น จากสี ชมพู กลายเป็ นสี เหลือง - วัสดุที่แข็งทาให้โทรศัพท์เป็ นรอย - ไม่กนั กระแทก - แตกร้าวง่าย ด้วยเหตุน้ ีเองจึงเป็ นโอกาสหนึ่ งของธุ รกิจสมาร์ ทโฟน เคส หรื อเคสโทรศัพท์ ที่ผลิตด้วยผ้าไหม ไทย ซึ่ งนอกจากจะให้ ค วามสวยงามอย่า งไทยแล้ว ยัง มี ค วามทนทาน กัน กระแทก และไม่ ท าให้ โทรศัพท์เป็ นรอยอีกด้วย อีกทั้งยังมีลวดลายที่สวยงาม โดยจัดทาเป็ นCollection ให้เลือกหรื อสามารถ สัง่ ลายได้ตามต้องการ 2. SWOT Analysis จุดแข็ง (Strenght) - ผ้าไหม มีความทนทาน และทนความร้อนได้ดี - สามารถสั่งลวดลายผ้าไหมได้ตามต้องการ - วัสดุอุปกรณ์ได้มาตรฐาน - มีเครื่ องมือการผลิตที่ทนั สมัย


จุดอ่อน (Weakness) - เป็ นสิ นค้าใหม่ที่เพิ่งเปิ ดตัว ยังไม่ มีใครรู ้ จกั จึงต้องใช้กลยุทธ์ และงบประมาณในการ ประชาสัมพันธ์ค่อนข้างมาก - เทคโนโลยีมี การเปลี่ ย นแปลงไปอย่า งรวดเร็ ว อาจส่ ง ผลให้มีอุป กรณ์ ก ารสื่ อสารที่ มี รู ปแบบใหม่ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา โอกาส (Opportunity) - เป็ นสิ นค้าใหม่ที่ยงั ไม่มีการผลิตและขายในตลาด - ผูบ้ ริ โภคมีความต้องการสู ง อุปสรรค (Threats) - มีคู่แข่งในตลาดค่อนข้างมาก ทาให้ผบู้ ริ โภคมีทางเลือก - สิ นค้าง่ายต่อการเลียนแบบ ต้องสร้างจุดเด่นของสิ นค้าที่แตกต่าง เพื่อให้ผบู้ ริ โภคจดจาใน ตราสิ นค้าได้ 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็ นการแนะนาสิ นค้าใหม่ออกสู่ ตลาด 2. เพื่อปลูกฝังให้คนยุคใหม่เห็นคุณค่าและความงามของผ้าไหมไทย 3. เพื่อเป็ นการกระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่น 4. เพื่อสร้างความแปลกใหม่ให้กบั ตลาดของธุ รกิจสมาร์ ทโฟน เคส หรื อเคสโทรศัพท์ 4. เป้ำหมำย ต้องการยอดขายในการเปิ ดตัวสิ นค้าครั้งแรก จานวน 2 % และปี ถัดๆ ไป เพิ่มขึ้นจานวน 4 % 5. สำรหลัก (Key Message) Silk Case เทรนด์ของคนรุ่ นใหม่


