หนังสือพิมพ์นครโพสต์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 163 เดือนตุลาคม 2557

Page 1

ปีที่ 10 ฉบับที่ 163

โรงแรมตะมาลี เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

086-479-1946 FREE COPY

93 MHz คิดดี ท�ำดี ที่นี่เมืองนคร

ประจ�ำเดือนตุลาคม 2557

ผู้ว่าฯ คนใหม่ RADIO COMMUNITY

1

ผู้ว่าฯ คนใหม่

พีรหิะศั ก ดิ ์ นเมืองเก่า

“ผมจะทำ�ให้คนนครมีชื่อเสียง”

เจ้าเมือง คนเก่ง

รางวัลองค์กรสื่อสิ่งพิมพ์ดีเด่น จังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2549

ส�ำนักข่าวนครโพสต์ 2/1 ซอยอัศวรักษ์ 1 ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000


2

เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

ผู้ว่าฯเมืองคอนคนใหม่ประกาศชัด ไม่มีผู้ว่าเสื้อแดงและไม่เคยได้ดีเพราะการเมือง คนหลายพันคนแห่ส่งและต้อนรับผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรี ธรรมราชคนใหม่แน่นจวนฯ ท่ามกลางสายฝน - ประกาศชัดไม่ท�ำให้ชาว นครศรีธรรมราชผิดหวัง-ย�้ำไม่เคยได้ดีเพราะการเมืองและยังถูกการเมือง เล่นงานหนัก - ยืนยันไม่มีผู้ว่าฯ เสื้อแดงทุกฝ่ายอย่าห่วงมาเริ่มต้นปรองดอง เป็นหนึ่งเดียว (5 ต.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเมื่อคืนที่ผ่านมา (4 ต.ค.) ที่จวน ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีการจัดงานเลี้ยงต้อนรับ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชคนใหม่ ท่ามกลางหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม และระดับจังหวัด ต่าง ๆ ทั่วประเทศเกือบ 20 จังหวัดรวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดและ หัวหน้าส่วนราชการ องค์กรภาคเอกชนนักธุรกิจทั้งในจังหวัดนครศรี ธรรมราชและภาคใต้อีกหลายจังหวัดหลายพันคนที่เดินทางมาส่งและ ต้อนรับผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชคนใหม่ท่ามกลางสายฝนที่ ตกโปรยปราบลงมาอย่างต่อเนื่อง นายศิริพัฒ พัฒกุล รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวต้อนรับผู้ว่าราชการจังหวัดคนใหม่ หลังจากนั้นบรรดาตัวแทนจาก กลุ่มและองค์กรต่าง ๆ จ�ำนวนกว่า 100 รายได้ทยอยกันขึ้นมอบกระเช้า ดอกไม้และของที่ระลึกแก่นายพีระศักดิ์ ท่ามกลางบรรยากาศชื่นมื่น ซึ่ง นับเป็นผู้ว่าราชการจัวหวัดนครศรีธรรมราชที่มีคนมาส่งและให้การต้อนรับ มากที่สุดก็ว่าได้ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า กล่าวกับมวลชนทั้งหมดว่า ขอขอบคุณทุกคนที่มาส่งและมาต้อนรับจ�ำนวนมากเกินกว่าที่ผมคาดคิด ท�ำให้ผมรู้สึกอบอุ่นเป็นอย่างมาก ผมเป็นผู้ว่าราชการมาแล้ว 3 จังหวัด

“แรกเริ่มเดิมทีชุมชนบ้านตลาดพฤหัสของเราไม่ค่อยมีกลุ่ม อาชีพอะไร จนเมื่อได้เข้าร่วมกับโครงการเชฟรอน พลังใจ พลังคน เพื่อชุมชนเข้มแข็ง ในนามของธนาคารพัฒนาหมู่บ้าน เราก็ได้รับการ แนะน�ำให้รวมกลุ่มกันเพื่อประกอบอาชีพ ด�ำเนินการมาประมาณ 11 เดือน กิจกรรมหลักของกลุ่มคือการแปรรูปกล้วยน�้ำว้าเป็นกล้วยฉาบรสบาบีคิว จนปัจจุบันนี้ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเป็นที่ยอมรับของตลาด มีออเดอร์สั่งเข้ามา จนแทบผลิตไม่ทัน มีรายได้เข้ากลุ่มจากยอดขายตอนเริ่มเดือนละประมาณ 10,000 – 15,000 บาท แต่ตอนนี้มีประมาณ 35,000 – 45,000 บาท” เป็นค�ำบอกเล่าของ อมรรัตน์ จินดานิล ตัวแทนกลุ่มสตรีบ้านตลาดพฤหัส (แปรรูปกล้วยน�้ำว้า) หมู่ที่ 9 ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง นครศรีธรรมราช ที่เข้าร่วมงาน “3 ปี แห่งความส�ำเร็จ โครงการเชฟรอน พลังใจ พลังคน เพื่อชุมชนเข้มแข็ง” ที่จัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ อมรรัตน์ เล่าอีกว่า “ตอนนี้นอกเหนือจากรายได้ของกลุ่มแล้ว การผลิตกล้วยฉาบของกลุ่มยังช่วยให้ชาวบ้านที่ปลูกกล้วยในชุมชนและ ใกล้เคียงได้เกิดรายได้ด้วย โดยเมื่อก่อนกล้วยน�้ำว้าจะไม่ค่อยมีราคา ซื้อขาย กันเพียงหวีละ 5 บาท แต่ตอนนี้ทางกลุ่มจะรับซื้อกล้วยน�้ำว้าจากเกษตรกร โดยตรงจากสวนอยู่ที่หวีละประมาณ 7 – 8 บาท ปกติเขาต้องเอากล้วยน�้ำว้า ไปส่งขายในตลาดในเมือง เสียค่าขนส่งอีก แต่ตอนนี้ไม่ต้องเสียค่าขนส่งแล้ว สามารถน�ำมาขายที่กลุ่มของเราได้เลย เรารับซื้อหมด”

โดยจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นจังหวัดที่ 4 ซึ่งผมมีประสบการณ์ในการ ท�ำหน้าที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมาเป็นอย่างดี รู้ข้อบกพร่องในการปฏิบัติ หน้าที่และจะน�ำมาแก้ไขเพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่งผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราชมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งขอยืนยันว่าจะไม่ท�ำให้ พี่น้องชาวนครศรีธรรมราชผิดหวังอย่างแน่นอน “ความจริงผมไม่อยากพูดเรื่องสีเสื้อ แต่ก็อดไม่ได้ผมจึงอยาก เรียนตรงนี้ว่า เรื่องผู้ว่าเสื้อแดงอะไรนั้นมันไม่มีอย่างแน่นอน หากทุกท่าน รู้จักผมก็คงจะรู้ว่าชีวิตรับราชการของผมก็ถูกรังแกจากการเมืองมามาก พอสมควร ผมพูดตรงๆ ได้เลยว่าผมไม่เคยได้ดีเพราะการเมืองที่อยู่มาถึง วันนี้ ผมทุ่มเทกับการท�ำงานจนผู้บังคับบัญชาเขาเมตตาและไว้วางใจ วันนี้บ้านเมืองต้องการความปรองดองก็อย่าได้เป็นห่วง พี่น้อง กปปส.หรือ อะไรก็แล้วแต่ วันนี้เรามาเริ่มพัฒนาบ้านเมืองให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เป็น ชาวนครศรีธรรมราชด้วยกันจะดีกว่า” นายพีระศักดิ์ กล่าว ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้ได้มีกลุ่มนักการเมืองทั้งระดับ ชาติและระดับท้องถิ่นขึ้นป้ายโจมตีนายพีระศักดิ์ ว่าเป็นผู้ว่าเสื้อแดงชาว นครศรีธรรมราชไม่ต้อนรับ ท�ำให้ฝ่าย คสช.ต้องวิ่งตรวจสอบที่มาของป้าย โจมตีดังกล่าว พร้อมส่งก�ำลังทหารออกเก็บป้ายโจมตีทั้งหมด และในวันนี้ นักการเมืองกลุ่มดังกล่าวจะจัดคนออกมาชู้ป้ายต่อต้านนายพีระศักดิ์ ทั้งบริเวณวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ศาลหลักเมืองนครศรีธรรมราช และหน้าจวนผู้ว่าราชการจังหวัด แต่เนื่องจากมีผู้คนจ�ำนวนมากแห่มาส่ง และต้อนรับนายพีระศักดิ์ ประกอบกับชาวนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่ ไม่เห็นด้วยกับพฤติกรรมและการกระท�ำในลักษณะดังกล่าว ซึ่งสวนทาง กับแนวทางการปรองดอง สมานฉันท์ ของ คสช.และรัฐบาล กลุ่มดังกล่าว

กลัวว่ากระแสความนิยมจะลดน้อยลงจึงล้มเลิกความคิดที่จะชูป้ายต่อต้าน นายพีระศักดิ์ ไปโดยปริยาย.

บทพิสูจน์รูปธรรม 3 ปี แห่งความสำ�เร็จ

“เชฟรอน พลังใจ พลังคน เพื่อชุมชนเข้มแข็ง” เพื่อเป็นแหล่งทุนที่มั่นคงและเป็นที่พึ่งของชุมชนได้ นอกจากนั้นยังมีการ จัดตั้งสหกรณ์ชุมชน ซึ่งสามารถประกอบเป็นธุรกิจได้ในอนาคต” “เชฟรอนประเทศไทยและสมาคมพั ฒ นาประชากรและ ชุมชน จึงเห็นพ้องต้องกันในการสนับสนุนโครงการฯ ต่อเนื่องจนถึงปี พ.ศ.2559 ด้วยงบประมาณทั้งสิ้น 20 ล้านบาท เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเดินไปสู่เป้าหมายของโครงการที่ตั้งไว้” หทัยรัตน์ กล่าว

หทัยรัตน์ อติชาติ ผู้จัดการฝ่ายนโยบายด้านรัฐกิจและ กิจการสัมพันธ์ เชฟรอนประเทศไทย

นี่ เ ป็ น เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง ในการบอกเล่ า ถึ ง ความส� ำ เร็ จ ของ “โครงการเชฟรอน พลังใจ พลังคน เพื่อชุมชนเข้มแข็ง” ที่เริ่มต้นมา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2554 ซึ่งบริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ได้รว่ มมือกับสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (พีดเี อ) ในการศึกษาปัญหา นอกระบบที่คิดดอกเบี้ยร้อยละ 20 ต่อเดือน สมาชิกสามารถกู้เงินจาก สภาพชุมชน ค้นหาศักยภาพชุมชน และจัดท�ำแผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยใช้ ธนาคารพัฒนาหมู่บ้านในอัตราดอกเบี้ยต�่ำเพียงร้อยละ 1 ต่อเดือนเท่านั้น กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนครอบคลุม 50 หมู่บ้าน ใน 3 อ�ำเภอ ได้แก่ ลดภาระของคนในชุมชนได้มากเลยทีเดียว” ศิวพร กล่าว อ�ำเภอเมือง อ�ำเอท่าศาลา และอ�ำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้าน หทัยรัตน์ อติชาติ ผู้จัดการฝ่ายนโยบายด้านรัฐกิจและ ศิวพร สุภาผล ตัวแทนธนาคารพัฒนาหมู่บ้านบ้านป่าไหม้ กิจการสัมพันธ์ เชฟรอนประเทศไทย กล่าวว่า “โครงการเชฟรอน พลังใจ ต�ำบลอินคีรี อ�ำเภอพรหมคีรี ได้เล่าว่า “จากการที่มีธนาคารพัฒนาหมู่บ้าน พลังคน เพื่อชุมชนเข้มแข็ง เป็นโครงการที่เริ่มจากการมีส่วนร่วมและความ ท�ำให้คนในชุมชนเกิดการมีส่วนร่วม มีเงินออม มีความสามัคคี คนในชุมชน ต้องการของชุมชน โดยได้รับค�ำแนะน�ำด้านการพัฒนาศักยภาพของชุมชน มีที่พึ่งด้านเงินทุนในการกู้ไปท�ำประโยชน์ และยังท�ำให้มีกลุ่มอาชีพเกิดขึ้น การพัฒนาทักษะ และการบริหารจัดการ จากสมาคมพัฒนาประชากร เช่น กลุ่มจักสาน กลุ่มเลี้ยงด้วงสาคู ซึ่งช่วยให้คนในชุมชนมีอาชีพเสริม และชุมชน เชฟรอนประเทศไทยเองก็ยินดีที่ได้ให้การสนับสนุนเพื่อความ เป็นอยู่ของชุมชนที่ดีขึ้น ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา การด�ำเนินงาน มีรายได้เพิ่มขึ้น” “นอกจากธนาคารพัฒนาหมู่บ้านจะช่วยคนในชุมชนมีแหล่ง ร่วมกับชุมชนทั้ง 50 หมู่บ้าน ได้เกิดผลส�ำเร็จเป็นรูปธรรม จนสามารถ เงินทุนส�ำหรับใช้ในด้านอาชีพแล้ว ในด้านการศึกษาถือว่าช่วยได้มาก จัดตั้งธนาคารพัฒนาหมู่บ้าน กองทุน และกลุ่มอาชีพต่างๆ ปัจจุบันนี้เรา เพราะผู้ปกครองที่เดือดร้อนเรื่องเงินในช่วงเปิดเทอม ก็สามารถกู้เงินไป มีกลุ่มส่งเสริมอาชีพมากกว่า 80 กลุ่ม มีเครือข่ายธนาคารพัฒนาหมู่บ้าน ใช้จ่ายค่าเทอมให้บุตรหลานได้ ทั้งช่วยให้คนในชุมชนไม่ต้องเป็นหนี้ ทั้ง 50 หมู่บ้าน ที่จะคอยแลกเปลี่ยนความรู้และสนับสนุนซึ่งกันและกัน

โครงการเชฟรอน พลังใจ พลังคน เพื่อชุมชนเข้มแข็ง ส่งผล ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนอย่างรอบด้านและเป็นรูปธรรมอย่างหลากหลาย อาทิ ด้านเศรษฐกิจที่เกิดการออมเงินรวมในพื้นที่กว่า 70 ล้านบาท เปิดโอกาส ให้ชาวบ้านกว่า 4,500 คนได้เข้าถึงแหล่งทุน ด้านคุณภาพชีวิต ที่ชาวบ้าน กว่า 2,300 คนมีรายได้เสริมจากการรวมกลุ่มอาชีพ และชุมชนยังได้ร่วม สร้างสถานที่ออกก�ำลังกายใน 30 หมู่บ้าน และน�ำเงินทุนมาปรับปรุงและ พัฒนาระบบประปาหมู่บ้าน 15 หมู่บ้าน ด้านการศึกษา ซึ่งมีการสนับสนุน การเรียนการสอนแก่โรงเรียน 35 โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 23 แห่ง และด้านสิ่งแวดล้อม ที่เยาวชนและคนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ปลูกต้นไม้และปลูกป่าชายเลนรวมกันกว่า 85,000 ต้น ในพื้นที่ 220 ไร่ ซึ่ง สะท้อนความเข้มแข็งของชุมชนและผลส�ำเร็จของโครงการได้เป็นอย่างดี


เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น

ทิศทางปฏิรูป

สื่อท้องถิ่น ย้อนไปเมื่อสิบปีที่แล้ว “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” ก่อก�ำเนิด ขึ้นภายใต้แนวคิดที่หวังยกระดับการสื่อสารสังคม ให้กลายเป็นเครื่องมือ ส�ำคัญในการน�ำพาการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในระดับพื้นที่จังหวัดนครศรี ธรรมราช หรือจ�ำเพาะเจาะจงลงไปในระดับพื้นที่เทศบาลเมืองนครศรี ธรรมราชในเวลานั้น ด้วยเจตนารมณ์ “เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น” หนึ่งทศวรรษส�ำหรับ “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” ด้านหนึ่ง อาจเป็นเสมอเพียงการบอกกล่าวเล่าขาน ต�ำนานคนท�ำสื่อท้องถิ่นที่ผ่าน มาแล้วในทุกแขนงสื่อ ทั้งด้านวิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ์ และสื่ออินเทอร์เน็ต

เหล่านั้น...เป็นข้อบ่งชี้ได้ว่า “เกียรติยศและศักดิ์ศรีของ ท้องถิ่น” ไม่ใช่แค่การวาทกรรมปลอบประโลมใจคนท�ำสื่อในระดับท้องถิ่น หากแต่คือบทเรียนและประสบการณ์อันทรงค่าที่พร้อมเป็นฐานรากอันมั่นคง เพื ่อก้าวย่างไปข้างหน้าต่อไป

อีกด้านหนึ่ง...10 ปี “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” เกาะเกี่ยวและ เชื่อมร้อยอย่างไม่อาจแยกจากกันกับบริบทแห่งพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นทั้งใน ระดับจังหวัดนครศรีธรรมราช หรือพื้นที่เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ที่เปลี่ยนแปลงไปจากยุคอดีตในห้วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ด้านหนึ่งที่ ท้าทายนี้ คือทิศทางในอนาคตของสื่อท้องถิ่น

ในจังหวะก้าวเข้าสู่ทศวรรษที่ 2 ของ “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” ก็เป็นจังหวะก้าวเดียวกันกับที่จะเกิดการปฏิรูปประเทศไทยที่เป็นกระแส สูงอยู่ในยุคปัจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงเพื่อยกระดับแวดวงสื่อท้องถิ่น ให้เป็นเครื่องมือส�ำคัญที่ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่งส�ำหรับการพัฒนา ประเทศ พัฒนาภูมิภาค พัฒนาจังหวัด และกระทั่งการพัฒนาของ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ในทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ฯลฯ ก็เป็นหนึ่งในประเด็นส�ำคัญที่ถูก บรรจุ ไว้เป็นสาระส�ำคัญของการปฏิรูปประเทศไทย

“ส�ำนักข่าวนครโพสต์” ตามติดการปฏิรูปประเทศไทยมา ต่อเนื่อง...ในประเด็นการปฏิรูปสื่อสารมวลชนนั้น เอกสารชุดกรอบความ เห็นร่วมปฏิรูปประเทศไทยด้านสื่อสารมวลชน ของคณะท�ำงานเตรียมการ ปฏิรูปเพื่อคืนความสุขให้คนในชาติ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ซึ่ง แจกจ่ายให้กับสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการศึกษา และเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูปด้านสื่อสารมวลชนที่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้ อมของประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคต

มีประเด็นพิจารณาที่เกี่ยวข้องกับสื่อท้องถิ่น ที่น่าสนใจ อาทิ หัวข้อการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ และก�ำกับดูแลสื่อ ระบุว่า ควรมีกฎหมาย ส�ำหรับวิทยุสื่อสารมวลชนท้องถิ่น, ควรมีกองทุนการส่งเสริมสื่อพัฒนา ท้องถิ่นทุกจังหวัด, ควรให้ท้องถิ่นจัดการเรียนการสอนกันเองที่เกี่ยวข้อง กั บสื่อ, ฯลฯ

ในความเป็นจริง ยังมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูป สื่อมวลชนอีกมากมาย และยังต้องติดตามความคืบหน้ามาบอกกล่าวกัน ต่อไป แต่ที่ยกเอาเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสื่อท้องถิ่นมาบอกกล่าว ก็ เพื่อชี้ให้เห็นว่า...

21 ตุลาคม 2547 สืบเนื่องวันคล้ายวันพระราชสมภพ (วันเกิด) ของสมเด็จย่า อันเป็นที่รักเทิดทูน เคารพบูชาของคนไทย ทั้งปวง ส�ำนักข่าวนครโพสต์ได้ถือเอาเป็นวันเริ่มต้นชีวิตใหม่ของกลุ่ม คนกลุ่มหนึ่ง ในนามส�ำนักข่าวนครโพสต์ การรวมตัวของกลุ่มจิตอาสา กลุ่มนักคิด นักเขียน นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ นักกิจกรรม ที่มีความชอบ คล้ายหรือเหมือนกัน มาร่วมคิดสุมหัวกันอย่างหลวมๆ กิจกรรมหลายกิจกรรม จึงถูกหยิบยกขึ้นมาด�ำเนินการ ภายใต้ชื่อ โรงงานผลิตข่าวดี และส�ำนักข่าว นครโพสต์ คลื่นวิทยุชุมชน 107.5 Mhz. คลื่นซ้ายสุด ร่วมกับกลุ่มเพื่อน และ/หรือผู้เป็นเจ้าของ บ้านเมือง มาร่วมกันคิดงาน เช่น แข่งขันร�ำวงเวียนครก, แข่งขัน-ประกวด หุ่นเปรตพาเหรดเปรต, หล่อเทียนพรรษา, เวทีเสวนาประชาธิปไตย, ริเริ่ม และเสนอแนวคิด องค์พระบรมธาตุสู่มรดกโลก, ลูกเสือเนตนารีพี่ให้น้อง, กิจกรรมช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ฯลฯ หลายกิจกรรมที่ด�ำเนินการยังคงทอดยาวผ่านเงื่อนไข ทางการเมืองที่หนักหน่วง หลายต่อหลายครั้ง บ้างโดนพิษการเมือง เล่นงานจนต้องขึ้นโรงขึ้นศาล เป็นคดีความตัดสิน ถูกค่าปรับ ต้องรื้อถอน ที่ท�ำการฯ แต่จวบถึงวันนี้ กลุ่มคนกลุ่มนี้ยังคงเกาะกลุ่มกันอยู่หลวมๆ เหมือนเดิม แต่แนบแน่นยิ่งขึ้น ทั้งประสบการณ์ อุดมการณ์ ความมั่นคง ในแนวคิดในการพัฒนาเมืองอาจจะกล่าวได้ว่า ยิ่งทวีความหนักแน่น กว่าแต่ก่อนมาก มายหลายเท่า ตลอดถึงความเชื่อและศรัทธาในหมู่ คนชาวนคร ส่งผลให้ก�ำลังใจขับเคลื่อนบ้านเมืองทะยานสูง และจาก] ประสบการณ์ขององค์กร ไม่แสวงหาก�ำไรแห่งนี้ ยืนหยัดอยู่จนถึงปัจจุบัน

ทศวรรษต่อไปของสื่อท้องถิ่น เฉกเช่น “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” จักต้องก้าวเดินไปบนเส้นทาง “เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น” อย่าง แน่ วแน่ มั่นคง เพื่อตอบสนองตัวตนแห่งคนท�ำข่าวเมืองนครในสังกัดส�ำนักนี้

และการปฏิรูปสื่อท้องถิ่น หาใช่ข้อจ�ำกัดของ “ส�ำนักข่าว นครโพสต์” แต่จักเป็นโอกาสอันดีในการสร้างความเข้มแข็งให้กับเครื่อง มือส�ำคัญของสังคมที่เรียกขานกันว่า “สื่อมวลชน” เพื่อผลประโยชน์ โดยรวมของสังคมแห่งชุมชนท้องถิ่นเทศบาลนครนครศรีธรรมราช และ จังหวัดนครศรีธรรมราช...

