อารยธรรมโลก

Page 1

จัดทำโดย นำงสำว อนงค์ นำถ นกแก้ ว เลขที่ 25 นำงสำว ศรีสุดำ มำตำ เลขที่ 27 นำงสำว หทัยพันธ์ ศรีงำม เลขที่ 29 นำงสำว กรกนก สุวรรณคช เลขที่ 30 ชัน้ มัธยมศึกษำปี ที่ 6/1


คำนำ หนังสื อเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา ส30105 อารยธรรมโลก ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู ้ที่ได้จากเรื่ องยุค ก่อนประวัติศาสตร์ ทั้งนี้ ในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วยความรู ้เกี่ยวกับยุค ก่อนประวัติศาสตร์ ตลอดจนการประยุกต์ใช้ในการเรี ยน ผูจ้ ดั ทาได้เลือกหัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็ นเรื่ องที่ น่าสนใจ รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความเป็ นมาในประวัติศาสตร์ ผูจ้ ดั ทาต้อง ขอขอบคุณอาจารย์ยพุ า ชูเนตร์ ผูใ้ ห้ความรู ้ และแนวทางการศึกษา หวังว่า หนังสื อเล่มนี้จะให้ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ผอู ้ ่านทุก ๆ ท่าน หากมี ข้อเสนอแนะประการใด ผูจ้ ดั ทาขอรับไว้ดว้ ยความขอบพระคุณยิง่ คณะผูจ้ ดั ทา


สำรบัญ เรื่อง

หน้ า

ความรู้เบื้องต้นประวัติศาสตร์

1

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

3

ยุคหิน

5

ยุคโลหะ

15


การศึกษาเรื่ องราวในประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งช่วงใน การศึกษา ได้เป็ น 2 ช่วง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์

เป็ นสมัยที่มนุษย์ยงั ไม่มีตวั อักษร สาหรับบันทึกเรื่ องราว การศึกษาถึง ร่ องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้ จาเป็ นต้องอาศัยการ วิเคราะห์ ตีความจากหลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสารวจทางโบราณคดี เช่น เครื่ องมือ เครื่ องใช้ที่ทาด้วยหิ น โลหะ เครื่ องประดับ เครื่ องปั้ นดินเผา โครง กระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนตามฝาผนังถ้า เป็ นต้น สมัยประวัตศิ าสตร์

เป็ นช่วงที่มีตวั อักษรใช้บนั ทึก เรื่ องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษา ประวัติความเป็ นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะ มีการใช้หลักฐานที่ เป็ นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึ ก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตานาน เป็ นตน้ และ หลักฐานที่ไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ไม่วา่ จะ เป็ นโบราณสถาน เช่น เจดีย ์ ปราสาทหิ น เมืองโบราณ วัด เป็ นต้น และ โบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรู ป เทวรู ป เครื่ องมือ เครื่ องใช้ เครื่ องประดับ เงิน เหรี ยญ เป็ นต้น มาเป็ นข้อมูลสาหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบ เรื่ องราว ความเป็ นมาในอดีตให้ชดั เจน ยิง่ ขึ้น


