Portfolio Nara

Page 1

PORTFOLIO landscape architect project by Naratorn Munmueagsan


TABLE OF CONTENT ตารางงาน


About Me 000 เกี่ยวกับผม

Srisangwan School Chiangmai 001 โครงการออกแบบพื้นที่กิจกรรมโรงเรียนศรีสงวาน

Home Landscape 002 โครงการออกแบบพื้นบ้านอยู่อาศัย

Museusm of Agricuture North 003 โครงการออกแบบพิพิธภัณฑ์เกษตรกรรมภาคเหนือ

Landscape Design Doi Saket Hot Springs Resort and Community Area 004 โครงการออกแบบรีสอร์ทน้ำ�พุร้อนและพื้นที่สาธาณะชุมชน

Urban Republic Lamphum 005 โครงการออกแบบพื้นที่สาธารณะเมืองลำ�ปาง

Community Forest 006 โครงการออกแบบป่าชุมชนป่าต้นผึ้ง จังหวัดเชียงใหม่

Urban Republic San Sai Luang 007 โครงการออกแบบพื้นที่สาธารณะระดับเมือง สันทราย

Urban Republic Papai 008 โครงการออกแบบพื้นที่สาธารณะระดับเมือง ป่าไผ่ จังหวัดเชียงใหม่

Waroros Market Riverfront Chiang Mai 009 โครงการออกแบบพื้นที่ริมน้ำ�ย่านตลาดวโรรส จังหวัดเชียงใหม่

IMPROVEMENT OF RIVERFRONT PUBLIC AREAS, RAMA VI BRIDGE DISTRICT 010 โครงการออกแบบและปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะริมน้ำ� ย่านสะพานพระราม 6 กรุงเทพมหานคร่

Construction Drawings And Details for Landscape 011 เขียนแบบก่อสร้างและแบบขยาย

Landscape Acthcture Student Internship 1819 & VVdesine 012 นักศึกษาฝึกงานในช่วง 1819 และบริษัท วีวีดีไซ


ABOUT ME เกีย่วกับผม : ความสนุกคือตัวผมเอง? ความสนุกคำ�นี้เป็นคำ�ที่แทนตัวผมทุกครั้งที่ผมมองเลือกยากๆผมมักมอง ว่ามันน่าสนุกดีผมก็กลัวในบางครั้งที่ต้องเจอเรื่องที่มันดูไม่น่าสนุกเท่าไรมีทั้งล้มและผิด พลาดสิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากมันคือประสบการณ์ของมันนั่นเองผมมักจะทำ�ผิดพลาดมัน ไม่ใช่เรื่องที่หน้าอายอะไรแต่ผมกลัวมองกลับว่าเนี่ยเป็นโอกาสคงที่จะได้เรียนรู้การแก้ ปัญหาสิ่งที่เกิดขึ้นแน่นอนครับบางคนอาจมองว่าเสียเวลา แต่ให้คิดกลับกันผมเสียดาย มากกว่าที่ไม่ได้ทำ�อะไรเลย ผมเป็นผู้ชายที่เกิดในครอบครัวธรรมดาชนชั้นกลางเนี่ยล่ะ ครับ มันสนุกดีครับที่เราเกิดมาไม่มีอะไรเพียบพร้อมได้ทำ�ให้ผมกล้าและอดทน เลยมีเส้น ทางที่ผมเหมือนผจญภัยซี่งได้สร้างกรอบที่บ่งบอกความเป็นตัวเองขึ้นมา

: เสียงหัวเราะ เพื่อนๆผมจะเรียกมักเรียกผมว่าอ้วนด้วยที่ผมตัวใหญ่ประจำ�กลุ่มและผม ก็ไม่เคยผอมเลยโดยที่ผมสนุกกับเพื่อนเสมอไม่ว่าจะทำ�งานกลุ่มผมหรือทำ�อะไรต่างๆด้วย กัน เวลาทำ�งานผมก็แอบเครียดบางในโหมดจริงจังแต่ในเวลาที่ผมโมโหผมก็จะเงียบและ ดึงสติกลับมาผมหายโกรธง่ายครับส่วนใหญ่ผมมักเป็นแม่งานในการจัดปาร์ตี้สมัยเรียน มหาลัยด้วยความที่ผมเช่าบ้านกันอยู่ห้าคนตอนผมอยุ่เชียงใหมร่วมไปถึงงานกิจกรรม คณะผมชอบมากไม่ว่าจะเป็นงานละครสถาปัต ฉายหนังกลางแปลง รับน้อง ค่ายพัฒนา กิจกรรมร่วมกันชุมขน งานเลี้ยงต่างๆผมมักมีส่วนร่วมกับมันผมชอบสร้างเสียงหัวเราะ ผมรู้สึกมีความสุขเสมอทุกครั้งในเวลาคนรอบข้างผมสนุกไดหรือเราได้คุยกันคนอื่นมาก ขึ้นเพราะเหตุผลที่ผมชอบเสียงหัวเราะก็นำ�ผมมาถึงจุดนี้

: ขี้สงสัย : จีบสาว : เท่! ผมเคยชอบผู้หญิงคนนึงเธอนา่รักมากในช่วงเวลาในสมัยผมเรียนมัธย ไม่รู้ว่าทุกคนเป็นเหมือนผมแต่ผมเป็น แบบนั่นในช่วงเวลานั่นผมมักจะทำ�ตัวเองให้อยู่ใน สายตาเขาเสมอเหมือนว่าทุกเช้าเธอต้องเจอผมผมเริ่มจากคำ�ว่าทำ�ยังไงเธอคนนั่นสดุดตา ผมไม่เชื่อเรื่องบังเอิญครับผมอยากหาโอกาสที่จะได้รู้จักเขาผมก็แอบไปตีสนิทกับการได้ทำ� กีฬาสีด้วยกัน ก็พยายามทำ�นู่นทำ�นี้ไปเรื่อยๆรับ ด้วยความที่ผมเป็นคนที่ชอบสังเกตุผม จะเห็นเธอชอบพวกศิลปืนค่าย Smallroom ผมจึงเริ่มหาเพื่อนฟังเพื่อจะหาเรื่องไปคุยกับ เธอด้วยความผมจึงหาคอร์มหนังสืออ่านไปเรื่อยจึงไปเจอพวกที่ศิลปินส่วนใหญ่จะเรียน เกียวกับ art ไม่ก็ archtec ผมเลยเริ่มมีความสงสัยล่ะมันคืออะไรกัน มันส่งผมให้ผม นึงถึงคำ�ว่าเท่ขึ้นมา ฮ่าๆคำ�ว่า ’เท่ มีผมต่อผมจนถึงตอนนี้ ผมก็เริ่มจากการเล่นดนตรี กับเพื่อยสนิทผมสองคนครับ เพื่อนมันชอบเล่นกีต้าผมเลยไปขอแจ่มกับมันด้วยผมก็ไม่ ได้ทำ�เพราะผมชอบอะไรหลอกทำ�เพราะคิดว่าเท่ 555 กลับการเป็นว่าผมเล่นเครื่องดนตรี เป็นชิ้นแรก ผมได้ขึ้นเวทีผมรู้สึกว่าผมเข้าไปอยู่ในสายตาเธอบ้างแล้ว พอผมเล่นดนตรี ได้ผมยังไม่หยุดเท่านั่นผมตาหาเป้าหมายใหม่คือการเรียนสถาปัต ฮ่าๆจริงๆผมเห็นคนถือ กระดาษอันใหญ่ๆไปๆมาผมก็เลยงงว่าพวกนี้แม่งเท่วะ เลยทำ�บ้างก็ไปหาที่เรียนกับเพื่อน สนิทผม สุดท้ายกลายเป็นชอบแล้วเจอตัวเองในผมจึงเรียนต่อย่างจริงจังระหว่างนั่นผม ก็หาเวลาไปจีบเต้าแบบตรงๆเข้าไปคุยทักทายเพราะเขาชอบมาเช้าด้วยความที่ผมบ้านใกล้ โรงเรียนผมก็จะมาเช้าเพื่อมารอได้ทักเธอ ในวันที่ผมบอกชอบผมได้วาดรูปเธอ 1 รูป ผม เดินเข้าไปหาแล้วบอกชอบตรงๆแล้วพร้อมกับยืนรูปให้ แต่สุดท้ายเธอก็ไม่ได้ชอบผมไม่รู้ ละครับว่าเขาจะมีเหตุผลอะไรมากๆ แต่มันก็มาผมมาถึงจุดนี้