ในอีกด้านหนึ่งของบทบาทหน้าที่สื่อร้อน คือ วิทยุกระจายเสียง ชุมชน ท�ำหน้าที่เป็นกระบอกเสียง รับเรื่องราวร้องทุกข์ บอกผ่าน ประสานงานองค์กรทั้งราชการ และเอกชน เพื่อรับทราบปัญหาที่กระทบ สังคม วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ซึ่งบ้างก็เข้าไปแก้ไขประเด็นนั้นๆ ที่มีการ ร้องเรียนผ่านกันเข้ามา บ้างก็เมินเฉยปัญหา ดังกล่าว โดยทางทีมงานได้ ประสานเป็นล�ำดับจากล่างไปสู่บน จนกว่าจะได้รับค�ำตอบในที่สุด เรื่องราวมากมายเกิดขึ้นในช่วง 10 ปีผ่านมา เล่าสู่กันฟัง พอสังเขป ส�ำหรับเรื่องราวที่กองบรรณาธิการ ภาคภูมิใจ จนเป็นที่สุด ละเลยที่จะเล่าให้ฟังเสียมิได้ก็คือ ทีมงานนครโพสต์ ฐานะชาวนครศรีธรรมราช ภูมิใจ ที่เป็นคนกลุ่มแรกที่ได้รับโอกาสจากอดีตผู้ว่าฯ ภาณุ อุทัยรัตน์ รับฟังแนวคิดการขอขึ้นทะเบียน มรดกโลก องค์พระบรมธาตุ เจดีย์ และเหนือสิ่งอื่นใดกล่าวคือ ท่านฯ ได้ให้ความที่ส�ำคัญยิ่งกับการ ด�ำเนินการทุกขั้นตอนจนเป็นที่ประจักษ์ มาถึงวันนี้ผ่านกระบวนการ

๑ทศวรรษ “นครโพสต์”

ส�ำนักข่าวนครโพสต์ ด�ำเนินกิจการจากแนวคิดการท�ำสื่อ เพื่อบันทึกเหตุการณ์ทั้งเมืองผู้คนและกิจกรรม การเคลื่อนพลวัตรทาง สังคม สะท้อนความเปลี่ยนแปลง ปัญหาความเดือดร้อน ปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะงานส�ำคัญ การรณรงค์สร้างส�ำนึกสาธารณะเรื่องยาเสพติด ให้ตระหนักรู้ถึงพิษภัยยาเสพติด หนังสือพิพม์นครโพสต์ปาวณาตน ขอเป็นผู้ร่วมบันทึก เหตุการณ์ ถ่ายทอดเป็นตัวอักษรลงบนกระดาษ รายสัปดาห์, รายปักษ์ ซึ่งปัจจุบันเป็นรายเดือน สังเกตว่าจะค่อยๆ ลดลงแต่ไม่หยุดพิมพ์ ใน รูปแบบหนังสือพิมพ์ กระดาษบรู๊ฟ ขนาดแท๊ป ลอย์ด ราคาหน้าปก เล่มล่ะ 10 บาท ระยะหนึ่ง แล้วมาปรับเป็นแจกฟรี ด้วยปัจจัย และ เงื่อนไขทางธุรกิจที่บีบรัด การเอาตัวรอดฝ่าวิกฤติเศรฐกิจ ท�ำให้ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นหลายๆ ฉบับต้องหายุทธวิธีรับมือกับสถานการณ์ นั้นๆ ปรับตนเองเพียงเพื่อให้ยืนอยู่บนเวทีได้ หนังสือพิมพ์นครโพสต์ ไม่ต่างกัน ขอบคุณพี่เล็ก พี่เปี๊ยก โรงพิมพ์เม็ดทราย ที่ให้การช่วยเหลือ ประคับประคอง อยู่ร่วมกันจวบถึงวันนี้ ส�ำหรับหนังสือพิมพ์เล็กๆ ฉบับท้องถิ่นนี้เคยได้รับเกียรติ ให้ได้รับรางวัลในฐานะองค์กรที่มีผลงานดีเด่นจากอดีต ผู้ว่าฯ วิชม ทองสงค์ ด้านสื่อสิ่งพิมพ์ประจ�ำจังหวัด ซึ่งเป็นก�ำลังใจกับทีมงานสู้ต่อต่อไป ดังที่กล่าวมาข้างต้นว่า ส�ำนักข่าวนครโพสต์ประกอบไปด้วย กลุ่มนักกิจกรรมหลากหลาย จนหลาย ต่อหลายครั้ง ต้องสุ่มเสี่ยงต่อ อันตราย จากการสร้างความไม่พอใจส่วนตัว ทั้งที่สืบเนื่องประเด็น สาธารณะ เช่น กรณีน�ำเสนอเรื่องราวยาเสพติดให้โทษ หรือการเข้าไป เป็นตัวตั้งตัวตีต่อต้านยาเสพติด ระดับประเทศ กับกิจกรรมรณรงค์เดินเท้า ทางไกล ร่วมกับกลุ่ม ผู้ใหญ่เฉลิม กาญจนพิทักษ์ “จากเขาหลวง สู่เมืองหลวง” และได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนทั่วประเทศ ถูกน�ำ เสนอข่าว เกาะติดสถานการณ์ ตลอดเส้นทาง

3

เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น เจ้าของ : สหกรณ์ผู้สื่อข่าวจังหวัด นครศรีธรรมราช ประธานที่ปรึกษา : ดร.เพ็ญพร เกตุชาติ คณะที่ปรึกษา : ดร.กณพ เกตุชาติ, ภาวินทร์ ณ พัทลุง มานะ นวลหวาน, อครพล หนูทวี, สุทัศน์ เดชเดโช, ฉัตรชัย อรุณสุวรรณกร, ด.ต.นิรภัฏ วัฒนประเสริฐกุล, ดร.ณัฐวุฒิ ภารพบ ผู้อ�ำนวยการ : สุรโรจน์ นวลมังสอ ที่ปรึกษากฎหมาย : สมชาย ฝั่งชลจิตร บรรณาธิการที่ปรึกษา : เลิศ อักษรนิตย์ สาธิต รักกมล บรรณาธิการอาวุโส : จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร บรรณาธิการบริหาร : สุรโรจน์ นวลมังสอ

ขั้นตอนอุปสรรคมากมาย ใกล้จะถึงจุดหมายปลายทาง ด้วยการรับรอง จากองค์การยูเนสโก ยังความภาคภูมิใจของชาวนครศรีธรรมราช รวมถึง พุทธศาสนิกชนทั่วโลกให้ความสนใจร่วมแสดงพลังอ�ำนวยอวยชัย ขอจง ส�ำเร็จอย่างไม่ขาดสาย ด้วยเชื่อว่าจะน�ำมาซึ่งสิ่งดีงามมากมาย เมื่อศรัทธา ทั้งหลายของศาสนิกพุทธ ทุกสายน�้ำหลั่งไหลเข้ามานครศรีธรรมราช เพื่อ ชื่นชมพระบารมีแห่งองค์พระบรมธาตุเจดีย์ สัญลักษณ์แทนพระธรรม ค�ำสั่งสอนของพุทธองค์ ขณะเดียวกันก็จะท�ำให้นครศรีธรรมราช ได้เป็นที่ รู้จักกันกว้างขวางมากยิ่งขึ้น เกิดการเดินทางเข้า-ออก ของบรรดา นักท่องเที่ยวผู้แสวงบุญ ส่งผลต่อเศรษฐกิจความเจริญดีขึ้นทุกระดับชั้น ตามท้องเรื่องตามที่บรรยายมาทั้งหมดนี้ ซึ่งยังไม่ทั้งหมดที่ ส�ำนักข่าวนครโพสต์ได้ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ผ่านมา สุดท้ายขอบพระคุณ ท่านผู้อยู่เบื้องหน้าเบื้องหลัง ผู้ให้การสนับสนุนทุกรูปแบบ มิอาจกล่าวถึง ได้ครบทุกท่านเป็นอย่างสูง กรรมใดที่ล่วงเกินไปในที่ต่างกันเวลาต่างกัน ก็ตามมา ณ ที่นี้ ส�ำนักข่าวนครโพสต์ จึงใคร่ ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ และ ต่อๆ ไป ที่ซึ่งแน่นนอนว่าจะต้องน�ำเสนอในสิ่งที่เป็นข้อเท็จจริง ทั้งระดับ ปรากฎการณ์หรือสถานการณ์บังคับ ด้วยการน�ำเสนอสิ่งที่ความจริงอย่างเป็นกลางและตรงไป ตรงมา ยึดมั่น สานต่อ เจตนารมณ์อุดมดติ แห่งวิชาชีพ สื่อสารมวลชน เพื่อสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในสังคมประชาธิปไตย ต่อไป

บรรณาธิการ : ณรงค์ ธีระกุล หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ไพฑูรย์ อินทศิลา กองบรรณาธิการ : กฤษณะ ทิวัตถ์สิริกุล จอม กิจวิบูลย์ ณัฏฐ์ ธีระกุล ณัฐชนา ฤทธิผล กนกลักษณ์ เส้งคง รูปเล่ม/จัดหน้า : เมาลิด จิตต์ประไพย หัวหน้าฝ่ายโฆษณา : จรินท์พร บุญชัก ฝ่ายโฆษณา : ปราณี กาญจนโรจน์ การเงิน/ธุรการ : ปราณี กาญจนโรจน์ แยกสี-พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์เม็ดทราย ถ.ราชด�ำเนิน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช โทร. 0-7534-1475, 08-1892-5960 ส�ำนักงานหนังสือพิมพ์นครโพสต์ : เลขที่ 2/1 ซ.อัศวรักษ์ 1 ถ.ราชด�ำเนิน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทร. 0-7532-0227 email : nakhonpost@hotmail.com


4

เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

“เกียรติยศย่อมเจริญแก่ผู้ขยัน มีสติ มีการงานสะอาด” นครโพสต์ เกียรติยศและ ศักดิ์ศรีของท้องถิ่น ฉบับนี้ประจ�ำเดือนตุลาคม 2557 ‘อัศวรักษ์’ รายงานตัว บอกเก้าเล่าสิบ ความเป็น ไปแห่งสังคมในนาคร ต้องจดจารลงไว้ในหน้าประวัติศาสตร์เมืองนคร ถึงวันเวลานี้ ตุลาคม พ.ศ. 2557 “ส�ำนักข่าวนครโพสต์” ผ่านแดดคลุกฝน ปักธงส�ำแดงตนเป็นสื่อมวลชนมาครบหนึ่งทศวรรษ และยังคงยืนเด่นโดยท้าทาย พิสูจน์คุณค่า เกียรติยศและศักดิ์ศรีของท้องถิ่น...สืบไป!!! ยินดี ต้อนรับพ่อเมืองคนใหม่ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช รับต�ำแหน่ง อย่างเป็นทางการกันไปแล้ว หลังสะเทิน สถานการณ์หนิ ลองทอง คนนครไม่เอาผูว้ า่ ฯ เสื้อแดง จากบรรดาผู้คนที่ยังติดหล่มแบ่งสาย แยกสี ดีที่ คสช. เอาจริงสั่งฝ่ายความมั่นคง แก้ไขปัญหาเพื่อเดินหน้าสู่โหมดปรองดอง... นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า หรือ ผู้ว่าฯ อู๊ด ชื่อชั้นไม่ธรรมดา ผ่านมาหลาย ‘อัศวรักษ์’ ศึกหลายสนาม วาระนี้ต้องมารับผิดชอบ นครศรีธรรมราชบ้านเรา มีหลากหลาย ภารกิจรออยู่เบื้องหน้า ‘อัศวรักษ์’ เชื่อว่า ลูกไม้มหาดไทยผลนี้ จะยังคุณูปการต่อจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้อย่างมากมาย...ขอเพียงยึดมั่นผลประโยชน์ส่วนรวม และตั้งใจจริงเพื่อร่วมสร้างบ้านนี้เมืองนี้ให้เป็น อย่างที่ควรจะเป็น... ประเภทต้มควายละลายงบประมาณ พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เสนอหน้า หาผลประโยชน์ หรือเล่นเกมกดดันต่อรองหวังรับงานโดยไม่ผ่านกระบวนการตามวิธีปฏิบัติของข้อกฎหมาย โปรดตระหนักรู้ไว้...ผู้ว่าฯ อู๊ด อ่านขาดและเตรียมทีมรับสถานการณ์ไว้พร้อมแล้ว... เรื่องราคา ยางตกต�่ำ ยังเป็นประเด็นร้อน กัดกร่อนระบบเศรษฐกิจบ้านเรา...8 ต.ค.ที่ผ่านมา ชาวสวนยางพารา 16 จังหวัดภาคใต้ เปิดเวทีสัมมนา “กู้ชีพชาวสวนยางพารา” แก้ปัญหาราคายางพาราตกต�่ำ ณ ม.วลัยลักษณ์ ประกาศจุดยืนเรียกร้องให้รัฐบาลปฏิบัติตามมาตรการ 5 ข้อ พยุงราคายางพาราอยู่ที่กิโลกรัมละ 80 บาท ภายใน 45 วัน พร้อมเสนอให้ยกเลิก พ.ร.บ.การยาง หากไม่ปฏิบัติตามจะเดินทางไปเรียกร้อง ถึงท�ำเนียบรัฐบาล...โปรดติดตามตอนต่อไป... สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช (อบจ.นครศรีฯ) ผ่านร่างข้อบังคับงบประมาณฯ ประจ�ำปี 2558 ไปแล้ว แบบทุลักทุเล แม้ยังไม่จบกระบวนการ แต่ประสาคนหาข่าว พบข้อสังเกต การจัดสรรงบประมาณ โดยฝ่ายบริหารที่น�ำโดยนายมาโนช เสนพงศ์ เป็นไปแบบไร้ยุทธศาสตร์เพื่อมรรคผลให้เกิดการพัฒนา หรือปฏิรูปบ้านเมือง เหมือนตอนเทศกาลหาเสียงกันเข้ามา…จึงไม่นึกแปลกใจกับข้อเสนอ ประเภท ยุบ อบจ. ที่ดังอื้ออึงอยู่ในสภาปฏิรูปแห่งชาติเวลานี้ พูดถึงสภาปฏิรูปแห่งชาติ บรรทัดนี้ ‘อัศวรักษ์’ แสดงความยินดีกับ ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ ที่ได้รับการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งเป็น สมาชิกสภา ปฏิรูปแห่งชาติ จังหวัดนครศรีธรรมราช ภารกิจปฏิรูปประเทศไทยอันหนักอึ้งตกหนักบนบ่าท่านแล้ว ! เรือ่ งราวใกล้ตวั ...กรณีนำ�้ พุบนพืน้ ทีส่ นามหน้าเมืองนครศรีธรรมราช อีกหนึง่ ผลงานของชุดบริหาร เทศบาลนครนครศรีฯ นายเชาวน์วัศ เสนพงศ์ ก่อทั้งเสียงด่าและชมแม้อย่างแรกจะดังกว่า แต่มุมที่ควร ต้องมอง จากหนังสือ เล่าเรื่องเมืองลิกอร์ โดย สุธรรม ชยันต์เกียรติ หรือโกแอ๊ด ที่ระบุไว้ “...สนามหน้าเมือง อายุอานามก็ปาเข้าไป 700 กว่าปีเข้าไปแล้ว จะท�ำ อะไร จะสร้างอะไรทับลงไปสงสารคนแก่บ้าง เกรงใจ กันบ้าง ใช่ว่ามีอ�ำนาจ บารมี มีต�ำแหน่งใหญ่โตอยาก จะสร้างอะไรให้เป็นหน้าเป็นตาตัวเอง เห็นที่มันว่างๆ ที่มันกว้างๆ ก็จะสร้างมันลงไป สนามมันก็จะหาย... เก็บเอาไว้ให้คนนครได้ภาคภูมิใจในรากเหง้าของตัวเอง บ้าง...” จบข่าว!!! ควันหลงอินชอนเกมส์ ปรบมือให้กับ “เจ้าตูน” จ�ำรัส ฤทธิเดช เด็กป่าโล่ง เมืองคอน ศิษย์เก่าเทศบาลวัดใหญ่ และกัลยาณีศรีธรรมราช เจ้าของแชมป์ซีเกมส์ 3 สมัย ที่ไปสร้าง ประวัติศาสตร์คว้าเหรียญทองแดงวิ่งข้ามรั้ว 110 เมตร ให้กับทีมกรีฑาไทยในเอเชียนเกมส์ พร้อมทุบ สถิติประเทศไทยอีกด้วย แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดี...

ในนาคร

ยินดี - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาและสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วยคุณจิตตนา หนูณะ หัวหน้าส่วนประชาสัมพันธ์ คุณจิราพร อรชร หัวหน้าตรวจสอบภายใน เข้ามอบช่อดอกไม้และพระศรีธรรมโศกราช แสดงความยินดีกับนายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ในโอกาสเข้ารับต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชคนใหม่ เมื่อเร็วๆนี้ที่จวนผู้ว่า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช

สนับสนุนมวยไทย : คุณกรสิริ พานชัย เจ้าหน้าที่อาวุโสฝ่ายชุมชนสัมพันธ์ เป็นตัวแทน บริษัท เชฟรอน ประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด มอบเงินร่วมสนับสนุนการแข่งขันชกมวยศึกท้องที่ท้องถิ่น ร่วมใจ ส่งเสริมกีฬาต้านยาเสพติด จัดโดยชมรมก�ำนันผู้ใหญ่บ้านอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ณ สนามมวยเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช โดยมีนายโชติ ชูสุวรรณ ประธานชมรมก�ำนันผู้ใหญ่บ้านอ�ำเภอเมืองฯ เป็นผู้รับมอบ นางสาวนครศรีธรรมราช : เมื่อคืนวันที่ 23 กันยายน 2557 ที่เวทีกลาง สวนสมเด็จพระศรี นครินทร์ 84 ทุ่งท่าลาด อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ได้จัดให้มีการประกวดนางสาวนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2557 รอบตัดสิน ในงานประเพณีบุญสารท เดือนสิบและกาชาดจังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2557 ผลปรากฏว่า ผู้เข้าประกวดหมายเลข 14 น.ส.พิชามณ สายสวรรค์ หรือน้องหมิว ได้รับ ต�ำแหน่งนางสาวนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2557 รับเงินรางวัล 1 แสนบาท พร้อมสายสะพาย ถ้วย รางวัล โดยมีน้อง“น้องเมญ่า” นนธวรรณ ทองเหล็ง มิสไทยแลนด์เวิลด์ปี 2014 ร่วมสวมมงกุฎให้ นางสาวนครศรีธรรมราชด้วย นอกจากนี้ นางสาวพิชามณ ยังได้รับรางวัลนางงามหุ่นสวย สุขภาพดีด้วย


เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY บรรยากาศการประกวดเรือพนมพระ ในงานประเพณีชักพระ จังหวัดนครศรีธรรมราช วัดโพธิ์เสด็จ อ.เมือง คว้ารางวัลชนะเลิศ ประเภทสวยงาม –ส่วนวัดทุ่งแย้ วัดสวนป่านและวัดหัวอิฐคว้าอันดับ 2 3 และรางวัลชมเชยตามล�ำดับ – ในขณะที่วัดหนองบัวคว้ารางวัลชนะเลิศ ประเภทริ้วขบวน (10 ต.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานบรรยากาศการจัดงานประเพณี ชักพระออกพรรษา จังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2557 ซึ่ง อบจ. นครศรีธรรมราช ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณกว่า 5 ล้านจัดกิจกรรม ทั่วจังหวัดนครศรีธรรมราชจ�ำนวน 14 จุด โดยในตัวเมืองนครศรีธรรมราช จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่บริเวณสวนสาธารณะศรีธรรมโศกราช มีเรือพนมพระ เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 30 วัด แต่ละวันได้ประดับประดาตกแต่งเรือพนมพระ อย่างสวยงามวิจิตรตระการตา ในส่วนของการประกวดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ประกอบด้วย ประเภทสวยงามและประเภทริ้วขบวน ผลการพิจารณาตัดสินประเภท สวยงาม รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เรือพนมพระวัดโพธิ์เสด็จ ได้รับเกียรติบัตร พร้อมรางวัลเงินสด 10,000 รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ วัดทุ่งแย้ รับเกียรติบัตรพร้อมเงินรางวัลจ�ำนวน 7,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ วัดสวนป่าน รับเกียรติบัตรพร้อมเงินรางวัลเงินสด 3,000 บาท และ รางวัลชมเชย ได้แก่วัดหัวอิฐ รับเกียรติบัตรพร้อมเงินรางวัล 3,000 บาท ประเภทริ้วขบวนเรือพนมพระ รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ วัดหนองบัว รับเกียรติบัตรพร้อมเงินรางวัล 10,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ วัดเทพนิมิต รับเกียรติบัตรพร้อมเงินรางวัล 7,000 บาท รองชนะเลิศ อันดับ 2 วัดหัวอิฐ รับเกียรติบัตรพร้อมเงินรางวัลเงินสด 3,000 บาท และ รางวัลชมเลย ได้แก่ วัดโพธิ์เสด็จ ได้รับเกียรติบัตรพร้อมเงินรางวัล 3,000 บาท อย่างไรก็ตาม การจัดแสดงและประกวดเรือพนมพระและ ริ้วขบวนเรือพนมพระของ อบจ.นครศรีธรรมราช ในครั้งนี้เป็นที่วิพากษ์ วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการประกวดประเภทริ้วขบวน เนื่องจากคณะกรรมการไม่ได้มีการชี้แจงกติกาให้แต่ละวัดทราบอย่างเป็น ลายลักษณ์อักษร และกรรมการไม่ได้ออกไปตรวจสอบตามเส้นทางการ ขัดลากเรือพนมพระเหมือนทุกๆ ปี แต่กรรมการจะนั่งรอเรือริ้วขบวน เรือพนมพระของแต่ละวัดอยู่บริเวณหน้าสวนศรีธรรมโศกราชเพียงจุดเดียว ซึ่งริ้วขบวนเรือพนมพระจะต้องชักลากผ่านหน้ากรรมการจึงจะได้รับการ พิจารณาให้คะแนน ท�ำให้ริ้วขบวนเรือพนมพระหลายวัดไม่ได้รับการพิจารณา ให้คะแนนในประเภทนี้ อาทิ เรือริ้วขบวนเรือพนมพระของวัดทั่งแย้ ที่ พุทธศาสนิกชนหลายร้อยคนร่วมกันชักลากจากวัดมายังสวนสาธารณะ ศรีธรรมโศกราช ระยะทางกว่า 10 กม. เป็นขบวนยาวเหยียดและมีความ เป็นระเบียบเรียบร้อย และผู้ร่วมชักลากเรือพนมพระมีการการแต่งกาย เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยใช้เสื้อ 3 สี ประกอบด้วยสีเหลือง สีชมพู และ สีน�้ำเงิน แต่เนื่องจากจัดจอดอยู่บริเวณสนามหน้าเมืองนครศรีธรรมราช จึงไม่ได้ชากลากผ่านหน้ากรรมการที่รออยู่หน้าสวนศรีธรรมโศก จึงไม่ได้ รับการพิจารณาตัดสิน จึงพลาดโอกาสที่จะได้รับรางวัลไปอย่างน่าเสียดาย