หลักเกณฑ์ การแบ่ งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1.1การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ ตามเกณฑ์ของนักประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์คานึงถึงการประดิษฐ์ตวั อักษรและนามาบันทึกเรื่ องราว และ นามากาหนดยุคสมัยโดยแบ่งเป็ นสองยุค ได้แก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุค ประวัติศาสตร์ เมื่อพบหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรจึงถือว่าเริ่ มยุค ประวัติศาสตร์ 1.2 การแบ่ง ยุคทางประวัติศาสตร์ ตามเกณฑ์ของนักโบราณคดี นักโบราณคดีส่วนใหญ่ กาหนดตามเทคนิควิธีและวัสดุที่ใช้ทาเครื่ องมือใช้ สอย เช่น ยุคหิ นและยุคโลหะ 1.3 การแบ่งตามแบบแผนของนักมานุษยวิทยา เน้นการดารงชีพและลักษณะสังคมแบบแผนที่สาคัญได้แก่ • สมัยชุมชนล่าสัตว์หาของป่ า (Hunting – Gathering Society Period) ราว 500,000-4,500 ปี มาแล้ว • สมัยหมู่บา้ นเกตรกรรม ( Agricultural Village Society Period ) เป็ นสังคม ระดับหม่บา้ น เริ่ มเมื่อราว 4,500 ปี • สมยั สังคมเมือง ( Urban Society Period) สังคมมีลกั ษณะซับซ้อน มากขึ้น เริ่ มปรากฏตั้งแต่ 2,500 ปี มาแล้ว อย่างไรก็ตาม การศึกษาประวัติศาสตร์ทุกช่วงสมัยจาเป็ นต้องมอง ทั้งด้าน พัฒนาการของเครื่ องมือเครื่ องใช้และวิถีชีวิตความเป็ นอยูค่ วบคู่


ยุคก่ อนประวิตศิ าสตร์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็ นยุคที่มนุษย์เริ่ มรู ้จกั ดัดแปลงวัสดุตาม ธรรมชาติมาเป็ นเครื่ องมือเครื่ องใช้ในการยังชีพ ที่สาคัญได้แก่ การนา ก้อนหิ น มากะเทาะ ให้มีคม ดัดแปลงเป็ นเครื่ องมือสับ ตัด ขูด เพื่อยังชีพ โดยอาศัยตาม ถ้า เก็บพืชผกั ตามธรรมชาติ ล่าสัตว์เป็ นอาหาร อยูไ่ ม่เป็ น หลักแหล่ง ยุคหิ น แบ่งเป็ นยคุ หิ นเก่า และยุคหิ นใหม่ พบในบริ เวณต่าง ๆ ทัว่ โลกแต่ละแห่งมี วิวฒั นาการคล้ายกัน (แต่อยูใ่ นช่วงเวลาไม่เท่ากัน)

ระยะเวลาโดยประมาณ

ชื่อเรียกมนุษย์ ก่อน ประวัติศาสตร์ และ เครื่องมือหิน

2 ล้ านปี

Australopitheecus

1.75 ล้ านปี

Homo habilis

1.5 ล้ านปี

Homo erectus

หินเก่ าตอนต้ น

เรื่องที่ค้นพบ

มนุษย์ วานร

เครื่องมือแบบเชลลีนพบ หินกะเทาะหรือขวาน มากตอนกลางของยุโรป กาปั้น ใช้ สับ ตัด ขูด


หินเก่ าตอนกลาง ประมาณ 150,000 ปี ระหว่ างหิมะละลาย

หินเก่ าตอนปลาย ประมาณ 40,000 ปี ระยะที่ 4 ของยุค นา้ แข็งสุ ดท้ าย

และเครื่องมือแบบอา ชลีน

มนุษย์ ไฮเดนเบิร์ก มนุษย์ ชวา มนุษย์ ปักกิง่ ในเอเชีย

เครื่องมือแบบมูส์เต เรียนปลายแหลม

มนุษย์ นีแอนเดอธัล (Neanderthal Man) กะโหลกศีรษะแบน หน้ าผากลาด เริ่มรู้ จัก ศิลปะวาดภาพสั ตว์ บน ผนังถา้ เริ่มมีพธิ ีฝังศพ

เครื่องมือแบบแมกดาเล มนุษย์ โครมันยอง เนียน (Cro-magnonan) พบ ที่ฝรั่งเศส เครื่องมือทา จากกระดูก เขาสั ตว์ เครื่องประดับหลาย รู ปแบบ ภาพเขียนในถา้ ที่สเปนและฝรั่งเศส


ยุคหิน 1.ยุคหินเก่า ( Paleolithic หรือ The Old Stone Age )

