การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา(พ.ศ. 2491-2500)

Page 1

การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา(พ.ศ. 2491-2500)

นายณัฐพล ใจจริง

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2552 ลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


THAI POLITICS IN PHIBUN´S GOVERNMENT UNDER THE U.S. WORLD ORDER (1948-1957)

Mr. Nattapoll Chaiching

A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy Program in Political Science Faculty of Political Science Chulalongkorn University Academic year 2009 Copyright of Chulalongkorn University


หัวขอวิทยานิพนธ โดย สาขาวิชา อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก

การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา(พ.ศ. 2491-2500) นายณัฐพล ใจจริง รัฐศาสตร รองศาสตราจารย ดร. กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด

คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่ง ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ………………………………………….. คณบดีคณะรัฐศาสตร (ศาสตาจารย ดร.จรัส สุวรรณมาลา) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ……………………………………………ประธานกรรมการ (ศาสตราจารย ดร.ไชยวัฒน ค้ําชู) …………………………………………... อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก (รองศาสตราจารย ดร. กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด) …………………………………………… กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีระ สมบูรณ) …………………………………………… กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ) …………………………………………… กรรมการภายนอกมหาวิทยาลัย (รองศาสตราจารย ดร.นครินทร เมฆไตรรัตน)


ณัฐพล ใจจริง: การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามภายใตระเบียบโลก ของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2491-2500) (THAI POLITICS IN PHIBUN’S GOVERNMENT UNDER THE U.S. WORLD ORDER(1948-1957)อ.ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ: รองศาสตราจารย ดร.กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด, 284 หนา.

ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯที่กอตัวขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐฯไดเขา มามีบทบาทแทรกแซงการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามดวยการใหความ สนับสนุนกลุม การเมืองทัง้ กลุมตํารวจและกลุมทหารมีผลทําใหการเมืองไทยในชวงเวลา ดังกลาวมีเสถียรภาพและสามารถดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการได ตอมา สหรัฐฯให การสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหกลับขึน้ มามีความสําคัญทางการเมือง ในขณะที่ รัฐบาลเริ่ม ถอยหางออกจากนโยบายของสหรัฐฯ ทามกลางความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับสถาบัน กษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหารในชวงปลายรัฐบาลนัน้ สงผลใหสหรัฐฯตัดสินใจให การสนับสนุนกลุมการเมืองใหม คือ สถาบันกษัตริยและกลุมทหารใหขึ้นมีอํานาจแทนเพื่อให การเมืองไทยมีเสถียรภาพและดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการตอไป ดังนัน้ บทบาทของ สหรัฐฯทีม่ ีตอการเมืองไทยในชวงเวลานัน้ จึงเปนปจจัยชีข้ าดสําคัญที่ทาํ ใหกลุม การเมืองใด ไดรับชัยชนะทางการเมือง ทัง้ นี้ การสนับสนุนกลุมการเมืองใหมของสหรัฐฯนี้ไดนําไปสูการ ปกครองแบบเผด็จการทหารและทําใหไทยไดกลายเปนสวนหนึง่ ของระเบียบโลกของสหรัฐฯที่ แนบแนนยิ่งขึน้ ในเวลาตอมา

สาขาวิชา รัฐศาสตร ปการศึกษา 2552

ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่อ อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ


# # 4881903924 : MAJOR POLITICAL SCIENCE KEYWORDS : THAI POLITICS / PHIBUNSONGGRAM / UNITED STATES NATTAPOLL CHAICHING: THAI POLITICS IN PHIBUN´S GOVERNMENT UNDER THE U.S. WORLD ORDER(1948-1957). ADVISOR : ASSOC.PROF. KULLADA KESBOONCHOO MEAD,PH.D., 284 pp. Under the U.S. World Order which was emerged after the end of the World War II, the United States government has taken its role in intervening Thai politics. This thesis discovers that the U.S. government had supported both Police and Military groups in the Phibun’s government which prompted the political situation in Thailand become stable. This dynamic enabled the Thai government to pursue foreign policies that complied with the U.S. interest. In the same time, the U.S. government was behind the resurgence of the Monarchy back to the political sphere. Whereas the Phibun’s government began to keep distance from the U.S. influence over Thailand’s policies amidst the conflict between the Phibun’s government with the Monarchy, the Royalist and the Military. the U.S. government decided to turn its support towards the newly political groups than the Phibun’s government: that are the Monarchy and the Military. Such policy allowed the U.S. government to maintain the political stability and retain its policies in Thailand. As a result, the role of the U.S. government in the Thailand’s political situations is the decisive factor in deciding the triumphant result of any political actor among the Thai politics. It must be noted that the role of the U.S. government in supporting the newly political groups brought about the authoritarian regime in Thailand as well as it sowed the seed connecting the Thai state with the U.S. world order more closely in the following decades.

Field of Study : POLITICAL SCIENCE Academic Year : 2009

Student’s Signature Advisor’s Signature


กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั ชิ้นนี้ไมสามารถสําเร็จลงได หากปราศจากความชวยเหลือของหนวยงานและ บุคคลจํานวนมากที่ใหแกขาพเจา โดยเฉพาะอยางยิง่ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สํานัก งานกองทุนสนับสนุนการวิจัยที่ใหทนุ สนับสนุนการวิจยั ของขาพเจาตลอด 3 ปสุดทายในการเรียน ขาพเจาขอขอบพระคุณ “ครู” รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด อาจารยทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ ผูที่ทาํ หนาที่มากกวาการเปนเพียงอาจารยที่ปรึกษา แตไดอุทิศตนรวมเดินทางไปบนเสนทางการ คนควาและอดทนตอความดื้อรั้นของขาพเจาตลอดระยะเวลาหลายปที่ผานมา รวมทั้ง ความชวย เหลือที่สาํ คัญจาก ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล อาจารยที่ปรึกษาอีกทานทีใ่ หโอกาสขาพเจาไดเขาชั้น เรียนอันมีสวนเปดโลกทัศนทาํ ใหขาพเจาหลุดพนจากเพดานความคิดที่ดํารงอยูก ับขาพเจามานาน หลายป ตลอดจนไดใหความชวยเหลืออื่นๆในการวิจยั ทีม่ หาวิทยาลัย Wisconsin-Madison และ ในสหรัฐฯ ตลอดจน ศ.ดร.ไชยวัฒน ค้าํ ชู รศ.ดร.นครินทร เมฆไตรรัตน ผศ.ดร.วีระ สมบูรณ และ ผศ.ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ กรรมการวิทยานิพนธที่ใหคําแนะนําซึง่ มีคณ ุ คาแกขาพเจาในปรับปรุง วิทยานิพนธชนิ้ นี้จนสําเร็จ ขาพเจาขอขอบพระคุณ ศ.ดร.อนุสรณ ลิ่มมณี Prof. Kewin Hewison รศ.ฉลอง สุนทรวณิชย รศ.วีณา เอี่ยมประไพ Assoc. Soren Ivarsson ผศ.สุวิมล รุงเจริญ ผศ.ดร.นิติและผศ.ดร. พวงทอง ภวัครพันธุ ผศ.เทอดสกุล ยุญชานนท คุณเสถียร จันทิมาธร ดร.สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล คุณสุพจน แจงเร็ว ผศ.ธเนศ วงศยานนาวา ดร.เกษม เพ็ญภินันท อาจารยจีรพล เกตุจุมพล อาจารยศิวะพล ละอองสกุล ดร.ธนาพล ลิม่ อภิชาต อาจารยสุระ พัฒนะปราชญ ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ เผือกสม อาจารยวารุณีย โอสถารมย ดร.ฐาปนันท นิพฏิ ฐกุล ดร.เกงกิจ กิตติเรียงลาภ ดร.พรสันต เลี้ยงบุญเลิศชัย คุณกมลทิพย จางกมล คุณธนาพล อิว๋ สกุล คุณเดนดวง วัดละเอียด คุณดาวเรือง แนวทอง และคุณจักรี ไชยพินิจ ที่ใหความชวยเหลือแกขาพเจามานานหลายป ขอบคุณอยางมาก สําหรับ คุณสมฤดี วินิจจะกูล คุณปยนุช ศรีปนวงศ David Dettmann ดร.พัชรี เชิญชอ และคุณพล เทพ ธนโกเศส ผูใหความชวยเหลือแนะนําใหขาพเจาอยูร อดปลอดภัยในการวิจัยที่รัฐวิสคอนซิน รัฐแมรีแลนด และวอชิงตัน ดี.ซี. ขอบพระคุณ “ปา”-จีรวัสส ปนยารชุน และคุณนิตย พิบูลสงคราม เปนอยางสูงทีใ่ หคําสัมภาษณและตอนรับขาพเจาดวยความเมตตาอยางไมรูเหน็ดเหนื่อย สุดทายที่จะลืมมิไดคือ พีรญา ใจจริง ผูเปนกําลังใจและใหรอยยิ้มในยามที่ขาพเจาออนลา และไดแบงเบาภาระงานบานในหลายปทผี่ านมา และคุณคาจากงานวิจัยชิน้ นี้ ขอยกใหกับพอ ผู ลวงลับ และแม ผูเปนครูคนแรกของขาพเจา


สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย………………………………………………………………………… ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ................................................................................................ จ กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................... ฉ สารบัญ...................................................................................................................... ช บทที่ 1 บทนํา………………………………………………………………………………. 1.1 ความสําคัญของการศึกษา………………………..………………………….. 1.2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ………..………………………………………. 1.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา…………….……………………………………… 1.4 สมมติฐานในการวิจัย………………………………………………………….. 1.5 นิยามคําศัพท………..………………………………………………………... 1.6 ขอบเขตการศึกษาวิจยั และระเบียบวิธวี ิจัย……………………………………. 1.7 วัตถุประสงคการวิจัย……………………..…………………………………… 1.8 ขอจํากัดของการศึกษา…..……………………………………………………. บทที่ 2 จากรูสเวลทถึงทรูแมน: การเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2……………………. 2.1 นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย…...……. 2.2 การเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2……………………………………. 2.3 ความรวมมือและการแตกสลายของพันธมิตรชวงสงครามระหวาง“กลุมปรีดี” และ“กลุมรอยัลลิสต”……………….…………………………………………. 2.4 “กลุมรอยัลลิสต”กับการเมืองในราชสํานักและการแสวงหาการสนับสนุนจาก อังกฤษ…………………………………………………………………………. 2.5 การกอตัวของ“พันธมิตรใหม”ระหวาง“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป.”.. 2.6 การลมสลายของ“กลุมปรีดี”…………………………...……………………… บทที่ 3 การรัฐประหาร 2490: จุดเริ่มตนของความขัดแยงภายในการเมืองไทย…..……… 3.1 การรัฐประหาร 2490: ความสําเร็จของความรวมมือของคณะรัฐประหารกับ “กลุมรอยัลลิสต”…………...…………………………………………………..

1 1 5 19 20 21 22 25 25 26 26 31 33 41 51 54 62 62


สารบัญ (ตอ) 3.2 ความลมเหลวในการตอตานการรัฐประหารและการสิ้นสุดความชวยเหลือ “กลุมปรีดี”ของสหรัฐฯ…………………………………………………………... 3.3 การรุกคืบของ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะสถาปนิกทางการเมือง.………………. 3.4 แผนการใหญของ “กลุมรอยัลลิสต” ……………………..…………………….. 3.5 จอมพล ป.กับการลมแผนทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”……………….… 3.6 รัฐบาลจอมพล ป.กับความลมเหลวในการเปดไมตรีกับ“กลุมปรีดี”…………… 3.7 “กลุมรอยัลลิสต”กับการสถาปนารัฐธรรมนูญที่ปฏิเสธกองกองทัพ…….……… บทที่ 4 สูภาวะกึ่งอาณานิคม: การมาถึงของสหรัฐฯและการปราบปรามปรปกษ ทางการเมือง 2493 - 2495……………..……..…………………………..………. 4.1 สัญญาณจากวอชิงตัน ดี.ซี……..……………………………….…………….. 4.2 การถูกตอตานกับการกาวเขาหาสหรัฐฯของรัฐบาลจอมพล ป………………… 4.3 สหรัฐฯกับความชวยเหลือทางการทหารแกไทย……………………………….. 4.4 ความขัดแยงในคณะรัฐประหารทามกลางการรุกของ“กลุมรอยัลลิสต”…….…. 4.5 “กลุมรอยัลลิสต”กับ“กบฎแมนฮัตตัน”แผนซอนแผนในการโคนลมรัฐบาล.…… 4.6 การรัฐประหาร 2494 กับการยุติบทบาททางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”….. 4.7 ความขัดแยงระหวางสถาบันกษัตริยกับรัฐบาลจอมพล ป…………………….. 4.8 การแขงขันและการสรางพันธมิตรทางการเมืองของกลุมตํารวจและกลุมทหาร.. 4.9 การปราบปรามขบวนการตอตานสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป…………….…. บทที่ 5 ไอเซนฮาวรกับการสรางความแข็งแกรงใหกลุมทหารและกลุมตํารวจไทย 2496 – 2497….…………..………...…………………………………………….. 5.1 นโยบายตางประเทศของไอเซนฮาวรตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย…….. 5.2 “เอกอัคราชทูตนักรบ”กับการสราง“ปอมปราการ”ทางการทหารในไทย….……. 5.3 เพนตากอนกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมทหาร……………………………… 5.4 ซีไอเอกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมตํารวจ……………….………………….. 5.5 ความชวยเหลือจากสหรัฐฯกับการแขงขันระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหาร.… 5.6 ถนนทุกสายมุงตรงสูวอชิงตัน ดี.ซี………………………………………………

66 70 74 77 79 85 87 87 90 95 101 105 112 116 120 122 124 124 128 132 133 136 138


สารบัญ (ตอ) บทที่ 6 สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยกับจุดเริ่มตนสงครามจิตวิทยาในไทย 2497………………. 6.1 สหรัฐฯกับการตอตานคอมมิวนิสตในไทย…………..………………………… 6.2 จากความลมเหลวสูโอกาส: สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับ การเขาหาสหรัฐฯ……………………………………………………………….. 6.3 ยูซิสกับสงครามจิตวิทยา………………….……………………………………. 6.4 สงครามจิตวิทยากับการสถาปนาอํานาจของสถาบันกษัตริย…………………. บทที่ 7 ความเปนกลางและการสรางประชาธิปไตยของรัฐบาลจอมพลป. ปลายทศวรรษที่ 2490..……………………………...……………………………………………….. 7.1 บริบทการกอตัวของนโยบายเปนกลางของรัฐบาลจอมพล ป………….……. 7.2 นโยบายการทูตสองทางของรัฐบาลจอมพล ป……………….……………… 7.3 วิสัยทัศนใหมทา มกลางความขัดแยงของ“ขุนศึก” ……….………………….. 7.4 การสรางบรรยากาศประชาธิปไตยทางออกทางการเมือง……………...……. 7.5 การพยายามเปดไมตรีกับจีนของรัฐบาลจอมพล ป……….…………………… 7.6 การคากับจีนและความไมพอใจของสหรัฐฯ……………………………………. 7.7 หนังสือพิมพกับการตอสูทางการเมืองและการตอตานสหรัฐฯ………..………. 7.8 ความไมพอใจของสหรัฐฯตอการเปดรับวัฒนธรรมจากจีนของไทย…………… บทที่ 8 การหวนคืนของพันธมิตรทามกลางความขัดแยงกับ“กลุมรอยัลลิสต”…………….. 8.1 การตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”ของรัฐบาลจอมพล ป……………….……...……. 8.2 พันธมิตรทางการเมืองของรัฐบาลจอมพล ป.และกลุมตํารวจกับ“กลุมปรีดี”..… 8.3 การเลือกตั้งและการทําลายการเลือกตั้ง 2500 ของ“กลุมรอยัลลิสต”และกลุม ทหาร………………………………………………………………………….. 8.4 การกลับมาของปรีดี พนมยงคกับความตืน่ ตระหนกของ“กลุมรอยัลลิสต”และ ความวิตกของสหรัฐฯ………………...………………………………….…...…. 8.5 ความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”….….…... บทที่ 9 “ไตรภาคี”กับภาวะกึง่ อาณานิคมและการลมสลายของประชาธิปไตยไทย…….….. 9.1 สัญญาณความไมพอใจของวอชิงตัน ดี.ซี.ตอรัฐบาลจอมพล ป…….………… 9.2 จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต”กับการแสวงหาการสนับสนุนจากสหรัฐฯ... 9.3 การเมืองสองหนาของจอมพลสฤษดิ์………………………..………...………..

143 143 146 152 155 161 161 164 168 175 181 185 189 194 197 197 203 206 213 217 222 222 223 225


สารบัญ (ตอ) 9.4 การรุกทางการเมืองของจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” กับการสราง พันธมิตรระหวางรัฐบาลกับคณะราษฎร……………….……..………………. 9.5 จากการเมืองสามเสาสูก ารเมืองสองขั้ว: รัฐบาลจอมพล ป. กลุม ตํารวจและ “กลุมปรีดี”กับ สถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหาร…………...…. 9.6 บนเสนทางของ“ไตรภาคี” สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพกับ การดํารงภาวะกึ่งอาณานิคม………...…………..…………………………… บทที 10 สรุป………………………………………………….……………………………. รายการอางอิง……………………………………………………………………………… ประวัติผูเขียนวิทยานิพนธ………………………………………………………………….

227 235 241 248 253 284


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความสําคัญของการศึกษา ในปจจุบัน การศึกษาประวัตศิ าสตรนิพนธของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งแตหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ไดกลายเปนประเด็นศึกษาสําคัญของนักวิชาการผูสนใจศึกษาตามแนว ทางประวัติศาสตรภูมิปญญาที่เขาไปศึกษาการเขียนประวัติศาสตรแหงชาติของประเทศตางๆใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในชวงสมัยแหงการมีปฏิสัมพันธกับจักรวรรดินิยมวา ผูคนใน เอเชียตะวันออกเฉียงใตมกี ารสรางคําอธิบายตอตนเองอยางไรอันจะทําใหเห็นถึงผลกระทบของ อิทธิพลจักรวรรดินิยมทีม่ ีตอการกอรูป และปฏิสัมพันธตอ ภูมิปญญาอันมีตอการเขียนประวัติ ศาสตรนิพนธของชาติตางๆ กระนัน้ ก็ดี การศึกษาประวัติศาสตรนิพนธไทยในชวงแหงการเผชิญ หนากับจักรวรรดินิยมนัน้ ยังคงตกอยูในแกนกลางแหงความเงียบงัน และไดรับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงดังกลาวนอย ในขณะทีง่ านนิพนธทางประวัติศาสตรของไทยยังคงรักษาแนวทางใน การผลิตซ้ําการเขียนประวัตศิ าสตรที่เนนย้าํ การตอตานอาณานิคมเพื่อรักษาความเปนเอกราช ของไทยตอไป1 หากเรานําขอสังเกตขางตนที่มีตอประวัตศิ าสตรของไทยมาพิจารณาควบคูไปกับบริบท ทางประวัติศาสตร ผานงานนิพนธทางประวัติศาสตรไทย ทัง้ การเมืองการปกครองและความ สัมพันธระหวางประเทศในประเทศของไทยแลว ขอสังเกตขางตนมีคุณูปการตอการกลับมาทบ ทวนความรูความเขาใจที่มีตอ ตนเองทามกลางบริบทขึน้ มาใหม โดยเฉพาะอยางยิง่ ตอประวัติศาสตรการเมืองการปกครองและประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางประเทศของไทยวาไดรับ ผลกระทบจากความรูท ี่เกิดขึ้นภายใตบริบทและไดรับผลกระทบจากการสรางองคความรูของ สหรัฐฯทีม่ ีตอการสรางองคความรูในทางการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศ ของไทยอยางไร โดยเฉพาะอยางในชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2491-2500 ทั้งนี้ ขาพเจาตองการสํารวจ ปญหาที่เกิดขึ้นภายในงานนิพนธดานการเมืองการปกครองของไทย ที่ไดรับผลกระทบจากศึกษารัฐศาสตรแบบอเมริกันภายใตแนวทางการพัฒนาการเมือง โดย 1

Laurie J. Sears, “The Contingency of Autonomous History,” in Autonomous Histories Particular Truths, ed. Laurie J. Sears (Wisconsin: Center for Southeast Asian Studies University of Wisconsin, 1993), pp. 3-4.; Thongchai Winichakul, “Writing At The Interstices: Southeast Asian Historians and Postnational Histories in Southeast Asia,” in New Terrains in Southeast Asia History, Abu Talib Alimad and Tan Liok Ee, eds. (Singapore: Singapore University Press, 2003), pp. 3-27.


2

เฉพาะอยางยิง่ แนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”(Bureaucratic Polity)ที่มีอทิ ธิพลครอบงําความรูใน งานประวัติศาสตรนิพนธดานการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ตามแนวการศึกษาแบบดั้งเดิมซึ่งรักษาคําอธิบายหลักถึงวิเทโศบายของไทยกับจักรวรรดินิยมอัน แสดงถึงปรีชาสามารถของชนชั้นนําไทยเปนสําคัญ ในทีน่ ี้ ขาพเจาขอเริ่มตนจาก ขอสรุปจากการงานวิจัยทีศ่ ึกษาสถานภาพและพัฒนาการ ของวิชารัฐศาสตรไทยของนครินทร เมฆไตรรัตน และขอสรุปจากงานวิจัยของศุภมิตร ปติพัฒนที่ สํารวจพัฒนาการขององคความรูการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศในไทย2 สําหรับพัฒนา การขององคความรูของวิชารัฐศาสตรไทยนั้น นครินทร สรุปวา องคความรูของวิชารัฐศาสตรไทย เกิดขึ้นภายใตสภาพแวดลอมการเมืองระหวางประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีสหรัฐฯเปนผู มีบทบาทนําในทางการเมืองระหวางประเทศและการสรางองคความรูข องวิชารัฐศาสตร โดย รัฐบาล หนวยงานและนักวิชาการจากสหรัฐฯไดเขามีสวนอยางมากในการชวยเหลือ สนับสนุน การจัดตั้งคณะรัฐศาสตรขึ้นที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและที่มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรในเวลา ตอมา โดยเฉพาะอยางยิง่ ชวงทศวรรษที่ 2510 ซึ่งเปนชวงสําคัญของสงครามเย็นทีท่ วีความรุน แรงมากขึ้น ทัง้ นี้ รัฐบาล หนวยงานและนักวิชาการจากสหรัฐฯไดเขามีสวนอยางมากในการ เผยแพรความรูและการทําการวิจัยภายใตแนวการศึกษารัฐศาสตรแบบวิทยาศาสตรที่เนนการ ศึกษาพฤติกรรมศาสตรและมีการนําเขาหลักการ แนวคิด กรอบทฤษฎีจากสหรัฐฯเขามาแทนที่ ศึกษาแบบเดิมที่เนนสถาบันทางการเมืองทําใหเกิดการสรางองคความรูแบบใหมใหกับวิชา รัฐศาสตรของไทย กลาวโดยสรุป นครินทร เห็นวา การศึกษารัฐศาสตรแบบวิทยาศาสตรมีผล ทําใหการศึกษาการเมืองการปกครองไทยทีเ่ คยเนนความสําคัญกับการสรางองคความรูเกี่ยวกับ สถาบันทางการเมืองเสื่อมคลายลง และที่สําคัญนครินทรไดตั้งขอสังเกตถึงขอสรุปขององค ความรูในการเมืองการปกครองไทยวา การศึกษาการเมืองการปกครองของไทยยังคงตกอยู ภายใตคําอธิบายวา การเมืองการปกครองของไทยเปน“การเมืองในระบอบอํามาตยาธิปไตย” ตามแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”ของเฟรด ดับลู. ริกส(Fred W. Riggs)ที่ยงั คงทรงพลังในการสราง คําอธิบายและเปนแนวทางในการศึกษาการเมืองการปกครองของไทยจวบกระทัง่ จนปจจุบนั

2

นครินทร เมฆไตรรัตน, “วิชารัฐศาสตรไทยในบริบทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทางการ เมือง,” รัฐศาสตรสาร 21, 1 (2542): 23-75.; ศุภมิตร ปติพัฒน, “ความสัมพันธระหวางประเทศ: พัฒนาการ และความกาวหนาขององคความรู,” คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2550.


3

ดวยเหตุนี้ เขาจึงเรียกรองให มีการศึกษาความเปลีย่ นแปลงของสัมพันธภาพทางอํานาจระหวาง สถาบันกษัตริยและรัฐบาลในการเมืองไทยเสียใหม3 สําหรับการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศซึง่ เปนสาขาหนึ่งของวิชารัฐศาสตรนนั้ ศุภมิตร ปติพัฒนสรุปวา การศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ยังคงไดรับผลจาก เปลี่ยนแปลงของแนวการศึกษาในระดับสากลไมมากนัก งานศึกษาสวนใหญตกอยูภายใต การศึกษาตามแนวการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศแบบดั้งเดิมที่เนนการศึกษาความ สัมพันธระหวางรัฐตอรัฐโดยใชวิธีการวิเคราะหทางประวัติศาสตร ซึง่ ใหความสําคัญตอ การประเมินคุณคาและบรรทัดฐานที่รองรับการจัดระเบียบความสัมพันธระหวางประเทศผาน การศึกษาประวัติศาสตรการทูตและเรื่องการรักษาเอกราชของรัฐมากกวาแนวการศึกษาแบบ วิทยาศาสตร ที่เนนการศึกษาพฤติกรรมของรัฐในระบบระหวางประเทศ ตัวแบบการตัดสินใจของ ผูนํา ความมั่นคงและยุทธศาสตร เปนตน ศุภมิตร เสนอขอเรียกรองทีท่ า ทายใหการศึกษา ความสัมพันธระหวางประเทศของไทยเปดรับความรูใหมจากระดับสากล และใหมกี ารถกเถียง แลกเปลี่ยนความรูกับสาขาวิชาอื่น หรือแม กระทัง่ ภายในวิชาความสัมพันธระหวางประเทศเอง เขาสรุปวา “ [การถกเถียงแลกเปลี่ยนทางวิชาการ] แทบจะมิไดกอใหเกิดผลสะเทือนหรือ เปลี่ยนแปลงใดๆในแนวทางการศึกษา IR ที่เคยเปนมาในประเทศนี้ [ไทย]” 4 ทั้งนี้ ขอสรุปจากงานวิจัยทัง้ สองชิ้นชี้ใหเห็นวา ปญหาของแนวทางการศึกษาวิชา รัฐศาสตรทั้งการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของไทยมีความแตกตางกัน คือ การศึกษาการเมืองการปกครองของไทยประสบกับปญหาการรับแนวทางการศึกษา รัฐศาสตรแบบอเมริกันมากเกินไปจนทําใหละเลยการศึกษาแบบดั้งเดิม คือ การศึกษาเรื่อง สถาบันทางการเมืองของไทยไป ในขณะทีป่ ญหาการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศของไทย นั้นตกอยูภายใตการศึกษาแบบดั้งเดิมมากเกินไป โดยปราศจาการถกเถียงแลก เปลีย่ นความรู และคําอธิบายกับสาขาวิชาอื่นๆดวย อยางไรก็ตาม งานวิจัยทั้งสองชิ้นที่ประเมินพัฒนาการของ องคความรูของวิชารัฐศาสตรไทยนัน้ มีจุดรวมที่ตองตรงกัน คือ ตองการเรียกรองใหมีการปรับ เปลี่ยนการศึกษาภายในสาขาวิชาของตน สําหรับการเมืองการปกครองของไทยนัน้ ควรมีการ ประเมินผลกระทบจากการนําหลักการและแนวคิดการศึกษารัฐศาสตรแบบอเมริกัน โดยควรหัน กลับมาใหความสนใจกับสัมพันธภาพทางอํานาจระหวางสถาบันทางการเมืองภายในการเมือง ของไทยเสียใหม สวนการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศแบบดั้งเดิมนั้น สมควรมีการเปดรับ 3

นครินทรเมฆไตรรัตน, “วิชารัฐศาสตรไทยในบริยทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง,” หนา 40. 4 ศุภมิตร ปติพัฒน, “ความสัมพันธระหวางประเทศ: พัฒนาการและความกาวหนาขององคความรู,” หนา 68.


4

และถกถียงแลกเปลี่ยนกันภายในแนวการศึกษาของตนเพื่อปรับเปลี่ยนความรูและคําอธิบายเสีย ใหมเชนกัน สําหรับ ขาพเจาขอเสนอวา หัวใจของปญหาคําอธิบายในการศึกษาการเมืองการ ปกครองของไทย คือ แนวคิดของรัฐศาสตรแบบอเมริกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ แนวคิดเรื่อง “อํา มาตยาธิปไตย” ที่กาํ เนิดขึ้นในชวงทศวรรษที่ 2510 มีอิทธิพลในการครอบงําแนวทางการวิจยั องค ความรูเกีย่ วกับการเมืองไทยที่เนนความสําคัญของบทบาทของกองทัพที่เปนอุปสรรคตอการสราง ประชาธิปไตยไทยมีผลทําใหงานวิจยั ที่สรางองคความรูในสมัยตอมาเดินตามแนวคิดขางตนจน นําไปสูขอสรุปวา การเมืองไทยเปน“การเมืองในระบอบอํามาตยาธิปไตย”และสําหรับการศึกษา ความสัมพันธระหวางประเทศนั้นยังคงตกอยูภายใตการศึกษาแบบดั้งเดิมที่รักษาคําอธิบายที่วา ชนชั้นนําไทยการดําเนินนโยบายโอนออนผอนตามขอเรียกรองของมหาอํานาจที่คกุ คามเอกราช ของไทยและชนชั้นนําไทยยอมเสียผลประโยชนสว นนอยเพื่อรักษาผลประโยชนสว นใหญ นั่นก็คือ เอกราชและอธิปไตยของไทยเอาไวอนั เปนความเสียสละที่สูงสงของชนชั้นนํา โดยคําอธิบาย ดังกลาวนัน้ ไดรับอิทธิมาจากคําอธิบายประวัติศาสตรแบบที่ถูกเรียกวา“ราชาชาตินยิ ม”5

5

โปรดดูคําอธิบายทํานองดังกลาวใน Neon Snidvongs, “The development of Siam's Relations with Britain and France in the Reign of King Mongkut, 1851-1868,” (Doctoral dissertation, University of London, 1961).; Rong Syamananda, An Outline f Thai History,(Bangkok: Chulalongkorn University, 1963).; M.L.Manich Jumsai, History of Anglo-Thai relations,(Bangkok: Chalermnit, 1970).; Namngern Boonpiam, “Anglo-Thai relations, 1825-1855: a study in changing of foreign policies,” (Doctoral dissertation, University of Nebraska-Lincoln, 1979).; แถมสุข นุมนนท, “การเจรจาทางการทูต ระหวางไทยกับอังกฤษ ค.ศ.1900-1909,” ชุมนุมบทความวิชาการถวายพระวรวงศเธอ กรมหมื่นนราธิป ประพันธพงศในโอกาสที่พระชนมมายุครบ 80 พรรษาบริบูรณ 25 สิงหาคม 2514,(กรุงเทพฯ: โครงการตํารา สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2514), หนา 1-14.; แถมสุข นุมนนท, การทูตสมัยรัตนโกสินทร (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2528).; เพ็ญศรี ดุก, การตางประเทศกับเอกราชและ อํานาจอธิปไตยของไทย (ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ถึงสิ้นสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม),(กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ, 2527).; ประภัสสร เทพชาตรี, นโยบายตางประเทศไทยจากยุควิกฤตเศรษฐกิจสูสหัสวรรษ ใหม,(กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543) เปนตน และดูขอโตแยงของธงชัย วินิจจะกูลที่มีตอโครง เรื่องหลักในคําอธิบายของประวัติศาสตรไทยซึ่งมีผลกระทบตอคําอธิบายความสัมพันธระหวางประเทศดวย เชนกัน ใน ธงชัย วินิจจะกูล, “ประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม: จากยุคอาณานิคมอําพรางสูราชาชาตินิยม ใหม หรือ ลัทธิเสด็จพอของกระฎมพีไทยในปจจุบัน,” ศิลปวัฒนธรรม 23 (พฤศจิกายน 2544): 56-65.


5

1.2 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ภายใตบริบทการเมืองระหวางประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ สหรัฐฯ ในฐานะ ศูนยกลางของระบบทุนนิยมโลกเริ่มขยายอิทธิพลไปยังสวนตางๆของโลก รวมทัง้ เอเชียตะวันออก เฉียงใตและไทยผานการจัดระเบียบโลกทางเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร รวมถึงความตอง การสรางความรูเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย ดวยการจัดตั้งสถาบันวิจยั ความรู การ ใหทนุ อุดหนุนการวิจยั ที่ผลิตความรู คําอธิบายและงานวิชาการผานสถาบันวิจัยทั้งในและนอก มหาวิทยาลัยอยางมากซึ่งมีผลตอการดํารงอยูของชุดความรูหรือคําอธิบายบางอยางที่ถูกคัดสรร ผลิตซ้ํา และการสรางแนวการวิเคราะหทสี่ อดคลองกับความตองการและผลประโยชนของแหลง ทุนอุดหนุนการวิจัยหาความรูผานมูลนิธิ เชน สมาคมเอเชีย มหาวิทยาลัยชั้นนํา สถาบันวิชาการ รัฐบาลสหรัฐฯ เชน กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม ยูซอม(United States Operations Mission: USOM)และบริษัททุนเอกชนขนาดใหญของสหรัฐ เชน บรรษัทคารเนกี้ (Carnegie Corporation) บรรษัทแรนด(Rand Corporation) และมูลนิธิรอคกี้เฟลเลอร (Rockefeller Foundation) เปนตน โดยการจัดตั้งสาขาวิชาแบบพื้นทีศ่ ึกษา(Area Studies) สถาบันวิจัยในมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยขึ้น ทัง้ นี้ ในชวงแรกของ สงครามเย็นไดมีการเริ่มตนโครงการผลิตความรูเกีย่ วกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยขึ้นที่ มหาวิทยาลัยคอรแนลเปนแหงแรกในป 2490 และมีการจัดตั้งโครงการดังกลาวในมหาวิทยาลัย หลายแหงในเวลาตอมา จากนั้น นักวิชาการชาวอเมริกันที่สนใจไทยศึกษาในหลายสาขาวิชาทัง้ ประวัติศาสตร รัฐศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไดกําเนิดขึ้นอยางมากในชวงทศวรรษที่ 2500-2510 เชน เจมส อินแกรม(James Ingram) จอรช วิลเลี่ยม สกินเนอร(George William Skinner) เดวิด ไวแอตท(David Wyatt) เฮอรเบิรต พี. ฟลลิปส(Herbert P. Phillips) เดวิด เค. วิลสัน(David K. Wilson) วิลเลี่ยม เจ. ซิฟฟน(William J. Siffin) คอนสแตนส เอม. วิลสัน (Constance M. Wilson) แลดด เอม. โทมัส(Ladd M. Thomas) คลาก ดี. แนร(Clark d. Neher) และเฟรด ดับบลู. ริกส(Fred W. Riggs)6 เปนตน ดังนัน้ กลาวไดวา รัฐบาลสหรัฐฯและหนวยงาน

6

โปรดดูรายละเอียดใน แถมสุข นุมนนท, “เมื่ออเมริกันศึกษาประวัติศาสตรไทย,” การทูตสมัย รัตนโกสินทร, หนา 57-66.; อานันท กาญจนพันธุ, “บทบาทของนักวิจัยและทุนวิจัยอเมริกันในการสราง กระบวนทัศนดานไทยศึกษา,” ใน บทบาทของตางประเทศในการสรางองคความรูที่เกี่ยวของกับประเทศไทย,( กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2538), หนา 308-347.; นครินทร เมฆไตรรัตน, “วิชารัฐศาสตร ไทยในบริบทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง”.