6. กลุ่มเป้ำหมำย 1. กลุ่มเป้ าหมายหลัก ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่ น -เพศ ชาย/หญิง -อายุ 18-25 ปี -การศึกษาระดับปริ ญญาตรี -รายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 10,000-15,000 บาท Generation M (Millennium Generation) อายุปัจจุ บนั จะอยู่ในช่ วง 18-24 ปี หรื อรวมเด็ก อายุต่ ากว่า 18 ด้วย เรี ยกติ ดปากว่า เด็กแนว เป็ นสมาชิกในครอบครัวที่ได้รับการดูแลเป็ นพิเศษ และได้รับการสั่งสอนเพื่อไม่ให้ตกอยูใ่ นอานาจของ สิ่ งยัว่ ยุ มอมเมา บุคคลกลุ่ มอายุน้ ี จะให้ความสาคัญกับคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ ไม่ชอบเป็ นลูกจ้าง อยากเป็ นเจ้าของกิ จการขนาดเล็ก มีแนวทางและอิสระเป็ นของตัวเองชัดเจน ชอบดู Channel V, MTV (TaNteE.NET, 2548 : ออนไลน์) การทาตลาดของสิ นค้าที่จะสามารถเจาะกลุ่มตลาดนี้ ได้ในขณะที่ตอ้ ง เป็ นสิ นค้าที่มีคุณภาพแล้ว ยังต้องมีความเป็ นตัวเองสู ง และมีความโดดเด่น 2. กลุ่มเป้ าหมายรอง ได้แก่ กลุ่มคนวัยทางาน -เพศ ชาย/หญิง -อายุ 25-35 ปี -การศึกษาระดับปริ ญญาตรี -รายได้ต่อเดือน 15,000 บาท ขึ้นไป Generation Y (Y Generation) กลุ่ ม คนที่ เ กิ ด ระหว่ า งปี พ.ศ. 2523 – 2533 อายุ 22 – 32 ปี เป็ นกลุ่ ม คนที่ โ ตมาพร้ อ มกับ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี เป็ นวัยที่เพิ่งเริ่ มเข้าสู่ วยั ทางาน มีลกั ษณะนิ สัยชอบแสดงออก มีความเป็ น ตัวของตัวเองสู ง ไม่ชอบอยู่ในกรอบและไม่ชอบเงื่ อนไข คนกลุ่มนี้ ตอ้ งการความชัดเจนในการทางาน อีกทั้งยังมีความสามารถในการทางานที่เกี่ ยวกับการติดต่อสื่ อสาร และยังสามารถทางานหลาย ๆ อย่าง


ได้ในเวลาเดี ยวกัน Gen-Y เป็ นผูบ้ ริ โภคที่ใจร้ อน ต้องการเห็ นผลสาเร็ จทุกอย่างอย่างรวดเร็ วเนื่ องจาก เชื่อในศักยภาพของตนเอง 7. สื่ อประชำสั มพันธ์ เว๊ปไซด์ เว๊ปไซด์ คือ แหล่งเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่ อประสมต่างๆ เช่น ภาพ เสี ยง ข้อความ ของ แต่ละบริ ษทั หรื อหน่วยงานโดยเรี ยกเอกสารต่างๆเหล่านี้ วา่ เว๊ปเพจ (web page) และเรี ยกหน้าแรกของ เว๊ป ไซด์ว่าโฮมเพจ (home page) หรื ออาจกล่ าวได้ว่า เว๊ปไซด์คือเว๊ปเพจอย่า งน้อยสองหน้าที่ มีลิ้ งค์ (links) ถึงกัน  เป็ นการเพิ่มช่องทางในการขายสินค้ าและบริการของบริ ษัทอีกช่องทางหนึง่  คุณไม่ต้องเสียค่าใช้ จา่ ยที่สงู สาหรับการที่จะมีเว็บไซต์เพื่อติดต่อกับโลกภายนอก  มีหน้ าร้ าน (Homepage) ร้ านค้ าของตนเอง เป็ นการเปิ ดตัวสูต่ ลาดโลก  เสริมภาพลักษณ์ขององค์กรให้ มีความทันสมัยน่าเชื่อถือมากขึ ้น  มีอีเมล์ในการติดต่อลูกค้ า เพื่อความเป็ นสากล  สามารถซื ้อ-ขายสินค้ าหรื อบริการของท่านผ่านเว็บไซต์ได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง  โฆษณาบริษัทฯ หรื อองค์กรให้ เป็ นที่ร้ ูจกั ทังในจั ้ งหวัด ต่างจังหวัดและต่างประเทศ  เป็ นอีกช่องทางในการส่งเสริ มการขายสินค้ าและบริการต่าง ๆ ของบริษัท  ยกระดับมาตรฐานการซื ้อขายภายในประเทศ  เสริมสร้ างธุรกิจให้ แข็งแรงด้ วยประโยชน์ของ Internet * หน้าตาเว๊ปไซด์ของเราจะมีหน้าเว๊ปประมาณ 40 หน้า ในหน้าแรกจะรวบรวมข้อมูลต่างๆที่เป็ น หัวข้อ เช่น ประวัติผา้ ไหม order คอลเลคชัน่ ต่างๆ และสามารถคลิ กเข้าไปสู่ เนื้ อหาต่างๆ เราจะนา รู ปสิ นค้าของแต่ละรุ่ นมาลงและบอกราคาไว้อย่างชัดเจน


