วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ TFMA E-Magazine 143

Page 1



รายนามสมาชิก

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 1. บมจ. กรุงไทยอาหารสัตว์ 2. บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด 3. บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด 4. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด 5. บมจ. ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ ไพรส์ 6. บมจ. ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ 7. บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด 8. บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด 9. บมจ. อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย 10. บมจ. เบทาโกร 11. บริษัท ซี.เอ็น.พี. อาหารสัตว์ จำกัด 12. บมจ. กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร 13. บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด 14. บริษัท ลีพ ัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด 15. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อีสาน 16. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 17. บริษัท โกรเบสท์คอร์ โพเรชั่น จำกัด 18. บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 19. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร 20. บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด 21. บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด 22. บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด 23. บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด 24. บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด 25. บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด 26. บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด 27. บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด 28. บริษัท เหรียญทองฟีด (1992) จำกัด

29. บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด 30. บริษัท บี.พี. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 31. บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด 32. บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด 33. บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด 34. บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด 35. บริษัท ซันฟีด จำกัด 36. บริษัท ยูนโี กร อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 37. บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด 38. บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด 39. บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด 40. บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด 41. บมจ. บางกอกแร้นซ์ 42. บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด 43. บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด 44. บมจ. กรุงเทพโปรดิ๊วส 45. บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด 46. บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด 47. บริษัท ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ จำกัด 48. บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด 49. บริษัท บุญพิศาล จำกัด 50. บริษัท เฮกซ่า แคลไซเนชั่น จำกัด 51. บริษัท บีทจี ี ฟีดมิลล์ จำกัด 52. บริษัท หนองบัวฟีดมิลล์ จำกัด 53. บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด 54. บริษัท โกล์ด คอยน์ สเปเชียลลิตี้ (ประเทศไทย) จำกัด 55. บริษัท แม่ทา วี.พี. ฟีดมิลล์ จำกัด 56. บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด

อภินันทนาการ


คณะกรรมการ

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประจำปี 2554-2555 1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล 2. นายนพพร วายุโชติ 3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ 4. นายไพศาล เครือวงศ์วานิช 5. นางเบญจพร สังหิตกุล 6. นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ 7. นายประกิต เพียรศิริภิญโญ 8. นายโดม มีกุล 9. นายศักดิ์ชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล 10. นายสถิตย์ บำรุงชีพ 11. นายวีรชัย รัตนบานชื่น 12. นางภัทนีย เล็กศรีสมพงษ์ 13. นายวิทิต ภูธนทรัพย์ 14. นายอุทัย ตันติพิมลพันธ์ 15. นายสุนทร ตันทนะเทวินทร์ 16. นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ 17. นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง 18. นายวิชัย คณาธนะวนิช ย์ 19. นายวิศิษฐ คณาธนะวนิช ย์ 20. นายสุจิน ศิริมงคลเกษม 21. นายวราวุฒิ วัฒนธารา 22. นายเชฎฐพล ดุษฎีโหนด 23. นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์

นายกสมาคม อุปนายก คนที่ 1 อุปนายก คนที่ 2 อุปนายก คนที่ 3 เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคเหนือ เกษตรอุตสาหกรรม จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท บี พี ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพ ัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด


วิกฤต ความแห้งแล้ง ภัยธรรมชาติที่โหดร้าย ทำลาย ระบบเศรษฐกิ จ ตามมาอย่ า งมากมาย ความเสี ย หายที่ เกิ ด ขึ้ น กระทบต่ อ เนื่ อ งไปทั่ ว โลกที่ มี ก ารเชื่ อ มโยงการค้ า ระหว่างประเทศ อย่างที่เรียกว่า โลกแคบ ที่ทุกหน่วยธุรกิจ ทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั ผลกระทบจากการพึง่ พาทรัพยากรธรรมชาติ จากทั่วทุกมุมโลก เมื่อที่ใดเกิดความเสียหาย ย่อมส่งผลให้อีกมุมหนึ่งที่พึ่งพา ทำให้ ต้องได้รับผลกระทบอย่างมากมายตามมา ดังนั้น การพึ่งพาตนเอง บนความพอเพียง และการเตรียมรับสถานการณ์ต่างๆ ต้องพร้อมและรับมือให้ได้ จึงจะเอาตัวรอดได้

บรรณาธิการ

แถลง

วิกฤต ยูโรโซน ก็เป็นอีกวิกฤต ที่ต้องเตรียมรับมือ เพราะตลาดสำคัญที่ไทยต้อง พึ่งพาการส่งออกไปก็ยังมีหลายสินค้า ทั้งไก่ กุ้ง และมันสำปะหลัง ดังนั้น การติดตาม อย่างใกล้ชิดของหน่วยงานภาครัฐ จึงมีบทบาทสำคัญที่ต้องให้ข้อมูลที่รวดเร็ว มุมมองของนายกสมาคมภาคปศุสัตว์ ที่มองแนวโน้มธุรกิจปศุสัตว์ ปีนี้ ปีหน้า ยังหนาวๆ กันอยู่ แล้วใครจะมาช่วยได้ นอกจาก ตัวใครตัวมัน อย่างหวังรอความ ช่วยเหลือจากภาครัฐ เพียงหวังว่า ภาครัฐอย่ามารังแก ก็เพียงพอแล้ว การเปิดตลาดอาเซียนเป็นหนึ่งเดียว ใกล้เข้ามา ทุกหน่วยงานต่างเตรียมพร้อม ภาคปศุสัตว์ก็ต้องพร้อม แต่ก็คงต้องเหนื่อยมาก เพราะประเทศเพื่อนบ้านต่างก็เร่งมือ กันอย่างมาก จากที่ประเทศไทยเคยเป็นผู้นำเหนือชั้นอย่างมาก แต่ต่อไปนี้ อาจจะ ต้องถูกเบียดเข้ามาจากหลายประเทศ ซึ่งประเทศพัฒนาแล้ว จะมาใช้ประโยชน์เป็น ฐานการผลิตที่สำคัญ และอาศัยความได้เปรียบด้านวัตถุดิบที่กำลังพัฒนาเพิ่มขึ้นและ กฎระเบียบของภาครัฐแต่ละประเทศ ความมัน่ คงทางการเมือง วิสยั ทัศน์ทางธุรกิจ การ ส่งเสริมการลงทุนระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน ความปลอดภัยทางด้านอาหาร จะเป็นตัวชีว้ ดั ว่า อนาคตภาคปศุสัตว์จะไปรอดและยังคงเป็นอันดับหนึ่งในภูมิภาคนี้ตลอดไปหรือไม่ ต้องคอยติดตามอย่างใกล้ชิด.... คอยดู.... บก.


วารสารธุ ร กิ จ อาหารสั ต ว์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศ ให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

ปีที่ 29

Vol.

143

มีนาคม-เมษายน 2555

สารบัญ

เตือนภัยสินค้าเกษตรและอาหาร 2555 ............................... 5 วิกฤตเศรษฐกิจยูโรโซนที่มีผลกระทบต่อสินค้าเกษตร กุ้ง ............................................................................................................ 14 ไก่แปรรูป .......................................................................................... 27 มันสำปะหลัง ................................................................................ 39 มุมมองตลาดสินค้าปศุสัตว์และสัตว์ปีก ............................ 47 สรุปรายงานการเข้าร่วมงานสัมมนา รู้ทันสถานการณ์หมู-ไก่ ปีมังกรทอง ........................ 53 การควบคุมสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยง เพื่อลดความเสี่ยงจากโรคขี้ขาว .................................... 60 ข้อมูลนำเข้ากุ้ง 2 ตลาดใหญ่ .................................................. 64 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ................................. 65 ขอบคุณ ..................................................................................................... 80

ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายนพพร วายุโชติ นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายณรงค์ศักดิ์ โชวใจมีสุข นายณัฐพล มีวิเศษณ์ นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 889 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 www.thaifeedmill.com พิมพ์ที่ : ธัญวรรณการพิมพ์ 800/138 หมู่บ้านริเวอร์ปาร์ค ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 โทร. 0-2536-5311, 0-2990-1568 โทรสาร 0-2990-1568




(5)

เตือนภัยสินค้าเกษตรและอาหาร 2555 ACFS EARLY WARNING 2012

เชื้อซัลโมเนลลา : สหภาพยุโรป Salmonella วันที่ผลบังคับใช้ ลักษณะมาตรการ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ

: : : :

EU 1 ธันวาคม 2554 มาตรฐานเชื้อซัลโมเนลลา เนื้อสัตว์ปีกสด

ความเป็นมา เมื่อปลายปี 2553 สหภาพยุโรปออกกฎระเบียบ EC No.2160/2003 ซึ่งเกี่ยวข้องกับเชื้อ ซัลโมเนลลาในสัตว์ปีกสด

สาระสำคัญ ในกฎระเบียบนี้ระบุข้อกำหนดสำหรับเนื้อสัตว์ปีกสด อาทิ ไก่ป่า (Gallus gallus) ไก่ไข่ ไก่เนื้อ ไก่งวง โดยห้ามจำหน่ายเนื้อสัตว์ปีกสด หากพบว่าไม่เป็นไปตามข้อกำหนดการห้ามพบเชื้อ ซัลโมเนลลาในผลิตภัณฑ์ 25 กรัม  กำหนดให้ มี ก ารสุ่ ม ตั ว อย่ า งและวิ ธี วิ เ คราะห์ ด้ ว ยร่ า งข้ อ กำหนดใหม่ นี้ จึ ง เป็ น การแก้ ไ ข เพิ่มเติม ECNo.2073/2005 ในภาคผนวก 1 โดยเกี่ยวข้องกับเชื้อ Salmonella Enteritidis และ Salmonella Typhimurium ตามวิธีวิเคราะห์แบบ Horizontal ของ ISO6579 ในการอ้างอิง โดย ทุก 5 ตัวอย่างที่มีน้ำหนัก 25 กรัม จะต้องไม่พบเชื้อ salmonella โดยสิ้นเชิงในผลิตภัณฑ์ที่ วางจำหน่ายในท้องตลาด  ข้อบังคับนีย ้ กเว้นให้กบั เนือ้ ไก่ดบิ ทีน่ ำเข้าเพือ่ ไปแปรรูปผ่านความร้อนในระบบอุตสาหกรรม หรือผ่านการแปรรูปอื่นใดที่เป็นกระบวนการฆ่าเชื้อ salmonella 

การบังคับใช้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ: ระเบียบนี้ไม่ส่งผลกระทบต่อไทย เนื่องจากยังยกเว้นการบังคับใช้กับประเทศที่สาม และเฉพาะเนื้อไก่ดิบ อย่างไรก็ตาม ในอนาคตคงจะขยายการบังคับใช้กบั ประเทศทีส่ าม และไทยเองอยูร่ ะหว่างการเตรียมการเปิดตลาดไก่สดไปสหภาพยุโรปด้วย จึงควรติดตามทิศทางกฎระเบียบนี้อย่างใกล้ชิด ที่มา: สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(6)

การนำเข้าอาหารสัตว์เลี้ยง : จีน

Importation of Pet food : China วันที่ผลบังคับใช้ : 1 มกราคม 2555 ลักษณะมาตรการ : การขึ้นทะเบียนสถานกระกอบการ และมาตรฐานอาหารสัตว์เลี้ยง กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ : อาหารสัตว์เลี้ยง

ความเป็นมา สำนักงานควบคุมคุณภาพตรวจสอบและกักกันโรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (AQSIQ) ออกข้อกำหนดกักกันโรคและสุขลักษณะของอาหารสัตว์เลี้ยงนำเข้า

สาระสำคัญ ขอบเขตของสินค้าภายใต้กฎระเบียบ อาหารสัตว์เลี้ยงดังต่อไปนี้ อาหารสัตว์เลี้ยงกระป๋อง สัตว์เลี้ยงที่แปรรูปด้วยวิธีอื่น ของ ขบเคี้ยวสุนัข อาหารสัตว์เลี้ยงที่ยังไม่ผ่านการแปรรูป เครื่องในที่ใช้แต่งกลิ่นอาหารสัตว์เลี้ยงและ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่ใช้ผลิตอาหารสัตว์เลี้ยง ข้อกำหนดอาหารสัตว์เลี้ยง  ผู้ ผ ลิ ต อาหารสั ต ว์ เ ลี้ ย งที่ ต้ อ งการส่ ง ออกอาหารสั ต ว์ เ ลี้ ย งไปจี น ทุ ก รายจะต้ อ งได้ รั บ การ ประเมินและขึ้นทะเบียนผู้ผลิตอาหารสัตว์เลี้ยง ซึ่งต้องดำเนินการเสร็จสิ้นทุกขั้นตอนภายใน 31 ธันวาคม 2554 และจีนจะระงับอาหารสัตว์เลี้ยงนำเข้าที่ผู้ประกอบการยังไม่ได้รับการประเมินและ ขึ้นทะเบียนจากฝ่ายจีน  ผู้ผลิตอาหารสัตว์เลี้ยงนั้นต้องได้รับอนุญาตให้วางจำหน่ายในประเทศส่งออกนั้นด้วย  โรงงานอาหารสัตว์เลี้ยงต้องมีระบบจัดการคุณภาพ HACCP หรือระบบที่สอดคล้องกับ หลักการ HACCP  ห้ามใช้วัตถุดิบจากสัตว์เคี้ยวเอื้อง การใช้วัตถุดิบจากประเทศที่สาม (หมายถึงเป็นวัตถุดิบ นำเข้าจากประเทศอื่นที่ไม่ใช่ประเทศผู้ผลิตที่ส่งออกมาจีน) ต้องมาจากรายชื่อประเทศ และโรงงาน ที่อยู่ในบัญชีรายชื่อของ AQSIQ ของจีนเท่านั้น  หากใช้ผลพลอยได้จากสัตว์ต้องมาจากประเทศที่ปลอดจากโรคที่กำหนด  กำหนดมาตรฐานอุณหภูมอ ิ าหารสัตว์เลีย้ งกระป๋องและอาหารสัตว์เลีย้ งแปรรูปประเภทอืน่ ๆ หรือโดยวิธีอื่นที่เทียบเคียงได้ ซึ่งได้รับการยอมรับจาก AQSIQ ของจีน  ฉลากเป็นภาษาจีน โดยมีข้อมูลดังต่อไปนี้ • ประเทศผู้ส่งออก • ชื่อบริษัท • ที่อยู่ • หมายเลขของโรงงานที่ได้รับการรับรอง • ส่วนประกอบของวัตถุดิบ • การวิเคราะห์โภชนาการ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(7) • วันที่ผลิต • อายุการเก็บรักษา หรือวันสุดท้ายที่ควรบริโภค • วิธีการเก็บรักษา • สถานที่ติดต่อ • คำเตือน เช่น “ไม่ใช่อาหารสำหรับมนุษย์บริโภค” หรือ “สำหรับเป็นอาหารสัตว์เลี้ยง เท่านั้น”  หน่วยงานรับผิดชอบของประเทศส่งออก ในกรณีของไทยคือ กรมปศุสต ั ว์ ต้องออกใบรับรอง สุขอนามัย  กฎระเบียบฉบับนี้ใช้ควบคู่กับกฎระเบียบว่าด้วยอาหารสัตว์นำเข้าของจีน ซึ่งประกาศใช้ ก่อนหน้านี้  กำหนดมาตรฐานเชื้อและสารตกค้างต่างๆ ไว้

การบังคับใช้ กรณีการขึ้นทะเบียนเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 สำหรับการตรวจประเมิน ภายในเดือนมีนาคม 2555 ตารางมาตรฐานเชื้อและสารตกค้างในอาหารสัตว์เลี้ยง

Pet food of Animal origin

Category

Items Limit Enterobacteriaceae absence in 25 g:n=5, c=0, m=0, M=0 Salmonella n=5, c=2, m=10, M=300 in one gram Total number of mould Less than 20000 cfu in one gram Aflatoxin B1 ≤ 0.01 mg/kg Total arsenic (As) ≤ 10 mg/kg Lead (Pb) ≤ 20mg/kg General Cadmium (Cd) ≤ 2mg/kg Mercury (Hg) ≤ 0.1/0.4 mg/kg Melamine, Cyanuric acid and its ≤ 2.5 mg/kg derivatives BHA ≤ 150 ppm Ethoxyquinoline ≤ 150 ppm (as for dog: ≤ 75 ppm) GMO No non-approved GM ingredients detected Ochrotoxin A ≤ 500 mg/kg Pet food of Zearalenone ≤ 500mg/kg plant origin Methylamine phosphorus ≤ 0.2mg/kg Glyphosate ≤ 15mg/kg Bovine and sheep/goat materials (except hide, skin, milk and Not detected milk products) for countries other than BSE negligible risk Chloramhenicois Not detected General Nitrofurans Not detected Dioxin ≤ 2.25 ng WHO-PCDD/FTEO/kg Stibenes Not detected Meat Clenbuterol 0.5 ppb Malachite green Not detected Aquatic products Crystal Violet Not detected

Note: the items listed above are the most concerned subjects, for other subjects, the limits must comply with Chinese national standards as well.

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(8)

มาตรฐานไข่ไก่สิงโตอังกฤษ : อังกฤษ British Lion Eggs วันที่ผลบังคับใช้ ลักษณะมาตรการ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ

: : : :

English มาตรฐานที่เพิ่มเติมจะมีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2555 มาตรฐานไข่ไก่ ไข่ไก่

ความเป็นมา มาตรฐานไข่ไก่สงิ โตอังกฤษเป็นมาตรฐานเอกชนทีอ่ อกโดยสภาอุตสาหกรรมไข่ไก่ของอังกฤษ (BEIC) ตัง้ แต่ปี 2541 เพือ่ กระตุน้ ปริมาณการบริโภคไข่ไก่และเพิม่ ความมัน่ ใจให้แก่ผบู้ ริโภคว่า ไข่ไก่ ทีป่ ระทับตราสัญลักษณ์นมี้ าจากไก่ทไี่ ด้รบั วัคซีนป้องกันเชือ้ Salmonella หลังจากเกิดเหตุการณ์เชือ้ Salmonella ระบาดในสหราชอาณาจักรจากเชื้อปนเปื้อนไข่ไก่นำเข้าจากสเปนซึ่งทำให้ยอดขาย ลดจำนวนลงอย่างมาก BEIC จึงแนะนำให้ผู้บริโภค บริโภคไข่ไก่ที่มีสัญลักษณ์สิงโตอังกฤษเพื่อลด ความเสี่ยงในการติดเชื้อดังกล่าว นับเป็นมาตรฐานเอกชนของไข่ไก่ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในอังกฤษ 

BEIC ได้ปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวเรื่อยมา ล่าสุดกำหนดได้เพิ่มเติมเรื่องสวัสดิภาพสัตว์ กล่าวคือ ไข่ไก่มาจากไก่เลี้ยงในกรง ต้องมาจากการเลี้ยงในกรงที่มีพื้นที่กว้าง (enriched cage) 

สาระสำคัญ ไข่ไก่สิงโตอังกฤษมีสัญลักษณ์รูปสิงโตอังกฤษสีส้มบนเปลือกไข่ รหัสแสดงระบบการผลิต (0=ออแกนิก 1. เลีย้ งแบบปล่อย 2. เลีย้ งแบบปล่อยในโรงเรือน 3.เลีย้ งในกรง) ประเทศแหล่งกำเนิด ผู้ผลิตและวันหมดอายุ โดยจะต้องมีมาตรฐานดังนี้ • ฟาร์มเพาะพันธุ์ โรงฟักไข่ ฟาร์มเลีย้ ง ฟาร์มวางไข่ โรงงานอาหารสัตว์ และโรงบรรจุหบี ห่อ ต้องได้รบั อนุญาตจาก BEIC โดยฝูงไก่ตอ้ งมีหนังสือเดินทางการเคลือ่ นย้ายไข่ตอ้ งตรวจสอบย้อนกลับ ได้เต็มรูปแบบ • ไข่ไก่ต้องประทับหมายเลขสถานที่ผลิตซึ่งแสดงระบบการผลิต ประเทศแหล่งกำเนิด และ ฟาร์มที่ไก่วางไข่ ณ ฟาร์มเลี้ยง และตั้งแต่ 30 เดือนมิถุนายน 2554 ไข่ไก่จะต้องประทับรหัส ณ ฟาร์มเลี้ยง • การควบคุมด้านสุขอนามัยของฝูงไก่สำหรับการเพาะพันธุแ์ ละเครือ่ งฟักไข่ ได้แก่ ตรวจการ ปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์บนพื้นผิวของโรงเลี้ยงไก่ การเฝ้าระวังการเกิดจุลชีพในพ่อแม่พันธุ์ และเครื่อง ฟักไข่เป็นประจำ การเชือดไก่ที่ติดเชื้อ Salmonella enteritidis หรือ typhimurium และการใช้ ความร้อน หรือเติมกรดลงในอาหารสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555




(9) • ต้องให้วัคซีนป้องกันเชื้อ Salmonella enteritidis ที่ได้รับอนุญาตแก่ไก่รุ่น ผู้เลี้ยงไก่รุ่น จะต้องตรวจการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์บนพื้นผิวให้เสร็จสิ้นก่อนนำไก่มาที่ฟาร์ม ตรวจหาเชื้อ salmonella ในฝูงไก่ อุปกรณ์และพาหนะที่ใช้ในการขนส่งไก่รุ่นมายังหน่วยวางไข่จะต้องไม่ติดเชื้อ บันทึกข้อมูลการเคลื่อนย้ายไก่และการตรวจสอบหาเชื้อ Salmonella ลงในหนังสือเดินทาง ควบคุม นกป่าและสัตว์ที่ใช้ฟันหน้าแทะ (rodent) • ป้องกันการติดเชือ้ ระหว่างฝูงไก่ ป้องกันการติดเชือ้ ข้าม ตรวจหาเชือ้ salmonella ควบคุม นกป่า และสัตว์ที่ใช้ฟันหน้าแทะ และเก็บสถิติ • ต้องเก็บไข่ไก่ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 20 องศาเซลเซียส ในสภาพที่ถูกสุขอนามัย มีการเก็บ บันทึกการผลิตและตารางทำความสะอาด ขนส่งไข่ไก่ไปยังโรงบรรจุหีบห่ออย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง และต้องเก็บรักษาที่อุณหภูมิคงที่ต่ำกว่า 20 องศาเซลเซียส • อาหารสำหรับไก่ จะต้องได้มาตรฐานของ Universal Feed Assurance Scheme (UFAS) ต้อง เก็บข้อมูล การเก็บตัวอย่างอาหาร การขนส่ง การใช้และมาตรการที่ใช้ในการป้องกันการปนเปื้อน ของอาหาร ห้ามใช้ส่วนประกอบอาหารสัตว์ที่มาจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก coccidiostat lasalocid และเม็ดสี canthaxanthin หรือวัตถุดิบปนเปื้อนต่างๆ • มีการใช้ระบบ HACCP และเก็บรักษาข้อมูลการตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภัณฑ์และ สถิติตลอดเวลา ต้องมั่นใจว่าไข่ไก่ที่ส่งมายังโรงบรรจุหีบห่อมาจากผู้ผลิตที่ได้รับอนุญาต มีตาราง การทำความสะอาดและการควบคุมสัตว์ที่ใช้ฟันหน้าแทะคัดเกรดโดยการตรวจรอยแตกและจุดเลือด ที่มีประสิทธิภาพ เก็บบันทึกข้อมูลคุณภาพไว้ที่โรงบรรจุหีบห่อเป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี • ต้องระบุวันหมดอายุและประทับตราสัญลักษณ์สิงโตอังกฤษบนเปลือกไข่และบนแพ็คไข่ ไข่ ทุกฟองต้องระบุวันหมดอายุไม่เกิน 27 วัน หลังจากวันที่วางไข่ และไข่จะต้องถูกบรรจุหีบห่อภายใน 48 ชั่วโมง หลังจากการวางไข่ • ไข่ไก่ที่มาจากไก่เลี้ยงแบบปล่อย เลี้ยงแบบปล่อยในโรงเรือนเลี้ยงแบบอินทรีย์ และเลี้ยง ในกรงต้องบรรจุในถาดไข่คนละสี • ห้ามบังคับไก่ผลัดขน และห้ามระบุว่าไข่ที่ได้จากการเลี้ยงในกรงเป็นไข่ไก่จากฟาร์มเลี้ยง แบบปล่อย หรือมีภาพไก่เลี้ยงแบบปล่อย การเลี้ยงไก่บริเวณฟาร์ม หรือในชนบทเพื่อมีให้ผู้บริโภค เข้าใจผิด

การบังคับใช้ มาตรฐานเดิมใช้มาตัง้ แต่ปี 2541 สำหรับมาตรฐานเพิม่ เติมเรือ่ ง สวัสดิภาพสัตว์เริม่ บังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 หมายเหตุ: ระเบียบนี้ไม่มีผลต่อไทย เนื่องจากไทยยังไม่สามารถส่งออกไข่ไก่ไปสหภาพยุโรป (รัฐ-รัฐ) ได้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(10)

สวัสดิภาพสัตว์ : นิวซีแลนด์

Animal Welfare : NZ วันที่ผลบังคับใช้ : ปี 2555 ลักษณะมาตรการ : กำหนดเงื่อนไขการจัดการเล้าสุกร และแม่สุกรเพื่อให้มีความก้าวร้าวน้อย กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ : ผู้ผลิตสุกร

ความเป็นมา หลังจากทีน่ วิ ซีแลนด์ได้ประกาศใช้กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์มาตัง้ แต่ปี 2548 และแรงกดดัน ของภาคประชาสังคมที่ต้องการให้ยกเลิกการใช้คอกแบบ sow stalls และ crates (ซองบังคับสัตว์) กับสุกร ทำให้คณะกรรมมาธิการที่ปรึกษาสวัสดิภาพสัตว์นิวซีแลนด์ปรับปรุงกฎหมายและประกาศ ใช้กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ปี 2553 

สาระสำคัญ ห้ามใช้เล้าและคอกประเภท SOW CRATE และ Stall หลังจากสุกรตัวเมียผสมพันธุ์แล้ว ในฟาร์มสุกรภายในปี 2558 ซึ่งกฎระเบียบใหม่นี้จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำและคำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับ การดูแลสุกรในนิวซีแลนด์ ซึ่งบังคับใช้ทุกคนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสวัสดิภาพสุกร เช่น เกษตรกร ในฟาร์มสุกรที่เลี้ยงสุกรในพื้นที่เปิดกว้าง และเกษตรกรที่เลี้ยงสุกรเป็นสัตว์เลี้ยง  การจัดการเล้าสุกร ซึ่งต้องใช้ผู้เลี้ยงสุกรที่มีความสามารถระดับสูง โดยทั่วไปแล้วการเลี้ยง สุกรตัวเมียในลักษณะการเลี้ยงกลุ่มใหญ่และพื้นที่มาก จะมีความก้าวร้าวน้อย โดยปัจจัยที่ช่วยลด ความก้าวร้าวของแม่สุกรประกอบด้วย • พื้นที่ • ปริมาณ • โครงสร้างของเล้า • ระบบการให้อาหาร • ช่วงเวลาและวิธีการผสมพันธุ์ • ลักษณะของสุกรแต่ละตัว • พันธุกรรม 

การจัดการแม่สุกร • แม่สุกรต้องอยู่ในคอกผสมพันธุ์ไม่เกิน 1 สัปดาห์ • แม่สกุ รและสุกรสาวทีอ่ ยูใ่ นเล้าต้องมีการจัดการเพือ่ ลดผลกระทบทีเ่ กิดจากอาการก้าวร้าว • แม่สกุ รและสุกรสาวทีอ่ ยูใ่ นคอกประเภท dry sow stall ต้องสามารถยืนได้อย่างสบาย โดย ตัวสุกรไม่ติดกับคอกส่วนใดส่วนหนึ่ง และสุกรต้องสามารถนอนโดยไม่เบียดชิดกับสุกรในคอกอื่น • พื้นที่ในคอกสำหรับแม่สุกรต้องแห้ง เรียบ และไม่ลื่น • ระหว่างวันที่ 3 ธันวาคม 2555-3 ธันวาคม 2558 แม่สุกรสาวอยู่ในคอกประเภท dry sow stall ได้ไม่เกิน 4 สัปดาห์ หลังจากการผสมพันธุ์ และหลังจากวันที่ 3 ธันวาคม 2558 

