หนังสือพิมพ์นครโพสต์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 164 เดือนพฤศจิกายน 2557

Page 1

โรงแรมตะมาลี เดือนพฤศจิกายน 2557

ปีที่ 10 ฉบับที่ 164

FREE COPY

93 MHz คิดดี ท�ำดี ที่นี่เมืองนคร

ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน 2557

1

086-479-1946 FREE COPY

ดร.โจ

ผู้ว่าฯ คนใหม่ RADIO COMMUNITY

วิศวกรโยธาจากอเมริกา

ผู้บุกเบิกทางเลือกใหม่ ธุรกิจพลังงานทดแทน เพื่อสังคมและชุมชน

อ่านต่อ น.8

รางวัลองค์กรสื่อสิ่งพิมพ์ดีเด่น จังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2549

ส�ำนักข่าวนครโพสต์ 2/1 ซอยอัศวรักษ์ 1 ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000


2

เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

สภา มวล.ออกแถลงการณ์พักงานอธิการฯ 40 วัน

สภามหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ อ อกแถลงการณ์ แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ การด�ำเนินการก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อม ระบบสาธารณูประการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมอนุมัติอธิการฯ ลาพักระหว่างสอบสวน 40 วัน แฉเบื้องหลังมวลชนฮือขับไล่เหตุยกเลิกสัญญา ก่อสร้างกับกิจการร่วมค้า พี วี ที

จากกรณีที่กลุ่มพลังมวลชนประมาณ 300-400 คน รวมตั ว กั น บริ เ วณลานหน้ า ตึ ก อ� ำ นวยการมหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์ โจมตี ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร อธิการบดีมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ (มวล.) อธิการบดีว่าเป็นผู้ขัดขวางโครงการก่อสร้าง ศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ไม่ต้องการอธิการ คนภายนอกพื้นที่ ทั้งนี้เนื่องจากอธิการบดีฯ ได้มีหนังสือขอบอกเลิก สัญญาก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อมระบบสาธารณูปการกับบริษัท กิจการร่วมค้า พี วี ที ในขณะที่ ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร ชี้แจงว่าหลังจาก ที่ทางมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้ตรวจสอบหนังสือค�้ำประกันสัญญาไปยัง ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และได้รับแจ้งยืนยันจากธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ว่าหนังสือค�้ำประกันสัญญาดังกล่าว ไม่ได้ออก โดยธนาคารหรือสาขาของธนาคาร ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน)

นครศรีฯ เปิดไบค์เลนนำ�ร่อง

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้เปิดถนน จักรยานยนต์ หรือที่เรียกว่า ไบค์เลน หรือช่องทางส�ำหรับจักรยาน โดยเฉพาะเป็นจังหวัดแรกในประเทศไทยแล้ว หลังจากที่มีนโยบาย จังหวัดน�ำร่อง 10 จังหวัดของประเทศไทยที่จะต้องมีถนนจักรยานให้ ประชาชนใช้ปั่นจักรยานออกก�ำลังกาย และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง คาดไม่ถึงที่ชาวนครศรีธรรมราช ให้ความสนใจต่อการปั่น จักรยานอย่างล้นหลาม ชมรมจักรยานมีสมาชิกจ�ำนวนมาก ในส่วน ของถนนจักรยานสายนี้ได้ยกให้ชาวจักรยานนครศรีธรรมราชไปแล้ว โดยในช่วงเวลา 16 นาฬิกา จนถึง 19 นาฬิกา จะต้องมีเจ้าหน้าที่ เข้ามาดูแลเรื่องของความปลอดภัย และช่วงนั้นจะต้องมีการจ�ำกัด ความเร็วของรถยนต์ที่ใช้เส้นทางนี้ด้วย ส่วนเรื่องของป้ายจราจรต่างๆ นั้น ทางส�ำนักงานทางหลวงชนบท รับที่จะเป็นเจ้าภาพในการจัดสรร งบประมาณมาติดตั้งป้ายจราจรให้มีความชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะ ช่องทางจักรยาน และการเข้มงวดในเรื่องของความเร็ว โดยในส่วนของนครศรีธรรมราช ได้เลือกเอาถนนตัดใหม่ หรือถนนเลียบทางรถไฟช่วงต�ำบลโพธิ์เสด็จ ไปจนถึงต�ำบลนาพรุ อ�ำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีระยะทางยาว 6.3 กิโลเมตร ตลอด 2 ข้างทางเป็นทุ่งนา และทางรถไฟ บรรยากาศในช่วงเช้าและ เย็น เป็นบรรยากาศแบบสบายๆ ชายทุ่งมีนักจักรยานหลายร้อยคน ร่วมกันปั่นทั้งช่วงเช่ามืด และช่วงเย็นของทุกวัน

โดยธนาคารกสิกรไทย ได้ท�ำหนังสือแจ้งมหาวิทยาลัยอย่าง เป็นลายลักษณ์อักษรตามหนังสือเลขที่ ตผ. 0054 นศ./394 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2557 เรื่องโครงการก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อมระบบ สาธารณูปการของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งส�ำนักงานการตรวจเงิน แผ่ นดิ นให้ บอกเลิ ก สั ญ ญาก่ อ สร้ า งอาคารศู นย์ ก ารแพทย์ พ ร้ อ มระบบ สาธารณูปการ กับบริษัทกิจการร่วมค้า พี วี ที เนื่องจากบริษัทกิจการ ร่วมค้า พี วี ที ใช้เอกสารปลอมเพื่อประกอบการท�ำสัญญากับมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการปฏิบัติผิดเงื่อนไขตามสัญญาจ้างอันเป็นสาระส�ำคัญ” ทาง มหาวิทยาลัย จึงได้แจ้งขอบอกเลิกสัญญาการก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์ พร้อมระบบสาธารณูปการกับกิจการร่วมค้า พี วี ที ตามหนังสือลงวันที่ 21 ตุลาคม 2557 ท�ำให้กลุ่มพลังมวลชนเกรงว่าโครงการก่อสร้างอาคาร ศูนย์การแพทย์พร้อมระบบสาธารณูปการของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จึงมารวมตัวกันเพื่อเรียกร้องและขับไล่ ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร ให้พ้นจาก ต�ำแหน่งหน้าที่เมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2557 ตามที่ได้เสนอข่าวไปแล้วนั้น (10 พ.ย.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่าในวันที่ 8 พ.ย. 2557 ที่ผ่านมา สภามหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ไ ด้ ส ่ ง แถลงการณ์ ไ ปยั ง สื่ อ มวลชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องความว่า สภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 6/2557 วันเสาร์ ที่ 8 พฤศจิกายน 2557 ได้มีวาระส�ำคัญเข้าสู่ฟการ พิ จ ารณาของสภาเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการก่ อ สร้ า งอาคารศู น ย์ ก ารแพทย์ พร้อมระบบสาธารรูปการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยสภามหาวิทยาลัย ได้รับฟังผลการติดตามตรวจสอบ ของคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รวมถึงการ รายงานของอธิการบดีในเรื่องดังกล่าว ผนวกกับข้อร้องเรียนจากบุคคล ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยได้มีมติเห็นพ้อง ต้องกัน ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อประโยชน์ในด้านการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัย สภา มหาวิ ท ยาลั ย ยื น ยั น สนบสนุ น ให้ เ กิ ด ศู น ย์ ก ารแพทย์ พ ร้ อ มระบบ สาธารณูปการ และมีนโยบายชัดเจนให้เร่งรัดการด�ำเนินการก่อสร้างให้ แล้วเสร็จอย่างถูกต้องต่อไป 2. แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการด�ำเนิน การก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อมระบบสาธารณูปการมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ โดยมีประธานกรรมการเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากสภามหาวิทยาลัย และให้ด�ำเนินการโดยเร็วที่สุด แต่ไม่เกิน 40 วัน 3. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินความเสียหายของผู้เกี่ยวข้อง โดยมีประธานกรรมการเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ จากสภามหาวิทยาลัย เพื่อ ประเมินทั้งในส่วนของมหาวิทยาลัยและในส่วนผู้ที่ได้รับความเสียหาย จากการก่ อ สร้ า งอาคารศู น ย์ ก าร-แพทย์ พ ร้ อ มระบบสาธารณู ป การ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และให้ด�ำเนินการโดยเร็วที่สุด แต่ไม่เกิน 40 วัน 4. อนุมัติการลาพักการปฏิบัติงานของอธิการบดี (ดร.กรีรัตน์ สงวนไทร) เป็นเวลา 40 วัน ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 เป็นต้นไป

เพื่อให้การสืบสวนดังกล่าวเป็นไปโดยสะดวก 5. อนุมัติแต่งตั้ง ดร.สุเมธ แย้มนุ่น กรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ รักษาการแทนอธิการบดีในช่วงเวลา 40 วัน ดังกล่าว ตั้งแต่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 เป็นต้นไป ทั้งนี้ผลของการด�ำเนินการในข้อ 2 และ 3 ด�ำเนินการให้แล้วเสร็จไม่เกิน 40 วัน และน�ำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ ในการประชุมสภามหาวิทยาลัยครั้งต่อไปในวันที่ 20 ธันวาคม 2557 ...แถลงการณ์ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 ผู ้ สื่ อ ข่ า วรายงานว่ า การลงนามสั ญ ญาจ้ า งก่ อ สร้ า งอาคาร ศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มูลค่า 2,158 ล้านบาท ได้ท�ำ พิธีลงนามสัญญาจ้างกันเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2556 ณ หน่วยประสานงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กรุงเทพมหานคร ระหว่าง ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กับ นายชินวัตร ลี้สมบุญ กรรมการ ผู้จัดการกิจการร่วมค้า พี วี ที โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นประธาน และกรรมการ สภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และตัวแทน จากกิจการร่วมค้า พี วี ที ร่วมเป็นสักขีพยาน โดยเป็นที่น่าสังเกตว่าการลงนามสัญญาโครงการขนาดใหญ่ มูลคากว่า 2,158 ล้านบาท ทาง ดร.กรีรัตน์ สงวนไทร อธิการบดีมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ และคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องน่าจะมีการตรวจสอบหลักฐาน หนังสือค�้ำประกันสัญญาค�้ำประกันให้ชัดเจนก่อนพิธีลงนาม จึงเชื่อว่าทั้ง ตัวอธิการบดีและคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องรวมทั้งกลุ่มผู้บริหารกิจการ ร่วมค้า พี วี ที น่าจะร่วมสมคบกันลงนามในสัญญาก่อสร้างฯ ทั้งๆ ที่รู้ว่า หลักฐานหนังสือค�้ำประกันสัญญาค�้ำประกันเป็นของปลอม จนเมื่อมีการ ถมดินปรับพื้นที่และก่อสร้างโครงสร้างอาคารศูนย์การแพทย์ ในกลุ่ม ผู้รับเหมาช่วง ซึ่งเป็นผู้กว้างขวางในพื้นที่ขัดประโยชน์กันอย่างรุนแรง จนเมื่อประมาณเดือนก่อนหน้านี้ได้มีการร้องเรียนไปยังส�ำนักงานตรวจเงิน แผ่นดินให้มีการตรวจสอบหลักฐานหนังสือค�้ำประกันสัญญาค�้ำประกัน จนพบว่าเป็นหลักฐานหนังสือค�้ำประกันสัญญาค�้ำประกันปลอมดังกล่าว ซึ่ง ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร ได้แจ้งให้ทางผู้บริหารกิจการร่วมค้า พี วี ที น�ำหนังสือค�้ำประกันสัญญาใหม่มาแทนหนังสือสัญญาค�้ำประกันเดิม แต่ทางผู้บริหารกิจการร่วมค้า พี วี ที ด�ำเนินการล่าช้าจนทางส�ำนักงาน ตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ได้ ท� ำ หนั ง สื อ แจ้ ง มหาวิ ท ยาลั ย อย่ า งเป็ นลายลั ก ษณ์ อักษรตามหนังสือเลขที่ ตผ. 0054 นศ./394 ลงวันที่ 19 สิงหาคม2557 ให้ มหาวิทยาลัยฯ บอกเลิกสัญญาก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อมระบบ สาธารณูปการกับกิจการร่วมค้า พี วี ที ทาง ดร.กีร์รัตน์ ยังพยายาม เตะถ่วงเวลาออกไปอีก 3 เดือน เพื่อรอให้ กิจการร่วมค้า พี วี ที หาหนังสือ ค�้ำประกันสัญญามาแทนให้ถูกต้อง แต่เมื่อไม่สามารถรอต่อไปได้ทาง ดร.กีร์รัตน์ จึ ง ท� ำ หนั ง สื อ ขอบอกเลิ ก สั ญ ญาค�้ ำ ประกั น การก่ อ สร้ า งอาคารศู น ย์ การแพทย์พร้อมระบบสาธารณูปการกับกิจการร่วมค้า พี วี ที ตามหนังสือ ลงวันที่วันที่ 21 ตุลาคม 2557


เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น

ตื่นรูแ้ ละตื่นตัว

3

เริ่มเปิดฉากอย่างเป็นทางการแล้วส�ำหรับสภา ปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ทั้งกับภารกิจส�ำคัญคือการยกร่าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่และการออกแบบการปฏิรูปประเทศไทย “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” เกาะติดและน�ำเสนอสู่ท่านผู้อ่าน เพื่อจะได้เท่าทันต่อกระแสและสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง อย่างที่จั่วหัวไว้ ภาพฝันอนาคตประเทศไทยใน 20 ปีข้างหน้า ภายใต้วาทกรรม “วิสัยทัศน์-ภิวัฒน์ไทย” เป็น ประมวลสรุปจากความเห็นสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติในการ สัมมนา “สานพลัง สปช.ออกแบบอนาคตประเทศไทย” เมื่อ 9-10 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา ซึ่งมีข้อสรุปเบื้องต้น ใน 4 เนื้อหาหลัก ครอบคลุม 11 ประเด็น ซึ่งเนื้อหาหลัก 4 ด้านดังกล่าว ประกอบด้วย เนื้อหาหลักเกี่ยวกับภาพรวม เนื้อหาหลักด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และเนื้อหาหลักด้าน การเมืองการปกครอง

สร้างความตื่นเต้น โกลาหล กันไปทั่วทั้งเมือง กับกรณีเทศบาลนครนครศรีธรรมราช สั่งการหน่วยงานและ เจ้าหน้าที่ในสังกัด ออกรถแห่ประกาศเตือนให้พี่น้องประชาชน ในจุดเสี่ยง ในชุมชนต่างๆ ทั่วทั้งเขตเทศบาล เตรียมความพร้อม ฉบับนี้ “ส�ำนักข่าว เก็บของขึ้นที่สูง รองรับภาวะวิกฤติน�้ำท่วมเมือง นัยว่าเป็นการ แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการบริหารจัดการสถานการณ์โดย นครโพสต์” ขออนุญาต คณะผู้บริหารเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ภายใต้การน�ำของ ผู้อ่าน น�ำเสนอเฉพาะ ประเด็นที่นา่ สนใจและ นายเชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช เกี่ยวข้องกับชุมชนท้องถิ่น ด้านหนึ่ง มองได้ว่า นี่คือเจตนาดี เป็นความปรารถนาดี ของเราๆ ท่านๆ เป็นเนื้อหา เพื่อให้พี่น้องประชาชนในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช หลักด้านที่ 4 การเมือง ได้เตรียมตัวให้พร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น การปกครอง ในประเด็นที่ 8 เนื่องจากภาวะฝนตกหนักเพราะอิทธิพลของหย่อมความกด ว่าด้วยการกระจายอ�ำนาจและกระจายศูนย์กลางความเจริญ อากาศต�่ำที่ปกคลุมภาคใต้ แต่กลับมีข้อเท็จจริงว่า ทางเทศบาล ทางเศรษฐกิจออกจากส่วนกลาง ซึ่งประกอบด้วยแนวทาง นครนครศรีธรรมราช ได้ฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาอุทกภัย ส�ำคัญ 5 ประการ ดังนี้ ประจ�ำปี 2557 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการให้ความ 8.1 การกระจายอ�ำนาจทางการคลัง และปรับ ช่วยเหลือประชาชนได้อย่างทันท่วงที ให้แก่ผู้น�ำชุมชนทั้ง 62 โครงสร้างภาษีในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ชุมชน ท่ามกลางสายฝนที่ตกลงมาอย่างต่อเนื่องในช่วงเช้าของ 8.2 สร้างพลังภาคประชาสังคม/พลเมืองให้เป็น วันเดียวกันนั้นเอง เจ้าของอ�ำนาจ 8.3 ลดทอนโครงสร้างส่วนกลางในภารกิจที่ท้องถิ่น คงไม่ใช่เรื่องสุกเอาเผากิน เป็นแต่เพียงภัยธรรมชาติ สามารถดูแลจัดการเองได้ มาถึงในช่วงวันเดียวกันกับการฝึกซ้อม หรือฝึกซ้อมภายใต้ 8.4 พัฒนาระบบตรวจสอบการใช้อ�ำนาจ โดยปรับ สถานการณ์จริง บทบาทและความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนภูมิภาคและ อีกด้านหนึ่ง ก็มองได้เช่นกันว่า ศูนย์อ�ำนวยการและ ท้องถิ่น 8.5 วางระบบโครงสร้างส�ำคัญเพื่อรองรับการพัฒนา ป้องกันบรรเทาอุทกภัยเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ซึ่งจัดให้ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการไปในช่วงเช้าวันเดียวกันนั้น ซึ่งนอกจาก ในพื้นที่ ภารกิจเตรียมความพร้อมป้องกันและบรรเทาอุทกภัย ทั้งก่อน ขยายความเพิ่มเติมว่า ทั้งเนื้อหาหลัก 4 ด้าน และ ระหว่าง และหลังเกิดเหตุ ยังมีการติดตามสถานการณ์ภูมิอากาศ 11 ประเด็น แล้วแตกย่อยเป็นแนวทางส�ำคัญของแต่ละประเด็น ปริมาณฝน ระดับน�้ำในคลองสายหลัก การบริหารการจัดการน�้ำ นั้น ทางสภาปฏิรูปแห่งชาติระบุไว้ว่า เป็นไปโดยมีวัตถุประสงค์ เป็นศูนย์ที่ไร้ซึ่งประสิทธิภาพโดยสิ้นเชิง ทั้งยังสะท้อนความไร้ซึ่ง เพื่อ ให้คณะกรรมาธิการชุดต่างๆ น�ำไปหารือและขยายความ ศักยภาพ องค์ความรู้ ความเข้าใจ ต่อการบริหารสถานการณ์น�้ำ เชิงลึกต่อไป รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ที่จะเปิดรับฟัง อย่างสิ้นสงสัยอีกเช่นกัน ความเห็นของประชาชนต่อการปฏิรูปในด้านต่างๆ เพื่อสภา

ปฏิรูปแห่งชาติจะได้น�ำมาประกอบการยกร่างแนวทางการ ปฏิรูปต่อไป “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” เชื่อมั่น วิถีชีวิตและจริตคน เมืองนคร ชมชอบเรื่องราวทางการเมืองการปกครอง ปลายปีที่ ผ่านมา 2556 กระแสปฏิรูปประเทศไทยกลายเป็นกระแสสูงใน สังคมประเทศนี้ รวมทั้งนครศรีธรรมราชบ้านเรา ผ่านมาเกือบ ครบขวบปี สิ่งที่เรียกร้องได้รับการสนองตอบ และรอรับการมี ส่วนร่วมเพื่อออกแบบอนาคตประเทศไทย เป็นภาพฝันอนาคต

วิสัยทัศน์-ภิวัฒน์ไทย : ภาพฝันอนาคตประเทศไทย ใน 20 ปีข้างหน้า

ข้อเท็จจริงที่ปราศจากความกังขาก็คือ มีน�้ำท่วมขัง ในบางพื้นที่บางชุมชน อันเนื่องมาจากฝนตกหนัก และระบบ ระบายน�้ำที่เป็นอยู่ของเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ไม่อาจ รองรับได้ แต่เป็นเพียงจ�ำนวนน้อย และสถานการณ์ก็คลี่คลาย ในเวลาอันรวดเร็ว

ประเทศไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า อนาคตประเทศไทยในอีก 20 ปี ข้างหน้า และ อนาคตจังหวัดนครศรีธรรมราชในอีก 20 ปีข้างหน้า หรือ อนาคตเทศบาลนครนครศรีธรรมราชในอีก 20 ปีข้างหน้า ล้วน เป็นเรื่องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันโดยมิอาจแบ่งแยก

ประเด็นที่ 8 ว่าด้วยการกระจายอ�ำนาจและกระจาย ศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจออกจากส่วนกลาง ซึ่ง ประกอบด้วยแนวทางส�ำคัญ 5 ประการ ดังที่กล่าวมา

พี่น้องชาวนครศรีธรรมราช คิดเห็นกันเช่นไร เมื่อ เวลาของการมีส่วนร่วมมาถึง โปรดชี้แนะให้ สปช. รับไปพิจารณา ด�ำเนินการ จะได้มากได้น้อยเพียงใด แค่ไหน ก็ขึ้นอยู่กับพลัง ของพี่น้องประชาชนทุกคน

ถึงเวลานับถอยหลัง...ให้เสียงนกหวีดกับแฟชั่น สัญลักษณ์ธงไตรรงค์...แปรเปลี่ยนเป็นรูปธรรมแห่งพลังของการ ปฏิรูป

หรือว่าเหล่านั้น...กลายเป็นเพียงสิ่งช�ำรุดทาง ประวัติศาสตร์ไปเสียแล้ว ! ?