ซึ่ งแบ่งเป็ น 3 ตอน คือ ตอนต้น ตอนกลางและตอนปลาย 1.1 ยุคหินเก่าตอนต้น

เครื่ องมือหิ นกะเทาะ ได้แก่ ขวานมือหรื อ ขวานกาปั้ น พบมากในยุโรป ตอนกลาง อายุใกล้เคียงกับมนุษย์ชวา และ มนุษย์ปักกิ่ง ทพี่ บในเอเซี ย มนุษย์ บางกลุ่ม เช่น มนุษย์ไฮเดน เบิร์กสามารถพัฒนาเครื่ องมือให้มีประสิ ทธภิาพ มากขน้ึ เชน่ เครื่ องมือหิ นกะเทาะแบบอาชลีน (Acheulean) เป็ นต้น


1.2 ยุคหินเก่าตอนกลาง

รู ปร่ างของเครื่ องมือหิ นกะเทาะแบบนี้มีปลายค่อนข้างแหลม มนุษย์กลุ่ม ที่ทาเครื่ องแบบนี้ ได้แก่ นีแอนเดอธัล ( Neanderthal ) ใน เยอรมันนี เครื่ องมือ หิ นกะเทาะที่ทาขึ้นเรี ยกกันว่า แบบมสู เตเรี ยน ( Mousterian )

1.3 ยุคหินเก่าตอนปลาย

เป็ นผลงานของมนุษย์โครมันยอง นับว่าเป็ นแบบแมกดาเลเนี ยน (Magdalenian ) ซึ่ งนอกจากทาด้วยหิ นไฟแล้วยังนากระดกู สัตว์เขาสัตว์ เปลือกหอยและงาช้าง มาใช้ ประโยชน์ เครื่ องมือสมัยนี้มีความประณี ตมาก รู ้จกั ใช้มีดมี ด้าม ทาเข็มจากกระดูกสัตว์ มีการฝนและขัดเครื่ องมือให้เรี ยบ และ คม ใช้ประโยชน์ได้หลายด้านมากขึ้น เครื่ องมือหิ นของพวกโครมันยองแบบแมกดาเลเนียน จัดเป็ นแบบสุ ดท้ายของ ยุคหิ นเก่าตอนปลาย มีพฒั นาการมาก ข้นึ รู ้จกั ประดษิ ฐ์เข็มทาจากกระดูกสัตว์ แสดงว่าเริ่ มรู ้จกั การ เย็บเครื่ องนุ่งห่มจากหนังสัตว์ และทาเครื่ องมือ เครื่ องใช้


หลากหลายมากขึ้น เช่น ฉมวกจับปลา เป็ นต้น ที่สาคัญคือ เริ่ มรู ้จกั ทา เครื่ องประดับและวาดภาพในผนังถ้าศิลปะแบบแมก ดาเลเนียนที่มีชื่อเสี ยง ที่สุด ได้แก่ ภาพวาดบนผนังถ้าใน ประเทศฝรั่งเศสและสเปน

สังคมมนษุย์ยุคหินเก่าตอนต้ น

คนในยุคหิ นเก่าดารงชีพด้วยการล่าสัตว์ และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้ กินเป็ นอาหารมีการพึ่งพาอาศัยธรรมชาติและ สภาวะแวดล้อมอย่างเต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็ นอาหารหมดลงก็ตอ้ ง อพยพย้ายถิ่นติดตามฝูงสัตว์ ไปเรื่ อย ๆ อาจทาให้คนต้องปรับพฤติกรรมการบริ โภคไป ในตัวด้วย เนื่องจาก ชีวิตส่ วนใหญ่ของคนในยุคหิ นเก่าต้องอยูก่ บั การแสดงหา อาหารและการ ป้ องกันตัวจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติรวมถึงการต่อสู ้ในหมู่ พวกเดียวกัน เพื่อการอยูร่ อด จึงทาให้ตอ้ งพัฒนาเกี่ยวกับเครื่ องมือล่าสัตว์ โดย การพัฒนา อาวุธที่ทาด้วยหิ นสาหรับตัด ขูดหรื อ สับ เช่น หอก มี และเข็ม เป็ น ต้น ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมพบว่า คนในยุคหิ นเก่า เริ่ มอยูก่ นั เป็ นครอบครัว แล้ว แต่ยงั ไม่มีการอยูร่ ่ วมกันเป็ น ชุมชนอย่างแท้จริ ง เพราะวิถีชีวิตแบบเร่ ร่อน