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(11) แม่สุกรและสุกรสาวต้องไม่อยู่ในคอกประเภท dry sow stall หลังจากการผสมพันธุ์ หากสุกร ดังกล่าวอยู่ในเล้าเดี่ยว เล้าต้องมีพื้นที่เพียงพอให้ แม่สุกรยืนหมุนตัวและนอนอย่างสบาย และต้อง แยกพื้นที่ขับถ่าย นอน และกินอาหาร เป็นสัดส่วน • ต้องมีการจัดการทางเลือกให้กับสุกรที่ไมให้ผลผลิตที่ดี • สุกรต้องไม่ถูกล่ามไว้

การบังคับใช้ ปี 2555 แต่ยงั ไม่ระบุวนั ชัดเจน แต่ในส่วนของการห้ามใช้เล่าและคอกประเภท SOW CRATE และ Stall หลังจากสุกรตัวเมียผสมพันธุแ์ ล้วในฟาร์มสุกรกำหนดวันบังคับใช้ไว้แล้วว่าต้องดำเนินการ ภายในปี 2558 หมายเหตุ: ระเบียบนี้ไม่มีผลกระทบโดยตรงต่อไทย เนื่องจากปัจจุบันไทยยังไม่มีการส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ไปนิวซีแลนด์

การตามสอบ (หรือการตรวจสอบย้อนกลับ) สินค้า : สหภาพยุโรป Traceability วันที่ผลบังคับใช้ ลักษณะมาตรการ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ

: : : :

EU 1 กรกฎาคม 2555 การบันทึกข้อมูล สินค้าที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์

ความเป็นมา สหภาพยุโรปได้ออกระเบียบ Regulation (EU) 178/2002 เป็นกรอบแม่บททัว่ ไปเกีย่ วกับ ความปลอดภัยด้านอาหารในด้านต่างๆ รองรับสมุดปกขาวเกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหารของ สหภาพยุโรปซึ่งมีมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการตามสอบ หรือตรวจสอบย้อนกลับจำนวน 7 มาตรา โดยบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 ซึ่งครอบคลุมอาหารและอาหารสัตว์ 

ต่อมาเมือ่ เดือนกันยายน 2554 คณะกรรมธิการยุโรป ประกาศกฎระเบียบใหม่ที่ 961/2011 แก้ไขเฉพาะข้อกำหนดและเงื่อนไขการตามสอบแหล่งที่มาของสินค้าอาหารที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์ ให้มีรายละเอียดที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น 

สาระสำคัญ ขอบเขตของกฎระเบียบ กฎระเบียบฉบับนี้จะใช้กับสินค้าที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์เท่านั้น และไม่ปรับใช้กับสินค้าที่ แหล่งกำเนิดจากพืชและสัตว์ผสมกัน 

ครอบคลุมทั้งอาหารและอาหารสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(12) ข้อกำหนด  ตามกฎระเบียบ Regulation (EC) No 178/2002 มาตราที่ 18 กำหนดการตามสอบแหล่ง ทีม่ าของสินค้าจะต้องกระทำตัง้ แต่ขนั้ ตอนการผลิต การแปรรูป และการกระจายสินค้า ซึง่ กฎระเบียบ ใหม่นี้มีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างความชัดเจนของระบบดังกล่าว โดยออกข้อกำหนดใหม่เพิ่มเติมว่า ผู้ประกอบการจะต้องส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าให้ผู้ซื้อทราบโดยละเอียด รวมถึงผู้ขายต้องทราบ ด้วยว่า สินค้าที่ตกจำหน่ายได้ส่งไปให้ผู้ซื้อรายใด  ข้อบังคับใหม่ของกฎระเบียบฉบับนีค ้ อื ผูป้ ระกอบการ (ผูข้ าย) ต้องส่งมอบข้อมูลดังต่อไปนี้ ให้แก่ผู้รับซื้อสินค้า (ในที่นี้คือ ผู้ประกอบการที่รับซื้อสินค้าเพื่อนำไปจำหน่ายต่อ) • คำบรรยายอย่างละเอียดของสินค้า • น้ำหนัก หรือปริมาณของสินค้า • ชื่อและที่อยู่ของผู้ขาย (ผู้ส่งมอบสินค้า) • ชื่อและที่อยู่ของผู้ขาย หากผู้ขายมิใช่คนเดียวกับผู้ส่งมอบสินค้า • ชื่อและที่อยู่ของผู้รับซื้อ • ชื่อและที่อยู่ของผู้รับซื้อ หาผู้รับซื้อมิใช่คนเดียวกับผู้ที่รับสินค้า • เลขที่ lot สินค้า หรือเลขที่การขนถ่ายสินค้า • วันที่จัดส่งสินค้า  ข้อมูลนี้ต้องได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันทุกวัน จนกว่าสินค้าดังกล่าวจะถือได้ว่าถูก บริโภคหมดไป (หรือจำหน่ายหมดไป)  ทั้งนี้ข้อมูลเหล่านี้จะถูกเรียกถามจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ (Competent Authoity: CA) ได้ตลอดเวลา  การจัดวางข้อมูลลงในแบบฟอร์มนั้นให้อยู่ในอยู่ในดุลยพินิจของผู้ขาย

การบังคับใช้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555

ไข่ไก่ปลอดภัย : สหรัฐอเมริกา Egg Safety วันที่ผลบังคับใช้ ลักษณะมาตรการ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบ

: : : :

US 9 กรกฎาคม 2555 การตรวจสอบให้ปลอดเชื้อซัลโมเนลลา ไข่ไก่

ความเป็นมา เมือ่ วันที่ 7 กรกฎาคม 2552 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้ออกระเบียบไข่ไก่ปลอดภัยฉบับใหม่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(13)

สาระสำคัญ ขอบเขตของกฎระเบียบ  ผู้ผลิตที่มีไก่ไข่ตั้งแต่ 3,000 ตัว ขั้นไป ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบนี้ ข้อกำหนดนี้  ผูผ ้ ลิตต้องรับซือ้ ลูกไก่จากแหล่งทีม่ รี ะบบติดตามและเฝ้าระวังเชือ้ Salmonella Enteritidis  ต้องจัดทำมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพ และมาตรการควบคุมศัตรูและสัตว์จำพวกหนู เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อภายในฟาร์ม หรือโรงงานผ่านมนุษย์ และอุปกรณ์เครื่องมือ  ต้องตรวจเชื้อ Salmonella Enteritidis ภายในโรงเลี้ยงสัตว์ปีก หากพบว่ามีค่าเป็นบวก (positive)  ตัวอย่างไข่ไก่จะต้องถูกตรวจซ้ำ 8 สัปดาห์ (โดยตรวจ 2 สัปดาห์/ครั้ง รวมตรวจ 4 ครั้ง) หากพบว่าการตรวจทั้ง 4 ครั้ง มีค่าเป็นบวก ผู้ผลิตต้องนำไข่ไก่ที่พบเชื้อไปดำเนินการกำจัดเชื้อ หรือแปรสภาพไปใช้ในกิจกรรมอื่นที่มิใช่อาหารมนุษย์  โรงเลี้ยงที่พบผลการตรวจเชื้อเป็นค่าบวกต้องทำความสะอาดและกำจัดเชื้อ  ต้องเก็บรักษาไข่ไก่ไว้ที่อุณหภูมิ 45 องศาฟาเรนไฮต์ และต้องขนส่งภายใน 36 ชั่วโมง หลังจากแม่ไก่วางไข่ออกมา  ผู้ผลิตต้องทำแผนป้องกันเชื้อ Salmonella Enteritidis และลงบันทึกการปฏิบัติงาน  ผู้ผลิตที่มีไก่ไข่มากกว่า 3,000 ตัว ต้องขึ้นทะเบียน USFDA

การบังคับใช้ เริ่มบังคับใช้แล้วสำหรับผู้ผลิตที่มีไก่ไข่ 50,000 ตัว ขึ้นไป แต่ให้ระยะเวลาปรับตัวสำหรับ ผู้ผลิตขนาดกลาง  ผู้ผลิตที่มีไก่ไข่ 3,000-50,000 ตัว มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม 2555 

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(14)

วิกฤตเศรษฐกิจยูโรโซน ที่มีผลกระทบต่อสินค้าเกษตร

กุ้ง

1. สถานการณ์การส่งออก 1.1 การส่งออกกุ้งของไทยไปตลาดสำคัญ การส่งออกกุ้งของไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่าน มา (2550-2554) ปริ ม าณและมู ล ค่ า การ ส่งออกมีอตั ราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 4.91 และร้อยละ 9.44 ต่อปี ตามลำดับ ในปี 2554 มีปริมาณการส่งออกกุ้ง 366,558 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 6.60 แต่ มูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 102,980 ล้านบาท เพิ่มจาก ปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 11.02 ในปี 2554 ตลาดส่งออกกุ้งของไทย อันดับหนึ่งคือสหรัฐอเมริกา รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป (27) โดยมีสัดส่วนการ ส่งออกคิดเป็นร้อยละ 48.16 ร้อยละ 21.48 และร้อยละ 14.53 ของมูลค่าการส่งออกกุ้ง ทั้งหมดของไทย ตามลำดับ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2550-2554) มูลค่าการส่งออกกุ้งของไทยไปยังตลาดสหภาพ ยุโรป (27) มีอัตราการขยายตัวสูงสุดเมื่อเทียบ กับตลาดหลักทัง้ หมดโดยมีอตั ราขยายตัวเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 19.69 ต่อปี รองลงมาคือ ตลาดญีป่ นุ่ ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

ขยายตั ว เพิ่ ม ในอั ต ราร้ อ ยละ 15.04 ต่ อ ปี ส่วนตลาดสหรัฐอเมริกา ถึงแม้ว่าจะเป็นตลาด ส่งออกอันดับหนึ่งของไทย แต่มีอัตราการขยาย ตัวเพิม่ ขึน้ เพียงร้อยละ 5.74 ต่อปี โดยในปี 2554 ปริมาณการส่งออกกุ้งของไทยอยู่ในรูปกุ้งสด แช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์กุ้งปรุงแต่ง คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 51.70 และ 48.30 ของการ ส่งออกกุ้งทั้งหมด ตามลำดับ (ตารางที่ 1) ในช่วงครึง่ ปีแรก (ม.ค.-มิ.ย.) ของปี 2555 ไทยส่งออกกุ้งปริมาณ 144,801 ตัน มูลค่า 40,004 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 5.03 และร้อยละ 2.64 ตามลำดั บ โดยส่ ง ออกกุ้ ง ไปประเทศ สหรัฐฯ มากทีส่ ดุ มีปริมาณ 51,973 ตัน มูลค่า 14,404 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 26.31 และร้อยละ 26.05 ตามลำดับ ในสัดส่วนปริมาณร้อยละ 35.89 มูลค่าร้อยละ 36.01 ของการส่งออกกุง้ ทั้งหมดของไทย เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจยัง อยู่ในภาวะชะลอตัว รองลงมาเป็นประเทศญี่ปุ่น ปริมาณ 36,322 ตัน มูลค่า 11,128 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็น ร้อยละ 11.01 และร้อยละ 18.81 ตามลำดับ ในสัดส่วนปริมาณร้อยละ 25.08 มูลค่าร้อยละ


(15) 27.82 เนือ่ งจากไทยกับญีป่ นุ่ มีกรอบความตกลง ว่าด้วยความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA) ทำให้ ญีป่ นุ่ นำเข้ากุง้ จากไทยมากขึน้ สำหรับการส่งออก กุง้ ไปสหภาพยุโรป มีปริมาณ 23,974 ตัน ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 2.59 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 6,641 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็น ร้อยละ 5.34 ในสัดส่วนปริมาณร้อยละ 16.56 มูลค่าร้อยละ 16.60 แม้วา่ ภาพรวมปริมาณการ ส่งออกกุ้งไปสหภาพยุโรปปีนี้จะลดลง แต่มูลค่า เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการปรับเปลี่ยนรูปแบบ ผลิตภัณฑ์กุ้งเพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าเป็นแบบ กึ่งสำเร็จรูป หรือพร้อมบริโภคมากขึ้น 1.2 การส่งออกสินค้ากุ้งของไทยไปสหภาพยุโรป (27) การส่งออกกุ้งของไทยไปตลาดสหภาพยุโรป (27) ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (2550-2554) ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 18.21 และ 19.69 ต่อปี ตามลำดับ สำหรับปี 2554 ไทยส่งออกกุง้ ไปตลาดสหภาพยุโรป (27) ปริมาณ 56,150 ตัน ลดลงจากปี ที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 9.37 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้น จากปีที่ผ่านมาเป็น 14,963 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 8.07 โดยตลาดส่งออกหลักในกลุ่ม ประเทศสหภาพยุโรป (27) 5 อันดับแรก ได้แก่ สหราชอาณาจักรนำเข้ามากที่สุดเป็นอันดับ 1 มีปริมาณ 16,609 ตัน มูลค่า 4,941 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่าจากปีที่ผ่าน มาคิดเป็นร้อยละ 15.80 และร้อยละ 32.28 ตามลำดั บ มี สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 33.03 ของ มู ล ค่ า การส่ ง ออกกุ้ ง ของไทยไปสหภาพยุ โ รป ทั้งหมด อันดับ 2 คือ เยอรมนีนำเข้าจากไทย

ปริ ม าณ 9,790 ตั น ลดลงจากปี ที่ ผ่ า นมา คิดเป็นร้อยละ 12.96 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2,924 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 มีสดั ส่วน ร้อยละ 19.55 อันดับ 3 คือ สเปน นำเข้าจาก ไทยปริมาณ 10,577 ตัน มูลค่า 1,874 ล้าน บาท ลดลงจากปี ที่ ผ่ า นมาทั้ ง ปริ ม าณ และ มูลค่าคิดเป็นร้อยละ 15.60 และร้อยละ 8.06 ตามลำดับ มีสัดส่วนร้อยละ 12.53 อันดับ 4 คือ ฝรัง่ เศส นำเข้าจากไทยปริมาณ 6,707 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 13.56 แต่ มูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1,855 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 6.89 มีสัดส่วนร้อยละ 12.40 อันดับที่ 5 คือ เบลเยี่ยม นำเข้าจากไทยปริมาณ 6,381 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 20.11 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1,715 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 3.81 มีสัดส่วนร้อยละ 11.46 ซึ่งถ้า เปรียบเทียบอัตราการขยายตัวของมูลค่าการ ส่งออกไปยังสหภาพยุโรป 5 อันดับแรก พบว่า สเปน มีอัตราการขยายตัวมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 61.66 รองลงมาเป็นฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และสวีเดน คิดเป็น ร้อยละ 39.53 ร้อยละ 28.96 ร้อยละ 28.28 และร้อยละ 25.15 ต่อปี ตามลำดับ (ตารางที่ 2) 1.3 เปรียบเทียบการส่งออกกุ้งของไทยไป สหภาพยุโรป (27) เป็นรายประเทศ ปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) กับปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) การส่ ง ออกกุ้ ง ของไทยไปสหภาพยุ โ รป (27) ในปี 2555 (ม.ค.-มิ . ย.) มี ป ริ ม าณ 23,974 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ น มา คิดเป็นร้อยละ 2.59 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 6,641 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.34 โดย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(16) ไทยส่งออกกุ้งไปยังสหราชอาณาจักรมากที่สุด ปริมาณ 9,312 ตัน มูลค่า 2,879 ล้านบาท เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่าเมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 57.27 และร้อยละ 68.12 ตามลำดับ รองลงมาคือ เยอรมนี ปริมาณ 5,389 ตัน มูลค่า 1,579 ล้านบาท เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่าเมื่อเทียบ กับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 14.05 และร้อยละ 14.42 ตามลำดับ อันดับที่ 3 คือ ฝรั่งเศส ปริมาณ 2,171 ตัน มูลค่า 620 ล้านบาท ลดลงทั้งปริมาณและมูลค่า เมื่อเทียบ กับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 39.53 และ ร้อยละ 32.31 ตามลำดับ จะเห็น ว่ า ประเทศในกลุ่ ม สหภาพยุ โ รปที่ มี เ ศรษฐกิ จ ภายในประเทศเข้มแข็ง ได้แก่ สหราชอาณาจักร และเยอรมนี เป็นต้น ยังคงมีอัตราการขยายตัว ของการนำเข้ากุ้งจากไทยอยู่ในเกณฑ์ดี (ตาราง ที่ 3) เมื่ อ พิ จ ารณาประเทศในกลุ่ ม PIIGS (โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี กรีซ และสเปน) พบว่าในปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) มีการนำเข้ากุง้ จาก ไทยปริมาณ 4,049 ตัน มูลค่า 690 ล้านบาท ซึง่ ประเทศในกลุม่ นีม้ กี ารนำเข้ากุง้ จากไทยลดลง ทั้งปริมาณและมูลค่าจากช่วงเดียวกันของปีที่ ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 36.82 และร้อยละ 41.87 ตามลำดับ โดยมีรายละเอียดในแต่ละประเทศ ดังนี้ • สเปน มีสัดส่วนปริมาณ และมูลค่า ร้อยละ 13.09 และร้อยละ 7.16 ตามลำดับ โดย นำเข้ากุ้งจากไทย ปริมาณ 3,138 ตัน มูลค่า 475 ล้านบาท ลดลงทั้งปริมาณ และมูลค่า จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 38.72 และร้อยละ 47.28 ตามลำดับ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

• อิตาลี มีสัดส่วนปริมาณ และมูลค่า ร้อยละ 3.61 และร้อยละ 3.06 ตามลำดับ โดย นำเข้ากุ้งจากไทย ปริมาณ 865 ตัน มูลค่า 203 ล้านบาท ลดลงทั้งปริมาณ และมูลค่า จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 31.19 และร้อยละ 26.82 ตามลำดับ • โปรตุเกส มีสดั ส่วนปริมาณ และมูลค่า ร้อยละ 0.08 และร้อยละ 0.07 ตามลำดับ โดย นำเข้ากุ้งจากไทย ปริมาณ 19 ตัน มูลค่า 5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณ และมูลค่าจาก ช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ที่ ผ่ า นมา คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 18.75 และร้อยละ 27.45 ตามลำดับ • กรี ซ มี สั ด ส่ ว นปริ ม าณ และมู ล ค่ า ร้อยละ 0.08 และร้อยละ 0.07 ตามลำดับ โดยนำเข้ากุ้งจากไทยปริมาณ 19 ตัน มูลค่า 5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณ และมูลค่าจาก ช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ที่ ผ่ า นมา คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 137.50 และร้อยละ 131.16 ตามลำดับ • ไอร์แลนด์ มีสดั ส่วนปริมาณ และมูลค่า ร้อยละ 0.03 และร้อยละ 0.03 ตามลำดับ นำเข้ากุ้งจากไทย ปริมาณ 8 ตัน มูลค่า 2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณ และมูลค่าจาก ช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา คิดเป็นร้อยละ 14.29 และร้อยละ 13.44 ตามลำดับ

2. การวิเคราะห์ผลกระทบ ผลกระทบการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่ม PIIGS ของสหภาพยุ โ รป อาจส่ ง ผลกระทบ ลุกลามไปยังประเทศสมาชิกอื่นในสหภาพยุโรป และประเทศคูค่ า้ สำคัญของสหภาพยุโรป ปัจจุบนั ปัญหาดังกล่าวทำให้ค่าเงินยูโรอ่อนตัวลงและ ค่ า ความเชื่ อ มั่ น ในเศรษฐกิ จ ของประเทศใน




(17) สหภาพยุโรปลดลงรวมถึงอำนาจในการซือ้ สินค้า และบริการของคนในประเทศนัน้ ด้วย โดยเฉพาะ ในกลุม่ PIIGS สำหรับประเทศไทยเมือ่ ค่าเงินบาท ของไทยแข็งค่าขึน้ ส่งผลกระทบต่อความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ของไทย เพราะทำให้ ร าคากุ้ ง ส่งออกสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม สินค้ากุ้งและ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องไทยเป็ น สิ น ค้ า อาหารที่ มี ค วาม จำเป็นในการบริโภค จึงอาจได้รับผลกระทบ ไม่มากนัก ประกอบกับประเทศในกลุ่ม PIIGS นำเข้าสินค้ากุ้งจากไทยน้อยมากเมื่อเทียบกับ ตลาดหลั ก อื่ น ๆ รวมถึ ง บางประเทศในกลุ่ ม สหภาพยุโรปที่ยังมีฐานะเศรษฐกิจในประเทศ เข้มแข็งอยู่ ทำให้ตลาดกุ้งไทยในสหภาพยุโรป ยังคงขยายตัวได้ 2.1 ช่วงครึ่งปีแรกของปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) การส่งออกสินค้ากุ้งของไทยไปสหภาพยุ โ รป (27) ในช่ ว งครึ่ ง ปี แ รกของปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) มีปริมาณทั้งสิ้น 23,974 ตัน ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 2.59 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 6,641 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.34 ซึ่งแสดงให้เห็นว่ายังไม่ ได้ รั บ ผลกระทบจากปั ญ หาดั ง กล่ า วมากนั ก เนื่องจากตลาดหลักของไทยในสหภาพยุโรปคือ สหราชอาณาจักร และเยอรมนี ซึ่งยังคงมีการ นำเข้าเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ส่วนประเทศในกลุม่ PIIGS ที่ประสบปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจภายใน ประเทศ ทำให้การนำเข้ากุ้งจากไทยมีปริมาณ 4,049 ตัน มูลค่า 690 ล้านบาท ลดลงทัง้ ปริมาณ และมูลค่าจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา คิด เป็นร้อยละ 36.82 และร้อยละ 41.87 ตาม ลำดับ ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อตลาดกุ้งไทยมาก นัก เพราะกลุ่ม PIIGS มีการนำเข้ากุ้งจากไทย

คิดเป็นสัดส่วนปริมาณและมูลค่าร้อยละ 2.80 และ 1.72 ของการส่งออกกุ้งทั้งหมดของไทย แม้ว่าสินค้ากุ้งของไทยจะไม่ได้รับผลกระทบจาก วิกฤตครั้งนี้มากนัก แต่จำเป็นจะต้องมีการปรับ ตั ว เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในการแข่ ง ขั น ที่ จ ะ รุนแรงมากขึ้นจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่อาจ ลุกลามไปยังตลาดอื่นๆ ของไทย 2.2 ช่วงครึ่งปีหลังของปี 2555 (ก.ค.-ธ.ค.) การส่ ง ออกสิ น ค้ า กุ้ ง ในช่ ว งครึ่ ง ปี ห ลั ง คาดว่า สหภาพยุโรปจะมีการนำเข้ากุ้งจากไทย เพิ่มขึ้นจากช่วงครึ่งปีแรก เนื่องจากในเดือน กรกฎาคม-สิ ง หาคม สหราชอาณาจั ก รเป็ น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าโอลิ ม ปิ ค และใน ช่วงปลายปีมีเทศกาลเฉลิมฉลองต่างๆ ซึ่งคาด ว่าจะมีความต้องการบริโภคมากขึน้ และจะส่งผล ให้มีการนำเข้ากุ้งมากขึ้น คาดว่ า ปี 2555การส่ ง ออกสิ น ค้ า กุ้ ง ของไทยไปสหภาพยุโรป อาจจะลดลงจากปีที่ ผ่านมาเพียงเล็กน้อย และมีผลกระทบต่อการ ส่งออกสินค้ากุ้งของไทยไม่มากนัก เนื่องจาก เป็นสินค้าประเภทอาหารซึ่งมีความจำเป็นใน การบริโภค ประกอบกับประเทศผูน้ ำเข้าทีส่ ำคัญ เช่น สหราชอาณาจักร เยอรมนี เป็นต้น ยังคง มีสภาพเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง

3. มาตรการหรือแนวทางในการแก้ไขปัญหา 3.1 มาตรการระยะสั้น 1) ไทยต้องบริหารจัดการการผลิตตลอด สายการผลิตทุกรูปแบบเพื่อลดต้นทุนและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน 2) เร่งขยายตลาดใหม่ เช่น จีน รัสเซีย ตะวันออกกลาง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(18) 3) รักษาคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยด้านสารตกค้างในตลอดสายการผลิตตัง้ แต่ตน้ จนถึงผูบ้ ริโภค สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ เพือ่ เป็นการรักษาเสถียรภาพความเชือ่ มัน่ ในตัวสินค้า และยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้อีกทาง 3.2 มาตรการระยะยาว 1) ตั้งศูนย์กระจายสินค้าในยุโรป (Distribution Center) เพื่ออำนวยความสะดวกในด้านการ กระจายสินค้า และบริหารจัดการด้านการเงินให้มีเสถียรภาพเพื่อลดความเสี่ยงในการเรียกเก็บเงิน ปลายทางจากผู้ซื้อ 2) จัดตัง้ ไทยให้เป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารแปรรูป หรือเป็น Hub ในภูมภิ าคเพือ่ เพิม่ มูลค่า เนื่องจากไทยมีประสบการณ์และความชำนาญด้านการผลิตอาหารแปรรูปของโลก และเป็นที่เชื่อถือ ของนานาประเทศในด้านมาตรฐานการผลิตและความปลอดภัย ทั้งนี้ จะทำให้เกิดการเป็นหุ้นส่วน การผลิต และลดการแข่งขันด้านราคากันในภูมิภาค 3) พัฒนาผลิตภัณฑ์และรูปแบบสินค้าให้มีความหลากหลายสอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และสภาพเศรษฐกิจของผูบ้ ริโภคในตลาดส่งออกกุง้ ของไทย โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ทเี่ พิม่ มูลค่าประเภท สินค้าพร้อมบริโภค เช่น กุ้งชุบแป้งทอดสำเร็จรูป เกี๊ยวกุ้ง รวมถึงอาหารแปรรูปอื่นๆ เป็นต้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


169,849 54.13 39,272.43 54.74 51,277 16.34 12,299.94 17.14 32,115 10.23 7,747.39 10.80 60,552 19.30 12,425.76 17.32 313,793 100.00 71,745.52 100.00

ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สหรัฐ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ญี่ปุ่น มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สหภาพยุโรป สัดส่วน (%) (EU27) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) อื่นๆ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

175,247 52.83 41,750.78 53.84 56,686 17.09 14,404.38 18.57 35,549 10.72 8,561.29 11.04 64,241 19.37 12,836.25 16.55 331,723 100.00 77,552.70 100.00

2551 179,312 49.09 43,646.71 51.22 64,363 17.62 17,039.89 20.00 47,107 12.90 11,011.26 12.92 74,464 20.39 13,514.27 15.86 365,247 100.00 85,212.13 100.00

2552 186,503 47.52 45,761.42 49.33 70,103 17.86 18,081.16 19.49 61,955 15.79 13,845.88 14.93 73,913 18.83 15,068.59 16.25 392,474 100.00 92,757.05 100.00

2553

25541/ (ม.ค.-มิ.ย.) 70,525 46.25 19,478.78 47.41 32,719 21.46 9,366.39 22.80 24,612 16.14 6,303.81 15.34 24,617 16.15 5,939.09 14.45 152,473 100.00 41,088.07 100.00

25552/ การเปลี่ยนแปลง (%) (ม.ค.-มิ.ย.) 2555 เทียบ 2554 51,973 -26.31 35.89 14,404.23 -26.05 36.01 36,322 11.01 25.08 11,127.94 18.81 27.82 23,974 -2.59 16.56 6,640.71 5.34 16.60 32,532 32.15 22.47 7,831.53 31.86 19.58 144,801 -5.03 100.00 40,004.41 -2.64 100.00