NAME MR.Naratorn Munmueangsan Nickname Dodo RACE Thailand BIRTH 13.11.1992 CONTACT Dotimepod@gmail.com +66 62715 8886 www.facebook.com/naratorn.munmueangsan.LA ฺ​ฺBngkurud, Bang bua Thong, Nonthaburi Thailand 11110


LIFESTYLE What kind of music do like? ชอบดนตรี - Arctic Monkeys - Red Hot Chili Peppers - John mayer - Radiohead - Nirvana - Rage Against The Machine

Thai Music - Scrubb - Tattoo Colour - The Richman Toy - Penguin Villa - Lemon Soup

What kind of Movie do like? หนัง A Beautiful Mind (2001) The Dark Knight (2008 Fight club (1999) Catch Me If You Can (2002) The Terminal (2004) Forrest Gump (1994) Fan chan (2003)

Adventure And Sport Downhill Mountain bike Dear Dakanda (2005)

WORKSHOP

CRETIVEDISTRICT RE-CREATE BANGRAK ( 2015 )

DEVELOPMENT COMMUNITY FOREST ,NAN ( 2016 )

CRETIVEDISTRICT WAROROS MARKET ( 2016 )


CURRICULUM VITAE EXPERIENCE

Education Background

Landscape Architecture Intership

NARATORN MUNMUEANGSAN

Landscape Architecture Age : 24 sex : Male Marital Status : Single Nationality : thai Religion : Buddhism

objective Urban communities need more green space for leisure and play .I’ll get right on it. Give me the opportunity to create something creative and I’m so happy being all the things.

1819 ผมเป็นได้รับโอกาสเป็นนักศึกษาฝึกงานในตำ�แหน่ง ภูมิาิสถาปัยกรรม ในช่วงปิดเทอมระหว่างชั้นปีที่ 3 เป็นระยะเวลา 4 เดือนได้ ฝึกฝนด้าน การใช้’งานโปรแกรมการเขียนแบบก่อสร้างและเรียนรู้ ขั้นตอนการทำ�งาน i have Opportunities for Landscape Architecture internship in summer 2014. I get my period 3-4 monthsand practicing in programming skill and construction drawings and details of landscape vvdesine ผมเป็นได้รับโอกาสเป็นนักศึกษาร่วมงานกับทางบริษัท ในตำ�แหน่งภูมิสถาปัตยกรรม เป็นเวลา 4 เดือน ทางบริษัทได้ถ่ายทอดความ รู้ร่วมไปถึงการลงพื้นที่เพื่อตรวจงานและงานระบบต่างๆและสอนถึงความ ใส่ใจลายละเอียดในการทำ�งานทุกขั้นตอนให้รู้สึกสนุกไปกับการทำ�งานหาไอ เดียใหม่ๆเสมอ vvdesine landscape architect company limited i have got opportunities for landscape architecture intership in 2017 I get my period 4 months for The company has input to working site to watch the system and teaches the attentively to details in every step and always feel fun working for new ideas.

work shop -CRETIVEDISTRICT RE-CREATE BANGRAK ( 2015 ) -DEVELOPMENT COMMUNITY FOREST ,NAN ( 2016 ) -CRETIVEDISTRICT WAROROS MARKET ( 2016 )

status

Activities

Energy

Friendship Fun

Memberships in Tapad drama 2012 Sound Engineer of Tapad drama 16th (Arkbara) 2013 Sound Engineer of Tapad drama 17th (MEAH) 2014 Sound Engineer of Tapad drama 18th (2599

2009-2011 : Triamudomsuksa Pattanakarn Nonthaburi School Non Buri, Nonthaburi, Thailand 2011-2012 : Ceramic design of architecture King Mongkut’s University of Technology North Bangkok 2012-2017 : Graduate, Landscape architecture GPA : 3.40 Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University

SKILLS

Photoshop Lllustrator Indesign Premiere pro Autocad Sketchup Lumion 3D Rhino 3d Hand Draw model make

LANGUAGE Thai English

CONTACT EMAIL : Dotimepod@gmail.com Call : 062715 8886 Wed : www.facebook.com/naratorn. munmueangsan.LA Address :

89/37 moo.4Bngkurud, Bang bua Thong, Nonthaburi


project click link to project.s

2012

2013

2013

2014

2015

2016

2017

back



00 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

FINE ART ACTIVITIES PHOTO งานศิลปะและกิจกรรม


SCULPTURE GIRL WITH FLOWERS

งานออกแบบประติ ม กรรมการคิ ด ในรู ป แบบ นามธรรมมาเป็นรูปธรรมซึง่ การสือ่ สารผ่านวัสดุรปู ทรงโดยใช้องค์ ประกอบศิลปมาเป็นตัวช่วยในการสร้างงงานโดยงานทีอ่ อกแบบโดย การฝึกถอดแบบจากรูปทรงธรรมชาติใกล้ตวั 1. เป็นงานให้ปน่ ั ดิน ตุก๊ ตาตัวเองแล้วนำ�ไปเผาเป็นงานดินเผางานทีถ่ อดความรูส้ กึ ของหัว หอมโดยวัสดุทผ่ ี มเลือกใช้เป็นลวดมาดัดทำ�รูปทรงต่างๆซึง่ สามารถ สือ่ สารโดยเส้นและสร้างฟอร์มได้โดยความทีห่ วั หอมมีทง้ ั เผ็ดร้อน การทับซ้อนของชัน้ ในแต่ชะ่ ช่วงทีเ่ ป็นเส้นวงกลมทีล่ ดขนาดลงไป เรือ่ ง สูพ่ น้ ื ทีม่ ขี นาดเล็กทีส่ ดุ และในแต่ละ่ ช่วงชัน้ จะถูกแบบเป็นห้องเล็กๆทีม่ ี ขนาดแตกต่างกันเป็นพืน้ ทีว่ า่ งในหัวหอมจึงได้การสือสารทัง้ 3รูปแบบ แสบชัน้ และระนาบทีว่ า่ ง

SOIL


PLANE ใช้วัสดุเป็นน๊อตเพื่อสร้างระนาบจาก หน่วยเล็กๆให้เกิดมิติที่แกต่างกันเงา และความรู้สึก

FIRE

SUFFUSE เครื่องดนตรี 3 ชิ้นโดยมี กลองแขกกีต้า ทรอมโบน ด้ ว ยนำ � มารวมกั น แล้ ว น้ำ � มาผสมผสานกั บ โดย คิ ด จากจุ ด กำ � เนิ ด เสี ย ง ลักษณะเสียง

ORANGE

PIGGY BANK แมวน้ำ� จระเข้

ONION

back


MARKET SPAEC

SHADOW SAPEC

SMILE

PLAY SAPEC

LIBRARY

LOVE TOWER

DENCING SPAEC

THREE

PROWER


activities

งานครอบครู เป็นผู้ออกแบบ ใช้พื้นที่ ว่างโถงอาคาร

GRAOHIC COMMUNUCATION เริ่มกระบวนการออกแบบ ทำ�แบบ จำ�ลองและหาวัสดุ โดยมีแนวคิดจาก 1 2 3