6

ตางๆมีสวนสําคัญดวยการไดทุมเทงบประมาณในการสรางความรูเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียง ใตและไทยภายใตบริบทของสงครามเย็นขึน้ มา7 ไมแตเพียงแคองคความรูเกีย่ วกับไทยจะตกอยูภายใตบริบทการเมืองระหวางประเทศ และการพยายามสถาปนาความรูแบบที่สหรัฐฯตองการขึ้นมาเทานัน้ แตองคความรูด ังกลาวยัง ตกอยูภายใตบริบทการเมืองของไทยดวยเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ หลังการรัฐประหาร 2490 ที่ พลังของ“กลุมรอยัลลิสต”กลับขึ้นมามีอาํ นาจทางการเมืองอีกครั้ง8 ซึ่งพวกเขาไมแตเพียงมี บทบาทในการชวงชิงอํานาจทางการเมืองจากคณะราษฎรกลับคืนมาเทานัน้ แตพวกเขาพยายาม สรางการรับรูใหมขึ้นดวยการพยายามอธิบายวา คณะราษฎรไดการดําเนินโนบายตางประเทศ ผิดพลาดจนเปนเหตุใหไทยเกือบจะสูญเสียเอกราชซึง่ เหลาบรรพกษัตริยไดรักษามาเพื่อแสดงให เห็นวาพระปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทยตั้งแตพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวและ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัวไดทรงเปดพระราชไมตรีกับชาติตะวันตกรวมทัง้ สหรัฐฯ นั้นเปนสาเหตุที่ทาํ ใหไทยรอดพนจากการตกเปนผูแพสงครามในสงครามโลกครั้งที่ 2 9 ดวยการที่ “กลุมรอยัลลิสต”ไดรื้อฟนการเขียนถึงพระปรีชาสามารถและการทีท่ รงมีพระราชดําริที่เปนเสรี นิยมของพระจอมเกลาฯทีท่ รงไดมีพระราชไมตรีอันดีกับสหรัฐฯเพื่อแสดงใหเห็นถึงพระปรีชา 7

Sears, “The Contingency of Autonomous History,” p. 4. งานวิจัยของนักวิชาการที่ทํางานวิจัย ใหกับรัฐบาลสหรัฐฯและบรรษัทขนาดใหญในชวงทศวรรษที่ 2500 เชน David A. Wilson, Political Tradition and Political Change in Thailand,(S.I.: The Rand Corporation, 1962); David A. Wilson, Trip for AACT to Thailand,(Bangkok: USOM, 1968); Fred Von der Mehden and Fred W. Riggs, Evaluation of the VSO: Interviews with VSO and Villagers,(Bangkok: USOM, 1967); David A. Wilson, Fred Von der Mehden and Paul Trescott, Thinking about ARD,(S.I.: USOM , 1970) เปนตน 8 สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ครั้งที่สอง (พ.ศ.2491-2500),(กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2550).; ณัฐพล ใจจริง, “คว่ําปฏิวัติ-โคนคณะราษฎร: การกอตัวของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข’,” ฟาเดียวกัน 6, 1 (มกราคม-มีนาคม 2551): 104-146. 9 งานเขียนของ“กลุมรอยัลลิสต” ที่วิพากษความสัมพันธไทยกับญี่ปุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ของ คณะราษฎร เชน หลุย คีริวัต, ประชาธิปไตย 17 ป,(พระนคร: โรงพิมพวิบูลยกิจ, 2493) เปนตน อยางไรก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธไทยกับญี่ปุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นยังคงมีขอถกเถียงที่สลับซับซอน และการถกเถียงยังดําเนินตอไป โปรดดูบทความตางๆใน Thai-Japanese relations in historical perspective eds. Chaiwat Khamchoo and E. Bruce Reynolds (Bangkok: Innomedia, 1988).; พ.อ.หญิง นงลักษณ ลิ้มศิริ, ความสัมพันธญี่ปุน-ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จากงานคนควาวิจัยของนักวิชาการญี่ปุน-ตะวันตกไทย: บทสํารวจสถานภาพแหงความรู, (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549) เปน ตน


7

สามารถของพระจอมเกลาฯที่เปนปฐมบทของความสัมพันธอนั ดีระหวางไทยกับสหรัฐฯที่มีความ ยาวนาน10 ตอมา เมื่อสหรัฐฯมีความตองการสรางความรูเพื่อเชื่อมความสัมพันธระหวางไทยกับ สหรัฐฯ เจาหนาที่กระทรวงการตางประเทศ และนักวิชาการสหรัฐฯ ไดผลิตงานนิพนธทาง ประวัติศาสตรความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯที่มีจุดเริ่มตนจากพระปรีชาสามารถของชนชั้นนําไทย ซึ่งคําอธิบายดังกลาวไดยอมรับแนวทางคําอธิบายของ“กลุมรอยัลลิสต” เชน แอบบอต โลว มอฟ แฟท(Abbot Low Moffat)(1961) และเอ. บี. กริสโวลด(A.B. Griswold)(1961) ผูรับทุน อุดหนุน จากสมาคมเอเชีย11 เพื่อยืนยันวา พระมหากษัตริยทรงเปนจุดเริ่มตนของสัมพันธ ไมตรีระหวาง ไทยกับสหรัฐฯที่มีมาอยางยาวนาน ตอมา คอนสแตนส เอม. วิลสัน(Constance M. Wilson)ซึ่ง เปนนักวิชาการที่กําเนิดขึ้นในชวงการจัดตั้งสถาบันวิชาการที่คนควาวิจยั เกี่ยวกับไทยในชวง สงครามเย็น เขาไดศึกษาการสรางความเปนสมัยใหมของไทยในรัชสมัยพระจอมเกลาฯขึ้น ซึ่ง แสดงใหเห็นถึงพระปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทยในการปรับตัวรับความเปนสมัย ใหม12 เปนตน ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา ในชวงบุกเบิกของการสรางความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตและไทยศึกษาของนักวิชาการอเมริกนั นัน้ นักวิชาการในรุนบุกเบิกยังไม 10

Seni and Kurit Pramoj, “The King of Siam Speaks,” Type written, 1948; Seni Promoj , “King Mougkut as a Legislator,” Journal of Siam Society 38 (1950): 32-66 อางใน Abbot Low Moffat, Mongkut: The King of Siam,(Ithaca, New York: Cornell University Press , 1961), p. x. ทั้งนี้ พี่นอง ปราโมชไดแปลพระราชหัตถเลขาและประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ออกเปนภาษาอังกฤษในชวงป 2491 ซึ่ง แสดงความปรีชาสามารถและการมีพระราชดําริเปนสมัยใหม ตอมา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชไดปาฐกถาเรื่อง “King Mougkut as a Legislator“ ตอที่ประชุมนักการทูตที่มารับฟง ณ สยามสมาคมโดยมี พระองคเจาธานี นิวัตฯ ในฐานะนายกสยามสมาคมฯกลาวนําปาฐกถา ตอมา ปาฐกถาชิ้นนี้ถูกตีพิมพ ภายใตชื่อ คิงมงกุฏใน ฐานะทรงเปนนักนิติศาสตร,(พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2492) จากนั้น ปาฐกาถาดังกลาวไดถูกตีพิมพใน วารสารสยามสมาคมในป 2493 (ตามขอมูลขางตน) 11 Moffat, Mongkut, The King of Siam ; A.B. Griswold, King Mongkut of Siam,(New York: The Asia Soceity, 1961) งานของกริสโวลดถูกแปลเปนไทย โปรดดู ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล(แปล) พระบาท สมเด็จพระจอมเกลาเจากรุงสยาม (King Mongkut of Siam),(พระนคร: โรงพิมพมหากุฏราชวิทยาลัย, 2508) สวนงานของมอฟแฟท โปรดดู นิจ ทองโสภิต, แผนดินพระจอมเกลาฯ (Mongkut the King of Siam), (กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2520). 12 Constance M. Wilson, “State and Society in the reign of Mongkut, 1851-1868: Thailand on the Eve of Modernization,” (Doctoral dissertation, Cornell University, 1970). งานศึกษาของคอน สแตนส เอม. วิลสันเปนตัวอยางงานวิจัยที่ตกอยูภายใตกระแสทฤษฎีการสรางความเปนสมัยใหมอันเฟองฟู อยางมากในชวงทศวรรษที่ 2510 มีผลทําใหการวิจัยของเขาเปนการเก็บขอมูลเพื่อยืนยันทฤษฎีดังกลาวเปน สําคัญ


8

สามารถอานภาษาไทยได พวกเขาจึงจําเปนตองพึ่งงานนิพนธทางประวัติศาสตรไทยที่เขียนเปน ภาษาอังกฤษเปนหลัก ดวยเหตุนี้ คลังความรูที่พวกเขาหยิบยืมและเขาถึงไดยอมหนีไมพนการใช ความรูจากงานเขียนของพระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” เชน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช และม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช13 เปนตน ซึ่งพวก เขามีสามารถเขียนงานนิพนธทางประวัติศาสตรเปนภาษาอังกฤษและสามารถตีพิมพบทความ เหลานั้นในวารสารสยามสมาคมซึ่งเปนวารสารของสยามสมาคมที่ถูกจัดตั้งแต กลางพุทธ ศตวรรษที่ 24 นั้น ดังนั้น คลังคําอธิบายประวัติศาสตรไทยของ“กลุมรอยัลลิสต” จึงเปนขอตอ สําคัญของการสืบทอดคําอธิบายของพวกเขาไปยังผูอา นในโลกภาษาอังกฤษจนกระทั่งการมาถึง ของความกระหายใครรูเรื่องเกี่ยวกับไทยของนักวิชาการอเมริกันในชวงสงครามเย็น ดวยเหตุที่นกั วิชาการและผูสนใจชาวตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิง่ นักวิชาการชาว อเมริกันกําลังอยูในชวงสําคัญของการสรางองคความรูและคําอธิบาย พวกเขาจึงยากที่จะหลีก พนการรับเอาคําอธิบายแบบดํารง“ราชานุภาพ”ของพระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” เขาไปใน การสรางองคความรูของพวกเขาดวย ดังนัน้ ดวยบริบทของการเมืองระหวางประเทศในชวง สงครามเย็น และผลประโยชนของสหรัฐฯ ผนวกกับบริบททางการเมืองของไทยที่สถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”กลับมามีอํานาจทางการเมืองอีกครั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกทั้ง ดวย ขอจํากัดของการเขาถึงความรูของนักวิชาการอเมริกันมีผลทําใหการสรางองคความรูแ ละ คําอธิบายที่มตี อการ เมืองการปกครองของไทยและความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯจึงซึมซับรับ อิทธิพลจากคําอธิบายของ“กลุมรอยัลลิสต” หรือแบบ“ราชาชาตินิยม”ที่ดํารงอยูก อนหนาเขาไป ในเบื้องแรกของการสรางองคความรูเกี่ยวกับไทยของสหรัฐฯ อยางไรก็ตาม บริบทจากการเมืองระหวางประเทศและการเมืองภายในของไทยในชวง หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยอมมีอิทธิพลตอการสรางองคความรูของงานวิจยั การเมืองการปกครอง ของไทยดวยเชนกัน ในชวงทศวรรษที่ 2510 ซึ่งเปนชวงเวลาสําคัญของการสรางองคความรู 13

Prince Damrong Rachanuphap, “The Introduction of Western Culture in Siam,” Journal of Siam Society 20 (1926-1927): 89-100.; Prince Dhani Nivat, “The Old Siamese Conception of the Monarchy,” Journal of Siam Society 36 (1947): 91-106.; Seni Promoj, “King Mougkut as a Legislator,” Journal of Siam Society 38 (1950): 32-66.; Prince Dhani Nivat, Collected articals (Bangkok: The Siam Society, 1969).; Prince Damrong Rachanuphap, Miscellaneous articals: written for The Journal of Siam Society (Bangkok: The Siam Society, 1962).; Seni and Kukrit Promoj, A King of Siam Speaks (Bangkok: The Siam Society, 1987) เปนตน นอกจากนี้ พระราชวงศยังไดเขียนบทความ และหนังสือที่ตีพิมพนอกประเทศไทยดวย เชน Prince Dhani Nivat, “The Reign of King Chulalongkorn,” Journal of World History 2 (1954): 46-66.; Prince Chula Chakrabongse, Lord of Life,(London: Alwin Redman Limited, 1960). เปนตน


9

เกี่ยวกับการเมืองการปกครองของไทยจากนักวิชาการอเมริกัน ในขณะไทยตกอยูภายใตการ ปกครองแบบเผด็จการทหาร ทําใหบริบทดังกลาวมีอทิ ธิพลตอการกอรูปความเขาใจของ นักวิชาการอเมริกันที่ไดนําปญหาในบริบทที่ดาํ รงอยูสรางคําอธิบายยอนหลังลงไปในอดีต โดย การศึกษาการเมืองไทยสมัยใหมที่เริ่มตนทีก่ ารปฏิวัติ 2475 ชิ้นสําคัญในชวงทศวรรษดังกลาวได ใหภาพบทบาทของกองทัพเขาแทรกแซงการเมือง เชน เดวิด เอ. วิลสัน(David A. Wilson) เฟรด ดับลู. ริกสโดยเฉพาะอยางยิง่ กับแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”(Bureaucratic Polity)ของริกสที่ให ภาพการเมืองไทยวา ภายหลังการปฏิวัติ 2475 การเมืองไทยถูกครอบงําจากกองทัพอยาง ตอเนื่อง ซึ่งแนวคิดของริกสมอี ิทธิพลครอบงําการศึกษาการเมืองการปกครองของไทยมาตั้งแต ทศวรรษ 2510 เปนตนมา14 ทั้งนี้ เดวิด มอรเรลและชัยอนันต สมุทวาณิช ลิขิต ธีระเวคิน สุจิต บุญบงการ ไดผลิตงานวิจัยที่สรางคําอธิบายทีเ่ ดินตามแนวคิดของริกสซึ่งมองการปฏิวัติ2475เปน จุดเริ่มตนของ“อํามาตยาธิปไตย”ที่มีแตกองทัพเปนตัวแสดงหลักเพียงตัวแสดงเดียวเทานั้นที่ สรางปญหาใหกับประชาธิปไตยไทย แมแตนักประวัตศิ าสตรอยางเดวิด เค.ไวแอตท(David K. Wyatt) ก็ยังเห็นวากองทัพเขาครอบงําการเมืองไทยตัง้ แตการปฏิวัติ 2475 ทําใหสถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”หมดบทบาททางการเมืองไทยไปจวบกระทั่งหลัง 2500 สถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”จึงสามารถกลับมามีบทบาททางการเมืองอีกครั้งหนึง่ 15 อยางไรก็ตาม ขาพเจา เห็นวา การใชแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”เปนแนวทางในการศึกษาการเมืองการปกครองของไทย อยางยาวนานนั้นไดสรางปญหาใหกับคําอธิบายในการเมืองการปกครองของไทยที่เห็นแตเพียง ปญหาจากบทบาทของทหารในการแทรกแซงการ เมืองเปนอุปสรรคทีส่ ําคัญที่สุดตอการสราง ประชาธิปไตย แตงานวิจยั ที่เดินตามแนวคิดดังกลาวกลับมองไมเห็นบทบาทของสถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะที่เปนตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญยิง่ ภายในการเมืองของไทย ดวย

14

David A. Wilson, Politics in Thailand,(Ithaca, New York: Cornell University Press, 1962).; Fred W. Riggs, Thailand: The Modernization of Bureaucratic Polity,(Honolulu: East-West Center, 1967). 15 David Morell and Chai-anan Samudavanija, Political Conflict in Thailand: reform, reaction, revolution,(Cambridge, Massachusetts : Oelgeschlager, Gunn & Hain, Publishers, 1981).; Likhit Dhiravegin, Thai Politics: Selected Aspects of Development and Change,(Bangkok: TRISciences Publishing House, 1985).; Suchit Bunbongkarn, “Political Institution and Processes,” in Government and Politics of Thailand, ed. Somsakdi Xuto ( Singapore: Oxford University Press, 1987), pp. 41-74.; David K. Wyatt, Thailand: A Short History,(Bangkok: Thai Watana Panich and Yale University Press, 1984).


10

ตอมา เบนเนดิกท แอนเดอรสัน(Benedict R.O’G Anderson)ไดเคยตั้งขอสังเกตถึง ความไมเพียงพอของการศึกษาเรื่องสถาบันกษัตริยซงึ่ มีบทบาททางการเมืองอยางมากใน ศตวรรษที่ 2016 แตการศึกษาในหัวขอดังกลาวยังคงคอนขางตกอยูในความเงียบ แมในเวลา ตอมาจะมีการศึกษาเรื่องสถาบันกษัตริย เชน เบนจามิน บัทสัน (Benjamin A. Batson) และบรูส แมคฟาแลนด ล็อกฮารท(Bruce McFarland Lockhart) เปนตน แตงานทั้งสองชิ้นเปนการศึกษา ที่มองวาสถาบันกษัตริยถ ูกกระทําทางการเมืองภายหลังปฏิวัติ 2475โดยไมพิจารณาวาสถาบัน กษัตริยเปนตัวแสดงทางการเมืองทีม่ ีฐานะเปนผูกระทําทางการเมืองสําคัญหลังการปฏิวัติ 2475 ดวยเชนกัน17 ดวยเหตุที่ แนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”มองเห็นแตเพียงกองทัพเปนตัวแสดงหลักในการ เมืองไทย ทําใหแอนเดอรสันเริ่มตั้งคําถามถึงความเหมาะสมของการใชแนวคิดดังกลาวในการ อธิบายการเมืองไทย18 ตอมา ทักษ เฉลิมเตียรณไดบุกเบิกการศึกษาสถาบันกษัตริยก ับการเมือง ชิ้นสําคัญขึ้น ซึ่งเขาสรุปวาบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยเริ่มตนภายหลังการปฏิวัติ 2500 ภายใตระบอบเผด็จการทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต แตดวยเหตุที่ เขาไดใชการ รัฐประหาร 2500 เปนจุดเริ่มตนบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยทําใหงานของเขาปราศ จากความเคลือ่ นไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ภายหลังการปฏิวัติ 2475 ทั้งที่เปน ชวงเวลาทีน่ าสนใจ19 อยางไรก็ตาม ภายหลังจากงานของเขาแลว การศึกษาเรื่องดังกลาวยังคงมี ความคืบหนานอย จนอีกเกือบสองทศวรรษตอมา เควิน ฮิววิสนั (Kevin Hewison) ไดชี้ใหเห็นถึง ปญหาจากแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย” ที่ครอบงําการศึกษาการเมืองการปกครองของไทยอยาง ยาวนานนั้นมีผลทําใหบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะตัวแสดงทาง 16

Benedict R.O’G Anderson, “The Studies of The Thai State: The State of Thai Studies,” in The Study of Thailand, ed. Elizier B.Ayal (Athens, OH: Ohio University Center for International Studies, Southeast Asia Program, 1979), p. 193. 17 Benjamin A. Batson, The End of the Absolute Monarchy in Siam,(Singapore: Oxford University Press, 1984).; Bruce McFarland Lockhart, “Monarchy in Siam and Vietnam,1925-1946,” (Doctoral dissertation, Cornell University, 1990). 18 Anderson, “The Studies of The Thai State: The State of Thai Studies,” p. 216. 19 Thak Chaloemtiarana, Thailand: The Politics of Despotic Paternalism (Bangkok: Thammasat University Press, 1979). โปรดดูการศึกษาที่ใหภาพความเคลื่อนไหวที่สําเร็จและลมเหลวของ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ในการเมืองไทยชวง 2475-2500 ใน Nattapoll Chaiching, “The Monarchy and the Royalist Movement in Thai Politics, 1932-1957,” in Saying the Unsayable: Monarchy and Democracy in Thailand, eds. Soren Ivarsson and Lotte Isager (Copenhagen: NIAS Press), forthcoming 2010


11

การเมืองไดหายไปจากการวิเคราะหการเมืองไทย เแมการปฏิวัติ 2475 ไดโคนระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยลงแตก็ไมไดหมายความวา สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”จะพาย แพ แตพวกเขายังคงมีพลวัตรการที่สําคัญอยูภายในการเมืองตอไป20 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ภายใต แนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”นัน้ ทําใหคําถามถึงบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”ภายหลังการปฏิวตั ิ 2475 ไดหายไป สําหรับ ปญหาคําอธิบายในการศึกษาความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดินิยมนัน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในแนวการศึกษาแบบดั้งเดิม การศึกษาสวนใหญยงั คงดํารงคําอธิบายหลักที่ สําคัญ คือ การยอมรับคําอธิบายที่วา ชนชัน้ นําไทยในอดีตมีพระปรีชาสามารถ มีความเสียสละที่ สูงสงและมีความสุขุมคัมภีรภาพในการวิเทโศบายเพื่อรักษาเอกราชของไทยดวยนโยบายโอน ออนผอนตาม เชน กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ(พระองคเจาวรรณไวทยากร) นิออน สนิทวงศ รอง ศยามานนท ม.ล.มานิต ชุมสาย น้ําเงิน บุญเปยม แถมสุข นุมนนท และเพ็ญศรี ดุก เปนตน21 ไมแตเพียงงานนิพนธเกีย่ วกับความสัมพันธระหวางประเทศของไทยเทานั้นที่ยอมรับคําอธิบาย 20

Kevin Hewison, “The Monarchy and democratization”,Political Change in Thailand: Democracy and Paticipation,” in Political Change in Thailand: Democracy and Paticipation, ed.,Kewin Hewison (London: Routledge, 1997), pp. 58-74. 21 พระองคเจาวรรณไวทยากร, “วิเทโศบายของสยาม,”พิมพครั้งแรกในหนังสือพิมพประชาชาติ วันที่ 3 ตุลาคม 2475, ใน อนาคตแหงสยาม,(พระนคร: บรรณกิจ, 2489),หนา 15-75.; พระองคเจา วรรณไวทยากร, ประวัติการทูตไทย,(พระนคร: อุดม, 2486). งานนิพนธเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศ การวิเทโศบาย และประวัติการทูตของพระองคเจาวรรณไวทยากร ถือเปนแบบการอธิบายสําคัญที่พระราชวงศชั้นสูงทรง พยายามสรางคําอธิบายการวิเทโศบายของชนชั้นนําในระบอบสมบูรณายาสิทธิราชยเขาสูระบอบประชาธิป ไตย ทั้งนี้ ในงานชิ้นหนึ่งทรงไดยกความคิดของ เอ็ดมันด เบอรก จากปาฐกถาเรื่อง สุนทรพจนวาดวยการ ประนอม (Speech on Conciliation)ที่เบอรกอธิบายการปฏิวัติในอเมริกาวาเปนการประนอม(conciliation) จากนั้นก็ทรงพยายามอธิบายเทียบเคียงการปฏิวัติ 2475 เขากับการวิเทโศบายที่โอนออนผอนตามของพระ จอมเกลาฯและพระจุลจอมเกลาฯที่พระองควรรณฯทรงเห็นวาเปนการประนอมเพื่อเปนแนวทางที่คณะราษฎร ยึดถือตอไป (โปรดดู พระองคเจาวรรณไวทยากร, “คุณานุสรณพระปยะมหาราช,” ใน ชุมนุมพระนิพนธ,(พระ นคร: ประชาชาติ, 2483),หนา 186-193. จากนั้น แนวทางคําอธิบายแบบโอนออนผอนตามทํานองดังกลาวก็ ถูกรับตอมาโดยนักวิชาการในชวงตอๆมา เชน Neon Snidvongs, “The development of Siam's relations with Britain and France in the reign of King Mongkut, 1851-1868”.; Rong Syamananda, An Outline f Thai History.; M.L.Manich Jumsai, History of Anglo-Thai relations.; Namngern Boonpiam, “AngloThai relations, 1825-1855: a study in changing of foreign policies”.; แถมสุข นุมนนท, “การเจรจา ทางการทูตระหวางไทยกับอังกฤษ ค.ศ.1900-1909”.; แถมสุข นุมนนท, การทูตสมัยรัตนโกสินทร,หนา 2.; เพ็ญ ศรี ดุก, การตาง ประเทศกับเอกราชและอํานาจอธิปไตยของไทย (ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ถึงสิ้นสมัยรัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงคราม). เปนตน


12

ความปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทย แตในงานของนักวิชาการตางประเทศไดรับคําอธิบาย ดังกลาวเขามาเชนกันนําไปสูการอางอิงระหวางกันไปมาในสาขาประวัติศาสตร การเมืองการ ปกครอง ความ สัมพันธระหวางประเทศของไทยเชนเดียวกันจนกลายเปนความรูทวั่ ไปที่แทบไมมี ใครตั้งขอสังสัย เชน ดี. จี. อี. ฮอลล(D.G.E. Hall) โดนัล อี. นูชเตอรลนิ (Donald E. Nuecterlein) เดวิด เอ.วิลสัน และเดวิด เค. ไวแอตท แมกระทัง่ งานของ เฟรด ดับลู.ริกส เปนตน 22 ทั้งนี้ งานวิชาการของนักวิชาการกลุม ขางตนไดกลายเปนแมแบบของการสรางแนว คําอธิบายในการวิจัยและการเรียนการสอนของนักวิชาการและนิสิตนักศึกษาไทย โดยเฉพาะ อยางยิ่ง เมื่อนักวิชาการจากไทยที่รับทุนการศึกษาจากสหรัฐฯและรัฐบาลไทยเดินทางไปศึกษา ที่สหรัฐฯภายใตบริบทของสงครามเย็นในชวงทศวรรษที่ 2510-2520 ภายใตการกํากับดูแลของ คณาจารยที่เชีย่ วชาญเรื่องไทยและอางอิงงานวิชาการของนักวิชาการกลุมขางตนยอมมีผลตอ การสรางคําอธิบายความสัมพันธไทยและสหรัฐฯในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึง 2500 ที่ สวนใหญมุงอธิบายที่ปฏิสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯที่เนนมิติความมั่นคงเพื่อตอตานภัย คอมมิวนิสต และสรางคําอธิบายยอนถอยหลังลงไปวาทัง้ ไทยและสหรัฐฯมีความสัมพันธระหวาง กันอันตอเนื่องยาวนานนับตัง้ แตพระจอมเกลาฯ จากนัน้ ทั้งคูก็ไดรวมมือกันอยางเทาเทียมภายใต ความเห็นพองตองกันถึงภัยคุกคามจากคอมมิวนิสตเพือ่ รักษาเอกราชเปนภาพที่สวยงามราบรืน่ ยิ่ง ตลอดจนการศึกษาของนักวิชาการอเมริกันที่ผลิตผลงานในชวงเวลาดังกลาว เชน วิวัฒน มุง การดี ชาตรี ฤทธารมย เดวิด เอ.วิลสัน วนิดา ตรงยังกูล อภิชาติ ชินวรรโณ อดุลยศักดิ์ สุนทรโร จน และอาร. เซิล แรนดอฟ(R. Sean Randolph)เปนตน23 เปนตน และเมื่อคําอธิบายดังกลาวที่ 22

D. G. E. Hall, A History of South East Asia,(London: Macmillan, 1968).; Donald E. Nuecterlein, Thailand and The Struggle for Southeast Asia,(New York: Cornell, University Press, 1967); Wilson, Politics in Thailand.; Wyatt, Thailand: A Short History.; Fred W. Riggs, Thailand: The Modernization of A Bureaucratic Polity,(Honolulu: East-West Center, 1967). แมงานของ เฟรด ดับบลู. ริกสจะเนนการสรางศึกษาถึงบท บาทของกองทัพในการเมืองไทย แตเขาไดใหภาพเปรียบเทียบถึงวิเทโศบาย ของชนชั้นนําระหวางพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯกับพระเจามินดง เมื่อจักวรรดินิยมกดดันแตชนชั้นนํา สยามมีปรีชาสามารถในการโอนออนผอนตามเพื่อรักษาเอกราชของไทย จากนั้นชนชั้นนําไทยก็เริ่มตนสราง ความเปนสมัยใหมใหเกิดขึ้น โปรดดูใน “Chapter 1 The Modernization of Siam and Burma,” pp. 15-64. ทั้งนี้ ริกส ใชงานของ ฮอลล(Hall) และ มอฟแฟท(Moffat) เปนแหลงขอมูล โดยฮอลลและมอฟแฟท ไดอางอิง คําอธิบายพระปรีชาสามารถของชนชั้นนําไทยมาจาก“กลุมรอยัลลิสต” โปรดดูเชิงอรรถและบรรณานุกรมของ ตําราเหลานี้ 23 Chatri Ritharom, “The Making of the Thai-U.S. Military Alliance and the SEATO Treaty of 1954: A study in Foreign Involvement,” (Doctorial dissertation, American University, 1969).;David A. Wilson, The United States and the Future of Thailand, (New York: Praeger Publishers, 1970).; Wiwat


13

เกิดขึ้นภายใตบริบทของการเมืองระหวางประเทศในชวงสงครามเย็นตลอดจนการรับอิทธิพลของ คําอธิบายที่มมี ากอนหนา ดังนัน้ คําอธิบายความสัมพันร ะหวางไทยกับสหรัฐฯทีเ่ กิดขึ้นในชวงนี้ จึงมีสวนในการรักษาและผลิตซ้ําคําอธิบายที่แสดงใหเห็นถึงพระปรีชาของชนชัน้ นําไทย แต ขาพเจาเห็นวาคําอธิบายดังกลาวเปนเพียงการกลาวถึงความจริงเพียงบางสวนเกีย่ วกับการ วิเทโศบายของชนชัน้ นําไทยเทานัน้ แตมีสว นอําพรางผลประโยชนที่ชนชั้นนําไทยเหลานัน้ ไดรับ จากการเขามีปฏิสัมพันธกับจักวรรดินิยมและปญหาความขัดแยงทางการเมืองภายในของไทย อยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจนกระทั่งถึงทศวรรษ ที่ 2520 จากการที่ไทยเขาไปมีปฏิสัมพันธกบั สหรัฐฯ ในขณะที่ ปจจุบันมีกระแสการทาทายคําอธิบายความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดิ นิยมที่อธิบายที่เนนความปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทยจากนักวิชาการประวัติศาสตรและ ความสัมพันธระหวางประเทศแลวก็ตาม เชน การศึกษาของธงชัย วินิจจะกูล พบวา มีคําอธิบาย ของราชสํานักหรือคําอธิบายของ“กลุมรอยัลลิสต” ในเรื่องการเสียดินแดนทีท่ รงพลังอยางมากใน การสรางคําอธิบายในประวัติศาสตรไทยทีเ่ ขาเรียกวา คําอธิบายประวัติศาสตรแบบ“ราชา ชาตินิยม”24 และการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางไทยกับจักวรรดินิยมในยุค“จักรวรรดิอังกฤษ” ของ กุลลดา เกษบุญชู มี้ด 25 ทัง้ สองคนไดนําเสนอคําอธิบายใหมทโี่ ตแยงคําอธิบายหลักของ ความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดินิยม Mungkandi, “In Search of Security: Thailand and The United States, 1945-1950,” (Doctoral dissertation, Harvard University, 1975).; Vanida Trongyounggoon Tuttle, “Thai-American Relations,1950-1954,” (Doctoral dissertation, Washington States University, 1982).; Apichat Chinwanno, “Thailand’s Search for Protection: The Making of the Alliance with the United States,1947-1954,” (Doctoral dissertation, Oxford University, 1985).; Adulyasak Soonthornrojana , “The Rise of United States-Thai Relations,1945-1954,” (Doctoral dissertation, University of Akron ,1986).; R. Sean Randolph , The United State and Thailand : Alliance Dynamics,1950-1985 (Berkeley : Institution of East Asian Studies University of California,1986) ยกเวนงานของ Surachart Bamrungsuk ,United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947 – 1977 ( Bangkok : Duang Kamol,1988). 24 Thongchai Winichakul, Siam mapped: a history of the geo-body of a nation,(Chiang Mai: Silkworm books, 1995).; ธงชัย วินิจจะกูล, “ประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม: จากยุคอาณานิคมอําพรางสู ราชาชาตินิยมใหม หรือ ลัทธิเสด็จพอของกระฎมพีไทยในปจจุบัน,” ศิลปวัฒนธรรม 23 (พฤศจิกายน 2544): 56-65. 25 Kullada Kesboonchoo Mead, The rise and decline of Thai absolutism,(London: The School of Oriental and African Studies, University of London, 2000).


14

กุลลดา เกษบุญชู มี้ดไดทาทายคําอธิบายความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดินยิ มวา เมื่ออํานาจของจักรวรรดินิยมแผมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยในปลายพุทธศตวรรษที่ 23 ชนชัน้ นําในราชสํานักหรือกลุมของพระจอมเกลาฯนัน้ มิไดขัดขืนอํานาจของจักรวรรดิ แตชน ชั้นนํากลุมนี้กลับทําตนเปนตัวแสดงที่เชื้อเชิญอํานาจของจักรวรรดินยิ มเขาสูไทยเพื่อเปน เครื่องมือในการทําลายอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจของชนชั้นนําที่เปนปรปกษตอกลุม ตนเองลง เมื่ออํานาจจักรวรรดินิยมเขามาในไทยไดจึงทําการเปลีย่ นแปลงและครอบงํากิจกรรม ทางเศรษฐกิจเพื่อตอบสนองตอการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในยุค ”จักวรรดินิยมอังกฤษ”เรืองอํานาจโดยกลุม ของพระจอมเกลาฯก็ไดประโยชนทางเศรษฐกิจจาก จักรวรรดินิยมเชนกัน สวน ธงชัย วินจิ จะกูลไดเสนอคําอธิบายทีท่ าทายตอเนื่องวา ภายหลังที่ชนชัน้ นําไทยได ชักจูงใหอํานาจจักรวรรดิเขาสูไทยแลว ตอมา เกิดความขัดแยงระหวางไทยกับจักรวรรดินิยมใน เรื่องการแขงขันกันขยายดินแดนแตปรากฎวาชนชั้นนําของไทยพายแพ สงผลใหชนชั้นนําของราช สํานัก เชน กรมพระยาดํารงราชนุภาพไดทรงงานนิพนธทางประวัติศาสตรไทยขึ้นหลายฉบับ ดวย ทรงพยายามนําความรูสึกปวดราวรวมสมัยแตตองดํารง“ราชานุภาพ”ตอไปดวยการทรงสรางคํา อธิบายรวมสมัยทีย่ อนถอยหลังลงไปถึงการรบระหวางไทยกับพมา เพือ่ เยียวยาความรูสึก ตระหนกตกใจของชนชัน้ นําขณะนั้นและดํารง“ราชานุภาพ”ตอไปดวยคําอธิบายทํานองวา ชนชั้น นําไทยมีพระปรีชาสามารถในวิเทโศบายจึงจําเปนตองโอนออนผอนตามและเสียสละดินแดนของ บางสวนเพื่อรักษาเอกราชของไทยไว จากนั้น ในสมัยตอๆมา นักวิชาการไทยโดยเฉพาะอยางยิง่ นักวิชาการ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ไดรับเอาคําอธิบายดังกลาวเขามาเปนแบบแผนของงานนิพนธทาง ประวัติศาสตร การเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศอยางตอเนื่อง ทัง้ นี้ ขอ เสนอของกุลลดา เกษบุญชู มี้ดและธงชัย วินิจจะกุลมีความเห็นสอดคลองกันวาไทยในชวงเวลา แหงการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยตกอยูภายใตสภาวะ“กึ่งอาณานิคม”ของจักรวรรดิ นิยม26 จากที่ไดพรรณนามาขางตน จะเห็นไดวา ปญหาของการสรางคําอธิบายของการเมือง การปกครองของไทยที่ผานมารวมทั้ง การศึกษาการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 นั้นตกอยูภายใตคําอธิบายแบบ“อํามาตยธิปไตย”ที่เห็นวา กองทัพเปน ตัวแสดงเดียวในการสรางปญหาใหกับการเมืองของไทย โดยปราศจากการพิจารณาสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”วามีบทบาททางการเมืองอยางไร อีกทัง้ ปญหาของคําอธิบายของ 26

Thongchai Winichakul, “Siam’s Colonial Conditions and the Birth of Thai History ” Paper presented to the Conference, “Unraveling the Myths of Southeast Asia Historiography”(24-26 November 2006) in honor of Professor Barend Jan Terwiel.


15

ความสัมพันธระหวางประเทศแบบดั้งเดิมที่ศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศในระดับรัฐตอรัฐ ครอบงําการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศของไทยมีสวนทําใหการศึกษาในชวงตอมามิให ความสําคัญกับบทบาทของสหรัฐฯทีม่ ีตอการเมืองไทยมากเทาที่ควร ตลอดจนมีสวนในการอํา พรางผลประโยชนที่ชนชั้นนําไทยขณะนั้นไดรับจากการเขามีปฏิสัมพันธกับสหรัฐฯดวยเชนกัน ดังนัน้ ดวยปญหาที่คําอธิบายของการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของ ไทยที่ผา นมาจึงเปนเพียงภาพความจริงสวนหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ ของการเมืองไทยภายใตปฏิสัมพันธ ระหวางไทยกับสหรัฐฯเทานัน้ ตอมา แอนเดอรสันไดเคยเรียกรองใหมีการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯ ในชวง“สมัยอเมริกัน“(American Era)ขึ้นมาเฉพาะ27 เนื่องจาก เขาเห็นวาสหรัฐฯไดเริ่มเขามา ครอบงําการเมืองไทยตัง้ แตหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยผานความชวยเหลือทางการทหารใหแก กองทัพและตํารวจของไทยเพื่อตอตานคอมมิวนิสตในชวงสงครามเย็นอันมีผลลึกซึง้ ทีท่ ําให การเมือง เศรษฐกิจและสังคมของไทยมีการเปลี่ยนแปลงอยางมหาศาล ตอมากุลลดา เกษบุญชู มี้ดไดเรียกรองใหมกี ารทบทวนและวิพากษการศึกษาประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางไทย และสหรัฐฯใหม แทนที่จะพิจารณาแตเพียงความสัมพันธเรื่องนโยบายความมัน่ คงในระดับรัฐ แต ควรพิจารณาพลวัตรและการพัฒนาการเมืองของไทยในบริบทของสมัยอเมริกาดวย โดยแนวทาง การศึกษานี้ไดเสนอคําอธิบายใหมวา ปฏิสัมพันธระหวางสหรัฐฯในฐานะที่เปนศูนยกลางระบบ ทุนนิยมกับไทยในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม รัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต และรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจรนั้นเปนปฏิสัมพันธที่ไมเทาเทียมกัน โดยสหรัฐฯไดจัดวางให ไทยมีความสําคัญในฐานะเปนฐานรองรับการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและเปน ประเทศยุทธศาสตรปฏิบัติการจิตวิทยาในชวงสงครามเย็น จากนัน้ สหรัฐฯไดผลักดันแนวคิดการ พัฒนาเขาสูไทยเพื่อเปลี่ยนแปลงไทยใหเปนไปตามผลประโยชนของสหรัฐฯซึ่งบทบาทของสหรัฐฯ ที่ไดเกิดขึ้นกอใหเกิดการเปลีย่ นแปลงทางการเมืองภายในของไทยอยางสําคัญ28

27

Benedict R.O’G Anderson, “Introduction,” in In The Mirror, eds. Benedict R.O’G Anderson and Ruchira Mendiones (Bangkok: Duang Kamol, 1985), p. 19. 28 Kullada Kesboonchoo Mead, “A revisionist of Thai-U.S. relation,” Asian Review 16 (2003): 45-67.;กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก,” (กองทุนปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550).; กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, ความขัดแยง ทางการเมืองไทย ขามไปใหพนพลวัตภายใน,(กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา, 2552) และโปรดดู กระแสการโตแยง ในการศึกษาประวัติศาสตรนิพนธสงครามเย็นใน Soravis Jayanama, “Rethinking the Cold War and the American empire,” Asian Review 16 (2003): 1-43.


16

ทั้งนี้ การศึกษาการเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนของบทบาท ของสหรัฐฯที่เขามามีปฏิสัมพันธกับไทยชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.24912500 นัน้ สามารถแบงการศึกษาไดเปน 3 กลุม คือ การศึกษากลุม แรกเนนศึกษาเฉพาะการ เมืองไทยภายในชวงเวลาดังกลาว เชน สุดา กาเดอร สุชนิ ตันติกุล สุเพ็ญ ศิริคูณ ประทีป สาย เสน สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล วิวัฒน คติธรรมนิตย นิก อนูอา นิก มาหมูด(Nik Anuar Nik Mahmud) และสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ29 เปนตน แมงานกลุมนี้เนนการศึกษาการเมือง ภายในชวงเวลาดังกลาวที่ใหภาพการเมืองที่มีความละเอียดในเหตุการณหรือความเคลื่อนไหว ของกลุมการเมืองก็ตาม แตยังไมใหความสําคัญกับบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทยและ ปฏิสัมพันธของกลุมการเมืองตางๆกับสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิง่ การไมนาํ บทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”มาเปนตัวแสดงในการศึกษาการ เมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวอยางเพียงพอ กลุมที่สองไดเนนศึกษาความสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาว แต การศึกษาในกลุมนี้ตกอยูภายใตคําอธิบาย 2 แบบ คือ คําอธิบายแบบแรก เปนคําอธิบายของ อุดม ศรีสุวรรณที่เกิดขึ้นในป 2493 30 เขาเสนอคําอธิบายวา ความสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯ ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกันมีผลทําใหไทยมีลักษณะเปน “กึ่งเมืองขึ้น” อยางไรก็ตาม ขอเสนอจากคําอธิบายดังกลาวยังขาดการคนควาเพื่อพิสูจนขอเสนอ ดัง กลาวโดยเฉพาะอยางยิง่ ในชวงสมัยรัฐบาลของพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2491-2500 วามี ขอเท็จจริงเชิงประจักษเชนไร สําหรับคําอธิบายแบบที่สองเปนการศึกษาทีม่ ุงความสัมพันธ ระหวางประเทศที่เนนมิติความมัน่ คงเพื่อตอตานภัยคอมมิวนิสตซึ่งเปนการศึกษาความสัมพันธ ระหวางรัฐตอรัฐฯระหวางไทยกับสหรัฐฯในชวงสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามทีเ่ นนแตเพียงมิติ ทางการทหาร การตอสูกับภัยที่มาคุกคามเอกราชเปนสําคัญ ซึ่งเปนการศึกษาทีม่ ีฐานคติวา 29

สุดา กาเดอร, “กบฎแมนฮัตตัน,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516).; สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองรัฐประหาร 2490,” (วิทยานิพนธ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517).; ประทีป สายเสน, กบฎวังหลวงกับ สถานะของปรีดี พนมยงค. (กรุงเทพฯ: อักษรสาสน, 2532).; สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, ขบวนการเสรีไทยกับความ ขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492. (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา, 2535).; Somsak Jeamteerasakul, “The Communist Movement in Thailand,” (Doctoral Dissertaion Monash University, 1993).; วิวัฒน คติธรรมนิตย, กบฎสันติภาพ. (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพคบไฟ, 2539).; Nik Anuar Nik Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup. (Selangor Darul Ehasan: Center for Educational Technology Universiti Kebangsaan Malaysia, 1998).; สุธาชัย ยิ้ม ประเสริฐ. แผนชิงชาติไทย. 30 “อรัญญ พรหมชมพู” (อุดม ศรีสุวรรณ), ไทยกึ่งเมืองขึ้น . (พระนคร : โรงพิมพอุทัย, 2493).


17

ความสัมพันธระหวงไทยกับสหรัฐฯวางอยูบ นความเทาเทียมกัน คําอธิบายดังกลาวนี้เฟองฟูมาก ในชวงทศวรรษ 2510-2530 เชน ชาตรี ฤทธารมย เดวิด เอ. วิลสัน วิวัฒน มุงการดี วนิดา ตรง ยังกูล ทูตเติล อภิชาติ ชินวรรโณ อดุลยศักดิ์ สุนทรโรจน และ อาร. เซิล แรนดอฟ 31 เปนตน คําอธิบายจากงานเขียนเหลานี้กอใหเกิดชุดของคําอธิบายความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯทีม่ ี แนวโนมมองขามบทบาทของสหรัฐฯที่เขาแทรกแซงการเมืองไทยดวยการใหการสนับสนุนกลุม การเมืองตางๆและปญหาทีเ่ กิดขึ้นจากปฏิสัมพันธระหวางกันในชวงเวลาดังกลาว สวนการศึกษาในกลุม ที่สามนั้นมีการพยายามนําบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทย เขามาพิจารณา เชน แฟรงค ซี. ดารลิ่ง(Frank C. Darling )ศึกษาความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯ ในทางการเมืองและการทหาร แตดวยเหตุที่เขาทํางานเปนนักวิจยั ใหกับซีไอเอ(The U.S. Central Intelligence Agency: CIA)มีผลทําใหความรูที่ไดจากงานของเขามีแตเพียงภาพความชวยเหลือ ตางๆของสหรัฐฯในทางบวกที่มีตอไทย โดยเขาสรุปวา ปญหาการเมืองไทยขณะนัน้ เกิดขึ้นจาก ความขัดแยงทางการเมืองภายในของไทยระหวางกลุมทหาร กลุมตํารวจและรัฐบาลที่ชวงชิง อํานาจกันจนกระทัง่ เขาเรียกการเมืองในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามวา “การเมืองสาม เสา” (The Triumvirate)โดยปราศจากการนําบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ใน ฐานะตัวแสดงทางการเมืองเขามาพิจารณา และโดยเฉพาะอยางยิง่ การปราศจากการนําบทบาท ของสหรัฐฯที่แทรกแซงการเมืองไทยเขามาพิจารณาเปนมูลเหตุของปญหาการเมืองของไทย ขณะนั้น32 แมกระทั่ง ในงานศึกษาชิน้ ลาสุดที่ทาํ การศึกษาความสัมพันธไทยและสหรัฐฯในสมัย รัฐบาลจอมพล ป. ในชวงเวลาเดียวกันของแดเนี่ยล มารก ไฟนแมน(Daniel Mark Fineman)ก็ ยังคงใหนา้ํ หนักกับกลุมทหารเปนตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญตอไปนั้นยิ่งเปนการตอกย้ํา ความคิด“อํามาตยาธิปไตย” แมวา เขาจะไดศึกษาบริบทการเมืองระหวางประเทศในสมัย อเมริกันเรืองอํานาจทีม่ ีผลกระทบตอการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. ก็ตาม แตดวยเหตุที่ เขาขยายชวงเวลาของการศึกษาตอจากทักษ เฉลิมเตียรณที่เคยศึกษาความสัมพันธระหวาง 31

Chatri Ritharom, “The Making of the Thai-U.S. Military Alliance and the SEATO Treaty of 1954: A study in Foreign Involvement ”. ; Wilson, The United States and the Future of Thailand.; Wiwat Mungkandi, “In Search of Security: Thailand and The United States, 1945-1950”. ; Vanida Trongyounggoon Tuttle, “Thai-American Relations,1950-1954”. ; Apichat Chinwanno, “Thailand’s Search for Protection: The Making of the Alliance with the United States,1947-1954”.; Adulyasak Soonthornrojana, “The Rise of United States-Thai Relations, 1945-1954”. ; R. Sean Randolph , The United State and Thailand : Alliance Dynamics, 1950-1985. ยกเวนงานของ Surachart Bamrungsuk , United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947 – 1977. 32 Frank C. Darling, Thailand and the United States,(Washington, D.C.: Public Affaris Press, 1965).


