วารสารยุติธรรมคู่ขนาน เล่มที่ 13 (ปีที่9 ฉบับที่2)

Page 68

แผนภาพที่ ๕ - ๔ รูปแบบรูปแบบการเมืองการปกครองในเชิงเปรียบเทียบ เปรียบเทียบความเขมขนในเชิงการบมเพาะขัดเกลาและวัฒนธรรมทางการเมือง POLITICAL SOCIALIZATION AND POLITICAL CULTURE ๑๐๐ การมีสวนรวม การมีสวนรวม Participants Participants Participants ๙๐ ๘๐ การมีสวนรวม ผูยอมตาม Participants Subjects ๗๐ ผูยอมตาม Subjects ๖๐ ๕๐ ผูยอมตาม Subjects ๔๐ ๓๐ ผูยอมตาม ผูบงการ Subjects Parochials ๒๐ ผูบงการ Parochials ๑๐ ๐ ผูบงการ ผูบงการ Parochials Parochials DEMOCRATIC AUTHORITARIAN AUTHORITARIAN DEMOCRATIC INDUSTRIAL INDUSTRIAL TRANSITIONAL PREINDUSTRIAL

ที่มา: COMPARATIVE POLITICS (p.๕๗)

แผนภาพข้างต้นมีความน่าสนใจในจุดที่ได้บ่งชี้ให้เห็นถึงความเข้มข้นของการเข้ามามีส่วนร่วม ของประชาชนในการเมืองการปกครองในหลายยุคสมัยและหลากหลายรูปแบบ เช่น ยุคสังคม อุตสาหกรรมและมีความเป็นประชาธิปไตย (democratic industrial) ผู้คนผู้ทำการปกครองจะมีการ ชี้ น ำบงการคนกลุ่ ม อื่ น อยู่ ใ นปริ ม าณที่ น้ อ ยกว่ า สั ง คมในช่ ว งการส่ ง ผ่ า นแนวคิ ด ทั้ ง เชิ ง อำนาจนิ ย ม

(Authoritarian transitional) หรือแม้แต่สังคมอุตสาหกรรมแบบประชาธิปไตยในช่วงเปลี่ยนผ่าน

(Democratic preindustrial) อย่างไรก็ดี การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในสังคมอุตสาหกรรม ประชาธิปไตยจะมีปริมาณสูงมากกว่าสังคมรูปแบบอื่น ๆ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า ยิ่งสังคมพัฒนาในทิศทางที่เจริญทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและมีความเป็น ประชาธิปไตยมากขึ้นเท่าใด ตัวบ่งชี้ หรือ “ตัวชี้วัดความเป็นประชาธิปไตย” ที่สำคัญประการหนึ่งได้แก่ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2557

40


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.