EXHIBITION 2599 DRAMA มีส่วนร่วม วางแผนผังงานภายนอก และจัดระบบแสง

SKATE DESIGN MODEL ออกแบบสนามเด็กเล่น โดยมีแนวคิด จากความออ่อนนุ่มของเด็ก ทำ�อย่างไรให้เด็กขึ้น กิจกรรมให้เด็กเล่นได้ด้วยตัวเอง

LNVENTORIES แบบจำ�ลอง contour

MODEL ทำ�แบบจำ�ลองให้กับวัดส้มเกลี่ยงเพื่อ นำ � เงิ น มาสร้ า งศาลาจริ ง ซึ่ ง ใช้ เ วลาเวลาช่ ว งปิ ด เทอม

EXHIBITION 2599 DRAMA เป็นหัวหน้าในการจัดระบบเสียงของ ละครซาวประกอบในแต่ละฉากง

MODEL HIROSHIMA PEACE PAPK เป็นส่วนหนึ่งของวิชาhistroy landscapeซิ่งเป็นสนามสาธาณะที่ลำ�ลึกถึงสติภาพ และการใช้อาวุธสงคราม

back



01 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO 01

Srisangwan School Chiangmai โครงการออกแบบพื้นที่กิจกรรมโรงเรียนศรีสงวาน จังหวัดเชียงใหม่

โครงการออกแบบโรงเรียนศรีสังวาลย์จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนพืเศษสำ�หรับเด็กพิการทางด้านร่างกายและสมองมีข้อ จำ � กั ด ในการใช้ ชี วิ ต แบบปกติ จึ ง มี โ ครงการร่ ว มกั บ คณะสถาปั ต ใน การออกแบบพื้ น ที่ เ รี ย นรู้ โ ดยเป็ น ผั ง แม่ บ ทในการพั ฒ นาพื้ น ที่ ด้ า น ข้างโรงเรียนให้เชื่อมต่อและเป็นห้องเรียนและพื้นที่พักผ่อน โครงการ ออกแบบไดถูกไปพัฒนาและสร้างจริงและสามารถช่​่วยเหลือตัวเองได้ มากที่สุด การออกแบบเราต้ อ .งศุึ ก ษาโครงการตั ว อย่ า งหลาย โครงการเพื่อจะให้เกิดความความเข้าใจและสังเกตุการใช้พื้นที่ของเด็ก และบริบทของพื้นที่มีความเชื่อมโยงกันแต่มีแนวกำ�แพงเป็นที่กันเพราะ อย่างนั่นแล้วมองว่า กำ�แพงเป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นตัวแทนความรู้สึกที่ปิด กันนอกจากร่างกายที่ไม่สามารถใช้พื้นที่คนได้อย่างปกติเราจึงดึงแนว กำ�แพงโครงการเก่ามาเป็นตัวเชื่อมโยงและเป็นตัวเชื่อมกิจกรรมเข้าหา กัน โดยการออกแบบพื้นที่แรกติดกับพื้นที่ถนนจริงทำ�ออกแบบให้เป็น ร้านค้าร้านอาหารน้ำ�พักจากการปลูกในโครงการพื้นที่ที่สองมาขาย สร้างรายได้และให้ใช้ชีวิตประจำ�วันได้และในพื้นที่ที่สามเป็นพื้นที่เรียน ในการจัดกิจกรรมต่างๆพื้นที่ทุก่สวนมีความยืดหยุ่นในการใช้งานและ สอดคล้องกับกิจกรรมตลอดทั้งปี ประสบการณ์ที่ได้รับเป็นโครงการแรกที่ได้ออกแบบตั้งแต่ ต้นและได้ทำ�งานเป็นกลุ่มมีบทเรียนมากมายมากวาความอยากได้ส่วน ตัวของเราเองเราจะต้องออกแบบให้สอดคล้องกับผู้ใช้งานจริงให้ความ ใส่ใจและหาความรู้เพิ่มเติมโดยที่เป็นโครงการแรกจึงยังผิดพลาดใน บ้างส่วนแต่ทุกอย่างก็เต็มไปด้วยความหวังดีให้กับเด็กๆและโครงการได้ พัฒนาต่อไปได้


MASTER PLAN LOCATION ตำ�บล หนองหาร อำ�เภอ สันทราย เชียงใหม่ 50290 VERSION เป็นหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาขั้นพื้น ฐานที่มุ่งพัฒนาศักยภาพด้านการศึกษาและ การฟื้นฟูสมรรถภาพของนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางร่างกายและสุขภาพเป็นสถานศึกษาต้นแบบตลอด จนเป็ น ศู น ย์ ก ลางในการเผยแพร่ ค วามรู้ แ ละให้ บริการชุมชนหน่วยงานและองค์กรทั้งในและต่างประเทศโดยการประสานความร่วมมือ จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสร้างเครือข่ายให้ทุกส่วนของสังคมเข้ามามี ส่วนร่วม OBJECTIVE - การเรียนรู้ในพื้นที่ธรรมชาติ - เตรียมตัวใช้ชีวิตจริงในอนาคต - พื้นที่นัทนาการ - พื้นที่ค้าขาย - เรียนรู้เกษตรกรรม

CURATION ZONING


back



02 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO 012HOME

Home Landscape Chiangmai โโครงการออกแบบพื้นบ้านอยู่อาศัย จังหวัดเชียงใหม่

โครงการออกแบบสวนในอยู่ บ ริ เ วณบ้ า นตำ � แหน่ ง สันทรายจังหวัดเชียงใหม่ในพื้นที่มีความเป็นชุมชนของการอยู่อาศัย ที่มีความวุ่นวายเพราะติดกับย่านมหาลัยโดยความต้องการพื้นฐานคือ ความเป็นส่วนตัวและมีงบประมาณที่จำ�กัดโดยเจ้าของอาศัยกันอยู่เป็น ครอบครัวใหม่มีกันสามคนเป็นและมีลูกเล็กพื้นที่บ้านประมานสอง ร้อยตารางวาบ้านเป็นการออกแบบสมัยใหม่ผสมร่วมสมัยมีเส้นสาย ที่ชัดเจนและวางตำ�แหน่งบ้านโดยสถาปนิกส่วนพื้นที่สีเขียวรอบบ้าน ต้องเป็นพื้นที่สามารถให้ทุกคนมาทำ�กิจกรรมร่วมกันและพื้นที่วิ่งเล่น ของลูกชายเจ้าของบ้าน การออกแบบเป็ น เรื่ อ งของความชอบเฉพาะของคนใช้ งานจริ งเพราะพื้ น ที ไ ม่ ไ ด้ มี ข นาดใหญ่ ม ากและวิ ถี ชี วิ ต ในแต่ ล ะของ ครอบครัวนี้ช่วงเวลากลางวันจะทำ�งานบ้านคือที่พักผ่อนในเวลากลาง คืนมักขะมีเพื่อนมาหาที่บ้านบ่อยจริงเกิดแนวคิดการออกแบบคือคำ�ว่า สภาวะน่าสบาย จากความยุ่​่งวุนวานในเวลากลางและจังหวะของชีวิต เริ่มช้าลงเมื่อเข้าอาศัยอยุ่ในบ้านโดยการเชื่อมโยงกันระหว่างภายในสู่ ภายนอกเชื่อมโยงกัน ทำ�ให้เกิดความสบาย ประสบการณ์ที่ได้รับเป็นโปรเจคที่สองได้ทำ�พื้นที่ออกแบบ สวนภายในบ้านและมีความสำ�คัญอย่างมากมีการเรียนรู้ข้อจำ�กัดการ ใช้พื้นที่ให้คุ้มค่ารวมถึงงานระบบและการระบายน้ำ�ภายในบ้านและต่ำ� แหน่งที่ตั้งต่างๆ