ไม่เอื้ออานวยให้มี การตั้งหลักแหล่งถาวรขณะเดียวกนัองค์กรทางเมืองการ ปกครองก็ยงั ไม่เกิดขึ้น สังคมจึงมีสภาพเป็ นอนาธิ ปัตย์คือ ไม่มีผเู ้ ป็ นใหญ่แน่นอน ผูท้ ี่มีอานาจมักเป็ นผูท้ ี่มีความแข็งแรง เหนือผูอ้ ื่น นอกจากนี้ยงั พบว่า คนในยุคนี้เริ่ มรู ้จกั แสดงความรู ้สึกออกมาในรู ปของ ศิลปะ บ้างแล้ว ศิลปะที่สาคัญได้แก่รูปเขียนกระทิงเรี ยงกันเป็ นขบวน ขุดค้นพบ ภายในถ้าอัลตะมิระ ทางตอนใต้ของสเปนและภาพสัตว์ส่วนใหญ่เป็ นภาพสัตว์ ที่ คนสมัยนั้นล่าเป็ นอาหาร มีวดั กระทิง ม้าป่ า กวางแดง และกวางเรนเดียร์ เป็ น ต้น พบถ้าสาบโก ในประเทศฝรั่งเศส ส่ วนประเทศไทย พบที่ถา้ ตาด้วง จังหวัด กาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี และถ้าผีหวั โต จังหวัดกระบี่ เป็ นต้น


สังคมของมนุษย์ ยุคหินเก่าตอนกลาง และยุคหินเก่าตอน ปลาย

มีระยะเวลาที่ส้ นั ปรากฏอารยธรรมเกิดขึ้นในทวีปยุโรป แอฟริ กาและ เอเชีย สภาพชีวิตความเป็ นอยูข่ องคนยุคหิ นเก่าตอนกลางส่ วนมากคล้าย กับยุค กินเก่าตอนต้นแต่กพ็ บว่าคนยุคกินเกา่​่ตอนกลางบางแห่งมี พัฒนาการมากขึ้น มีการพบหลักฐานแสดงว่า คนยุคหิ นเก่าในช่วงปลาย มีความสามารถในการ จับสัตว์นา้ ได้ดีและมกีารคมนาคมทางน้าเกิดขึ้น แล้ว เทคโนโลยีของยุคกินเก่า ตอนปลายจะมีขนาดเล็กกว่ายุคหิ นเก่า ตอนต้นและประโยชน์ใช้สอยดีข้ ึน กว่าเดิม คนยุคหิ นเก่าตอนกลางจะ มีวฒั นธรรมแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ • อาศัยอยูบ่ นภูเขา ตามถ้า หรื อเชิงผา บนพื้นราบ ริ มน้ าหรื อชายทะเล