“วัดโพธิ์เสด็จ”คว้ารางวัลชนะเลิศ

ประกวดเรือพนมพระเมืองคอน

จึงมีการข้อเรียกร้องให้ในปีต่อๆ ไป ทาง อบจ.นครศรีธรรมราช แจกกฎ กติกาให้กับทุกกวัดทราบอย่างเป็นทางการด้วย ส�ำหรับเรือพนมพระของวัดสวนป่าน ที่ต้องใช้เวลาสร้างนาน ถึง 8 เดือนโดยการแกะสลักพญานาคจากไม้ล้วน ๆ ขนาดใหญ่ถึง 4 หัว 4 หาง และมีการประดับประดาอย่างสวยงามโดดเด่นกว่าเรือพนมพระ ทุกวัด แต่ได้รับการพิจารณาตัดสินให้ได้รับรางวัลที่ 3 เท่านั้น ในขณะที่ วัดโพธิ์เสด็จที่คว้ารางวัลที่ 1 ทั้ง 2 ประเภท 2-3 ปีติดต่อกัน แต่ในปีนี้คว้า รางวัลชนะเลิศประเภทสวยงาม แต่ในประเภทริ้วขบวนได้รับแค่รางวัล ชมเชยเท่านั้น

กลุ่มเภสัชเมืองคอนรวมพลัง คัดค้าน พรบ.ยา ฉบับลักไก่ กลุ่มเครือข่ายวิชาชีพเภสัชกรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช กว่า 30 คน รวมพลังแสดงสัญลักษณ์คัดค้าน พ.ร.บ.ยา ฉบับลักไก่ พร้อมเรียกร้องให้มีการทบทวนใน 3 ประเด็น เมื่อเวลา 09.00 น.วันที่ 8 ตุลาคม 2557 ที่ส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช เครือข่ายวิชาชีพเภสัชกรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช กว่า 30 คน น�ำโดยนางอุษณี อังศุวัฒนากุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ หน.กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด ผศ.ดร.ฉัตรชัย วัฒนาภิรมย์สกุล คณบดี ส�ำนักงานเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อ.ท่าศาลาจ.นครศรีธรรมราช ร่วมแสดงออกเชิงสัญลักษณ์คัดค้านร่าง พ.ร.บ.ยา ฉบับลักไก่ ด้วยการถือป้ายคัดค้านถ่ายรูปหน้าส�ำนักงานสาธารณสุข และจะเปลี่ยนรูปภาพบนโปรไฟล์บนเฟซบุ๊กเป็นภาพแสดงข้อความ คัดค้าน พ.ร.บ.ยา ฉบับลักไก่ นางอุษณี อังศุวัฒนากุล กล่าวว่า พ.ร.บ.ยาฉบับใหม่ มีสาระ ในการแก้ไขหลักคือ ขยายหรือเพิ่มบทบาทการจ่ายยา ผลิตยา ผสมยา แบ่งบรรจุยาให้กับทุกวิชาชีพด้านสุขภาพ ตั้งแต่แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล นักกายภาพบ�ำบัด นักการแพทย์แผนไทย นายสัตวแพทย์ อย่างกว้างขวาง ซึ่งจะเพิ่มความเสี่ยงต่อประชาชน และขัดกับหลักสากล ในด้านความปลอดภัยทางยา สิ่งเหล่านี้พวกเราจึงรับไม่ได้ และอยากชี้ให้

5

เห็นว่า พรบ.ฉบับดังกล่าวผู้ที่จะได้รับผลกระทบคือประชาชนโดยตรง ทางด้าน ผศ.ดร.ฉัตรชัย วัฒนาภิรมย์สกุล กล่าวว่า วันนี้ไม่ใช่ มีเพียงเครือข่ายวิชาชีพเภสัชกรรมเท่านั้น ชมรมแพทย์ชนบทก็เริ่มออกมา เคลื่อนไหวกันแล้ว เพราะทุกฝ่ายต่างมองเห็นความจริงว่าผลกระทบนั้น ใครจะเป็นผู้ได้รับ ไม่ได้บอกว่า พรบ.ฉบับนี้ไม่ดี ข้อดีก็มี แต่ทางเครือข่าย ต้องการให้ทบทวนบางข้อ ซึ่งจากการศึกษาแล้วพบว่า พรบ.ฉบับนี้จะให้

ส่วนบนเทวีกลางมีการแสดงและการละเล่นต่างๆ จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะร�ำวงเวียนครก “วงสาลิกา” เป็นไปอย่างสนุกสนานมีวัยรุ่น จ�ำนวนมากออกมาวาดลวดลายเต้นร�ำกันอย่างสนุกสนาน ในขณะที่การ จัดงานชักพระออกพรรษา ทอดกฐินกินขนมจีนฟรี 1.000 กิโลกรัม ที่ วัดทุ่งแย้ ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช มีประชาขนไปร่วม กิจกรรมเป็นจ�ำนวนมาก และร่วมร�ำวงเวียนครก “วงดาวกระจาย” เป็น จ�ำนวนมากบรรยากาศเป็นไปด้วยความสนุกสนานเช่นกัน ซึ่งที่วัดทุ่งแย้ จะมีการจัดงานไปจนถึงวัดทอดกฐินวันที่ 12 ต.ค. ส่วนที่สวนสาธารณะ ศรีธรรมโศกราชวันนี้ (10 ต.ค.) จะเป็นวันสุดท้าย. น�้ำหนักของการควบคุมก�ำกับไปที่การเข้าถึงยา จนไม่สมดุลกับหลักความ ปลอดภัยต่อการบริโภคยา ขณะเดียวกันหลายส่วนยังขาดการน�ำเสนอ ให้เห็นถึงหลักการพื้นฐาน ที่จะใช้เป็นเครื่องมือการน�ำไปสู่กระบวนการ ก�ำกับดูแลกระบวนการต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ “ จึงเรียกร้องให้มีการทบทวนใน 3 ประเด็น ประกอบด้วย 1) การแบ่งยาควรให้เป็นไปตามหลักสากล คือแบ่งแยกบทบาทและก�ำหนด มาตรฐานการปฎิบัติงานของแต่ละหน้าที่ ในมาตรา 4 ควรประกอบด้วย ยาสามัญประจ�ำบ้าน ยาที่จ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม และยา ที่ต้องจ่ายตามใบสั่งยาของแพทย์ 2) การเตรียมยาหรือผลิตยา ควนเป็น ไปตามหลักการเตรียมหรือผลิตโดยผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้าน เภสัชกรรม เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐาน 3) ควรค�ำนึงถึงอันตราย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยด้านการใช้ยา ในมาตรา 119 ควรห้ามการขายยา ชุดทั้งหมด ไม่เฉพาะผู้ได้รับอนุญาตขายปลีกยา ผู้ด�ำเนินการหรือผู้มี หน้าที่ปฏิบัติการประจ�ำสถานที่ขายยาปลีกเท่านั้น”.


6

เดือนตุลาคม 2557

สดงความยินดีกับความเป็นมาและเป็นไป ร่องรอยของ ส�ำนักข่าวนครโพสต์ ครบรอบ 10 ปี กล่าวคือ ก่อตั้ง ด�ำเนินการ และ ยังเดินทางกันต่อจวบจนถึง ณ ปัจจุบันขณะ ผู้เขียนเองร่วมก่อตั้งร่วมงาน ส�ำหรับคอลัมน์ ที่เสมือนเปรียบเทียบได้ว่าเป็นทั้ง แบบฝึกหัด เป็นพื้นที่ในการฝึกงานเขียน โดยบุคคล อันเป็นที่รัก ทั้งเป็นเพื่อน พี่ ตลอดถึง เป็นครูคนส�ำคัญ คือ พี่จ�ำลอง ฝั่งชลจิตร กับงานเขียนตรงนี้ นอกจากสร้างรอยหยักในสมองแล้ว ยังมี อย่างอื่นที่เพิ่มแบบที่เจ้าตัวไม่ตั้งใจหรือเจตนาแม้แต่ ต้องการให้มันเกิดขึ้น ส�ำหรับเท้ากา(ตีน)บนใบหน้า มาพร้อมกับแก้มย้อยๆ ย้อยไม่ได้ยุ้ยน่ารักแบบเด็กน้อย หน้าใสวัยละอ่อน ขอบพระคุณทุกท่านที่ได้อ่าน ได้ติดตาม บ้าง ผ่านตาบ้าง เปิดพลิกพ้นไปบ้าง ทุกท่านที่สัมผัส กระดาษบนหนังสือพิมพ์นครโพสต์นี้ ผู้เขียนเองจะอย่างไร ขอสัญญาว่าจะช่วยกันกับทีมงานรังสรรค์งานเขียนต่อไป รอบเขตเทศบาลฉบับนี้ วัตถุดิบต่างประเทศ อีกรอบ คราวนี้กับการกลับไปยังถิ่นเดิม เพื่อดูส�ำรวจ สถานที่เรียนโรงเรียน, วิทยาลัย, มหาลัย, ให้ลูกอันเป็นที่รัก ที่ก�ำลังจะ ต้องไปเรียนต่อ ในระดับมัธยมปลายสุด เป็นการเดินทางคนเดียวของผู้เขียน ในวันเก่าสมัยเรียน ป.ตรี เมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลีย, โอ๊คแลนด์ นิวซีแลนด์ ระหว่าง 24 กันยายน 3 ตุลาคม 57 ซึ่งเดินทางไกลครั้งนี้ นอกจากได้เยี่ยมเพื่อนเก่า ตกค้าง ท�ำ มาหากินสร้างหลักปักฐานครอบครัวแล้ว ยังได้ชาร์จแบตเตอรี่พลังงาน แห่งชีวิตกับอดีตสนุกสนานวัยเรียน นั่งพูดคุยความหลังในครั้งโน้น ประสบการณ์การเรียนด้วยท�ำงานไปพลาง หาเงินช่วยทางบ้าน ชีวิต ช่วงหนึ่ง ไม่เคยคิดว่าจะได้โอกาสครั้งส�ำคัญ พลิกผันชีวิตจากท�ำอะไร ไม่เป็นเลย อาศัยเงินทางบ้าน ทุกอย่างเยอะ กลับต้องท�ำงานทุกอย่าง ในหลากหลายชนิดงานเช่นกัน ตั้งแต่เด็กรับจ้างล้างจาน ล้างครัว ช่วยกุ๊ก งานในครัว งานรับจ้างดูแลท�ำความสะอาดบ้าน ให้อาหารสุนัข เก็บกวาด โต๊ะสนุกเกอร์ เช็ดกระจก ตู้เกมส์สมัยก่อน(แพ๊คแมน) เป็นคนกวาดขยะ แกะ/ขูดหมากฝรั่ง ตามพื้นที่ลูกค้าถุยถ่มไว้... ทุกบทเรียน ความรู้สึก ส�ำนึกเบื้องลึกมากมาย กว้างขวาง อารมณ์เศร้า เห็นใจ ถูมิใจ รักษ์สะอาด ประหยัด ใชัชีวิต ฯลฯ ท้ายสุด ก่อนกลับเมืองไทยครั้งนั้น ได้ท�ำงานที่ท�ำให้รู้สึกสนุก และมั่นใจในการใช้ ภาษาอังกฤษ คือ การท�ำงานช่างอู่ประจ�ำ บริษัท มอร์เตอร์ฟาสต์ (MotorFast Co.,Ltd) แถวเซาท์ยารา เมลเบิร์น ออสเตรเลีย เกือบปีกระทั่งหมดอายุ วีซ่า จึงเดินทางกลับไทย ภาพวันวานถูกดึงออกมาฉายซ�้ำ สองคนเพื่อนรักเก่า(เม้ง) โปรแกรมเมอร์ ป.โท รุ่นคอมพ์จอเขียว ปัจจุบันท�ำงาน บริษัท ญี่ปุ่นชื่อดัง ที่มีเจ้านายเป็นฝรั่ง จึงจ�ำต้องมีชื่อฝรั่ง เรียกเม้งว่า “ไซม่อน” เพื่อให้ ฝรั่งเรียกง่าย ชีวิตของ “เม้ง” มีครอบครัวที่อบอุ่นอย่างลึกล�้ำกับลูกชาย (ซนเหมือนลิง) สองคนพร้อมภรรยาดีกรี ถึงด๊อกเตอร์ ม.จุฬาฯ ที่ใช้ทุน แล้วเลือกใช้ชีวิตมากกว่าขายชีวิต กับการท�ำงานหนักสะสมทรัพย์สิน ได้ นิดหน่อย ดูแล้วล�ำบากกว่าใครอีกหลายคน บ้านราคายี่สิบกว่าล้านสองหลัง ที่ค่อยๆ ท�ำงานผ่อนเขาจนหมด และอื่นๆ ก็ไม่ต้องพูดถึง เพื่อนคง ล�ำบากล�ำบนอีกสักพัก ผมกับเม้งใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเดินทางไป เมลเบิร์น ครั้งนี้ ในการนั่งจ้องตากันและกัน พูด พูด และ พูด ราวกับจะไม่มีโอกาสพูด กันอีก ความสุขเอนโดฟินหลั่งออกมามากมาย ในการนี้เรื่องราวในอดีต ประมาณ 90% ส่วนที่เหลือ 10% เป็นสิ่งที่พบเห็นตรงนั้น อนาคต เหตุบ้านการเมืองไทย/เทศ ในฐานะพลเมืองโลกผู้รักษ์ประชาธิปไตยคนนึง สุ ด ท้ า ยจบที่ ก ารวางแผนชี วิ ต ที่ เ หลื อ ดู จ ะพอเหมาะกั บ สถานการณ์

หจก.ลิ้มจี่เซ้ง ย้ายร้านจากร้านเดิมมาอยู่ที่ร้านเก่า(ท่าวัง) **ติดกับจิมมี่ผ้าม่าน** ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

รับสมัครพนักงาน

- พนักงานขายหน้าร้าน(ชาย) 3 คน - พนักงานคอมพิวเตอร์(หญิง) 1 คน - พนักงานคอมพิวเตอร์(ชาย) 1 คน - พนักงานขับรถยนต์ 6 ล้อใหญ่ 1 คน - พนักงานท�ำความสะอาดทั่วไป 1 คน - พนักงานขาย(ชาย) 1 คน **ติดต่อสอบถามข้อมูลและสมัครได้ที่ร้าน

075-340632 , 075-314052

1709-1711 ถ.ราชด�ำเนิน ต.ท่าวัง อ.เมือง นครศรีธรรมราช

FREE COPY

ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์

...ที่ ป ระทั บ ใจอย่ า งยิ่ ง กั บ การรณรงค์ ให้ เ กิ ด ส� ำ นึ ก ร่ ว ม ความปลอดภั ย พื้ น ฐาน ไม่ ต ้ อ งฝากบ้ า นไว้ กั บ ต� ำ รวจ เนื่ อ งจากสั ง คมปลู ก ฝั ง ไว้ ส� ำ หรั บ การช่ ว ยเหลื อ โดยส� ำ นึ ก ประชาชนพลเมื อ ง...

วาทกรรม “ฟังเพลงเก่า กินของขม ชมเด็กสาว เล่าความหลัง” ความสุข ภายในใจเกิดขึ้นเป็นระยะๆ จนถึงเวลาจากกันในแต่ละวัน เดินทางกว่า 8 ชม.ครึ่ง สุวรรณภูมิถึงสนามบินเมลเบิร์น ออสเตรเลีย โดยสายการบินไทย คนเดินทางกันน้อย ท�ำให้ผมได้นอนยาว บนที่นั่งสามตัว หลับสบายกับบริการของเอื้องหลวง ที่ดูเหมือนจะหรือ เยอะกว่าผู้โดยสารชั้นธุรกิจเสียด้วยซ�้ำ สนามบินดูแปลลกตาไปจนจ�ำแทบไม่ได้ นานมาก เกือบยี่สิบ กว่าปีที่จากมา ระบบขนส่งมวลชนในเมือง เชื่อมโยงการขนส่งภายใน-นอก ยังมีประสิทธิภาพเยี่ยมเหมือนเดิม สะดวกขึ้นตรงที่ซื้อบัตรใบเดียวแล้วเติม เงินค่าโดยสารตามตู้ส�ำหรับการ์ดเติมเงินรายเดือน หรือรายสัปดาห์ ใช้ได้ ทุกชนิดของการบริการ รถราง(Tram), รถบัสประจ�ำทาง, รถไฟฟ้า ใต้ดิน,

อื่นๆ ความสะอาด สงบ ความปลอดภัยชีวิตทรัพย์สิน สามารถใช้ชีวิต ปกติสุขตลอดเวลา สภาพบ้านชั้นเดียวส่วนใหญ่ระแวกใกล้กัน หากเป็นที่อยู่อาศัย บ้านไหนมาจับจองสร้างที่อยู่อาศัยก่อน ก็จะได้รับการคุ้มครอง ด้วยกฎหมาย ไม่ให้ผู้ที่มาสร้างภายหลัง สร้างโดยรบกวนผู้ที่มาอยู่ก่อน เช่น ไม่ก่อสร้าง ให้สูงกว่าหรือไม่เจาะหน้าต่างให้มองผ่านมายังบ้านอื่น ซึ่งถือเป็นการ รบกวนสิทธิ์ความเป็นส่วนตัว ที่ประทับใจอย่างยิ่งกับการรณรงค์ให้เกิด ส�ำนึกร่วม ความปลอดภัยพื้นฐาน ไม่ต้องฝากบ้านไว้กับต�ำรวจ เนื่องจาก สังคมปลูกฝังไว้ ส�ำหรับการช่วยเหลือโดยส�ำนึกประชาชนพลเมืองที่นั้น กล่าวคือ เป็นหูตาดูแลกันและกัน ดุจเพื่อนบ้านที่มีความรักใคร่ใกล้ชิดกัน โดยไม่ต้องไปมาหาสู่กันมากมาย ไม่ต้องแกงเผื่อกัน ไม่ต้อง การ์ดงานบวช, งานแต่ง, งานตาย ของญาติชั้นที่สามสี่ของเพื่อนบ้าน แค่เพียงทักทายกันบ้าง ยามเช้าหากออกจากบ้านบังเอิญพร้อมกัน ไม่ส่งเสียงรบกวนเพื่อนบ้าน ไม่น�ำสุนัขไปปลดทุกข์หน้าบ้าน ผู้อื่น หรืออันใดก็ตาม รบกวนวิถีปกติความเป็นอยู่และชีวิตของผู้อื่น อาหาร การกินสะดวกหลากหลายยิ่งขึ้น สังเกตเห็นว่ามีชาวต่างชาติ เอเชีย อย่างเช่น เกาหลี จีน ญี่ปุ่น เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวหรือมาเรียนคอร์สสั้นๆ เสริมภาษากันมากกว่าสมัยก่อน ค่าใช้จ่ายเดี๋ยวนี้ ดอลลาร์ละ 30 กว่าบาท ขึ้น-ลงบาทสองบาทตามความแข็งค่าของการเงินการคลังของประเทศ ท�ำให้ปัจจุบันออสเตรเลีย เมืองที่มีการศึกษาเป็นจุดแข็ง การให้การบริการ ทางการศึกษา จึงกลายเป็นที่นิยมอย่างสูง ตลอดถึงมีการแข่งขันกันการ จัดการเกี่ยวกับธุรกิจด้านนี้อย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับผู้ที่ ต้องการไปเรียนต่อที่นั่นก็สะดวกมากกว่าแต่ก่อนมาก เพียงเพราะเดี๋ยวนี้ มีเอเจนซี่ซึ่งทางสถาบันการศึกษาต่างๆ มอบหมายหรือจัดจ้างให้เป็น ผู้อ�ำนวยความสะดวก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องข้อมูลเอกสารการสมัคร รวมถึงให้ ค�ำปรึกษาในแทบทุกเรื่องโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย เนื่องจากทางโรงเรียนปลายทาง เป็นผู้ให้การสนับสนุนสปอนเซอร์ให้อยู่แล้ว ซึ่งไม่ว่าเราจะติดต่อตรงกับ สถาบันนั้นๆ หรือประสานผ่านองค์กรเหล่าก็จะมีรายละเอียด ค่าใช้จ่าย เท่ากัน ใช้เวลาเดินเท้าในเมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลียอยู่ทั้งสิ้น 5 วัน แล้วเดินทางต่อ โอ๊คแลนด์ นิวซีแลนด์ ดูโรงเรียนให้ลูกต่อ... เจอกันที่ นิวซีแลนด์ฉบับหน้า

บริษัท

นานาวัสดุภัณฑ์(1993)

จ�ำกัด

จ�ำหน่าย วัสดุก่อสร้างทุกชนิด, สี, สุขภัณฑ์ ถนนพัฒนาการคูขวาง (ข้างห้างสรรพสินค้าโรบินสันโอเชี่ยน) 85

โทรศัพท์ 075-317831 โทรสาร 075-344791


เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

ชาวนบพิตำ�ตั้งกำ�แพงมนุษย์กลางถนน สกัดเจ้าหน้าที่เข้ารื้อถอนสวนยาง-ผลไม้ วันนี้ (29 ก.ย.57) ชาวบ้านชาว ต�ำบลนบพิต�ำ อ.นบพิต�ำ จ.นครศรีธรรมราช กว่า 100 คน มารวมกันปิดถนนทางขึ้น สวนยางพารา ม.9 ต.นบพิต�ำ อ.นบพิต�ำ หลังจากทราบว่าเจ้าหน้าที่จะมาตัดโค่นต้นยาง และไม้ผลที่ชาวบ้านท�ำกินกันมาตั้งแต่สมัยปู่ย่า ตาทวด ถูกเจ้าหน้าที่ตรวจและจะมารื้อถอน ซึ่งชาวบ้านระบุว่าถ้าจะเข้าตัดโค่นต้องข้ามศพ ชาวบ้านไปก่อน จากนั้นมีนายสวัสดิ์ อั้นเต้ง ทสจ.นครศรีธรรมราช พร้อมก�ำลังเจ้าหน้าที่ ประมาณ 200 นาย เดินทางมาถึงบริเวณ ดังกล่าว และพบชาวบ้านมารวมตัวถือป้ายผ้า ขอความเป็นธรรม และไม่ยอมให้เจ้าหน้าที่ ผ่าน ท�ำให้เกิดภาวะตึงเครียด โดยนายสวัสดิ์ อั้นเต้ง ทสจ.นครศรีธรรมราช พยายามชี้แจง

ชาวบ้านถึงการมาของเจ้าหน้าที่ที่ต้องท�ำตามข้อกฏหมาย แต่ชาวบ้าน ไม่รับฟัง จนมีการโต้เถียงกัน ท�ำให้นายสวัสดิ์ฯ ไม่สามารถสื่อสารกับ

เอสเอ็มอีแบงก์ คืนความสุขผู้ประกอบการรายย่อย

จัดสินเชื่อ 9 เมนู เงื่อนไขดี ช่วยธุรกิจภาคใต้

วันนี้ (2 ต.ค. 57) ที่ห้องอรพิน โรงแรมทวินโลตัสนครศรีธรรมราช ธนาคาร พั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม แห่งประเทศไทย หรือ เอสเอ็มอีแบงก์ ได้จัด กิจกรรมช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ใน พื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ในงาน “สินเชื่อ 9 เมนูคืนความสุข SMEs” โดยมีนายสมชาย หาญหิรัญ กรรมการเอสเอ็มอีแบงก์ เป็นประธาน ในพิธี มีนายศิริพัฒ พัฒกุล รองผู้ว่าราชการ จังหวัดรักษาราชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราชร่วมให้การต้อนรับและเป็น สั ก ขี พ ยานในพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ (MOU) ระหว่างนางสาววาริน ชิณวงศ์ ประธาน หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช และ นายสุทธิพร กาฬสุวรรณ นายกสมาคมโรงสีข้าว และกลุ่มชาวนาภาคใต้ ในโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการ SMEs ไทย ให้เติบโตยั่งยืน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนความช่วยเหลือด้าน เงินทุนจาก เอสเอ็มอีแบงก์สู่ผู้ประกอบการSMEs ให้มีเงินหมุนเวียน ลงทุน ปรับปรุง ขยายธุรกิจช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจภาคใต้ขยายตัว โดยมีลูกค้า ธนาคารร่วมออกบูธจ�ำหน่ายสินค้า และผู้ประกอบการ SMEs เข้าร่วมงาน กว่า 300 คน โอกาสนี้เอสเอ็มอีแบงก์ได้มอบสินเชื่อ 9 เมนู แก่ผู้ประกอบการ SMEs จังหวัดนครศรีธรรมราชด้วย พร้อมให้บริการแนะน�ำการเข้าถึงแหล่ง เงินทุนของเอสเอ็มอีแบงก์ และบูธหน่วยงานพันธมิตร โดยจะสิ้นสุดรับ

โดย...