แนวคิดความสบายหมายถึงสบาย ถึงกายและสบายทั้งใจ โดยตีความจากเส้นสาย ที่อ่อนไหวและเคลื่อนที่โดยรอบอย่างค่อยเป็น ค่อยไปอย่างเชื่องช้า


back



03 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

MUSEUSM OF AGRICUTURE NORTH โครงการออกแบบพิพิธภัณฑ์เกษตรกรรมภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่

โครงการตั้งอยูใยจังหวัดใหม่ในย่านสันทรายซึ้งเป็นพื้นที่ เกษตรกรรมหนาแน่นซึ่งไม่ห่างจากเมืองซึ้งมีบริบทของพื้นที่ยังเชื่อม ต่ อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ซึ้ ง มี ก ความสั ม พั น ธั ใ นด้ า นเกษตรกรรม การออกแบบได้เริ่มจากกระบวณการทำ�งานในส่วนของการ สำ�รวจประมาณการเข้าใช้งานและพฤติกรรมการใช้เพื่อจะได้ศักยภาพ เพื่ อ การพั ฒ นากิ จ กรรมและความรู้ จ ากการทำ � กิ จ กรรมร่ ว มกั น ไ ด้ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ศึ ก ษ า วิ ถี ชี วิ ต ก า ร ทำ � เกษตรกรรมของภาคเหนื อ ซึ้ ง พื้ น ที่ มี ค วามเป็ น เอกลั ก ษณ์ ชั ด เจนร่ ว มไปถึ ง การทำ � นาขั้ น บั น ไดภู มิ ปั ญ ญาในการใช้ พื้ น ที่ ร ว่ ม กั น และหมู่ บ้ า นจะมี รู ป แบบเดี ย วกั น เดิ ม ไปด้ ว ยความเชื่ อ และการใช้ ธ รรมชาติ เ ป็ น ตั ว กำ � หนดในการทำ � เกษตรกรรม



เรามั ก มี คำ � ถามใกล้ ตั ว ที่ ห าเหตุ ผ ลไม่ ไ้ แ ละยากที่ ห าคำ � ตอบเช่ น คาเรากิ น เพื่ อ นอะไรหลานคนคงมี คำ � ตอบอยุ่ ใ นใจอยู่ แ ล้ ว ซึ่ ง ไม่ ต รงกั น หรื อ ที่ จ ริ ง แล้ ว การกิ น ที่ แ สดงออกถึ ง วั ฒ นธรรมมากมายและแสดงความ ซั บ ซ้ อ นแต่ ใ ครเลยจะรู้ ร ากฐานของการกิ น คื อ กระบวณการผลิ ต หรื อ การเกษตรกรมมซึ่ ง มี ค วามสั ม พั ธ์ กั น อย่ า งเหี ย วแน่ น เริ่ ม ในช่ ว งเริ่ ม ต้ น ของการมี ม นุ ษ ย์ ว่ า มนุ ษ ย์ เ องรู้ จั ด การเอาชนะธรรมชาติ เ พื่ อ การดำ � รงชี วิ ต การยังชีพแท้ไม่ใช่เเพียงแค่กินอิ่มท้องซึ่งกลา่าวได้ว่าสิ่งที่เราทมองข้ามและใช้มัน อย่างไม่เห็นคุณค่าสิ่งนั้นๆใช้อย่างไม่ระมัดระวังเราควรใส่ใจสิ่งเล็กพวกนี้เพราะ มนเป็นรากฐานของการมีชิ​ิวิตอยู่ถ้าเราขาดอาหารก็เป็นเพราะตัวเราเองไม่ใส่ใจให้ สอดคล้องกับบริบทตัวชุมชนเองที่ให้ความสำ�คัญเรื่องการพึงพาอาศัยกันและกัน กินเพื่ออยู่จริงหรอ

back



04 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO 01 HOME

DOI SAKET HOT SPRINGS RESORT AND COMMUNITY โครงการออกแบบรีสอร์ทน้ำ�พุร้อนและพื้นที่สาธาณะชุมชน จังหวัดเชียงใหม่

โครงการตั้งอยู่ในตำ�บลดอยสเก็ต เป็นพื้นที่ที่ติดกับชุมชนและมี ความสำ�คัญของชาวบ้านเนื่องจากมีบ่อน้ำ�พุร้อนโดยถึงว่าเป็นพื้นที่สาธารณะ ทำ�ให้บริบทของพื้นที่มีความหลากหลายในการประกอบกิจกรรมในช่วงเวลาของ เทศกาลมีการใช้งานอย่างหน่าแน่นรวมถึงโดยเฉพาะช่วงฤดูหนาว ซึ่งเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเพื่อสามารถสร้างรายได้ การออกแบบได้ น้ำ � ความเชื่ อ ของบ้ า นไทลื้ อ ซึ่ ง ความเชื่ อ ต่ า งของ ชมชุ น ซึ่ ง การว้ า งผั ง ยึ ด ตามแนวความเชื่ อ โดยแบบพื้ น ที่ เ ป็ น 3ส่ ว นซึ่ ง ได้ แ ก พื้นที่ของพื้นที่ป่าลำ�ดับต่อพื้นที่ทำ�มาหากินและพื้นที่อาศัยซึ่งทำ�ให้เกิดลำ�ดับ การเช้าถึงพื้นที่โครงการและเชื่อมโยงกับชุมชนในบ้างส่วนความแตกต่างของ รี ส อร์ ท แห่ ง นี้ แ บบห้ อ งพั ก แยกจากกั น เป็ น ส่ ว นๆแต่ ล ะส่ ว นจะมี ค วามแตกต่ า ง ด้านวิวและพื้นที่ส่วนของสปาเชื่อมกับพื้นที่บ่อน้ำ�พุได้ทำ�ให้เกิดกิจกรรมของ ชุมชนเข้ามาสร้างรายได้และสร้างแนวตลาดเพื่อให้ชุมชนได้เกิดวิถีชีวิตต่ามเดิม รวมถึงร้านอาหาร สร้างบรรยกาศและลำ�ดับการเข้าถึงที่มีความหลากหลาย ได้รับประสบการณ์และการมีส่วนร่วมได้ศึกษาระบบของการใช้นำ้ �พุ ร้อนและการวางลำ�ดับการเข้าถึงของรีสอทและเส้นทางการบริการซึ่งเป็นหัวใจ ของรีสอทการสร้างบรรยากาศความเป็นส่วนตัวและการวางกิจกรรมเพื่อให้ ชุมชนเข้ามาใช้พื้นที่ได้


ตลาดร่วมไปถึงร้านอาหารร้านกาแฟในโครงกาลที่ดึกศักยภาพของพื้นที่ใน บริเวณที่ติดถนน ที่จอดรถพื้นที่ด้านหน้าเพื่อลดการใช่รถในโครงการ พื้นที่กิจกรรมเป็นต้มไข่ แช่เท้าน้ำ�พุร้อน จุดกางเต้นและลานกิจกรรมชุมชน วิถีชีวิตการใช้งานบ่อน้ำ�ร้อนของชุมชนเดิมและการต้มหน่อไม้ที่อยู่ในพิ้นที่เดิม นาบริเวณที่นาเดิม เราเก็บไว้ และเป็นจุดเด่นอีก1จุดของโครงการเหมาะสมทำ�บ้าน พักที่มองเห็นบ่อร้ำ�พุร้อนและทุ่งนาเดิม โรงแรมส่วนต้อนรับและบริการในโรงแรมจัดกันอยู่เป็นกลุ่มเพื่อลดการใช้พื้นที่ และให้พื้นที่กับพื้นที่สีเขียวแทน


