วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ TFMA E-Magazine 146

Page 1



รายนามสมาชิก

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 1. บมจ. กรุงไทยอาหารสัตว์ 2. บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด 3. บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด 4. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด 5. บมจ. ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ ไพรส์ 6. บมจ. ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ 7. บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด 8. บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด 9. บมจ. อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย 10. บมจ. เบทาโกร 11. บริษัท ซี.เอ็น.พี. อาหารสัตว์ จำกัด 12. บมจ. กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร 13. บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด 14. บริษัท ลีพ ัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด 15. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อีสาน 16. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 17. บริษัท โกรเบสท์คอร์ โพเรชั่น จำกัด 18. บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 19. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร 20. บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด 21. บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด 22. บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด 23. บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด 24. บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด 25. บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด 26. บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด 27. บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด 28. บริษัท เหรียญทองฟีด (1992) จำกัด

29. บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด 30. บริษัท บี.พี. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 31. บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด 32. บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด 33. บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด 34. บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด 35. บริษัท ซันฟีด จำกัด 36. บริษัท ยูนโี กร อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 37. บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด 38. บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด 39. บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด 40. บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด 41. บมจ. บางกอกแร้นซ์ 42. บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด 43. บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด 44. บมจ. กรุงเทพโปรดิ๊วส 45. บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด 46. บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด 47. บริษัท ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ จำกัด 48. บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด 49. บริษัท บุญพิศาล จำกัด 50. บริษัท เฮกซ่า แคลไซเนชั่น จำกัด 51. บริษัท บีทจี ี ฟีดมิลล์ จำกัด 52. บริษัท หนองบัวฟีดมิลล์ จำกัด 53. บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด 54. บริษัท โกล์ด คอยน์ สเปเชียลลิตี้ (ประเทศไทย) จำกัด 55. บริษัท แม่ทา วี.พี. ฟีดมิลล์ จำกัด 56. บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด

อภินันทนาการ


คณะกรรมการ

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประจำปี 2554-2555 1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล 2. นายนพพร วายุโชติ 3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ 4. นายไพศาล เครือวงศ์วานิช 5. นางเบญจพร สังหิตกุล 6. นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ 7. นายประกิต เพียรศิริภิญโญ 8. นายโดม มีกุล 9. นายศักดิ์ชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล 10. นายสถิตย์ บำรุงชีพ 11. นายวีรชัย รัตนบานชื่น 12. นางภัทนีย เล็กศรีสมพงษ์ 13. นายวิทิต ภูธนทรัพย์ 14. นายอุทัย ตันติพิมลพันธ์ 15. นายสุนทร ตันทนะเทวินทร์ 16. นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ 17. นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง 18. นายวิชัย คณาธนะวนิช ย์ 19. นายวิศิษฐ คณาธนะวนิช ย์ 20. นายสุจิน ศิริมงคลเกษม 21. นายวราวุฒิ วัฒนธารา 22. นายเชฎฐพล ดุษฎีโหนด 23. นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์

นายกสมาคม อุปนายก คนที่ 1 อุปนายก คนที่ 2 อุปนายก คนที่ 3 เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคเหนือ เกษตรอุตสาหกรรม จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท บี พี ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพ ัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด


ข้อมูลที่น่าสนใจ ได้ถูกกลั่นกรองให้กระชับและพอ เข้าใจได้อย่างลึกซึง้ เพือ่ จะเป็นแผนทีน่ ำทางสูค่ วามสำเร็จ ของธุรกิจและการวางแผนของทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จึง ขอนำมาถ่ายทอดไว้ในวารสารเล่มนี้

บรรณาธิการ

แถลง

โดยเนื้ อ หาเล่ ม นี้ ได้ บ รรจุ เ รื่ อ ง ข้ า ว ข้ า วโพด มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน ไก่เนื้อ ไก่ไข่ สุกร โคเนื้อ โคนม กุ้ง และมีงานวิจัย เรื่องความสัมพันธ์ ของอะฟลาทอกซิน ในอาหารสัตว์และในน้ำนม ในฟาร์มโคนม จังหวัดลพบุรี วิกฤตปศุสัตว์ จากปัญหาเรื่องปริมาณการผลิตเกินความต้องการ ยังเป็นปัญหาที่ต้องได้รับ การแก้ไข รวมทั้งปัญหาต้นทุนการเลี้ยงที่สูงขึ้นจากราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้น ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติ และจากการซื้อขายล่วงหน้าในตลาดต่างประเทศ ซึ่งสินค้าวัตถุดิบเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ที่ตลาด ทั่วโลกใช้เป็นฐานในการตั้งราคาและเป็นราคานำตลาด ทำให้ประเทศที่ต้องพึ่งพาการนำเข้า จะเสียเปรียบแก่ประเทศที่มีวัตถุดิบ เช่น บราซิล ที่ได้เปรียบประเทศไทยในเรื่องต้นทุนการเลี้ยงไก่ จึงแย่งตลาดส่งออกไปอย่างมาก ดังนั้น มุมมองของการที่ภาครัฐจะช่วยเหลือแก่ภาคปศุสัตว์ ด้วยการลดภาษีนำเข้าวัตถุดิบ ก็จะเป็นทางหนึ่งในการลดต้นทุนแก่ภาคผู้เลี้ยงสัตว์ได้ ก็ยังพอที่จะเห็นทางในการแข่งขันได้บ้าง และผู้บริโภคภายในประเทศก็จะได้ราคาเนื้อสัตว์ที่ถูกลงและมีกำลังซื้อที่จะบริโภคได้มากขึ้นเพื่อ ระบายส่วนเกินและลดความสูญเสียจากการขยายการผลิตของภาคผู้เลี้ยงที่พยายามปรับปรุง ประสิทธิภาพการเลี้ยงที่ได้มาตรฐานแล้ว โดยมุ่งหวังว่า การพัฒนาระบบมาตรฐานฟาร์มที่ดีแล้ว จะนำไปสู่ความสำเร็จในภาคปศุสัตว์ หากได้รับความสนับสนุนในเรื่องต้นทุนที่ถูกลงได้ เมื่อนั้น ความเจริญแก่ภาคปศุสัตว์จะรุ่งเรืองยิ่งขึ้น บก.


วารสารธุ ร กิ จ อาหารสั ต ว์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศ ให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

ปีที่ 29

Vol.

146

กันยายน-ตุลาคม 2555

สารบัญ

สิมุมนมองตลาดสิ ค้าข้าว นค้าปศุสัตว์และสัตว์ปีก ...............................5 5 สิรายงานการสำรวจภาวะการผลิ นค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ตและการค้า

13

สิจับนตาสถานการณ์ ค้ามันสำปะหลั งโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

19

มันสำปะหลัง ฤดูการผลิตปี 2555/2556 ............... 16

ายต่มอวงการปศุ 28 สินลางร้ ค้าปาล์ น้ำมัน สัตว์ในอนาคต .........................27 ขันเในอุ สาหกรรมตภัณฑ์ สิการแข่ นค้างไก่ นื้อตและผลิ

35

สินค้าไข่ไก่และผลิตภัณฑ์

40

สิภัยนแล้ค้งา-ราคาอาหารโลกพุ สุกรและผลิตภั่งณ: ฑ์

45

การผลิตสุกรใน AEC .............................................................. 31

ธุรกิจปาล์มน้ำมัน หลังก้าวเข้าสู่ AEC ............................... 41

ำซากที ่ซ้ำเติมประชากรโลก สินวิค้กาฤตซ้ โคเนื ้อและผลิ ตภัณฑ์ .......................... 49 52 ผลผลิตการเกษตร .................................... 53 สิผลการพยากรณ์ นค้าโคนมและผลิ ตภัณฑ์นม 58 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ................................. 65

สินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์

64

ขอบคุณ ..................................................................................................... 80

กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของ 71 อะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ และอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม ในฟาร์มโคนมจังหวัดลพบุรี ขอบคุณ

80

ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายนพพร วายุโชติ นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายณรงค์ศักดิ์ โชวใจมีสุข นายณัฐพล มีวิเศษณ์ นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 889 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 www.thaifeedmill.com พิมพ์ที่ : ธัญวรรณการพิมพ์ 800/138 หมู่บ้านริเวอร์ปาร์ค ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 โทร. 0-2536-5311, 0-2990-1568 โทรสาร 0-2990-1568




(5)

สินค้าข้าว

ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ข้าวปี 2554-2558 • ผลผลิตข้าวต่อไร่ในปีเพาะปลูก 2558/59 เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 10 ของผลผลิตข้าว ต่อไร่ในปีเพาะปลูก 2553/54 • ต้นทุนการผลิตข้าวต่อต้นทุนในปีเพาะปลูก 2558/59 ลดลงอย่างน้อยร้อยละ 15 ของ ต้นทุนการผลิตข้าวต่อตันในปีเพาะปลูก 2553/54 • ปริมาณข้าวหอมมะลิมีคุณภาพได้มาตรฐานในปีเพาะปลูก 2558/59 เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 20 ของปริมาณข้าวหอมมะลิมีคุณภาพได้มาตรฐานในปีเพาะปลูก 2553/54

สถานการณ์ภายในประเทศ ตารางที่ 1 : การผลิตข้าว รายการ ครัวเรือน (ล้านครัวเรือน) เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่) เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ (กก./ไร่) ปุ๋ยเคมีที่ใช้ (กก./ไร่)

52/53 3.717 57.497 23.253 404 16.93 29.43

ข้าวนาปี 53/54 3.702 64.574 25.442 394 17.28 28.72

54/55* 3.768 61.075 23.266 381 Na Na

53 0.666 15.223 8.863 582 30.07 50.98

ข้าวนาปรัง 54 0.706 16.102 10.141 630 30.95 50.89

55* 0.715 16.915 11.247 665 Na Na

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร  *พยากรณ์ ณ เดือน ก.ย. 55

1. การผลิต • ข้าวนาปี ปีเพาะปลูก 2554/55 มีเนื้อที่เพาะปลูก 61.075 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 23.266 ล้านตัน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกสู่ตลาดมากในเดือน พ.ย.-ธ.ค. ร้อยละ 80.08 • ข้าวนาปรัง ปี 2555 มีเนื้อที่เพาะปลูก 16.915 ล้านไร่ ได้ผลผลิต 11.247 ล้านตัน ออกสู่ตลาดมากในเดือน เม.ย.-มิ.ย. ร้อยละ 64.38 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(6) • ปริมาณการส่งออกข้าวคิดเป็นร้อยละ 40-45 ของผลผลิตรวมทั้งประเทศ โดยครอง ส่วนแบ่งตลาดของโลกร้อยละ 30 ตารางที่ 2 : ปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดรายไตรมาส ปี 2554-2555 ผลผลิตข้าว (ล้านตัน)

1 12.35 8.73 -29.29

ปี 2554 ปี 2555 เทียบกับปีที่แล้วของไตรมาสเดียวกัน (%)

ไตรมาสที่

2 19.21 19.44 1.21

3 9.32 13.38 43.56

4 59.12 58.45 -1.14

รวม 100.00 100.00

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2. การตลาด • ความต้องการใช้ในประเทศ ปี 2555 ประมาณ 16.648 ล้านตันข้าวเปลือก (10.988 ล้านตันข้าวสาร) เพิม่ ขึน้ จาก 15.570 ล้านตันข้าวเปลือก (10.276 ล้านตันข้าวสาร) ของปี 2554 ร้อยละ 6.92 • ไทยส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 (ปี 24-54) ปี 2554 ส่งออก 10.706 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 196,117 ล้านบาท โดยที่ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นจาก ปี 2553 (8.940 ล้านตันข้าวสาร 168,193 ล้านบาท) ร้อยละ 19.76 และ 16.60 ตามลำดับ สำหรับการส่งออกข้าว ปี 2555 (ม.ค.-ก.ย. 55) ปริมาณ 4.710 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 100,243 ล้านบาท • ประเทศคู่ค้าสำคัญ ปี 2555 ไนจีเรีย 0.818 ล้านตัน (17.37%) อิรัก 0.476 ล้านตัน (10.11%) อินโดนีเซีย 0.305 ล้านตัน (6.49%) อเมริกา 0.256 ล้านตัน (5.44%) แอฟริกาใต้ 0.245 ล้านตัน (5.19%) ไอวอรีโคสต์ 0.237 ล้านตัน (5.03%) แคเมอรูน 0.206 ล้านตัน (4.37%) เบนิน 0.194 ล้านตัน (4.11%) ญี่ปุ่น 0.180 ล้านตัน (3.39%) และฮ่องกง 0.121 ล้านตัน (2.57%) • ส่วนแบ่งตลาด ปี 2555 ไทย 18.12% เวียดนาม 19.51% อินเดีย 22.30% ปากีสถาน 10.45% และสหรัฐฯ 9.76% ตารางที่ 3 : ราคาข้าวที่เกษตรกรขายได้ เดือน ก.ย. 55 เดือน/ปี ก.ย.-54 ส.ค.-55 ก.ย.-55 % ก.ย. 54 % ส.ค. 55

หอมมะลิ 13,275 15,369 15,538 17.05 1.10

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

เจ้า 5%

9,949 9,914 10,584 6.38 6.76

หน่วย: บาท/ตัน

เหนียวเมล็ดยาว ปทุมธานี 14-15% 14,899 11,090 12,842 13,403 13,002 13,550 -12.73 28.13 1.25 1.10


(7) ตารางที่ 4 : ชนิดและราคารับจำนำข้าวเปลือก ปี 2555/56 (มติ ครม. 2 ต.ค. 55)

ชนิดข้าว ราคารับจำนำ (บาท/ตัน) (ความชื้นไม่เกิน 15%) ข้าวเปลือกหอมมะลิ (42 กรัม) 20,000 ข้าวเปลือกหอมจังหวัด (40 กรัม) 18,000 ข้าวเปลือกปทุมธานี (42 กรัม) 16,000 ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดยาว 16,000 ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดสั้น 15,000 ข้าวเปลือกเจ้า 100% 15,000 ทั้งนี้ ราคารับจำนำข้างต้นให้ปรับเพิ่ม-ลดตามจำนวนกรัม ในอัตรากรัมละ 200 บาท

ตารางที่ 5 : ราคาข้าวสาร FOB (ณ เดือน ก.ย. 55) เดือน/ปี ก.ย.-54 ส.ค.-55 ก.ย.-55 %∆ ก.ย. 54 %∆ ส.ค. 55

หอมมะลิ (ชั้น 2 ใหม่) US$/ตัน ฿/ตัน 1,097 33,096 1,085 33,854 1,118 34,405 1.94 3.96 3.04 1.63

เจ้า 100% (ชั้น 1) US$/ตัน ฿/ตัน 660 19,917 633 19,746 650 20,022 -1.52 0.53 2.69 1.40

ข้าว 5% US$/ตัน 610 569 585 -4.10 2.81

฿/ตัน 18,393 17,750 18,020 -2.03 1.52

ที่มา: สภาหอการค้าไทย

ตารางที่ 6 : ปริมาณและมูลค่าการส่งออกข้าวไทย ปี 2552-2555 รายการ ปริมาณ (ล้านตัน) มูลค่า (ล้านตัน)

2552 8.620 172,208

2553 2554 (ม.ค.-ก.ย.) 2555 (ม.ค.-ก.ย.) 8.940 8.831 4.710 168,193 155,430 100,243

%∆ (ปี 55 กับปี 54) -46.67 -35.51

ที่มา: กรมศุลกากร

สถานการณ์ต่างประเทศ 1. การผลิตโลก • ผลิผลิตข้าวโลก ปี 2555/56 ประมาณ 464.196 ล้านตันข้าวสาร (692 ล้านตัน ข้าวเปลือก) ลดลงจาก 465.297 ล้านตันข้าวสาร (693.7 ล้านตันข้าวเปลือก) ของปี 2554/55 ร้อยละ 0.24 ผู้ผลิตรายใหญ่ จีน อินเดีย อินโดนีเซีย บังคลาเทศ เวียดนาม และไทย ตามลำดับ 2. การตลาดโลก • ความต้องการใช้บริโภค ปี 2556 ประมาณ 467.686 ล้านตันข้าวสาร เพิม่ ขึน้ จาก 458.283 ล้านตันข้าวสาร ของปี 2555 ร้อยละ 2.05 โดยอันดับ 1. คือ จีน 2. อินเดีย 3. อินโดนีเซีย 4. บังคลาเทศ 5. เวียดนาม 6. ไทย • การส่งออก/นำเข้าโลก ปี 2556 ทั้งหมด 35.855 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก 35.874 ล้านตันข้าวสาร ของปี 2555 ร้อยละ 0.05 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(8) ตารางที่ 7 : การผลิตและการค้าข้าวโลกปี 2555/56 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 ทั้งโลก

ผลผลิต จีน อินเดีย อินโดฯ บังคลาเทศ เวียดนาม ไทย 464.2

หน่วย: ล้านตันข้าวสาร

บริโภค 143.0 98.0 36.9 34.1 26.9 21.1*

จีน อินเดีย อินโดฯ บังคลาเทศ เวียดนาม ไทย 467.7

การส่งออก 143.0 95.0 40.0 35.0 20.1 10.6

อินเดีย เวียดนาม ไทย ปากีสถาน สหรัฐฯ กัมพูชา

การนำเข้า 8.0 7.0 6.5 4.0 3.4 1.0

35.9

ไนจีเรีย อิหร่าน ฟิลิปปินส์ อินโดฯ EU จีน

2.3 2.0 1.5 1.5 1.4 1.3 35.9

ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (ณ เดือนกันยายน 2555)  *ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ปัญหาและอุปสรรค • การพัฒนาระบบชลประทานยังมีข้อจำกัดด้านกายภาพ/เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาด • ประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรต่ำ ใช้เทคโนโลยีการผลิตไม่เหมาะสม และการนำผล การวิจัยไปสู่การปฏิบัติมีน้อย ทำให้ต้นทุนการผลิตสูง • คูแ่ ข่ง เช่น เวียดนาม ผลผลิตต่อไร่สงู กว่าไทย เนือ่ งจากมีระบบชลประทานและใช้พนั ธุข์ า้ ว ที่ให้ผลผลิตสูง

ข้อเสนอแนะ • ส่งเจ้าหน้าที่ไปศึกษาข้อมูลประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดของประเทศจีน เวียดนาม • เพิ่มระบบชลประทาน/วิจัยและพัฒนาพันธุ์ที่ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล • เพิ่มขีดความสามารถของภาครัฐในการผลิต หรือจัดหาเมล็ดพันธุ์ดี • ปรับโครงสร้างการผลิตในประเทศ เพือ่ รองรับการปรับตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • ส่งเสริม หรือสนับสนุนให้มกี ารผลิตข้าว GAP อย่างเป็นระบบ ทัง้ ข้าวเปลือก และข้าวสาร ที่มีสัญลักษณ์ Q เช่น ข้าวหอมมะลิ ข้าวอินทรีย์ • ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้เทคโนโลยีในการผลิตอย่างเหมาะสม

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555




*พยากรณ์ ณ เดือน ก.ย. 55

ข้าวนาปรัง ปี 2554/55* - ประเทศ : นท. เพาะปลูก 16.915 ล้านไร่ - ภาคเหนือ : นท. เพาะปลูก 6.510 ล้านไร่ - ภาค ตอน. : นท. เพาะปลูก 3.061 ล้านไร่ - ภาคกลาง : นท. เพาะปลูก 6.947 ล้านไร่ - ภาคใต้ : นท. เพาะปลูก 0.397 ล้านไร่

*พยากรณ์ ณ เดือน ก.ย. 55

ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต

ข้าวนาปี ปีเพาะปลูก 2554/55* - ประเทศ : นท. เพาะปลูก 61.074 ล้านไร่ ผลผลิต - ภาคเหนือ : นท. เพาะปลูก 13.837 ล้านไร่ ผลผลิต - ภาค ตอน. : นท. เพาะปลูก 37.218 ล้านไร่ ผลผลิต - ภาคกลาง : นท. เพาะปลูก 9.068 ล้านไร่ ผลผลิต - ภาคใต้ : นท. เพาะปลูก 0.951 ล้านไร่ ผลผลิต

*ประมาณการเบื้องต้น

จำนวนครัวเรือนผู้ปลูกข้าว (ปี 2555)* - ประเทศ : 4,482,987 ครัวเรือน นท. เพาะปลูก - ภาคเหนือ : 1,115,981 ครัวเรือน นท. เพาะปลูก - ภาค ตอน. : 2,555,097 ครัวเรือน นท. เพาะปลูก - ภาคกลาง : 630,892 ครัวเรือน นท. เพาะปลูก - ภาคใต้ : 181,017 ครัวเรือน นท. เพาะปลูก

11.247 ล้านตัน 4.387 ล้านตัน 1.685 ล้านตัน 4.970 ล้านตัน 0.204 ล้านตัน

23.266 ล้านตัน 6.277 ล้านตัน 12.005 ล้านตัน 4.623 ล้านตัน 0.361 ล้านตัน

78.629 ล้านไร่ 20.495 ล้านไร่ 40.618 ล้านไร่ 16.191 ล้านไร่ 1.325 ล้านไร่

โครงสร้างฐานข้อมูลสินค้าข้าว ปี 2554/55

ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่

665 กก./ไร่ 674 กก./ไร่ 551 กก./ไร่ 715 กก./ไร่ 514 กก./ไร่

หน่วยผลผลิต: ข้าวเปลือก

381 กก./ไร่ 454 กก./ไร่ 323 กก./ไร่ 510 กก./ไร่ 379 กก./ไร่

หน่วยผลผลิต: ข้าวเปลือก

34.513 ล้านตัน 10.664 ล้านตัน 13.690 ล้านตัน 9.593 ล้านตัน 0.565 ล้านตัน

ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่

ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต

หน่วยผลผลิต: ข้าวเปลือก

การส่งออกข้าว ปี 2555 (ม.ค.-ก.ย.) รวมทั้งหมด 4,709,550 ตัน 1,128,706 ตัน  ข้าวหอมมะลิ ข้าว 100-5% 904,207 ตัน ข้าว 10% ขึ้นไป-ปลายข้าว 831,831 ตัน ข้าวเหนียว 142,693 ตัน ข้าวนึ่ง 1,307,703 ตัน - เอเซีย 1,757,868 ตัน ข้าวหอมมะลิ 368,786 ตัน ข้าว 100-5% 714,029 ตัน ข้าว 10% ขึ้นไป-ปลายข้าว 383,762 ตัน ข้าวเหนียว 155,607 ตัน ข้าวนึ่ง 145,196 ตัน - ยุโรป 209,227 ตัน ข้ า วหอมมะลิ 132,154 ตัน ผลผลิตข้าวตลอดปีเพาะปลูก 2554/55 ข้าว 100-5% 31,168 ตัน (34.513 ล้านตันข้าวเปลือก) ข้าว 10% ขึ้นไป-ปลายข้าว 5,219 ตัน - ข้าวพื้นเมือง 1.885 ล้านตันข้าวเปลือก ข้าวเหนียว 8,042 ตัน ข้าวนึ่ง 32,644 ตัน ปริมาณเมล็ดข้าวรวม 1.243 ล้านตันข้าวสาร - อเมริกา 318,980 ตัน ผลพลอยได้ (รำข้าว+แกลบ+ปลายข้าว) 0.642 ล้านตัน ข้าวหอมมะลิ 253,053 ตัน - ข้าวหอมมะลิ 7.881 ล้านตันข้าวเปลือก ข้าว 100-5% 8,380 ตัน ปริมาณเมล็ดข้าวรวม 5.044 ล้านตันข้าวสาร ข้ า ว 10% ขึ น ้ ไป-ปลายข้ า ว 2,022 ตัน ผลพลอยได้ (รำข้าว+แกลบ+ปลายข้าว) 2.837 ล้านตัน ข้าวเหนียว 14,681 ตัน - ข้าวพันธุ์อื่นๆ 24.747 ล้านตันข้าวเปลือก ข้าวนึ่ง 844 ตัน ปริมาณเมล็ดข้าวรวม 16.333 ล้านตันข้าวสาร - แอฟริ ก า 2, 3 34, 438 ตัน ผลพลอยได้ (รำข้าว+แกลบ+ปลายข้าว) 8.414 ล้านตัน ข้าวหอมมะลิ 483,376 ตัน ข้าว 100-5% 191,566 ตัน ข้าว 10% ขึ้นไป-ปลายข้าว 465,410 ตัน ความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ ปี 2554 1.539 ล้านตัน* ข้าวเหนียว 127 ตัน การจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ของกรมการข้าว ข้าวนึ่ง 1,193,959 ตัน รวมทั้งประเทศ 83,027.836 ตัน - ออสเตรเลีย 89,037 ตัน - ภาคเหนือ 33,685.959 ตัน ข้าวหอมมะลิ 45,112 ตัน - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 29,314.352 ตัน ข้ า ว 100-5% 15,295 ตัน - ภาคกลาง 14,119.685 ตัน ข้ า ว 10% ขึ น ้ ไป-ปลายข้ า ว 24,300 ตัน - ภาคใต้ 5,907.840 ตัน ข้าวเหนียว 2,293 ตัน *สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ข้าวนึ่ง 2,037 ตัน รวมทั้งประเทศ 38,609 โรง - ภาคเหนือ 5,096 โรง - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 28,970 โรง - ภาคกลาง 1,950 โรง - ภาคใต้ 2,593 โรง  ใช้ในประเทศ ปี 2555 16.648 ล้านตันข้าวเปลือก - ใช้บริโภค 11.966 ล้านตันข้าวเปลือก - ใช้ทำพันธุ์ 1.651 ล้านตันข้าวเปลือก - ใช้ในอุตสาหกรรม อาหารสัตว์อื่นๆ - 3.031 ล้านตันข้าวเปลือก