18

กองทัพในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกบั สถาบันกษัตริยในการเมืองไทยหลังการรัฐประหาร 2500 ขึ้นไปอีกจนถึงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกทั้ง เขายอมรับขอสรุป ของทักษทวี่ า สถาบันกษัตริยเริ่มมีบทบาททางการเมืองภายหลังการรัฐประหาร 2500 ทําให การศึกษาของเขาละเลยตัวแสดงทางการเมืองที่สาํ คัญยิง่ คือ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัล ลิสต”ในการเมืองไทยในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. ดวยเชนกัน33 ขาพเจาเห็นวา การศึกษาของทักษ เฉลิมเตียรณและแดเนี่ยล มารก ไฟนแมน มีปญ  หา ในการละเลยตัวแสดงทางการเมืองภายในและบทบาทของสหรัฐฯไป กลาวคือ การศึกษาของ ทักษละเลยถึงบทบาทของ สหรัฐฯกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งเปนตัวแสดงทาง การเมืองที่สาํ คัญในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เนื่องจาก ทักษสรุปวา สถาบันกษัตริยม ีบทบาททางการเมืองภายหลังการรัฐประหาร 2500 อีกทัง้ ไมมีการ นําบทบาทของสหรัฐฯที่เขามาแทรกแซงการเมืองไทยอยางตอเนื่องในชวงรัฐบาลจอมพล ป. โดยเฉพาะอยางยิง่ การกอตัวของความรวมมือแบบ“ไตรภาคี”(The Tripartite)* ระหวางสหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพที่นาํ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดรวมมือกันในการรัฐประหารโคนลม รัฐบาลจอมพล ป.ในป 2500 ในขณะทีก่ ารศึกษาของไฟนแมนนั้น แมจะเขาไดนําบทบาทของ สหรัฐฯทีม่ ีตอการเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป.เขามาพิจารณาก็ตาม แตการศึกษาของเขาก็ ยังคงขาดการนําบทบาทและความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” เขามา พิจารณาในการศึกษาสงผลใหภาพการเมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวจากการนําเสนอของเขาได ละเลยตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญไปอยางนาเสียดาย ดวยเหตุที่ การศึกษาการเมืองไทยในชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม พ.ศ. 2491-2500 ที่ผานมามุง ศึกษาเนนแตเพียงการเมืองภายในภายใตแนวคิด “อํามาตยธิปไตย”เปน สําคัญโดยปราศจากการนําบทบาทของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะตัวแสดง 33

โปรดดู Thak, Thailand: The Politics of Despotic Paternalism; Daniel Mark Fineman, A Special Relationship: The United State and Military Government in Thailand 1947-1958,(Honolulu: University of Hawaii Press, 1997). *

ขาพเจาไมเห็นดวยกับคําวา “การเมืองสามเสา”( The Triumvirate) ของแฟรงค ซี. ดารลิ่ง(Frank C. Darling, Thailand and the United States) เนื่องจาก เขาใชคําดังกลาวในความหมายของกลุมการเมือง ภายในของไทย 3 กลุมในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม คือ กลุมจอมพล ป. กลุมพล ต.อ.เผา ศรี ยานนท และกลุมจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ดวยเหตุที่ คําดังกลาวเนนการเมืองภายในทําใหบทบาทของสหรัฐฯ ในฐานะอํานาจภายนอก และสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งเปนตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญอีกตัว หนึ่ง หายไปจากการศึกษาการเมืองในชวงดังกลาว นอกจากนี้ คํานี้ถูกใชกันอยางแพรหลายในงานวิจัยที่ศึกษา การเมืองไทยในสมัยดังกลาวจึงมีสวนทําใหสหรัฐฯ และสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” หายไปจากการ รับรูในฐานะตัวแสดงทางการเมืองดวยเชนกัน


19

สําคัญทางการเมือง อีกทั้ง งานวิจยั ที่ผา นมีแนวโนมไมใหความสําคัญกับบทบาทของสหรัฐฯที่มี ตอการเมืองไทยและปฏิสัมพันธของกลุมการเมืองตางๆกับสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาวอยาง เพียงพอ ในขณะที่ การศึกษาความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯในชวงสมัยดังกลาวมุง เนนความ สัมพันธในลักษณะรัฐตอรัฐที่วางอยูบนความสัมพันธทเี่ สมอภาคในมิติการตอสูกับภัย คอมมิวนิสตทจ่ี ะมาคุกคามเอกราช โดยมิไดใหความสําคัญกับความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกัน ระหวางสหรัฐฯในฐานะศูนยกลางของทุนนิยมโลกซึง่ มีสว นสําคัญในการจัดระเบียบโลกภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 กับไทย ดังนัน้ จะเห็นไดวา ปญหาสําคัญของการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯในชวง สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 จากการสํารวจวรรณกรรมขางตนนัน้ คือ การ หายไปของบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทยและบทบาทของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุม รอยัลลิสต” ในการเมืองไทยภายใตบริบทระเบียบโลกของสหรัฐฯ 1.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา กรอบแนวคิดในการศึกษาครัง้ นี้ เปนการใชแนวคิดเรื่องระเบียบโลกของสหรัฐฯ ซึ่ง แนวคิดดังกลาวเห็นวา ในชวงเวลาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ สหรัฐฯมีฐานะศูนยกลาง ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยสหรัฐฯมีความตองการสงเสริมการขยายตัวของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมดวยการเขาไปมีสวนในจัดระเบียบโลกดวยการสรางกติกาทางการคาและ การเงินที่ทาํ ใหเกิดการยอมรับสกุลเงินดอลลารเปนสกุลเงินหลักและการผลักดันใหระบบเศรษฐ กิจของประเทศตางๆเปดรับการเขาไปลงทุนของสหรัฐฯ โดยสหรัฐฯไดพยายามเขาไปฟนฟูภูม-ิ ภาคยุโรปตะวันตกและเอเชียโดยเฉพาะอยางยิ่งญี่ปนุ ดวยเหตุที่ สหรัฐฯตองการทําใหญี่ปนุ มี การฟน ตัวทางเศรษฐกิจจึงจําเปนตองดึงเอาภูมิภาคที่เปนอาณาบริเวณรอบนอกของเอเชีย โดย เฉพาะอยางเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งรวมทั้งไทยใหกลายเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติและ ตลาดรองรับสินคาเพื่อใหเขามาเปนสวนหนึ่งของระเบียบโลกของสหรัฐฯ ชวงเวลาดังกลาวจึงเปน ครั้งแรกที่สหรัฐฯใหความสําคัญกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตรวมทัง้ ไทยภายใตโครงการขอที่สี่ (Point Four)ของสหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีแฮรี่ เอส. ทรูแมน(Harry S. Truman) ตอมา สหรัฐฯเห็นวา ความเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสตและขบวนการชาตินิยมที่เกิดขึน้ อยางมาก ในประเทศยากจนทั่วโลกซึ่งรวมถึงจีนและอินโดจีนเปนอุปสรรคตอการขยายตัวของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมตามทีส่ หรัฐฯตองการ สหรัฐฯจึงไดเริ่มใหความสําคัญกับมิติเรือ่ งความ มั่นคงดวยความชวยเหลือทางการทหารเพื่อตอ ตานการขยายตัวของคอมมิวนิสต โดยสหรัฐฯได ใหความชวยเหลือทางการทหารตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตรวมทัง้ ไทยมากยิ่งขึน้ โดยเฉพาะ


20

อยางยิ่งในสมัยประธานาธิบดี ดไวต ดี. ไอเซนฮาวร (Dwight D. Eisenhower)ที่มีตอไทยซึ่งไทย ถูกกําหนดใหกลายเปนศูนยกลางของปฏิบัติการทางการทหารเพื่อตอตานคอมมิวนิสต ตอมา สหรัฐฯไดเรียกรองใหไทยยอมรับการเปดเสรีการลงทุนและแนวคิดในการพัฒนาเพือ่ การพัฒนา เศรษฐกิจควบคูไปกับการตอตานคอมมิวนิสต 34 ในขณะที่ สหรัฐฯไดเริ่มตนจัดระเบียบโลกตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนนั้ เปน ชวงเวลาที่ไทยอยูในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึง่ มีการตอสูทางการเมืองภายในอยางเขมขน ของหลายพวกหลายกลุมการเมือง ดังนัน้ การศึกษาการเมืองภายในของไทยในชวงเวลาดังกลาว จึงเลือกใชแนวคิดเรื่อง กลุม เปนแนวคิดในการจัดแบงกลุมการเมืองตางๆภายใตรัฐบาลภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระทั่งการลมสลายของรัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงครามในป 2500 ทั้งนี้ กลุมการเมืองในชวงเวลาดังกลาวนัน้ สามารถจําแนก กลุมการเมืองสําคัญไดดังนี้ “กลุม ปรีดี” “กลุมจอมพล ป.” และ “ ‘สถาบันกษัตริย’และ ‘กลุมรอยัลลลิสต’ ” 1.4 สมมติฐานการวิจัย นับแตหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐฯไดเขามามีบทบาทมีบทบาทสําคัญตอไทยโดยเริ่ม จากการพยายามแสวงหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจและตอมาสหรัฐฯไดเขามามีบทบาทในการ เมืองของไทยดวยการใหความสนับสนุนกลุมการเมืองภายในผานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามซึ่งมีทงั้ กลุมตํารวจ และกลุมทหาร เพื่อใหการเมืองไทยมีเสถียรภาพและรวมตอตาน คอมมิวนิสตกบั สหรัฐฯ จากนั้น สหรัฐฯไดใหการสนับสนุนสถาบันกษัตริย เพื่อทําใหการเมืองไทย มีเสถียรภาพทางการเมืองและดําเนินนโยบายตามความตองการของสหรัฐฯตอไป ดวยเหตุที่ สหรัฐฯไดเขามามีบทบาทแทรกแซงการเมืองไทยผานการใหการสนับสนุนกลุมการเมืองภายใน มากเทาไร ยิ่งเปนปจจัยชี้ขาดสําคัญที่ทาํ ใหกลุมการเมืองนัน้ ๆไดรับชัยชนะทางการเมืองเหนือ 34

กรอบแนวคิดดังกลาวสรุปจาก William Borden, The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955,(London: University of Wisconsin Press, 1984).; Jim Glassman,Thailand at the Margins.(New York: Oxford University Press, 2004).; Kullada Kesboonchoo Mead, “A revisionist of Thai-U.S. relation,”: 45-67.; กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การ เมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก,” (กองทุนปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหง ประเทศไทย, 2550).;Christian Reus-Smit, American Power and World Order.(Cambridge: Polity Press, 2004).; Jim Glassman, “The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy,” Environment and Planning 37 ( A 2005): 1527-1544.;George C. Herring, From Colony To Supper Power.(New York: Oxford University Press, 2008).


21

กลุมการเมืองอื่นมากขึ้นเทานั้น ดังนั้น บทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทยในชวงวลาดังกลาว จึงมีผลกระทบโดยตรงตอการปกครองของไทยที่ยงิ่ เปลีย่ นไปในทิศทางการปกครองแบบเผด็จ การทหารและทําใหไทยไดกลายเปนสวนหนึง่ ของระเบียบโลกของสหรัฐฯที่มีความแนบแนนยิง่ ขึ้น ในเวลาตอมา 1.5 นิยามคําศัพท ในการศึกษาครั้งนี้ ผูว ิจัยไดใชแนวคิดเรื่องกลุมเปนแนวทางในการทําความเขาใจพลวัตร ทางการเมืองของไทย โดยในชวงเวลาที่ทาํ การศึกษานัน้ มีกลุมการเมืองดํารงอยูหลายกลุม แตมี กลุมการเมืองที่สําคัญในขณะนั้นมีอยู 3 กลุม ดังนี้ “กลุมปรีดี” หมายถึง กลุมบุคคลที่ใหการสนับสนุนปรีดี พนมยงคและบุคคลแวดลอม ปรีดี ทั้งนี้ กลุม บุคคลดังกลาว ประกอบดวยสมาชิกบางสวนในคณะราษฎรทั้งที่เปนพลเรือน และ กลุมทหารในกองทัพบก เรือและตํารวจ สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรจากภาคอีสาน อดีตสมาชิกใน ขบวนการเสรีไทย นักศึกษาในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองที่เคยรวมงานในขบวน การเสรีไทยและ/หรือปญญาชนบางสวนทีม่ ีแนวคิดโนมเอียงไปในทางสังคมนิยม โดยกลุมดัง กลาวนี้ไมสนับสนุนจอมพล ป.ใหมีอํานาจ “กลุมจอมพล ป.” หมายถึง กลุมบุคคลที่ใหการสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทั้งนี้ กลุมบุคคลดังกลาว ประกอบดวย สมาชิกบางสวนในคณะราษฎร โดยเฉพาะอยางยิ่งที่สวนเปน กลุมทหารที่เคยบริหารประเทศรวมกับรัฐบาลจอมพล ป.ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 และตอมา เมื่อเกิดการรัฐประหาร 2490 “กลุมจอมพล ป.” นี้ไดกลายเปนสวนหนึ่งของคณะรัฐประหาร ซึง่ ภาย ในคณะรัฐประหารนี้ สมาชิกสวนใหญเปนกลุมทหารในกองทัพบกที่มิไดมีสวนเกี่ยวของกับ คณะราษฎร แตพวกเขายังคงใหการสนับสนุนจอมพล ป. ตอมา ไดเกิดความแตกแยกภายใน คณะรัฐประหารทําใหเกิดการแบงแยกภายในของกลุม ทหารในกองทัพบกเปนสองกลุมยอยที่ สําคัญคือ คายราชครู ซึ่งมีจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล.ต.อ.เผา ศรียานนท เปนแกนนํา กับคาย พล ท.กาจ กาจสงคราม และเมื่อคายราชครูมีชัยเหนือคายพล ท.กาจ ทําใหคายราชครู เริ่มมี อํานาจเหนือคณะรัฐประหารมากขึ้น ตอมา ไดเกิดความขัดแยงในการแยงชิงอํานาจทาง การเมืองภายในคณะรัฐประหารระหวางกลุมตํารวจทีม่ ีพล ต.อ.เผา เปนแกนนําซึ่งเปนสวนหนึง่ ของคายราชครู กับกลุมทหารบกที่มีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตหรือคายสี่เสาเทเวศนไดเกิดขึ้น จึงทํา ใหคณะรัฐประหารตอมาถูกแบงออกเปนสามกลุมสําคัญในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. คือ “กลุมจอมพล ป.” “กลุมตํารวจ”ของพล.ต.อ.เผา และ “กลุมทหาร”ของจอมพลสฤษดิ์ ซึ่งสอง


22

กลุมหลังมีความขัดแยงในการชวงชิงความเปนผูน ําทางการเมือง จนกระทั่งเกิดการลมสลายของ รัฐบาลจอมพล ป.ในป 2500 “ ‘สถาบันกษัตริย’และ‘กลุมรอยัลลิสต’ ” ในทีน่ ี้ ‘สถาบันกษัตริย’ หมายถึง กลุมบุคคล ตางๆที่อยูภายในแวดวงของราชสํานัก เชน ผูสาํ เร็จราชการแทนพระมหากษัตริย และ/หรือ อภิรัฐมนตรี และ/หรือ คณะองคมนตรี และ/หรือ พระราชวงศ ฯลฯ สวนคําวา ‘กลุมรอยัลลิสต’ หมายถึง นักการเมืองในพรรคประชาธิปตย เชน ควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช หรือ ขาราชการทัง้ ทหารและพลเรือน ฯลฯ ซึง่ เปนกลุมบุคคลที่มีความภักดีตอ สถาบันกษัตริย พวกเขามีความตองการสนับสนุนใหสถาบันกษัตริยและพวกตนมีอาํ นาจทางการ เมืองเหนือกลุม อื่นๆในขณะนั้น อยางไรก็ตาม “กลุม รอยัลลิสต”ในชวงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลงจนถึงการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทมหิดลยังหาไดมีเอกภาพ เปนหนึง่ เดียวกัน เนื่องจากพวกเขายังคงมีความตองการสนับสนุนราชตระกูลที่แตกตางกันจวบ กระทัง่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมพิ ลอดุลยเดชไดทรงบรมราชาภิเษกในป 2493 แลว แต กระนัน้ ก็ดี พวกเขามีความเห็นที่ตองตรงกันวา ทัง้ “กลุม ปรีดี”และ “กลุมจอมพล ป.”ทั้งคูเปนภัย ตอการความมัน่ คงทางการเมืองของพวกตน โดยกลุมดังกลาวแมในขณะนั้นจะยังไมมีอํานาจทาง การเมืองและ/หรือการทหารโดยตรง แตดวยเหตุที่พวกเขามีความชอบธรรมทางการ เมืองใน ฐานะที่เปนสวนหนึ่งหรือมีความเกี่ยวของโดยตรงหรือออมที่ใหการสนับสนุนสถาบันกษัตริย ในทางการเมือง กลุม การเมืองนี้จงึ เปนตัวแปรสําคัญในการรวมมือกับกลุมใดกลุมหนึ่งเพื่อ ทําลายกลุม ที่เปนปรปกษทางการเมืองในขณะนั้นลงเพื่อสถาปนาความมั่นคงทางการเมืองให พวกของตนตอไป นอกจากนี้ ดวยเหตุที่ชวงเวลาของการศึกษาในหัวขอดังกลาวนี้เปนชวงเวลานานถึง 10 ป ซึ่งบุคคลทีถ่ กู ลาวถึงในงานวิจยั ชิ้นนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งบุคคลที่ดํารงตําแหนงในราชการทหาร และตํารวจยอมมีความเปลีย่ นแปลงในยศ ในทีน่ ี้ ผูว ิจยั จึงขอเรียกบุคคลตางๆที่สาํ คัญดวย ยศ ทางการทหารหรือตํารวจในระดับสูงสุดที่เขาไดรับ 1.6 ขอบเขตการศึกษาวิจยั และระเบียบวิธวี ิจัย งานวิจยั ชิ้นนี้ พยายามเสนอคําอธิบายใหมในการเมืองการปกครองไทยและความ สัมพันธระหวางประเทศของไทยกับสหรัฐฯ ชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงการรัฐประหาร 2500 ดวยวิธกี ารทางประวัติศาสตร เพื่อโตแยงคําอธิบายคําอธิบายการเมืองการปกครองไทย แบบ“อํามาตยาธิปไตย“ ที่ใหภาพตัวแสดงทางการเมืองแตเพียงบทบาทของกองทัพในทาง การเมืองอันปราศจากบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” และบทบาทของสหรัฐฯ


23

ในฐานะตัวแสดงในการเมืองไทย ดวยการพยายามนําตัวแสดงดังกลาวขางตนกลับมาพิจารณา เปนตัวแสดงทางการเมืองทีม่ ีความสําคัญในการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวาง ประเทศของไทยภายใตบริบทของระเบียบโลกของสหรัฐฯตั้งแตหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จนถึง การลมสลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามในป 2500 งานวิจยั ชิ้นนีม้ ี จํานวน 10 บท ดังนี้ บทที่ 1 เปนบทนําที่ชี้ใหเห็นถึงปญหาของการศึกษา การเมืองการปกครองของไทยที่ตกอยูภายใตคําอธิบายแบบ“อํามาตยาธิปไตย” โดยเฉพาะอยาง ยิ่งการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 ที่มองเห็นแตเพียง บทบาทของทหารซึ่งเปนตัวแสดงในทางการเมืองเพียงตัวเดียวที่สรางปญหาใหกับการเมืองไทย แตปราศจากการนําบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” กับบทบาทของสหรัฐฯที่มี ตอการเมืองไทยเขามาเปนปจจัยความเขาใจทางการเมืองไทย บทที่ 2 จากรูสเวลทถงึ ทรูแมน: การเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนบทที่ใหภาพการเริ่มใหความสนใจของสหรัฐฯทีม่ ีตอ ภูมิ ภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยในฐานะที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติและตลาด รองรับสินคาของสหรัฐฯและญี่ปุนภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯที่กอตัวขึ้น และในบทดังกลาว แสดงใหเห็นวาตัวแสดงทางการเมืองของไทยในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดมีการเผชิญหนา กันระหวาง “กลุมปรีดี” ซึ่งเปนกลุมที่สหรัฐฯเคยใหความชวยเหลือในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีความขัดแยงกับ “กลุม รอยัลลิสต” ที่ไดฟนตัวกลับมาชวงชิงอํานาจทางการเมืองจาก“กลุม ปรีดี” บทที่ 3 การรัฐประหาร 2490: จุดเริ่มตนของความขัดแยงภายในการเมืองไทย เปนบทที่ให ภาพ “กลุมจอมพล ป.”ที่เคยหมดจากอํานาจไปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดรวมมือกับ “กลุม รอยัลลิสต”ทําการรัฐประหารขับไล “กลุมปรีดี”ออกไปจากการเมืองสําเร็จ โดยสหรัฐฯมิไดมี นโยบายใหความชวยเหลือ”กลุมปรีดี”ที่มนี โยบายไมสอดคลองกับความตองการของสหรัฐฯให กลับมามีอาํ นาจในการเมืองไทยอีกตอไป สําหรับ บทที่ 4 สูภาวะกึ่งอาณานิคม: การมาถึงของสหรัฐฯและการปราบปรามปรปกษ ทางการเมืองของไทย 2493-2495นั้น เมื่อสหรัฐฯไดสูญเสียจีนไป สหรัฐฯไดเริ่มใหการสนับสนุน ทางการทหารแกรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทําใหรัฐบาลมีความสามารถทางการทหารใน การปราบปราม“กลุมปรีดี”และ ”กลุมรอยัลลิสต”ซึ่งเปนปรปกษทางการเมืองลงไดอยางายดาย สวนบทที่ 5 ไอเซนฮาวรกับการสรางความแข็งแกรงใหกับกลุมทหารและกลุมตํารวจไทย 24962497 นัน้ เปนบทที่ใหภาพวา สหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาวรใหความสําคัญกับไทยมาก ยิ่งขึ้นทางการทหาร โดยสหรัฐฯไดเขามาใหการสนับสนุนกลุมการเมืองสําคัญ คือ กลุมทหารและ กลุมตํารวจใหกาวขึน้ มามีอาํ นาจทางการเมือง โดยสหรัฐฯหวังใหกลุมทั้งสองรักษาเสถียรภาพ ทางการเมืองใหกับรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม แตในขณะเดียวกัน ภายใตความชวยเหลือ ของสหรัฐฯทําใหกลุมทหารและกลุมตํารวจมีความสามารถในการแขงขันทางการเมืองมากยิง่ ขึ้น


24

อันสรางปญหาใหกับรัฐบาลดวยเชนกัน สําหรับบทที่ 6 สหรัฐฯ สถาบันกษัตริย กับจุดเริ่มตน สงครามจิตวิทยาในไทย 2497 นั้นแสดงใหเห็นวาสหรัฐไดเริ่มหันมาใหความสําคัญกับการ สนับสนุนสถาบันกษัตริยดว ย แทนที่สหรัฐฯเคยใหการสนับสนุนแตเพียงกลุม ทหารและกลุม ตํารวจเทานั้น โดยการสนับสนุนสถาบันกษัตริยของสหรัฐฯ เนื่องจาก สหรัฐมุงหวังการบรรลุ สงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตในไทย สงผลใหสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”เริ่มมี โอกาสในการทาทายทางการเมืองตอรัฐบาลจอมพล ป.ไดอีกครั้ง สวนบทที่ 7 ความเปนกลางและการสรางประชาธิปไตยของรัฐบาลจอมพล ป.ปลาย ทศวรรษ 2490 ใหภาพการปรับเปลี่ยนทั้งนโยบายตางประเทศและการเมืองภายในของรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามทีเ่ คลื่อนไปสูการถอยหางออกจากสหรัฐฯแตหันไปไปเปดไมตรีกับจีน และการปฏิเสธการยอมรับแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจตามที่สหรัฐฯตองการ พรอมๆกับ รัฐบาลไดสรางบรรยากาศประชาธิปไตยทีท่ ําใหเกิดกระแสการโจมตีการครอบงําไทยของสหรัฐฯ สงผลใหสหรัฐฯไมพอใจรัฐบาลมากยิ่งขึน้ บทที่ 8 การหวนคืนของพันธมิตรของรัฐบาลและ“กลุม ปรีดี”กับความขัดแยงตอ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น แสดงใหเห็นถึงปญหาทางการเมืองของรัฐบาลจอม พล ป.ที่เกิดขึ้นจากความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”กับ กลุมทหาร ทําใหรฐั บาลและกลุมตํารวจหันไปสรางพันธมิตรกับ“กลุมปรีดี”เพื่อตอตานความ เคลื่อนไหวขางตน ดวยการพยายามนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคต ขึ้นใหมซงึ่ สรางไมพอใจใหกบั สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” บทที่ 9 “ไตรภาคี” กับภาวะกึง่ อาณานิคมและการลมสลายของประชาธิปไตยไทย บทดังกลาวใหภาพความรวมมือระหวาง สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพในการตอบโตการดําเนินการของรัฐบาลจอมพล ป.ดวยการ รัฐประหาร เมือ่ 16 กันยายน 2500 เพื่อทําใหไทยกลับไปดําเนินนโยบายตามความตองการของ สหรัฐฯตอไป และปดทายดวยบทที่ 10 ซึ่งเปนบทสรุปที่ยนื ยันวา การเมืองไทยในชวงดังกลาว มิไดแตเพียงบทบาทของกองทัพเทานั้นทีส่ รางปญหาใหกับการเมืองไทย แตสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”และสหรัฐฯนั้นมีสว นในการสรางปญหาใหกับการเมืองในชวงเวลาดังกลาวอยาง สําคัญเชนกัน การวิจยั ครั้งนี้ ขาพเจาไดคนควาและใชหลักฐานทัง้ ในประเทศไทย คือ หอจดหมายเหตุ แหงประเทศไทย หอจดหมายเหตุแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กองบรรณสาร กระทรวงการตาง ประเทศ และศูนยเอกสารแหงประเทศไทย(TIC)ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และเอกสาร จดหมายเหตุจากตางประเทศของสหรัฐฯ เชน หอจดหมายแหงชาติสหรัฐฯ(NARA) ศูนยขอมูล ของสํานักงานขาวกรองกลาง(CIA) หองสมุดแหงรัฐสภาสหรัฐฯ(Library of Congress) หอสมุด ประธานาธิบดีไอเซนฮาว(Eisenhower Library) หองสมุดของสมาคมประวัติศาสตรแหงมลรัฐ วิสคอนซิน(The Historical Society of Wisconsin) และเอกสารจดหมายเหตุของอังกฤษ คือ หอ


25

จดหมายเหตุแหงชาติอังกฤษ(NA)เปนหลักฐานชั้นตนในการดําเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้ นอกจากนี้ ยังใชขอมูลชั้นตนที่ตพี ิมพแลวและเอกสารชัน้ รองจาก สํานักวิทยบริการ หองสมุด คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหอสมุดปรีดีพนมยงค และหองสมุดคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รวมทัง้ หอสมุดกลาง(Memorial Library)แหงมหาวิทยาลัยวิสคอนซินเมดิสัน ตลอดจนสัมภาษณบุคคลสําคัญเปนแหลงขอมูลในการคนควาวิจัยดวย 1.7 วัตถุประสงคการวิจยั 1.เพื่อศึกษาบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองและกลุม การเมืองตางๆของไทยในสมัย รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม(พ.ศ.2491-2500) 2.เพื่อศึกษากลุมการเมืองของไทยในชวงเวลาดังกลาวภายใตปฏิสัมพันธกับระเบียบโลก ของสหรัฐฯ 1.8 ขอจํากัดของการศึกษา การศึกษาการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามภายใตระเบียบโลกของ สหรัฐฯ พ.ศ.2491-2500 ชิ้นนี้เปนการวิจัยที่มีความแตกตางๆไปจากงานวิจัยสวนใหญที่ดํารงอยู กอนหนานีท้ ี่ใหความสําคัญกับการใชเอกสารและเอกสารจดหมายเหตุของไทยเปนสําคัญ แตการ วิจัยครั้งนี้ ผูว จิ ัยไดใชเอกสารจดหมายเหตุจากหลายแหลง เชน เอกสารทางการทูต เอกสารของ กระทรวงการตางประเทศ รายงานขาวของสํานักขาวกรอง รายงานระดับสูงของประธานาธิบดี ของสหรัฐฯ และเอกสารทางการทูตของอังกฤษเปนหลักฐานสําคัญในการสรางคําอธิบายและให ภาพการเมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวนอกเหนือจากการคนควาจากเอกสารของไทยแตเพียง แหลงเดียว เพือ่ ใหเกิดภาพพลวัตรทางการเมืองของไทยทีม่ ีความสลับ ซับซอนภายใตระเบียบ โลกของสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาวทีม่ ิอาจหาไดจากเอกสารของไทย กระนั้นก็ดี แมวาเอกสาร ตางๆจากสหรัฐฯและอังกฤษจะใหขอมูลที่มีความแตกตางไปจากเอกสารของไทย แตควร ตระหนักวาหลักฐานเหลานีย้ อมมีขอจํากัดหลายประการ เชน ผูบนั ทึกหรือผูเขียนรายงานใน ขณะนั้นอาจตกอยูภายใตอคติหรือการมุงบรรลุเปาหมายบางประการ ฯลฯ ซึ่งขอตระหนักเหลานี้ ยอมไมแตกตางไปจากปญหาที่ดํารงอยูในเอกสารของไทยเชนเดียวกัน ดังนัน้ ภาพการเมืองไทย ที่ปราฎจากงานวิจยั ชิ้นนี้ ยังคงรอการยืนยันและโตแยงหรือถกเถียงจากการคนควาวิจัยที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตตอไป


บทที่ 2 จากรูสเวลทถึงทรูแมน: การเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 2.1 นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย เมื่องสงครามสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลง สหรัฐฯเปนประเทศฝายชนะสงครามทีไ่ ดรับ ความเสียหายจากภัยสงครามนอย ในขณะที่อังกฤษเสียหายจากสงครามอยางหนัก อีกทั้ง สหรัฐฯมีศักยภาพทางการทหาร มีเศรษฐกิจที่ดีและมีความมัง่ คั่ง สงผลใหสหรัฐฯมีศักยภาพที่จะ ผงาดขึ้นมีอทิ ธิพลตอโลกภายหลังสงครามอยางไมยาก ทัง้ นี้ ในเดือนกรกฎาคม 2488 กอน สงครามโลกจะจบสิ้นลงในเอเชียไมนาน สหรัฐฯไดมีสวนสําคัญในการผลักดันการจัดระเบียบโลก เพื่อใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมผานขอตกลงเบรตตันวูดส(Bretton Woods System)และการจัดระเบียบการคาและการเงินระหวางประเทศ1 ดวยเหตุที่ สหรัฐฯมีความ ตองการสงเสริมการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของโลกภายหลังสงครามโลกครงที่ 2 ทําใหในเวลาตอมา สหรัฐฯไมตองการใหลัทธิคอมมิวนิสตขยายตัวซึ่งจะกลายมาเปนอุปสรรค ขัดขวางการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโลก เนื่องจาก ขณะนั้นผูก ําหนดนโยบายระดับสูงของ สหรัฐฯภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เห็นวาการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสตและชาตินิยมสุดขั้ว ที่เบงบานในประเทศยากจนและประเทศอาณานิคมในขณะนั้นเปนอุปสรรคตอผลประโยชนของ สหรัฐฯ2 ในเวลาตอมา ขอตกลงตางๆและความตองการของสหรัฐฯไดกลายเปนระเบียบโลกที่มี ผลกระทบกับสวนตางๆของโลก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยอยางหลีกเลี่ยงไมได ควรบันทึกดวยวา ในฐานะที่ไทยเปนสวนหนึง่ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยตกอยูภายใตอิทธิพลของจักวรรดินิยมอังกฤษซึ่งเปนเจา อาณานิคมทีม่ ีดินแดนในอาณัติอยางกวางขวางในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน อินเดีย พมา และมาลายู โดยอังกฤษมีอทิ ธิพลทางการเงินและการคาตอไทยในขณะนั้นอยางมาก เมื่อเกิด

1

รังสรรค ธนะพรพันธ, กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย: บทวิเคราะหเชิง ประวัติศาสตรการเมือง พ.ศ.2475-2530,(กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2532), หนา 3-13. 2 Thomas G. Paterson, “The Quest for Peace and Prosperity: International Trade , Communism, and the Marshall Plan,” in Politics and Policies of the Truman Administration, Barton J. Bernstein (Chicago: Quadrangle Books, 1972), p. 93.; นอม ชอมสกี(เขียน) ภควดี วีระภาสพงษ(แปล) อเมริกาอเมริกาอเมริกา,(กรุงเทพฯ: โกมลคีมทอง, 2544),หนา 94.


27

ในชวงสงคราม โลกครั้งที่ 2 ไทยไดตกอยูภายใตอิทธิพลของญี่ปุน3 และในชวงปลายสงครามโลก ครั้งที่ 2 นโยบายของสหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. รูสเวลท(Franklin D. Roosevelt)ที่มีตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะอยางยิง่ ตออินโดจีนนั้น เขาให ความเห็นใจขบวนการชาตินิยมตอตานอาณานิคมของเหลาขบวนการกูชาติของเวียดมินห ลาว และกัมพูชาเปนอยางมาก สหรัฐฯในขณะนั้นมีความตองการใหภูมิภาคอินโดจีนอยูภ ายใตภาวะ ทรัสตีของสหประชาชาติ โดยสหรัฐฯสนับสนุนใหโอเอสเอส (the US Office of Strategic Services: OSS)ใหความชวยเหลือขบวนการกูชาติเหลานั้นในการตอสูกับเจาอาณานิคมอยาง ฝรั่งเศส อยางไรก็ตาม นโยบายดังกลาวไดยุติลงพรอมกับการอสัญกรรมของประธานาธิบดี รูสเวลท4 เมื่อ แฮรี่ เอส. ทรูแมน(Harry S. Truman)รองประธานาธิบดีไดขึ้นดํารงตําแหนงแทน ประธานาธิบดีรูสเวลทซงึ่ ถึงแกอสัญกรรมอยางฉับพลันในเดือนเมษายน 2488 และตอมาเขา ไดรับชัยชนะในการเลือกตั้งเปนประธานาธิบดี(12 เมษายน 2488–20 มกราคม 2496) นโยบาย ตางประเทศของสหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีทรูแมนนัน้ ไดเปลี่ยนแปลงนโยบายจากการตอตาน อาณานิคมไปสูการพยายามแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ อุปสรรคทางการคา และการดอยความ เจริญของโลกที่ประธานาธิบดีทรูแมนเห็นวาเปนอุปสรรคตอสันติภาพ เขาไดแถลงใหความสําคัญ กับเรื่องเศรษฐกิจเปนสิง่ สําคัญลําดับแรกของรัฐบาลของเขาตอสภาคองเกรสในตนเดือน พฤษภาคม 2489 และ 2490 โดยขามีนโยบายรักษาสันติภาพใหกับโลก5 ตอมาในเดือนตุลาคม 2490 เขาไดประกาศนโยบายวา สหรัฐฯตองการแสวงหา“สันติภาพและความมั่งคั่ง” ดวยการ ปองกันการปฏิวัติมิใหเกิดขึน้ ในโลก ดังนัน้ สหรัฐฯจึงมีความจําเปนทีจ่ ะตองเขาไปมีบทบาทจัด ระเบียบเศรษฐกิจของโลก ดังนัน้ นโยบาย ตางประเทศสําคัญของสหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีท รูแมน คือ การผลักดันนโยบายการเปดเสรีการคาเพื่อขยายขอบเขตการคาและโอกาสในการ

3

Herbert A. Fine, “The Liquidation of World War II in Thailand,” The Pacific Historical Review 34, 1 (February, 1965): 65. 4 George McT. Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam,(New York: Alfred A. Knopf, 1986),p. 3-4.; Gary R. Hess, “Franklin Rosevelt and Indochina,” The Journal of American History 59, 2 (September, 1972): 353-368.; Dixee R. Bartholomew-Feis, “The Man on The Ground: The OSS In Vietnam, 1944-1945,” (Doctoral dissertation, The Ohio State University, 2001). 5 Athan Theoharis, “The Rhetoric of Politics: Foreign Policy , Internal Security and Domestic Politics in the Truman Era,” in Politics and Policies of the Truman Administration, pp. 204205.


28

ลงทุนดวยการขจัดอุปสรรคทางการคา6 คําประกาศของประธานาธิบดีทรูแมนนั้นมีสอดคลองกับ เนื้อหาสาระในเอกสารวางแผนระดับสูงของสหรัฐฯที่มีรอ งรอยของความวิตกถึงความเสื่อมโทรม ทางเศรษฐกิจในโลกที่จะทําใหการดํารงอยูของประชาชนในสหรัฐฯเกิดความวุน วายจากพวก คอมมิวนิสตและพวกชาตินยิ มสุดขั้วในประเทศยากจน เอกสารดังกลาวเห็นวาพวกชาตินิยมสุด ขั้วนั้นมีความมุงหมายใหมกี ารปรับปรุงมาตรฐานชีวิตของมวลชนอยางทันทีและทําการผลิตเพื่อ ตอบสนองความตองการภายในประเทศ ดังนัน้ ในสายตาของผูกําหนดนโยบายระดับสูงของ สหรัฐฯขณะนัน้ เห็นวา พวกชาตินิยมสุดขั้วและลัทธิคอมมิวนิสต คือ ภัยคุกคามตอระเบียบโลก ของสหรัฐฯ 7 จากนัน้ ตนทศวรรษที่ 2490 โวหารการตอตานคอมมิวนิสตของสหรัฐฯไดเริ่ม ขยายตัวทําใหคอมมิวนิสตกลายเปนภัยตอสันติภาพของโลก8 ทั้งนี้ ในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 กอนที่สงครามจะจบสิน้ ลงในภูมิภาคเอเชีย สหรัฐฯได เริ่มมองเห็นความสําคัญของไทย โดยในตนป 2488 เจาหนาที่ในกระทรวงการตางประเทศของ สหรัฐฯ ไดเริ่มรายงานความเห็นที่เกี่ยวกับไทยวา ไทยจะมีความสําคัญตอนโยบายของสหรัฐฯใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เนื่องจากไทยสามารถเปนตลาดสินคาและผูขายวัตถุดิบไดเปน อยางดี เชน ยางและดีบุกใหกับสหรัฐฯโดยตรง แทนที่สหรัฐฯจะตองซื้อวัตถุดิบผานตลาดผูกขาด ในดินแดนอาณานิคมของอังกฤษ อีกทั้ง การคาระหวางสหรัฐฯกับไทยซึ่งเปนประเทศที่เปนเอก ราชจะทําใหสหรัฐฯไมถูกมองวาเปนจักวรรดินิยม9 ตอมาปลายป 2488 สหรัฐฯไดเริ่มกอตัว 6

Thomas G. Paterson, “The Quest for Peace and Prosperity : International Trade , Communism , and the Marshall Plan,” in Politics and Policies of the Truman Administration, pp. 8082. คําวา “สันติภาพของโลก” ในความหมายของสภาที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ(The Council of Economic Advisers) หมายถึง สหรัฐฯจะปกปองมิใหโลกเกิดการปฏิวัติ สวนคําวา“การทําใหโลกมั่งคั่ง” หมายถึง การทําใหสหรัฐฯเปนผูนําของเศรษฐกิจทุนนิยมของโลก; William Borden, The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955,(London: University of Wisconsin Press,1984); Jim Glassman, “The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy,” Environment and Planning 37 (A 2005): 1527-1544. 7 Thomas G. Paterson, “The Quest for Peace and Prosperity : International Trade , Communism , and the Marshall Plan,” p. 93.; นอม ชอมสกี(เขียน) ภควดี วีระภาสพงษ(แปล) อเมริกา อเมริกา อเมริกา, หนา 18-19. 8 Arlene Becker Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” (Doctoral dissertation, Northern Illinois Univeristy, 1980), p. 567. 9 “Landon’s Memorandum Postwar Status of Thailand,10 January 1945,” in Intelligence and the War against Japan: Britain, America and the Politics of Secret Service, Richard J. Aidrich (Cambridge: Cambridge University Press , 2000), pp. 320-321.