2. ยุคหินกลาง

เป็ นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จกั ทาเครื่ องมือเครื่ องใช้สาหรับล่าสัตว์ดว้ ยหิ นที่มี ความประณี ตมากขึ้นและมนุษย์ในยุคหิ นกลางเริ่ มรู ้จกั การอยูร่ วมกลุ่มเป็ น สังคมมากขึ้น มีพิธีฝังศพแสดงให้เห็นความเชื่อในชีวิตหลังความตายและ ความสัมพันธ์ของคนตายกับคนที่ยงั มีชีวิตอยู่ จากการกาหนดอายุพบว่ามนุษย์ ในยุคนี้ต้ งั ถิ่นฐานอยูใ่ นดินแดนประเทศไทยเมื่อประมาณ 13,000-6,000 ปี มาแล้ว เป็ นยุคแรกของการปฏิวตั ิทางเศรษฐกิจในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ คือ การค่อยๆเปลี่ยนสภาพจากการเป็ นนักล่าสัตว์และเก็บผลไม้มาอยูเ่ ป็ น หมู่บา้ นตามชายฝั่งทะเล เริ่ มมีการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ข้ ึนบ้างแล้ว กล่าวได้ ว่ายุคหิ นกลางเป็ นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงหรื อเชื่อมต่อระหว่างยุคหิ นเก่ากับ ยุคหิ นใหม่ หรื อระหว่างยุคเก็บผลไม้กบั ยุคปลูกผลไม้นน่ั เอง ในยุคนี้มนุษย์ รู ้จกั ประดิษฐ์อาวุธที่ทนั สมัยและมีคุณภาพดีข้ ึน มีการนาสุ นขั มาเลี้ยงเป็ นชนิ ด แรก มีการทาตะกร้าสานและเครื่ องหนังต่างๆเริ่ มมีการปลูกผลไม้ ซึ่ งถือเป็ น การวางรากฐานของยุคหิ นใหม่ อย่างไรก็ตาม มนุษย์ในยุคหิ นเก่าและหิ นกลาง นี้ยงั ได้ชื่อว่าเป็ นนักล่าสัตว์ แต่ในยุคหิ นใหม่จะเป็ นสมัยของชาวนาและคน เลี้ยงสัตว์อย่างแท้จริ ง


3. ยุคหินใหม่ ( Neolithic หรือ The New Stone Age )

เริ่ มต้นในช่วง 6,000 ปี ก่อนคริ สต์กาล แบ่งตามลักษณะ เครื่ องมือหิ น ได้แก่ หิ นขดั คือ การทาเครื่ องมือหิ นขัดจนบางเรี ยบ มีดา้ ม ทาให้คม ใช้ ประโยชน์ได้หลากหลาย บางแห่งนาซุงมาขุดเป็ น เรื อ ทาธนูและลูกศร รู ้จกั นา สุ นขั มาเลี้ยง ในราว 8,000 ปี ก่อน คริ สต์กาล ปรากฏหลักฐานว่ามนุษย์เริ่ มรู ้จกั ทาการเกษตรอย่างเป็ น ระบบ สามารถเพาะปลูกพืชและเก็บไว้เปน็ อาหาร รู ้จกั ทอผ้าและทา เครื่ องปั้ นดินเผา แหล่งโบราณคดีที่เก่าที่สดุ คือ บริ เวณตอน เหนือ ของเมโสโปเตเมียหรื ออิรัคใปั จจุบนั ตัวอย่างเครื่ องมือหิ นขัดและเครื่ องปั้ นดินเผา


การขยายตัวของการเกษตรกรรมระหว่าง 8,000 – 5,000 ปี ก่อนคริ สต์กาล เป็ น ปั จจยั สาคัญนาไปสู่ การสร้างสรรค์ความเจริ ญ ระดับอารยธรรมในเวลาต่อมา จากเอเซี ยตะวันตก ไปสู่ ดา้ น ตะวันออกเฉี ยงใต้ของยุโรป ในราว 4,000 ปี ก่อน คริ สต์กาล การ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เพื่อเป็ นอาหารของชุมชนและ แลกเปลี่ยน กับชุมชนอื่น ๆ ได้ขยายไปสู่ บริ เวณเอเซี ยกลางและรอบ ๆ ทะเล เมดิเตอร์เรเนียน