อีกหนึ่งข้อเท็จจริงที่สิ้นสงสัยอีกเช่นเดียวกัน ก็คือ คณะผู้บริหารเทศบาลนครนครศรีธรรมราช รู้ไม่จริง ไร้ประสบการณ์ ไม่มีฝีมือ ขาดกึ๋น ในการบริหารจัดการสถานการณ์น�้ำในภาพรวม ทั้งระบบ ตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ ปริมาณน�้ำฝน ระดับน�้ำในคลองสายหลัก สภาพการไหล การกักเก็บ ฯลฯ เหล่านี้ไม่มีอยู่ในรอยหยักของภูมิปัญญาในฐานะฝ่ายบริหาร

ตื่นตูม ตื่นเต้น และตื้นเขิน จึงมาปรากฏให้เห็น แทนที่การตื่นรู้และตื่นตัว...

เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น เจ้าของ : สหกรณ์ผู้สื่อข่าวจังหวัด นครศรีธรรมราช ประธานที่ปรึกษา : ดร.เพ็ญพร เกตุชาติ คณะที่ปรึกษา : ดร.กณพ เกตุชาติ, ภาวินทร์ ณ พัทลุง มานะ นวลหวาน, อครพล หนูทวี, สุทัศน์ เดชเดโช, ฉัตรชัย อรุณสุวรรณกร, ด.ต.นิรภัฏ วัฒนประเสริฐกุล, ดร.ณัฐวุฒิ ภารพบ ผู้อ�ำนวยการ : สุรโรจน์ นวลมังสอ ที่ปรึกษากฎหมาย : สมชาย ฝั่งชลจิตร บรรณาธิการที่ปรึกษา : เลิศ อักษรนิตย์ สาธิต รักกมล บรรณาธิการอาวุโส : จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร บรรณาธิการบริหาร : สุรโรจน์ นวลมังสอ

บรรณาธิการ : ณรงค์ ธีระกุล หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ไพฑูรย์ อินทศิลา กองบรรณาธิการ : กฤษณะ ทิวัตถ์สิริกุล จอม กิจวิบูลย์ ณัฏฐ์ ธีระกุล ณัฐชนา ฤทธิผล กนกลักษณ์ เส้งคง รูปเล่ม/จัดหน้า : เมาลิด จิตต์ประไพย หัวหน้าฝ่ายโฆษณา : จรินท์พร บุญชัก ฝ่ายโฆษณา : ปราณี กาญจนโรจน์ การเงิน/ธุรการ : ปราณี กาญจนโรจน์ แยกสี-พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เม็ดทราย ถ.ราชด�ำเนิน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช โทร. 0-7534-1475, 08-1892-5960 ส�ำนักงานหนังสือพิมพ์นครโพสต์ : เลขที่ 2/1 ซ.อัศวรักษ์ 1 ถ.ราชด�ำเนิน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทร. 0-7532-0227 email : nakhonpost@hotmail.com


4

เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

“ความยินดีในธรรม ย่อมชนะความยินดีทั้งปวง” นครโพสต์ ก้าวสู่ทศวรรษที่สอง ตามครรลอง “เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น” ฉบับนี้ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน 2557 ‘อัศวรักษ์’ รายงานตัว บอกเก้าเล่าสิบ ความเป็นไปแห่งสังคมในนาคร ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ใส่เกียร์ห้าเดินหน้าผลักดัน พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกแห่งแรกของภาคใต้และแห่งที่ 6 ของ ประเทศ ทั้งกวดขันผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ทุกฝ่ายขับเคลื่อนงานที่รับผิดชอบอย่าง เต็มก�ำลังความสามารถ พร้อมเตรียมเปิดเคมเปญกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ทั้ ง ในระดั บ พื้ น ที่ และระดั บ ภู มิ ภ าค นัยว่าเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและร่วมภาค ภูมิใจ... อีกเรื่องที่ต้องฝากพ่อเมือง พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ช่วยดูแลแม้ไม่เกี่ยวข้อง โดยตรง กรณีศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีฯ ที่จนถึง ‘อัศวรักษ์’ บัดนี้ยังไปไม่ถึงไหน และท�ำท่าจะยุ่งเป็นลิง แก้แห ล่าสุด..สภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีค�ำสั่งพักงานอธิการบดี มวล. ดร.กรีรัตน์ สงวนไทร เหตุเพราะเกิดความวุ่นวายม๊อบชนม๊อบ… ปมที่มาของปัญหา เนื่องเพราะส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ได้ท�ำหนังสือแจ้งมหาวิทยาลัย (เลขที่ ตผ. 0054 นศ./394 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2557 เรื่อง โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อมระบบ สาธารณูปการของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) ให้บอกเลิกสัญญาโครงการต่อกิจการร่วมค้า พีวที ี เนือ่ งจาก ใช้เอกสารปลอมประกอบการท�ำสัญญา อีกทั้งมหาวิทยาลัยได้ตรวจสอบหนังสือค�้ำประกันสัญญาไปยัง ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และได้รับแจ้งจากธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ ว่า หนังสือค�้ำประกันสัญญาดังกล่าวไม่ได้ออกโดยธนาคารหรือสาขาของธนาคาร มวล.โดย อธิการบดี จึงท�ำหนังสือขอบอกเลิกสัญญาก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อมระบบสาธารณูปการ ต่อกิจการร่วมค้า พีวีที เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 ให้หลังไม่กี่วันเกิดปรากฏการณ์ม๊อบชนม๊อบ ตามมา ด้วยค�ำสั่งพักงานอธิการบดี มวล. ?!!!... เรื่องผลประโยชน์หรือความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจะเป็น เช่นไร ผู้มีอ�ำนาจเกี่ยวข้องต้องไปด�ำเนินการกันให้ได้ข้อยุติ แต่ ‘อัศวรักษ์’ มีข้อเท็จจริงต้องบอกกล่าว คือ ศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีฯ เป็นความหวังของคนนครและ พี่น้องประชาชนคนปักษ์ใต้ตอนบนหลายจังหวัด เป็นความหวังกับทั้งคุณภาพด้านวิชาการและบริการ ทางการแพทย์ ที่เทียบเคียงแล้วต้องไม่ด้อยกว่า โรงพยาบาล ม.อ.หาดใหญ่ แต่หากความจริงยัง เป็นไปเช่นที่เห็นและเป็นอยู่ ความหวังคงเลือนรางไปอีกนานหลายปี... บันทึกไว้ ณ บรรทัดนี้ 4 พ.ย.2557 ที่ผ่านมา นายอาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี เดินทางลงพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานประกอบพิธีวางศิลารากฐานมัสยิดกลางจังหวัดนครศรีธรรมราช บนพื้นที่ขนาด 7 ไร่ 3 งาน 21 ตารางวา โดยมีหัวหน้าส่วนราชการ แขกผู้มีเกียรติ และพี่น้องชาวมุสลิมเข้าร่วมเป็นจ�ำนวนมาก งานนี้มีเสียงลือเสียงเล่าอ้างเรื่อง การแย่งซีนของบรรดา “บิ๊กเนม” ในสนามการเมืองท้องถิ่นระดับจังหวัด ที่ หวังเอาหน้าหาเสียงกับพี่น้องมุสลิม แต่สุดท้ายต้องตกม้าตายด้วยข้อเท็จจริง ‘อัศวรักษ์’ เห็นแล้วก็ให้นึกปลงได้ว่า ศาสนากับการเมืองเป็นเรื่องถนัดของคน จ�ำพวกนี้จริงๆ (ไม่ฮา)... เรื่องราวใกล้ตัว...กรณีแจ้งเตือนน�้ำท่วมและให้ ขนของขึ้นที่สูงจากเหตุฝนตกหนัก เนื่องจากหย่อมความกดอากาศต�่ำพาดผ่านระหว่างวันที่ 8-9 พ.ย. ที่ผ่านมา ถือเป็นอีกหนึ่งผลงานชิ้นโบว์ด�ำของ นายเชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช ทั้งสะท้อนวุฒิภาวะและความอ่อนหัดในการบริหารจัดการสถานการณ์น�้ำได้อย่างชัดเจน เพราะความรู้ไม่จริง ไม่เท่าทันสถานการณ์จริง จึงเกิดเป็นปรากฏการณ์ตื่นตูม หาใช่ตื่นตัวเพราะตื่นรู้ไม่ ผลสุดท้ายก้อนอิฐ ที่ประดังเข้ามาหาผู้บริหารเทศบาลนครนครศรีธรรมราชชุดนี้จึงมีมากกว่าดอกไม้ ! จากนี้ไป จะเข้าสู่ฤดูมรสุม และสุ่มเสี่ยงจะเผชิญภาวะวิกฤติวาตภัย อุทกภัย ภัยพิบัติดินสไลด์ ภูเขาถล่มในเขตพื้นที่ ภาคใต้ รวมทั้งพื้นที่เทศบาลนครนครศรีธรรมราชด้วย เป็นงานที่ท้าทายความสามารถ ตื่นตัวและตื่นรู้ จะเป็นคุณลักษณะส�ำคัญของผู้บริหารท้องถิ่น ปัญหาก็คือคุณลักษณะดังที่ว่านี้ จะมีให้ค้นพบหรือไม่กับ นายกที่ชื่อ เชาวน์วัศ เสนพงศ์ โปรดติดตามด้วยใจระทึกพลัน... แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดี...

ในนาคร

ปลูกป่าถวายในหลวง : นางมิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานในพิธีปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 ณ หน่วยพิทักษ์ป่าต้นไทร เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบ่อล้อ หมู่ที่ 11 ต.การะเกด อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช

มวล.เป็นเจ้าภาพทอดกฐินวัดพระเลียบ : เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ร่วมเป็น เจ้าภาพทอดกฐินสามัคคี ณ วัดพระเลียบ หมู่ที่ 14 ต�ำบลท่าขึ้น อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อ รวบรวมปัจจัยด�ำเนินการสร้างศาลาการเปรียญ โดยมี ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ให้เกียรติเป็นประธานและเป็นผู้ถวายผ้าพระกฐินแด่พระภิกษุ ซึ่งมีผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร ตลอดจน นักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมพิธีถวายพุ่มกฐิน

สนับสนุนการขยายพันธุ์สัตว์น�้ำสู่อ่าวไทย : เมื่อเร็วๆ นี้ นางสาวนารี บุญสงค์ ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายชุมชน สัมพันธ์ เชฟรอนประเทศไทย ได้เป็นตัวแทนบริษัทฯ มอบงบประมาณสนับสนุน จ�ำนวน 500,000 บาท ให้แก่นายวีระ เจริญพักตร์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช ภายในงาน ยังมีการจัดกิจกรรมปล่อยปลานวลจันทร์จ�ำนวน 3,000 ตัว เพื่อร่วมฟื้นฟูและอนุรักษ์ความสมบูรณ์ของ พันธุ์สัตว์น�้ำให้มีความอุดมสมบูรณ์อีกด้วย


เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY วันนี้( 4 พ.ย.57) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงห่วงใยราษฎรชาวนครศรีธรรมราช ที่ประสบภัยธรรมชาติในพื้นที่ อ�ำเภอทุ่งสง และอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จึงทรงพระกรุณาโปรดให้นายอภัย จันทนจุลกะ รองประธานมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภา) ยามยาก สภากาชาดไทย เป็นผู้แทนพระองค์ตรวจเยี่ยมราษฎรในพื้นที่น�้ำป่าไหลหลากและ ประกอบพิธีอัญเชิญถุงยังชีพพระราชทาน ส�ำหรับประชาชน 1,950 ถุง พระภิกษุ 100 ถุง และข้าว Riceberry เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ไปมอบให้ผู้ประสบ ภัย จ�ำนวน 3 จุด โดยจุดที่ 1 เวลา 09.30 น. ณ ศาลาประจ�ำหมู่บ้าน บ้านกงหรา หมู่ที่ 4 ต�ำบลเขาโร อ.ทุ่งสง ผู้แทนพระองค์ประกอบพิธี อัญเชิญถุงยังชีพพระราชทานถวายแด่พระสงฆ์ จ�ำนวน 20 ชุด มอบแก่ คนชรา คนพิการ จ�ำนวน 20 ชุดมอบแก่ราษฎรผู้ประสบภัยที่อาศัยอยู่ใน ต�ำบลเขาโร จ�ำนวน 500 ชุด และมอบข้าว Riceberry เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) แก่ สตรีมีครรภ์ จ�ำนวน 10 ราย ต่อมาจุดที่ 2 เวลา 10.50 น. ณ ศาลาประจ�ำหมู่บ้าน บ้าน อ่าวมัน หมู่ที่ 6 ต.เขาขาว อ.ทุ่งสง ผู้แทนพระองค์ประกอบพิธีอัญเชิญถุง ยังชีพพระราชทานถวายแด่พระสงฆ์ จ�ำนวน 20 ชุด มอบแก่คนชรา คน พิการ จ�ำนวน 20 ชุด มอบแก่ราษฎรผู้ประสบภัยที่อาศัยอยู่ในต�ำบล เขาขาว จ�ำนวน 400 ชุด และมอบข้าว Riceberry เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) แก่สตรี มีครรภ์ จ�ำนวน 10 ราย ต่อจากนั้นจุดที่ 3 เวลา 14.00 น. ณ ศาลาประจ�ำหมู่บ้าน บ้านขุนพัง หมู่ที่ 8 ต.หินตก อ.ร่อนพิบูลย์ ผู้แทนพระองค์ประกอบพิธี อัญเชิญถุงยังชีพพระราชทานถวายแด่พระสงฆ์ จ�ำนวน 20 ชุด มอบแก่ คนชรา คนพิการ จ�ำนวน 20 ชุด และมอบแก่ราษฎรผู้ประสบภัยที่อาศัย

5

มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ยามยาก

มอบถุงยังชีพพระราชทานผู้ประสบภัย

อยู่ในต�ำบลเขาขาว จ�ำนวน 400 ชุด และมอบข้าว Riceberry เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) แก่สตรีมีครรภ์ จ�ำนวน 10 ราย ส�ำหรับพื้นที่ประสบอุทกภัยและน�้ำป่า ไหลหลาก มี 2 อ�ำเภอ คือ ทุ่งสงและร่อนพิบูลย์ รวม 3 ต�ำบล 1 เทศบาลเมือง 9 หมู่บ้าน 10 ชุมชน ประชาชนได้รับความเดือดร้อนและผลกระทบ 3,000 คน

1,500 ครัวเรือน พื้นที่สวนยางพารา และสวนปาล์มน�้ำมัน 160 ไร่ ถนน 21 สาย ท่อระบายน�้ำ 6 แห่ง

เสาไฟ 12 นักษัตร : งบประมาณสูง คุณภาพต�่ำ

้น ขาวสั ่

ปิดหอพระพุทธสิหิงค์ในวันเสาร์-อาทิตย์

เมือง : นายอาณัติ บ�ำรุงวงศ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า ตามมติที่ประชุมกรมการจังหวัดนครศรี ธรรมราช ครั้งที่ 3/2556 ให้มีการเปิดหอพระพุทธสิหิงค์ บริเวณข้าง ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช ในวันเสาร์และวันอาทิตย์ เพื่อให้ นักท่องเที่ยวได้รับความสะดวกในการเข้าสักการะพระพุทธสิหิงค์นั้น แต่ เนื่องจากส�ำนักศิลปากกรที่ 14 มีหน้าที่ในการผดุงรักษา อนุรักษ์ ปกป้อง คุ้มครอง ดูแลรักษาแหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์ บูรณะปฏิสังขรณ์ โบราณสถานและส่งเสริมเผยแพร่ศิลปวิทยาการมรดกทางวัฒนธรรมของ ชาติ ในเขตพื้นที่ 4 จังหวัด ประกอบด้วย นครศรีธรรมราช พัทลุง สุราษฎร์ธานี และชุมพร จากภารกิจดังกล่าวท�ำให้บุคลากรและเจ้าหน้าที่ มีไม่เพียงพอในการปฏิบัติราชการ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช กล่าวว่า ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นต้องปิดหอพระพุทธสิหิงค์ ในวันเสาร์และวันอาทิตย์ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เป็นต้นไป แต่ประชาชนทั่วไปยังคงเข้า สักการะพระพุทธสิหิงค์ ณ หอพระพุทธสิหิงค์ข้างศาลากลางจังหวัดนครศรี

นักษัตรต้นนั้นยังคงเอียงไม่ได้องศา และในช่วงนี้ก็มีลม กรรโชกแรงเป็นประจ�ำ ชาวบ้านร้านถิ่นและผู้ใช้รถ ใช้ถนนเส้นนี้ทุกวันเหมือนกับตัวช่างชัย กลัวเกรง ว่าหากเสาไม่สามารถต้านกับภัยธรรมชาติได้ อันตรายจะบังเกิดขึ้นกับชีวิตและทรัพย์สินของ พวกเขา แล้วใครจะรับผิดชอบ” วิสัยทัศน์กว้างไกล สวยหรู ของ นายเชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช ที่ต้องการ ให้บ้านนี้เมืองนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา จนเป็นที่มาของปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์บ้านเมืองให้ เหมาะสมกับจุดขาย แต่การเปลี่ยนเสาไฟฟ้าส่องสว่างใน ขณะที่ของเดิมยังอยู่ในสภาพที่ดีมาก ให้ความสว่างไม่ต่าง จากเสาใหม่ และประการส�ำคัญคือมีความแข็งแรงคงทน มากกว่า ปลอดภัยมากกว่า แล้วเหตุใดจึงเปลี่ยน และงบประมาณส�ำหรับ ของใหม่ก็สูงจนน่าใจหาย หากแต่หาคุณภาพไม่ได้เลย...

ธรรมราช ได้ตามปกติในวันจันทร์-วันศุกร์ นอกจากนี้ยังคงเข้าสักการะ พระพุทธสิหิงค์จ�ำลอง ได้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช ในวันพุธถึงวันอาทิตย์ อนึ่ง หากส่วนราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช มีความประสงค์จะเข้าสักการะพระพุทธสิหิงค์ในวันเสาร์และวันอาทิตย์ ขอให้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า ซึ่งทางส�ำนักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช จะได้พิจารณาเปิดหอพระพุทธสิหิงค์เป็นครั้งคราวไป

ทภ.4 สนธิก�ำลังตรวจอายัดไม้ไว้ตรวจสอบกว่า 2,000 แผ่น

เมือง : (11 พ.ย.) พ.ท.นุกูล ด�ำสุวรรณ นายทหารฝ่ายสารวัตร มทบ.41 ค่ายวชิราวุธ กองทัพภาคที่ 4 เปิดเผยว่าเมื่อเย็นวานนี้ (10 พ.ย.) ได้รับแจ้งว่ามีการซุกซ่อนไม้แปรรูปหวงห้ามไว้ในโกดัง ข้างบ้านเลขที่ 337 ซอย 14 ตลาดท่าแพ หมู่ 1 ต.ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช จึงพร้อม ด้วย พ.ท.กรกิต ศรีทองกุล ผบ.ส่วนประสานงานระบบเฝ้าตรวจสนับสนุน ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพภาคที่ 4 (สฝต.ศปก.ทภ. 4) ร.อ.วิทย์ พรหมศรี ผบ.สห.มทบ.41 ร.ต.ท. อนุชิต กลับอ�ำไพ รอง สวป.สภ.เมือง จ.นครศรี ธรรมราช และนายนันทวัฒน์ กิตติพันธ์พัฒนา ปลัดป้องกันอ�ำเภอเมือง จ.นครศรีธรรมราช น�ำก�ำลังเข้าตรวจสอบ พบว่าบ้านและโกดังดังกล่าว เป็นของนายสมชาย อินรินทร์ อายุ 42 ปี เจ้าของกิจการ “ไชยรัตน์ค้าไม้” ซึ่งเป็นสถานประกอบการค้าไม้รายใหญ่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช จากการตรวจสอบภายในโกดังพบไม้แปรรูปขนาดต่าง ๆ ประกอบด้วย ไม้จ�ำปา ไม้ยางนา ไม้ทุเรียน และไม้เทียม รวมจ�ำนวนกว่า 2,000 แผ่น กระจายอยู่เต็มโกดัง โดยบางส่วนมีผ้าเต้นท์คลุมเอาไว้อย่าง

โดย...

