เปิดประตูสู่อารยธรรมโลก

Page 1

หนังสืออ่านเพิม่ เติม เปิ ดประตูสู่ อารยธรรมโลก

นางวิไลวรรณ พรมสิ ทธิ์ โรงเรียนมัญจาศึกษา อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น


หนังสืออ่านเพิม่ เติม เปิ ดประตูสู่ อารยธรรมโลก

นางวิไลวรรณ พรมสิ ทธิ์ โรงเรียนมัญจาศึกษา อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น


คานา หนังสื ออ่านเพิ่มเติม “เปิ ดประตูสู่อารยธรรมโลก” จัด ท าขึ้ นเพื่ อ เสริ ม ความรู ้ แ ละทัก ษะในการเรี ย นรายวิ ช า ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 5 ซึ่ งนักเรี ยนควรสนใจ ใฝ่ เรี ย นรู ้ หาความรู ้ เพิ่ ม เติ ม และน าความรู้ ไ ปใช้ ใ นการ พัฒนาการเรี ยนรู ้ การเห็นคุณค่าของประวัติศาสตร์ ที่ส่งผลถึง พัฒนาการและความเจริ ญก้าวหน้ามาจนถึงปั จจุบนั ภายในเอกสารประกอบด้วยเกร็ ดความรู ้เกี่ยวกับอารย ธรรมโลกยุคโบราณ พร้อมภาพประกอบ ข้อคิด และคาถาม ชวนคิด นักเรี ยนสามารถศึกษาด้วยด้วยตนเองทั้งในและนอก เวลาเรี ยน ขอขอบคุ ณผูเ้ ชี่ ยวชาญที่ ช่วยตรวจสอบคุ ณภาพของ หนั ง สื อ อ่ า นเพิ่ ม เติ ม และนั ก เรี ย นที่ ช่ ว ยประเมิ น และให้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จนสาเร็ จเรี ยบร้อย มา ณ โอกาสนี้ วิไลวรรณ พรมสิ ทธิ์ พฤษภาคม 2556


สารบัญ เปิ ดประตูส่ ู อารยธรรมโลก ลานาประวัติศาสตร์โลก......................................1 อักษรลิ่มหรื ออักษรคูนิฟอร์ม..............................2 เกร็ ดน่ารู ้ฮมั มูราบี................................................5 สวนลอยแห่งบาบิโลน........................................8 ตานานการสร้างพีระมิด.....................................10 กว่าจะเป็ นมัมมี่..................................................13 กาแพงหมื่นลี้......................................................22 ท่องแดนมังกรมณฑลเหอหนาน........................26 พิพิธภัณฑ์เหอหนาน..........................................27 วัดเส้าหลิน.........................................................28 ศาลไคฟง...........................................................30 ดอกโบตัน๋ .........................................................31 พระราชวังต้องห้าม กรุ งปั กกิ่ง..........................32 สุ สานจักรพรรดิฉิ๋นซี ฮ่องเต้...............................36 อินเดียกับการเกิดประเทศปากีสถาน ................39 อนุสรณ์สถานทัชมาฮาล....................................45


นครรัฐเอเธนส์...................................................49 ย้อนรอยกีฬาโอลิมปิ ก........................................52 นักรบผูย้ งิ่ ใหญ่แห่งโรมัน..................................56 โคลอสเซียม......................................................62 บรรณานุกรม.....................................................65 อ้างอิงภาพ..........................................................69 ประวัติผเู้ รี ยบเรี ยง..............................................75


สารบัญภาพ อักษรลิ่ม.............................................................................2 ตัวอย่างอักษรลิ่ม................................................................3 รู ปสลักหินกษัติริยฮ์ มั มูราบี................................................5 แผ่นจารึ กประมวลกฏหมายฮัมมูราบี.................................5 สวนลอยแห่งบาบิโลน.......................................................8 การก่อสร้างพีระมิด..........................................................10 พีระมิดที่เมืองกิซา............................................................11 มัมมี่ฟาโรห์......................................................................13 ขั้นตอนการทามัมมี่..........................................................14 กาแพงเมืองจีน.................................................................22 การก่อสร้างกาแพงเมืองจีน.............................................23 กาแพงเมืองจีนสิ่ งมหัศจรรย์ 1 ใน 7 ของโลก.................22 แผนที่มณฑลเหอหนาน...................................................26 วัฒนธรรมเหอหนาน.......................................................26 พิพิธภัณฑ์เหอหนาน.......................................................27 วัดเส้าหลิน......................................................................28 ศาลไคฟง........................................................................30 ศาลและรู ปปั้ นเปาบุน้ จิ้น.................................................31 ดอกโบตัน๋ .......................................................................31


สารบัญภาพ (ต่ อ) พระราชวังต้องห้าม........................................................32 มุมพระราชวังต้องห้ามทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ…….33 สุ สานจักรพรรดิจิ๋นซี ฮ่องเต้............................................36 รู ปปั้ นกองทหารสุ สานฯ.................................................37 กองทหารในสุ สานฯ.......................................................38 แผนที่ประเทศปากีสถาน................................................39 จินนาห์ ผูน้ าอิสลาม.......................................................42 มหาตมะ คานธี ผูน้ าฮินดู..............................................42 วินตัน เชอร์ชิล...............................................................44 ทัชมาฮาล........................................................................45 พระนางมุมตัช มาฮาลและพระเจ้าชาห์ ชหาน................47 การปกครองนครรัฐเอเธนส์............................................49 ซากเมืองเอเธนส์.............................................................51 เมืองเอเธนส์กบั กีฬาโอลิมปิ ก.........................................52 อัฒจันทร์ เชิงเขาโอลิมปัส..............................................54 สัญลักษณ์กีฬาโอลิมปิ ก.................................................55 จูเลียส ซีซาร์..................................................................56 เหตุการณ์รบของจูเลียส ซีซาร์ที่เกาะอังกฤษ..................57


สารบัญภาพ (ต่ อ) เวอร์ ชิน เกโทริ ก ผูน้ าเผ่าโกล......................................58 บรู ตสั หัวหน้ากลุ่มสังหารจูเลียส ซีซาร์......................60 พระนางคลีโอพัตรา แห่งอียิปต์....................................61 ซากสนามกีฬาแห่งกรุ งโรม...........................................62 โคลอสเซี ยมสนามกีฬาแห่งกรุ งโรม.............................63 ภายในโคลอสเซียม.......................................................64


-1-

ลำนำประวัตศิ ำสตร์ โลก “ ประวัติศาสตร์ของโลกอารยธรรม สิ่ งก่อสร้างสถาปั ตยกรรมนั้นหลากหลาย อักษรลิ่มสุ เมเรี ยนเขียนมากมาย ประดิษฐ์ใช้ความสาเร็ จทางปัญญา ฮัมมูราบีตาต่อตาฟันต่อฟัน ไว้ป้องกันประเทศยามมีปัญหา บาบิโลนสวนลอยชื่อดังมา เด่นทัว่ หล้าอารยธรรมโบราณมี พีระมิดสุ สานของกษัตริ ย ์ ผูย้ นื ยัดดารงสง่าศรี เพื่อเทิดทูนฟาโรห์ยงิ่ ใหญ่มี ทามัมมี่ห่อไว้ให้เราชม กาแพงเมืองจีนยาวเด่นเป็ นประจักษ์ ดังงูยกั ษ์บนเขายิง่ ใหญ่สม สิ่ งมหัศจรรย์ล้ าค่าตรึ งอารมณ์ เสน่ห์คมคนโบราณสร้างสรรค์งาน เราได้รู้ความยัง่ ยืนในคู่รัก เห็นประจักษ์รักแท้ไว้กล่าวขาน ปราสาทหิ นอ่อนสวยทัชมาฮาล คือสุ สานรักจริ งกว่าสิ่ งใด ที่ได้กล่าวตัวอย่างข้างต้นนี้ เพื่อจะชี้ประเด็นเห็นแก้ไข ประวัติศาสตร์ อารยธรรมนั้นก้าวไกล คนรุ่ นใหม่ได้ศึกษาหาดูเอย” นายเพิ่มพูน พวกพูน ม.5/7 ผูป้ ระพันธ์


-2-

เปิ ดประตูสู่ อำรยธรรมโลก อารยธรรมของโลกมี พ ฒ ั นาการจากอดี ต ถึ งปั จจุ บ ัน มี ความหลากหลายทั้งแตกต่ างและคล้ายคลึ งกัน ซึ่ งเกิ ดจากการ สร้ า งสรรค์ ใ นอดี ต ที่ ผ่ า นมาหลายพัน ปี และส่ งผลถึ ง ความ เจริ ญก้าวหน้าทาให้มวลมนุ ษยชาติได้รับประโยชน์และมี การต่อ ยอดความรู ้ จนกลายเป็ นความรู ้ ใหม่ นัก เรี ยนจึ งควรที่ จะศึ ก ษา ความรู ้ ให้ลึ กซึ้ งและเห็ นคุ ณ ค่าของพัฒนาทางประวัติศาสตร์ ใน ฐานะเป็ นพลโลกที่ดี อารยธรรมโลกที่น่าสนใจมีดงั นี้ อักษรลิม่

อักษรลิ่ม ที่มา : http://www.kittichaitahandsome.blogspot.com/

อักษรลิ่มหรื ออักษรคูนิฟอร์ มชาวสุ เมเรี ยน แห่งอารย ธรรมเมโสโปเตเมีย เป็ นผูป้ ระดิษฐ์อกั ษรขึ้นเป็ นครั้งแรกของโลก เมื่อประมาณ 3,000 ปี ก่อนคริ สต์ศกั ราช นับเป็ นความสาเร็ จ ทางด้านสติปัญญาของชาวสุ เมเรี ยน ทั้งนี้เกิดขึ้นจากความจาเป็ น


-3-

ของพระตามวัดต่างๆที่ตอ้ งทาบัญชี รายรับ-รายจ่าย ของวัดและ การควบคุมที่ดิน ผลิตผล และสิ่ งต่างๆ จนมีนกั เขียนกล่าวไว้วา่ “ประวัติศาสตร์ เริ่ มที่ซูเมอร์ ” คือการบันทึกเรื่ องราวในอดีตจาก อักษรลิ่มใช้เป็ นหลักฐานสาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์โลกได้

ตัวอย่างอักษรลิ่ม ที่มา : http://www.ittipun.blogspot.co/

ตัวอักษรที่ชาวสุ เมเรี ยนประดิษฐ์ข้ ึนเรี ยกว่าอักษรคูนิฟอร์ม(Cuneiform) มาจากภาษาละตินแปลว่า”Cuneus” แปลว่าลิ่ม รวมเรี ยกว่าอักษรลิ่ม เขียนด้วยต้นอ้อ ลงบนแผ่นดินเหนียวเปี ยก แล้วนาไปตากแดดหรื อ อบแห้ง ขนาดของแผ่นดินเหนียวเท่าฝ่ า มือ ตัวอักษรมีลกั ษณะคล้ายลิ่ม ในชั้นแรกอักษรลิ่มใช้แทนวัตถุ สิ่ งของที่กล่าวถึง ต่อมาค่อยๆเปลี่ยนเป็ นเครื่ องหมาย ต่อมาชาวสุ เมเรี ยนได้ววิ ฒั นาการใช้เครื่ องหมายแทนเสี ยงไม่ใช่แทนสิ่ งของ ชาวสุ เมเรี ยนจึงสามารถบันทึกเรื่ องราวเกี่ยวกับศาสนา


-4-

บทสวดมนต์ ตลอดจนเอกสาร กฎหมาย และสั ญ ญาต่ า งๆได้ อักษรลิ่มจึงมีคุณค่าต่อการศึกษาประวัติศาสตร์โลกยิง่ นัก คำถำมชวนคิด 1. เหตุใดจึงมีคากล่าวว่าประวัติศาสตร์ เริ่ มต้นที่ซูเมอร์ 2. อักษรลิ่มมีประโยชน์อย่างไร


-5-

เกร็ดน่ ำรู้ ฮัมมูรำบี “ตำต่ อตำ ฟันต่ อฟัน”

รู ปสลักหิ นกษัตริ ยฮ์ มั มูราบี - แผ่นจารึ กประมวลกฏหมายฮัมมูราบี ที่มา : http://www. Pantip.com/ , http://th.wikipedia.org/wiki/

พระเจ้า ฮัม มู ร าบี แห่ ง จัก รวรรดิ บ าบิ โลนในช่ วงอารย ธรรมเมโสโปเตเมี ย ได้จดั ท าประมวลกฎหมายขึ้ น มี ป ระมาณ 300 มาตรา เป็ นการรวบรวมและปรั บ ปรุ งกฎหมายของชนเผ่า ต่าง ๆ ที่ ต้ งั ถิ่ นฐานมาก่ อนในดิ นแดนเมโสโปเตเมีย เพื่ อเป็ น การจัดระเบียบสังคมให้มีความยุติธรรม ที่ แบ่งเป็ นชนชั้นและมี การคานึงถึงสิ ทธิของสตรี และบุตรด้วย เนื้อความของกฏหมายได้ สะท้อนภาพชีวติ บางส่ วนของผูค้ นในยุคนั้น จึงเป็ นกฎหมายฉบับ แรกที่คานึ งสิ ทธิ สตรี แนวคิดในการสร้างความยุติธรรมในสังคม และเป็ นรากฐานของกฎหมายประเทศต่าง ๆ ในปัจจุบนั


-6-

ลักษณะเด่ นของประมวลกฎหมำยฮัมมูรำบี คล้ายกฎหมายของพวกสุ เมเรี ยน คือ อาศัยหลัก Lex talionis คือ ใช้ลทั ธิสนองตอบ คือ “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน” (An eye for an eye , a tooth for a tooth) มีความเปลี่ยนแปลงไปจากกฎหมายของพวกสุ เมเรี ยน คือ การให้ความยุติธรรมนั้นต้องเป็ นหน้าที่ของรัฐ (การให้ความ ยุติธรรมในสมัยแรกเริ่ มนั้นเป็ นหน้าที่ของบุคคล) ให้สิทธิ แก่สตรี สตรี มีสิทธิ ฟ้องสามีได้ การค้าขายจะต้องได้พระบรมราชานุญาต จากัดกาไรให้เพียง 20% กาหนดเวลาการตกเป็ นทาสหนี้สินเพียง 3 ปี ทั้งนี้เป็ นเพราะ นอกจากจะทรงสามารถในการรบและการปกครองเป็ นผลให้ จักรวรรดิขยายกว้างใหญ่ไพศาล ฮัมมูราบีได้ปรับปรุ งอารยธรรม สุ เมเรี ยนให้ดีข้ ึน ตัวอย่ำงข้ อควำมในกฎหมำยฮัมมูรำบี “ถ้าบุคคลใดทาลายดวงตาของอีกผูห้ นึ่ง ดวงตาของ บุคคลนั้นจะถูกทาลายเช่นกัน”