เจอริ โกในแหล่งโบราณคดียคุ หิ นใหม่ ชุมชนเจอริ โกเป็ นตัวอย่างของหมู่บา้ นยุคหิ นใหม่ ที่เริ่ มมีการปลูก ข้าว สาลีและข้าวบาเลย์ รู ้จกั ใช้เครื่ องมือล่าสัตว์และทาภาชนะจากดินเหนียว สา หรับเก็บข้าวเปลือกและใส่ อาหาร ตั้งแต่ราว 5,000ปี ก่อนคริ สต์กาล สมัยหิ นใหม่จดั เป็ นการปฏิวตั ิครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบ ความสาเร็ จ ขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้ากบัขอ้ จากัดของธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม ไม่ตอ้ ง ร่ อนเร่ ยา้ ยถิ่น และเป็ นช่วงเวลาเริ่ มต้นการ รวมกลุ่มเป็ นตั้งหลักแหล่ง ใน บริ เวณที่มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ (แม้วา่ ยังมีบางกลุ่มที่ยงั คงวิถีชีวิตผูกพันกับ การเลี้ยงปศุสัตว์ ที่ตอ้ งเปลี่ยนที่ ไปตามความอุดมสมบูรณ์ของทุ่งหญ้า เช่น พวกอนารายชนมองโกล เป็ นต้น) ความสามารถในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์


เป็ นปั จจัยสาคัญ ที่ทาให้จานวนประชากรโลกเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าและกระจายอยู่ ทัว่ โลก ทั้งยังเริ่ มมีความเชื่อทางศาสนา แสดงความเคารพอานาจของ ธรรมชาติ เพื่อให้มีแต่ความอุดมสมบูรณ์ ตัวอย่างความเชื่อที่สาคัญ คือ การนาก้อนหิ นขนาดกลางหรื อขนาด ใหญ่ มาเรี ยงต่อกัน เรี ยกว่า เมกาลิธิค ( Megalithic ) เช่น สโตนเฮนจ์ (The Stonehenge) ในอังกฤษ

การอยูเ่ ป็ นหลักแหล่ง มีประชากรมากขึ้นและมีอาหารอุดมสมบูรณ์ ทาให้ มนุษย์ยคุ หิ นใหม่ มีเวลามากขึ้นและเริ่ มแบ่งงานตามความถนัด สามารถ นอกจากรู ้จกั ทาเครื่ องปั้ นดินเผาแล้วยังรู ้จกั เทคโนโลยีสาหรับทา เครื่ องมือ เครื่ องใช้จากสาริ ดและเหล็ก ดังนี้ สังคมมนษุย์ยุคหินใหม่

คนในยุคหิ นใหม่ได้เริ่ มปฏิวตั ิการครองชีพดว้ยการเปลี่ยนวิถีชีวิต จาก การล่าสัตว์และหาขอป่ ามาเลี้ยงสัตว์มาทาการเพราะปลูกแทน ถือเป็ น การ ปฏิวตั ิทางสังคมและเศรษฐกิจครั้งสาคัญของมนุษยชาติ การเปลี่ยน วิถีชีวิตมา