กน

ี กวล

เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ภายใต้การน�ำของนายเชาวน์วัศ เสนพงศ์ ได้เร่งพัฒนาบ้านเมืองให้มีความน่าอยู่ยิ่งขึ้น โดยการเปลี่ยนเสา ไฟฟ้าแบบธรรมดาให้เป็นเสาไฟฟ้าที่มีลวดลายสวยสดงดงาม มีตรา 12 นักษัตรเป็นสัญลักษณ์ ซึ่งนั่นก็หมายถึงงบประมาณที่ต้องทวีคูณขึ้นไปด้วย เสาไฟฟ้า 12 นักษัตรมีความสูง 6.80 เมตร หากมองด้วย สายตาแล้วมีความคงทนต่อสภาพดิน ฟ้า อากาศ แต่ที่ผ่านมาประติมากรรม เกาะกลางถนนเมื่อเจอกับลมแรงๆ ยังไม่ถึงขนาดลมพายุ กลับค้นพบข้อ เท็จจริงว่า เสาไฟมีจุดอ่อนและหักตรงข้อต่อ แต่โชคดีที่ไม่มีใครได้รับ บาดเจ็บ ล่าสุด...เสาไฟต้นหนึ่งเอนเอียงจนสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ส่วนสาเหตุอาจจะเกิดจากลมกรรโชกแรง หรือการติดตั้งและวัสดุที่ไม่มี คุณภาพเพียงพอ ก็ไม่รู้ได้ ช่างชัย...ผู้ซึ่งเกิด เติบโต และอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลมาหลาย สิบฝน ทั้งยังต้องใช้เส้นทางสัญจรผ่านจุดที่เสาไฟฟ้า 12 นักษัตรหักตรง ข้อต่อเป็นประจ�ำ บอกว่า “ทางหน่วยงานที่รับผิดชอบกับประติมากรรม รีบซ่อมแซมแบบลวกๆ ให้เพียงผ่านไปเท่านั้น สายไฟก็ปล่อยไว้ไม่เก็บ ให้เรียบร้อยเหมือนเสาต้นอื่นๆ ทางช่างที่มาซ่อมปล่อยให้เสาไฟ 12

มิดชิด ในเบื้องต้นไม่มีเอกสารหลักฐานการได้รับอนุญาตให้ตัดโค่นและ แปรรูป แต่นายสมชายอ้างว่าไม้ทั้งหมดจะน�ำไปท�ำเฟอร์นิเจอร์จ�ำหน่าย และเป็นไม้ที่ตัดโค่นพร้อมแปรรูปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยได้รับการ อนุญาตจากเจ้าหน้าที่ป่าไม้เรียบร้อยแล้ว พ.ท.นุกูล ด�ำสุวรรณ จึงประสาน กับเจ้าหน้าที่ป่าไม้จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อให้ส่งเจ้าหน้าที่มาร่วม ตรวจสอบไม้แปรรูปทั้งหมด แต่เนื่องจากทางเจ้าหน้าที่ป่าไม้ติดภารกิ จเร่งด่วน จึงขอเลื่อนไปร่วมตรวจสอบในวันต่อไป เจ้าหน้าที่จึงท�ำการ ตรวจยึดและอายัดไม้แปรรูปทั้งหมดเอาไว้ตรวจสอบต่อไป.


6

เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

สร็จจากประเพณีลอยกระทง กับทางร้านอาหารน�้ำชุบและ ทางโรงแรมตะมาลี จัดขึ้นอย่างงดงาม ทั้งสวน สนุกฉบับจิ๋วแต่ได้อารมณ์ บรรยากาศท่าน�้ำส�ำหรับจรดกระทงน้อยลอยลงในสระใหญ่ คืนแห่งความสุข ครอบครัว อีกคืนหนึ่ง ฝนก็เทลงมาอย่างหนักหน่วงในตัวเมืองนครศรี ธรรมราช แต่ปริมาณน�้ำฝนไม่เยอะถึงกับท่วมตัวเมือง เรื่องจริงของเดือนสิบสอง น�้ำนองเต็มตะลิ่ง เต็มท้องทุ่ง ถือเป็น เรื่องปกติตามฤดูกาล เพียงแต่จะเข้าใจว่า ปกติของภาคใต้ประเทศคอน ใครก็รู้แล้ว หากเป็นความในอดีต สะพานยาว ท่าวัง ท่ามอญ ท่าโพธิ์ พื้นที่ รับน�้ำส่วนทิศเหนือของเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ผู้คนสมัยนั้น เขาจะเตรียมของกินของใช้ ส�ำหรับฤดูน�้ำหลาก ขนม ทอดกล้วย มันทอด กุ้งชีทอดแผ่น ซึ่ก็รู้สึกปกติ กับเหตุการณ์ทุกๆปี นับเนื่องมาแต่อดีต เพียงแต่ครั้งนี้อาการตื่นกลัว หรือการเฝ้าระวังของผู้คนในเขต เทศบาล กระบวนการการรับรู้ที่ทันสมัยยุคอินเตอร์เน็ต สิ่งจ�ำเป็นจนกลาย เป็นปัจจัยที่ขาดไม่ได้และที่ส�ำคัญมีความแม่นย�ำขึ้น กว่าที่จะใช้สัญลักษณ์ ธง เขียว เหลือง แดง ที่มีนัยเพียงแค่การเฝ้าระวังของผู้บริหารเทศบาลนคร ในฐานะผู้ที่ต้องคอยเฝ้าระวัง คอยเตือน ตลอดถึงให้การช่วยเหลือประชาชน ในเขตฯ ลดความรู้สึกว่าต้องรับผิดชอบว่าเรื่องน�้ำนองฝนตกมากก็จะเป็น เยี่ยงที่เห็น เพื่อหลีกเลี่ยงประเด็นท่อระบายน�้ำตัน เศษขยะติดท่อ ช่องทาง ระบายน�้ำต่างๆ ขาดบ�ำรุงรักษา แล้วค่อยประกาศอพยบ เคลื่อนย้าย ส�ำหรับคนอยู่ในที่ลึกน�้ำท่วมขัง ซึ่งได้กลายเป็นผลงานชิ้นโบว์แดงตามที่ ประกาศด้วยความภูมิใจแบบงงๆ การบอกเตือนเรื่องน�้ำใหญ่จากเทือกเขาสูงตลอดแนวทางทิศ ตะวันตกของเมือง ก็มีการรายงานผ่านสื่อต่างๆ ที่กระท�ำได้ด้วยตนเอง เพื่อใครญาติใคร หรือในส่วนสังคมออนไลน์ข้อมูลข่าวสารผ่านไลน์, เฟสบุ๊ค อื่นๆ กระหน�่ำสื่อสารกันอย่างไม่ยั้งมือ ด้วยสนุกสนานหรือคึกคะนอง สร้างเหตุตระหนกได้เพียงชั่วยาม หลายคนได้รับ ภาพ พายุงวงช้าง ระบุบรรยายภาพว่า สถานที่เกิดเหตุนี้ที่ จังหวัดกระบี่ แล้วภาพนั้นจึงถูกแชร์ไปทั่ว เข้าใจว่า กระจายไปทั่วพื้นที่สื่ออนไลน์ โดยไม่ได้ไตร่ตรองจาก ความตื่นตระหนกตกใจ มีบางคนถึงขั้นวิตก ท้ายสุด หาต้นตอภาพไม่เจอว่ามาจากที่ใด เป็นเพียงใครบางคน นึกสนุก หากภาพที่เกิดขึ้นที่ไหนสักแห่งบนโลกใบนี้ หรือดาวอังคาร ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรมแต่งภาพ ซึ่ง ยอมรับว่านักเล่นสื่อออนไลน์รุ่นใหม่ถึงกับผวา จึงต้อง เตือนกันมา ณ ที่นี่ การเสพย์สื่อหลายครั้งที่สร้างปัญหาให้ สังคมความสงบสุขโดยรวม แล้วหากมาดูความต่าง

หจก.ลิ้มจี่เซ้ง ย้ายร้านจากร้านเดิมมาอยู่ที่ร้านเก่า(ท่าวัง) **ติดกับจิมมี่ผ้าม่าน** ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

รับสมัครพนักงาน

- พนักงานขายหน้าร้าน(ชาย) 3 คน - พนักงานคอมพิวเตอร์(หญิง) 1 คน - พนักงานคอมพิวเตอร์(ชาย) 1 คน - พนักงานขับรถยนต์ 6 ล้อใหญ่ 1 คน - พนักงานท�ำความสะอาดทั่วไป 1 คน - พนักงานขาย(ชาย) 1 คน **ติดต่อสอบถามข้อมูลและสมัครได้ที่ร้าน

075-340632 , 075-314052

1709-1711 ถ.ราชด�ำเนิน ต.ท่าวัง อ.เมือง นครศรีธรรมราช

น�้ำเกือบท่วม ระหว่างปัจจุบันกับอดีต กรณีตัวอย่างเฟสบุ๊ค โปรแกรมกระดานข่าว อันทรงพลัง ของนักพัฒนา ซอฟแวร์ โซเชียล เน็ตเวิร์ก อย่างมาร์ค ซัคเกอร์เบิกร์ค (Mark Zuckerburg) ผู้ร�่ำรวยติดอันดับโลก จากลิขสิทธิ์ ดังกล่าว เดิมตั้งใจให้โปรแกรมเฟสบุ๊ค เป็นโปรแกรมส�ำหรับ สื่อสาร

สื่อสารสะดวก ท�ำงานไปไลน์ไป หรือแม้กระทั้งขับรถไป ไลน์ไป ซึ่งอันตราย อย่างยิ่งแล้ว การสื่อสารในโลกโซเชี่ยล เน็ตเวิร์ค ต้อง ให้ทั้งความรู้ และ สติกันมากกว่าที่เป็นอยู่ ส�ำหรับสถานการณ์น�้ำฝนจนถึง ณ วันที่หนังสือ ตีพิมพ์ อาจเปลี่ยนแปลงไปไม่ว่าจะในทิศทางที่ดีขึ้นเลวร้ายลง ก็ตาม สิ่งที่ผู้เขียนคาดหวัง คือภาพแห่งการเตรียมความพร้อม ของประชาชนในเขตเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช ไม่รอให้ วิกฤตมาถึงมือแล้วค่อยขยับขยาย ซึ่งแปลความว่าอาจจะสาย เกินไป ความเสียหายอาจมากกว่าที่คาดการณ์ เพราะวันนี้ใน อดีต เมื่อถอยกลับไปถึงยุคผู้คนคุ้นเคยกับฤดูน�้ำหลาก เดือน สิบสอง การเก็บเตรียมข้าวสารอาหารแห้ง อยู่กินโดยไม่อด สามวันเจ็ดวัน โดยบางบ้านถึงครึ่งเดือนก็มี ส่วนบ้านเรือนอาศัย โดยเฉพาะบริเวณก่อนถึงตลาด หัวอิฐ แถววิกนวกิจ ที่ดินลึกรับน�้ำ บ้านก็จะเป็นแบบ ใต้ถุนสูง ให้น�้ำลอดผ่านได้ เหล่านี้ที่กล่าวมาเป็นปกติคุ้น ไม่มีใครร้องเรียก ความช่วยเหลือจากราชการแม้แต่น้อย ต่อพื้นที่เขตอื่นๆ ใน เพื่อเชื่อมโยงผู้คน สังคม กิจกรรม ด้วยการ น�ำภาพ ตัวเมืองน�้ำจะท่วมบางพื้นที่เท่านั้น กระนั้นก็ไม่รู้สึกเดือดร้อนมากเช่น และ/หรือข้อความมาแบ่งปันกัน ซึ่งในปัจจุบันพัฒนา ปัจจุบัน ด้วยจ�ำนวนบ้านเรือนประชากรเพิ่มมากขึ้นตามกาลเวลา ผู้คน ไปถึงสามารถท�ำอะไรได้อีกมากมาย คุยสดทั้งภาพ เสียง แสดงวีดีโอ อื่นๆ อีกมามาย โดยวันนี้โลกโซเชียล สร้างที่อยู่ อาศัยบนพื้นที่รับน�้ำแต่เดิม ถมดิน แข่งกันสูงขึ้น สูงขึ้นทุกครั้ง เน็ตเวิร์ค มีเฟสบุ๊คเป็นที่นิยม อย่างสูงในประเทศไทย ที่สร้างบ้านใหม่ ในขณะที่สิ่งจ�ำเป็นท่อทางส�ำหรับระบายน�้ำลงสู่ท่อใหญ่ ถึงทั่วโลก หลายคนเชื่ออย่างบริสุทธิ์ใจว่า สิ่งที่ปรากฎ ตอนฝนตก หนักต่อเนื่อง กลับไม่ได้รับการบ�ำรุงรักษาให้ใช้งานได้เต็ม อยู่บนเฟสบุ๊คคือ เรื่องจริงทั้งสิ้น นี่คือปัญหา ดังนั้น ศักยภาพของมัน นอกจากมีขนาดเล็กไม่ได้ระดับสูงต�่ำ แล้ว ยังเต็มไปด้วย เพื่อให้สังคมเป็นปกติไม่วิกฤตจากความหลงไหลไปกับ เศษขยะวัสดุดินทราย อุดตัน ไม่สามารถให้น�้ำระบายได้ทันท่วงที จนจะ สื่อเหล่านี้ จึงมีหน่วยงานหรือใครต่อใครออกมาบอก สังเกตเห็นว่าเพียงแค่ฝนตกเพียงชั่วครู่ชั่วยาม น�้ำบนถนนก็จะตัดผ่าน รถไม่สามารถขับผ่านได้แล้ว โชคดีว่าฝนตกคราวนี้มาเร็วไปเร็ว ไม่ตก กล่าวอยู่หลายครั้งเช่นกัน นี่ไม่นับเครื่องมือสื่อสาร อื่นๆ เช่น โปรแกรมไลน์ ที่ก�ำลังเป็นที่นิยม เนื่องจาก ต่อเนื่องหลายวัน ไม่เช่นนั้นคงได้ภาพโกลาหลมากกว่านี้

บริษัท

นานาวัสดุภัณฑ์(1993)

จ�ำกัด

จ�ำหน่าย วัสดุก่อสร้างทุกชนิด, สี, สุขภัณฑ์ ถนนพัฒนาการคูขวาง (ข้างห้างสรรพสินค้าโรบินสันโอเชี่ยน) 85

โทรศัพท์ 075-317831 โทรสาร 075-344791


เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY จุฬาราชมนตรี เดินทางลงพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็น ประธานประกอบพิธีวางศิลารากฐานมัสยิดกลางจังหวัดนครศรีธรรมราช วันนี้ (4 พ.ย.57) ที่บริเวณสถานที่ก่อสร้างมัสยิดกลางจังหวัด นครศรีธรรมราช หมู่ที่ 3 ต�ำบลนาทราย อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช นายอาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี พร้อมนายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานประกอบพิธีวางศิลา รากฐานมัสยิดกลางจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา อดีตรองนายกรัฐมนตรี คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดนครศรีธรรมราช หัวหน้าส่วนราชการ ประจ�ำจังหวัด ผู้มีเกียรติและพี่น้องชาวมุสลิมให้ความสนใจเข้าร่วมพิธีเป็น จ�ำนวนมาก การจัดสร้างมัสยิดกลางจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นการริเริ่ม ของจังหวัดนครศรีธรรมราชและคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดนคร ศรีธรรมราช ที่ได้ยื่นขอสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลในการประชุม คณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานที่ ณ อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎร์ธานี เมื่อระหว่างวันที่ 21-22 ตุลาคม 2555 ในวงเงินประมาณ 113 ล้าน 2 แสน 5 หมื่นบาท ผ่านทางกรมการปกครอง โดยเป็นงบผูกพัน 3 ปีงบประมาณ คือระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ.2557-2559 ในการก่อสร้าง มีกิจการร่วมค้าณัสรันมุสลิม กรุ๊ป เป็นผู้รับจ้างก่อสร้าง มีห้วงระยะเวลา การก่อสร้างรวม 720 วัน คือตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2557 และมีก�ำหนด เกี่ยวพันกับการปฏิรูป รัฐบาลลงทุนเงินหลายล้านในการ ปฏิรูปทางเศรษฐกิจและสังคม ผู้คนต่างสนทนาเกี่ยวกับการปฏิรูปยุทธศาสตร์ การปฏิรูปแผนงานและอื่นๆ มุสลิมจะต้องใคร่ครวญอย่างจริงจังเสียที ว่าจะปฏิรูปตัวพวกเขา สังคมของพวกเขาได้อย่างไร และจะเคลื่อนจาก สภาพการณ์ปัจจุบันไปสู่สิ่งที่ดีกว่าได้อย่างไร การ ปฏิรูปและการพัฒนา คือจุดมุ่งหมายพื้นฐานและเป็นเป้าหมายของอิสลาม อิสลามต้องการที่จะ บรรลุถึงผลส�ำเร็จในการพัฒนาทางด้านปัจเจกชนและสังคม แต่ละคนควร จะพัฒนาให้สอดคล้องกับศักยภาพและความสามารถที่อยู่ด้านในของ พวกเขา การปฏิรูป หมายถึง การพัฒนาทางด้านปัจเจกชนและสังคมให้ อยู่ในระดับที่สูงขึ้น อัลลอฮฺทรงให้มนุษย์มีความแตกต่างกันทางศักยภาพ แต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบปฏิรูปตามศักยภาพของเขาและเธอให้ดียิ่งขึ้น การปฏิรูปในอิสลาม หมายถึง การน�ำมาซึ่งความสมดุล ความ ปรองดอง ความยุติธรรม สันติภาพ ความสวยงาม ความเจริญรุ่งเรือง เป็น การปฏิรูปชีวิตมนุษย์ในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ มันมิใช่เป็นพัฒนาทางร่างกายโดยละเลยทางด้านจิตใจหรือการพัฒนาทาง จิตใจโดยละเลยทางด้านจิตวิญญาณ แต่ทุกส่วนล้วนมีความจ�ำเป็นทั้งสิ้น และจะต้องมีความสมดุลและประสานสอดคล้องระหว่างกัน การปฏิรูปตามครรลองอิสลามจะต้องเป็นสิ่งที่ครอบคลุม ไม่ว่า จะเป็นทางด้านวัตถุ วัฒนธรรม และการเมือง ในเวลาเดียวกับการพัฒนา ศีลธรรมและจิตวิญญาณ ปัจเจกชนและสังคมที่ปฏิรูปทางวัตถุโดยปราศจาก การเอาใจใส่ต่อจิตวิญญาณและศีลธรรม ของพวกเขาจะไม่สามารถคงไว้ ซึงความก้าวหน้าของพวกเขาได้ในระยะยาว การ พัฒนาทางวัตถุหรือ เศรษฐกิจที่ปราศจากคุณค่าทางศีลธรรมและจิตวิญญาณที่ดีนั้น จะก่อให้ เกิดปัญหาและเป็นที่มาของความเครียดและความทุกข์ ส่วนส�ำคัญในขั้นพื้นฐานของการปฏิรูปให้มีความสมดุลและ ด�ำรงไว้ที่สอดคล้องกับอิสลามมีดังต่อไปนี้ 1. ตัซกียะฮฺ ‫ التزكية‬การพัฒนาทางด้านจิตวิญญาณ 2. ตัรบียะฮฺ ‫ التربية‬การพัฒนาทางด้านจริยธรรม 3. ตันมียะฮฺ ‫ التنمية‬การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม 4. ตะฏัววุรฺ ‫ التطور‬การพัฒนาทางการศึกษาและวัฒนธรรม 5. ตะก๊อดดุม ‫ التقدم‬การพัฒนาทางอารยธรรม เรามาลองพิจารณาในรายละเอียดคร่าวๆ ของแต่ละส่วนดู การตัซกียะฮฺ ‫ التزكية‬เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปที่มีความ ส�ำคัญที่สุด การตัซกียะฮฺคือการขัดเกลาจิตใจซึ่งเป็นสิ่งจ�ำเป็นประการแรก ส�ำหรับการพัฒนาที่มีประสิทธิผล มันไม่สามารถที่จะพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ จนกว่าการขัดเกลาจิตใจจะเกิดขึ้น เปรียบเสมือนชาวนาที่ท�ำความสะอาด พื้นดินที่มีวัชพืช มีการใส่ปุ๋ย จากนั้นก็หว่านเมล็ดพันธุ์และรดน�้ำในไร่ของ เขาเป็นประจ�ำตลอดจน เฝ้าคอยก�ำจัดหญ้าที่รกและวัชพืชออก ด้วยขั้นตอน เหล่านี้เท่านั้นที่จะท�ำให้เขาพร้อมที่จะได้รับความมั่งคั่งและ เก็บเกี่ยวผลผลิต ทั้งหมด เช่นนี้เองที่อิสลามต้องการให้แต่ละคนในหมู่พวกเราขจัดบาปของ พวกเราและอุปนิสัยที่ไม่ดี เสริมสร้างตัวของเราเองด้วยน�้ำละหมาด การ ละหมาด การซิกรฺ(การร�ำลึกถึงอัลลอฮฺ) การถือศีลอด และการบริจาค เราจะต้องเก็บเกี่ยวความรู้และเพิ่มพูนความรู้ของเราและให้มีการกระท�ำ ความดี เกิดขึ้นในครอบครัวและสังคมของเรา จากนั้นเราจะได้เห็นการ พัฒนาที่ครอบคลุมเป็นประโยชน์และมีคุณภาพจะปรากฏอย่างช้าๆ และ มั่นคง การตัรบียะฮฺ ‫ التربية‬ในทางภาษาหมายถึงการยกฐานะและ