-7-

“ ถ้าผูร้ ับเหมาก่อสร้าง สร้างบ้านให้บุคคลผูห้ นึ่งแต่ไม่ ก่อสร้างให้มนั่ คงและบ้านที่ก่อสร้างนั้นพังลงทับเจ้าของบ้านถึง แก่ความตาย ผูร้ ับเหมาก่อสร้างจะถูกสังหารให้ตายตามกัน” “หากชายใดบังคับฝื นใจคู่หมายของชายอื่น ซึ่ งนางนั้นยัง ไม่เคยเสี ยตัวแก่ชายใดและยังคงอาศัยอยูท่ ี่นิวาสถานของบิดาและ เขาได้ซบอกของนางและถูกจับได้ ชายผูน้ ้ นั จะถูกลงโทษถึงแก่ ชีวติ ส่ วนสตรี นางนั้นไม่มีความผิด” “หากชายใดสมรสกับนางผูเ้ ป็ นภรรยา แต่เธอไม่มีบุตร ให้เขา และเขาหันไปมีนางบาเรอ ชายผูน้ ้ นั สามารถนานางบาเรอ มาเลี้ยงดูที่บา้ น แต่หา้ มมีศกั ดิ์เสมอภรรยา” “หากภรรยาของชายใดให้หญิงรับใช้ของตนแก่สามี และ ต่อมานางผูน้ ้ นั ให้กาเนิดบุตรและอ้างสิ ทธิ์ เสมอภรรยาที่เป็ นนาย หญิง นายหญิงสามารถลดฐานะของเธอให้เป็ นทาสี ได้” ตัว อย่ า งที่ น ามาให้ ศึ ก ษาครั้ งนี้ แสดงให้ เห็ น ถึ ง ความ พยายามในการสร้างความยุติธรรมในสังคม ซึ่ ง ประมวลกฎหมาย นี้ ถูกคัดลอกไว้โดยการแกะสลักลงบนหิ นบะซอลต์สีดาสู ง 2.25 เมตร ซึ่ งต่ อ มาที ม นัก โบราณคดี ฝ รั่ ง เศสขุดพบที่ ประเทศอิ รัก ในช่ วงฤดู หนาวปี 1901 ถึ ง 1902 หิ นสลักนี้ แตกเป็ น 3 ชิ้ น และ ได้ รั บ การบู ร ณะ ปั จจุ บ ั น ประมวลกฎหมายฮัม มู ร าบี อ ยู่ ใ น พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ กรุ งปารี ส ประเทศฝรั่งเศส


-8-

คำถำมชวนคิด 1. กฏหมายฮัมมูราบีมีความสาคัญอย่างไร 2. หลัก ”ตาต่อตา ฟันต่อฟั น” มีผลดี ผลเสี ยอย่างไร สวนลอยแห่ งบำบิโลน

ที่มา : http://www.blog88.exteen.com/

สวนลอยบาบิ โ ลน (The Hanging Garden of Babylon) ตามตานานเล่าว่าครั้งเมื่อนครเมโสโปเตเมียกาลังรุ่ งเรื องอยู่น้ นั มี สถานที่ แห่ งหนึ่ งที่ ชาวนครแห่ งนั้น ภาคภูมิ ใจอย่างมาก สถานที่ แห่ งนี้ เด่นยิง่ กว่าพระราชวังของพวกเขาอีก เพราะสถานที่แห่ งนั้น สวยงามราวกับสวรรค์ เต็มไปด้วยพืชพรรณนานาพันธุ์ที่เขียวชอุ่ม ตลอดปี มีชื่อเสี ยงโด่งดังไปทัว่ โลกและโดดเด่นในโลกอารยธรรม โบราณอย่ า งไม่ มี สิ่ งใดเที ย บ จนกระทั่ ง ถู ก ยอมรั บ อย่ า งเป็ น ทางการว่าเป็ นหนึ่งในสิ่ งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ คือ


-9-

“สวนลอยแห่งบาบิโลน” นัน่ เอง บันทึ ก ประวัติศ าสตร์ บอกไว้ว่า พระเจ้าเนบู คดั เนสซาร์ แห่ งอาณาจักรคาลเดียนโปรดให้สร้างสวนลอยนี้ ข้ ึนเหนื อพื้นดิ น กึ่ งทะเลทราย ในประเทศอิ รัก ให้กบั พระมเหสี ซ่ ึ งเป็ นเจ้าหญิ ง แห่ งอาณาจักรมีดส์ หรื อ มีเดี ย ซึ่ งทั้งสองแคว้นเป็ นพันธมิตรที่ ดี ต่ อ กัน ก่ อ นการสถาปนาเป็ นอาณาจัก รคาลเดี ย นนั้ น ทั้ง สอง อาณาจักรเคยร่ วมกันขับไล่พวกอัสซี เรี ยออกจากบริ เวณลุ่มแม่น้ า ไทกริ ส – ยูเฟรติส ตามตานานได้ก ล่ าวถึ งพระนาง " อามิ ตสั " ว่าพระนาง ทรงอาลัยอาวรณ์ แคว้นของตนเป็ นยิ่งนัก นั้นเองที่ ทาให้พ ระเจ้า เนบูคดั เนสซาร์ จาต้องสร้ างสวนลอยบาบิ โลนขึ้น สวนแห่ งนี้ ได้ จาลองเอาลักษณะภูมิประเทศของแคว้นมีเดีย มาเป็ นต้นแบบ โดยสร้ างภู เขาจาลองขึ้ น เป็ นชั้น ๆ แต่ ล ะชั้น จะสร้ า งสิ่ ง อ านวย ความสะดวกและปลูกดอกไม้ พืชพันธุ์ต่างๆ ไว้มากมาย พันธุ์ไม้ เหล่านี้ได้รวบรวมเอามาจากทุกมุมโลกเท่าที่จะหาได้ รวมไปถึงไม้ ดอกไม้ เลื้ อ ย บั น ไดที่ พ าขึ้ นไปสู่ สวนลอยแห่ ง นี้ มี ล ัก ษณะ กว้างขวางทาด้วยหิ นอ่อน ข้างใต้บนั ไดของแต่ละชั้นนั้นจะมีคาน รั บ น้ าหนัก เป็ นอย่างดี ข้างบนเฉลี ยงของสวนจะมี ถงั น้ าไว้หล่ อ เลี้ ย งน้ า พุ น้ าตก และสายน้ าต่ า งๆ บนสวนลอย น้ าจานวนมาก เหล่านี้ สู บมาจากแม่น้ ายูเฟรติส ด้วยแรงงานทาส โดยการชักน้ า


- 10 -

จากเบื้องล่ างขึ้ นไปสู่ ช้ นั บนสุ ดแล้วปล่อยลงมาให้ไหลลงสู่ เบื้อง ล่างของสวนลอย ปั จจุบนั ยังไม่มีการพบร่ องรอยสวนลอยบาบิโลนที่แน่ชดั จึงเป็ นเรื่ องที่นกั ประวัติศาสตร์ ยคุ ปัจจุบนั ต้องสื บค้นหาความจริ ง หรื อหาหลักฐานสนับสนุนความเชื่อนี้ ต่อไป คำถำมชวนคิด 1. เหตุใดจึงมีการสร้างสวนลอยแห่งบาบิโลนขึ้น 2. การค้นหาสวนลอยแห่งบาบิโลน ควรเริ่ มต้นที่ใด ตำนำนกำรสร้ ำงพีระมิด พีระมิดในประเทศอียปิ ต์เป็ นสิ่ งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่สุด ที่มนุษย์เคยสร้างขึ้นมา แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทาง อารยธรรมของอียปิ ต์โบราณและการเทิดทูนฟาโรห์ผยู ้ งิ่ ใหญ่


- 11 -

การก่อสร้างพีรามิด ที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/

จากภาพเป็ นการก่อสร้างที่ใช้หินขนาดใหญ่หนักหลายตัน การนาหิ นขึ้นไปก่อสร้างมีการใช้แรงงานทาส โดยการใช้ทางลาด แบบบันไดเวียนรอบ หิ นแต่ละก้อนที่อยูด่ า้ นล่างของพีระมิดย่อม โดนแรงกดทับมหาศาล แต่ภายในโครงสร้ างยังต้องมีทางเดิ น มี ห้องหับเก็บรักษาสิ่ งของต่างๆ อีกด้วย เรื่ องนี้ วศิ วกรโบราณที่ชาญ ฉลาดได้ออกแบบให้ภายในพีระมิดมีผนังรับน้ าหนัก โดยผนังที่วา่ นี้ มี ค วามสู งลดหลั่ น กั น ลงไปจากศู น ย์ก ลางไปถึ ง ด้ า นนอก แกนกลางของพี ร ะมิ ด ที่ ดู ป ระหนึ่ งมี ผิ วนอกค่ อ นข้างเรี ย บนั้ น แท้จริ งแล้วเป็ นพี ระมิ ดแบบขั้นบันได ทาหน้าที่ เป็ นโครงสร้ าง หลักอยูน่ นั่ เอง


- 12 -

พีระมิดที่เมืองกิซา ที่มา : http://www. khaosod.co.th/

พีระมิดในประเทศอียปิ ต์ มีมากมายหลายแห่งด้วยกันแต่ที่ มีชื่อเสี ยงที่สุด ได้แก่หมู่พีระมิดแห่ งกิซา (Giza) ทางทิศตะวันตก ของกรุ งไคโร เมื อ งหลวงของประเทศอี ยิ ป ต์ ปั จจุ บ ั น ด้ ว ย โครงสร้างรู ปทรงเรขาคณิ ตเฉพาะตัว ทาให้สามารถสังเกตเห็นได้ ในระยะไกล ยอดพีระมิด เมื่อสร้างเสร็ จสู ง 147 เมตร (ประมาณ อาคารสู ง 40 ชั้น) ซึ่ งการก่อสร้ างพีระมิดขนาดใหญ่น้ ี เป็ นผลมา จากความเชื่ อ ที่ ว่าอี ยิป ต์ไ ด้รับ ของขวัญ จากแม่ น้ า ไนส์ ที่ ส ร้ า ง ความอุดมสมบูรณ์ ให้และต้องกตัญญูต่อดิ นแดนของตน รวมทั้ง การเชิ ดชู ฟาโรห์ผทู ้ รงปกครองแผ่นดิ น ในฐานะเทวราชา ที่ทรง เป็ นเจ้า แผ่น ดิ น ในการปกครองดิ น แดนและดู แ ลความเป็ นอยู่ ประชาชน และต่ อมาการก่ อสร้ างพี ระมิ ด ขนาดใหญ่ ไ ม่ ไ ด้รับ


- 13 -

ความนิ ยมเนื่ องจากใช้เวลาในการก่อสร้างนาน ฟาโรห์ได้หันมา ทานุบารุ งประชาชนมากเพิม่ ขึ้น ปั จจุบนั พีระมิดอียิปต์ได้รับยกย่องให้เป็ นหนึ่ งใน เจ็ดสิ่ ง มหั ศ จรรย์ข องโลก และเป็ นหนึ่ งเดี ย วในเจ็ ด สิ่ ง มหั ศ จรรย์ยุ ค โบราณที่ ย งั คงอยู่ม าจนถึ งปั จจุ บ ัน นับ ได้ว่า ชาวอิ ยิป ต์เป็ นนัก คณิ ตศาสตร์ และนักก่อสร้างที่มีความสามารถโดดเด่นยิง่ คำถำมชวนคิด 1. เหตุใดชาวอิยปิ ต์จึงยกย่องฟาโรห์เสมือนเทพเจ้า 2. พีระมิดมีคุณค่าอย่างไรในยุคปั จจุบนั กว่ำจะเป็ นมัมมี่

มัมมี่ฟาโรห์ ที่มา : http://www.statics.atcloud.com/


- 14 -

ชาวอียิปต์โบราณ มีความเชื่ อในเรื่ องชี วิตหลังความตาย ที่เป็ นอมตะหรื อฟื้ นคืนชี พ โดยเปรี ยบเทียบจากสภาพธรรมชาติใน ฤดูแล้งที่พืชพันธ์ธรรมชาติลม้ ตาย แต่เมื่อถึงฤดูน้ าหลากก็จะงอก เงยขึ้ นมาอี ก โดยเชื่ อ ว่ า เมื่ อ เวลาผ่ า นไปชั่ ว ระยะเวลาหนึ่ ง วิญ ญาณของคนตายจะสามารถกลับ คื น สู่ ร่ า งเดิ ม ได้ จึ งคิ ด หา วิธีก ารรัก ษาสภาพศพไม่ ให้เน่ าเปื่ อยที่ เรี ยกว่า มัมมี่ โดยเฉพาะ พระศพของฟาโรห์ที่ชาวอียปิ ต์ยกย่องเสมือนเทพเจ้า ให้มีชีวติ นิรันดร์และเยาว์วยั ตลอดกาล ซึ่งเป็ นเสมือน “หนังสื อเดินทาง สู่ กาลนิรันด์ “ กำรทำมัมมี่มี 13 ขั้นตอน รายละเอียดมีดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 ศพถูกนาไปยังเต๊นท์พิเศษ ที่เรี ยกว่า อีบู ซึ่ งมีความหมายว่า สถานที่ชาระศพให้บริ สุทธิ์ ผูท้ ามัมมี่จะอาบศพด้วยเหล้าที่ทาจากน้ าตาล สด และชาระล้างด้วยน้ าจากแม่น้ าไนล์


- 15 -

ขั้นตอนที่ 2 ช่างก็จะผ่าช่องท้องด้านซ้ายเพื่อเอาอวัยวะภายในออก เนื่องด้วย อวัยวะภายใน ซึ่ งมีความชื้นสู ง จะเป็ นสิ่ งแรกที่เน่าสลายอย่างรวดเร็ ว จึง ต้องเอาออก เหลือไว้แต่หวั ใจที่จะทิ้งไว้ภายในศพ เพราะพวกเขาเชื่อว่า หัวใจคือศูนย์รวมแห่งปั ญญาและความรับรู ้ท้ งั ปวง ที่ผตู้ ายยังต้องการใช้ใน โลกแห่งวิญญาณ


- 16 -

ขั้นตอนที่ 3 ส่ วน ตับ ปอด กระเพาะ และลาไส้ จะถูกนามาชาระล้างจน สะอาด แล้วนาไปกลบไว้ดว้ ยเกลือเม็ดที่เรี ยกว่า Natron ซึ่งเป็ นเกลือ โซเดียมคาร์ บอร์ เนตแล้วเขาจะสอดตะขอผ่านเข้าทางช่องจมูก เพื่อเกี่ยวเอา เนื้อสมองออกมา เพราะสมองก็เหมือนอวัยวะภายในที่มีความชื้นสู ง ถ้าทิ้ง ไว้จะทาให้แห้งยาก และก่อให้เกิดการย่อยสลายได้ง่าย

ขั้นตอนที่ 4 จากนั้นก็เอาศพไปวางกลบด้วยเกลือเม็ดให้แห้ง ของเหลวจาก ร่ างกาย และผ้าที่ใช้ในการเตรี ยมศพทุกชิ้น ก็จะเก็บรักษาไว้อย่างดี เพื่อ นาไปฝังพร้อมกับศพ