29

นโยบายตางประเทศตอไทย โดยสหรัฐฯยอมรับอํานาจอธิปไตยและความเปนอิสระของไทย แต สหรัฐฯมีความตองการใหไทยเปดประตูใหสหรัฐฯเขามามีอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจใน ไทย สหรัฐฯความตองการใหไทยผลิตขาวปอนใหกับตลาดโลก และตองการสนับสนุนใหไทยมี การปรับปรุงเศรษฐกิจและดําเนินการคาระหวางประเทศบนกรอบพหุภาคี กลาวโดยสรุป นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตอไทยนัน้ สหรัฐฯมีความตองการให ไทยมีฐานะเปนแหลงทรัพยากร ธรรมชาติและเปนตลาดรองรับสินคา ตลอดจนสหรัฐฯตองการ เขามามีอทิ ธิพลเหนือไทย10 ภายหลังสงครามสิ้นสุด ความสัมพันธไทยและสหรัฐฯไดเริ่มตนขึ้นอีก ครั้ง รัฐบาลทรูแมนไดสง ชารล ดับบลู. โยสต(Charles W. Yost) อัคราชทูต และเคนเนท พี. แลน ดอน(Kenneth P. Landon)เจาหนาที่มาเปดสถานกงสุลสหรัฐฯขึ้นในไทยในเดือนสิงหาคม 248811 ในชวงเวลาหลังสงคราม อดีตเจาหนาที่โอเอสเอสหลายคนที่เคยรวมงานกับขบวนการเสรี ไทยในชวงสงครามยังคงปฏิบัติงานอยูในไทย12 เชน เจมส ทอมสัน(James Thomson)∗ อเล็ก ซานเดอร แมคโดนัล(Alexander MacDonald)∗ วิลลิส เบิรด(Willis Bird)∗ วิลเลี่ยม ปาลมเมอร

10

Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 2-3.; Barton J. Bernstein, Politics and Policies of the Truman Administration, pp.3-4. 11 Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 25-26. 12 E. Bruce Reynolds, “The Opening Wedge: The OSS in Thailand,” in George C. Chalou, eds. The Secrets War: The Office of Strategic Services in World War II,(Washington D.C.: National Archives and Record Administration, 1992),pp. 328-350. ∗

เจมส ทอมสัน อดีตโอเอสเอสเคยชวยงานสถานกงสุลสหรัฐฯภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลง ในตําแหนง general attaché ตอมาเขาไดเปดธุรกิจผาไหมขึ้นในไทย เคนแนท พี. แลนดอน-อดีตมิสชันนารี ชวยใหเขามีความใกลชิดกับพวกเชื้อพระวงศ (Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 47.). ∗ อเล็กซานเดอร แมคโดนัล อดีตโอเอสเอส ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาไดรวมทุนกับอดีตเสรี ไทยตั้งหนังสือพิมพบางกอก โพสต(Bangkok Post)โดยความคิดในการตั้งหนังสือพิมพมาจากการสนทนากับ ปรีดี พนมยงค โดยเขาใหสนับสนุนปรีดี และเขาเปนแกนนําของกลุมชาวอเมริกันที่สนิทสนมกับอดีตเสรีไทย เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามจะกลับมาสูการเมือง บางกอก โพสตไดโจมตีจอมพล ป. เมื่อเกิดการ รัฐประหาร 2490 แลว กระแสการวิจารณจอมพล ป.ก็ไดลดลง(Ibid.,pp. 47-49.)และโปรดดูประวัติการจัดตั้ง บางกอก โพสตในประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ), (กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิ่ง, 2542).


30

(William Palmer)∗ และ โฮวารด ปาลมเมอร(Howard Palmer)∗ เปนตน ตอมาเอ็ดวิน เอฟ. สแตนตัน (Edwin F. Stanton) ∗ ถูกสงมารับตําแหนงอัคราชทูตและเอกอัคราชทูตในเวลาตอมา ∗

วิลลิส เบิรด อดีตโอเอสเอส เคยปฏิบัติงานในจีนชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 กับนายพลวี เดอรแมร เขาจบการศึกษาดานการเงินจากวารตัน(Wharton School of Finance) เขามาไทยทันทีภายหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 เขาทําธุรกิจนําเขาสงออกสินคา เชน ยาฆาแมลง เครื่องแกว วัสดุกอสราง กระดาษ อุปกรณสํานักงาน และเครื่องจักร ตอมาเขาทําธุรกิจสงออกดีบุกและยาง (ตอมาเขาทําธุรกิจคาอาวุธ) ในชวงแรกๆภายหลัง สงครามโลกนั้น เขาใหการสนับสนุนปรีดี พนมยงค จากนั้น เขาไดใหการสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขาทํางานใหกับซีไอเอและมีความสนิทสนมกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท ในป 2502 เขาไดตั้งบริษัทยูนิเวอรแซล กอสราง(Universal Construction Company) เพื่อรับงานกอสรางตามโครงการของยูเซด(USAID)เพื่อการ สรางถนนในลาวและไทย รวมทั้งไดตั้งบริษัทเบิรดแอร(Bird Air) รับจางขนอาวุธของสหรัฐฯใหกับลาวและ กัมพูชา (Ibid.,p. 49-51.) ตอมาแตงงานกับนองสาวของพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา อดีตโอเอสเอส(พล.ต.ต.อํารุง สกุลรัตนะ, ใครวา อตร.เผาไมดี,[กรุงเทพฯ: บริษัท วงการ จํากัด, 2526],หนา 74-75.) เขามีนองชายชื่อวิลเลี่ยม เอช. เบิรด (William H. Bird) อดีตโอเอสเอส เปนผูแทนของ บริษัทแคท แอร(Civil Air Transport:CAT หรือ Air America)รับจางขนอาวุธของซีไอเอใหกับกองพล 93 ของก็กหมินตั๋งในจีนตอนใต (Peter Dale Scott, The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War, [New York: The Bobbs-Merrill, 1972], p. 208.) ∗

วิลเลี่ยม ปาลมเมอร อดีตโอเอส เคยปฏิบัติงานในไทย เขาจบกฎหมายจากฮารวารด เคยรวมงาน กับวิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan) เขาเคยเปนกงสุลไทยในสหรัฐฯระหวางป 2488-2493 ทํา หนาที่เปนตัวแทนของรัฐบาลไทยกับสหรัฐฯ (Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 51-52). ∗

โฮวารด ปาลมเมอร อดีตโอเอสเอส นองชายของวิลเลี่ยม เขามีความสนิทสนมกับอดีตเสรีไทย ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาไดทําธุรกิจเกี่ยวกับภาพยนต โดยเปนตัวแทนใหกับบริษัทอาร.เค.โอ.ฟลม (R.K.O Film)ในการนําภาพยนตเขามาเผยแพรวิถีชีวิตแบบอมริกัน(Ibid., pp. 51-52.). ∗

สหรัฐฯ ไดแตงตั้ง เอ็ดวิน เอฟ. สแตนตัน มาเปนอัคราชทูตตอมา เขาดํารงตําแหนงเอกอัคราชทูต สหรัฐฯประจําไทยคนแรก เขาทําการถวายสาสนเมื่อ 9 พฤษภาคม 2490 และดํารงตําแหนงจนถึงมิถุนายน 2496 เขามีภูมิหลังเปนมิสชันนารีมากอน เคยทํางานในจีน 20 ป เขามีลักษณะการทํางานทางทูตแบบเกา ไม สันทัดเรื่องไทยมากนัก เขาไมชอบรัฐบาลทหารและไมนิยมจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขามีความสนใจปญหา ในจีน เมื่อจีนเปนคอมมิวนิสต เขาเห็นวา สหรัฐฯควรใหความชวยเหลือทางการทหารแกไทยในการตอตาน คอมมิวนิสต เขาเห็นวา ความชวยเหลือของสหรัฐฯจะสรางมิตรภาพใหกับไทยซึ่งสหรัฐฯจะไดรับประโยชนใน ระยะยาว (กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0004 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายจอรจ ฮัตเชสัน เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐ อเมริกาประจําประเทศไทย, Yost to Direk Chaiyanam รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 26 มีนาคม 2489.; Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 25-29.).


31

สแตนตันไดบันทึกวา เจาหนาที่ของสถานทูตสหรัฐฯในไทยในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 มี เพียง 5 คน แตในป 2489 ทีเ่ ขามารับตําแหนงผูแทนสหรัฐฯประจําไทยนัน้ สถานทูตฯมีเจาหนาที่ 12 คน ตอมาป 2496 ซึ่งเปนปสุดทายที่เขาปฏิบัติหนาที่นนั้ เขามีเจาหนาที่สงั กัดสถานทูตฯ ภายใตความดูแลถึงเกือบ 200 คน 13 2.2 การเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ควรบันทึกดวยวา โครงสรางอํานาจทางการเมืองของคณะราษฎร ในชวงที่กองทัพญี่ปุน เดินทัพเขาไทยนัน้ หรือในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อยูในชวงรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึง่ เปนรัฐบาลที่ไดรับการสนับสนุนจากกลุมทหารหรือ “กลุมจอมพล ป.” ในขณะทีก่ ลุม พลเรือนหรือ “กลุมปรีดี” ซึ่งมีปรีดี พนมยงค-คูแขงขันทางการเมืองคนสําคัญของจอมพล ป. เปนผูน ํา-ไดถูกกัน ออกจากอํานาจของรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจาก เขาไมเห็นดวยกับการเปนพันธมิตรกับญี่ปุนของ รัฐบาล ตอมาชวงปลายสงครามโลกนั้น ปรีดีและกลุมของเขาใหการสนับสนุนฝายสัมพันธมิตร จากนั้น “กลุมปรีดี”จึงไดแยกตัวออกรัฐบาลจอมพล ป. มาดําเนินการตอตานรัฐบาลและกองทัพ ญี่ปุน และตอมา เขาและกลุม ไดสรางพันธมิตรเชื่อมตอกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่อยูในประเทศและ พวกที่ลี้ภัยอยูน อกประเทศเกิดเปน“ขบวนการเสรีไทย”จนสามารถทําใหรัฐบาลหมดอํานาจลงได สําเร็จสงผลให “กลุมจอมพล ป.” ที่เคยมีอํานาจในชวงสงครามโลกถูกลดบทบาทหายไปในชวง ปลายสงครามโลกนัน้ เอง14 นับแตสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในกลางเดือนสิงหาคม 2488 จนถึงการรัฐประหาร 2490 นั้น ไทยมีรัฐบาลที่เขาบริหารประเทศขณะนั้นถึง 8 คณะ ดังนี้ ควง อภัยวงศ(1 สิงหาคม 2487-17 กรกฎาคม 2488 ) ทวี บุณยเกตุ (31 สิงหาคม -16 กันยายน 2488) ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช(17 กันยายน 2488–24 มกราคม 2489) ควง(31 มกราคม -18 มีนาคม 2489) ปรีดี พนมยงค(24 มีนาคม-8 มิถนุ ายน 2489, 11 มิถุนายน-29 สิงหาคม 2489) พล.ร.ต.ถวัลย ธํารง

13

Neher, Ibid.,p. 29-30.; Edwin F. Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World,(New York: Harper & Brothers Publishers, 1956), p. 265. 14 Sorasak Ngamcachonkulkid, “The Seri Thai Movement: The First Alliance against Military Authoritarianism in Modern Thai Politics,” (Doctoral dissertation, University of Wisconsin-Madison, 2005).; สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ , ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492.; E. Bruce Reynolds, Thailand's secret war: the Free Thai OSS, and SOE during World War II,(Cambridge: Cambridge University Press, 2005).


32

นาวาสวัสดิ์(23 สิงหาคม 2489–30 พฤษภาคม 2490, 30 พฤษภาคม–8 พฤศจิกายน 2490)15 ซึ่ง จะเห็นไดวา การเมืองในชวงภายหลังสงครามโลกจนถึงการรัฐประหารนั้น เปนเวลาไมถึง 2 ปครึ่ง แตมีความผันผวนอยางมากจนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลไปถึง 8 ชุด ไมนานหลังจากญี่ปุนประกาศยอมแพสัมพันธมิตรเมื่อ 14 สิงหาคม 2488 ไทยไดมีการ ประกาศสันติภาพ(16 สิงหาคม 2488) ซึง่ มีสาระสําคัญที่ทาํ ใหคําประกาศสงครามระหวางไทย กับฝายสัมพันธมิตรเปนโมฆะ ในขณะนั้น ไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 อยูภายใตการควบคุมของกองทัพอังกฤษ ซึ่งมีลอรด หลุย เมาทแบตแตนท (Louis Mountbatten)เปนผูบัญชาการทหารสูงสุดฝายสัมพันธมิตรในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออก เฉียงใต ตอมา รัฐบาลทวี บุญยเกตุไดสงผูแ ทนเดินทางไปเจรจากับอังกฤษที่เมืองแคนดี้ ศรีลังกา เพื่อยกเลิกสถานะสงครามระหวางกัน แตอังกฤษมีความประสงคที่จะลงโทษไทย เนื่องจากไทย เคยประกาศสงครามกับอังกฤษและทําใหอังกฤษไดรับเสียหายดวยขอตกลงสมบูรณแบบ (Formal Agreement)ที่มีขอบังคับจํานวน 21 ขอ ซึ่งมีเนือ้ หาครอบคลุมดานกิจการทหาร การ จายคาปฏิกรรม สงคราม และการควบคุมการคาขาว ดีบุกและยางพารา ขอตกลงของอังกฤษ เหลานี้ทาํ ใหไทยตกอยูในฐานะผูแพสงครามและเสียเปรียบอังกฤษเปนอยางมาก ความวิตกที่ อังกฤษจะลงโทษไทยทําให ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช อดีตทูตไทยประจําสหรัฐฯ ในระหวางการ เดินทางกลับมาไทยเพื่อดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนใหม เขาไดเสนอใหขาวใหอังกฤษโดยไม คิดมูลคา จํานวน 1,500,000 ตันเพื่อสรางความพึงพอใจใหกับอังกฤษเพิ่มเติมขึ้นอีก 16 อยางไรก็ตาม สหรัฐฯในฐานะแกนนําในฝายสัมพันธมิตรมีความตองการที่จะเขามามี อิทธิพลในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตแทนอังกฤษจึงไดใหความชวยเหลือไทยใหพน จาก ฐานะของผูแพสงคราม โดยสหรัฐฯเห็นวา ไทยมีฐานะเพียงรัฐที่ศัตรูยดึ ครอง(an enemyoccupied state)เทานัน้ และไทยมิไดเปนศัตรูกับสหรัฐฯในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนัน้ สหรัฐฯ จึงไมตองการเรียกรองคาเสียหายใดๆจากไทย นอกจากนี้ สหรัฐฯยังไดเขามาแทรกแซงความตก ลงระหวางไทยกับอังกฤษซึง่ ทําใหขอตกลงสมบูรณแบบที่อังกฤษเสนอแกไทยถูกลดทอนความ 15

วิจิตร วิชัยสาร, “รัฐบาลไทยในสมัยนายทวี บุณยเกตุเปนนายกรัฐมนตรี (31 สิงหาคม – 16 กันยายน 2488),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516).; สิริ รัตน เรืองวงษวาร, “บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 – 2491,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521).; บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททางการเมืองของพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534). 16 โปรดดูรายละเอียดสาระสําคัญของขอตกลงสมบูรณแบบ ใน John Coast, Some Aspects of Siamese Politics,(New York: International of Pacific Relation, 1953),pp. 30-31.


33

แข็งกราวลง เนื่องจาก สหรัฐฯไมตองการใหอังกฤษกลับเขามามีอทิ ธิพลทางการเมืองและ เศรษฐกิจตอไทยอีกครั้ง 17 ในชวงปลายสงครามโลกนั้นเอง สหรัฐฯไดเริ่มเห็นถึงความสําคัญของ ไทยในฐานะแหลงทรัพยากรอันมีความอุดมสมบูรณที่จะสามารถฟน ฟูความอดหยากและฟน ฟู เศรษฐกิจของโลกภายหลังสงครามได ในชวงเวลานัน้ รัฐบาลไทยหลายชุดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังคงตองเผชิญหนากับ ปญหาเศรษฐกิจและสังคม เชน ภาวะเงินเฟอ ความขาดแคลนสินคา และเงินตราตางประเทศ โดย เฉพาะอยางยิง่ ปญหาเรื่องการสงขาวจํานวนมหาศาลใหอังกฤษในราคาที่ตายตัวและ ทันเวลา ในขณะที่ ราคาขาวในตลาดโลกมีราคาสูงกวาราคาที่ตองสงมอบใหองั กฤษ ยิง่ สงผลให รัฐบาลตองเผชิญหนากับปญหาการกักตุนขาวและลักลอบสงออกนอกประเทศโดยผิดกฎหมาย อันกอให เกิดปญหาการขาดแคลนขาวภายในประเทศและการเกิดตลาดมืดมากยิง่ ขึ้น รวมทัง้ ปญหาโจรผูรายมีความชุกชุมในชวงเวลาดังกลาวดวย ปญหาตางๆเหลานี้สรางความปนปวน ใหแกไทยภายหลังสงครามโลกเปนอยางยิง่ 18 2.3 ความรวมมือและแตกสลายของพันธมิตรชวงสงครามระหวาง“กลุมปรีดี” และ “กลุมรอยัลลิสต” เมื่อความรวมมือระหวาง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต”ในนาม“ขบวนการเสรีไทย” บรรลุเปาหมายในการกดดันใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกาวลงจากอํานาจและตอตาน 17

โปรดดู ความชวยเหลือและความสัมพันธระหวางขบวนการเสรีไทยและโอเอเอส ใน E. Bruce Reynolds, Thailand's secret war: the Free Thai OSS, and SOE during World War II,(Cambridge: Cambridge University Press, 2005).; “State Department Document -Postwar Status of Thailand, 10 January 1945,” อางใน The United State and Thailand: Alliance Dynamics,1950-1985, Randolph ,R. Sean, p. 7.; วิจิตร วิชัยสาร, “รัฐบาลไทยในสมัยนายทวี บุณยเกตุเปนนายกรัฐมนตรี(31 สิงหาคม–16 กันยายน 2488),” หนา 52-54.; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, pp.30-32.; Fine, “The Liquidation of World War II in Thailand,” p. 82. 18 สมศักดิ์ นิลนพคุณ, “ปญหาเศรษฐกิจของไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และ การแกไขของรัฐบาล ตั้งแต พ.ศ.2488-2498,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปกร, 2527),หนา 96-105.; สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,”หนา 19-23.;โปรดดู การศึกษาปญหาอาวุธขนาดเล็กที่แพรหลายในไทยหลังสงครามใน Chalong Soontravanich. “The small arms industry in Thailand and the Asian crisis,” in Hegemony, Technocracy, Networks, eds. Takeshi Hamashita and Takashi Shiraishi(Kyoto: The Networks, 2002), pp. 1-20.


34

กองทัพญี่ปนุ สําเร็จ ตอมา เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิน้ ลง การเปนพันธมิตรระหวางกันก็แตก สลายลงดวยเชนกัน เนื่องจากทัง้ สองกลุม ตางมีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกัน โดย“กลุม รอยัลลิสต”ที่เปนเสรีไทยในอังกฤษ มีวัตถุประสงคทางการเมืองเพื่อปลดปลอย พระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยตอตานการปฏิวัติ 2475 และไดเคยถูกคณะราษฎรเนรเทศออกไปไปนอก ประเทศ และ“กลุมรอยัลลิสต”บางสวนที่ถกู จองจําไวในเรือนจําใหไดรบั อิสรภาพใหกลับมาเปน ผูนําในการเมืองไทยอีกครั้ง ในรายงานของนาย ทหารไทยผูห นึง่ เสนอตอกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐฯ เขาไดรายงานวา “กลุมรอยัลลิสต”ที่เปนเสรีไทยในอังกฤษมีแผนการทวง ทรัพยสนิ ของของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯที่รัฐบาลยึดไปกลับคืนโดยแกนนําของกลุม ดังกลาว คือ สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี อดีตสมเด็จพระราชินีของพระปกเกลาฯและกลุมพระ ราชวงศ โดยเฉพาะอยางยิง่ ราชสกุลสวัสดิวัตน 19 ในรายงานจากนายทหารไทยถึงกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯฉบับดังกลาวได รายงานอีกวา “กลุมรอยัลลิสต”ในอังกฤษ มีเปาหมายในการรื้อฟนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ใหเกิดขึ้นใหม พวกเขาไดเคยเคลื่อนไหวเจรจาขอการสนับสนุนจากอังกฤษและสหรัฐฯ ผาน ลอรด หลุยส เมาทแบตแตนและน.อ.มิลตัน ไมล แหงโอเอสเอส เพื่อใหทงั้ 2 ประเทศใหสนับสนุน การฟน ฟูระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยในไทยอีกครั้ง20 นอกจากนี้ ในรายงานฉบับดังกลาว รายงานวา “กลุมรอยัลลิสต”ในอังกฤษมีความตองการเปลี่ยนแปลงการสืบสันตติวงศจากสาย สมเด็จพระพันวษาอัยยิกาเจาหรือราชสกุลมหิดล กลับมาสูสายของสมเด็จพระศรีสวรินทราบรม

19

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Major Arkadej Bijayendrayodhin to Gentleman of the Foreign Relations Washington D.C., 16 September 1945 ในรายงานเชื่อวา กลุม ดังกลาวขอการสนับสนุนจากอังกฤษ และโปรดดู การฟองรองคดีระหวางรัฐบาลและพระปกเกลาฯใน สุพจน แจงเร็ว, “คดียึดพระราชทรัพยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯ,” ศิลปวัฒนธรรม 23, 8 (มิถุนายน, 2545): 6380. 20 “นายฉันทนา”(มาลัย ชูพินิจ), X.O.Group: เรื่องภายในขบวนการเสรีไทย,(พระนคร: โรงพิมพไทย พานิช วรรธนะวิบูลยและจําลองสาร, 2489), หนา 264.;กลุมเสรีไทยในอังกฤษสวนที่เปน”กลุมรอยัลลิสต” นั้น มีสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ทรงเปนแกนนํา กลุมดังกลาวประกอบขึ้นจาก พระราชวงศที่หลบหนีออกจาก ไทยกอนการถูกจับกุมความผิดฐานเกี่ยวของกับการกบฎตอตานการปฏิวัติ 2475 เชน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน และสมาชิกของกลุมที่เปนพระราชวงศ เชน ม.จ.กอกษัตริย สวัสดิวัตน ม.จ.การวิก จักรพันธ ม.จ.จิ รีดนัย กิตติยากร ม.จ.กิตตินัดดา กิตติยากร และม.จ.ภีศเดช รัชนี เปนตน; สรศักดิ์, ขบวนการเสรีไทยกับความ ขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวางพ.ศ. 2481-2492,หนา 120.


35

ราชินี หรือราชสกุลจักรพงษ ดวยการกดดันใหพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทมหิดลทรง สละราชย และผลักดันใหพระองคเจาจุลจักรพงษขึ้นครองราชยแทน21 อยางไรก็ตาม การกดดันรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามใหลงจากอํานาจในชวงปลาย สงครามโลกครั้งที่ 2 สรางไดเกิดความไมพอใจอยางรุนแรงใหกับ“กลุมจอมพล ป.”โดยเฉพาะ อยางกลุมทหารเปนอันมาก เนื่องจาก รัฐบาลพลเรือนหลังสงครามที่ “กลุมปรีดี”ใหการสนับสนุน ไดทอดทิ้งกองทัพไทยไวในสมรภูมิที่เชียงตุง ทําใหกองทัพตองหาหนทางเดินทางกลับกรุงเทพฯ เองโดยมิไดรับความชวยเหลือใดๆจากรัฐบาล พวกเขาเห็นวารัฐบาลไมเคารพเกียรติภูมิของ กองทัพ อีกทัง้ รัฐบาลไดปลดทหารประจําการลงจํานวนมากและมีการประนามวารัฐบาลจอมพล ป.และกองทัพเปนผูนาํ พาไทยเขารวมสงครามโลกจนเกิดความเสียหายแกประเทศ ทั้งหมดนี้ ลวนสรางความไมพอใจใหกบั กองทัพเปนอยางมาก อีกทั้ง เสรีไทยไดกาวขึน้ มาเปนผูถือครอง อาวุธทัดเทียมกองทัพ ในขณะที่ ภาพลักษณของกองทัพถูกเหยียดหยามจากเสรีไทยและนักการ เมืองทีเ่ คยเปนเสรีไทย22 เมื่อควง อภัยวงศ สมาชิกทีเ่ ปนกลุมพลเรือนในคณะราษฎรไดรับการสนับสนุนจากปรีดี พนมยงคใหขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีแทนจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขาไดออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมความผิดในป 2488 ใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”ผูเคยตอตานการปฏิวัติ 2475 ตามขอตกลง ตางตอบแทนที่ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต”ในอังกฤษไดทรง รวมมือกับขบวนการเสรีไทยในชวงปลายสงครามโลกครัง้ ที่ 2 23 สงผลให“กลุมรอยัลลิสต”ซึ่งเปน ฝายตรงขามทางการเมืองกับคณะราษฎรสามารถเดินทางกลับยังประเทศและเขาสูก ารตอสูทาง การเมืองไดอกี ครั้ง ซีไอเอรายงานวา การนิรโทษกรรมครั้งนีท้ ําใหความขัดแยงในการควบคุมการ เมืองไทยระหวางคณะราษฎรกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยเปนปญหาที่หยั่งรากลึกนับแตการปฏิวัติ 2475 นัน้ ไดกลับมาปะทุอีกครั้งภายหลังสงครามโลก ดวยเหตุที่การปลดปลอยนักโทษ“กลุมรอยัล 21

NARA , RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250 , Major Arkadej Bijayendrayodhin to Gentleman of the Foreign Relations Washington D.C., 16 September 1945 ใน รายงานบันทึกวา สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณีทรงตองการใหพระองคเจาจุลจักรพงษหยากับชายาที่เปนชาว ตาง ประเทศ และมาเสกสมรสกับพระขนิษฐาคนเล็กตางมารดาของพระองคเพื่อใหเกิดความชอบธรรมในการ สืบราชบัลลังกของสองราชตระกูล โดยพวกเขาตองการใหอังกฤษสนับสนุนราชบัลลังกของพระมหากษัตริย ไทยพระองคใหม ในขณะนั้น ภาพลักษณของพระองคเจาจุลจักรพงษนั้นทรง“นิยมอังกฤษ เต็มอังกฤษ”(กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพุทธศักราช 2483 ถึง 2495,[กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิ่ง จํากัด, 2537],หนา 71.). 22 สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 54-55. 23 ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์,(กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพับลิช ชิ่ง,2543),หนา 517-518.


36

ลิสต”กระทําในสภาพการเมืองแบบเปดกวางและพวกเขายังคงมีความเจ็บแคนคณะราษฎรอยาง ลึกซึ้งทําใหการปลดปลอยดังกลาวแทนทีจ่ ะกลายเปนการปลดปลอยพลังของความรวมมือ แต กลับกลายเปนพลังของการตอตาน และพวกเขาไดรวมกันบอนทําลาย“กลุมปรีดี”ลงในที่สุด เนื่องจาก พวกเขาตองการกําจัดคณะราษฎรทั้งหมด ทั้งนี้ ในราย งานของอดีตเจาหนาที่โอเอส เอสคนหนึ่งไดรายงานวา ในชวงสงครามไมมี“กลุมรอยัลลิสต” ผูใดทีจ่ ะกลาตอกรทางการเมือง กับจอมพล ป.ในขณะทีพ่ วกเขาไดแตเรียกรองใหปรีดี พนมยงคชวย เหลือพวกเขาเทานั้น แต ในชวงหลังสงครามนัน้ พวกเขารวมตัวกันมีอํานาจมากพอทีท่ าทายอํานาจทางการเมืองของปรีดี ผูที่เคยชวยปลดปลอยพวกเขาแลว24 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ความเปนพันธมิตรระหวาง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต” ในชวง สงครามโลกครั้งที่ 2 เปนเพียงความรวมมือชั่วคราวที่ทงั้ สองคูตางไดรับประโยชน ทัง้ นี้ การหมด อํานาจลงของ”กลุมจอมพล ป.” ทําให“กลุมปรีดี” สามารถกลับเขาสูอาํ นาจทางการเมืองอีกครั้ง สวน“กลุมรอยัลลิสต”ดูเหมือนจะไดประโยชนจากความรวมมือมากกวา เนื่องจาก ไมแตเพียง พวกเขาสามารถทําลายอํานาจของจอมพล ป. พิบูลสงครามและ“กลุม จอมพล ป.”ซึ่งเปนกลุมที่ แข็งแกรงในคณะราษฎรและไดเคยมีบทบาทในการปราบปรามการตอตานของพวกเขาอยาง รุนแรงลงไดเทานัน้ แตพวกเขายังไดรับเกียรติยศ บรรดาศักดิ์ตางๆที่เคยถูกถอดลงจากการทํา ความผิดฐานกอการกบฎในอดีตกลับคืนเทานั้น แตพวกเขารับสิทธิในการตอสูทางการเมือง กลับคืนมา พรอมกับการไดประโยชนจากการที่รัฐบาลนิรโทษกรรมและปลดปลอยสมาชิกของ “กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยพลาดพลั้งถูกจับกุมตกเปนนักโทษการเมืองใหกลับมาเปนกําลังหนุนใหกบั กลุมของตนในการตอสูกับคณะราษฎรภายหลังสงครามโลกอีกดวย ดังนัน้ การตอสูระหวาง“กลุม รอยัลลิสต”กับคณะราษฎรครั้งนี้ คณะราษฎรเหลือแตเพียง“กลุมปรีดี”เทานั้น ทั้งนี้ โครงสรางอํานาจทางการเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีกลุมการเมือง สําคัญ 2 กลุม คือ “กลุมปรีดี”ซึ่งประกอบดวยสมาชิกบางสวนในคณะราษฎร สมาชิกสภาผูแทนฯ จากภาคอีสาน อดีตเสรีไทย และนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง กับ“กลุม รอยัลลิสต” ซึ่งประกอบดวย พระราชวงศ บุคคลผูจงรักภักดี อดีตนักโทษการเมือง และอดีตเสรี ไทย ทั้งสองกลุมนี้มีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกัน โดยกลุมแรกใหความสําคัญกับหลัก 6 ประการของคณะราษฎรจนถึงมีความคิดที่โนมเอียงไปในทางสังคมนิยม และพวกเขาสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตย สวนกลุมหลังนัน้ มีกลุมยอยภายในหลายกลุม และขาดเอก ภาพทางความคิดและการนํา เนื่องจาก พวกเขามีความคิดทางการเมืองที่แตกตางกัน นับ ตัง้ แต การสนับสนุนการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย การเปลี่ยนแปลงการสืบสันตติวงศ การ 24

NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA– RDP 82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation ”.


37

ตอตานคณะราษฎร การทวงทรัพยสินกลับคืน การฟน ฟูเกียรติยศและเพิ่มอํานาจทางการเมือง ใหกับสถาบันกษัตริยและการตองกลับมาสูการตอสูทางการเมือง อีกทัง้ ภายใน“กลุม รอยัลลิสต” เองนัน้ ยังคงอยูในระหวางการชวงชิงความเปนผูน ํากลุม ระหวางสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ผู ทรงสนับสนุนราชสกุลจักรพงษ กับ สมเด็จพระเจาวรวงศเธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผูสนับ สนุนราชสกุลมหิดล จนกระทั่ง กรมพระยาชัยนาทนเรนทรไดรับการสนับสนุนจาก พระราชวงศ และ“กลุมรอยัลลิสต”จํานวนหนึง่ ใหทรงเปนคณะผูสําเร็จราชการฯภายหลังการสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวอานันทมหิดล ดังจะกลาวตอไปขางหนา หลังการปลดปลอยนักโทษการเมืองไดไมนาน ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช ไดเปนแกนนําใน รวบรวมอดีตนักโทษการเมืองที่เปน“กลุมรอยัลลิสต” เชน ม.ร.ว นิมิตรมงคล นวรัตน ร.ท.จงกล ไกรฤกษ และสอ เสถบุตร มารวมจัดตั้งพรรคกาวหนาในปลายป 2488 เพื่อการเคลื่อนไหวตอ ตานคณะราษฎรในชวงที่ปรีดี พนมยงคเปนผูนาํ โดยม.ร.ว.คึกฤทธิ์ แกนนําคนหนึ่งของ“กลุม รอยัลลิสต” ประกาศตัวตนในบทความเรื่อง “ขาพเจาเปนรอยะลิสต” ที่เรียกรองการเพิ่มอํานาจ การเมืองใหพระมหากษัตริยและรื้อฟนเกียรติยศของราชวงศกลับคืน25 ทั้งนี้ สมาชิกของพรรค กาวหนาเปนพระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต” โดยพรรคการเมืองนี้มีนโยบายสําคัญ คือ ตอตาน คณะราษฎร 26 ในการตอสูทางการเมืองกับรัฐบาล“กลุมปรีดี” นั้น “กลุมรอยัลลิสต”ไดใชแผนการ สกปรกเพื่อชัยชนะในการเลือกตั้งดวยการสรางความเสือ่ มเสียใหกับผูส มัครจากพรรคการเมืองที่ สนับสนุนรัฐบาล∗ ทั้งนี้ รัฐบาลหลายชุดภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เชน รัฐบาลทวี บุณยเกตุ รัฐบาล 25

สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492, หนา 189-190.; ประชามิตร 12 ธันวาคม 2488 อางใน บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททาง การเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์,” หนา 63. 26 Coast , Some Aspects of Siamese Politics, p. 31. ∗

เชน แผนการตอสูทางเมืองของโชติ คุมพันธจากพรรคกาวหนา กับทองเปลว ชลภูมิจากพรรคแนว รัฐธรรมนูญ ในการเลือกตั้งซอมในป 2488 พรรคกาวหนาใชแผนสรางความเสื่อมเสียใหกับทองเปลว ดวยการ ใหสมาชิกพรรคฯนําสีไปขีดเขียนตามที่สาธารณะ วัด เรียกรองใหประชาชนเลือกทองเปลวเลอะเทอะไปทั่วที่ สาธารณะ อีกทั้งได พวกเขาไปตะโกนใหประชาชนเลือกหมายเลขคูแขงที่กอความรําราญอันทําใหประชาชน เกิดความรูสึกรังเกลียดทองเปลวอยางมากและหันมาเลือกโชติซึ่งเปนคูแขงขันแทน นอกจากนี้ ในเชาตรูวัน เลือกตั้ง พรรคกาวหนาไดใชใหสมาชิกพรรคฯไปตบประตูและตะโกนเรียกใหประชาชนตามบานเลือกทองเปลว พฤติกรรมเหลานี้สรางความโกรธใหกับประชาชนมาก ประชาชนจึงลงคะแนนใหกับโชติ พรรคตรงกันขามแทน (“นายประชาธิปตย”, กลวิธีหาเสียงเลือกตั้ง [พระนคร: มิตรนราการพิมพ, 2511],หนา 124.; ร.ท.จงกล ไกร ฤกษ, ศิลปการเลือกตั้ง [พระนคร: สํานักพิมพประพันธสาสน, 2517],หนา 124-128.; ปรีดี พนมยงค, “คํานิยม” ใน ร.ท.สุภัทร สุคนธาภิรมย, พุทธปรัชญาประยุกต [กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2517],หนา (6)-(7).)


38

ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช และรัฐบาลควง อภัยวงศที่ถกู จัดตั้งขึ้นลวนไดรับการสนับสนุนจากปรีดี พนมยงค เนื่องจากปรีดีมีกลุมสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ใหการสนับสนุนเขามาก ทําใหเขามี อิทธิพลที่สามารถใหการสนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลอยางไมยากนัก อยางไรก็ตามในเวลาตอมา ปรีดีไดตัดสินใจยุบ“ขบวนการเสรีไทย”ที่เปนฐานใหการสนับสนุนอํานาจทางการเมืองของเขา สงผลใหอํานาจของเขาถูกทาทาจากควง อภัยวงศ อันมีเหตุมาจากการที่เขาไมใหสนับสนุนให ควงกลับเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง เนื่องจาก เขาเห็นวา ควงมีความเปนอิสระในการตัดสินใจสูง ไมยอมทําตามคําแนะนําของเขา แตสุดทายแลว ควงไดรับการสนับสนุนจากสภาผูแทนฯใหเปน นายกรัฐมนตรีไดสําเร็จ27 ความขัดแยงครั้งนี้เปนสาเหตุทที่ ําใหควงแยกตัวออกจากคณะราษฎร ไปแสวงหาการสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมรอยัลลิสต” และควงสามารถจัดตั้งรัฐบาลของ เขาที่ไมไดรับการสนับสนุนจาก“กลุมปรีดี”ไดสําเร็จเมื่อตนป 2489 โดยควงไดรับความชวย เหลือ จาก“กลุมรอยัลลิสต” หลายคนเขารวมรัฐบาล เชน พระยาศรีวิสารวาจา อดีตขาราชการใน ระบอบเกาที่มคี วามคิดอนุรกั ษนยิ มอยางมาก เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาอัศวราชทรงศิริ และม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เปนตน28 ดวยเหตุที่ ปรีดีตัดสินใจยุบเลิกขบวนการเสรีไทย ซึง่ ถือวาเปน กองกําลังที่มสี วนในการปกปองรัฐบาล“กลุมปรีดี”ลง ในขณะที่ “กลุมรอยัลลิสต”กลับมีพลังทาง 27

สิริรัตน เรืองวงษวาร, “บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ.2475 – 2491,”,หนา 215-216. 28 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,”ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท , 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ,์ หนา 543.; ประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมาย เหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ),(กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิ่ง, 2542),หนา 156.;รายชื่อ คณะรัฐมนตรีของควง อภัยวงศชุดนี้ โปรดดู สิริรัตน , “บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 – 2491,”หนา 219-220. ควงไดตั้งคณะรัฐมนตรีที่ไมมี สมาชิก “กลุม ปรีดี”และพรรคสหชีพ พรรคแนวรัฐธรรมนูญรวมคณะรัฐมนตรีเลย แตมี“กลุมรอยัลลิสต”มากที่สุด เชน พระยา ศรีวิสารวาจาเปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวง ยุติธรรม พระยาศรีเสนาฯเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย พระยาอัศวราชทรงศิริเปนรัฐมนตรีวาการ กระทรวงเกษตราธิการ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชเปนรัฐมนตรีวาการะทรวงการตางประเทศ ทั้งนี้ ในสายตาของ โยสต อุปทูตสหรัฐฯเห็นวา พฤติกรรมทางการเมืองดังกลาวของควงนั้น สะทอนใหเห็นวา เขาไดแยกตัวออก จากคณะราษฎรแลว เนื่องจาก การที่ควงนําพระยาศรีวิสารฯและ“กลุมรอยัลลิสต”กลับเขารวมคณะรัฐมนตรี เปนการทาทายตออํานาจของปรีดี พนมยงคเปนอยางมาก เนื่องจาก ปรีดี เห็นวาพระยาศรีวิสารฯเปนศัตรูที่ทํา ใหเขาตองถูกเทรเนศออกไปเมื่อ 2476 โยสต เห็นวา ควงนั้นปราศจากความรูในทางการเมือง และไมขวนขวาย ในการอานหาความรูเพิ่มเติม จนเปนที่รูกันดีวา เขาเปนคนไมอานหนังสือ แมแตรายงานจากหนวยงานราชการ ถึงรัฐบาล หากเลี่ยงไดเขาก็จะไมอานรายงานนั้น แตเขาเปนคนที่มีไหวพริบในการโตเถียงและการยอนคําพูด (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, ”Khuang Aphaiwong Cabinet”, 6 Febuary 1946 ).