7

จุฬาราชมนตรีวางศิลารากฐานมัสยิดกลาง

การก่อสร้างแล้วเสร็จภายในวันที่ 18 กันยายน 2559 ตั้งอยู่บนพื้นที่ขนาด 7 ไร่ 3 งาน 21 ตารางวา ของหมู่ที่ 3 ต�ำบลนาทราย อ�ำเภอเมืองนครศรี ธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งนี้เพื่อให้จังหวัดนครศรีธรรมราช มีศูนย์กลางบริหารกิจการอิสลาม ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมด้าน

ศาสนาของพี่น้องชาวไทยมุสลิม ทั้งในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดใกล้เคียง และชาวต่างชาติ รวมทั้งเพื่อรองรับการพัฒนาบุคลากร ทางการศึกษาภาคฟีรดูอีน ในการเรียนการสอนของเยาวชนในพื้นที่ และ การอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยี่ยมเยือนด้วย

การปฏิรูปในแบบอิสลาม โดย...ดร.มุซซัมมิล ศิดดีกี

ความสามารถของบางสิ่งบางอย่างที่จะพัฒนาซึ่ง มันเกี่ยวพันกับการศึกษา อย่างแนบแน่น เรามักจะใช้ค�ำว่า “ตะอฺลีม” และ“ตัรบียะฮฺ”ร่วมกัน การ ศึกษาคือการให้ข้อมูล ความรู้ และทักษะ แต่การตัรบียะฮฺคือการปฏิรูป บุคคลหนึ่งด้วยบุคลิกภาพแห่งจริยธรรมและระเบียบวินัย ความรู้โดยตัว มันเองมิได้ช่วยอะไรใคร แต่การใช้ความรู้อย่างถูกต้องต่างหากคือสิ่งที่ จ�ำเป็น เด็กที่อายุยังน้อยๆ ที่จะต้องเสริมคุณค่าทางศีลธรรมให้สูงขึ้นที่บ้าน พ่อกับจะ ต้องแสดงแบบอย่างที่ดี จะต้องให้ความใส่ใจกับเพื่อนๆ ของลูก และการคบค้าสมาคมของเขารวมทั้งการศึกษา ศาสนา การตัรบียะฮฺมิใช่ ส�ำหรับเด็กเพียงอย่างเดียว คนหนุ่มสาวและผู้ใหญ่จ�ำเป็นต้องมีการตัรบียะฮฺ อย่างต่อเนื่องเช่นกัน โดยผ่านโปรแกม(หลักสูตร)และกิจกรรมต่างๆ ของ การตัรบียะฮฺที่พิเศษเฉพาะ ผู้คนจ�ำเป็นต้องมีการทบทวนและพวกเขา จ�ำเป็นต้องมีทางน�ำเพื่อที่จะเดินตามทางแห่งคุณค่าและคุณธรรม ตันมียะฮฺ ‫( التنمية‬การปฏิรูปทางด้านเศรษฐกิจและสังคม) หมายถึงการพัฒนาและการปฏิรูปอย่างเป็นขั้นเป็นตอน แนวคิดนี้หมายความ ว่าการพัฒนานั้นจะไม่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด มันหมายถึงความพิถีพิถัน และความประณีตเสมือนการดูแลต้นไม้ ตันมียะฮฺมักถูกใช้ไปทางการปฏิรูป ทางเศรษฐกิจและสังคมเสมอ การปฏิรูปในแบบอิสลามไม่สามารถเพิกเฉย ต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ซึ่งสัมพันธ์กับสภาพสังคมในสังคมใดสังคมหนึ่ง การปฏิรูปทาง เศรษฐกิจคือการพัฒนาและการปฏิรูปแหล่งทรัพยากร การขจัดความยากจน การพึงพาตนเอง การค้าเสรี และการเปิดโอกาส ส�ำหรับสมาชิกทุกคนในสังคม การปฏิรูปทางสังคมหมายถึงการพัฒนา ทางด้านสถาบันครอบครัวให้มีความผาสุก ความห่วงใยในเพื่อนบ้าน และ สังคมที่เกื้อกูลให้มีความช่วยเหลือกัน ซึ่งเป็นสังคมที่ประชาชนมีความ หลากหลาย ตลอดจนมีเผ่าพันธุ์และเชื้อชาติที่แตกต่างกันให้ด�ำรงอยู่ด้วย ความสันติและความเกื้อกูลกัน รวม ถึงการปฏิรูปทางการเมืองซึ่งเป็นจุด สูงสุดในการปฏิรูปทั้งหมด อันหมายถึงการพัฒนาสังคมแห่งกฎหมายและ ระบบระเบียบ ความเสมอภาค การปรึกษาหารือและความร่วมมือ ตะเฏาวฺวุร ‫( التطور‬การปฏิรูปทางการศึกษาและวัฒนธรรม) เป็นการบ่งบอกถึงการเคลื่อนจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง อัลลอฮฺกล่าวใน อัลกุรอาน ว่า พระองค์ทรงสร้างพวกเราเป็นล�ำดับขั้นตอน การปฏิรูป

ก็เช่นเดียวกันจะเกิดอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เราจะต้องเคลื่อนจากระดับหนึ่ง ไปสู่อีกระดับหนึ่งที่ดีกว่า สังคมภายใต้การปฏิรูปแบบอิสลามจะต้องเติบโต ภายใต้การศึกษาและวัฒนธรรมของอิสลามเอง ระดับ ความสติปัญญาจะ ต้องสูงขึ้นผู้คนจะต้องเข้าไปส�ำรวจโลกอันน่ามหัศจรรย์ของอัลลอฮฺด้าน ธรรมชาติและด้านวิทยาศาสตร์ ฉะนั้นรูปแบบทางวัฒนธรรมจะต้อง เปลี่ยนไป อันเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาทางสติปัญญาและ ศีลธรรมของสังคม ตะเฏาวฺวุร ‫( التقدم‬การปฏิรูปทางการศึกษาและวัฒนธรรม) หมายถึงว่าวันนี้ของเราจะต้องดีกว่าเมื่อวาน และวันพรุ่งนี้ของเราจะต้อง ดีกว่าวันนี้ ตะก็อดดุม(การปฏิรูปทางด้านอารยธรรม) หมายถึงการเจริญ และการพัฒนาทางด้านอารยธรรม เช่นเดียวกับค�ำว่า “ตะเฏาวฺวุร” ตะก็อดดุมจะเกิดขึ้นอย่างเป็นขั้นเป็นตอนเหมือนกัน เพียง แต่มันเป็นการ ปฏิรูปสังคมโดยรวม การปฏิรูปปัจเจกชนหรือการปฏิรูปเพียงบางส่วน หรือเฉพาะชนชั้นสูงจะไม่ก่อให้ เกิดการปฏิรูปทางอารยะธรรมอย่างแท้จริง มันจะต้องมีความเจริญก้าวหน้าและการพัฒนาของสังคมโดยทั่วไป สิ่งนี้ ควรเป็นเป้าหมายของความพยายามของพวกเรา บ้านของเรา รวมทั้ง มัสยิด โรงเรียน มหาวิทยาลัย ตลาดร้านค้า โรงงาน ธนาคาร บริษัทลงทุน ศาลตุลาการ รัฐสภา ต�ำรวจ กองทัพ ทั้งหมดนี้ต้องน�ำเราสู่การปฏิรูปทางอารยะธรรมที่กว้างขวาง ผู้น�ำครอบครัวในบ้าน อิมามในมัสยิด ครูที่โรงเรียน นักธุรกิจในตลาดลงทุน คนงานในโรงงาน ผู้พิพากษาในศาล ต�ำรวจที่อยู่ในเมือง ทหารที่อยู่ใน กองทัพ นายกเทศมนตรี ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้น�ำประเทศ แต่ละคนล้วน แล้วมีภาระรับผิดชอบในการปฏิรูปทางอารยะธรรม การปฏิรูปจ�ำเป็นต้อง มีความอดทนและการต่อสู้ เป็นการต่อสู้กับความอยุติธรรม สิ่งชั่วร้ายและ การฉ้อฉล การต่อสู้จะต้องมีลักษณะของการสร้างสรรค์เพื่อจะน�ำมาซึ่ง ศีลธรรมและความเป็น อยู่ที่ดีแก่ทุกคน ภารกิจของการปฏิรูปทั้งปัจเจกชน และสังคมโดยรวมนั้นจะต้องมีการจัดระบบ ทั้งนี้เพื่อที่จะท�ำให้มีประสิทธิภาพ


8

เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

เกษตรลุ่มน�้ำ...ผู้จุดประกายทางเลือก

พลังงานทดแทนเพื่อสังคมและชุมชน เกษตรลุ่มน�้ำ...ชื่อนี้มีความหมาย สืบสาแหรกสะท้อนนัยชัดเจน เกษตรกรรมในพื้นที่ลุ่มน�้ำ ก่อร่างสร้างตัว อดทนมุมานะ ตามวิถี แสวงหา โอกาส จนลืมตาอ้าปาก ลงหลักปักฐานทั้งในทางธุรกิจและการเมือง สั่งสม ประสบการณ์จนกลายเป็นมืออาชีพ ส่งไม้ต่อจากรุ่นสู่รุ่น จากธุรกิจหลาก หลาย ถึงวันนี้ เกษตรลุ่มน�้ำ มุ่งสู่ฝันสร้างสรรค์ธุรกิจพลังงานทางเลือก ผลิตก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงานแบบครบวงจร เป็นพลังงานทดแทนใน รูปแบบพลังงานไฟฟ้า ขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เกษตรลุ่มน�้ำ...ที่กล่าวถึง คือ บริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด กลุ่มธุรกิจดาวรุ่งพุ่งแรงด้านพลังงานก๊าซชีวภาพ ซึ่งตั้งฐานที่มั่น ณ จังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต้การกุมบังเหียนของนักบริหารหนุ่ม รุ่นใหม่ “ดร.กณพ เกตุชาติ” หรือ ‘ดร.โจ’ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด จากรากฐานการเกษตรสู่ธุรกิจพลังงาน ตระกูล “เกตุชาติ” เป็นตระกูลดังในจังหวัดนครศรีธรรมราช มายาวนาน มีฐานธุรกิจหลากหลายทั้ง ผลิตแผ่นพื้น-เสาเข็ม โลจิสติกส์ โรงแรม โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์ม ฟาร์มปศุสัตว์ ฯลฯ ขณะที่ในทางการ เมือง “เกตุชาติ” ก็ยังคงเป็นกลุ่มการเมืองท้องถิ่น ที่ได้รับความนิยม เป็น ตัวเลือกซึ่งคนเมืองนครเชื่อถือและศรัทธามายาวนานเช่นเดียวกัน “สมนึก เกตุชาติ” อดีตนายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช ที่หลังจากวางมือทางการเมืองแล้วหันมาจับธุรกิจต่อเนื่องทางการเกษตร จากไร่ปาล์มน�้ำมันสู่โรงสกัดน�้ำมันปาล์ม พร้อมๆ ไปกับฟาร์มปศุสัตว์ที่ ชื่นชอบเป็นการส่วนตัว และจากจุดนี้ที่เป็นเสมือนประกายความคิด ก่อเกิดการประยุกต์ผสมผสานทรัพยากรที่มีอยู่ ต่อยอดสู่ธุรกิจด้านพลังงาน ก๊าซชีวภาพโดยผู้เป็นทายาท “กณพ เกตุชาติ” ในเวลาต่อมา ด้วยดีกรีปริญญาเอกด้านวิศวกรรมโยธาจากสหรัฐอเมริกา ผนวกกับความสนใจต่อกระแสและทิศทางความเป็นไปของสังคมโลกที่ เชื่อมโยงไปทั่วทุกบริบท ทั้งภูมิภาค ประเทศ ย่อยขนาดไปจนถึงชุมชน ท้องถิ่น โอกาสทางธุรกิจภายใต้วิสัยทัศน์อันเฉียบแหลมจึงเป็นที่มาของ การสานต่อสิ่งที่มีอยู่เดิม พัฒนาไปสู่ธุรกิจใหม่ นั่นก็คือธุรกิจด้านพลังงาน ทดแทนขนาดเล็ก ย้อนไปเมื่อปี 2555 หลังสรุปบทเรียนทางการเมืองในสนาม การเมืองท้องถิ่นเทศบาลนครนครศรีธรรมราช “ดร.กณพ เกตุชาติ” ใช้ เวลาส่วนใหญ่ไปกับการค้นคว้าศึกษาธุรกิจพลังงาน และเริ่มนับหนึ่งจาก การลงทุนต่อยอดสร้างโรงไฟฟ้าขนาด 1 เมกะวัตต์ โดยใช้ก๊าซชีวภาพจาก การหมักน�้ำเสียจากการนึ่งปาล์มของโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์ม บริษัท 8

เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด และมูลวัว แห่งแรกของจังหวัด นครศรีธรรมราช พร้อมเปิดเดินเครื่องขายกระแสไฟ ให้การไฟฟ้าภูมิภาคไปเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ผ่านมา “ในกระบวนการสกัดน�้ำมันปาล์มของ โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มทุกแห่ง จะมีการนึ่งปาล์ม ซึ่ง จะท�ำให้เกิดสิ่งปฏิกูลและน�้ำเสีย โดยตามปกติทาง บริษัทฯ จะมีบ่อบ�ำบัดด้วยธรรมชาติจ�ำนวน 7 บ่อ ก่อนจะฝังกลบก�ำจัดน�้ำเสีย เรามีความคิดว่า ปัจจุบัน นี้ รัฐบาลส่งเสริมเรื่องการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนต่างๆ จึงตัดสินใจสร้างโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ ก�ำลังการผลิต 1 เมกะวัตต์ ใช้เวลาในการก่อสร้าง ประมาณ 18 เดือน ลงทุนซื้อเครื่องยนต์ขนาดใหญ่ จ�ำนวน 2 เครื่องจากประเทศจีน และจุดคุ้มทุนภายใน เวลา 4 ปี” ดร.โจ เล่าย้อนจุดเริ่มต้น และนั่นก็เป็นเสมือนประกายความคิดที่ ถูกจุดให้ติดลุกโชน ที่ตามมาด้วยโครงการในระยะที่ 2 การผลิตก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงานอย่างครบวงจร

ดร.กณพ เกตุชาติ ประวัติการศึกษา มัธยมต้น รร.เบญจมราชูทิศ จ.นครศรีธรรมราช 0 มัธยมปลาย รร.เตรียมอุดมศึกษา พญาไท 0 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0 ปริญญาโทและเอก วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยโคโลราโด (University of Colorado) สหรัฐอเมริกา (ทุน การศึกษา จากกรมทางหลวงของ สหรัฐอเมริกา FHWA) 0 ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง 0 หลักสูตรผู้น�ำการเมืองยุดใหม่ สถาบันพระปกเกล้า 2 ประวัติการท�ำงาน 0 ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช 0 เลขานุการรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี (นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ) 0 อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จ.นครศรีธรรมราช 0 อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยโคโลราโด สหรัฐอเมริกา 0 อาจารย์พิเศษ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) 0 นักวิชาการรับเชิญ กรมทางหลวงของสหรัฐอเมริกา (FHWA) และ มหาวิทยาลัยโตเกียว (University of Tokyo) 0 กรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย 0 วิศวกรออกแบบ กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย 2

0

โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ ธุรกิจพลังงานทดแทน เพื่อสังคมและชุมชน บทเรียนประสบการณ์จากโครงการระยะ แรก เป็นทั้งแรงผลักและตัวจุดชนวนความคิดให้ เดินหน้าไปสู่โครงการระยะที่สอง ซึ่งกลายเป็นที่ ฮือฮาและถูกจับตามองอย่างเป็นพิเศษในฐานะ โครงการน�ำร่องการผลิตก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน ครบวงจร ด้วยหญ้าเนเปียร์ เพิ่ม เติมอีก 1 เมกะวัตต์ และที่น่าสนใจ มากขึ้นไปอีกคือ โครงการระยะที่ สองนั้น ฉายภาพชัดๆ เรื่องธุรกิจ พลังงานทดแทนเพื่อสังคมและชุมชน “ด้วยแนวคิด zero waste คือการก�ำจัดของเสีย ให้มีปริมาณน้อยที่สุด จนไม่มีของเสียเหลือเป็นมลภาวะ ต่อสิ่งแวดล้อม โดยน�้ำเสียจากกระบวนการสกัดน�้ำมัน ปาล์มทั้งหมด ถูกน�ำมากักเก็บหมักรวมกันในบ่อปูน ขนาดใหญ่ และน�ำเอามูลวัว หรือขี้วัวที่เลี้ยงไว้ในฟาร์ม ประมาณ 200 ตัวมาใส่ปนในถังหมักน�้ำเสียด้วย เมื่อ จุลินทรีย์ย่อยสลายน�้ำเสียของเสียก็จะเกิดก๊าซหลาย ชนิดในจ�ำนวนนั้นเป็นก๊าซมีเทนอยู่ด้วย เราจะน�ำเอา ส่วนของก๊าซมีเทนมากรอง ก่อนจะส่งผ่านระบบท่อไปยัง 8

โดย...กองบรรณาธิการ

เครื่องยนต์ เมื่อเครื่องยนต์ท�ำงาน ก็จะไปหมุนเครื่องปั่นไฟส่งเข้าหม้อแปลง ก่อนจะส่งต่อให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และในโครงการในระยะที่สองนั้น เราจะใช้หญ้าเนเปียร์มาใส่ในถังปูน หมักรวมกับน�้ำเสียจากการนึ่งปาล์ม และมูลวัวให้เกิดก๊าซมีเทน เพื่อน�ำมาใช้ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า” ความพิเศษของโครงการในระยะสองก�ำลังจากผลิต 1 เมกะวัตต์ โดยมีส่วนผสมจากพืชพลังงานอย่างหญ้าเนเปียร์พันธุ์ปากช่อง 1 นั้น นอกเหนือจากการใช้พืชพลังงานมาใช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อ หมุนเครื่องปั่นไฟ ที่เป็นพลังงานทางเลือกพลังงานทดแทน ซึ่งเป็น กระแสสูงในแวดวงระบบพลังงานเมืองไทยแล้ว การบริหารจัดการเพื่อ ให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบอย่างพืชพลังงาน หญ้าเนเปียร์พันธุ์ปากช่อง 1 ของ


เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

9

ทำ�บุญครบรอบ 10 ปี สำ�นักข่าวนครโพสต์ องค์กรต้นคิด “พระบรมธาตุสู่มรดกโลก” เกษตรลุ่มน�้ำ ก็เป็นเรื่องพิเศษเช่นเดียวกัน เป็นความพิเศษในมิติของ การให้อย่างมีคุณค่าและรับอย่างมีศักดิ์ศรี ทั้งต่อเกษตรลุ่มน�้ำและกลุ่ม เกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชนั่นเอง “โรงไฟฟ้าก๊าชชีวภาพที่ใช้พืชพลังงานอย่างหญ้าเนเปียร์ของ เกษตรลุ่มน�้ำ ขนาด 1 เมกะวัตต์ ต้องมีพื้นที่ปลูกหญ้าประมาณ 200 ไร่ ในแต่ละวันต้องมีหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิต จ�ำนวน 35 ตัน ซึ่งเรื่องนี้เป็นประเด็นส�ำคัญที่ต้องมีการบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบ มีความเสถียร บริษัทเกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด เราเป็นลูกที่ เป็นคนพื้นถิ่น ไม่สามารถย้ายหนีไปไหนได้ ดังนั้นจึงต้องให้ความส�ำคัญกับ เกษตรกรที่จะผลิตหรือปลูกหญ้าเนเปียร์ส่งให้เรา” ดร.โจ ยืนยันหลักการ มีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ หลักการดังกล่าวจึงเป็นที่มาของให้อย่างมีคุณค่า รับอย่างมี ศักดิ์ศรี ระหว่างเกษตรลุ่มน�้ำกับเกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ในพื้นที่ ซึ่ง คุณสมบูรณ์ เกตุแก้ว ที่ปรึกษากลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ จ.นคร ศรีธรรมราช เล่าเพิ่มเติมว่า เดิมทีกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ จ.นครศรีธรรมราช ปลูกหญ้าเนเปียร์เพื่อเป็นอาหารสัตว์ เป็นกลุ่มผู้เลี้ยง แพะ กระจายตัวอยู่ในแถบ อ.ปากพนัง อ.หัวไทร เมื่อมีกรณีทีทางเกษตร ลุ่มน�้ำต้องการใช้หญ้าเนเปียร์เพื่อเป็นพืชพลังงานเป็นส่วนผสมในการ หมักให้เกิดก๊าซชีวภาพไปหมุนเครื่องปั่นไฟ โดยประกาศรับซื้อในราคา ตันละ 700 บาท ก็กลายเป็นที่ฮือฮา เพราะก�ำหนดราคารับซื้อที่สูงกว่า ราคาตลาดหรือราคาอ้างอิงค่อนข้างมาก แม้โดยทั่วไปจะเชื่อมั่นในบริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด ในฐานะลูกที่ คนพื้นถิ่น แต่ราคาที่ล่อใจก็อาจเป็น ปัญหาตามมา “วิธีการที่ดีที่สุดคือการท�ำความเข้าใจ เราตั้งวงพูดคุยกับทาง ดร.โจ ด้วยการร่วมกันค้นหาต้นทุนการผลิตต่อไร่ที่แท้จริง ซึ่งตัวเลขที่ออก มาและเป็นที่ยอมรับด้วยกันว่าเป็นต้นทุนจริงอยู่ที่ประมาณ 485 บาท/ตัน แต่ทางเกษตรลุ่มน�้ำ ก็ยืนยันจะให้ราคาที่ตันละ 700 บาท แต่มีเงื่อนไขว่า ต้องให้เป็นเพียงอาชีพเสริมในครอบครัว ให้เป็นเกษตรกรรายย่อยไม่เกิน 5 ไร่ต่อรายเท่านั้น ซึ่งเมื่อตกลงกันแล้ว กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหญ้าเนเปียร์ ของเราก็ต้องไปท�ำความเข้าใจกับสมาชิก ต้องไปวางแผนการปลูก พัฒนา ระบบการปลูก การเก็บเกี่ยว จัดเก็บรวบรวมผลผลิต วางแผนเรื่องการขนส่ง ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุตามข้อตกลงที่ร่วมกันวางไว้ ซึ่งที่ผ่านมาก็เป็นไปตามนั้น ส่วนในอนาคตหากมีการขยายก�ำลังการผลิต เราก็จะขยายพื้นที่เพาะปลูก และเพิ่มสมาชิกกลุ่มเข้ามา” ผู้บุกเบิกทางเลือกใหม่ พลังงานทดแทนของประเทศไทย จากวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติจริง เห็นรูปธรรม และก่อมรรคผล ในหลากหลายมิติ โรงไฟฟ้าก๊าชชีวภาพที่ใช้พืชพลังงานอย่างหญ้าเนเปียร์ ของบริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด ขนาด 1 เมกะวัตต์ จึงกลายเป็นกรณีตัวอย่าง “หญ้าเนเปียร์ กับความ คาดหวังที่ครบวงจร” ในโครงการศึกษาศักยภาพ ความเหมาะสมและแนวทางการส่งเสริมการผลิตก๊าซ ชีวภาพจากพืชพลังงานอย่างครบวงจร ที่จัดขึ้นโดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน และมหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อช่วง ต้นเดือนพฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา ซึ่งมีบรรดา โรงงานอุตสาหกรรม ฟาร์มปศุสัตว์ ที่มีระบบผลิตและ ใช้งานก๊าซชีวภาพที่มีความพร้อมอยู่แล้ว และต้องการ เพิ่มปริมาณการผลิต โดยใช้หญ้าเนเปียร์เป็นวัตถุดิบ 8

ส�ำนักข่าว “นครโพสต์” จ.นครศรี ธรรมราช จัดกิจกรรมท�ำบุญฉลองครบรอบ 10 ปี องค์กรสื่อไม่แสวงหาผลก�ำไร – ชี้ผลงานเป็นที่ ประจักษ์ ผู้น�ำเสนอ “โครงการพระบรมธาตุมรดก โลก” ผอ.และทีมผู้ก่อตั้งฯ ผู้บริหารยืนยันก้าวย่าง สู่ปีที่ 11 และปีต่อๆ ไป ยังมุ่งมั่นสร้างประโยชน์ เพื่อสังคม “เพื่อเกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น” เมื่อ 07.09 น. วันที่ 21 ตุลาคม 2557 ที่ส�ำนักข่าวนครโพสต์ ซอยอัศวรักษ์ 1 ถ.ราชด�ำเนิน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ได้มีการ ประกอบพิธีเนื่องในวาระการก่อตั้ง “ส�ำนักข่าว นครโพสต์” ครบรอบ 10 ปี โดยมีการประกอบ พิธีพราหมณ์ บวงสรวงองค์พ่อจตุคาม-รามเทพ องค์ใหญ่ ที่ประดิษฐานประจ�ำส�ำนักข่าวนครโพสต์ และเทพยาดาฟ้าดิน พระภูมิเจ้าที่ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้ง หลาย โดยมีนายสุรโรจน์ นวลมังสอ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักข่าวนครโพสต์ พร้อมทีมผู้ก่อตั้ง ผู้บริหาร พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าร่วมพิธีอย่างพร้อมเพรียง ต่อมาในเวลา 10.00 น.ได้ประกอบพิธีทางพุทธศาสนาโดย นิมนต์เจ้าอาวาสวัดต่างๆ ในจังหวัดนครศรีธรรมรา จ�ำนวน 9 วัด โดย มีพระศรีธรรมประสาธน์ เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธ) เป็น ประธานสงฆ์ และนางสมศรี นวลมังสอ เจ้าของผู้รับใบอนุญาตโรงเรียน เกตุชาติศึกษา มารดาของนายสุรโรจน์ เป็นประธานจุดธูปเทียนบูชา พระรัตนตรัย โดยมีข้าราชการ สื่อมวลชนปละประชาชนเข้าร่วมในพิธี กว่า 100 คน หลังจากเสร็จสิ้นพิธีทางศาสนาจึงถวายภัตตาหารเพลแด่ พระภิกษุสงฆ์ นายสุรโรจน์ นวลมังสอ กล่าวว่า เมื่อเดือนตุลาคม 2557 ตนพร้อมด้วยคณะสื่อมวลชนจ�ำนวนเกือบ 10 คน ได้ร่วมกันก่อตั้ง ส�ำนักข่าวนครโพสต์ขึ้น โดยเป็นองค์การที่ไม่แสวงหาผลก�ำไร เพื่อเป็น ศูนย์กลางในการผลิต เผยแพร่และประชาสัมพันธ์เรื่องราวข่าวสารแก่ ประชาชน โดยไม่แสวงหาผลก�ำไร และมีสโลแกนว่า “เพื่อเกียรติยศและ ศักดิ์ศรีของท้องถิ่น” ท�ำการผลิตสื่อหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น “นครโพสต์” และก่อตั้งสถานีวิทยุชุมชนตามมารตรา 40 กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 เป็นของจังหวัดและของประเทศ “ตลอดระยะเวลาการด�ำเนินงานที่ผ่านมาก่อผู้ก่อตั้งและ ผู้บริหาร พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ทุ่มเท เสียสละในการท�ำงานท่ามกลาง ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ มากมาย จนมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ทั้งใน ระดับพื้นที่ ระดับภาค ระดับประเทศและระดับโลก อาทิ การจัดตั้ง โรงงานผลิตข่าวดี การรณรงค์กิจกรรมปลูกต้นไม้และรักษาสิ่งแวดล้อม การเสนอโครงการ “พระบรมธาตุสู่มรดกโลก” การฟื้นฟูกิจกรรมดนตรี เช่น โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์ม หรือโรงงาน อุตสาหกรรม ฟาร์มปศุสัตว์ ที่มี ระบบผลิตและใช้งานก๊าซชีวภาพอยู่แล้ว แต่มีน�้ำเสียของเสียไม่พอ และ ต้องการเพิ่มปริมาณการผลิตโดยใช้หญ้าเนเปียร์เป็นวัตถุดิบเสริม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง นักลงทุน

ร�ำวงเวียนครก การจัดตั้งกลุ่ม “ลูกพระธาตุ” เพื่อต่อต้านการจัดสร้าง องค์จตุคาม-รามเทพ” ที่ไม่เหมาะสม กระทบกับองค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช เช่น ต่อต้านการน�ำรถบรรทุกขนาดใหญ่น�ำองค์จตุคามรามเทพ เข้าไปบริเวณเขตพุทธาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร การ ต่อต้านการเททองหล่อพระและจุดพลุเฉลิมฉลองการประกอบพิธีมหาเทวาภิเษก-พุทธาภิเษกวัตถุมงคล โดยการกระท�ำดังกล่าวกระทบต่อ ความรู้สึกของประชาชนที่อาจจะท�ำให้องค์พระบรมธาตุได้รับความช�ำรุด เสียหายได้” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักข่าวนครโพสต์ กล่าวอีกว่า นอกจากนี้ ส�ำนักข่าวนครโพสต์ยังเป็นองค์กรที่น�ำการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการจัดงานเทศกาลบุญสารทเดือนสิบโดยมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ เป็นหลัก น�ำเอากิจกรรมลานรถบั๊ม-รถซิ่งเข้าประจ�ำในบริเวณสถานที่จัด งานน�ำมาสู่การทะเลาะวิวาท ยกพวกตะลุมบอนท�ำให้เด็กและเยาวชน ลูกหลานชาวนครศรีธรรมราชเสียชีวิตปีละนับ 10 ศพบาดเจ็บอีกปีละ หลายสิบรายจนเป็นผลส�ำเร็จ พร้อมน�ำกิจกรรมการประกวดหุ่นเปรตพาเหรดเปรต เทศกาลบุญสารทเดือนสิบเข้ามาแทน การแก้ปัญหาเด็ก วัยรุ่นยกพวกก่อเหตุทะเลาะวาท ตะลุมบอน ท�ำร้ายร่างกายตามหน้า เวทีคอนเสิร์ต โดยสนับสนุนฟื้นฟูดนตรีร�ำวงเวียนครกจนเกิดวงดนตรี ร�ำวงเวียนครก สามารถลดความรุนแรงจนแก้ปัญหาการก่อเหตุของ วัยรุ่นได้และเกิดวงดนตรีร�ำวงเวียนครกขึ้นอย่างแพร่หลายเป็นสัญลักษณ์ อย่างหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน ในขณะนี้ส�ำนักข่าวนครโพสต์มีอายุครบ 10 ปี และในก้าว ย่างเข้าสู่ปีที่ 11 และปีต่อๆ ไป ทางผู้ร่วมก่อตั้งและทีมผู้บริหารส�ำนักข่าว นครโพสต์ยังคงมุ่งมั่นใจที่จะด�ำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่วนรวมต่อไป. ด้านพลังงานก๊าซชีวภาพ และผู้สนใจ เข้าร่วมเวทีศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กันอย่างคับคั่ง อย่างไรก็ตาม ประเด็นที่บริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด ให้ความ ส�ำคัญ เพราะจะเป็นปัจจัยชี้ขาดต่อโอกาสทางธุรกิจของกลุ่มผู้ประกอบการ โรงไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพโดยใช้พืชพลังงานชนิดหญ้าเนเปียร์ คือกรณี ประเด็นการก�ำหนดอัตราเงินสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ตามต้นทุนที่แท้จริง หรือ เอฟไอที (FIT- feed in tariff ) โรงไฟฟ้า หญ้าเนเปียร์ ที่มีกระแสข่าวว่าจะอยู่ที่ 5.40 บาทต่อหน่วย แต่ยังไม่มี ค�ำตอบที่ชัดเจนจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ(กพช.) ออกมา เพราะการก�ำหนดอัตราเงินสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนตามต้นทุนที่แท้จริง หรือ เอฟไอที นั้น คือความเชื่อมั่นของ ผู้ประกอบการนั่นเอง แต่ไม่ว่า มติของ กพช. ว่าด้วยการก�ำหนดอัตราเงินสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนตามต้นทุนที่แท้จริง หรือ เอฟไอที (FIT- feed in tariff ) ประเภทโรงไฟฟ้าหญ้าเนเปียร์ จะออกมาอย่างไร โรงไฟฟ้าก๊าชชีวภาพที่ใช้พืชพลังงานอย่างหญ้าเนเปียร์ของบริษัท เกษตร ลุ่มน�้ำ จ�ำกัด ก็กลายเป็น ค�ำตอบของความคาดหวังที่ครบวงจร เป็นชุด องค์ความรู้ที่กอรปทั้งมูลค่าและคุณค่า เป็นอนาคตของทางเลือกแห่งพลังงานทดแทน ที่สามารถ ตอบโจทย์ระบบความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าของสังคมไทยทั้งใน บริบทพื้นที่ชุมชนท้องถิ่น การรักษาสิ่งแวดล้อม และการสนับสนุน อาชีพเสริมรายได้ให้กับเกษตรกรรายย่อย…


10

เดือนพฤศจิกายน 2557

เมืองคอนประกาศเขตภัยพิบัติฉุกเฉินแล้ว 7 อ�ำเภอ ในขณะที่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลีฯ ทรงพระกรุณาให้นายอภัย จันทนจุลกะ รองประธาน มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เป็นผู้แทนพระองค์ฯ ตรวจเยี่ยมและพระราชทานถุง ยังชีพให้ผู้ประสบภัยบ้านมะม่วงตลอด อ.พระพรหม (10 พ.ย.)นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า ตามที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับผลกระทบจากหย่อม ความกดอากาศต�่ำ ท�ำให้ฝนตกหนักหลายพื้นที่ ตั้งแต่ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2557 ท�ำให้น�้ำป่าไหลหลากเข้า ท่วมบ้านเรือน เรือกสวนไร่นาของราษฎร ได้รับความ เดือดร้อน ตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 โดยอ�ำเภอ ต่างๆ ได้รายงานสถานการณ์ให้จังหวัดเพื่อประกาศ เขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) จ�ำนวน 7 อ�ำเภอ ประกอบด้วย อ�ำเภอพิปูน

FREE COPY

เมืองคอนประกาศเขตภัยพิบัติฉุกเฉินแล้ว 7 อำ�เภอ ในพื้นที่ของหมู่ที่ 3 – 7 ต.พิปูน หมู่ที่ 4,6 ต.กะทูน หมู่ที่ 2-5,8 ต.ยางค้อม และ หมู่ที่ 3-6 ต.เขาพระ มี ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 450 คน 202 ครัวเรือน ถนนได้รับความเสียหาย 14 สาย สะพาน 1 แห่ง ฝาย/พนังกั้นน�้ำ 4 แห่ง อ�ำเภอช้างกลาง เกิดอุทกภัย ในพื้นที่หมู่ 1,7,10 ต.หลักช้าง หมู่ที่ 1,2,3,9 ต.สวนขัน หมู่ที่ 1,2,5 ต.ช้างกลาง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 907 คน 264 ครัวเรือน คอสะพานเสียหาย 1 แห่ง ถนน 1 สาย ท่อระบายน�้ำ 1 แห่ง อ�ำเภอเมืองนคร ศรีธรรมราช ซึ่งเป็นพื้นที่รับน�้ำจากอ�ำเภอลานสกา เกิดอุทกภัยในพื้นที่หมู่ที่ 1-6 ต.มะม่วงสองต้น หมู่ที่ 1,6 ต.ปากนคร หมู่ที่ 1,2 ต.นาทราย หมู่ที่ 7,8

กรมทหารราบที่ 15 ทภ.4 นำ�กำ�ลังพล

ฟื้นฟูผู้ประสบภัย

“บ้านคีรีวง”

กรมทหารราบที่ 15 ค่ายวชิราวุธ กองทัพภาคที่ 4 ระดมก�ำลังเข้าช่วยเหลือฟื้นฟูวิถีการด�ำรงชีวิตชาวบ้าน คีรีวง ต.ก�ำโลน อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช หลัง ประสบภัยน�้ำท่วมท�ำให้บ้านพักเสียหาย รวมทั้งฝาย มีชีวิตที่ชาวบ้าน 4 หมู่บ้านร่วมกันสร้างถูกกระแสน�้ำ พัดถล่มพังเสียหาย (11 พ.ย.) ผู้สื่อข่าวรายว่า กรณีที่ได้เกิด ภาวะฝนตกหนักและเกิดน�้ำท่วมในพื้นที่จังหวัดนคร ศรีธรรมราช ตั้งแต่วันที่ 7 พ.ย.57 ที่ผ่านมา ส่งผล ให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยในหลายอ�ำเภอ ได้รับผลกระทบเป็นบริเวณกว้าง โดยเฉพาะที่บ้าน คีรีวง ต.ก�ำโลน อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช แหล่ง ต้นน�้ำที่ไหลเข้าสู่ตัวเมืองนครศรีธรรมราช และเป็น พื้นที่ที่เคยประสบภัยพิบัติครั้งใหญ่เมื่อปี 2531 โดย กระแสน�้ำได้พัดท�ำลายฝายน�้ำล้น (ฝายมีชีวิต) ซึ่ง ชาวบ้านจาก 4 หมู่บ้านช่วยกันสร้างเมื่อเดือนมิถุนายน 2557 เพื่อไว้ชะลอน�้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง ซึ่งการด�ำเนิน การก่อสร้างไม่ได้ใช้งบประมาณจากภาครัฐแต่อย่างใด ได้รับความเสียหายทั้งหมด และยังท�ำลายภูมิทัศน์ ด้านการท่องเที่ยวที่สวยงามของบ้านคีรีวง รวมทั้ง บ้านเรือนประชาชนที่ถูกค้นไม้ใหญ่ล้มทับได้รับความ

เสียหายเป็นจ�ำนวนมาก พันเอกเสนีย์ ศรีหิรัญ ผู้บังคับการกรม ทหารราบที่ 15 ค่ายวชิราวุธ กองทัพภาคที่ 4 ได้รับ รายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้น�ำก�ำลังพลพร้อม อุปกรณ์เครื่องเข้าช่วยเก็บซากปรักหักพัง ตัดฟันรื้อ กิ่งไม้ ต้นไม้ ที่ล้มทับบ้านของชาวบ้าน หลังจากนั้น ได้ร่วมหารือกับผู้น�ำท้องถิ่นในการสร้างฝายมีชีวิต ขึ้นใหม่โดยเร็วที่สุด นอกจากนั้นกรมทหารราบที่ 15 ค่ายวชิราวุธ กองทัพภาคที่ 4 ยังได้จัดหน่วยแพทย์ เคลื่อนที่เข้าให้บริการตรวจสุขภาพและรักษาอาการ ป่วยของผู้สูงอายุ พร้อมจัดยารักษาโรคต่างๆ ให้ไว้ รับประทาน ท่ามกลางความดีใจ และอบอุ่นใจของ ประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก

ต.โพธิ์เสด็จ หมู่ที่ 1,5,6,10 ต.ปากพูน หมู่ที่ 1,2,5 ต.ไชยมนตรี หมู่ที่ 8 ต.ท่างิ้ว หมู่ที่ 2,3 ต.ก�ำแพงเซา ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 500 คน 150 ครัวเรือน ความเสียหายอยู่ระหว่างส�ำรวจ อ�ำเภอฉวาง เกิด อุทกภัยในพื้นที่หมู่ที่ 1-17 ต.ละอาย หมู่ที่ 3,5,8 ต.ไม้เรียง หมู่ที่ 1-5 ต.กะเปียด หมู่ที่ 2-8,11 ต.นาแว หมู่ที่ 3-8 ต.ฉวาง หมู่ที่ 3 ต.จันดี หมู่ที่ 1,5-7 ต.ไสหร้า หมู่ที่ 2,3,7 ต.กะชะ ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 3,500 คน 900 ครัวเรือน ถนนได้รับความเสียหาย 31 สาย สะพาน 4 แห่ง วัด 1 แห่ง สถานที่ราชการ 2 แห่ง ท่อระบายน�้ำ 10 แห่ง อ�ำเภอลานสกา ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นน�้ำเกิด อุทกภัยในพื้นที่หมู่ที่ 1,4,6,9 ต.ก�ำโลน หมู่ที่ 4 ต.ขุนทะเล หมู่ที่ 7 ต.ลานสกา หมู่ที่ 2 ต.เขาแก้ว และ หมู่ที่ 1-7 ต.ท่าดี ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 650 คน 222 ครัวเรือน บ้านเสียหายบางส่วน 1 หลัง เสียหายทั้งหลัง 1 หลัง อ�ำเภอปากพนัง เกิดอุทกภัย ในพื้นที่หมู่ที่ 7 ต.หูล่อง หมู่ที่ 4,7 ต.ปากพนังฝั่ง ตะวันออก หมู่ที่ 1,2 ต.ปากพนังฝั่งตะวันตก หมู่ที่ 1,2 ต.บ้านใหม่ หมู่ที่ 8,9,13 ต.คลองกระบือ และในเขต เทศบาลเมืองปากพนัง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 2,890 คน 1,145 ครัวเรือน และอ�ำเภอพระพรหม ซึ่งเป็นพื้นที่รับน�้ำจากอ�ำเภอลานสกา เกิดอุทกภัยใน

พื้นที่หมู่ที่ 1-3 ต.นาพรุ หมู่ที่ 2-4,7 ต.นาสาร หมู่ที่ 4-8,11,13 ต.ท้ายส�ำเภา หมู่ที่ 1,13 ต.ช้างซ้าย ราษฎร ได้รับความเดือดร้อน จ�ำนวน 4,641 คน 1,547 ครัวเรือน “อย่างไรก็ตามขณะนี้สถานการณ์ต่างๆ ส่วนใหญ่ได้กลับเข้าสู่สภาวะปกติแล้ว แต่ยังคงมีน�้ำ ท่วมขังที่เป็นพื้นที่ลุ่มต�่ำใกล้ทางน�้ำของอ�ำเภอพระพรหม เชื่อมต่อกับอ�ำเภอเมือง คาดว่าหากไม่มีฝนตกเพิ่มเติม จะเข้าสู่ภาวะปกติภายในหนึ่งถึงสองวันนี้ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า เปิดเผยอีกว่า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทินัดดามาตุ ทรงห่วงใยราษฎรที่ประสบภัย ทรงพระ กรุณาโปรดให้ นายอภัย จันทนจุลกะ รองประธาน มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เป็นผู้แทนพระองค์ฯ ตรวจเยี่ยมราษฎรในพื้นที่น�้ำป่า ไหลหลากซึ่งเป็นพื้นที่ประสบภัยธรรมชาติและประกอบ พิธีอัญเชิญถุงยังชีพพระราชทานไปมอบให้ผู้ประสบภัย ณ วัดมะม่วงตลอด หมู่ที่ 7 ต�ำบลนาสาร อ�ำเภอ พระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยประกอบพิธี อัญเชิญถุงยังชีพพระราชทานถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ จ�ำนวน 20 ชุด อัญเชิญถุงยังชีพพระราชทานมอบแก่ คนชรา คนพิการ จ�ำนวน 230 ชุด.