 โรงสี

(9)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(10)

สินค้าข้าว 1. การผลิต ตารางที่ 1 : เนื้อที่เก็บเกี่ยวข้าวในภูมิภาคอาเซียน ปี 2010-2012 Country ASEAN Brunei Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Vietnam

2010 (2009/10) 49,365.89 1.85 2,720.38 13,376.49 899.45 677.88 8,066.65 4,473.69 11,635.19 7,514.30

2011 Change 2011 over 2010 2012 Change 2012 over 2011 (%) (%) (2010/11) Quantities (2011/12) Quantities 50,859.44 1,493.55 3.03 50,800.48 -58.96 -0.12 1.64 -0.21 -11.12 1.84 0.19 11.72 2,795.90 75.52 2.78 3,033.98 238.08 8.52 13,239.64 -136.85 -1.02 13,611.56 371.92 2.81 914.54 15.09 1.68 935.00 20.46 2.24 687.52 9.63 1.42 687.30 -0.22 -0.03 8,047.28 -19.37 -0.24 7,592.76 -454.52 -5.65 4,626.81 153.12 3.42 4,645.64 18.83 0.41 12,908.22 1,273.02 10.94 12,602.41 -305.81 -2.37 7,637.90 123.60 1.64 7,690.00 52.10 0.68

ตารางที่ 2 : ปริมาณการผลิตข้าวในภูมิภาคอาเซียน ปี 2010-2012 Country ASEAN Brunei Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Vietnam

หน่วย: 1,000 เฮกตาร์

หน่วย: 1,000 ตัน

2010 2011 Change 2011 over 2010 2012 Change 2012 over 2011 Quantities (%) (%) (2009/10) (2010/11) (2011/12) Quantities 199,634.28 205,821.59 6,187.30 3.10 202,718.01 -3,103.58 -1.51 1.65 2.15 0.50 30.10 2.25 0.11 4.90 7,585.87 8,249.45 663.58 8.75 8,779.37 529.92 6.42 66,469.39 65,740.95 -728.45 -1.10 68,338.36 2,597.41 3.95 3,070.64 3,062.24 -8.40 -0.27 3,551.90 489.67 15.99 2,464.83 2,575.99 111.16 4.51 2,750.41 174.42 6.77 32,165.12 32,064.43 -100.69 -0.31 28,680.58 -3,383.85 -10.55 15,772.32 16,684.06 911.74 5.78 17,473.89 789.83 4.73 32,116.06 35,583.63 3,467.57 10.80 31,625.25 -3,958.38 -11.12 39,988.40 41,858.70 1,870.30 4.68 41,516.00 -342.70 -0.82

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(11) 2. การตลาด ตารางที่ 3 : ปริมาณการส่งออกข้าวในภูมิภาคอาเซียน ปี 2010-2012 Country Cambodia Myanmar Thailand Vietnam

หน่วย: ล้านตันข้าวสาร

2010 2011 Change 2011 over 2010 2012* Change 2012 over 2011 (%) (%) (2009/10) (2010/11) Quantities (2011/12) Quantities 0.75 0.86 0.11 14.67 0.80 -0.06 -6.98 0.45 0.78 0.33 73.33 0.60 -0.18 -23.08 9.05 10.65 1.60 17.68 6.50 -4.15 -38.97 6.73 7.00 0.27 4.01 7.00 -

ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ประจำเดือนมิถุนายน 2555, *ประมาณการ

ตารางที่ 4 : ปริมาณการนำเข้าข้าว ในภูมิภาคอาเซียน ปี 2010-2012 Country Indonesia Malaysia Philippines Vietnam

หน่วย: ล้านตันข้าวสาร

2010 2011 Change 2011 over 2010 2012* Change 2012 over 2011 (%) (%) (2009/10) (2010/11) Quantities (2011/12) Quantities 1.15 3.10 1.95 169.57 1.95 -1.15 -37.10 0.91 1.08 0.17 18.68 1.09 0.01 0.93 2.40 1.20 -1.20 -50.00 1.50 0.30 25.00 0.40 0.50 -0.10 25.00 0.40 -0.10 -20.00

ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ประจำเดือนมิถุนายน 2555, *ประมาณการ

ตารางที่ 5 : ปริมาณการส่งออกข้าว 100-5% ของไทย ปี 2009-2011 Country ASEAN Brunei Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Singapore Vietnam China Japan Korea

หน่วย: 1,000 ตันข้าวสาร

2009 2010 Change 2010 over 2009 2011 Change 2011 over 2010 (%) (%) (2008/09) (2009/10) Quantities (2010/11) Quantities 86.405 240.546 154.141 178.39 915.76 675.22 280.70 3.969 3.255 -0.714 -17.99 3.822 0.567 17.42 89.234 89.234 100 446.866 357.632 400.78 1.377 1.781 0.404 29.34 0.43 -1.351 -75.86 30.452 78.549 48.097 157.94 250.19 171.641 281.51 0.150 0.150 100 6.007 27.874 21.867 364.03 169.596 141.722 508.44 44.6 39.829 -4.771 -10.7 44.633 4.804 12.06 0.024 0.024 100 0.074 0.05 208.33 32.624 94.303 61.679 189.06 112.985 18.682 19.81 180.712 272.132 91.42 50.59 278.847 6.715 2.47 17.629 3.224 -14.405 -81.71 4.241 1.017 31.54

ที่มา: กรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(12) ตารางที่ 6 : ปริมาณการส่งออกข้าว 10% ขึ้นไป-ปลายข้าวของไทย ปี 2009-2011 หน่วย: 1,000 ตันข้าวสาร Country ASEAN Brunei Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Singapore Vietnam China Japan Korea

2009 2010 Change 2010 over 2009 2011 Change 2011 over 2010 (%) (%) (2008/09) (2009/10) Quantities (2010/11) Quantities 220.416 601.489 381.073 172.89 408.925 -192.564 -32.01 0 1.004 1.004 100 1.200 0.196 19.52 2.853 1.185 -1.668 -58.46 2.408 1.223 103.21 108.85 95.023 -13.827 -12.7 351.714 256.691 270.14 7.36 14.665 7.305 99.25 10.616 -4.049 -27.61 2.991 3.052 0.061 2.04 2.453 -0.599 -19.63 0.812 1.206 0.394 48.52 1.719 0.513 42.54 82.003 472.008 390.005 475.6 9.28 -462.728 -98.03 15.252 12.988 -2.264 -14.84 29.046 16.058 123.64 0.295 0.358 0.063 21.36 0.489 0.131 36.59 0.872 0.905 0.033 3.78 0.574 -0.331 -36.57 50.967 8.113 -42.854 -84.08 7.425 -0.688 -8.48 12.761 54.83 42.069 329.67 113.009 58.179 106.11

ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 7 : Percentage of Quantity of rice Export by Countries in 2011 Exporting Country Indonesia Lao PDR Philippines Singapore Thailand Vietnam Total

Country of Destination Inside ASEAN

% % of outside ASEAN Singapore 16.54 83.46 Vietnam 87.82 12.18 Indonesia, Myanmar, Vietnam 18.36 81.64 Brunei, Cambodia, Indonesia, Malaysia, Philippines, Thailand, Vietnam 98.59 1.41 Brunei, Cambodia, Indonesia, Lao PDR, Malaysia, Myanmar, Philippines, 15.62 84.38 Singapore, Vietnam Brunei, Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore 53.08 46.92 30.97 69.03

Source: Office of Agricultural Economics

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(13)

สินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต ปีเพาะปลูก 2555/56 ประมาณการเนื้อที่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 7.188 ล้านไร่ พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยู่ใน ภาคเหนือ 62.63% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 25.65% และภาคกลาง 11.73% ตามลำดับ จังหวัดที่มีเนื้อที่เพาะปลูกมาก 5 อันดับแรก พันธุ์ที่นิยมปลูกมาก 5 อันดับแรก อันดับ 1 2 3 4 5

ชื่อพันธุ์

ซีพี 888 ไพโอเนียร์ 30B80 มอนซานโต 9901 ซีพี 888 new Symgenta Nk48

http://plantscience.igetweb.com

ประมาณการผลผลิ ต ทั้ ง ประเทศ 4.688 ล้ า นตั น เป็ น ผลผลิ ต ภาคเหนื อ 63.69% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 24.49% และภาคกลาง 11.82% ผลผลิตออกสู่ตลาดมากเดือนกันยายน 1.100 ล้านตัน (23.47%) และตุลาคม 0.850 ล้านตัน (18.14%) จังหวัดที่มีผลผลิตมาก 5 อันดับแรก

ร้อยละปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดรายเดือน ปีเพาะปลูก 2555/56

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(14) ประมาณการผลผลิตต่อไร่ของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 652 กิโลกรัม โดยภาคเหนือผลผลิตไร่ละ 663 กิโลกรัม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลผลิตไร่ละ 623 กิโลกรัม และภาคกลาง ผลผลิตไร่ละ 657 กิโลกรัม รายการ เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กก.) จำนวนครัวเรือน (คร.) การใช้เมล็ดพันธุ์/ไร่ (กก.) การใช้ปุ๋ยเคมี/ไร่ (กก.) การใช้ปุ๋ยอินทรีย์/ไร่ (กก.)

2553/54 7.481 4.861 650 444,694 3.43 43.19 47.40

2554/55 7.256* 4.782659413,728** 3.33** 41.89** 45.97**

2555/56 7.188* 4.688* 652410,652** 3.30** 41.54** 45.59**

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร *พยากรณ์ ณ เดือน ก.ย. 55  **ข้อมูลประมาณการ

2. การตลาด ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ความชื้นไม่เกิน 14% ที่เกษตรกรขายได้เดือน ก.ย. 2555 รายการ ก.ย. 54 ส.ค. 55 ก.ย. 55 % ก.ย. 54 % ส.ค. 55

ประเทศ 7.43 9.95 9.25 24.50 -7.04

หน่วย: บาท/กก.

เหนือ ตะวันออก/เหนือ 7.44 7.27 9.72 10.14 8.93 10.38 20.03 42.78 -8.13 2.37

กลาง 7.67 10.23 8.96 16.82 -12.41

โรงงานผลิตอาหารสัตว์ปี 2553 มีประมาณ 200 โรงงาน

ปริมาณการใช้วัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ทุกชนิด

ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิต ปีเพาะปลูก 2555/56 ประมาณการผลผลิตโลก 841.055 ล้านตัน ลดลงจาก 876.678 ล้านตันของปีที่แล้ว หรือลดลงร้อยละ 4.06 ผูผ้ ลิตรายใหญ่คอื สหรัฐอเมริกา รองลงมาได้แก่ จีน บราซิล สหภาพยุโรป และอาร์เจนตินา ตามลำดับ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(15) อันดับ 1 2 3 4 5 24

ผลผลิต (%) ความต้องการใช้ (%) สหรัฐอเมริกา 32.40 สหรัฐอเมริกา 29.65 จีน 23.78 จีน 23.46 บราซิล 8.32 สหภาพยุโรป 7.18 สหภาพยุโรป 6.79 บราซิล 6.54 อาร์เจนตินา 3.33 เม็กซิโก 3.47 ไทย* 0.56 ไทย* 0.53

ส่งออก (%) สหรัฐอเมริกา 36.87 อาร์เจนตินา 19.26 บราซิล 15.96 ยูเครน 13.76 อินเดีย 2.75 ไทย 0.11

ที่มา: Foreign Agricultural Service/USDA (ความต้องการใช้และส่งออก)  ประมาณการ ณ เดือน ก.ย. 55 *สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2. การตลาด ปี 2555 ความต้องการใช้ของโลก 856.698 ล้านตัน ลดลงจาก 864.659 ล้านตันของปีทแี่ ล้ว หรือลดลงร้อยละ 0.92 ประเทศที่มีความต้องการใช้มากที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา รองลงมาได้แก่ จีน สหภาพยุโรป บราซิล และเม็กซิโก ตามลำดับ ปี 2555 การค้าของโลกมี 90.860 ล้านตัน ลดลงจาก 100.300 ล้านตันของปีที่แล้ว หรือลดลงร้อยละ 9.41 ประเทศผู้ส่งออกมากที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา รองลงมาได้แก่ อาร์เจนตินา บราซิล ยูเครน และอินเดีย

ปัญหาและอุปสรรค • ผลผลิตที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวได้มีความชื้นสูง เป็นเหตุให้ราคาตกต่ำ • ต้นทุนการผลิตของไทยอยู่ในเกณฑ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน แม้จะมีการศึกษา วิจัยพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ทนต่อภัยแล้ง และเทคโนโลยีที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ แต่ยังไม่มี การใช้อย่างแพร่หลาย • ขณะนี้ ประเทศเพื่อนบ้านเริ่มเปิดโอกาสให้มีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ตัดต่อยีนส์ (GMO) ภายในประเทศ เช่น เวียดนาม ปากีสถาน อนาคตอาจไม่สั่งซื้อเมล็ดพันธุ์ลูกผสมจากไทย

ข้อเสนอแนะ • มอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับเปลี่ยนช่วงการปลูกใหม่ เพื่อให้ผลผลิตกระจายตัว ออกสู่ตลาด • ให้ไทยเป็นผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ และประเทศเพื่อนบ้านเป็นแหล่งปลูก ส่งเสริมการใช้พันธุ์ ข้าวโพดทนแล้ง เช่น นครสวรรค์ 3 • แนวโน้มควรมีนโยบายปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ใหม่เพื่อให้สอดคล้องสถานการณ์มากขึ้น ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ต้นทุนการผลิต รายการ 1. ต้นทุนผันแปร 2. ต้นทุนคงที่ 3. ต้นทุนรวมต่อไร่ 4. ต้นทุนรวมต่อกิโลกรัม

2553 3,090.79 493.73 3,584.52 5.55

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร *พยากรณ์ ณ เดือน ก.ย. 55  **ข้อมูลประมาณการ

2554 3,149.37 755.01 3,904.38 5.95

จำนวนครัวเรือนผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ปีเพาะปลูก 2555/56) - ประเทศ จำนวนครัวเรือน 410,652** ครัวเรือน นท. ปลูก 7.1 88* ล้านไร่ ผลผลิต 4.688* ล้านตัน - ภาคเหนือ จำนวนครัวเรือน 285,973** ครัวเรือน นท. ปลูก 4.501* ล้านไร่ ผลผลิต 2.986* ล้านตัน - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวนครัวเรือน 85,820** ครัวเรือน นท. ปลูก 1.844* ล้านไร่ ผลผลิต 1.148* ล้านตัน - ภาคกลาง จำนวนครัวเรือน 38,859** ครัวเรือน นท. ปลูก 0.843* ล้านไร่ ผลผลิต 0.554* ล้านตัน ส่งออกต่างประเทศ 0.096 ล้านตัน (ม.ค.-ก.ย. 55)

2555 3,348.63 780.80 4,129.43 6.33

โรงงานอาหารสัตว์ 200 โรงงาน ปริมาณความต้องการใช้ 4.670 ล้านตัน

โครงสร้างฐานข้อมูลสินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีเพาะปลูก 2555/56

รัฐ 5% 1. ซีพี 2. ไพโอเนียร์ 3. แปซิฟิค 4. รายย่อยอื่นๆ 30%

เอกชน 95%

ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม จีน ประเทศคู่แข่งที่สำคัญ สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา บราซิล

นำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน 0.196 ล้านตัน (ม.ค.-ก.ย. 55)

(16)




(17)

สินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สถานการณ์การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในภูมิภาคอาเซียน Maize Planted area in ASEAN countries, 2010-2012 Country ASEAN Cambodia Indonesia Lao PDR Myanmar Philippines Thailand Vietnam

2010 2011 Change 2011 over 2010 2012 Change 2012 over 2011 (%) (%) (2009/10) (2010/11) Quantities (2011/12) Quantities 9,828.83 9,455.73 -373.10 -3.80 9,952.83 497.10 5.26 213.62 174.26 -39.36 -18.43 175.90 1.64 0.94 4,172.26 3,861.63 -310.63 -7.45 4,277.50 415.87 10.77 184.91 181.70 -3.21 -1.73 202.29 20.59 11.33 355.14 389.44 34.30 9.66 411.68 22.25 5.71 2,580.09 2,556.08 -24.01 -0.93 2,580.29 24.21 0.95 1,195.92 1,160.52 -35.39 -2.96 1,150.16 -10.36 -0.89 1,126.90 1,132.10 5.20 0.46 1,155.00 22.90 2.02

Maize production in ASEAN countries, 2010-2012 Country ASEAN Cambodia Indonesia Lao PDR Myanmar Philippines Thailand Vietnam

ASEAN Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Philippines Vietnam China Japan

Unit: 1,000 Tons

2010 2011 Change 2011 over 2010 2012 Change 2012 over 2011 Quantities (%) (%) (2009/10) (2010/11) (2011/12) Quantities 37,039.85 37,155.00 115.15 0.31 39,290.80 2,135.79 5.75 773.27 717.19 -56.08 -7.25 781.70 64.51 9.00 18,327.64 17,629.03 -698.60 -3.81 19,225.45 1,596.42 9.06 914.98 917.72 2.74 0.30 956.15 38.44 4.19 1,184.95 1,354.64 169.69 14.32 1,222.35 -132.29 -9.77 6,376.80 6,971.22 594.42 9.32 7,388.33 417.11 5.98 4,855.42 4,779.61 -75.81 -1.56 4,808.82 29.21 0.61 4,606.80 4,785.60 178.80 3.88 4,908.00 122.40 2.56

Maize Export of Thailand countries, 2009-2011 Country

Unit: 1,000 Hectares

Unit: 1,000 Tons

2009 2010 Change 2010 over 2009 2011 Change 2011 over 2010 (%) (%) (2008/09) (2009/10) Quantities (2010/11) Quantities 837.88 392.48 -445.40 -53.16 315.03 -77.45 -19.73 0.23 -0.23 -100.00 159.61 -159.61 -100.00 56.25 56.25 5.70 -5.70 -100.00 0.09 0.09 320.98 100.16 119.72 19.56 41.50 68.58 27.08 65.25 42.74 -25.84 -37.68 298.32 223.59 -74.73 -25.05 90.99 -132.60 -59.30 11.01 -11.01 -100.00 0.53 0.15 -0.38 -71.70 5.24 5.09 3,393.33

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(18) Maize Import of Thailand by countries, 2009-2011 Country ASEAN Cambodia Lao PDR Myanmar China

Unit: 1,000 Tons

2009 2010 Change 2010 over 2009 2011 Change 2011 over 2010 (%) (%) (2008/09) (2009/10) Quantities (2010/11) Quantities 291.86 367.25 75.39 25.83 195.53 -171.72 -46.76 95.73 184.99 89.26 93.24 28.32 -156.67 -84.69 192.00 182.26 -9.74 -5.07 167.15 -15.11 -8.29 4.11 -4.11 -100.00 0.02 -0.02 -100.00 0.06 0.06 -

Percentage of Quantity of Maize by Countries in 2010 Exporting Country Indonesia Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Total

Country of Destination

Inside ASEAN Malaysia, Philippines, Singapore, Thailand, Vietnam Brunei, Cambodia, Indonesia, Singapore, Thailand Malaysia, Singapore, Thailand Thailand, Vietnam Malaysia, Myanmar Malaysia, Philippines, Singapore, Vietnam

Source: Office of Agricultural Economics

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

% % of outside ASEAN 85.30 14.70 99.72 0.28 79.04 20.96 22.05 77.95 1.29 98.71 99.73 0.27 99.36 0.64


(19)

สินค้ามันสำปะหลังโรงงาน ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

เป้าหมายยุทธศาสตร์ ปี 2555-2559 มันสำปะหลังโรงงาน เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)

ปี 2555 7.911 26.601 3,362

ปี 2559* 7.000 35.000 5,000

*ตัวเลขยุทธศาสตร์มันสำปะหลังโรงงาน ปี 2555-2559 เสนอผ่านคณะอนุกรรมการด้านการผลิต

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต ปี 2555 (2554/55) • ประมาณการเนื้อที่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังโรงงาน 7.911 ล้านไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 4.373 ล้านไร่ (55.28%) ภาคกลาง 2.000 ล้านไร่ (25.28%) และภาคเหนือ 1.354 ล้านไร่ (19.44%) สำหรับจังหวัดที่มีเนื้อที่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมากที่สุด 5 อันดับ ได้แก่ นครราชสีมา 1,759,167 ไร่ (22.24%) กำแพงเพชร 581,609 ไร่ (7.35%) สระแก้ว 370,688 ไร่ (4.69%) ชัยภูมิ 368,864 ไร่ (4.66%) และนครสวรรค์ 349,255 ไร่ (4.41%)

จังหวัดที่มีเนื้อที่เก็บเกี่ยวมาก 5 อันดับแรก

• ประมาณการผลผลิต 26.601 ล้านตัน โดยเป็นผลผลิตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 14.493 ล้านตัน (54.48%) ภาคกลาง 6.810 ล้านตัน (25.60%) และภาคเหนือ 5.298 ล้านตัน (19.92%) ผลผลิตออกสูต่ ลาดมากในเดือนกุมภาพันธ์ 5.528 ล้านตัน (20.78%) มกราคม 5.041 ล้านตัน (18.95%) และมีนาคม 4.796 ล้านตัน (18.03%) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(20) จังหวัดที่มีผลผลิตมาก 5 อันดับแรก

พันธุ์ที่นิยมปลูกมาก 5 อันดับแรก

ร้อยละปริมาณผลผลิตรายเดือน ปี 2555 (2554/55)

• ประมาณการผลผลิตต่อไร่ 3,362 กิโลกรัม โดยภาคเหนือ ผลผลิตไร่ละ 3,445 กิโลกรัม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลผลิตไร่ละ 3,314 กิโลกรัม และภาคกลาง ผลผลิตไร่ละ 3,404 กิโลกรัม รายการ เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กก.) จำนวนครัวเรือน (คร.) การใช้ปุ๋ยเคมี/ไร่ (กก.) การใช้ปุ๋ยอินทรีย์/ไร่ (กก.)

2552/53 7.303 22.006 3,013 440,959 26.21 33.09

2553/54 2554/55* 7.096 7.911 21.912 26.601 3,088 3,362 476,356 535,256 25.76 26.29 50.17 51.20

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร *ประมาณการเดือน ก.ย. 2555

2. การตลาด • ราคาหัวมันสำปะหลังสดคละ ที่เกษตรกรขายได้ ปี 2555 หน่วย: บาท/กก.