หมายเหตุ: 1/ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม พิกัด 03061300003 03062330003 03062399003 และ 03062320001 กุ้งกุลาดำ พิกัด 03061300001 03062330001 16052091001 และ 16052099001 ตาม HS 2007 (ปี 2550-2554) 2/ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม พิกัด 03061720000 03062712000 03062722000 03062732000 03062799003 16052190003 และ 16052990003 กุ้งกุลาดำ พิกัด 03061710000 03062711000 03062721000 03062731000 16052190001 และ 16052990001 ตาม HS 2012 (ปี 2555-2559) ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

2550

รายการ

Growth 2554 Rate (%) 173,317 1.03 47.28 49,590.70 5.74 48.16 72,641 9.52 19.82 22,123.04 15.04 21.48 56,150 18.21 15.32 14,963.26 19.69 14.53 64,450 2.69 17.58 16,303.49 7.29 15.83 366,558 4.91 100.00 102,980.49 9.44 100.00

ตารางที่ 1 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทยไปตลาดสหภาพยุโรปและประเทศที่สำคัญ ปี 2550-2554

(19)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(20) ตารางที่ 2 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้ากุง้ และผลิตภัณฑ์ของไทยไปตลาดสหภาพยุโรป รายประเทศ ปี 2550-2554 รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สหราชอาณาจักร มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เยอรมนี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สเปน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ฝรั่งเศส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เบลเยียม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เนเธอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) อิตาลิ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เดนมาร์ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ไซปรัส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สวีเดน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

2550 6,919 21.54 1,832.38 23.65 8,074 25.14 2,212.63 28.56 1,421 4.42 235.56 3.04 2,282 7.11 502.18 6.48 4,067 12.66 885.82 11.43 1,178 3.67 279.63 3.61 1,415 4.41 301.03 3.89 389 1.21 88.68 1.14 219 0.68 56.90 0.73 81 0.25 18.10 0.23

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

2551 8,391 23.60 2,250.74 26.29 8,064 22.68 2,222.01 25.95 5,595 15.74 1,058.82 12.37 3,608 10.15 847.74 9.90 4,586 12.90 993.51 11.60 2,075 5.84 482.63 5.64 2,168 6.10 457.38 5.34 473 1.33 108.64 1.27 277 0.78 67.16 0.78 48 0.14 11.89 0.14

2552 10,577 22.45 2,743.65 24.92 10,347 21.96 2,723.94 24.74 7,881 16.73 1,312.73 11.92 4,005 8.50 1,049.10 9.53 7,084 15.04 1,567.70 14.24 3,000 6.37 715.96 6.50 2,545 5.40 532.79 4.84 720 1.53 160.37 1.46 274 0.58 63.91 0.58 97 0.21 21.76 0.20

2553 14,342 23.15 3,735.05 26.98 11,248 18.16 2,911.41 21.03 12,533 20.23 2,038.81 14.73 7,760 12.53 1,736.33 12.54 7,988 12.89 1,652.44 11.93 2,793 4.51 685.98 4.95 3,065 4.95 594.91 4.30 983 1.59 227.49 1.64 313 0.51 73.18 0.53 144 0.23 31.81 0.23

2554 16,609 29.58 4,941.79 33.03 9,790 17.44 2,924.59 19.55 10,577 18.84 1,874.46 12.53 6,707 11.94 1,855.98 12.40 6,381 11.36 1,715.09 11.46 2,722 4.85 836.62 5.59 2,509 4.47 567.90 3.80 382 0.68 107.47 0.72 282 0.50 75.58 0.51 82 0.15 33.98 0.23

Growth Rate (%) 25.70 28.28 7.45 8.63 61.95 61.66 33.94 39.53 15.67 20.08 21.80 28.96 16.09 16.56 7.20 11.89 6.48 6.75 11.89 25.15 -




(21)



รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ออสเตรีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) โปแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ไอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) โปรตุเกส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) กรีซ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) โรมาเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ฮังการี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ลักเซมเบอร์ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ฟินแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) แอสโทเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

2550 6 0.02 2.35 0.03 74 0.23 19.22 0.25 12 0.04 2.49 0.03 203 0.63 36.40 0.47 531 1.65 113.14 1.46 14 0.04 1.93 0.02 31 0.10 7.34 0.09 8 0.02 2.28 0.03

2551 35 0.14 11.88 0.14 85 0.24 18.01 0.21 1 0.00 0.08 0.00 113 0.32 23.87 0.28 4 0.01 1.05 0.01 0.024 0.00 0.03 0.00 5 0.01 0.89 0.01 -

2552 20 0.20 9.72 0.09 65 0.14 14.32 0.13 300 0.64 46.37 0.42 53 0.11 16.00 0.15 0.035 0.00 0.05 0.00 135 0.29 32.21 0.29 -

2553 28 0.23 8.47 0.06 59 0.10 11.95 0.09 44 0.07 10.09 0.07 571 0.92 108.22 0.78 40 0.06 8.90 0.06 0.072 0.00 0.09 0.00 41 0.07 10.17 0.07 -

2554 14 0.23 7.64 0.05 27 0.05 7.17 0.05 24 0.04 6.70 0.04 35 0.06 6.04 0.04 9 0.02 2.22 0.01 0.024 0.00 0.03 0.00 0.00 0.00 -

Growth Rate (%) 15.85 22.38 -21.19 -21.20 -17.27 -18.79 24.00 18.05 -84.91 -78.50 51.20 57.89 -



ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(22) 

รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ลัตเวีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ลิธัวเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มอลตา มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สโลวาเกีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สโลเวเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สาธารณรัฐเช็ค มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) บัลแกเรีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

2550

2551

2552

2553

2554

5 0.02 0.88 0.01 5 0.02 1.23 0.02 0.75 0.00 0.08 0.00 5,180 16.13 1,147.12 14.81 32,115 100.00 7,747.39 100.00

4 3 3 0.01 0.01 0.00 0.73 0.50 0.54 0.01 0.00 0.00 2 1 0.01 0.00 0.31 0.19 0.00 0.00 0.81 0.00 0.14 0.00 14 0.04 3.78 0.04 0.04 0.00 35,549 47,107 61,955 56,150 100.00 100.00 100.00 100.00 8,561.29 11,011.26 13,845.88 14,963.26 100.00 100.00 100.00 100.00

Growth Rate (%) -16.64 -16.83 -55.28 -60.70 8.00 75.00 18.21 19.69 -

หมายเหตุ: กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม พิกัด 03061300003 03062330003 03062399003 และ 03062320001 กุ้งกุลาดำ พิกัด 03061300001 03062330001 16052091001 และ 16052099001 ตาม HS 2007 (ปี 2550-2554) ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(23) ตารางที่ 3 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้ากุง้ และผลิตภัณฑ์ของไทยไปตลาดสหภาพยุโรป รายประเทศ เปรียบเทียบปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) กับปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สหราชอาณาจักร มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เยอรมนี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ฝรั่งเศส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สเปน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เบลเยียม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เนเธอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) อิตาลี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ไซปรัส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เดนมาร์ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สวีเดน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

25541/ (ม.ค.-มิ.ย.) 25552/ (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) 5,921 9,312 57.27 24.06 38.84 1,712.63 2,879.31 68.12 27.17 43.36 4,725 5,389 14.05 19.20 22.48 1,379.76 1,578.76 14.42 21.89 23.77 3,590 2,171 -39.53 14.59 9.06 915.39 619.60 -32.31 14.52 9.33 5,121 3,138 -38.72 20.81 13.09 901.74 475.40 -47.28 14.30 7.16 2,677 1,582 -40.90 10.88 6.60 724.29 442.16 -38.95 11.49 6.66 987 1,171 18.64 4.01 4.88 296.95 338.88 14.12 4.71 5.10 1,257 865 -31.19 5.11 3.61 277.62 203.13 -26.82 4.40 3.06 179 162 -9.50 0.73 0.68 48.02 42.86 -10.75 0.76 0.65 99 64 -35.35 0.40 0.27 27.79 20.10 -27.67 0.44 0.30 20 48 140.00 0.08 0.20 8.95 22.25 148.60 0.14 22.25 148.60



ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(24) 

โปรตุเกส

ออสเตรีย

กรีซ

ไอร์แลนด์

โปแลนด์

ฟินแลนด์

ลักเซมเบอร์ก

โรมาเนีย

ฮังการี

เอสโทเนีย

ลัตเวีย

รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

25541/ (ม.ค.-มิ.ย.) 25552/ (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) 16 19 18.75 0.07 0.08 3.57 4.55 27.45 0.06 0.07 6 2 -66.67 0.02 0.01 3.44 0.67 -80.52 0.05 0.01 8 19 137.50 0.03 0.08 1.99 4.60 131.16 0.03 0.07 7 8 14.29 0.03 0.03 1.86 2.11 13.44 0.03 0.03 0.2 23 10,852.38 0.00 0.10 0.11 6.31 5,636.36 0.00 0.10 0.02 0.00 0.00 0.00 -

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555






(25)



รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ลิธัวเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มอลตา มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สโลวาเกีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สโลเวเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สาธารณรัฐเช็ค มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) บัลแกเรีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวมกลุ่ม PIIGS มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

25541/ (ม.ค.-มิ.ย.)

24,612 100.00 6,303.81 100.00 6,409 26.04 1,186.78 18.83

25552/ (ม.ค.-มิ.ย.)

23,974 100.00 6,640.71 100.00 4,049 16.89 689.82 10.39

การเปลี่ยนแปลง (%) -2.59 5.34 -36.82 -41.87 -

หมายเหตุ: 1/ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม พิกัด 03061300003 03062330003 03062399003 และ 03062320001 กุ้งกุลาดำ พิกัด 03061300001 03062330001 16052091001 และ 16052099001 ตาม HS 2007 (ปี 2550-2554) 2/ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม พิกัด 03061720000 03062712000 03062722000 03062732000 03062799003 16052190003 และ 16052990003 กุ้งกุลาดำ พิกัด 03061710000 03062711000 03062721000 03062731000 16052190001 และ 16052990001 ตาม HS 2012 (ปี 2555-2559) ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(26) ตารางที่ 4 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้ากุง้ และผลิตภัณฑ์ของไทยไปตลาดสหภาพยุโรป และประเทศที่สำคัญ เปรียบเทียบปี 2554 (ม.ค.-พ.ค.) กับปี 2555 (ม.ค.-พ.ค.) รายการ สหภาพยุโรป (27) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) - กลุ่ม PIIGS ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) - นอกกลุ่ม PIIGS ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) อื่นๆ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) - สหรัฐ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) - ญี่ปุ่น ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) - ประเทศอื่นๆ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

25541/ (ม.ค.-มิ.ย.) 25552/ (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) 24,612 23,974 -2.59 16.14 16.56 6,303.81 6,640.71 5.34 15.34 16.60 6ฐ409 4,049 -36.82 4.20 2.80 1,186.78 689.82 -41.87 2.89 1.72 18,203 19,925 9.46 11.94 13.76 5,117 5,951 16.30 12.45 14.88 127,861 120,827 -5.50 83.86 83.44 34,784 33,364 -4.08 84.66 83.40 70,525 51,973 -26.31 46.25 35.89 19,478.78 14,404.23 -26.05 47.41 36.01 32,719 36,322 11.01 21.46 25.08 -9,366.39 11,127.94 18.81 22.80 27.82 24,617 32,532 32.15 16.15 22.47 5,939 7,832 31.86 14.45 19.58 152,473 144,801 -5.03 100.00 100.00 41,088.07 40,004.41 -2.64 100.00 100.00 -

หมายเหตุ: 1/ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม พิกัด 03061300003 03062330003 03062399003 และ 03062320001 กุ้งกุลาดำ พิกัด 03061300001 03062330001 16052091001 และ 16052099001 ตาม HS 2007 (ปี 2550-2554) 2/ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม พิกัด 03061720000 03062712000 03062722000 03062732000 03062799003 16052190003 และ 16052990003 กุ้งกุลาดำ พิกัด 03061710000 03062711000 03062721000 03062731000 16052190001 และ 16052990001 ตาม HS 2012 (ปี 2555-2559) ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


ไก่แปรรูป

1. สถานการณ์การส่งออก การระบาดของไข้หวัดนกในปี 2547 ทำ ให้ไทยไม่สามารถส่งออกไก่สดในตลาดหลัก คือ ญีป่ นุ่ และสหภาพยุโรปได้ ผูป้ ระกอบการจึงต้อง ปรับเปลี่ยนการผลิตจากไก่สดมาเป็นไก่แปรรูป และเมื่อประเทศผู้นำเข้ามั่นใจในความปลอดภัย การส่ ง ออกไก่ แ ปรรู ป ได้ ข ยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ลำดับ 1.1 การส่งออกสินค้าไก่แปรรูปของไทยไป ตลาดที่สำคัญ ปี 2550-2555 มู ล ค่ า การส่ ง ออกไก่ แ ปรรู ป ของไทยไป ประเทศต่างๆ ในช่วง 5 ปี (2550-2554) มีอตั รา เพิ่มร้อยละ 12.28 ต่อปี ในปี 2554 ส่งออก ปริมาณ 415,585 ตัน มูลค่า 57,045 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 4.18 และ 13.31 ตามลำดับ โดยมีมูลค่าส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่น มากที่ สุ ด ร้ อ ยละ 48.91 รองลงมาได้ แ ก่ สหภาพยุโรป ร้อยละ 44.26 อาเซียน ร้อยละ 2.91 และประเทศอื่นๆ ร้อยละ 3.92 (ตารางที่ 1) ในปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) ไทยมีการส่งออก ไก่แปรรูปทัง้ หมดปริมาณ 222,250 ตัน มูลค่า 30,656.10 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 11.01 และร้อยละ 15.21 ตามลำดับ โดยเป็นการส่งออกไปสหภาพยุโรป ปริมาณ 105,141 ตัน มูลค่า 12,900.06 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 6.90 และร้อยละ 3.91 ตามลำดับ

(27) 1.2 การส่งออกสินค้าไก่แปรรูปของไทยไป สหภาพยุโรป รายประเทศ ปี 2550-2554 มู ล ค่ า การส่ ง ออกไก่ แ ปรรู ป ของไทยไป สหภาพยุโรป ในช่วง 5 ปี (2550-2554) มีอตั รา เพิม่ ร้อยละ 7.60 ต่อปี ในปี 2554 ส่งออกปริมาณ 195,207 ตัน มูลค่า 25,248.33 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีทผี่ า่ นมา ซึง่ มีปริมาณ 194,617 ตัน มูลค่า 23,417.75 ล้านบาท ร้อยละ 0.30 และ ร้ อ ยละ 7.82 ตามลำดั บ โดยในปี 2554 ส่งออกไปยังสหราชอาณาจักรมากทีส่ ดุ ปริมาณ 131,256 ตัน มูลค่า 16,741 ล้านบาท โดยมี สัดส่วนร้อยละ 66.31 ของมูลค่าส่งออกไป สหภาพยุโรปทัง้ หมด อันดับที่ 2 คือ เนเธอร์แลนด์ ปริมาณ 29,541 ตัน มูลค่า 3,898.12 ล้านบาท มีสดั ส่วนร้อยละ 15.44 อันดับที่ 3 คือ เยอรมนี ปริมาณ 13,831 ตัน มูลค่า 1,878.60 ล้านบาท มีสัดส่วนร้อยละ 7.44 อันดับที่ 4 คือ ฝรั่งเศส ปริมาณ 5,992 ตัน มูลค่า 816.46 ล้านบาท มีสดั ส่วนร้อยละ 3.23 และประเทศอืน่ ๆ ปริมาณ 14,587 ตัน มูลค่า 1,914 ล้านบาท มีสดั ส่วน ร้อยละ 7.58 (ตารางที่ 2) เมือ่ พิจารณาประเทศในกลุม่ PIIGS (Portugal, Ireland, Italy, Greece and Spain) จะเห็น ได้ว่าในปี 2554 ไทยได้ส่งออกไก่แปรรูปไปยัง ประเทศกลุ่มนี้น้อยมาก เพียงร้อยละ 3.42 จึง คาดว่าการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในสหภาพยุโรป ในครั้งนี้ จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทย ไม่มากนัก เนื่องจากสินค้าเนื้อไก่เป็นอาหารที่ จำเป็นเพือ่ การบริโภค อีกทัง้ ราคาเนือ้ ไก่ยงั ถูกกว่า เนื้อสัตว์ชนิดอื่นๆ เช่น เนื้อสุกร เนื้อโค เป็นต้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(28) แม้จะมีปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ แต่คาดว่าความ ต้องการบริโภคจะไม่ลดลง นอกจากนี้สินค้า อาหารจากไทยก็มภี าพลักษณ์ทดี่ ที งั้ ด้านคุณภาพ และราคา

• ไอร์ แ ลนด์ มี สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 3.01 ไทยส่งออกปริมาณ 3,161 ตัน มูลค่า 359.01 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 15.44 และ 19.60 ตามลำดับ

1.3 การส่งออกสินค้าไก่แปรรูปของไทยไป สหภาพยุโรป รายประเทศ ปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) เปรียบเทียบกับปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.)

• อิตาลี มีสัดส่วนร้อยละ 0.04 ไทย ส่งออกปริมาณ 44 ตัน มูลค่า 5.61 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 13.73 และ 35.07 ตามลำดับ

การส่งออกไก่แปรรูปของไทยไปสหภาพยุ โ รป ในปี 2555 (ม.ค.-มิ . ย.) มี ป ริ ม าณ 105,141 ตัน มูลค่า 12,900.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 6.90 และร้อยละ 3.91 ตามลำดับ โดยไทย ส่งออกไก่แปรรูปไปยังสหราชอาณาจักรมาก ที่สุด ปริมาณ 69,625 ตัน มูลค่า 8,512.91 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 6.96 และ 5.27 ตามลำดับ รองลงมา ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ ปริมาณ 14,979 ตัน มูลค่า 1,838.40 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 3.67 และ 8.00 ตาม ลำดับ และเยอรมนี ปริมาณ 9,841 ตัน มูลค่า 1,200.18 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 37.75 และ 25.18 ตามลำดับ (ตารางที่ 3) เมื่ อ พิ จ ารณาประเทศในกลุ่ ม ประเทศ PIIGS ในปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) ไทยส่งออกไก่ แปรรูปปริมาณ 3,234 ตัน มูลค่า 368.34 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 15.87 และ 20.97 ตามลำดับ เนือ่ งจาก มีปัญหาด้านราคา ไม่สามารถปรับราคาสูงขึ้น ได้ โดยมีการส่งออกไปยังแต่ละประเทศในกลุ่ม ประเทศ PIIGS ดังนี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

• โปรตุเกส ปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) ไทย ไม่ได้ส่งออกไปโปรตุเกส แต่ในปี 2554 (ม.ค.มิ.ย.) มีสัดส่วน ร้อยละ 0.03 และมีการส่งออก ปริมาณ 29 ตัน มูลค่า 5.93 ล้านบาท • สเปน ปี 2555 (ม.ค.-มิ . ย.) ไทย ส่งออกปริมาณ 0.002 ตัน มูลค่า 0.0002 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 99.99 และ 99.99 ตามลำดับ • กรี ซ มี สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 0.03 ไทย ส่งออกปริมาณ 29 ตัน มูลค่า 3.72 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา 1.35 เท่า และ 1.18 เท่า ตามลำดับ

2. การวิเคราะห์ผลกระทบ ตลาดส่งออกไก่แปรรูปที่สำคัญของไทย ได้แก่ ตลาดญีป่ นุ่ ร้อยละ 48.91 ตลาดสหภาพยุโรป ร้อยละ 44.26 และตลาดอื่นๆ ร้อยละ 6.83 ซึง่ ผลผลิตไก่เนือ้ ของไทย ใช้บริโภคภายใน ประเทศร้อยละ 67 และส่งออกร้อยละ 33 โดยแบ่งออกเป็นการส่งออกไก่แปรรูป ร้อยละ 90 และไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง ร้อยละ 10 ตลาดสหภาพยุโรป ซึง่ เป็นหนึง่ ในตลาดหลักของการส่งออกไก่ แปรรูปของไทย ในปี 2554 มีมลู ค่าการส่งออก


(29) ไก่แปรรูปไปสหภาพยุโรปถึง 25,248.33 ล้าน บาท คิดเป็นร้อยละ 44.26 ของมูลค่าส่งออก ไก่แปรรูปทั้งหมด การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยเศรษฐกิจกรีซมีปัญหาสภาพคล่อง จะส่งผลกระทบต่อประเทศสมาชิกอืน่ ในสหภาพยุโรป ซึง่ จากสถานการณ์ปจั จุบนั ปัญหาได้ลกุ ลาม ไปยั ง ประเทศอื่ น ๆ ในกลุ่ ม ประเทศ PIIGS (Portugal, Ireland, Italy, Greece and Spain) ส่งผลให้ค่าเงินยูโรอ่อนตัวลง และมีแนวโน้มจะ อ่อนตัวลงอีก ขณะที่ค่าเงินบาทไทยก็มีแนวโน้ม แข็งค่าอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งส่งผลกระทบต่อความ สามารถในการแข่งขันด้านการส่งออกของไทย ดังนัน้ กรณีเงินยูโรอ่อนค่าลง จะทำให้ราคาสินค้า ของไทยสูงขึน้ ซึง่ จะยิง่ ทำให้ความสามารถในการ แข่งขันด้านการส่งออกของไทยลดลง 2.1 ช่วงครึ่งปีแรกของปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) การส่งออกไก่แปรรูปของไทยไปสหภาพยุโรปในปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) ทั้งปริมาณ และ มู ล ค่ า ยั ง คงเพิ่ ม ขึ้ น จากช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ที่ ผ่านมา ร้อยละ 6.90 และร้อยละ 3.91 ตาม ลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ายังไม่ได้รับผลกระทบ จากวิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ในสหภาพยุ โ รปมากนั ก เนือ่ งจากประเทศหลักทีน่ ำเข้าไก่แปรรูปจากไทย ได้แก่ สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และ เยอรมนี มีสัดส่วนรวมกันเกือบร้อยละ 90 ซึ่ง ประเทศเหล่ า นี้ ส ภาพเศรษฐกิ จ ยั ง คงมี ค วาม แข็งแกร่ง ยังไม่มปี ญ ั หาสภาพคล่องทางการเงิน ส่วนไอร์แลนด์นั้น ไทยส่งออกไก่แปรรูปไปเพียง ร้อยละ 3 จึงไม่ได้ส่งผลกระทบต่อการส่งออก ไก่แปรรูปมากนัก

2.2 ช่วงครึ่งปีหลังของปี 2555 (ก.ค.-ธ.ค.) ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2555 คาดว่า ไทยจะสามารถส่งออกไก่แปรรูปไปยังสหภาพยุโรปได้เพิ่มขึ้น ทั้งปริมาณและมูลค่า เนื่อง จากเนื้อไก่แปรรูปจากไทยมีคุณภาพที่ดี ยังคง มี ค วามต้ อ งการจากผู้ บ ริ โ ภคในสหภาพยุ โ รป และประเทศทีน่ ำเข้าหลักได้แก่ สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และเยอรมนี ยังคงมีภาวะเศรษฐกิจ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง อี ก ทั้ ง คาดว่ า จะมี ค วามต้ อ งการ บริ โ ภคเพิ่ ม ขึ้ น จากการแข่ ง ขั น กี ฬ าโอลิ ม ปิ ค ในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 ณ สหราชอาณาจักร หรือลอนดอนเกมส์ ดังนั้นคาดว่า ในช่วงครึ่งปีหลังการส่งออกไก่สดไปจำหน่ายยัง สหภาพยุโรปได้อีกครั้ง หลังจากที่โดนระงับการ ส่งออกไก่สดเป็นระยะเวลา 8 ปี จากการเกิดโรค ไข้หวัดนกในประเทศไทย โดยโควตานำเข้าเนือ้ ไก่ แปรรูปจากไทย 160,033 ตันต่อปี อัตราภาษี ในโควตา ร้อยละ 10.9 และโควตาภาษีไก่สด ของสหภาพยุโรป จำนวน 97,710 ตัน โดยแบ่ง ออกเป็น 1) ไก่สดแช่แข็ง 5,100 ตันต่อปี อัตรา ภาษีในโควตา ร้อยละ 0 (ชดเชยจากการเจรจา เรื่องถั่วเหลือง) 2) ไก่หมักเกลือ 92,610 ตันต่อปี โดย มีอัตราภาษีในโควตาร้อยละ 15.4 และ 3) ไก่ประเภททัว่ ไป มีอตั ราภาษีในโควตา ร้อยละ 93-512 โดยไทยมีสิทธิยื่นขอเช่นเดียว กับประเทศอื่น จึงคาดว่าปริมาณการส่งออกไก่ของไทย จะเพิ่มขึ้นในส่วนของไก่สดอีกด้วย ซึ่งสมาคม ผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทยคาดว่าจะส่งออกไก่สด ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(30) ได้ประมาณ 55,000 ตัน หรือคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 60 ของโควตาที่ได้รับจำนวน 92,610 ตันต่อปี เนื่องจากเป็นการส่งออกเพียงครึ่งปี (ก.ค.-ธ.ค.) แต่ในปี 2556 คาดว่าจะสามารถส่งออก ได้เต็มโควตา คาดว่าปี 2555 การส่งออกสินค้าไก่เนื้อของไทยไปสหภาพยุโรป จะส่งออกได้เพิ่มขึ้นทั้ง ปริมาณและมูลค่า แต่ราคาไก่แปรรูปไม่สามารถปรับราคาขึ้นได้ตามต้นทุนที่สูงขึ้นที่เกิดจากการ ปรับขึน้ ค่าแรงงานและราคาวัตถุดบิ อาหารสัตว์ทสี่ งู ขึน้ เนือ่ งจากสหภาพยุโรปประสบปัญหาเศรษฐกิจ จึงยังคงมีการต่อรองด้านราคากันอยู่

3. มาตรการ หรือแนวทางในการแก้ไขปัญหา • ควรมีการบริหารจัดการต้นทุนและราคาที่ดี เพื่อให้ราคาสามารถแข่งขันได้ • เร่งขยายตลาดทั้งไก่สด และไก่แปรรูป ทั้งในตลาดตะวันออกกลาง เกาหลีใต้ และรัสเซีย • เร่งดำเนินการเรือ่ ง Compartment และ Traceability เพือ่ สร้างความมัน่ ใจให้ประเทศคูค่ า้ ยอมรับ และเป็นโอกาสที่จะทำให้ประเทศไทยสามารถส่งออกไก่สดได้เพิ่มขึ้น เป็นการเพิ่มส่วนแบ่ง การตลาดส่งออกเนื้อไก่ไทยไปยังตลาดโลก และส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อของไทยมีรายได้ เพิ่มขึ้นด้วย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


146,564 53.04 16,926.01 52.92 111,646 40.40 11,936.01 37.32 7,911 2.86 833.44 2.61 10,208 3.69 2,287 7.15 276,329 100 31,982.65 100

ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ญี่ปุ่น มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) อาเซียน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ประเทศอื่นๆ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวมทั้งหมด มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

173,233 48.12 25,055.00 49.84 162,271 45.08 22,309.33 44.37 12,634 3.51 1,459.96 2.90 11,853 3.29 1,451 2.89 359,991 100 50,275.42 100

2551

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

สหภาพยุโรป (27 ประเทศ)

2550

รายการ 177,751 50.19 21,847.97 46.04 153,737 43.41 22,886.46 48.23 10,617 3.00 1,287.17 2.71 12,019 3.39 1,435 3.02 354,124 100 47,456.14 100

2552 194,617 48.79 23,417.75 46.51 174,011 43.62 23,421.83 46.52 11,908 2.99 1,417.20 2.81 18,388 4.61 2,089 4.15 398,924 100 50,346.10 100

2553 195,207 46.97 25,2548.33 44.26 189,104 45.50 27,901.01 48.91 12,797 3.08 1,662.49 2.91 18,477 4.45 2,234 3.92 415,585 100 57,045.42 100