39

การเมืองมากขึ้น ทําใหเขาตระหนักวา กลุม การเมืองของตนปราศจากฐานสนับสนุนอํานาจ เวลา ตอมา ปรีดีและ“กลุมปรีด”ี ไดจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้น 2 พรรคที่สําคัญ คือ พรรคแนวรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนการรวม ตัวกันสมาชิกคณะราษฎรทั้งสวนพลเรือนและทหารทีย่ ึดถือหลัก 6 ประการของ คณะราษฎร 29 สวนพรรคสหชีพ เปนการรวมตัวกันของสมาชิกสภาผูแทนฯจากภาคอีสาน และ อดีตเสรีไทย ยึดถือนโยบายสังคมนิยมและตอตานจอมพล ป. พิบูลสงครามเพื่อใชพรรคการเมือง ทั้งสองพรรคตอสูทางการเมืองกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคลือ่ นไหวรวมตัวกันทางการเมืองอยาง เขมขนภายหลังสงครามโลก 30 ในขณะเดียวกัน ตนเดือนกุมภาพันธ 2489 กอนที่จะมีการจัดตั้งพรรคประชาธิปตยไม นาน สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานความเคลือ่ นไหวทางการเมืองระหวางควง อภัยวงศกับ พระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” ที่มกี ารพัฒนาความสัมพันธอนั แนบแนนมากยิ่งขึน้ ทั้งนี้ กลุมดัง กลาวประกอบดวย พระองคเจาภาณุพนั ธฯ เจาพระยาศรีธรรมธิเบศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ ปราโมช สมบูรณ ศิริธร เทียม ชัยนันท เลียง ไชยกาล และใหญ ศวิตชาติ เปนตน ในเวลาตอมา พวกเขาไดจัดประชุมทางการเมืองเพื่อเตรียมการจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นที่บานของ พระพินิจชนคดีเพื่อรวมมือกันตอตานคณะราษฎร โดยไดรับเงินทุนกอนแรกในจัดตั้งพรรค การเมืองจากพระพินิจชนคดี 31 ในที่สุด พรรคประชาธิปตยไดถูกจัดตั้งขึ้นในเดือนเมษายนป 29

NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”. ในรายงานฉบับนี้ให ขอมูลวา แกนนําของพรรคแนวรัฐธรรมนูญ คือ ปรีดี พนมยงค โดยมีพล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ เปน เลขาธิการทั่วไป สวนทองเปลว ชลภูมิเปนเลขาธิการพรรคฯ ทั้งนี้ นโยบายของพรรคฯ คือ หลัก 6 ประการของ คณะราษฎร 30 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”.; “เคานโยบายของคณะ พรรคสหชีพ,” ใน พรรคการเมือง, หยุด แสงอุทัย (พระนคร: โอเดียนสโตร, 2494), หนา 555-548. รายงานของ สถานทูตสหรัฐฯใหขอมูลวา เดือน บุนนาค และถวิล อุดล เปนเลขาธิการพรรคฯ เปนแกนนําของพรรคสหชีพ โดยมีสมาชิกสําคัญของพรรคฯ เชน ทองอิน ภูริพัฒน ไต ปาณิกบุตร จําลอง ดาวเรือง เตียง ศิริขันธ ซึ่งเปน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรภาคอีสาน มีความใกลชดิ คณะราษฎร ที่ทําการพรรคฯตั้งที่บานของทองอิน ภูริพัฒน ผูเปนแกนนําพรรคที่แทจริง พรรคฯดังกลาวนี้ มีสมาชิกสภาผูแทนฯราว 45-60 คน และสมาชิกพฤฒิสภาราว 915 คน นโยบายสําคัญของพรรคฯ คือ หลัก 6 ประการ และความคิดสังคมนิยม ที่ใหความสําคัญกับสหกรณ การสงเสริมการเกษตร มีความตองการความรวดเร็วในการดําเนินการทางการเมือง และตอตานจอมพล ป. พิบูลสงคราม(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation”). 31 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State ,26 April 1946.; ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีวลิขิต,(กรุงเทพฯ: ทิพยวดี ปราโมช, 2543), หนา 84.; อนุสรณในงาน


40

เดียวกันนัน้ เอง โดยปราศจากนโยบายพรรคฯที่มีความชัดเจน เนื่องจาก สมาชิกในพรรคฯมีความ ตองการทีห่ ลากหลาย เชน สมาชิกบางสวนมีความตองการกลับสูระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย บางสวนตองการรัฐบาลที่ซื่อสัตย บางก็ตองการมีผนู ําที่เขมแข็งอยางเชนจอมพล ป. พิบูล สงคราม แตบางสวนก็ไมตองการจอมพล ป.อีก อยางไรก็ตาม กลาวโดยสรุป นโยบายของพรรค ประชาธิปตย คือ คานเพื่อคานเทานัน้ 32 จากรายงานของอดีตโอเอสเอสคนหนึ่งรายงานวา รัฐบาลควง อภัยวงศเปนรัฐบาลอนุรักษนยิ มและมีความพยายามทําลายฐานทางการเมืองของ ปรีดี พนมยงคที่มาจากอดีตเสรีไทยและนักการเมืองฝายซาย จากนัน้ “กลุมปรีดี”นําโดยพรรคสห ชีพและสงวน ตุลารักษ ไดเริ่มดําเนินการตอบโตรัฐบาลควง โดยไดสนับสนุนใหกรรมกรจีนและ คนชั้นลางในกรุงเทพฯลุกฮือขึ้นกอความไมสงบตอตานรัฐบาลควงเพื่อเปนการโตตอบ33 ไมนาน จากนั้น ความขัดแยงดังกลาวนําไปสูการทีร่ ัฐบาลควงพายแพเสียงสนับสนุนในสภาผูแทนฯทําให ควงตองลาออกตําแหนงนายกรัฐมนตรีทดี่ ํารงตําแหนงไดเพียงไมถงึ สองเดือนนี้สรางความไม พอใจใหควงเปนอยางมาก34 จากนั้น ปรีดี พนมยงคไดกา วมามีบทบาททางการเมืองโดยตรง ในฐานะนายกรัฐมนตรี คนถัดมา ดวยเหตุความพายแพในสภาผูแทนฯไดสรางความไมพอใจของควง อภัยวงศและ“กลุม รอยัลลิสต”มาก ทําใหพวกเขาตัดสินใจจัดตั้งพรรคประชาธิปตยขึ้นในตนเดือนเมษายน 2489 โดยผลงานทางการเมืองในชวงแรกเริ่มของพรรคประชาธิปตย คือ การตอบโตรัฐบาลปรีดีทันที พระราชทานเพลิงศพ ณเมรุวัดธาตุทอง 4 มิถุนายน 2526,(กรุงเทพฯ: เรื่องชัยการพิมพ, 2526).; อนุสรณใน งานพระราชทานเพลิงศพ นายจําลอง ธนะโสภณ ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม 27 มีนาคม 2527,(กรุงเทพฯ: วรวุฒิ การพิมพ 2527).; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250 , Memorandum of Conversation Kumut Chandruang, K.P. Landon, “Developing Political Party in Bangkok ,” 6 Febuary 1946. พระพินิจชนคดี(ดานยกเซง หรือเชื้อ อินทรทูต) เขาเปนพี่เขยของม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เขาเคยรับขาราชการตํารวจ ตอมาถูกปลดออกจากราชการ เขาเคยเปนพอคาที่แสวงหากําไรในชวง สงครามโลกครั้งที่ 2 และเปนหัวหนาคนหนึ่งของกลุมคนจีนที่สนับสนุนก็กหมินตั๋ง และใหเงินสนับสนุนคนจีน ในบันทึกการสนทนาฉบับนี้ สถานทูตสหรัฐฯระบุวา กุมุท จันทรเรืองเปนตัวแทนปรีดี พนมยงคอยางไมเปน ทางการ 32 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”; Jayanta Kumar Ray, Portraits of Thai Politics,(New Delhi: Orient Langman, 1972), p. 119 . 33 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Alexander McDonald to Campbell, 12 Febuary 1946 . 34 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 543.


41

โดยพรรคประชาธิปตยไดกลาวหารัฐบาลปรีดีและเหลาเสรีไทยวา รวมกันยักยอกเงินจากงบ สันติภาพของเสรีไทย แตผลการสอบสวนโดยคณะกรรมธิการของสภาผูแทนฯปรากฏวา ขอ กลาวหาจากพรรคประชาธิปตยไมเปนความจริง อยางไรก็ตาม ขอกลาวหาของพรรค ประชาธิปตยไดสรางความเสื่อมเสียใหรัฐบาลปรีดีเปนอยางมาก และไดกลายเปนชนวนของ ความขัดแยงระหวาง“กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต”ในเวลาตอมา35 ผนวกกับเมื่อรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 ไดถูกประกาศใชนําไปสูการเลือกตั้งนัน้ ยิง่ กอใหเกิดการเผชิญหนากันโดยตรงระหวาง “กลุมปรีดี”กับ“กลุมรอยัลลิสต”ผานพรรคการเมืองที่แตละฝายสนับสนุนมากยิง่ ขึ้น สําหรับบทบาทในการตอสูทางการเมืองของพรรคประชาธิปตยในชวงแรกเริ่มของการกอ ตัวนัน้ พวกเขาพยายามโฆษณาชวนเชื่อในการหาเสียงการเลือกตั้งเมื่อตนป 2489 วา การเสด็จ นิวัตรพระนครในเดือนธันวาคม 2488และการเสด็จเยาวราชของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั อานันทมหิดล เปนผลงานของพรรคประชาธิปตยเพื่อชวงชิงผลงานจากรัฐบาลปรีดี พนมยงค นอกจากนี้ พวกเขายังไดพยายามอางวา พระมหากษัตริยเขาทรงใหการสนับสนุนพรรคฯของตน แตผลการเลือกตั้งปรากฎวา พรรคสหชีพและแนวรัฐธรรมนูญซึ่งเปนพรรคที่สนับสนุนรัฐบาลปรีดี ยังคงไดรับชัยชนะ จากนัน้ พวกเขาจึงไดเริ่มรณรงคตอไปวา การเลือกตั้งครั้งนี้ไมบริสุทธิ์ยุติธรรม พรอมๆกับการโจมตีปรีดีวาเปนคอมมิวนิสต และการเริ่มตนแผนการโกงการเลือกพฤติสภา ม.จ.ศุภสวัสดิฯ์ ทรงบันทึกวาควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยเปนผูที่ไมรูจักผิดชอบชั่วดี 36 2.4 “กลุมรอยัลลิสต” กับการเมืองในราชสํานักและการหาความสนับสนุนจากอังกฤษ การกลับสูการเมืองของไทยของ “กลุมรอยัลลิสต”ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมแต เพียงสรางปญหาใหกับการเมืองไทยเทานัน้ แตนาํ มาซึ่งปญหาการเมืองภายในราชสํานักดวย เชนกัน เนื่องจาก “กลุมรอยัลลิสต”ขณะนั้นมีหลายกลุม โดยแตละกลุม ก็ใหการสนับสนุนราชสกุล 35

บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททางการเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์,”หนา 72-73. และ “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,”ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 544. ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชไดกลาวหาวาปรีดี พนม ยงคและเสรีไทยทุจริตเงินดําเนินการที่สหรัฐฯสงให 500,000 ดอลลาร ตอมาคณะกรรมธิการสภาผูแทนราษฎร ไดตรวจสอบโดยเชิญบุคคลจํานวนมากมาใหปากคํา เชน เจมส ทอมสัน หนึ่งในอดีตโอเอสเอสไดใหปากคําวา การกลาวหาของพรรคประชาธิปตยทําใหเขาเจ็บปวดมาก แทนที่พรรคประชาธิปตยและ “กลุมรอยัลลิสต”จะ สํานึกในบุญคุณของเสรีไทยแตกลับกลาวหาวาพวกเสรีไทยทุจริต สุดทาย ผลการสอบสวนของสภาฯปรากฎวา ปรีดีรับเงินมาเพียง 49,000 ดอลลารเทานั้น และไมมีการทุจริตเงินดังกลาว 36 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 547-549.


42

ที่แตกตางกันใหขึ้นมามีอํานาจในราชสํานัก เชน ราชสกุลจักรพงศ บริพัตร หรือยุคล ซึ่งราชสกุล ขางตนยังคงมีอิทธิพลและไดรับการสนับสนุนจาก“กลุม รอยัลลิสต”มากกวาราชสกุลมหิดลที่หา ง เหินจากการเมือในราชสํานัก ทามกลางการแขงขันภายในราชสํานักของเหลาพระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต”ตางๆ ทําใหเกิดกระแสขาววา กอนทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทฯจะ เสด็จนิวัตรพระนคร ในเดือนธันวาคม 2488 นั้น สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา พระองคอาจจะ ทรงสละราชยสมบัติ และมีความเปนไปไดที่พระองคเจาจุมภฎแหงราชสกุลบริพัตรจะขึ้น ครองราชยแทน อีกทั้ง ในขณะนั้น ปรีดี พนมยงคในฐานะผูสําเร็จราชการแทนพระมหากษัตริยได แสดงความสนิทสนมกับราชตระกูลอื่นทีม่ ีโอกาสสืบสันติวงศในลําดับถัดไป เชน การที่เขาไดเคย ไดเดินทางไปพบพระองคเจาจุมภฎฯ และเขาเคยไปเทีย่ วกับพระองคเจาภาณุพนั ธแหงราชสกุล ยุคคลดวย37 แมตอมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทฯทรงนิวัตรพระนครในเดือนธันวาคม 2488 แตความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและ“กลุมรอยัลลิสต”ก็มิไดลบเลือนไป แตกลับยิ้งปริ ราวมากยิง่ ขึ้น สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ตัง้ แตเดือนพฤษภาคมถึงตนมิถุนายน 2489 เกิด ความเหินหางกันระหวางพระมหากษัตริยแ ละปรีดี พนมยงค เนื่องจากเกิดการปลอยขาวภายใน ราชสํานักโดยพระราชวงศและพรรคประชาธิปตย ทูตสหรัฐฯและอังกฤษไดบันทึกถึงบรรยากาศ ที่เย็นชาในชวงเวลาดังกลาวทีพ่ วกเขาไดรับจากพระมหากษัตริยและพระราชชนนี เมื่อพวกเขา กลาวถึงปรีดี พนมยงคตอหนาพระพักต ในรายงานของสถานทูตฯไดวเิ คราะหวา พระราชวงศ และพรรคประชาธิปตยพยายามใชพระมหากษัตริยเปนเครื่องมือในการแบงแยกระหวาง คณะราษฎรและ“กลุมรอยัลลิสต”เพื่อทําการตอตานรัฐบาลปรีดี ในรายงานไดแสดงความหวังวา ปญหาความเย็นชาและความขัดแยงระหวางราชสํานักและรัฐบาลจะลดลงเมื่อพระองคทรงเสด็จ เดินทางไปยังตางประเทศ38 แตปญหาดังกลาวมิไดเปนไปตามความคาดหวังที่สถานทูตสหรัฐฯหวังไว แตความ ขัดแยงกลับยิง่ ทวีความรุนแรงมากขึน้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทฯทรงสวรรคต ดวยการถูกยิงดวยพระแสงปนอยางมีเงื่อนงําในเชาของวันที่ 9 มิถุนายน 2489 ไมกี่วันกอน พระองคจะทรงออกเดินทางกลับไปยังสวิสเซอรแลนด∗ จากนัน้ การสวรรคตที่เกิดขึ้นไดกลาย 37

NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Yost to Secretary of State, 24 November 1945. 38 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 6 June 1946 . ∗ ทันทีที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทฯทรงเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดี พนมยงคไดเสนอให สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟาภูมิพลอดุลยเดชสืบสันตติวงศ โดยรัฐสภามีมติเปนเอกฉันท แตดวยเหตุที่


43

เปนจุดเปลี่ยนทางการเมืองที่สําคัญอันทําใหปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาหมดอํานาจลงอยาง รวดเร็ว และเหตุการณดังกลาวไดเปดโอกาสให“กลุมจอมพล ป.”กลับมามีโอกาสทางการเมืองอีก ครั้ง โดยเฉพาะอยางยิง่ เปนโอกาสที่ดียิ่งของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ใชประเด็นดังกลาวเปนหนทางใน การกลับมามีอํานาจทางการเมืองของพวกเขายิง่ นําไปสูปญหาความปนปวนทางการเมืองอยาง รุนแรงในการเมืองไทยนานกวาทศวรรษตอไป ไมนานหลังการสวรรคต รัฐบาลปรีดี พนมยงค ไดแถลงขาวดังกลาวตอสาธารณชนวา พระมหากษัตริยทรงสวรรคตจากอุบัติเหตุ จากนั้น รัฐบาลไดสั่งใหคณะแพทยและตํารวจเขาชัน สูจนพลิกศพ แต กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผูทรงเปนพระประยูรญาติชั้นผูใหญทที่ รงมีความ สนิทสนมกับราชสกุลมหิดล และตอมาทรงเปนผูสําเร็จราชการแทนพระมหากษัตริยน นั้ พระองค ทรงไมอนุญาตใหคณะแพทยและตํารวจของรัฐบาลเขาทําหนาที่ 39 จากนัน้ ปรีดีไดขอลาออกจาก ตําแหนงนายกรัฐมนตรี อยางไรก็ตาม รัฐสภายังคงเลือกเขากลับไปเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้งใน วันที่ 11 มิถุนายน 2489 การกลับมาสูอาํ นาจของปรีดีครั้งนีท้ ําใหเกิดความเชื่อมโยงกันของพระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”ระหวางพระองคเจาธานีนิวัตฯ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและพรรค ประชาธิปตย ไดรวมมือในการปลอยขาวลือโจมตีวา ปรีดปี ลงพระชนมพระมหากษัตริย40 การ ปลอยขาวดัง กลาวยิ่งทําใหสาธารณชนทีไ่ มมีโอกาสรับรูขอเท็จจริงนัน้ มีความสงสัยในรัฐบาล ปรีดีมากยิง่ ขึ้น

พระองคยังทรงยังไมบรรลุนิติภาวะ รัฐสภาจึงไดตั้งคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคชั่วคราว คือ พระสุธรรม วินิจฉัย(ชม วณิกเกียรติ) พระยานลราชสุวัจน(ทองดี วณิคพันธุ)และนายสงวน จูฑะเตมีย (ประเสริฐ ปทมะ สุคนธ, รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองป(2485-2517),[พระนคร: ชุมนุมชาง, 2517], หนา 535, 543.)จากการที่ รัฐบาลไดแตงตั้งคณะผูสําเร็จราชการฯแทนนี้สรางความไมพอใหใหกับราชสํานัก เนื่องจาก ราชสํานักตองการ มีสวนในการจัดการแตงตั้งผูสําเร็จราชการฯดวยตนเอง (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 11 June 1946 ) ตอมา เกิดการประนีประนอมระหวางรัฐบาลปรีดีกับ ราชสํานักดวยการแตงตั้งคณะผูสําเร็จราชการฯจํานวน 2 คน ในระหวางนั้น สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณีทรง เดินทางกลับมาไทยและทรงมีพระราชประสงคเปนคณะผูสําเร็จราชการฯดวย(NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 August 1946”). แตสุดทายราชสํานัก ไดเสนอชื่อ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เปน ตัวแทน สวนคนที่ 2 คือ พระยามานวราชเสวี(ปลอด ณ สงขลา)ตัวแทนของรัฐบาล(NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 18 June 1946). 39 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 550. 40 Ibid., หนา 550,558.


44

ในชวงเวลาเดีวกัน สถานทูตอังกฤษไดรายงานวา พระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” ใช สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษเปนเปาหมายของการปลอยขาวลือโจมตีรัฐบาลปรีดี พนมยงค ภายหลังการสวรรคตไดเพียง 2 วัน ทูตอังกฤษไดรายงานเมื่อ 11 มิถนุ ายน 2489วา พระองคเจา ธานีนวิ ัตฯไดมาพบทูตอังกฤษอยางรีบเรงดวยรถยนตทหารอังกฤษเพือ่ แจงแกเขาวา พระองคทรง เชื่อวาพระบาท สมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯ ทรงถูกลอบปลงพระชนม ทรงอางวาทรงเห็นพระ บรมศพดวยพระองคเอง แตรัฐบาลปรีดีกลับประกาศวา การสวรรคตเปนอุบัติเหตุ ทรงแสดง ความกังวลวาพระมหากษัตริยพระองคใหมจะไมไดทรงราชย เนื่องจาก ทรงเชื่อวา มีนักการเมือง ที่ครองอํานาจอยูจะสถาปนาสาธารณรัฐขึ้น จึงทรงเรียกรองใหกองทัพทหารอังกฤษประจําการอยู ในประเทศไทยตอไป41 แตสถานทูตอังกฤษไมตองการเกีย่ วของกับเรื่องลึกลับซับซอนภายในราช สํานักไทย และทูตอังกฤษไดเตือนพระองคเจาธานีนิวัตฯวา ไมทรงควรปลอยใหอารมณครอบงํา จิตใจ ทูตอังกฤษเห็นวา พระองคทรงมาจากฝายที่ตองการดําเนินการรุนแรง42 ในขณะเดียวกัน โยสต อุปทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ไดสงภรรยาและหลานของเขามายัง สถานทูตฯ พรอมกลาวหาวาปรีดีมีความเกีย่ วของกับการสวรรคต แตเขาไมเชื่อขาวดังกลาว43 อยางไรก็ตาม โยสต เห็นวา มีความเปนไปไดที่กองทัพอังกฤษจะเขาแทรกแซงหากรัฐบาลปรีดีไม สามารถควบคุมสถานการณได44 นอกจากนี้ โยสตไดรายงานสถานการณการเมืองในราชสํานัก ภายหลังการสวรรคตตออีกวา เกิดการเหอเหิมของกลุม พระราชวงศหลายตระกูล โดยเฉพาะ อยางยิ่ง“กลุมรอยัลลิสต”ที่นําโดยราชสกุลสวัสดิวัตน ทีม่ ีสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี และ ม.จ.ศุภสวัสดิ์ เปนแกนนําที่ใหการสนับสนุนราชสกุลจักรพงษใหขึ้นมีอาํ นาจเหนือราชสํานักแทน 45

41

กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 331. Ibid., หนา 332. ทั้งนี้ “พระองคเจาไทย” ที่เอกสารอังกฤษรายงานนั้น ปรีดี พนมยงคเห็นวา หมายถึง พระองคเจาธานีนิวัตฯ(ปรีดี พนมยงค, ชีวประวัติยอของนายปรีดี พนมยงค,[กรุงเทพฯ: คณะ อนุกรรมการศึกษาวิจัยและประมวลผลงานของศาสตราจารย ดร.ปรีดี พนมยงค, 2544], หนา 158-168). 43 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, “Footnotes on the King’s Death,” 14 June 1946.; “A Memorandum on a certain aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภ สวัสดิ์, หนา 550. 44 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 11 June 1946 . 45 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 26 June 1946. 42


45

สแตนตัน ทูตสหรัฐฯเห็นวา การสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทฯเปน ประหนึง่ เงาดําทมึนที่บดบังทุกสิง่ ทุกอยาง เกิดการขาวลือที่สกปรกที่เชือ่ มโยงคดีไปสูป รีดี พนม ยงคและพวกมีความเกี่ยวของกับการสวรรคต46 ตอมา สแตนตันไดเขาพบปรีดี นายกรัฐมนตรีใน ขณะนั้น และไดบันทึกการพบครั้งนั้นวา ปรีดีอยูในอารมยโกรธเนื่องจากถูกกลาวหาจากพระ ราชวงศและพรรคประชาธิปตย โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ที่จะทําให พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมิพลอดุลยเดช ผูทรงเปนพระมหากษัตริยพระองคใหมและพระ ราชชนนีใหตอตานเขา ปรีดแี จงตอไปอีกวา ความสัมพันธระหวางเขากับพระราชชนีนั้นอยูใน ระดับแย และเขามีความวิตกวา ความสัมพันธที่ยา่ํ แยนจี้ ะเกิดกับพระมหากษัตริยพระองคใหม ดวย เนื่องจาก เขากําลังถูกใสรายดุจเดียวกับเหมือนกับที่เคยเกิดขึน้ ในสมัยพระมหากษัตริยใน พระบรมโกฐ47 หลังจาก ขาวลือเกี่ยวกับการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทฯถูกลอบปลงพระ ชนมไดแพรสะพัดไปในสังคมกอใหเกิดกระแสตอตานปรีดี พนมยงคอยางรุนแรง นักหนังสือพิมพ รวมสมัยชาวอเมริกันและอดีตโอเอสเอสคนหนึ่งไดบนั ทึกถึงบทบาทของหนังสือพิมพทา มกลาง การตอสูทางการเมืองขณะนัน้ วา หนังสือพิมพไทยจํานวน 35 ฉบับขณะนัน้ มีเพียงไมกี่ฉบับ เทานัน้ ที่รายงานขาวอยางเที่ยงตรง นอกนั้นไดรับการอุดหนุนจากกลุม การ เมืองที่เปนปรปกษตอ กันทั้งสิน้ เชน “กลุมรอยัลลิสต” รัฐบาลและกลุมทหาร การรายงานขาวขณะนัน้ ดุเดือดและมุง ทําลายลางศัตรูทางการเมืองโดยไมคํานึงถึงจริยธรรมใดๆ48 และเมื่อเกิดวิกฤตการณการเมือง จากการสวรรคตที่รัฐบาลปรีดี ยังไมสามารถสรางความกระจางใหกบั สาธารณชน ทามกลางการ ตอสูทางการเมืองที่แหลมคมยิ่งทําใหหนังสือพิมพที่ไดรับการสนับสนุนจากกลุมการเมืองตางๆ เคลื่อนไหวสรางขาวทีเ่ ปนปรปกษกับรัฐบาลมากยิ่งขึน้ เพียงไมกี่วนั ภายหลังการสวรรคต เริ่มเกิด

46

Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 169. NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Death of the King of Siam,” 13 June 1946.ขอความที่สแตนตัน ทูตสหรัฐฯรายงานการสนทนากับปรีดี พนมยงคไมกี่วันหลังการสวรรคตมีวา “…he(ปรีดี พนมยงค) was violently angry at the accusation of foul play leveled againt himself and most bitter at the manner in which he alleged that the Royal Family and the Opposition, particularly Seni Pramoj, had prejudiced the King and especially the Princess Morther againt him… his relations with the Princess Mother were hopelessly bad and he feared greatly that his relations with the new King would be poisoned in the same manner as had his relations with King Ananda .” 48 Alexander Macdonald, Bangkok Editor,(New Yor: The Macmillan Company,1950), p.57. 47


46

ขาวลือในสังคมวา พระมหากษัตริยถูกปลงพระชนม49 แมในเวลาตอมา รัฐบาลปรีดจี ะไดตั้ง คณะกรรมการสอบสวนกรณีสวรรคตขึ้นเพื่อดําเนินการสรางความกระจางแกสาธารณชน50 แตก็ ดําเนินการสอบสวนไปดวยความยากลําบาก ตอมา รัฐบาลยังไมสามารถสรางความกระจางถึง สาเหตุการสวรรคตทําใหสาธารณชนได ยิง่ ทําใหสาธารณชนเกิดความเคลือบแคลงสงสัยมาก ยิ่งขึ้น แมปรีดี จะสามารถรักษาตําแหนงนายกรัฐมนตรีตอไปทามกลางวิกฤติการณหลังการ สวรรคตไดก็ตาม แตประชาชนทัว่ ไปยังคงเชื่อวาพระมหากษัตริยถกู ลอบปลงพระชนม51 อยางไรก็ตาม พระราชวงศหลายคน เชน พระองคเจาธานีนวิ ัตฯ พระองคเจาจุมภฎฯ พระองคเจาภาณุพนั ธฯ ซึ่งเปนกรรมการในคณะกรรมการสืบสวนกรณีสวรรคตนี้ตางทรงมีเปา หมายทางการเมืองรวมกัน คือ ความไมพอใจคณะราษฎร ดังรายงานของซีไอเอไดราย งานวา พระองคเจาภาณุพนั ธ ทรงเปนหนึ่งในผูท มี่ ีโอกาสขึน้ ครองราชยเปนลําดับที่ 3 ตอจากพระองค เจาจุมภฎฯ-ทรงไมพอพระทัยปรีดี พนมยงค เพราะปรีดีไมไดใหการสนับสนุนการคาสวนพระองค ทรงกลาววาทรงมีพระประสงคตองการเลนการเมือง52 จากนัน้ พระองคทรงใหการสนับ สนุนพรร คประชาธิปตย และทรงใชหนังสือพิมพเปนเครื่องมือตอสูทางการเมือง โดยทรงวาจางให บรรณาธิการใชหนังสือพิมพทําลายลางนักการเมืองของคณะราษฎร เนื่องจากทรงไมพอพระทัยที่ คณะราษฎรโคนลมระบอบเกาดวยการโจมตีวาคณะราษฎรเปนศัตรูของ“กลุมรอยัลลิสต” อีกทัง้ ทรงไดเขียนบทความหลายชิ้นดวยตนเอง โดยใชนามปากกาวา“จันทวาทิตย”53 ทรงเคยกลาวกับ

49

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 18 June 1946.; Macdonald, Bangkok Editor, p. 57-58.; ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการ เมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516,(กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2543),หนา 234. ทั้งนี้ หนังสือพิมพอิทธิ ธรรม ของชื้น โรจนวิภาต เปนหนังสือพิมพฉบับแรกที่โจมตีรัฐบาลกรณีสวรรรคต 50 สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 39-40. คณะ กรรมการฯ ชุดดังกลาวมีประธานศาลฎีกาเปนประธาน ประกอบดวยตัวแทนมาจาก 4 กลุม คือ กลุมผู พิพากษาและอัยการ ศาลอุธรณ ศาลอาญา และกรมอัยการ กลุมผูแทนรัฐสภาจากประธานพฤฒิสภาและสภา ผูแทนฯ กลุมพระราชวงศ เชน พระองคเจาจุมภฎฯ พระองคเจาภาณุพันธฯ และพระองคเจาธานีนิวัตฯ และ กลุมสุดทายมาจากตัวแทนของ 3 เหลาทัพ โดยคณะกรรมการชุดนี้ถูกตั้งขึ้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2489 51 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP78-01617A005800020009-4, 4 July 1946, “Political crisis subside”. 52 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R000100410004-5, 13 November 1946, “Internal Politics”. 53 Macdonald, Bangkok Editor, p. 58.


47

นักหนังสือพิมพชาวอเมริกนั วา “กลุมรอยัลลิสต” มีความภูมิใจที่ไดโจมตีรัฐบาลปรีดีและกลุมของ เขา 54 นับแตการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯ รัฐบาลปรีดี พนมยงค สูญเสียความเชื่อมั่นและไดรับความไมพอใจจากสาธารณชน ขาราชการ และทหาร อีกทั้งถูก โจมตีจากหนังสือพิมพอยางหนัก ทําใหรัฐบาลเกิดความวิตกถึงปญหาความมัน่ คงทางการเมือง ทําใหรัฐบาลแตงตั้ง พล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส อดีตอธิบดีกรมตํารวจและเสรีไทยใหเปนผูบัญชา การทหารบกในกลางเดือนมิถุนายน 2489 เพื่อควบคุมสถานการณและปองกันการรัฐประหาร55 ในปลายเดือนเดียวกัน รัฐบาลไดจับกุมนักการเมือง และนักหนังสือพิมพ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ได ปลอยขาวลือโจมตีรัฐบาลไดหลายคน 56 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา เมื่อรัฐบาลประกาศภาวะ 54

Ibid., p. 59. ตอมา พระองคเจาภาณุพันธฯทรงจัดตั้ง บริษัท สหอุปกรณการพิมพ ขึ้นและทรงเปน เจาของหนังสือพิมพหลายฉบับ เชน เกียรติศักดิ์ และประชาธิปไตย อีกทั้ง ทรงมีนักหนังสือพิมพภายใตการ อุปถัมภ เชน เชน ร.ท. สัมพันธ ขันธะชวนะ(“สําเนียง‘ตาหมอหลอ’ ขันธชวนะ,” ใน ชีวิตการตอสูของ นักหนังสือพิมพที่นาสนใจ, ราเชนทร วัฒนปรีชากุล [กรุงเทพฯ: ศูนยรวมขาวเอกลักษณ, ไมปรากฎปพิมพ], หนา 260-262). ประวัติของสําเนียง ขันธชวนะหรือ‘ตาหมอหลอ’ เขาจบการศึกษาระดับมัธยมปที่ 4 เคยเปน ครูประชาบาลที่จังหวัดราชบุรี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาไดเขาสูวงการหนังสือพิมพ เคยดํารงตําแหนง บรรณาธิการเกียรติศักดิ์ เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเขียนขาวคดีสวรรคต ในชวงป 2490 เกียรติศักดิ์มียอด จําหนายดีมากจากขาวคดีสวรรคต ตอมาหนังสือพิมพมีปญหาทางการเงินในชวง 2498 เขาจึงไปรวมงานกับ หนังสือพิมพขาวดวนจนถึงป 2500 เขายายไปทํางานกับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชที่สยามรัฐ) และไสว พรหมมิ (อนุสรณในงานณาปนกิจศพ นายไสว พรหมมิ ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 1 กุมภาพันธ 2526,(สระบุรี: โรง พิมพปากเพรียว, 2526),หนา 51.ประวัติของไสว พรหมมิ (2459-2525) เคยทํางานที่เกียรติศักดิ์ และ ประชาธิปไตย ใชนามปากกาวา ‘อานนท’ เปนคอลัมนิสตที่เขียน“การเมืองนอกเวที” เคยเขียนบทความวิจารณ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามอยางหนักในกรณีซื้อรถถังเบรนกิ้น ในระหวางที่เขารวมงานกับเกียรติศักดิ์นั้น หนังสือพิมพฉบับดังกลาวถูกปดเนื่องจากไปโจมตีกรณีสวรรคต จากนั้น พระองคเจาภาณุพันธฯไดทรงซื้อ กิจการประชาธิปไตย เพื่อใหเขาเขียนขาวโจมตีปรีดี พนมยงคในกรณีสวรรคตและการสถาปนามหาชนรัฐตอไป 55 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 28 June 1946. 56 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 31 July-15 August 1946”.; สุวิมล รุง เจริญ,“บทบาทของนักหนังสือพิมพในการเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526),หนา 30.; เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา,(พระนคร: รวมสาสน, 2501), หนา 478-486. เชน เลียง ไชยกาล ส.ส. โชติ คุมพันธุ ส.ส. ทองนันท วงศสังข ส.ส. สกลนคร ประยูร อภัยวงศ ส.ส. พิบูลสงคราม แดง วงศสุวรรณ ผูสมัครส.ส. สงขลา ประชาธิปตย สวนบรรณาธิการหนังสือพิมพของ“กลุมรอยัลลิสต” เชน ดําริห ปทมะศิริ-บรรณาธิการ


48

ฉุกเฉินเมื่อ 1 กรกฎาคม และมีการเซ็นเซอรหนังสือพิมพนั้น ไมไดชวยใหความปนปวนทาง การเมืองที่ถกู ปลุกเราจาก“กลุมรอยัลลิสต”คลี่คลายลงไปไดเลย แตกลับยิ่งทําใหสถานการณ ย่ําแยลง เนื่องจาก“กลุมรอยัลลิสต”ยังคงเคลื่อนไหวเพื่อกอวินาศกรรมทางการเมืองตอรัฐบาล ปรีดี โดยไมคิดถึงผลประโยชนสวนรวม ตอมา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชไดประกาศวา เขาจะถูกจับ เร็วๆนี้ และแจงวา พรรคประชาธิปตยไดรับการติดตอจากกองทัพใหตอตานรัฐบาล57 ตอมา รัฐบาลปรีดี พนมยงคไดจับสมาชิกแกนนําของพรรคประชาธิปตยหลายคน เชน ควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและเลียง ไชยกาล กับบรรณาธิการหนังสือพิมพของ “กลุม รอยัลลิสต”อีก 2 คน เนื่องจากรวมกันขยายขาวที่เปนเท็จ ปรีดีไดแจงกับสแตนตัน ทูตสหรัฐฯ ในขณะ นัน้ วา หากขาวลือเกีย่ วกับการสวรรคตไมจบลงเร็วๆนี้จะเกิดปญหายุง ยากทางการ เมือง 58 สแตนตันยังคงรายงานตอไปวา การสนทนาครั้งนี้ ปรีดอี ยูในอารมณโกรธ และบอกกับเขาวา ขาวลือเหลานี้ เกิดขึ้นจากความรวมมือระหวางพรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตองการ ปลอยขาวลือหวังสรางความเคลือบแคลงใจตอตัวเขาใหกับสาธารณชน โดยขณะนัน้ รัฐบาลปรีดี ไดตอบโตดวยการใชวิธกี ารเซ็นเซอรหนังสือพิมพเพื่อตอตานการปลอยขาวลือดังกลาว59 หลังการสวรรคตของพระมหากษัตริยเพียงหนึ่งเดือน สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา เกิด ความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่นาํ โดยพระองคเจาจุมภฎฯ ผูทรงเปนหนึ่งในกรรมการ สืบสวนการสวรรคตและทรงมีสิทธิในการขึน้ ครองราชลําดับที่ 2 ตอจากราชสกุลมหิดลนั้น ไดทรง ใหการสนับสนุนการแจกอาวุธปนคาไบนและกระสุนเพือ่ เตรียมการรัฐประหารลมรัฐบาลปรีดี พนมยงคที่ยงั ไมยอมใหความกระจางถึงสาเหตุการสวรรคตเพื่อผลักดันใหพระองคเจาจุมภฎฯขึ้น ครองราชยแทนราชสกุลมหิดล อีกทั้ง พระองคทรงตองการหมุนระบอบการเมืองของไทยใหกลับ ไปสูระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยอีกครั้ง โดยทรงมีแผนเปดโอกาสใหอังกฤษกลับมามีอทิ ธิพล ตอไทยอีกครั้ง สําหรับ ควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตย มีทา ทีใหสนับสนุนการเตรียม ประชาธิปไตย ยอดธรรม บุญบันดาล-บรรณาธิการเสรี สมัย เรืองไกร-บรรณาธิการสหภาพ และร.ท.สัมพันธ ขันธะชวนะ บรรณาธิการเกียรติศักดิ์(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP7801617A005800020001-2, 1 April 1946- 29 June 1946, “Premier move to restrain Army”). 57 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 3 July 1946.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. 58 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 6 July 1946. 59 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 8 July 1946 .


49

รัฐประหารของพระองคเจาจุมภฏอยางลับๆ อยางไรก็ตาม แผนการรัฐประหารของพระองคเจา จุมภฎและพรรคประชาธิปตยถูกระงับไป เนื่องจาก รัฐบาลลวงรูความเคลื่อนไหว และเตรียมการ ตอตานการรัฐประหารดังกลาวแลว 60 เมื่อการรณรงคเลือกตั้งทัว่ ไปตามรัฐธรรมนูญ 2489 เริ่มตนขึ้น พรรคประชาธิปตยซงึ่ ตองการชัยชนะในการเลือกตั้งดวยทุกวิธีการไดใชประโยชนจากการสวรรคตเปนประเด็นในการ โจมตีทางการเมือง โดยควง อภัยวงศไดรวมมือกับ“กลุมรอยัลลิสต”กลาวหาวา คณะราษฎรมีแต ความผิดพลาด และปลอยขาวโจมตีวาปรีดี พนมยงคอยูเบื้องหลังการสวรรคตผานการกระซิบ และการเขียนขอความสนเทหแจกจายไปตามหนวยราชการและบุคคล61 อยางไรก็ตาม รัฐบาล ปรีดีไดพยายามแกไขสถานการณดวยคําสัง่ ของกระทรวงมหาดไทยทีส่ ั่งการใหผูวา ราชการ จังหวัดชี้แจงวาขอกลาวหาทีไ่ มถูกตองจากพรรคประชาธิปตย ดวยเหตุที่ พรรคประชาธิปตยได ใชแผนการสกปรกในการโจมตีรัฐบาล รัฐบาลจึงมองวาพรรคประชาธิปตย คือ ศัตรูทางการ เมือง 62 ไมแตเพียง ความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับพรรคประชาธิปตยเทานัน้ แตภายในพรรค ประชาธิปตยเกิดความขัดแยงภายในพรรคประชาธิปตยระหวางไถง สุวรรณทัตกับพระยาศรี วิสารวาจา ซึ่งทั้งคูลงสมัครรับเลือกตั้งในเขตเดียวกันทําพรรคประชาธิปตยตัดสินใจใหไถงถอนตัว จากการแขงขัน แตไถงปฏิเสธ ไมนานจากนัน้ เขาถูกขวางระเบิดในระหวางการหาเสียงทําใหเขา เสียขาขางหนึง่ ไป จากนัน้ พรรคประชาธิปตยไดใชรถหาเสียงโฆษณากลาวหาวาปรีดอี ยูเบื้อง หลังการระเบิดใสไถง ดวยเหตุที่ เหตุดังกลาวเกิดกอนลงคะแนนเสียงการเลือกตั้งเพียง 2 วัน แต บางคนเห็นวา คนที่ไดประโยชนจากเหตุการณนี้ คือ พรรคประชาธิปตย นัน่ เอง แมวา ผลการ เลือกตั้งในเดือนสิงหาคม 2489 ปรากฎวาพรรคการเมืองที่สนับสนุนรัฐบาลพายแพใหกับพรรค ประชาธิปตยในเขตกรุงเทพฯแตรัฐบาลยังคงไดรับความนิยมจากประชาชนในเขตชนบท63

60

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 30

July 1946 . 61

“A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 549.,สุชิน ตันติกุล , “ผลสะทอนทาง การเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,”หนา 41. 62 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 561-562. และโปรดดู “คําสั่งกระทรวง มหาดไทย,” 29 กรกฎาคม 2489 ใน เบื้องหลังการเมืองยุคทมิฬ, ณรงค ไตรวัฒน (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ อุดมศึกษา, 2517), หนา 53-58. 63 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 563-564.