- 17 -

ขั้นตอนที่ 5 ช่องว่างภายในก็ใส่ เกลือเม็ดไว้ เพื่อป้ องกันการเจริ ญเติบโตของ เชื้อแบคทีเรี ย อันจะทาให้ร่างเปื่ อยเน่าสู ญสลายไปได้

ขั้นตอนที่ 6 ศพจะถูกแช่เกลือไว้สี่สิบวันจนแห้งดี แล้วจะถูกนามาชาระล้าง ด้วยน้ าจากแม่น้ าไนล์อีก แล้วจะเคลือบผิวหนังด้วยน้ ามันเพื่อให้ผวิ หนังคง สภาพอ่อนนุ่มไม่แห้งกระด้างไปตามกาลเวลา


- 18 -

ขั้นตอนที่ 7 อวัยวะภายในที่แห้งแล้วจากการแช่เกลือ ก็จะถูกนากลับมาบรรจุ ในช่องท้องและช่องอกตามเดิม

ขั้นตอนที่ 8 แล้วจะเติมด้วยของแห้งอย่างอื่นให้เต็ม เช่นขี้เลื่อยหรื อใบไม้และ ผ้าลินิน เพื่อให้ดูเหมือนยามมีชีวติ อยู่ ไม่ยบุ ตัวลงไปตามกาลเวลาใน ภายหลัง


- 19 -

ขั้นตอนที่ 9 จากนั้นก็จะชาระศพด้วยน้ ามันหอมอีกครั้งหนึ่ง ก่อนที่จะนาไป พันผ้าลินินในขั้นต่อไปการพันห่อมัมมี่ ขั้นแรก ศีรษะและลาคอจะถูกพัน ก่อน ด้วยแถบผ้าลินินอย่างดี แล้วก็จะพันนิ้วมือและนิ้วเท้าแยกกันทีละนิ้ว แล้วก็พนั ห่อแขนและขา แต่ละทบก็จะใส่ เครื่ องราง เพื่อปกปักรักษาผูต้ าย ในระหว่างการเดินทางไปสู่ ภพใหม่

ขั้นตอนที่ 10 ในขณะที่ร่างของมัมมี่กาลังถูกห่อพันด้วยผ้าลินิน ก็จะมีพระท่อง มนต์ เพื่อขจัดสิ่ งที่เลวร้ายมิให้แผ้วพานผูต้ าย และเป็ นการช่วยให้ผตู ้ าย เดินทางได้สะดวกในภพหน้า


- 20 -

ขั้นตอนที่ 11 แขนขามัมมี่ก็จะถูกพันเข้ากัน ส่ วนตารา “มนตราสาหรับผูต้ าย” ก็ จะรวมห่ อไปด้วยโดยให้ถือไว้ในมือของมัมมี่

ขั้นตอนที่ 12 จากนั้นก็จะพันผ้าเพิ่มรวมให้ร่างถูกพันรวมกันหมด แต่ละชั้นของ ผ้าลินิน ผูท้ ามัมมี่ก็จะทาไว้ดว้ ยเรซิ น เพื่อให้ผา้ ลินินยึดติดกันไม่หลุดรุ่ ย


- 21 -

ออกได้ง่าย แล้วห่ อด้วยผ้าผืนใหญ่อีกทีหนึ่ง จากนั้นก็จะวาดรู ปเทพโอซี รีส บนผ้าที่ห่อมัมมี่น้ นั

ขั้นตอนที่ 13 จากนั้นก็เอาผ้าผืนใหญ่ห่ออีกชั้นหนึ่ ง แล้วมัดตราสังข์ดว้ ยแถบผ้า ลินินตลอดร่ างอย่างแน่ นหนาอีกเป็ นครั้งสุ ดท้าย จากนั้นก็ปิดด้านบนของ มัมมี่ดว้ ยแผ่นกระดานก่อนที่จะเอาไปใส่ ในโลงศพสองโลงซ้อนกัน ในพิธี ศพ ญาติพี่น้องของผูต้ ายมาไว้อาลัยและทาพิธี “เปิ ดปากศพ” เพื่อเป็ นการ เลี้ ยงอาหารให้ผตู ้ ายเป็ นครั้งสุ ดท้าย ขั้นสุ ดท้าย ก็จะเอาโลงไปใส่ ในโลง หิ นแกะสลัก ที่ต้ งั อยู่ในสถานเก็บศพ พร้ อมด้วยเครื่ องเรื อน เสื้ อผ้า ของมี ค่า อาหารและเครื่ องดื่ม จะถูกจัดวางไว้อย่างพร้อมเพรี ยง เป็ นเสบียงกรัง ให้ผตู ้ ายได้เดินทางสู่ ปรภพโดยสะดวกแล้วร่ างของผูต้ าย ก็พร้อมที่จะออก เดินทางสู่ ดินแดนใต้โลก ที่หวั ใจของเขาจะถูกตัดสิ นตามความดีที่ได้ ทาไว้ยามมีชีวิตอยู่ หากมีหัวใจบริ สุทธิ์ จริ ง ผูต้ ายก็จะถูกส่ งไปดินแดนอัน สวยงามเพื่อชี วิตอันเป็ นอมตะ ในดิ นแดนที่ เรี ยกว่า ทุ่งต้นกก ชาวอียิปต์


- 22 -

โบราณเชื่ อว่า ก่อนผูต้ ายจะไปยังปรภพได้ ต้องผ่านดิ นแดนใต้โลก ที่เต็ม ไปด้วยมารร้าย สัตว์ที่ดุร้ายต่าง ๆ ซึ่ งผูต้ ายจะต้องอาศัยมนต์ศกั ดิ์สิทธิ์ เพื่อ ปกป้ องให้เดินทางได้โดยปราศจากภัยร้ายมาแผ้วพาน มนตราเหล่านี้ จารึ ก อยูใ่ นสมุดบันทึกที่เรี ยกว่า “มนตราสาหรับผูต้ าย” ซึ่ งเป็ นตาราเขียนลงบน ม้วนกระดาษปาปี รุ ส และจะถูกฝังไปด้วยกันกับผูต้ ายในพีระมิด และก็เป็ น การเสร็ จสิ้ น วิธีการทามัมมี่จึงเป็ นภูมิปัญญำของชำวอิยปิ ต์ ทมี่ ีคุณค่ ำ และ ส่ งผลต่อความก้าวหน้ามาจนถึงยุคปัจจุบนั

ขั้นตอนสุดท้ายการทามัมมี่ ที่มา : http:// www.Zybernia.wordpress.com/

คำถำมชวนคิด 1. เหตุใดชาวอียปิ ต์โบราณจึงมีการทามัมมี่ 2. การทามัมมี่เปรี ยบได้กบั วิธีการใดในปั จจุบนั กำแพงหมื่นลี้ (กำแพงเมืองจีน)


- 23 -

กาแพงเมืองจีน ที่มา www. variety.teenee.com/

ณ หุบเขาทางทิศเหนือของกรุ งปั กกิ่ง (เป่ ยจิง) กาแพงเมือง จีนขนาดมหึ มา ทอดยาวคดเคี้ยวดังงูยกั ษ์จากยอดเขาหนึ่ งสู่ อีกยอด หนึ่ ง ช่ างเป็ นส่ วนอันน่ าตื่นตาที่สุดของกาแพงยาวที่สุดซึ่ งมนุ ษย์ สรรค์สร้าง แนวกาแพงเริ่ มจากป้ อมเจี๋ยหยูกวน ที่ตีนเขาฉี เหลี ยน ซาน อันเป็ นดินแดนแห้งแล้งทางทิศตะวันตก ตัดผ่านทะเลทราย ทุ่งหญ้า แม่น้ า หุ บเขา และแนวป่ า ไปจรดแม่น้ ายาลูทางตะวันออก ซึ่ งติดพรมแดนประเทศเกาหลี กาแพงพาดผ่านภาคเหนื อของจี น ทั้งภาค ยาวถึง 3,200 กม. แต้ถา้ นับรวมส่ วนที่สร้างแยกออกจากตัว กาแพงใหญ่ดว้ ยจะมีความยาวทั้งสิ้ นถึงประมาณ 6,400 กม. สร้าง ขึ้นเพื่อป้ องกันการรุ กรานจากพวกฮวนและชนเผ่าอิสระต่างๆ ทาง ตอนเหนือ แรงงำนมหำศำลและวิศวกรรมชั้นยอด จักรพรรดิฉินสื่ อหวงตี้ทรงมีพระราชโองการให้นายพล


- 24 -

เมิ่งเถียน นาทหาร 3 แสนคน ไปดาเนิ นการก่อสร้าง โดยมี ผูบ้ งั คับบัญชาชั้นรองแบ่งกันดูแลการสร้างกาแพงไปคนละส่ วน ทุกส่ วนต้องสร้างด้วยวัสดุในท้องถิ่น ใช้เวลา 9 ปี จึงจะเสร็ จ มีการ เกณฑ์แรงงานเกือบล้านคนและยังมีแรงงานจากพวกนักโทษ ผูซ้ ่ ึ ง ถู ก โกนหั ว และมี ต รวนเหล็ ก คล้ อ งคอ บางคนเป็ นบัณ ฑิ ต ที่ ต้อ งโทษเพราะอ่ า นหนั ง สื อ "ต้อ งห้ า ม" บ้างเป็ นข้า ราชการที่ บกพร่ องในหน้าที่ คนเหล่านี้ ตอ้ งทางานในถิ่นทุรกันดารท่ามกลาง อุณหภูมิเลวร้ายคือ 35 องศา ในฤดูร้อนและ -21 องศา ในฤดูหนาว ต้องอดๆ อยากๆ และถูกบังคับให้ทางานจนสิ้ นแรง

การก่อสร้างกาแพงเมืองจีน ที่มา : http://www.dek-.com/board/view/

แม้วา่ นายพลเมิ่งเถียนจะสั่งให้สร้างถนนเพื่อใช้ขนส่ งสัมภาระแก่ คนงานและกองทหาร แต่มีเสบียงเพียงส่ วนน้อยที่มาถึงจุดหมาย เพราะส่ วนใหญ่ถูกขโมยกินหรื อเอาไปขายหมด คนงานนับพัน ต้องล้มตายลง ร่ างถูกฝังอยูใ่ ต้กาแพง บทกลอนและเพลงพื้นบ้าน


- 25 -

ของจีนต่างขับขานถึงเรื่ องราวแห่งความยากแค้นลาเค็ญนี้ และ ขนานนามกาแพงนี้ วา่ เป็ นหลุมฝังศพที่ยาวที่สุดในโลก กำรขนหิน บนที่รำบหรื อเนิ นลาดอาจใช้เกวียนเที ยมวัว หรื อรถลาก แต่ถ้าขนหิ นขึ้นเนิ นสู งขึ้นก็ตอ้ งใช้คนแบกหรื อหาบ ขึ้ น ไป แต่ ล ะคนต้อ งแบกหิ น หนั ก ถึ ง 50 กก. เมื่ อ ถึ ง ทางแคบ คนงานจะยืนเรี ยงแถวเพื่อส่ งก้อนหิ นต่อๆ กันเป็ นทอด ก้อนหิ น ขนาดใหญ่ก็ตอ้ งช่ วยกันผลักหรื อใช้คานงัดให้เคลื่ อนขึ้ นไปทีละ น้อย ในแถบที่ไม่มีกอ้ นหิ น จะใช้วิธีก่อกาแพงโดยอัดดินเป็ นชั้นๆ ลงในคอกที่ก้ นั ด้วยกระดานและเสาไม้ส่วนแถบทะเลทรายโกบีใช้ กรวดทรายหนา 20 ซม. สลับกับหญ้าและกิ่ งสนมัดเป็ นฟ่ อนหนา 5 ซม. เนื่ องจากเสบียงขนส่ งทาได้ลาบาก พระเจ้ ำฉินสื่ อหวงตี้จึงมี พระราชโองการให้ปลูกข้าวบนที่ ดินใกล้กาแพง ชาวนาที่อพยพ เข้าไปอยูบ่ ริ เวณนั้นจะทาหน้าที่ปลูกข้าวควบไปกับการเป็ นทหาร พวกทหารประจาการได้รับส่ วนแบ่งที่ดินผืนเล็กๆ นอกจากปลูก ข้าวแล้วก็ตอ้ งปลู ก ไม้ผลด้วยเพื่ อเป็ นอาหารประทังชี พ หากการ ปลู ก ข้า วไม่ ไ ด้ ผ ล ตัว อย่ า งหนึ่ งของการชลประทานเพื่ อ การ เพาะปลู ก คื อ คลองฮัน ชู ซึ่ งทดน้ าจากแม่ น้ าเหลื อ งตรงใกล้ ๆ เมืองหยินฉวน ช่วงกลางกาแพง


- 26 -

กาแพงเมืองจีน สิ่ งมหัศจรรย์ 1 ใน 7 ของโลกยุคปัจจุบนั ที่มา : http:// www.thawanholiday.net.com/

แนวก าแพงยัก ษ์ ส่ วนใหญ่ ที่ เห็ น กั น อยู่ ใ นปั จ จุ บ ั น นี้ สร้างขึ้นในราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-1644) กาแพงแบ่งออกเป็ น หลายส่ วน ซึ่ งนามาเรี ยงต่ อกันเข้าก็ จะยาวถึ ง 6,500 กิ โลเมตร กาแพงมืองจีนจึงกลายเป็ นสิ่ งมหัศจรรย์ หนึ่งในเจ็ ดของโลก ซึ่ ง องค์การยูเนสโกได้ยกย่องและได้ข้ ึนทะเบียนเป็ นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2530 ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้ง ที่ 11 ที่กรุ งปารี ส ประเทศฝรั่งเศส จากความพยายามของผูส้ ร้างที่ ต้องเสี ยสละแรงกาย ความยากล าบากและต้องสละชี วิต ท าให้ ชาวจีนมีมรดกทางวัฒนธรรมที่ยงิ่ ใหญ่และตกทอดมาถึงปัจจุบนั คำถำมชวนคิด 1. ชาวจีนโบราณได้รับประโยชน์อย่างไรจากการสร้าง กาแพงเมืองจีน 2. กาแพงเมืองจีนมีคุณค่าอย่างไรในยุคปั จจุบนั


- 27 -

ท่องแดนมังกรมณฑลเหอหนำน

แผนที่มณฑลเหอหนาน ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/

ดินแดนแห่ งอำรยธรรมและดอกไม้ ประจำชำติ" เป็ น สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศจีนที่มีความหลากหลายทางด้าน ทัศนียภาพมาก โดยเฉพาะเรื่ องของสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม ด้วยวัฒนธรรมที่ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษสู่ ลูกหลานที่สะท้อนให้ เห็นปัจจุบนั มณฑลเหอหนาน เป็ นแหล่งอารยธรรมและดอกไม้ ประจาชาติ