รายการ ก.ย. 54 ส.ค. 55 ก.ย. 55 %Δ ก.ย. 54 %Δ ส.ค. 55

ประเทศ 1.92 2.07 2.21 15.10 6.76

เหนือ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

ตะวันออก/เหนือ -

1.98 2.30 2.32 17.17 0.87

กลาง 1.67 1.60 1.76 5.39 10.00


(21) • จำนวนแหล่งรับซื้อหัวมันสำปะหลังโรงงานจำแนกตามรายภาค ปี 2553 รายการ ลานมัน โรงแป้ง โรงมันอัดเม็ด โรงงานเอทานอล

ประเทศ 891 79 11 7

เหนือ ตะวันออก/เหนือ 250 350 12 42 1 10 1

กลาง 291 25 6

• คณะกรรมการนโยบายมันสำปะหลัง มีมติเมื่อวันที่ 22 ส.ค. 2555 อนุมัติโครงการ แทรกแซงตลาดมันสำปะหลัง ปี 2555/56 ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2555-31 มี.ค. 2556 ราคารับจำนำหัวมันสำปะหลังสดเชือ้ แป้ง 25% กก. ละ 2.50 บาท ในเดือน ต.ค. 2555 และปรับเพิม่ ขึ้นเดือนละ 0.05 บาท/กก. จนถึงเดือน มี.ค. 2556 ที่ กก. ละ 2.75 บาท

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิต ปี 2554 • ผลผลิตของโลกมี 250.06 ล้านตัน ประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ คือ ไนจีเรีย 38.98 ล้านตัน อันดับ 2 บราซิล 26.13 ล้านตัน อันดับ 3 อินโดนีเซีย 25.94 ล้านตัน อันดับ 4 ไทย 21.91 ล้านตัน และอันดับ 5 กานา 14.91 ล้านตัน (ที่มา: FAO)

ประเทศที่มีผลผลิตมาก 5 อันดับแรก

2. การตลาด • การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของโลก ปี 2553 มีทั้งหมด 2,017 ล้านดอลลาร์ ผู้ส่งออกรายใหญ่คือ ไทย 79.56% (1,605 ล้านดอลลาร์) อันดับ 2 เวียดนาม 9.73% (196 ล้านดอลลาร์) อันดับ 3 อินโดนีเซีย 2.42% (49 ล้านดอลลาร์) อันดับ 4 จีน 0.83% (17 ล้านดอลลาร์) และอันดับ 5 บราซิล 0.38% (8 ล้านดอลลาร์) (ที่มา: FAO)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(22) • ประเทศคู่ค้าที่สำคัญของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 5 อันดับแรก ปี 2554 อันดับ 1 2 3 4 5

มูลค่าแป้งมัน (%) มูลค่ามันเส้น (%) จีน 23.02 จีน 100.00 ญี่ปุ่น 17.42 อินโดนีเซีย 16.75 ไต้หวัน 9.21 มาเลเซีย 7.64

มูลค่ามันอัดเม็ด (%) ญี่ปุ่น 66.34 นิวซีแลนด์ 29.19 เนเธอร์แลนด์ 1.30 โตโก 0.86 สหรัฐอเมริกา 0.66

ที่มา: กรมศุลกากร

ปัญหาอุปสรรค • เกษตรกรไม่มกี ารปลูกพืชหมุนเวียนทำให้ดนิ เสือ่ มรวมทัง้ ใช้พนั ธุไ์ ม่เหมาะสมกับพืน้ ที่ ส่งผล ให้ผลผลิตต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ • การส่งออกมันเส้นไปยังประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดหลักของไทย ประสบปัญหาฝุ่นกระจาย ขณะขนถ่ายสินค้าบนท่าเทียบเรือ รัฐบาลจีนได้ประกาศห้ามขนถ่ายสินค้ามันเส้นที่ไม่บรรจุกระสอบ ทำให้ผู้ซื้อชะลอการนำเข้ามันเส้นจากไทย ขณะที่มันเส้นจากเวียดนาม และกัมพูชา เป็นมันเส้น สะอาดที่หั่นด้วยคน ไม่ประสบปัญหาเรื่องฝุ่นกระจาย ตรงตามความต้องการของจีน

ข้อเสนอแนะ • แม้ว่าการระบาดของเพลี้ยแป้งและไรแดงลดน้อยลง แต่ควรต้องมีการเฝ้าระวังติดตาม สถานการณ์ พร้อมทั้งให้ความรู้การป้องกันกำจัดอย่างต่อเนื่อง • เร่งเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้เป็นไปตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะการส่งเสริม ให้เกษตรกรใช้พนั ธุท์ เี่ หมาะสมกับพืน้ ทีป่ ลูก รวมทัง้ วิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในดินก่อนการใช้ปยุ๋ เพื่อลดต้นทุน • เพิ่มมาตรการกำกับดูแลการนำเข้ามันสำปะหลังจากประเทศเพื่อนบ้าน • เร่งพัฒนาคุณภาพมันเส้นโดยใช้เครือ่ งหัน่ มันสำปะหลังทีเ่ หมาะสมเพือ่ แก้ปญ ั หาฝุน่ กระจาย ขณะขนถ่ายสินค้าบนท่าเทียบเรือ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


ที่มา: กรมศุลกากร

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ที่มา: กรมศุลกากร

ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - มันเส้น - มันสำปะหลังอัดเม็ด - แป้งมันสำปะหลัง ประเทศคู่แข่งที่สำคัญ : : : :

ภาค/จังหวัด

เนื้อที่ (ไร่) ทะเบียนเกษตรกร* สศก. (เนือ้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว) (เนื้อที่เพาะปลูก) 7,911,323 7,767,642 1,537,741 1,597,127 4,373,133 4,928,972 2,000,449 1,241,543

เปรียบเทียบเนื้อที่และจำนวนครัวเรือนเกษตร ปี 2555

ใช้ภายในประเทศ 100%  0.047 ล้านลิตร (หัวมันสำปะหลังสด 0.769 ล้านตัน)

ส่งออกต่างประเทศ 71.14%  2.803 ล้านตัน (หัวมันสำปะหลังสด 11.493 ล้านตัน)

ใช้ภายในประเทศ 28.86%  1.137ล้านตัน (หัวมันสำปะหลังสด 4.662 ล้านตัน)

ส่งออกต่างประเทศ 85.58%  3.659 ล้านตัน (หัวมันสำปะหลังสด 8.233ล้านตัน)

ใช้ภายในประเทศ 14.92%  0.642 ล้านตัน (หัวมันสำปะหลังสด 1.444 ล้านตัน)

(จากกรมส่งเสริมการเกษตร สิ้นสุด ณ วันที่ 25 พ.ค. 2555)

ทั้งประเทศ 2553 2554 2555 4,238.18 4,499.56 5,158.26 ภาคเหนือ 562.93 692.93 902.96 ภาคตะวันออก/เหนือ 4,801.11 5,192.49 6,061.22 ภาคกลาง 1.62 1.68 1.77 ที่มา: *ผลการจดทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง

เอทานอล 2.89%  0.047 ล้านลิตร (หัวมันสำปะหลังสด 0.769 ล้านตัน) จำนวนโรงงาน 7 โรงงาน

ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

แป้งมันสำปะหลัง 60.73%  3.940 ล้านตัน (หัวมันสำปะหลังสด 16.155 ล้านตัน) จำนวนโรงงาน 79 โรงงาน

มันเส้น/มันอัดเม็ด 36.38%  4.301 ล้านตัน (หัวมันสำปะหลังสด 9.677 ล้านตัน) จำนวนโรงงาน 912 โรงงาน

 

ปริมาณและมูลค่าส่งออกมันสำปะหลัง และผลิตภัณฑ์ ปี 2555 (ม.ค.-ส.ค.) ผลิตภัณฑ์ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (บาท) กากมันสำปะหลัง 415,593 1,833,266,699 แป้งมันสำปะหลัง 1,474,303 20,436,045,056 มันเส้น 3,027,256 21,975,428,678 ต้นทุนการผลิต รายการ มันอัดเม็ด 15,132 100,836,580 สาคู 16,918 421,424,774 1. ต้นทุนผันแปร หัวมันสด 280 5,419,615 2. ต้นทุนคงที่ กาว 1,935 125,347,820 3. ต้นทุนรวมต่อไร่ แป้งมันสำปะหลังดัดแปร 535,787 12,215,826,589 4. ต้นทุนรวมต่อกิโลกรัม

จำนวนครัวเรือน ผู้ปลูกมันสำปะหลังโรงงาน (ปี 2555) - ประเทศ จำนวนครัวเรือน 535,256 ครัวเรือน นท. เก็บเกี่ยว 7.911 ล้านไร่ ผลผลิต 26.601 ล้านตัน - ภาคเหนือ จำนวนครัวเรือน 95,736 ครัวเรือน นท. เก็บเกี่ยว 1.538 ล้านไร่ ผลผลิต 5.299 ล้านตัน  - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวนครัวเรือน 342,601 ครัวเรือน นท. เก็บเกี่ยว 4.373 ล้านไร่ ผลผลิต 14.493 ล้านตัน - ภาคกลาง จำนวนครัวเรือน 96,919 ครัวเรือน นท. เก็บเกี่ยว 1.000 ล้านไร่ ผลผลิต 6.810 ล้านตัน

โครงสร้างฐานข้อมูลสินค้ามันสำปะหลังโรงงาน ปี 2555 (2554/55)

535,256 95,736 342,601 96,919

515,213 88,996 369,348 56,869

จำนวนครัวเรือน (ครัวเรือน) สศก. ทะเบียนเกษตรกร*

จีน ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ จีน จีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย

(23)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(24)

สินค้ามันสำปะหลังโรงงาน สถานการณ์การผลิตมันสำปะหลังโรงงานในภูมิภาคอาเซียน เนื้อที่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในภูมิภาคอาเซียน ปี 2010-2012

Unit: 1,000 Hectares

2010 2011 Change 2011 over 2010 2012 Change 2012 over 2011 (%) (%) (2009/10) (2010/11) Quantities (2011/12) Quantities ASEAN 3,342.61 3,375.43 32.82 0.98 3,478.34 102.91 3.05 Cambodia 202.49 369.52 167.03 82.49 379.00 9.48 2.57 Indonesia 1,183.05 1,182.64 -0.41 -0.03 1,230.57 47.93 4.05 Lao PDR 19.94 31.14 11.20 56.14 32.00 0.86 2.78 Malaysia 2.05 2.15 0.10 4.88 2.26 0.11 5.02 Myanmar 34.63 44.99 10.36 29.92 56.54 11.55 25.68 Philippines 217.62 221.11 3.49 1.60 224.20 3.09 1.40 Thailand 1,184.83 1,135.39 -49.44 -4.17 1,158.77 23.38 2.06 Vietnam 498.00 388.50 -109.50 -21.99 395.00 6.50 1.67 Country

Note: Vietnam reported only planted area.

ผลผลิตมันสำปะหลังในภูมิภาคอาเซียน ปี 2010-2012 Country ASEAN Brunei Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Thailand Vietnam

2010 (2009/10) 61,885.02 0.21 4,248.94 23,918.12 500.09 37.19 477.68 2,101.45 22,005.74 8,595.60

Unit: 1,000 Tons

2011 Change 2011 over 2010 2012 Change 2010 over 2011 (%) (%) (2010/11) Quantities (2011/12) Quantities 67,209.69 5,324.67 8.60 72,545.03 5,335.34 7.94 0.14 0.16 8,033.84 3,784.90 89.08 8,300.00 266.16 3.31 24,009.62 91.51 0.38 25,449.54 1,439.92 6.00 743.19 243.10 48.61 784.00 40.81 5.49 39.05 1.86 5.00 41.00 1.95 5.00 607.10 129.42 27.09 729.92 122.82 20.23 2,200.54 99.08 4.71 2,277.60 77.06 3.50 21,912.42 -93.32 -0.42 24,847.81 2,935.39 13.40 9,663.80 1,068.20 12.43 10,115.00 451.20 4.67

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555




(25) ปริมาณการส่งออกแป้งมันสำปะหลังของไทย ปี 2009-2011 Country ASEAN Brunei Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Singapore Vietnam China Japan Korea

2009 2010 Change (2008/09) (2009/10) Quantities 1,217.99 1,245.87 27.88 0.21 0.24 0.02 0.09 0.13 0.04 241.67 274.38 32.72 3.82 3.11 -0.72 188.35 186.70 -1.65 0.93 1.01 0.08 70.03 59.14 -10.89 50.64 38.47 -12.18 1.20 23.91 22.71 500.94 546.83 45.88 123.21 101.46 -21.75 36.89 10.50 -26.39

Unit: 1,000 Tons

(%) 2.29 11.68 41.78 13.54 -18.76 -0.88 8.82 -15.55 -24.04 1,897.23 9.16 -17.65 -71.53

ปริมาณการส่งออกมันสำปะหลังอัดเม็ดของไทย ปี 2009-2011 Country ASEAN Lao PDR Malaysia Myanmar Vietnam China Japan Korea

2009 2010 Change (2008/09) (2009/10) Quantities 305.36 122.70 -182.66 0.01 0.01 2.20 2.20 0.07 0.07 7.79 172.08 91.30 -80.78 27.26 21.33 -5.93 106.02 -106.02

ปริมาณการส่งออกมันเส้นของไทย ปี 2009-2011 Country ASEAN Lao PDR Philippines China

(%) -59.82 -46.94 -21.75 -100.00

2011 Change (2010/11) Quantities 1,420.29 174.42 0.34 0.11 0.22 0.09 462.33 187.94 3.42 0.31 207.67 20.97 0.49 -0.52 50.44 -8.70 45.05 6.58 0.50 -23.41 502.25 -44.57 124.14 22.68 23.45 12.95

(%) 14.00 45.18 72.21 68.50 9.95 11.23 -51.36 -14.71 17.10 -97.90 -8.15 22.35 123.24

Unit: 1,000 Tons

2011 Change (2010/11) Quantities 24.89 -97.81 0.02 -0.05 0.01 -7.78 24.86 3.53 -

(%) -79.71 -71.43 -99.87 16.55 -

Unit: 1,000 Tons

2009 2010 Change 2011 Change (%) (%) (2008/09) (2009/10) Quantities (2010/11) Quantities 4,024.23 4,116.73 92.50 2.30 3,693.51 -423.22 -10.28 0.18 -0.18 -100.00 5.45 5.45 4,024.05 4,111.28 87.23 2.17 3,693.51 -417.77 -10.16

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(26) ปริมาณการนำเข้าแป้งมันสำปะหลังของไทย ปี 2009-2011 Country ASEAN Cambodia Indonesia Lao PDR Vietnam China Japan Korea

2009 2010 Change 2011 Change (%) (2008/09) (2009/10) Quantities (2010/11) Quantities 0.13 0.54 0.41 315.38 0.36 -0.18 0.13 0.13 0.12 0.12 0.19 0.03 0.11 0.08 0.02 0.01 -0.01 0.13 0.17 0.04 30.77 -

ปริมาณการนำเข้ามันสำปะหลังอัดเม็ดของไทย ปี 2009-2011 Country ASEAN Brunei Cambodia Lao PDR Myanmar China

2009 2010 Change (2008/09) (2009/10) Quantities 87.92 25.77 -62.15 87.69 25.13 -62.56 0.20 0.63 0.43 0.02 -0.02 0.01 0.01 0.00

ปริมาณการนำเข้ามันเส้นของไทย ปี 2009-2011 Country ASEAN Cambodia Lao PDR

Unit: 1,000 Tons

(%) -70.69 -71.34 215.00 -100.00 0.00

Unit: 1,000 Tons

2011 Change (%) (2010/11) Quantities 49.36 23.59 91.54 48.44 23.31 92.76 0.90 0.27 42.86 0.02 0.01 100.00

Unit: 1,000 Tons

2009 2010 Change 2011 Change (%) (2008/09) (2009/10) Quantities (2010/11) Quantities 74.97 41.06 -33.91 -45.23 126.90 85.84 74.97 39.59 -35.38 -47.19 121.82 82.23 1.47 1.47 5.08 3.61

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

(%) -33.33 266.67 -50.00 -

(%) 209.06 207.70 245.58


(27)

สินค้าปาล์มน้ำมัน

ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

Goal เนื้อที่ยืนต้น (ล.ไร่) เนื้อที่ให้ผล (ล.ไร่) ผลปาล์มสด (ล.ตัน) ผลผลิต/ไร่ (ตัน)

ผลการเพาะปลูก 2552 2553 2554 2555 3.89 4.08 4.28 4.48 3.19 3.55 3.75 3.98

เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 51-55 ขยายเนื้อที่ 2.5 ล.ไร่ ปลูกแทน 0.5 ล.ไร่ ปี 51 น้ำมัน 16-17% ปี 52-55 น้ำมัน 18.5% 3.5 ตัน/ไร่/ปี

8.16

8.22 10.78 11.33

2.56

2.32

2.87

2.84

หมายเหตุ: ผลการพยากรณ์เดือนกันยายน 2555 โดย สศก.

• สถานการณ์ภายในประเทศ ปี 2555 มีเนื้อที่ยืนต้น 4.48 ล้านไร่ เนื้อที่ให้ผล 3.98 ล้านไร่ ผลผลิต 11.33 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 2.84 ตัน โดยเนื้อที่อยู่ในภาคใต้ (87%) กลาง (11%) อื่นๆ (1%) • ผลผลิตออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือน ก.ย.-พ.ย.

การขยายผลผลิต (%) ปี 2554 (ม.ค. 54-ธ.ค. 54) ปี 2555* (ม.ค. 55-ธ.ค. 55) % เทียบกับปีที่แล้วไตรมาสเดียวกัน

1 15.73 22.71 44.37

ไตรมาสที่

2 27.52 22.64 -17.73

3 27.55 26.68 -3.16

4 29.20 27.97 -4.21

หมายเหตุ *ข้อมูลผลการพยากรณ์เดือนกันยายน โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(28) • 10 จังหวัดที่มีเนื้อที่ยืนต้นสูงสุดปี 2554 ได้แก่ สุราษฎร์ธานี 1.012 ล้านไร่ (27.13%) กระบี่ 0.968 ล้านไร่ (25.94%) ชุมพร 0.794 ล้านไร่ (21.28%) นครศรีธรรมราช 0.228 ล้านไร่ (6.12%) ประจวบคีรีขันธ์ 0.210 ล้านไร่ (5.65%) ตรัง 0.125 ล้านไร่ (3.36%) พังงา 0.116 ล้านไร่ (3.13%) สตูล 0.112 ล้านไร่ (3.03%) ชลบุรี 0.086 ล้านไร่ (2.32%) และระนอง 0.076 ล้านไร่ (2.04%) • ปัจจุบันมีโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม 80 โรง โรงงานกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ 15 โรง โรงงานผลิตไบโอดีเซล B-100 14 โรง • พันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูก คือ ลูกผสมเทเนอร่า (Tenera: DxP) จากแหล่งที่เชื่อถือได้ รายการ/ปี เนื้อที่ให้ผล (ล.ไร่) ผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบ (ล.ตัน) ความต้องการใช้ (ล.ตัน) - ผลิตเพื่อบริโภค - ไบโอดีเซล** ส่งออกน้ำมันปาล์มดิบ (ล. ตัน) สต๊อกปลายปี (ล.ตัน)

2552 3.19 1.35

2553 3.55 1.29

2554 3.75 1.83

2555 3.98 1.93

0.88 0.37 0.07 0.14

0.91 0.38 0.06 0.07

0.98 0.38 0.31 0.30

0.96 0.62 0.30 0.38

หมายเหตุ: ปี 2555 ข้อมูลเบื้องต้นจากกรมการค้าภายใน ณ เดือน ก.ย. ยกเว้น เนื้อที่ให้ผล และผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบ เป็นข้อมูลพยากรณ์ ณ เดือน ก.ย.

• ราคาที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยรวมทั้งประเทศ (บาท/กก.) เดือน-ปี/ชนิดสินค้า ก.ย. 54 ส.ค. 55 ก.ย. 55 % เทียบกับ ก.ย. 54 % เทียบกับ ส.ค. 55

ผลปาล์มร่วงคละ ผลปาล์มทั้งทะลาย นน. >15 กก. 5.59 5.05 6.22 4.95 5.69 4.48 -1.76 12.72 -8.52 -9.49

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (เดือน ก.ย. 55)

สถานการณ์น้ำมันปาล์มภายนอกประเทศ • ไทยส่งออกน้ำมันปาล์มดิบ ในปี 2555 (ม.ค.-ส.ค.) จำนวน 155,957 ตัน • ประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ (ณ เดือน ก.ย. 55) คือ อินโดนีเซีย 27.00 ล้านตัน (51.65%) มาเลเซีย 18.50 ล้านตัน (35.39%) และไทย 1.7 ล้านตัน (3.25%) จาก Oilseed Sep 2012 • ประเทศผู้นำเข้าที่สำคัญ (ณ เดือน ก.ย. 55) คือ อินเดีย 7.7 ล้านตัน (19.47%) จีน 6.4 ล้านตัน (16.18%) EU. 5.4 ล้านตัน (13.65%) และอื่นๆ 20.05 ล้านตัน (50.69%) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(29) • ประเทศผู้นำเข้าจากไทยที่สำคัญ (ณ เดือน ส.ค. 55) คือ ประเทศเยอรมัน 0.07 ล้านตัน • ประเทศผู้ส่งออกที่สำคัญ (ณ เดือน ก.ย. 55) คือ อินโดนีเซีย 19.10 ล้านตัน (47.36%) มาเลเซีย 16.80 ล้านตัน (41.66%) และอื่นๆ 3.91 ล้านตัน (9.69%) • ราคาน้ำมันปาล์มดิบขายส่ง กรุงเทพ (ณ เดือนกันยายน 2555) เดือน-ปี ก.ย. 54 ส.ค. 55 ก.ย. 55 % เทียบกับ ก.ย. 54 % เทียบกับ ส.ค. 55

ราคา (บาท/กก.) 30.18 31.46 28.90 -4.24 -8.14

ที่มา: กรมการค้าภายใน

การผลิตและการค้าน้ำมันปาล์มของโลก ปี 2555 • USDA คาดการณ์ สถานการณ์การผลิตและการค้าน้ำมันปาล์มของโลก ใน Oilseeds: World Market and Trade Archives ว่า มีผลผลิต 52.27 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 3.12% การนำเข้า 39.55 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 3.59% ส่งออก 40.33 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 4.00% ความต้องการใช้ น้ำมันปาล์ม 51.55 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 3.47% ในขณะที่ราคาในตลาดโลกเคลื่อนไหวอยู่ในระดับ เฉลี่ยตันละ 2,727-3,550 ริงกิต (27.86-37 บาท/กก.) เนื่องจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว การ นำเข้าน้ำมันปาล์มดิบของประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่ โดยเฉพาะจีนลดลง • ด้านการผลิต มาเลเซีย และอินโดนีเซีย มีแผนเพิ่มปริมาณผลผลิตของน้ำมันปาล์มดิบ และทำข้อตกลงที่จะนำน้ำมันปาล์มดิบร้อยละ 40 ไปผลิตไบโอดีเซล โดยปัจจุบันมาเลเซียมีเนื้อที่ ให้ผลประมาณ 30.40 ล้านไร่ • การเปิดตลาดการนำเข้าภายใต้กรอบ AFTA ปรับลดภาษีเหลือ 0% ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2553 สำหรับแนวทางการนำเข้า คณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ำมันแห่งชาติ (กนป.) ดูแลครบวงจร • มติที่ประชุม กนป. ครั้งที่ 3/2555 เมื่อวันที่ 27 ก.ค. 2555 เห็นชอบแนวทางการแก้ไข ปัญหาน้ำมันปาล์ม ตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ โดยองค์การคลังสินค้านำเข้าน้ำมันปาล์มกึ่ง บริสุทธิ์จำนวน 30,000 ตัน ให้เสร็จสิ้นภายใน 31 ส.ค. 2555 ทั้งนี้ให้กระทรวงพาณิชย์ติดตาม สถานการณ์ราคาผลปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มในประเทศ และรายงานให้ กนป. ทราบในการประชุม ครั้งต่อไป • ราคาน้ำมันปาล์มดิบ (บาท/กก.) ณ เดือนกันยายน 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(30) เดือน-ปี/ประเทศ ก.ย. 54 ส.ค. 55 ก.ย. 55 % เทียบกับ ก.ย. 54 % เทียบกับ ส.ค. 55

ไทย 30.18 31.46 28.90 -4.24 -8.14

มาเลเซีย 30.68 29.80 27.86 -9.19 -6.51

รอตเตอร์ดัม 32.69 31.47 29.91 -8.50 -4.96

ที่มา: USDA ณ เดือนกันยายน 2555

ปัญหาอุปสรรค 1. ต้นทุนปัจจัยการผลิตสูงและราคาผลปาล์มสดไม่แน่นอน ไม่จูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นที่ 2. ขาดการพัฒนาการปรับปรุงคุณภาพผลผลิตในเรื่องการเก็บเกี่ยวผลผลิต การรับซื้อและ การจัดการผลปาล์มน้ำมันของลานเท รวมทั้งการคัดเลือกซื้อผลปาล์มน้ำมันของโรงงานสกัดน้ำมัน ปาล์ม โดยปี 2551-2555 กรมส่งเสริมการเกษตร ได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุน FTA ปีละ 3.8 ล้านบาท เพื่อจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมัน 3. ขาดการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่สร้างมูลค่าเพิ่ม 4. ลานเทไม่ได้มาตรฐานและขาดหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบ

ข้อเสนอแนะ • รักษาระดับราคาผลผลิตให้ยุติธรรมตามกระบวนการ หรือสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป • กำหนดแนวทางการบริหารการนำเข้าน้ำมันปาล์มภายใต้ AFTA ให้ชดั เจนและประชาสัมพันธ์ ให้เกษตรกรทราบ • รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรตัดผลปาล์มสุก เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและ เปอร์เซ็นต์น้ำมันสูงอย่างต่อเนื่อง • ผลักดันการใช้ B7 • ส่งเสริมพัฒนาลานเทให้ได้มาตรฐาน • มาตรการนำเข้าตามมติ ครม. อาจส่งผลกระทบต่อราคาผลปาล์มน้ำมันภายในประเทศ • ให้มีหน่วยงานของกระทรวงเกษตรดูแลรับผิดชอบเรื่องลานเท และควรมีการขึ้นทะเบียน ลานเท

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


*ราคาเฉลี่ยเดือน ม.ค.-ก.ย.