50

กระนัน้ ก็ดี “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยยังไมลมเลิกความพยายามในการ ทําลายปรีดี พนมยงคและกลุมของเขา ตอมาพรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต”ไดสงคน ลักลอบบุกรุกเขาไปในพระบรมมหาราชวังเพื่อโจมตีรัฐบาลปรีดีดวยขอกลาวหาวา รัฐบาล บกพรองที่ไมสามารถรักษาความปลอดภัยใหพระมหากษัตริยจนกระทั่งพระองคทรงถูกปลงประ ชนมได 64 ตํารวจสันติบาลนายหนึ่งบันทึกวา “กลุมรอยัลลิสต”ไดใชกรณีสวรรคตโจมตีรัฐบาล โดยเริ่มจากประเด็นรัฐบาลถวายการอารักขาไมเพียงพอ ตอมากลายเปนการโจมตีปรีดีวาเปนผู บงการใหเกิดการสวรรรคต เปนพวกสาธารณรัฐ และเปนคอมมิวนิสต65 แมปรีดีจะถูกโจมตีอยาง รุนแรงจากการสวรรคต แตปรากฎวา เขามิไดเสนอคําอธิบายใดๆในการปฏิเสธขอกลาวหาตางๆ ที่เกิดขึ้น แตเขากลับตัดสินใจลาออกในเมือ่ 21 สิงหาคม ดวยเหตุผลที่เปนทางการ คือ เขามี ปญหาสุขภาพและตองการพักผอน แตสถานทูตสหรัฐฯรายงานวา สาเหตุที่แทจริง คือ เกิด ความสัมพันธที่ตึงเครียดระหวางปรีดีกับพระมหากษัตริยพระองคใหมและเหลาพระราชวงศ เนื่องจาก ปรีดีไดทราบวา เกิดความรวมมืออยางลับๆภายในราชสํานักกับ“กลุมรอยัลลิสต” และ พรรคประชาธิปตยเพื่อทําลายลางเขา66 แม ปรีดีจะลาออก โดยมีพล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ ผูที่ปรีดีไววางใจและไดสนับสนุนใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีแทนก็ตาม แตมิไดหมายความ วาแผนการของ”กลุมรอยัลลิสต”ที่มุงทําลายลางอํานาจทางการเมืองของปรีดีและกลุม ของเขาจะ ยุติลงๆได 64

Ibid., ผลการสอบสวนในทางลับนั้น ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯทรงไดบันทึกวา บุคคลที่บุกรุกเขาไปใน พระบรมมหาราชวังมีความใกลชิดกับพรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต” โดยบุคคลดังกลาวนั้นเคยทํา งานกับควง อภัยวงศ สวนนองสาวของเขาทํางานกับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดังนั้น การสรางเหตุการณบุกรุก ดังกลาว ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯทรงเห็นวา พรรคประชาธิปตยตองการทําใหสาธารณชนเขาใจวารัฐบาลปรีดี พนมยงค นั้นชั่วชา 65 เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 451-452.; Coast , Some Aspects of Siamese Politics, p. 35. 66 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 August 1946”.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000100410004-5, 13 November 1946, “Internal Politics”.ในรายงานฉบับนี้รายงานวา กอนที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช-พระมหากษัตริย พระองคใหมจะเสด็จจากไทยไปในกลางสิงหาคม 2489 นั้น ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯ ทรงเปนพระราชวงศเพียงไมกี่ พระองคที่ทรงเห็นใจปรีดี พนมยงคทรงไดเริ่มสืบหาปริศนาของสาเหตุของการสวรรคต ( NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation”; “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 564.)


51

2.5 การกอตัวของ “พันธมิตรใหม ”ระหวาง“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป.” เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง รัฐบาลปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาตองเผชิญหนา กับศึกสองดาน ดานหนึง่ คือ การกลับมาสูการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” และอีกดาน คือ ความ ไมพอใจของ“กลุมจอมพล ป.” ที่ตองการกอบกูเกียรติภูมิกองทัพกลับคืน ผนวกกับการสวรรคตที่ รัฐบาลปรีดีและกลุมของเขายังไมสามารถสรางความกระจางแกสาธารณชนได ยิ่งทําใหรัฐบาล สูญเสียความสามารถในการนําทางการเมือง ในขณะที่ การสวรรคตไดกลายเปนเสมือนสิ่งดึง ดูดใหเกิด“พันธมิตรใหม”ที่ไมนาเปนไปไดระหวาง“กลุมรอยัลลิสต”กับ“กลุมจอมพล ป.”ไดรวม มือกันเพื่อโคนลมอํานาจทางการเมืองของปรีดีและกลุมของเขา ทั้งนี้ สถานทูตสหรัฐฯไดบันทึก เรื่องราวในชวงเวลาดังกลาววา เมื่อ 8 กรกฎาคม 2489 เพียงหนึง่ เดือนภายหลังการสวรรคต ม. ร.ว.เสนีย ปราโมชไดไปพบกับจอมพล ป. และชักชวนให “กลุมจอมพล ป.”รวมมือกับพรรค ประชาธิปตยเพื่อขับไลปรีดีและกลุมของเขาใหออกจากอํานาจทางการเมือง67 จากนั้น“กลุมรอยัล ลิสต”ไดฉวยโอกาสจากการสวรรคตมาเปนประเด็นโจมตีรัฐบาลในขณะนั้นอยางรุนแรง หลังจากที“่ กลุมรอยัลลิสต”ไดเริ่มตนปลอยลือขาวโจมตีรัฐบาลปรีดี พนมยงคและกลุม ของเขาอยางตอเนื่องตั้งแตกลางป 2489 ทําใหสาธารณชนไดเสื่อมความนิยมในตัวปรีดีและ รัฐบาลของกลุม ของเขาลงมาก จนกระทัง่ ในปลายปนนั้ เอง หนังสือพิมพของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ สนับสนุนพรรคประชาธิปตยไดรายงานขาวลือที่เกิดขึ้นขณะนั้นวา จอมพล ป.พิบูลสงครามจะทํา การรัฐประหาร โดยใหม.ร.ว.เสนีย ปราโมชเปนนายกรัฐมนตรี สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ขาวลือที่ ปรากฎบนหนาหนังสือพิมพในชวงนัน้ สะทอนใหเห็นวา จอมพล ป. ยังคงไดรับความนิยมจาก กองทัพและสังคม จากนัน้ หลวงวิจิตรวาทการ หนึ่งในสมาชิก“กลุมจอมพล ป.”ไดรวมสราง กระแสความตองการผูน ําที่เขมแข็งใหกับสาธารณชนเพื่อแกไขปญหาตางๆทีเ่ กิดขึ้นหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ยงั ไมบรรเทาลง โดยหลวงวิจิตรวาทการเรียกรองใหจอมพล ป. กลับมา เปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แตจอมพล ป. ไดกลาวปฏิเสธการกลับสูการเมือง68

67

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. 68 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000200150009-8 , 17 December 1946, “Alleged Responsibility for Plot to Overthrow,”; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000200470008-4, 18 January 1947, “Attack on Government by ProPhibun Element,”; NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”.


52

ปลายเดือนกุมภาพันธ 2490 พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี สมาชิกคนหนึ่งใน“กลุมจอมพล ป.” ไดซื้อศรีกรุง เพื่อใชหนังสือพิมพฉบับดังกลาวเปนกระบอกเสียงเรียกรองใหจอมพล ป. พิบูล สงครามกลับสูการเมือง69จากนัน้ ขาวการพยายามหันกลับมาสูการเมืองไทยอีกครั้งของ จอมพล ป.ไดกลายเปนประเด็นสําคัญทางการเมืองผานหนังสือพิมพหลายฉบับ ตอมา เมื่อ 11 มีนาคม ทอมสัน(Thompson) ทูตอังกฤษขณะนั้นไดเขาพบกับ พล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี และปรีดี พนมยงค เขาไดแสดงความกังวลของอังกฤษตอกิจกรรมทางการเมือง ของจอมพล ป. และแจงตอรัฐบาลไทยวา อังกฤษไมตองการใหจอมพล ป. กลับเขาสูก ารเมืองอีก 70 ความเคลื่อนไหวของ“กลุมจอมพล ป.”ที่ตองการผลักดันใหจอมพล ป. กลับสูการเมืองสราง ความวิตกใหกบั ทูตอังกฤษและสหรัฐฯ โดยทูตของทั้ง 2 มหาอํานาจไดรวมกันทําบันทึกชวยจํา เสนอตอรัฐบาลพล.ร.ต.ถวัลยวา หากจอมพล ป. กลับมาสูการเมืองจะมีผลตอความสัมพันธไทย กับสหรัฐฯและอังกฤษ71 ในขณะที่ยงั มีความเห็นไมลงรอยบนหนาหนังสือพิมพตอ กรณีในการกลับมาสูก ารเมือง ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เชน มหาชน และสัจจา ทีม่ ีเขมมุงโนมเอียงไปทางสังคมนิยมลง บทความโจมตีการพยายามกลับมาสูก ารเมืองของจอมพล ป.72 ในขณะทีศ่ รีกรุงซึ่งเปนหนังสือ พิมพที่ไดรับการสนับ สนุนจาก“กลุมจอมพล ป.”ใหการสนับสนุนการกลับมาของจอมพล ป.73 ตอมาเมื่อ17 มีนาคม 2490 จอมพล ป. ใหการสัมภาษณขนาดยาวกับศรีกรุงวา เขาอาจจะ กลับมาสูก ารเมืองเพื่อกอบกูชื่อ เสียง74 โดยเกียรติศักดิ์ ซึ่งเปนหนังสือพิมพของ“กลุมรอยัลลิสต” ใหการสนับสนุนการกลับมาของจอมพล ป.และพรรคธรรมาธิปตยซึ่งมีนโยบายอนุรกั ษนยิ มทาง การเมือง75 นอก จากนี้ แนวหนาไดรายงานขาววา การกลับสูการเมืองของจอมพล ป.จะประสบ 69

สยามนิกร, 23 กุมภาพันธ 2490. 70 Nik Anuar Nik Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, (Selangor Darul Ehasan: Center for Educational Technology Universiti Kebangsaan Malaysia, 1998), p.10. 71

Ibid., p. 12-13. 72 มหาชน, 10 มีนาคม 2490.; สัจจา, 17 มีนาคม 2490. 73 ศรีกรุง, 15 มีนาคม 2490. 74 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948,”; สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการ รัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 18. 75 เกียรติศักดิ์, 22 มีนาคม 2490. ทั้งนี้ การกลับสูการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามนั้น เขาได จัดตั้งพรรคธรรมาธิปตย (Conservative Party) ขึ้นในเดือนมีนาคม 2490 โดยมีนโยบายอนุรักษนิยมเชน การ ประกาศนโยบาย“เทิดทูนองคพระมหากษัตริยและเชิดชูพระบุญญาบารมี” ใหการสนับสนุนก็กหมินตั๋ง ตอตาน


53

ความสําเร็จหากรวมมือกับพรรคประชาธิปตย 76 ทั้งนี้ ตลอดเดือนมีนาคมนั้นเอง หนังสือพิมพ หลายฉบับเริ่มราย งานขาวความเคลื่อนไหวของนักการเมือง“กลุมรอยัลลิสต”เขาพบจอมพล ป. อยางลับๆอยางตอ เนื่อง 77 ปลายเดือนมีนาคม 2490 ทูตอังกฤษไดรายงานกลับไปยังลอนดอน วา จอมพล ป. พิบูล สงครามพยายามกลับสูก ารเมืองอีกโดยมีนักการเมือง“กลุมรอยัลลิสต”เชน ควง อภัยวงศ หัวหนา พรรคประชาธิปตย และทหารชั้นผูใหญหลายคนเขาพบเสมอ โดยควงไดแสดงทาทีสนับสนุน จอมพล ป.อยางชัดเจน ทูตอังกฤษไดความกังวลถึงการกลับมาของจอมพล ป. วาจะปกครอง แบบเผด็จการและละเมิดสหประชาชาติ และเห็นวา จอมพล ป. ควรยุติการเคลื่อนไหวทางการ เมือง78 เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามแสดงความตองการกลับสูก ารเมือง ทําใหพรรคสหชีพซึ่ง เปน“กลุมปรีดี”ไดแสดงการตอตานการกลับมาของจอมพล ป. เมื่อ 7 เมษายน 2490 ที่ทองสนาม หลวง โดยรวมมือกับนักศึกษาฝายซายในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองหลายคน เขารวมอภิปรายโจมตีจอมพล ป. ดวยประเด็นการนําไทยเขาสูสงครามโลกครั้งที่ 2 สงผลทําให ญี่ปุนยึดครองไทย ทําใหคนไทยเสียเสรีภาพ และถูกทหารญี่ปุนฆาตายจํานวนมาก พรอมมีการ เขียนรูปจอมพล ป.ในชุดทหารยืนอยูบ นกองหัวกะโหลก ทัง้ นี้ การตอตานดังกลาวไดอยูในสายตา ของจอมพล ป. โดยเขาไดนั่งรถยนตสังเกตการณรอบสนามหลวง อยางไรก็ตามกระแสตอตาน ครั้งนี้มีตํารวจถือปนรักษาการณอยูอยางใกลชิด แตการตอตานจอมพล ป. ก็หาไดรับความเห็น พอง เนื่องจาก ในระหวางการปราศัยเกิดเหตุวิวาทระหวางผูสนับสนุนและคัดคานการกลับมา ของจอมพล ป.ดวยเชนกัน79 คอมมิวนิสต และเรียกรองใหสรางความเขาใจที่ถูกตองตอจอมพล ป.ในชวงสงครามเสียใหม โดยมีพระองคเจา วรรณไวทยากรใหการสนับสนุนดานการตางประเทศ โดย จอมพล ป. เปนหัวหนาพรรค สวนแกนนํา คือ ขุน นิรันดรชัย พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี และสมาชิกกลุมทหารในคณะราษฎร ซึ่งขณะนั้นเปนสมาชิกพฤฒิสภา จํานวน 30-40 คน (หลักการและนโยบายของชุมนุมธรรมา ธิปตย, [พระนคร: โรงพิมพสหการพานิช], 2490.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”). 76 แนวหนา, 22 มีนาคม 2490. 77 สมุทร สุรักขกะ, 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507,(พระนคร: โรงพิมพสื่อการ พิมพ, 2507),หนา 377. 78 กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 330-331. 79 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948,”; นครสาร, 7 เมษายน 2490.; กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ, ประชาธิปไตยสมัย พล.ต.อ.เผา ศรียานนท (กรุงเทพฯ: กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ, 2529),หนา 38-39. กรุงเทพวาร


54

2.6 การลมสลายทางการเมืองของ“กลุม ปรีดี” การเคลื่อนไหวเพื่อหยัง่ กระแสทางการเมืองในชวงเดือนเมษายนของจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ เขามีความมัน่ ใจในการไดรับการตอบรับจากสาธารณชน “กลุมรอยัลลิสต”และพรรค ประชาธิปตยมากขึ้น สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา 16 เมษายน 2490 มีขาววา ควง อภัยวงศและ จอมพล ป. รวมมือกัน 80 ในกลางเดือนเมษายน กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ เห็นวา การ กลับมาสูก ารเมืองของจอมพล ป. ครั้งนี้ ไดรับความรวมมือและคุมกันจากควง และพรรค ประชาธิปตย และวิเคราะหตอไปวา มีความเปนไปไดที่จอมพล ป. จะมอบหมายใหพรรค ประชาธิปตยจัดตั้งรัฐบาล เนื่องจากเปนพรรคการเมืองที่มีความนิยมสหรัฐฯ โดยความรวมมือ ดังกลาวจะใหผลตอบแทนทีค่ ุมคาใหกับจอมพล ป. ในการกลับสูการเมืองและเปนโอกาสทอง ของพรรคประชาธิปตยที่จะไดเปนรัฐบาล81 ดังนัน้ การตอสูทางการเมืองกลุมการเมืองสําคัญหลัง สงครามไดในชวง 2490 จึงเปนการตอสูระหวางกลุมการเมืองสําคัญ 3 กลุม คือ“กลุม ปรีดี” ซึ่งมี พรรคสหชีพและพรรคแนวรัฐธรรมนูญซึ่งเพิ่งกาวเขามามีอํานาจทางการเมือง กับกลุม ตอตาน รัฐบาลเชน “กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งมีพรรคประชาธิปตยและอดีตนักโทษการเมืองและ“กลุมจอมพล ป.” ซึ่งมีนายทหารนอกประจําการระดับสูงหลายคนที่เคยมีอํานาจในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 82 โดยสองกลุมหลังไดรวมมือเปน“พันธมิตรใหม”ขึ้นเพื่อโคนลมปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาให ออกไปจากการเมือง ควรบันทึกดวยวา การสวรรคตทําใหสาธารณชนมีความเห็นอกเห็นใจในความสูญเสีย ของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”มาก และชวงเวลาดังกลาวไดกลายเปนโอกาสสําคัญที่ “กลุมรอยัลลิสต”สามารถใชเงื่อนไขดังกลาวกลับมามีอํานาจทางการเมืองได แตปญ  หาสําคัญ สําหรับพวกเขา คือ ไมมกี ําลังในการยึดอํานาจ ในขณะที“่ กลุมจอมพล ป.”มีความตองการกลับสู อํานาจทางการเมืองเชนกัน แตพวกเขาปราศจากขออางในการสรางความชอบธรรมตอ

ศัพท, 9 เมษายน 2490. กลุมบุคคลที่ตอตานการกลับมาของจอมพลป. พิบูลสงครามนี้มาจากสมาชิกพรรคสห ชีพ เชน พร มะลิทอง สวนนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองที่เขารวมมี อันดับ รองเดช เสนาะ พานิชเจริญ และรวม วงศพันธ เปนตน 80 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. 81 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p.17. 82 “A Memorandum on a certain aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์ , หนา 542.


55

สาธารณชนทําใหทั้งสองกลุม มีความจําเปนที่จะตองรวมมือกันเปนพันมิตรเพื่อกลับคืนสู การเมือง ดวยเหตุนี้ แกนนํา“กลุมจอมพล ป.” ซึ่งมี จอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ท.กาจ กาจ สงคราม นายทหารนอกราชการ ไดเริ่มความเคลื่อนไหวทางลับเพื่อกอการรัฐประหารขึ้น พวกเขา ไดติดตอจอมพล ป.พิบูลสงครามใหรับรูถงึ การพยายามรัฐประหารและไดประสานงานกับพรรค ประชาธิปตย ตอมา ควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยไดใหสัมภาษณสนับสนุนจอมพล ป. ใหกลับมามีอาํ นาจอีกครั้ง 83 จากนั้น แผนการสั่นคลอนความชอบธรรมของรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ก็เริ่มตน ดวยการทีพ่ รรคประชาธิปตยเปดอภิปรายทัว่ ไปเปนเวลา 9 วัน ระหวาง 19-27 พฤษภาคม 2490 โดยมีการถายทอดวิทยุกระจายเสียงใหสาธารณชนรับฟงทําใหความ นิยมที่มีตอรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลยเสื่อมมากยิ่งขึ้น แมรัฐบาลขณะนัน้ จะสามารถไดรับความ ไววางใจจากรัฐสภาก็ตาม แตรัฐบาลก็ไมสามารถหยุดยัง้ ความไมไววางใจจากสาธารณชนได 84 ทั้งนี้ ปลายเดือนพฤษภาคม 2490 ในรายงานของ คณะกรรมการประสานงานการสงครามของ กองทัพเรือสหรัฐฯ(The State-War-Navy Coordinating Committee: SWNCC) ไดรายงาน สภาพการเมืองไทยขณะนั้นวา รัฐบาลของ“กลุมปรีดี”ยังไมมีความมัน่ คง เนื่องจาก แตเพียง รัฐบาลตองเผชิญกับปญหาเศรษฐกิจหลังสงครามเทานัน้ แตยงั ตองเผชิญกับปญหาความ แตกแยกระหวาง“กลุมจอมพลป.”กับ“กลุมปรีดี” ซึ่งกลุมแรกมีอํานาจมากกวาและมีความ พยายามจะฟน ฟูอาํ นาจทหารใหกลับขึ้นมาอีกครั้ง85 83

บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททางการเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์(พ.ศ.24752490),”หนา 183. เลื่อน พงษโสภณ ส.ส.พรรคประชาธิปตย เปนผูประสานงานรวมกับ “กลุมจอมพล ป.” ตอมาเมื่อควง อภัยวงศประกาศใหการสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงครามและทําการฟองรองใหการเลือกตั้ง ป 2489 เปนโมฆะ เขาจึงถูกจรูญ สืบแสง ผูเปน“กลุมปรีดี” ตบใบหนาที่บริเวณสภาผูแทนราษฎร (สมุทร สุรักขกะ , 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507, หนา 379.; เกียรติศักดิ์, 13 พฤษภาคม 2490). 84 สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490”, หนา 18. ทั้งนี้ ประเด็นการ เปดอภิปรายโจมตีรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ จากพรรคประชาธิปตย คือ 1.รัฐบาลไมสามารถ รักษาความสงบเรียบรอยไดมีโจรผูรายเพิ่มมากขึ้น 2. รัฐบาลไมสามารถรักษานโยบายการเงินของชาติได 3. รัฐบาลดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจผิดพลาด 4.รัฐบาลไมอาจสรางความนาเชื่อถือจากนานา ชาติได 5.รัฐบาล แทรกแซงขาราชการประจํา 6.รัฐบาลไมสามารถรักษาฐานะของขาราชการใหอยูในระดับที่สม ควรได 7.รัฐบาล ไมปรับปรุงการศึกษาของชาติ 8.รัฐบาลไมสามารถคนหาขอเท็จจริงกรณีสวรรคตได(สรุปขออภิปรายของพรรค ประชาธิปตยในญัตติเปดอภิปรายทั่วไปในนโยบายของรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 34,[พระนคร: โรงพิมพ ยิ้มศรี, 2490]). 85 NARA, RG 59 Record of Division of Research 2 Far East 1946-1952, Lot 58 d 245 Box 2, “SWNCC Second Phase Study on Siam,” 29 May 1947.


56

อยางที่กลาวมาขางตนแลววา ความรูสึกของสาธารณชนภายหลังการสวรรคตนั้นได กลายเปนการเปดทางโลงใหกับการกลับคืนสูอํานาจทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” พวกเขา ไมแตเพียงรวมมือกันในการปลอยขาวโจมตี“กลุมปรีดี”เทานัน้ แตพวกเขายังไดใชพรรค ประชาธิปตยเพื่อตอสูในทางการเมืองกับพรรคที่สนับสนุนรัฐบาลดวย อีกทัง้ พระราชวงศชนั้ สูง อยางพระองคเจาภาณุพนั ธฯ ทรงตองการสนับสนุนการตั้งพรรคแนวกษัตริยนิยมเพิม่ ขึ้นอีก86 นอกจากนี้ “กลุมรอยัลลิสต”ยังมีแผนที่ตองการทําลายคณะราษฎรลง โดยพวกเขาสงบุคคลแตง กายคลายตํารวจไปติดตามทหารเรือเพื่อใหเกิดความไมไววางใจกันระหวางกัน 87 เมื่อความขัดแยงระหวาง “กลุมปรีดี”และ“กลุมจอมพล ป.” มีความแหลมคมมากขึน้ เรื่อยๆ ทําใหปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาตองการสนับสนุนใหพล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส ขึ้นเปน นายกรัฐมนตรีคนใหมแทนพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์เพื่อแกปญหาสถานการณที่รัฐบาลตก เปนรองทางการเมืองและทําการตอตานการรัฐประหารที่อาจจะเกิดขึน้ ดวยการเตรียมใช มาตรการตอตานที่ตรงไปยัง“กลุมจอมพล ป.”และ“กลุมรอยัลลิสต”88 เมื่อโอกาสการรัฐประหาร ใกลเขามา รัฐบาลไดรับรายงานความเคลือ่ นไหวของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยเปนอดีตนักโทษ การเมืองที่เคยตอตานการปฏิวัติ 2475 ไดมารวมมือกับ“กลุมจอมพล ป.”89 โดยรัฐบาลไดสั่งการ ใหตํารวจออกหาขาวการโคนลมรัฐบาลจาก“กลุมรอยัลลิสต” เชน การติดตามโชติ คุมพันธุ อดีต นักโทษการเมืองและส.ส.พรรคประชาธิปตย เปนตน90 ในเดือนตุลาคม 2490 หนึ่งเดือนกอนการรัฐประหารจะเกิดขึ้นนัน้ การตอสูทางการเมือง และการเมืองภายในราชสํานักยิง่ ทวีความเขมขนมากขึน้ ซีไอเอไดรายงานวา“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยกับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชมิไดมีความตองการรวมมือในฟน ฟูประเทศรวม กับรัฐบาล แตพวกเขาตองการเพียงแกแคนคณะราษฎร โดยพวกเขาเห็นวา จอมพล ป. พิบูลสงครามและปรีดี พนมยงค คือ ศัตรูคนสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตองทําลายดุจเดียวกันเฉก 86

ชาติไทย, 17 กรกฎาคม 2490. พระองคเจาภาณุพันธฯทรงประกาศวา สาเหตุที่ทรงตั้งพรรค การเมืองเพื่อตองการเพื่อชวยเหลือประชาชนที่ “น้ําตาเช็ดหัวเขา” และรําลึกถึงคุณราชวงศจักรี 87 ปรีดี พนมยงค,“คํานิยม” ใน พุทธปรัชญาประยุกต, ร.ท.สุภัทร สุคนธาภิรมย (กรุงเทพฯ: ประจักษ การพิมพ, 2517), หนา (5)-(6). 88 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 August 1947,”; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000800350009-0, 12 August 1947, “Prospective Changes in Government ,”; กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 333. 89 ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 511-512. 90 นครสาร, 11 สิงหาคม 2490.


57

เชนที่พวกเขาไดเคยทํากับจอมพล ป.ในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 มาแลว แตขณะนี้พวกเขา กําลังตองการทําลายลางปรีดี91 ในขณะเดียวกัน สถานทูตสหรัฐฯและกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานวา ผลการสอบสวนคดีสวรรคตมีความคืบหนามากขึ้นจนมีแนวโนมที่จะ สามารถระบุผทู ี่ตกเปนผูตองสงสัยในคดีสวรรคตได แตรัฐบาลพล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิย์ ัง ไมดําเนินการใดๆเพราะหากรัฐบาลประกาศผลการสอบสวนออกไปจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ภายในสถาบันกษัตริย จะทําใหพระองคเจาจุมภฎฯหรือพระองคเจาภาณุพันธฯเปนผูมีสิทธิขึ้น ครองราชยสมบัติตอไป92 ทัง้ นี้ กลุมของพระองคเจาจุมภฏฯมีเพิม่ ความคึกคักมากขึน้ ในชวงเวลา ที่ผลการสอบสวนการสวรรคตมีความคืบหนา สวนกลุมของม.จ.โสภณภราไดย สวัสดิวัตน พระ เชษฐาของสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ทรงตองการตัง้ หนังสือพิมพที่สนับสนุน“กลุมรอยัล ลิสต”ขึ้น93 ตอมา ตํารวจไดจับกุมบุคคลที่ปลอยขาวโจมตีรัฐบาล โดยสถานทูตสหรัฐฯและ หนังสือพิมพไทยขณะนั้นรายงานวา พระองคเจาภาณุพันธฯ พระราชวงศหลายคนและ“กลุม รอยัลลิสต” รวม ทัง้ พรรคประชาธิปตยมีความเกี่ยวของกับเหตุการณดังกลาว94 ความรวมมืออยางใกลชิดระหวางควง อภัยวงศกับ“กลุม รอยัลลิสต”นั้น ปรีดี พนมยงคได เคยกลาวเตือนควงในฐานะเพื่อนที่เคยรวมปฏิวัติ 2475 วาใหควงระวังพีน่ องตระกูลปราโมชทีจ่ ะ ยุยงใหเขามีความทะเยอทะยานและใชเขาเปนเครื่องมือทางการเมืองทําลายเจตนารมณของการ

91

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation”. 92 NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Thamrong Nawasawat and Edwind F. Stanton, 31 March 1948.; Landon to Butterworth, “Assasination of King Ananda,” 22 April 1948.และโปรดดูการอภิปรายในเรื่องดังกลาวอยางพิศดารใน สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล,“ขอมูลใหม กรณีสวรรคต:หลวงธํารงระบุชัดผลการสอบสวน ใคร คือ ผูตองสงสัยที่แท จริง,””บันทึกของเคนเน็ธ แลนดอน เกี่ยวกับกรณีสวรรคตและขาวลือเรื่องแผนการใหญของพี่นองปราโมช,” “วาดวยจดหมายเปดเผยความลับกรณีสวรรคตของ‘ปรีดี’ ที่เพิ่งเผยแพร,” ฟาเดียวกัน 7,3 (กรกฎาคมกันยายน 2552): 60-93. 93 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-0045R001000270005-0, 22 October 1947, “Activities of Royalist Groups”. 94 NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretry of State, 10 October 1947.; ศรีกรุง, 3 ตุลาคม 2490. บุคคลที่ถูกจับ คือ พ.อ.พระยาวิชิตฯ ภรรยา และนางละหมอม ใน ฐานหมิ่นประมาทและไขขาวเท็จที่โจมตีรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์และปรีดี พนมยงควาอยูเบื้อง หลังการสวรรคต


58

ปฏิวัติ 2475 เพื่อบรรลุเปาหมายของ“กลุมรอยัลลิสต”95 ควรบันทึกดวยวา ซีไอเอวิเคราะหวา ควง ผูไดเคยพายแพทางการเมืองใหกับปรีดนี นั้ เขาไดพบโอกาสทีจ่ ะใชการสวรรคตและความรวมมือ กับ“กลุมจอมพล ป.”เปนเครื่องมือที่จะเปลี่ยนความพายแพมาสูช ัยชนะได96 ทัง้ นี้ ซีไอเอได รายงานในปลายเดือนตุลาคม 2490 กอนการรัฐประหารไมนานวา สถานการณการตอสูใน การเมืองไทยระหวางคณะราษฎรและ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยหยั่งรากลึกยังคงดําเนินตอไป แมวา ปรีดีจะมีเพื่อนใน“กลุมรอยัลลิสต”อยูบาง เนื่องจาก เขาเคยชวยเหลือพระราชวงศในชวงสงคราม โลกครั้งที่ 2 ใหรอดพนจากการปราบปรามจาก“กลุมจอมพล ป.”แต“กลุมรอยัลลิสต”สวนใหญ ไมเคยจดจําความชวยเหลือจากปรีดีเลย97 ชวงเวลาดังกลาว ซีไอเอรายงานวา สถานการณกอนการรัฐประหารนั้น“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยไดทาํ การบิดเบือนทุกอยางที่ปรีดี พนมยงคไดกระทําหรือกลาวตอ สาธารณชน ดังนัน้ สิง่ เดียวที่ปรีดีและกลุม ของเขาจะสามารถรักษาอํานาจไดคือ การถอยไปอยู เบื้องหลังทางการเมืองและผลักดันใหเกิดการแตกหักกับ“กลุมรอยัลลิสต” ดวยการตัดสินใจ สนับสนุนใหพล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส ผูที่กลาจับกุมเชื้อพระวงศชั้นสูงอยางกรมพระยาชัยนาท นเรนทร เมื่อครั้งทีท่ รงเปนแกนนําของ “กลุมรอยัลลิสต”ในการตอตานการปฏิวัติ 2475 ในป 248198 ในชวงแหงความคืบหนาในการสอบสวนการสวรรคต สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา นักการเมือง“กลุมปรีดี” ทีม่ คี วามคิดไปในทางสาธารณรัฐไดมาประชุมรวมกันในปลายเดือน ตุลาคม เพื่อเตรียมการจัดตั้งพรรคสาธารณรัฐขึ้น99 ในชวงตอนปลายของการมีอํานาจทางการเมืองของปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาเปน ชวงที่พวกเขาไมมีความมัน่ คงทางการเมือง เนื่องจาก พวกเขาตกอยูภ ายใตการทาทายอํานาจ จาก“กลุมจอมพล ป.”และ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตางตองการกลับมามีอาํ นาจทางการเมืองอีกครั้ง 95

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4 , 30 October 1947, “The Political Situation”. 96 NARA, CIA Records Search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000270007-8, 21 October 1947, “Possible Political Developments”. 97 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R001000520003-4 , 30 October 1947, “The Political Situation”. 98 Ibid.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000680005-5, 5 November 1947, “The Political Situation-View of Nai Tieng Sirikhan”. 99 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. ในรายงานของสถานทูตสหรัฐฯฉบับดังกลาวบันทึกความ เคลื่อนไหวทางการเมืองของ “กลุมปรีดี”ในชวงกอนการรัฐประหาร 2490 วา ทองเปลว ชลภูมิไดใหสัมภาษณ แกหนังสือพิมพเมื่อ 29 ตุลาคม 2490 โดยกลาวถึงการพยายามตั้งพรรคสาธารณรัฐวา ไมขัดตอรัฐธรรมนูญ


59

และดวยเหตุการณการสวรรคตอยางปริศนาที่รัฐบาลปรีดีและกลุมของเขายังไมยอมสรางความ กระจางใหกับสาธารณชน ทําใหทั้งสองกลุม ขางตนไดใชโอกาสดังกลาวรวมมือกันโจมตีและโคน ลมอํานาจทางการเมืองของปรีดีและกลุมของเขาลงในเวลาตอมาอยางไมยากนัก แมในตนเดือน พฤศจิกายน 2490 กอนการรัฐประหารจะเกิดขึ้นไมกี่วนั พล.อ.อดุล อดุลเดชจรัสไดกลายเปน บุคคลที่ปรีดีและกลุมของเขาใหการสนับสนุนใหเปนผูนาํ ใหมเพื่อกอบกูสถานการณที่พวกเขาตก เปนรองทางการเมืองใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป. ”100 อีกทัง้ รัฐบาลในขณะนัน้ เตรียมแผนการแตกหักกับ“กลุมจอมพล ป.”ที่เตรียมการรัฐประหารขับไลรัฐบาล101 แตดูเหมือน วา การชิงไหวชิงพริบในการชวงชิงอํานาจระหวางกันนั้น ฝายตอตานรัฐบาลสามารถรัฐประหาร โคนลมอํานาจของปรีดีและกลุมของเขาลงไดสําเร็จในคืนวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 อยาง งายดาย นอกจากนี้ ควรบันทึกดวยวา ในดานการเมืองระหวางประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ภายหลังทีส่ หรัฐฯไดเคยชวยเหลือจากปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาเพื่อการตอตาน“กลุม จอมพล ป.”และญี่ปุน อีกทัง้ สหรัฐฯไดชวยเหลือมิใหไทยตกเปนผูแพสงครามก็ตาม แตความ รวมมือระหวางสหรัฐฯและไทยที่เคยสนับสนุนขบวนการชาตินิยมปลดแอกเอกราชในอินโดจีน ในชวงปลายสงครามโลกไดแปรเปลี่ยนไป เมื่อสหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีทรูแมนให การสนับสนุนใหฝรั่งเศสไดกลับมาครองอินโด-จีนอีกครัง้ 102 สงผลใหไทยจําตองคืนดินแดน บางสวนในอินโดจีนที่ไดมาในชวงสงครามโลกกลับคืนสูฝ รั่งเศส แมรฐั บาลไทยหลังสงครามโลก ไมมีความตองการคืนดินแดนดังกลาวจึงนําไปสูขอพิพาทระหวางไทยกับฝรั่งเศส ตอมา แมมกี าร จัดตั้งคณะกรรมเจรจาไกลเกลี่ยขอพิพาทระหวางกัน แตรัฐบาลไทยยังไมสามารถเห็นถึงการ สนับสนุนจากสหรัฐฯที่จะทําใหไทยไดประโยชนในขอพิพาทดังกลาว∗ ซึ่งอาจสะทอนใหเห็นถึง 100

“จดหมายของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ ถึง นายสุชิน ตันติกุล วันที่ 1 มีนาคม 2514,” ใน “ผลสะทอนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490,”สุชิน ตันติกุล, หนา 171.; ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันท, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 561. 101 วิชัย ประสังสิต, ปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏจลาจลในสมัยประชาธิปไตยแหงประเทศไทย (พระ นคร: โรงพิมพบริษัทรัฐภักดี จํากัด, 2492), หนา 192.; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, p. 39. 102 Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam, p. 4. ∗

ปรีดี พนมยงคไดเดินทางไปรวมเจรจากับฝรั่งเศสที่วอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐฯ ตอมาเขาไดโทรเลขถึง คณะรัฐมนตรีในเดือนมิถุนายน 2490 เขารายงานผลการเจรจาขอพิพาทเรื่องดินแดนกับฝรั่งเศสวา “อิทธิพล ในทางการเมืองยังครอบงําอยู เรื่องจึงไมสําเร็จ เปนธรรมดาที่ประเทศใหญ เขาจะตองเอาใจเพื่อนประเทศใหญ ดวยกันไวกอน เสียสละชาติเล็กไป”(สิริ เปรมจิตต, ชีวิตและงานของพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์, [กรุงเทพฯ: โรงพิมพบํารุงนุกูลกิจ, 2521], หนา 613)


60

ความไมพอใจของสหรัฐฯที่มตี อปรีดี พนมยงคและรัฐบาลของพวกเขา ในชวงเวลาเดียวกันนัน้ ปรีดีไดเคยใหการสนับสนุนทางอาวุธของเสรีไทยที่ไดรับมาจากสหรัฐฯในชวงสงครามโลกใหกับ กองทัพเวียดมินหอยางลับๆเพื่อสนับสนุนการปลดแอกจากฝรั่งเศส และเมื่อเกิดขอพิพาทดินแดน ระหวางไทยกับฝรั่งเศสขึ้น ทําใหปรีดีเห็นดวยกับแนวคิดในการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออก เฉียงใตตามขอเสนอของเวียดมินห โดยรัฐบาล“กลุมปรีดี”รับอาสาเปนแกนนําในการจัดตั้งองคกร ดังกลาวขึ้นในไทย เพื่อเพิม่ อํานาจตอรองกับมหาอํานาจในภูมิภาคโดยมีไทยเปนแกนนํา อีกทัง้ ไทยตองการใชองคกรดัง กลาวในตอรองกับฝรั่งเศสเรื่องขอพิพาทดินแดนอีกทางหนึ่งดวย103 ตอมา ผูแทนจากขบวนการกูช าติในภูมิภาคหลายประเทศไดมาประชุมในไทย และไดทําบันทึก เสนอขอจัดตั้งองคกรใหแก สแตนตัน ทูตสหรัฐฯประจําไทยขณะนัน้ โดยพวกเขาหวังสงบันทึก การจัดตั้งองคกรผานสหรัฐฯไปยังสหประชาชาติ แตสหรัฐฯไมเห็นดวยในการจัดตั้งองคกร ดังกลาว โดยกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯสั่งการใหทูตสหรัฐฯคนดังกลาวสงบันทึกขอจัดตั้ง องคกรคืนกลับไปยังเหลาขบวนการชาตินิยม เนื่องจาก สหรัฐฯไมเห็นดวยกับการจัดตั้งสหพันธ ทางการเมืองระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต104 กระนัน้ ก็ดี รัฐบาลของ “กลุม ปรีดี” ยังคงดําเนินการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียง ใตในไทยตอไปจนสามารถจัดตั้งไดสําเร็จเมื่อเดือนกันยายน 2490 ทามกลางความไมพอในของ สหรัฐฯก็ตาม ตอมา ตนเดือนพฤศจิกายน 2490 กอนการรัฐประหารไมกี่วนั จากรายงานของซีไอ เอไดรายงานทัศนะของ“กลุมปรีดี” ที่มีตอขบวนการชาตินิยมเพื่อปลดแอกเอกราชจากฝรั่งเศส กลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.วา “กลุมปรีดี”แสดงความคาดหวังวา โฮจิมินหจะนําการปลดแอกในอิน 103

โปรดดู ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน,( กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเทียนวรรณ, 2529), หนา 88-89.; ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของ ขาพเจา, หนา 562.; “นายเมือง เดิมชื่อเถื่อน”(ถวิล อุดล), กบฎแบงแยกอิสานในคดีเตียง ศิริขันธ,(พระนคร: ประเสริฐอักษร , 2491), หนา 19-23.; Charles F. Keyes, Isan: Regionalism in Northeastern Thailand, data paper no.65, Southeast Asia Program Department of Asian Studies, Cornell University (Itahaca, New York : Cornell University ,1967), p. 31.; E. Bruce Reynolds, “Thailand and The Southeast Asia League” paper presented at the International Conference on Thai Studies in Bangkok, 22-24 August 1984, pp.1-18.; Kobkua Suwannathat - Pain, Politics and National Interests: Negotiations for The Settlement of The Franco-Siamese Territorial Dispute 1945-1947,(Tokyo: Sophia University , 1994). 104 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP78-01617A005900030003-8, 10 January 1947, “Request for U.N. intervention reture to Indochinese nationalists”; กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 404.; NARA, CIA Records search Tool (CREST) , CIA-RDP82-00457R000600330001-2, 27 May 1947, “ Notes on Current Situation”.


