TCDC ɴᴏʀᴛʜᴇᴀsᴛᴇʀɴ ᴡᴇᴀᴠɪɴɢ ʟᴇᴀʀɴɪɴɢ ᴄᴇɴᴛᴇʀ ศูนย์การเรียนรู้การทอผ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนืur publication

Page 1


สารบัน ่ 1. บทนาทีมาและความส าคัญวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้ าหมาย

1-2

2. ความเป็ นไปได้ของโครงการ

3-6

่ ้งโครงการ 3. เคราะห์พนที ื ้ ตั

7-11

้ องค์ ่ ้ โครงการ ่ 4. การกาหนดพืนที ประกอบโครงการและแสดงการคานวณพืนที

12-19

5. การศึกษาอาคารตัวอย่าง

20-25

6. การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคาร ่ วัสดุและวิธีการก่อสร้างทีเหมาะสม

26-33

่ ยวข้ ่ 7. การศึกษาและสรุปข้อกฎหมายและข้อกาหนดทีเกี อง

34-39

้ นการจัดวางองค์ประกอบ 8. แนวคิดในการออกแบบเบืองต้

40-41

9. ความก้าวหน้าและการตรวจแบบ

42-43

10. สรุปผลงานการออกแบบ แปลน ด้าน ตัด ทัศนียภาพ

44-64


1

วัฒนธรรมการทอผ้า ผู กพันกับชาวอีสานมาอย่างยาวนาน จากการศึกษาทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีทาให้ทราบว่า มี การทอผ้าใช้ในภาคอีสานตัง้ แต่ช่วงต้นของยุคโลหะหรือประมาณ 6,000 ปี มาแล้ว การทอผ้าถือเป็ นชีวต ิ ของหญิงชาวอีสานที่ ่ องเรียนรูแ้ ละปฏิบตั ิให้ชานาญ เพือน ่ าไปใช้เป็ น ทอไว้ใช้ในครัวเรือนมาแต่อดีต โดยถือว่าเป็ นงานจาเป็ นของผู ห้ ญิงอีสานทีต้ ่ ่งห่มในชีวต ่ งบอกว่าผู ห้ ญิงคนนัน ้ มีความเหมาะสม มีคุณสมบัติ เครืองนุ ิ ประจาวันและใช้ในพิธีการทางศาสนา และเป็ นเครืองบ่ ่ ความพร้อมทีจะสามารถออกเรื อนได้

่ ชื่อเสียงของอีสาน ทีถู ่ กผลิตเพือการค้ ่ ปั จจุบนั ผ้าทอ กลายเป็ นหัตถกรรมทีมี าเป็ นอาชีพเสริมจากการทานา ถึงแม้รูปแบบผ้า ่ จะถูกปรับเปลียนให้ สอดคล้องกับการใช้งาน และตลาดผู บ้ ริโภคในปั จจุบนั แต่ก็ยงั มีรากเหง้ามาจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ่ อให้เกิดความแตกต่างกันของรูปแบบและวิธีการผลิตผ้าในแต่ละท้องถิน ่ ทีก่


2

่ วัตถุประสงค์ เพือนอนุ รกั ษ์ เพยแพร่ ข้อมูลความรูใ้ ห้กับคนรุ่นใหม่ และคนภายนอกใน รูปแบบประกวดงานแฟชั่นของลายผ้า ของเหล่านักดีไซส์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นคนใน ้ ่หรือนอกพืนที ้ ่ หรือต่างชาติ ทีการสอน การทอผ้า การสาร ของแต่ละขั้นตอน พืนที ่ ให้ผา้ ทออีสาน สูญหายไป เพือไม่

้ ่ไม่รูจ้ ก เนื่องจาก การอนุรษั ์แบบดั้งเดิม ทาใหเด็กเข้าไม่ถึงหรือคนนอกพืนที ั ลาย หรือ วีธีการทา และยากต่อการนามาผสมผสานใน ชีวต ิ ประจาวันหรือกับอนาคตหรือ การนามาให่เป็ นอาชีพ และเริม่ จะเลือนกายไปตามกาลเวลา และสถาณการณ์ใน ปั จจุ บนั มีไม่ค่อยมีคนรูจ้ ก ั และไม่มีดารส่ งต่อความรู ้ ออกไปสู่คนภายนอก


3

ความเป็ นไปได้ของโครงการ

ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมป ิ ระเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดอุ ดรธานีเป็ นที่ราบสูง โดย ทิศตะวันตกมีภูเขาและป่ าไม่ติดต่อกันเป็ น แนวยาวตามเขตแดนของจังหวัดลงมาทางทิศ ้ ่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้เป็ นที่ราบสูงและค่อยๆ เอียง ลาดลงสูงที่ราบ ใต้ ส่ วนพืนที ้ ่ ลุ่มทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด และมีสายน้าไหลมารวมกันในพืนที ้ ดังกล่าวและไหลลงสูง แม่น้าโขง ทาให้พนที ื ้ ่บริเวณนีเหมาะกั บการเพาะปลูกโดยทั่วไป ้ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดอุ ดรธานี ขึนอยู ก ่ ับอิทธิพลของ มรสุมที่พัดประจาฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดพามวลอากาศ เย็นและแห่งจากประเทศจีนเข้าปกคลุมประเทศไทยตั้งแต่ประมาณ กลางเดือนตุลาคมถึง ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งอยูใ่ นช่ วงฤดูหนาวของประเทศไทย ทาให้จงั หวัด อุ บลราชธานีมี อากาศหนาวเย็นและแห่งทั่วไป และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ท่พั ี ดพามวล ้ อากาศชืนจากทะเลและมหาสมุ ทรเข่า ปกคลุมประเทศไทยในช่ วงฤดูฝน (ประมาณ กลางเดือนพฤษภาคมถึงประมาณกลางเดือนตุลาคม) ทาให้มีฝนตกชุกทั่วไป


4

ความเป็ นไปได้ของโครงการ

ด้านเศรษฐกิจ

่ ด/ผ้าย้อมสีจากบัว กลุ่มทอผ้าโบราณบ้านโนนกอก ผ้าหมีขิ จ. อุ ดรธานี ประวัติความเป็ นมา บ้านโนนกอก เริม่ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2558 คุณอภิชาติ พลบัวไข หรือ ต้น นักปราชญ์ชาวบ้าน เล่าให้ฟังว่า แต่ก่อนไม่ได้มีการ ทอผ้ามา 20 ปี และเริม่ สูญหายไป จึงอยากฟื ้นฟู การทอผ้า ่ ของชุมชน ช่ วงแรกยังไม่มีตลาด เนืองจากลวดลายยั งไม่สวย และยังดูไม่มีเอกลักษณ์ จนสานักงานพัฒนาชุมชนเข้ามา แนะนา หลังจากเริม่ ศึกษา ค้นหาวิธีของตัวเอง จนค้นพบ วิธีการย้อมผ้าด้วยบัวแดง เอกลักษณ์ทส ี่ าคัญของชุมชน ่ หลังจากทีโพสต์ ลง Facebook มีลูกค้ามาบอกว่าสวย จึงเริม่ ขายทาง online ขึน้ ปั จจุ บนั ก็เข้าปี ที่ 5 แล้ว ชาวบ้านมีอาชีพ ่ ขึน้ และความเป็ นอยูด มีรายได้เพิม ่ ีขน ึ ้ จากอาชีพเสริมไปสู่ อาชีพหลัก นอกจากนี ้ บ้านโนนกอกยังได้รบั เลือกให้เป็ น หมู่บา้ น ่ OTOP นวัตวิถีอนั ดับ 1 ของ จ. อุ ดรธานี และยัง ท่องเทียว ได้รบั รางวัล Knowledge Based OTOP (KBO) การสร้าง นวัตกรรมชุมชนระดับประเทศ อีกด้วย