วัฒนธรรมมณฑลเหอหนาน ที่มา : http://www.tourtooktee.com/


- 28 -

มณฑลเหอหนำนตั้ง อยู่ต อนกลางของจี น เป็ นอู่ อ ารย ธรรมโบราณของจี นแห่ งหนึ่ ง มีประวัติศาสตร์ อนั ยาวนานซึ่ งได้ ช่ วยสะสมมรดกทางวัฒนธรรมจานวนมากให้กบั มณฑลนี้ ตาม ข้อมูลทางสถิติปรากฏว่าโบราณวัตถุที่ขุดพบในเหอหนำนจานวน มากมี คุ ณ ค่ า มากกว่ า ที่ อื่ น ส่ วนพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เหอหนานก็ เป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ข น าด ให ญ่ ห นึ่ งใน ส าม แห่ งข อ งจี น ทั้ งท าง พระพุทธศาสนาแห่ งวัดเส้าหลิน ศาลไคฟงแห่ งความยุติธรรมของ ท่ า นเปาบุ ้น จิ้ น และนอกจากนี้ ยัง มี ชื่ อ เสี ย งโด่ ง ดัง ในเรื่ อ งดอก โบตัน๋ ที่มีความสง่างามเลิศล้ าเป็ นที่นิยม มีประวัติมากกว่า 1,600 ปี สถำนทีท่ ่ องเทีย่ วทีน่ ่ ำสนใจในมณฑลเหอหนำน

พิพิธภัณฑ์เหอหนาน ที่มา : http://www. oceansmile.com/

ตั้งอยูเ่ มืองเจิ้งโจว เมืองเอกของ มณฑลเหอหนาน สร้างมา นานกว่า70 ปี อาคารหลักสร้างขึ้นตามแบบสถาปั ตยกรรมของหอ ดู ด าวโบราณ ดู เรี ยบง่ า ย แต่ ยิ่ ง ใหญ่ ภายในก็ ก ว้า งไพศาล


- 29 -

พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ได้เก็บรักษาโบราณวัตถุถึง 1 ล้าน 3 แสนชิ้น คิด เป็ น 1ใน 8 ของโบราณวัตถุ ที่ มี อ ยู่ในพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ท วั่ ประเทศจี น กล่ าวได้ว่าพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ พ ระราชวัง โบราณจัด เป็ นอัน ดับ หนึ่ งและพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เหอหนำนเป็ นอั น ดั บ สอง นายติ ง ฝู ลี่ ผูอ้ านวยการของพิพิธภัณฑ์ มณฑลเหอหนำนกล่าวว่า พิพิธภัณฑ์ เหอหนำนเก็บรักษาโบราณวัตถุไว้มากมาย บางส่ วนเป็ นของล้ าค่า หาดูได้ยาก คำถำมชวนคิด 1. พิพิธภัณฑ์เหอหนานมีความสาคัญอย่างไร 2. เหตุใดมณฑลเหอหนานจึงเป็ นอู่อารยธรรมของจีน วัดเส้ ำหลิน

วัดเส้าหลิน ที่มา : http://www.oceansmile.com/

ที่ ต้ ัง วัด เส้ า หลิ น อยู่ใ นมณฑลเหอหนาน เป็ นวัด ทาง พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ที่มีอายุเก่าแก่มากกว่า 1,500 ปี


- 30 -

ตั้งอยูท่ างทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซานซึ่ งเป็ นหนึ่ง ใน จานวนห้ายอดเขาอันศักดิ์ สิทธิ์ ตามความเชื่ อในประเทศจีน เทือก เขาซงซานเป็ นเทือกเขาที่มีชื่อเสี ยงมากที่สุดในประเทศจีน ทั้งใน ด้านของประวัติศาสตร์ และในแวดวงยุทธภพประกอบไปด้วยยอด เขาใหญ่น้อยจานวน 72 ยอด ซึ่ งแบ่งย่อยออกเป็ นสองกลุ่มคือใน กลุ่มของเขาไท่ซื่อจานวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่ อจานวน 36 ยอด ในอาเภอเติงเฟิ ง เมื องเจิ้งโจว มณฑลเหอหนำนประเทศ จีน อยูก่ ่ ึงกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลัว่ หยาง บริ เวณรอบๆ วัด เส้ า หลิ น เป็ นพื้ น ที่ โ ล่ ง กว้า ง เหมาะ สาหรับใช้ในการฝึ กวิทยายุทธของหลวงจีนรายล้อมด้วยป่ าเจดี ย ์ หรื อถ่ าหลิ น ซึ่ งเป็ นสุ ส านของเจ้าอาวาสและหลวงจีนในวัดเส้ า หลิน ในยุคสมัยของราชวงศ์ถงั เป็ นต้นมา ปั จจุบนั วัดเส้าหลินเป็ นแหล่ งวิชำกำรต่ อสู้ และศิลปะกำร ป้องกันตัว ที่ ยิ่งใหญ่ ที่ สุ ดของจี น ได้รับ การยกย่องให้เป็ นมรดก โลกเมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม พ.ศ. 2553 จึงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ ทางประวัติศาสตร์ จีนที่น่าสนใจจากทัว่ โลก คำถำมชวนคิด 1. เหตุใดวัดเส้าหลินจึงเป็ นแหล่งฝึ กวิทยายุทธจีน 2. วัดเส้าหลินมีความสาคัญอย่างไรในปั จจุบนั


- 31 -

ศำลไคฟง

ศาลไคฟง ที่มา : http://www.guru-tour.com/

ศำลไคฟง กับเปาบุ น้ จิ้น ที่มีชื่อเสี ยงโด่ งดังในเรื่ องความ ยุติธรรมในสมัยราชวงศ์ซ่ง สร้างขึ้นใน ค.ศ. 1984 บนเนื้ อที่ 4,000 ตารางเมตร เป็ นสถานที่ที่ใช้ในการพิพากษาคดีของท่านเปาบุน้ จิ้น ขุนนางผูท้ ี่มีความซื่ อสัตย์ยุติธรรมจนเป็ นที่เลื่องลือแห่งราชวงศ์ซ่ง ปั จจุ บ นั อยู่ในอาเภอไคฟงหรื ออดี ตคื อกรุ งไคฟง จังหวัดเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน เดิมจมน้ าพังทลายไปหมดสิ้ น ต่อมา รัฐบาลจีนได้บูรณะขึ้น ปั จจุบนั ในเวลาเก้านาฬิ กาของทุก ๆ วัน จะมี ผูแ้ ต่งกาย เป็ นเปาบุ ้ น จิ้ น ออกมาเปิ ดศาลไคฟงรั บ เรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ แ ละ พิจารณาคดี นอกจากนี้ ที่ศาลใหม่ดงั กล่าวมีการจัดแสดงไว้ที่หน้า ห้องว่าความซึ่ งชุ ดเครื่ องประหารของเปาบุน้ จิ้น ด้านในห้อง มีหุ่น ขี้ ผึ้ ง ของคณะเปาบุ ้ น จิ้ น ด้ า นมี "ชิ ง ซิ น โหลว" หรื อ "บ้า นใจ บริ สุทธิ์ " เชื่อกันว่าเป็ นจวนของเปาบุน้ จิ้น โดยเป็ นหอสู งสี่ ช้ นั ชั้น


- 32 -

ที่หนึ่ งปั จจุบนั มีรูปปั้ นเปาบุน้ จิ้นอยู่ รู ปปั้ นนี้ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ สู ง 3.8 เมตร หนัก 5.6 ตัน นับเป็ นรู ปปั้ นที่หนักที่สุดในจีน

ศาลและรู ปปั้นเปาบุน้ จิ้น ที่มา : http:// www.manager.co.th/

คำถำมชวนคิด 1. ศาลไคฟงมีชื่อเสี ยงในเรื่ องเด่นชัด 2. หากผูร้ ักษากฎหมายบ้านเมืองมีคุณธรรมเหมือนท่าน เปาบุน้ จิน้ จะส่ งผลดีอย่างไร ดอกโบตั๋น

ดอกโบตัน๋ ที่มา : http://www.okanation.net/


- 33 -

ดอกโบตั๋น เป็ นดอกไม้ที่มีความงดงามเป็ นที่นิยมชื่นชอบ จากประชาชนชาวจีนตั้งแต่โบราณกาล เมืองลัว่ หยาง มณฑลเหอหนำน ทางภาคกลางของจีนเคยเป็ นราชธานี ที่มี ประวัติยาวนาน ที่ สุ ด และผ่า นราชวงศ์ม ากที่ สุ ด ของจี น นอกจากมี ชื่ อ เสี ย งทาง ประวัติศาสตร์ แล้วลัว่ หยางยังมีชื่อเสี ยงโด่งดังด้วยดอกโบตัน๋ ด้วย คนจีนโบราณกล่าวไว้ว่า "ดิ นฟ้ าอากาศของลัว่ หยางเหมาะแก่การ ปลูกดอกไม้ใบหญ้า ดอกโบตัน๋ ของลัว่ หยางจึงเป็ นสิ่ งมหัศจรรย์ ของโลก" เนื่ อ งจากเมื อ งลั่ว หยางมี อ ากาศอบอุ่ น พื้ น ดิ น อุ ด ม สมบูรณ์ อีกทั้งยังมีชาวสวนฝี มือยอดเยีย่ ม จึงทาให้ดอกโบตัน๋ ของ เมืองลัว่ หยางมีชื่อเสี ยงเลื่องลือไปทัว่ โลก คำถำมชวนคิด 1. ดอกโบตัน๋ สามารถปลูกได้ในภูมิภาคใดของไทย 2. ดอกโบตัน๋ มีความสาคัญต่อชาวจีนอย่างไร พระรำชวังต้ องห้ ำม

พระราชวังต้องห้าม ที่มา : http://www. tourtooktee.com/


- 34 -

พระรำชวังต้ องห้ ำม (จีน ; พินอิน : จื่อจิ้นเฉิ ง ; อังกฤษ : Forbidden City) จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้วา่ "เมือง ต้องห้ามสี ม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยูใ่ จกลางของกรุ งปั กกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็ นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัย กลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู ้จกั กัน ในนาม พิพธิ ภัณฑ์ พระรำชวัง ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตาราง เมตร อาคาร 800 หลัง มีหอ้ งทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นงั่ 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลาน กว้าง ทางเดินเชื่ อมกันโดยตลอด มีคูและกาแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1949 จนถึง พ.ศ. 1963

มุมพระราชวังต้องห้ามทางทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือ ที่มา : http://www.common.wikimedia.org/wiki/


- 35 -

พระราชวังต้องห้ามตั้งอยูท่ างทิศเหนื อของจตุรัสเทียนอัน เหมิน นักท่องเที่ยวสามารถเข้าสู่ พระราชวังต้องห้ามได้ทางจตุรัส นี้ ผ่านประตูเทียนอันเหมิน

จัตุรัสเทียนอันเหมิน ที่มา : http://chanakanintaprom.blogspot.com/

บริ เวณรอบจตุรัสเทียนอันเหมิ น เรี ยกว่า อาณาเขตหลวง โดยมี สิ่งก่ อสร้ างสาคัญอยู่โดยรอบ เช่ น มหาศาลาประชาคม ใน อดี ต พระราชวังแห่ งนี้ เป็ นเขตหวงห้ามไม่ไห้ประชาชนเข้า แม้ ข้า ราชการชั้ นสู ง ยัง ต้อ งขออนุ ญ าต เป็ นกรณี พิ เศษ จึ ง เรี ยก พระราชวังนี้วา่ "พระราชวังต้องห้าม" จักรพรรดิจะทรงประทับอยู่ ในพระราชวัง แห่ ง นี้ กั้น พระองค์จากโลกภายนอก โดยมี ส นม กานัล ขันที และข้าหลวงรับใช้ ซึ่ งคนเหล่านี้ ตอ้ งอาศัยอยู่ในนคร ต้อ งห้า มตลอดชี วิต เพื่ อความส าราญของจัก รพรรดิ ในวังจะมี วิเสท 6,000 คน ประกอบพระกระยาหาร มีสนมกานัล 9,000 นาง ซึ่งมีขนั ที 70,000 คน คอยดูแล


- 36 -

มีคาเล่าลื อกันว่า พระนางซู สี ไทเฮา เวลาเสวยก็จะมีพระ กระยาหารถึ ง 148 ชุ ด และทรงส่ งขันทีไปเสาะหาชายหนุ่ มซึ่ งเข้า วังแล้วจะไม่มีผใู ้ ดพบเห็ นอีกเลยแม้ว่าประเทศจีนจะไม่มีสถาบัน พระมหากษัตริ ย ์แล้ว พระราชวังต้องห้ามก็ย งั คงเป็ นสั ญ ลักษณ์ ของประเทศจีน และภาพประตูเทียนอันเหมินก็ยงั ปรากฏอยูใ่ นตรา ประจาสาธารณรั ฐประชาชนจี น อี ก ด้วย นอกจากนี้ พระราชวัง ต้องห้ามยังเป็ นสถานที่ ท่ องเที่ ยวที่ มี ชื่ อเสี ย งที่ สุ ดแห่ งหนึ่ งของ โลก ซึ่ งไม่ น านมานี้ ทางรั ฐ บาลจี น ได้มี น โยบายจ ากัด ปริ ม าณ นักท่องเที่ยวเพื่อจะอนุรักษ์สภาพของอาคารและสวนหย่อมไว้ ยู เนสโกได้ ป ระกาศให้ พ ระราชวัง ต้ อ งห้ า มร่ วมกั บ พระราชวังเสิ่ น หยางเป็ นหนึ่ ง ในมรดกโลกในนาม พระราชวัง หลวงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในเมืองปั กกิ่งและเสิ่ นหยาง เมื่อปี พ.ศ. 2530 คำถำมชวนคิด 1. เหตุใดจึงเรี ยกว่าพระราชวังต้องห้าม 2. พระราชวังต้องห้ามมีความสาคัญอย่างไรในปั จจุบนั


- 37 -

สุ สำนจักรพรรดิจิ๋นซีอ่องเต้

สุสานจักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ ที่มา : http:// www. abroad-tour.com/

สุ ส านจิ๋ น ซี ฮ่ อ งเต้ คื อ มหาสุ ส านของจัก รพรรดิ จี น จิ๋ น ซี ฮ่องเต้ (ฉิ นสื่ อหวงตี้) แห่ งราชวงศ์ฉิน อยูท่ ี่ เชิ งเขาหลี ซัน ตั้งอยู่ที่ ต าบลหลิ น ถง ห่ า งจากเมื อ งซี อ าน มณฑลฉ่ า นซี ประเทศจี น ปั จจุบนั สุ สานจิ๋นซี ฮ่องเต้ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็ นมรดกโลกเมื่อ ปี พ.ศ. 2530 และถือเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวอันดับหนึ่งของเมือง ซี อาน ตามประวัติ สุ ส านจิ๋ นซี ฮ่องเต้เริ่ ม ก่ อสร้ างในสมัยจิ๋ น ซี ฮ่องเต้ ใช้ระยะเวลาก่อสร้างประมาณ 38 ปี ตั้งแต่ปี 246 - 208 ก่อน คริ สตกาล ซึ่ งอาณาเขตพื้ นที่ ของสุ สานรวมทั้งสิ้ น 2,180 ตร.กม. แบ่งออกเป็ นพระราชฐานชั้นในและพระราชฐานชั้นนอก ภายใน สุ ส านใช้บ รรจุ พ ระบรมศพของจิ๋ น ซี ฮ่อ งเต้ ทรั พ ย์ส มบัติต่ าง ๆ ตลอดจนกองกาลังทหาร นางสนมและนางกานัล รถม้าและขุนพล