FEATUER WELL ENTRANCE กำ�แพง ปิดล้อมเพื่อซ่อนตัวตนของธรรมชาติ ผู้มาใช่พื่นที่โครงกาล จะเดินมา เพียงแค่ตัวป่าว กับธรรมชาติและกำ�แพงไม้เล่นกับเส้นแนวนอนและโค้งให้รู้สึกลื่น ไหล ไปพร้อมกับช่องเปิดที่มองเห็นไม้พุ่ม LOBBY FEATUER PUND ความหมายของการเดิน ผ่านการปิดล้อมโดยธรรมชาติสร้างบรรยายการน่าหลง ไหลและซ่อนบ้างสิ่งบ้างเก็บไว้ เราเดินผ่านพื้นที่นี้จะได้ยินเสียงน้ำ�โดยที่เรามองไม่ เห็นแต่ได้ยินเสียงใบไม้กระทบลมก่อนจะเจอตัวมันและลานกรวดเป็นจุดเชื่อมของ หลายๆโซนมีความน่าสนใจ ตรงต้นตาลและกรวดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดระหวา งคนเจ้าออก เหมือนเป็นจาลึกว่าเคยมาที่แห่งน

back



05 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

URBAN REPUBLIC LAMPHUM โครงการออกแบบพื้นที่สาธารณะเมืองลำ�ปาง

โครงการออกแบบย่านตัวเมืองลำ�พูนซึ่งมีเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ที่ ยีงมีชีวิตซึ่งเป็นโครงการที่รับการสนับสนุนจากเทศบาลเมืองและโครงการจาก ภาครัฐและกลุ่มบิ๊กทีชุมชนมีความเรียบง่ายและเป็นกันเองเป็นเมืองที่เงียบและไม่ วุ่นวายแต่บางพื้นที่ก็เกิดการใช้งานอย่างไม่เต็มประสิทธิภาพและพื้นที่เกิดมีการ พัฒนาและการเปลี่ยนแปลงมากขึ้ยมีกลุ่มคนรุ่นใหม่เข้าไปใช้งานพื้นที่และเกิด พื้นที่กิจกรรมใหม่ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มงานศิลปินร่วมไปถึงร้านค้าอาคารพาณิชยกร รม แต่สิ่งที่น้อยลงคือคุณค่าของโบราณสถานต่างๆและพื้นที่ถูกทิ้งร้างไปเพราะ ไม่มีจำ�เป้นต่อเมืองหรือร่วมไปถึงพื้นที่ที่มีการเข้าถึงที่ยากไม่เป็นทางภาพถูกปิด รอบจากพื้นที่อื่นซึ่​่งส่วนหนึ่งคือการสันจรมากขึ้น เส้นทางมีการใช้งานร่วมกันจะเกิดพื้นที่ใหม่ภายในเมืองพื้นที่ใหม่ จะเกิดตามวิถีชีวิตเดิมโดยการใช้พื้นที่เก่ามาปรับปรุงเช่นพื้นวัดหรือที่จอดรถ เป็นต้นโดยมองไปถึงปฎิสัมพันธ์ของคนในชุมชน ไม่จำ�เป็นต้องเป็นพื้นที่สี เขียวเท่านั่นแต่หากการพัฒนาเมืองในอนาคตเราสามารถมองเห็นศักยภาพ ตรอกซอกซอยเป็ น พื้ น ที่ สีเ ขี ย วและสร้ า งจุ ด รวมตั ว กั น เพื่ อ เพิ่ ม โอกาสในกา รสร้ า งปฎิ สั ม พั น ธ์ เ พื่ อ เกปิ ด โอกาสการเรี ย นรู้ พื้ น ที่ เ มื อ งเก่ า ซึ่ ง กั น และกั น ประสบการณ์และการมีส่วนร่วม ได้รับการเข้าถึงชุมชนและได้พูด คุ ย กั บ คนในพื้ น ที่ แ ละการสั ง เกตุ ก ารเปลี่ ย นแปลงของการวี ถี ชี วิ ต ในแต่ ล ะ วันและได้นำ�เสนอโครงการให้กับชุมชนในการวางผังแม่บทและได้แก้ไขปันหา เฉพาะหน้ า ต่ า งรวมไปถึ ง การวางแผนเพื่ อ การทำ � งานร่ ว มกั น หน่ ว งงานต่ า งๆ มากกว่ า การเรี ย นคื อ การลงพื้ น ที่ จ ริ ง ซึ่ ง ถื อ ว่ า มี ค่ า มากสำ � หรั บ การเรี ย นรู้



back



back



06 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

COMMUNITY FOREST โครงการออกแบบป่าชุมชนป่าต้นผึ้ง จังหวัดเชียงใหม่

โครงการเพื่อการฟื้นฟูป่าเป้นทรัพยากรพื้นฐานของชุมชน โดยใช้ตัวชี้วัดความอุดมสมบูร์ของป่าเห็ดและเพื่อส่งเสริมชุมชนในด้าน เศรฐษกิจร่วมไปถึงรายได้ต้นทุนการเกษตรกรรมโดยส่งเสริมด้านการ เรียนรู้ทั้งตามหลักสูตรและประสบการณ์ชีวิตร่วมไปถึงสุขภาพและการ ออกกำ�ลังกายโดยมีองค์ประกอบของความรู้ด้านสมุนไพรเพื่อส่งเสริม ด้านสังคมและปฎิพันธ์ความร่วมมือและการแลกเปลี่ยน การออกแบบคือการพัฒนาด้านลำ�ดับการฟื้นฟูโดยช่วยหนึ่ง ปีแรกคือการเตรียมพื้นที่โดนการเริ่มโครวการต่างๆเช่นกาพัฒนาเรื่อง แหล่งน้ำ�เริ่มและระยะช่วยสองปีถึงแปดปีเป็นช่วงการเร่งพื้นฟูหลังจาก การดำ�เนินการก็เป็นช่วงของการรอรับผลผลิตซึ่งเป็นช่วงที่ป่าเริ่มอุดม สมบูรณ์และช่วง21-50ปีก็เป็นป่าฟื้นฟูตัวอย่างและเป็นแหล่งวิจัยระบบ นิเวศและหลังจาก50ปีก็ปีขึ้นไป การมีส่วนร่วมกับประสบการณ์คือการได้ลงพื้นที่และศึกษา พื้นที่ป่าโดยเข้าใจระบบนิเวศโดยมีป่าเป็นหมือนตู้เย็นเป็นซูเปอร์มากเก็ด ที่ใครก็มาเข้ามาหาของกินหรือสร้างความรู้ให้เด็กในชุมชนได้และได้นำ� เสนอกับคนในชุมชนทำ�ให้เกิดการแลกเปลี่ยนกันความรู้ตามวิถีชาวบ้าน



back



07 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

URBAN REPUBLIC SAN SAI LUANG โครงการออกแบบพื้นที่สาธารณะระดับเมือง สันทราย จังหวัดเชียงใหม่