ตำรำงสื่ อประชำสั มพันธ์ ระยะเวลำ สื่ อกิจกรรม กำรจัดประกวด เราได้ มีการจัดประกวดให้ ผ้ ทู ี่สนใจส่งผลงานเข้ าประกวดโดย ให้ ผ้ ทู ี่สนใจออกแบบลายผ้ าไหม ส่งเข้ ามาผ่านหน้ าเว๊ ปไซด์ของเรา มีการตัดสินที่ลายโดดเด่น แปลกใหม่และดูน่าสนใจ ผู้ที่ได้ รางวัล ชนะเลิศรางวัลแรกจะถูกนาลายของผู้ชนะมาผลิตเป็ นเคสจริง รางวัลของผู้ชนะ รางวัลที่ 1 ได้ รับเงินรางวัล 30,000 บาท รางวัลที่ 2 ได้ รับเงินรางวัล 20,000 บาท รางวัลที่ 3 ได้ รับเงินรางวัล 10,000 บาท และรางวัล พิเศษอีก 5 รางวัล รางวัลละ 5,000 บาท ตารางเวลาการจัดกิจกรรม แผนกำรทำกิจกรรม

สั ปดำห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1.โฆษณาผลิตภัณฑ์ผ่านสื่ อ Internat 2. จัดการประกวด ออกแบบ ลวดลายเคสผ้าไหม 3. ประกาศผลและมอบรางวัล

√ √

√ √ √

4.ออกบูธตาม มหกรรมสิ นค้าต่างๆ เช่น OTOP 5. นาสิ นค้าไปให้ร้านโทรศัพท์ต่างๆทดลองขาย


8. งบประมำณ

ลำดับ

รำยกำร

งบประมำณ

1 2 3 4 5 6 7 8

ค่าจัดทาเว็ปไซต์ 40หน้า ช่างทากราฟฟิ ก จานวน 6คน คนละ20,000 ต่อ เดือน พนักงาน 10 คน คนละ 12,000 ต่อเดือน เครื่ องพิมลาย จานวน1 เครื่ อง 69,000 เคสเปล่า และอุปกรณ์ทาเคส เครื่ องผลิตสิ้ นค้า จานวน 5 เครื่ อง เครื่ องละ 150,000 ผ้าไหมชั้นดี 1ลอท บรรจุภณ ั ฑ์ 1,000 ชิ้น รำงวัลจัดกำรประกวด รางวัลที่ 1 30,000 บาท รางวัลที่ 2 20,000 บาท รางวัลที่ 3 10,000 บาท รางวัลพิเศษ 5 รางวัล รางวัลละ 5,000 บาท รวม

35,000 120,000 120,000 690,000 150,000 750,000 100,000 25,000

25,000

2,085,000


งบประมำณ 5,000,0000 จากงบประมาณทั้งหมด 5 ล้าน ธุ รกิจ Thai Silk Case ได้ทาไป 2,085,000 เนื่ องจาก ธุ รกิจ Thai Silk Case ได้ทาสื่ อประชาสัมพันธ์ คือ เว็ปไซต์ เนื่องจากเป็ นเว็ปไซต์ ราคาถูกและได้ผลตอบแทนที่ คุม้ ค่า ซึ่ งสื่ อเว็ปไซต์ สามารถเข้าถึงผูค้ นได้ง่าย และไม่ตอ้ งจัดทาหน้า ล้านให้เปลืองงบประมาณเลยได้ จัดทาการประกวดออกแบบลายเคสโทรศัพท์โดยมีรางวัลดังนี้

รางวัลที่ 1 30,000 บาท รางวัลที่ 2 20,000 บาท รางวัลที่ 3 10,000 บาท รางวัลพิเศษ 5 รางวัล รางวัลละ 5,000 บาท เนื่องจากการจัดทาประกวดเป็ นการใช้งบประมาณอย่างคุม้ ค่าเพราะการประกวดทา ให้ประชาชนได้มีโอกาสในการเข้าร่ วมกิจกรรมและเป็ นการเผยแพร่ แนะนาธุ รกิจ Thai Silk Case