พันเอกเสนีย์ ศรีหิรัญ ทางกรมทหารราบ ที่ 15 ค่ายวชิราวุธ กองทัพภาคที่ 4 มีเป้าหมายในการ ฟื้นฟูความเป็นอยู่และวิถีการด�ำรงชีวิตของประชาชน ในพื้นที่บ้านคีรีวง ต.ก�ำโลน อ.ลานสกา ที่ประสบภัย

พิบัติน�้ำท่วมให้กลับสู่ภาวะปกติต่อไป ส่วนในพื้นที่ ประสบภัยอื่น ๆ ทางกรมทหารราบที่ 15 ค่ายวชิราวุธ กองทัพภาคที่ 4 จะเข้าไปช่วยเหลือฟื้นฟูวิถีการด�ำรง ชีวิตของผู้ประสบภัยต่อไป

ชาวบ้านโพธิ์ทองรวมตัวปกป้องเจ้าอาวาส

ลงมติขับไล่พระลูกวัดสองพ่อลูกพ้นวัด ชาวบ้านในท้องที่หมู่ 5 ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรี ธรรมราช รวมตัวปกป้องเจ้าอาวาสนักพัฒนา พร้อมท�ำประชามติขับไล่ 2 พ่อลูกพระลูกวัดพ้นจากวัด-หลังมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมตั้งวงดื่มเหล้า ในวัดจนโดนเจ้าอาวาสว่ากล่าวตักเตือนไม่พอใจตั้งแก๊งข่มขู่กดดันบีบ บังคับเจ้าอาวาสออกจากวัด- ในที่สุด 2 พระพ่อลูกหนีจีวรปลิวพ้นวัด ไปโดยปริยาย เมื่อเวลา 16.30 น.วันที่ 3 พ.ย.2557 ที่ศาลาโรงธรรม วัดโพธิ์ทอง ตั้งอยู่ในท้องที่หมู่ 5 ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช นายนัฐพากย์ ไกรนุกูล ผญบ.หมู่ 5 นายวิโรจน์ พุทธพงศ์ สท.เขต 1 เทศบาลต�ำบลโพธิ์เสด็จ ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช และ นายสุริยา การัยภูมิ ส.อบต.ไชยมนตรี อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ได้น�ำ ชาวบ้านประมาณ 150 คน มารวมตัวประท้วงขับไล่พระรื่น เกตุสมบัติ พระลูกวัดโพธิ์ทอง และพระเสนอ เกตุสมบัติ ซึ่งเป็นบุตรชายของพระรื่น โดยมีสาเหตุมาจากที่ผ่านมาพระรื่นและพระเสนอ ไม่เคารพในตัวของ พระเสถียร ฐิตมโน เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทอง และเป็นตัวการยังยุส่งเสริมให้ พระลูกวัดรูปอื่นๆ กระด้างกระเดื่องไม่เคารพในตัวเจ้าอาวาส สร้างความ แตกแยกในหมู่พระภิกษุสงฆ์ในวัดรวมทั้งในหมู่ประชาชนใกล้เคียงวัด นายนัฐพากย์ ไกรนุกูล กล่าวว่า นอกจากปัญหาดังกล่าว แล้ว พระรื่นและพระเสนอ ยังชอบดื่มสุรา ทั้งๆ ที่ยังเป็นพระภิกษุ ห่มผ้าเหลือง ไม่สนใจศึกษาพระธรรมวินัย โดยจนถึงขณะนี้ทั้ง 2 รูป

ยังไม่สามารถท่องบทสวดมนต์ต่างๆ ได้ จึงไม่สามารถร่วมประกอบกิจ ของสงฆ์ได้ เมื่อถูหกเจ้าอาวาสว่ากล่าวตักเตือนถึงพฤติกรรมเหมาะสม กับสมณะเพศ และขอให้ศึกษาพระธรรมวินัยอย่างจริงจัง ท�ำให้พระภิกษุ สองพ่อลูกไม่พ่อใจเจ้าอาวาสต่างๆ นานา สุดมีกระแสข่าวว่าพระทั้ง 2 รูป พยายามข่มขู่ คุกคาม กดดันเพื่อบีบให้เจ้าอาวาสหนีออกจากวัดไปจ�ำพรรษา ที่วัดอื่น โดยเจ้าอาวาสตกอยู่ในสภาพหวาดกลัวอย่างหนัก เกรงไม่ปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อชาวบ้านทราบเรื่องจึงรวมตัวกันออกมาคัดค้าน และขับไล่ให้พระรื่นกับพระเสนอ สองพ่อลูกให้ออกจากวัดโดยเร็ว นายวิโรจน์ พุทธพงศ์ กล่าวว่า ที่ผ่านมาพระเสถียร ฐิตมโน เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทอง ได้ทุ่มเทพัฒนาวัดโพธิ์ทองอย่างต่อเนื่อง จากวัดเล็กๆ ที่ไม่ค่อยมีใครรู้จักจนก้าวกระโดดกลายเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง จนเป็นที่ รักใคร่ของชาวบ้านทั้ง ๆ ที่ตัวพระเสถียร เจ้าอาวาสท่านไม่ใช่เป็นคนใน พื้นที่ แต่ท่านรักและหวงแหนวัดแห่งนี้ ทุ่มเทพัฒนาวัดตลอด ท่านเป็น เจ้าอาวาสไม่กี่ปี ได้พัฒนาวัดจนผิดหูผิดตาชนิดที่ว่าใครที่นานๆ กลับมา เยี่ยมบ้านถึงกับอึ้งไปกับการพัฒนาภายในวัดจนดูดี มีคุณค่า เพียบพร้อม ทุกอย่าง เป็นจุดศูนย์รวมใจของชาวบ้านและหน้าเป็นตาของหมู่บ้านผิดหู ผิดตาไปจากเมื่อก่อนอย่างมาก ผู้สื่อข่าวรายงานว่าในขณะที่ผู้น�ำท้องถิ่นและชาวบ้านรวมตัว กันขับไล่พระสองพ่อลูกออกจากวัด ทางพระเสถียร เจ้าอาวาส ไม่อยู่วัด เนื่องจากเข้ารับการรักษาตัวจากอาการโรคความดัน เบาหวาน ที่

โรงพยาบาลนครินทร์ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช โดยชาวบ้านได้ท�ำประชามติ ทุกคนยกมือโหวตลงมติว่าจะให้พระเสถียร เจ้าอาอาวาส อยู่จ�ำพรรษาและ เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทองต่อไป ส่วนพระรื่นและพระเสนอ 2 พ่อลูก จ�ำพรรษาชาวบ้านทุกคนยกมือโหวตให้พระภิกษุสองพ่อลูกออกจากวัดไป ท่ามกลางเสียงไชโยโห่ร้องของชาวบ้าน ท�ำให้พระรื่นและพระเสนอ สอง พ่อลูก ซึ่งแอบดูความเคลื่อนไหวของชาวบ้านรีบเก็บข้าวของของหนีออก จากวัดไปอย่างรวดเร็ว. ในขณะที่ชาวบ้านได้นิมนต์พระภิกษุลูกวัดอีก 2-3 รูปมาร่วม รับฟังผลการลงประชามติ พร้อมกันนี้ชาวบ้านได้ท�ำประชามิติให้พระภิกษุ ชรารูปหนึ่งที่พฤติกรรมไม่เหมาะสมเหมือนกับพระรื่นและพระเสนอ โดย ลงมติให้พ้นจากวัดด้วย แต่พระภิกษุรูปดังกล่าว ยืนยันว่าจะปฏิบัติตัวใหม่ อยู่ในพระธรรมวินัยและเชื่อฟังค�ำสั่งของพระเสถียร เจ้าอาวาสอย่างเคร่งครัด ชาวบ้านจึงยกมือลงมติโหวตให้พระภิกษุรูปดังดังกล่าวจ�ำพรรษาต่อที่วัด โพธิ์ทองได้ แต่หากไม่ปฏิบัติตามค�ำสัญญาจะรวมตัวโหวตลงมติขับไล่พ้น วัดต่อไป ผู้สื่อข่าวรายงานว่าหลังข่าวถูกเผยแพร่ทางสื่อมวลชลได้มี ประชาชนจ�ำนวนมากออกมาชื่นชมยกย่องประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ที่ออกมาปกป้องเจ้าอาวาสซึ่งพระภิกษุที่ดี เป็นพระนักพัฒนา โดยไม่เข้า ด้วยช่วยเหลือกับพระภิกษุสองพ่อลูกที่เป็นคนในพื้นที่แต่มีพฤติกรรมไม่ เหมาะสม โดยมองว่าหากชาวพุทธคิดและกระท�ำเหมือนชาวบ้านโพธิ์ทอง ช่วยกันปกป้องพระภิกษุที่ดีๆ จะท�ำให้พระภิกษุสงฆ์ที่ยึดมั่นในพระธรรม วินัย มุ่งพัฒนาวัดและช่วยขจัดพระภิกษุนอกรีตจะท�ำให้พระภิกษุใรบวร พุทธศาสนามีขวัญและก�ำลังใจมีก�ำลังใจเผยแพร่พุทธศาสนาได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น.


เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

11

ชาวบ้านร้อง สคบ.และสื่อมวลชน น�้ำประปาเมืองคอนแพงมหาโหด วุ่นวายไม่รู้จบปัญหาน�้ำประปาเทศบานคร นครศรีธรรมราช ทั้งไม่ไหล ไหลช้า มีสีขุ่นแดง รวมทั้งเรียกเก็บค่าน�้ำแพงมหาโหดบางราย พุ่งสูงเดือนละเกือบ 1 แสนบาท เดือดร้อนเรื่องค่าน�้ำต่อเนื่องกว่า 3 ปี ล่าสุดข้าราชการบ�ำนาญร้องจ๊ากเดือนเดียวจากราคา 60 บาทพุ่งเป็นกว่า 5,000 บาท รุดร้อง สคบ.และสื่อมวลชน เมื่อเวลา 15.00 น.วันที่ 3 พ.ย.2557 นายสมศักดิ์ ตันตระกูล อายุ 63 ปี ข้าราชการครูบ�ำนาญ อยู่บ้านเลขที่ 4/662-4/683 ถ.พัฒนาการ คูขวาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ได้ร้องเรียนต่อสื่อมวลชน กรณีถูกเจ้าหน้าที่จากกองประปาเทศบาลนครนครศรีธรรมราช เรียกเก็บ ค่าน�้ำย้อนหลังเดือนเดียวกว่า 5,000 บาท ทั้งๆที่การใช้น�้ำตามปกติเดือน ละ 60-100 บาทเศษเท่านั้น โดยผู้เสียหายรายนี้ได้เดินทางไปร้องเรียน ต่อส�ำนักงานคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดนครศรีธรรมราชก่อนหน้าแล้ว

นายสมศักดิ์ ตันตระกูล กล่าวว่า นับตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นมา น�้ำประปาในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช มีสภาพผิดปกติ ไหลบ้าง ไม่ไหลบ้าง สีขุ่นแดง สกปรก ตนและเพื่อนบ้านได้รับความเดือดร้อนอย่าง ต่อเนื่องแต่ตนและชาวบ้านสู้ทนมาตลอด โดยต้องจ่ายค่าน�้ำประปาเดือนละ ประมาณ 60-100 บาทเศษ แต่ล่าสุดลูกสาวได้ไปจ่ายค่าน�้ำประปาของ บ้านเลข 4/683 ที่เทศบาล ในเดือนตุลาคม 2557 ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ ไม่ยอมรับการจ่ายเงิน โดยระบุว่าจะต้องจ่ายเงินค่าน�้ำในส่วนที่ยังค้างอยู่ ของเดือนธันวาคม 2556 ก่อน จึงจะจ่ายของเดือนตุลาคม 2557 ได้ โดย ของธันวาคม 2556 ที่ค้างอยู่เรียกเก็บ 5,669.96 บาท นอกจากบ้านของตนแล้วยังมีเพื่อนบ้านอีกหลายรายถูกเรียก เก็บค่าน�้ำประปาย้อนหลังเดือนธันวาคม 2556 สูงเกินจริง ทั้งๆ ที่ตามปกติ ใช้อยู่เดือนละไม่ถึง 100 บาท จึงสอบถามเจ้าหน้าที่ทราบว่าค่าน�้ำที่ผ่านมา

ฉก.ศรีวิชัยจับกุมผู้ค้ายาเสพติดพร้อมไอซ์กว่าครึ่งกิโลกรัม เมื่อเวลา 10.30 น. วันนี้(20 ต.ค.57) ที่ห้องประชุมราชสีห์ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมด้วย พ.ต.อ.ภูดิส นรสิงห์ รอง ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.อ.ชาญวิทย์ ปิ่นมณี รองผู้อ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัด ฝ่ายทหาร และปลัด จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกันแถลงข่าวกรณีชุดเฉพาะกิจศรีวิชัย จังหวัดนครศรีธรรมราชจับกุมนายวิวัฒ สุธาโพชน์ หรือ ถั่วแระ ปากพูน อายุ 32 ปี และนายเธียรศักดิ์ วัฒนสิทธิ์ หรือ เบส อายุ 24 ปี พร้อมของกลางยาไอซ์ น�้ำหนัก 547.4 กรัม นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผวจ.นครศรีธรรมราช กล่าวว่า นายวิวัฒ หรือถั่วแระ ถือเป็นผู้ค้ายาเสพติดรายส�ำคัญของ จ.นครฯ ที่ส�ำนักงาน ป.ป.ส.ภาค 8 และชุด ปส.จังหวัดเฝ้าติดตามพฤติกรรม มานานแล้ว หลังจากเคยเป็นผู้ต้องโทษคดียาเสพติดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมาแล้ว เมื่อพ้นโทษก็ยังมาค้ายาเสพติดต่อ ซึ่งต้องขอชมเชยชุดจับกุม และคณะที่ได้ท�ำงานอย่างทุ่มเทและจริงจัง นายอ�ำพล สังข์ทอง หัวหน้าชุดเฉพาะกิจศรีวิชัยจังหวัด นครศรีธรรมราช หัวหน้าชุดจับกุมกล่าวว่า ก่อนการจับกุมทางชุด ฉก.

ไม่ได้เก็บตามที่ใช้จริง เป็นความสะเพร่าของพนักงานจดมาตรวัดน�้ำ โดย ไม่ได้จดบิลตามตัวเลขมาตรวัดน�้ำที่แท้จริง ท�ำให้ค่าน�้ำไม่ตรงกับการใช้จริง เมื่อเทศบาลฯ มาปรับให้ตรงตามข้อเท็จจริงของผู้ใช้น�้ำประปาส่งผลให้ ค่าน�้ำเดือนธันวาคม 2556 พุ่งสูงขึ้นหลายสิบเท่า สร้างความเดือดร้อน ให้กับประชาชนทั่วเขตเทศบาลอย่างกว้างขวาง ซึ่งหากการร้องเรียนต่อ สคบ.และสื่อมวลชนแล้วยังไม่ได้รับการแก้ไขหรือช่วยเหลือตนจะเข้าร้อง ขอความเป็นธรรมต่อศูนย์ด�ำรงธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราชต่อไป นายสุทิพย์ เพชรแก้ว ผอ.ส�ำนักการประปาเทศบาลนครนครศรี ธรรมราช ชี้แจงว่า ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นเกิดจากที่ผ่านมาได้มีการว่าจ้าง เอกชนให้เข้ามาด�ำเนินการเก็บค่าน�้ำประปา แต่พนักงานของบริษัทเอกชน จดมาตรวัดน�้ำแบบมั่วๆ แล้วปล่อยให้หมักหมมไว้เป็นเวลานาน จนกระทั่ง ส�ำนักการประปาเลิกจ้างเอกชน แล้วมีการปรับตัวเลขมาตรวัดน�้ำใหม่ ทั้งหมด จึงได้ทราบว่ามีตัวเลขยังคงค้างอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และมีผู้ใช้น�้ำ ได้รับผลกระทบค่าน�้ำแพงเกินจริงเป็นจ�ำนวนมาก แต่ทางส�ำนักการประปา ก็ยังเปิดโอกาสให้ผู้ใช้น�้ำผ่อนช�ำระมา ในส่วนที่ค้างเป็นเวลา 1 ปี ตั้งแต่ เดือนธันวาคม 2556.