โครงการอยู่ในตำ�บลป่าไผ่อำ�เภอสันทรายจังหวัดเชียงใหม่ โดยพื้นที่มีความสำ�คัญคือเป็นที่เกษตรกรรมแล้วเป็นพื้นที่มี​ีศักยภาพ ด้านทรัพยากรธรรมชาติของป่าไผ่โดยมีห้วยโจ้ที่เป็นแหล่งเก็บน้ำ�หลัก ในพื้นที่ซึ่งพื้นที่ประสบปัญหาด้านการจัดการน้ำ�เนื่องจากมีภัยแล้งอย่าง หนั ก เพราะพื้ น ที่ ไ ม่ มี น้ำ � ในการทำ � เกษตรกรรมมากเพี ย งพอในช่ ว งที่ เป็นหน้าแล้งจริงมีแนวคิดในการพัฒนาตามแผนแม่บทของมหาลัยซึ่ง มหาวิทยาลัยได้มีฟาร์มเกษตรกรรมอยู่ในบริเวณโครงการโดนอยู่ใน ตำ�แหน่งที่มีความชันและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชาวบ้านและมหาลัยในภาค เหนือโดยมีโครงการที่ตั้งเป้าหมายถึง 50 ปีเพื่อพัฒนาพื้นที่มีความ อุดมสมบูรณ์เป็นการผสมผสานแนวคิดการอยู่กับป่าให้สอดคล้องกับ ชุมชนแนวใหม่ที่จะลดพื้นที่การทำ�เกษตรกรรมให้ลดลงและพัฒนาฟาร์ม อัจฉริยะที่ทันสมัยและพัฒนาชุมชนผู้สูงอายุ การออกแบบปัจจัยแรกของโครงคือน้ำ� การจัดการน้ำ�ไหลโดน ดูจากเส้นความชันและภูมิประเทศเพื่อจัดวางต่ำ�แหน่งกิจกรรมเพื่อชุมชน และหาจุดเด่นในแต่ละย่านโดยแบ่งได้ตามเอกลักษณ์ชุมชนเดิมเช่นพัฒนา เป็นเมืองเกษตรกรรมที่มีเมืองเข้าไปรวมเป็นพื้นที่เดียวกับ และชุมชนผู้สูง อายุและพื้นที่เรียนรู้ที่เป็นพื้นที่ป่าและพื้นที่รับน้ำ� ประสบกาณ์ที่ได้รับได้รับรู้และมองภาพใหญ่ระดับการแก้ไข ปัญหาเมืองใหญ่ขึ้นและทำ�ได้ตรงจุดที่ขาดหายไปจริงๆเช่นพื้นที่รับน้ำ� คำ�นวณตามความต้องการขั้นพื้นฐานและจัดการพัฒนาระยะเป็นช่วงให้ เหมาะสมกับกับตัวพื้นที่และได้นำ�เสนอกับตัวผู้ใหญ่บ้านต่างรับรู้และแลก เปลี่ยนความคิดเห็น



back



08 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

URBAN REPUBLIC PAPAI โครงการออกแบบพื้นที่สาธารณะระดับเมือง ป่าไผ่ จังหวัดเชียงใหม่

โครงการเป็นการพัฒนาเส่นทางท่องเที่ยวและพัฒนาเรือง การเข้าถึงโดยพื้นที่​่ร้อยละ70เป็นพื้นที่ราบและอีกร้อยละ30เป็นพื้ยที่ป่า และภูเขาซึ่งไม่มีเหมาะทำ�ที่อยู่อาศัยมากนักวิถึชุมชนเกษตรกรรม อนุรักษ์ ระบบนิ เ วศเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ นเป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ก ระตุ้ น เศรษฐกิตให้ชุมชนโดยมีเป้าหมาย พัฒนาชุมชนเป็นแหล่งท่องเมี่ยวเชิง อนุรักษ์และพื้นที่เรียนรู้ระบบนิเวศเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน แนวคิดในการออกแบบโดยมองเห็นโอกาสในการพัฒนาป่า ให้อุดมสมบูรณ์มีผลผลิตทางเกษตรที่หลากหลายโดยพีฒนาแหล่ง ต้นน้ำ�โดยการลำ�ดับเส้นทางการเข้าถึงพื้นที่เป็นอันดับแรกและทำ�เส้นทาง ให้มีความน่าสน โดยการตั้งคำ�ถามการท่องเที่ยวคืออะไรที่สามารถสร้าง ความสุขช่วยผ่อนควายความเหน็ดเหนื่อยจากการดำ�รงชีวิตที่จำ�เจได้ การเที่ยวท่องเที่ยวคือการเปิดโอกาสใหม่เพื่อเรียนรู้ประสบการณ์แปลก ใหม่ตลอดเวลาการเดินทางด้านต่างๆในชีวิต การพัฒนาการท่องเที่ยว แบบยังยื่นคือการวางแผนทรัยพากรในพื้นที่นำ�มาและทดแทนได้เพื่อ ให้เกิดการหมุนเวียน โดยแบ่งนักท่องเที่ยวตามพื้นที่และกิจกรรมต่างๆ กำ�หนดเส้นทางและโอกาสที่แตกต่างกัน ประสบการณที่ได้รับก็การออกแบบไม่ได้เพื่อความสวยงาม อย่างเดียวแต่การดึงศักยภาพและโอกาสที่สามารถพัฒนาในแนวทางที่ เหมาะสมโดยสัมพันธ์กับการใช้งานของผู้ใช้ในรู้แปปแต่ต่างกัน ดึงความ เป็นย่านในแต่ละหมูบ้านมาใช้และเรียนรู้วิถีชาวบ้านโดยไม่ทำ�ร้ายวิถีชีวิต เดิมเขาเปลี่ยนแปลงไปร่วมไปถึงอนุรักษ์บางอย่​่างเก็บไว้และพัฒนา



back



09 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

WAROROS MARKET RIVERFRONT CHIANG MAI โครงการออกแบบพื้นที่ริมน้ำ�ย่านตลาดวโรรส จังหวัดเชียงใหม่

สวนสาธาณะเป็นพื้นที่สาธารณะที่ประชาชนทุกคนสามารถ เข้าไปใช้บริการได้ซึ่งสวนสาธารณะในเชียงใหม่ยางแห่งมีประชากรเข้ามา ใช้จำ�นวนมากบางแห่งแทบไม่มีการใช้งานและไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ ควรจึงสะท้อนให้เก็นว่าสวนสาธารณะที่ไม่ได้รับความสนใจนั้นยังไม่ได้ รับการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อตอบสนองเพื่อตอบสนองความต้องการ ของประชาชนทำ�ให้จุดประกายความคิดว่าเราควรที่จะพัฒนาสถานที่เหล่า นี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทั้งในด้านส่งเสริมสุขภาพเป็นสถาน ที่พักผ่อนย่อนใจ พร้อมทั้งสร้าวจุดเด่นและสิ่งแวดล้อมโดยอำ�นวย ความสะดวกต่างๆเพื่อดึงดูดประชาชน การออกแบบพื้นที่คำ�นึงถึงเมืองโดยการดูภาพรวมของย่าน นั่นโดยเจาะประเด็นสิ่งที่เมืองขาดเพื่อกระตุ่นและดึงจุดเด่นเราจึงใช้คำ�ว่า รอ มาเป็นแนวคิดหลักโดยการรอของพื้นที่มีความแต่ต่างกันเรื่องของ เวลาทำ�ให้พื้นที่หรือรูปแบบการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันออกไปบ้างคน มีการรอมียาวนานกว่าคนอื่นหรือบ้างคนก็มีเวลารอที่สั้นและเร่งรีบเพราะ ทุกอย่างมีความเฉพาะตัวแล้วจะรูปแบบที่แต่ต่างกันแล้ความแต่ต่างกันจะ มีความสัมพันธ์กันโดยเกิดกิจกรรมกิจกรรมเป็นกลุ่มอยู่ในเวลาพื้นที่ เดียวกันโดยการออกบบแบ่งพื้นที่หลักเป็นพื้นที่ธรรมชาติ ลานคนเมือง และลานกิจกรรมริมน้ำ� โดยทีสะพานเชื่อมโยงระหว่างสองฝั้ง ประสบการณ์ที่ได้รับจากได้เข้าใจพ้นที่สาธารณะที่ก่อให้เกิด กิจกรรมโดยพื้นที่ตอบสนองการใช้งานจากการสังเกตุรูปแบบการใช้ งานพื้นที่เดิมเพื่อให้เข้าใจและสำ�รวจการเปลี่ยนแปลงของย่านและการ คาดการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของย่านแล้วมองไปถึงอดีตด้วยทำ�ให้เรา ได้มองเห็นภาพรวมมากขึ้น