- 38 -

ทหาร ที่สร้างมาจากดินเผา จานวนมาก เพื่อเป็ นตัวแทนของข้าราช บริ พารในการร่ วมเดินทางไปยังปรโลกกับฮ่องเต้

รู ปปั้ นกองทหารในสุสาน ฯ ที่มา : http:// www.oknation.net/

โครงสร้างและสถาปั ตยกรรมโดยรวมของสุ สาน มีพ้ืนที่ เป็ นรู ป สี่ เหลี่ ย มผืน ผ้า มี ค วามลึ ก เฉลี่ ย 35 เมตร กว้าง 145 เมตร และ ยาว 170 เมตร ส าหรับ ห้องบรรจุ พ ระบรมศพอยู่จุดกึ่ งกลาง ของสุ ส าน มี ค วามสู ง 15 เมตร มี ข นาดพื้ น ที่ แ ละความใหญ่ โ ต มโหฬาร สาหรับภายใน ในส่ วนที่ก่อสร้างจากหิ นนั้นยังคงได้รับ การปิ ดผนึ กอย่างดี โดยคงสภาพเดิ มเอาไว้ และไม่เคยผ่านการขุด และรื้ อทาลายมาก่อน โดยโครงสร้างของสุ สานดังกล่าว มีรูปแบบ โครงสร้างและการจัดสร้างที่มีความสลับซับซ้อน ขนาดของสุ สาน มีขนาดมหึ ม า ยิ่งใหญ่ ส มพระเกี ยรติ ของจักรพรรดิ จีนผูร้ วบรวม ประเทศจีนให้เป็ นปึ กแผ่น


- 39 -

กองทหารในสุสานฯ ที่มา : http://www.bloggang.com/

สุ สานจิ๋นซี ฮ่องเต้ได้คน้ พบโดยบังเอิญเมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ. 2517 โดยชาวนาในหมู่บา้ นซี หยาง ในขณะที่ ขุดดิ นเพื่อทาบ่อน้ า บริ เวณเชิงเขาหลีซาน ห่ างจากตัวเมืองซี อาน ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 35 กม. โดยในระหว่างที่ขุดนั้น ก็บงั เอิญพบกับซากของ ทหารดิ น เผา ที่ ท ราบภายหลังว่ามี อายุม ากกว่า 2,000 ปี ปั จจุ บ ัน รั ฐ บาลจี น ขุ ด ค้น พบวัต ถุ โ บราณที่ เป็ นกองทัพ ทหารดิ น เผา สรรพาวุธ รถม้าและม้าศึ ก จานวนทั้งสิ้ น กว่า 7,400 ชิ้ น ภายใน บริ เวณพื้นที่หลุมสุ สานกว่า 25,000 ตร.ม. มีการคาดคะเนว่าอาณา เขตของสุ สานจิ๋นซี ฮ่องเต้จะมีพ้ืนที่มากกว่า 2,180 ตร.กม. นับเป็ น สุ สานที่ มีความยิ่งใหญ่และมี คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ที่แสดงให้ เห็นถึงความเจริ ญและความยิง่ ใหญ่ของจักรพรรดิ


- 40 -

คำถำมชวนคิด 1. สุ สานฉิ๋ นซี ฮ่องเต้มีความสาคัญอย่างไร 2. เหตุใดสุ สานฉิ นซี ฮ่องเต้ยงั คงปรากฏอยูไ่ ด้ถึงปั จจุบนั อินเดียกับกำรเกิดประเทศปำกีสถำน

แผนที่ประเทศปากีสถาน ที่มา : http://www.apecthai.org/

ในอดีตประเทศปากีสถานเคยเป็ นส่ วนหนึ่ งของอารยธรรม อินเดี ย ซึ่ งมีความขัดแย้งจนมีการแยกประเทศเมื่อ 15 สิ งหาคม 2490 เป็ นผลมาจากความต้องการเอกราชของชาวอินเดียที่นบั ถือ ศาสนาอิ ส ลามต้อ งการจะมี ป ระเทศที่ มี ผูน้ าและนับ ถื อ ศาสนา อิสลาม เพราะเกรงว่าหลังจากที่องั กฤษมอบเอกราชให้อินเดียแล้ว


- 41 -

พวกตนจะต้องตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของชาวฮินดู โดยมีสาเหตุ ดังนี้ 1. ทั ศ นะของชำวมุ ส ลิ ม ต้ อ งกำรรวมอิ ส ลำมทั้ ง หมด (Panslam) ชาวมุ ส ลิ ม ยึดมัน่ ในค าภี ร์ จงรั ก ภัก ดี ต่อพระเจ้า และ ภักดี ต่อผูส้ ื บเชื้ อสายและผูม้ ี อานาจในหมู่ชาวมุสลิ มและต้องการ รวมพวกพ้องของตน เอาใจใส่ ค วามกิ น ดี อ ยู่ดี ข องพวกพ้อ งตน ต้องการอยู่ภายใต้ก ารปกครองของชาวอังกฤษมากกว่าชาวฮิ นดู และกลัวชาวฮินดูกลืนชาติ เมื่ออังกฤษออกไป ควำมรู้ สึกของชำวมุสลิม จากการที่ชาวมุสลิมปกครองอินเดียมายาวนานกว่า 500 ปี (ปลายศตวรรษที่ 12) ชาวมุ ส ลิ ม มี อ านาจมากกว่ า ชาวฮิ น ดู วัฒนธรรมของมุ ส ลิ ม ในราชวงศ์โมกุล มี อิทธิ พ ลมากในอินเดี ย เช่ น ภาษา ปฏิ ทิ น วิ ท ยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ การแพทย์ ศิลปกรรม วรรณกรรม สถาปั ตยกรรม ฯลฯ ชาวมุสลิม มีความภาคภูมิใจและเย่อหยิง่ ในวัฒนธรรมของตน ควำมไม่ ไว้ วำงใจชำวฮินดู เมื่ออังกฤษออกไป ชาวมุสลิม กลัวถูกชาวฮินดูรังแก เพราะชาวฮินดูมีอานาจและประชากรที่ มากกว่า ชีวติ ทรัพย์สมบัติ และศาสนาจะต้องตกอยูใ่ นอันตราย และชาวฮินดูได้แสดงความกร้าวร้าวต่อชาวมุสลิม เช่น เนื้ อเพลง Bade Mataram ที่ประณามชาวมุสลิม


- 42 -

กำรเรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ์ ข องชำวมุ ส ลิ ม ที่ มี ม ำก เช่ น ขอให้ มี ตัวแทนในสภามณฑล ในอาเภอ ในเทศบาล มี ส่ วนตัวแทนใน ระดับบริ หารทัว่ ไป สิ ท ธิ ในการลงคะแนนเสี ยงทัว่ ไป มี ส่ วน ร่ วมในสิ ทธิ การบริ การสาธารณูประโภค ขอเสรี ภาพในการฆ่าวัว ขอแยกแคว้น สิ น ด์ ขอให้ ใ ช้ภ าษา Urdu เป็ นภาษาประจ าชาติ ขอให้มีการรับรอง สันนิบาติมุสลิม (Muslim League) 2. นโยบำยของอังกฤษ กำรปกครองแบบแบ่ งแยก (Divide and Rule) อังกฤษได้ แบ่ ง แยกให้ ช าวมุ ส ลิ ม และชาวฮิ น ดู ไ ด้ป กครองตนเอง จึ งเป็ น สาเหตุ ข องการแตกแยก อัง กฤษให้ ช าวมุ ส ลิ ม เข้ารั บ ราชการ มากกว่าชาวฮิ นดู สร้ างความไม่ พ อใจให้ กบั ชาวฮิ นดู นอกจากนี้ อังกฤษยังให้สิ ทธิ ชาวมุ สลิ มมากมายทั้งที่ ขอและไม่ได้ขอ สร้าง ความไม่พอใจให้กบั ชาวฮินดู 3. ลักษณะส่ วนตัวของจินนำห์ (Muhammad Ali Jinnah) ผูน้ าสาคัญของอิสลาม


- 43 -

จินนาห์ ผูน้ าอิสลาม มหาตมะ คานธี ผูน้ าฮินดู

ที่มา : http://www.gotoknow.org/

ช่ วงแรก จิ นนาห์ ไม่ตอ้ งการแบ่งแยกชาวมุ สลิ มและชาว ฮินดู เมื่ อมี การตั้ง Muslim League เขาจึงไม่เข้าร่ วมด้วย จินนาห์ ต้อ งการเป็ นผู ้น าอัน ดับ หนึ่ ง ไม่ พ อใจ อิ จ ฉาความส าเร็ จ ของ มหาตมะ คานธี จึงลาออกจากพรรคครองเกรส (Congress) จาก นิ สัยทะเยอทะยานไม่ตอ้ งการเป็ นรองใคร เขาหาเสี ยงในหมู่ชาว มุสลิ ม ด้วยการเป็ นปฏิ ปักษ์กบั ชาวฮินดู เขาได้รับการสนับสนุ น อย่างกว้างขวางจากชาวมุสลิมและ Muslim League จนได้เป็ นผูน้ า ในการเรี ยกร้องการแยกประเทศของชาวมุสลิ ม นั้นก็คือประเทศ ปากีสถาน 4. ควำมไม่ เข้ ม แข็ ง ของพรรคครองเกรส (The Indian National Congress) พรรคครองเกรสประสบความล้มเหลวที่ จะ รวม Muslim League เข้ามาร่ วมบริ ก ารและเรี ย กร้ องเอกราชจาก อัง กฤษ เนื่ อ งจากไม่ ส ามารถตกลงกัน ได้ ภ ายในพรรค และ


- 44 -

Muslim League ต้อ งการที่ จ ะขอแยกประเทศต่ า งหากของชาว มุสลิม และ ในปี ค.ศ. 1940 ครองเกรสเรี ยกร้องให้องั กฤษมอบ เอกราชให้ ก ั บ อิ น เดี ย แต่ ผู ้ น า Muslim Leagued กลั บ ขอแยก ประเทศต่างหากของชาวมุสลิม คือประเทศปากีสถาน โดยรวมเอา ดิ น แดนที่ ช าวมุ ส ลิ ม อาศัย เป็ นจ านวนมากเป็ นส่ ว นหนึ่ งของ ประเทศใหม่ ได้แก่ ทางทิศตะวันตกและทิศตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ของอนุทวีปอินเดีย หนทำงนำไปสู่ กำรแบ่ งแยกประเทศปำกีส ถำน และกำร ได้ รั บ เอกรำช ในระหว่า งสงครามโลกครั้ งที่ 2 (พ.ศ. 2482 – 2488) อุ ป ราชอัง กฤษถื อ โอกาสน าอิ น เดี ย เข้า ร่ วมสงครามโดย พลการ ทาให้ครองเกรสคัดค้านและยืนยันเสรี ภาพ และขอให้มี รัฐบาลเป็ นของตนเองโดยด่ วนแต่ถูกปฏิ เสธ ครองเกรสจึงตอบ แท นโดยการ Boycott ด้ ว ยก ารละทิ้ งต าแห น่ งต่ า ง ๆ ของ คณะรั ฐมนตรี ที่ เป็ นสมาชิ ก ครองเกรส ก็ ถู ก ปลดออก รวมทั้ง คานธี ผลก็คือถูกจับ จึงเกิดการจลาจลทัว่ ไป ส่ วนจินนาห์รีบฉวย โอกาสให้สมาชิก Muslim League เข้ารับตาแหน่งให้มากที่สุด ในช่ ว งเวลาสงครามโลกครั้ งที่ 2 นั้น อิ น เดี ย ได้รั บ การ เปลี่ยนแปลงทางการทหาร เศรษฐกิจและสังคม ซึ่ งส่ งผลสาคัญถึง ความพร้ อ มที่ จ ะเป็ นเอกราช ดัง เช่ น ความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษ การศึกษา สถาบันทหารได้รับการจัดตั้งอย่างมัน่ คง


- 45 -

มีการขยายอุตสาหกรรมหนัก สภาพเศรษฐกิจดีข้ ึน ประชาชนได้ ออกมาทางานนอกบ้าน โดยเฉพาะสตรี

Winston Churchill นายกฯ อังกฤษ ที่มา : http:// www.gotoknow.org/

เมื่ อ สงครามโลกครั้ งที่ 2 ทวี ค วามรุ น แรงขึ้ น Winston Churchill นายกรัฐมนตรี ของอังกฤษ ก็เตรี ยมพร้อมที่จะให้อินเดี ย มีรัฐบาลปกครองตนเอง ได้เชิ ญผูน้ าของครองเกรส และ Muslim League มาเจรจาร่ วมกั น ผลปรากฏว่ า จิ น นาห์ ผู ้น า Muslim League ยืนกรานที่จะแยกประเทศปากี สถานให้ได้ และเมื่อมี การ คัดค้าน จึงมีการจลาจลเกิ ดขึ้นทัว่ อินเดียระหว่างชาวฮินดูและชาว มุสลิม อังกฤษจึงยอมให้มีการแบ่งประเทศ โดยให้ท้ งั สองมีฐานะ เป็ น Dominions จัดการเขตแดนคื อ การสอบถามความสมัครใจ ของแต่ละแคว้นว่าจะอยูก่ บั ประเทศใด และแล้ววันที่ 15 สิ งหาคม 2490 เป็ นวัน มอบเอกราชให้ ก ั บ อิ น เดี ย และก่ อ ตั้ งประเทศ


- 46 -

ปากี สถาน การแยกประเทศปากี สถานออกจากประเทศอินเดี ยที่ เกิ ดจากความขัดแย้งทางศาสนาระหว่างอิสลามกับฮินดู นับเป็ น บทเรี ยนทางประวัติศาสตร์ที่มวลมนุษยชาติควรนามาเป็ นข้อคิดถึง ความมัน่ คง ความสามัคคี ของคนในชาติ เพื่ อป้ องกันไม่ให้เกิ ด เหตุ ก ารณ์ เช่ น นี้ อี ก ในดิ น แดนอื่ น ๆ อี ก ต่ อ ไป การอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข จึงควรเป็ นเป้ าหมายที่สาคัญยิง่ คำถำมชวนคิด 1. เหตุความขัดแย้งจนมีการแยกประเทศเป็ นประเทศ ปากีสถานมาจากเรื่ องใด 2. ควรใช้คุณธรรมใดในการป้ องกันความขัดแย้ง อนุสรณ์ สถำนทัชมำฮำล

ทัชมาฮาล ที่มา : http://amza2012.wordpress.com/

ทัชมาฮาลสุ สานหิ นอ่อน ที่เมืองอัคระ ริ มฝั่งแม่น้ ายมนา ประเทศอิน เดี ย ที่ ผูค้ นเชื่ อว่าเป็ นสถาปั ตยกรรมแห่ งความรั ก ที่