2554

Growt 2554 2555 การเปลี่ยนแปลง Rate (%) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) (%) 7.14 98,356 105,141 6.90 2.27 49.13 47.31 -3.70 7.60 12,415.10 12,900.06 3.91 -4.18 46.66 42.08 -9.81 11.89 86,680 99,073 14.30 2.07 43.30 44.58 2.96 19.09 12,344.43 15,406.73 24.81 6.06 46.39 50.26 8.33 9.45 6,074 6,686 10.08 -0.12 3.03 3.01 -0.84 14.47 777.27 928.83 19.50 1.88 27.00 3.03 -88.78 17.60 9,096 11,350 24.78 7.38 4.54 5.11 12.40 3.23 1,072.42 1,420.48 32.46 -8.06 4.03 4.63 14.97 9.62 200,206 222,250 11.01 100 100 12.29 26,609.22 30,656.10 15.21 100 100 -

ตารางที่ 1 ปริมาณการส่งออกสินค้าไก่แปรรูปของไทยไปยังสหภาพยุโรป (EU ภาพรวม 27 ปรเทศ) และประเทศที่สำคัญ ปี 2550-2555

(31)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(32) ตารางที่ 2 ปริมาณการส่งออกสินค้าไก่แปรรูปของไทยไปยังสหภาพยุโรป (EU แยกรายประเทศ) ปี 2550-2554 รายการ

2550

2551

2552

2553

2554

ปริมาณ (ตัน) 91,454 106,742 117,859 132,063 131,256 62.40 61.62 66.31 67.86 67.24 สหราชอาณาจักร มูสัดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) 10,708.71 15,391.13 14,246.89 15,667.58 16,741.00 สัดส่วน (%) 63.27 61.43 65.21 66.90 66.31 ปริมาณ (ตัน) 26,074 33,305 27,501 31,767 29,541 17.79 19.23 15.47 16.32 15.13 เนเธอร์แลนด์ มูสัดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) 2,944.48 4,718.37 3,441.23 3,936.22 3,898.16 สัดส่วน (%) 17.40 18.83 15.75 16.81 15.44 ปริมาณ (ตัน) 12,476 14,022 11,515 12,059 13,831 สัดส่วน (%) 8.51 8.09 6.48 6.20 7.09 เยอรมัน มูลค่า (ล้านบาท) 1,376.48 2,083.18 1,494.83 1,492.82 1,878.60 สัดส่วน (%) 8.13 8.31 6.84 6.37 7.44 ปริมาณ (ตัน) 1,182 2,224 3,213 4,859 5,992 สัดส่วน (%) 0.81 1.28 1.81 2.50 3.07 ฝรั่งเศส มูลค่า (ล้านบาท) 146.54 354.98 447.69 615.88 816.46 สัดส่วน (%) 0.87 1.42 2.05 2.63 3.23 ปริมาณ (ตัน) 10,021 7,987 10,416 5,887 6,543 6.84 4.61 5.86 3.02 3.35 ไอร์แลนด์ มูสัดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) 1,044.64 1,089.81 1,186.56 679.10 789.95 สัดส่วน (%) 6.17 4.35 5.43 2.90 3.13 ปริมาณ (ตัน) 3,096 5,056 3,688 4,656 4,659 สัดส่วน (%) 2.11 2.92 2.07 2.39 2.39 สวีเดน มูลค่า (ล้านบาท) 373.78 821.10 509.45 592.85 638.04 สัดส่วน (%) 2.21 3.28 2.33 2.53 2.53 ปริมาณ (ตัน) 1,100 1,574 1,074 829 1,068 สัดส่วน (%) 0.75 0.91 0.60 0.43 0.55 เบลเยี่ยม มูลค่า (ล้านบาท) 181.30 225.63 192.73 128.48 171.93 สัดส่วน (%) 1.07 0.90 0.88 0.55 0.68 ปริมาณ (ตัน) 132 521 1,065 1,736 1,001 สัดส่วน (%) 0.09 0.03 0.60 0.89 0.51 ฟินแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) 12.80 72.92 139.76 210.73 128.90 สัดส่วน (%) 0.08 0.29 0.64 0.90 0.51 ปริมาณ (ตัน) 971 1,651 1,246 577 692 0.66 0.95 0.70 0.30 0.35 เดนมาร์ก มูสัดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) 128.60 270.25 158.70 66.62 94.33 สัดส่วน (%) 0.76 1.08 0.73 0.28 0.37 ปริมาณ (ตัน) 390 สัดส่วน (%) 0.20 บัลแกเรีย มูลค่า (ล้านบาท) 53.04 สัดส่วน (%) 0.21 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

Growth Rate (%) 9.81 2.49 9.54 1.81 2.05 -4.76 3.87 -3.46 0.56 -6.12 2.93 -4.34 49.60 39.57 48.98 38.26 -10.93 -16.90 -9.80 -16.16 7.63 0.49 7.72 0.11 -6.76 -12.80 -6.47 -13.06 69.14 57.72 76.48 62.21 -15.88 -21.51 -18.29 -24.34 -






(33)



รายการ มอลตา

อิตาลี

โปรตุเกส

สเปน

กรีซ

ออสเตรีย

ลักเซมเบอร์ก

ไซปรัส สาธารณรัฐ เอสโตเนีย ฮังการี

ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

2550

2551

31 119 0.02 0.07 4.82 20.92 0.03 0.08 4 0.002 0.97 0.004 20 0.01 4.10 0.02 23 0.04 0.016 0.00002 3.31 0.003 0.02 0.00001 4 0.003 0.55 0.003 0.01 - 0.00001 0.0005 - 0.000002 8 0.005 1.64 0.01 -

2552

2553

89 139 0.05 0.07 11.40 18.75 0.05 0.08 41 16 0.02 0.01 6.40 3.22 0.03 0.01 19 12 0.01 0.01 3.65 2.55 0.02 0.01 2 7 0.001 0.004 0.30 1.35 0.001 0.01 16 8 0.01 0.004 7.36 1.20 0.03 0.01 2 0.001 0.40 0.002 0.01 - 0.00001 0.001 - 0.000004 0.001 - 0.000001 0.0002 - 0.000001

2554 94 0.05 13.56 0.05 70 0.04 11.54 0.05 38 0.02 7.49 0.03 29 0.015 4.67 0.02 3 0.002 0.56 0.002 0.3 0.0002 0.10 0.0004 -

Growth Rate (%) 26.79 20.11 21.64 10.76 *114.81 *129.20 *96.25 *91.14 *15.79 *23.11 *15.59 *5.37 75.57 67.69 97.34 99.53 -



ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(34) 

รายการ สาธารณัฐลัตเวีย สาธารณรัฐ ลิธัวเนีย โปแลนด์ สาธารณรัฐ สโลวาเกีย สาธารณรัฐ สโลเวเนีย สาธารณรัฐเช็ก

โรมาเนีย รวมสหภาพยุโรป (27 ประเทศ)

2550

2551

2552

ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) 7 สัดส่วน (%) 0.0039 มูลค่า (ล้านบาท) 0.98 สัดส่วน (%) 0.004 ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) 0.01 0.4 สัดส่วน (%) - 0.000005 0.00023 มูลค่า (ล้านบาท) 0.0002 0.04 สัดส่วน (%) - 0.000001 0.0002 ปริมาณ (ตัน) 146,564 173,233 177,751 สัดส่วน (%) 100 100 100 มูลค่า (ล้านบาท) 16,926.01 25,055.00 21,847.97 สัดส่วน (%) 100 100 100

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร หมายเหตุ: *Growth Rate (%) ค่าเฉลี่ย 4 ปี

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

2553

2554

0.02 0.00001 0.001 0.000004 0.002 0.000001 0.0002 0.000001 194,617 195,207 100 100 23,417.75 25,248.33 100 100

Growth Rate (%) 7.14 7.60 -


(35) ตารางที่ 3 ปริมาณการส่งออกสินค้าไก่แปรรูปของไทยไปยังสหภาพ (EU แยกรายประเทศ) ปี 2554 และ ปี 2555 (เดือนมกราคม-มิถุนายน) รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สหราชอาณาจักร มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เนเธอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เยอรมัน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ไอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ฝรั่งเศส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สวีเดน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ฟินแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เบลเยี่ยม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) เดนมาร์ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 65,094 66.18 8,087.09 65.14 15,550 15.81 1,998.29 16.10 7,144 7.26 958.77 7.72 3,738 3.80 446.53 3.60 3,188 3.24 426.15 3.43 2,306 2.34 307.68 2.48 541 0.55 67.07 0.54 380 0.39 64.45 0.52 232 0.24 30.42 0.25

2555 (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) 69,625 6.96 66.22 0.06 8,512.91 5.27 65.99 1.31 14,979 -3.67 14.25 -9.89 1,838.40 -8.00 14.25 -11.46 9,841 37.75 9.36 28.86 1,200.18 25.18 9.30 20.47 3,161 -15.44 3.01 -20.89 359.01 -19.60 2.78 -22.62 3,327 4.36 3.16 -2.37 418.40 -1.82 3.24 -5.51 2,528 9.63 2.40 2.55 322.89 4.94 2.50 1.00 531 -1.85 0.51 -8.18 78.12 16.48 0.61 12.10 858 125.79 0.82 111.22 135.04 109.53 1.05 101.65 132 -43.10 0.13 -46.78 15.38 -49.44 0.12 -51.34



ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(36) 

รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) อิตาลี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) มอลตา มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) โปรตุเกส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สเปน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) บัลแกเรีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) กรีซ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ลักเซมเบอร์ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สั ดส่วน (%) ออสเตรีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ไซปรัส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สัมูดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ฮังการี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 51 0.05 8.64 0.07 56 0.06 7.89 0.06 29 0.03 5.93 0.05 24 0.02 3.63 0.03 21 0.02 2.27 0.002 2 0.002 0.29 0.002 -

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

2555 (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) 44 -13.73 0.04 -19.29 5.61 -35.07 0.04 -37.51 35 -37.50 0.03 -41.53 4.58 -41.95 0.04 -44.13 0.002 -99.99 0.000002 -99.99 0.0002 -99.99 0.000002 -99.00 29 1.35 เท่า 0.03 1.26 เท่า 3.72 1.18 เท่า 0.03 1.13 เท่า 0.40 0.0004 0.09 0.001 32 0.03 3.78 0.03 -




(37)



รายการ ปริมาณ (ตัน) สาธารณรัฐลัตเวีย สัมูดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สาธารณรัฐลิธัวเนีย สัมูดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) โปแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สาธารณรัฐสโลวาเกีย สัมูดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สาธารณรัฐสโลเวเนีย สัมูดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) สาธารณรัฐเช็ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) โรมาเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) รวมประเทศ PIIGS ปริมาณ (ตัน) (โปรตุเกส ไอร์แลนด์ สัมูดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) อิตาลี กรีซ สเปน) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) รวมสหภาพยุโรป สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) (27 ประเทศ) สัดส่วน (%)

2554 (ม.ค.-มิ.ย.)

3,844 3.91 465.02 3.75 98,356 100 12,415.10 100

2555 (ม.ค.-มิ.ย.)

19 0.02 1.95 0.02 3,234 3.08 368.34 2.86 105,141 100 12,900.06 100

การเปลี่ยนแปลง (%) -15.87 -21.30 -20.79 -23.77 6.90 3.91 -

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(38) ตารางที่ 4 ปริมาณการส่งออกไก่แปรรูปของไทยไปยังประเทศสหภาพยุโรป ในกลุ่ม PIIGS นอกกลุ่ ม PIIGS และประเทศอื่ น ๆ ปี 2554 และ 2555 (เดื อ นมกราคม มิถุนายน) รายการ ปริมาณ (ตัน) สหภาพยุโรป สัดส่วน (%) มูลค่า (ล้านบาท) (27 ประเทศ) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ประเทศในกลุ่ม PIIGS มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ประเทศนอกกลุ่ม PIIGS มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ประเทศอื่นๆ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ญี่ปุ่น มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) อาเซียน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ประเทศอื่นๆ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) ทั้งหมด มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

ปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) 38,356 105,141 6.90 49.13 47.31 -3.70 12,415.10 12,900.06 3.91 46.66 42.08 -9.81 3,844 3,234 -15.87 3.91 3.08 -21.30 465.02 368.34 -20.79 3.75 2.86 -23.77 94,512 101,907 7.82 47.21 45.85 -2.87 11,950.08 12,531.72 4.87 44.91 40.88 -8.98 101,850 117,109 14.98 50.87 52.69 3.58 14,194.12 17,756.04 25.09 53.34 57.92 8.58 86,680 99,073 14.30 43.30 44.58 2.96 12,344.43 15,406.73 24.81 46.39 50.26 8.33 6,074 6,686 10.08 3.03 3.01 -0.84 777.27 928.83 19.50 27.00 3.03 -88.78 9,096 11,350 24.78 4.54 5.11 12.40 1,072.42 1,420.48 32.46 4.03 4.63 14.97 200,206 222,250 11.01 100 100 26,609.22 30,656.10 15.21 100 100 -

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร หมายเหตุ: ประเทศในกลุ่ม PIIGS ได้แก่ โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ กรีซ สเปน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


มันสำปะหลัง

1. สถานการณ์การส่งออก การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง (มัน เส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง และแป้งมัน สำปะหลังดัดแปร) ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2550-2554) พบว่า ปริมาณและมูลค่าการ ส่งออกเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.42 และร้อยละ 15.07 ต่อปี โดยในปี 2554 ไทยมีปริมาณการส่งออก 6.41 ล้ า นตั น มู ล ค่ า 76,830 ล้ า นบาท ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ได้แก่ จีน รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย ไต้หวัน และมาเลเซีย ตาม ลำดับ (ตารางที่ 1) การส่ ง ออกไปประเทศคู่ ค้ า ที่ ส ำคั ญ คื อ จี น ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา ทั้ ง ปริ ม าณและ มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.07 และ ร้อยละ 35.22 ต่อปี ตามลำดับ และมีสัดส่วน การส่งออกเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 34.90 ของมูลค่า ส่งออกทัง้ หมด ในปี 2550 เป็นร้อยละ 52.31 ของมูลค่าส่งออกทั้งหมด ในปี 2554 (ตาราง ที่ 1) การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังไป สหภาพยุโรป พบว่า ช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 25502554) ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ มันสำปะหลัง ลดลงจากปริมาณ 1.61 ล้านตัน มูลค่า 9,035 ล้านบาท ในปี 2550 เป็นปริมาณ 0.12 ล้านตัน มูลค่า 2,813 ล้านบาท ในปี 2554 หรือลดลงร้อยละ 54.64 และร้อยละ 32.48 ต่อปี ตามลำดับ (ตารางที่ 1) ประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำคัญ ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ รองลงมาได้แก่ เยอรมัน สวีเดน และฟินแลนด์ ตามลำดับ ซึง่ ในปี 2554 ทัง้ 4 ประเทศดังกล่าว

(39) มีสั ด ส่ ว นการส่ งออกของไทยไปสหภาพยุโ รป รวมร้อยละ 83 ของการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของไทยไปสหภาพยุโรปทั้งหมด โดย ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การส่งออกไปประเทศ คูค่ า้ หลักคือ เนเธอร์แลนด์ ทัง้ ปริมาณและมูลค่า การส่งออกลดลงร้อยละ 55.52 และ 34.19 ต่อปี ตามลำดับ (ตารางที่ 2) สำหรับการส่งออกไปยังกลุม่ PIIGS (โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ กรีซ และสเปน) พบว่า ช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา ปริมาณและมูลค่าการส่งออก ลดลงจากปริมาณ 0.53 ล้านตัน มูลค่า 2,290 ล้านบาท ในปี 2550 เป็นปริมาณ 0.007 ล้าน ตัน มูลค่า 184 ล้านบาท ในปี 2554 หรือ ลดลงร้อยละ 76.68 และร้อยละ 61.34 ต่อปี ตามลำดับ และสัดส่วนการส่งออกของไทยไป กลุ่ม PIIGS ลดลงจากร้อยละ 25.34 ของการ ส่งออกไปสหภาพยุโรปทัง้ หมด ในปี 2550 เหลือ เพียงร้อยละ 6.53 ในปี 2554 โดยในกลุ่ม PIIGS ไทยส่งออกไปอิตาลีมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ สเปน โปรตุเกส กรีซ และไอร์แลนด์ ตามลำดับ (ตารางที่ 2) การส่งออกไปสหภาพยุโรปในช่วงครึง่ ปี แรกของปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย. 55) พบว่ามี ปริมาณการส่งออก 0.033 ล้านตัน มูลค่า 718 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2554 ที่มีปริมาณการส่งออก 0.079 ล้านตัน มูลค่า 1,830 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 58.19 และ ร้อยละ 60.79 ตามลำดับ โดยไทยส่งออกไป เนเธอร์แลนด์มากทีส่ ดุ รองลงมาได้แก่ เยอรมัน ฟินแลนด์ สวีเดน และฝรั่งเศส ตามลำดับ สำหรับการส่งออกไปยังกลุม่ PIIGS ในช่วง ครึ่งปีแรกของปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย. 55) พบว่า ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(40) มีปริมาณการส่งออก 0.002 ล้านตัน มูลค่า 48.26 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2554 ที่มีปริมาณการส่งออก 0.005 ล้านตัน มูลค่า 132.95 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 70.71 และร้อยละ 63.70 ตามลำดับ (ตาราง ที่ 3)

2. การวิเคราะห์ผลกระทบ ไทยส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง (มัน เส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง และแป้ง มันสำปะหลังดัดแปร) ประมาณร้อยละ 75 ทีเ่ หลือ ร้อยละ 25 เป็นการใช้ในประเทศ ประเทศคู่ค้า หลักอยูใ่ นทวีปเอเชีย คิดเป็นร้อยละ 91 ของการ ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังทั้งหมดของไทย ที่เหลือร้อยละ 9 ส่งออกไปยังตลาดอื่นๆ โดย ส่ ง ออกไปยั ง สหภาพยุ โ รปร้ อ ยละ 3.66 ซึ่ ง ส่วนใหญ่ส่งออกในรูปแป้งมันสำปะหลัง และ แป้งมันสำปะหลังดัดแปร ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ในสหภาพยุโรป คือ เนเธอร์แลนด์ เยอรมัน สวีเดน และฟินแลนด์ 2.1 ช่วงครึ่งปีแรกของปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย. 2555) การส่งออกไปสหภาพยุโรปในช่วงครึ่งปี แรกของปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย. 55) เทียบกับช่วง เดียวกันของปี 2554 พบว่า มีปริมาณการส่งออก 0.003 ล้านตัน มูลค่า 718 ล้านบาท ลดลงจาก ช่วงเดียวกันของปี 2554 ทีม่ ปี ริมาณการส่งออก 0.079 ล้านตัน มูลค่า 1,830 ล้านบาท หรือ ลดลงร้อยละ 58.19 และ 60.79 ตามลำดับ ซึง่ ทั้งกลุ่ม PIIGS และนอกกลุ่ม PIIGS นำเข้า ลดลง เนื่องจากสหภาพยุโรปหันไปใช้ข้าวโพด และข้าวสาลีทดแทน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

2.2 การส่งออกช่วงครึง่ ปีหลัง ปี 2555 (ก.ย.ธ.ค. 2555) เมือ่ เปรียบเทียบการส่งออกในช่วง 6 เดือน หลังของปี 2555 (ก.ย.-ธ.ค. 2555) เทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2554 พบว่า ปริมาณและ มูลค่าการส่งออกไปสหภาพยุโรป ทัง้ กลุม่ PIIGS และนอกกลุม่ PIIGS น่าจะลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา เช่นเดียวกับช่วงครึ่งปีแรก คาดว่าปี 2555 คาดว่า การส่งออก ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังไปสหภาพยุโรป ทั้ง ปริมาณและมูลค่าจะลดลงจากปีที่ผ่านมา แต่ การเกิดวิกฤตยูโรโซนจะไม่สง่ ผลต่อการส่งออก ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของไทยมากนัก เนื่อง จากกลุ่มสหภาพยุโรปไม่ใช่ตลาดหลักของไทย อย่างไรก็ตาม หากวิกฤตนี้ขยายไปยังตลาด ส่งออกหลักของไทย ก็จะส่งผลกระทบต่อการ ส่งออกของไทยได้

3. มาตรการหรือแนวทางในการแก้ไขปัญหา มาตรการเพื่อช่วยเหลือการส่งออกผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังไทย หากได้รบั ผลกระทบจาก วิกฤตยูโรโซน 1) รักษาตลาดเดิม โดยเฉพาะจีน โดยผลิต สิ น ค้ า ให้ มี คุ ณ ภาพตรงกั บ ความต้ อ งการของ ประเทศคู่ค้า เช่น ผลิตมันเส้นสะอาดที่มีขนาด ใหญ่ 2) หาตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ 3) จัดคณะผูแ้ ทนการค้าภาครัฐและเอกชน เดินทางไปเยี่ยมเยือนลูกค้าในตลาดเดิม และ ตลาดใหม่




ปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 79,476 2.61 1,830 4.81 2,162,843 71.12 4,695 12.34 117,193 3.85 2,231 5.86 130,930 4.31 2,227 5.85 89,643 2.95 1,577 4.15 241,974 7.96 5,035 13.23 3,041,098 100.00 38,047 100.00

ปี 2555 Growth Rate (ม.ค.-มิ.ย.) (%) 33,226 -58.19 0.92 718 -60.79 1.82 2,450,464 13.30 67.98 4,279 -8.85 10.83 444,143 278.98 12.32 6,176 176.89 15.62 124,465 -4.94 3.45 1,779 -20.12 4.50 122,454 36.60 3.40 1,781 12.90 4.50 226,101 -6.56 6.27 4,230 -16.00 10.70 3,604,566 18.53 100.00 39,528 3.89 100.00

หมายเหตุ: ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง หมายถึง มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง และแป้งมันสำปะหลังดัดแปร      ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

Rate รายการ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 Growth (%) ปริมาณ (ตัน) 1,606,737 1,126,469 87,119 71,319 122,604 -54.64 สั ด ส่ ว น (%) 23. 9 9 23. 2 9 1. 2 7 1. 0 6 1. 9 1 สหภาพ ยุโรป มูลค่า (ล้านบาท) 9,035 7,737 1,383 1,572 2,813 -32.48 สัดส่วน (%) 19.68 17.01 2.77 2.38 3.66 ปริมาณ (ตัน) 3,213,486 1,548,553 4,806,010 4,863,563 4,339,912 19.07 สั ด ส่ ว น (%) 47. 9 8 32. 0 2 70. 1 3 72. 5 4 67. 6 9 จีน มูลค่า (ล้านบาท) 5,402 7,500 6,656 7,064 8,458 8.73 สัดส่วน (%) 11.76 16.49 13.33 10.68 11.01 ปริมาณ (ตัน) 333,340 208,426 308,722 347,711 532,311 15.58 สั ด ส่ ว น (%) 4. 9 8 4. 3 1 4. 5 0 5. 1 9 8. 3 0 อินโดนีเซีย มูลค่า (ล้านบาท) 3,242 2,884 3,507 5,235 8,033 27.27 สัดส่วน (%) 7.06 6.34 7.02 7.92 10.46 ปริมาณ (ตัน) 316,911 266,252 342,420 274,565 285,227 -1.78 สั ด ส่ ว น (%) 4. 7 3 5. 5 0 5. 0 0 4. 1 0 4. 4 5 ไต้หวัน มูลค่า (ล้านบาท) 2,860 2,969 3,246 4,049 4,410 12.48 สัดส่วน (%) 6.23 6.53 6.50 6.12 5.74 ปริมาณ (ตัน) 171,273 185,152 207,078 210,843 230,783 7.53 สั ด ส่ ว น (%) 2. 5 6 3. 8 3 3. 0 2 3. 1 4 3. 6 0 มาเลเซีย มูลค่า (ล้านบาท) 1,587 2,077 2,073 3,154 3,655 23.20 สัดส่วน (%) 3.46 4.57 4.15 4.77 4.76 ปริมาณ (ตัน) 665,396 1,033,468 670,781 556,047 475,655 17.06 9.93 21.37 9.79 8.29 7.42 อื่นๆ มูสัดลส่ค่วาน(ล้(%) านบาท) 7,771 11,322 6,797 9,327 9,274 -59.35 สัดส่วน (%) 16.92 24.89 13.61 14.10 12.07 ปริมาณ (ตัน) 6,698,224 4,836,610 6,853,081 6,704,687 6,411,599 2.42 สั ด ส่ ว น (%) 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 รวม มูลค่า (ล้านบาท) 45,923 45,483 49,941 66,140 76,830 15.07 สัดส่วน (%) 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

ตารางที่ 1 การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังไทยไปประเทศที่สำคัญ ปี 2550-2554

(41)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(42) ตารางที่ 2 การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของไทยไปกลุ่มสหภาพยุโรป ปี 2550-2554 รายการ ปริมาณ (ตัน) เนเธอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เยอรมัน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สวีเดน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ฟินแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) อิตาลี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ฝรั่งเศส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เบลเยี่ยม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริ มาณ (ตัน) สหราช มูลค่า (ล้านบาท) อาณาจักร สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สเปน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ลิธัวเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) โปแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) โปรตุเกส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ลัตเวีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เช็ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

ปี 2550 907,121.12 4,974.28 55.05 14,064.88 228.72 2.53 30,379.87 375.22 4.15 38,602.14 591.31 6.54 70,832.62 419.82 4.65 9,874.11 127.68 1.41 65,526.70 260.25 2.88 2,847.63 40.94 0.45 449,177.77 1,803.94 19.97 5,550.00 67.74 0.75 3,093.30 28.64 0.32 4,494.83 58.89 0.65 2,614.65 28.06 0.31 1,081.70 11.97 0.13

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 536,441.17 39,506.85 39,727.14 3,455.42 575.36 817.23 44.66 41.61 51.98 43,639.28 9,509.93 12,300.49 525.63 219.45 361.28 6.79 15.87 22.98 22,938.21 11,422.24 2,838.82 379.60 175.67 44.48 4.91 12.70 2.83 17,207.32 5,796.97 2,446.79 332.66 97.84 54.03 4.30 7.08 3.44 77,561.55 5,413.17 256.75 453.82 76.46 7.25 5.87 5.53 0.46 9,478.11 4,963.27 5,357.17 129.81 66.39 98.14 1.68 4.80 6.24 6,241.07 1,334.09 2,912.81 119.17 28.04 72.84 1.54 2.03 4.63 3,342.92 2,958.69 2,938.47 68.28 58.87 64.72 0.88 4.26 4.12 400,604.85 598.31 735.98 2,140.45 12.30 19.90 27.67 0.89 1.27 2,488.00 4,316.60 1,101.10 36.14 54.55 19.82 0.47 3.94 1.26 1.50 1.60 190.95 0.03 0.03 3.41 0.00 0.00 0.22 1,626.00 30.00 75.00 27.17 0.51 1.59 0.35 0.04 0.10 3,208.74 406.00 288.00 43.89 6.04 4.66 0.57 0.44 0.30 291.40 269.86 20.30 5.41 4.02 0.34 0.07 0.29 0.02

ปี 2554 58,035.86 1,262.52 44.89 18,816.87 498.95 17.74 14,046.85 323.59 11.51 10,064.87 240.34 8.55 3,747.22 89.08 3.17 3,923.66 83.79 2.98 2,968.90 70.25 2.50 3,179.30 70.40 2.50 2,277.06 62.21 2.21 1,706.50 35.29 1.25 1,589.40 28.93 1.03 1,005.00 25.10 0.89 756.00 12.68 0.45 37.70 0.71 0.03

Growth Rate (%) -55.52 -34.19 -6.61 12.58 -30.46 -21.65 -37.12 -30.36 -68.62 -51.51 -21.47 -10.61 -50.10 -26.74 0.92 10.85 -81.49 -68.06 -27.20 -17.34 42.12 61.92 -45.51 -36.52 -38.69 -31.82 -60.85 -56.94 -




(43)