Ecosystem Scape เปิดพื้นที่ให้เข้าถึงสิ่งแวดลอมและรวมพื้นที่ให้เป็นพื้นที่เดียวกัน

Activities Scape แบ่งลำ�ดับการใช้พื้นที่ตามระดับน้ำ�


Stage Scape การใช้พื้นที่รวมกันทั้งสองพื้นที่ทำ�ให้เกิดกิจกรรมพร้อมกัน

Bridge Scape ใช้สะพานสร้างพื้นที่สำ�หรับกิจรรมต่างๆ

Play Scape เป็นสนามเด็กเล่นโดยให้ผู้ใช้ออกแบบต่างกิจกรรมที่ผู้ใช้ต้องการ

back



10 LANDSCAPE ACTHCTURE THESIS

IMPROVEMENT OF RIVERFRONT PUBLIC AREAS, RAMA VI BRIDGE DISTRICT โครงการออกแบบและปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะริมน้ำ� ย่านสะพานพระราม 6 กรุงเทพมหานคร

ศตวรรษเมื อ งกั บ พื้ น ที่ ส าธารณะเป็ น การเปลี่ ย นแปลง ในส่ ว นพื้ น ที่ ส าธารณะของเมื อ งมี ค วามสำ � คั ญ มากขึ้ น เนื่ อ งจาก ประชากรเพิ่ ม ขึ้ น ในชุ ม ชนเมื อ งส่ ง ผลให้ เ มื อ งใหญ่ ต่ า งๆเริ่ ม มี การฟื้ น ฟู ย่ า นต่ า งๆเพื่ อ เตรี ย มรั บ มื อ การเปลี่ ย นแปลงรวมถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ มสอดคล้ อ งกั บ สั ง คมยุ ค ใหม่ โ ดยมี พื้ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ มี ม ากขึ้ น จึ ง เกิ ด การพั ฒ นานระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐานต่ า งๆโดยมี ความสำ � คั ญ มากอย่ า งหนึ่ ง คื อ ระบบเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งเมื อ งหลาก หลายรู ป แบบทำ � ให้ เ กิ ด จุ ด เปลี่ ย นวั ฒ นธรรมและวี ถี ชี วิ ต ในเมื อ ง แนวคิดในการออกแบบโครงการครั้งนี้ Small Sspace ความ เคยชินของพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กซึ่งเชื่อมโยงผ่านเส้นทางระหว่างกัน ก่อให้เกิดสอดคล้องกิจกรรมทางสังคมและชีวิตประจำ�วันกำ�หนดสภาพ แวดล้อมเพื่อให้เอื่อกับกิจกรรม โดยดึงพื้นที่รกร้างมาเชื่อมกิจกรรม ความหลากหลายเพื่อตอบสนองการใช้งานของเส้นทางใหญ่ในพื้นที่ ประสบกาณ์ ที่ ไ ด้ รั บ เป็ น ช่ ว งที่ ย ากลำ � บากแต่ เ ต็ ม ไป ด้ ว ยความสุ ข มี ก ารเตรี ย มพร้ อ มและเริ่ ม โครงการและสิ่ ง ที่ อ ยาก ทำ � ด้ ว ยตั ว เองทำ � ให้ เ กิ ด การเชื่ อ มโยงและการทดลองในบางเรื่ อ ง การลำ � ดั บ ขั้ น ตอนทางความคิ ด ได้ แ ก้ ไ ขปั ญ หาและเป็ น ตั ว จบที่ สามารถพั ฒ นาพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น บ้ า นเกิ ด ตั ว เองได้ ร่ ว มไปถึ ง ใช้ วิ ช า และประสบการณ์ ต ลอดที่ เ รี ย นรู้ ม าเพื่ อ ให้ ง านออกมาได้ สำ � เร็ จ


MEIN CONCEPT การเชื่อมโยงพื้นที่เข้าด้วยกันเนื่องจากพื้นที่ตัดขาดกันจากกันสร้างพื้นที่ที่ให้กลุ่มกลืนไปกับเมือง โดยความคุ้นชินจากการเชื่อมต่อ จากการสร้างพื้นที่ขนาดเล็ก เข้าไปสู้พื้นที่ขนาดใหญ่


CREATE EVENT OF VARLOR SCALE AND EXISTING ACTIVLTIES

ZONE SPACE

CONNECT SPACE

INTERACTION SPACE

GREEN SPACE


EMERGY MUSEUM PARK

CONNECT SPACE

ZONE SPACE

ACTIVITES SPACE

LEARNING AND PLAY SCAPCE

CONNECT SPACE

BRIDGE SPACE

ACTIVITES SPACE

zone lighing park

CONNECT SPACE

BRIDGE SPACE

ACTIVITES SPACE


FESTIVAL PARK UNDERPASS

CONNECT SPACE

ACTIVITES SPACE

TIMELINE SPACE

FLEXBILITY UNDERPASS

SPACE

FLEXBILITY SPACE

FAST AND SLOW

GREEN RAMP

UNEAN FARN

THEATER SPACE

back



11 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDIO

CONSTRUCTION DRAWINGS AND DETAILS FOR LANDSCAPE


CONSTRUCTION DRAWINGS AND DETAILS FOR LANDSCAPE GRADING RESORT AND SPA


DRAWINGS LIGHUING DETAIL

อ.ยุทธภูมิ เผ่าจินดา

นายนราธร มุลเมืองแสน 5519103508 อัษฎาวุธ ทวีกลุ 5519103525

858

214222 588 208

858

1232

1797

1185

1234

250

770

1000 2020

850

1200

850

2300

1200

ROOF GARDEN LIGHTING LANDSCAPE

1110

1000

1000

885

1765

3995

283

623

1765

1385

480

1000

500 200300

830

1200

370

790

4215

1640 1640

23/05/2559

100

100

100

100

100

อ.ยุทธภูมิ เผ่าจินดา

60

100

100

100

500

60

100

นายนราธร มุลเมืองแสน 5519103508 อัษฎาวุธ ทวีกลุ 5519103525

300

100

100

100

100

100

100

100

60

80

100

800

100

60

100

100

ROOF GARDEN LIGHTING LANDSCAPE

600

.

100

งโดยผูเ้ ชียวชาญ) . งโดยผูเ้ ชียวชาญ) Lumitron Lumitron

หัวขนาด mm (ติดตั สาย Fiber Optic Cable ขนาด หัวขนาด mm (ติดตั สาย Fiber Optic Cable ขนาด

mm 30/60 M. mm 30/60 M.