ปาล์มน้ำมัน: ข้อมูลต้นทุนการผลิตและราคา ปี 2552-ปี 2555 รายการ/ปี 2552 2553 2554 ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตต่อไร่ (บาท) 6,944.17 6,866.08 7,980.41 ต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัม (บาท) 2.71 2.97 2.77 - ค่าแรงงาน 0.84 0.86 0.86 - ค่าปัจจัยการผลิต 1.29 1.44 1.43 1.40 ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) - ผลปาล์มน้ำมันทั้งทะลาย 3.64 4.26 5.34 น.น. >15 กก. - ผลปาล์มน้ำมันร่วงคละ 4.35 5.11 6.20 ราคาน้ำมันปาล์ม (บาท/กก.) ราคาน้ำมันปาล์มดิบ 24.33 29.10 36.59 ราคาน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ 30.19 33.05 43.03

*ข้อมูลประมาณการ จากกรมการค้าภายใน เดือนกันยายน 2555

ปาล์มน้ำมัน: การบริโภคในประเทศ ปี 2552-ปี 2555 รายการปี ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555* - บริโภค 0.88 0.91 0.98 0.96 ล.ตัน - ไบโอดีเซล 0.37 0.38 0.38 0.62 ล.ตนั

*ข้อมูลพยากรณ์ ณ เดือนกันยายน 2555

32.94* 37.90*

5.99*

5.24*

8,599.27 3.02 0.86

ปี 2555

ผลการสำรวจ ปี 2552-ปี 2554 และผลการพยากรณ์ ปี 2555 รายการ ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555* เนื้อที่ยืนต้น 3.89 4.08 4.28 4.48 ล้านไร่ เนื้อที่ใหผล 3.19 3.55 3.75 3.98 ล้านไร่ ผลผลิต 8.45 8.22 10.78 11.33 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 2.56 2.32 2.87 2.84 ตัน จำนวนครัวเรือน 118,354 121,306 127,865 130,865 ครัวเรือน

*ข้อมูลจดทะเบียนโรงงานกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ 17 โรง แต่หยุดผลิต 2 โรง กำลังการผลิตเป็นของ 15 โรง **ข้อมูลจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ณ เดือนกันยายน 2555

โรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม 76 บริษัท โรงงานกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์* โรงงานผลิตไบโอดีเซล B-100**

ปี 2554 487,569 15,591 (3.20%) 38,026 (7.80%) จำนวนโรงงานและกำลังการผลิต 80 โรง กำลังการผลิต 15 โรง กำลังการผลิต 14 โรง กำลังการผลิต

น้ำมันปาล์ม: ข้อมูลปริมาณการส่งออก จากกรมศุลกากร ปี 2552 ปี 2553 รวม 199,141 226,006 -จีน 14,452 26,450 (7.26%) (11.70%) -อินเดีย 33,431 20,999 (16.88%) (9.29 %)

ที่มา: Oilseeds: World Markets and Trend, September 2012 ยกเว้นข้อมูลของไทย และราคาจากกรมการค้าภายใน

น้ำมันปาล์ม: ข้อมูลการผลิตและการค้าของโลกและของไทย ปี 2552-ปี 2555 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 โลก ไทย โลก ไทย โลก ไทย ผลผลิต 43. 992 1.345 45.862 1.288 47.930 1.832 ความต้องการ 42.453 1.250 44.629 1.1291 47.247 1.355 น้ำเข้า 34.151 - 34.751 - 35.499 0.060 ส่งออก 34.686 0.067 35.632 0.063 36.331 0.307 ราคา 22.91 24-33 27-35 28-29 31-33 31-35

ปาล์มน้ำมัน: สถานการณ์และแนวโน้มการผลิตและการค้าของไทย ปี 2552-ปี 2555 ไทย 1.926 1.57 0.040 0.300 29-37

2,766 ตัน/ชม. 7,785 ตัน/ชม. 5.210 ล้านลิตร/วัน

ปี 2555 (ม.ค.-ก.ย. 55) 287,610 10,251 (3.56%) 6,122 (2.13%)

ปี 2555 โลก 52.27 51.55 39.55 40.33 27.86-37

ตัน

ตัน ตัน

ล.ตัน ล.ตัน ล.ตัน ล.ตัน บาท/กก.

(31)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(32)

ข้อมูลปาล์มน้ำมันของประเทศกลุ่ม AEC

พม่า ไทย สิงคโปร์ กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลลิปปินส์ บรูไน • ปริมาณผลผลิต การนำเข้า การส่งออก น้ำมันปาล์ม ปี 2554 - ปี 2555 ของประเทศ ที่สำคัญ ประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย

ผลผลิต 23.60 18.22 1.83

ปี 2554 นำเข้า

1.63 0.06

ส่งออก 16.62 15.84 0.31

ผลผลิต 27.00 18.50 1.70

ปี 2555 นำเข้า

1.70 -

หน่วย: ล้านตัน

ส่งออก 19.10 16.80 0.52

ที่มา: Oilseeds: World Markets and Trend, September 2012

แหล่งปลูกปาล์มน้ำมันที่สำคัญของประเทศไทย ปี 2554 ปาล์มน้ำมัน ปี 2553 แยกตามช่วงอายุ ช่วงอายุ (ปี) รวมทั้งประเทศ ช่วงก่อนให้ผล ช่วงให้ผล 4-6 7-15 16-25 ช่วงอายุขัย

เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) 4,076,883 524,611 3,259,134 964,027 1,522,389 772,718 293,138

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

เนื้อที่ให้ผล (ไร่) 3,552,272 3,259,134 964,027 1,522,389 772,718 293,138

ผลผลิต (ตัน) 8,223,135 7,905,679 1,688,919 4,524,225 1,692,605 317,456

ผลผลิต (กิโลกรัม) 2,315 2,426 1,752 2,972 2,190 1,083




(33)

กำลังการผลิตของโรงงานกลั่นน้ำมันปาล์ม จำนวน 15 โรง

กำลังการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ ตัน/ชม. ตัน/เดือน ตัน/ปี 7,785 233,550 2,802,660

หมายเหตุ: ข้ อ มู ล จดทะเบี ย นโรงงานกลั่ น น้ ำ มั น ปาล์ ม บริ สุ ท ธิ์ 17 โรง แต่หยุดผลิต 2 โรง ดังนัน้ กำลังการผลิตเป็น ของ 15 โรง ที่มา: กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปี 2554

กำลังการผลิต/ผลปาล์มทะลาย ของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ จังหวัด ตัน/ชม. ตัน/เดือน ตัน/ปี สุราษฎร์ธานี 840 495,000 5,940,000 กระบี่ 740 426,000 5,112,000 ชุมพร 620 261,000 3,132,000 ตรัง 180 99,000 1,188,000 ชลบุรี 135 39,000 468,000 สตูล 61.5 30,000 360,000 ประจวบคีรีขันธ์ 62.5 19,500 234,000 ระนอง 20 12,000 144,000 สงขลา 17 9,900 118,800 นครศรีธรรมราช 60 36,000 432,000 พังงา 30 18,000 216,000 รวม 2,766 1,659,600 19,915,200

กำลังการผลิตไบโอดีเซล จำนวน 14 โรง ปตท. บางจาก

กำลังการผลิตไบโอดีเซล ล้านลิตร/วัน ล้านลิตร/เดือน ล้านลิตร/ปี 5.210 156.29 1,875.53 0.686 20.574 246.888 0.050 1.500 18.000

ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวง พลังงาน, กันยายน 2555

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


ผลการพยากรณ์และประมาณการเบื้องต้น ปี 2555 ณ เดือนกันยายน 2555 เนื้อที่ยืนต้น 4.48 ล้านไร่ เนื้อที่ให้ผล 3.98 ล้านไร่ ผลผลิต 11.33 ล้านตัน จำนวนครัวเรือน 130,865 ครัวเรือน 

กำลังการผลิต 2,766.00 ตัน/ชม. 1.66 ล้านตัน/เดือน 19.92 ล้านตัน/ปี

โรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม 76 บริษัท 80 โรง

ผลผลิต น้ำมันปาล์มดิบ 1.93 ล้านตัน  

ปาล์มน้ำมัน: ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

โรงงานผลิตไบโอดีเซล จดทะเบียน 14 โรง กำลังการผลิตของ 14 โรง 5.21 ล้านลิตร/วัน 156.29 ล้านลิตร/เดือน 1,875.53 ล้านลิตร/ปี

ใช้ผลิตไบโอดีเซล 0.62 ล้านตัน CPO

ใช้ผลิตน้ำมันพืช 0.96 ล้านตัน โรงงานกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ จดทะเบียน 17 โรง แต่หยุดผลิต 2 โรง กำลังการผลิต ของ 15 โรง 7,785.00 ตัน/ชม. 0.23 ล้านตัน/เดือน 2.80 ล้านตัน/ปี

(34)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(35)

สินค้าไก่เนือ้ และผลิตภัณฑ์ ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

ยุทธศาสตร์การผลิตไก่เนื้อ ปี 2555-2559 เป้าหมาย ปี 2555-2559: รักษาความเป็นผูน้ ำการส่งออกผลิตภัณฑ์เนือ้ ไก่และอาหารพร้อม บริโภคอันดับหนึ่งของโลก ที่ได้มาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหาร

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต • ข้อมูลปริมาณการผลิตไก่เนื้อ ปี 2554-2555 ปริมาณการผลิต เนื้อไก่ (พันตัน) ไก่เนื้อ (ล้านตัว)

2554 1,421.88 994.32

2555* 1,509.99 1,055.94

ม.ค.-ก.ย. 54 1,055.31 737.98

ม.ค.-ก.ย. 55 1,117.80 781.68

ที่มา: สศก. (2555*: ม.ค.-ก.ย.55 *: ผลการพยากรณ์)

• ปริมาณการผลิตไก่เนือ้ ปี 2555 จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ มากกว่าปีทผี่ า่ นมา เนือ่ งจาก EU เช่น อังกฤษ เยอรมนี และเนเธอร์แลนด์ เปิดนำเข้าไก่สดแช่เย็นแช่แข็งจากไทยตัง้ แต่ 1 ก.ค. 2555 ทำให้ การส่งออกในปีนี้มีแนวโน้มสูงขึ้น ประกอบกับปริมาณความต้องการบริโภคเนื้อไก่ปรับเพิ่มขึ้น เพราะเนื้อไก่เป็นอาหารหลักที่มีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่น • เปรียบเทียบปริมาณการผลิตไก่เนื้อ ปี 2553-2555

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(36) • จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตไก่เนื้อที่สำคัญ ปี 2555 แหล่งผลิต ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก ลพบุรี

เนื้อไก่ (พันตัน) ไก่มีชีวิต (ล้านตัว) 386.27 270.12 133.29 93.20 112.00 78.33 87.62 61.27 66.77 46.69

สัดส่วน 25.58 8.83 7.42 5.80 4.42

ที่มา: สศก.

• จำนวนนำเข้าปู่-ย่า พันธุ์ (G.P)= 332,486 ตัว (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนนำเข้าพ่อ-แม่พันธุ์ (P.S.) = 286,047 ตัว (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนฟาร์มทั้งหมด 41,293 ฟาร์ม/ราย (กปศ., ก.ย. 55) • ฟาร์มได้มาตรฐาน 7,084 ฟาร์ม/ราย (กปศ., ก.ย. 55) • โรงเชือดภายใน 126 โรง (กปศ., ก.ย. 55) • โรงเชือดเพื่อส่งออก 24 โรง (กปศ., ก.ย. 55) • โรงงานแปรรูป ส่งออก 86 โรง (กปศ., ก.ย. 55) 2. การตลาด • ราคาไก่เนื้อรายเดือนที่เกษตรกรขายได้ ปี 2553-2555

• ราคาไก่เนือ้ เฉลีย่ ณ ก.ย. 2555 กิโลกรัมละ 39.54 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 14.62 เนือ่ งจากปริมาณผลผลิตออกสูต่ ลาดมาก ประกอบกับมีฝนตกทัว่ ทุกภาค การซือ้ ขาย ไม่คล่องตัวส่งผลให้ความต้องการบริโภคไก่เนื้อลดลง • ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) ไตรมาส/ปี 3/2554 2/2555 3/2555 %3/55&3/54 %3/55&2/54

47.34 40.96 42.07 -11.13 2.64

ราคารายเดือน 46.77 43.50 41.43 -11.42 -5.00

46.31 43.00 39.54 -14.62 -8.75

เฉลี่ย 46.81 42.49 41.01 -12.38 -3.59

ที่มา: สศก. (2/54: มิ.ย. 54, 3/54: ก.ค.-ก.ย. 54, 2/55: เม.ย.-มิ.ย. 55, 3/55 ก.ค.-ก.ย. 55) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(37)

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิตและการส่งออก • การผลิตของโลกปี 2555 คาดว่ามีการผลิต 83.07 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จากปี 2554 ร้อยละ 2.52 ซึ่งการขยายตัวการผลิตของโลกเป็นไปตามการผลิต และการบริโภคของจีน และบราซิล โดยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ร้อยละ 4.55 และ 5.00 ตามลำดับ • การส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็งไป EU ตั้งแต่ 1 ก.ค. 2555 สินค้าในช่วงแรกอาจต้อง มีการตรวจที่เข้มงวดจากทางสหภาพยุโรปที่โดยไทยได้โควตาจากภาษีของ EU 97,710 ตัน/ปี แบ่งเป็น ไก่หมักเกลือ 92,610 ตัน/ปี ภาษีโควตาร้อยละ 15.4 และไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง 5,100 ตัน/ปี ภาษีในโควตาร้อยละ 0 • กระทรวงเกษตรฟิลปิ ปินส์ได้ประกาศยกเลิกการนำเข้าสัตว์ปกี สดและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปกี ของไทย มีผลตั้งแต่วันที่ 14 ส.ค. 2555 • ทั้งนี้จะต้องเจรจากับประเทศที่ห้ามนำเข้าเนื้อไก่สดของไทยให้สำเร็จ โดยเฉพาะญี่ปุ่น ที่มี มาตรการเข้มงวดเรื่องสุขภาพอนามัย รวมถึงการควบคุมเฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์อย่างเคร่งครัด • ปริมาณการส่งออกไก่เนื้อของไทย ปี 2554-2555 ส่งออก (พันตัน) เนื้อไก่สดชำแหละ เนือ้ ไก่แปรรูปปรุงสุก ปี 2554 51.26 415.59 ม.ค.-ก.ย. 54 32.55 311.81 ม.ค.-ก.ย. 55 64.06 331.91 % ม.ค.-ก.ย. 55&54 96.80 6.45 รายการ

ที่มา: กรมศุลกากร

ปัญหาอุปสรรค • ญี่ปุ่นยังตรวจรับรองโรงงานแปรรูปของไทยเป็นรายโรงงานและนำเข้าไก่สุกจากจีน • ตะวันออกกลางตรวจ/รับรองโรงงานไทยและนำเข้าเนื้อไก่จากไทยแต่ยังมีปริมาณน้อย • หลายประเทศยังไม่เปิดตลาดในการนำเข้าจากไทย เช่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ • EU มีโควต้านำเข้าเนื้อไก่แปรรูปจากไทยแต่ภาษีนอกโควตายังสูง

ข้อเสนอแนะ • จัดทำ FTA ระหว่างไทยกับ EU เพื่อเพิ่มโควตาการนำเข้าไก่ • ควรมีการเจรจามาตรการ NTB กับกลุ่มประเทศอาเซียน เพื่อเปิดตลาดให้ไทย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

นำเข้าพ่อ-แม่ (P.S) 286.047 ตัว

นำเข้าปู่-ย่า (G.P) 332,486 ตัว

การนำเข้าพันธุ์

นครนายก 5.80% ลพบุรี 4.42%

ปราจีนบุรี 7.42%

ฉะเชิงเทรา 8.83%

ชลบุรี 25.58%

แหล่งผลิตที่สำคัญ

ภาคใต้ 6.84%

ภาคเหนือ 8.29%

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 14.47%

ภาคกลาง 70.39%

การผลิตรายภาค

ฟาร์มทั้งหมด ฟาร์ม ฟาร์มได้มาตรฐาน ฟาร์ม

ฟาร์มเลี้ยง

รวมทั้งปี 2555 1,509.99 พันตัน ม.ค.-ก.ย. 2555 781.68 พันตัน 

การผลิต

โรงงานแปรรูป 86 โรง

บริโภคภายในประเทศ 421.71 พันตัน

โรงเชือดเพื่อส่งออก 24 โรง

เนื้อไก่แปรรูปปรุงสุก ปริมาณ 331.91 พันตัน มูลค่า 46.14 ล้านบาท

ไก่เนื้อสดชำแหละ ปริมาณ 64.06 พันตัน มูลค่า 46.14 ล้านบาท

ปริมาณ 359.97 พันตัน มูลค่า 4,147.19 ล้านบาท

ส่งออกต่างประเทศ

Japan 45.58% UK 30.44% Netherland 6.51% German 4.27% Singapore 3.00%

สัดส่วนการส่งออกเนื้อไก่แปรรูป

การค้าและการจำหน่าย

ภายในประเทศ

โรงเชือดภายใน 126 โรง

โรงเชือดและการแปรรูป

การแปรรูป

ROAD MAP สินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ ไตรมาส 3/2555 เดือนกันยายน

(38)


(39)

การผลิตไก่เนื้อ 1. การผลิต • ปริมาณการผลิตไก่เนื้อในประเทศ AEC+3 ปี 2008-2012  (หน่วย: พันตัว) Country 2008 Thailand 920,753 Vietnam 173,110 Malaysia 192,694 Indonesia 1,250,430 Philippines 154,272 Singapore 3,000 Laos 21,983

2009 917,272 200,000 208,333 1,341,780 158,663 3,200 22,521

2010 2011 970,943 994,319 218,201 225,790 1,622,750 158,984 3,300 23,000

Country Cambodia Myanmar Brunei China Japan Korea

2009 2010 17,000 17,488 125,000 125,000 16,000 16,000 4,502,198 4,802,670 285,349 236,000 138,768 149,200

2011

ที่มา: FAO

2. การส่งออก • ปริมาณการส่งออกไก่ปรุงสุกของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม)

• ปริมาณการส่งออกไก่เนื้อสดชำแหละ ของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม)

ประเทศคู่ค้า 2010 2011 2012* Cambodia 10,854 121,206 80,342 Malaysia 90,406 148,036 Myanmar 100,720 13,254 4,118 Laos 17,509 48,761 16,188 Vietnam 144,363 8,887 36,352 Singapore 11,649,473 12,652,095 9,874,047 Japan 174,011,083 189,103,870 153,180,796 Korea 10,164,939 10,997,719 9,899,869 China 45 5 3,427

ประเทศคู่ค้า Cambodia Malaysia Myanmar Laos Vietnam Singapore Japan Korea China

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

2010 2011 2012* 236,904 389,396 127,024 60,064 86,803 10,309,819 1,912,388 300 6,514 12,228,309 32,029,939 24,252,076 7,423,877 468,988 24 25,140 348 60,064 86,803 39,567 160 35 49 77,021 84,500

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

ขีดความสามารถในการแข่งขัน 1. จุดแข็ง • ไทยมีประสิทธิภาพการผลิตดีกว่า • ไทยสามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ • ไทยควบคุมคุณภาพการผลิตได้ตั้งแต่ต้นน้ำ-ปลายน้ำ 2. จุดอ่อน • ขาดแคลนแรงงานในการเลี้ยง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(40)

สินค้าไข่ไก่และผลิตภัณฑ์

ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

ยุทธศาสตร์การผลิตไก่ไข่ ปี 2553-2555 1. เพิ่มการบริโภคไข่ไก่จาก 160 ฟอง เป็น 200 ฟอง/คน/ปี ในปี 2555 2. ขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงและผู้ค้าไก่ไข่ เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการ

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต • ข้อมูลปริมาณการผลิตไข่ไก่ ปี 2554-2555 ปริมาณการผลิต ไข่ไก่ (ล้านฟอง)

2554 10,024.4

2555* 11,022.55

ม.ค.-ก.ย. 54 7,462

ม.ค.-ก.ย. 55 8,262.50

ที่มา: สศก. (2555, ม.ค.-ก.ย. 55: ผลการพยากรณ์)

• เนื่องจากการเปิดให้นำเข้าพ่อ-แม่พันธุ์ไก่ไข่ (PS) โดยเสรี มีการนำเข้าพันธุ์ไก่ไข่มากขึ้น มาตั้งแต่ปลายปี 2553 ทำให้จำนวนพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ และแม่ไก่ไข่ที่ให้ไข่ในระบบมีมากขึ้น ส่งผล ให้ปริมาณการผลิตไข่ไก่เพิ่มขึ้นด้วย • จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตไข่ไก่ที่สำคัญปี 2555 แหล่งผลิต ฉะเชิงเทรา นครนายก ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา อุบลราชธานี

ปริมาณ (ล้านฟอง) 1,139.23 945.73 805.77 689.42 624.04

ที่มา: สศก.