5

ความเป็ นไปได้ของโครงการ

มรดกวัฒนธรรม

่ เครืองแต่ งกาย ชาวอีสานถือว่าการทอผ้าเป็ นกิจกรรมยามว่างหลังจากฤดูการทานา หรือ ว่างจากงานประจาอื่น ๆ ดังนั้นใต้ถุนบ้านของชาวอีสานในอดีตจะมีการกางหูก ทอผ้ากันไว้แทบทุกครัวเรือน โดยผู ห้ ญิงในวัยต่าง ๆ จะสืบทอดการทอผ้าตั้งแต่ เด็ก โดยผ้าทอมือเหล่านีท้ าจากเส้นใยธรรมชาติ เช่ น ผ้าฝ้ าย และผ้าไหม และจะ ่ ่งห่ม หมอน ที่นอน ผ้าห่ม และการทอผ้ายังเป็ น ถูกนาไปใช้ตัดเย็บทาเป็ นเครืองนุ การเตรียมผ้าสาหรับการออกเรือนของฝ่ ายหญิง รวมถึงเป็ นการผ้าที่ทอไว้ ้ น สาหรับฝ่ ายชายด้วย 1. ผ้าทอสาหรับใช้ในชีวต ิ ประจาวัน โดยผ้าทอชนิดนีจะเป็ ้ มีลวดลาย เพราะต้องการความทนทานจึงทอด้วยฝ้ ายย้อมสี ผ้าพืนไม่ 2. ผ้าทอสาหรับโอกาสพิเศษ เช่ น ใช้ในงานบุญประเพณีต่าง ๆ งาน แต่งงาน งานฟ้ อนรา ดังนั้นผ้าทอจึงมักมีลวดลายสวยงาม และมีสีสนั หลากหลาย ทั้งนี ้ จะมีประเพณีท่คู ี ่กันมากับการทอผ้าคือการลงข่วง โดยบรรดาสาว ๆ ในหมู่บา้ นจะพากันมารวมกลุ่มก่อกองไฟ บ้างก็สาวไหม บ้างก็ป่ ั นฝ้ าย กรอ ้ ่ บางครัง้ ก็มีการ ฝ้ าย ฝ่ ายชายก็ถือโอกาสมาเกียวพาราสี และนั่งคุยเป็ นเพือน นาดนตรีพนบ้ ื ้ านอย่าง พิณ แคน โหวต มาบรรเลงจ่ายผญาโต้ตอบกัน ้ องจึงแตกต่าง เนื่องจากอีสานมีชนอยูห ่ ลายกลุ่มวัฒนธรรม การผลิตผ้าพืนเมื ้ ่ตั้ง กันไปตามกลุ่มวัฒนธรรม เช่ น กลุ่มอีสานใต้ คือกลุ่มคนไทยเชือสายเขมรที ถิ่นฐานอยูใ่ นแถบจังหวัดสุรน ิ ทร์ ศรีสะเกษ และบุรรี มั ย์ เป็ นกลุ่มที่มีการทอผ้าที่มี สีสนั แตกต่างจากกลุ่มไทยลาว อย่างไรก็ตาม รูปแบบการแต่งกายของชาวอีสานทั่ว ๆ ไป คือ ผู ช้ าย มัก ้ ้ นิยมสวมเสือ้ ม่อฮ่ อม ซึ่งเป็ นเสือแขนสั น้ สีเข้ม ๆ สวมกางเกงสีเดียวกับเสือจรด เข่า นิยมใช้ผา้ คาดเอวด้วยผ้าขาวม้า ขณะที่ ผู ห้ ญิง มักสวมใส่ ผา้ ซิ่นแบบทอ ้ ทั้งตัว สวมเสือคอกลม แขนยาว เล่นสีสนั แต่หากเป็ นงานพิธีต่าง ๆ อาจมีการห่ม ่ ่ ด้วย ผ้าสไบเฉียง สวมเครืองประดั บตามข้อมือ ข้อเท้า และคอ เพิม


6

ความเป็ นไปได้ของโครงการ

มรดกวัฒนธรรม

้ องดัง้ เดิม กลุ่มชน และปั จเจกชน ที่มีบทบาทสาคัญใน มรดกภูมป ิ ั ญญาทางวัฒนธรรมเป็ นสิ่งที่จะต้องให้การยอมรับชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชุมชนพืนเมื การผลิต สงวนรักษา ธารงไว้ และสร้างสรรค์ใหม่ซ่ึงมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าของชาวผู ไ้ ทย เป็ นภูมิ ้ ่ ปั ญญาทีชุมชนชาวผู ไ้ ทยมีความต้องการจะขึนทะเบี ยนเพือการปกป้ องคุม ้ ครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ้ า ปั จจุ บนั เราสามารถพบเห็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าของชาวผู ไ้ ทยในประเทศไทย ในรูปแบบของเสือผ้ ่ ในการตัดเย็บเสือผ้ ้ าสาหรับคนในสังคมเมือง ซึ่งเป็ นคนนอกวัฒนธรรม และ แฟชั่นของสังคมชัน้ สูง โดยเฉพาะ “ผ้าแพรวา” ที่ประยุกต์การออกแบบเพือใช้ ไม่ใช่เจ้าของวัฒนธรรมจึงไม่ได้สืบทอดวัฒนธรรมและแบบแผนประเพณีการใช้ผา้ ตลอดจนคุณค่าและความหมายที่บันทึกไว้ในลวดลายผ้า จาก ่ การศึกษาทบทวนเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าของชาวผู ไ้ ทย ที่มีอยูใ่ นปั จจุ บนั ส่วนมากเป็ นความรูเ้ กียวกั บ ้ ชื่อลวดลาย ซึ่งเป็ นองค์ความรูท้ ่เน้ ี นอยูท ่ ่ส่ ี วน “รูปแบบ” เท่านัน ้ มีเผยแพร่น้อยมาก หนังสือที่ผลิตในท้องถิ่นเองทัง้ ในระดับ ในส่วนองค์ความรูท้ ่เป็ ี น “คุณค่าและความหมาย” และ “กระบวนการผลิตทางวัฒนธรรม” นัน จังหวัดหรืออาเภอ ก็มุ่งเน้นไปที่การนาผ้าแพรวาไปตัดเย็บ คนทั่วไปจึงรูจ้ ก ั การทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าของชาวผู ไ้ ทยในประเทศไทย เพียงแต่ ้ ่ยวกับผ้าทอหลากหลายชนิด ได้แก่ (๑) ผ้าแซ่ ว (๒) ผ้าแพร ้ ชาวผู ไ้ ทยมีมรดกภูมิปัญญาที่ละเอียดอ่อนและลึกซึงเกี ผ้าแพรวา ในขณะที่ความเป็ นจริงนัน ้ (๗) ผ้ากาบกล้วย (๘) ผ้าโสร่งหางหระรอก (๙) หมอนขิด (๑๐) ผ้าห่อคัมภีร ์ และ (๑๑) วา (๓) ผ้าแพรมน (๔) ผ้าตุ๊ม (๕) ผ้าซิ่นมัดหมี่ (๖) ผ้าเม็ดขีงา ้ บมือ เป็ นต้น การสืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าของชาวผู ไ้ ทย นัน ้ เป็ นสิ่งแสดงการถ่ายทอดความรักระหว่าง แม่สู่ลูกสาว ทักษะความสามารถของ เสือเย็ ่ การทอผ้าก็เป็ นสัญลักษณ์ของกุลสตรีท่ดี ี ในสังคมชาวผู ไ้ ทย และชาวผู ไ้ ทยยังมีการทอผ้าเพือถวายเป็ นพุ ทธบูชา อีกทัง้ การออกแบบลวดลายผ้าต่างๆ ้ ่ยงต่อการสูญ ของชาวผู ไ้ ทยยังมีส่ือสัญลักษณ์ความหมายที่เชื่อมโยงกับบรรพชนและประเพณีในท้องถิ่น ซึ่งสถานการณ์ปัจจุ บนั ภูมิปัญญาเหล่านีเสี ้ ้ จะมีบทบาทสาคัญ หายโดยเฉพาะส่วน “คุณค่าความหมายและกระบวนการในการผลิต” ซึ่งการมีส่วนร่วมของชุมชนเจ้าของวัฒนธรรมในการวิจยั ครังนี ในการสืบทอดและสงวนรักษา องค์ความรูน้ ให้ ี ้ เป็ นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในขอบเขตประเทศไทยและของโลกในกาลข้างหน้า ้ ่จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมุกดาหาร เป็ นเขตที่ชุมชนยังสืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าของชาว จากการสารวจพบว่า พืนที ผู ไ้ ทย สภาพการณ์ปัจจุ บนั คนรุน ่ ใหม่ขาดความเข้าใจกระบวนการทอผ้าและที่มาของการออกแบบลวดลายผ้าซึ่งเป็ นมรดกของชุมชน จึงเป็ นความเสี่ยงที่ข้อมูล สาคัญของมรดกภูมิปัญญาจะสูญหายไป ้ ่จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมุกดาหาร ดังมีรายนามที่สาคัญ ได้แก่ มรดกการทอผ้าและลวดลายผ้าของชาวผู ไ้ ทยในประเทศไทย ยังมีผูส้ ืบทอดอยูใ่ นพืนที นางมอนแก้ว จันทะสาโร นางบาน จันทะสาโร ้ นางคาสอน สระทอง นางอ่อนสา เจสาริน นางอินตา บุตรวัง นางปลิว บุปผา นางวารินทร์ เชือชาร์ นางประคอง จันทะมาตย์ นางประเสริฐ เรณู นางโกวี อาจวิชยั นางบัวระพา สุวรรณไตร นางบุญสร้าง สุวรรณไตร นางสว่าง อุ ทรักษ์ นางวิไล สีนอม นางบุญเลื่อน อุ ทรักษ์ เป็ นต้น