เป็ นเกษตรกรดังกล่าวนอกจากจะทาให้คนต้องหันมาเลี้ยงสัตว์ และฝึ กหัดสัตว์ ให้เชื่องแล้ว คนยังต้องเรี ยนรู ้การไถหว่าน และเก็บเกี่ยว พืช เช่น ลูกเดือย ข้าว สาลี ข้าวโพด อีกด้วย สภาพสังคมขณะนั้นพบว่า ผูค้ นต้องหักร้างถางพงสาหรับการ เพาะปลูกมีการ ทาคอกสาหรับขังสัตว์และสร้างที่พกั อาศัยอยูถ่ าวรแทนการ เร่ ร่อน อาศัยอยูใ่ น ถ้าเช่นคนหิ นเก่า เมื่อหลายครอบครัวอาศัยอยูร่ วมกนั เป็ น หมู่บา้ นจึงถือว่า หมู่บา้ นเกษตรกรเหล่านี้คือหมู่บา้ นแห่งแรกของโลก เทคโนโลยีของคนในยุคหิ นใหม่ทาขึ้นจากวัสดุหลายชนิ ด เช่น หิ น กระดูก และเขาสัตว์ที่แตกต่างจากคนในยุคหิ นเก่า คือ เครื่ องมือ เครื่ องใช้เหล่านั้นมี ประโยชน์ใช้สอยและประณี ตมากขึ้น เครื่ องมือที่ สาคัญคือ ขวานหิ นด้วยเป็ น ไม้ และเคียวกินเหล็ก ไฟ เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั สร้างงานหัตถกรรมใน ครัวเรื อนอีกหลายอย่างได้แก่ เครื่ องปั่ นด้าย เครื่ องทอผ้าเครื่ องจักสานและ เครื่ องปั้ นดินเผาซึ่ งมักทา ขึ้นมักทาขึ้นอย่างหยาบ ๆ ไม่มีการตกแต่งลวดลาย มากนัก ในด้านศิลปะพบว่า คนในยุคหิ นใหม่มีการปั้ นรู ปสตรี และทารก ลักษณะคล้าย รู ปแม่พระธรณี อันเป็ นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ ของพืชพันธ์ ธัญญาหาร ชุมชนยุคหิ นใหม่ที่เก่าแก่ที่สุดในตะวันออก กลางบริ เวณที่เป็ น ประเทศ ตุรกี ซี เรี ย อิสราเอล อิรัก ภาคตะวันออก ของอิหร่ าน และเลยไปถึง อียปิ ต์ในทวีปแอฟริ กา ในปั จจุบนั จากหลักฐานทางโบราณคดีแสดงว่า คนที่อยูใ่ นบริ เวณดังกล่าวไดค้​้ นพบวิธีการ เกษตรกรรมมาประมาณ 7,000 ปี มาแล้ว และดูเหมือนว่า รากฐาน ความรู ้ทาง เกษตรกรรมของชาวยุโรป ก็รับไป จากบริ เวณนี้


ยุคโลหะ 1.ยุคสาริด

ยุคสาริ ดเริ่ มต้นในภูมิภาคต่างๆ ของโลกไม่พร้อมกัน แต่โดยเฉลี่ยแล้ว แหล่งถิ่นฐานส่ วนใหญ่สามารถถลุงสาริ ดได้เมื่อประมาณ 5,000 ปี มาแล้ว สาริ ดเป็ นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก กรรมวิธีการทาสาริ ดค่อนข้าง ยุง่ ยาก ตั้งแต่การหาแหล่งแร่ การเตรี ยม การถลุงแร่ และการผสมแร่ ในเบ้า หลอม จากนั้นจึงเป็ นการขึ้นรู ปทาเครื่ องมือเครื่ องใช้ดว้ ยดารตีหรื อการหล่อใน แม่พิมพ์หินทราย หรื อแม่พิมพ์ดินเผา เครื่ องมือเครื่ องใช้ในยุคสาริ ดที่พบตามแหล่งต่าง ๆ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก นอกจากทาด้วยสาริ ดแล้วยังพบเครื่ องมือเครื่ องใช้ทาจากดินเผา หิ น และ แร่ ในบางแหล่งมีการใช้สาริ ดต่อเนื่องมาจนถึงยุคเหล็กเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่ทา จากสาริ ดมีขวาน หอก ภาชนะ กาไล ตุม้ หู ลูกปั ด เป็ นต้น ในยุคนี้ความเป็ นอยูข่ องมนุษย์เปลี่ยนไปมากทั้งด้านการเมืองและสังคม ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็ นชุมชนเมือง จึงมีการจัดแบ่ง ความสัมพันธ์ตามความสามารถ เช่น กลุ่มอาชีพ มีการจัดระเบียบสังคมเป็ น กลุ่มชนชั้นต่างๆ ซึ่ งเอื้ออานวยต่อการผลิตอันนาไปสู่ ความมัน่ คงด้าน