ี กวล

กน

7

ชาวบ้านให้เข้าใจได้ จนในที่สุดนายสนิท องศารา ผอ.ส่วนอุทยานแห่งชาติ ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5 เดินทางมาสมทบและได้ชี้แจงให้ชาวบ้าน ถึงเหตุผลที่เจ้าหน้าที่ต้องมาท�ำการตรวจยึดพื้นที่ผืนป่า และชี้แจงขั้นตอน อย่างไร ท�ำให้ชาวบ้านมีความเข้าใจมากขึ้น ขณะที่ชาวบ้านก็ได้ระบุว่า เจ้าหน้าที่ท�ำโดยพละการ มาปิดป้ายแล้วเข้าท�ำการรื้อถอนโดยไม่ได้ ตรวจสอบอะไรเลย นายสนิท องศารา ผอ.ส่วนอุทยานแห่งชาติ ส�ำนักบริหารพื้นที่ อนุรักษ์ที่ 5 กล่าวว่า วันนี้จึงได้มารื้อถอนพืชผลอาสินในพื้นที่ถูกบุกรุก 9 แปลง เนื้อที่ 54 ไร่ แต่ชาวบ้านขอให้ตรวจสอบอีกครั้ง ให้เหตุผลว่าท�ำกิน มาก่อนมีมติ ครม.30 มิ.ย.41 ดังนั้นจึงเข้าตรวจสอบตามที่ชาวบ้านขอร้อง โดยใช้ระบบจีพีเอส ดูภาพถ่ายทางอากาศ หากพบว่าท�ำกินก่อนมติ ครม. จะน�ำเสนอผู้บังคับบัญชาแก้ปัญหาให้ต่อไป แต่หากมีการบุกรุกหลังมติ ครม.30 มิ.ย.41 จะต้องถูกด�ำเนินคดี เป็นการด�ำเนินการที่ทางราชการ ไม่เสียหาย และไม่เป็นการรังแกประชาชน และชาวบ้านก็ยอมรับในส่วนนี้ ขณะที่นางกัลยา โฮย (โฮย) อายุ 45 ปี อยู่บ้านเลขที่ 9 ม.9 ต.นบพิต�ำ อ.นบิต�ำ จ.นครศรีธรรมราช เจ้าของสวนยางพาราหนึ่งใน จ�ำนวน 9 แปลงดังกล่าวที่จะถูกรื้อถอนผลอาสิน กล่าวว่า ตนเองได้รับ พื้นที่ท�ำกินแห่งนี้จ�ำนวน 30 ไร่ เป็นมรดกจากบิดาที่ท�ำกินอยู่นานกว่า 40 ปีแล้ว ไม่ได้บุกรุกพื้นที่ป่าแต่อย่างใด แล้วอยู่ๆ เจ้าหน้าที่ก็มาปิดป้ายก่อน จะมาท�ำการรื้อถอน จึงคิดว่าไม่ได้รับความเป็นธรราม ตนเองและชาวบ้าน จึงมารวมตัวกันเพื่อต้องการให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบพื้นที่ใหม่อีกครั้ง ยืนยัน ใช้เป็นพื้นที่ท�ำกิน สามารถสอบถามจากก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านได้ ด้านนายสาธิต ยังผ้อง อายุ 34 ปี กล่าวว่า ตนเองมีที่ท�ำกิน อยู่ในบริเวณ ม.9 ต.นบพิต�ำ อ.นบพิต�ำ ประมาณ 8-10 ไร่ ปลูกยางพารา จนเปิดกรีดเกือบ 10 ปี มีรายได้วันละประมาณ 800-1,000 บาท ซึ่งเป็น ที่ดินผืนเดียวที่ท�ำมาหากินเลี้ยงครอบครัว ต่อมาถูกเจ้าหน้าที่เข้าท�ำการ ตัดโค่นจนหมดเกลี้ยงท�ำให้ต้องตกงาน เพราะไม่มีอาชีพอื่นท�ำ จึงหันมา ท�ำงานรับจ้าง ตอนนี้มีรายได้วันละ 200-300 บาทเท่านั้น หรือบางวันก็ ไม่มีรายได้อะไรเลย ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าคนท�ำสวนหลายรายได้รับ ผลกระทบ และอยากให้รัฐบาลเข้ามาดูแลตรงนี้ด้วย.

สถานีความคิด คลื่นวิทยุ กระจายเสียงชุมชน

ค�ำขอกู้ 31 ธันวาคม 2558 หรือจนกว่าเต็มวงเงินสินเชื่อโครงการ นายสมชาย หาญหิรัญ กรรมการเอสเอ็มอีแบงก์ กล่าวว่า สินเชื่อ 9 เมนู คืนความสุข SMEs มีหลากหลายผลิตภัณฑ์สินเชื่อที่ตอบสนองความ ต้องการทางธุรกิจได้อย่างตรงจุด เช่น สินเชื่อ OTOP กู้ได้สูงสุด 1 ล้านบาท ปลอดเงินต้นสูงสุด 1 ปี และสามารถใช้ บสย.ค�้ำประกันได้ สินเชื่อซื้อสถาน ประกอบการ Strong SMEs กู้ได้สูงสุด 15 ล้านบาท ผ่อนนานสูงสุด 15 ปี เป็นต้น

คิดดี ท�ำดี ที่นี่เมืองนคร 87.5 MHz.

ป้ายใหม่ ไฉไลกว่าเก่า จริงหรือ!

พี่ครับ ซอยนี่อยู่ตรงไหนครับ? พี่คะ ซอยนี้ไปทางไหนคะ? ขับรถเวียนหามาหลายรอบแล้ว รบกวนพี่น�ำทางไปให้หน่อยได้หรือไม่... เหล่านี้เป็นเพียงบางส่วนจากเสียงสะท้อนที่เกิดขึ้น หลังจากทางเทศบาลนคร นครศรีธรรมราชปรารถนาดี หวังสร้างความสวยงามให้กับบ้านนี้เมืองนี้ ด้วยการละลาย งบประมาณเพื่อเปลี่ยนป้ายบอกชื่อซอยบนถนนสายหลัก ทั้งราชด�ำเนินและพัฒนาการ คูขวาง และให้บังเอิญว่า ห้วงระยะเวลาที่ปรับเลี่ยนป้ายบอกชื่อตรอกซอกซอยบนถนน สายหลักดังกล่าวเสร็จสิ้นไปไม่มานก็เข้าสู่ช่วงเทศกาลงานบุญเดือนสิบ อันเป็นช่วงเวลา ที่มีผู้คนทั้งจากพื้นที่นครศรีธรรมราช ภาคใต้ และหรือทั่วประเทศเดินทางมาร่วมกิจกรรม

ท�ำบุญกันตามประเพณีอันดีงาม “ดิฉันว่ามันก็ดีนะคะที่จะมีการปรับเปลี่ยนป้ายใหม่ แต่การใช้ค�ำและพื้นที่ บนป้ายสิ้นเปลืองไปหน่อยคะ ป้ายบอกชื่อถนนควรจะมีตามแยกต่างๆ และเป็นป้ายขนาดใหญ่ ก็เพียงพอแล้ว และให้มองเห็นได้ในขณะที่เราจะเลี้ยวไปทางไหน ส่วนตัวหนังสือและขนาด ของป้ายควรค�ำนึงถึงความเหมาะสมในการใช้งาน เพราะป้ายบอกชื่อซอยนั้นต้องมีลักษณะที่ มองเห็นได้ง่ายในระยะที่เราขับรถอยู่บนท้องถนน ไม่ใช่เล็กจนต้องชะลอรถมองป้ายทุกซอย คะ” คุณจีรันดา เซี่ยงม้า ร่ายยาวให้ฟัง “หากพระธาตุเมือนครขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกด้วยแล้วละก็ รับรองได้เลยว่า ซอกซอยบนถนนราชด�ำเนินและถนนต่างๆ ย่อมมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง แต่ความตั้งใจของ ผู้บริหารเทศบาลฯ ชุดนี้ที่ทุ่มงบประมาณนับล้านบาท ไปท�ำป้ายแบบไม่ตรงเป้าหมาย กลาย เป็นป้ายบอกชื่อถนนแทนที่จะท�ำป้ายบอกชื่อตรอกซอกซอย หน�ำซ�้ำทั้งภาษาไทย-ภาษาอังกฤษ ตัวเล็กกระจิดริดแทบมองไม่เห็น เปลี่ยนแล้วเป็นแบบนี้อยากจะกลับไปใช้แบบเดิมที่มองเห็น ง่ายกว่าเยอะ” เป็นอีกเสียงของชาวบ้านที่สะท้อนออกมา


8

เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

“วัดทุ่งแย้” กวาด 2 รางวัลชนะเลิศ กรมทางหลวงชนบทจัดงบ 7.779 ล้าน ประกวดหุ่นเปรต-พาเหรดเปรตเดือนสิบ (22 ก.ย.) นายไพฑูรย์ อินทศิลา ประธาน จัดกิจกรรมประกวดหุ่นเปรต-พาเหรดเปรต งานประเพณี บุญสารทเดือนสิบจังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2557 เปิดเผยว่า พิธีเปิดขบวนพาเหรดเปรตเดือนสิบ เมื่อวันที่ 21 ก.ย. 2557 ที่ผ่านมา โดยมีวัด โรงเรียน ชุมชน สถานศึกษา ส่งหุ่นเปรตและขบวนพาเหรดเปรต เข้าร่วมจ�ำนวนมาก ท่ามกลางประชาชนและนักท่องเที่ยว ที่ให้ความสนใจแห่ชมและร่วมขบวนแห่อย่างเนืองแน่น แต่เนื่องจากพายุฝนตกกระหน�่ำอย่างหนัก ท�ำให้ไม่ สามารถด�ำเนินการได้ตามเวลาที่ก�ำหนด จึงต้องรอจน ฝนซาเม็ดจึงเริ่มเคลื่อนขบวนพาเหรดเปรตในเวลา 17.00 น. ท่ามกลางสายฝนที่ตกโปรยปรายลงมาอย่าง ต่อเนื่อง หลังพิธีเปิดขบวนพาเหรดเปรต พร้อมหุ่น เปรตกว่า 30 ตน ได้เคลื่อนออกจากหน้าวิหารหลวง ผ่านหน้าองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ก่อนเลี้ยวซ้ายออกสู่ ถนนราชด�ำเนิน ท่ามกลางประชาชนและนักท่องเที่ยว ที่รอชมสองข้างทาง และต่างเข้ามาถ่ายรูปหุ่นเปรตและ ขบวนพาเหรดเปรตไว้เป็นที่ระลึกตลอดเส้นทาง ใช้เวลา ประมาณ 1 ชม. จึงถึงศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช จากนั้นจึงท�ำการประกาศผลการตัดสินการประกวด หุ่นเปรตและขบวนพาเหรดเปรต โดยประเภทหุ่นเปรต รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ หุ่นเปรตของวัดทุ่งแย้ รับเงิน รางวัลเงินสด 7,000 บาท อันดับ 2 ได้แก่ หุ่นเปรต อส.ตร.เทวบุรี รับรางวัลเงินสด 5,000 บาท อันดับ 3 ได้แก่ หุ่นเปรตวิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช รับรางวัลเงินสด 3,000 บาท และ รางวัลชมเชย ได้แก่ หุ่นเปรตนายสวัสดดี กังวาลก้อง ต.ปากนคร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช รับรางวัลเงินสด 2,000 บาท ประเภทพาเหรดเปรต รางวัลชนะเลิศ ได้แก่

สร้างใหม่ “ถนนโลกพระจันทร์”

จากกรณีที่สื่อมวลชนน�ำเสนอข่าว พระมงคล อุตฺตโม และตัวแทนประชาชน ต.โพธิ์เสด็จ ต.มะม่วง สองต้น และ ต.ไชยมนตรี อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช พร้อมด้วยชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง รวมตัวเรียกร้อง ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับปรงซ่อมแซมถนนชลประทาน ที่ผ่านหน้าวัดทุ่งแย้ เชื่อมต่อกับ ถนนใหญ่สี่เลนสาย เบญจมราชูทิศ-นาพรุ หรือถนนสายแยก ทล.4103บ้านโพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ระยะทาง ประมาณ 1 กม.เศษ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “ถนน วัดทุ่งแย้ รับรางวัลเงินสด 10,000 บาท อันดับ 2 ได้แก่ โลกพระจันทร์” ซึ่งเป็นถนนเลี่ยงเมืองสายหลักที่มีผู้ใช้ ชุมชนเทวบุรี-คลองห้วย รับรางวัลเงินสด 5,000 บาท เส้นทางดังกล่าวเป็นจ�ำนวนมาก แต่ถนนสายดังกล่าว อันดับ 3 ได้แก่ อส.ตร.เทวบุรี รับรางวัลเงินสด 3,000 ช�ำรุดเป็นหลุมเป็นบ่อจนการสัญจรไปมาเป็นไปด้วย ความยากล�ำบาก ประชาชนในพื้นที่รวมทั้งที่สัญจรไปมา บาท และรางวัลชมเชยได้แก่ ทีมนายกณพ เกตุชาติ หรือ “ดร.โจ” รับรางวัลเงินสด 2,000 บาท นอกจากนี้ ได้รับความเดือดร้อนมานานถึง 7 ปี จนชาวบ้านเรียก รางวัลพิเศษเงินสด 10,000 จากรายการ “ไทยท้าทาย” ถนนสายนี้โลกพระจันทร์ ให้สามารถใช้การได้ตามปกติ ผู้สื่อข่าวรายงานว่าหลังข่าวนี้ถูกน�ำเสนอ มอบให้กับผู้ที่เชิดหุ่นเปรตได้อย่างสนุกสนานเร้าใจมาก ทางหลวงชนบทจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จัดสรร ที่สุดอีกด้วย นายไพฑูรย์ อินทศิลา กล่าวว่าในปีนี้ไม่ได้ งบประมาณด�ำเนินการก่อสร้างถนนสายดังกล่าว รับการสนับสนุนงบประมาณและสถานที่การจัดกิจกรรม ระยะทาง 1.340 กิโลเมตร โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น เต็มรูปแบบเหมือนทุกๆ ปีที่ผ่านมา จึงเหลือเพียงเฉพาะ 7,799,000 ผิวการจราจรลาดยางแอสฟัลติกหนา 5 การจัดประกวดหุ่นเปรต-พาเหรดเปรต ส�ำหรับในวันที่ ซ.ม. ผิวการจราจรกว้าง 6 เมตร ไหล่ทางกว้างข้างละ 22 ก.ย.2557 ที่วัดทุ่งแย้ ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรี 1.50 เมตร จ�ำนวน 2 ช่องจราจร ซึ่งมีห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ธรรมราช จะมีกิจกรรมทอดผ้าป่าส่งดวงวิญญาณบรรพชน โชคบัญชาการก่อสร้าง เป็นผู้รับจ้าง ระยะเวลาในการ ลอยฟ้า โดยชักรอกน�ำผ้าป่าขึ้นไปไว้บนยอดหมากสูง ก่อสร้าง 140 วัน ก�ำหนดแล้วเสร็จเดือนมกราคม 2558 จากพื้นดิน 15 เมตร และพระมงคล อุตตโม รักษาการ สร้างความดีใจให้กับพระภิกษุและชาวบ้านที่ร่วมกัน เจ้าอาวาส จะนั่งกระเช้ารถเครนยกขึ้นไปพิจารณาผ้าป่า เรียกร้องเป็นอย่างมาก เมื่อเย็นวันที่ 25 ก.ย.2557 ที่ผ่านมา บนยอดหมาก ซึ่งถือเป็นการทอดผ้าป่าและพิจารณา ผ้าป่าลอยฟ้าสูง 15 เมตร ครั้งแรกในเมืองไทย หลังจาก บริเวณศาลาโรงธรรมวัดทุ่งแย้ ทางกรมทางหลวงชนบท ได้ท�ำประชาพิจารณ์การก่อสร้างถนนสายนี้ โดยเชิญ นั้นจะแข่งขันปีนเสาน�้ำมันชิงเงินรางวัลจากรายการ ตัวแทนเทศบาลต�ำบลโพธิ์เสด็จ ผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ “ไทยท้าทาย”อีก 10,000 บาท .

พร้อมด้วยพระมงคลอุตฺตโม รักษาการเจ้าอาวาส รวม ทั้งชาวบ้านในพื้นที่ 3 ต�ำบล รวมกว่า 50 คน มาร่วม แสดงความคิดเห็น ซึ่งทั้งหมดเห็นด้วยที่จะท�ำการ ก่อสร้างถนนสายดังกล่าว ซึ่งผู้รับเหมายืนยันว่า นอกจากด�ำเนินการก่อสร้างถนนดังกล่าวแล้วจะท�ำการ ลาดยางแอสฟันติกเชื่อมรอยต่อกับคอนกรีตที่แยกจาก ถนนสายดังกล่าวอีก 3 จุด โดยเฉพาะเชื่อมกับถนน คอนกรีตทางเข้าวัดทุ่งแย้ นายถาวร สังข์สุวรรณ ผู้ช่วยผู้ควบคุมงาน เปิดเผยว่า เจ้าของพื้นที่จริงๆ คือกรมชลประทานแต่ ในช่วงที่การการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง คสช.ได้สั่ง ให้มีการตรวจสอบงบประมาณการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ�ำปี 2557 พบว่ามีงบประมาณเหลือจ่ายอยู่ จ�ำนวนหนึ่ง จึงสั่งให้กระจายงบประมาณเฉลี่ยไปตาม จังหวัดต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ ประชาชนในเรื่องต่างๆ ในส่วนของจังหวัดนครศรี ธรรมราชเห็นว่าพระภิกษุและชาวบ้านได้รวมตัว เรียกร้องให้ก่อสร้างหรือปรับปรุงซ่อมแซมถนนสายนี้ มาเป็นเวลานาน ทาง คสช.จึงมอบหมายให้กรม ทางหลวงชนบทเข้ามาด�ำเนินการก่อสร้างถนนสายนี้ ด้วยงบประมาณ 7.799 บาทดังกล่าว

เชฟรอนผนึกกำ�ลังหน่วยงานท้องถิ่น

เพราะต้องการเป็นส่วนหนึ่ง ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่ม ประมงพื้นบ้าน ควบคู่ไปกับการสร้าง จิตส�ำนึกรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทาง ทะเล ให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืนให้กับชาวบ้าน และเยาวชน ในต�ำบลทุ่งปรังอ�ำเภอสิชล และต�ำบลกลาย อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช บริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด จึงได้พูดคุยและท�ำงาน ร่วมกับชาวบ้านและหน่วยงานท้องถิ่นเพื่อตอบโจทย์ ความต้องการดังกล่าว จนเกิดเป็นโครงการที่ส่งเสริมอาชีพของชุมชน ท้องถิ่นและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประมงพื้นบ้านที่ทุกฝ่ายได้ตกลงและ ท�ำงานร่วมกัน โดยเมื่อเร็วๆ นี้ที่บ้านปลายทอน ต�ำบลทุ่งปรัก อ�ำเภอสิชล ด้วยความร่วมมือกับสมาคมประมงสิชล จึงได้เกิดโครงการกองทุนประมง พื้นบ้าน ขึ้นด้วยงบประมาณสนับสนุนจากเชฟรอน 1,000,000 บาท เพื่อ เป็นกองทุนหมุนเวียนในการเพิ่มศักยภาพของชาวประมงพื้นบ้าน โดยสร้าง กระบวนการเรียนรู้ทั้งในเรื่องการท�ำประมงด้วยวิธีการที่เหมาะสมและ เป็นมิตรต่อระบบนิเวศทางทะเล การจัดตั้งกองทุนพัฒนาอาชีพของ ชาวประมงพื้นบ้าน รวมทั้งการรวมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อส่งเสริมการออมเงิน ให้กับสมาชิก นายสุธรรม วิชชุไตรภพ นายกสมาคมชาวประมงอ�ำเภอสิชล เล่าว่า “การมีกองทุนประมงพื้นบ้านนี้ จะสามารถช่วยสมาชิกกว่า 500 คน ให้ช่วยเหลือตนเองได้ เพราะมีเงินทุนหมุนเวียนในการกู้ยืมเพื่อซื้อเครื่องมือ

พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มประมงพื้นบ้าน

ต้องทิ้งเรือตัวเองเพราะดูแลรักษาไม่ไหว แต่ด้วยโครงการนี้ สามารถช่วย ลดค่าใช้จ่ายให้ชาวประมงได้มากทีเดียว และยังเป็นการช่วยอนุรักษ์อาชีพ พื้นบ้านอย่างช่างซ่อมเรือให้คงอยู่ต่อไป นอกจากเรื่องคุณภาพชีวิต เรายัง ให้ความส�ำคัญและท�ำงานร่วมกันเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและระบบ นิเวศทางทะเลมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งโครงการจัดวางปะการังเทียม ที่จัด ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 โดยวางปะการังเทียมแล้วทั้งสิ้น 1,650 แท่ง อันจะช่วย เพิ่มแหล่งอนุบาลสัตว์น�้ำที่เป็นผลิตผลส�ำคัญของชาวประมง และโครงการ วันอนุรักษ์ทะเลกลาย ที่เชฟรอนเองให้การสนับสนุนเป็นปีที่ 6 โดยทั้งสอง โครงการนับเป็นสร้างจิตส�ำนึกและรณรงค์ให้กลุ่มชาวประมง เยาวชนและ คนในพื้นที่หันมาอนุรักษ์และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลได้เป็น อย่างดี” นางสาวดุษชฎา เลี้ยงบุญเลิศชัย ผู้จัดการฝ่ายชุมชนสัมพันธ์ เชฟรอนประเทศไทย กล่าวถึงกิจกรรมเพื่อสังคมขององค์กรว่า “การ ประมงที่ถูกกฎหมาย รวมทั้งมีการให้ความรู้การท�ำประมงพื้นบ้านที่ถูกวิธี สนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคมใดๆ ก็ตามของเชฟรอน การมอบของหรือ เงินทุนไม่ใช่ประเด็นหลัก แต่กิจกรรมของบริษัทนั้นมุ่งเน้นที่จะช่วยพัฒนา และมีการรวมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อใช้พัฒนาอาชีพประมงพื้นบ้านต่อไป” นอกจากพื้นที่สิชล เชฟรอนยังท�ำงานร่วมกับชุมชนประมงใน คุณภาพชีวิต สร้างความเข้มแข็งให้กับชาวบ้านและชุมชนได้ในระยะยาว พื้นที่ทะเลกลายและชุมชนใกล้เคียงเพื่อสร้างความเติบโตอย่างยั่งยืนให้กับ และน�ำไปสู่การพึ่งพาตนเอง โดยเราเน้นการให้ความรู้ สร้างจิตส�ำนึก ชุมชน โดยผ่านโครงการก่อสร้างอู่ซ่อมเรือ ภายใต้โครงการเชฟรอนพลังใจ สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น และเชฟรอนเองด้วย จะเห็นได้ว่าโครงการทั้งสี่นี้ ช่วยตอบโจทย์ความต้องการของชาวประมง พลังคน เพื่อชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งนับเป็นอู่ซ่อมเรือแห่งแรกในต�ำบล เพื่อ พื้นบ้านได้ ซึ่งเป็นอาชีพหลักของท้องถิ่นที่จะด�ำรงอยู่โดยชุมชนและเข้มแข็ง สนับสนุนชาวประมงในพื้นที่ทะเลกลายและพื้นที่ใกล้เคียงให้สามารถพึ่ง ตนเองได้ ทั้งในเรื่องการซ่อมบ�ำรุงและรักษาเรือประมง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายที่สูง ขึ้นสู่การตระหนักเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลเพื่อชุมชนและสังคม ทั้งยังเป็นการช่วยส่งเสริมอาชีพและอนุรักษ์ความรู้พื้นบ้านดั้งเดิมของช่าง ต่อไป” การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนอย่างยั่งยืนนั้น ต้องอาศัย ซ่อมเรือประมงพื้นบ้านอีกด้วย ความร่ ว มแรงร่ วมใจจากหลายภาคส่วน จึงจะประสบผลส�ำเร็จ อย่างเช่น นายยุทธยา พิมเสน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกลาย กล่าวว่า “เราได้ท�ำงานร่วมกับเชฟรอนเพื่อให้กลุ่มชาวประมงในต�ำบลกลาย โครงการเหล่านี้ คงจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ หากไม่ได้เป็นความต้องการ และใกล้เคียงกว่า 300 คน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากเดิมต้องล�ำบากเดินทาง ของท้องถิ่นเองหรือไม่ได้รับความร่วมมือและร่วมเป็นเจ้าของกิจกรรมเอง ไปต่างอ�ำเภอเพื่อดูแลรักษาเรือ มีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นมากมาย บางคนถึงขั้น ของทั้งจากภาครัฐ หน่วยงานในท้องถิ่นและคนในชุมชนเป็นส�ำคัญ


เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

9

ยืนยันคราบสนิมพระบรมธาตุฯ ไม่กระทบการพิจารณามรดกโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช ประสานกรมศิลปากรส่งนักวิชาการลงพื้นที่ ส�ำรวจหาสาเหตุการเกิดคราบสนิมบริเวณบัวคว�่ำบัวหงายไหลย้อนลง มาที่ปล้องไฉนมองเห็นได้ชัดเจน ทั้งๆ ที่เพิ่งใช้งบประมาณหลายล้าน บาทส�ำรวจแก้ไขเมื่อปลายปี 2556 - รองผู้ว่าฯ ยืนยันไม่กระทบมรดกโลก ชี้แก้ไขครั้งที่แล้วแก้ไขปัญหาไม่ตรงจุด จากกรณีที่ได้เกิดคราบสนิมบริเวณฐานบัวคว�่ำบัวหงาย พระบรมธาตุเจดีย์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช ไหล ย้อยลงมาบริเวณปล้องไฉนสามารถมองเห็นอย่างชัดเจน จนเป็นที่วิพากษ์ วิจารณ์ในหมู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง เนื่องจากคราบสนิมในลักษณะ ดังกล่าวเกิดขึ้นหลังการทาสีองค์พระบรมธาตุเจดีย์จากเดิมมีสีเทาด�ำเป็น สีขาว จนต้องใช้งบประมาณหลายล้านบาทสร้างนั่งร้านขึ้นส�ำรวจตรวจสอบ และแก้ไขเมื่อปลายปี 2556 แต่เวลาผ่านมาไม่กี่เดือนกลับเกิดคราบสนิม ขึ้นในบริเวณเดิมอีกดังกล่าว ซึ่งอาจจะกระทบกับโครงสร้างท�ำให้ยอด พระบรมธาตุเจดีย์ช�ำรุดเสียหาย รวมทั้งอาจจะกระทบกับการพิจารณา ประกาศขึ้นทะเบียนพระบรมธาตุฯ เป็นมรดกโลกของคณะกรรมการยูเนสโก ก็ได้ ผู้สื่อข่าวรายงานว่าชาวโลกออนไลน์ได้มีการน�ำภาพองค์พระ บรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราชไปโพสต์พร้อมแสดงความคิดเห็นต่างๆ นานา อย่างกว้างขวาง โดยมีการน�ำภาพเดิมที่องค์พระบรมธาตุมีสีเทาด�ำ ดูเข้มขลังและไม่เคยปรากฏคราบสนิม กับภาพที่มีการทาสีขาวน�้ำปูนต�ำ ท�ำให้องค์พระบรมธาตุมีสีขาวซึ่งปรากฏคราบสนิมให้เห็นอย่างชัดเจนมา เปรียบเทียบกัน ส่วนใหญ่เรียกร้องให้เร่งส�ำรวจ ตรวจสอบและแก้ไขให้ พระบรมธาตุฯกลับมาเหมือนเดิมโดยเร็วที่สุด เกี่ยวกับเรื่องนี้นายศิริพัฒ พัฒกุล รองผู้ว่าราชการจังหวัด รักษาราชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า การ แก้ไขปัญหามีคราบคล้ายสนิมไหลเยิ้มลงมาจากใต้ฐานบัวคว�่ำบัวหงาย ปลียอดทองค�ำ องค์พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช หลังจากที่กรม ศิลปากรได้ส่งช่างจากส�ำนักช่างสิบหมู่ขึ้นไปส�ำรวจและแก้ไขปัญหาเมื่อปี 2556 ซึ่งในขณะนั้นได้มีการวิเคราะห์กันว่าสาเหตุน่าจะมาจากสนิมเหล็ก ยึดรอกที่รัดอยู่เหนือฐานบัวคว�่ำบัวหงาย สาเหตุคาดว่าเกิดจากปฏิกิริยา ของอากาศกับปูนและเหล็กรัดรอกจึงถอดเอาเหล็กออก แล้วซ่อมแซมใหม่

แต่ปัญหาดังกล่าวยังไม่จบ โดยปัญหาคราบสนิมยังคงมีอย่างต่อเนื่องหลัง จากเวลาผ่านไปไม่ถึง 1 ปีกลับเป็นสนิมอีกแสดงว่าการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ยังไม่ถูกจุด “จังหวัดจึงได้มอบหมายให้ส�ำนักศิลปากรที่ 14 นครศรีธรรมราช ประสานไปยังกรมศิลปากร โดยกรมศิลปากรได้มอบหมายให้ ดร.ศิริชัย หวังเจริญตระกูล นักวิทยาศาสตร์เชี่ยวชาญ ส�ำนักพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้ส่งผู้เชี่ยวชาญไปศึกษาวิเคราะห์ถึงปัญหาที่แท้จริง อีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง คาดว่าผู้เชี่ยวชาญน่า จะลงมาในเร็วๆ นี้ อันที่จริงคราบสนิมไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นแต่มีมานานแล้ว แต่เมื่อมีการทาสีขาวท�ำให้เห็นชัดเจนขึ้น” รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวต่อว่า มีหลายคน เป็นห่วงว่าปัญหาการเกิดคราบสนิมจะส่งผลกระทบต่อการเสนอพระบรม ธาตุเจดีย์เป็นมรดกโลกนั้น ไม่เกี่ยวข้องกัน เพราะการขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลกเขามีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนอยู่แล้ว อย่างไรก็ตามขอให้ผู้ที่วิพากษ์ วิจารณ์ไปต่างๆ นานาขอให้อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลข้อเท็จจริงด้วย อย่า อคติหรือเอาความคิดเห็นของตัวเองเป็นหลัก แต่ให้ยึดหลักเหตุและผล ส่วนการเสนอพระบรมธาตุฯเป็นมรดกโลกในปี 2558 นั้น อันที่จริงเป็น โอกาสแรกในการน�ำเสนอถ้าพร้อมอาจจะได้เป็นมรดกโลกเลยก็ได้ แต่ถ้า

ยังไม่พร้อมก็มีการขยายเวลาให้ปรับปรุงแก้ไขเปลี่ยนแปลงโดยมีระยะ เวลาถึง 10 ปี “ส่วนผู้ที่คัดค้านต่อต้านโครงการพระบรมธาตุมรดกโลกขอให้ มองผลประโยชน์ในภาพรวมของประเทศและของจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่จะได้รับจากการที่องค์พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชเป็นมรดกโลก เพราะเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งประเทศ ไม่ใช่เฉพาะของชาว นครศรีธรรมราช ดังนั้นจึงต้องช่วยกันทุกฝ่ายท�ำในสิ่งที่สร้างสรรค์”. นายศิริพัฒ พัฒกุล กล่าวในที่สุด.

เพลิงปริศนา..!ลุกไหม้เก๋งเบนซ์วอดกลางดึก ตำ�รวจจับ"มั้ง คลองห้วย" ดาวร้ายชิงทรัพย์-ยาเสพติด

เกิดเพลิงลุกไหม้จนรถเบนซ์ใหม่เอี่ยมของคหบดีเศรษฐีพันล้านเมืองคอน ที่น�ำมาจอดในโรงรถภายในคฤหาสน์หรูของอดีตประธานหอการค้าจังหวัด นครศรีธรรมราช สันนิษฐานว่ามาจากกระแสไฟจากหม้อแบตเตอรี่ลัด วงจรหรือลักลอบวางเพลิง เมื่อเวลา 00.30 น.วันที่ 6 ต.ค.2557 พ.ต.ท.ไพรัช ทองฉิม พนักงานสอบสวน สภ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ได้รับแจ้งจากศูนย์กู้ภัย มูลนิธิประชาร่วมใจว่ามีเหตุเพลิงไหม้รถยนต์เก๋งยี่ห้อเมอร์ซิเดสเบนซ์ สีบรอนซ์ ที่บริเวณโรงจอดรถ “บ้านรุ่งนิรันดร์” เลขที่ 30/448 ซอย 1 หมู่บ้านราชพฤกษ์ 2 หมู่ 1 ต.ปากนคร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช จึง พร้อมด้วยรถดับเพลิงเทศบาลนครนครศรีธรรมราชจ�ำนวน 1 คัน พ.ต.ท.สมบุญ ศรีวิรุฬห์โชติ นักวิทยาศาสตร์(ส.บ.3) ท�ำหน้าที่ หน.พิสูจน์ หลักฐานจังหวัดนครศรีธรรมราชและก�ำลังเจ้าหน้าที่มูลนิธิประชาร่วมใจ ไปที่เกิดเหตุเพื่อช่วยกันอ�ำนวยการดับเพลิง เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุซึ่งเป็นคฤหาสน์หรู 2 ชั้น อยู่ภายในรั้ว ก�ำแพง เนื้อที่กว้างประมาณ 5 ไร่เศษ และบริเวณที่โรงจอดรถด้านหลังบ้าน พบเปลวเพลิงก�ำลังลุกไหม้ด้านในรถเก๋งยี่ห้อเบนซ์ สีบรอนซ์เงิน รุ่นE250 ทะเบียน กน-8446 นครศรีธรรมราช เจ้าหน้าที่จึงฉีดน�้ำดับเพลิงโดยใช้ เวลาประมาณ 5 นาทีเพลิงจึงสงบลง ส�ำรวจภายในรถเบนซ์ถูกเพลิงไหม้ จนวอดหมด ประมาณค่าเสียหายครั้งนี้ประมาณ 3 ล้านบาท จากการสอบสวนนางวรรณภัสสรณ์ รุ่งนิรันดรกุล อายุ 40 ปี และนายนิพิธพนธ์ รุ่งนิรันดรกุล อายุ 50 ปี 2สามีภรรยาเจ้าของบ้าน ที่เกิดเหตุให้การว่า ก่อนเกิดเหตุขณะที่ตนและคนในครอบครัว ก�ำลัง นอนหลับอยู่ภายในบ้านได้กลิ่นไฟไหม้โชยเข้ามาในบ้านจึงออกไปดูก็พบ ว่าเพลิงก�ำลังลุกไหม้รถเบนซ์คันหรูดังกล่าว จึงรีบแจ้งให้รถดับเพลิงมา ท�ำการดับเพลิงดังกล่าว แต่ก็ไม่ทันการเนื่องจากเพลิงได้เผาไหม้ภายใน รถเบนซ์จนเสียหายวอดหมดแล้ว ส�ำหรับนายนิพิธพนธ์ฯ อดีตเคยเป็นประธานหอการค้าจังหวัด

นครศรีธรรมราช ส่วนรถยนต์เบนซ์หรูคันที่ถูกไฟไหม้จนวอดนั้น ก็เป็น รถยนต์เบนซ์ของนายฉาย รุ่งนิรันดรกุล อายุ 88 ปี นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ระดับพันล้านชื่อดังของ จ.นครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นบิดาของนายนิพิธพนธ์ ส่วนรถเก๋งเบนซ์คันดังกล่าวได้น�ำมาจอดในโรงจอดรถหลังบ้านมานานแล้ว โดยไม่ค่อยได้ใช้เนื่องจากนายฉาย บิดาของนายนิพิธพนธ์ มีอายุมากแล้ว ทางด้าน พ.ต.ท.ไพรัช ทองฉิม พนักงานสอบสวนเจ้าของคดี เผยว่าเบื้องต้นยังไม่สามารถระบุสาเหตุเพลิงไหม้รถเบนซ์ครั้งนี้ว่าเกิดจาก สาเหตุอะไรต้องรอผลตรวจหลักฐานในที่เกิดเหตุอย่างละเอียดจากเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจพิสูจน์หลักฐานนครศรีธรรมราชก่อนว่าสาเหตุเกิดจากอะไรกันแน่ โดยเบื้องต้นสันนิษฐานไว้ 2 ประเด็นคือเกิดจากสาเหตุระบบวงจรไฟฟ้า ภายในเบนซ์ลัดวงจรจนไฟลุกไหม้ขึ้น หรือประเด็นลอบเผาวางเพลิงเพราะ ทราบว่าในปัจจุบันนายนิพิธพนธ์ ก�ำลังมีความขัดแย้งกันภายในเครือญาติ บางคน จึงอาจจะท�ำให้ญาติคนดังกล่าวลอบเผารถเบนซ์ก็ได้ ทางต�ำรวจ จะเร่งสืบสวนสอบสวนหาสาเหตุเพลิงไหม้รถเบนซ์ที่แน่ชัดต่อไป.

เมื่อเวลา 11.00 น.วันที่ 1 ต.ค.57 พ.ต.ท.วินัย คงประพันธ์ รอง ผกก.สส.สภ.เมือง จ.นครศรี ธรรมราช เปิดเผยว่า ได้รับแจ้งว่า นายวิโรจน์ ตราชัย อายุ 53 ปี หรือ ฉายา “มั้ง คลองห้วย” ที่บ้านเลขที่ 79/5 หมู่ 7 ถนนเทวบุรี ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช หลบ ซ่อนตัวอยู่ในบ้าน จึงสั่งการให้ พ.ต.ต.สุเมฆ เส็นหล๊ะ สว.สส.ใน ฐานะหัวหน้า ชป.ปส.สภ.เมือง นครศรีธรรมราช พร้อมหมายจับ ของศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช น�ำก�ำลังไปตรวจค้นจับกุมตัว นายวิโรจน์ ได้โดยละม่อม จากการตรวจค้นในบ้านพักพบอาวุธปืนพกสั้น ซึ่งเป็นปืนปลอมจ�ำนวน 1 กระบอก หมวกไหมพรหม 1 ใบ อุปกรณ์การ เสพยาไอซ์จ�ำนวน 1 ชุด โทรศัพท์มือถือจ�ำนวนหลายเครื่อง และซิม โทรศัพท์อีกกว่า 10 อัน พ.ต.ท.วินัย คงประพันธ์ เปิดเผยว่าจากการตรวจสอบประวัติ นายวิโรจน์หรือ “มั้ง คลองห้วย” ผู้ต้องหารายนี้ อดีตเคยเป็น รปภ. ห้างดังแห่งหนึ่งใน จ.นครศรีธรรมราช แต่ถูกไล่ออก หลังจากนั้นได้ร่วม กับพวกขับขี่รถ จยย.ใช้อาวุธปืนปลอมจี้ชิงทรัพย์ ในเขต อ.เมือง ก่อคดี ชิงทรัพย์โชกโชนในเขต อ.เมือง โดยมีผู้เสียหายหลายรายเดินทางมาชี้ตัว ยืนยันว่านายวิโรจน์ คือคนร้ายที่กอเหตุ นอกจากนี้ยังพบว่านายวิโรจน์ มีหมายจับของศาลจังหวัดนครศรีธรรมราชในคดีชิงทรัพย์และคดียาเสพติด จ�ำนวนหลายหมายด้วยกัน จึงคุมตัวน�ำส่งพนักงานสอบสวนเพื่อสอบสวน ขยายผลติดตามจับกุมเพื่อนร่วมแก๊งมาด�ำเนินคดีตามกฎหมายต่อไป.