SITE SELECTION

7 ้ ทั้งสามอยู ่ติดกับถนนใหญ่ เคสสตาร์ทดีไซต์ ผู ค ้ นผ่ านไปผ่ า นมาอยู ่ ใกล้ ตั ว เมื อ งอยู ่ ใกล้ โรงแรมร้า นอาหารชื่ อดั ง หลายแห่ ง และที่ ่ นผู ใ้ ช้งานเป็ นหลัก สาคัญมีมหาลัย ทีเป็


8

S

I T E A N A L Y S I S

ที่ตั้งโครงการ – ค้อนข้างดีอยูก ่ ลางเมืองใกล้มหาลัย ้ ญ - มุมมองในการเชือเชิ ้ ญ - รอบๆเป็ นอาคารพานิชย์ นะส่ วนมาก - มุมมองในการเชือเชิ ้ ญ เป็ นไซท์ท่มี - สถานที่ใกล้เคียง มุมมองในการเชือเชิ ี พนที ื ้ ่จากัด - การจราจรและการคมนาคม – เดินทางสะดวกอยูใ่ กล้ถนนใหญ่

- สถานที่ใกล้เคียง - SOWON BEAUTY - สถานที่ใกล้เคียง- ดูดีนะ คอสเมติคส์ - สถานที่ใกล้เคียง - มหาลัยราชภัฏอุ ดรธานี


9

S

I T E A N A L Y S I S

- สถานที่ใกล้เคียง - Advice | แอดไวซ์ อุ ดรธานี ที่ตั้งโครงการ – ค้อนข้างดีอยูก ่ ลางเมืองและใกล้โรงแรม มุมมองในการเชือ้ - สถานที่ใกล้เคียง- โรงแรมเจริญโฮเต็ล - ข้าวมันไก่ จารโต เชิญ ้ ญ - รอบๆเป็ นถนนสามารถเข้าถึงได้ เป็ นจุ ดสังเกตได้ดี - สถานที่ใกล้เคียง - โรงแรมพาราไดซ์ เตี๋ยวเรือ ตายา - มุมมองในการเชือเชิ ้ ญ เป็ นไซท์ท่มี - มุมมองในการเชือเชิ ี พนที ื ้ ่จากัด - การจราจรและการคมนาคม - เดินทางสะดวกอยูใ่ กล้ถนนใหญ่ และ ทางถนน เล็ก


10

S

I T E A N A L Y S I S

้ ญ ที่ตั้งโครงการ - ค้อนข้างดีอยูก ่ ลางเมืองมุมมองในการเชือเชิ ้ ญ - รอบๆเป็ นถนนสามารถเข้าถึงได้ เป็ นจุ ดสังเกตได้ดี - มุมมองในการเชือเชิ ้ ญ เป็ นไซท์ท่มี - มุมมองในการเชือเชิ ี พนที ื ้ ่จากัด - การจราจรและการคมนาคม - เดินทางสะดวกอยูใ่ กล้ถนนใหญ่ และถนนทางเล็ก

้ นปตท. - สถานที่ใกล้เคียง - ปั๊ มนามั - สถานที่ใกล้เคียง-อาคารพาณิชย์ 3-4 ชั่น - สถานที่ใกล้เคียง - นายเฮงดี ไก่ยา่ งไม้มะดัน -เอส.เค. แมนชั่น - ท็อปเวิลด์


ถ. มิตรภาพ

ลมฤดูหนาว

ถ. ทองคาอุ ทิศ

เสียงและผุ ่น

ถ. ซอยคานุสรณ์ 1

ลมฤดูรอ้ น

1 . ดูดีนะ คอสเมติคส์ อาคารพาณิชย์ 4 ชัน้

3 2 .มหาวิทยาลัยราชภัฏอุ ดรธานี

SITE

1

3 . อาคารพาณิชย์ 4 ชัน้

2

มุมมอง ของ SITE

ด้านหน้าของ SITE

ด้านซ้ายของ SITE

11


12

AREA REQUIRMENT

สวนโถงทางเข้า ต้อนรับ สวนโถงทางเข้า ต้อนรับ อาคารเปิ ดให้ใช้งาน 9.00-17.00 เป็ นเวลา 8 ชม. ผู ใ้ ช้บริการ 1000 คน / วัน ปริมาณเฉลี่ยของผู ใ้ ช้โถง 1000 คน / 8 ชม. = 125 คน / ชม. ระยะเวลาเร่งด่วนคิดเป็ น 2 เท่า ของค่าเฉลี่ย / ชม ้ ่รองรับ 125 x 2 = 250 คน / ชม ดังนั้นต้องเตรียมพืนที แต่ 1 คนใช้พนที ื ้ ่ในการยืน 0.65 ตารางเมตร ้ ่ของโถงต้อนรับรวม กังนั้นพืนที = 250 คน / 0.65 ตารางเมตร = 162.50 ตารางงเมตร ้ ่สัญจรร้อยละ 40 จะได้ โดยคิดพืนที = 162.50 x 40% = 65 ตาราเมตร รวม = 227.50 ตารางเมตร