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

สัดส่วน

10.34 8.58 7.31 6.25 5.66




(41) • จำนวนปู่-ย่าพันธุ์ ปี 2555 ไม่มีการนำเข้า (ปี 54: G.P =4,242 ตัว, กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนพ่อ-แม่พันธุ์ที่นำเข้า P.S. = 321,835 ตัว (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนฟาร์มทั้งหมด 55,889 ฟาร์ม (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนฟาร์มได้มาตรฐาน 1,948 (กปศ., ก.ย. 55) 2. การตลาด • ราคาไข่ไก่คละที่เกษตรกรขายได้ ปี 2553-2555

• ราคาไข่ไก่ทเี่ กษตรกรขายได้เฉลีย่ ทัง้ ประเทศปรับตัวลดลง โดยไตรมาสแรกราคาอยูท่ ฟี่ องละ 2.65 บาท ไตรมาสที่ 2 2.63 บาท/ฟอง และไตรมาสที่ 3 2.61 บาท/ฟอง เนื่องจากมี แม่ไก่ยืนกรงจำนวนมาก ทำให้ผลผลิตออกสู่ตลาดมากขึ้น แม้ว่ากลุ่มเกษตรกรจะปลดแม่ไก่ไข่ บางส่วนก่อนกำหนด เพื่อลดการขาดทุน แต่ก็ยังไม่ส่งผลให้ระดับราคาเพิ่มขึ้น • ราคาไข่ไก่คละ ที่เกษตรกรขายได้ (บาท/ฟอง) ไตรมาส/ปี 3/2554 2/2555 3/2555 %3/55&3/54 %3/55&2/55

2.90 2.49 2.55 -12.07 .35

ราคารายเดือน 3.04 2.60 2.58 -15.13 -.78

3.06 2.74 2.53 -17.32 -8.30

เฉลี่ย

3.00 2.61 2.55 -14.89 -2.22

ที่มา: สศก. (3/54: ก.ค.-ก.ย. 54, 2/55: เม.ย.-มิ.ย. 55, 3/55: ก.ค.-ก.ย. 55)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(42)

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิตและการส่งออก • ปริมาณการส่งออก-นำเข้าไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ของไทย ปี 2554-2555 รายการ ปี 2554 ม.ค.-ก.ย. 54 ม.ค.-ก.ย. 55 % ม.ค.-ก.ย. 54 54&53

ส่งออก ไข่ไก่สด (ล้านฟอง) 75.63 58.63 83.06 41.66

ผลิตภัณฑ์ (ตัน) 3,481.40 2,578.38 2,406.74 -6.66

นำเข้า ผลิตภัณฑ์ (ตัน) 1,606.29 1,110.15 1,256.97 13.22

• การส่งออกผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ได้แก่ ไข่แดงผง ไข่ขาวผง ไข่แดงเหลว ไข่เหลวรวม ม.ค.-ส.ค. มีปริมาณลดลงร้อยละ 4.64 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา 2,136.66 ตัน มูลค่าการส่งออก 173.92 ล้านบาท • การส่งออกไข่ไก่ ม.ค.-ส.ค. 2555 มีปริมาณ 71.94 ล้านฟอง มูลค่า 220.01 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.64 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา

ปัญหาอุปสรรค • ต้นทุนการผลิตสูง โดยเฉพาะวัตถุดิบหลัก เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปรับตัวสูงขึ้น • การส่งออกไข่ไก่ของไทยมีข้อจำกัดเรื่องตลาด และราคา

ข้อเสนอแนะ • ควรมีความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชน ในการศึกษาตลาดภายใน และต่างประเทศ รวมทั้งด้านการแปรรูปไข่เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ • ส่งเสริมการบริโภคไข่ในกลุ่มเด็กให้เพิ่มขึ้น ให้เป็นนโยบายชาติให้เหมือนนมโรงเรียน • สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณประโยชน์ไข่ไก่ให้กับผู้บริโภค

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


นำเข้าพ่อ-แม่ (P.S) 321.835 ตัว

นำเข้าปู่-ย่า (G.P) 4,242 ตัว (ปี 54)

การนำเข้าพันธุ์

พระนครศรีอยุธยา 6.25% อุบลราชธานี 5.66%

ชลบุรี 7.31%

นครนายก 8.58%

ฉะเชิงเทรา 10.34%

แหล่งผลิตที่สำคัญ

ภาคใต้ 10.32%

ภาคเหนือ 14.49%

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18.48%

ภาคกลาง 56.71%

การผลิตรายภาค

ฟาร์มทั้งหมด ฟาร์ม ฟาร์มได้มาตรฐาน ฟาร์ม

ฟาร์มเลี้ยง

รวมทั้งปี 2555 11,022.55 ล้านฟอง ม.ค.-ก.ย. 55 8,262.50 ล้านฟอง 

การผลิต

 การแปรรูป

ROAD MAP สินค้าไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ ไตรมาส 3/2555 เดือนกันยายน

USA 84.06% France 8.81% Germany 6.45% Mexico 0.67%

สัดส่วนการนำเข้าผลิตภัณฑ์ไข่

ผลิตภัณฑ์ไข่ ปริมาณ 1,256.97 ตัน มูลค่า 313.25 ล้านบาท

Hongkong 75.51% Angota 19.69% Combodia 4.43% Myanmar 0.37%

สัดส่วนการส่งออกไข่ไก่

ผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 2,406.74 ตัน มูลค่า 196.90 ล้านบาท

ไข่ไก่สด ปริมาณ 83.06 ล้านฟอง มูลค่า 253.10 ล้านบาท

บริโภคภายในประเทศ 8,261.35 ล้านฟอง การนำเข้า

ส่งออกต่างประเทศ

การค้าและการจำหน่าย

ภายในประเทศ

(43)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(44)

การผลิตไข่ไก่ 1. การผลิต • ปริมาณการผลิตไข่ไก่ในประเทศ AEC+3 ปี 2008-2011  Country Thailand Vietnam Malaysia Indonesia Philippines Singapore

2008 2009 2010 562,000 577,000 585,500 247,000 309,000 362,100 479,000 510,000 540,400 1,122,620 1,059,270 1,117,800 350,789 368,464 387,335 20,265 19,991 20,380

2011 626,527

(หน่วย: ตัน)

Country 2008 2009 2010 Laos 14,500 14,800 15,600 Cambodia 16,785 15,851 17,600 Myanmar 263,368 265,000 279,600 Brunei 6,700 6,847 7,200 China 23,292,220 23,633,659 23,827,390 Japan 2,554,000 2,508,000 3,155,500 Korea 566,050 566,000 570,400

2011

ที่มา: FAO

2. การส่งออก-การนำเข้า • ปริ ม าณการส่ ง ออกไข่ ไ ก่ ส ดของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: ฟอง) Country Cambodia Myanmar Laos Singapore China

2010

3,712,166 412,230 239,233 -

2011 2012 1,014,034 2,495,000 2,944,530 119,220 41,610 7,432 -

• ปริมาณการนำเข้าไข่ไก่สดของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: ฟอง) ประเทศคู่ค้า Malaysia Japan

2010

2011 - 2,080,440 122,685 64,914

2012*

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย ม.ค.-ก.ย. 2012

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย (ไข่ไก่ 16 ฟอง: 1 กิโลกรัม) 2012:, ม.ค.-ก.ย. 2012

ขีดความสามารถในการแข่งขัน

1. จุดแข็ง • ไข่ไก่ไทยมีมาตรฐานการผลิตที่ดี • มีศักยภาพการผลิตตามความต้องการของตลาด • มีฐานการผลิตในทุกภาคของประเทศ • มีระบบการเลี้ยงได้มาตรฐานป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในโรงเรือนปิด 2. จุดอ่อน • ต้นทุนการผลิตสูงส่งผลให้ไม่สามารถแข่งขันด้านราคาได้ • การส่งออกไข่ไก่ของไทยเป็นการส่งออกเพื่อระบายผลผลิตและรักษาระดับราคาในประเทศ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(45)

สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์

ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

ยุทธศาสตร์การผลิตสุกร ปี 2553-2557 ยกระดับมาตรฐานการผลิตสุกรของประเทศทั้งระบบให้สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย สำหรับ ผู้บริโภค ควบคุมการผลิตสุกร ตั้งแต่พัฒนาระบบ การจัดการฟาร์มที่ถูกสุขลักษณะ การเลี้ยง สุกรให้ปลอดจากโรค การตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต • ข้อมูลปริมาณการผลิตสุกร ปี 2554-2555 ปริมาณการผลิต สุกรมีชีวิต (ล้านตัว) เนื้อสุกร (พันตัน)

2554 11.89 891.75

2555* 12.82 961.50

ม.ค.-ก.ย. 54 8.98 673.50

ม.ค.-ก.ย. 55 9.68 726.00

ที่มา: สศก. (55*, ม.ค.-ก.ย. 55: ผลการพยากรณ์)

• ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการขยายการเลี้ยงของผู้เลี้ยงรายใหญ่ โดยเฉพาะ ในภาคกลางและภาคใต้ สำหรับภาคใต้มกี ารขยายการเลีย้ งจนมีปริมาณสุกร เกินความต้องการมาก ประกอบกับปัจจัยเสี่ยงด้านโรคระบาดลดลง โดยเฉพาะโรคทางระบบสืบพันธุ์และระบบทางเดิน หายใจ: (PRRS) เนื่องจากเกษตรกรมีการบริหารจัดการฟาร์มที่ดี สามารถควบคุมความเสียหาย จากโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ • เปรียบเทียบปริมาณการผลิตสุกรปี 2553-2555

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(46) • จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตสุกรที่สำคัญปี 2555 แหล่งผลิต ราชบุรี นครปฐม ฉะเชิงเทรา ชลบุรี สระบุรี

เนื้อสุกร (พันตัน) สุกรมีชีวิต (ล้านตัว) 134.20 1.79 130.80 1.74 59.22 0.79 42.34 0.54 38.29 0.51

สัดส่วน 13.96 13.60 6.16 4.40 3.98

ที่มา: สศก.

• นำเข้าพันธุ์สุกรเพื่อทดแทน และปรับปรุงพันธุ์ จำนวน 627 ตัว (กรมศุลกากร มี.ค. 55) • จำนวนฟาร์มทั้งหมด 202,987 ฟาร์ม ได้มาตรฐาน 3,540 ฟาร์ม (กปศ., ก.ย. 55) • โรงฆ่าภายใน 547 โรง (ส่งออก 8 โรง) โรงงานแปรรูป 4 โรง (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนฆ่าตามอาชญาบัตร 4,667,089 ตัว จำนวนคาดว่าฆ่าจริง 5,981,231 ตัว (กปศ., ก.ย. 55) 2. การตลาด • ราคาสุกรเริ่มอ่อนตัวลงตั้งแต่เดือน มิ.ย. เป็นต้นมา และลดลงมากตั้งแต่เดือน ก.ย.-ต.ค. โดยในเดือน ต.ค. ราคาลดลงเหลือกิโลกรัมละ 52.01 บาท (ราคาเฉลีย่ 2 สัปดาห์) เนือ่ งจากความ ต้องการบริโภคชะลอตัวจากภาวะฝนตกชุกต่อเนือ่ งและเกิดน้ำท่วมในบางพืน้ ที่ ประกอบกับมีเทศกาล กินเจ ขณะที่ปริมาณสุกรมีมากสะสมและการเร่งระบายขายสุกรเกรงปัญหาน้ำท่วม • ราคาสุกรน้ำหนัก 100 กก. ขึ้น ไปรายเดือน ที่เกษตรกรขายได้ปี 2553-2555

• การส่งออกเนือ้ สุกรชำแหละปี 2555 คาดว่าจะ เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากราคาสุกรภายในประเทศ ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 จึงเอื้ออำนวยให้ส่งออกได้เพิ่มขึ้น ส่วนเนื้อสุกรแปรรูปคาดว่าการ ส่งออกยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สำหรับสุกรมีชีวิตที่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะกัมพูชา คาดว่าจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(47) • ส่วนการนำเข้าปี 2555 คาดว่านำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และ เครื่องใน อื่นๆ) จะไม่เพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาสุกรภายในประเทศจะลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 ทำให้ความต้องการนำเข้าไม่เพิ่มขึ้น • ราคาสุกร 100 กก. ขึ้นไปที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) ไตรมาส/ปี 3/2554 2/2555 3/2555 %3/55&3/54 %3/55&2/55

70.81 57.63 57.61 -18.64 -0.03

ราคารายเดือน 76.94 62.05 57.10 -25.79 -8.67

73.62 59.24 55.57 -24.52 -6.60

เฉลี่ย 73.79 59.64 56.76 -23.08 5.07

ที่มา: สศก. (3/54: ก.ค.-ก.ย. 54, 2/55: เม.ย.-มิ.ย. 55, 3/55: ก.ค.-ก.ย. 55)

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิตและการส่งออก • ปี 2555 คาดว่าการผลิตเนือ้ สุกรจะมีปริมาณรวม 103.43 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จากปี 2554 ร้อยละ 2.28 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตส่วนใหญ่จะผลิตเพิ่มขึ้น จีนจะฟื้นตัวจากโรคระบาดและผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.60 สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย และแคนนาดา จะผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.83 2.11 2.80 และ 0.68 ตามลำดับ ส่วนสหภาพยุโรปจะผลิตในระดับใกล้เคียงกับปี 2554 • ปริมาณการนำเข้าสุกรของไทย ปี 2554-2555 รายการ (ตัน) - เครื่องในสุกร - ผลิตภัณฑ์

2554 21,462.87 835.63

ม.ค.-ก.ย. 54 14,975.62 598.95

ม.ค.-ก.ย. 55 %ม.ค.-ก.ย. 55&54 10,562.65 -24.47 643.20 7.39

• ปริมาณการส่งออกสุกรของไทยปี 2554-2555 รายการ (ตัน) - เนื้อสุกรชำแหละ - ผลิตภัณฑ์สุกร - สุกรมีชีวิต อื่นๆ - เครื่องในสุกร

2554 2,576.69 9,450.04 353,716 716.31

ม.ค.-ก.ย. 54 1,284.91 6,833.43 166,760 368.68

ม.ค.-ก.ย. 55 % ม.ค.-ก.ย. 55&54 1,160.63 -9.67 8,670.88 26.89 342,363 105.30 453.09 22.89

ที่มา: กรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(48)

ปัญหาอุปสรรค • ตลาดต้องอาศัยตลาดภายในเป็นหลัก ตลาดต่างประเทศมีข้อจำกัดเรื่องโรค FMD • มีการนำเข้าเครื่องในสุกรจากต่างประเทศในราคาถูก • EU ไม่อนุญาตให้นำเข้าเนื้อสุกรปรุงสุกจากไทย

ข้อเสนอแนะ • เฝ้าระวังโรค PRRS ที่จะส่งผลกระทบต่อการผลิตสุกร • ให้กรมปศุสัตว์ รณรงค์/ตรวจสอบ การใช้สารเร่งเนื้อแดงอย่างต่อเนื่อง • ควบคุมและกำหนดมาตรการในการนำเข้าเครื่องในสุกรอย่างสม่ำเสมอ • พัฒนาฟาร์มสุกรเข้าสู่มาตรฐาน พัฒนาการตลาดสุกรโดยขึ้นทะเบียนผู้ค้าส่งและค้าปลีก และกำหนดเกณฑ์มาตรฐานด้านการขนส่ง ชำแหละ และจำหน่าย เร่งพัฒนาโรงฆ่าให้ได้มาตรฐาน พัฒนามาตรฐานปัจจัยการผลิตและผลิตภัณฑ์ • เจรจาขอขยายโควตาเนื้อสุกรปรุงสุก ส่งออกไปยังญี่ปุ่นภายใต้กรอบ JTEPA เพิ่มขึ้นจาก 1,200 ตัน เป็น 12,000 ตัน • ควรมีการเจรจาการส่งออกเนื้อสุกรปรุงสุกไปยัง EU

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555




ทดแทนและปรับปรุงพันธุ์ 693,461 ตัว

การนำเข้าพันธุ์

ชลบุรี 4.40% นครราชสีมา 3.98%

ฉะเชิงเทรา 6.16%

นครปฐม 13.60%

ราชบุรี 13.95%

แหล่งผลิตที่สำคัญ

ภาคใต้ 10.55%

ภาคเหนือ 15.52%

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17.93%

ภาคกลาง 55.99%

การผลิตรายภาค

ฟาร์มทั้งหมด 202,987 ฟาร์ม ฟาร์มได้มาตรฐาน 3,540 ฟาร์ม

ฟาร์มเลี้ยง

รวมทั้งปี 2555 961.50 พันตัน ม.ค.-ก.ย. 2555 726 พันตัน 

ปริมาณการผลิต

การนำเข้า

โรงงานแปรรูป 4 โรง

China 81.76% Italy 6.58% USA 4.38% Denmark 4.22% France 1.72%

สัดส่วนการนำเข้า ผลิตภัณฑ์สุกร

เครื่องในสุกร ปริมาณ 643,420 ตัน มูลค่า 43.37 ล้านบาท

เนื้อสุกรชำแหละ ปริมาณ 334 ตัน มูลค่า 19.22 ล้านบาท

ปริมาณ 35.58 พันตัน มูลค่า 3,882.96 ล้านบาท

บริโภคภายในประเทศ 739.01 พันตัน

Laos 59.97% Hongkong 10.95% India 1.06%

สัดส่วนการส่งออกเนื้อสุกร

เครื่องในสุกร ปริมาณ 453.09 ตัน มูลค่า 30.92 ล้านบาท

สุกรมีชีวิต ปริมาณ 342,636 ตัว มูลค่า 1,902.79 ล้านบาท

ผลิตภัณฑ์สุกร ปริมาณ 8,670.66 ตัน มูลค่า 1,876.66 ล้านบาท

เนื้อสุกรชำแหละ ปริมาณ 1,206.63 ตัน มูลค่า 72.59 ล้านบาท

ส่งออกต่างประเทศ

การค้าและการจำหน่าย

ภายในประเทศ

โรงฆ่าเพื่อส่งออก 8 โรง ฆ่าตามอาชญาบัตร 4,667,089 ตัว การแปรรูป

โรงฆ่าภายใน 547 โรง

การฆ่า

การแปรรูป

ROAD MAP สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ ไตรมาส 3/2555 เดือนกันยายน

(49)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(50)

การผลิตสุกร 1. การผลิต • ปริมาณการผลิตสุกรในประเทศ AEC+3 ปี 2008-2011  Country Thailand Vietnam Malaysia Indonesia Philippines Singapore Laos

2008 12,087,851 26,701,600 1,728,310 6,338,000 13,070,100 260,000 2,548,000

2009 11,770,533 27,627,700 1,725,720 6,975,000 13,596,400 260,000 2,947,000

2010 2011* 12,099,175 11,889,845 27,373,100 1,710,900 7,212,000 13,397,800 270,000 3,400,000

Country 2008 Cambodia 2,215,640 Myanmar 7,676,710 Brunei 1,300 China 446,655,790 Japan 9,745,000 Korea 9,097,430

(หน่วย: ตัว)

2009 2,126,300 7,800,000 1,300 469,480,600 9,809,000 9,584,900

2010 2011 2,057,430 7,900,00 1,000 476,237,000 9,809,000 9,880,630

ที่มา: FAO

2. การส่งออก • ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์สุกรของ ไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคูค่ า้ Cambodia Philippines Malaysia Myanmar Laos Vietnam Singapore China Japan Korea

2010 28,186 153 230,030 72,171 361 4,978 7,487,860 -

2011 38,455 343 3,160 329,775 278,061 312 2 6 8,083,711 3

2012* 5,154 1,080 1,123,525 24,797 30,643 215 20,073 6,631,132 175

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012*: ม.ค.-ก.ย. 2012

• ปริมาณการส่งออกเนื้อสุกรชำแหละ ของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Cambodia Malaysia Myanmar Laos Vietnam

2010 172 2,000 192,458 916,500 26,500

2011

2012**

2,323,509 -

999,024 15

• ปริมาณการส่งออกเครื่องในสุกรของ ไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Cambodia Malaysia Laos Japan

2010 720 159,158 1,677

2011 2012** 9,326 49 327,280 51,313 155,049 271,893 6,001 309

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012*: ม.ค.-ก.ย. 2012

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(51) 3. การนำเข้า • ปริมาณการนำเข้าผลิตภัณฑ์สุกรของ ไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Malaysia Vietnam Singapore China Japan Korea

2010 4,363 836,611 781 5,939

2011 271 10,298 4,810 383,927 726 7,371

2012 4,031 425,073 920 3,905

• ปริมาณการนำเข้าเครือ่ งในสุกรของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Vietnam China Korea

2010

2011 2012* 25,000 77,086 128,968 426,160 1,298.656 128,963

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย 2012*: ม.ค.-ก.ย. 2012

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012*: ม.ค.-ก.ย. 2012

ขีดความสามารถในการแข่งขัน 1. จุดแข็ง • ต้นทุนการผลิตสุกรของไทยถูกกว่าประเทศจีนในภูมิภาคอาเซียนเพราะหลายประเทศเกิด โรคระบาด • ไทยมีข้อได้เปรียบด้านเทคโนโลยีการผลิตขณะที่ต่างประเทศยังด้อยอยู่ • อัตราการแลกเนื้อของไทยอยู่ในเกณฑ์ดีกว่าประเทศเพื่อนบ้าน (FCR 2.6) • วัตถุดิบอาหารสัตว์ไทยได้เปรียบเรื่องข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2. จุดอ่อน • อุตสาหกรรมสุกรของเวียดนามติดอันดับ 10 ของโลก • ไทยประสบปัญหา FMD ขณะที่อินโดนีเซีย มาเลเชีย ฟิลิปปินส์ ไม่มีการระบาด • เวียดนามได้เปรียบวัตถุดิบอาหารสัตว์ปลายข้าวมีราคาถูก • ไทยมีขีดจำกัดด้านการตลาด โดยจะทำการตลาดได้เฉพาะประเทศที่มีชายแดนติดไทย เท่านั้น ส่วนใหญ่เป็นสุกรที่มีการแปรรูปแล้ว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(52)

สินค้าโคเนือ้ และผลิตภัณฑ์ ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

ยุทธศาสตร์การผลิตโคเนื้อ 1. ผลิตลูกโคปีละ 1.75 ล้านตัว ผลิตลูกโคคุณภาพดีปีละ 15,000 ตัว ผลิตโคเนื้อ จากโคเพศผู้ปีละ 38,000 ตัว เพิ่มจำนวนฟาร์มปลอดสารปีละ 20 ฟาร์ม 2. พัฒนาโรงฆ่าสัตว์ 332 แห่งให้ได้มาตรฐาน เพิ่มอัตราการส่งออกปีละ 10% พัฒนากลุ่ม หรือสหกรณ์เพื่อดำเนินการระบบการผลิต หรือการตลาดโคเนื้อ

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต • ข้อมูลปริมาณการผลิตโคเนื้อ ปี 2553-2555 ปริมาณการผลิต โคเนื้อ (ล้านตัว) เนื้อโค (พันตัน)

2553 1.130 162.78

2554 1.087 156.56

2555 1.063 153.08

ที่มา: สศก. (2555*: ผลการพยากรณ์)

• จำนวนโคเนื้อลดลงจากปีที่แล้ว เนื่องจากมีการส่งออกไปประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเชีย ลาว กัมพูชา และเวียดนามอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ทำให้ปริมาณโคเนื้อในประเทศลดลง จำนวนโคเพศเมีย ซึ่งเป็นแม่พันธุ์ก็ลดจำนวนลงไปด้วย การขยายพันธุ์จึงทำได้น้อย ความต้องการ บริโภคยังมีอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ทำให้ตอ้ งนำแม่โค และโคขนาดเล็กเข้าโรงฆ่าเพือ่ บริโภคภายในประเทศ เป็นผลให้ปริมาณแม่โคเนื้อ และโครุ่นลดลง • ปริมาณการผลิตยังคงลดลงอย่างต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากเกษตรกรให้ความสนใจการเลีย้ งโคเนือ้ ลดลง ส่วนใหญ่หันไปประกอบอาชีพอื่น เช่น เพาะปลูกข้าวโพด มันสำปะหลัง ยางพารา หรือ พืชเศรษฐกิจอืน่ ทีใ่ ห้ผลตอบแทนสูงกว่า ถึงแม้วา่ ราคาโคเนือ้ จะปรับตัวสูงขึน้ แต่ยงั ไม่จงู ใจให้เกษตรกร กลับมาเลี้ยง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(53) • จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตโคเนื้อที่สำคัญปี 2555 แหล่งผลิต นครราชสีมา ขอนแก่น กาญจนบุรี อุบลราชธานี ลำปาง

ปริมาณ (พันตัน) ปริมาณ (พันตัว) สัดส่วน 7.98 55.39 5.21 5.69 39.53 3.72 5.62 39.04 3.67 5.36 37.22 3.50 4.60 31.95 3.01

ที่มา: สศก.