ประมาณ 36.2 กรัม จากนั้นจึงได้ขยายผลต่อโดยให้ผู้ต้องหาโทรศัพท์สั่ง ซื้อไอซ์ จ�ำนวน 100 กรัม โดยนัดส่งของที่รีสอร์ตแห่งหนึ่งย่านถนน ศรีวิชัย ได้รับการประสานจาก ป.ป.ส.ภาค 8 ให้เฝ้าระวังพฤติกรรมผู้ต้องหา อ้อมค่าย ต.ปากพูน อ.เมือง เมื่อถึงเวลานัดหมายปรากฏว่านายเบส หรือเธียรศักดิ์ ได้ขับรถจักรยานยนต์เอาไอซ์ไปส่งให้ตามที่ได้นัดหมายไว้ ดังกล่าวเนื่องจากเป็นผู้ต้องหารายส�ำคัญ เมื่อได้รับแจ้งจากสายว่า นายวิวัฒน์ หรือ ถั่วแระ ก�ำลังนั่งตกปลาอยู่ที่แพปลาแห่งหนึ่งในเขตเทศบาล จ�ำนวน 1 ถุง น�้ำหนักรวม 510.2 กรัม เมื่อรวมกับของกลางที่ตรวจค้น ต�ำบลท่าแพ อ.เมืองนครศรีธรรมราช จึงได้น�ำก�ำลังแฝงตัวเข้าไปจับกุมได้ ได้น�้ำหนักรวม 547.4 กรัม รวมมูลค่ากว่า 1.6 ล้านบาท จึงควบคุมตัว โดยละม่อม ตรวจค้นในตัวพบไอซ์ซุกซ่อนอยู่ในตัว 1 ถุงเล็ก น�ำหนัก 1 กรัม ทั้งสองคนไว้สอบสวนและด�ำเนินคดีตามกฎหมาย และขยายผลผู้ที่อยู่ใน จากนั้นได้น�ำตัวไปตรวจค้นที่บ้านพบไอซ์ซุกซ่อนอยู่ในตู้ล�ำโพงอีก น�้ำหนัก ขบวนการต่อไป

ผู้ว่าฯ เมืองคอนรุดตรวจสภาพแม่น�้ำปากพนัง

หลังวิกฤติน�้ำเน่าเสียปลาลอยตายเกลื่อน ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชพร้อมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รุดตรวจสอบแม่น�้ำปากพนังหลังเกิดวิกฤติจากการเปิดประตูระบายน�้ำ โครงการพัฒนาลุ่มน�้ำปากพนัง ส่งผลให้ปลาและสัตว์น�้ำในกะชังของ ชาวบ้าน 80 รายรวมทั้งที่อาศัยตามธรรมชาติลอยตายเกลื่อน-ฟันธง ปัญหาเปิด-ปิดประตูระบายน�้ำท�ำชาวบ้านเดือดร้อนทุกปี จากกรณีชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช โดยเฉพาะในบริเวณล่างประตูระบายน�้ำ อุทกวิภาชประสิทธ์ อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช น�้ำมีสภาพเน่าเสีย ที่เกิดจากปุ๋ยเคมี สารเคมี ยาปราบศัตรูพืชที่ไหลชะล้างมากับน�้ำฝนมา หมักหมมอยู่บนเหนือเขื่อนเป็นเวลานาน เมื่อฝนตกหนักเจ้าหน้าที่ต้อง เปิดประตูระบายน�้ำท�ำให้น�้ำเน่าเสียไหลทะลักลงในแม่น�้ำปากพนังส่งผล ให้เกิดน�้ำเน่าเสีย ปลาและสัตย์น�้ำหายชนิดทั้งในส่วนที่ชาวบ้านเลี้ยงใน กะชังและอาศัยอยู่ตามธรรมชาติลอยตายเกลื่อน สร้างความเดือดร้อน และส่งผลวิถีการด�ำรงชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก ผู้สื่อข่าวรายงานความคืบหน้าเมื่อเวลา 12.30 น.วันที่ 27 ต.ค. นี้ว่า ที่ชาวบ้านที่อาศัยอยู่บริเวณประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสิทธ์ โครงการพัฒนาลุ่มน�้ำปากพนัง ได้มีกลุ่มเลี้ยงปลาในกระชังกว่า 80 ราย ที่ปลาและสัตว์น�้ำที่เลี้ยงในกะชัง เกิดช็อคน�้ำเน่าเสียที่มีการเปิดประตู ระบายน�้ำอย่างกะทันหันได้เดินทางมารวมตัวประท้วงเรียกร้องขอความ เป็นธรรมและขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมเรียกร้อง ให้นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ลงพื้นที่

เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงและหาทางเยี่ยวแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน นางเพ็ญศรี พวงแก้ว กลุ่มผู้เลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง กล่าวว่า การเลี้ยงปลาในกระชังในพื้นที่มีปัญหามาตลอดทุกๆ ปี ไม่เคย ได้รับการแก้ไข โดยเฉพาะในช่วงที่มีการเปิดประตูระบายน�้ำโดยไม่ได้แจ้ง ให้ทราบล่วงหน้า ท�ำให้ปลาที่เลี้ยงในกะชังและที่อยู่ตามธรรมชาติลอย ตายเป็นเบือมาทุกปี ตนและผู้เลี้ยงปลาในกระชังรายอื่นๆ เคยเรียกร้อง กับเจ้าหน้าที่หลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้น ปล่อยให้ผู้เลี้ยงพบกับ ชะตากรรมประสบปัญหามาโดยตลอด ประชาชนต้องหมดเนื้อหมดตัว หลายๆ ครั้ง แต่ไม่รู้จะท�ำอย่างไรเพราะเป็นอาชีพที่ยึดมากันโดยตลอด จึงวอนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาแก้ปัญหาแบบระยะยาวและถาวรเสียที ต่อมานายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรี ธรรมราช พร้อมด้วยประมงจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เดินทาง ไปตรวจเยี่ยมพื้นที่และรับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนที่ได้รับความ เดือดร้อน โดยได้นั่งเรือหางยาวออกตรวจตราพื้นที่พร้อมเยี่ยมเยียน ตรวจสอบความเสียหายจากประชาชาที่ได้รับผลกระทบปลาที่เลี้ยงใน กะชังและที่อยู่ตามธรรมชาติลอยตายเกลื่อนเต็มไปหมด ชาวบ้านทั้ง 80 ราย ยืนยันตรงกันว่า ปัญหาการเปิด-ปิดประตูระบายน�้ำโครงการพัฒนา ลุ่มน�้ำปากพนังมีปัญหามาตลอด เจ้าหน้าที่นึกจะเปิดก็เปิดจะปิดก็ปิด ในช่วงฤดูแล้งปิดไว้นานจนน�้ำเน่าเสียหมักหมมยาวนาน เมื่อถึงช่วงหน้าน�้ำ ก็เปิดปล่อยน�้ำเสียออกมา ท�ำให้ชาวบ้านท้ายประตูระบายน�้ำซึ่งส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก โดยปลา

และสัตว์น�้ำทั้งที่เลี้ยงในกะชังและอาศัยอยู่ตามธรรมชาติตายหมด เป็น แบบนี้มาทุกปีทุกทุกครั้งไม่ได้รับการแก้ไขที่ถูกต้องและถาวร ชาวบ้าน หลายรายรายต้องหมดเนื้อหมดตัว ปลาในกะชังที่ต้องลงทุนไปจ�ำนวนมาก เพื่อหวังก�ำไรเลี้ยงครอบครัวก็ตายหมด เรียกว่าสิ้นเนื้อประดาตัวกันไป เลยก็มี จึงอยากให้ทางผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชเร่งให้การ ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหานี้อย่างยั่งยืนด้วย ทางด้านนายพีระศักดิ หินเมืองเก่า กล่าวว่า เท่าที่ได้รับรายงาน ทราบว่าปัญหาแบบนี้เกิดมาทุกปี ตอนนี้คงต้องหาทางเร่งแก้ปัญหาทั้ง ระยะสั้นและระยะยาว โดยทราบว่าพื้นที่ตรงนี้เป็นพื้นที่รับน�้ำกว่า 5 แสน ลูกบาศก์เมตร และยังเป็นจุดของสิ่งปฏิกูลและสารพิษต่างๆ อันเกิดจาก พื้นที่ท�ำการเกษตรกรเหนือประตูระบายน�้ำ คงต้องเร่งหาทางเยียวยา ให้กับเกษตรกรที่เดือดร้อนอย่างเป็นรูปธรรมโดยด่วน “ตนได้มาเห็นความเดือดร้อนของประชาชนด้วยตาตัวเอง น่าเห็นใจที่บางรายถึงกับหมดเนื้อหมดตัวตนจะเร่งหารือกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อเยี่ยวยาแก้ปัญหาเร่งด่วนต่อไป”ผู้ว่าราการจังหวัดนครศรี ธรรมราช กล่าวในที่สุด.


12

เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

พ่อเมืองนครฯ เดินหน้าพัฒนาจังหวัด จัดโครงการ “ผู้ว่าฯ พบสื่อมวลชน” พ่อเมืองนครฯ เดินหน้าพัฒนาจังหวัดตามแนวทาง ของ คสช. รัฐบาล และวิสัยทัศน์ของจังหวัด พร้อมขอ สื่ อ ร่ ว มกั น สร้ า งความเข้ า ใจถึ ง ประชาชนและเสนอ ข่าวสารด้านบวกให้มีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น เพื่อภาพลักษณ์ ที่ดีและส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด

เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2557 ที่ห้องมโนราห์ โรงแรม ราวดี จังหวัดนครศรีธรรมราช นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้พบปะสื่อมวลชนจังหวัด นครศรีธรรมราช ตามโครงการ “ผู้ว่าฯพบสื่อมวลชน” โดยมี สื่อมวลชนทุกแขนงในจังหวัด และหัวหน้าส่วนราชการ ภาค เอกชนที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 80 คน ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า เป็น ครั้งแรกที่ได้พบปะสื่อมวลชนอย่างเป็นทางการหลังจากที่ได้เดินทางมารับ ต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2557 ซึ่งต่อไปจะพบกับสื่อมวลชนทุกเดือน เพื่อจะได้น�ำเสนอข้อมูลข่าวสารว่าจังหวัด ซึ่งไม่ใช่ตัวผู้ว่าฯ ได้ขับเคลื่อน อะไรไปบ้าง ถึงไหนแล้ว ทิศทางที่ก�ำหนดเป็นวิสัยทัศน์จังหวัดขับเคลื่อน

ไปได้ไหม ติดขัดตรงไหน ปัญหาของประชาชนจะร่วมกันแก้อย่างไร เรื่อง ต่างๆ เหล่านี้จะได้น�ำเสนอให้สื่อมวลชนเพื่อน�ำเผยแพร่ต่อไป โดยตนจะ ท�ำตัวเป็นผู้ก�ำกับการแสดงหรือผู้อ�ำนวยการสร้าง ส่วนผู้แสดงเป็นพระเอก นางเอกคือข้าราชการทุกระดับ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวต่อว่า วันนี้บ้านเมือง อยู่ในสถานการณ์พิเศษ องค์กรที่บริหารบ้านเมืองมี 2 องค์กร คือ คสช. และคณะรัฐบาล ซึ่งทั้งสององค์กรเป็นผู้ก�ำหนดทิศทางนโยบายให้แก่ส่วน ราชการ ซึ่งเรียกว่า Road Map ดังนั้นการด�ำเนินการของส่วนราชการ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ต้องยึดถือ Road Map นี้เป็นหลัก จึงขอร้องสื่อมวลชนให้ช่วยกันสร้างความเข้าใจไปถึง ประชาชน ส่วนวิธีการน�ำเสนอแล้วแต่เทคนิคของสื่อแต่ละประเภท ที่ ส�ำคัญมี 6 ประเด็น คือ 1.การป้องกันและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ 2.การรักษาความมั่นคงของรัฐ 3.การจัดกิจกรรมสร้างความปรองดองและ คืนความสุขให้คนในชาติ 4.การลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม การสร้าง โอกาสการข้าถึงบริการของรัฐ 5.การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสใน ประชาคมอาเซียน 6. การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร การสร้าง ความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยังมีค่านิยม 12 ประการ ที่ต้องช่วยสื่อให้เยาวชนและประชาชนเข้าใจ และปฏิบัติตามด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวด้วยว่า ส�ำหรับ แนวทางการท�ำงานของผู้ว่าฯ ก็ต้องท�ำตามวิสัยทัศน์ของจังหวัด คือ นคร แห่งการเรียนรู้ เกษตร ท่องเที่ยว น่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งฟังดูแล้วง่าย แต่การท�ำให้ส�ำเร็จนั้นยาก เช่น นครแห่งการเรียนรู้ เรามีมหาวิทยาลัย ซึ่ง ไม่ใช่จบแค่นั้น มีมหาวิทยาลัยแล้วการเรียนรู้มีไหม เรียนรู้แล้วเอาไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างไร ซึ่งในโลกนี้มีความรู้กับปัญญาเป็นหลัก ซึ่งเราเคย ได้ยินค�ำว่า มีความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด นั่นคือว่ามีความรู้ แต่เอาความรู้ ไปใช้ไม่ได้ เรียกว่าขาดปัญญา ส่วนฝรั่งเรียกว่า Knowledge คือ องค์ ความรู้ ต่อจาก Knowledge เป็น Wisdom คือปัญญา ฉะนั้นสองสิ่งนี้ ต้องต้องคู่กัน การเกษตรก็เช่นเดียวกันเช่น ยางตกต�่ำ ข้าวตกต�่ำ เป็นข้อ เท็จจริงที่ยอมรับว่าราคาจะขึ้นเมื่อไหร่ ตนไม่สามารถตอบได้ แต่สิ่งที่จังหวัด

ต้องท�ำถ้ายางราคาตกต�่ำคือจะท�ำอย่างไรเมื่อเกษตรกรไม่มีรายได้ ท�ำให้ รายจ่ายลดน้อยลง และท�ำงานอย่างอื่นให้ได้เงินมาเพิ่มได้ไหม ซึ่งได้มีการ พูดกับหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องแล้ว และก�ำลังพูดกับพาณิชย์จังหวัด ว่าท�ำอย่างไรให้ชาวนครฯ บริโภคข้าวของคนนครฯ ชาวสวนยางไม่ได้

ท�ำนาต้องซื้อข้าวกิน ท�ำอย่างไรให้ข้าวสารราคาถูกลงกว่าธรรมดา เช่น ธรรมดา 120 บาท ให้เหลือ 100 บาท โดยทางราชการต้องช่วยกันใน เรื่องของค่าขนส่ง เป็นต้น ด้านการท่องเที่ยว กับบ้านเมืองน่าอยู่ ต้องขอความร่วมมือ จากสื่อในการลดการเสนอข่าวด้านลบ แล้วมาเพิ่มข่าวด้านบวกให้มากขึ้น ต้องสร้างเสน่ห์ของเมืองนครฯ น�ำเสนอของดี ของเด่น ของจังหวัด เช่น ขนอมน่าเที่ยวกว่าสมุย อยากกินมังคุดคัดต้องไปนคร อยากกินขนมจีน ที่อร่อยต้องกินที่นครฯ เป็นต้น ซึ่งสื่อสามารถสร้างกระแสได้ ส่วนโครงการ ส�ำคัญที่ต้องขับเคลื่อนการ เช่น พระธาตุสู่มรดกโลก โครงการพระราชด�ำริ ต่าง ๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ โดยเฉพาะ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง การต่อยอดพระต�ำหนักประทับแรม

ปากพนังให้สมบูรณ์ รวมทั้งศูนย์สายใยรักษ์แห่งครอบครัวภาคใต้ ซึ่งตั้ง อยู่ที่ต�ำบลขุนทะเล อ�ำเภอลานสกา การส่งเสริมการท่องเที่ยวแยกเป็น 3 อย่าง คือท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ชูเรื่องเส้นทางอารยธรรมอาณาจักร ศรีวิชัย โดยเอาพระธาตุเป็นศูนย์กลาง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ชูเรื่อง อากาศบริสุทธิ์ ธรรมชาติสวยงามและท่องเที่ยวทางทะเล ชูขนอมเป็นหลัก เพราะอยู่ใกล้เกาะสมุย เป็นต้น ส�ำหรับการแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นเรื่องที่หนักใจมาก แต่ทุกคน ต้องช่วยกันท�ำให้ยาเสพติดลด น้อยลง ซึ่งต้องแยกเป็น 2 ส่วน คือ 1.ยาบ้า ไอซ์ อย่าให้มีต�ำรวจ ปลัด ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นายก และสมาชิกสภาท้องถิ่นเข้าไป เกี่ยวข้อง ถ้ามีต้องจัดการขั้นเด็ด ขาด 2. พืชกระท่อม ซึ่งจัดอยู่ใน ยาเสพติดประเภท 5 การแก้ไข ต้องแยกส่วนกันกับยาบ้า ไอซ์ อย่าเอามาปนกัน เพราะความ รุนแรงของพิษภัยต่างกัน ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวอีกว่า ขณะนี้จังหวัด นครศรีธรรมราชเข้าสู่ฤดูฝนแล้วขอให้สื่อช่วยกันแจ้งเตือนให้ประชาชน ได้รับทราบการข่าวสารจากทางราชการอย่างสม�่ำเสมอด้วย อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 11-26 พฤศจิกายน 2557 ตนจะออกไปมอบแนวทางการปฏิบัติ ราชการให้แก่นายอ�ำเภอ หัวหน้าส่วนราชการระดับอ�ำเภอ ผู้บริหารและ สมาชิกสภาท้องถิ่น ก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน รวมทั้งผู้น�ำหมู่บ้านชุมชนในทุก อ�ำเภอ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งจะได้ รับทราบปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ด้วย เพื่อ จะได้น�ำมาหาทางแก้ไข ช่วยเหลือต่อไป

มอบประกาศเกียรติคุณพิเศษ : นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มอบประกาศ เกียรติคุณพิเศษให้กับ ด.ญ.พิชามญชุ์ อัศวผดุงสิทธิ์ หรือ “น้องพลอย” นักเรียนชั้น ม.1/7 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จ.นครศรีธรรมราช ที่สร้างชื่อเสียงให้กับ จังหวัดนครศรีธรรมราชและประเทศ ไทย หลังจากเป็นตัวแทนประเทศไทย เข้าสอบแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิก และคว้าเหรียญทอง คะแนนสะสม สูงสุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และ เหรียญทองอันดับ 3 ของการแข่งขัน โอลิมปิก


เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY มีการเรียกร้องความเป็นมืออาชีพในทุกวิชาชีพ ท�ำไมจึงเป็น เช่นนี้ เรามาดูกันนะครับว่าความหมายของมืออาชีพกับมือสมัครเล่นต่างกัน อย่างไร ? ถ้าดูกีฬาจะเห็นภาพชัดเจน นักกีฬาสมัครเล่นคือเล่นกีฬาเพื่อ การแข่งขันในโปรแกรมต่างๆ เพื่อได้รางวัลหรืออาจได้ค่าตอบแทนบ้าง ตามสมควร แต่นักกีฬาอาชีพรายได้ของเขามาจากอาชีพนักกีฬา เช่น นักฟุตบอลอาชีพ นักมวยอาชีพ นักเทนนิสอาชีพ หรือนักกีฬาอาชีพอื่นๆ อีกมากมาย หลายคนก็เลยให้ค�ำจ�ำกัดความว่า การเป็นมืออาชีพคือการ มีผลลัพธ์จากอาชีพที่ท�ำ ในแวดวงอาชีพอื่นๆ ก็เหมือนกัน การใช้หัวใจ ของความเป็นมืออาชีพ ซึ่งประกอบไปด้วย ความคิดที่เป็นเจ้าของกิจการ การเรียนรู้ ฝึกฝนลงมือท�ำจนช�ำนาญกลายเป็นทักษะหรือเชี่ยวชาญใน เรื่องนั้นๆ และการเป็นในอาชีพนั้นทั้งจากภายใน และภายนอก ภายใน คือความคิดที่เป็นผู้ให้บริการแก่ลูกค้า ความรับผิดชอบ ส่วนภายนอก คือบุคลิกท่าทางการแต่งกายให้เหมาะสมกับอาชีพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ที่ต้องการ ปลายทางของมืออาชีพคือรายได้หรือผลลัพธ์ที่ต้องการ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแต่ละอาชีพ สรุปแบบเข้าใจง่ายๆ ก็คือ การท�ำธุรกิจหรืออาชีพใด ก็ตามแบบมืออาชีพ คุณต้องมีความรับผิดชอบต่ออาชีพที่ท�ำ เพราะเป็นสิ่งที่คุณเลือกที่จะท�ำเพื่อต้องการรายได้ที่ตั้งใจไว้ คุณจึงต้องแลกด้วยการเรียนรู้ ลงมือท�ำ แล้วก็ท�ำจนเชี่ยวชาญ ควบคู่กับการเปลี่ยนแปลงตัวเองทั้งจากภายนอกและภายในแบบ มืออาชีพที่คุณเลือกหาต้นแบบที่เขามีผลลัพธ์และประสบความ ส�ำเร็จ เดินตามหรือลอกเลียนแบบในสิ่งที่มืออาชีพเขาท�ำ คุณจะ เป็นมืออาชีพอย่างเขา ค�ำถามส�ำคัญมากที่ต้องถามตัวเอง คุณเป็นคนแบบ ไหน ? คุณคิดอย่างไร ? ความเชื่อของคุณคืออะไร ? ลักษณะ นิสัยและความเคยชินของคุณเป็นอย่างไร ? ผมเชื่อว่าพวกเราเองส่วนใหญ่ ไม่ค่อยตั้งค�ำถามนี้กับตัวเองมากนัก เพราะเรายังไม่มีใครเป็นต้นแบบที่จะ มาเทียบเคียง แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่เราเลือกใครสักคนที่เป็นต้นแบบในอาชีพ เราจะเริ่มมีค�ำถามเหล่านี้เข้ามาในชีวิต ก่อนที่ผมจะมาท�ำงานที่ห้างฯ เลือกที่จะท�ำธุรกิจรับจ้างบริหารห้างสรรพสินค้า ผมหาต้นแบบความเป็น มืออาชีพว่าเขาเป็นคนแบบไหน ? ความคิดของเขาเป็นอย่างไร ? ความเชื่อ ของเขาเป็นแบบไหน ? ลักษณะนิสัยและความเคยชินของเขาเป็นอย่างไร ? ตอนแรกผมแทบจะบอกตัวเองว่าผมท�ำไม่ได้หรอกที่ต้องเปลี่ยนแปลง ตัวเองมากขนาดนั้น ดูเรื่องความเป็นเจ้าของกิจการแบบ 100% กิจการนี้ เป็นของเราเอง การทุ่มเทกับการท�ำงานแบบสุดชีวิต ข้อนี้ผมมั่นว่าท�ำได้

13

เมื่อคุณเลือก จะประสบความสำ�เร็จในธุรกิจ

“คุณคือมืออาชีพ”

มาดูการฝึกฝนเรียนรู้ ลงมือท�ำ ผมก็มั่นใจที่จะเริ่มลงมือท�ำจากงานเล็กๆ เป็นพนักงานคลังสินค้า พนักงานขาย จัดซื้อ บุคคล ท�ำทุกๆ อย่างที่เจ้าของ กิจการท�ำ เรียนรู้จากเขาและลงมือท�ำแล้วก็ท�ำ ไม่เคยคิดว่าเหนื่อย แม้น จริงๆ ก็มีเหนื่อยบ้าง ท้อแท้อยากเลิกไปท�ำอาชีพอื่นแต่ก็ยังท�ำต่อไป แต่ สิ่งที่เปลี่ยนยากก็คือ การเป็น คือ บุคลิกภาพ ความคิด ความเชื่อ แบบ นักธุรกิจ แบบพ่อค้า มีหลายอย่างที่ผมก็ไม่เข้าใจว่าท�ำไมจึงเปลี่ยนยาก มาก หลังจากท�ำงานมาจนเกษียณ(เมื่ออายุ55ปี)ก็มาพบความจริงว่าเพราะ ผมยังสับสนอยู่กับการเป็นลูกจ้างมืออาชีพ และการเป็นเจ้าของกิจการ มืออาชีพ ซึ่งสะท้อนบุคลิกภาพภายนอก ลักษณะนิสัย วิธีคิดและความเชื่อ ภายในของผมเป็นเพียงลูกจ้างมืออาชีพเท่านั้นเอง ท�ำให้ผมไม่สามารถ

สวมการเป็นเจ้าของกิจการได้เต็มตัว และท�ำให้ผมไม่สามารถ ประสบความส�ำเร็จในบทบาทของการเป็นเจ้าของกิจการแบบ มืออาชีพ ได้ในที่สุด เมื่อผมเดินออกจากพื้นที่ที่เคยอยู่ ความจริงที่มอง ไม่เห็นเหมือนเส้นผมบังภูเขา ท�ำให้เรามีบทเรียนจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจ พูดง่ายๆ เราอาจเพียงแค่รู้จัก แล้วรู้จริง แต่เราไม่รู้แจ้ง ในอาชีพนั้นๆ ต่างหาก ท�ำให้เราไม่มีผลลัพธ์อย่างที่มืออาชีพเขา มีกัน มาวันนี้ผมเลือกที่จะท�ำธุรกิจในบทบาทเจ้าของกิจการ กับธุรกิจ อาชีพที่ปรึกษาและธุรกิจเครือข่ายสุขภาพ จึงเป็นความท้าทายความคิด ความเชื่อเดิมๆ ว่าจะท�ำให้ผมเปลี่ยนการเป็นจากการเป็นลูกจ้างอาชีพ มากกว่า 25 ปีได้หรือไม่ ? แต่บทเรียนจากการล้มเหลวในอาชีพเดิมท�ำให้ ผมรู้ว่า หากผมจะเป็นเจ้าของกิจการแบบมืออาชีพให้ผมเลือกหาใครสักคน ที่เขาส�ำเร็จมาเป็นต้นแบบแล้วพาตัวเองเข้าไปเรียนรู้ และให้เขาเป็นโค้ช เพื่อปรับแต่งองศาผมในเรื่องการเป็นทั้งจากภายนอกและภายใน เพราะ การเป็นจากภายใน ความคิด จิตวิญญาณ ส�ำคัญที่จะท�ำให้เราได้ผลลัพธ์ที่ เกิดจากการเป็นของเรานั่นเอง ครับ !