ภำคผนวก


ประวัติควำมเป็ นมำของผ้ำไหมไทย ผ้าไหมมี ถิ่นกาเนิ ดในประเทศจี นและประเทศอิ นเดี ย การทอผ้าไหมมี ข้ ึ นราว 2,640 ปี ก่ อน คริ สตกาล พ่อค้าชาวจีนได้เผยแพร่ ผา้ ไหมสู่ พ้นื ที่อื่นในแถบเอเชีย สาหรับประเทศไทยนักโบราณคดีพบ หลักฐานที่แหล่งโบราณคดีบา้ นเชียงซึ่ งบ่งชี้วา่ มีการใช้ผา้ ไหมเมื่อ 3,000 ปี ก่อน การทอผ้าไหมในประเทศไทยในอดี ตมีการทากันในครัวเรื อนเพื่อใช้เอง หรื อทาขึ้นเพื่อใช้ใน งานพิ ธี เช่ น งานบุ ญ งานแต่ ง งาน ต่ อมาในรั ช สมัย ของพระบาทสมเด็ จพระจุ ล จอมเกล้า เจ้า อยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ส่งเสริ มให้ใช้ผา้ ไหม ส่ วนการปลูกหม่อนเพื่อเลี้ยงไหมได้รับการสนับสนุนจากประเทศ ญี่ปุ่น แต่การดาเนิ นงานของโครงการก็ทาได้เพียงระยะหนึ่ งมีอนั ต้องหยุดไป เนื่ องจากเกษตรกรไทย ยังคงทาในลักษณะแบบเดิมเพราะความเคยชิน ไม่ตอบรับต่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่ แบบใหม่ที่ได้รับการ พัฒนาขึ้นจากความช่วยเหลือของญี่ปุ่น หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ ของผ้าไหมไทยขึ้น โดย เจมส์ แฮร์ ริสัน วิสสัน ทอมป์ สัน ชาวสหรัฐอเมริ กาหรื อที่คนไทยรู ้จกั ในนามว่า จิม ทอมป์ สัน ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่ให้ความสนใจผลงานด้านศิลปะ ในแถบภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อของไทย รวมทั้งลาว และเขมร จิม ทอมป์ สัน ได้ซ้ื อผ้าไหมไทยลวดลายต่างๆ เก็บสะสมไว้ และทาการศึกษา ลวดลายผ้าไหมในหมู่บา้ นที่เป็ นแหล่งการผลิตผ้าไหม พร้อมกับเสาะแสวงหาช่ างทอผ้าไหมฝี มือดี ใน ที่สุดได้พบช่างมีฝีมือถูกใจที่กรุ งเทพมหานคร บริ เวณชุมชนบ้านครัว (หลังโรงแรมเอเชีย เขตราชเทวีใน ปั จ จุ บ ัน ) ชุ ม ชนแห่ ง นี้ เดิ ม เป็ นชาวมุ ส ลิ ม เชื้ อ สายเขมร อพยพเข้า มาอาศัย อยู่ ต้ งั แต่ ต อนต้น กรุ ง รัตนโกสิ นทร์ มีความชานาญในการทอผ้าไหม ซึ่ ง จิม ทอมป์ สัน ได้เข้ามาสนับสนุ นให้ชาวบ้านใน ชุมชนทอผ้าไหม สามารถสร้างรายให้ชาวบ้านมากขึ้น หลังจากนั้นได้มีการปรับปรุ งผ้าไหมไทยโดยใช้ หลัก การตลาด การผลิ ต เพื่ อขยายตลาด และท าการบุ ก เบิ ก ผ้า ไหมของไทยไปสู่ ตลาดต่า งประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริ กา และแพร่ เข้าสู่ วงการภาพยนตร์ ของชาติตะวันตก และ ละครบรอดเวย์ ในปี พ.ศ. 2502 นักออกแบบชาวฝรั่ งเศสได้ใช้ผา้ ไหมไทยทาการออกแบบและตัดเย็บฉลองพระองค์ของ สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ครั้งเสด็จเยือนประเทศสหรัฐอเมริ กาอย่างเป็ นทางการ ถือ ได้วา่ เป็ นการเปิ ดโอกาสผ้าไหมของไทยสู่ ตลาดต่างประเทศ