61

โดจีนไดสําเร็จ ในรายงานบันทึกตอไปดวยน้ําเสียงที่ไมพอใจที“่ กลุมปรีดี” เห็นโฮจิมินหเปนพวก รักชาติบานเมือง และไดวิจารณวา“กลุมปรีดี” เปนพวกไรสํานึกที่มองไมเห็นวาโฮจิมนิ ห คือ คอมมิวนิสต 105 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ไมแตเพียงปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาจะตองเผชิญหนากับ ปรปกษทางการเมืองภายในจาก“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป.” เทานั้น แตการทีพ่ วกเขา ดําเนินนโยบายที่ขัดขวางความตองการของสหรัฐฯทําใหพวกเขาตองเผชิญหนากับศึกหลายดาน ทั้งนี้ ในชวงเวลาแหงการเริม่ ตนของสงครามเย็นนัน้ ในสายตาของสหรัฐฯเห็นวา ปรีดีและกลุม ของเขานัน้ มีนโยบายบริหารประเทศโนมเอียงไปในทางสังคมนิยม อีกทั้ง การดําเนินนโยบายตาง ประเทศของปรีดีและรัฐบาลของพวกเขาไมสอดคลองคลองกับความตองการของสหรัฐฯอีกแลว ดังจะเห็นไดจากความนิ่งเฉยของสหรัฐฯ เมื่อ ปรีดี อดีตพันธมิตรผูเคยรวมมือกันอยางใกลชิดใน การตอตาน“กลุมจอมพล ป.”และญี่ปุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถูกรัฐประหารโคนลมใหพน ออกไปจากอํานาจทางการเมืองไทย และตามดวยการที่สหรัฐฯปฏิเสธการใหความชวยเหลือเขา และกลุมของเขาใหกลับคืนสูอํานาจอีก อีกทัง้ เมื่อสถานการณเปลีย่ นแปลงไป สหรัฐฯใหความ สนใจปญหาคอมมิวนิสตมากขึ้น ทําใหปรีดีตองเผชิญหนากับความแข็งแกรงของ“กลุมจอมพล ป.”ที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนในเวลาตอมา106 ดังที่จะกลาวตอไปขางหนา

105

NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R001000650008-5, 4 November 1947, “Free Thai view on Ho Chi Minh”.บุคคลในรายงาน คือ สุจิต หิรัญพฤกษ เลขานุการของ อรรถกิตติ์ พนมยงค รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศและเปนนองชายปรีดี พนมยงค ตอมา ปรีดีได บันทึกความทรงจําวา เขาเชื่อวามีความสัมพันธระหวางการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใตกับการลม สลายของอํานาจทางการเมืองเขา เนื่องจาก “นักลาอาณานิคมทั้งรุนเกาและใหมไดกลาวหาขาพเจาวาเปน ผูนําเหลากบฎในการตอตานรัฐบาลอาณานิคมและเปนศูนยกลางของลัทธิคอมมิวนิสตในภูมิภาคนี้”(ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน, หนา 90 ). 106 Coast, Some Aspects of Siamese Politics, pp. 49-50.


บทที่ 3 การรัฐประหาร 2490: จุดเริ่มตนของความขัดแยง ภายในการเมืองไทย 3.1 การรัฐประหาร 2490: ความสําเร็จของความรวมมือของคณะรัฐประหารกับ “กลุมรอยัลลิสต” นับตั้งแต เมื่อเกิดการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯ กระแส ความรูสึกของสาธารณชนมีความเห็นอกเห็นใจสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ผูเพิง่ กลับสู ฉากการเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดไมนานนั้นไดเพิ่มมากขึ้น ทําใหตัวแสดงทาง การเมืองเดิมที่เคยมีอาํ นาจในชวงแหงการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย แตประสบ ความลมเหลวในการกลับสูอาํ นาจทางการเมืองภายหลังการพายแพหลายครั้งในชวงหลังปฏิวัติ 2475 สามารถกลับมาเปนตัวแสดงทางการเมืองอีกครั้งภายหลังสงครามโลกไดอีกครั้ง พวกเขา ไดประโยชนอยางมากจากกระแสความเห็นอกเห็นใจที่เกิดขึ้นทําใหอทิ ธิพลทางการเมืองของพวก เขาไดแปรเปลี่ยนไปในทางเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และทําใหพวกเขามีความมัน่ ใจมากขึ้นในการชวง ชิงอํานาจทางการเมืองคืนจากคณะราษฎรดวยการทาทายอํานาจปรีดี พนมยงคและรัฐบาลของ “กลุมปรีดี” ความไมสามารถของรัฐบาลของ“กลุมปรีดี”ในสรางความกระจางในเรือ่ งการสวรรคต ใหกับสาธารณชน ผนวกกับการแขงขันทางการเมืองที่เขมขนเปดโอกาสใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”ใช ประเด็นสวรรคตเปนประเด็นโจมตีรัฐบาลอยางตอเนื่องนั้นทําใหพวกเขามีความเขมแข็งทางการ เมืองมากขึ้น อีกทั้ง ความไมพอใจของ“กลุมจอมพล ป.”ที่คุกครุนจากการสูญเสียอํานาจและ เกียรติภูมิภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีความตองการกลับสูอํานาจทางการเมืองอีกครั้งอัน นําไปสูการกอตัวของ“พันธมิตรใหม”ที่ไมนา เชื่อมารวมมือกันโคนลมอํานาจของ “กลุม ปรีดี” ออกไปดวยการรัฐประหารไดสําเร็จ แตการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 เปนการปดฉาก การเมืองที่อยูใ นมือของคณะราษฎร และไดกลายเปนการเปดฉากการตอสูทางการเมืองระหวาง คณะรัฐประหาร*กับ”กลุมรอยัลลิสต” ที่แตละกลุมมีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกันภายใน “พันธมิตรใหม” ตอไป *

คณะรัฐประหาร เปนกลุมทหารที่สนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงครามประกอบขึ้นจากทหารบกเปน สําคัญ โดยสามารถแบงออกไดเปนสองสวน คือ สวนหนึ่งมาจากคณะราษฎร เชน จอมพล ป. พล ท.กาจ กาจ สงคราม พ.ท.กาน จํานงภูมิเวท พ.อ.นอม เกตุนุติ ร.อ.ขุนปรีชารณเสฏฐ แตสมาชิกสวนใหญเปนนายทหารที่ มิไดเปนสวนหนึ่งของคณะราษฎร เชน จอมพลผิน ชุณหะวัณ พล ต.อ.เผา ศรียานนท พล ท.สวัสดิ์ ส. สวัสดิ์


63

ดังนัน้ การรัฐประหาร 2490 ถือไดวาเปนจุดผลิกผันทางการเมืองที่สาํ คัญที่ทําใหเกิดการ อํานาจที่เคยอยูในกลุมภายในของคณะราษฎรสิ้นสุดลง แตกลับเปนจุดเริ่มตนกลุมผูถือครอง อํานาจใหม คือ คณะรัฐประหารและสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทั้งนี้ แมการรัฐประหาร 2490 คณะรัฐประหารจะเปนกลุมบุคคลผูด ําเนินการยึดอํานาจดวยกําลัง แตการรัฐประหารครั้งนี้ ไมอาจสําเร็จได หากปราศจากสถาบันกษัตริยโดยเฉพาะอยางยิง่ บทบาทของกรมพระยาชัยนาท นเรนทร ผูสําเร็จราชการฯและทรงมีบทบาทในการรับรองการรัฐประหารอยางแข็งขัน1 ขณะนัน้ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรทรงเปนเพียงหนึ่งในคณะผูสาํ เร็จราชการฯตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 แตทรงลงนามพระนามประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ที่เกิดจากการรัฐประหารแตเพียงผู เดียวอยางรวดเร็ว 2 ดังนัน้ แมวาตลอดคืนของวันยึดอํานาจนั้นจะปราศจากการตอตานของ รัฐบาลชุดเกา และการรัฐประหารสําเร็จไดอยางงายดายจากการใหการรับรองของผูสําเร็จราช การฯแลวก็ตาม แตสิ่งที่คณะรัฐประหารยังคงตองการตอไป คือ การไดรับการยอมรับจาก สาธารณชน กองทัพและตางประเทศ ดวยเหตุนี้ นายทหารใน คณะรัฐประหารจึงไปเชิญจอมพล ป. พิบูลสงครามเปนผูนาํ ของคณะรัฐประหาร3 ในชวงเชาวันรุง ขึ้น 9 พฤศจิกายน “กลุมรอยัลลิสต”นําโดยควง อภัยวงศและม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ไดเขาแสดงความยินดีกับคณะรัฐประหาร จากนั้น พวกเขาไดรับมอบหมายจากคณะ รัฐประหารใหจัดตั้งรัฐบาลใหมขึ้น ตอมา ในชวงบาย บานของควงเนืองแนนไปดวยสมาชิกพรรค ประชาธิปตย และ“กลุมรอยัลลิสต” เชน ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช พระองคเจา ภาณุพันธฯ โชติ คุมพันธุ เลือ่ น พงษโสภณ และขุนคงฤทธิศึกษากร เปนตน พระองคเจาภาณุ พันธฯ ทรงใหสัมภาษณวา ทรงไมเคยหัวเราะอยางที่ตองการมานานแลว และขณะนี้พระองคทรง

เกียรติ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาศ จารุเสถียร พล ต.อ.ไสว ไสว แสนยากร พล ท.บัญญัต เทพหัสดินฯ พล ต.ท.ละมาย อุทยานานนท พล ต.ประมาณ อดิเรกสาร เปนตน สวน ใหญนายทหารในคณะรัฐประหารมิไดผูกพันธกับหลักการของการปฏิวัติ 2475 และการปฏิเสธอํานาจของ สถาบันกษัตริย เวนแตนายทหารบางคนที่มีความใกลชิดกับแกนนําสําคัญในคณะราษฎร เชน พล ต.อ.เผา ผุ เคยเปนนายทหารติดตามจอมพล ป. เขาไดรูเห็นและเคยรวมตอตานอํานาจของ“กลุมรอยัลลิสต”มากอน 1 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 210 . 2 สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500), (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ 6 ตุลารําลึก, 2550), หนา 96-100. 3 อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัด เทพศิรินทราวาส 17 มีนาคม 2507,(พระนคร : โรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรี, 2507),หนา 47.


64

สามารถแยมพระสรวลไดแลว4 สวนหลุย คีรีวัตร อดีตนักโทษการเมือง“กลุมรอยัลลิสต” คนหนึ่ง ไดกลาวสนับสนุนการขึ้นมามีอํานาจของ“กลุมรอยัลลิสต” วา “ไมมีใครดีกวานายควงแลว”5 แมบทบาทในการยึดอํานาจดวยการใชกําลังจะเปนหนาที่ของคณะรัฐประหาร แตงาน รางรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ตกเปนหนาทีข่ อง“กลุมรอยัลลิสต” เนื่องจากพวกเขาตองการแนใจ รูปแบบการเมืองทีพ่ วกเขาตองการ∗ สงผลใหรัฐธรรมนูญฉบับนี้เพิม่ อํานาจทางการเมืองใหแก สถาบันกษัตริยมากขึน้ 6 ความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัลลิสต”ในการฟนฟูอํานาจสถาบันกษัตริย นั้นทําใหหนังสือพิมพขณะนั้น เชน สัจจา ไดวิจารณรัฐธรรมนูญฉบับนี้วา รัฐธรรมนูญไดเพิ่ม อํานาจทางการเมืองใหสถาบันกษัตริยม ากกวารัฐธรรมนูญที่ถกู ลมไป7 สถานทูตอังกฤษได รายงานผูอยูเบื้องหลังรัฐประหารครั้งนี้วา คือ พระราชชนนีของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิ พล 8 โดยหนังสือพิมพไทยรวมสมัยไดพาดหัวขาวขณะนั้นวา“ในหลวงรูปฏิวัติ 2 เดือนแลว” ทั้งนี้

4

Bangkok Post, 10 November 1947.; นครสาร, 10 พฤศจิกายน 2490.; ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีว ลิขิต, หนา 101. 5 เสรีภาพ, 15 พฤศจิกายน 2490. ∗

ขอมูลที่ “กลุมรอยัลลิสต” เขารางรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 ทูตสหรัฐฯไดรับการบอกเลาจาก จอมพล ผิน ชุณหะวัณ พลต.อ.เผา ศรียานนท และพล อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ แกนนําในคณะรัฐประหาร โดย “กลุม รอยัลลิสต” ที่เขารวมรางรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวมีรายชื่อตอไปนี้ ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นักการเมืองและนักหนังสือพิมพ พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ อธิบดีศาลฎีกา พระ ยารักตประจิตธรรมจํารัส อดีตกรรมการศาลฎีกา พ.อ.สุวรรณ เพ็ญจันทร เจากรมพระธรรมนูญทหารบก พระ ยาอรรถการียนิพนธ ร.อ.ประเสริฐ สุดบรรทัด เลื่อน พงษโสภณ สมาชิกสภาผูแทนฯจากพรรคประชาธิปตย และเขมชาติ บุญยรัตพันธ(NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 November 1947”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 25 November 1947, สยามนิกร, 11 พฤศจิกายน 2490.; ยวด เลิศฤทธิ์, “ระลึกถึงมือกฎหมายคณะรัฐประหาร 2490,” ใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพนายเขม ชาติ บุญยรัตพันธุ ณ เมรุ วัดธาตุทอง วันที่ 25 กุมภาพันธ 2538 (กรุงเทพฯ: 2538); Kobkua Suwanathat-Pian , King, Country and Constitution: Thailand’s Political Development 1932 – 2000,(New York: Routledge Curzon, 2003), p. 223. 6 ขาวโฆษณาการ 10, 11 (พฤศจิกายน 2490): 1063.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโท กาจ กาจสงคราม (เทียน เกงระดมยิง) ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 20 เมษายน 2510(กรุงเทพฯ: กรมการทหารสื่อสาร, 2510). 7 สัจจา, 10 พฤศจิกายน 2490. 8 Nicholas Tarling, “Britain and the Coup 1947 in Siam,” Paper presented to International Association of Historians of Asia, Chulalongkorn University, Bangkok 20-24 May 1996, p. 3.


65

พล ท.กาจ กาจสงครามใหคาํ สัมภาษณแกหนังสือพิมพตอ มาวา เขาไดเคยสงโทรเลขลับรายงาน แผนรัฐประหารใหพระองคทรงทราบลวงหนา 2 เดือนกอนลงมือรัฐประหาร9 จากนั้น ม.จ.จักรพันธเพ็ญศิริ จักรพันธ เปนผูแทนคณะรัฐประหารเดินทางไปรายงาน ความสําเร็จในการรัฐประหารและนําหนังสือพิมพที่ลงขาวการรัฐประหารถวายใหกบั พระมหากษัตริยทรงทราบที่สวิสเซอรแลนด10 ไมนานจากนั้น พระองคไดทรงสงพระราชหัตถเลขาถึงคณะ รัฐประหารโดยทรงแสดงความพอพระราชหฤทัยกับการรัฐประหารครั้งนีว้ า“...ฉันรูสกึ พอใจยิง่ นัก ที่ไดทราบวา เหตุการณที่บังเกิดขึ้นนีม้ ิไดเสียเลือดเนื้อและชีวิตของคนไทยดวยกันเลย”11 ในขณะ ที่ สแตนตัน ทูตสหรัฐฯประจําไทยวิจารณวา การรัฐประหารที่เกิดขึน้ และสาระในรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 เปนการหมุนเวลาถอยหลัง12 ราว 1 สัปดาหหลังการรัฐประหาร จอมพลผิน ชุณหะวัณแกน นําคนสําคัญในคณะรัฐประหารไดกลาวอางวา เขาไดทาํ รัฐประหารตัดหนาเสรีไทย“กลุมปรีดี” ที่ มีแผนการจะประกาศวา ใครคือบุคคลที่สังหารพระบาทสมเด็จพระเจาอยูในพระบรมโกฐ และจะ ทําการสถาปนาสาธารณรัฐขึ้น13 สําหรับทาทีของประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐฯและอังกฤษมีทาทีไมรับรองรัฐบาลใหม สองวันหลังการรัฐประหาร ทูตสหรัฐฯและอังกฤษไดเขาพบจอมพล ป. พิบูลสงครามโดยสแตน ตัน ทูตสหรัฐฯไดปฏิเสธการรับรองรัฐใหมหลังการรัฐประหาร14 สวนทูตอังกฤษใหความเห็นวา 9

เอกราช, 10 พฤศจิกายน 1947. สัจจา, 15 พฤศจิกายน 2490.; สัจจา, 20 พฤศจิกายน 2490 . 11 “(สําเนา) พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลดุลยเดช ถึง จอมพล ป. พิบูล สงคราม 25 พฤศจิกายน 2490,” ใน เบื้องหลังการสวรรคต ร. 8, วิชัย ประสังสิต (พระนคร: ธรรมเสวี , 2498), หนา 305. ตอมา พึ่ง ศรีจันทร อดีตประธานสภาผูแทนราษฎรชุดที่ถูกโคนลมไปใหสัมภาษณกลาวตําหนิ พระองคที่มีจดหมายแสดงความยินดีกับการรัฐประหาร(ประชาธิปไตย, 2 ธันวาคม 2490) จากนั้น สัจจา, 6 ธันวาคม 2490 พาดหัวขาววา “ในหลวงพอพระทัยที่ไมชิงอํานาจ” 12 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p.209-210. 13 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 16 November 1947. 14 ไทยใหม, 16 พฤศจิกายน 2490. ตอมา วิลลิส เบิรด อดีตโอเอสเอสที่อยูในไทยขณะนั้น ไดรายงาน การรัฐประหารครั้งนี้ กลับไปยังวิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan) อดีตหัวหนาหนวยโอเอสเอส (O.S.S.)วา กลุมทหารสมัยสงครามโลกไดทําการรัฐประหารครั้งนี้สําเร็จอยางไมนาเชื่อ(Richard J. Aldrich, “Legacies of Secret Service : Renegade SOE and the Karen Struggle in Burma, 1948-1950,” in The Clandestine Cold War in Asia, 1945-1965: Western Intelligence, Propaganda and Special Operation, eds. Richard J. Aldrich, Gary D. Rawnsley and Ming-Yeh T. Rawnsley [London: Frank Class , 2000], p. 132.) 10


66

อังกฤษยังไมควรรับรองรัฐบาลใหมที่ตั้งขึน้ และการรัฐประหารครั้งนี้ ไดรับการสนับสนุนจาก เจานายชัน้ ผูใหญ 15 ในบทบรรณาธิการของนิวยอรคไทมส(New York Times) ฉบับ12 พฤศจิกายน 2490ไดวิจารณการรัฐประหารในไทยโดยพาดขอความวา “Setback in Siam” ซึ่ง เปนการหมุนเวลาทางการเมืองยอนหลังและรัฐธรรมนูญฉบับนี้กําหนดพระมหากษัตริยมีอํานาจ ทางการเมืองเปนการเดินออกจากเสนทางของระบอบประชาธิปไตย16 ดวยเหตุที่ คณะรัฐประหารตองเผชิญหนากับปญหาการรับรองรัฐใหมหลังการรัฐประหาร จากนานาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิง่ กับมหาอํานาจอยาง สหรัฐฯ อังกฤษ และจีน สถานการณ ดังกลาวจึงเปนโอกาสอีกครั้งของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่สามารถกาวขึน้ มีอํานาจทางการเมืองได สําเร็จ คณะรัฐประหารจําเปนตองผลักดันใหควง อภัยวงศและพรรคประชาธิปตยเปนตัวแทน ของ“กลุมรอยัลลิสต”จัดตั้งรัฐบาลใหมไดสรางความพอใจใหกับ พระราชวงศและ“กลุมรอยัล ลิสต”มาก17 จากนัน้ คณะรัฐประหารไดสงผูแทนหลายคนไปชี้แจงความจําเปนในการรัฐประหาร กับสถานทูตมหาอํานาจตาง เชน พ.อ.หลวงสุรณรงคและคณะ ไปพยายามโนมนาวสถานทูต สหรัฐฯ ควงไปทําความเขาใจกับสถานทูตอังกฤษ สวน ม.จ. ภาคีไนย จักรพันธุ และม.จ.นิทัศน จิรประวัติ ไปชีแ้ จงแกสถานทูตจีน18 แตมหาอํานาจตางๆ ยังคงไมใหการรับรองรัฐบาลใหม จนกวาจะมีการจัดการเลือกตั้งใหแลวเสร็จ19 3.2 ความลมเหลวในการตอตานรัฐประหาร และการสิ้นสุดความชวยเหลือ“กลุมปรีด”ี ของสหรัฐฯ การชิงรัฐประหารตัดหนา กอนการเริ่มแผนการปราบปรามกลุมตอตานโดยรัฐบาล พล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ทําใหปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาตัง้ ตัวไมติดและแตกกระจัด กระจายอยางฉับพลัน ปรีดีในฐานะหัวหนากลุมตองหลบหนีการรัฐประหารจากรุงเทพฯไปยัง หนวยนาวิกโยธินของกองทัพเรือที่สัตหีบเพื่อตั้งหลักรวบรวมกําลังเพือ่ เตรียมการตอตานการ รัฐประหาร ไมกี่วันหลังการรัฐประหาร ปรีดีและพล ร.ต.ถวัลย อดีตนายกรัฐมนตรีที่เพิ่งถูกโคนลม 15

กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 335. 16 Bangkok Post, 13 November 1947. 17 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 23-24.; สัจจา, 17 พฤศจิกายน 2490. 18 ประชาธิปไตย, 10 พฤศจิกายน 2490.; ประชากร, 11 พฤศจิกายน 2490.; Mahmud, The November 1947 Coup: Britain , Pibul Songgram and the Coup, p. 23 . 19 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 211.


67

อํานาจลง พวกเขามีความคิดที่จะจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิน่ และแผนการใชกําลังจากนาวิกโยธิน ที่สัต หีบ จํานวน 3,700 คนและเรือรบจํานวน 5 ลําเขาตอตานการรัฐประหาร20 ในเวลาตอมา เมื่อกลุม ของเขาเริ่มรวมตัวกันได เตียง ศิริขันธ อดีตเสรีไทยและสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรของพรรคสหชีพ รวมตัวจัดตั้ง“คณะพลเมืองใหม”เพื่อตอตานรัฐประหารและทําการแจกใบปลิวตอตาน ในเขต กรุงเทพฯ-ธนบุรีประนามการรัฐประหารวา “คณะทหารผูทําการรัฐประหารทั้งหลาย…การกระทํา ของทานผูอางวาเปนผูรักชาติและกระทําการเพื่อประเทศชาติและปกปองระบอบประชาธิปไตย นั้นเปนสิง่ ที่ไมถูกตอง การกระทําของกรมขุนชัยนาทไมถกู ตองเพราะไมปฏิบัติตามวิถีทาง รัฐธรรมนูญ” และไดกลาวประนามจอมพลผิน ชุณหะวัณวา ทําเพื่อประโยชนสว นตัว21 หนังสือพิมพขณะนั้นไดรายงานวา “กลุมปรีดี”อดีตเสรีไทยนําโดยเตียง ศิริขันธ จําลอง ดาวเรือง ทองอินทร ภูรพิ ัฒน ไดรวมกําลังคนในภาคอีสานเตรียมประกาศภาคอีสานใหเปนอิสระ22 การเกิดความเคลื่อนไหวตอตานการรัฐประหารของ“กลุม ปรีดี” ในอีสานนั้นสรางความ วิตกใหกบั ทําใหรัฐบาลควง อภัยวงศและคณะรัฐประหาร รัฐบาลไดออกพระราชกําหนดคุม ครอง ความสงบสุข 2490 ที่มอบอํานาจใหคณะรัฐประหารใชอํานาจทางทหารปราบปรามผูที่มี พฤติกรรมเปนภัยตอรัฐบาล ดวยอํานาจที่รฐั บาลมอบใหทําใหทหารสามารถตรวจคนและไดจับ “กลุมปรีดี”ไปถึง 41 คน23 สวนคณะรัฐประหารตองจัดทําใบปลิวโปรยทีจ่ ังหวัดตางๆในอีสานทํา ความเขาใจกับประชาชนเพือ่ ระงับตอตานรัฐบาล 24 สําหรับความเคลื่อนไหวของ“กลุมปรีดี” นอก ประเทศไทยนัน้ ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯ ผูแทนไทยประจําสหประชาชาติขณะนั้น พระองคไดทรงขอ ลาออกจากตําแหนง เนื่องจาก ทรงไมสามารถรวมงานกับรัฐบาลใหมไดและทรงประกาศวา

20

พล.ร.ต.สังวร สุวรรณชีพ, “เกิดมาแลวตองเปนไปตามกรรมคือกฎธรรมชาติ,” ใน อนุสรณในงาน พระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516,(กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ชวนพิมพ, 2516), หนา 159.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 18 December 1947. 21 หจช.สบ. 9.2.3/8 ขาวรัฐประหาร 2490 แฟมเอก วีสกุล.; เสรีภาพ, 15 พฤศจิกายน 2490. 22 ประชากร, 12 พฤศจิกายน 2490.; เสรีภาพ, 12 พฤศจิกายน 2490.; เสรีภาพ, 25 พฤศจิกายน 2490.; ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 73. 23 ราชกิจจานุเบกษา (แผนกกฤษฎีกา) 64, 56 (ฉบับพิเศษ 22 พฤศจิกายน 2490).; เสรีภาพ, 4 ธันวาคม 2490.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 December 1947”; “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 15-31 December 1947”. 24 ชาติไทย, 20 พฤศจิกายน 2490.


68

รัฐบาลชุดเกายังคงดํารงอยู 25 ปลายเดือนพฤศจิกายน สงวน ตุลารักษ เอกอัคราชทูตไทยประจํา นานกิง กลาววิจารณการรัฐประหารในไทยอยางรุนแรงและประกาศไมยอมรับคําสัง่ จากคณะ รัฐประหาร โดยเขายืนยันวารัฐบาลเกายังดํารงอยูในไทย และเขาไดตดิ ตอกับปรีดี พนมยงคซงึ่ หลบหนีออกจากไทยแลว 26 ในขณะที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” เรียกรองใหนานาชาติเขาใจความจําเปนในการรัฐประหารโคนลมรัฐบาล27 ปรีดี พนมยงคไดตัดสินใจเดินทางออกจากไทยเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2490 เพื่อเตรียม การจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิน่ และการตอตานการรัฐประหารตามแผนการ ดวยความชวยเหลือจาก ร.อ.เดนิส(Dennis)ทูตทหารเรืออังฤษและน.ท.กาเดส(Gardes)แหงรัฐนาวีสหรัฐฯ ผูเปนมิตรเกา ในชวงสงครามโลกไดชวยนําเขาออกนอกประเทศโดยเรือบรรทุกน้าํ มันของสหรัฐฯเพื่อขึ้นฝงที่ มาลายา28 จากนั้น ทอมสัน ทูตอังกฤษไดแจงใหควง อภัยวงศ นายกรัฐมนตรีคนใหมทราบวา อังกฤษไดชวยปรีดีออกนอกประเทศสําเร็จ โดยควงไดตอบกลับวาทูตอังกฤษวา เขามีความยินดี ที่ปรีดีออกนอกประเทศแลว29 ในปลายเดือนเดียวกันนัน้ ทูตอังกฤษแสดงความไมเห็นดวยกับ แผนการตอตานการรัฐประหารของปรีดี จึงไดแนะนําใหเขากลาวกับกลุมของเขาใหยุติการ ตอตานผานวิทยุในสิงคโปร 30 สําหรับแผนการของปรีดี พนมยงคในการจัดตั้งรัฐบาลผลัดถิ่นนัน้ เขาคาดหวังความชวย เหลือจากสหรัฐฯพันธมิตรเกาในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 แตปรากฏวา สหรัฐฯไมรับการตอบรับ ความคาดหวังของเขา โดยในเดือนธันวาคม 2490 ปรีดีประสานงานใหอรรถกิตติ์ พนมยงค อดีต รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ผูเ ปนนองชายของปรีดีขณะนัน้ อยูในตางประเทศเขา พบวิลเลีย่ ม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan) อดีตหัวหนาโอเอสเอสในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อขอใหสหรัฐฯสนับสนุนอาวุธใหปรีดกี ลับสูอํานาจอีกครั้ง ปรีดีมแี ผนตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึน้ ทางตอนเหนือของไทย แตกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯตัดสินใจไมสนับสนุนปรีดีใหกลับสู อํานาจอีกตามคําขอ สหรัฐฯไดแตแสดงความเสียใจกับการรัฐประหารที่เกิดขึ้น และมีความ 25

Bangkok Post, 11 November 1947.; ประชากร, 12 พฤศจิกายน 2490.; ประชากร, 25 พฤศจิกายน 2490. 26 หจช.สบ. 9.2.3/8 ขาวรัฐประหาร 2490 แฟมเอก วีสกุล. 27 ประชากร, 25 พฤศจิกายน 2490. 28 Richard J. Aldrich, “Legacies of Secret Service : Renegade SOE and the Karen Struggle in Burma, 1948-1950,” in The Clandestine Cold War in Asia, 1945-1965: Western Intelligence, Propaganda and Special Operation, eds. Richard J. Aldrich, Gary D. Rawnsley and Ming-Yeh T. Rawnsley (London : Frank Class, 2000), p. 132. 29 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 28. 30 Ibid., p. 30.


69

ตองการสงเสริมใหไทยมีเสถียรภาพทางการเมืองตอไป31 ดังนัน้ จะเห็นไดวา สหรัฐฯได เปลี่ยนแปลงนโยบายจากเดิมที่สหรัฐฯเคยใหความชวยเหลือแกเขาและกลุมในชวงสงครามโลก ไปสูความนิง่ เฉยกับการรัฐประหารในไทยนี้อาจเปนผลมาจากการที่รฐั บาลของ“กลุมปรีดี”ดําเนิน นโยบายที่ไมสอดคลองกับความตองการของสหรัฐฯดวยการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียง ใตเมื่อกันยายนปเดียวกัน ไมแตเพียงการรับรูและทาทีของสหรัฐฯที่มตี อปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาไดเปลี่ยน แปลงไป เห็นไดจากปรีดีประสบความความลมเหลวที่จะไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐฯใหเขา กลับสูอํานาจอีกครั้ง ตอมา ในปลายเดือนพฤษภาคม 2491 เขามีแผนการเดินทางจากสิงคโปรไป ยังสหรัฐฯ ในระหวางการเดินทาง เขาไดแสดงวีซาขอเขาสหรัฐฯที่สถานกงสุลสหรัฐฯประจําเซี่ยง ไฮและที่นนั่ เขาไดพบกับนอรแมน เอช. ฮันนาห(Norman H. Hannah)เจาหนาที่ซีไอเอปฏิบัติ หนาที่ในตําแหนงรองกงสุลสหรัฐฯ ฮันนาหไดปฏิเสธการอนุญาตใหเขาเดินทางเขาสหรัฐฯดวย การกระชากหนังสือเดินทางไปจากมือเจาหนาทีก่ งสุลและขีดฆาวีซา ของเขามิใหเขาเดินทางเขา สหรัฐฯไดอีก32 จะเห็นไดวา ทาทีของสหรัฐฯที่มีตอปรีดีและกลุมของเขานั้นมิไดเปนไปในลักษณะ เห็นอกเห็นใจเหมือนดังในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อีก แมปรีดีและกลุมของเขาจะไดรับความ ชวยเหลือจากอดีตเจาหนาทีโ่ อเอสเอสหรือมิตรเกาชาวอเมริกันที่เคยรวมมือกันในการตอตาน กองทัพญี่ปนุ ในชวงสงครามโลกก็ตาม แตเจาหนาที่ของสหรัฐฯที่ปฏิบตั ิงานตามนโยบายใหมของ สหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีทรูแมนนั้นกลับมีปฏิกริยาตอปรีดีและกลุมของเขาที่แข็งกราวและไม เปนมิตรอีก ดังนัน้ จากสิ่งทีป่ รีดีและกลุมของเขาไดรับการตอบสนองของสหรัฐฯ สะทอนใหเห็น วา ภายใตบริบทใหมในชวงแรกเริ่มของสงครามเย็นนัน้ สหรัฐฯมิไดเลือกปรีดีและกลุมของเขาเปน พันธมิตรเฉกเชนในชวงสงคราม โลกครัง้ ที่ 2 อีกตอไป

31

NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Howard Palmer and Kenneth P. Landon, 21 December 1947.; Neher, “Prelude to Alliance : The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p.55-56. 32 ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน, หนา 108-109. ปรีดี พนมยงค ไดบันทึกวา ในเวลาตอมาเขาไดทราบวา นอรมัน ฮันนาหทํางานใหกับซีไอเอ และในเวลาตอมา ฮันนาหไดยายจากสถานกงสุลสหรัฐฯประจําฮองกงไปประจําที่สถานเอกอัครราชทูตกรุงเทพฯ โดยฮันนาหมี บทบาทสนับสนุนใหตํารวจจับภริยาและบุตรชายของเขาในกรณี “กบฎสันติภาพ”เมื่อป 2495


70

3.3 การรุกคืบของ “กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะสถาปนิกทางการเมือง ภายหลังการรัฐประหารเสร็จสิ้น คณะรัฐประหารจําเปนตองสนับสนุนให ควง อภัยวงศ ซึ่งเปนตัวแทนของ“กลุมรอยัลลิสต” ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีและจัดตั้งรัฐบาลรอยัลลิสตเพื่อการ สรางการยอมรับจากสาธารณชนและนานาชาติ โดยจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะหัวหนา คณะรัฐประหารไดทําหนังสือมอบอํานาจของคณะรัฐประหารใหกับรัฐบาลควงเพื่อบริหาร ประเทศ การมอบอํานาจดังกลาวจากคณะรัฐประหารไดสรางความพอใจใหกับ“กลุมรอยัลลิสต” มาก จากนัน้ ควงไดประกาศความเปนอิสระของรัฐบาลรอยัลลิสตจากคณะรัฐประหาร 33 เขาได จัดสรรตําแหนงในคณะรัฐมนตรีใหกับเชื้อพระวงศดํารง ขุนนางในระบอบเกา และอดีตนักโทษ การเมือง “กลุมรอยัลลิสต”ใหดํารงตําแหนงในคณะรัฐมนตรีมากอยางไมเคยมีมากอนนับตัง้ แต การปฏิวัติ 2475 34 ดวยเหตุที่ทงั้ สองกลุมมีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกันและมีหวาดระแวงระหวาง กันจึงเปนจุดเริ่มตนของความแตกแยกภายใน“พันธมิตรใหม” โดย“กลุมรอยัลลิสต”มีความตอง การสถาปนาระบอบการเมืองที่เพิ่มอํานาจใหกับสถาบันกษัตริยและทําใหพวกเขามีอํานาจทาง การเมืองอยางยั่งยืน อีกทั้งสามารถขจัดคูแ ขงทางการเมืองของพวกเขาออกไปจากการเมือง ในขณะที่จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะรัฐประหารกลับมีความตองการกลับสูอาํ นาจทาง การเมืองและไมตอ งการให“กลุมรอยัลลิสต” เขามาเปนคูแขงทางการเมืองทีพ่ วกเขาเสี่ยงชีวิตใน การใชกําลังเขายึดอํานาจมา สําหรับความสัมพันธทางการเมืองระหวางคณะรัฐประหารกับ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น ฝาย หลังมิไดไววางใจ จอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตแกนนําของคณะราษฎรที่เคยปราบปรามการกอ กบฎของพวกเขาอยางรุนแรงมากอน โดยกรมพระยาชัยนาทนเรนทร อดีตแกนนําการกบฎของ “กลุมรอยัลลิสต” ผูที่เคยถูกถอดอิศริยศและถูกคุมขังจากการตอตานการปฏิวัติ 2475 และการ ตอตานรัฐบาลจอมพล ป.ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดรับการปลดปลอยภายหลังสงคราม ตอมา พระองคทรงกาวขึ้นมาเปนผูสาํ เร็จราชการฯภายหลังการสวรรคต ในฐานะที่พระองคทรง เปนพระราชวงศชั้นผูใหญและมีความสนิทสนมกับราชสกุลมหิดลทรงไดแจงกับทูตอังกฤษเปน 33

ศรีกรุง, 15 พฤศจิกายน 2490. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500),หนา 105 -106. เชื้อพระวงศดํารงตําแหนงรัฐมนตรีหลายคน เชน ม.จ.วิวัฒนไชย ไช ยันต ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และม.ล.เดช สนิทวงศ สวนขุนนางในระบอบเกา เชน พระยา ศรีวิสารฯ(เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) รวมทั้งอดีตนักโทษการเมือง เชน ม.จ.สิทธิพร กฤดากร พระยาศราภัยพิพัฒน (เลื่อน ศราภัยวานิช) และสอ เสถบุตร เปนตน 34


71

สวนตัวเมื่อกลางเดือนธันวาคม 2490 วา ทรงไมเคยไววางใจ จอมพล ป. และปรีดี พนมยงคเลย ทรงเห็นวา ขณะนั้นรัฐบาลควง อภัยวงศท“ี่ กลุมรอยัลลิสต”ใหการสนับสนุนนัน้ ถูกคณะ รัฐประหารครอบงํา ทรงมีความคิดตองการกําจัดจอมพล ป.35 ดังนัน้ ความแตกแยกระหวาง “พันธมิตรใหม”เห็นไดจากรัฐบาลควง และ“กลุมรอยัลลิสต” มีความตองการรางรัฐธรรมนูญฉบับ ใหมขึ้นเพื่อจัดสรรอํานาจทางการเมืองใหกบั สถาบันกษัตริยและทําใหพวกเขาใหมีอํานาจทาง การเมืองอยางลึกซึง้ ตลอดจนตองการกําจัดคณะรัฐประหารใหออกไปจากการเมืองดวยกติการ การเมืองทีพ่ วกเขาจะรังสรรคขึ้นตอไป แมในชวงดังกลาว คณะรัฐประหารจะอยูเบื้องหลังฉากการเมืองอยางเงียบๆราวกับเปนผู คุมครองรัฐบาลควง อภัยวงศก็ตาม แตพวกเขาไดเริ่มรับรูถึงการเริ่มถูกหักหลังจาก“กลุมรอยัล ลิสต”ที่จะกีดกันใหพวกเขาออกไปจากการเมือง พวกเขาจึงไดปลุกกระแสการตอตานรัฐบาลควง ดวยการแจกจายใบปลิวไปตามสถานที่ราชการและสาธารณะโจมตีควงและ“กลุมรอยัลลิสต”วา มีความตองการทําลายจอมพล ป. ดวยการพยายามทําใหพน จากอํานาจ36 แมรัฐบาลควงจะถูก โจมตีแตดวยความสามารถของควงในการพูดหาเสียงและความชวยเหลือทางการเงินจากพระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”ผูมีความมัง่ คั่ง สงผลใหการเลือกตั้งในปลายเดือนมกราคม 2491 นั้น พรรคประชาธิปตยไดรับการเลือกตั้งมากที่สุด คือ ประมาณ 50 คน จากจํานวน 99 คน37 จากนั้น ตนเดือนมีนาคม สหรัฐฯและอังกฤษไดใหการรับรองรัฐบาลควงที่มาจากการเลือกตั้งและ ติดตามดวยประเทศอื่นๆใหการรับรองรัฐบาลในเวลาตอมา 38 ชัยชนะในการเลือกตั้งในตนป 2491 ของพรรคประชาธิปตยที่ไดรับความชวยเหลือจาก พระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต”เปนเสมือนการประกาศอิสระจากการครอบงําของคณะ รัฐประหาร พวกเขามีความมั่นใจในการควบคุมการเมืองและกลไกลทางการเมืองผานสภา ผูแทนราษฎร วุฒิสภาและรัฐบาลแทนคณะรัฐประหารมากขึ้น จากนั้น โครงการคืนอํานาจ ทางการเมืองและเศรษฐกิจกลับสูสถาบันกษัตริยก็ไดเริ่มตนขึ้น รัฐบาลควง อภัยวงศไดออก 35

Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 49. 36 สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500), หนา 124-125. 37 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 January 1948”; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, p. 44. 38 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 60.; Frank C. Darling, Thailand and the United States (Washington D.C.: Public Affaires Press, 1965), p. 63.