โซนพักผ่อน เปิ ดบริการตั้งแต่เวลา 9.00 – 17.00 น. = 8 ชม / วัน สามารถหาจานวนผู ใ้ ช้พนที ื ้ ่โซนพักผ่อน โดยคอดการณ์จาก 30 % ของผู ใ้ ช้ บริการศูนย์การเรียนรูต้ ่อวัน ผู ใ้ ช้บริการโซนพักผ่อน = ( 1,000x40 / 100 คน = 300 คน แต่ 1 คนใช้พนที ื ้ ่ในการยืน 0.65 ตารางเมตร ้ ่ของโถงต้อนรับรวม ดังนั้นพืนที

= 300 คน x 0.65 ตารางเมตร = 195 ตารางเมตร ้ ่สัญจรร้ายละ 40 จะได้ โดยคิดพืนที = 195 x 40% = 78 ตารางเมตร รวม = 273 ตารางเมตร


13

AREA REQUIRMENT ้ ่โซนห้องสมุด พืนที เปิ ดบริการตั้งแต่เวลา 9.00 – 17.00 น. = 8 ชม / วัน สามารถหาจานวนผู ใ้ ช้พนที ื ้ ่โซนพักผ่อน โดยคอดการณ์จาก 20 % ของผู ใ้ ช้ บริการศูนย์การเรียนรูต้ ่อวัน ผู ใ้ ช้บริการโซนพักผ่อน = ( 1,000x30 / 100 คน = 200 คน ้ ่อ่ านหนังสือ 1 ที่นั่ง ประกอบด้วยครุภัณฑ์ใช้พนที พืนที ื ้ ่ทั้งหมด 1.00 x 2.42 = 2.42 ตาราง เมตร ้ ่อ่ านหหนังสือต่อคน = 2.42 ตารางเมตร พืนที ้ ่อ่ านหนังสือ = 200 คน x 2.42 ตร.ม. = 484 ตร.ม. พืนที ผู อ้ ่ านหนังจะใช้เวลาในการอ่ านประมาณ 2-2.5 ชม. ชึ่งโครงการเปิ ดบริการวันละ 8 ชม. 1 คนต่อหนังสือ 30 เล่น ดังนั้นจะได้จานวนหนังสือ = 200 คน x 30 เล่ม = 6,000 เล่ม โดยจัดเก็บในตู้หนังสือขนาด 0.90 x 0.80 x 0.10 ม. โดยที่ตู้สามารถ บรรจุ หนังสือขนาด 0.21 x 0.30 x 0.10 ม. ได้จานวน 90 เล่ม ดังนั้นหนังสือจานวน 6,000 เล่ม ต้องใช้ตู้วางหนังสือจานวน = 6,000 เล่ม / 90 เล่ม = 67 ตู้ หรือ 48.24 ตารางเมตร ้ ่สัญจรร้อยละ 40 จะได้ โดยคิดพืนที =484+48.24x40% = 212.90 ตารางเมตร รวม = 745.15 ตารางเมตร ห้องเก็บของ = 745.15x5% = 37.25 ตารางเมตร


14

AREA REQUIRMENT ้ ่เรียนรูต้ ามอัธยาศัย พืนที CO – WORKINGSPACE เปิ ดบริการตั้งแต่เวลา 9.00 – 17.00 น. ้ ่ใช้งานแบบที่ 1 โต๊ะอ่ านหนังสือ 4 ที่นั่ง พืนที ขนาดโต๊ะ 2.40 ตร.ม. X 2.40 = 5.76 ตร.ม. ้ ่ 5.76 ตร.ม. X 6 โต๊ะ = 34.56 ตร.ม. ต้องการพืนที ้ ่ใช้งานแบบที่ 2 โต๊ะอ่ านหนังสือ 6 ที่นั่ง พืนที ขนาดโต๊ะ 3.18 ตร.ม. X 2.42 = 7.7 ตร.ม. ้ ่ 7.7 ตร.ม. X 6 โต๊ะ = 46.2 ตร.ม. ต้องการพืนที ้ ่ใช้งานแบบที่ 3 โต๊ะอ่ านหนังสือ 1 ที่นั่ง พืนที ขนาดโต๊ะ 1.35 ตร.ม. X 0.80 = 1.08 ตร.ม. ้ ่ 1.08 ตร.ม. X 20 โต๊ะ = 21.6 ตร.ม. ต้องการพืนที รวม 34.56 + 46.2 + 21.6 = 102.36 ตารางเมตร ้ ่สัญจรร้อยละ 40 % = 40.94 ตร.ม. พืนที รวม 102.36 + 40.94 = 143.3 ตร.ม. ้ ่สานักงานบริการโครงการ พืนที ห้องทางานหน้าที่จานวน 30 คน ห้องละ 5 คน 6 ห้อง ในแต่ละห้องมีโต๊ะทางาน พนักงาน อยู่ 5 ตัว ้ ่โต๊ะขนาด 1.20 ซม. X 2.50 ซม. = 3.02 ตร.ม. พืนที ้ ่ใช้งาน 3.02 x 0.30 = 0.906 ทางสัญจรคิดเป็ น 30 % ของพืนที ตร.ม. ้ ่ใช้งานทั้งหมด = 3.02 + 0.906 = 3.926 ตร.ม. ดังนั้นพืนที รวม 3.926 x 5 คน x 6 ห้อง = 117.7 ตร.ม. โต๊ะทางาน พนักงานระดับหัวหน้า ้ ่โต๊ะ 1.80 X 2.84 = 5.1 ตารางเมตร พืนที ้ ่ใช้งาน 5.1 x 0.30 = 1.53 ตร.ม. ทางสัญจรคิดเป็ น 30 % ของพืนที รวม 5.1 + 1.53 = 6.63 ตร.ม. รวมทั้งหมด

= 124.33 ตร.ม.

= 8 ชม / วัน


15

AREA REQUIRMENT ้ ่จัดแสดงวัฒนธรรมและภูมป ่ พืนที ิ ั ญญาท้องถิน ้ ่จัดแสดง 1 การแต่งกายดั่งเดิม อาคารเปิ ดใช้งาน 9.00 – 17.00 น. พืนที

= 8 ชม / วัน

้ ่ 17.65 ตร.ม. X จานวนที่จะจัด แสดงโดยประมาณ ต้องการพืนที ้ ่ 17.65 ตร.ม. X 5 ชุด = 88.25 ตร.ม. ต้องการพืนที ้ ่จัดแสดง 2 การท้อผ้าอาคารเปิ ดใช้งาน 9.00 – 17.00 น. พืนที

= 8 ชม / วัน

้ ่ 17.65 ตร.ม. X จานวนที่จะจัด แสดงโดยประมาณ ต้องการพืนที ้ ่ 17.65 ตร.ม. X 10 ชุด = 176.5 ตร.ม. ต้องการพืนที ้ ่จัดแสดง 3 การแต่งกายดั่งเดิม อาคารเปิ ดใช้งาน 9.00 – 17.00 น. พืนที

= 8 ชม / วัน

้ ่ 9 ตร.ม. X จานวนที่จะจัด แสดงโดยประมาณ ต้องการพืนที ้ ่ 9 ตร.ม. X 10 ชุด = 90 ตร.ม. ต้องการพืนที ้ ่จัดแสดง 4 การแต่งกายดั่งเดิม อาคารเปิ ดใช้งาน 9.00 – 17.00 น. พืนที ้ ่ 17.65 ตร.ม. X จานวนที่จะจัด แสดงโดยประมาณ ต้องการพืนที ้ ่ 17.65 ตร.ม. X 2 ชุด = 35.28 ตร.ม. ต้องการพืนที รวมทั้งหมด

= 390.03 ตร.ม.