• นำเข้าพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ 125 ตัว (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนฟาร์มทั้งหมด 28,000 ฟาร์ม ได้มาตรฐาน 417 ฟาร์ม (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนโรงฆ่าภายในประเทศ 846 โรง โรงฆ่าเพื่อส่งออก 2 โรง (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนฆ่าตามอาชญาบัตร 409,866 ตัว (กปศ., ก.ย. 55) 2. การตลาด • แนวโน้มราคาโคเนื้อเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ ปี 2553-2555

• โคเนื้อเป็นสินค้าที่มีผู้บริโภคจำกัด อุปสงค์ และอุปทานการบริโภคเนื้อโคไม่เปลี่ยนแปลง มากนัก ปริมาณการผลิตโคเนื้อที่ลดลงส่งผลให้ราคาโคเนื้อปรับตัวสูงขึ้น และตลาดเนื้อโคคุณภาพ ยังมีความต้องการสูง • ราคาโคเนื้อน้ำหนัก 250-350 กิโลกรัม ที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) ไตรมาส/ปี 3/2554 2/2555 3/2555 % 3/55&3/54 % 3/55&2/55

51.06 56.20 57.44 12.50 2.16

ราคารายเดือน 52.06 56.94 57.86 11.14 1.59

54.42 56.92 58.89 8.21 3.35

เฉลี่ย 52.51 56.69 58.06 10.57 2.37

ที่มา: สศก. (3/54: ก.ค.-ก.ย.54, 2/55: เม.ย. มิ.ย. 55, 2/55: ก.ค.-ก.ย. 55) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(54)

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิตและการส่งออก • ปี 2555 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดว่าการผลิตโคเนือ้ จะมีปริมาณ 56.80 ล้านตัน ลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 0.09 โดยผู้ผลิตโคเนื้อรายใหญ่ได้แก่ สหภาพยุโรป จีน และอินเดีย โดยคาดว่าผลผลิตเนื้อโคจะลดลง แต่ไม่มากนัก แต่บางประเทศมีการผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล และอาร์เจนติน่า จึงส่งผลให้ผลผลิตของโลกลดลงเล็กน้อย • แนวโน้มการนำเข้าทั้งโคมีชีวิต เนื้อโค และผลิตภัณฑ์โคเพิ่มขึ้น เนื่องจากยังมีการส่งออก โคมีชีวิตไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเชีย ลาว ส่งผลให้แม่โคในประเทศลดลง จึงนำเข้าโค มีชีวิตจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พม่า เพิ่มขึ้น • ปริมาณการส่งออก-นำเข้าโคเนื้อของไทยปี 2554-2555 รายการ ปี 2554 ม.ค.-ก.ย. 54 ม.ค.-ก.ย. 55 % ม.ค.-ก.ย. 55&54

ส่งออก นำเข้า เนื้อโค&ผลิตภัณฑ์ (ตัน) โคมีชีวิต (ตัว) เนื้อโคผลิตภัณฑ์ (ตัน) โคมีชีวิต (ตัว) 3,106.18 121,778 6,190.97 46,170 1,529.79 110,947 4,179 33,438 1,555.86 47,218 4,542.37 53,795 1.70 -57.44 8.70 60.88

ที่มา : กรมศุลกากร

ปัญหาอุปสรรค • โรงฆ่าสัตว์ที่ไม่ได้มาตรฐานมีต้นทุนต่ำจึงทำให้มีโรงฆ่าที่ไม่ได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น • ผู้บริโภคหันไปบริโภคสินค้าทดแทนอื่นๆ ที่มีราคาถูกกว่า • อาหารสัตว์มีราคาแพง ทำให้ต้นทุนการผลิตสูง (สำหรับโคขุน) • การบริโภคเนื้อโคภายในประเทศมีจำกัด ราคาจึงทรงตัว

ข้อเสนอแนะ • ให้ส่งเสริมการเลี้ยงโคคุณภาพเพิ่มขึ้น เพื่อทดแทนการนำเข้า • ให้มีการประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการบริโภคเนื้อโคในประเทศ • เข้มงวดการลักลอบนำเข้าเนื้อเถื่อนจากประเทศเพื่อนบ้าน • สนับสนุนการส่งออกไปต่างประเทศ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


นำเข้าพ่อ-แม่พันธุ์ 125 ตัว

การนำเข้าพันธุ์

อุบลราชธานี 3.50% ลำปาง 3.01%

กาญจนบุรี 3.67%

ขอนแก่น 3.72%

แหล่งผลิตที่สำคัญ นครราชสีมา 5.21%

ภาคใต้ 10.70%

ภาคกลาง 23.30%

ภาคเหนือ 25.34%

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 40.64%

แหล่งผลิตรายภาค

ฟาร์มทั้งหมด 28,000 ฟาร์ม ฟาร์มได้มาตรฐาน 417 ฟาร์ม

ฟาร์มเลี้ยง

รวมทั้งปี 2555 153.08 พันตัน

การผลิต

โรงฆ่าเพื่อส่งออก 2 โรง ฆ่าตามอาชญาบัตร 409,866 ตัว

โรงฆ่าภายในประเทศ 846 โรง

โรงฆ่าและการแปรรูป

การแปรรูป

ROAD MAP สินค้าโคเนื้อและผลิตภัณฑ์ ไตรมาส 3/2555 เดือนกันยายน

เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 1,529.79 ตัน มูลค่า 160.29 ล้านบาท

การนำเข้า

Myanmar 100%

สัดส่วนการนำเข้า โคมีชีวิต

โคมีชีวิต ปริมาณ 53,795 ตัว มูลค่า 257,094 ล้านบาท

Malaysia 17.92% Laos 8.46% Myanmar 1.17% Cambodia 0.40% Vietnam 0.10%

สัดส่วนการส่งออก โคมีชีวิต

โคมีชีวิต ปริมาณ 47,218 ตัว มูลค่า 572.44 ล้านบาท

ปริมาณ 8,329.18 ตัน มูลค่า 732.73 ล้านบาท

บริโภคภายในประเทศ 157.04 พันตัน เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 4,542.37 ตัน มูลค่า 878.55 ล้านบาท

ส่งออกต่างประเทศ

การค้าและการจำหน่าย

ภายในประเทศ

(55)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(56)

การผลิตโคเนื้อ 1. การผลิต • ปริมาณการผลิตโคเนื้อในประเทศ AEC+3 ปี 2008-2011  Country Thailand Vietnam Malaysia Indonesia Philippines Singapore Laos

2008 1,187,155 6,337,700 871,900 11,256,600 2,566,490 200 1,499,000

2009 1,173,348 6,103,300 890,400 12,760,000 2,586,000 200 1,426,000

2010 2011 1,143,611 1,087,227 5,916,205 909,810 13,633,000 2,570,900 200 1,400,000

Country Cambodia Myanmar Brunei China Japan Korea

2008 3,457,790 12,929,200 1,000 82,815,275 4,422,300 2,876,140

(หน่วย: ตัว)

2009 3,579,880 13,000,000 1,000 82,624,750 4,423,000 3,079,350

2010 3,484,480 13,000,000 1,000 83,790,00 4,736,000 3,351,390

ที่มา: FAO

2. การส่งออก-นำเข้า • ปริมาณการส่งออกโคมีชีวิตของไทย ปี 2010-2012  ประเทศคู่ค้า Cambodia Malaysia Myanmar Laos Vietnam

2010 120 130,253 46,356 1,742 483

2011 1,329 106,943 1,446 562 281

(หน่วย: ตัว)

2012* 1,315 58,412 3,805 11,015 209

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

• ปริมาณการนำเข้าโคมีชีวิตของไทย ปี 2010-2012  ประเทศคู่ค้า Myanmar

2010 26,371

2011 46,010

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

(หน่วย: ตัว)

2012* 46,373

2011




(57) • ปริมาณการส่งออกเนื้อโคสดแช่เย็นแช่แข็งของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Malaysia Myanmar Laos Japan

2010

2011

85,746 26,500 -

3,077,368 28,807

2012* 3,440,000 155,942,583 423,351

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

• ปริมาณการนำเข้าเนื้อโคสดแช่เย็นแช่แข็งของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Philippines Indonesia Japan

2010

2011 2 27

55,500 2,692

2012* 6,937

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

ขีดความสามารถในการแข่งขัน 1. จุดแข็ง • อินโดนีเซียนำเข้าเนื้อโคจากตะวันออกกลางเพียงรายเดียวจึงมีความสนใจอยากนำเข้าจาก ไทย • ประเทศเพื่อนบ้านมีความต้องการบริโภคเนื้อโคสูง (อินโดนีเซีย เวียดนาม) • สามารถทำการตลาดโคเนื้อในประเทศมุสลิม 2. จุดอ่อน • ไทยยังมีการระบาดของโรค FMD เป็นอุปสรรคต่อการส่งออก • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของไทยเป็นไปได้ยาก เพราะมีปัญหาแหล่งอาหารสัตว์ (ทุ่ง หญ้า)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(58)

สินค้าโคนมและผลิตภัณฑ์นม ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

ยุทธศาสตร์การพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์ ปี 2555-2559 ยุทธศาสตร์การผลิตน้ำนมดิบของเกษตรกรมีคณ ุ ภาพได้มาตรฐานตัง้ แต่ฟาร์มถึงหน้าโรงงาน เกษตรกรผู้เลี้ยงได้รับการขึ้นทะเบียนและโคนมทุกตัวขึ้นทะเบียนได้รับพันธุ์ประวัติ ยุทธศาสตร์การตลาด ส่งเสริมการบริโภคนมเพิ่มขึ้นปีละ 10% และมุ่งเน้นให้มีการส่งออก ผลิตภัณฑ์นม พันธุ์โค น้ำเชื้อ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องไปประเทศเพื่อนบ้าน สร้างประเทศไทย ให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมนม เพื่อเป็น HUP ในภูมิภาคอาเซียน

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต • ข้อมูลปริมาณการผลิตโคนม ปี 2554-2555 ปริมาณการผลิต น้ำนมดิบ (พันตัน) แม่โครีดนม (พันตัว)

2554 984.96 228.21

2555* 1,064.12 240.33

ม.ค.-ก.ย. 54 720.92 167.03

ม.ค.-ก.ย. 55 780.88 176.36

ที่มา: สศก. (2555*, ม.ค.-ก.ย. 55*: ผลการพยากรณ์)

• น้ำนมดิบปี 2555 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เนื่องจากจำนวนแม่โคที่รีดนมได้ มี จำนวนเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกษตรกรคัดเลือกแม่โคนมจากสายพันธุ์ดี ให้น้ำนมปริมาณมาก และคัดทิ้ง แม่โคที่ให้น้ำนมน้อย และสุขภาพไม่ดีออกจากฟาร์ม เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มอัตราการ ให้น้ำนม • จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตน้ำนมดิบที่สำคัญ ปี 2555 แหล่งผลิต สระบุรี นครราชสีมา ลพบุรี ราชบุรี เชียงใหม่

ที่มา: สศก.

น้ำนมดิบ (พันตัน) แม่โครีดนม (พันตัว) 216.18 40.15 149.41 29.67 138.43 28.40 94.78 29.08 94.02 16.88

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

สัดส่วน 20.31 14.04 13.01 8.91 8.83


(59) • การตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียนทีม่ ผี ลตัง้ แต่วนั ที่ 1 ม.ค. 2553 ทำให้ประเทศในกลุม่ อาเซียน ต้องลดภาษีนำเข้าน้ำนมและผลิตภัณฑ์นมเป็นศูนย์ ซึ่งจะเป็นผลดีกับประเทศไทยในด้านการส่งออก ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงมีการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพการเลี้ยง เพิ่มอัตราการให้นมเพื่อเพิ่ม ปริมาณน้ำนมดิบให้สูงขึ้นตามความต้องการของตลาด • จำนวนฟาร์มทั้งหมด 20,000 ฟาร์ม ได้มาตรฐาน 6,500 ฟาร์ม (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบทั้งหมด 156 แห่ง • สหกรณ์ 97 แห่ง เอกชน 59 แห่ง (กปศ., ก.ย. 55) • จำนวนโรงงานแปรรูป 104 โรง (กปศ., ก.ย. 55) 2. การตลาด • สถานการณ์ตลาดโดยทั่วไปเริ่มมีแนวโน้มดีขึ้น เนื่องจากรัฐบาลได้ขยายโครงการนม โรงเรียนจากชั้น ป.4 ไปถึงชั้น ป.6 และจากการประชาสัมพันธ์ให้มีการรณรงค์บริโภคนมเป็นระยะ ส่งผลให้ปริมาณการบริโภคนมโดยรวมเพิ่มขึ้น • แนวโน้มราคาน้ำนมดิบที่เกษตรกรขายได้ ปี 2553-2555

• สำหรับราคากลางน้ำนมดิบยังคงไม่เปลีย่ นแปลง โดยมีราคาหน้าโรงงานกิโลกรัมละ 18.00 บาท • ราคาน้ำนมดิบที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) ไตรมาส 3/2554 2/2555 3/2555 % 3/55 & 3/54 % 3/55 & 2/55

ราคารายเดือน 16.67 16.65 15.56 16.36 16.59 16.48 -0.48 -1.02 6.21 0.73

16.67 16.65 16.57 -0.60 -0.48

เฉลี่ย 16.66 16.19 16.55 -0.70 2.16

ที่มา: สศก. (3/54: ก.ค.-ก.ย. 54, 2/55: เม.ย.-มิ.ย. 55, 3/55 ก.ค.-ก.ย. 55) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(60)

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิต/ส่งออก • ปริมาณน้ำนมดิบของโลก ปี 2554 ประมาณ 446,663 พันตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2553 1.70% ผู้ผลิตที่สำคัญได้แก่ EU 30.58% สหรัฐฯ 19.87% อินเดีย 11.75% รัสเซีย 6.99% บราซิล 6.91% จีน 6.83% ไทยไม่อยู่ในอันดับการผลิตที่สำคัญของโลกจำนวนโคนมของโลก • นำเข้านมและผลิตภัณฑ์นมของไทย ปี 2554-2555 รายการ (หน่วย: ตัน) นำเข้า - มันเนย - นมและครีม - เนยแข็งและเคิร์ด

2554

ม.ค.-ก.ย. 54

12,458.60 40,447.03 7,945.75

8,809.22 26,701.87 6,382.57

ม.ค.-ก.ย. 55 8,686.29 61,518.25 6,088.87

% ม.ค.-ก.ย. 55 & 54 -1.40 130.39 -4.60

• การส่งออกนมและผลิตภัณฑ์นมของไทย ปี 2554-2555 รายการ (หน่วย: ตัน) ส่งออก - มันเนย - นมและครีม - เนยแข็งและเคิร์ด

2554

ม.ค.-ก.ย. 54

621.48 41,536.28 154.11

355.34 36,518.95 115.99

ม.ค.-ก.ย. 55 356.96 22,981.44 96.95

% ม.ค.-ก.ย. 55 & 54 5.46 -37.07 -16.46

ที่มา: กรมศุลกากร

ปัญหาอุปสรรค • การผลิตนมในประเทศส่วนใหญ่จะผลิตเพื่อเป็นนมพร้อมดื่มเกือบทั้งหมด ซึ่งช่องทางการ ตลาดของผลิตภัณฑ์นมรูปแบบอื่นๆ ยังมีน้อย • ราคาอาหารสัตว์สูงขึ้น อาหารหยาบขาดแคลน เกษตรกรขาดพื้นที่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะ • การบริโภคนมของไทยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ควรส่งเสริมเรื่องการบริโภค โดยรณรงค์ให้มี การบริโภคมากขึ้น สร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพและคุณประโยชน์ของนมแก่ผู้บริโภค เพื่อผลักดัน ให้ใกล้เคียงกับมาตรฐานโลก (ไทย 14.00 กก./คน/ปี โลก 26.31 กก./คน/ปี) • ผลักดันการบริโภคนมของประชาชนให้เป็นยุทธศาสตร์ชาติ โดยให้หน่วยงานภาครัฐ เช่น อบจ. อบต. สสส. เข้ามามีส่วนร่วม หรือส่งเสริมการบริโภคนมในหญิงมีครรภ์ถึงเด็กก่อนวัยเรียน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


ราชบุรี 8.91% เชียงใหม่ 8.83%

ลพบุรี 13.01%

นครราชสีมา 14.04%

แหล่งผลิตที่สำคัญ สระบุรี 20.31%

ภาคใต้ 1.01%

ภาคเหนือ 12.68%

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21.52%

ภาคกลาง 64.80%

การผลิตรายภาค

ฟาร์มทั้งหมด 20,000 ฟาร์ม ฟาร์มได้มาตรฐาน 6,500 ฟาร์ม

ฟาร์มเลี้ยง

รวมทั้งปี 2555 1,064.12 พันตัน ม.ค.-ก.ย. 2555 780.88 พันตัน 

การผลิต

นมพาสเจอร์ไรส์ 88 แห่ง

UHT 16 แห่ง

โรงงานแปรรูปนมทั้งหมด 104 แห่ง

โรงงานแปรรูป

สหกรณ์ 97 แห่ง เอกชน 59 แห่ง

ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบทั้งหมด 156 แห่ง

ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ

การแปรรูป

New Zealand 41.69% Malaysia 27.82% Vietnam 18.32% Philippine 7.25%

สัดส่วนการนำเข้า

เนยแข็งและเคิร์ด ปริมาณ 6,088.87 ตัน มูลค่า 1,016.25 ล้านบาท

นมและครีม ปริมาณ 61,518.25 ตัน มูลค่า 4,632.82 ล้านบาท

มันเนย ปริมาณ 9,686.29 ตัน มูลค่า 1,285.47 ล้านบาท

Cambodia 40.32% Laos 19.20% Myanmar 14.04% Indinesia 11.25% Vietnam 5.37%

สัดส่วนการส่งออก

เนยแข็งและเคิร์ด ปริมาณ 96.95 ตัน มูลค่า 17.67 ล้านบาท

นมและครีม ปริมาณ 22,981.49 ตัน มูลค่า 1,623.08 ล้านบาท

มันเนย ปริมาณ 356.96 ตัน มูลค่า 38.29 ล้านบาท

ปริมาณ 23,435.40 พันตัน มูลค่า 1,679.04 ล้านบาท

บริโภคภายในประเทศ น้ำนมดิบ 780.88 พันตัน ผลิตภัณฑ์นม พันตัน การนำเข้า

ส่งออกต่างประเทศ

การค้าและการจำหน่าย

ภายในประเทศ

ROAD MAP สินค้าโคนมและผลิตภัณฑ์ ไตรมาส 3/2555 เดือนกันยายน

(61)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(62)

การผลิตโคนม 1. การผลิต • ข้อมูลปริมาณการผลิตน้ำนมดิบในภูมิภาคอาเซียน ปี 2008-2011  Country Thailand Vietnam Malaysia Indonesia Philippines Singapore Laos

2008 786,186 262,160 39,550 346,953 8,190 7,540

2009 840,491 278,200 40,850 881,843 8,645 7,200

2010 2011* 914,388 984,960 306,662 42,300 912,800 9,656 7,000

2. การส่งออก • ข้อมูลปริมาณการส่งออกมันเนยของ ไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Cambodia Philippines Malaysia Myanmar Laos Vietnam Singapore China Korea

2010 1,244,040 5,560 231,858 473,960 540 545,160 6,929 1,537

2011 1,767,702 58 2,139 366,769 136,083 1,430 259,544 425 4,336

2012* 97,220 75,006 576 457,474 7,045 495 54,541 3 990

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-มิ.ย. 2012

Country 2008 23,500 Cambodia Myanmar 1,055,79 Brunei 38 China 35,873,807 Japan 7,982,030 Korea 2,222,000

(หน่วย: ตัน)

2009 24,450 1,100,000 45 35,509,531 7,909,490 2,222,000

2010 2011* 26,792 1,138,600 50 36,022,650 7,720,460 2,103,000

ที่มา: FAO

• ข้อมูลปริมาณการส่งออกนมและครีม ของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Cambodia Philippines Malaysia Myanmar Laos Vietnam Singapore Indonesia China Korea

2010 64,010,280 5,738,342 31,457 93,247 949,902 708,618 1,543,216 473,445 595

2011 7,353,634 431,554 27,539 1,019,58 905,683 1,375,699 2,228 425,600 1,040

2012* 10,704,874 2,949,140 138,631 1,769,739 2,916,086 1,743,473 286,270 1,318,822 191,208 26,168

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-มิ.ย. 2012

• ข้อมูลปริมาณการส่งออกเนยแข็งและเคิร์ดของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Malaysia Myanmar Laos Vietnam Singapore

2010

6 6,991 2,623 1,176 10

2011

26 1,020 8,510 14,204 -

2012*

750 17,551 3,033 339

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

ประเทศคู่ค้า Japan Cambodia Philippines China

2010

32,694 8,592

2011 28,807 103,202 55 -

2012*

2 46,200 35

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-มิ.ย. 2012


(63) 3. การนำเข้า

ขีดความสามารถในการแข่งขัน

• ข้อมูลปริมาณการนำเข้ามันเนยของ ไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม)

1. จุดแข็ง

ประเทศคู่ค้า Malaysia Singapore

2010 12,000 87,000

2011 626 1

2012* 70 17

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-มิ.ย. 2012

• ข้อมูลปริมาณการนำเข้าเนยแข็งและ เคิร์ดของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Malaysia Singapore Indonesia China Japan

2010

46 60,672 393,768 9,687 45,126

2011

4 61,267 439,800 27,663 31,774

2012* 20 57,387 261,744 10,013 5,381

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

• ข้อมูลปริมาณการนำเข้านมและครีม ของไทย ปี 2010-2012  (หน่วย: กิโลกรัม) ประเทศคู่ค้า Malaysia Singapore Indonesia Japan Philippines Vietnam China

2010

28 16,114 55,970 2,123 111 9 51,457

2011 2012* 3,985,419 15,941,778 70 193,176 6 33 5,615 6,347 3,036,133 4,151,431 26 10,494,610 16,012 19,019

• โคนมของไทยได้รบั การพัฒนาสายพันธุ์ ให้มีประสิทธิภาพมานาน • ปรับเปลีย่ นมาใช้อาหารข้นเลีย้ งทดแทน อาหารหยาบที่หายาก • ระบบการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคมีประสิทธิภาพ • คุณภาพน้ำนมดิบได้ตามมาตรฐานที่ กำหนด 2. จุดอ่อน • ต้นทุนการผลิตสูงโดยเฉพาะค่าอาหาร • การควบคุมโควตานมผง • อัตราการให้นำ้ นมของโคไทยต่ำ (เปรียบ เทียบกับยุโรป) • ขาดแคลนแหล่ ง อาหารหยาบ (ทุ่ ง หญ้า) • การเปิดเสรีทางการค้ากับยุโรป และ ออสเตรเลีย

ที่มา: กรมศุลกากร ประเทศไทย, 2012: ม.ค.-ก.ย. 2012

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(64)

สินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์

ประจำไตรมาสที่ 3/2555 เดือนกันยายน

สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต • สิน้ สุด ก.ย. 2555 มีฟาร์มทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐาน 8,797 ฟาร์ม แยกเป็น GAP (8,711) มกษ. 7401-2552 (67), CoC (86) คิดเป็น 42.86% จากฟาร์มที่มีการขึ้นทะเบียน 20,527 ฟาร์ม • ข้อมูล FMD ของลูกกุ้ง ย้อนหลัง 4 ไตรมาส  (หน่วย: ล้านตัว ตัวเลขวงเล็บ: %) FMD กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว รวม

ไตรมาส 4/54 407.23 (03) 15,830.97 (97) 16,238.20

ไตรมาส 1/55 255.63 (01) 20,239.14 (99) 20,494.77

ไตรมาส 2/55 592.72 (03) 20,408.82 (97) 21,001.54

ไตรมาส 3/55 731.33 (03) 21,667.53 (97) 22,398.86

• ไตรมาส 3/55 มีการลงกุง้ 22,398.86 ล้านตัว เป็นกุง้ ขาว 96.73% กุง้ กุลาดำ 3.27% เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน 6.24% โดย 99.26% เป็นการลงกุ้งในภาคตะวันออก ใต้ตอนบน-ล่าง ทั้งนี้ ม.ค.-ก.ย. 2555 มีการลงกุ้งไปแล้ว 60,895.17 ล้านตัว • ผลผลิตกุ้งไตรมาส 3/2555 มีประมาณ 113,456.15 ตัน (กุ้งขาว 96.54% กุ้งกุลาดำ 3.46%) ลดลง -20.24% จากไตรมาส 2/2555 แยกเป็นใต้ตอนล่าง 45.73% ใต้ตอนบน 33.09% ตะวันออก 17.33% และกลาง 3.85% โดยขนาดกุ้งรวมในไตรมาส 3/2555 พบว่า <40 ตัว/กก. (11.06%), 41-60 ตัว/กก. (26.39%) 61-80 ตัว/กก. (35.09%) ที่เหลือมีขนาดตั้งแต่ 81 ตัว/กก. ขึ้นไป ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555




(65) • ม.ค.-ก.ย. 2555 ไทยผลผลิตกุ้งรวม 355,415.74 ตัน ลดลง 2.43% เมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปี 2554 ผลผลิต (T) มูลค่า (MB)*