Growth รายการ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 Rate (%) ปริมาณ (ตัน) 602.61 1,011.60 517.91 72.61 331.00 -31.84 กรีซ มูลค่า (ล้านบาท) 7.02 13.74 6.44 1.58 6.55 -20.54 สัดส่วน (%) 0.08 0.18 0.47 0.10 0.23 ปริมาณ (ตัน) 227.85 2.64 3.41 3.64 28.10 -32.07 เดนมาร์ก มูลค่า (ล้านบาท) 2.13 0.06 0.06 0.10 0.49 -21.66 สัดส่วน (%) 0.02 0.00 0.00 0.01 0.02 ปริมาณ (ตัน) 18.05 44.25 14.10 16.00 30.80 0.52 ไอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) 0.35 1.02 0.20 0.30 0.61 -1.38 สัดส่วน (%) 0.004 0.01 0.01 0.02 0.02 ฮังการี ปริมาณ (ตัน) 19.96 0.23 37.00 มูลค่า (ล้านบาท) 0.18 0.01 0.63 สัดส่วน (%) 0.002 0.0001 0.02 ปริมาณ (ตัน) 95.00 38.00 20.51 บัลแกเรีย มูลค่า (ล้านบาท) 0.81 0.35 0.40 สัดส่วน (%) 0.01 0.03 0.01 ปริมาณ (ตัน) 1.60 35.05 0.70 1.45 1.35 -29.71 ออสเตรีย มูลค่า (ล้านบาท) 0.03 0.50 0.01 0.03 0.03 -19.65 สัดส่วน (%) 0.0003 0.006 0.001 0.002 0.001 ปริมาณ (ตัน) 1.57 0.50 0.38 0.88 0.33 -22.86 สโลวีเนีย มูลค่า (ล้านบาท) 0.04 0.01 0.01 0.02 0.01 -19.17 สัดส่วน (%) 0.0005 0.0001 0.0006 0.0015 0.0003 ปริมาณ (ตัน) 24.96 34.97 0.10 มอลตา มูลค่า (ล้านบาท) 0.65 0.51 0.002 สัดส่วน (%) 0.01 0.03 0.0001 ปริมาณ (ตัน) 253.00 119.00 0.02 โรมาเนีย มูลค่า (ล้านบาท) 2.83 1.41 0.0004 สัดส่วน (%) 0.03 0.02 0.00001 ปริมาณ (ตัน) 256.00 161.00 17.00 เอสโตเนีย มูลค่า (ล้านบาท) 4.63 1.88 0.19 สัดส่วน (%) 0.05 0.02 0.01 ปริมาณ (ตัน) 0.23 ไซปรัส มูลค่า (ล้านบาท) 0.00 สัดส่วน (%) 0.0002 ปริ ม าณ (ตั น ) 1,606,736.95 1,126,469.37 87,119.28 71,319.29 122,604.40 -54.64 รวมกลุ่ม มูลค่า (ล้านบาท) 9,035.47 7,736.73 1,382.80 1,572.23 2,812.54 -32.48 ประเทศ EU สัดส่วน (%) 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 ปริ ม าณ (ตั น ) 525,125.86 480,848.25 6,573.49 1,156.34 7,391.08 -76.68 รวมส่งออก มูลค่า (ล้านบาท) 2,290.01 2,636.20 95.91 30.61 183.54 -61.34 ไปกลุ่ม PIIGS สัดส่วน (%) 25.34 34.07 6.94 1.95 6.53 หมายเหตุ: ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง หมายถึง มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง และแป้งมันสำปะหลังดัดแปร ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(44) ตารางที่ 3 การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของไทยไปกลุ่มสหภาพยุโรปรายเดือน ปี 2554 เทียบกับปี 2555 รายการ ปริมาณ (ตัน) เนเธอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เยอรมัน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ฟินแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สวีเดน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) อิตาลี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ฝรั่งเศส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สหราชอาณาจักร มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เบลเยี่ยม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ลิธัวเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) กรีซ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สเปน มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) โปแลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เช็ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) โปรตุเกส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ไอร์แลนด์ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

ปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย) 36,595.71 11,245.80 807.63 233.84 44.12 32.58 12,885.27 7,431.20 332.20 188.27 18.15 26.24 6,176.07 3,147.20 149.99 67.06 8.19 9.34 8,308.75 3,595.80 194.08 67.36 10.60 3.39 3,272.96 582.60 75.91 29.06 4.15 4.05 2,979.07 2,609.63 62.69 44.93 3.43 6.26 2,023.37 1,656.37 45.92 34.55 2.51 4.81 1,837.88 1,185.89 43.91 17.10 2.40 2.38 955.50 598.20 20.78 12.45 1.14 1.73 203.80 628.33 3.82 10.39 0.21 1.45 1,314.11 358.12 37.93 8.51 2.07 1.19 1,495.20 127.60 26.59 3.15 1.45 0.44 37.00 21.44 0.69 0.36 0.04 0.05 590.00 15.00 14.70 0.29 0.80 0.04 30.00 0.60 0.58 0.02 0.03 0.002

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

Growth Rate (%) -69.27 -71.05 -26.15 -42.33 -43.33 44.55 -49.04 -55.29 14.03 -56.72 -65.29 -11.47 -82.20 -61.72 -2.37 -12.40 -28.34 82.78 -18.14 -24.75 91.93 -35.48 -61.06 -0.68 -37.39 -40.09 52.81 208.31 171.93 593.59 -72.75 -77.58 -42.81 -91.47 -88.16 -69.81 -42.04 -48.05 32.51 -97.46 -98.02 -94.95 -98.00 -97.13 -92.68




(45)



รายการ ปริมาณ (ตัน) สโลวีเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ออสเตรีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เดนมาร์ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) บัลแกเรีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) โรมาเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ลัตเวีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) มอลตา มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) เอสโตเนีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ฮังการี มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ไซปรัส มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สโลวาเกีย มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) ลักเซมเบอร์ก มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) รวมกลุ่มประเทศ EU มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) รวมส่งออกไป มูลค่า (ล้านบาท) กลุ่ม PIIGS สัดส่วน (%)

ปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย) 0.08 0.18 0.002 0.01 0.0001 0.001 0.95 1.21 0.02 0.04 0.00 0.01 14.00 1.70 0.24 0.04 0.01 0.01 0.01 19.00 0.00005 0.23 0.00 0.03 0.02 0.00 0.0004 0.00 0.00 0.00 756.00 0.00 12.68 0.00 0.69 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 79,475.73 33,225.86 1,830.38 717.63 100.00 100.00 5,410.86 1,584.65 132.95 48.26 7.26 6.72

Growth Rate (%) 133.33 168.15 583.97 26.84 66.90 325.68 -87.86 -85.11 -62.03 379,900.00 517,184.44 1,319,278.33 -58.19 -60.79 -70.71 -63.70 -

หมายเหตุ: ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง หมายถึง มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง และแป้งมันสำปะหลังดัดแปร ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(46) ตารางที่ 4 การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของไทยรายเดือย ปี 2554 เทียบกับปี 2555 รายการ ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) กลุ่ม PIIGS มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) นอกกลุ่ม PIIGS มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวมกลุ่มประเทศ EU มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) อื่นๆ มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%) ปริมาณ (ตัน) สัดส่วน (%) รวม มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วน (%)

ปี 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปี 2555 (ม.ค.-มิ.ย) 5,410.86 1,584.65 0.18 0.04 132.95 48.26 0.35 0.12 74,064.87 31,641.22 2.44 0.88 1,697.43 669.37 4.46 1.69 79,475.73 33,225.86 2.61 0.92 1,830.38 717.63 4.81 1.82 2,961,621.91 3,571,339.82 97.39 99.08 36,216.36 38,810.70 95.19 98.18 3,041,098 3,604,566 100.00 100.00 38,047 39,528 100.00 100.00

Growth Rate (%) -70.71 -75.29 -63.70 -65.06 -57.28 -63.96 -60.57 -62.04 -58.19 -64.73 -60.79 -62.26 20.59 1.74 7.16 3.15 18.53 3.89 -

หมายเหตุ: ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง หมายถึง มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง และแป้งมันสำปะหลังดัดแปร ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(47)

มุมมองตลาดสินค้าปศุสัตว์และสัตว์ปีก

โดย น.สพ. ไชยศักดิ์ บุญประสพธนโชติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ในเครือ ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป

สถานการณ์ปัจจุบันของสินค้าปศุสัตว์ที่สำคัญ ชนิดสัตว์ เป็ดเนื้อ ไก่ไข่ ไก่เนื้อ สุกร

ประมาณการปี 2555 การผลิตรวม (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 51 8,450 83.5 25,000 1,300 104,000 14 84,000

ประมาณการมูลค่าส่งออก (ล้านบาท) 3,000 1,000 72,500 2,000

เป็ดเนื้อ ประเทศผู้ผลิตเป็ดที่สำคัญของโลก

(หน่วย: พันตัน)

ประเทศ จีน ฝรั่งเศส ไทย* เวียดนาม สหรัฐฯ เกาหลีใต้ อินเดีย ฮังการี อังกฤษ เยอรมันนี อื่นๆ รวมทั้งโลก ที่มา: FAO

2554 % สัดส่วนปี 54 2,828.0 70.00 237.4 5.88 92.9 2.30 82.8 2.05 84.8 2.10 72.7 1.80 74.7 1.85 42.4 1.05 40.4 1.00 39.4 0.98 444.4 11.00 4,040.0 100.00

ประเทศผู้ส่งออกเนื้อเป็ดที่สำคัญของโลก

(หน่วย: ตัน)

ประเทศ จีน ฮังการี ฝรั่งเศส ไทย* สหรัฐฯ เนเธอร์แลนด์ เยอรมันนี อังกฤษ แคนาดา ไอร์แลนด์ อื่นๆ รวมทั้งโลก

2554 % สัดส่วนปี 54 26,260 21.85 17,675 14.71 13,736 11.43 13,903 11.57 12,221 10.17 7,878 6.55 7,070 5.88 5,656 4.71 2,929 2.44 2,626 2.18 10,236 8.52 120,190 100.00

ที่มา: FAO

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(48) ประเทศผู้นำเข้าเนื้อเป็ดที่สำคัญของโลก

(หน่วย: ตัน)

ประเทศ จีน เยอรมันนี ญี่ปุ่น อังกฤษ สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย รัสเซีย สหรัฐฯ แคนาดา อื่นๆ รวมทั้งโลก

2554 % สัดส่วนปี 54 50,500 42.02 12,322 10.25 8,787 7.31 8,181 6.81 5,050 4.20 2,828 2.35 2,020 1.68 2,020 1.68 1,717 1.43 2,121 1.76 24,644 20.50 120,190 100.00

การบริโภคเนื้อเป็ดต่อคนต่อปีแยกรายประเทศ

(หน่วย: กก.)

ประเทศ ฝรั่งเศส ฮังการี จีน ไทย เวียดนาม อังกฤษ เยอรมันนี สิงคโปร์ สหรัฐฯ

2554 3.66 2.47 2.08 1.21 0.95 0.58 0.39 0.34 0.23

ที่มา: FAO

ที่มา: FAO

ไก่ไข่ ประเทศผู้ผลิตไข่ไก่ที่สำคัญของโลก

(หน่วย: ล้านฟอง)

ประเทศ จีน สหภาพยุโรป (27) สหรัฐอเมริกา อินเดีย ญี่ปุ่น รัฐเซีย เม็กซิโก บราซิล อินโดนีเซีย ไทย อื่นๆ รวมทั้งโลก

2554 % สัดส่วนปี 54 452,794 41.81 10,062 0.93 90,255 8.33 47,005 4.34 43,846 4.05 35,819 3.31 39,663 3.66 27,859 2.57 20,379 1.88 11,371 1.05 303,861 28.06 1,082,912 100.00

ที่มา: FAO ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

ประเทศผู้ส่งออกไข่ไก่ที่สำคัญของโลก

(หน่วย: ล้านฟอง)

ประเทศ จีน อเมริกา มาเลเซีย บราซิล อินเดีย สหภาพยุโรป (25) ไทย อื่นๆ รวมทั้งโลก ที่มา: FAO

2554 % สัดส่วนปี 54 1,299 4.15 1,273 4.07 1,273 4.07 690 2.21 589 1.88 130 0.42 408 1.31 25,605 81.89 31,266 100.00




(49) ประเทศผู้นำเข้าไข่ไก่ที่สำคัญของโลก

(หน่วย: ล้านฟอง)

ประเทศ ฮ่องกง สิงคโปร์ แอฟริกา สหภาพยุโรป (27) สหรัฐอาหรับเอมิเรต แคนาดา โอมาน เกาหลีใต้ อื่นๆ รวมทั้งโลก

2554 % สัดส่วนปี 54 1,389 5.07 1,125 4.11 1,074 3.92 829 3.03 479 1.75 357 1.30 161 0.59 6 0.02 21,986 80.23 27,404 100.00

ที่มา: FAO

อัตราการบริโภคไข่ไก่ต่อคนต่อปี ของบางประเทศ

(หน่วย: ฟอง/คน/ปี)

ประเทศ จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน เม็กซิโก อเมริกา รัฐเซีย ฝรั่งเศส มาเลเซีย เยอรมัน ฮ่องกง ไทย

2554 333 325 323 312 299 251 254 230 202 199 173

ที่มา: FAO, ปี 2549 International Egg Commission

ไก่เนื้อ ประเทศผู้ผลิตเนื้อไก่ที่สำคัญของโลก

(หน่วย: พันตัน)

ประเทศ สหรัฐฯ จีน บราซิล EU (27) เม็กซิโก อินเดีย รัสเซีย อาร์เจนติน่า ไทย* ญี่ปุ่น อื่นๆ รวม

2554 % สัดส่วนปี 54 16,982 22.2 14,111 18.5 11,760 15.4 8,750 11.4 2,946 3.9 2,853 3.7 1,833 2.4 1,597 2.1 1,371 1.8 1,298 1.7 12,965 17.0 76,464 100.0

ที่มา: USDA October 2008, *Thai Broiler Processing Exporters Association

ประเทศผู้ส่งออกเนื้อไก่ที่สำคัญของโลก

(หน่วย: พันตัน)

ประเทศ บราซิล สหรัฐอเมริกา EU (27) ไทย* จีน แคนาดา อาร์เจนติน่า คูเวต สหรัฐอาหรับฯ ออสเตรเลีย อื่นๆ รวม

2554 % สัดส่วนปี 54 3,708 43.4 2,931 34.3 628 7.4 462 5.3 291 3.4 155 1.8 139 1.6 72 0.8 31 0.4 26 0.3 194 2.3 8,637 100.0

ที่มา: USDA October 2008, *Thai Broiler Processing Exporters Association ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(50) ประเทศผู้นำเข้าไก่เนื้อที่สำคัญของโลก

(หน่วย: พันตัน)

ประเทศ รัสเซีย ญี่ปุ่น EU (27) ซาอุดิอารเบีย จีน เม็กซิโก เวเนซูเอล่า สหรัฐอาหรับฯ ฮ่องกง เวียดนาม อื่นๆ รวม

2554 % สัดส่วนปี 54 1,226 15.1 700 8.6 700 8.6 515 6.4 464 5.7 464 5.7 330 4.1 309 3.8 258 3.2 258 3.2 2,876 35.5 8,098 100.0

ที่มา: USDA October 2008, *Thai Broiler Processing Exporters Association

ปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ต่อคนต่อปี ของประเทศที่สำคัญ

(หน่วย: กิโลกรัม/คน/ปี)

ประเทศ UAE คูเวต สหรัฐฯ เวเนซูเอล่า บราซิล อาร์เจนติน่า ออสเตรเลีย แคนาดา เม็กซิโก ไต้หวัน แอฟริกาใต้ รัสเซีย ยูเครน EU (27) ญี่ปุ่น ไทย* เกาหลีใต้ จีน อินโดนีเซีย อินเดีย

2554 65.7 63.1 45.9 40.7 40.2 35.7 34.9 32.3 30.5 30.1 27.3 21.8 19.7 16.6 15.7 15.3 13.1 10.7 3.6 2.5

ที่มา: USDA, จากการคำนวณ, World Fact Book (*Thai Broiler Processing Exporters Association)

ประเทศคู่ค้าเนื้อไก่แปรรูป ปี 2554 กลุ่ม ประเทศสหภาพยุโรป ประเทศเอเซีย ประเทศอาเซียน AEC ประเทศตะวันออกกลาง ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศอื่น รวมทั้งหมด

กก. 197,438,307 220,178,374 12,564,678 1,069,699 95,674 2,928,017 434,274,749

ที่มา: กรมปศุสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

บาท 25,529,851,873 32,401,097,617 1,633,780,267 147,690,260 9,520,065 431,941,426 60,153,881,508

สัดส่วน (%) 45.46 50.70 2.89 0.25 0.02 0.67 100.00


(51) ประเทศคู่ค้าเนื้อไก่สด ปี 25554 กลุ่ม อาเซียน (AEC) เอเซีย ตะวันออกกลาง ประเทศอื่น รวมทั้งหมด

กก. 15,033,153 5,063,090 3,745,009 3,385,567 27,226,819

บาท 1,089,557,209 399,133,378 211,106,528 180,888,675 1,880,685,790

สัดส่วน (%) 55 19 14 12 100

ที่มา: กรมปศุสัตว์

ประมาณการเป้าหมายการส่งออก ปี 2555 รายการ เนื้อไก่ - ปริมาณ - มูลค่า เนื้อไก่แปรรูป - มูลค่า - มูลค่า - ราคา เนื้อไก่สด - มูลค่า - มูลค่า - ราคา อัตราแลกเปลี่ยน สัดส่วนส่งออก - เนื้อไก่แปรรูป - เนื้อไก่สด

ปี หน่วย ตัน ล้านบาท ล้าน$ ตัน ล้านบาท ล้าน$ บาท/กก. ตัน ล้านบาท ล้าน$ บาท/กก. บาท/$

2552 ส่งจริง 397,180 52,737 1,598 378,832 51,494 1,560 136 18,348 1,243 38 68 33

2553 ส่งจริง 420,662 53,474 1,782 404,591 52,384 1,746 129 16,071 1,090 36 67 30

2554 ส่งจริง 462,568 62,173 2,006 435,284 60,292 1,945 139 27,282 1,881 61 69 31

95.38 4.62

96.18 3.82

94.10 5.90

% %

2555 เป้าหมาย ส่งจริง 566,107 72,535 2,340 470,107 65,815 2,123 140 96,000 6,720 217 70 31 83.04 16.96

ที่มา: กรมปศุสัตว์

ปริมาณเคลื่อนย้ายลูกไก่ และไก่ใหญ่ (ล้านตัว/สัปดาห์) เดือน ม.ค. - มี.ค. 53 เม.ย. - มิ.ย. 53 ก.ค. - ก.ย. 53 ต.ค. - ธ.ค. 53 เฉลี่ย ม.ค. - มี.ค. 54 เม.ย. - มิ.ย. 54 ก.ค. - ก.ย. 54 ต.ค. - ธ.ค. 54 เฉลี่ย ม.ค.-55 ก.พ.-55 มี.ค.-55

ลูกไก่ 20.07 21.05 21.46 21.79 21.09 22.02 22.36 23.51 23.16 22.76 24.06 23.33 24.07

ไก่ใหญ่ 20.08 19.48 21.07 20.87 20.37 21.57 20.68 22.97 22.46 21.92 22.66 24.54 24.51

ไก่เข้าโรงงาน ส่งออก 16.12 15.74 16.84 17.05 16.44 16.63 15.97 18.36 18.27 17.31 17.55 19.40 19.93

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(52)

2. AEC (ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) กับสินค้าปศุสัตว์ไทย 2.1 กฎบัตรอาเซียน (AEC BLUEPRINT) มี 4 เรื่อง 2.1.1 กฎระเบียบการค้าในประเทศสมาชิกทัง้ หมด เป็นอย่างเดียวกัน: มาตรฐาน คุณภาพ อัตราภาษี ระเบียบการซื้อขาย การขจัดข้อกีดกันทางการค้า การอำนวยความสะดวกทางการค้า การเคลื่อนย้ายบุคคลสัญชาติอาเซียน การลงทุนและการบริการที่เสรีมากขึ้น 2.1.2 การทำให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงในเวทีการค้า โลก ได้แก่ โครงสร้างพืน้ ฐาน การสือ่ สารโทรคมนาคม การเงินการธนาคาร ระบบการค้าทีเ่ ป็นธรรม และการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 2.1.3 การพัฒนาเศรษฐกิจให้เท่าเทียบกันในระหว่างสมาชิก 2.1.4 การร่วมมือกัน ในการเชื่อมโยงอาเซียนเข้ากับเศรษฐกิจโลก

2.2 ตารางเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขันด้านปศุสัตว์ 2555-2560 ลำดับ หัวข้อประเมิน 1 วิสัยทัศน์ ทางธุรกิจปศุสัตว์ (ประสบการณ์) 2 ความสามารถทางการผลิต (วัตถุดิบ/องค์ความรู้) 3 คุณภาพของสินค้า (มาตรฐานสินค้า) 4 ความสามารถทางการตลาด (การส่งออก) 5 การบริหารจัดการธุรกิจ 6 เศรษฐกิจและการลงทุน (การเงิน และโครงสร้างพื้นฐาน) 7 วัฒนธรรมและสังคม (ศาสนา ภาษา คน) 8 ความปลอดภัยทางชีวภาพ 9 Food Safety 10 ความมั่นคงและการเมือง รวม (เต็ม 100)

ไทย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม 10

5

7

9

8

5

3

3

3

7

10

3

7

8

8

3

5

5

3

7

10

5

7

9

8

10

5

5

5

7

10

5

7

7

8

5

2

2

2

6

10

5

7

9

8

10

3

3

3

6

9

9

8

9

8

10

5

5

5

7

8

8

7

7

7

10

5

8

5

5

9 8 10 8 6 10 92 66

7 7 9 73

9 9 9 85

7 8 8 78

9 10 10 82

5 5 9 47

5 5 5 5 9 6 50 42

5 6 9 65

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(53)

สรุปรายงานการเข้าร่วมงานสัมมนา

รู้ทันสถานการณ์หมู-ไก่ ปีมังกรทอง วันที่ 5 กรกฎาคม 2555 เวลา 13.00-18.00 น. ณ หอประชุมกองทัพอากาศ

ตามที่สายธุรกิจเวชภัณฑ์สัตว์บก เครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้มีการจัดงานสัมมนา “รู้ทัน สถานการณ์หมู-ไก่ ปีมังกรทอง” ในวันพฤหัสบดี ที่ 5 กรกฎาคม 2555 เวลา 13.00-18.00 น. ณ หอประชุมกองทัพอากาศ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมสัมมนาได้เข้าใจในปัญหาทางพืน้ ฐาน ด้านการผลิต ด้านการป้องกันโรค และด้านตลาดของสินค้าปศุสัตว์ ถึงรวมถึงสถานการณ์การผลิต ปศุสตั ว์ของประเทศไทย และกลุม่ ประเทศอาเซียน ทัง้ นี้ เพือ่ ให้มกี ารได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์เพือ่ การแก้ไขปัญหาทั้งในมิติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าปศุสัตว์ และเพื่อให้ผู้เข้าร่วมรับฟังการสัมมนา ได้นำข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ทงั้ ในเชิงบวกและเชิงลบ เตรียมรับมือกับด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ต่อไป ช่วงที่ 1 : วิกฤตปัญหาด้านการผลิตปศุสัตว์ไทย และแนวทางการสนับสนุนของสมาคม จาก เหตุการณ์ และสถานการณ์ต่างๆ ที่ได้เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อปี 2554 จนถึงมิถุนายน 2555 ได้มี เหตุการณ์ที่ส่งผลทั้งในทางบวกและทางลบต่อธุรกิจปศุสัตว์เป็นอย่างมาก

นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ มองว่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการประกาศราคาหมูของกระทรวงพาณิชย์ ถือเป็นการแทรกแซงราคาจากทางภาครัฐ ทำให้เกิดการผิดเพี้ยนของกลไกตลาดที่ควรจะเป็น ซึ่งทำให้ไม่สามารถขายหมูที่เกินราคาจากที่ ประกาศไว้ได้ เนื่องจากทำให้มีโทษปรับและติดคุก แต่ในทางกลับกันราคาต้นทุนวัตถุดิบที่เพิ่ม ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(54) สูงขึ้นทำให้เกษตรกร และผู้เลี้ยงสุกรเกิดภาวะขาดทุนมาโดยตลอด ซึ่งจะทำให้รายย่อยและ รายกลางค่อยๆ หลุดหายไปจากวงการนี้ จะคงเหลือแต่รายใหญ่ที่มีต้นทุนในการเลี้ยงที่ต่ำกว่าและ มีรูปแบบการบริหารงานอย่างเป็นระบบ จึงคิดว่าน่าจะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไป ในส่วนของการแข่งขันกับตลาดโลกคิดว่าในประเทศเวียดนามจะกลายเป็นคู่แข่งรายสำคัญของ ประเทศไทย เนือ่ งจากได้เดินทางไปเห็นว่าในเกือบทุกบ้านของคนเวียดนามมีการเลีย้ งหมูไว้หลังบ้าน ซึ่งถือเป็นเกษตรกรรายเล็กๆ แต่สามารถที่จะมีการพัฒนาได้หากรัฐบาลของประเทศเวียดนาม มีการส่งเสริมอย่างจริงจัง ท้ายที่สุด ทางสมาคมฯ ขอให้สมาชิกและผู้เลี้ยงสุกรทั่วประเทศควรมี เอกภาพในการทำธุรกิจร่วมกันตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ เพื่อให้ดุลอำนาจในการต่อรอง และ ทิศทางในการพัฒนาของธุรกิจประเภทนี้เป็นไปในทางเดียวกัน เพื่อที่จะสามารถรองรับกับการเปิด ประเทศจาก AEC และแข่งขันกับตลาดต่างประเทศ นายมงคล พิพัฒน์สัตยานุวงศ์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้ส่งออกไข่ไก่ เห็นว่า ปัญหา ทีเ่ กิดขึน้ จากปีทผี่ า่ นมา ยังมีประเด็นของการเปิดเสรีในการนำเข้าแม่พนั ธุไ์ ก่ได้ ซึง่ จะทำให้เกิดปัญหา ปริมาณสินค้าล้นตลาด (Over Supply) ของไข่ไก่ ซึ่งตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นมา มีปริมาณไข่ไก่ที่ 29 ล้านฟองต่อวัน ปลายปี 2554 อยูท่ ี่ 38.46 ล้านฟองต่อวัน และปี 2555 อยูท่ ี่ 40 กว่าล้านฟอง ต่อวัน แต่ในความเป็นจริงปริมาณความต้องการในการบริโภคไข่ไก่ของประชาชนคนไทยอยู่ที่เฉลี่ย 30-32 ล้านฟองต่อวัน จะเห็นได้ว่ามีปริมาณไข่ไก่ที่ยังล้นตลาดอยู่ถึง 10 ล้านฟองต่อวันนั่นเอง ในส่วนของการดำเนินการของสมาคมฯ ที่จะสามารถทำประโยชน์ให้กับสมาชิกซึ่งได้มีการ ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิก และขอให้สมาชิกมีการควบคุม ปริมาณการผลิตให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งจะเป็นผลดีต่อภาพรวมของทั้งประเทศ และขอให้ ภาครัฐสร้างภาพลักษณ์ของการบริโภคไข่ไก่ เนื่องจากผู้บริโภคยังมีความกังวลต่อคอเรสตอรอลที่ ไม่ควรบริโภคมากจนเกินไปนั่นเอง นายวีรพงษ์ ปัญจวัฒนกุล นายกสมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ ในส่วนของปัญหาหลักของเกษตรกรไทย คือ การที่เกษตรกรไทยผลิตเก่ง แต่ทำการตลาดไม่ดี ทำให้สินค้าไม่ออกสู่ตลาด หรือขายได้ไม่ดี เท่าที่ควร จะเห็นได้ว่าตั้งแต่ต้นปี 2555 ราคาของไก่เนื้ออยู่ในช่วงขาลง โดยมีต้นทุนอยู่ที่ประมาณ 37 บาทต่อตัว ซึ่งเป็นผลมาจากจากปี 2554 ที่ราคาไก่เนื้อมีราคาดี ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อ ขยายปริมาณการเลีย้ งเพิม่ ขึน้ ซึง่ ทำให้ปริมาณไก่เนือ้ โดยรวมของประเทศเพิม่ ขึน้ ราคาจึงลดลง (ความ ต้องการน้อยกว่าปริมาณสินค้าในตลาด) จึงขอให้ภาครัฐอยู่เฉยๆ ไม่ควรเข้ามาแทรกแซงกลไกของ ตลาด ซึ่งตามกลไกของตลาดจะปรับตัวให้อยู่ในภาวะดุลภาพด้วยตัวมันเอง และมองว่าปริมาณของ ไก่เนื้อที่เหมาะสมที่จะทำให้ผู้เลี้ยงไก่เนื้อทุกคนมีกำไรที่ดีคือ 22 ล้านตัวต่อสัปดาห์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ ระดับ 25 ล้านตัวต่อสัปดาห์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(55) อย่างไรก็ตาม โอกาสจากการประกาศกำหนดโควต้าการนำเข้าของ EU ถือเป็นทั้งโอกาส และอุปสรรค เนื่องจากการกำหนดโควต้าดังกล่าวทำให้สมาคมฯ สามารถคำนวนหาปริมาณ การผลิต และแปรรูปได้ แต่มาตรการและมาตรฐานการนำเข้าของ EU ที่เข้มงวดมาก จะทำให้ สินค้าไม่สามารถส่งเข้าไปใน EU ได้เต็มตามโควต้าดังกล่าว นายอาณัติ อุดมเวช นายกสมาคมไก่พนั ธุ์ ปริมาณการผลิตลูกไก่เนือ้ ทีผ่ า่ นมา 10 ปี (25452555) ตั้งแต่ปี 2545 มีปริมาณการผลิตอยู่ที่ 19 ล้านตัวต่ออาทิตย์ โดยแบ่งเป็นการบริโภคใน ประเทศ 3.1 ล้านตัว (17%) และเพื่อการส่งออก 15 ล้านตัว (83%) และในปัจจุบัน (2555) มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น 36% (25 ล้านตัว) และมีปริมาณการบริโภคในประเทศ 3.6 ล้านตัว (14%) และส่งออก 22 ล้านตัว (86%) ทำให้เห็นได้ว่าธุรกิจการผลิตลูกไก่เนื้อมีอัตราเติบโตเฉลี่ย อยู่ที่ 4.5 % ต่อปี ในส่วนของราคาลูกไก่เนื้อและไก่เนื้อเมื่อเทียบกับต้นทุนภายในประเทศตั้งแต่ 2545-2555 จะพบว่า ตั้งแต่ปี 2545 เป็นต้นมา มีเพียงปี 2547 ที่ราคาต้นทุนการผลิตของไก่เนื้อสูงกว่าราคา ตลาด เนื่องจากเกิดไข้หวัดนกระบาดรอบแรก ส่วนปีต่อๆ มามีปัญหาบ้าง แต่ก็สามารถควบคุม ราคาต้นทุนให้อยู่ได้มาโดยตลอด และมาพบอีกครั้งหลังจากระบบการป้องกันโรค-ยา-วัคซีน (นิวคาสเซิล) เพิ่มสูงขึ้น แต่เมื่อลองวิเคราะห์สถานการณ์ของลูกไก่เนื้อและไก่เนื้อ ปี 2555 พบว่า หลังจากรัฐบาลประกาศนำเข้าแม่พันธุ์ไก่เนื้อโดยเสรีแล้ว ปัจจัยที่สำคัญที่จะส่งผลต่อราคา คือ ภาคการส่งออก หากประเทศไทยไม่สามารถส่งออกเพิ่มขึ้นได้ ทั้งจากการปล่อยข่าวเชิงลบของ คุณภาพสินค้า หรือจากการโดนแย่งตลาดจากคู่แข่ง จะทำให้ราคาในประเทศปรับตัวลดลงจาก ปริมาณไก่เนื้อที่ล้นตลาด ทั้งนี้ รัฐบาลควรมีมาตรการในการปกป้องสินค้าที่เข้ามาจากต่างประเทศ เพื่อให้สินค้าภายในประเทศสามารถบริโภคและส่งออกได้จะเป็นการดีต่อภาพรวม และดีกว่า มาตรการแทรกแซงราคา นายคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย มองว่า โอกาสจากเหตุการณ์ ภัยพิบัติสึนามิเมื่อช่วงปี 2554 ที่ผ่านมาที่ประเทศญี่ปุ่น ทำให้ประเทศไทยสามารถส่งไก่เข้าไป ยังประเทศญี่ปุ่นได้มากขึ้น จึงทำให้ Supply ในประเทศลดลง ซึ่งเป็นอานิสงส์ให้ราคาเพิ่มสูงขึ้น นั่นเอง ในส่วนของการที่ EU อนุญาตให้นำเข้าไก่สดได้ตั้งแต่เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคมที่ผ่านมา โดยมีโควต้าจำกัดไว้ที่ 92,000 ตัน ทำให้ไทยจะสามารถส่งออกไก่สดเข้า EU ไปได้ราว 45,000 ตัน ในช่วงครึ่งปีหลัง อย่างไรก็ดี ขณะนี้ได้มีประเทศคู่แข่งพยายามปล่อยข่าวในทางไม่เป็นผลดี ต่อคุณภาพของไก่ไทย อาทิ นำข่าวเก่าเรื่องไข้หวัดนกระบาดมาเผยแพร่ ทำให้ความเชื่อมั่นในการ นำเข้าไก่สดของ EU ลดลงไปได้ ท้ายที่สุดได้ฝากข้อเสนอแนะไว้ 3 ประเด็น ได้แก่

1) แรงงานในอนาคตจากภาคโรงงานจะเกิดการขาดแคลน ซึ่งโรงงานที่ได้รับสิทธิประโยชน์ จาก BOI ทำให้ไม่สามารถใช้แรงงานต่างด้าวได้ แต่ขณะเดียวกัน แรงงานไทยก็ไม่เพียงพอ และหายากที่จะเข้ามาทำงานด้านนี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(56)

2) ต้นทุนวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ทำให้ราคาของไก่เพิ่มสูงขึ้น เช่นกัน ส่งผลให้การส่งออก และการแข่งขันในตลาดต่างประเทศยากลำบากขึ้น

3) การนำเข้าจากประเทศออสเตรเลีย และประเทศอื่นๆ ซึ่งเป็นผลจากการเปิด FTA หรือ การเปิดเสรีอื่นๆ ทำให้เกิดผลกระทบต่อราคาสินค้าในประเทศ โรคระบาด และคุณภาพ ของสินค้า จึงขอให้ภาครัฐเข้ามาควบคุมโดยการปกป้องสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ เพื่อรักษาสินค้าจากเกษตรกรไทย

นายชูศักดิ์ รัตนวณิชย์โรจน์ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรภาคอีสาน นับตั้งแต่ต้นปี 2555 ที่ผ่านมา เกษตรกรรายย่อยทางภาคอีสานมีแนวโน้มในการลดกิจการการเลี้ยงหมูลงประมาณ 25-30% สืบเนื่องมาจากการที่รัฐบาลประกาศห้ามส่งออกในช่วงเวลาตั้งแต่ปี 2554 ที่ผ่านมา รวมถึงการที่พอเกษตรกรมีกำไรจากการขายหมูประมาณ 15-20% ภาครัฐจะเริ่มเข้ามาแทรกแซง ราคาทันที เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคหมูที่ราคาไม่สูง แต่ไม่ได้มองว่าฝั่งต้นน้ำนั้นมีต้นทุนที่สูงอยู่ ดังนั้น ข้อเสนอแนะที่ขอฝากไปยังรัฐบาลที่มีส่วนเกี่ยวข้องขอให้ภาครัฐคอยดูแลอยู่ห่างๆ คือ ไม่ต้องดำเนินมาตรการใดๆ กับธุรกิจประเภทนี้ พร้อมทั้ง สนับสนุนให้จัดตั้งศูนย์กลางทางปศุสัตว์ ไว้ที่บริเวณภาคอีสานเพื่อเป็นศูนย์กลางในการประสานงานทางด้านปศุสัตว์ในภูมิภาคอาเซียนต่อไป ช่วงที่ 2 : ไขข้อข้องใจปศุสัตว์ไทย พร้อมรับ AEC ปี 2558 อันเป็นผลมาจากการเป็นประชาคม อาเซียนในปี 2558 หรือในอีกประมาณ 3 ปีข้างหน้า โดยจะมีการกล่าวถึงโอกาส และอุปสรรคของการเป็น ประชาคมอาเซียนในแง่มุมของวงการปศุสัตว์ของไทย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555




(57) น.ส.สุนันทา กังวาลกุลกิจ ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์การเจรจาการค้า กรมเจรจา การค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้ปูพื้นฐานความเป็นมาของการรวมตัวเป็นประชาคม อาเซียน โดยเริ่มมาตั้งแต่ปี 2510 จาก Bangkok Declaration เรื่อยมาจนปี 2550 ซึ่งมีการ ตกลงร่วมกันในการจะเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 โดยจะมี 6 เรือ่ งทีจ่ ะมีความเสรีมากยิง่ ขึน้ ได้แก่ ด้านสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานมีฝีมือ เงินทุน และความร่วมมือต่างๆ ภายใน อนุภูมิภาค ทั้งนี้ ในส่วนของสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) ซึ่งเป็นสินค้าที่มีความเกี่ยวข้องกับ ปศุ สั ต ว์ แ ละเกษตรกรไทยโดยตรงจะมี ภ าษี ที่ ไ ม่ เ ป็ น ศู น ย์ ใ นระยะแรก แต่ จ ะไม่ เ กิ น 5% ซึ่ ง มี รายละเอียดสินค้าอ่อนไหวตามแต่ละประเทศที่ต่างกันออกไป โดยในส่วนตัวมองว่า การเป็น ประชาคมอาเซียนถือเป็นโอกาสที่ดีสำหรับผู้ประกอบการไทย ไม่เพียงแต่เฉพาะสินค้าปศุสัตว์เท่านั้น ทีจ่ ะสามารถขยายการค้าการลงทุนไปในประเทศเพือ่ นบ้านได้อกี ในปริมาณทีม่ ากขึน้ ซึง่ จะเห็นได้วา่ การส่งออกของไทยไปยังตลาดอาเซียนมีปริมาณน้อยมาก เมื่อเทียบกับการส่งออกไปยังภูมิภาค อื่นๆ ในทางเดียวกันการนำเข้าจากตลาดอาเซียนก็ไม่ได้มาก ทำให้เห็นได้ว่าสินค้าปศุสัตว์ของไทย เพียงพอต่อการบริโภคในประเทศแล้ว ไม่มีความจำเป็นต้องนำเข้า ซึ่งทำให้ไทยจะได้ดุลการค้าใน สินค้าประเภทนี้มาโดยตลอด ดร. รังษิต ภู่ศิริภิญโญ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หน้าที่สำคัญของ สศก. คือการ ให้ข้อมูลความรู้ ความเข้าใจแก่เกษตรกร และเป็นตัวแทนของเกษตรกรในการเข้าร่วมประชุม และ ติดตามสถานการณ์ของผลกระทบต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง AEC ที่จะส่งผลต่อเกษตรกรไทย ทั้งนี้ สถานะของประเทศในกลุ่มอาเซียนมีส่วนแบ่งทางการตลาดของสินค้าปศุสัตว์ (รวมข้าว ยางพารา และมันสำปะหลัง) อยู่ที่ 22% และมีดุลการค้าเป็นบวกมาโดยตลอด แต่ในส่วนของผลกระทบ จากการเป็น AEC นั้น มองว่า เกษตรกรรายย่อยจะได้รับผลกระทบจากการไม่มีภูมิคุ้มกันมากเป็น พิเศษ เนื่องจากทั้งระบบการผลิตที่ไม่ได้มาตรฐาน ต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าบริษัทใหญ่ๆ หรือการ ตลาดที่ไม่สามารถแข่งขันกับบริษัทใหญ่ๆได้ จึงทำให้รายย่อยควรปรับเปลี่ยน และพัฒนารูปแบบ การดำเนินการให้เป็นภูมิคุ้มกันให้แก่ตัวเอง โดยอาจจะใช้การรวมกลุ่มในธุรกิจประเภทเดียวกัน ในการผลิตเพือ่ ลดต้นทุนในการสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ หรือการขนส่งทีละมากๆ ทำให้เป็นการประหยัดต่อขนาด ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการผลิตดีขึ้นตามลำดับ น.สพ. ยุ ค ล ลิ้ ม แหลมทอง ที่ ป รึ ก ษารั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สถานการณ์ของปศุสัตว์ไทยในปัจจุบันนั้นถือว่ามีทั้งโอกาสและอุปสรรคพอๆ กัน โดยอุปสรรคที่ สำคัญคือ ราคาวัตถุดิบ เช่น อาหารสัตว์ เวชภัณฑ์ ยา วัคซีน มีไม่เพียงพอ และราคาสูง ทำให้ ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ แต่ในทำนองเดียวกัน ประเทศไทยถือเป็นประเทศที่มีเทคโนโลยี การผลิตและคุณภาพในการผลิตเป็นอันดับต้นๆ ของโลก อีกทั้งตลาด AEC รวมทั้ง จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เปิดกว้างขึ้น ทำให้ตลาดการบริโภคสินค้าเพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งนับเป็นโอกาสอันดีของสินค้าไทยที่จะเข้าไปยังประเทศต่างๆ ดังกล่าว ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(58)

อย่างไรก็ตาม เกษตรกรไทยควรต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตให้มากขึ้น เพื่อทำให้ต้นทุน ลดลงสำหรับการแข่งขันกับประเทศต่างๆ เช่นกัน รวมถึง การควบคุมโรคระบาดทั้งในสัตว์ และ พัฒนาเกษตรกรรายย่อยให้ได้มาตรฐานการผลิตเดียวกันทั้งประเทศให้ได้ ในส่วนของภาครัฐ และภาพรวมทั้งประเทศ ควรส่งเสริมการเตรียมความพร้อมทางด้าน มาตรฐาน SPS และมาตรฐานของอาเซียนให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรฐาน ของไทยที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลก หรืออาจจะตั้งขึ้นมาใหม่ก็ตาม เพื่อให้ได้ประโยชน์ต่อไทย และในภาพรวมทั้งภูมิภาค รวมถึงนโยบายภาครัฐที่ควรนำมาใช้อย่างจริงๆ จังๆ คือ การนำ Egg Board, Pig Board และ Board อื่นๆ เข้ามาเป็นกลไกการทำงานพิจารณาร่วมกันก่อนเสนอเข้า สู่สภาเกษตรกรแห่งประเทศไทย เพื่อให้รูปแบบการพัฒนาและการดำเนินการเป็นไปโดยได้รับความ คิดเห็นจากทุกภาคส่วนอย่างครบถ้วน น.สพ. นิรันดร เอื้องตระกูลสุข รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ มาตรฐานต่างๆ ในแต่ละประเทศ ของปศุสตั ว์ อาทิ มาตรฐานฟาร์มสุกร ฟาร์มไก่เนือ้ ฟาร์มไก่ไข่ เป็นต้น ยังมีจำนวนของผูป้ ระกอบการ ที่เข้าร่วมไม่มากนัก เหตุผลหนึ่งที่สำคัญคือการที่ผู้ประกอบการไม่เห็นถึงผลประโยชน์ทางตรงใน การปรับเปลี่ยนระบบเข้าสู่มาตรฐาน และผลประโยชน์ทางอ้อมที่ไม่เป็นที่ดึงดูดมากพอ แต่อย่างไร ก็ตาม การเป็น AEC จะเป็นแรงจูงใจ และแรงผลักดันให้ผปู้ ระกอบการหันมาสนใจการเข้าสูม่ าตรฐาน ต่างๆ ที่กรมฯ ได้กำหนดไว้ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้แก่ตัวผู้ประกอบการเองอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้ กรมฯ เอง ก็ได้มีการผลักดันมาตรฐาน SPS ให้เป็นกลไกที่สำคัญในการป้องกันการเข้ามาของสินค้าที่ ไม่มีคุณภาพ โดยการตั้งคณะกรรมการเพื่อปรับกฎระเบียบการค้า และให้เป็นมาตรของ ASEAN ในอนาคตต่อไป นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานหอการค้าไทย การเป็นประชาคมอาเซียน หรือ AEC นัน้ หมายความรวมถึง ประเทศในอาเซียนทัง้ 10 ประเทศ และประเทศข้างเคียงอีก 6 ประเทศ เป็นอย่างน้อย ได้แก่ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ โดยในอนาคตทาง ภาครัฐเองก็มีแผนในการเจรจาร่วมกับประเทศในภูมิภาคอื่นๆ อีกอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การค้ากับ ต่างประเทศ เป็นการค้าที่ไร้พรมแดนในอนาคต ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(59) การรวมตัวกันของกลุม่ ประเทศเหล่านีเ้ ป็นผลให้ระบบการบริหารเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน เปลี่ยนแปลงดังนี้ 1) ภาษีนำเข้าสินค้าของทุกประเทศจะต้องลดให้ลงไปเป็นศูนย์ แต่เนื่องจากแต่ละประเทศ มีความแตกต่างของศักยภาพการแข่งขัน ดังนั้นจำนวนปีที่ใช้ในการลดภาษีดังกล่าวจึงแตกต่างกัน เช่น ไทยอาจลดภาษีนำข้าข้าวเป็นศูนย์ในปีนี้แต่ฟิลิปปินส์อาจจะลดเท่ากับไทยได้ในอีก 5 ปี เป็นต้น 2) การลดภาษีเป็นการให้ประโยชน์เฉพาะประเทศในกลุ่มนี้เท่านั้น ดังนั้นข้อตกลงที่เรียกว่า “ถิ่นกำเนิดสินค้า” ซึ่งกำหนดว่าสินค้าที่ค้าขายระหว่างกันนั้นจะต้องมีมูลค่าเกิดขึ้นในประเทศผู้ผลิต เป็นเท่าไหร่ หรือเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ 3) สินค้าส่งออกจะต้องได้มาตรฐานตามที่ประเทศนำเข้ากำหนด นั่นก็คือ เมื่อมี AEC มาตรฐานในกลุ่มนี้ต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน ไม่ว่าจะส่งออกหรือนำเข้าก็ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน นั่นเอง สุดท้าย ปัญหาที่ยังคงเป็นสิ่งสำคัญและเป็นปัจจัยหลักต่อการพัฒนาศักยภาพของวงการ ปศุสัตว์คือ มาตรฐาน ซึ่งประเทศไทยเองควรจะต้องมีการปรับมาตรฐานทั้งประเทศ เพื่อให้เป็น ภูมิคุ้มกันแก่สินค้าที่จะไหลเข้าสู่ประเทศไทยหลังเปิด AEC ได้ต่อไป จัดทำโดย : นายณัฐพล มีวิเศษณ์ วันที่ 10 กรกฎาคม 2555

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(60)

การควบคุมสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ย ง

เพื่อลดความเสี่ยงจากโรคขี้ขาว

โรคขีข้ าวเป็นโรคทีไ่ ด้สร้างผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมการเลีย้ งกุง้ ในประเทศไทยอย่าง เด่นชัดตั้งแต่ปี 2553 ปัจจุบันนี้ยังคงพบการ เกิดโรคนี้ในแทบทุกพื้นที่ของการเลี้ยงกุ้ง แม้ ว่าโรคนีจ้ ะไม่ทำให้กงุ้ ตายอย่างรุนแรงเหมือน โรคจุดขาว หัวเหลือง หรือโรคกุ้งตายด่วน (อี เ อ็ ม เอส) แต่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การเจริ ญ เติบโตของกุง้ เป็นอย่างมาก โดยบ่อทีเ่ กิดโรคนี้ กุ้ ง จะกิ น อาหารลดลง โตช้ า และแตกไซส์ มากกว่าปกติ หลังจากนั้นก็จะพบว่า กุ้งจะ ทยอยตายเรื้อรังไปเรื่อยๆ แม้อัตราการตาย จะไม่รุนแรง แต่ในที่สุดเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง มักจะต้องตัดสินใจจับกุง้ ก่อนกำหนดเพือ่ ไม่ให้ กุ้งเสียหายเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นได้อย่าง ชัดเจนว่า ผลกระทบของโรคนี้ต่อผลผลิตกุ้ง จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของกุ้งที่เกิด โรค โดยบ่อที่เกิดโรคเมื่อกุ้งยังมีขนาดเล็ก จะมีผลกระทบมากกว่าบ่อที่กุ้งมีขนาดใหญ่ หรือกุ้งใกล้จับแล้ว การจัดการบ่อที่ดีเป็นปัจจัยที่สำคัญใน การลดโอกาสการเกิดโรคขี้ขาว โดยบ่อที่เกิด ขีข้ าวส่วนใหญ่จะพบว่ามีปญ ั หาของสภาพพืน้ บ่อ ที่เริ่มเน่าเสีย หรือมีคุณภาพน้ำที่ไม่เหมาะสม ซึ่ ง ปั ญ หาต่ า งๆ เหล่ า นี้ มั ก มี ส าเหตุ เ ริ่ ม ต้ น มาจากการจัดการสารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นในบ่อ ที่มา: ข่าวกุ้ง ปีที่ 24 ฉบับที่ 288 เดือนกรกฎาคม 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

เลี้ยง เมื่อมีสารอินทรีย์ในบ่อมากเกินไปจะส่ง ผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพน้ำและคุณภาพ พื้นบ่อ ดังนั้นถ้าสามารถควบคุมสารอินทรีย์ ในบ่อให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมก็จะลดความ เสี่ยงในการเกิดโรคขี้ขาวได้เป็นอย่างมาก ทั้ง ในแง่ ข องอั ต ราการเกิ ด โรคและความรุ น แรง ของโรคที่ลดต่ำลง หรือพบการเกิดโรคช้าลง โดยพบในกุ้งที่มีขนาดใหญ่ หรือในระยะใกล้จับ แล้ว ทำให้มีผลกระทบต่อผลผลิตกุ้งลดน้อยลง

ที่มาของสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยง สารอิ น ทรี ย์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในบ่ อ เลี้ ย งกุ้ ง ส่วนใหญ่เกิดจากตะกอนดิน อาหารที่เหลือจาก การกิ น ของกุ้ ง ซากแพลงก์ ต อนพื ช และสั ต ว์ รวมทัง้ ขีก้ งุ้ ทีข่ บั ถ่ายออกมา ซึง่ สารอินทรียเ์ หล่า นี้จะมีทั้งส่วนที่แขวนลอยอยู่ในน้ำและที่ตกลงไป สะสมอยูใ่ นตะกอนบริเวณพืน้ ก้นบ่อ ส่วนใหญ่จะ เป็นสารอินทรีย์ประเภทที่ย่อยสลายได้เร็ว โดย ปกติแล้วสารอินทรีย์เหล่านี้จะถูกย่อยจนเป็น สารอินทรีย์ที่มีขนาดเล็กลงเพื่อให้จุลินทรีย์และ แพลงก์ตอนใช้หมุนเวียนในการดำรงชีวิตต่อไป ซึ่ ง กระบวนการย่ อ ยสลายสารอิ น ทรี ย์ โดย จุลินทรีย์สามารถเกิดได้ทั้งสภาวะที่มีออกซิเจน (Aerobic Condition) และ สภาวะทีข่ าดออกซิเจน (Anaerobic Condition)


(61)

ผลกระทบของสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยง เมื่อมีสารอินทรีย์สะสมอยู่ในบ่อเลี้ยงใน ปริมาณมากจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและ การเลี้ยงกุ้งได้ดังนี้ • เกิดการบลูมและดรอปของแพลงก์ตอนอย่างรวดเร็ว การเลี้ยงกุ้งอย่างหนาแน่น จนเกินไปทำให้ปริมาณอาหารที่ให้กุ้งกินต้อง เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย หรือการให้อาหารที่ไม่ สอดคล้องกับความต้องการของกุง้ ในบ่อ อาหาร ที่เหลือและขี้กุ้งที่ขับถ่ายออกมา จะทำให้มีการ สะสมของสารอินทรีย์เหล่านี้เป็นปริมาณมาก เมื่อเกิดการย่อยสลายจะทำให้มีการสะสมของ ธาตุอาหารในปริมาณที่มากด้วย ซึ่งเป็นตัวเร่ง การเกิดปรากฏการณ์ยโู ทรฟิเคชัน่ (Eutrophication) ส่งผลให้แพลงก์ตอนพืชหนาแน่นมากจน เกินไป ทำให้น้ำในบ่อเลี้ยงมีสีเข้ม น้ำหนืดเร็ว มีคา่ ความโปร่งแสงต่ำ และเมือ่ มีปจั จัยทีค่ วบคุม การสังเคราะห์แสง เช่น ความเข้มแสงที่ลดลง ก็จะทำให้เกิดการตายของแพลงก์ตอนพร้อมๆ กัน ออกซิเจนจะถูกใช้โดยจุลนิ ทรียเ์ พือ่ ย่อยสลาย ซากแพลงก์ตอนเหล่านี้ทำให้ปริมาณออกซิเจน ลดลงอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งเกิดสภาวะขาด แคลนออกซิเจน ส่งผลให้กงุ้ เครียด อ่อนแอ และ ทำให้มีการตายของกุ้งได้ • พีเอช และค่าการละลายของออกซิเจน ในน้ำในรอบวันแกว่งมาก ปริมาณสารอินทรีย์ ที่สะสมอยู่ในบ่อเลี้ยงจะถูกย่อยสลายและเปลี่ยน แปลงเป็นธาตุอาหาร ทำให้อตั รการเจริญเติบโต ของแพลงก์ ต อนพื ช เป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว จน กระทั่งสูงเกินกว่าระดับที่เหมาะสม ซึ่งจะส่งผล กระทบทำให้ค่าพีเอชและออกซิเจนในรอบวัน มีความแตกต่างกันมาก โดยในช่วงกลางคืน

จนกระทั่งถึงเช้าน้ำในบ่อเลี้ยงจะมีพีเอชลดลง มาก ส่วนปริมาณออกซิเจนก็จะลดต่ำลงด้วย และอาจไม่เพียงพอต่อกุง้ ได้ ส่วนในเวลากลางวัน น้ ำ จะมี ค่ า ออกซิ เ จนสู ง เกิ น จุ ด อิ่ ม ตั ว และมี ค่ า พีเอชสูง ซึ่งการแกว่งของค่าพีเอชและปริมาณ ออกซิเจนละลายน้ำที่ค่อนข้างมาก ย่อมส่งผล กระทบต่อกุ้งโดยตรง ทำให้กุ้งเครียด ไม่เจริญ เติบโต ติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่าย นอกจากนี้ พีเอชของน้ำทีส่ งู ขึน้ ยังส่งผลกระทบทำให้สารพิษ บางตัว เช่น แอมโมเนีย มีความเป็นพิษเพิม่ มาก ขึ้นทำให้เป็นอันตรายต่อกุ้งได้ • เกิดสารทีเ่ ป็นพิษต่อกุง้ เพิม่ มากขึน้ เมือ่ มีการสะสมของสารอินทรียอ์ ยูใ่ นบ่อปริมาณมาก และมีการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ซึ่งจะต้องใช้ ออกซิเจนในกระบวนการดังกล่าวมากขึ้นตาม ด้วย นอกจากจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในบ่อ อาจจะมีไม่เพียงพอแล้ว ยังส่งผลทำให้เกิดสาร พิษที่เป็นอันตรายต่อกุ้งที่เกิดจากการย่อยสลาย สารอินทรีย์เหล่านี้ เช่น แอมโมเนีย ไนไตรท์ และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น เพิ่มมากขึ้น ตามด้วย

การควบคุมสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยง เนื่องจากผลผลิตของกุ้งขาวต่อพื้นที่การ เลี้ ย งจะสู ง กว่ า กุ้ ง กุ ล าดำมาก ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะมีสารอินทรีย์ปริมาณมาก สะสมอยู่ ภ ายในบ่ อ เลี้ ย ง ดั ง นั้ น การควบคุ ม ปริมาณสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยงจึงเป็นสิ่งสำคัญ มากที่จะส่งผลถึงความสำเร็จของการเลี้ยง การ ควบคุมสารอินทรีย์ในบ่ออย่างมีประสิทธิภาพ ต้องเริ่มต้นตั้งแต่การเตรียมบ่อ การให้อาหาร และการลดปริ ม าณสารอิ น ทรี ย์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ระหว่างการเลี้ยง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(62) • การเตรียมบ่อที่ดี หลังจากจับกุ้งแล้วจะมีเลนสะสมที่พื้น บ่ อ ซึ่ ง เลนเหล่ า นี้ จ ะเกิ ด จากการทั บ ถมของ อาหารกุง้ วัสดุปนู ขีก้ งุ้ คราบกุง้ ซากแพลงก์ตอน และแบคทีเรีย ในการเตรียมบ่อสำหรับลงกุ้ง ใหม่ จะต้องทำความสะอาดพื้นก้นบ่อโดยการ กำจัดเลนทีพ่ นื้ บ่อออกไปให้ได้มากทีส่ ดุ หลังจาก นัน้ ต้องตากบ่อให้แห้งสนิท ถ้าเตรียมบ่อไม่ดโี ดย พื้นบ่อยังตากไม่แห้งสนิท หรือมีสารอินทรีย์ เหลือตกค้างทีพ่ นื้ บ่อมาก จะทำให้ความสามารถ ในการรับของเสียของพื้นบ่อมีจำกัด พื้นบ่อจึงมี โอกาสเน่าเสียได้ง่ายขึ้น • เลี้ยงกุ้งในอัตราความหนาแน่นที่ต่ำ ลง ในหลายๆ พืน้ ทีท่ ปี่ ระสบปัญหาโรคขีข้ าว ได้ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคนี้ได้โดยการ ปล่อยลูกกุ้งในความหนาแน่นที่ต่ำ โดยควรลด ความหนาแน่นลงไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 15-20 ของ การลงกุง้ ปกติ เนือ่ งจากการปล่อยลูกกุง้ น้อยลง จะทำให้การให้อาหารน้อยลง ของเสียที่เกิดขึ้น ในบ่อก็จะน้อยลงด้วย ทำให้กงุ้ อยูส่ บาย ไม่เครียด และแข็งแรง ดังนั้นความเสี่ยงของการเกิดโรค ก็จะน้อยลง ทำให้สามารถเลี้ยงกุ้งได้ไซส์ใหญ่ ขึ้น ซึ่งผลผลิตกุ้งที่ได้อาจไม่แตกต่างจากกรณี ที่ลงลูกกุ้งในอัตราที่หนาแน่นมากนัก • ควบคุมอย่าให้อาหารเหลือ การให้ อ าหารเป็ น เรื่ อ งที่ เ กษตรกรผู้ เลี้ยงกุ้งจะต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ โดย อาหารทีใ่ ห้ตอ้ งเพียงพอกับความต้องการของกุง้ จริงๆ ซึง่ ต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่อการกินอาหารของกุ้งด้วย เช่น การเปลี่ยนธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

แปลงของสภาวะอากาศ ช่วงเวลาลอกคราบ หรือ สุขภาพของกุ้งในบ่อ ดังนั้นเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง ต้องหมั่นสังเกตและตรวจสอบการกินอาหาร ของกุง้ ว่ากินได้มากน้อยเพียงใด เพือ่ ให้สามารถ ปรับอาหารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ไม่ให้มี อาหารเหลือ ซึ่งการปรับเพิ่มอาหารนั้น ควรจะ ค่อยๆ ปรับเพิ่ม ไม่ควรรีบปรับเพิ่มอาหารเร็ว เกินไป เพราะกุ้งอาจได้รับอาหารเพียงพอแล้ว หากรีบเพิ่มอาหารทันทีในมื้อถัดไป อาจทำให้ มีอาหารเหลือได้ อาหารที่เหลือจะส่งผลกระทบ ต่ อ คุ ณ ภาพน้ ำ และพื้ น ก้ น บ่ อ โดยตรง เมื่ อ คุณภาพน้ำและพืน้ บ่อแย่ลง จะส่งผลให้กงุ้ เครียด อ่อนแอ และเกิดโรคได้ง่าย นอกจากนี้ คุณภาพ อาหารก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน โดยอาหาร ที่ มี คุ ณ ภาพดี จ ะทำให้ กุ้ ง สามารถนำอาหาร ไปใช้เปลี่ยนเป็นเนื้อได้มาก จึงมีสารอาหารออก มากับขี้กุ้งน้อยกว่าอาหารที่มีคุณภาพต่ำ • การดูดเลนในระหว่างการเลี้ยง เพื่ อ ลดการสะสมของสารอิ น ทรี ย์ ที่ พื้ น บ่ อ จะต้ อ งมี ก ารดู ด เลนออกเป็ น ช่ ว งๆ หลังจากกุ้งมีอายุ 1 เดือนไปแล้ว โดยการวาง เครื่องตีน้ำนั้นจะต้องให้กระแสน้ำพัดพาตะกอน พื้นบ่อไปรวมอยู่กลางบ่อให้ได้มากที่สุด เพื่อให้ การดูดเลนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความ ถี่ของการดูดเลนขึ้นอยู่กับปริมาณเลนที่พื้นบ่อ และอายุกุ้ง โดยเลนที่ดูดออกมาไม่ควรระบาย ออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกโดยตรง ควรนำไป เก็บไว้ในบ่อเก็บเลน การที่พื้นบ่อมีสารอินทรีย์ ลดลงจะส่งผลดีทำให้ออกซิเจนในบ่อเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากไม่ต้องสูญเสียออกซิเจนไปในกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยแบคทีเรีย


(63) • การใช้โปรไบโอติก แม้ว่าในแหล่งน้ำธรรมชาติจะมีจุลินทรีย์ที่สามารถย่อยสลายสารอินทรีย์อยู่แล้ว แต่ ในบ่ อ เลี้ ย งกุ้ ง บางครั้ ง จุ ลิ น ทรี ย์ ที่ มี อ ยู่ ต าม ธรรมชาติอาจไม่เพียงพอทั้งในแง่ของปริมาณ และคุณภาพ ดังนั้นในการควบคุมระบบนิเวศ ภายในบ่อให้มีความสมดุลขึ้น จึงต้องมีการเติม จุลนิ ทรียท์ เี่ ป็นประโยชน์ชนิดต่างๆ เป็นโปรแกรม ตลอดช่วงเวลาการเลี้ยง

การควบคุมสารอินทรีย์ในบ่ออย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่จะมีต่อ คุณภาพน้ำและพื้นบ่อนั้น เป็นหัวใจสำคัญของ การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในบ่อเลี้ยง ซึ่งต้อง อาศัยความเข้าใจ การวางแผน และการเตรียม ความพร้อมเป็นอย่างดี ตั้งแต่ก่อนลงลูกกุ้งร่วม กับการสังเกต ติดตามและเอาใจใส่การเลี้ยง อย่างใกล้ชดิ หลังจากลงลูกกุง้ แล้ว หากเกษตรกร ผูเ้ ลีย้ งกุง้ สามารถทำได้อย่างครบถ้วน เชือ่ แน่วา่ ความเสี่ ย งของการเกิ ด โรคขี้ ข าวจะลดลงไป อย่างมาก ทำให้มีโอกาสประสบความสำเร็จใน การเลี้ยงมากขึ้นอย่างแน่นอน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(64)

ข้อมูลนำเข้ากุ้ง 2 ตลาดใหญ่ ตารางที่ 1 การนำเข้ากุ้งแช่แข็งของญี่ปุ่น (มกราคม-พฤษภาคม 2555) ประเทศ

ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม อินเดีย จีน มาเลเซีย รัสเซีย พม่า แคนาดา กรีนแลนด์ อื่นๆ รวม

ม.ค.-พ.ค. 54 13,466 12,559 10,724 6,704 5,881 3,694 3,473 2,198 1,900 1,594 7,506 69,699

ม.ค.-พ.ค. 55 12,779 12,719 11,113 8,576 5,453 2,971 2,683 2,148 1,635 1,105 8,277 69,459

หน่วย: ตัน

% แตกต่าง -5.10 1.27 3.63 27.92 -7.28 -19.57 -22.75 -2.27 -13.94 -30.68 10.27 -0.34

ที่มา: Ryuken, NMFS

ตารางที่  การนำเข้ากุ้งของสหรัฐอเมริกา (มกราคม-พฤษภาคม 2555) ประเทศ ไทย เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย อินเดีย เวียดนาม จีน เม็กซิโก มาเลเซีย กายานา เปรู อื่นๆ รวม

ม.ค.-พ.ค. 54 61,640 27,925 29,525 11,728 12,921 13,218 5,919 7,621 3,322 4,219 9,397 187,435

ที่มา: NMFS

ที่มา: ข่าวกุ้ง ปีที่ 24 ฉบับที่ 288 กรกฎาคม 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

ม.ค.-พ.ค. 55 48,128 35,547 31,991 15,898 13,752 13,418 10,467 9,447 5,149 3,803 9,663 197,263

หน่วย: ตัน

% แตกต่าง -21.92 27.29 8.35 35.56 6.43 1.51 76.84 23.96 55.00 -9.86 2.83 5.24




(65) เล่ม 126 ตอนพิเศษ 187 ง

ราชกิจจานุเบกษา

28 ธันวาคม 2552

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่เนื้อ ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 __________________

ด้วยคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นสมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ สี ำหรับฟาร์มไก่เนือ้ เป็นมาตรฐานทัว่ ไป ตามพระราชบัญญัตมิ าตรฐาน สินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐานและปลอดภัย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัตมิ าตรฐาน สินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จงึ ออกประกาศ เรือ่ ง กำหนด มาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่เนื้อ มาตรฐานเลขที่ มกษ. 6901-2552 ไว้เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 ธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(66)

มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่เนื้อ 1. ขอบข่าย มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ กำหนดเกณฑ์การปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ สี ำหรับการจัดการฟาร์ม ไก่เนื้อเพื่อให้ได้ไก่เนื้อที่มีสุขภาพดีและเหมาะสมในการนำไปใช้ผลิตเป็นอาหารที่ปลอดภัยสำหรับ บริโภค

2. นิยาม ความหมายของคำที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ มีดังต่อไปนี้ 2.1 ไก่เนือ้ (broiler) หมายถึง สัตว์ปกี ทีม่ ชี อื่ วิทยาศาสตร์วา่ Gallus gallus domesticus หรือ Gallus domesticus ซึ่งเลี้ยงตามระยะเวลาของสายพันธุ์เพื่อการผลิตเนื้อไก่สำหรับการบริโภค 2.2 ฟาร์มไก่เนื้อ (broiler farm) หมายถึง สถานประกอบการที่เลี้ยงไก่เนื้อเพื่อการค้า ซึง่ ครอบคลุมถึงพืน้ ทีเ่ ลีย้ งไก่ สถานทีเ่ ก็บและเตรียมอาหารสัตว์ บริเวณสำหรับทำลายซาก จุดรวบรวม ขยะ อาคารสำนักงาน และบ้านพักอาศัย เป็นต้น 2.3 โรงเรื อ น หมายถึ ง บริ เ วณที่ ใ ช้ เ ลี้ ย งไก่ เ นื้ อ ซึ่ ง มี ทั้ ง ชนิ ด ที่ ค วบคุ ม และไม่ ค วบคุ ม สภาพแวดล้อมตัวไก่

3. เกณฑ์กำหนด และวิธีตรวจประเมิน เกณฑ์กำหนด และวิธีตรวจประเมิน ให้เป็นไปตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 เกณฑ์กำหนด และวิธีตรวจประเมิน รายการ 1. องค์ประกอบฟาร์ม 1.1 สถานที่ตั้ง 1.2 ผังและลักษณะฟาร์ม

(ข้อ 3) เกณฑ์กำหนด

1.1. ตั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เสี่ยง จากการปนเปื้อนของอันตรายทาง กายภาพ เคมี และชีวภาพ

วิธีตรวจประเมิน 1.1 ตรวจพินิจสถานที่ตั้งฟาร์ม

1.2.1 มีพื้นที่ขนาดเพียงพอและเหมาะใน 1.2.1 ตรวจพินิจขนาดพื้นที่ และ การเลี้ยงสัตว์ และไม่ก่อให้เกิดปัญหา สภาพแวดล้อม สิ่งแวดล้อม

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555




(67)



รายการ

1.3 โรงเรือน

2. อาหารสำหรับไก่เนื้อ

3. น้ำ

เกณฑ์กำหนด วิธีตรวจประเมิน 1.2.2 มีการวางผังฟาร์มที่เอื้อต่อการ 1.2.2 ตรวจผังฟาร์มและตรวจพินิจพื้นที่ ปฏิบัติอย่างถูกสุขลักษณะ และแยกพื้นที่ ปฏิบัตงิ าน ปฏิบัติงานเป็นสัดส่วน เช่น พื้นที่สำหรับ บริเวณเลี้ยงสัตว์ เก็บอาหารสัตว์ ทำลาย ซากสัตว์ ที่พักอาศัย 1.3.1 ต้องแข็งแรง ถูกสุขลักษณะ ง่าย 1.3.1 ตรวจพินิจโครงสร้างโรงเรือน ต่อการบำรุงรักษาและทำความสะอาด และมีการระบายอากาศที่ดี 1.3.2 มีพื้นที่เพียงพอในการเลี้ยงไก่เนื้อ 1.3.2 ตรวจพินิจขนาดพื้นที่ในการเลี้ยง ให้ถูกสุขลักษณะ ไก่เนื้อ และความหนาแน่นในการเลี้ยง 2.1 อาหารไก่เนื้อต้องมีคุณภาพและ มาตรฐานตามกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์

2.1 ตรวจบันทึกแหล่งที่มาของอาหาร ไก่เนื้อ หรือตรวจบันทึกผลการตรวจ วิเคราะห์ และสุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร ไก่เนื้อส่งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพ และสารตกค้างตามหลักเกณฑ์การตรวจ ประเมิน 2.2 ในกรณีที่ผสมอาหารไก่เนื้อเอง ห้าม 2.2 ตรวจบันทึกประจำฟาร์ม ใช้สารต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ 2.3 ตรวจสอบคุณภาพอาหารไก่เนื้อ 2.3 ตรวจพินิจตัวอย่างอาหารไก่เนื้อที่ ทางกายภาพในเบื้องต้น และเก็บตัวอย่าง เก็บไว้และบันทึกการตรวจรับอาหารสัตว์ เพื่อไว้ใช้วิเคราะห์กรณีมีปัญหา 2.4 มีสถานที่เก็บอาหารไก่เนื้อโดยแยก 2.4 ตรวจพินิจสถานที่เก็บ การเก็บ ต่างหาก และเก็บอาหารในสภาพที่ รักษาอาหารไก่เนื้อ สะอาด แห้ง ระบาย ป้องกันการปนเปื้อนและเสื่อมสภาพ อากาศดี ปลอดจากแมลงและ สัตว์ต่างๆ อาหารบรรจุถุงต้องมีวัสดุรองด้านล่าง เช่น พาเลท (pallet) รองภาชนะบรรจุ อาหารไก่เนื้อ 2.5 ไก่เนื้อทุกตัวเข้ากินอาหารได้ และ 2.5 ตรวจพินิจจำนวน ขนาด และ ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ ตำแหน่งการวางของภาชนะให้อาหาร และการให้อาหาร 3.1 แหล่งน้ำใช้ในฟาร์มต้องอยู่ใน บริเวณที่ป้องกันการปนเปื้อนจากสิ่งที่ เป็นอันตราย 3.2 น้ำที่ใช้เลี้ยงไก่เนื้อและใช้ในฟาร์ม ต้องสะอาด

3.1 ตรวจพินิจแหล่งน้ำ 3.2 ตรวจสอบบันทึกผลการวิเคราะห์ ตามมาตรฐานน้ำ บริโภค หรือ น้ำบาดาลที่บริโภคได้ 

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(68) 

รายการ

4. การจัดการฟาร์ม 4.1 คู่มือการจัดการฟาร์ม

4.2 บุคลากร

4.3 การทำความสะอาดและบำรุงรักษา

5. สุขภาพสัตว์ 5.1 การป้องกันและควบคุมโรค

เกณฑ์กำหนด วิธีตรวจประเมิน 3.3 ไก่เนื้อทุกตัวเข้ากินน้ำได้ และได้รับ 3.3 ตรวจพินิจจำนวน ขนาด และ น้ำอย่างเพียงพอ ตำแหน่งการวางของภาชนะให้น้ำ และการให้น้ำ 4.1 ให้มีคู่มือการจัดการฟาร์มที่แสดงให้ 4.1 ตรวจสอบเอกสารคู่มือ และ เห็นรายละเอียดการปฏิบัติงานที่สำคัญ รายละเอียดวิธีการที่เกี่ยวข้อง ภายในฟาร์ม ได้แก่ ระบบการเลี้ยง อาหาร และน้ำสำหรับไก่เนื้อ การจัดการ ฟาร์ม การจัดการด้านสุขภาพไก่เนื้อ และการจัดการด้านสวัสดิภาพ 4.2.1 มีบุคลากรพอเหมาะกับจำนวน ไก่เนื้อที่เลี้ยงมีการจัดแบ่งหน้าที่และ ความรับผิดชอบ อย่างชัดเจน 4.2.2 บุคลากรที่ทำหน้าที่เลี้ยงไก่เนื้อ ต้องมีความรู้ และได้รับการฝึกอบรม ในการเลี้ยงไก่เนื้อเพื่อให้จัดการฟาร์มได้ 4.2.3 มีสัตวบาล หรือบุคลากรที่ได้รับ การอบรมหลักสูตรด้านสัตวบาลจาก สถาบันที่เป็นที่ยอมรับเป็นผู้ควบคุมดูแล การเลี้ยงไก่เนื้อ 4.2.4 มีสัตวแพทย์ที่มีใบอนุญาตเป็นผู้ ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก กำกับดูแลด้าน สุขภาพไก่เนื้อ 4.2.5 บุคลากรต้องมีสุขลักษณะส่วน บุคคลที่ดี เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการ ปนเปื้อนและแพร่เชื้อ

4.2.1 ตรวจพินิจ ตรวจเอกสาร หน้าที่ ความรับผิดชอบ

4.3.1 โรงเรือน อุปกรณ์ และบริเวณ โดยรอบในฟาร์มต้องสะอาด และบำรุง รักษาให้อยู่ในสภาพดีและถูกสุขลักษณะ 4.3.2 ให้ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ โรงเรือนและอุปกรณ์ หลังจากย้ายไก่เนื้อ รุ่นเก่าออก และปิดพักโรงเรือนเป็น ระยะเวลาอย่างน้อย 14 วัน ก่อนนำ ไก่ชุดใหม่เข้าเลี้ยง เว้นแต่กรมปศุสัตว์ ประกาศกำหนดเป็นอย่างอื่น

4.3.1 ตรวจบันทึกการทำความสะอาด โรงเรือน อุปกรณ์และบริเวณโดยรอบ

5.1.1 ระบุแหล่งที่มาของไก่เนื้อ

5.1.1 ตรวจบันทึกแหล่งที่มาของไก่เนื้อ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555

4.2.2 ตรวจบันทึกการฝึกอบรม 4.2.3 ตรวจบันทึกประวัติบุคลากร และการฝึกอบรม 4.2.4 ตรวจใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ การสัตวแพทย์ชั้นหนึ่งและใบอนุญาต ผู้ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก 4.2.5 ตรวจพินิจสุขลักษณะส่วนบุคคล ตรวจบันทึกการเจ็บป่วยและผลการตรวจ สุขภาพประจำปีของบุคลากร

4.3.2 ตรวจบันทึกการทำความสะอาด ฆ่าเชื้อและจำนวนวันปิดพักโรงเรือน




(69)



รายการ

5.2 การบำบัดโรค 6. สวัสดิภาพสัตว์

7. สิ่งแวดล้อม

8. การบันทึกข้อมูล

เกณฑ์กำหนด 5.1.2 ต้องมีมาตรการป้องกัน และ ควบคุมโรคเข้าสู่ฟาร์มจากบุคคล ยานพาหนะ และอุปกรณ์อื่นๆ 5.1.3 มีแผนการป้องกันโรคโดย สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม 5.1.4 ตรวจติดตามสุขภาพไก่เนื้อ ประจำวัน

วิธีตรวจประเมิน 5.1.2 ตรวจมาตรการและบันทึกข้อมูล การป้องกันโรคเข้าสู่ฟาร์ม

5.1.3 ตรวจแผนการป้องกันโรค และ บันทึกการปฏิบัติงาน 5.1.4 ตรวจบันทึกรายงานผลการ ตรวจสอบสุขภาพไก่เนื้อและการระบุ กลุ่มสัตว์ที่ป่วย 5.1.5 กรณีเกิดโรคระบาด หรือสงสัยว่า 5.1.5 ตรวจบันทึกการปฏิบัติตามที่ กฎหมายกำหนด เกิดโรคระบาดให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ 5.2 ต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของ 5.2 ตรวจบันทึกการบำบัดโรค และ สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม บันทึกการใช้ยา 6. ดูแลไก่เนื้อให้มีความเป็นอยู่ที่สบาย 6. ตรวจพินิจและตรวจสอบเอกสาร และหากได้รับบาดเจ็บป่วย หรือพิการ ให้ปฏิบัติอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้เกิด การทรมานสัตว์ 7.1 ตรวจพินิจ 7.1 กำจัดขยะ ของเสีย เช่น มูลไก่ ซากไก่ โดยวิธีที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้เป็น แหล่งของกลิ่นและเชื้อโรค 7.2 ป้องกันการฟุ้งกระจายของวัสดุรอง 7.2 ตรวจวิธีการป้องกัน พื้นหลังการย้ายไก่เนื้อออกจากฟาร์ม 7.3 ตรวจพินิจ 7.3 กรณีปล่อยน้ำเสียออกสู่แหล่งน้ำ สาธารณะให้มีการบำบัดน้ำเสียจาก ฟาร์มก่อน 8.1 ให้บันทึกข้อมูลผลการปฏิบัติงาน ในขั้นตอนที่สำคัญในการจัดการฟาร์ม ที่มีผลต่อสุขภาพและการควบคุมโรค 8.2 ให้เก็บรักษาบันทึกข้อมูลเป็นเวลา อย่างน้อย 3 ปี

8.1 ตรวจบันทึกข้อมูล 8.2 ตรวจการเก็บรักษาบันทึก

4. คำแนะนำการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่เนื้อ คำแนะนำการปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ สี ำหรับฟาร์มไก่เนือ้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการ เลี้ยงสัตว์และเกษตรกรใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่เนื้อ โดย รายละเอียดคำแนะนำการปฏิบัติอธิบายไว้ใน ภาคผนวก ก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(70)

ภาคผนวก ก

คำแนะนำการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี สำหรับฟาร์มไก่เนื้อ (ข้อ 4) ก.1 องค์ประกอบฟาร์ม ก.1.1 สถานที่ตั้ง ก.1.1.1 ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสำหรับการจัดการเลี้ยงไก่เนื้อ เช่น การคมนาคมสะดวก ไม่มนี ำ้ ท่วมขัง มีแหล่งน้ำสะอาดเพียงพอต่อการเลีย้ งสัตว์ เป็นบริเวณทีโ่ ปร่ง อากาศสามารถถ่ายเท ได้ดี ควรอยู่ห่างจากแหล่งชุมชนและได้รับความยินยอมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก.1.1.2 อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เสี่ยงจากการปนเปื้อนของอันตรายทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขอนามัยของไก่ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม แหล่งรวมขยะ ก.1.1.3 ห่างจากแหล่งรวมสัตว์ปีก เช่น ตลาดค้าสัตว์ปีก โรงฆ่าสัตว์ปีกอย่างน้อย 5 km. (กิโลเมตร) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ก.1.2 ผังและลักษณะฟาร์ม ก.1.2.1 พื้ น ที่ ข องฟาร์ ม มี ข นาดเพี ย งพอ และเหมาะสมกั บ การเลี้ ย งสั ต ว์ ไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปัญหาสิ่งแวดล้อม และสุขภาพสัตว์ ก.1.2.2 มีการวางผังฟาร์มที่ดี มีพื้นที่กว้างขวางเพียงพอ สำหรับการจัดแบ่งการก่อสร้าง โรงเรือนอย่างมีระเบียบสอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ไม่หนาแน่นเกินไป จัดแบ่งพื้นที่ให้เป็นสัดส่วน และมี ผั ง แสดงการจั ด วางที่ แ น่ น อน เช่ น บริ เ วณพื้ น ที่ เ ลี้ ย งสั ต ว์ ตำแหน่ ง ที่ ตั้ ง ของโรงเรื อ น โรงเก็บอาหารสัตว์ โรงเก็บอุปกรณ์ พื้นที่ทำลายซากสัตว์ อาคารสำนักงาน ทางเข้า-ออก พื้นที่ รวบรวมขยะและสิ่งปฏิกูล อาคารสำนักงาน ที่พักอาศัยต้องแยกเป็นสัดส่วน อยู่ห่างและอยู่นอก บริเวณเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้สะดวกในการปฏิบัติงานอย่างถูกสุขลักษณะ สามารถป้องกันและควบคุม โรคภายในฟาร์มได้ ก.1.2.3 มีทางเข้า-ออกทางเดียว และมีระบบป้องกันเชื้อโรคก่อนเข้าฟาร์ม รวมทั้งมีรั้ว รอบบริเวณพื้นที่เลี้ยงสัตว์ ก.1.2.4 ถนนภายในฟาร์มใช้วัสดุคงทน มีสภาพเหมาะสม มีความกว้างที่เหมาะในการขนส่ง ลำเลียงอุปกรณ์ อาหารสัตว์ รวมทั้งผลิตผลที่เข้า-ออกฟาร์ม ก.1.2.5 บ้านพักอาศัยและอาคารสำนักงาน แยกห่างจากบริเวณเลีย้ งสัตว์พอสมควร ไม่มกี าร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(71) เข้าอยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่เลี้ยงสัตว์ บ้านพักอยู่ในสภาพแข็งแรงสะอาด เป็นระเบียบ มีจำนวน เพียงพอกับจำนวนเจ้าหน้าที่ สะอาด มีรั้วกั้น แบ่งแยกจากบริเวณเลี้ยงสัตว์ตามที่กำหนดอย่าง ชัดเจน ก.1.3 โรงเรือน ก.1.3.1 โรงเรือน ควรมีโครงสร้างแข็งแรง สร้างด้วยวัสดุถาวร ง่ายต่อการทำความสะอาด และบำรุงรักษาและมีการระบายอากาศที่ดี ก.1.3.2 วัสดุที่ใช้ในการสร้างโรงเรือนเลี้ยงไก่เนื้อ ไม่ควรมีส่วนยื่นที่แหลมคม ซึ่งทำให้ไก่ ได้รับอันตราย และควรเป็นชนิดที่สามารถทำความสะอาด ฆ่าเชื้อได้ ก.1.3.3 โรงเรือนมีลักษณะและขนาดที่เหมาะสมกับจำนวนไก่เนื้อที่เลี้ยง ให้ไก่เคลื่อนไหว ได้อย่างอิสระ ไม่ทำให้ไก่ได้รับบาดเจ็บโดยไม่จำเป็น และไม่หนาแน่นเกินไปเพื่อให้เอื้อต่อการเลี้ยง ไก่ได้อย่างถูกสุขลักษณะ ระยะห่างระหว่างโรงเรือนเหมาะสม บริเวณหน้าประตูของโรงเรือน ต้องมีอา่ งน้ำยาฆ่าเชือ้ สำหรับจุม่ เท้าเวลาเข้า-ออกโรงเรือน หากเป็นโรงเรือนระบบเปิด ต้องป้องกัน สัตว์ปีก หรือสัตว์พาหะนำเชื้อชนิดอื่นเข้ามาในโรงเรือน เช่น มีตาข่าย ก.1.3.4 สำหรับอุปกรณ์ให้แสงสว่างอาจเป็นชนิดติดตั้งถาวร หรือชนิดเคลื่อนที่ได้ เพื่อให้ ไก่ได้รับแสงสว่างตามเกณฑ์ที่กำหนด ก.1.3.5 พื้นที่ในการเลี้ยงไก่เนื้อ (1) โรงเรือนระบบเปิด หมายถึง โรงเรือนที่มีสภาพแวดล้อมตัวไก่เปลี่ยนแปลงไป ตามสภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรือน พื้นที่ในการเลี้ยง น้ำหนักไก่เนื้อมีชีวิตรวมไม่เกิน 20 kg (กิโลกรัม) ต่อพื้นที่ 1 m2 (ตารางเมตร) (2) โรงเรือนระบบปิด หมายถึง โรงเรือนที่ควบคุมสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศ และแสงสว่าง ให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของไก่ พื้นที่ในการเลี้ยง น้ำหนักไก่เนื้อมีชีวิตรวมไม่เกิน 33 kg ต่อพื้นที่ 1 m2 ก.1.3.6 ควบคุมสภาพแวดล้อมของโรงเรือนระบบปิดให้เหมาะสม ไม่ให้เกิดอันตรายต่อไก่เนือ้ ได้ ดังนี้ (1) การหมุนเวียนอากาศให้เหมาะสมกับอายุและฤดูกาล (2) ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลม และฝุ่นละอองให้เหมาะสม โดยให้ไก่อยู่อย่างสบาย