- 47 -

สวยที่สุดในโลก สร้ างขึ้นโดยสมเด็จพระจักรพรรดิ โมกุลผูม้ ีรัก มัน่ คงต่อพระมเหสี ของพระองค์ เจ้าชายขุร์รัม ชึ่ งต่อมาคือสมเด็จ พระจักรพรรดิ ชาห์ ชหาน พระราชสมภพในปี พ.ศ. 2135 (ค.ศ. 1592) พระบิ ดา คื อ จักรพรรดิ ชาห์ ชหานชี ร์ จักรพรรดิ องค์ที่ สี่ แห่ งราชวงศ์โมกุล แห่ งอินเดี ย ตามตานานกล่ าวว่า เจ้าชายขุร์รัม ได้พบกับอรชุ มนั ท์ พานุ เพคุ ม ธิ ดาของรัฐมนตรี เมื่อพระองค์ มี พระชนมายุ 14 พรรษา พระองค์ท รงหลงใหลและหลงรั ก นาง เจ้าชายขุร์รัมจึ งซื้ อเพชรด้วยเงิ น 10,000 รู ปีและบอกแก่ พระบิ ดา ของพระองค์วา่ พระองค์มีความประสงค์ที่จะแต่งงานกับบุตรสาว ของรัฐมนตรี พิธีอภิเษกถูกจัดขึ้นหลังจากนั้น 5 ปี ในปี พ.ศ. 2155 (ค.ศ. 1612) จากนั้นมาทั้งสองก็มิเคยอยูห่ ่ างกันอีกเลย หลังจากที่ พระเจ้าชาห์ ชหาน ขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี พ.ศ. 2171 พระองค์ มอบความไว้ว างใจแก่ อรชุ ม ัน ท์ พานุ เพคุ ม และเรี ย กนางว่ า มุ ม ตัซ มาฮาล "อัญ มณี แห่ งรำชวัง " พระมเหสี ติด ตามพระองค์ แม้แต่ในสนามรบ แนะนาพระองค์ในเรื่ องราชการของประเทศ และพระองค์ซาบซึ้ งในน้ าพระทัยของพระมเหสี ยงิ่ นัก ครั้นในปี พ.ศ. 2174 (ค.ศ. 1631) พระมเหสี มุมตัซ มาฮาล สิ้ นพระชนม์ หลังจากให้กาเนิ ดทายาทองค์ที่ 14 การสิ้ นพระชนม์ ของพระมเหสี ท าให้ พ ระเจ้า ชาห์ ชหานโศกเศร้ า อยู่ ถึ ง สอง ทศวรรษ ราชสมบัติส่วนใหญ่สูญเสี ยไปเพื่อการสร้างอนุสรณ์แห่ ง


- 48 -

ความรั ก ของทั้ ง สองพระองค์ พระองค์ ถู ก กั ก ขัง อยู่ ถึ ง 8 ปี จนกระทัง่ สวรรคตในปี พ.ศ. 2209 (ค.ศ. 1666) ตามตานานกล่าว ว่าให้วนั สุ ดท้ายของชี วติ พระองค์ใช้เวลาทั้งวันในการจ้องมองเศษ กระจกที่ ส ะท้อนภาพของทัช มาฮาล และสิ้ น พระชนม์ด้วยเศษ กระจกในกามื อ พระเจ้าชาห์ ชหานถูกฝั งในทัชมาฮาล เคียงข้าง มเหสี ซ่ ึ งพระองค์ไม่เคยลื ม มี บ างคนกล่ าวว่าพระเจ้าชาห์ ชหาน มิได้ประสงค์ที่จะถูกฝังร่ วมกับพระมเหสี แต่พระองค์มีแผนการที่ จะสร้างสุ สานอีกแห่งด้วยหิ นอ่อนสี ดา เพื่อเป็ นสุ สานของพระองค์ แต่ผูร้ ู ้ หลายท่านเชื่ อว่าพระองค์ป ระสงค์ที่จะถู ก ฝั งเคียงข้างพระ นางมุมตัซ มาฮาล นับความรักแท้ที่ผกู พันอย่างนิรันดร์

พระนางมุมตัช มาฮาลและพระเจ้าชาห์ ชหาน ที่มา : http://www.pantip.com/


- 49 -

ขนาดทั ช มาฮาลถู ก พิ จารณาให้ เป็ นหนึ่ งใน เจ็ ด สิ่ ง มหัศจรรย์ของโลกในยุคใหม่ ส่ วนที่ มีชื่อเสี ยงที่ สุด คือ หลุ มศพ ของพระนางมุมตัซ มาฮาล ซึ่ งถูกสร้างด้วยหิ นอ่อนสี ขาว ศิลาแลง ประดับลวดลายเครื่ องเพชร พลอย หิน โมราและเครื่ องประดับจาก มิตรประเทศ ได้รับคารับรองว่าสร้ างขึ้ นด้วยสัดส่ วนที่ วิจิตรและ งดงามที่สุด กว้างยาวด้านละ 100 เมตร สู ง 60 เมตร มีผสู้ ร้างและ ออกแบบร่ วม 20,000 คน การก่อสร้างกินเวลานานถึง 22 ปี ทัชมาฮาลมีเนื้ อที่ประมาณ 42 เอเคอร์ เป็ นที่ต้ งั ของมัสยิด มี ห ออาซาน (หอสู งส าหรั บ ร้ อ งแจ้ ง เวลาท านมาซ) และมี สิ่ งก่ อ สร้ า งอื่ น ๆ นายช่ า งที่ อ อกแบบ ชื่ อ อุ ส ตาด ไอซา ถู ก ประหารชี วิตเพื่อมิให้ไปออกแบบสถาปั ตยกรรมใด ๆ ที่สวยกว่า ได้ ส่ วนหัวของทัชมาฮาลมีลกั ษณะโดมที่เรี ยกว่าโอเนียนโดม ทัช มาฮาลได้ถูกรับเลือกเป็ นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2526 โดยมีเหตุผล ตามเกณฑ์การพิจารณาคื อ เป็ นตัวแทนซึ่ งแสดงผลงานชิ้ นเอกที่ จัดทาขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อนั ฉลาด กว่าทัชมาฮาลจะเป็ นอนุสรณ์สถานความรักที่ยงิ่ ใหญ่ ต้อง ใช้งบประมาณจานวนมาก รวมทั้งชีวติ ของผูอ้ อกแบบและกษัตริ ย ์ ชาห์ ชหาน จึงเป็ นเรื่ องที่น่าเศร้า และที่น่าภาคภูมิใจที่สุดคือ ทัช มาฮาล เป็ นมรดกโลกและสิ่ งมหัศจรรย์ของโลกในยุคปั จจุบนั นี้


- 50 -

คำถำมชวนคิด 1. ทัชมาฮาลสร้างขึ้นเพื่อเหตุผลสาคัญใด 2. เหตุใดจึงได้รับยกย่องว่าเป็ นสิ่ งมหัศจรรย์ของโลก นครรัฐเอเธนส์

การปกครองในนครรัฐเอเธนส์ ที่มา : http://www.directdemocracy.exteen.com/

นครรัฐเอเธนธ์ เป็ นนครรัฐหรื อโพลิสที่สาคัญของอารย ธรรมกรี กโบราณต่อจากนครรัฐสปาร์ ตา ตั้งอยู่ในแผ่นดิ นใหญ่ที่ เรี ยกว่า แอตติกา ในช่วง 700 ปี ก่อนคริ สตกาลเคยมีการปกครอง ระบอบกษัต ริ ย ์แ ละต่ อ มาอยู่ภ ายใต้ก ารปกครองของกลุ่ ม คนที่ เรี ยกว่า Aristocrat โดยมี ส ภา ท าหน้าที่ ด้านนิ ติบ ัญ ญัติ จึงเป็ น ต้นกาเนิดของการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยที่ประเทศทัว่ โลก ใช้เป็ นหลักในการปกครองประทศ ประชาชนมีส่วนร่ วมในการ


- 51 -

ปกครองและเป็ นเจ้าของอานาจในด้านการเมื องการปกครองที่ แท้จริ ง ระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิ ปไตยทางตรง ในเอเธนส์ เริ่ มต้นขึ้นหลังการสถาปนาระบอบประชาธิ ปไตยในปี 508 ก่ อ นคริ ส ตกาล โดยบทบาทของ Cleisthenes “ผู้น าการ ปฏิวตั ิและวางรากฐานประชาธิ ปไตยในเอเธนส์ ข้ ึนมาอีกครั้ง โดย เขาได้ดึงเอาประชาชนคนธรรมดาทัว่ ไป หรื อที่ เรี ยกว่า demos” เข้ามาร่ วมกันสร้ างพลังทางการเมื อง แทนที่ระบอบการปกครอง โดยอภิชน (Aristocracy) พร้อมกันนั้นก็ได้ดาเนิ นการปฏิรูประบบ การปกครองรัฐโดยการแบ่งหน่ วยการปกครองพลเมืองในรู ปของ เผ่าขึ้นใหม่ รวมถึงการสร้างสถาบันการเมืองใหม่ ๆ ขึ้นมาจานวน หนึ่ ง เพื่อเอื้อต่อการมีส่วนร่ วมทางการเมืองของพลเมืองในระดับ สู งสุ ด เงื่อนไขสาคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อการพัฒนา ประชาธิปไตยของเอเธนส์ ก็คือ ปั จจัยด้านขนาดของพื้นที่ซ่ ึงมี ลักษณะเป็ นชุมชนทางการเมืองขนาดเล็กและมีความเป็ นอันหนึ่ง อันเดียวกันของประชากร


- 52 -

ซากเมืองเอเธนส์ ที่มา : http://www. history.myfirstinfo.com/

เนื่ อ งจากเอเธนส์ มี ก ารจัด แบ่ ง เขตพื้ น ที่ ก ารปกครอง ชุ มชนออกตามลักษณะภูมิ ศาสตร์ ของนครรัฐ โดยแบ่ งออกเป็ น เขตชุ มชนที่มีประชากรอยูอ่ าศัยไม่กี่พนั คน มีการตั้งชุ มชนใกล้ชิด ติดกัน ทั้งชุ มชนที่กระจุกตัวในพื้นที่ศูนย์กลางที่มีความเป็ นเมือง และเขตชุ มชนที่กระจายตัวรายรอบในเขตชนบท ลักษณะทางภูมิ ประชากรดัง กล่ า วจึ ง ช่ ว ยให้ ก ารมี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ งของ พลเมือง และการสื่ อสารในหมู่พลเมืองแต่ละชุ มชนเป็ นไปอย่าง รวดเร็ วและทั่วถึ งกัน ได้ง่าย ส่ งผลให้ ก ารบริ ห ารจัดการนครรั ฐ บรรลุประสิ ทธิ ผลได้ในทันที นอกจากนี้ การมีขนาดพื้นที่เล็กและ จานวนประชากรไม่ ม ากจนเกิ น กว่าศัก ยภาพในการผลิ ตอาหาร สาหรับเลี้ยงดูประชากร ยังเป็ นปั จจัยสาคัญต่อการดารงไว้ซ่ ึ งความ เป็ นรัฐอิสระทั้งในทางการทหารและเศรษฐกิจอีกด้วย


- 53 -

การปกครองระบอบประชาธิ ปไตยโดยมีตน้ กาเนิ ดมาจาก นครรัฐของกรี กนั้น แสดงให้เห็นถึงความรู ้ความสามารถ ของ ความเจริ ญในอารยธรรมกรี ก ที่ได้สร้างสรรค์ไว้และมีอิทธิ พลต่อ การปกครองของประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลกมาจนถึงปั จจุบนั คำถำมชวนคิด 1. ปัจจัยในเรื่ องใดที่ทาให้นครัฐเอเธนส์จดั การปกครอง แบบประชาธิปไตย 2. เหตุใดประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลกจึงนิยมการปกครองแบบ ประชาธิปไตย ย้อนรอยกีฬำโอลิมปิ ก (อำรยธรรมกรีก)

นครเอเธนส์กบั ธงกีฬาโอลิมปิ ก ที่มา : http://www.educatepark.com/olympic/


- 54 -

กีฬาโอลิมปิ กเป็ นกีฬาที่ประเทศทัว่ โลกสนใจและเข้าร่ วม การแข่งขัน โดยจัดให้มีการแข่งขันทุก 4 ปี ตามประเทศเจ้าภาพ โดยมีตน้ กาเนิดมาจากอารยธรรมกรี กโบราณ ทีม่ ำของกีฬำโอลิมปิ ก ก่ อ นหน้ า คริ สตกาลกว่ า 1,000 ปี การแข่ ง ขัน กี ฬ าได้ ดาเนิ นการบนยอดเขา “โอลิ มปั ส ” ในประเทศกรี ซ โดยนักกี ฬ า จะต้อ งเปลื อ ยกายเข้า แข่ ง ขัน เพื่ อ ประกวดความสมส่ ว นของ ร่ างกาย และยังมี ก ารต่อสู ้ บ างประเภท เช่ น กี ฬาจาพวกมวยปล้ า เพื่ อพิ สู จน์ ค วามแข็งแรง ผูช้ มมี แต่ เพี ยงผูช้ าย ห้ ามผูห้ ญิ งเข้าชม ดังนั้นผูช้ มจะต้องปี นขึ้นไปบนยอดเขา ครั้นต่อมามีผนู ้ ิ ยมมากขึ้น สถานที่บนยอดเขาจึงคับแคบเกิ นไป ไม่เพียงพอที่จุท้ งั ผูเ้ ล่นและ ผูช้ มได้ท้ งั หมด ดังนั้นในปี ที่ 776 ก่อนคริ สตกาล ชาวกรี กได้ยา้ ยที่แข่งขัน ลงมาที่เชิ งเขาโอลิมปั ส และได้ปรับปรุ งการแข่งขันเสี ยใหม่ให้ดี ขึ้ น โดยให้ผูเ้ ข้าแข่งขันสวมกางเกง พิ ธี การแข่ งขันจัดอย่างเป็ น ระเบียบเป็ นทางการ มีจกั รพรรดิ มาเป็ นองค์ประธาน อนุ ญาตให้ สตรี เข้าชมการแข่ งขันได้ แต่ ไม่ อนุ ญ าตให้ เข้าแข่ งขัน ประเภท กรี ฑาที่แข่งขันที่ถือเป็ นทางการในครั้งแรกนี้ มี 5 ประเภท คือ วิ่ง, กระโดด, มวยปล้ า, พุ่งแหลน และขว้างจักร ผูเ้ ข้าแข่งขันคนหนึ่ ง ๆ จะต้องเล่นทั้ง 5 ประเภท โดยผูช้ นะจะได้รับรางวัล คือ มงกุฎที่


- 55 -

ท าด้วยกิ่ งไม้ม ะกอกซึ่ งขึ้ น อยู่บ นยอดเขาโอลิ ม ปั ส นั่น เอง และ ได้รับเกียรติเดินทางท่องเที่ยวไปทุกรัฐ ในฐานะตัวแทนของ พระเจ้า