2553 แผน ผล 525,000 554,396 88,125 99,140

2554 แผน ผล* 551,250 502,188 89,887 108,788

2555 แผน ผล 578,812 355,416 91,685 69,720

*1) ไม่รวมกุ้งก้ามกรามและล็อบสเตอร์ 2) มูลค่าส่งออก ม.ค.-ก.ย. 55

• ความก้าวหน้าการระงับการใช้ความเค็มในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด คือ 1) อยู่ ระหว่างการจัดทำแผนแม่บทฉบับสมบูรณ์ 2) หลักเกณฑ์ในการกำหนดเขตพื้นที่ระงับการใช้ความ เค็มฯ อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ คกก. สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และ 3) มาตรการรองรับผล กระทบและการเยียวยาฯ มี 2 แนวทาง คือ กรณีตอ้ งการปรับเปลีย่ นไปเลีย้ งสัตว์นำ้ ชนิดอืน่ ในพืน้ ที่ เดิม และกรณีตอ้ งการเลิกอาชีพการเลีย้ งกุง้ แวนนาไมเพือ่ ไปประกอบอาชีพอืน่ ซึง่ พร้อมทีจ่ ะนำเสนอ ให้ ครม. รับทราบในครั้งต่อไป • คชก. อนุมัติให้ดำเนินโครงการรักษาเสถียรภาพกุ้งขาวแวนนาไมโดยระบบตลาดเครือข่าย แบบกลุ่ม ปี 2555 วงเงิน 562.38 ล้านบาท ปริมาณ 30,000 ตัน ระยะเวลาดำเนินการ 3 เดือน โดยกุง้ ขนาด 40-80 ตัว/กก. ได้รบั การชดเชยราคา กก. ละ 20 บาท ซึง่ ได้สนิ้ สุดไปแล้วเมือ่ ก.ย. 2555 โดยมีเกษตรกร 1,172 ราย จาก 19 จังหวัด และห้องเย็น 23 โรง เข้าร่วมโครงการ จ่ายเงินชดเชยตามโครงการฯ 220.93 ล้านบาท เกษตรกรมีความพึงพอใจ และต้องการให้มีการ สานต่อโครงการฯ ต่อไป 2. การตลาด • ราคาเฉลี่ยของกุ้งขาวรายไตรมาส (บาท/กก.) ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร กุ้งขาว ไตรมาส 3/54 ไตรมาส 2/55 ไตรมาส 3/55 %∆3/54 %∆2/55

40 ตัว 163.36 139.04 146.57 -10.28 +5.42

50 ตัว 144.75 127.89 140.73 -2.78 +10.04

60 ตัว 133.43 119.28 135.38 +1.42 +13.46

70 ตัว 127.68 114.19 127.93 +0.20 +12.03

80 ตัว 118.46 106.97 118.77 +0.26 +11.03

90 ตัว 110.95 99.70 107.24 -3.34 +7.56

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(66)

สถานการณ์ภายนอกประเทศ 1. การผลิต • ประมาณการผลผลิตกุ้งโลกในปี 2555 อยู่ที่ 4.50 ล้านตัน คิดเป็นกุ้งเลี้ยง 2.10 ล้านตัน เท่ากับปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ผลผลิต~80% ยังคงมาจากประเทศแถบเอเซีย 2. การตลาด • ไตรมาส 3/2555 ไทยส่งสินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ (ไม่รวมกุ้งก้ามกราม) 96,612.69 ตัน มูลค่า 26,568.22 ล้านบาท (ปริมาณ +16.41% มูลค่า +20.52% เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 54) • ม.ค.-ก.ย. 2555 ไทยส่งสินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ รวม 254,768.36 ตัน คิดเป็นมูลค่า 69,719.98 ล้านบาท (ปริมาณ -8.98% มูลค่า -10.45% เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 54) สัดส่วนกุ้งแช่เย็นแช่แข็ง : กุ้งปรุงแต่ง = 49.40 : 50.60 สัดส่วนการส่งออก USA (38.41%) Jap (25.27%) EU-26 (15.26%) Can (7.71%) Aus (2.60%) S-Korea (3.03%) ตลาดใหม่ที่น่าสนใจ: UK Middle East -15, Russia 3. ภาวะการแข่งขัน • ผู้ผลิตกุ้งรายอื่นประกาศนโยบายเพิ่มกำลังผลิตกุ้งขาว เนื่องจากผลตอบแทนต่อหน่วยสูง และความต้องการบริโภคมีมากขึ้น • ผลผลิตกุ้งของจีนลดลงและหันมานำเข้ากุ้งเพื่อบริโภคประเทศ ในขณะที่ อินโดนีเซีย เวียดนาม และอเมริกาใต้ เริม่ ฟืน้ ตัวจากปัญหาโรคระบาด คาดการณ์วา่ ผลผลิตจะเพิม่ ขึน้ 10-20% ในขณะที่ไทยให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้โรคไวรัส IMN เข้ามาระบาดใน ประเทศ • ไทยเพิ่มกำลังผลิตให้เป็นไปตามเป้าที่ตั้งไว้ที่ 580,000 ตัน และสร้างความเข้มแข็ง ภาคเกษตรกร ในส่วนของการส่งออกใช้มาตรการสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้นำเข้า โดยเฉพาะด้าน มาตรฐานการผลิต ซึ่งทำควบคู่ไปกับการผลิตสินค้าเฉพาะให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละ ตลาด

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(67)

ปัญหาอุปสรรค • ปัญหาด้านการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีมีมากขึ้น โดยเฉพาะด้านการรับรองมาตรฐาน การผลิต ข้อกำหนดด้านแรงงาน และสิ่งแวดล้อม • ปัญหาพลังงาน แรงงาน ส่งผลต่อต้นทุนตลอดสายการผลิต และทำให้ความสามารถ ในการแข่งขันของผู้ส่งออกลดลง ในขณะที่อุตสาหกรรมกุ้งไทยยังคงถูกโจมตีภาพลักษณ์ด้านการ ใช้ยาและทำลายป่าชายเลน • การเข้าร่วม AEC ทำให้ขอ้ จำกัดในการเคลือ่ นย้ายระหว่างประเทศลดลง ซึง่ อาจเป็นช่องทาง ทำให้มีโรคกุ้งจากประเทศเพื่อนบ้านแพร่เข้ามาสู่ระบบการเลี้ยงของไทย

ข้อเสนอแนะ • จัดตั้งคณะทำงานศึกษาข้อมูลในประเทศคู่แข่ง และคู่ค้า เพื่อนำมาใช้กำหนดกลยุทธ์การ แข่งขัน และกำหนดตลาดใหม่ในการมุ่งทำการค้าได้อย่างชัดเจน • ส่งเสริมเกษตรกรสร้างมูลค่าเพิ่มในตัวสินค้า ผ่าน CSRs, Green Products • ต้องมีกิจกรรมส่งเสริมภาพลักษณ์อย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพให้แก่ผู้ บริโภคทั่วโลกทราบถึงกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสากลของไทย • ควรผลักดันให้ไทยเป็น Hub ของสินค้ากุ้งใน AEC หรือใน ASIA ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555

แม่พันธุ์กุ้งขาว ประมาณ 2,500,000 คู่/ปี ลูกพันธุ์กุ้งขาว ประมาณ 75 ล้านตัว/ปี

พันธุ์กุ้ง

จำนวน 332 โรง มาตรฐาน GAP 303 โรง CoC 29 โรง

โรงเพาะฟัก

3.85% 17.33% 33.09% 45.73%

จันทบุรี สุราษฎร์ธานี ประจวบคีรีขันธ์ สงขลา นครศรีธรรมราช

15.31% 14.07% 9.42% 8.40% 7.87%

จังหวัดที่มีการผลิตกุ้ง 5 อันดับแรก

ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ตอนบน ภาคใต้ตอนล่าง

แหล่งผลิตกุ้งรายภาค

รับรองมาตรฐานฟาร์ม CoC จำนวน 86 ฟาร์ม GAP จำนวน 8,711 ฟาร์ม มกษ. 7401-2552 จำนวน 67 ฟาร์ม

จำนวน 20,527 ฟาร์ม (ประมาณ 326,043 ไร่) จำนวน 30,610 ครัวเรือน

ฟาร์มเลี้ยงกุ้ง

ปี 2555 (ม.ค.-ก.ย. 55) ปริมาณ 355,415.74 ตัน กุลาดำ 8,606.37 ตัน (2.42%) กุ้งขาว 346,809.37 ตัน (97.58%) 

ผลผลิตกุ้ง

Shrimp Supply Chain (ไตรมาส 3/55) 

ระบบควบคุมการผลิต - Traceability system - Shrimp Product Surveilance - Environmentally friendly Production Process Programe

มาตรฐานการรับรอง ห้องปฏิบัติการโรงงาน ISO/IEC 17025 ISO/IEC 17020 ISO Guide 65

จำนวน 87 โรง มาตรฐานการรับรอง โรงงานแปรรูป-ห้องเย็น GMP HACCP

โรงงานแปรรูป

22.06% (กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง, แปรรูป, กุ้งน้ำเย็น) 16.28% (กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง, แปรรูป) 11.27% (กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง, กุ้งแปรรูป, กุ้งน้ำเย็น) 7.79% (กุ้งน้ำเย็น) 7.40% (กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง, กุ้งแปรรูป, กุ้งน้ำเย็น) 6.40% (กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง) 29.61%

กุ้งแปรรูป 105.82 ตัน 16.29 ล้านบาท

1. Canada 2. Thailand 3. USA 4. Greenland 5. India 6. Argentina 7. อื่นๆ

- ปริมาณ - มูลค่า

กุ้งแช่เย็น-แช่แข็ง - ปริมาณ 2,756.66 ล้านตัน - มูลค่า 329.34 ล้านบาท

ไตรมาส 3/55 (ก.ค.-ส.ค. 55) ปริมาณ 2,862.48 ตัน มูลค่า 345.63 ล้านบาท เป็นกุ้งน้ำเย็น 366.63 ตัน มูลค่า 101.47 ล้านบาท

นำเข้ากุ้ง

มาตรฐาน: ประกาศนียบัตร รับรองสุขลักษณะฯ จำนวน: 141 แห่ง

สถานแปรรูปเบื้องต้น 

สหรัฐอเมริกา 36.24% ญี่ปุ่น 27.16% EU27 15.40% แคนาดา 6.47% สหราชอาณาจักร 6.73% ออสเตรเลีย 2.93% เกาหลีใต้ 2.68% ประเทศคู่แข่ง 1. เวียดนาม 2. อินโดนีเซีย 3. อินเดีย

สัดส่วนการส่งออก

สัดส่วนกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง: กุ้งแปรรูป 49.40%        50.60% กุ้งแช่เย็น-แช่แข็ง ปริมาณ 138,881.09 ตัน มูลค่า 34,437.69 ล้านบาท กุ้งแปรรูป ปริมาณ 115,887.70 ตัน มูลค่า 35,279.28 ล้านบาท

 2554 (ม.ค.-ธ.ค.) ส่งออกต่างประเทศ จำหน่าย ปริ มาณ 366,248 ตัน ในประเทศ มูลค่า 108,788 ล้านบาท ปี 2555 (ม.ค.-ก.ย. 55) ส่งออกต่างประเทศ จำหน่าย ปริมาณ 254,768 ตัน ในประเทศ มูลค่า 69,720 ล้านบาท

การค้าและการจำหน่าย

(68)


(69)

สินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ 1. ปริมาณการผลิต  Country Brunei Cambodia Indonesia Lao Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Vietnam China India Bangladesh

2009

180,000 78,000 35,000 543,000 220,000 560,000 72,261 105,000

(ตัน)

2010

2011

140,000 105,000 41,000 640,000 215,000 600,000 94,190 110,000

17,000 150,000 73,000 59,700 20,000 600,000 240,000 565,000 107,737 115,000

AEC World Rank Rank 3

4

4 5

7 8

1 2 -

1 3 2 6 5

Source: Thai Shrimp Association, *FAO/Globefish

3. มูลค่าการส่งออก

(1000 USD)

Country

2009

2010

Brunei Cambodia Indonesia Lao Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Vietnam China India Bangladesh

445 231 972,584 1 300,725 57,311 18,985 2,748,821 1,617,191

90 962 1,036,735 425,441 62,587 54,550 17,770 3,205,022 1,832,835

Source: Trademap

AEC World 2011 Rank Rank 66 10 102 4,208 8 71 1,285,895 3 5 235 9 96 482,782 4 11 98,716 5 24 62,913 6 34 22,770 7 47 3,668,028 1 1 2,062,306 2 3

2. ปริมาณการส่งออก

(ตัน)

Country

2009

2010

2011

Brunei Cambodia Indonesia Lao Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Vietnam China India Bangladesh

55 113 143,497 69,261 14,560 3,152 398,986 235,670

27 247 137,170 86,049 17,580 13,593 2,741 427,722 210,940

10 609 152,152 101 85,509 13,326 12,181 2,532 394,294 206,133

AEC World Rank Rank 10 98 8 66 3 6 9 84 4 9 5 25 6 30 7 52 1 1 2 3

Source: Trademap

4. Thailand Factsheet 2011 • เป็นประเทศผูผ้ ลิตและส่งออกสินค้ากุง้ และผลิตภัณฑ์ อันดับ 1 ของโลก • มี 30,610 ครัวเรือน อยูภ่ าคการผลิต ในพื้นที่การเลี้ยง 326,043 ไร่ • มีโรงเพาะฟัก 306 โรง ได้รบั การรับรอง มาตรฐานครบ 100% (GAP 280, CoC 26) กำลังการผลิต 75,000 ตัว/ปี (เพิ่มได้ตาม Demand) • มีฟาร์มเลีย้ ง 20,527 ฟาร์ม ผ่านการ รับรองมาตรฐาน 9,473 ฟาร์ม (GAP 9,378, CoC 95) กำลังการผลิต 500,000 ตัน/ปี (เพิม่ ได้ตาม Demand) สัดส่วนการผลิตภาคใต้ตอนล่าง 42% ภาคใต้ตอนบน 30% ภาคตะวันออก 23% ภาคกลาง 5% ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(70) • มีสถานแปรรูปเบือ้ งต้น 104 โรง (ผ่านประกาศนียบัตรรับรองสุขลักษณะ) โรงงานแปรรูปห้องเย็น 87 โรง (ผ่านมาตรฐาน GAP/HACCP) • สัดส่วนการส่งออกกุ้งแช่เย็นแช่แข็ง (47%) : กุ้งปรุงแต่ง (53%) • ประเทศคูค่ า้  USA (45.87%) JAP (22.51%) EU-27 (14.91%) CAN (6.04%) AUS (2.48%) s-Korea (2.19%) ตลาดใหม่ที่น่าสนใจ: Middle East-15, Russia, CHN+HK (1.51%), Spain (1.75%) • ประเทศคู่แข่ง  เวียดนาม อินโดนีเซีย อินเดีย เอกวาดอร์ 5. Thailand’s Shrimp Commodity Strength • มี “ยุทธศาสตร์กุ้ง” ที่เป็นแผนแม่บทในการพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้งที่ครอบคลุมในทุกด้าน และมีความพร้อมทีส่ ามารถนำมาดำเนินการปฏิบตั ไิ ด้ทนั ที รวมถึงมี Network ของภาครัฐและเอกชน ในการถ่ายทอดองค์ความรู้และข่าวสาร ครอบคลุมทุกพื้นที่ผลิตกุ้งทะเล • อุตสาหกรรมต้นน้ำ-ปลายน้ำ มีความพร้อมในการปรับใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการ เพาะเลี้ยง การจัดการฟาร์ม การเฝ้าระวังโรค รวมทั้งการแปรรูปสินค้า • อุตสาหกรรมต้นน้ำ-ปลายน้ำ มีศักยภาพ ความพร้อม และความตื่นตัวในการบริหาร จัดการตามมาตรฐานคุณภาพสากล เกิดความปลอดภัยและตรวจสอบที่มาที่ไปของสินค้าได้ และมี เครือข่ายของภาครัฐในการกำกับดูแลให้เป็นไปตามมาตรฐาน • มีผลผลิตที่สามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปเป็นสินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์อย่างเพียงพอ และสามารถเพิ่มปริมาณได้ในช่วงเวลาอันสั้นในกรณีที่ต้องการเพิ่มเติม • ผู้ประกอบการของไทยสามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์ได้หลากหลายและได้คุณภาพมาตรฐาน ตามความต้องการของประเทศคู่ค้า 6. Thailand’s Shrimp Commodity Weakness • ขาดองค์กรเฉพาะที่จะเข้ามาดูแลการพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้ง ทำให้การดำเนินงานในการ พัฒนาเชิงรุกไม่สามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยังคงต้องดำเนินการไปตามระบบราชการ ซึง่ ทำให้ เกิดความล่าช้า ไม่สามารถตัดสินใจดำเนินการได้อย่างอิสระ และขาดการสนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรมกุ้งอย่างเป็นรูปธรรม • ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้มสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตลอดสายการผลิต เนือ่ งมาจากต้นทุนอาหาร สำหรับการเลี้ยงกุ้ง พลังงาน (ไฟฟ้า-น้ำมัน) แรงงาน ค่าขนส่ง • ระบบการเคลื่อนย้ายและขนส่งวัตถุดิบกุ้งยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่การผลิต และยังมี ประสิทธิภาพไม่เพียงพอสำหรับการเคลื่อนย้ายและขนส่งสินค้าเพื่อกระจายสู่ตลาดภายในประเทศ ทำให้ต้นทุนด้าน Logistics ของสินค้าที่จะขยายตลาดภายในประเทศสูงเกินความเป็นจริง • ขาดการสร้างตราสินค้าที่เป็นของตนเอง โดยส่วนใหญ่ยังคงเป็นการผลิตสินค้าแล้วไป Re-packaging ในนามของผู้สั่งซื้อสินค้า ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(71)

กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ และอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม ในฟาร์มโคนมจังหวัดลพบุรี บทคัดย่อ กรณีศกึ ษาความสัมพันธ์ของอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์และอะฟลาทอกซิน M1 ใน น้ำนมในฟาร์มโคนมจังหวัดลพบุรี ซึง่ เป็นฟาร์มทีใ่ ช้อาหารสัตว์ทงั้ ชนิดเม็ดและชนิดผงจำนวน 120 ตัวอย่าง และเก็บตัวอย่างน้ำนมจากฟาร์มเดียวกัน จำนวน 120 ตัวอย่าง ระหว่างเดือน กรกฎาคม 2553 วิเคราะห์หาเชือ้ อะฟลาทอกซินด้วย Fluorometer และหาปริมาณอะฟลาทอกซินด้วยเครือ่ ง High Performance Liquid Chromotography (HPLC) ผลการวิเคราะห์ ไม่พบการปนเปือ้ นอะฟลาทอกซิน B1ในอาหารสัตว์ 55.83 % และพบการปนเปือ้ น 44.17 % ของจำนวนตัวอย่างอาหารสัตว์ทั้งหมด มีค่าระหว่าง 2.12 -53.34 พีพีบี (เฉลี่ย 5.7±9.64 พีพบี )ี ซึง่ มีคา่ เฉลีย่ สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ของสหภาพยุโรป (<5 พีพบี )ี แต่ไม่เกินมาตรฐานอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ของเกณฑ์มาตรฐานสหรัฐอเมริกา (<20 พีพบี )ี ส่วนการปนเปือ้ นอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม ไม่พบการปนเปือ้ น 55.0% และพบการ ปนเปือ้ น 45.0 % ของจำนวนน้ำนมทัง้ หมด มีคา่ ระหว่าง 0.02-0.97 พีพบี ี (เฉลีย่ 0.10±0.17 พีพีบี) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานอะฟลาทอกซินในน้ำนมของสหภาพยุโรป (<0.05 พีพีบี) แต่ไม่เกินมาตรฐานอะฟลาทอกซินในน้ำนมของเกณฑ์มาตรฐานสหรัฐอเมริกา (<0.5 พีพบี )ี และไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานของประเทศไทย (<20.0 พีพบี )ี ผลการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ B1 และอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมมีความสัมพันธ์กัน (R2) 50.71% และอาจมีปัจจัยอื่นนอกเหนือจาก อะฟลาทอกซินที่ตรวจพบในอาหารสัตว์ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย จากผลการศึกษาครั้งนี้ น่าจะเป็นประโยชน์ที่จะนำไปปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานการ ปนเปื้อนอะฟลาทอกซินในอาหารและนมเพื่อให้สอดคล้องกับนานาประเทศได้ เพื่อให้ผู้ผลิต น้ำนมและเกษตรกรได้รับความรู้และข้อมูลเพื่อการพัฒนาการเลี้ยงโคนมเพื่อลดระดับการ ปนเปื้อนอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์และนม เพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัยให้กับผู้ บริโภคต่อไป ศยามล พวงขจร 2555: กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ และอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมในฟาร์ม โคนมจังหวัดลพบุรี ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสัตวศาสตร์ โครงการสหวิทยาการบัณฑิตศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หลัก: รองศาสตราจารย์สมชาย สุวรรณประดิษฐ์, Ph.D. ติดต่อผู้นิพนธ์ : e-mail add.: sya0921@hotmail.com ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(72)

Abstract Study on Correlation of Aflatoxin B1 in Dairy Feed and Aflatoxin M1 in Milk in Lobburi province was conducted in 120 dairy farms. Samples of feed and milk were collected at the same farm, and the same period in July 2010 for laboratory test using fluorometry and High Performance Liquid Chromotography (HPLC).The results revealed that 55.83% of 120 dairy feed samples was not detected Aflatoxin B1 in those samples, but 44.17% was found Aflatoxin B1 between 2.12-53.34 ppb. (average 5.7±9.64 ppb.) the level of Aflatoxin B1 in feed was higher than the minimum level of Aflatoxin B1 in European Union (<0.5 ppb.) but was lower than the level of the USA. (<20.0 ppb.) Fifty-five percent of 120 milk samples was negative against Aflatoxin M1, but 45% was found Aflatoxin M1 between 0.02-0.97. (average 0.10±0.17 ppb.). The level of Aflatoxin M1 in milk was higher than the regulatory in European Union (<0.05 ppb.) but was lower than the level limit of USA. (<0.5 ppb.) and Thai regulation (<20.0 ppb.). The result of study indicated that there was trend of significant correlation between Aflatoxin B1 in Dairy Feed and Aflatoxin M1 in Milk (R2=50.71%). However there are other factors also involve with Aflatoxin M1 in Milk. The Results of this study will be useful to revise the minimum level of Aflatoxin B1 in feed and Aflatoxin M1 in milk to comply with international standards. Farmers should be educated and gain more information about Aflatoxin contamination in feed and milk to reduce the risk and ensure the safety of consumers.

