สรุปบทเรียน การเขียนโปรแกรม ภาษาซี

Page 1

สรุปบทเรียน การเขียนโปรแกรม ภาษาซี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


ประวัติความเป็นมาภาษาซี ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1972 ผู้คดิ ค้นคือ Dennis Rittchie โดยพัฒนามาจากภาษาB และ ภาษา BCPL แต่ยังไม่มีการใช้งาน อย่างกว้างขวางนัก ในปี ค.ศ. 1978 Brain Kernighan ได้ร่วมกับ Dennis Ritchie มาพัฒนามาตรฐานของภาษาซี เรียกว่า K&R ทาให้มีผสู้ นใจเกี่ยวกับภาษาซีมากขึ้น จึงเกิดภาษาซีอีกหลายรูปแบบเพราะยังไม่มีการกาหนดรูปแบบภาษาซีที่เป็น มาตรฐาน และในปี 1988 Ritchie จึงได้กาหนดมาตรฐานของภาษาซีเรียกว่า ANSI C เพื่อใช้เป็นตัวกาหนดมาตรฐานในการ สร้างภาษาซีรุ่นต่อไปภาษาซี เป็นภาษาซีระดับกลางเหมาะสมสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง เป็นภาษาที่มีความ ยืดหยุ่นมากคือใช้งานได้กับเครื่องต่างๆ ได้และปัจจุบันภาษาซีเป็นภาษาพื้นฐานของภาษาโปรแกรมรุน่ ใหม่ ๆ เช่น C++

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี ขั้นตอนที่ 1 เขียนโปรแกรม (source code) ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile) ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link) ขั้นตอนที่ 4 ประมวลผล (run)

สร้าง Work.c ……….. ……….. Source Code

Compile C Compiler

link

Work.obj

Object Program Library

รูปที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี

Work.exe

Executable program

run

Output


โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี #include <stdio.h> #include <stdio.h> void main() { ……….. }

1 2 3

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. ส่วนหัวของโปรแกรม - #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> - #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” 2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก 3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม

คอมเมนต์ในภาษาซี  คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย //  คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */


ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1. วิเคราะห์ปัญหา (Analysis) 2. วางแผนและออกแบบ (Planning & Design)  ซูโดโค้ด (Pseudo code)  โฟลวชาร์ต (Flowchart) 3. เขียนโปรแกรม (Coding) 4. ทดสอบโปรแกรม 5. จัดทาคู่มือ (Documentation)


สัญลักษณ์รูปภาพของโฟลวชาร์ต


ชนิดตัวแปร ขนาดความ กว้าง Char 8 บิต Unsigned char 8 บิต Int 16 บิต long 32 บิต Float 32 บิต ชนิด

Double

64 บิต

Unsigned int

16 บิต

Unsigned long 32 บิต

ช่วงของค่า

การใช้งาน

ASCII character (-128 ถึง 127) 0-255 -32768 ถึง 32767 -2147483648 ถึง 2147483649 3.4E-38 ถึง 3.4E+38 หรือ ทศนิยม 6 1.7E-308 ถึง 1.7E+308 หรือ ทศนิยม 12 0 ถึง 65535

เก็บข้อมูลชนิดอักขระ เก็บข้อมูลอักขระแบบไม่คิดเครื่องหมาย เก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็ม เก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็มแบบยาว เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม

0 ถึง 4294967296

เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม เก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็ม ไม่คิด เครื่องหมาย เก็บข้อมูลชนิดจานวนเต็มแบบยาว ไม่คิด เครื่องหมาย


การแสดงผลออกทางหน้าจอและคาสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() { clrscr(); int x,y,sum; printf("Enter The Length is : "); scanf ("%d",&x); printf("Enter The Width is : "); scanf ("%d",&y); sum = x*y; printf("The area is :%d",sum); getch(); } ผลลัพธ์โปรแกรม Enter The Length is : 15 Enter The Width is : 5 The area is : 75


เครื่องหมายการคานวณทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมายที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ใช้ภาษา C สรุปดังนี้ เครื่องหมาย + * / % ++

--

ความหมาย บวก ลบ คูณ หาร หารเอาเศษ เพิ่มค่าขึ้น 1 โดย a++ จะนาค่าของ a ไปใช้ก่อนแล้วจึงเพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 ++a จะเพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 ก่อนแล้วจึงนาค่าของ a ไปใช้ ลดค่า 1 โดย a-- จะนาค่าของ a ไปใช้ก่อน แล้วจึงลดค่าของ a ลง 1 --a จะลดค่าของ a ลง 1 ก่อน แล้วจึงนาค่าของ a ไปใช้


ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ

เครื่องหมาย > >== < <== == !=

ความหมาย มากกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ น้อยกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ เท่ากับ ไม่เท่ากับ

ตัวอย่าง a > b a มากกว่า b a >= b a มากกว่าหรือเท่ากับ b a < b a น้อยกว่า b a <= b a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b a == b a เท่ากับ b a != b a ไม่เท่ากับ b

ตัวดาเนินการตรรกะ

เครื่องหมาย && || !

ความหมาย ตัวอย่าง และ x < 60 && x > 50 กาหนดให้ x มีค่าในช่วง 50 ถึง 60 หรือ x == 10 || x == 15 กาหนดให้ x มีค่าเท่ากับตัวเลข 2 ค่า คือ 10 หรือ 15 ไม่ x = 10 !x กาหนดให้ x ไม่เท่ากับ 10


ลาดับความสาคัญของเครื่องหมาย

ลาดับความสาคัญ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ลาดับความสาคัญจากสูงไปต่า () !,++,- *,/,% +,<,<=,>,>= = =,!= && || *=,/=,%=,+=,-=


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.