10

เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

อำ�เภอสิชล จัดงานประเพณีชักพระยิ่งใหญ่ มีเรือพนมพระ 43 วัด ประกวดชิงถ้วยพระราชทาน (9 ต.ค.) ที่ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช ได้มี การจัดงานประเพณีชักพระอ�ำเภอสิชล (ครั้งที่ 11) ประจ�ำปี 2557 ระหว่างวันที่ 9-12 ตุลาคม 2557 รวม 4 วัน 4 คืน ณ สนามหน้าที่ว่าการอ�ำเภอสิชล เพื่ออนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีชักพระ ให้คงอยู่สืบไป อันเป็นกิจกรรมหนึ่งในการร้อยมือ สร้างเมืองสิชล ส่งเสริมการท่องเที่ยว สร้างงาน สร้างรายได้ให้กับประชาชน ตลอดจนถักทอความรัก ความสามัคคี วัด-บ้าน-โรงเรียน/ราชการ หรือ “บวร” โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ เนื่องจาก ภาวะเศรษฐกิจ ราคาผลิตผลทางการเกษตรในปีนี้ไม่ดี เท่าที่ควร โดยตั้งแต่ช่วงเช้าพุทธศาสนิกชนได้ชักลาก เรือพนมพระจากวัดต่างๆ ไปร่วมกิจกรรม ณ.สนาม หน้าที่ว่าการอ�ำเภอ ท่ามกลางบรรยากาศคึกคักเป็น พิเศษ นายพิทักษ์ บริพิศ นายอ�ำเภอสิชล ได้ เปิดเผยว่า ได้ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน คณะสงฆ์ สภาวัฒนธรรมอ�ำเภอ และภาคเอกชน โดยจัดให้มีการประกวด เรือพนมพระ 2 ประเภท ประกอบด้วยประเภทสวยงามและความคิด สร้างสรรค์ ชิงถ้วยพระราชทานของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และประกวดขบวนแห่เรือพนมพระของต�ำบลต่างๆ จ�ำนวน 10 ขบวน โดยมีการพัฒนารูปแบบและกรอบการจัดขบวนแห่เรือ พนมพระให้มีความยิ่งใหญ่หลากหลาย ชิงถ้วยรางวัลของ ฯพณฯพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี คาดว่าจะมีเรือพนมพระของวัด/ส�ำนักสงฆ์ต่างๆ เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 43 วัด คาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในปีนี้กว่า 15,000 คน ส�ำหรับการจัดงานประเพณีชักพระในปีนี้เป็นการเปิดต�ำนาน ประเพณีชักพระ ภายใต้แนวคิด “ย้อนรอยพุทธกาล สืบสานประเพณี

ภาคีเครือข่ายชาวสวนยางและปาล์มน�้ำมัน 16 จังหวัดภาคใต้ ถกกรอบ เสนอรัฐบาลแก้ปัญหายางพารา พร้อมจัดตั้ง “แนวร่วมกู้ชีพชาวสวนยาง” เพื่อด�ำเนินกิจกรรมการเคลื่อนไหวทั้งหมด จี้รัฐพยุงราคายางไปที่ 80 บาท ใน 45 วัน และเรียกร้องให้ สนช.หยุด พ.ร.บ.การยางแห่งประเทศไทย ทันที วันนี้ (8 ต.ค.) ที่ห้องประชุมอาคารนวัตกรรม มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาคีเครือข่ายเกษตรกร ชาวสวนยางพาราและสวนปาล์มน�้ำมัน 16 จังหวัดภาคใต้ เข้าร่วมเสวนา หาทางออกเพื่อน�ำเสนอต่อรัฐบาลในการแก้ไขปัญหายางพาราทั้งระบบ โดยมีตัวแทนจากเกษตรกรทุกจังหวัดเข้าร่วมอย่างคับคั่ง นอกจากนั้น ยังมี รศ.ดร.ณรงค์ เพชรประเสริฐ ดร.เลิศชาย ศิริชัย ในฐานะนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ นายประยงค์ รณรงค์ ปราชญ์ชาวบ้าน เจ้าของรางวัลแม็กไซไซ เข้าร่วมการเสวนา พร้อมทั้ง นายมาโนช เสนพงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช ในฐานะตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับฟังปัญหา และร่วมหา ทางผลักดันในภาระหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นายประยงค์ รณรงค์ ปราชญ์ชาวบ้าน เจ้าของรางวัลแม็กไซไซ ได้ให้ข้อเสนอที่ส�ำคัญคือ การแก้ไขปัญหาเริ่มต้นจากชาวสวนยางเอง โดยเฉพาะในประเด็นการจัดการสวนยางที่มีอายุมากกว่า 25 ปี โดยให้ สกย.ที่มีเงินที่เก็บไว้หลายหมื่นล้านบาท น�ำมาสงเคราะห์สวนยางใหม่ หรือ พืชสวนอื่นๆ ในราคาท�ำนองเดียวกัน ขณะที่ชาวสวนยางจะได้ราคาไม้ ยางพาราที่สูงมากกว่าผลผลิตตลอด 7 ปี โดยเมื่อเข้าสู่ปีที่ 7 นั้น ชาวสวนยาง จะมียางใหม่ที่มีคุณภาพน�้ำยางดีกว่าออกสู่ตลาดได้ เพื่อน�ำเอายางพารา อายุมากกว่า 25 ปี ออกจากระบบอย่างน้อย 1 ล้านไร่ จะส่งผลต่อปริมาณ ยางพาราทั้งระบบ ภายหลังจากการเสวนาร่วมกว่า 4 ชม. ภาคีเครือข่ายเกษตรกร ชาวสวนยาง 16 จังหวัดภาคใต้ ได้ออกมติที่ประชุมเสวนาในนาม “แนวร่วม กู้ชีพชาวสวนยาง” จ�ำนวน 5 ประเด็นหลัก เพื่อเสนอต่อรัฐบาล ประกอบด้วย 1.ให้รัฐบาลและผู้ส่งออกยางพาราท�ำให้ราคายางมีราคาอยู่ที่ 80 บาท ภายใน 45 วัน โดยมีข้อเสนอให้รัฐบาลจ่ายส่วนต่างให้แก่เกษตร เป็นพันธบัตรรัฐบาล

ปักษ์ใต้ เทิดไท้องค์ราชันย์” ซึ่งจะมีพิธีเปิดงานในวันที่ 9 ตุลาคม 2557 เวลา 19.19 น. โดยมีนายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช เดินทางไปเป็นประธาน กิจกรรมภายในงานนอกจากะมีการจัดแสดงเรือพนมพระ ประกวดเรือพนมพระแล้วยังมีการตีฆ้องและกลองใหญ่ จุดพลุ แสง สี เสียง และไฟน�้ำตก “งานประเพณีชักพระอ�ำเภอสิชล ประจ�ำปี ๒๕๕๗ (Sichon Chak Pra Festival XI)” สวยงามตระการตา “นอกจากนี้ ภายในงานยังมีการท�ำบุญตักบาตรหน้าล้อ การ ประกวดธิดาชักพระ ศิลปินพื้นบ้าน ทอล์คโชว์หนังวีระ ลูกทุ่งบันเทิง หนังหญิงสาววรรณ ศ.พร้อมน้อย ศิลปินชื่อดังต่อภู อาร์สยาม และเดช อิสระ เป็นต้น ซึ่งถือเป็นการสานสืบทอดเจตนารมณ์การรื้อฟื้นและส่งเสริม ประเพณีชักพระของนายสกล จันทรักษ์ ปลัดจังหวัดนครศรีธรรมราช อดีตนายอ�ำเภอสิชล ที่ได้ได้จัดครั้งแรกในปี 2547 โดยทุกปีจะได้รับ

ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนและมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมาก” นายอ�ำเภอสิชล กล่าวในที่สุด.

ชาวสวนยางใต้มีมติจี้รัฐบาล 45 วันทำ�ราคาขึ้น 80 บาท

2.ให้รัฐบาลยกเลิกการขายยาง 2.1 แสนตัน และให้น�ำยาง ทั้งหมดนี้มาใช้ในประเทศผ่านช่องทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ อื่นๆ รวมทั้งให้มีการตรวจสต๊อกยางจ�ำนวนนี้ทั้งหมด 3.กรณีมาตรการทวงคืนสวนยางในเขตป่า ให้ปฏิบัติตามค�ำสั่ง คสช.ที่ 66 4.ให้รัฐบาล และ คสช.แก้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นน�ำยางมาใช้ในท�ำผลิตภัณฑ์ และกิจกรรมต่างๆ ได้ 5.จัดตั้ง “แนวร่วมกู้ชีพชาวสวนยาง” เพื่อด�ำเนินกิจกรรมการ เคลื่อนไหว และก�ำหนด พ.ร.บ.การยางแห่งประเทศไทย ฉบับที่เกษตรกร ชาวสวนยางเป็นผู้เสนอต่อรัฐบาล และ สนช. และข้อเสนอสุดท้ายคือ

ให้ยุติ และหยุด พ.ร.บ.การยางแห่งประเทศไทย ฉบับที่ก�ำลังเสนอเข้า สนช. โดยทันที นายทศพล ขวัญรอด ประธานภาคีเครือข่ายเกษตรกรชาวสวน ยางพารา และสวนปาล์มน�้ำมัน 16 จังหวัดภาคใต้ เปิดเผยว่า ปัญหาที่ ส�ำคัญของชาวสวนยางคือ นักการเมือง นายทุน และข้าราชการบางคนที่ ยังหาผลประโยชน์เข้ามาครอบง�ำจนเป็นปัญหา เกษตรกรจ�ำเป็นต้องช่วย ตัวเองคือ ต้องออกมาเคลื่อนไหวหาทางออก อย่างไรก็ตาม ที่ส�ำคัญใน ขณะนี้คือต้องหาทางเร่งก�ำจัดยาง 2.1 แสนตันซึ่งเป็นอุปทานที่หลอกอยู่ ออกไปจากระบบให้ได้ด้วยการน�ำมาใช้ผ่านองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน การท�ำถนน


เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

“นครโพสต์” 10 ปี

ปี 2547 สุรโรจน์ นวลมังสอ ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ 'นครโพสต์' พร้อมชักชวนผมไปท�ำหน้าที่บรรณาธิการด�ำเนินการ ทีมงานประกอบด้วย นักข่าวท้องถิ่นที่ส่งข่าวให้หนังสือพิมพ์ส่วนกลางหลายฉบับ เราคาดหวังว่า หนังสือพิมพ์ฉบับใหม่จะเป็นสื่อกลางและปากเสียงของชาวบ้านชาวเมือง บ้าง ขณะเดียวกันก็น่าประสบความส�ำเร็จในเชิงธุรกิจ คือเลี้ยงตัวได้ ไม่ขาดทุนจนต้องปิดตัวเอง ส�ำคัญกว่านั้น 'นครโพสต์' ต้องพิมพ์ออกจ�ำหน่ายอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ปรากฏบนแผงปีละ 2 ครั้ง เฉพาะช่วงประชาชน ห้างร้านและข้าราชการ ผู้จงรักภักดีพร้อมใจกันถวายพระพร วันที่ 12 สิงหาคม กับ 5 ธันวาคม ผมช่วยท�ำ 'นครโพสต์' ราวๆ 3 ปี ก่อนออกมาทุ่มเวลาให้งาน เขียนอาชีพ ขณะนั้นผมเขียนคอลัมน์ให้หนังสือพิมพ์เนชั่นสุดสัปดาห์ เขียนเรื่องสั้น เขียนนวนิยายตามหัวใจเรียกร้อง แต่ชื่อนามยังอยู่ในคณะ ท�ำงาน 'นครโพสต์' จนถึงปัจจุบัน ยังพร้อมให้ค�ำปรึกษาหากสุรโรจน์

ต้องการ บางครั้งผมขอรูปกับเรื่องราวดีๆ จากเขาไปเขียนลงในเนชั่น สุดสัปดาห์ ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่เขาท�ำร่วมกับชุมชน ซึ่งเกิดประโยชน์ กันทั้งสองฝ่าย ปลายๆ ปี 2554 สาธิต รักกมล ชักชวนผมไปเขียนคอลัมน์ ให้หนังสือพิมพ์ 'รักบ้านเกิด' ที่จะออกใหม่ ผมรับปากเพราะอยากเห็น หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นท�ำหน้าที่บอกเล่าเรื่องราวของถิ่นเกิด บัดนี้ผมกลาย เป็นผู้จัดท�ำเกือบเต็มตัว แต่นานๆ ถึงจะออกงานข่าวสักครั้ง งานส�ำคัญๆ มักพบสุรโรจน์สะพายกล้องอย่างดีไปบันทึกภาพ พร้อมน�ำเรื่องราวมา เขียนลง 'นครโพสต์' เขาพัฒนาตนเองจากเคยเขียนหนังสือพออ่านได้ กระทั่งเป็นคนเขียนหนังสือได้ดี ความคิดอ่านดีขึ้นเรื่อยๆ มีมุมมองที่ เฉียบคม เดือนตุลาคมปี 2557 'นครโพสต์' ครบ 10 ปีก�ำลังจะก้าวขึ้น ปีที่ 11 ยุคสื่อออนไลน์ข่าวสารอ่านได้บนมือถือ แทบไม่เหลือที่ทางให้

11

หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นยืนอยู่ได้เลย ข่าวที่ปรากฏบนเฟซบุ๊ค ทวิตเตอร์ ฯลฯ นาทีต่อนาทีพร้อมคอมเม้นต์ตามท้ายอีก 10 หรือ 100 ข้อความ ทั้งจาก ผู้เกี่ยวข้องและผู้รอบรู้ ถ้าเป็นข่าวใหญ่หนังสือพิมพ์จะน�ำเสนออย่างไร หากไม่ต้องการตกข่าว 'นครโพสต์' กับ 'รักบ้านเกิด' ยืนอยู่ท่ามกลางความ รวดเร็วของสื่อออนไลน์เหมือนกัน แต่ผู้อ่านมักได้เห็นได้อ่านรายงานข่าว พร้อมรูปที่ 'นครโพสต์' ไปเสาะหามาเอง แล้วไม่ปล่อยลงสื่อออนไลน์เสีย ก่อน นี่กระมังที่ยังเป็นช่องทางให้สื่อกระดาษอยู่รอด ถ้าพยายามสรรหา เรื่องราวดีๆ มาเสนอแฟนประจ�ำทุกๆ ฉบับ (หนังสือพิมพ์เมื่อผ่านไปสัก ระยะจะมีผู้อ่านประจ�ำของมันเอง) โดยเฉพาะความคืบหน้าเกี่ยวกับการ เสนอพระบรมธาตุฯ เป็นมรดกที่ 'นครโพสต์' เป็นตัวตั้งตัวตีมาแต่แรกเริ่ม ชาวนครอยากทราบความคืบหน้า หรืออุปสรรคนานาก็ต้องรายงานเช่นกัน การเข้าไปสนับสนุนกิจกรรมทางสังคมต่างๆ ที่เป็นสาธารณประโยชน์ช่วย ภาพลักษณ์ที่ดีงามให้หนังสือด้วย ขณะนี้ 'นครโพสต์' มีกลุ่มผู้อ่านของตนเอง มีเพื่อน มีผู้ สนับสนุนมากพอสมควร ในวาระรอบ 10 ปี ขอให้หนังสือพิมพ์เจริญ ก้าวหน้า เป็นแหล่งให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ตลอดจนความรู้ที่เป็น ประโยชน์ในด้านต่างๆ เป็นที่พึ่งยามทุกข์ยากล�ำบากใจของชาวบ้าน ชาวเมืองอันเกิดจากการบริหารราชการท้องถิ่นที่ผิดพลาดบกพร่องต่อไป

คนเมืองคอนเห็นด้วยจัดระเบียบทางเท้า

แต่อย่าเลือกปฏิบัติ !?

(26 ก.ย.) ที่บริเวณด้านหน้าอาคารเทศบาลนคร นครศรี ธรรมราช ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช ได้เป็นประธานในการปล่อยแถวรณรงค์แจกใบปลิว ท�ำความเข้าใจ แก่เจ้าของบ้าน พ่อค้าแม่ค้า ผู้ประกอบการร้านค้า ห้างร้านต่างๆ ภายใน เขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ขอความร่วมมือในการจัดระเบียบทางเท้า เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยแก่บ้านเมือง ตามนโยบายของทางคณะ คสช.ที่ต้องการคืนทางเท้าให้กับประชาชน โดยมีเจ้าหน้าที่ทหารจากทาง กองทัพภาคที่ 4 ค่ายวชิราวุธ ต�ำรวจ และเจ้าหน้าที่ของทางเทศบาลฯ ร่วมกันเดินรณรงค์แจกใบปลิวโดยแบ่งออกเป็น 2 ชุด ชุดที่แรกรับผิดชอบถนนศรีปราชญ์ ถนนศรีธรรมโศก ถนน ชลวิถี ถนนศรีธรรมราช ถนนท่าช้าง ถนนท่าชี ถนนหลังพระธาตุ ชุดที่ 2 ถนนยมราช ถนนจ�ำเริญวิถี/ถนนคลองทา ถนนบ่ออ่าง ถนนเพนียด ถนน ประตูขาว ถนนเทวบุรี ถนนสะพานยาว ถนนตากสิน/ถนนท่าโพธิ์ ถนน ราชนิคม/ถนนมะขามชุม ถนนเอกนคร/ถนนชมพูพล/ถนนวัดคิด ผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ กล่าวว่า เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และปลอดภัยภัยแก่คนเดินเท้า ทาง คสช.และเทศบาลฯ จึงด�ำเนินการ โครงการคืนทางเท้าให้กับประชาชน ซึ่งการเดินรณรงค์ในครั้งนี้เพื่อเป็น การขอความร่วมมือและท�ำความเข้าใจกับผู้ค้าหาบเร่ แผงลอย ทุกชนิด ที่ มีสิ่งกีดขวางล�้ำทางเท้า โดยให้ท�ำการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างและสิ่งกีดขวาง ดังกล่าวออก รวมถึงป้ายโฆษณา สิ่งกีดขวางทุกชนิด เช่น นั่งร้าน กระถาง ต้นไม้ และอื่นที่ตั้งกีดขวางบริเวณหน้าร้าน หน้าบ้าน ให้น�ำออกให้แล้ว เสร็จภายในวันที่ 5 ต.ค.2557 นี้ ทั้งนี้ทางเทศบาลฯได้ก�ำชับกับเจ้าหน้าที่ ให้ท�ำการประชาสัมพันธ์ท�ำความเข้าใจแก่ผู้ประกอบการที่มีสิ่งกีดขวาง วางไว้ ให้เร่งรีบด�ำเนินการก่อนวันที่ก�ำหนด โดยหากไม่ให้ความร่วมมือ

หรือขัดขวางทางเทศบาลจะมีมาตรการเด็ดขาด โดยเจ้าหน้าที่จะด�ำเนิน การรื้อถอนและย้ายสิ่งกีดขวางดังกล่าวทันที อีกทั้งจะการจับและ เปรียบเทียบปรับตาม พ.ร.บ.จราจรทางบกพ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.รักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2535 ต่อไป ส�ำหรับผู้ค้ารถเข็น หาบเร่ แผงลอย ทุกชนิด ที่ได้รับอนุญาต ให้จ�ำหน่ายในที่สาธารณะต้องเว้นพื้นที่ว่างบนทางเท้าให้ประชาชนมี ทางเดินอย่างปลอดภัย หรือตามที่พนักงานเจ้าหน้าที่ก�ำหนดไว้ เช่น หาก พื้นทางเท้ามีขนาด 4 เมตร ให้เจ้าของร้านเว้นทางเท้าไว้อย่างน้อย 2 เมตร และภายหลังจากจ�ำหน่ายเสร็จสิ้นในแต่ละวันให้ผู้ค้าเก็บอุปกรณ์ล การขายทุกชนิดออกจากพื้นที่ให้เรียบร้อย พร้อมทั้งดูแลรักษาความ สะอาดด้วย ส�ำหรับทางลาดที่ได้ก่อสร้างลงบนผิวหากสถานประกอบการใด ต้องการท�ำทางขึ้น–ลง ให้มาเขียนค�ำร้องที่ส�ำนักการช่างโยธาเทศบาลฯ

ชาวไทยมุสลิมพร้อมใจไปสุสานขอพรญาติที่ล่วงลับเนื่องในวัน “ฮารีรายอ” ชาวไทยมุสลิมใน จ.นครศรีธรรมราช พร้อมใจกันเดินทางไป ยังสุสานมุสลิมเพื่อขอพรญาติมิตรที่ล่วงลับไปแล้วเนื่องในวัน “ฮารีรายอ” และวิงวอนขอความเมตตาต่อพระผู้เป็นเจ้าพิจารณาบาป พร้อมทั้งมี กลุ่มเยาวชนนาม “ดร.โจยูธคลับ” เข้าร่วมท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ แก่สังคม วันนี้ (5 ต.ค.) ที่สุสานมุสลิม ต.คลัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ชาวไทยมุสลิมในตัวเมืองนครศรีธรรมราช ต่างทยอยไปประกอบพิธีฮารี รายอ อีฎิ้ลอัฎฮา ที่มัสยิดใกล้บ้าน หลังจากนั้นต่างเดินทางไปยังสุสาน มุสลิมหรือกุโบร์ เพื่อเยี่ยมญาติมิตรผู้ล่วงลับตามประเพณีฮารีรายอ ในช่วงนี้ ซึ่งเป็นช่วงที่เสร็จจากการแสวงบุญในกรุงเมกกะ โดยตาม ประเพณีจะมีการขอพรจากญาติมิตรผู้ล่วงลับ และผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่บน โลกจะขอพรวิงวอนความเมตตาต่อพระผู้เป็นเจ้าในการพิจารณาบาป ของผู้ล่วงลับเพื่อให้ถูกปลดปล่อยเข้าสู่ดินแดนสวรรค์โดยเร็ว ขณะเดียวกัน มีกลุ่มเยาวชนภายใต้ชื่อ “ดร.โจ ยูธคลับ” ที่ ก่อตั้งโดย ดร.กณพ เกตุชาติ ได้น�ำเยาวชนที่มีแนวคิดในการอนุรักษ์

ธรรมชาติ มีจิตที่เป็นสาธารณะ สร้างภาวะการเป็นผู้น�ำ ร่วมกิจกรรม สร้างสรรค์สังคม ช่วยเหลือบ�ำเพ็ญประโยชน์ในกิจกรรมสังคมต่างๆ มา รวมตัวกัน และเข้าบ�ำเพ็ญประโยชน์สร้างสีสันร่วมกับชาวมุสลิม โดยการ น�ำไอศกรีม และหวานเย็นเข้าบริการพี่น้องชาวมุสลิม โดยเฉพาะเด็กๆ ต่างให้ความสนใจอย่างมาก ดร.ณัฐวุฒิ ภารภพ นายกสมาคมสถานศึกษาเอกชนนครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า การท�ำบุญฮารีรายอ มีอยู่ด้วยกัน 2 ช่วง ช่วงแรก คือ หลังจากเดือนรอมฎอน หรือเดือนที่ชาวมุสลิมถือศีลอด และช่วงหลัง คือ ช่วงเสร็จสิ้นจากการแสวงบุญที่นครเมกกะ ชาวมุสลิมจะมาเยือน สุสานที่มีญาติมิตร บรรพบุรุษถูกฝังไว้เพื่อเข้ามาเยี่ยมเยือนด้วยความ ระลึกถึง ขอพรจากผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว และที่ส�ำคัญผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่จะเข้า มาสวดวิงวอนต่อพระผู้เป็นเจ้าเพื่อทรงเมตตาในการพิจารณาบาปของ ผู้ที่ล่วงลับให้ถูกปลดปล่อยพ้นจากโทษเข้าสู่สรวงสวรรค์ได้โดยเร็ว นั่นเอง

และท�ำตามแบบที่ทางเทศบาลฯก�ำหนดต่อไป รวมทั้งผู้วางตู้โทรศัพท์บน ทางเท้า ทั้งที่ใช้งานได้หรือใช้งานไม่ได้และยังกีดขวางทางเท้าให้ยกออก หรือเคลื่อนย้ายวางให้เหมาะสมภายใน 7 วัน นับจากวันที่รับหนังสือแจ้ง หากพ้นระยะเวลาที่ก�ำหนดจะจับกุมและเปรียบเทียบปรับตามอัตราค่าปรับ ผู้กระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็น ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 โดยหากท�ำผิดครั้งที่ 1 เปรียบเทียบปรับ 200 บาท ท�ำผิดครั้งที่ 2 เปรียบเทียบปรับ 500 บาท ท�ำผิดครั้งที่ 3 เปรียบเทียบปรับ 1,000 บาท ทั้งนี้อัตราโทษสูงสุดตาม กฎหมายคือ 10,000 บาท จึงขอให้ผู้ประกอบการบนทางเท้าปฏิบัติตามพ ระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้าน เมืองอย่างเคร่งครัด ผู้สื่อข่าวรายงาน ภายหลังจากที่คณะ คสช.มีนโยบายดังกล่าว และน�ำมาบังคับใช้ทั่วประเทศ ผลปรากฏว่าภาพรวมของจังหวัดนครศรี ธรรมราช ในเขตเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช กว่า 70 เปอร์เซ็นต์ พ่อค้าแม่ค้า ผู้ประกอบการ ให้ความร่วมมือน�ำสิ่งกีดขวางออกจากทางเท้า ตามค�ำสั่งทันที สร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยให้แก่พื้นที่เป็นอย่างมาก ในขณะที่ผู้ประกอบการจ�ำนวนมากเรียกร้องให้ทางทหารและเทศบาลฯ ด�ำเนินการตามโครงการนี้อย่างเสมอภาค ตรงไปตรงมา ไม่ละเว้นการปฏิบัติ ทั้งนี้เนื่องจากการด�ำเนินการในย่านถนนพัฒนาการคูขวางและย่านหัวถนน ศาลามีชัย เจ้าหน้าที่ละเว้นการบังคับใช้กับผู้ประกอบการหลายราย โดยเฉพาะร้านอาหารชื่อดังมุมเลี้ยวซ้ายสี่แยกหัวถนนศาลามีชัย ที่มีการ สร้างอาคารลุกล�้ำปิดทางเท้าทั้งหมด จนไม่เหลือทางเท้าให้คนเดิน รถที่ไป จากตัวเมืองจะเลี้ยงซ้ายก็บากล�ำบาก ซึ่งทราบว่าเจ้าของเป็นนายทหาร ระดับพันเอกนายหนึ่งและยังมีญาติสนิทเป็นบุคคลกรในทีมผู้บริหาร เทศบาลฯ อีกด้วย รวมทั้งในย่านการค้าท่าวัง ถนนเนรมิตร ที่มีผู้ประกอบการ ห้างร้านจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ ยึดพื้นที่ทางเท้า ทั้งหมดไปเป็นพื้นที่ให้บริการจ�ำหน่ายสิบค้าของห้างดังกล่าวมานานกว่า 10 ปี ตลอดจนย่านการค้าท่าวัง หลังโรงภาพยนต์ดาว ก็ยังไม่ด�ำเนินการ แก้ไข จึงขอให้ทางฝ่ายทหารและเทศบาล ฯด�ำเนินการขอคืนทางเท้าจาก ผู้ประกอบการเหล่านั้นด้วย “นอกจากนี้ถนนหลายสายทางเทศบาลฯ ได้ด�ำเนินการนโยบาย ขยายที่จอดรถให้รถสามารถขึ้นไปจอดบนทางเท้าได้ เพื่อลดพื้นที่การจอด รถบนผิวการจราจร โดยทางเทศบาลได้ทุบท�ำลายขอบทางเท้าและท�ำทาง ลาดเพื่อให้รถขึ้นไปจอดบนทางเท้าได้ เช่น ถนนราชด�ำเนินบริเวณหน้า โรงพยาบาลมหาราช และในจุดอื่น ๆ อีกหลายจุด รวมทั้งในถนนอื่น ๆ อีกหลายสาย การกระท�ำของเทศบาลฯ มีความผิดตามกฎหมายหรือไม่ และจะด�ำเนินการในกรณีนี้ต่อไปหรือไม่อย่างไร”