อัฒจันทร์ที่เชิงเขาโอลิมปั ส ที่มา : http://upload.wikimedia.org/

บารอน ปี แยร์ เดอ กู แ บร์ แ ต็ง ชาวฝรั่ ง เศสเป็ นผูก้ ่ อ ตั้ง คณะกรรมการโอลิมปิ กสากล (ไอโอซี ) ใน พ.ศ. 2437 นับแต่น้ นั ไอโอซี ก ลายเป็ นองค์ก ารดู แลกระบวนการโอลิ ม ปิ ก (Olympic Movement) โดยมี ก ฎบัตรโอลิ ม ปิ กนิ ตามโครงสร้ างและอานาจ หน้าที่ของคณะกรรมการฯ การแข่งขันโอลิมปิ กปั จจุบนั กาหนด จัด 4 ปี ต่อ 1 ครั้ง โดยให้ประเทศสมาชิ กหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกัน เป็ นเจ้าภาพ แต่การเปิ ดแข่งขันครั้งแรกให้เริ่ ม ณ กรุ งเอเธนส์ ใน พ.ศ. 2439 เพื่อเป็ นอนุ สรณ์ แห่ งการกาเนิ ดกี ฬาโอลิ มปิ กเมื่ อครั้ ง โบราณ จากนั้นเป็ นต้นมา การแข่งขันและวิธีเล่นกรี ฑาก็พฒั นาไป อย่างกว้างขวาง และการแข่ งขันทุ ก ๆ ครั้ ง ให้ถื อเอากรี ฑ าเป็ น


- 56 -

กีฬาหลัก ซึ่ งจะขาดเสี ยมิได้ในการแข่งขันแต่ละครั้งโดยมีวงกลม ห้าห่วงเป็ นสัญลักษณ์ ซึ่ งหมายถึง 5 ทวีปของโลก

สัญลักษณ์กีฬาโอลิมปิ ก ที่มา : http:// www.uploadwikimedia.org/

กี ฬ าโอลิ มปิ กจึ งเป็ นกี ฬ าที่ มีผูช้ มมากที่สุ ดในโลก เป็ น กี ฬาแห่ งความสามัคคีและความร่ วมมือระดับโลก ที่ ทวั่ โลกควร ตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ของอารยธรรมกรี ก ที่ ส ร้ า งสรรค์ ต้ ัง แต่ ยุ ค โบราณ และมีอิทธิพลต่อการแข่งขันกีฬาระดับโลกสื บต่อมาจนถึง ปัจจุบนั คำถำมชวนคิด 1. สัญลักษณ์ของกีฬาโอลิมปิ กมีความหมายอย่างไร 2. การแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กมีผลต่อมวลมนุษยชาติ อย่างไร


- 57 -

นักรบผู้ยิ่งใหญ่ แห่ งโรมัน

จูเลียส ซี ซาร์ ที่มา : http://www.board.postjung.com/

จู เลียส ซี ซ ำร์ หรื อชื่ อจริ ง ไกอัส จู เลียส เป็ นแม่ ท พั ที่ มี ความสามารถในการรบ สามารถเอาชนะประเทศต่างๆ ได้ถึง 300 ประเทศ เมืองอื่นๆ อีก 800 เมือง รวมทั้งการรบชนะในดินแดน อื่ น ๆ จนได้รับ เหรี ย ญกล้าหาญ เขาได้ส ถาปนาตนเองขึ้ น เป็ น กษัตริ ยป์ กครองกรุ งโรม และทาให้โรมัน มีชื่อเสี ยง เป็ นที่รู้จกั ของ ชาวโลกมาจนทุ ก วัน นี้ จูเลี ย ส ได้ส ร้ างชื่ อซี ซ าร์ อนั ยิ่งใหญ่ ใ ห้ กษัตริ ยโ์ รมันในสมัยต่อมาที่ใช้ชื่อซี ซาร์ น้ ี ถึงสิ บสององค์ แม้คาว่า ชาห์ แห่งอิหร่ าน ซาร์ แห่งรัสเซีย ไกเซอร์ แห่งเยอรมัน ล้วนแล้ว


- 58 -

แต่ มี ร ากศัพ ท์ม าจากค าว่าซี ซ าร์ ท้ ัง สิ้ น และได้สื บ ทอดค าเรี ย ก เหล่านี้มาจนถึงปั จจุบนั เหตุกำรณ์ ทสี่ ำคัญทีส่ ุ ดในสมัยทีซ่ ีซำร์ ครองโรมัน เหตุการณ์ที่สาคัญนั้นก็คือ การยกทัพเข้ารุ กรานเกาะ อังกฤษ ที่เรี ยกว่าสาคัญก็ดว้ ยเหตุผลประการหนึ่งคือ ทาให้คนรุ่ น หลังได้รู้จกั ประวัติของเกาะเล็ก ๆ เกาะหนึ่งซึ่ งก่อนหน้านั้นไม่เคย มีอยูบ่ นแผนที่ ในปี ที่ 55 ก่อนคริ สต์ศกั ราช ซี ซาร์ได้ครอง อาณาจักรโกล ซึ่งปัจจุบนั คือประเทศฝรั่งเศส

เหตุการณ์สูร้ บของจูเลียส ซีซาร์ ที่เกาะอังกฤษ ที่มา : http://27.254.44.103:81/~topten/

ด้ ำนมืด และจุดจบของจูเลียส ซีซำร์ จูเลียส ซี ซาร์ เอง แม้วา่ จะมีความสามารถเก่งกล้ายิง่ นักใน ก ารส งคราม แต่ ก็ มี ข้ อ เสี ยอยู่ อ ย่ า งห นึ่ ง นั่ น คื อ มี ค วาม ทะเยอทะยานอย่างรุ นแรง เมื่อเล็ก ๆ เขามีชื่อเสี ยงในเรื่ องการใช้ เงินเปลืองจนเป็ นหนี้ สิน เมื่อเติบโตมีอานาจในมือ เขาก็จบั จ่ายใช้


- 59 -

สอยอย่างมือเติบทั้ง ๆ ที่เงินนั้นเป็ นของหลวง ในด้านการสงคราม จูเลียส ซี ซาร์ ก็ถูกโจมตีวา่ พาคนไปตายเสี ยมากต่อมาก แต่ในการ รบในสมัยนั้น แต่ละฝ่ ายต่างก็ยอมเสี ยทหารเป็ นจานวนมากเสมอ การสั่งประหารชี วิตแม่ทพั โกล ซึ่ งพ่ายแพ้ต่อทัพโรมันเมื่ อครั้งจู เลียส ซี ซาร์ พากองทัพอันเกรี ยงไกรเข้าไปบุกโกล เป็ นตราบาปที่ ยิง่ ใหญ่ที่สุดในชี วติ ของเขา จูเลียสสั่งขังแม่ทพั โกลไว้ถึงหกปี แล้ว จึงสั่งให้ประหารชี วิตทั้ง ๆ ที่มิได้มีความผิดใด ๆ เพียงแต่ตอ้ งการ ให้เป็ นเครื่ องส่ งเสริ มบารมีของเขาเพียงคนเดียวเท่านั้น

เวอร์ซิน เกโทริ ก ผูน้ าเผ่าโกลยอมจานนต่อจูเลียส ซีซาร์ ที่มา : http://www. thaigoodview.com/

แม้จูเลียสจะได้ชื่อว่าทารุ ณ โหดร้าย แต่เขาก็เป็ นแม่ทพั ที่ ทหารพากันจงรั ก ภักดี เป็ นอย่างยิ่ง จนแทบจะพู ดได้ว่า ไม่ เคยมี ทหารในสมัยใดจะ รั กเจ้านายของตนยิ่งไปกว่าทหารรักซี ซาร์ ที่


- 60 -

ไหนมี อนั ตราย ที่ นั่นซี ซ าร์ จะเป็ นคนแรกที่ บุกเข้าไปก่ อน ถ้าใน การเดิ น ทางกองทหารจาเป็ นจะต้องข้ามแม่ น้ าสั กสายหนึ่ งที่ น่ า กลัวที่สุด จูเลียสจะเป็ นคนแรกที่ลงว่ายน้ านาบรรดาทหารทั้งหลาย ลงไป ผูย้ ิ่งใหญ่ทุกคนย่อมมีศตั รู ในโลกนี้ มีคนอีกหลายคนที่ทน เห็ นความสาเร็ จของผูอ้ ื่นไม่ได้ จูเลียส ซี ซาร์ เป็ นคน ๆ หนึ่ งที่ถูก อิจฉาริ ษยา เขาเองก็รู้ตวั ดี แต่ คนที่คิดปองร้ายเขา คือนักโทษคน หนึ่ งที่ซีซาร์ เองเป็ นผูอ้ อกคาสั่งให้ไว้ชีวิต จูเลี ยสไม่เคยคิดเลยว่า คน ๆ นี้ จะเป็ นคนที่ไว้ใจไม่ได้ เขาผูน้ ้ นั มีชื่อว่า มาร์ คุส จูนิอุส บรู ตุส ซึ่ งเขารับเป็ นลูกเลี้ ยงในเวลาต่อมา การลอบฆ่าเป็ นไปอย่าง ง่ ายดาย ซี ซ าร์ เองไม่ เคยได้คิ ดถึ ง เรื่ อ งนี้ มาก่ อนเลย จึ ง ไม่ มี ก าร ระวังตัวแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามในวันที่ 14 มีนาคมก่อนคริ สต์ศกั ราช 44 ปี ซึ่ งเป็ นวันก่ อนวันเกิ ดเหตุ ร้ายเพียงหนึ่ งวัน ก็ได้มีสัญญาณหลาย อย่างที่ แสดงว่า โลกเรากาลังจะต้องสู ญเสี ยผูย้ ิ่งใหญ่ อีกคนหนึ่ ง พายุพดั แรงจัด มีดาวหางขึ้นในท้องฟ้ า คัลเฟอร์ เนี ย ภรรยาของจู เลี ยสนึ กสั งหรณ์ ใจจนถึ งกับ กราบขอร้ องอ้อนวอนมิให้ส ามี เธอ เดินทางไปประชุ มสภาเซเนทในวันรุ่ งขึ้ น แต่จูเลี ยสกลับหัวเราะ เยาะราวกับเห็ นเป็ นเรื่ องขบขัน จูเลียส ดื้ อรั้นที่จะไปประชุ มใน วันนั้นให้ได้ เมื่อเขาเดินผ่านห้องโถง รู ปปั้ นตัวเขาเองก็หล่นลงมา แตกละเอียดเป็ นชิ้นเล็กชิ้นน้อย นอกจากนั้นระหว่างทาง มีชายคน


- 61 -

หนึ่ งแอบส่ งจดหมายให้เขาฉบับหนึ่ งขอร้ องให้เขาอ่านก่อนที่จะ เข้า ประชุ ม แต่ จูเลี ย สเพี ย งแต่ ก าไว้ใ นมื อโดยไม่ ท ัน ได้อ่ าน ถ้า เพี ยงแต่ เขาจะได้มี โอกาสอ่ านจดหมายฉบับ นั้น ประวัติศาสตร์ โรมันก็คงจะเปลี่ยนไปอีกเป็ นคนละรู ป เพราะในจดหมายฉบับนั้น มี ร ายชื่ อ ของผู ้ที่ คิ ด วางแผนจะเอาชี วิ ต เขาทั้ง หมด รวมทั้ง แจ้ง รายละเอียดเกี่ยวกับแผนการนั้นด้วย

บรู ตสั (Brutus) หัวหน้ากลุ่มผูก้ ่อการสังหารจูเลียส ซีซาร์ ที่มา : http://www. rescom.trf.or.th/

เวลา 11.00 น.เช้าวันที่ 15 มีนาคม ก่อนคริ สต์ศกั ราช 44 ปี ขณะที่ จูเลี ยส ซี ซาร์ กาลังยืนอ่านเรื่ องราวเกี่ ยวกับ การประชุ มใน สภาเซเนท แคสซิ อุส มาร์ คุส จูนิอุส บรู ตสั ลู กเลี้ ยงของเขา หนึ่ ง ในจานวนผูว้ างแผนทรยศก็ได้ปักดาบคู่มือทะลุผา่ นลาคอ ซี ซาร์ ยก มือขึ้นรับ แต่ก็ไม่สาเร็ จ เขาล้มลงขาดใจตายจมกองเลื อดอยู่ ณ ที่ นั่น เอง นัก รบผูย้ ิ่ ง ใหญ่ แ ห่ ง โรมัน ได้จ บชี วิ ต ลง ประวัติ แ ละ ผลงานของเขาถูกนามาสร้างเป็ นภาพยนตร์ และความสัมพันธ์ที่มี


- 62 -

ต่อพระนางคลีโอพัตรา แห่งอิยปิ ต์ ที่จูเลียส ซี ซาร์ เป็ นผูส้ นับสนุน ให้เป็ นกษัตริ ยป์ กครองอียปิ ต์ได้สาเร็ จ

พระนางคลีโอพัตรา ที่มา : http://bbs.playpark.com/

อย่างไรก็ตามประวัติศาสตร์ โลกยกย่องถึงความสามารถ ด้านการรบในฐานะนัก รบที่ ยิ่ง ใหญ่ ที่ ท าให้จกั รวรรดิ โรมัน มี อาณาเขตที่กว้างใหญ่ในยุโรป แอฟริ กา และเป็ นบทเรี ยนสาหรับ ผูม้ ี อ านาจที่ ต้อ งเห็ น ความส าคัญ ของความยุติ ธ รรมและความ เมตตาต่อผูใ้ ต้ปกครอง รวมทั้งการไม่ประมาท เป็ นสิ่ งที่ควรปฏิบตั ิ อย่างยิง่ คำถำมชวนคิด 1. คุณลักษณะเด่นของจูเลียส ซี ซาร์ เป็ นอย่างไร 2. ข้อคิดที่ได้จากเหตุการณ์สังหารจูเลียส ซีซาร์ คืออะไร


- 63 -

โคลอสเซียม (สนำมกีฬำ)

ซากสนามกีฬาแห่งกรุ งโรม ที่มา : http://www. conan-kung.blogspot.com/

โค ล อ ส เซี ย ม (อั งก ฤ ษ : Colosseum ห รื อ Flavian Amphitheatre; อิต ำลี: Colosseo - โคลอสโซ) เป็ นสนามกี ฬ า กลางแจ้งขนาดใหญ่ต้ งั อยู่ใจกลางกรุ งโรม เริ่ มสร้ างขึ้นในสมัย จักรพรรดิเวสเปเซี ยนแห่ งจักรวรรดิโรมัน และสร้างเสร็ จในสมัย ของจักรพรรดิไททัส ในคริ สต์ศตวรรษที่ 1 หรื อประมาณปี ค.ศ. 80 อัฒจันทร์ เป็ น รู ปวงกลมก่อด้วยอิฐและหิ นทรายวัดโดยรอบ ได้ป ระมาณ 527 เมตร สู ง 57 เมตร สามารถจุผูช้ มได้ประมาณ 50,000 คน มีการออกแบบอย่างชาญฉลาดโดยสร้างให้สนามกีฬา มีลกั ษณะเป็ นรู ปวงรี เพื่อให้ผชู ้ มรู ้ สึกเข้าใกล้นกั กี ฬา และมีการ