คุณสมบัตขิ องผ้ำไหมไทย คุณสมบัติอนั มีค่าของผ้าไหมไทยที่มีชื่อขจรขจายไปสู่ ทุกภูมิภาคของโลก มีสองลักษณะคือ 1. การมองในลักษณะภายนอก คือผ้าไหมไทยนั้น เมื่อมองแล้วจะมีความงามเป็ นประกาย มี ความตรึ งใจ และทาให้หลงใหลในสี สันอันงดงาม และดูภูมิฐานเมื่อใครได้สวมใส่ ผา้ ไหมไทยจะแสดง ถึงความมีรสนิยมสู ง 2. การมองในลัก ษณะของการได้ส วมใส่ หรื อสัม ผัส เมื่ อได้ส วมใส่ ผา้ ไหมแล้วทาให้เกิ ด ความสุ ขและความภูมิใจ คุณสมบัติที่เบาตัวของผ้าไหม ทาให้มีความรู้สึกสบาย ผ้าไหมไทยได้รับการ ยอมรับว่าเป็ นราชิ นีของเส้นใยทั้งหมดที่มีอยูใ่ นโลกปั จจุบนั ผ้าไหมหรื อผลิตภัณฑ์จากไหมนั้นบอบบาง จึงต้องปฏิ บตั ิรักษาอย่างพิถีพิถนั อย่างน้อยทุกคนก็ทราบดี อยู่แล้วว่า คุ ณสมบัติต่าง ๆ ที่จะต้องปฏิ บตั ิ รักษา เคลื่อนย้ายอย่างระมัดระวัง ความสุ ข ความเบาสบาย ความภูมิใจ จะไม่เกิดขึ้นเลย ถ้าเราจะไม่ทา การรักษาคุณภาพอันดีเลิ ศของผลิ ตภัณฑ์ จากไหมทุกชนิ ดให้อยู่ในสภาพที่น่าหยิบ น่าเป็ นเจ้าของและ น่าสวมใส่ ผ้าไหมไทย... คุณค่าสู่ สากลผ้าไหม ภูมิปัญญาไทย ก้าวไกลสู่ ตลาดโลกการ ทอผ้าไหม เป็ น อุตสาหกรรมของคนไทย ภาคอีสาน มานานแล้ว สตรี ชาวอีสานเมื่อหมดหน้าทานา จะมานัง่ ล้อมวง สาว ไหม ปั่ นและย้อมเส้นไหม ทอเป็ นผืนเพื่อเก็บไว้ใช้หรื อขาย ต่อสร้ างผลงานสื บสานศิ ลปะไทยและ เสริ มสร้างสุ ขภาพให้แข็งแรงไปพร้อมกันมา ตั้งแต่ครั้งโบราณ และกว่าที่จะได้ผา้ ไหมผืน สวยๆ สั้นตัด เย็บต้องผ่านขั้นตอนการเลี้ยงไหม ตัวไหมคล้าย หนอนตัวเล็กๆ กินใบหม่อนเป็ นอาหารมีอายุประมาณ 45 วันจึงเริ่ มชักใย กลายเป็ นรังไหม การสาวไหม เมื่อตัวไหมชักใยได้ 2 วัน จึงเริ่ มเก็บรับไหมและต้อง สาวไหมให้เสร็ จภายใน 7 วัน เพราะตัวดักแด้จะกัด รังออกมาทาให้ได้เส้นไหมที่ไม่สมบูรณ์ เส้นไหมที่ ได้มี 3 ชนิ ด คือไหมต้น มี สีออกเหลื องอมแสดเส้น ใหญ่และไม่เรี ยบไหมกลาง เส้นไหมขนาดกลาง เรี ยบเสมอกันมีปุ่มเล็กน้อยนิ ยมนามาตัดเสื้ อผ้า เพราะไม่ นิ่มมากเสื้ อผ้าที่ได้มีรูปทรงสวยงามเส้น ไหม มีเนื้อละเอียดสี ทองดอกบวบ เมื่อนามาทอจะได้ ผ้าไหมที่มีเงาสวยเนื้ อผ้าแน่น เมื่อหยดน้ าลงไปจะเกาะ เป็ นเม็ดอยูบ่ นเนื้ อผ้า ไม่สามารถซึ มเข้าไปได้ทนั ที จึงมีราคาแพง การทอผ้าไหมปั จจุบนั ใช้ "กี่กระตุก" ช่วยให้ทอง่ายและรวดเร็ ว ซึ่ งลายต่างๆ จะเกิดจากการมัดย้อมเส้นไหม เรี ยกว่า "มัดหมี่" ให้เป็ นลายก่อน นามาทอ การเรี ยกชื่อผ้าไหมเรี ยกตามลายผ้า เช่น ซิ่ น หมี่ ซิ่ นปูม ซิ่ นเชิง ซิ่ นยก ลายดอกพิกุลฯ