12

เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

พล.อ.ประยุทธ์ ย�้ำรัฐบาลมีเวลาแก้ปัญหา บ้านเมืองแค่ 1 ปี ก่อนเข้าสู่ AEC ในปลายปี 2558 ชี้สถานการณ์ใต้อย่าไปโทษพี่น้องมุสลิม - ยึดแนว พระราชด�ำรัสในหลวงท�ำนุบ�ำรุงทุกศาสนา-วิงวอน เลิกเรียกว่า “ขบวนการ” ชี้แค่คนไทยที่มีความ คิดเห็นแตกต่างกัน-เผยเจ็บปวดเมื่อมีคนเจ็บ,ตาย เพราะทุกคนล้วนเป็นคนไทยทั้งสิ้น

“ประยุทธ์”ย�้ำรัฐบาลมีเวลาแค่ 1 ปี แก้ปัญหาชาติตามแนวพระราชดำ�รัส

(28 ก.ย.) ที่กองทัพภาคที่ 4 พล.อ.ประยุทธ์ จันโทร์โอชา ผบ.ทบ.และนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ สื่อมวลชนถึงการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ว่า อย่าไปโทษประชาชน มุสลิม เพราะทุกศาสนามีคนดีอยู่ทั้งสิ้น ซึ่งพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ำรัสไว้แล้วว่าจะ ต้องท�ำนุบ�ำรุงทุกศาสนา เพราะฉะนั้นในวันนี้อย่าไป โทษพี่น้องมุสลิม อย่าไปโทษคนโน้นคนนี้เป็นเรื่องที่ เราทุกคนต้องบูรณาการงานต่างๆ ให้ได้ ทั้งความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การพัฒนา การ สร้างความเข้าใจ ซึ่งการพูดคุยสันติสุขที่ผ่านมาเรา พยายามเสนอรัฐบาลทุกรัฐบาลเพื่อให้ปรับโครงสร้าง ให้ชัดเจนขึ้น เพราะการพูดคุยแค่ 2 ฝ่ายนั้นมันท�ำ ไม่ได้และไม่ประสบผลส�ำเร็จ เพราะมันเป็นการต้องสู้ ในเชิงความคิดด้วย ทางการเมืองด้วย รวมทั้งทาง ยุทธวิธี ด้วย “การปฏิบัติทางยุทธวิธีต้องเข้าใจว่าเรา ไม่ได้ตั้งหน้าตั้งตารบกับอีกฝ่ายหนึ่งที่เผยเปิด ซึ่งใน ฐานะที่เราอยู่ติดกับประชาชนเราจึงเป็นเป้าใหญ่ และ ต้องแต่งกายให้รู้ว่าเป็นเจ้าหน้าที่จึงกลายเป็นเป้า แต่ มันจ�ำเป็นเพราะเราต้องไปดูแลประชาชน ซึ่งอีกฝ่าย หากจะมองว่าไม่อยากให้มีก�ำลังทหารมาก หากไม่อยาก ให้มีทหารมากก็ต้องลดความรุนแรงลง เลิกการใช้อาวุธ เลิกการใช้ความรุนแรงเสียแล้วหันมาพูดคุยกัน โดย อาจจะแบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม กลุ่มนี้อาจจะคุยกัน เรื่องการหยุดการใช้ความรุนแรง อีกกลุ่มพูดถึงเรื่อง การพัฒนา อีกกลุ่มพูดเรื่องการอ�ำนวยความยุติธรรม

เป็นต้น ใครจะผิดจะถูกก็มาว่ากัน แต่ถ้าต่างฝ่ายต่าง ถือกันอยู่อย่างนี้และคุยกันแค่กลุ่มเดียวมันคงไม่ได้” นายกรัฐมนตรีกล่าวอีกว่าในเรื่องที่เราต้อง คุยกับประเทศเพื่อนบ้านเพราะติดแดนมันติดกัน มีการ ข้ามไปข้ามมาปะปนกันอยู่ จึงต้องมาคุยกันในส่วนนี้ ด้วย และขอร้องไม่อยากให้เรียกว่าขบวนการอะไร ทั้งสิ้น ต่อไปอย่าพูดว่าเป็นเรื่องของขบวนการ เพราะ มันแค่เป็นเรื่องของคนที่มีความคิดเห็นต่างกัน และท�ำ อย่างไรให้ความคิดกลับมาตรงกันว่าท�ำอย่างไรที่จะ ช่วยกันพัฒนาประเทศไทยดีกว่า “ตนขอย�้ำว่าวันนี้เรามีเวลาในการแก้ไข ปัญหาแค่ปีเดียวที่จะต้องท�ำให้บ้านเมืองสงบโดยเร็ว เพราะปี 2558 เราจะเข้าสู่ AEC ซึ่งจะต้องมีการเคลื่อน ย้ายคน เคลื่อนย้ายทรัพยากรต่างๆ ตามพันธะข้อตกลง ระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนด้วยกัน ต่อไปคนทั้งอาเซียน พร้อมที่จะไปท�ำงานที่ประเทศไหนก็ได้ในอาชีพที่ก�ำหนด ไว้แล้ว 7 อาชีพ อาทิ แพทย์ วิศวกร เป็นต้นสามารถ ไปท�ำงานในประเทศกลุ่มอาเซียนได้ ประเทศอื่นๆ เขาก็มาท�ำงานในบ้านเราได้ ถ้าบ้านเมืองเราไม่สงบ การพัฒนามันก็ไม่เกิด พี่น้องประชาชนในภาคใต้ก็ยิ่งมี รายได้น้อย ยิ่งยากจนมากขึ้น” พล.อ.ประยุทธ์ กล่าวต่อไปอีกว่า ในการ ท�ำงาน ผมไม่กังวลอะไรมาก เพียงแต่อยากจะขอความ เข้าใจจากสื่อมวลชนและคนในสังคม ถ้าเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์จนเสียหาย วันข้างหน้าจะอันตรายเพราะมี กฎหมายหลายเรื่องทั้งกฎหมายระหว่างประเทศ ยูเอ็น

้น ขาวสั ่

จับ “รักษ์ โมคลาน” ดาวร้ายคดีอุกฉกรรจ์โชกโชน

ซึ่งองค์กรเหล่านี้เขาก็ดีใจสบายใจขึ้น เขาระบุว่าเรา แก้ไขปัญหาถูกวิธีแล้วมีทั้งงานด้านกฎหมาย การพัฒนา การพูดคุยสันติสุข เขาบอกว่ามันครบแล้ว เมื่อเป็น เช่นนี้ท�ำไมเราจะต้องมาต�ำหนิกันเองอีกเล่า “ผมไม่เคยสบายใจถ้ามีคนตาย คนเจ็บ หากเป็นญาติพี่น้องยิ่งหนักใหญ่ ผมเป็น ผบ.ทบ. และ วันนี้ผมเป็นนายกรัฐมนตรีด้วย ผมเจ็บหัวใจเวลามี คนตาย คนเจ็บ เพราะล้วนเป็นคนไทย อีกฝ่ายที่กระท�ำ ก็เป็นคนไทย ท�ำอย่างไรที่คนไทยทั้งสองส่วนจะมา

ออโตเมติก ขนาด 9 มม. ไม่มีทะเบียน 1 กระบอก กระสุนขนาด 9 มม รวม 17 นัด ในเบื้องต้นนายสมบูรณ์ ผู้ต้องหา ให้การรับสารภาพตลอด ข้อกล่าวหาว่าได้ก่อคดีตามหมายจับทั้งหมดจริง และยังก่อคดีชิงทรัพย์ โทรมหญิงและพยายามฆ่าในพื้นที่ อ.ท่าศาลา และพื้นที่ใกล้เคียงอีกหลาย คดีอย่างโชกโชน จึงควบคุมตัวน�ำส่งพนักงานสอบสวน สภ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช สอบสวนด�ำเนินด�ำเนินตามกฎหมายต่อไป. พ.ต.ท.โกศล ท่าสอน เปิดเผยว่า ในขณะนี้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้ ควบคุมตัวนายสมบูรณ์ไว้ ที่ สภ ท่าศาลา หากท้องที่ใดมีคดีเกี่ยวข้อง ตัว ต้องหา ให้แจ้งประสาน สภ ท่าศาลา เพื่อท�ำการอายัดตัวด�ำเนินคดี นายสมบูรณ์เพิ่มเติมต่อไป.

กระซวกแทงดับร่างพรุน ปมมรดกเลือด

ท่าศาลา : วันที่ 9 ต.ค.2557 เวลา 13.30 น. พ.ต.ท.โกศล ท่าสอน ได้รับรายงานว่านายสมบูรณ์ กิจจารักษ์ หรือ “รักษ์ โมคลาน” อายุ 21 ปี อยู่บ้านเลขที่ 46/1 หมู่ 4 ต โมคลาน อ.ท่าศาลา ซึ่งเป็น ผู้ต้องหาคดีอุกฉกรรจ์ ก่อเหตุหลายคดีท้องที่ท่าศาลา และใกล้เคียง ตาม หมายจับของศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช 4 คดี ประกอบด้วย 1. ชิงทรัพย์ โดยมีอาวุธปืนและยานพาหนะฯ หมายจับของศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ 269/57 ลงวันที่ 8 ส.ค.2557 หมายจับที่ 2. คดีโทรมหญิง โดยมีอาวุธ ปืนฯ ตามหมายจับของศาล จ.นครศรีธรรมราชที่ 237/57 ลงวันที่ 7 ต.ค. 2557 หมายจับที่ 3. คดีร่วมกับพวกพยายามฆ่าผู้อื่น โดยมีอาวุธปืนฯ และหมายจับที่ 4. คดีชิงทรัพย์รถจักรยานยนต์ ของท้องที่ สภ เมือง นครศรีธรรมราช ตามหมายจับของศาล จ.นครศรีธรรมราชที่ 201/57 ลงวันที่ 27 มิ.ย.2557 หลบซ่อนตัวอยู่ในบ้านเลขที่ 80/3 หมู่ 3 ต.โมคลาน อ.ท่าศาลา จึงน�ำก�ำลังชุดเดียวกันบุกเข้าจับกุมตัวนายสมบูรณ์ กิจจารักษ์ หรือ “รักษ์ โมคลาน” ได้พร้อมด้วยของกลางอาวุธปืนสั้น

ท่าศาลา : เมื่อเวลา 11.45 น.วันที่ 10 ต.ค. 2557 ร.ต.ท จเร พูลแก้ว ร้อยเวร สภ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ได้รับแจ้งเหตุฆ่ากันตาย ในสวนยางพาราหมู่ .8 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช จึงพร้อม ด้วยเจ้าหน้าที่ต�ำรวจชุดสืบสวน สอบสวน หน่วยกู้ภัยท่าศาลา และ แพทย์หญิงประภัสสร ลิ้มสุวรรณ รีบรุดไปตรวจสอบยังที่เกิดเหตุ พบศพ นายนิคม คงพันธ์ อายุ 53 ปี อยู่บ้าเลขที่ 217 หมู่ 8 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช นอนคว�่ำหน้าเสียชีวิต ในชุดเสื้อยืดแขนยาวสีเขียว นุ่งผ้าขาวม้าลายตารุก สีขาวคาดด�ำ ในมือด้านขวาถือมีดกรีดยาง โดยมี บาดแผลโดนแทงเข้าบริเวณ หน้าท้อง 1 แผล บริเวณหน้าอก 4 แผล บริเวณไหล่ซ้าย 3 แผล และบริเวณแผ่นหลัง 2แผล รวม 10 แผล ล้วน เป็นแผลฉกรรจ์ทั้งสิ้น คาดว่าเสียชีวิตมาแล้วไม่ต�่ำกว่า 4 ชม. จากการสอบสวนปากค�ำนางโสภา คงพันธ์ อายุ 55 ปี ทราบว่า นายนิคม ผู้ตายเป็นชาวสวนยางพารา ก่อนเกิดเหตุตั้งแต้ตอนเช้าตรู่ นายนิคมได้ออกจากบ้านไปกรีดยางในสวนยางพาราที่เกิดเหตุ จนกระทั่ง เวลาล่วงเลยไปหลายชั่วโมง แต่ยังไม่กลับมาบ้านเพราะตามปกติจะกรีดยาง เสร็จแล้ว ภรรยาของนายนิคม จึงเดินออกไปตามที่สวนยางและพบนายนิคม สามีนอนตายจมกองเลือดอยู่ดังกล่าว จึงแจ้งให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจเดินทาง มาสอบสวนชันสูตรพลิกศพในที่เกิดเหตุดังกล่าว ส�ำหรับการฆ่าโหดรายนี้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจสอบสวนพบปมฆ่า มาจากเรื่องการขัดแย้งและทะเลาะวิวาทกับญาติของฝ่ายนางโสภา ภรรยา

รวมกันเป็นคนไทยหนึ่งเดียว ผมขอร้องผู้ที่เห็นต่าง ทั้งที่อยู่ในป่าเขาอย่าท�ำอีกเลยครับ ผมขอร้อง ผมรับ ราชการมา 38 ปี ผ่านกระบวนการการแก้ปัญหา มี การพัฒนามาตามล�ำดับเพียงแต่ยังไม่ถึงสันติสุข 100 เปอร์เซ็นต์ วันนี้สถานการณ์จริงๆ มันลดลง เพียงแต่ มันดูว่ารุนแรงเพราะมีการใช้ระเบิด อาวุธสงคราม มาก่อเหตุในพื้นที่ชุมชน ซึ่งมันไม่ควรจะเกิดขึ้นอีก” นายกรัฐมนตรีกล่าวในที่สุด.

ของนายนิคม ผู้ตายในเรื่องอาณาเขตที่ดินสวนยางที่เกิดเหตุ ซึ่งเป็นมรดก ทางฝ่ายภรรยา แม้ในปัจจุบันราคายางพาราจะตกต�่ำ แต่นายนิคม ผู้ตาย มีเรื่องระหองระแหงเกี่ยวกับอาณาเขตมรดกที่ดินกับญาติภรรยาคนดังกล่าว เป็นประจ�ำ ล่าสุดเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมาทั้งคู่มีปากเสียงโต้เถียงกันอย่างรุนแรง และมีการท้าทายกันไว้จนกระทั้งนายนิคม ออกมากรีดยางพาราญาติที่เป็น คู่อริได้มาดักรอก่อนจะใช้มีดกะซวกแทงอย่างโหดเหี้ยม 10 แผล จนแน่ใจ ว่านายนิคมไม่รอดแน่แล้วจึงหลบหนีไป เจ้าหน้าที่ต�ำรวจทราบชื่อฆาตกร เหี้ยมรายนี้แล้ว อยู่ระหว่างการสอบสวนสืบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน ขอหมายศาลติดตามจับกุมตัวต่อไป.

รวบ 6 โจ๋ ปาร์ตี้น�้ำต้มพืชกระท่อมฉลองเสร็จจากสอบ

เมือง : เมื่อเวลา 13.00 น.วันที่ 6 ต.ค.2557 ร.ต.อ.สมพร ภูมิภัทร รอง สว.กก.สส.ภ.จว.นครศรีธรรมราช ได้รับแจ้งว่ามีกลุ่มวัยรุ่น มั่วสุมเสพน�้ำท่อมที่บ้านเช่า เลขที่ 1241 ถนนเลียบทางรถไฟ ต.คลัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช จึงน�ำก�ำลังต�ำรวจในปกครองจ�ำนวนหนึ่งไป ตรวจสอบ พบบ้านดังกล่าวเป็นหอพักชั้นครึ่ง ปิดล็อคประตูไว้อย่างแน่นหนา ร.ต.อ.สมพร จึงสั่งก�ำลังต�ำรวจกระจายก�ำลังปีนก�ำแพงเข้าไป พบภายใน บ้านมีกลุ่มวัยรุ่นชายอายุ 15-17 ปี เป็นนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง จ�ำนวน 6 คน ก�ำลังมั่วเสพน�้ำท่อม จึงท�ำการจับกุมได้พร้อมของกลางใบพืช กระท่อมจ�ำนวน 3 มัด น�้ำโค๊ก 1 ขวดลิตร หม้อต้มน�้ำท่อม 1 ใบ และ กระทะไฟฟ้า 1 ใบ จึงควบคุมตัวเยาวงชนทั้ง 6 คนพร้อมของกลางมา สอบสวนด�ำเนินคดีที่โรงพัก จากการสอบสวนเบื้องต้นเยาวชนทั้ง 6 คนให้การว่าทั้งหมด ได้สอบปลายเทอมเป็นวันสุดท้ายและโรงเรียนปิดเทอมยาว 3 เดือน จึง ได้ชักชวนกันมามั่วสุมปาร์ตี้เสพน�้ำท่อมส่งท้าย จนเมากันได้ที่ส่งเสียงดัง รบกวนชาวบ้านข้างเคียง จนชาวบ้านโทรศัพท์แจ้งต�ำรวจมาจับกุมดังกล่าว.

ติดต่อโฆษณา 075-320227


เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

13

การแก้ปัญหาที่ยั่งยืน

ของชาวสวนยางรายย่อย ทำ�อย่างไร? ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ราคายางพาราไทยสูงสุดเป็นประวัติศาสตร์ด้วยราคา 174.44 บาทต่อกิโลกรัม จนถึงปัจจุบันราคาลดลงเหลือ 50 กว่าบาทต�่ำกว่าต้นทุนการผลิต ที่ระดับ 64.90 บาทต่อกิโลกรัม จึงเป็นค�ำถามของชาวสวนยาง ท�ำไมราคายางพาราจึงตกต�่ำ ? จะมีใครเข้ามาช่วยเหลือชาวสวนยางได้หรือไม่ ? รัฐบาลใหม่โดย คสช. จะแก้ปัญหานี้อย่างไร ? ทุกฝ่ายก็พยายามร่วมกันค้นหาทางออกจากปัญหาราคายางพาราตกต�่ำ ผมมีค�ำถามที่จะ น�ำเสนอ 1. สาเหตุที่ราคายางตกต�่ำ เกิดความต้องการยางในตลาดโลกมีแนวโน้มเติบโต ไม่ถึง 2% ในขณะที่ผลผลิตยางขยายตัวเฉลี่ย 5.1% พูดให้เข้าใจง่ายก็คือ กลุ่มประเทศผู้ บริโภคยางมีแนวโน้มคงที่และเพิ่มขึ้นไม่มากตามภาวะเศรษฐกิจของเขา แต่พื้นที่การ ปลูกยางได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมากหลังจาก 10 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตเริ่มออกมามากขึ้น จนล้นตลาด นี่เป็นปัญหาที่เกิดจากปัจจัยภายนอกที่ควบคุมไม่ได้ 2. แนวโน้มราคายางพาราในอนาคตมีทิศทางอย่างไร? ราคายางพาราจะกลับ มาสูงถึงระดับ 100 บาทในอีก 2-3 ปีข้างหน้า คงเป็นไปได้ยาก เพราะปริมาณผลผลิตยังมี มากกว่าความต้องการใช้ ประกอบกับแนวโน้มเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะประเทศผู้บริโภค รายใหญ่อย่างยุโรป อเมริกา จะอยู่ในสภาพซึมยาว 2-3 ปี ต่อไป ซึ่งมีปัจจัยจากหลาย สาเหตุ แต่หลักก็คือ ปัญหาหนี้สาธารณะของประเทศเหล่านี้ แรงเฉื่อยการบริโภคของ ประชาชนในกลุ่มประเทศG3 อย่างเช่นการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุที่มากขึ้น กลุ่มนี้ จะบริโภคลดลง ความอิ่มตัวของการบริโภค เทคโนโลยีใหม่ๆ ในอนาคตไม่เหมือน 10 ปี ที่ผ่านมา มาถึงช่วงของการผ่อนคันเร่งเพราะวิ่งมาเร็วเกินไป อาจรวมถึงปัจจัยทางการเมือง ความขัดแย้งที่ยังคงมีอยู่ในหลายพื้นที่ ท�ำให้กลุ่มประเทศพัฒนาแล้วอย่างยุโรป อเมริกา ต้องทุ่มงบประมาณการเข้าไปปราบปรามการก่อการร้ายทั่วโลก เมื่อมาฟังความเห็นของ คุณชโย ตรังอดิศัยกุล เลขาธิการกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (สอท.) “ขณะนี้ความต้องการยางตลาดโลกมี 12 ล้านตันต่อปี ปริมาณการ ผลิตก็อยู่ที่ 12 ล้านตันต่อปี ซึ่งในฐานะที่ไทยเป็นผู้ผลิตยางพาราอันดับ 1 ของโลก แต่ใน อนาคตอีก 5 ปีข้างหน้ามีความเสี่ยงที่ราคายางพาราตลาดโลกจะตกต�่ำต่อเนื่องจากไทยจะ เพิ่มผลผลิตจาก 4 ล้านตันต่อปีเป็น 5 ล้านตันต่อปี และอินโดนีเซียก็ก�ำลังอยู่ระหว่างการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต คาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มจาก 3 ล้านตันเป็น 6 ล้านตันต่อปี รวมทั้งยังมียางพาราจากประเทศอื่นๆ ที่ได้เพิ่มก�ำลังการผลิต จะท�ำให้ปริมาณผลผลิตเกิน ความต้องการของตลาดอยู่มาก และจะฉุดให้ราคายางพาราต�่ำกว่าราคาในปัจจุบันที่ 50 บาทต่อกิโลกรัม” เป็นไงครับพอเห็นภาพความยุ่งยากในอนาคตแล้วใช่มั๊ยครับว่าชาวสวน ยางพาราไทยอยู่ในจุดเปลี่ยนหรือย่างไร ?