= 8 ชม / วัน


16

AREA REQUIRMENT ้ ่สร้างสรรค์โดยนักศึกษาเอง 20 % พืนที โซนจัดแสดง ออแบบสินค้า ตัดเย็บ จาหน่าย โซนที่ 3 การตัดเย็บ จัดแสดงแบบที่ 1 ขั้นตอนการออกแบบ ้ ่ 2.40 ตร.ม. X 1.10 ตร.ม. = 2.64 ตร.ม. ต้องการพืนที มีจานวน 4 ชิน้ 2.64 x 8 = 10.56 ตร.ม. จัดแสดงแบบที่ 2 กิจกรรมการออกแบบประกวด ้ ่ 3.00 ตร.ม. X 3.00 ตร.ม. = 9.00 ตร.ม. ต้องการพืนที มีจานวน 3 ชิน้ 9.00 x 2 = 18 ตร.ม. จัดแสดงแบบที่ 3 ตัวอย่างผมลาน ต้องการมีพนที ื ้ ่ 3.44 ตร.ม. X 3.10 ตร.ม. = 10.66 ตร.ม. มีจานวน 4 ชิน้ 10.66 x 4 = 42.65 ตร.ม. รวม 10.56 +18 +42.65 = 71.21 ตร.ม.

้ ่สร้างสรรค์โดยนักศึกษาเอง 20 % พืนที โซนจัดแสดง ออแบบสินค้า ตัดเย็บ จาหน่าย โซนที่ 3 จัดจาหน่าย จัดแสดงแบบที่ 1 วางสิน้ ค้าแบบผนัง 5 ชิน้ ้ ่ 1.50 ตร.ม. X 1.50 ตร.ม. X 5 = 11.2 ตร.ม. ต้องการพืนที ้ า 50 ชิน้ จัดแสดงแบบที่ 2 ตู้เสือผ้ ้ ่ 1.50 ตร.ม. X 0.75 ตร.ม. X 50 = 56.25 ตร.ม. ต้องการพืนที จัดแสดงแบบที่ 3 แสดงสินค้า 5 ชิน้ ต้องการมีพนที ื ้ ่ 2.00 ตร.ม. X 2.70 ตร.ม. X 5 = 27 ตร.ม. จัดแสดงแบบที่ 4 Counter เก็บเงิน ต้องการมีพนที ื ้ ่ 2.30 ตร.ม. X 1.20 ตร.ม. = 2.76 ตร.ม. รวม 11.2 + 56.25 27 + 2.76 = 97.21 ตร.ม.


17

AREA REQUIRMENT

้ ่เรียนรูแ้ ละให้ความรู ้ พืนที ห้องฟังบรรยาย จานวน 200 ที่นั้ง ใช้เป็ นห้อง ขนาด 12.5 ม. X 21.5 ม. ความสูงขงห้องสูง 5.00 ม. คิดเป็ น 12.5 ม. X 21.5 ม. = 268.75 ตร.ม.

้ ่เรียนรูแ้ ละให้ความรู ้ พืนที ห้องฟังบรรยาย จานวน 60 ที่นั้ง ใช้เป็ นห้อง ขนาด 7.5 ม. X 16 ม. ความสูงขงห้องสูง 4.00 ม. คิดเป็ น 7.5 ม. X 16 ม. = 120 ตร.ม.

้ ่เรียนรูแ้ ละให้ความรู ้ พืนที ห้องฟังบรรยาย จานวน 18 ที่นั้ง ใช้เป็ นห้อง ขนาด 4.20 ม. X 7.10 ม. ความสูงขงห้อง สูง 4.00 ม. คิดเป็ น 4.20 ม. X 7.10 ม. = 29.82 ตร.ม.

้ ่ห้องควบคุมแสง สี เสียง ต้องการพืนที ้ ่ = 3.80 พืนที ตร.ม. ้ ่สาหรับเตรียมอาหารว่าง และ เตรียมของ = 12 พืนที ตร.ร. ้ ่ใช้งาน 284.55 x ทางสัญจรคิดเป็ น 30% ของพืนที 0.30 = 85.3 ตร.ม.

้ ่ห้องควบคุมแสง สี เสียง ต้องการพืนที ้ ่ = 3.80 พืนที ตร.ม. ้ ่สาหรับเตรียมอาหารว่าง และ เตรียมของ = 12 พืนที ตร.ร. ้ ่ใช้งาน 284.55 x ทางสัญจรคิดเป็ น 30% ของพืนที 0.30 = 40.74 ตร.ม.

้ ่ห้องควบคุมแสง สี เสียง ต้องการพืนที ้ ่ = 3.80 พืนที ตร.ม. ้ ่สาหรับเตรียมอาหารว่าง และ เตรียมของ = 12 พืนที ตร.ร. ้ ่ใช้งาน 45.62 x 0.30 ทางสัญจรคิดเป็ น 30% ของพืนที = 13.7 ตร.ม.

้ ่ใช้งานทั้งหมด = 284.55 + 85.3 = 369.9 ดังนั้นพืนที ตร.ม. รวม = 369.9 ตร.ม.

้ ่ใช้งานทั้งหมด = 135.8 + 40.74 = 176.55 ดังนั้นพืนที ตร.ม. จานวน 2 ห้อง = 176.55 X 2 = 353.1 ตร.ม.

้ ่ใช้งานทั้งหมด = 45.62 + 13.7 = 59.3ตร.ม. ดังนั้นพืนที จานวน 2 ห้อง = 59.3 X 2 = 118.6 ตร.ม.


18

Zoning

2

1

PUBLICK

SERVICE

S-PUBLICK

GREEN AREA

3

PRIVATE

PARKING

1

2

1

2

1

2

3

4

3

4

3

4


19


สถานที่

Bank of Thailand Learning Centre

Yuanlu Community Center

่ ้ง ทีตั

273 ถนนสามเสน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

Chongqing / China

Shaoxing / China

Creative Crews / Shma Co., Ltd.

Challenge Design

WAU Design

้ Area : 26500 m² / 5 ชัน

้ Area : 4000 m² / 3 ชัน

Area : 5260 m² / 3 ชัน้

สถาปนิก ้ โครงการ/จ ่ พืนที านวน ชัน้ ้ โครงการ ่ พืนที

ภาพรวมโครงการ

China light and textile city fashion show center

20


สถานที่

Bank of Thailand Learning Centre

China light and textile city 21 fashion show center

Yuanlu Community Center

แนวคิดในการ ออกแบบ

บทสรุ ป คื อ การเปลี่ ยนงานพิ ม พ์ บ น ั ทึ ก ย่ อ ที่ ซ ้าซ้อ นซึ่ งมี ความสาคั ญทางประวัติศาสตร์ครัง้ แรกของประเทศไทยให้ กลายเป็ นศูนย์เศรษฐกิจและวัฒนธรรม อาคารที่มีอยู่เดิมเป็ น โรงงานจึงมีคุณภาพซึมผ่านไม่ได้ การปรับตัวได้ขจัดกาแพง ทึ บ และเปลี่ ยนเส้ น ทางการไหลเวี ย นเพื่ อให้ ค นเดิ น ถนน สามารถเจาะเข้าไปในแกนกลางของอาคารได้ซึ่งสะท้อนถึง การเปิ ดกว้าง

องค์ประกอบ โครงการและสัดส่วน ้ ่ พืนที

ส่ วนบรรยาย ส่ วนจัดแสดง ส่ วนCo-leaning ส่ วนประชุ ม ส่ วนเรียนรู ้ ส่ วนต้อนรับ ส่ วนพักผ่อน ส่ วนบริการ