23/05/2559



12 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDENT INTERNSHIP

1819 Landscape Architectural Design Studio ฝึกงานกับ บริษัท 1819 ช่วงปีที่ 2 เป็นสำ�นักงานการออกแบบขนาดเล็กและมีงานเกี่ยวกับอสังหา งานที่ได้รับมอบหมายกราฟฟิตและผังโครงการร่วมไปถึงการเขียนแบบ ก่อสร้างเรียนรู้ถึงหลักการทำ�งานในพื้นที่ขณะก่อสร้าง ทำ�ให้รู้จักการ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในสถานการณ์ที่ต่างออกไปได้รับความรู้ในส่วน ของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆที่ใช้ในการทำ�งาน


โครงการ GRANADA PLNKLAO PETCHKASEM

โครงการ MIX USE SRIRACHA

โครงการ SIAMNUWAT CONDO AT PATCHBURI

โครงการ METROLUXX RATCHADA


เป็ น สถานประกอบการแห่ ง แรกที่ ผ มได้ เ ข้ า ไป ฝึกงานและเรียนรู้เป็นเวลา 4 เดือนเป็นช่วงเวลาปิดเทอม ผมได้เรียนรู้อะไรมากมายจากที่นี้เพราะผมอยู่ในปีการศึกษา ที่ 2 เปิดการเปิดโลกในการทำ�งานจริงและงานส่วนใหญ่ที่ ได้รับมอบหมายคือการเขียนแบบและการทำ�กราฟิตนำ�เสนอ โครงการและการออกแบบบางส่วนเช่นทางเดิน ศาลาขนาดเล็ก และได้รับโอกาสในการทำ�งานโครงการออกแบบตั้งแต่ต้นโดย เป็นการออกแบบสวนภายในบ้านพักอาศัยและได้เขียนแบบ ก่อสร้างจากแนวคิดถือเป็นประสบการณ์ที่สำ�คัญและได้เรียน รู้สิ่งต่างจากมุมมองของนักศึกษา ได้มีส่วนร่วมกับโครงการต่างๆโดยมี่รุ่นพี่ค่อยดู และควบคุมดูแลและให้ความรู้ในระยะเวลา 4 เดือนได้มีส่วน ร่วมงานถึง 6 โครงการ

โครงการ HOMELANDSCAPE DUE

โครงการ PRUKSAVILLE 68



13 LANDSCAPE ACTHCTURE STUDENT INTERNSHIP

VVDESINE LANDSCAPE ARCHITECT COMPANY LIMITED นักศึกษาฝึกงานในช่วง ชั้นปีที่ 5

บริษัท VVdesine มีความความเชื่อมั่นในสิ่งที่ตัวเองสามารถพัฒนาผลงานโดยความ เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก้สามารถเรียนรู้งานและปฏิบัติงานได้หลากหลายเพราะได้ทำ�หลาย หน้าที่และมีความรับผิดชอบมากขึ้นทำ�ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของงานออกแบบมีความใส่ใจและ ความสนุกกับไปผลงานถูกนำ�เสนอจากออฟฟิต ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้เรียนรู้จากโครงการจริงรุ่นพี่และเจ้าของออฟฟิศมักจะให้ออก ตรวจใซงานร่วมกันเพื่อเรียนรู้จากงานต่างๆโดยตรงและเรียนรู้ส่ิงต่างๆจากการทำ�งานโดยการ ติดต่อประสานงานด้วยตัวเองในส่วนที่รับอย่างมีลำ�ดับขั้นตอน และได้พัฒนาความคิดและทักษะที่ สามารถนำ�มาใช้ในวิชาชีพได้ จนเกิดความรับผิดชอบและความมั่นใจในตนเองมากขึ้น มีความพร้อม ในการรับผิดชอบต่อหน้าที่ได้รับมอบหมายมากขึ้น ฝึกความเป็นระเบียบวินัยการตรงต่อเวลา ความ รับผิดชอบและความซื่อสัตย์ ซึ่งเป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งในสังคมของการทำ�งาน โดยมีส่วนร่วมระบ ผิดชอบงานดังนี้ - โครงการ QUARTER THONGLOR ทองหล่อ ได้รับผิดชอบในการเขียนแบบ ก่อสร้างและทำ�แบบนำ�เสนอส่วนที่เป็นพื้นที่ส่วนกลางและได้ติดต่อพี่เจ้าของออฟฟิตตรวจโครงการ - โครงการ FYNN 31 ได้รับมอบหมายในการเขียนแบบช่วยรุ่นพี่ในออฟฟิตบ้างส่วน และส่วนของสำ�นักงานขายได้รับมอบหมายเขียนแบบแก้ไขของหน้างานบ้างส่วนตามเจ้าของออฟฟิต เป็นคนค่อยชี้แนะ - โครงการ LYSS RATCHAYOTHOIN ได้รับมอบหมายเขียนแบบขยายบ้างส่วนใน บริเวณพื้นที่ส่วนกลางและรั่วโครงการและมีส่วนร่วมในการเขียนแบบสำ�นักงานขาย - โครงการ หมู่บ้านจัดสรร KRUNGTHEP KREETA ได้รับมอบหมายทำ�กราฟฟิก วิเคราะห์ผังโครงการและการทำ�แบบนำ�เสนอบ้างส่วนและร่วมประชุมโดยการทำ�บันทึกการประชุมโดย เจ้าของอฟฟิศเป็นผู้ให้ความรู้ - โครง D CONDO กำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม ขั้นตอนการนำ�เสนอแนวความคิด โครงการเป็นการนำ�เสนอเพื่อนำ�ไปหาจุดเด่นของโครงการและเอาแค่บรรยากาศโครงการการและภาพ รวมของโครงการโดยการพัฒนาแบบจะถูกพัฒนาไปตามการประชุม สิ่งที่ได้รับคือการเรียนรู้จากการทำ�งานจริงและได้รับผิดชอบให้รู้หน้าที่และการดูแล อบรมและสิ่งสำ�คัญคือพี่ๆค่อยบอกเสมอเรื่องการใส่ใจงานไม่ไว้และอยากอย่างหนึ่งคือการยอมรับ ผิดและแก้ไขงานนั่นให้ออกมาดีเสมอ


โครงการ QUARTER THONGLOR ทองหล่อ

โครงการ FYNN 31 สำ�นักงานขาย

โครงการ หมู่บ้านจัดสรร KRUNGTHEP KREETA

D CONDO กำ�แพงแสน


ได้มีส่วนร่วมในการเลือกต้น มาปลกูในโครงการต่างๆ เช่น โครงการ fnyy31 โดยมีพี่ๆค่อยแนะนำ�

ได้เรียนรู้การวิเคราห์พื้นที่รอบ ข้างและใช้ต้นไม้ในการแกปัญหาโดยมีพี่ค่อย ให้ความรู้รห่ว่างทำ�งานอยู่ในพื้นที่โครงการ

ได้เรียนรู้จากการตรวจพื้นที่หน้า งานและการแก้ปัญหาต่างๆเป็นประสบการณ ที่มากกว่าการเขียนแบบ

ได้เรียนรู้จากการตรวจพื้นที่หน้า งานและการแก้ปัญหาต่างๆเป็นประสบการณ ที่มากกว่าการเขียนแบบ

ได้เรียนรู้จากการเขียนแบบ โครงการหมู่บ้านจัดสรรเป็นการออกแบบ ประตูรั่วและการประสานงานกับหน่วยงาน ต่างๆรวมถึงบันทึกการประชุมเพื่อช่วยในการ

ได้เรียนรู้จากการเขียนแบบ ก่อสร้างสำ�นักงานขายโดยเป้นผู้ช่วยโดยมีรุ่น พี่ค่อยดูแล

ได้เรียนรู้จากวิเคราห์ะผังแล้วการ มองการตลาดและกลุ้มคนใช้งานมาตีเป็น แนวคิดและการวางผังและทำ�กราฟิกนำ�เสนอ

ไดมีส่วนร่วมงนการเขียนแบบและ การทำ�แบบนำ�เสนอพื้นที่ส่วนกลางตามคำ� แนะนำ�จากรุ่นพี่

โครงการ LYSS สำ�นักงานขาย

back


THANK

bac


K YOU

ck


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.