3. ประเทศไทยผลิตยางส่งออกขายมากกว่า 85% เมื่อตลาด รับซื้อไม่ตอบสนองต่อผลผลิตจะท�ำอย่างไร ? จากข้อมูลล่าสุดไทยผลิต ยางได้ 4 ล้านตัน น�ำไปแปรรูปเพียง 13% ที่เหลือส่งออกในรูปวัตถุดิบ ซึ่งท�ำให้เราสูญเสียโอกาสการสร้างมูลค่าเพิ่ม คือ เราส่งออกสินค้ายาง ขั้นต้นมากเกินไปท�ำให้ต้องพึ่งพาความต้องการใช้ยางจากตลาดโลก เมื่อ

โจทย์เป็นแบบนี้ก็มีการเสนอทางแก้ที่พอเห็นช่องทางบ้างก็คือ 3.1 เพิ่มความต้องการใช้ยางธรรมชาติในประเทศแทนการ ส่งออกสนับสนุนให้เกิดอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง เช่น ล้อยาง ถนนลาดยาง พื้นสนามกีฬา อื่นๆ 3.2 ส่งเสริมการวิจัยเพื่อเพิ่มมูลค่ายางพารา 3.3 มีการบริหารจัดการพื้นที่ปลูกยางพาราให้เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ 4. การช่วยเหลือชาวสวนยางรายย่อยจะท�ำอย่างไร ? จะมี แผนระยะสั้นเฉพาะหน้า - ระยะกลางอย่างไร ? - ระยะยาวอย่างไร ? ยังไม่มีแนวทางที่ชัดเจน และที่ส�ำคัญแล้วใครจะเป็นเจ้าภาพในการแก้ ปัญหาความเดือดร้อนของชาวสวนยางรายย่อย นี่คือค�ำถามใหญ่ การช่วย เหลือเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนด้วยการจ่ายเงินให้ไร่ละ 2,520 บาทนั้นก็ แค่ผ่อนคลายความกดดันของชาวสวนยาง ส่วนการที่นายกรัฐมนตรี เห็นชอบ 4 แนวทางแก้ปัญหายางพารา ก็ต้องดูกันต่อไปว่าผลจะเป็นอย่างไร ?

หวั่นน�้ำท่วมหนัก สั่งสำ�รองหญ้าแห้งอาหารสัตว์ 2 หมื่นฟ่อน ปศุสัตว์จังหวัด ส�ำรองหญ้าแห้ง 2 หมื่นฟ่อน พร้อมเวชภัณฑ์ยารับมืออุทกภัย หลังมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง พร้อมฝากเกษตรหมั่นดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันโรคระบาด เมื่อเร็วๆ นี้ นายไสว เขียวจันทร์ ปศุสัตว์จังหวัด นครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า ในขณะนี้จังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดฝนตกหนักติดต่อกัน เสี่ยงที่จะเกิดอุทกภัยเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มต�่ำ เช่น อ�ำเภอในเขตลุ่มน�้ำปากพนัง อ�ำเภอ เมือง อ�ำเภอพระพรหม เป็นต้น หากเกิดอุกภัยขึ้นเกษตรกรที่ เลี้ยงสัตว์จะได้รับความเดือดร้อน เช่น วัว ควาย แพะ เนื่องจาก แหล่งอาหารถูกน�้ำท่วม ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม รับกับอุทกภัยที่อาจจะเกิดขึ้น “ทางปศุสัตว์จังหวัดได้แต่งตั้ง ชุดเฉพาะกิจเฝ้าระวัง อุทกภัยขึ้นทั้ง 23 อ�ำเภอ รวมทั้งส�ำรองเสบียงอาหารสัตว์ เช่น หญ้า ฟางแห้ง และเวชภัณฑ์ รักษาโรค โดยจัดเตรียมหญ้าและ ฟางแห้ง จ�ำนวน 20,000 ฟ่อน และได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมจากกรมปศุสัตว์ จ�ำนวน 2,000 ฟ่อน รวม เป็น 22,000 ฟ่อน สามารถรองรับกับจ�ำนวนสัตว์เลี้ยงอย่างแน่นอน โดยเฉพาะ โค- กระบือ ในจังหวัดนครศรี ธรรมราช ซึ่งมีอยู่ประมาณ 180,000 ตัว” ปศุสัตว์จังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวอีกว่า นอกจากปัญหาแหล่งอาหารแล้ว อยากฝากให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงสัตว์เตรียมสถานที่ส�ำหรับอพยพสัตว์ เพื่อลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นอุทกภัย ช่วงนี้อยากฝากเกษตรกร ผู้เลี้ยงสัตว์ว่าหากสัตว์เลี้ยงที่มีอายุและขนาด ที่สามารถจ�ำหน่ายได้แล้ว เกษตรกรควรเร่งทยอยจ�ำหน่ายสัตว์ ออกไป เพื่อลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น หากพื้นที่เกิดอุทกภัยที่รุนแรงและฉับพลัน ส่วนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ รายใดที่ยังไม่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ขอให้เกษตรกรเร่งด�ำเนินการขึ้นทะเบียนให้เรียบร้อยที่ส�ำนักงาน ปศุสัตว์อ�ำเภอทุกพื้นที่ เพื่อผลประโยชน์ของเกษตรกรในการขอรับความช่วยเหลือกรณีได้รับผลกระทบจาก ภัยพิบัติ หรือสามารถขอค�ำแนะน�ำ และขอความช่วยเหลือในการเลี้ยงสัตว์ได้ทุกพื้นที่.

ถ้าเรายอมรับความจริงว่าบนวิถีของการ พึ่งพาการส่งออกดังอดีตย่อมไม่เป็นผลดีทั้งในวันนี้ และ อนาคต แต่ก็อาจจะมีคนเห็นแย้งก็เป็นได้แล้ว ถ้าหาก เศรษฐกิจโลกเติบโตขึ้นความต้องการยางพารามีโอกาส จะได้ราคาสูงตามมาดังเช่นในอดีต เราไม่เสียโอกาสไป หรือ ? ค�ำถามที่ส�ำคัญก็คือ แล้วเมื่อไร ? ใครตอบได้ ? ถ้าอย่างนั้นเรามาเริ่มปรับเปลี่ยนด้วยการเพิ่มผลผลิต ในพื้นที่ของแต่ละคน - การหารายได้เสริม - การหา ช่องทางอื่นๆ มาทดแทนรายได้ที่หายไป เกือบครึ่งหนึ่ง ของที่เคยได้ รายย่อยที่เคยจ้างคนตัดก็มาตัดเอง ไม่ต้อง แบ่งท�ำได้มั๊ย และเปิดพื้นที่การเรียนรู้ใหม่ๆ ในการ ปรับตัว แทนที่จะมานั่งรอคอยความช่วยเหลือซึ่งก็ไม่รู้ ว่าจะได้หรือไม่ได้ กลับมาลงมือท�ำด้วยตัวเอง ใช้วิกฤติ ครั้งนี้เป็นโอกาสในการหาหนทางใหม่ๆ ดีกว่ามั้ย ?

ตักบาตรเทโวเนื่องในเทศกาลออกพรรษา เมื่อเวลา 06.30 น. วันที่ 9 ตุลาคม 2557 ที่บริเวณลานหน้ามณฑป พระพุทธบาทจ�ำลอง วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ จัดให้มีพิธีตักบาตรเทโว ประจ�ำปี 2557 เนื่องในเทศกาลวันออกพรรษา ซึ่งตรง กับวันแรม 1 ค�่ำ เดือน 11 มีนายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรี ธรรมราช เป็นประธานในพิธี มีพระเทพ วินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร/รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมา โศกราช เป็นประธานสงฆ์ กล่าวสัมโมทนียกถา และน�ำพระสงฆ์บิณฑบาตร โดยมีนายมาโนช เสนพงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ผศ. เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรีนครนครศรีธรรมราช หัวหน้า ส่วนราชการ และพุทธศาสนิกชนเข้าร่วมพิธีเป็นจ�ำนวน มาก ทั้งนี้ เพื่อสืบสานประเพณี วัฒนธรรม วิถีชุมชน อันดีงาม ท�ำนุบ�ำรุงสืบทอดพระพุทธศาสนา อีกทั้ง เป็นการถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ซึ่งการตักบาตรเทโวดังกล่าว พระสงฆ์

สามเณร เดินลงจากเนินมณฑปพระพุทธบาตรจ�ำลอง เพื่อมารับบิณฑบาตร เปรียบเสมือนหนึ่งเป็นยอดเขา สิเนรุราช ตามพุทธต�ำนาน เพื่อระลึกถึงวันที่พระสัมมา สัมพุทธเจ้าเสด็จกลับจากการโปรดพระพุทธมารดาใน เทวโลก โดยมีขบวนแห่บุษบกประดิษฐานพระพุทธรูป พร้อมเทวดา เดินน�ำหน้ามีพุทธศาสนิกชนจ�ำนวนมาก ร่วมตักบาตร ด้วยข้าวสาร อาหารแห้ง อาหารสด ขนมต้ม และดอกไม้ธูปเทียน


14

เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

สถานีความคิด

คลื่นวิทยุกระจายเสียงชุมชน คิดดี ท�ำดี ที่นี่เมืองนคร

FM

87.5 MHz. อ้อมค่าย

จ�ำหน่าย

อลูมิเนียม

กระจก อลูมิเนียม แผ่นยิปซั่ม แผ่นสมาร์ทบอร์ด และอุปกรณ์

383 ถ.อ้อมค่ายฯ ต.ปากพูน

บริการส่งถึงที่

PORNTEPLOHAKIT@GMAIL.COM

(เยื้องที่ว่าการอ�ำเภอเมืองฯ) 087-6291541, 086-7435556, 075-800325

บริการห้องพัก ห้องอาหาร ห้องประชุมสัมมนา งานเลี้ยงมงคลสมรส


เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

15

ฉาว ทน.นครฯ ขนรถน�้ำราชการ ช่วยเอื้อประโยชน์งานผู้รับเหมา

ที่มา : www.manager.co.th/

คาตาถูกบันทึกภาพไว้ได้ รถบรรทุกน�้ำเทศบาลนครนครศรีธรรมราช คนงานกินเงินเดือนหลวงเข้าช่วยงานผู้รับเหมาจัดจ้างวิธีพิเศษปรับปรุง สนามกีฬากลานครศรีธรรมราช ลู่วิ่งยางส่อหึ่งแค่ฉีดยางปะหน้าลู่เก่า ขรก.ท้องถิ่น แนะองค์กรตรวจสอบเข้าสอบสเปคหวั่นไร้คุณภาพ เหน็บแสบอย่าตรวจแค่เอกสาร หรือจบบนโต๊ะอาหาร วันนี้ (13 ต.ค.) ที่สนามกีฬากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช เมื่อ 13 ต.ค.57 มีรายงานว่า ได้มีการบันทึก ภาพของรถยนต์บรรทุกน�้ำของเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็น ทรัพย์สินของทางราชการ พร้อมทั้งคนงานซึ่งกินเงินเดือนจ้างงานของ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ได้เข้าให้การช่วยเหลือท�ำงานในโครงการ ปรับปรุงสนามกีฬากลางนครศรีธรรมราชอย่างผิดปกติ ซึ่งเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช ได้จัดจ้างแบบวิธีพิเศษ โดยไม่มีการประกวดราคาไปแล้ว โดยมีผู้รับเหมารายหนึ่งเป็นผู้รับจ้าง มูลค่าการจ้างว่า 13 ล้านบาท จาก งบประมาณทั้งสิ้นกว่า 17 ล้านบาท ส�ำหรับการบันทึกภาพดังกล่าวไว้ได้นั้นเกิดขึ้นช่วงเวลา 10 นาฬิกาเศษของวันที่ 13 ตุลาคม เป็นภาพเจ้าหน้าที่เทศบาลนครนครศรี ธรรมราช น�ำรถน�้ำพร้อมคนงานของเทศบาลเข้าช่วยฉีดล้างท�ำความสะอาด บริเวณใกล้กับลู่วิ่ง ทางด้านฝั่งทิศเหนือด้านป้ายแสดงเวลา และผลการ แข่งขัน ซึ่งได้มีการบันทึกไว้ได้อย่างชัดเจน และเข้าใจว่าหลังจากที่บันทึก ไว้ได้ ผู้ที่ควบคุมดูแลรู้ตัวว่ามีการบันทึกภาพ ทั้งรถบรรทุกน�้ำ และคนงาน ได้รีบออกไปจากสนามกีฬาทันที คงเหลือเฉพาะคนงานของบริษัทผู้รับเหมา ที่ท�ำงานต่อไป รถบรรทุกน�้ำและคนงานมาท�ำงานให้กับผู้รับเหมา ผู้เกี่ยวข้อง รายหนึ่งยอมเปิดเผยว่า ไม่ใช่ครั้งแรกที่เทศบาลส่งทรัพย์สินของทางราชการ และคนงานที่กินเงินเดือนของเทศบาลมาท�ำงานให้กับผู้รับเหมา หลายครั้ง ที่เจ้าหน้าที่เหล่านี้ถูกส่งให้มาช่วยงาน คนภายนอกอาจมองผ่านๆ เพราะ เห็นจนชินตา แต่คนในเทศบาลต่างอยู่ในภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก โดยเฉพาะชั้นผู้น้อย

งานปรับปรุงสนามกีฬาเทศบาลต้องจ่ายให้กับผู้รับเหมาถึงกว่า 13 ล้านบาท แต่บางส่วนของเนื้องาน บางวันต้องใช้คนงานของเทศบาล กินเงินเดือนเทศบาล เครื่องจักรยังเป็นของเทศบาล แล้วมันคืออะไร จะ

ตำ�รวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช

ทำ�พิธีทางศาสนาเนื่องในวันตำ�รวจแห่งชาติ

พล.ต.ต.เกียรติพงศ์ ขาวส�ำอางค์ รักษาราชการแทน ผู้บังคับการต�ำรวจภูธร จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานพิธีทางศาสนาและท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลเนื่องในวัน ต�ำรวจแห่งชาติ วันที่ 13 ตุลาคม 2557 ที่สถานที่ท�ำพิธี ด้านหน้ากองบังคับการต�ำรวจ ภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อช่วงเช้าวันนี้(13 ต.ค.57)โดยมีหัวหน้าหน่วยงานราชการ ทหาร ต�ำรวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคเอกชน เข้าร่วมพิธี เพื่อสดุดีต�ำรวจ ที่เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ ท�ำคุณความดี ความกล้าหาญ เสียสละ รักษาความยุติธรรม และความสงบสุขของสังคมไทย

จ้างเหมาไปท�ำไม ยิ่งงานนี้เป็นงานจัดจ้างแบบวิธีพิเศษที่ไม่ต้องผ่านการ ประกวดราคา ผู้บริหารต้องตอบค�ำถามต่อสังคม และผู้ที่ต้องเสียภาษีให้ กับเทศบาลมาใช้มาจ่าย” ผู้เกี่ยวข้องรายนี้กล่าว นอกจากนั้นในส่วนของงานปรับปรุงลู่วิ่งยางโพลิเมอร์ นั้นพบ ว่ามีการฉีดสเปรย์ยางทับของเก่าแบบง่ายๆ ซึ่งผู้สื่อข่าวได้รับการเปิดเผย ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ ที่ผ่านงานการออกแบบลู่วิ่งสนามกีฬามาแล้วหลาย แห่งในภาคใต้(สงวนนาม) เปิดเผยกับผู้สื่อข่าวว่า งานปรับปรุงลู่วิ่งของ สนามกีฬากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช ผิดแบบให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถ ตรวจสอบได้เลย แบบที่ถูกออกไว้นั้นมีข้อมูลทางเทคนิคที่ซับซ้อนในการ ปรับปรุง ตามแบบเฉลี่ยมูลค่างานต่อตารางเมตรที่ประมาณ 2,500 บาท ส่วนวิธีการที่ก�ำลังท�ำอยู่ในสนามกีฬากลางนครศรีธรรมราช ขณะนี้อยู่ที่ 600-800 บาทต่อตารางเมตรเท่านั้นรวมค่าตีเส้น แล้วมูลค่าส่วนต่างตรงนี้ หายไปไหน เม็ดเงินที่ควรจะได้งานที่มีคุณภาพไปอยู่ที่ไหน นอกจากนั้นงานปรับปรุงในส่วนของขอบสนามฟุตบอลที่ช�ำรุด เสียหายไม่ได้น�ำของใหม่มาซ่อม แต่ใช้วิธีน�ำขอบที่แตกหักนั้น แล้วน�ำมา เรียงต่อกันด้วยกาวซีเมนต์แบบง่ายๆ แบบจิ๊กซอแล้วน�ำไปติดตั้ง เป็นงาน ปรับปรุงสนามกีฬาที่ไม่สามารถอธิบายหาคุณภาพของเนื้องานได้เลย ผู้ เชี่ยวชาญรายนี้กล่าว ขณะที่ข้าราชการส่วนท้องถิ่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แห่งหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมราช ระบุว่าเรื่องนี้องค์กรที่มีหน้าที่ตรวจสอบ ต้องท�ำงานแบบละเอียด โดยเฉพาะ สตง.หรือ ปปช.ไล่ไปตั้งแต่ ปปช.จังหวัด เข้าใจว่าคนที่ทนไม่ได้น่าจะมีการร้องเรียนไปแล้ว “องค์กรเหล่านี้ควรเอาผู้เชี่ยวชาญมาตรวจที่สนาม อย่าเอาแค่ ตรวจเอกสารในห้องปรับอากาศ หรือตรวจสอบเอกสารบนโต๊ะอาหาร เม็ดเงินกว่า 13 ล้านบาทที่ลงทุนไปกับการปรับปรุงสนามกีฬา ควรได้ เนื้องานที่มีคุณภาพเต็มเม็ดเต็มหน่วย เอกสารที่ตรวจสอบนั้นมันไม่มีพิรุธ เพราะมันผ่านการตรวจสอบอย่างดี แต่เนื้องานที่ปรากฏนั้นจะสามารถ บ่งบอกได้” ข้าราชการรายนี้กล่าว

สตง.ส่งหนังสือแจ้ง ม.วลัยลักษณ์ ยุติสัญญาจ้างสร้างศูนย์การแพทย์ วันนี้ (8 ต.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สภาพที่ตั้ง โครงการก่อสร้างศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ระยะแรกมูลค่า 2,158 ล้านบาท ยังคงถูกทิ้งร้างกลายเป็นทุ่งเลี้ยงกระบือ ของประชาชนในย่านนี้ หลังจากที่ผู้รับเหมาได้ยุติการ ก่อสร้างไว้ก่อนเนื่องจากมหาวิทยาลัยพบความผิดปกติของ เอกสารทางการเงิน ทั้งก่อนเข้าประกวดราคา ช่วงประกวด ราคา และช่วงของการยื่นเบิกเงินค่าจ้างงวดแรก ซึ่งเอกสาร นี้เป็นเอกสารที่สถาบันทางการเงินปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นผู้ออก ให้แก่บริษัทแห่งนี้ ส่งผลให้มหาวิทยาลัยปฏิเสธการจ่ายเงิน ค่าจ้างงวดแรกกว่า 300 ล้านบาท ส่วนสัญญาโครงการที่ บริษัทรายนี้ชนะการประกวดราคาได้นั้นกลายเป็นโมฆะไป เนื่องจากเอกสารที่เกี่ยวข้องไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ต้น ขณะที่ผู้เกี่ยวข้องรายหนึ่งเปิดเผยว่า ขณะนี้ ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ได้ท�ำหนังสือแจ้ง มหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการแล้ว ให้ยุติสัญญาโครงการ กับบริษัทเอกชนที่ประกวดราคาได้ จากเหตุที่สัญญาไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย โดยโครงการนี้เป็นเพียงการระยะแรกในการ สร้างอาคารคณะแพทยศาสตร์ และโรงพยาบาลขนาด 400 เตียง จากทั้งหมดมี 3 ระยะ มูลค่ารวมกว่า 6 พันล้านบาท

ส่วนแนวทางในการแก้ไขปัญหาของมหาวิทยาลัย ยังไม่มีความชัดเจนว่าจะมีทิศทางอย่างไร โดยปัญหานี้ส่งผลให้ เกิดความล่าช้าของโรงพยาบาลที่ไม่สามารถเปิดบริการได้ตาม ก�ำหนดในปี 2560 รวมไปถึงคณะแพทยศาสตร์ ที่จะส่งผลกระทบ ต่อนักศึกษาแพทย์ ซึ่งปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ ยังต้องประสานกับสถานพยาบาลอื่นเพื่อให้ นักศึกษาแพทย์เรียนรู้จากประสบการณ์จริง

ติดต่อโฆษณา 075-320227


16

เดือนตุลาคม 2557

FREE COPY

กลุ่ม ดร.โจ ยูธคลับ ร่วมกิจกรรมในวันฮารีรายอ

บริการไอศกรีมและหวานเย็นฟรี ที่มัสยิดจำ�ปาขอม และสุสานมุสลิม(กุโบร์)นอกโคก

ถ่ายทำ�รายการ energy update และเยี่ยมชม

โรงไฟฟ้าชีวมวล บริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จำ�กัด

กลุ่ม ดร.โจ ยูธคลับ รณรงค์พี่น้องมุสลิมเรียนศาสนา และจัดกิจกรรมให้แก่เด็กๆ ชุมชนจำ�ปาขอม เมื่อวันที่ 29 กันยายน 57 ดร.กณพ เกตุชาติ ประธานกรรมการบริหารบริษัท เกษตรลุ่มน�้ำ จ�ำกัด ต้อนรับ คุณสร้อยฟ้า โอสุคนธ์ทิพย์ เจ้าของรายการ energy update ช่อง11กรุงเทพ และคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยรังสิต เข้าเยี่ยมโรงไฟฟ้าของบริษัท ทีมงานสนใจโรงไฟฟ้าจากหญ้าเนเปียร์เป็นพิเศษ ได้เข้าดูโครงการก่อสร้าง แปลงปลูก และ คุยกับชาวสวนที่เริ่มปลูกหญ้า ทั้งที่ปลูกอย่างเดียวและที่ปลูกเสริมในแปลงปาล์มอายุน้อย


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.