การจัดวาง องค์ประกอบ

20 20 15 15 10 10 5 5

% % % % % % % %

การออกแบบความท้าทายของบริษทั ในเซี่ยงไฮ้ทาให้ 'ศูนย์ชุมชน หยวนลู่' อเนกประสงค์ในฉงชิ่งประเทศจีนเสร็จสมบูรณ์ โครงการนี ้ ตั้งอยู ่ใกล้เมืองโบราณ Longxing หันหน้าไปทางแม่นา้ Yulin และ ่ นการตอบสนองต่อภูมิ สะท้อนเนินเขาที่อยู ่ห่างไกลออกไป เพือเป็ ประเทศของไซต์ โครงการจึงถูกแบ่งระหว่างอาคารสามหลัง จัดวาง เคียงข้างกันตามทางลาดทาให้เกิดลานโฆษณาคั่นระหว่างหน้า ตามลาดับ ศูนย์มีฟังก์ชนั ต่างๆ เช่ น ห้องโถงนิทรรศการ บุค ๊ บาร์ สระ ้ ว่ายนา และร้านกาแฟ โดยแต่ละอาคารจะได้รบั การปรับขนาดตาม โปรแกรม

้ เพิ ่ ม่ เติมประกอบด้วยห้องนิทรรศการถาวร เวิรก พืนที ์ ช็อปให้ ้ ่ ความรูแ้ ละออกแบบแฟชั่น ด้วยการแทรกฟังก์ชนั ใหม่ พืนที สาธารณะสร้างการเชื่อมต่อระหว่างตลาดแฟชั่น ประชาชน ้ ้ ่ในเมืองแบบไดนามิกมากขึนใน และภูมิทัศน์ และสร้างพืนที Keqiao

ส่ วนเรียนรู ้ ส่ วนพักผ่อน ส่ วนบริการ ส่ วนต้อนรับ

ส่ วนห้องประชุม ส่ วนกิจกรรม ส่ วนบริการ ส่ วนสานักงาน

40 30 20 10

% % % %

ส่วนเรียนรู ้

ส่วนบริการ

DRESSING ROOM

10 60 10 20

PUBLICE

ส่วนเรียนรู ้

ส่วนประชุม

ส่วนCo-leaning

ส่วนบริการ

ส่วนพักผ่อน

ACTIVITY

ENT.

% % % %


สถานที่ ความสัมพันธ์พนที ื ้ ว่​่ าง ในอาคาร

Bank of Thailand Learning Centre

Yuanlu Community Center

China light and textile city fashion show center

22


สถานที่ วิเคราะห์การใช้พนที ื้ ่ โครงการ

Bank of Thailand Learning Centre

Yuanlu Community Center

China light and textile city 23 fashion show center


สถานที่

Bank of Thailand Learning Centre

Yuanlu Community Center

China light and textile city 24 fashion show center

วิเคราะห์ Solid and Void

วัสดุหลักประกอบ อาคาร

CNC ฉลุลาย

คอนกรีต

ไม้ คอนกรีต กระจกเทมเปอร์

เสาเหล็ก

กระจกเทมเปอร์

แผ่นอลูมิเนียมหกเหลี่ยม


วิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย

ข้อดี

ข้อเสีย

Bank of Thailand Learning Centre

Yuanlu Community Center

China light and textile city 25 fashion show center

่ ง้ ดีอยูใ่ กล้รม สถานทีตั ิ นา้ สามารถ ดีไซดึงดูดคน ตามคอนเซปต์ ดีไซดึงดูดคน ตามคอนเซปต์ เดินทางเข้าได้สองช่องทางในการ มีการไล่ระดับอาคารทีรู่ ปทรงต่างกัน และยังดูเบา เพราะมีเส้นโค้งมาเป็ น ่ เขียวให้รูส้ ึกผ่อนคลายอึดอัด แบบสถาปั ตย์กรรม เข้ากับยุคใหม่ เดินทาง มีฟังค์ชนั เยอและครบ มีพนที ื ้ สี ่ สถานทีใหญ่

้ วมได้ รูปทรงอาคาร อาจเกิดนาท่ ไม่ค่อยหน้าดึงดูด มีขนาดใหญ่ ้ สี ่ เขียวน้อย มาก พืนที

่ สาหรับคนทีชอบเฉพาะที ส่​่ วนตัวไม่ ่ ้ เพราะมีเปิ ดกว้าง เหมาะกับสถานทีนี มากเกินไป

้ สี ่ เขียวน้อย แสงเข้าได้น้อย พืนที รูส้ ึกอึดอัดแน่นๆ


26 ระบบประกอบของอาคาร ( Building System )

1.1 ระบบไฟแสงสว่าง (Lighting and Receptacle System) 1.2 ระบบไฟฟ้ าากาลัง (General Power System) 1.3 ระบบไฟฉุกเฉิน (Emergency Power Supply System) 1.4 ระบบสายล่อฟ้ า (Lighting System) 2. ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ (Heating, Ventilation and Air Conditioning; HVAC System) 2.1 ระบบทาความเย็น (Air Conditioning System 2.2 ระบบระบายอากาศ (Ventilation System) 3. ระบบสุขาภิบาล (Sanitary System) และระบบท่อภายในอาคาร (Plumbing System) 3.1 ระบบจ่ายน้าดีหรือประปา (Water Supply System) ้ ย (Wastewater Supply System) 3.2 ระบบบาบัดนาเสี ้ 3.3 ระบบนาโสโครก (Wastewater Drainage System) 3.4 ระบบท่ออากาศ (Ventilation Pipe System) ้ 3.5 ระบบระบายนาฝน (Strom Drainage System) ้ ง้ (Drainage System) 3.6 ระบบระบายนาทิ ้ 3.7 ระบบระบายนานอกอาคาร (Site Drainage System) ้ อน (Hot Water Supply System) 3.8 ระบบนาร้ 4. ระบบการขนส่งในอาคาร (Transportation System) 4.1 ระบบการขนส่ งทางดิ่ง เช่ น ลิฟต์ (Lift) และบันไดเลื่อน (Escalator) 4.2 ระบบการขนส่ งทางราบ เช่ น ทางเลื่อน (Passenger Conveyor)

5. ระบบการป้ องกันอัคคีภย ั และดับเพลิง (Fire Alarm and Protection System) 5.1 ระบบสัญญาณเตือนไฟไหม้(FireAlarm) 5.3 ระบบดับเพลิงด้วยน้า (Fire Protection System) ้ บเพลิง (Sprinkler System) 5.4 ระบบหัวกระจายนาดั 6. ระบบสื่อสาร (Communication System) 6.1 ระบบโทรศัพท์(TelephoneSystem) 6.2 ระบบโทรทัศน์สายอากาศรวม (Master Antenna Television System; MATV) 6.3 ระบบเสียงประกาศ (Public Address System) 6.4 ระบบโทรคมนาคมเครือข่าย (Telecommunication Network) 7. ระบบรักษาความปลอดภัย (Security System) 7.1 ระบบกล้องทีววี งจรปิ ด (Closed Circuit TV; CCTV) 7.2 ระบบควบคุมการเข้าออกแบบอัตโนมัติ (Access Control System) 8. ระบบจัดการอาคาร (Building Management System) 8.1 ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Building Automation System; BAS) 9. ระบบอื่น ๆ เช่ นระบบกาจัดขยะมูลฝอย ระบบกระเข้าทาความสะอาดอาคาร (Gondola System) ระบบสวนหลังคา (Roof Garden) ระบบสระว่ายนา้ ฯลฯ