ในอดีตไหมไทยไม่ที่รู้จกั แพร่ หลายในตลาดโลกมากนัก แม้กระทัง่ คนไทยยังไม่นิยมนาผ้าไหม มาตัด เย็บเสื้ อผ้า เพราะผ้าไหมถูกตีกรอบให้เหมาะสมกับกลุ่มผูใ้ หญ่เท่านั้น จนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อจิม ทอมป์ สัน ชาวอเมริ กนั ฟื้ นฟูอุตสาหกรรมไหมไทย ขึ้นมาใหม่ทาให้ผา้ ไหมขึ้นมาใหม่ทาให้ผา้ ไหมไทยเป็ น ที่รู้จกั ของโลกภายนอกมากยิง่ ขึ้น ประกอบกับที่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถทรง มีพระราชดาริ ในการก่อตั้งศูนย์ศิลาปาชีพ เพื่อส่ งเสริ มงานฝี มือภูมิปัญญาไทย ผ้าไหม "มัดหมี่" จึงเป็ น ศิลปะอีกแขนง หนึ่งที่ทรงให้ความสาคัญ และได้รับส่ งเสริ มพัฒนาในทุกขั้นตอนการผลิต ทรงส่ งเสริ ม ให้มีผลิตออก มาหลายๆ รู ปแบบทั้งแบบผืนยาวเรี ยบลายแถบ ยกดอก ภาพพิมพ์สมเด็จฯท่านทรงเป็ น แบบอย่างในการ เผยแพร่ ชื่อเสี ยงของผ้าไหมไทยโดยการที่ทรงฉลองพระองค์ดว้ ยผ้าไหมไทย ไม่วา่ จะ อยูใ่ นประเทศหรื อ เสด็จต่างประเทศก็ตาม ผ้าไหมมัดหมี่นอกจากจะมีลวดลายที่สวยงาม แล้วยังมีความ ทนทานสามารถสวมใส่ ได้หลายปี หากรู ้ จกั วิธีการรักษาที่ถูกต้อง ปั จจุบนั ดี ไซเนอร์ ช้ นั นาทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศนิ ยมนาผ้าไหมทั้งผ้าพื้น และผ้ามัดหมี่ไปตัดเย็บ จัดแสดงแฟชัน่ โชว์คอลเลคชัน่ ผ้า ไหมให้เห็นกันอยูบ่ ่อยๆ ซึ่ งผ้าไหม 2 เส้น นิ ยม ตัดชุ ดสาหรับสุ ภาพสตรี ส่ วนของผ้าไหม 4 เส้น นามา ตัดเป็ นเสื้ อพระราชทาน สาหรับสุ ภาพบุรุษหรื อตัด ชุ ดสู ทเป็ นการออกแบบผสมผสานความงามของผ้า ไหมไทยกับการตัดเย็บอย่างประณี ตใน รู ปแบบสากล เพื่อช่วยเสริ มให้บุคลิกของผูส้ วมใส่ ดูสวยงามไม่ ล้าสมัย เหมาะสมกับคนทุกวัยและทุกโอกาส จากการเริ่ ม ต้นแค่ภูมิปัญญาของชาวชนบทในภาคอีสาน ของไทย เดี๋ยวนี้ผา้ ไหมไทยกลายเป็ นสิ นค้าสาคัญของประเทศ และเป็ นที่ตอ้ งการของตลาดโลกไปแล้ว ระดับคุณภำพ ในปั จจุบนั มีการนาเข้าวัตถุดิบเส้นไหม และเส้นใยสังเคราะห์จากต่างประเทศ ทั้งมีการนาเข้า ถูกกฎหมายและลักลอบนาเข้าแบบผิดกฎหมาย ทาให้วตั ถุ เส้ นไหมจึ งมีท้ งั คุ ณภาพได้มาตรฐานและ คุณภาพต่ากว่ามาตรฐานทาให้ผา้ ไหมไทยมีคุณภาพต่าลง กระนั้นผูผ้ ลิตก็ยงั คงใช้ตราสัญลักษณ์วา่ "ผ้า ไหมไทย" หรื อ "Thai Silk" เพื่อการค้า ยังผลให้ผซู ้ ้ื อทั้งของประเทศไทยและตลาดต่างประเทศไม่มนั่ ใจ ในคุ ณภาพของผ้าไหมไทย จากปั ญหาดังกล่าวสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ จึงทรงมี กระแสพระราชดารัสให้หน่วยงานที่รับผิดชอบไปดาเนินการวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการแก้ไข ปี พ.ศ. 2545 หน่วยงานซึ่ งมีส่วนเกี่ยวข้องกับผ้าไหมไทย เช่ น กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ ( ห น่ ว ย ง า น เ ดิ ม ข อ ง ก ร ม ห ม่ อ น ไ ห ม ) ค ณ ะ ศิ ล ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปั ญญากระทรวงพาณิ ชย์ และมูลนิ ธิส่งเสริ มศิลปาชี พใน


สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ร่ วมกันจัดสัมมนาหาแนวทางแก้ไขจนได้ขอ้ สรุ ปเป็ น มาตรการคุ ม้ ครองไหมไทยและออกข้อบังคับในการผลิ ตผ้าไหมไทยโดยออกตราสัญลักษณ์ รับรอง คุณภาพผ้าไหมไทยไว้เป็ นระดับต่างๆ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุ ณาโปรด เกล้าฯ พระราชทานสัญลักษณ์นกยูงไทย ให้เป็ นเครื่ องหมายรับรองคุณภาพสาหรับผลิตภัณฑ์ผา้ ไหม ไทยไว้ 4 ชนิด (Royal Thai Silk) เป็ นผ้าไหมซึ่ งผลิตจากวัตถุดิบ เส้นไหม กระบวนการผลิตแบบภูมิปัญญา พื้นบ้านดั้งเดิ มของไทยอย่างแท้จริ งและใช้เส้ นไหมพันธุ์ ไทยพื้นบ้านเป็ นทั้งเส้ นพุ่งและเส้ นยืน เส้ น ไหมจะต้องสาวเส้นด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ การทอด้วยกี่ทอมือแบบพื้นบ้านชนิ ดพุง่ กระสวยด้วย มือ ย้อมด้วยสี ธรรมชาติ หรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม และต้องผลิตในประเทศไทย (Classic Thai Silk) เป็ นผ้ า ไหมซึ่ งผลิ ต ขึ้ นแบบภู มิ ปั ญ ญาพื้ น บ้ า นผสมผสานกั บ การ ประยุกต์ใช้เครื่ องมือและกระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านหรื อที่ได้รับการ ปรั บ ปรุ ง จากพันธุ์ ไ ทยเป็ นเส้ นพุ่ง หรื อเส้ นยืน เส้ นไหมต้องผ่า นการสาวด้วยมื อ หรื ออุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ มอเตอร์ ข บั เคลื่ อนขนาดไม่เกิ น 5 แรงม้า การทอต้องทอด้วยกี่ ทอมื อชนิ ดพุ่งกระสวยด้วยมื อหรื อกี่ กระตุก และต้องทาการผลิตในประเทศไทย (Thai Silk) เป็ นผ้าไหมซึ่ งผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยโดยการประยุกต์เทคโนโลยีการผลิตให้ เข้ากับสมัยนิ ยมและทางธุ รกิจธุ รกิจ ใช้เส้นไหมแท้เป็ นเส้นพุง่ และเส้นยืน ย้อมสี ดว้ ยสี ธรรมชาติ หรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ และต้องผลิตในประเทศไทย (Thai Silk Blend) เป็ นผ้าไหมซึ่ งผ่านกระบวนการผลิ ตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ผสมผสาน กับภูมิปัญญาไทย เช่น ลวดลาย สี สัน ใช้เส้นใยไหมแท้กบั เส้นใยอื่นที่มาจากวัสดุธรรมชาติ หรื อเส้นใย สังเคราะห์ต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน หรื อตามความต้องการของผูบ้ ริ โภค เส้นไหมแท้เป็ น องค์ประกอบหลัก มีเส้นใยอื่นเป็ นส่ วนประกอบรอง สัดส่ วนการใช้เส้นใยชนิ ดอื่นประกอบต้องระบุให้ ชัดเจน ทอด้วยกี่ชนิ ดใดก็ได้ ย้อมสี ดว้ ยสี ธรรมชาติ หรื อสี เคมีที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม และต้องผลิตใน ประเทศไทย


รูปแบบหน้ ำเว็บไซท์ สำหรับสั่งซื้อ



ตัวอย่ ำงสิ นค้ำ


ชุด ลำยกรำฟิ ก


ชุดลำย ธรรมชำติ

ชุด


ชุด ลำยลูกหมู


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.