บทนำ อะฟลาทอกซิน (aflatoxin) เป็นสารพิษชนิดหนึง่ ผลิตโดยเชือ้ รากลุม่ Aspergillus flavas และ Aspergillus parasiticus มักพบปนเปื้อนอยู่ในวัตถุดิบทางการเกษตรที่ใช้เป็นอาหารของคนและ สัตว์ เชื้อราสามารถเจริญที่อุณหภูมิต่ำกว่า 7.5 หรือสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส และผลิตสารพิษ ได้มากทีส่ ดุ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส อุณหภูมทิ เี่ หมาะสมในการผลิตสารพิษอยูใ่ น ช่วง 24-28 องศาเซลเซียส (อนงค์, 2546) อะฟลาทอกซินที่พบจากการปนเปื้อนในอาหารสัตว์แบ่งเป็น 4 ชนิด ได้แก่ อะฟลาทอกซิน B1 B2 G1 และ B2 (Cotty,1994) โดยส่วนใหญ่แล้วจะพบอะฟลาทอกซิน B1 มากที่สุดเป็นชนิดที่มีความเป็นพิษและเป็นสารก่อมะเร็งที่รุนแรงที่สุด (Eaton and Groopman, 1994) ผลจากความเป็นพิษของอะฟลาทอกซินทีเ่ ด่นชัดคือเป็นพิษรุนแรงต่อตับ ทําให้เกิดมะเร็งทีต่ บั นอกจากจะมีผลกระทบต่อสัตว์แล้วยังส่งผลกระทบทําให้เกิดความเป็นพิษกับคนได้อีก (Nelson et ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555




(73) al.,1993) เพราะสารพิษอะฟลาทอกซินเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนแปลงเมตาโบไลท์ทางเคมีเป็น อะฟลาทอกซิน M1 และมีความเป็นพิษเป็นสารก่อมะเร็ง (Eaton and Groopman, 1994) ก่อให้เกิด พิษรุนแรงต่อตับ ซึ่งหน่วยงาน International Agency for Research on Cancer ได้จัดให้ อะฟลาทอกซิน M1 อยู่ในกลุ่มที่ 1 คือ ก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์ ซึ่งสหภาพยุโรปได้ให้ความสำคัญ เกี่ยวกับปัญหาการปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมเป็นอย่างมาก จึงกำหนดมาตรฐานการ ปนเปื้อนไม่เกิน 0.05 พีพีบี (EC, 2003) และประเทศสหรัฐอเมริกากำหนดมาตรฐานการปนเปื้อน ไม่เกิน 0.5 พีพบี ี [U.S.FDA], 1994) ส่วนของประเทศไทยได้กำหนดมาตรฐานการปนเปือ้ นอะฟลาทอกซิน ในอาหารรวมถึงนมได้ไม่เกิน 20 พีพีบี (กระทรวงสาธารณสุข [สธ.], 2529) ซึ่งนับว่ายังสูงกว่า ประเทศอืน่ อีกมาก อาจส่งผลกระทบต่อผูบ้ ริโภคโดยตรง โดยเฉพาะในเด็กทีบ่ ริโภคนมเป็นอาหารหลัก หากได้รบั อะฟลาทอกซินเกินระดับ (Tolerable daily intake) 0.2 พีพเี อ็ม /น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน จะก่อให้เกิดความเป็นพิษในเด็กได้ (Prandini et.al.,2009) พีพีบี

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณสารพิษอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารโคนมและปริมาณ สารพิษอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมหลังจากโคกินอาหารในฟาร์มโคนมในท้องที่จังหวัดลพบุรี

วิธีการ 1. ศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณสารพิษอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารโคนมและปริมาณ สารพิษอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมหลังจากโคกินอาหารในฟาร์มโคนมในท้องที่จังหวัดลพบุรี 1.1 เก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ ในฟาร์มโคนมในท้องที่ อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี จำนวน 120 ฟาร์ม โดยสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารโคนมจากฟาร์มที่ใช้อาหารสัตว์ชนิดเม็ดและฟาร์มที่ใช้อาหารสัตว์ ชนิดผง รวม 120 ตัวอย่าง โดยการเก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ในปริมาณ 500 กรัม/1 ตัวอย่าง/ 1 ฟาร์ม จากกระสอบทีเ่ ปิดใหม่ใส่ถงุ พลาสติกใสมีซปิ รูดปิดปากถุง แล้วนำถุงพลาสติกใส่ซองกระดาษ สีนำ้ ตาล ปิดผนึกเพือ่ ป้องกันการถูกความร้อนจากแสงแดด โดยมีการระบุรายละเอียด ชือ่ -ทีอ่ ยูฟ่ าร์ม ชนิดอาหารสัตว์ วันที่ผลิตอาหารสัตว์ วันที่เก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ และผู้เก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ ส่งตัวอย่างเข้าห้องปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์ทันที กรณีที่ไม่สามารถวิเคราะห์ อาหารสัตว์ได้ทัน จะมีการเก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ที่เก็บมาจากฟาร์มในห้องเก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ ที่มีการควบคุมอุณหภูมิไว้ไม่มากกว่า 24 องศาเซลเซียส นำตัวอย่างอาหารสัตว์ไปตรวจวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณของสารพิษอะฟลาทอกซิน ด้วยวิธี Immuno affinity column ตามวิธกี ารวิเคราะห์ของ AOAC (Official Method of Analysis, 1995) ใช้ Immuno affinity column ในขั้นตอน Clean up สารละลายตัวอย่าง และตรวจวัดโดยใช้ Fluorometer เพือ่ ตรวจสอบการพบอะฟลาทอกซินเบือ้ งต้นพร้อมยืนยันผลในการหาชนิดและปริมาณ อะฟลาทอกซินด้วยเครื่องมือ High Pressure Liquid Chromatography (HPLC) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(74) 1.2 เก็บตัวอย่างน้ำนมดิบจากโคกำลังให้นม ในท้องที่ อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี จำนวน 120 ฟาร์ม จำนวน 120 ตัวอย่าง จากฟาร์มที่ใช้อาหารสัตว์ชนิดเม็ดและฟาร์มที่ใช้อาหารสัตว์ ชนิดผง โดยการเก็บตัวอย่างน้ำนมดิบในปริมาณ 100 มิลลิลิตร/1 ตัวอย่าง/1 ฟาร์ม จากถังเก็บ น้ำนมรวมในฟาร์มจากการรีดนมในช่วงเวลาเช้าใส่หลอดพลาสติกขนาด 100 มิลลิลิตร ปิดฝาให้ สนิทโดยมีการระบุรายละเอียด ชื่อฟาร์ม วันที่เก็บน้ำนม เก็บหลอดเก็บน้ำนมในถุงพลาสติกสองชั้น ไม่ให้น้ำซึมเข้าถึง เก็บไว้ในกล่องเก็บความเย็นที่อุณหภูมิ 0–4 องศาเซลเซียส ส่งตัวอย่างเข้าห้อง ปฏิบัติการที่สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ เพื่อวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์ ทันที ตรวจวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณของสารพิษอะฟลาทอกซิน ด้วยวิธี Immuno affinity column ตามวิธีการวิเคราะห์ของ AOAC (Official Method of Analysis,1995) ใช้ Immuno affinity column ในขั้นตอน Clean up สารละลายตัวอย่าง พร้อมหาชนิดและปริมาณ อะฟลาทอกซินด้วยเครื่องมือ High Performance Liquid Chromatography (HPLC)

ผลการทดลอง ระดับอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์และระดับอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม จากผลการวิเคราะห์อาหารสัตว์ทงั้ ชนิดเม็ดและผงจำนวนทัง้ หมด 120 ตัวอย่าง ไม่พบมีการ ปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ จำนวน 67 ตัวอย่าง คิดเป็น 55.83% ของจำนวน ตัวอย่างอาหารสัตว์ทั้งหมด และพบมีการปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ จำนวน 53 ตัวอย่าง คิดเป็น 44.17% ของจำนวนตัวอย่างอาหารสัตว์ทั้งหมด โดยปริมาณที่พบสูงสุดเท่ากับ 53.34 พีพีบี ซึ่งมีค่าเฉลี่ยของปริมาณอะฟลาทอกซิน B1 เท่ากับ 5.7 พีพีบี ซึ่งมีค่าเฉลี่ยที่พบนั้น สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานค่าอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ของสหภาพยุโรปยอมรับได้ไม่เกิน 5 พีพีบี (EC, 2003) แต่ไม่เกินค่ามาตรฐานอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ของเกณฑ์มาตรฐานสหรัฐอเมริกา ซึ่งยอมรับได้ที่ระดับไม่เกิน 20 พีพีบี (US.FDA, 1994) และไม่เกินค่ามาตรฐานประเทศไทยที่ ยอมรับได้ไม่เกิน 200 พีพีบี (สธ., 2529) ส่วนการปนเปือ้ นอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม จำนวนทัง้ หมด 120 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปือ้ น 66 ตัวอย่าง คิดเป็น 55.0% ของตัวอย่างน้ำนมทั้งหมด และพบการปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม จำนวน 54 ตัวอย่าง คิดเป็น 45.0% ของตัวอย่างน้ำนมทั้งหมด โดยปริมาณที่พบสูงสุด เท่ากับ 0.97 พีพีบี และมีค่าเฉลี่ยของปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม เท่ากับ 0.10 พีพีบี ซึ่งค่าเฉลี่ยที่พบมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานค่าอะฟลาทอกซินในน้ำนมของสหภาพยุโรปยอมรับได้ที่ ระดับไม่เกิน 0.05 พีพีบี (EC, 2003) แต่ต่ำกว่าค่ามาตรฐานอะฟลาทอกซินในน้ำนมของเกณฑ์ มาตรฐานสหรัฐอเมริกา ซึ่งยอมรับได้ที่ระดับไม่เกิน 0.5 พีพีบี (US.FDA, 1994) และต่ำกว่าค่า มาตรฐานของประเทศไทยที่กำหนดไว้ไม่เกิน 20 พีพีบี (สธ., 2529) (ตารางที่ ) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(75) ตารางที่  แสดงระดับอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์และระดับอะฟลาทอกซินในน้ำนม ลักษณะ

อาหารสัตว์ 120 67 (55.83) 53 (44.17) 2.12 53.34 5.7±9.64

จำนวนตัวอย่าง ตรวจไม่พบ, จำนวน (%) ตรวจพบ, จำนวน (%) ปริมาณต่ำสุด, พีพีบี ปริมาณสูงสุด, พีพีบี ปริมาณเฉลี่ย, พีพีบี

ชนิดตัวอย่าง

น้ำนม 120 66 (55.0) 54 (45.0) 0.02 0.97 0.10±0.17

เมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ Regression (R2) เส้นตรงธรรมดา โดยกำหนดให้อะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์เป็นตัวแปรอิสระ (x) และอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมเป็นตัวแปรตาม (y) สมการที่คาดคะเน ดังนี้ จากสมการ

y = x = y = 2 (R ) = ** =

0.0091x** + 0.0549 ระดับอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ ระดับอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม 0.2571 (P<0.01)

จากสมการสามารถสรุปได้ว่า อะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ มีผลต่ออะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม 25.71% ส่วนค่าสัมประสิทธิ์ (Regression) เท่ากับ 0.0091 อธิบายได้วา่ ถ้าอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์เพิม่ ขึน้ 1 พีพบี ี จะมีผลทำให้อะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม เพิม่ ขึน้ 0.0091 พีพบี ี ซึ่งทั้งสองค่ามีความสัมพันธ์กัน (R2) 50.71% (P<0.01) (กราฟที่ ) กราฟที่  กราฟแสดงความสัมพันธ์ของอะฟลาทอกซิน B1ในอาหารสัตว์ที่มีต่อระดับอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(76)

วิจารณ์ผลการทดลอง ชนิดอาหารสัตว์ต่อระดับอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์และน้ำนม จากการศึกษาพบว่า เมือ่ สัตว์กนิ อาหารทีม่ กี ารปนเปือ้ นอะฟลาทอกซิน B1 เมือ่ เข้าสูร่ า่ งกายแล้ว จะถูกเปลีย่ นเป็นอะฟลาทอกซิน M1 ซึง่ สามารถถูกขับออกทางน้ำนมได้ (Eaton and groopman, 1994) ซึ่งฟาร์มโคนมที่ใช้อาหารสัตว์ชนิดเม็ด มีปริมาณอะฟลาทอกซิน B1 ปนเปื้อนน้อยกว่าอาหารสัตว์ ชนิดผง ส่งผลให้ปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมโคที่ได้รับอาหารสัตว์ชนิดเม็ด พบน้อยกว่า น้ำนมของโคทีไ่ ด้รบั อาหารสัตว์ชนิดผงด้วย โดยในกลุม่ ของอาหารสัตว์ชนิดผง มีปริมาณอะฟลาทอกซิน B1 เฉลี่ย 6.83 พีพีบี แต่ในขณะที่กลุ่มของอาหารสัตว์ชนิดเม็ด มีปริมาณอะฟลาทอกซิน B1 เฉลี่ย 0.62 พีพีบี ซึ่งจะเห็นได้ว่าผลวิเคราะห์ปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ของน้ำนมของโคที่ได้รับอาหาร สัตว์ชนิดผงที่เกษตรกรนำวัตถุดิบมาผสมให้สัตว์กินเองนั้น มีค่าเฉลี่ย 0.12 พีพีบี สูงกว่าผลการ วิเคราะห์ปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมของโคที่ได้รับอาหารสัตว์ชนิดเม็ด ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.02 พีพีบี อย่างไรก็ตาม จากการประเมินพบว่าการปนเปือ้ นอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม มาจากอาหารสัตว์ โดยตรง ซึ่งฟาร์มโคนมที่ใช้อาหารสัตว์ชนิดเม็ดจะมีความเสี่ยงจากการปนเปื้อนอะฟลาทอกซินใน อาหารสัตว์นอ้ ยกว่าฟาร์มโคนมทีใ่ ช้อาหารสัตว์ชนิดผง เนือ่ งจากอาหารสัตว์เม็ดทีน่ ำมาใช้นนั้ มีการ ใช้ความร้อนในการอัดเม็ดอาหารสัตว์ ซึ่งอาจจะช่วยลดปัจจัยในการเกิดความชื้น ที่จะก่อให้เกิดการ สร้างเชื้อราในตัวอาหารสัตว์ได้ และโรงงานผลิตอาหารสัตว์ชนิดเม็ด มีการผลิตจากโรงงานที่ได้รับ การรับรองระบบการปฏิบัติที่ดีในการผลิตอาหารสัตว์ (Good Manufacturing Practices, GMP) หรือโรงงานที่ยังไม่ได้รับการรับรองระบบ GMP แต่มีการจัดการที่ดีในด้านการควบคุมคุณภาพ วัตถุดบิ แต่ฟาร์มโคนมทีใ่ ช้อาหารสัตว์ชนิดผงนัน้ มีทงั้ การซือ้ วัตถุดบิ แต่ละชนิดมากองเป็นชัน้ ๆ และ ผสมเองทีละส่วน ก่อนทีจ่ ะนำไปใช้เลีย้ งสัตว์ หรือฟาร์มทีซ่ อื้ วัตถุดบิ เองแล้วจ้างโรงงานผลิตอาหารสัตว์ รายย่อยให้ผสมอาหารสัตว์ให้ หรือโรงงานรับซื้อวัตถุดิบมาเก็บไว้ แล้วส่งขายให้กับเกษตรกร ซึ่ง อาจจะไม่มีการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ระหว่างการใช้ สถานที่เก็บอาหารสัตว์ไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สามารถควบคุมความชืน้ ในอาหารสัตว์ได้ ไม่มกี ารจัดลำดับการใช้กอ่ น-หลัง ทำให้วตั ถุดบิ ทีน่ ำมาใช้ บางตัวเสือ่ มคุณภาพ ส่งผลให้แนวโน้มของข้อมูลทีไ่ ด้พบว่าในอาหารสัตว์ชนิดผงมีระดับอะฟลาทอกซิน B1 สูงกว่าในอาหารสัตว์เม็ด และส่งผลให้มีระดับ อะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมของโคที่ได้รับ อาหารสัตว์ผงมีแนวโน้มสูงกว่าน้ำนมของโคทีไ่ ด้รบั อาหารสัตว์เม็ดด้วยดังกล่าว นอกจากนี้ อาจจะมี ปัจจัยอื่นๆ ร่วมด้วย ได้แก่ การจัดการฟาร์ม สายพันธุ์ อายุโครีดนม และสุขภาพของโคนม เองด้วย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(77)

สรุปผลการทดลอง กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของอะฟลาทอกซิน B 1 ในอาหารสัตว์และอะฟลาทอกซิน M 1 ในน้ำนม ในฟาร์มโคนมจังหวัดลพบุรี ซึ่งเป็นฟาร์มที่ใช้อาหารสัตว์ทั้งชนิดเม็ดและชนิดผงจำนวน ทั้งหมด 120 ตัวอย่าง และเก็บตัวอย่างน้ำนมจากฟาร์มเดียวกัน จำนวน 120 ตัวอย่าง จากผล การวิเคราะห์ การปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 67 ตัวอย่าง คิดเป็น 55.83% ของตัวอย่างอาหารสัตว์ทั้งหมด และพบการปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ จำนวน 53 ตัวอย่าง คิดเป็น 44.17% ของตัวอย่างอาหารสัตว์ทั้งหมด โดยปริมาณที่พบสูงสุดเท่ากับ 53.34 พีพีบี และมีค่าเฉลี่ยของปริมาณอะฟลาทอกซิน B1 เท่ากับ 5.7 พีพีบี ซึ่งมีค่าเฉลี่ยที่พบมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ของสหภาพ ยุโรปยอมรับได้ไม่เกิน 5 พีพีบี แต่ไม่เกินค่ามาตรฐานอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ของเกณฑ์ มาตรฐานสหรัฐอเมริกา ซึ่งยอมรับได้ที่ระดับไม่เกิน 20 พีพีบี และไม่เกินค่ามาตรฐานของประเทศ ไทยที่ยอมรับได้ไม่เกิน 200 พีพีบี ส่วนการปนเปือ้ นอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม จำนวนทัง้ หมด 120 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปือ้ น 66 ตัวอย่าง คิดเป็น 55.0% พบการปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม จำนวน 54 ตัวอย่าง คิดเป็น 45.0% ของตัวอย่างน้ำนมทั้งหมด โดยปริมาณที่พบสูงสุดเท่ากับ 0.97 พีพีบี มีค่า เฉลี่ยของปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม เท่ากับ 0.10 พีพีบี ซึ่งค่าเฉลี่ยมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐานค่าอะฟลาทอกซินในน้ำนมของสหภาพยุโรปยอมรับได้ที่ระดับไม่เกิน 0.05 พีพีบี แต่ ไม่เกินค่ามาตรฐานอะฟลาทอกซินในน้ำนมของเกณฑ์มาตรฐานสหรัฐอเมริกา ซึ่งยอมรับได้ที่ระดับ ไม่เกิน 0.5 พีพีบี และไม่เกินค่ามาตรฐานของประเทศไทยที่ยอมรับได้ไม่เกิน 20 พีพีบี ผลวิเคราะห์การปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม พบว่าฟาร์มโคนมที่ใช้อาหารสัตว์ ชนิดเม็ด มีปริมาณอะฟลาทอกซินปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน M1 น้อยกว่าฟาร์มโคนมที่ใช้อาหารสัตว์ ชนิดผง ส่งผลให้ปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมโคที่ได้รับอาหารสัตว์ชนิดเม็ด มีน้อยกว่า น้ำนมของโคที่ได้รับอาหารสัตว์ชนิดผงด้วย โดยในฟาร์มโคนมที่มีการใช้อาหารสัตว์ชนิดผงมี ปริมาณอะฟลาทอกซินเฉลี่ย สูงถึง 6.83 พีพีบี แต่ในขณะที่ฟาร์มโคนมที่มีการใช้อาหารสัตว์ชนิด เม็ดมีปริมาณอะฟลาทอกซินเฉลี่ย 0.62 พีพีบี ซึ่งจะเห็นได้ว่าผลวิเคราะห์ปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมของโคที่ได้รับอาหารสัตว์ชนิดผงที่เกษตรกรนำวัตถุดิบมาผสมให้สัตว์กินเองนั้น มี ค่าเฉลี่ย 0.12 พีพีบี ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของปริมาณอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมของโคที่ได้รับ อาหารสัตว์ชนิดเม็ด ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.02 พีพีบี เมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ แบบ Regression (R 2) เส้นตรงธรรมดา สามารถสรุปได้ว่า อะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารสัตว์ มีผลต่ออะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมเท่ากับ 25.71% ส่วนค่าสัมประสิทธิ์ Regression (R2) เท่ากับ 0.0091 อธิบายได้ว่า ถ้าอะฟลาทอกซิน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(78) B1 ในอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น 1 พีพีบี จะมีผลทำให้อะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนมเพิ่มขึ้น 0.0091 พีพีบี ซึ่งทั้งสองค่ามีความสัมพันธ์กัน 50.71% ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01) ซึ่งอาจจะมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลต่อการเกิดการปนเปื้อนอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ และ ในน้ำนมได้

ข้อเสนอแนะ 1. การศึกษาความสัมพันธ์ของปริมาณสารพิษอะฟลาทอกซิน B1 ในอาหารโคนมและปริมาณ สารพิษอะฟลาทอกซิน M1 ในน้ำนม ครั้งนี้เป็นกรณีศึกษาเฉพาะในจังหวัดลพบุรีเท่านั้น ซึ่งไม่ได้ เป็นตัวแทนของภาพรวมของประเทศไทยทั้งหมด ซึ่งน่าจะมีศึกษาให้ครอบคลุมกับเกษตรผู้เลี้ยง โคนมทั้งหมด เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและแม่นยำมากยิ่งขึ้น 2. ภาครัฐควรให้ความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายของอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์และ น้ำนมเพื่อให้เกษตรกรตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในฐานะผู้ผลิตขั้นต้นให้มากกว่าที่ เป็นอยู่ และเลือกใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ใหม่ ความชื้นต่ำ ในกรณีที่ต้องผสมอาหารสัตว์ใช้เอง หรือใช้อาหารสัตว์ผสมสำเร็จรูปชนิดเม็ด จากผูผ้ ลิตทีไ่ ด้รบั การรับรองระบบ Good Manufacturing Practice เพื่อลดความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนเชื้ออะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์ 3. ภาครัฐควรสนับสนุนให้เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งโคนมได้นำมาตรฐานฟาร์ม (Good Manufacturing Practice) มาใช้อย่างยั่งยืนเพื่อลดระดับการปนเปื้อนของอะฟลาทอกซินในอาหารสัตว์และน้ำนม และมีการประกันราคาน้ำนมดิบเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับเกษตรกรในการพัฒนาระบบการ ผลิตให้มีประสิทธิภาพต่อไป

เอกสารอ้างอิง กระทรวงสาธารณสุ ข . 2529. ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบั บ ที่ 98/2529 เรื่ อ ง มาตรฐาน อาหารที่มีสารปนเปื้อน. ราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ เล่มที่ 103 ตอนที่ 23 ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 กองควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์. 2543. การแก้ไขปัญหาอะฟลาทอกซินในอาหารโคนมตาม โครงการแก้ไขปัญหาอะฟลาทอกซินในอาหารและอาหารสัตว์แบบครบวงจร ในส่วนรับผิดชอบของ กรมปศุสัตว์ ปีงบประมาณ 2539-2543 หน้า 61-87. กองควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์. 2542. พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2525 และฉบั บ ที่ 2 ที่ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม พ.ศ. 2542. โรงพิ ม พ์ ชุ ม นุ ม สหกรณ์ ก ารเกษตรแห่ ง ประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร. หน้า 153-154 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


(79) อนงค์ บิณฑวิหก. 2546. สารพิษจากเชื้อรา อะฟลาทอกซิน คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 1 โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร. Allcroft, R. 1969. Aflatoxicosis in farm animals. In: Aflatoxin scientific background, control and implications, edited by L.A. Goldblatt. Academic Press, New York, USA. 237-264. Chia Yang Chen, Wen Jiun Li and Kai Yao Peng. 2005. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 53: 8474-8480 Cotty, P.J., Bayman, P., Egel, D.S., Elias, K.S., 1994. Agriculture, aflatoxins and Aspergillus. In: Powel, K.A., Renwick, A., Peverdy, J.F. (Eds.). The Genus Aspergillus: from taxonomy and genetics to industrial application. Plenum Press, New York. pp. 1–27. Eaton,D.L. and Groopman,J.D. 1994. The Toxicology of Aflatoxins: Human Health,Veterinary, and Agricultural Significant, Sandiego CA, Academic Press. European Commission 2002. DIRECTIVE 2002 / 32 / EC of the European parliament and of the couneil of 7 May 2002 on undesirable substances in animal feed ANNEXI Commission Directive 2003/100/EC of 31 October 2003 L. 285 p 33. IARC. 2002. Traditional Herbal Medicines. Some Mycotoxins, Napthalene and Styrene. Monograph on the Evaluation of Carcinogen Risk to Humans. International Agency for Research for Cancer. Lyon. 82 Nelson, P.E. Desjardins, A.E. and Plattner, R.D. 1993. Fumonisins, mycotoxins produced by Fusarium species: Biology, chemistry and significance. Ann. Rev. Phytopathol. 31: 233-249. Prandini A, Tansini G, Sigolo S, Filippi L, Laporta M, Piva G., 2009. On the Occurrence of Aflatoxin M1 in Milk and Dairy Product.Food Chem Toxicol. 47: 984-991 US Food and Drug Administration, Action Levels for Aflatoxins in Animal Feeds. 1994. FD Compliance Policy Guide, pp 384-385, Sec. 683.100.

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 146 กันยายน-ตุลาคม 2555


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22.

บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัด บริษัท ลีโก้ อินสตรูเมนท์ส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โกรเบสท์ คอร์ โพเรชั่น จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท บี เอ เอส เอฟ จำกัด บริษัท แอนิมัล ซัพพลีเมนท์ แอนด์ ฟาร์มาซูติคอล จำกัด บริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่แอนด์เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษัท เคมิน อินดัสตรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เอวอร์นิค (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท เวท อะกริเทค จำกัด บริษัท เวอร์แบค (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เอ็น ซี ซี เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จำกัด บริษัท ที ซี ยูเนียน อโกรเทค จำกัด

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2247-7000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-2819-8790-7 โทร. 0-2886-4350 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2279-7534 โทร. 0-3488-6140-46 โทร. 0-2204-9455 โทร. 0-2937-4888 โทร. 0-2910-9728-29 โทร. 0-2938-1406-8 โทร. 0-2784-7900 โทร. 0-2575-5777-86 โทร. 0-2193-8288-90 โทร. 0-2203-4245 โทร. 0-2476-0674-82




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.