ร่วมแสดงความยินดี “น้องพลอย” นักปั่นเหรียญทอง การแข่งขันจักรยานเสือภูเขาชิงแชมป์เอเชีย 2014

ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมแสดงความยินดี กับ “น้องพลอย” นางสาววรินทร เพ็ชรประพันธ์ ที่ได้รับเหรียญทอง จากการแข่งขันจักรยานเสือภูเขาชิงแชมป์เอเชีย 2014 ที่ประเทศ อินโดนีเซีย เมื่อเวลา 20.00 น.วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 ที่ท่าอากาศยาน นครศรีธรรมราช นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรี ธรรมราช พร้อมด้วยนายราชิต สุดพุ่ม นายอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช นายอรรถพร ขาวล้วน ผู้อ�ำนวยการศูนย์การกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัด นครศรีธรรมราช สมาชิกชมรมจักรยานนครศรีธรรมราช ชมรมจักรยาน ท่าศาลา และครอบครัวได้ร่วมกันต้อนรับและแสดงความยินดีกับ “น้อง พลอย” นางสาววรินทร เพ็ชรประพันธ์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ที่ได้ แชมป์เอเชีย จากการแข่งขันจักรยานเสือภูเขาชิงแชมป์เอเชีย 2014 ที่ ประเทศอินโดนีเซีย โดยน้องพลอยได้เหรียญทองประเภทครอสคันทรี่ เยาวชนหญิง ซึ่งทันทีที่ “น้องพลอย” เดินออกจากห้องผู้โดยสารขาเข้า ผู้ที่รอต้อนรับได้ปรบมือแสดงความยินดีเสียงดังกึกก้อง จากนั้นผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราชได้มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีในความส�ำเร็จ ของน้องพลอย ส�ำหรับการแข่งขันจักรยานเสือภูเขาชิงแชมป์เอเชีย 2014 ที่ ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 2 พ.ย. ที่ผ่านมา เป็นการแข่งขันในประเภท ครอสคันทรี ซึ่งไทยส่งนักกีฬาลงชิงชัยทั้งรุ่นทั่วไปและรุ่นเยาวชน โดยรุ่น เยาวชนหญิงไทยส่ง “น้องพลอย” วรินทร เพ็ชรประพันธ์ ลงสนามขับเคี่ยว กับคู่แข่ง การแข่งขันในสองรอบแรก น้องพลอยออกตัวไม่ดีนักปั่นตามหลัง สาวญี่ปุ่น “นากาโต นากาชิมา” แต่เมื่อเข้าสู่รอบที่ 3 เสือดาวรุ่งของไทย เร่งสปีดในช่วงแทร็กขึ้นมาแซงหน้าญี่ปุ่น และเริ่มท�ำเวลาน�ำห่าง 1.44 นาที ปั่นคว้าแชมป์เอเชียในรุ่นเยาวชนหญิงมาครอง ด้วยเวลา 1.04.35

ชั่วโมง เหรียญเงินตกเป็นของนักปั่นจากญี่ปุ่น นากาโต นากาชิมา ท�ำเวลา 1.05.39 ชั่วโมง และที่ 3 เป็นนักกีฬาจากฟิลิปปินส์ นายอรรถพร ขาวล้วน ผู้อ�ำนวยการศูนย์การกีฬาแห่งประเทศ ไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ความส�ำเร็จของน้องพลอยในครั้งนี้เกิดจาก ความทุ่มเทและความพยายามของน้องพลอย โดยมีครอบครัวเป็นผู้สนับสนุน

อยู่ทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง ซึ่งก่อนหน้านี้น้องพลอยเคยคว้าเหรียญทอง ประวัติประวัติศาสตร์จากจักรยานเสือภูเขาประเภทครอสคันทรี่ ให้กับ จังหวัดนครศรีธรรมราชมาแล้ว จากการแข่งขัน กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 30 "ศรีสะเกษเกมส์”เมื่อเดือนมีนาคม 2557 และขณะนี้ทางศูนย์การกีฬาฯ ก�ำลังเสนอชื่อนางสาววรินทร เข้าโครงการสปอตฮีโรของการกีฬาแห่ง ประเทศไทย โดย กกท.จะเป็นผู้สนับสนุนเงินเดือนให้กับนักกีฬาที่ผ่าน เข้าสู่โครงการด้วย


14

เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

สถานีความคิด

คลื่นวิทยุกระจายเสียงชุมชน คิดดี ท�ำดี ที่นี่เมืองนคร

FM

87.5 MHz. อ้อมค่าย

จ�ำหน่าย

อลูมิเนียม

กระจก อลูมิเนียม แผ่นยิปซั่ม แผ่นสมาร์ทบอร์ด และอุปกรณ์

383 ถ.อ้อมค่ายฯ ต.ปากพูน

บริการส่งถึงที่

PORNTEPLOHAKIT@GMAIL.COM

(เยื้องที่ว่าการอ�ำเภอเมืองฯ) 087-6291541, 086-7435556, 075-800325

บริการห้องพัก ห้องอาหาร ห้องประชุมสัมมนา งานเลี้ยงมงคลสมรส


เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY

15

เกาะติดความคืบหน้า

“พระบรมธาตุสู่มรดกโลก” โดย...สุรโรจน์ นวลมังสอ

ติดตามเกาะติด การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช การประชุมคณะกรรมการน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 2/2557 พระบรมธาตุ มรดก ธรรม สู่มรดกโลก ขึ้นบัญชีสู่มรดกโลก แห่งแรกของภาคใต้ และแหล่งที่ 6 ของประเทศไทย โดย ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช ได้นัด ประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าการขับเคลื่อน การน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช (พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช) เพื่อขึ้นทะเบียน มรดกโลก พร้อมเตรียมจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ทั้งในระดับพื้นที่ และภูมิภาค สร้างการมีส่วนร่วม และภาคภูมิใจร่วมกัน โดยเมื่อวันที่ 3 พ.ย.57 ที่ห้องประชุมศรีปราชญ์ ชั้น 3 ศาลา กลางจังหวัดนครศรีธรรมราช นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช ประธานประชุมคณะกรรมการในการน�ำเสนอ วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ขึ้นบัญชี มรดกโลก เป็นการประชุม ครั้งที่ 2/2557 โดยสาระส�ำคัญของการประชุมครั้งนี้ เป็นการปรับปรุงประกาศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการเสนอ พระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ขึ้นบัญชีมรดกโลก ปี 2557 ให้เป็นปัจจุบัน โดยให้ภารกิจ ครอบคลุมการปฏิบัติงานคล่องตัวยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีประเด็นติดตาม ความก้าวหน้าการด�ำเนินงานของคณะกรรมการฯ ฝ่ายต่างๆ เช่น ฝ่าย บริหารจัดการพื้นที่แหล่งมรดกโลก ทั้งเขตพื้นที่ใจกลางที่ส�ำคัญ(Core Zone) ซึ่งรับผิดชอบโดยส�ำนักงานพระพุทธศาสนา ร่วมกับส�ำนักงาน โยธาธิการ และผังเมือง ส่วนพื้นที่บริเวณเขตแนวกันชน(Buffer Zone) ที่รับผิดชอบโดยส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมือง ร่วมกับ ส�ำนักงาน เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ที่มีความก้าวหน้าไปตามล�ำดับ โดยขณะนี้ อยู่ระหว่างการท�ำสัญญาจ้างผู้ประกอบการ ในการด�ำเนินการปรับปรุง พื้นที่ตามรูปแบบของกรมศิลปากรที่ได้ให้ความเห็นชอบไว้ ส่วนฝ่ายวิชาการ ที่ได้ด�ำเนินการเรียบเรียงเอกสารการน�ำเสนอ แหล่งมรดกโลกเพื่อขึ้นบัญชีมรดกโลก(Nomination Dossier) นั้น ขณะนี้

ได้ส่งต้นฉบับ(ร่าง)ไปยังศูนย์มรดกโลก กรุงปารีส แล้วเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา ซึ่งหลังจากนี้ จะได้เร่งจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ เสนอ คณะกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม, คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วย อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก พิจารณาเสร็จแล้วน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีไทย ก่อนน�ำเสนอฉบับสมบูรณ์ ยื่นต่อศูนย์มรดกโลกองค์การยูเนสโก กรุงปารีส ภายในวันที่ 21 มกราคม 2558 ตามล�ำดับ ทางด้านฝ่ายประชาสัมพันธ์ ในที่ประชุมได้เสนอให้คณะ กรรมการฯ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีพุทธ ทั้งระดับ พื้นที่และระดับภูมิภาค สร้างการมีส่วนร่วมตระหนักรู้ซึ่งคุณค่า เกิด ภาคภูมิใจร่วมกัน โดยประกาศความส�ำคัญพระบรมธาตุเจดีย์ อันทรงคุณค่า ควรแก่การยกระดับพระบรมธาตุเจดีย์ เป็นแหล่งมรดกธรรมแห่งพุทธศาสนิกชนโลก ซึ่งจะท�ำให้เกิดการหลั่งไหลเข้ามาของบรรดานักท่องเที่ยว โดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนแสวงบุญ อีกทั้ง นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ต่างประเทศ ตามวาระส�ำคัญต่างๆ ที่เป็นต้นก�ำเนิดกิจกรรมแห่ผ้าขึ้นธาตุ

หนุ่มใหญ่ถอยป้ายแดงใช้งานไม่ได้ บุกบริษัทพร้อมน�้ำมันขู่เผารถประชด พ่อค้าหนุ่มใหญ่เมืองคอนแค้นออกรถป้ายแดงแต่มีปัญหา ใช้งานไม่ได้ตามปกติควงเมียรักข้าราชการครูโรงเรียนดังขับรถเจ้าปัญหา บุกบริษัทฯ ขู่เผาประชดเผารถยนต์ทิ้ง - ต�ำรวจก�ำลังป้องกันเหตุแน่น บริษัทฯ - บริษัทฯ รีบรับรถไว้ตรวจเช็คให้เป็นปกติจึงยอมลดอารมณ์ รุนแรง แต่ขึ้นโรงพักแจ้งความกับต�ำรวจไว้เป็นหลักฐาน เมื่อเวลา 10.00 น.วันที่ 4 พ.ย.57 ที่บริษัทโตโยต้าเมืองคอน จ�ำกัด เลขที่ 15/2 ถนนพัฒนาการคูขวาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรี ธรรมราช ตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์โตโยต้าที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครศรี ธรรมราช ได้มีนายนนท์ชัย ราชภูชงค์ อายุ 57 ปี อาชีพค้าขายพร้อมด้วย นางนพรัตน์ วรวุฒิพุทธพงศ์ อายุ 44 ปี เป็นข้าราชการครูโรงเรียนอนุบาล จังหวัดนครศรีธรรมราช สองสามีภรรยาอยู่บ้านเลขที่ 191/5 หมู่ที่ 4 ต.ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ได้น�ำรถยนต์กระบะตอนครึ่งยี่ห้อ โตโยต้าวีโก้ 2.7 สีขาว ป้ายแดง ซึ่งเพิ่งซื้อไปจากบริษัทโตโยต้าเมืองคอน จ�ำกัดแห่งนี้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2557 ที่ผ่านมา ในราคาเงินผ่อน 7 แสน กว่าบาท และใช้เงินดาวน์ไปจ�ำนวน 1.6 แสนบาท มาร้องเรียนต่อผู้จัดการ บริษัท ให้แสดงความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น กรณีรถยนต์ กระบะคันดังกล่าวไม่สามารถใช้การตามปกติได้ พร้อมทั้งเตรียมน�้ำมัน เบนซินและไฟแช็คขู่จะเผารถยนต์ทิ้ง หากทางบริษัทฯ ไม่รับผิดชอบและ แก้ปัญหาให้รถใช้งานได้ตามปกติ นายนนท์ชัย ราชภูชงค์ กล่าวว่า รถคัดดังกล่าวซื้อในนาม นางนพรัตน์ ภรรยาของตน เมือวันที่ 8 สิงหาคม 2557 ที่ผ่านมา ซึ่งใช้

เชื้อเพลิงทั้งระบบแก๊สและระบบน�้ำมัน หลังจากใช้ได้ไม่กี่วันก็เกิดปัญหา เครื่องยนต์ดับขณะก�ำลังวิ่งจากนั้นระบบเกียร์ขัดข้องถอยหลังไม่ได้และ ยังพบว่ารถคันนี้กินทั้งน�้ำมันและแก๊สในเวลาเดียวกันล่าสุดระบบแก๊สไม่ ท�ำงาน ใช้ได้แต่น�้ำมันอย่างเดียว ในรอบเกือบ 3 เดือนของการใช้งาน เพียง 4,000 กิโลเมตร ต้องน�ำเข้าตรวจเช็คที่ศูนย์ของบริษัทครั้งนี้เป็น ครั้งที่ 3 แต่ยังไม่มีอะไรดีขึ้น ซึ่งท�ำให้ตนได้รับความเสียหายเสียเวลาเสีย อารมณ์และสูญเสียรายได้ในเรื่องการประกอบอาชีพค้าขาย จึงต้องการ เรียกร้องให้ผู้จัดการบริษัทฯออกมาแสดงความรับผิดชอบความเสียหาย

ประเพณีส�ำคัญคู่ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นต้น ส�ำหรับการประชุมครั้งนี้ ถือเป็นครั้งแรกของการประชุมคณะ กรรมการน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งคณะของการมาด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ของ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ซึ่งในที่ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งนี้ปรากฎ มีผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงสื่อมวลชนให้ความสนใจเข้ารับฟังเป็นจ�ำนวนมาก ในการนี้ผู้ว่าฯ ได้กล่าวกลางที่ประชุมด้วยน�้ำเสียงที่หนักแน่นว่า “การ มารับราชการที่นครฯ วาระส�ำคัญอันดับแรกของผมคือ การด�ำเนินงาน ผลักดันพระบรมธาตุเป็นมรดกโลกให้จงได้ ไม่ว่ามีระยะเวลาราชการจน ส�ำเร็จหรือไม่ก็ตาม และต่อไปนี้จะบรรจุวาระติดตามงานการด�ำเนินงาน การน�ำเสนอวัดพระบรมธาตุวรมหาวิหารเป็นมรดกโลก ในการประชุม หัวส่วนประจ�ำเดือน ทุกเดือน” ผู้ว่าฯ กล่าวส�ำทับในที่สุด

ที่เกิดขึ้น ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขตนก็จะเผารถทิ้งทันที ท่ามกลางความ แตกตื่นตกใจของพนักงานบริษัทฯ รวมทั้งลูกค้าที่มาติดต่องานต่างๆ ใน บริษัทอย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันทราบว่าผู้จัดการบริษัทฯ ติดภารกิจ จึงมีเพียง พนักงานออกมารับรถเพื่อน�ำไปตรวจเช็คหาสาเหตุของปัญหา ท�ำให้ นายนนทชัย ไม่พอใจจึงออกมายืนข้างๆ รถในมือซ้ายถือถุงใส่ขวดน�้ำมัน เบนซิน 2 ขวด ส่วนมือขวาถือไฟแช๊กแก๊สพร้อมที่จะราดน�้ำมันจุดไฟเผา รถกระบะเจ้าปัญหาได้ทุกเวลา พนักงานของบริษัทฯ เห็นท่าไม่ดีจึงรีบ โทรศัพท์ประสานไปยัง สภ.เมืองนครศรีธรรมราช เพื่อขอก�ำลังต�ำรวจ มารักษาความสงบเรียบร้อยเกรงเหตุการณ์จะบานปลายหากมีการเผา รถยนต์เกิดขึ้นจริง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้สร้างความวิตกกังวลให้แก่ลูกค้า รายอื่นๆ ที่ทั้งที่มาใบริการและนัดมาออกรถยนต์ในวันเดียวกันนี้เป็น อย่างมาก ในขณะเดียวกันทางพนักงานได้ยื่นเอกสารการรับรถยนต์กระบะ คันดังกล่าวไว้ตรวจเช็ค โดยให้นางนพรัตน์ เซ็นรับทราบ พร้อมรับปากว่า จะรับผิดชอบและเร่งหาสาเหตุพร้อมแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับรถคันดังกล่าว โดยเร็วที่สุด ท�ำให้นายนนท์ชัยและนางนพรัตน์ พอใจ และสงบสติอารมณ์ ยอมวางถุงใส่ขวดน�้ำมัน ก่อนจูงมือกันเดินออกจากบริษัทฯ ไปในที่สุด ต่อมานายนนท์ชัย และภรรยา ได้เดินทางไปแจ้งความไว้เป็น หลักฐานที่ สภ.เมืองนครศรีธรรมราช และยังบอกอีกว่า หลังจากไปรับรถ คืนจากบริษัทฯ น�ำมาใช้งานหากเกิดปัญหาขึ้นอีก ตนจะขับรถคันดังกล่าว กลับไปที่บริษัทอีกครั้ง เพื่อยื่นค�ำขาดให้ทางบริษัทฯ ด�ำเนินการเปลี่ยนรถ คันใหม่ให้ตน หรือท�ำอย่างไรก็ได้ที่แสดงออกถึงความรับผิดชอบ ในการ แก้ปัญหาให้รถคันดังกล่าวใช้งานได้ตามปกติตามสเป็คที่ก�ำหนด หากบริษัท บ่ายเบี่ยงไม่รับผิดชอบตนจะเผารถยนต์เจ้าปัญหาทันที.


16

เดือนพฤศจิกายน 2557

FREE COPY เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 ที่ผ่านมา ส�ำนักข่าวนครโพสต์ได้จัดพิธีท�ำบุญเลี้ยงพระ เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปี ส�ำนักข่าว นครโพสต์โดยมีผู้เข้าร่วมเป็นเกียรติและ แสดงความยินดีเป็นจ�ำนวนมาก

ทำ�บุญครบรอบ 10 ปี นครโพสต์

ค่ายสมัชชาผู้นำ�เยาวชนรักษ์ถิ่นนคร 24-26

ตุลาคม

2557

ณ ต้นธารรีสอร์ท


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.