ปั จจัยพื้นฐานและความมัง่ คัง่ แก่สังคม มนุษย์จึงมีความมัน่ คงปลอดภัยกว่าเดิม และมีความสะดวกสบายมากขึ้น นาไปสู่ พฒั นาการทางสังคมสู่ ความเป็ นรัฐใน เวลาต่อมา แหล่งอารยธรรมที่สาคัญๆ ของโลกล้วนมีการพัฒนาการสังคมจากช่วงเวลา สมัยหิ นใหม่และสมัยสาริ ด แหล่งอารยธรรมของโลกที่สาคัญและแหล่ง วัฒนธรรมบางแห่ง เช่น แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียในภูมิภาคเอเชีย ตะวันตก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ าไนล์ในอียปิ ต์ แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ า สิ นธุในอินเดีย แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ าฮวงโหของจีน และแหล่งวัฒนธรรม บ้านเชียงในประเทศไทย


2. ยุคเหล็ก

ประมาณ 1,200 ปี ก่อนคริ สต์กาล เป็ นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของ มนุษย์ที่ สามารถทาเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่คงทนมากขึ้น จึงมีเครื่ องมือ การเกษตรกรรมที่ ใช้ในการผลิตได้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น บางกลุ่ม รู ้จกั เทคโนโลยีสาหรับถลุง เหล็กและนามาตีเป็ นดาบและอาวุธต่าง ๆ จึงเป็ นที่มาของการสร้างกองทัพ ขนาดใหญ่ ส่ งผลต่อการเปลี่ยน รู ปแบบสงครามและยุทธวิธีในการรบอย่าง ต่อเนื่อง

สังคมมนษุย์ยุคโลหะ

คนยุคโลหะเริ่ มรู ้จกั ใช้ทองแดง และสัมฤทธิ์ มาทาเป็ น เครื่ องมือ เครื่ องใช้และเครื่ องประดับ ในส่ วนของกิจกรรมการเพราะ ปลูกและเลี้ยงสัตว์ ได้มีการพัฒนาให้มีการประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้นวิถี ชีวิตของคนในยุคโลหะได้ เปลี่ยนจากสภาพความเป็ นอยูแ่ บบชุมชน


เกษตรมาเป็ นชุมชนเมือง ซึ่ งเมืองดังกล่าวต่อมาได้กลายเป็ นศูนย์กลาง การเกษตรกรรม การปกครองและสังคมความสัมพันธ์ทางสังคมของ คนยุคนี้ จะอยูก่ นั แบบ เครื อญาติมีความรักใคร่ กลมเกลียวและผูกพันอย่า ใกล้ชิดเพราะเป็ นสังคม ขนาดเล็ก การจัดระเบียบทางสังคมจะเป็ นไปใน แบบของตระกูลและหมู่บา้ น มากกว่าที่จะเป็ นไปในสังคมแบบปั จจุบนั ในด้านความเชื่อพบว่า คนในสังคมเกษตรกรรมจะมีความเชื่อในเรื่ อง สิ่ งศักดิ์สิทธิ์ และอานาจทีไม่มีตวั ตนอย่างเข้มข้น ทั้งนี้เพราะมีประสบการณ์ ว่าอานาจสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ดังกล่าวอยูเ่ หนืออานาจมนุษย์ดงั นี้คนในสมัยนั้นจึงได้ คิดลัทธิ วิญญาณขึ้นมา เพื่อคุม้ ครองป้ องกันตนเองและกลุ่ม ขณะเดียวกันผูค้ น ก็พยายามนาตนเองเข้าไปใกล้ชิดกับอานาจลึกลับนั้นผ่านกระบวนการของ พิธีกรรมและการบวงสรวง บูชา จนเกิดเป็ นระบบศาสนาและขนบธรรมเนียม ในเวลาต่อมา



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.