(3) ปริมาณแก๊ส (ตรวจวัดที่ระดับหัวไก่) ดังนี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(72) แอมโมเนีย ไม่เกิน 20 พีพีเอ็ม คาร์บอนไดออกไซด์ ไม่เกิน 3,000 พีพีเอ็ม ก.1.3.7 แสงสว่าง (โรงเรือนระบบเปิด และโรงเรือนระบบปิด) (1) ความเข้มของแสงสว่าง มีค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 20 lx (ลักซ์) ที่ระดับตาไก่ อย่างน้อยร้อยละ 80 ของพื้นที่เลี้ยงไก่ (2) ควรมีระยะมืดที่เหมาะสมให้ไก่ได้พักผ่อน เช่น ก่อนไก่อายุครบ 7 วันแรกจนถึง ก่อนเคลื่อนย้ายไก่ออกจากโรงเรือน 3 วัน จะต้องมีช่วงมืดอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน โดยช่วงมืดนี้ ควรต่อเนื่องกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง

ก.2 อาหารสำหรับไก่เนื้อ ก.2.1 อาหารไก่เนื้อ ต้องมีคุณภาพและมาตรฐานตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพ อาหารสัตว์ ก.2.2 ในกรณีที่ผสมอาหารสัตว์เอง ห้ามใช้สารต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม คุณภาพอาหารสัตว์ ก.2.3 เมื่อซื้ออาหารไก่ ต้องซื้อจากผู้ที่ได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติการควบคุม คุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2525 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ก.2.4 ยาที่ใช้ผสมในอาหารเพื่อป้องกันและรักษาโรคต้องอยู่ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของ สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม มีการแยกเก็บจากอาหารสัตว์ทั่วไป และมีป้ายบ่งชี้ ก.2.5 ภาชนะบรรจุอาหารสัตว์ควรสะอาด แห้ง กันความชื้นได้ ไม่เคยใช้บรรจุวัตถุมีพิษ ปุ๋ย หรือวัตถุอื่นใดที่อาจเป็นอันตรายต่อสัตว์ ไม่มีสารที่อาจปนเปื้อนกับอาหารสัตว์ และถ้าถูกเคลือบ ด้วยสารอื่น สารดังกล่าวต้องไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์ ก.2.6 รถบรรทุกที่ใช้ในการขนส่งอาหารสัตว์ ส่วนที่ใช้บรรทุกควรแห้งและสะอาด เหมาะต่อ การขนส่งอาหารสัตว์ ก.2.7 ในการตรวจรับอาหารไก่เนื้อ ต้องตรวจสอบลักษณะทางกายภาพเบื้องต้น เช่น ภาชนะบรรจุไม่ฉีกขาด อยู่ในสภาพสมบูรณ์ และมีฉลากถูกต้อง ไม่มีเชื้อราปนเปื้อน ก.2.8 ควรเก็บตัวอย่างอาหารไก่เนื้อ ตามข้อ ก.2.7 เพื่อวิเคราะห์กรณีพบปัญหาในระดับ ฟาร์ม ก.2.9 มีการทวนสอบคุณภาพอาหารไก่เนื้อ โดยการสุ่มตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ เพื่อ ตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพและสารตกค้าง ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ โดยกรมปศุสัตว์ ก.2.10 จัดให้มีสถานที่เฉพาะที่สะอาด แห้ง ปลอดจากแมลงและสัตว์พาหะนำโรคต่างๆ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555




(73) ระบายอากาศได้ดสี ำหรับเก็บรักษาอาหารไก่เนือ้ และสามารถป้องกันการปนเปือ้ นและรักษาคุณภาพ ของอาหารไม่ให้เสื่อมสภาพ ก.2.11 ต้องมีวสั ดุรองด้านล่าง เช่น พาเลทรองถุงทีบ่ รรจุอาหารไก่เนือ้ เพือ่ ให้อากาศถ่ายเท และป้องกันความชื้นได้ ก.2.12 อาหารที่ใช้เลี้ยง ควรเหมาะสมกับความต้องการทางโภชนาการในแต่ละช่วงอายุ และพันธุ์ไก่ ก.2.13 การให้อาหารควรใช้ภาชนะที่เหมาะสม และวางไว้อย่างเพียงพอในตำแหน่งที่ เหมาะสมเพื่อให้ไก่ได้รับอาหารอย่างทั่วถึง

ก.3 น้ำ ก.3.1 แหล่งน้ำที่ใช้ในฟาร์มอยู่ในบริเวณที่สามารถป้องกันการปนเปื้อนมูลสัตว์ หรือน้ำเสีย จากโรงเรือน รวมทัง้ บ้านพักอาศัย นอกจากนีแ้ หล่งน้ำควรห่างจากโรงฆ่าสัตว์หรือโรงงานอุตสาหกรรม หากเป็นบ่อบาดาลต้องมีฝาปิดมิดชิด ก.3.2 น้ำที่ให้ไก่เนื้อกินและใช้ภายในฟาร์มควรเป็นน้ำสะอาด มีปริมาณเพียงพอ และมี คุณภาพตาม มอก. 257 มาตรฐานน้ำบริโภคของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หากใช้น้ำ บาดาลให้เป็นไปตามมาตรฐานน้ำบาดาลที่บริโภคได้ของประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และมีการส่งตัวอย่างน้ำตรวจวิเคราะห์ หาปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ ความกระด้าง และ สารพิษ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ก.3.3 จำนวนและขนาดของอุปกรณ์ให้น้ำ เช่น รางน้ำ นิปเปิล (nipple) กระติกน้ำ เป็นต้น ควรเหมาะสมและวางไว้อย่างเพียงพอในตำแหน่งที่เหมาะสมเพื่อให้ไก่เนื้อได้รับน้ำอย่างทั่วถึง

ก.4 การจัดการฟาร์ม ก.4.1 คู่มือการจัดการฟาร์ม ก.4.1.1 มีคู่มือการจัดการฟาร์มแสดงให้เห็นระบบการเลี้ยง อาหารและน้ำสำหรับสัตว์ การ จัดการฟาร์ม การป้องกันและควบคุมโรค การจัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ปีก การดูแลสุขภาพสัตว์ และสุขอนามัยในฟาร์ม ประกอบด้วยรายละเอียดดังต่อไปนี้

ก.4.1.1.1 การเตรียมโรงเรือน ก.4.1.1.2 การกกลูกไก่ ก.4.1.1.3 อาหารสำหรับไก่เนื้อ ก.4.1.1.4 น้ำ ก.4.1.1.5 การควบคุม กำจัดสัตว์พาหะนำโรค ก.4.1.1.6 การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(74) (1) โปรแกรมการใช้วัคซีนป้องกันโรค (2) การสุ่มตรวจสภาวะโรค และระดับภูมิคุ้มกันโรค (3) การจัดการไก่ป่วย-ไก่ตาย (4) การใช้ยาสัตว์ ก.4.1.1.7 การจัดการเรื่องสุขาภิบาล และสิ่งแวดล้อม (1) แสงสว่าง (2) อุณหภูมิ (3) ความชื้น (4) การระบายอากาศ (5) การกำจัดของเสีย

ก.4.1.1.8 การคุ้มครองและดูแลสวัสดิภาพสัตว์ปีก ณ สถานที่เลี้ยง และการขนส่ง

ก.4.2 บุคลากร ก.4.2.1 มีจำนวนบุคลากรอย่างเพียงพอ เหมาะสมกับจำนวนไก่เนื้อที่เลี้ยง มีการจัดแบ่ง หน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจน ประกอบด้วย ก.4.2.1.1 ผู้เลี้ยงไก่ คือ ผู้ดูแลเลี้ยงไก่ ที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการเลี้ยงไก่ (1) โรงเรือนระบบเปิด ผูเ้ ลีย้ งไก่ 1 คน ควรดูแลไก่ไม่เกิน 10,000 ตัว (2) โรงเรือนระบบปิด ผูเ้ ลีย้ งไก่ 1 คน ควรดูแลไก่ไม่เกิน 100,000 ตัว ก.4.2.1.2 ผู้ควบคุมดูแลการเลี้ยงไก่ เป็นสัตวบาล หรือบุคลากรที่ได้รับการอบรม หลักสูตรด้านสัตวบาลจากสถาบันที่เป็นที่ยอมรับ ผู้ควบคุมดูแลการเลี้ยงไก่ที่เป็นสัตวบาล คือ ผูค้ วบคุม กำกับ ดูแลการเลีย้ งไก่ เป็นผูท้ จี่ บการศึกษาทางสัตวบาล หรือสัตวศาสตร์ไม่นอ้ ยกว่าระดับ ปริญญาตรี โดยสัตวบาล 1 คน ควรดูแลไก่ไม่เกิน 1,000,000 ตัว ก.4.2.1.3 สัตวแพทย์ คือ ผู้ควบคุมกำกับดูแลด้านสุขภาพสัตว์ และสุขอนามัย ภายในฟาร์ม ตลอดจนรับผิดชอบดูแลด้านสวัสดิภาพสัตว์ ซึ่งจบการศึกษาทางสัตวแพทย์ และมี ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่งและได้รับใบอนุญาตสัตวแพทย์ผู้ควบคุม ฟาร์มสัตว์ปีกจากกรมปศุสัตว์ สัตวแพทย์ 1 คน รับผิดชอบในการดูแลไก่ไม่เกิน 5,000,000 ตัว ก.4.2.2 บุคลากรที่ดูแลเลี้ยงไก่ ต้องมีความรู้ ความชำนาญ ในการดูแลไก่เป็นอย่างดี ได้รับการฝึกอบรม และพัฒนาอย่างต่อเนื่องและให้บันทึกข้อมูลการฝึกอบรมในประวัติบุคลากร ก.4.2.3 บุคลากรได้รับการกำกับดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล และได้รับการตรวจสุขภาพ เป็นประจำทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ห้ามผู้ที่มีอาการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บ เช่น อาการท้องร่วง อาเจียน เจ็บคอ มีไข้ เข้าปฏิบัติงานในโรงเรือน ทั้งนี้ควรแจ้งผู้จัดการฟาร์มให้ทราบด้วย ก.4.3 การทำความสะอาดและการบำรุงรักษา ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(75) ก.4.3.1 อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงไก่เนื้อ เช่น ภาชนะให้อาหารและน้ำ สามารถทำ ความสะอาดได้อย่างทั่วถึง รวมทั้งทำความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ เพื่อเตรียมความพร้อม ก่อนนำไก่เข้าเลี้ยง ดูแลให้ถูกสุขลักษณะและสะดวกในการปฏิบัติงาน ก.4.3.2 พื้นที่รอบโรงเรือนรัศมีอย่างน้อย 3 m (เมตร) ควรสะอาด โล่งเตียน และไม่มีขยะ ก.4.3.3 วัสดุรองพื้นที่เปียก หรือจับเป็นก้อน ให้ตักออกจากโรงเรือนทันที ก.4.3.4 ซ่อมแซมบำรุงรักษาโรงเรือนและอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพดี มีความปลอดภัยต่อไก่ และผู้ปฏิบัติงาน ก.4.3.5 มีการตรวจสอบการทำงานของเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ที่สำคัญวันละครั้ง เช่น อุปกรณ์การเลี้ยงแบบอัตโนมัติที่จำเป็นต่อสวัสดิภาพสัตว์ ควรมีการตรวจสภาพการทำงานทุกวัน ถ้าพบว่าชำรุดต้องดำเนินการแก้ไขทันที หรือมีขั้นตอนที่เหมาะสมในการปกป้องสุขภาพสัตว์ และมีระบบระบายอากาศที่ดี เพื่อให้สัตว์ได้รับอากาศเพียงพอ มีอุปกรณ์สำรองเมื่อเกิดเสียหาย และมีสัญญาณเตือนกรณีระบบขัดข้อง โดยมีการตรวจสอบระบบสัญญาณเตือนอย่างสม่ำเสมอ ก.4.3.6 มีระบบการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรงเรือน อุปกรณ์และบริเวณโดยรอบอย่างมี ประสิทธิภาพ ถูกสุขลักษณะ และมีการพักโรงเรือนหลังจากย้ายไก่รุ่นเก่าออก โดยทำความสะอาด และฆ่าเชือ้ โรงเรือนและอุปกรณ์ให้เรียบร้อย และปิดพักโรงเรือนไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน ก่อนนำไก่ชดุ ใหม่ เข้ามาเลี้ยง เว้นแต่กรมปศุสัตว์ประกาศกำหนดเป็นอย่างอื่น

ก.5 สุขภาพสัตว์ ก.5.1 การป้องกันและควบคุมโรค ก.5.1.1 ไก่เนือ้ ทีน่ ำมาเลีย้ งมาจากแหล่งทีส่ ามารถระบุได้ ได้แก่ ฟาร์มพ่อแม่พนั ธุ์ ฝูงพ่อแม่พนั ธุ์ โรงฟัก ก.5.1.2 มีมาตรการป้องกันและควบคุมโรคก่อนเข้าฟาร์ม โดยมีการทำลายเชื้อโรคก่อนเข้า ฟาร์ม ควบคุมและฆ่าเชื้อ ยานพาหนะและบุคคลที่เข้า-ออกฟาร์ม หรือเขตพื้นที่เลี้ยงไก่อย่าง เข้มงวด และมีวิธีการควบคุมโรคให้สงบ ไม่ให้แพร่ระบาดออกจากฟาร์ม ก.5.1.3 บริเวณประตูเข้าฟาร์มต้องเข้มงวด ยานพาหนะต้องมีการฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อ หรือ ผ่านโรงพ่นและบ่อน้ำ ยาฆ่าเชื้อโรค (ผสมน้ำ ยาฆ่าเชื้อในอัตราส่วนที่ระบุตามเอกสารกำกับและ เปลีย่ นน้ำยาอย่างสม่ำเสมอ) ประตูตอ้ งปิดตลอดเวลา จะเปิดให้เข้าได้เมือ่ ได้รบั อนุญาตจากผูร้ บั ผิดชอบ และมีการบันทึกการผ่านเข้า-ออก และเวลาที่เข้า-ออกจากฟาร์มของบุคคลและยานพาหนะทุกชนิด ที่ตรวจสอบได้ ก.5.1.4 ป้องกันบุคคลภายนอก หรือผู้ไม่ได้รับอนุญาตเข้า มีรั้วรอบบริเวณพื้นที่เลี้ยงไก่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(76) มีสัญลักษณ์เตือนไม่ให้บุคคล หรือพาหนะที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าในบริเวณเลี้ยงไก่ ก.5.1.5 บุคคลที่จะเข้าเขตฟาร์ม ให้ทำการฆ่าเชื้อรองเท้าและมือที่ทางเข้าฟาร์ม สำหรับ บุคคลที่จะเข้าเขตพื้นที่เลี้ยงไก่ ให้ผ่านห้องอาบน้ำฆ่าเชื้อ เปลี่ยนชุดที่ฟาร์มจัดเตรียมไว้ให้ ห้องอาบน้ำฆ่าเชื้อ ประกอบด้วย (1) ห้องเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย ก่อนเข้าห้องฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อ (2) ห้องฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชือ้ มีความยาวห้องพอประมาณ พืน้ ไม่ลนื่ และน้ำยาฆ่าเชือ้ ไม่ระคายเคืองต่อผู้ใช้ (3) ห้องอาบน้ำ หลังผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ (4) ห้องเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย ก่อนเข้าโรงเรือน ทั้งนี้ทุกห้องมีการแบ่งแยกสัดส่วนชัดเจน อุปกรณ์ทุกอย่างใช้การได้ดี มีการรักษา ความสะอาดตลอดเวลา เสื้อผ้าและรองเท้าที่ใช้ในฟาร์มมีการซักล้างให้สะอาดทุกครั้งหลังใช้งาน ก.5.1.6 ให้แยกผู้ปฏิบัติงานและอุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรมแต่ละโรงเรือนอย่างชัดเจน มีวิธีการฆ่าเชื้อ และมีมาตรการการควบคุมวัสดุ อุปกรณ์เข้า-ออกฟาร์มเพื่อป้องกันการปนเปื้อน ของเชื้อโรคจากอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งนี้ ยานพาหนะที่ใช้ในฟาร์มและนอกฟาร์ม ไม่ควรใช้ร่วมกัน ก.5.1.7 การป้องกันการสะสมของเชือ้ โรคในเขตพืน้ ทีเ่ ลีย้ งไก่ โดยภายในฟาร์มต้องมีเครือ่ งพ่น น้ำยาฆ่าเชื้อโรค และอุปกรณ์ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวกเพื่อใช้งานในจุดต่างๆ ภายในฟาร์ม มีจำนวนเครื่องพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อโรคที่เหมาะสมกับขนาดของฟาร์มและสามารถใช้งานได้เป็นอย่างดี ก.5.1.8 มีแผนเฝ้าระวังการระบาดของโรคในฟาร์มที่สอดคล้องกับแผนของกรมปศุสัตว์ ก.5.1.9 สร้างภูมคิ มุ้ กันโรค โดยไก่ทกุ ตัวในฟาร์มได้รบั วัคซีนป้องกันโรคตามแผนการให้วคั ซีน ซึ่งกำหนดโดยสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม ก.5.1.10 ป้องกันควบคุมสัตว์พาหะนำโรคไม่ให้เป็นแหล่งของเชือ้ โรคทีม่ ผี ลกระทบต่อสุขภาพ และสุขลักษณะ เช่น ดูแลบริเวณโดยรอบโรงเรือนไม่ให้มีบริเวณน้ำขัง หรือน้ำเน่า ซึ่งจะเป็นแหล่ง ของแมลงต่างๆ และให้เก็บซากไก่ออกจากโรงเรือนทันทีทุกครั้งที่มีการตรวจสอบโดยใส่วัสดุ หรือ ภาชนะกันน้ำที่ปิดมิดชิด เพื่อป้องกันสัตว์พาหะนำโรค ทั้งนี้ควรมีแผนการและวิธีการกำจัดสัตว์ พาหะนำเชื้ออย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ก.5.1.11 ควรมีการบ่งชีก้ ลุม่ สัตว์ และมีการเฝ้าระวังผลผลิตประจำวัน ให้มกี ารตรวจติดตาม เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของไก่ อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช่น มีอาการของโรค ลักษณะตัวไก่ เพื่อการควบคุมโรค ก.5.1.11.1 การจัดการไก่ป่วย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(77) ควรแยกไก่ป่วยออกเพื่อทำการรักษา และมีบริเวณสำหรับไก่ป่วยเพื่อ แยกไก่ป่วยออกจากไก่ปกติไม่ให้มีการติดต่อของโรค ให้สังเกตอาการป่วย และรักษาจนกว่าอาการ ของโรคที่พบจะหมดไป ให้อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม กรณีไม่สามารถ รักษาให้หายขาดได้ให้ดำเนินการเพื่อไม่ให้เป็นการทรมานสัตว์ หากไก่เป็นโรคระบาด เช่น โรค นิวคาสเซิล (Newcastle disease) เอเวียน อินฟลูเอนซา (avian influenza) ต้องทำลายเพื่อป้องกัน การแพร่ระบาดของโรค ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 และฉบับแก้ไข เพิ่มเติม ก.5.1.11.2 การจัดการไก่ตาย ถ้าพบมีอัตราการตายผิดปกติ สัตวแพทย์ประจำฟาร์มต้องทำการ ผ่าซากเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคเบื้องต้น ในกรณีสงสัยว่าเป็นโรคระบาด ให้แจ้งเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ โดยเร็ว ก.5.1.11.3 การทำลายซากไก่ ต้องมีบริเวณเฉพาะสำหรับทำลายซากไก่ โดยพื้นที่ห่างจากบริเวณ โรงเรือน ที่เก็บอาหารสัตว์ แหล่งน้ำ การทำลายซากมี 4 วิธี ดังนี้ (1) การทำลายโดยการฝัง มีเนื้อที่เพียงพอ และอยู่ในบริเวณน้ำท่วม ไม่ถึง ฝังซากใต้ระดับผิวดินไม่น้อยกว่า 50 cm (เซนติเมตร) ใช้ยาฆ่าเชื้อที่เหมาะสมราด หรือโรย ไปบนซากนั้นจนทั่วถึง แล้วกลบดินปิดปากหลุม และพูนดินกลบหลุมเหนือระดับผิวดินไม่น้อยกว่า 50 cm กรณีเป็นหลุมฝังถาวร ควรมีฝาปิดมิดชิดไม่ให้สัตว์ไปคุ้ยเขี่ย (2) การทำลายโดยการเผา มีสถานที่เผา หรือเตาเผา อยู่ในบริเวณ ที่เหมาะสม ใช้ไฟเผาซากจนหมด (3) การทำลายโดยการทำให้ สุ ก และบดละเอี ย ด (rendering) มี ขั้นตอนปฏิบัติสำหรับการเคลื่อนย้ายซากไก่สู่โรงงานแปรสภาพที่ถูกต้องตามหลักความปลอดภัย ทางชีวภาพ (4) การทำลายโดยการกลบทับและหมัก (composing) มีพนื้ ทีส่ ำหรับ การกลบทับและหมักซากไก่ที่เหมาะสม และมั่นใจได้ว่าอุณหภูมิในการหมักทำให้เกิดการย่อยสลาย อย่างสมบูรณ์ ไม่มคี วามเสีย่ งต่อการเป็นแหล่งแพร่เชือ้ หรือพาหะนำเชือ้ และมีขนั้ ตอนปฏิบตั ถิ กู ต้อง ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ ก.5.2 การบำบัดโรค สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ. 2545 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม และตามข้อกำหนดใน มกษ. 9032 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ข้อปฏิบัติ การควบคุมการใช้ยาสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(78) การบำบัดโรคสัตว์และการใช้ยาสัตว์รวมถึงวัตถุอันตรายที่ใช้ในฟาร์ม ให้อยู่ภายใต้การกำกับ ดูแลของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม ห้ามใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต และสารต้องห้ามตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกำหนด

ก.6 สวัสดิภาพสัตว์ ก.6.1 จำนวนไก่ต่อโรงเรือนไม่หนาแน่นเกินไป อยู่สบาย และไม่ทำให้เครียด ก.6.2 ดูแลสุขภาพไก่เนื้อให้แข็งแรง เจริญเติบโตตามปกติ สามารถแสดงออกซึ่งพฤติกรรม ตามธรรมชาติ ก.6.3 มีการตรวจสอบสุขภาพไก่อย่างสม่ำเสมอ ในช่วงระยะเวลาทีเ่ หมาะสม สำหรับไก่ทปี่ ว่ ย บาดเจ็บ หรือพิการ ควรมีการดำเนินการอย่างรีบด่วน เพื่อไม่ให้เป็นการทรมานสัตว์ ก.6.4 จัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ ตามระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการคุ้มครองและดูแล สวัสดิภาพสัตว์ปกี ณ สถานทีเ่ ลีย้ ง พ.ศ.2542 และกรณียา้ ยไก่และขนส่งไก่มชี วี ติ ปฏิบตั ติ ามระเบียบ กรมปศุสัตว์ว่าด้วยการคุ้มครองและดูแลสวัสดิภาพสัตว์ปีกระหว่างการขนส่ง พ.ศ.2542

ก.7 สิ่งแวดล้อม ก.7.1 ต้องกำจัดขยะ ซากไก่ และของเสียอื่นๆ เช่น มูลไก่ เพื่อไม่ให้สะสมเป็นแหล่งของกลิ่น และเชื้อโรคแพร่ออกสู่ภายนอก ซากสัตว์พาหะนำโรค เช่น นก หนู ให้ทำลายโดยการฝัง หรือเผา ก.7.2 กรณีปลดไก่ วัสดุรองพื้นได้รับการพ่นด้วยยาฆ่าเชื้อโรค เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจาย ก่อนเคลื่อนย้าย และห้ามนำวัสดุรองพื้นเก่ากลับมาใช้อีก มีผ้าใบคลุมรถบรรทุกเพื่อป้องกันการ ตกหล่น ก.7.3 น้ำที่ใช้ในการล้างโรงเรือนและอุปกรณ์ในช่วงเตรียมโรงเรือน มีการบำบัดก่อนปล่อย ลงในแหล่งน้ำสาธารณะ

ก.8 การเก็บบันทึกข้อมูล มีระบบการบันทึกและเก็บบันทึกข้อมูลทีส่ ำคัญ โดยต้องเก็บรักษาไว้อย่างน้อย 3 ปี เพือ่ สามารถ ตรวจสอบย้อนหลังได้ ทั้งนี้ครอบคลุม ก.8.1 ข้อมูลเกีย่ วกับการบริหารฟาร์ม เช่น การจัดแบ่งโครงสร้าง ข้อมูลด้านสุขภาพ ประวัติ และการฝึกอบรมของบุคลากร จำนวนแรงงาน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ก.8.2 ข้อมูลเกีย่ วกับการจัดการด้านการผลิต เช่น ข้อมูลเกีย่ วกับตัวสัตว์ อาหารและน้ำสำหรับสัตว์ การจัดการฟาร์ม สุขภาพสัตว์ การป้องกันและควบคุมโรค การกำจัดของเสีย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


(79)

ภาคผนวก ข หน่วย

หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย SI (International System of Units หรือ Le Système International d’ Unitès) ที่ยอมรับให้ใช้ได้ ดังนี้

รายการ มวล ความยาว พื้นที่ ความเข้มแสง

ชื่อหน่วย กิโลกรัม (kilogram) เซนติเมตร (centimeter) เมตร (meter) กิโลเมตร (kilometer) ตารางเมตร (square meter) ลักซ์ (lux)

สัญลักษณ์หน่วย kg cm m km m2 lx

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 143 มีนาคม-เมษายน 2555


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22.

บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัด บริษัท ลีโก้ อินสตรูเมนท์ส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โกรเบสท์ คอร์ โพเรชั่น จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท บี เอ เอส เอฟ จำกัด บริษัท แอนิมัล ซัพพลีเมนท์ แอนด์ ฟาร์มาซูติคอล จำกัด บริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่แอนด์เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษัท เคมิน อินดัสตรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เอวอร์นิค (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท เวท อะกริเทค จำกัด บริษัท เวอร์แบค (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เอ็น ซี ซี เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จำกัด บริษัท ที ซี ยูเนียน อโกรเทค จำกัด

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2247-7000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-2819-8790-7 โทร. 0-2886-4350 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2279-7534 โทร. 0-3488-6140-46 โทร. 0-2204-9455 โทร. 0-2937-4888 โทร. 0-2910-9728-29 โทร. 0-2938-1406-8 โทร. 0-2784-7900 โทร. 0-2575-5777-86 โทร. 0-2193-8288-90 โทร. 0-2203-4245 โทร. 0-2476-0674-82




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.