27

ระบบไฟฟ้ า


28

ระบบไฟฟ้ า


29

ระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศในอาคารคืออะไร

ระบบปรับอากาศ HVAC ย่อมาจาก Heating, Ventilation, and Air-conditioning ซึ่งเป็ นระบบความร้อน ความ เย็น และการระบายอากาศ โดยเป็ นระบบปรับอากาศขนาดใหญ่กว่าการติดตั้งแอร์บา้ นทั่วไป ทาให้มีศก ั ยภาพใน ่ มีคุณภาพอากาศที่ดีขน การถ่ายเทอากาศเพือให้ ึ ้ ระบบนีจึ้ งเหมาะสาหรับอาคารสานักงาน ห้างสรรพสินค้า บ้าน ้ ้ อการผลิ ่ ้ ้ ตังแต่ 2 ชันขึนไป ไปจนถึงอาคารอุ ตสาหกรรมที่ต้องการควบคุมอุ ณหภูมิและความชืนเพื ตสินค้า

่ ระบบปรับอากาศ HVAC แตกต่างอย่างไรกับเครืองปรั บอากาศปกติ

่ ้ ่ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง โดยทั่วไปการติดตั้งเครืองปรั บอากาศหรือแอร์ก็ช่วยให้ความเย็นได้ แต่เหมาะสาหรับพืนที ้ ่ มากกว่ า แต่สาหรับระบบปรับอากาศแบบ HVAC จะช่ วยท าความเย็น ในพืนทีขนาดใหญ่ โดยมีศก ั ยภาพในการ ่ ้ ่ ปรับปรุงอากาศให้มีคุณภาพดีอยู่เสมอ พร้อมทังการระบายอากาศทีลดการเจือปนของกลินเหม็นและความดัน อากาศให้เป็ นปกติ ้ วระบบปรับอากาศยังช่ วยในการควบคุมความชื น ้ ลดฝุ่ นละอองจากภายนอกที่จะเข้ามาสู่ภายใน นอกจากนีแล้ ่ ่ อาคาร รวมถึงควบคุมการเคลือนไหวของอากาศภายในห้องให้เป็ นปกติ เพือความเหมาะสมกั บการใช้งานของ อาคาร

ระบบการจ่ายลมเย็นของระบบปรับอากาศ (Ventilation)

ส่ ว นส าคั ญ ของ ระบบปรับ อากาศ HVAC ที่ นอกจากระบบการท าความเย็น (Air-conditioning) แล้ ว ระบบ หมุนเวียนอากาศ (Ventilation) ก็เป็ นอีกระบบหนึ่งที่ควบคุมคุณภาพของอากาศให้เป็ นไปตามที่ต้องการได้ ซึ่ ง ระบบหมุนเวียนอากาศแบ่งออกเป็ น 2 ระบบ คือ

1. ระบบหมุนเวียนอากาศสาหรับระบบปรับอากาศแบบไม่มีท่อส่ งลม

้ เครืองปรั ่ ้ ่ปรับอากาศ โดยอากาศในพืนที ้ ่จะถูกพัดลมดูดหมุนเวียนไปยัง ระบบนีใช้ บอากาศแบบแยกส่ วนในพืนที คอยล์เย็นแล้วส่ งกลับไปที่ห้องปรับอากาศอีกครัง้ มีการระบายอากาศโดยพัดลมดูดอากาศที่ทาหน้าที่ดูดอากาศ ออกไปทิง้ ยังภายนอก และเติมอากาศใหม่โดยอาศัยการแทรกซึมของอากาศตามช่ องลม ขอบหน้าต่าง หรือขอบ ใต้ประตู

2. ระบบหมุนเวียนอากาศสาหรับระบบปรับอากาศแบบมีท่อส่ งลม

้ ่ที่ต้องการปรับอากาศจะ ระบบปรับอากาศที่ใช้ท่อส่ งลมเย็นมักเป็ นระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ โดยอากาศในพืนที ่ ่ ่ ถูกพัดลมดูดหมุนเวียนอากาศกลับไปทีคอยล์เย็นผ่ านทางท่อลม ซึ งในขณะทีหมุนเวียนอากาศอยู่ก็จะมีการเติม ่ วยเพิม ้ ่ปรับอากาศ ่ คุณภาพของอากาศ และส่ งกลับไปยังพืนที อากาศใหม่จากภายนอกเข้าไปเพือช่

การควบคุมคุณภาพอากาศ

คุณภาพของอากาศจะถูกพิจารณาโดยระดับความบริสุทธิ ์ของอากาศ ซึ่ งแบ่งคุณภาพอากาศออกเป็ นหลาย ระดับ โดยมีผลต่อทั้งภาวะการปรับอากาศและสุขภาพของมนุษย์ และอากาศที่มีคุณภาพต่านั้นจะประกอบไปด้วย ่ สิ่งเจือปน เช่ น ควันบุหรี่ ฝุ่ นละออง ก๊าซพิษ ดังนั้นการปรับปรุงคุณภาพอากาศให้ดข ี นควรติ ึ้ ดตั้งเครืองดั กจับหรือ ่ เจือจางสิ่งเจือปนต่างๆ เพือกรอกให้ อากาศมีความสะอาดมากยิง่ ขึน้ และแทนที่ด้วยอากาศบริสุทธิจ์ ากภายนอก


30

ระบบสุขาภิบาล


31

ระบบขนส่ งในอาคาร LIFT ลิฟต์ระบบไฟฟ้า องค์ประกอบหลักของระบบลิฟต์ มีดังต่อไปนี ้ • ตัวลิฟต์ (Car) • สลิง (Sling) ่ ฟต์ (Elevator Machine) • เครืองลิ • อุ ปกรณ์ควบคุม (Control Equipment) • น้าหนักถ่วง (Counterweight) • ปล่องลิฟต (Hoistway) • รางบังคับ (Guide Rail) ่ ฟต์ (Machine Room) • ห้องเครืองลิ • บ่อลิฟต์ (Pit)


32

ระบบดับเพลิง Sprinkler ดับเพลิง

อุ ปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector)

้ ตโนมัติ ถือเป็ น สปริงเกอร์ดับเพลิง ( Sprinkler ) หรือหัวกระจายนาอั อุ ปกรณ์หลักที่มีความสาคัญในระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยนา้ สปริงเกอร์ดับเพลิง จะทางานโดยอัตโนมัติเมื่อมีเกิดเหตุเพลิงไหม้และมีความร้อนถึงอุ ณภูมิที่หัวสปริง เกอร์ดับเพลิงกาหนดไว้ โดยจะต้องเลือก หรือ ออกแบบหัวสปริงเกอร์ให้เหมาะสม ้ ติดตั้ง และ ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานกาหนด กับพืนที

คืออุ ปกรณ์ตรวจจับควันที่เกิดจากเหตุ เพลิงไหม้ ซึ่งโดยมากการเกิดเพลิงไหม้จะ เกิดควันก่อน จึงทาให้สามารถตรวจพบ เพลิงไหม้ต้งั แต่การเกิดเพลิงไหม้ระยะแรก สามารถตรวจจับเหตุเพลิงไหม้ได้อย่างรวด เร็

สปริงเกอร์ดับเพลิงมีหลากหลายชนิด ตามมาตรฐาน NFPA13 ได้มี การแบ่งประเภทสปริงเกอร์ไว้ถึง 14 แบบ เช่ น ESFR, Extend Coverage Sprinkler, Large Drop Sprinkler, Convensional Sprinkler, Open Sprinkler, Standard Spray Sprinkler etc. โดยแต่ละชนิดก็จะมีผลิตภัณฑ์อีกหลาย นอกจากนั้นจะต้อง ้ ่ เลือกรูปแบบการติดตั้งตามพืนที