- 64 -

ออกแบบทางระบายน้ าเพื่อไม่ให้น้ าท่วมขังในสนามขณะเกิดฝน ตก ถือเป็ นต้นแบบของสนามกีฬาต่างๆในปั จจุบนั ในบางครั้งจะ มีการเรี ยกชื่ อ โคลิเซี ยม (Coliseum) สิ่ งก่อสร้างรู ปทรงโค้งเป็ น วงกลมซึ่ งตั้งอยูท่ ี่ศูนย์กลางของกรุ งโรมแห่ งนี้ สร้างขึ้นเพื่อเชิ ดชู เหล่ านักรบโรมันและเป็ นอนุ สรณ์ ที่ แสดงถึ งความยิ่งใหญ่ ของ อาณาจักรโรมัน สนามกีฬาแห่งนี้ สูง 48 เมตร ยาว 188 เมตร และ กว้าง 156 เมตร แนวคิ ดในการออกแบบโคลอสเซี ย มนี้ ย งั คงมี ความสาคัญมาจนถึงทุกวันนี้ ดังจะเห็นได้จากการออกแบบสนาม กีฬาแทบทุกแห่งในโลก

โคลอสเซียมสนามกีฬาแห่งกรุ งโรม ที่มา : ww.wowboom.blogspot.com/

ใต้อฒั จันทร์ โคลอสเซี ยม และใต้ดินโคลอสเซี ยม มีห้อง ส าหรับ ขังนัก โทษที่ รอการประหารชี วิต และสิ งโต หลายร้ อย ห้อง ใช้เป็ นสถานที่ ให้นักโทษ ต่ อสู ้ ก ับสิ งโตที่ อดอาหาร หาก นัก โทษผูใ้ ดเอาชนะ ฆ่ าสิ งโตได้ด้วยมื อเปล่ าได้ก็ รอดชี วิตไป หรื อ ไว้ใช้เป็ นที่ประลองฝี มือในเชิงฟันดาบของบรรดาเหล่าทาส


- 65 -

ให้ต่อสู ้ ก ัน เอง ยิ่งถ้าต่ อสู ้ ก ัน จนถึ งสามารถฆ่ าคู่ ต่อสู ้ ตาย ก็ จะ ได้รับเกียรติอย่างสู งเพราะเป็ นการต่อสู ้ที่ชาวโรมันนิยมและ ยกย่องกันมาก ทุ กปี ๆ ต้องสู ญเสี ยชี วิตนักโทษและทาสไม่ต่ า กว่าร้ อยคน สนามกี ฬาโคลอสเซี ยม (Colosseum) แห่ งนี้ จึงเป็ น สิ่ งก่อสร้ างที่แสดงถึ งความรุ่ งโรจน์ของอาณาจักรโรมันโบราณ แต่เมื่ออาณาจักรโรมันเสื่ อมลง โคลอสเซี ยม (Colosseum) ก็ถูก ข้ า ศึ ก ท าลายหลายครั้ งหลายหน ในปั จจุ บ ั น เหลื อ แต่ ซ าก โครงสร้างอันใหญ่โตมโหฬารไว้ให้ชม

ภายในโคลอสเซียม ที่มา : www.wowboom.blogspot.com/

7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โคลอสเซียมได้รับเลือกให้เป็ น 1 ในเจ็ดสิ่ งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ จากการลงคะแนนทัว่ โลก ทั้งทางอินเทอร์ เน็ตและโทรศัพท์มือถือ คำถำมชวนคิด 1. โคลอสเซียมสร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์ใด 2. โคลอสเซี ยมมีความสาคัญอย่างไรในปั จจุบนั


- 66 -

บรรณำนุกรม คณะอาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง. (2535). อำรยธรรมโลก. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. ชาติชาย พณานานนท์. (2553). ประวัติศำสตร์ สำกล ชั้น มัธยมศึกษำตอนปลำยปี ที่ 4-6. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั สานักพิมพ์แม็ค จากัด. ไซเบอร์เนียดอทคอม. (2551). ขั้นตอนกำรทำมัมมี่. สื บค้นวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://zybernia.wordpress.com/2008/10/11/mummy/. ไดเร็ กดีโมเครซีบล็อก. (2553). ประชำธิปไตยเอเธนส์ . สื บค้น เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://directdemocracy.exteen.com/20090913/entry-1. ทัวร์ทุกที่ดอทคอม. ดอกโบตั๋น. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.tourtooktee.com/. ทัวร์ทุกที่ดอทคอม. พิพธิ ภัณฑ์ เหอหนำน. สื บค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.tourtooktee.com/.


- 67 -

ทัวร์ทุกที่ดอทคอม. มณฑลเหอหนำนดินแดนแห่ งอำรยธรรมและ ดอกไม้ ประจำชำติ. สื บค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.tourtooktee.com/. ไทยกู๊ดวิวดอทคอม. (2556). ลักษณะเด่ นของประมวลกฏหมำย ฮัมมูรำบี. สื บค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.thaigoodview.com/node/128938/. บริ ษทั ทัวร์ ต่างประเทศ จากัด. (2556). โคลอสเซียมมรดกโลก. สื บค้นเมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.abroad-tour.com/ Italy/world_heritage/colosseum.html. บริ ษทั ทัวร์ ต่างประเทศ จากัด. ศำลไคฟง(เปำบุ้นจิน้ ). สื บค้นเมื่อ วันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.abroadtour.com/china/zhengzhou/baobunjin.html. บริ ษทั ทัวร์ ต่างประเทศ จากัด. สุ สำนจักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ . สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.abroad- tour.com/ china/xian/qinshihuang_bingmayong.html. บริ ษทั สนุกออนไลน์. ประวัติควำมเป็ นมำของกีฬำโอลิมปิ ก โบรำณ. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://campus.sanook.com/974791/.


- 68 -

ฟิ สิ กส์ราชมงคลดอทคอม. กำแพงเมืองจีน. สื บค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.rmutphysics.com/charud/ naturemystery/sci1/chinawall/chinawall.htm. วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี . (2556). กฏหมำยฮัมมูรำบี. สื บค้นเมื่อ วันที่ 1 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/. วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี . จูเลียต ซีซำร์ . สื บค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/. วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี . (2556). พระรำชวังต้ องห้ ำม. สื บค้นเมื่อ วันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/. ห้องสมุดบ้านจอมยุทธ. (2553). พีระมิดเมืองกิซำ. สื บค้นวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.baanmaha.com/ community/thread23750.htm.2008/10/11/mummy/. วงดือน นาราสัจน์และชมพูนุช นาคีรักษ์. (2554). ประวัติศำสตร์ สำกล : พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ ของมนุษยชำติ. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์ บริ ษทั พัฒนา คุณภาพวิชาการ(พว.) จากัด.


- 69 -

วาทิน ศานต์ สันติ. (2553). ปำกีสถำน : กำรเกิดประเทศ ปำกีสถำน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.gotoknow.org/posts/345650. สัญชัย สุ วงั บุตรและคณะ. (2553). ประวัติศำสตร์ สำกล ม.4-6. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั อักษรเจริ ญทัศน์ (อจท.) จากัด. ห้องสมุดออนไลน์ My First Info. (2552). นครรัฐเอเธนส์ . สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://history.myfirstinfo.com/ history11_result.aspx?Browsesub2=2457. แอมซ่าดอทคอม. (2555). ทัชามฮาล. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://amza2012.wordpress.com/.


- 70 -

อ้ำงอิงภำพ ภาพอักษรลิ่ม. สื บค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://civilizationcivilize.blogspot.com/ 2012_08_01_arc hive.html. ภาพตัวอย่างอักษรลิ่ม. สื บค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://yuttapoomsose.wordpress.com/ 2011/11/16/hello-world/. รู ปสลักหินพระเจ้าฮัมมูราบี. สื บค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://pantip.com/topic/30188097. ภาพแผ่นจารึ กประมวลกกฏหมายฮัมมูราบี. สื บค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://.wikipedia.org/wiki/. ภาพสวนลอยแห่งบาบิโลน. สื บค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://blog88.exteen.com/20130615/8220the-hanging-gardens-. ภาพการก่อสร้างพีรมิด. สื บค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.gotoknow.org/posts/84130. ภาพพีระมิดเมืองกิซาห์. สื บค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. khaosod.co.th/.


- 71 -

ภาพมัมมี่ฟาโรห์. สื บค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. Statics.atcloud.com/. ภาพขั้นตอนสุ ดท้ายของการทามัมมี่. สื บค้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. zybernia.wordpress.com/. ภาพกาแพงเมืองจีน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.variety.teenee.com/. ภาพการก่อสร้างกาแพงเมืองจีน. สื บค้นวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.dek-.com/board/view/ 2702140/. ภาพกาแพงเมืองจีนสิ่ งมหัศจรรย์ 1 ใน 7 ของโลกยุคปัจจุบนั . สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.thawanholiday.net.com/. แผนที่มณฑลเหอหนาน. สื บค้นวันที่ 4 มันาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/. ภาพวัฒนธรรมมณฑลเหอหนาน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.tourtooktee.com/. ภาพพิพิธภัณฑ์เหอหนาน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.oceansmile.com/ China/Xianzhengzhou.htm.


- 72 -

ภาพวัดเส้าหลิน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. Oceansmile.com/. ภาพศาลไคฟง. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. Guru-tour.com/. ภาพศาลไคฟงและรู ปปั้ นเปาบุน้ จิ้น. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. manager.co.th.com/. ภาพดอกโบตัน๋ . สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. Okanation.com/. ภาพพระราชวังต้องห้าม. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. tortooktee.com/. ภาพมุมพระราชวังต้องห้ามทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ. สื บค้น เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/. ภาพจัตุรัสเทียนอันเหมิน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://chanakanintaprom.blogspot.com/2013/06/2.html. ภาพสุ สานจักรพรรดิจิ๋นซี ฮ่องเต้. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.abroad-tour.com/ china/xian/qinshihuang_bingmayong.html.


- 73 -

ภาพรู ปปั้ นกองทหารในสุ สาน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. okanation.com/. ภาพกองทหารในสุ สาน. สื บค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www. bloggang.com/. แผนที่ประเทศปากีสถาน. สื บค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.apecthai.org/apec/th/ profile1.php?continentid=2&country=p8. ภาพจินนาห์ ผูน้ าอิสลามและมหาตมะคานธี ผูน้ าฮินดู. สื บค้น เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.gotoknow.org/posts/345650. ภาพWinton Churchill. สื บค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.gotoknow.org/posts/345650. ภาพอนุสรณ์สถานทัชมาฮาล. สื บค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2556 เว็บไซต์ http://amza2012.wordpress.com/ ภาพพระนางมุมตัช มาฮาลและพระเจ้าชาห์ ชหาน. สื บค้นเมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.pantip.com/. ภาพการปกครองในนครรัฐเอเธนส์ . สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://directdemocracy.exteen.com/ 20090913/entry-1.


- 74 -

ภาพซากเมืองเอเธนส์. สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://history.myfirstinfo.com/ history11_result.aspx?Browsesub2=2457. ภาพนครรัฐเอเธนส์กบั ธงกีฬาอลิมปิ ก. สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556. จากเว็บไซต์ http://www.educatepark.com/olympic. ภาพอัฒจันทร์ เชิงเขาโอลิมปั ส. สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556. จากเว็บไซต์ http://upload.wikimedia.org/ wikipedia/Commons/1/1c/Olympia-stadion.1pj. ภาพสัญญลักษณ์กีฬาโอลิมปิ ก. สื บค้นเมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2556. http://www. wikimedia.org/. ภาพจูเลียต ซีซาร์ . สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556. จากเว็บไซต์ http://board.postjung.com/471303.html. ภาพเหตการณ์สู้รบของซีซาร์ ที่เกาะอังกฤษ. สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://27.254.44.103:81/~topten/3953-top.html. ภาพเวอร์ซิน เกโทริ ก. สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.thaigoodview.com/.


- 75 -

ภาพบรู ตสั (Brutus). สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://rescom.trf.or.th/display/ keydefault.aspx?id_colum=2766. ภาพพระนางคลีโอพัตรา. สื บค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2556. จากเว็บไซต์ http://bbs.playpark.com/topic/60992 ภาพซากสนามกีฬาแห่งกรุ งโรม. สื บค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556. จากเว็บไซต์ http://www.conan-kung.blogspot.com/. ภาพโคลอสเซียม. สื บค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556. จากเว็บไซต์ http://www.wowboom.blogspot.com/. ภาพภายในโคลอสเซียม. สื บค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556. จากเว็บไซต์ http://www.wowboom.blogspot.com/.


- 76 -

ประวัติผ้ เู รี ยบเรี ยง หนังสื ออ่ำนเพิม่ เติม เรื่ อง เปิ ดประตูสู่อารยธรรมโลก ผูเ้ รี ยบเรี ยง นางวิไลวรรณ พรมสิ ทธิ์ ข้ อมูลทัว่ ไป เกิดวันที่ 24 ตุลาคม 2500 ภูมิลาเนา อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น โทร 089 2788484 e-mail promsit_349@hotmail.com ประวัติกำรศึกษำ ระดับมัธยมศึกษา โรงเรี ยนแก่นนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแก่น ระดับปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ มหาสารคาม วิชาเอกภูมิศาสตร์ ระดับปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช วิชาเอกมัธยมศึกษา (สังคมศึกษา) ตำแหน่ งและสถำนที่ทำงำนปั จจุบัน ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครู ชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนมัญจาศึกษา อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น


- 77 -

ผลงำนทำงวิชำกำร 1. แผนการสอนรายวิชา ส 071 ท้องถิ่นของเรา 1 2. รายงานการใช้และพัฒนาแผนการสอน รายวิชา ส 071 ท้องถิ่นของเรา 1 3. รายงานการวิจยั รู ปแบบการสอน 4 MAT รายวิชา ส 42202 ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาเภอมัญจาคีรี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 4. หนังสื ออ่านเพิ่มเติม “ภูมิใจ เมืองมัญจาคีรี” และ “สื บสานภูมิปัญญา เมืองมัญจาคีรี” เกียรติประวัติทภี่ ำคภูมิใจ 1. ครู ผมู ้ ีคุณธรรมจริ ยธรรมดีเด่น อาเภอมัญจาคีรี ปี 2536 , 2542 , 2548 2. ครู ดีเด่นกลุ่มโรงเรี ยนมัธยมศึกษาจังหวัดขอนแก่น กลุ่มที่ 1 ปี 2538 3. ครู แม่แบบเขตการศึกษา 9 ปี 2538 4. ครู ชานาญการพิเศษ ปี 2544 5. รางวัลหนึ่งแสนดีครู ดี ปี 2554 6. รางวัลครู สอนดีจงั หวัดขอนแก่น ปี 2555


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.