33

ระบบการจัดการอาคาร


34

่ วัสดุและวิธีการก่อสร้างทีเหมาะสม


35

กฎหมายระยะร่นและทีว่​่ างอาคาร ้ ่ว่างภายนอกอาคาร พืนที ้ ่ชัน้ ที่กว้าง •ที่อยูอ ่ าศัย ต้องมีท่ว่ี างภายนอกอาคารไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพืนที ที่สุด ้ ่ชัน้ ที่กว้างที่สุด •ไม่ใช่ ท่อยู ี อ ่ าศัย ต้องมีท่ว่ี างไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพืนที ห้องแถวหรือตึกแถว •หากอาคารสูงไม่เกิน 3 ชัน้ และไม่ได้ต้งั อยู ่ติดกับถนนสาธารณะ ต้องมีท่เว้ ี นว่างหน้า อาคารอย่างน้อย 6 เมตร •หากอาคารสูงเกิน 3 ชัน้ และไม่ได้ต้งั อยู ่ติดกับถนนสาธารณะ ต้องมีท่เว้ ี นว่างหน้า อาคารอย่างน้อย 12 เมตร •ต้องมีท่เว้ ี นว่างหลังอาคารอย่างน้อย 3 เมตร •ทุก ๆ 10 คูหาหรือความยาว 40 เมตร ต้องมีท่เว้ ี นว่างอย่างน้อย 4 เมตร และเป็ นช่ อง ตลอดความลึกของที่ดิน

ระยะร่นจากถนนสาธารณะ ้ ่ผิวจราจร ขอบเขตทางของถนนสาธารณะครอบคลุมตั้งแต่ ทางเท้าทั้งสองฝั่งและพืนที ่ ซึ่งระยะร่นของอาคารจะต้องพิจารณาจากความกว้างของเขตทาง โดยมีเงือนไขดั งนี ้ •ถนนสาธารณะความกว้างน้อยกว่า 6 เมตร ระยะถอยร่นอาคารจากกึ่งกลางถนน สาธารณะ อย่างน้อย 3 เมตร •ถนนสาธารณะความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ระยะถอยร่นอาคารจากกึ่งกลางถนน สาธารณะ อย่างน้อย 6 เมตร ้ •ถนนสาธารณะความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึนไปแต่ ไม่เกิน 20 เมตร ระยะถอยร่นอาคาร จากเขตที่ดิน 1 ใน 10 ของความกว้างถนน ้ •ถนนสาธารณะความกว้างตั้งแต่ 20 เมตรขึนไป ระยะถอยร่นอาคารจากเขตที่ดิน อย่างน้อย 2 เมตร


36

กฎหมายระยะร่นและทีว่​่ างอาคาร ระยะร่น ที่ว่าง ถนน ตามประเภทอาคาร โดย TerraBKK จะขอกล่าวถึงอาคาร 2 ประเภท ้ ได้แก่ อาคารสูง คือ อาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 23 เมตรขึนไป และ อาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ่ ้ คือ อาคารที่มีพนที ื ้ ่รวมกันทุกชัน้ หรือชัน้ ใดชัน้ หนึง ตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึนไป โดยมี ่ เงือนไขดั งนี ้ ้ หน้ากว้างของที่ดินต้องกว้างอย่างน้อย 12 เมตรขึนไป / ต้องติดถนนสาธารณะที่ความ กว้าง 10 เมตรที่เชื่อมไปสู่ถนนที่กว้างกว่า / ระยะร่นรอบอาคารจากเขตที่ดินอย่างน้อย ้ ่รวม 30,000 6 เมตร / ต้องมีระบบป้ องกันอัคคีภัย / หากเป็ นอาคารที่มีขนาดพืนที ้ ตารางเมตรขึนไป ต้องอยูต ่ ิดถนนสาธารณะที่มีความกว้าง 18 เมตร


37

่ กฎหมายขนาดทีจอดรถของอาคาร ่ ่คานวณตามขนาดของอาคาร กฎหมายทีจอดรถในคอนโดที ้ ่ก่อสร้างมากกว่า 1,000 ตารางเมตร และสูง 15 เมตร อาคารที่พืนที ้ ขึนไป หรืออาคารที่มีพนที ื ้ ่ก่อสร้างเกิน 2,000 ตารางเมตร ขนาดที่ จอดรถจะแบ่งได้เป็ น 2 กรณีเช่ นกัน ้ ่กทม. ทุกพืนที ้ ่ก่อสร้าง 120 ตารางเมตร จะต้อง •คอนโดในเขตพืนที มีท่จอดรถ ี 1 คัน ้ ่กทม. ทุกพืนที ้ ่ก่อสร้าง 240 ตารางเเมตร •คอนโดนอกเขตพืนที จะต้องมีท่จอดรถ ี 1 คัน เมื่อคานวนที่จอดรถจากทั้ง 2 กรณีข้างต้นแล้ว ให้ก่อสร้างตาม กรณีท่ได้ ี จานวนมากที่สุด ถ้าหากนาจานวนที่จอดรถมาเทียบกับ จานวนยูนิตห้อง ก็จะได้เปอร์เซ็นต์ท่จอดรถของโครงการ ี ทั้งนี ้ รูปแบบและขนาดที่จอดรถ ตามกฎหมายแล้วที่จอดรถ 1 คัน จะ มีขนาดประมาณ 2.4 x 5.0 เมตร โดยการออกแบบที่จอดรถ จะมีอยู ่ 4 รูปแบบด้วยกัน •จอดขนาน หรือเอียงไม่เกิน 30 องศา โดยต้องมีทางถนนวิง่ ไม่น้อย กว่า 3.50 เมตร •ที่จอดรถที่มีช่องเอียง 30-60 องศา โดยต้องมีทางถนนรถวิง่ ไม่ น้อยกว่า 5.50 เมตร •ที่จอดรถที่มีช่องเอียง 60-90 องศา โดยต้องมีทางถนนรถวิง่ ไม่ น้อยกว่า 6.00 เมตร •ที่จอดรถที่อยูด ่ ้านหน้าอาคารที่เป็ นช่ อง 90 องศา ซึ่งตรงนีส่้ วน ้ ่จอดรถ สถาปนิกจะวางให้สมั พันธ์กับแนวเสา เช่ น ใหญ่การทาพืนที ระยะห่างระหว่างเสายาว 8 เมตรจะสามารถจอดรถได้ 3 คัน เป็ นต้น


38

กฎหมายทางหนีไฟภายในอาคาร


39

กฎหมายอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู พ ้ ก ิ ารหรือทุพพลภาพ และ คนชรา ทางลาดเข้าสู่อาคารหรือภายในอาคาร โดยทั่วไปมีขอ ้ กาหนดดังนี ้ •สถานที่ภายนอกอาคารเหมาะสมกับการมีทางลาดมากกว่าภายในอาคาร เนื่องจาก ทางลาดจะใช้พนที ื ้ ่มาก •ทางลาดที่ดีควรอยูข ่ ้างบันได •ควรมีพนที ื ้ ่บริเวณหน้าทางลาดเป็ นที่ว่างยาว เมื่อวัดจากด้านหน้าทางลาดมีระยะไม่น้อย กว่า 1,500 มิลลิเมตร ้ กได้อย่างน้อย •ทางลาดควรมีการก่อสร้างให้มีความคงทน แข็งแรง สามารถรับนาหนั 300 กิโลกรัม


40


41


แบบร่าง ครัง้ ที่ 1-2

42


43


44


45


46


47


48


49


50


51


52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


64


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.