72

กฎหมายคืนทรัพยสินและใหความเปนอิสระแกสํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริยที่เปน แหลงผลประโยชนสาํ คัญกลับคืนสูสถาบันกษัตริยอีกครั้งหลังจากที่หนวยงานดังกลาวเคยถูก คณะราษฎรโอนมาเปนของรัฐบาลหลังการปฏิวัติ 247539 จากนั้น พวกเขาไดเปดการรุกทาง การเมือง ดวยการเริ่มตนออกแบบระบอบการเมืองตามสิ่งทีพ่ วกเขาตองการอีกครั้งเพื่อสถาปนา ระบอบการเมืองทีท่ ําใหพระมหากษัตริยท รงมีพระราชอํานาจทางการเมืองและทําให“กลุมรอยัล ลิสต”มีความไดเปรียบในทางการเมืองกวากลุมการ เมืองอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ การกําจัดคณะ รัฐประหารทีเ่ ปนคูแขงทางการเมืองที่จะสรางอุปสรรคใหกับพวกเขาในการครองอํานาจทาง การเมืองอยางถาวรใหออกไปจากระบอบการเมืองทีพ่ วกเขาใฝฝนผานการจัดตั้งสภาราง รัฐธรรมนูญ40 ขึน้ เพื่อดําเนินการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมอันจะสรางกติกาทางการเมืองที่สถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ไดเปรียบขึ้น สาระสําคัญในรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมซึ่งตอมา คือ รัฐธรรมนูญบับ 2492 หรือ รัฐธรรมนูญฉบับรอยัลลิสตเปนการออกแบบที่พยายามสถาปนาการเมืองที่ใหอํานาจแกสถาบัน กษัตริยและสรางความไดเปรียบทางการเมืองใหกับ “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยมาก เชน ในรางรัฐธรรมนูญทีพ่ วกเขารังสรรคขึ้นนัน้ จะเปนครัง้ แรกในประวัติศาสตรที่มีการประกาศชื่อ ระบอบการเมืองทีพ่ วกเขาตองการขึ้นวา“การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีพระมหากษัตริย เปนประมุข” จากนัน้ พวกเขาใหบัญญัติใหพระมหากษัตริยทรงมีพระราชอํานาจสวนพระองค ตามพระราชอัธยาศัยในทางการเมือง เชน การกําหนดใหมีคณะองคมนตรีและสมาชิกวุฒิสภาที่ มีมาจากพระราชอํานาจที่พระมหากษัตริยท ี่จะทรงเลือกและแตงตั้งประธานองคมนตรี องคมนตรี ตลอดจนทรงมีพระราชอํานาจในการทรงเลือกและแตงตั้งสมาชิกวุฒสิ ภาทั้งหมดไดอยางอิสระ โดยมีเพียงประธานองคมนตรีเปนผูสนองพระบรมราชโองการ การใหพระองคทรงมีพระราช อํานาจอํานาจทางการทหารดวยการกําหนดใหทรงเปนผูบ ังคับบัญชาสูงสุดของทหารทั้งปวง ตลอดจนใหพระองคทรงมีพระราชอํานาจในการสถาปนาฐานันดรศักดิ์ เปนตน ในขณะที่ ราง 39

พอพันธ อุยยานนท, “สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยกับบทบาทการลงทุนทางธุรกิจ” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549.; สมศักดิ์ เจียม ธีรสกุล, “สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย คือ อะไร” ฟาเดียวกัน 4, 1 (2549): 67-93. 40 โปรดดูรายชื่อสภารางรัฐธรรมนูญ ใน คําอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495, หยุด แสง อุทัย (พระนคร: โรงพิมพชูสิน, 2495), หนา 224-232.; แถมสุข นุมนนท, “50 ป พรรคประชาธิปตยกับการเมือง ไทย,” 2539, หนา 51-52. คณะผูรางรัฐธรรมนูญนี้ประกอบดวยสมาชิก 9 คน คือ เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาศรีวิสารวาจา พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี พระยาอรรถการียนิพนธ หลวงประกอบนิติสาร ม.ร.ว.เสนีย นายสุวิชช พันธเศรษฐ และเพียร ราชธรรมนิเทศ โดยคณะผูรางรัฐธรรมนูญสวนใหญเปนขุนนางในระบอบเกา และนักกฎหมายที่เปน“กลุมรอยัลลิสต”


73

รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวกลับการพยายามจํากัดอํานาจของคณะรัฐประหารออกไปจากการเมือง ดวยการหามขาราชการประจําเปนสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผูแทนราษฎร อีกทั้ง ขาราชการประจําเปนรัฐมนตรีมิได ซึ่งสงผลใหคณะรัฐประหารถูกกีดกันออกไปจากการเมือง41 ในสายตาของทูตตางประเทศอยางสแตนตัน ทูตสหรัฐฯ ไดบันทึกความเห็นของเขาตอ ผลการรังสรรคระบอบการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ผานรางรัฐธรรมนูญใหมวา รางรัฐธรรมนูญ ฉบับใหมไดฟน ฟูอํานาจใหกับพระมหากษัตริย และรางรัฐธรรมนูญดังกลาวประสบความสําเร็จ ในอําพรางอํานาจทางการเมืองของพระมหากษัตริยที่เคยเห็นอยางชัดเจนในรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ใหแทรกลงอยางลึกซึง้ ยากแกการสังเกตุพบ เขาเห็นวาแนวความคิดในการเพิม่ อํานาจทาง การเมืองใหกบั สถาบันกษัตริยในการควบคุมการเมืองไทยนั้นคลายคลึงกับสิ่งทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระปกเกลาฯทรงเคยมีพระราชดําริทางการเมืองถึงการปกครองในอุดมคติที่ทรงมีพระราช ประสงคไวเมือ่ กอนการปฏิวัติ 247542 ทามกลางการรุกคืบทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ใน การยึดอํานาจกรเมืองจากคณะรัฐประหาร สแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดตั้งขอสังเกตถึงเปาหมายทาง การเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”วา พวกเขามีแผนการทางการเมืองที่ไปไกลเกินกวาจะใหการ สนับสนุนคณะรัฐประหารดังเดิมแลว43 ไมแตเพียง “กลุมรอยัลลิสต”จะเขาครอบงําการออกแบบระบอบการเมืองที่อาํ นวยให สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ใหเปนตัวแสดงทางการเมืองสําคัญแตเพียงกลุม เดียว ดวย การกีดกันคณะรัฐประหารออกจากการเมืองเทานัน้ แตพวกเขายังมุง สรางระบอบการเมืองที่ไม ประนีประนอมกับความคิดอื่นๆในสังคมไทย เชน เสรีนยิ ม โดยเฉพาะอยางยิง่ สังคมนิยม ดวย เหตุท่ี พวกเขาไมใหสนใจปญหาความเดือดรอนของประชาชนในภูมภิ าค ทําใหสมาชิกสภาผูแทน ฯจากภาคอีสานไมพอใจรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมของ“กลุมรอยัลลิสต”อยางมาก สแตนตัน ทูต สหรัฐฯเห็นวา “กลุมรอยัลลิสต”สนใจแตเพียงประโยชนจากการยึดกุมอํานาจทางการเมืองภายใต กติกาที่เขาออกแบบขึ้นใหมากที่สุด เพื่อทําใหพวกเขามีอํานาจไดอยางมั่นคง ดวยการจัดตั้ง พรรคการเมืองของพวกเขาชื่อ พรรคกษัตริยนิยมตามแนวคิดของพวกตนขึ้น เพื่อเขาชิงชัยทาง

41

มุกดา เอนกลาภากิจ, “รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง: ศึกษารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2492,” (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542) . 42 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 January 1948”. 43 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 January 1948”.


74

การเมืองรวมกับพรรคประชาธิปตยเพื่อใหพวกเขาสามารถครองเสียงในสภาผูแทนฯใหไดมาก ที่สุดเทาที่จะทําได44 3.4 แผนการใหญทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต” สถานการณการเมืองหลังการรัฐประหาร 2490 ทําให “กลุมรอยัลลิสต”กลับขึ้นมาเปนตัว แสดงทางการเมืองที่สาํ คัญ และทําให“กลุมรอยัลลิสต”มีสวนสําคัญในการออกแบบระบอบ การเมืองที่อํานวยประโยชนใหพวกเขากลายเปนตัวแสดงทางการเมืองหลักและการสนับสนุน ความมัง่ คงทางการเมืองใหกบั สถาบันกษัตริยและพวกตน แตความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัล ลิสต”มิไดมุงใหการสนับสนุนราชสกุลมหิดลเพียงราชสกุลเดียว เนื่องจาก“กลุมรอยัลลิสต” ขณะนั้นมิไดมคี วามเปนเอกภาพ ทําให “กลุมรอยัลลิสต”สําคัญที่นาํ โดยควง อภัยวงศและพรรค ประชาธิปตยที่เปนรัฐบาลนัน้ มีมนั่ ใจในอํานาจตอรองและมีความอิสระในการตัดสินใจที่จะเลือก สนับสนุนราชสกุลใดใหมีอํานาจในราชสํานักได เนื่องจาก ขณะนัน้ ผลการสืบสวนกรณีสวรรคตมี แนวโนมที่จะสามารถตัง้ สมมติฐานผูตองสงสัยที่จะตองรับผิดชอบตอการสวรรคตฯไดแลว ทําให ควง ในฐานะนายกรัฐมนตรีมีความตองการเปดเผยผลการสอบสวนนี้ออกสูสาธารณชนซึ่งจะทํา ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงในราชสํานักอยางใหญหลวง ดวยเหตุนี้ พรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต”มีอิทธิพลและเปนตัวแปรสําคัญที่จะ กําหนดทิศทางการเมืองของราชสํานักในขณะนั้น สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชมีแผนการแตกหักกับคณะรัฐประหาร โดยพวก เขามีแผนการสนับสนุนใหพระองคเจาจุมภฏฯจากราชสกุลบริพัตรขึ้นครองราชยแทนราชสกุล มหิดล เนื่องจาก ขณะนั้นยังไมมีการบรมราชภิเษกผูใดใหเปนพระมหากษัตริยอยางเปนทางการ และพวกเขามีตองการฟน ฟูอํานาจของพระมหากษัตริยท ี่มีอยูก อนการปฏิวัติ 2475ใหกลับมาอีก ครั้งเพื่อสรางอํานาจนําทางการเมืองที่ยงั่ ยืนใหแกพวกเขาเพื่อทําใหกลุมของเขากลายเปนแกนนํา ของ“กลุมรอยัลลิสต”ทั้งมวลพรอมกับเปนผูนําของประเทศ ดวยแผนการหมุนกลับระบอบ การเมืองของควงทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหารคัดคานแผน ทางการเมืองดังกลาวอยางหนักทําใหจอมพล ป.ตองหันกลับไปเปนพันธมิตรกับ“กลุมปรีดี” เพื่อ 44

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251,” Summary of Political events in Siam January 1948”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 11 February 1949. ผูไดรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ป 2491ในนามของพรรคกษัตริย นิยม คือ ร.ท. สัมพันธ ขันธะชวนะ ส.ส.นครราชสีมา (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการ ตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500), หนา 435).


75

รวมกันขับไลควงและยุติแผนการของ“กลุมรอยัลลิสต” ตอมา แมคโดนัล อดีตโอ.เอส.เอส.และมี ความคุนเคยกับปรีดี พนมยงคไดแจงขาวตอ สแตนตัน ทูตสหรัฐฯวา จอมพล ป.ไดสงผูแทนมา แจงกับเขาวา จอมพล ป.มีความคิดที่จะจัดตั้งรัฐบาลผสมระหวางปรีดี พนมยงคและพล ร.ต. ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิก์ ับกลุมของเขาเพือ่ กันควงที่ไดรบั การสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต” ออกไปจากการจัดตั้งรัฐบาล เนื่องจาก จอมพล ป.ตองการคัดคานแผนการของ“กลุม รอยัลลิสต” ที่จะสถาปนาพระมหากษัตริยพระองคใหม รายงานของสถานทูตสหรัฐฯบันทึกตอไปวา ควง ตองการจะเปดเผยถึงบุคคลที่จะตองรับผิดชอบตอการสวรรคต สแตนตันเห็นวา การเปดเผย ดังกลาวจะทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงในราชสํานักอยางสําคัญ ตอมา แลนดอน เจาหนาที่ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯทีว่ อชิงตัน ดี.ซี. ผูคนุ เคยกับการเมืองไทยเห็นวา แมจอมพล ป. และปรีดีจะเปนคูปรปกษทางการเมืองกันภายในคณะราษฎร แตทั้งคูแ สดงการคัดคานการรื้อฟน อํานาจของพระมหากษัตริย แลนดอนวิเคราะหวา ทัง้ จอมพล ป.และปรีดีไมมีปญหากับ พระมหากษัตริยพระองคปจจุบัน เพราะขณะนั้นพระองคทรงพระเยาวและไมมีฐานอํานาจ การเมือง45 ทามกลางการดําเนินการแผนการใหญของ“กลุมรอยัลลิสต” สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ในตนเดือนกุมภาพันธ 2491 มีสมาชิกคณะราษฎรจํานวนหนึ่งไดมาปรึกษาจอมพล ป. พิบูล สงครามถึงความกังวลการขยายอิทธิพลทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่อยูเบื้องหลังรัฐบาล ควง อภัยวงศ ทําใหคณะราษฎรตองการใหจอมพล ป. กับปรีดี พนมยงครวมมือกันตอตานแผน ทางการเมืองดังกลาว46 ตอมามีการจัดประชุมรวมกันระหวางคณะราษฎรกับคณะรัฐประหาร หลายครัง้ ภายในเดือนกุมภาพันธเพื่อไกลเกลี่ยความขัดแยงอันเกิดจากการรัฐประหาร 2490 และผนึกกําลังเพื่อตอตานแผนการใหญของควงและ“กลุมรอยัลลิสต”ที่จะการฟน ฟูระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยขึ้นใหมซงึ่ พล ต.อ.เผา ศรียานนทแกนนําคนหนึ่งของคณะรัฐประหารและ นายทหารผูใกลชิดกับจอมพล ป.และคณะราษฎรเห็นวา แผนการดังกลาวเปนการชิงอํานาจทาง การเมืองไปจากคณะรัฐประหารและทําลายคุณูปการทางการเมืองตางๆทั้งหมดที่คณะราษฎรได

45

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 January 1948”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 5 February 1948.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Landon to Butterworth, 20 February 1948. 46 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 9 February 1948.


76

สรางมาตัง้ แตหลังการปฏิวตั ิ 2475 ใหมลายลง47 คณะรัฐประหารตองการใหมีแกไขรัฐธรรมนูญ ฉบับใหมทถี่ ูกรางขึ้นจาก“กลุมรอยัลลิสต”และสั่งการใหมีการสอดสองความเคลื่อนไหวทาง การเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”48 แมวา คณะราษฎรและคณะรัฐประหารจะพยายามกดดันควง อภัยวงศและ“กลุมรอยัล ลิสต” ออกไปจากจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเปดโอกาสใหจัดตั้งรัฐบาลผสมระหวางจอมพล ป. พิบูล สงครามกับปรีดี พนมยงคและพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ แตควงมีความมัน่ ใจการสนับสนุน ทางการเมืองจาก“กลุมรอยัลลิสต”ที่มีมากกวาแรงกดดันดังกลาว49 ตอมา เมื่อควงไดรับชัยชนะ การเลือกตั้งเมือ่ ปลายเดือนกุมภาพันธ 2491 ทามกลางแรงกดดันจากคณะราษฎรและคณะ รัฐประหารก็ตาม แตเขายังคงไดรับการสนับสนุนจากสถาบันกษัตริยผา นจากอภิรัฐมนตรี(หรือ องคมนตรีในเวลาตอมา)และจาก“กลุมรอยัลลิสต”ในวุฒิสภาทีพ่ ระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง ทั้งหมดกับสมาชิกสภาผูแทนฯของพรรคประชาธิปตยในสภาผูแทนฯทําใหเขาสามารถจัดตั้ง รัฐบาลของเขาไดสําเร็จ 50 ในขณะเดียวัน ทาทีของกรมพระยาชัยนาทฯ ในฐานะผูส ําเร็จราชการ ฯ ยังคงทรงไมพอพระทัยตอจอมพล ป. และทรงไมเห็นกับความคิดของจอมพล ป.ในการฟนฟู คณะราษฎรทีเ่ คยโคนลมอํานาจของสถาบันกษัตริยใหกลับมาทาทายพวกเขาอีกครั้ง51 47

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 February 1948”.มีการประชุม คณะราษฎรและคณะรัฐประหารที่บานของร.ท.ขุนนิรันดรชัยหลายครั้ง สมาชิกที่เขารวมประชุม เชน พล ท. พระประศาสนพิทยุทธ พล ท. มังกร พรหมโยธี พล ท. ประยูร ภมรมนตรี และหลวงนฤเบศมานิตย ในการ ประชุมครั้งหนึ่งเมื่อ 14 กุมภาพันธ ไดมีความพยายามไกลเกลี่ยความขัดแยงที่เกิดขึ้นจากการรัฐประหาร 2490 และยืนยันหลักการของการปฏิวัติ 2475 ตอไป โดยผูแทนของคณะรัฐประหาร คือ พล ต.อ.เผา ศรียานนท พล ต.ท.ละมาย อุทยานานนท และนายทหารระดับกลางอีก 6 คน โดย พล ร.ต.สังวร สุวรรณชีพ สมาชิก คณะราษฎรคนหนึ่งที่เขาประชุมไดบันทึกการประชุมที่นําโดยพล ท.มังกร พรหมโยธี พล ต.อ.เผา และ พล ต.ท.ละมาย วา “แลเสียงที่คุณเผา คุณละมายวา นายควงไปไมรอด เดินกับพวกเจา 100% ” (อนุสรณใน งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516, [กรุงเทพฯ : โรง พิมพชวนพิมพ],หนา 159) 48 หจช.สร. 0201.18/5 สํานักงานโฆษณาการคัดและตัดขาวหนังสือพิมพ (เมษายน – กันยายน 2492).;เกียรติศักดิ์, 20 กุมภาพันธ 2492. 49 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 17 February 1948 . 50 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-29 February 1948”. 51 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Prince Rangsit and Stanton, 10 March 1948.


77

3.5 จอมพล ป.กับการลมแผนทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต” เมื่อการกดดันของคณะราษฎรและคณะรัฐประหารที่มตี อความเคลื่อนไหวและแผนการ ทางการของควง อภัยวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”ไมไดผล เนื่องจาก ควงมีความไดเปรียบเหนือกวา ในฐานะผูท ี่จะกําหนดอนาคตของสถาบันกษัตริยใหไปในทิศทางใด ทําใหพวกเขาไดรับการ สนับสนุนจากกลุมราชสกุลและพระราชวงศที่ตองการมีอํานาจในราชสํานักใหมหรือคงยังมี อํานาจตอไป ควงและ“กลุมรอยัลลิสต”ยังคงเดินหนาออกแบบระบอบการเมืองดวยการราง รัฐธรรมนูญใหมที่เพิ่มอํานาจใหสถาบันกษัตริย และทําใหพวกเขาไดเปรียบในการแขงขันทาง การเมือง ตลอดจนการกําจัดคูแขงใหออกไปจากการเมือง ในที่สุด เมื่อคณะรัฐประหารยื่นคําขาดใหควง อภัยวงศในฐานะนายกรัฐมนตรีลาออกใน วันที่ 6 เมษายน 2491 ทันที การยืน่ คําขาดขับไลรัฐบาลควงที“่ กลุมรอยัลลิสต”ใหการสนับสนุน ลงจากอํานาจครั้งนี้ สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา เหตุการณดังกลาวสรางความไมพระทัยใหกับ กรมพระยาชัยนาทฯ ผูสาํ เร็จราชการฯเปนอยางมาก โดยทรงพยายามใหความชวยเหลือควงดวย การทรงไมรับจดหมายลาออก และทรงสัง่ การใหวุฒิสภามีมติใหระงับการลาออกของควงเพื่อทา ทายอํานาจของคณะรัฐประหารแตความพยายามของพระองคไมเปนผล ทําใหทรงบริพาทยจอม พล ป. พิบูลสงครามและคณะรัฐประหารวา “ปญหาทางการเมืองเกิดจากทหารและนักการเมือง ที่ชั่วราย” ทรงกลาววา รัฐบาลของจอมพล ป. และคณะรัฐประหารจะตองถูกโคนลมลง สถานทูต รายงานตอไปวา ทรงมีแผนการที่ใชฐานกําลังทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัล ลิสต”ในรัฐสภาทัง้ สมาชิกวุฒิสภาทีท่ รงแตงตั้งและสมาชิกสภา ผูแทนฯของพรรคประชาธิปตย ดําเนินการตอตานรัฐบาลตอไป52 การกลับเขามีอํานาจของจอมพล ป. พิบูลสงครามสรางความไมพอใจใหกับสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” อยางมาก แตกลับไมไดรับการตอตานจากประเทศมหาอํานาจ อยางรุนแรงเหมือนการรัฐประหาร 2490 อีก เนื่องจาก ประเทศตางๆมีความวิตกกับผลประโยชน ที่ประเทสของตนอาจไดรับการกระทบกระเทือนหากไมใหการรับรองรัฐบาลจอมพล ป. สําหรับ อังกฤษมีความกังวลเรื่องการสงขาวตามขอตกลงสมบูรณแบบกับไทยวาจะไดรับผลกระทบ สวน ฝรั่งเศสกังวลเรื่องดินแดนในอินโดจีนที่ไทยคืนใหกับฝรัง่ เศสจะกลายเปนประเด็นความขัดแยง ระหวางกันขึน้ อีก สวนสหรัฐฯวิตกวาหากไมรับรองรัฐบาลใหมจะทําใหสหภาพโซเวียตเทานั้นที่มี 52

NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State , 7 April 1948.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 8 April 1948.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Prince Rangsit and Stanton, 9 April 1948.


78

ความสัมพันธกับไทย ดังนัน้ สหรัฐฯเห็นวาการไมรับรองรัฐบาลจอมพล ป.จะสรางปญหาที่ไม จําเปนตามมามากกวา ไมกวี่ ันตอมา เมื่อรัฐบาลจอมพล ป.ไดรับการลงมติรับรองจากรัฐสภา และมีการประกาศการดําเนินการตามพันธสัญญานานาชาติดังเดิม การประกาศดังกลาวทําให มหาอํานาจตางๆลวนรับรองรัฐบาลจอมพล ป.ทันที 53 ควรบันทึกดวยวานโยบายของสหรัฐฯที่ วอชิงตัน ดี.ซี. ในชวงสงครามเย็นไดเปลี่ยนแปลงจากชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งในอดีต สหรัฐฯ เคยตอตานรัฐบาลจอมพล ป.มาเปนการใหการรับรองรัฐบาลของเขา เนื่องจาก ชวงเวลาดังกลาว สถานการณการตอสูระหวางก็กหมินตั๋งกับพรรคคอมมิวนิสตจนี มีแนวโนมที่ฝา ยแรกกําลัง เสียเปรียบ ทําใหสหรัฐฯมีความตองการมีอทิ ธิพลตอไทยเพื่อทําใหไทยรวมมือกับสหรัฐฯในการ ตอตานคอมมิวนิสตในเอเชียมีผลทําใหสแตนตัน ทูตสหรัฐฯทีเ่ คยแสดงการตอตานจอมพล ป. ได เปลี่ยนทาทีที่เคยแข็งกราวมาเปนการกลาวชื่นชมจอมพล ป.ซงเปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางของ นโยบายใหมของสหรัฐฯวา จอมพล ป.มีความเปนผูน ําและใหการสนับสนุนสหรัฐฯ54 แมรัฐบาลควง อภัยวงศจะพนจากอํานาจไป แตคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญใหมของ “กลุมรอยัลลิสต”ยังคงทํางานตอไป เนื่องจาก จอมพล ป. พิบูลสงครามมิไดลมเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 ลมเลิกรัฐสภา และคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญใหมท“ี่ กลุมรอยัลลิสต”สนับสนุน การจัดตั้ง เนื่องจาก จอมพล ป.อาจจะเชื่อมั่นวา เขาจะสามารถควบคุมสมาชิกสภาผูแทนฯได และอาจมีความวิตกวา หากลมเลิกรัฐธรรมนูญจะทําใหรัฐบาลของเขาตองกลับไปเผชิญหนากับ การไมไดรับการรับรองจากนานาชาติอีก ตอมา บางกอกโพสต( Bangkok Post) ไดรายงานวา “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยยังคงมีอทิ ธิพลในการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึง่ แนวโนมของสาระในรัฐธรรมนูญนัน้ จะสกัดกั้นการมีอํานาจทางการเมืองของคณะรัฐประหาร55 แม จอมพล ป. นายกรัฐมนตรีคนใหมไดเสนอให คณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญที“่ กลุมรอยัล ลิสต”ใหการสนับสนุนใหยึดถือรัฐธรรมนูญ 2475 เปนแบบในการรางก็ตาม56 แตการดําเนินการ รางรัฐธรรมนูญภายใตแนวคิดของ“กลุมรอยัลลิสต” ยังดําเนินไปในทิศทางที่เพิ่มอํานาจใหกับ สถาบันกษัตริยและสรางความไดเปรียบทางการเมืองใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”ตอไป

53

Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 67-68. Kullada Kesboonchoo Mead, “A revisionist history of Thai-U.S. relation,” Asian Review 16 (2003), p. 52. 55 Bangkok Post, 10 April 1948. 56 นครสาร, 27 เมษายน 2491. 54


79

3.6 รัฐบาลจอมพล ป.กับความลมเหลวในการเปดไมตรีกับ “กลุม ปรีดี” การกลับมาเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้งของจอมพล ป. พิบูลสงครามในครั้งนี้ เขาไดรับ ความชืน่ ชมจากมหาอํานาจตะวันตก เนือ่ งจาก เขาไดประกาศยอมรับและทําตามพันธสัญญา ตางๆที่ไทยไดเคยตกลงกับนานาชาติ ใหการสนับสนุนสหประชาชาติ และที่สําคัญรัฐบาลของเขา ประกาศความตองการทีจ่ ะมีความสัมพันธที่แนบแนนกับสหรัฐฯ57 อยางไรก็ตามรัฐบาลของเขา ยังคงตองเผชิญหนากับการตอตานจากปรปกษทางการเมืองหลายกลุม เชน “กลุมรอยัลลิสต” และ“กลุมปรีดี” ไมแตเพียง ความขัดแยงระหวางกลุมเทานัน้ แตยงั มี ความขัดแยงระหวาง กองทัพและภายในกองทัพบก มีผลทําใหรัฐบาลของเขาในชวง 2491จนถึง 2494 ถูกตอตานจาก กลุมตางๆอยางมาก การทาทายอํานาจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามครั้งแรก ซึ่งตอมาเรียกวา “กบฏ เสนาธิการ” ไดเริ่มกอตัวขึ้นในกลางป 2491 ไมกี่เดือนหลังจากที่เขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี การตอตานรัฐบาลเกิดจากความรวมมือระหวาง “กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยรวมมือกัน ใน“ขบวนการเสรีไทย” ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 58 ซีไอเอไดรายงานวา แผนการรัฐประหาร ดังกลาววามี 2 วิธี คือ การใชกําลังทหารจากกรมปนตอสูอากาศยานภายใตการสั่งการของพล.ท. ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษ เพื่อจับกุมนายกรัฐมนตรีและแกนนําคณะรัฐประหารและแผนที่สอง คือ การใชกาํ ลังโดยตรงตอคณะรัฐมนตรีของจอมพล ป.ทัง้ หมด หากแผนการสําเร็จจะมีการ จัดตั้งรัฐบาลผสมระหวาง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต” 59 อยางไรก็ตาม แผนการรัฐประหาร ดังลาวไมประสบความสําเร็จ เนื่องจากรัฐบาลรูความเคลื่อน ไหวลวงหนาจึงทําการจับกุม

57

“Department of State Policy Statement on Indochina, 27 September 1948” in Foreign Relations of the United States 1948 Vol.6, (Washington: Government Printing Office, 1974), p. 47.; แถมสุข นุมนนท, “ขบวนการตอตานอเมริกา สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม,” ใน รวมบทความประวัติศาสตร 2 (มกราคม 2524): 50. 58 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP79-01082A000100010020-7, 11-17 May 1948, “Intelligence Highlights”. 59 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R002100340008-7,1 December 1948, “Operational Plans of the Abortive Countercoup d’etat Group” รัฐบาลชุดใหมตาม รายงานฉบับนี้ระบุวาพล.ท.ชิต มั่นศิลป สินาดยธารักษ จะดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี โดยมีควง อภัยวงศ เปนรองนายกฯ ทวี บุญยเกตุเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร ดิเรก ชัยนามเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ และประภาศ วัฒนสารเปนรัฐมนตรีชวยมหาดไทยแตเมื่อแผนรัฐประหารลมเหลว ควง อภัยวงศ ถูกจับตามองจากรัฐบาลเปนอยางมาก


80

ผูเกี่ยวของเมือ่ 1 ตุลาคม 2491 ตัดหนาแผนรัฐประหารจะเกิดขึ้น60 จากนัน้ รัฐบาลไดนํากําลัง ทหารไปเฝาทีห่ นาสถานทูตอังกฤษและสหรัฐฯเพื่อปองการกลุมผูเกี่ยวของหลบหนีเขาไปใน สถานทูต61 สถานทูตสหรัฐฯเห็นไดวา เสถียรภาพทางการเมืองของจอมพล ป.ในฐานะ นายกรัฐมนตรีครั้งนี้หา งไกลจากในชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มาก62 ทามกลางความขัดแยงหลายดานที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตองเผชิญทัง้ จาก “กลุมปรีดี” และ “กลุมรอยัลลิสต” แตจอมพล ป. เลือกที่จะมีไมตรีกบั ปรีดี พนมยงคอดีตมิตรเกา เมื่อครั้งปฏิวัติ 2475เพื่อรวมมือในการตอตานการขยายอํานาจของ “กลุม รอยัลลิสต” ตนเดือน กุมภาพันธ 2492 จอมพล ป. ไดแถลงขอความผานวิทยุที่สื่อถึง “กลุมปรีดี”วา ปรีดี คือ สมาชิก

60

ในทางเปดเผยนั้น นายทหารสําคัญที่เกี่ยวของ คือ พล.ต.สมบูรณ ศรานุชิตและพล.ต.เนตร เขมะ โยธิน แตจากรายงานจากสถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ มีกลุมที่เกี่ยวของ คือ “กลุมรอยัลลิสต” นําโดยพล.ท.ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษ เปนแกนนํา และมีควง อภัยวงศ พ.ท.รวย อภัยวงศ และพระองคเจาภาณุพันธฯเขารวม และกลุมที่ 2 คือ “กลุมปรีดี” มี พล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ พล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส ดิเรก ชัยนาม หลวงอรรถกิตติ พล.ร.ต.สังวร สุวรรณชีพ หลวงนฤเบศมานิต พล ร.ท.ทหาร ขํา หิรัญ พ.ต.อ. บรรจงศักดิ์ ชีพเปนสุข พ.ต.ต.จําเนียร วาสนาสมสิทธิ์ พ.ต.ต.หลวงสัมฤทธิ์สุขุมวาท พล.ต.เนตร เขมะโยธิน โดยมีปรีดี พนมยงคอยูเบื้องหลัง (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Bangkok to Secretary of State, 7 October 1948.) จากบันทึกของตํารวจนายหนึ่งเชื่อวา “กลุมปรีดี”ติดตอ กับพล.ต.หลวงสรานุชิตและพล.ต.เนตร ผาน ร.ต.ต สุจิตร สุพรรณวัฒน อดีตนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชา ธรรมศาสตรและการเมือง ภายหลังพายแพ ร.ต.ต.สุจิตร หนีกลับไปหาปรีดีที่จีน (โปรดดู พล.ต.ต.อํารุง สกุล รัตนะ, ใคร เผาไมดี วา อตร., หนา 52-53). ซึ่งสอดคลองกับบันทึกของปรีดีไดบันทึกถึงเหตุการณนี้วา“...คนที่ หลบหนีการจับกุม[กรณี “กบฎเสนาธิการ”]มาได ไดสงตัวแทนมาหาขาพเจาเพื่อวางแผนกอการอภิวัฒนโคน ลมรัฐบาลปฏิกริยาอีกครั้งหนึ่ง[กรณี “กบฎวังหลวง” ]…” (ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน, หนา 112-116. โดยพล.ท.ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษนั้นมีความสนิทกับควง มานาน เมื่อพ.ท.รวย ถูกรัฐบาลจอมพล ป.จับกุมในเหตุการณครั้งนี้ พระองคเจาภาณุพันธฯไดออกมาคัดคาน การจับกุมดังกลาว (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Political Survey of the First Six Months of the Phibun Regime May-October 1948,” 22 November 1948). 61 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Bangkok to Secretary of State , 7 October 1948. 62 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Political Survey of the Frist Six Months of the Phibun Regime May-October 1948,” 22 November 1948.


81

แรกเริ่มของคณะราษฎรและเปนเพื่อนเขา เขาตองการใหปรีดีกลับมารวมงานกับรัฐบาลเพื่อให การเมืองมีความเปนเอกภาพ 63 ทามกลางชวงเวลาที่คณะรัฐประหารไมสามารถควบคุมกลไกลทางการเมืองตาม รัฐธรรมนูญได “กลุมปรีด”ี ยังคงทาทายอํานาจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตอไป ประกอบกับ “กลุมรอยัลลิสต”สามารถยึดกุมกลไกลทางการ เมืองที่สําคัญเอาไวได อีกทัง้ พวกเขากําลังสราง ระบอบการเมืองที่จะเอื้อประโยชนใหกบั สถาบันกษัตริยแ ละพวกเขาใหไดเปรียบทางการเมือง อยางถาวรเหนือกลุมตางๆแมกระทัง่ คณะรัฐประหารผานการรางรัฐธรรมนูญใหมทจี่ ํากัดคณะ รัฐประหารใหออกไปจากการเมือง ทําใหจอมพล ป. มีความตองการรวมมือกับปรีดี พนมยงคและ กลุมของเขาเพื่อตอสูกับ“กลุมรอยัลลิสต” แตความรวมมือระหวางกันไมประสบความสําเร็จ เนื่องจาก ปรีดีและกลุมมีแผนการตรงกันขามกับความตองการของจอมพล ป.64 ตนเดือน กุมภาพันธ 2492 กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานวา ปรีดีไดเดินทางกลับเขามาใน ไทยเปนครัง้ แรกหลังการรัฐประหาร 2490 แตมิไดมุงมาเพื่อเจรจากับจอมพล ป. แตเขามาเพื่อ ทวงอํานาจคืนจากจอมพล ป.65 ไมกวี่ ันจากนัน้ เมื่อรัฐบาลไดลวงรูความเคลื่อนไหวตอตานรับ บาลของปรีดีและกลุมทําใหจอมพล ป.ออกแถลงการณทางวิทยุเพื่อเตือนความเคลื่อนไหว ดังกลาว66

63

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State , 8 February 1949. 64 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01082A000100020022-4, 9–15 February 1949, “Intelligence Highlights No.39”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 9 February 1949. สถานทูตสหรัฐฯและซีไอเอรายงานตรงกันวา แกน นําคนหนึ่งของ“กลุมปรีดี”แจงวา จอมพล ป. พิบูลสงครามไดสงผูแทนไปพบกับแกนนําของกลุมเพื่อขอใหพวก เขากลับมารวมมือกับจอมพล ป. โดยพวกเขาตีความวา การสงสัญญาณของจอมพล ป.ผานวิทยุในตนเดือน กุมภาพันธ 2492 คือ ความพยายามสื่อกับพวกเขาถึงความตั้งใจของจอมพล ป.ที่มีตอปรีดี พนมยงคและกลุม อยางไรก็ตาม ขอเสนอจากจอมพล ป.ไมสามารถตกลงกันไดเปนมติของ“กลุมปรีดี” ได 65 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Reed to Butterworth, “Siam Politics,” 9 February 1949. 66 จอมพลป. พิบูลสงครามไดแถลงผานวิทยุเมื่อ 12 กุมภาพันธ 2492 ในหัวขอ “ประเทศจะมีจลาจล หรือไม” โดยแถลงการณดังกลาวไดเปรียบเทียบไทยกับประเทศเพื่อนบานที่มีเหตุการจราจลและประเทศไทยก็ กําลังจะมีขึ้น และเมื่อ 16 กุมภาพันธ 2492 เรื่อง “สถานการณของโลกเกี่ยวกับการจลาจลในประเทศอยางไร” เนื้อหากลาวถึงอันตรายของคอมมิวนิสตที่เขาแทรกซึม(สมุทร สุรักขกะ, 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507, หนา 447).


82

เมื่อการเจรจาระหวางกันไมเปนผลและมีแนวโนมจะเกิดความรุนแรงขึน้ รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามไดขออนุมัติตอ กรมพระยาชัยนาทฯ ผูสาํ เร็จราชการฯเพื่อประกาศภาวะฉุก เฉิน แตผูสําเร็จราชการฯและพระราชวงศทรงไมเห็นดวยกับการประกาศภาวะฉุกเฉินของรัฐบาล เนื่องจาก พวกเขาไมตองการใหจอมพล ป.มีอํานาจเด็ดขาดจากการประกาศภาวะฉุก เฉิน67 อยางไรก็ตาม ในที่สุดรัฐบาลสามารถประกาศภาวะฉุกเฉินไดสําเร็จ และนําไปสูการจับกุม“กลุม ปรีดี”ไดบางสวน68 แตกระนัน้ ปรีดี พนมยงคยังคงเดินหนาแผนการกลับสูอํานาจตอ ไปดวยการ ขอความชวยเหลือจากรัฐบาลก็กหมินตัง๋ เนื่องจากจีนไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. และตองการ สนับสนุนการโคนลมรัฐบาล69 ไมแตเพียง ความไมพอใจของรัฐบาลก็กหมินตั๋งตอการกลับมาเปน นายกรัฐมนตรีของจอมพล ป.เทานัน้ แตยังไดสรางความไมพอใจใหกับชุมชนชาวอเมริกัน ผูเ คย เปนโอเอสเอส.ที่เคยรวมงานกับเสรีไทยในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกดวย โดยเฉพาะอยางยิง่ วิลลิส เบิรด70 ในขณะที่ ในระดับนโยบายนัน้ สหรัฐฯนอกจากจะไมใหการสนับสนุนการโคนลม

67

NA, FO 371/76281, Thompson to Foreign Office, 21 February 1949.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01082A000100020021-5, 16-23 February 1949, “National emergency declaration believed cover for domestic unrest ”. 68 NA, FO 371/76281, Thompson to Foreign Office, 25 February 1949.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457r002600450006-2, 25 April 1949, “ Additional Information Concerning the 26 February 1949”. พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดเขาจับกุม “กลุมปรีดี” เชน พ.อ.ทวน วิชัยขัท คะและนายทหารระดับกลางอีก 2-3 คน เนื่องจากเคลื่อนไหวเตรียมการรัฐประหาร 69 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01090A000500010009-7, 7-13 September 1948, “The Chinese National Government regards Siam with increasing disfavor”. สําหรับเงินทุนในการดํานินการนั้นในเอกสารดังกลาวรายงานวา ปรีดี พนมยงคไดยืมเงินจากเค. ซี. เยห (K. C. Yeh) ผูชวยรัฐมนตรีฝายการเมืองของกิจการระหวางประเทศของรัฐบาลก็กหมินตั๋ง จํานวน 50,000เหรียญ สหรัฐฯ และจากสงวน ตุลารักษ ที่ฝากไวที่ National City Bank of New York จํานวน 40,000 เหรียญสหรัฐฯ เพื่อซื้อเรือจากฮองกง กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯวิเคราะหวา สาเหตุที่ รัฐบาลจีนใหการสนับสนุน เนื่องจากตองการมีอิทธิพลเหนือไทย โดยปรีดีมีแผนการที่จะกลับกรุงเทพฯดวยการกอการรัฐประหาร(NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 box 7251, Reed to Butterworth, “Political Intervention of Pridi Banomyong,” 30 September 1948) 70 NA, FO 371/84348, Thompson to Mr. Bevin, ”Siam: Annual Review for 1949,” 10 May 1950 .; Anusorn Chinvanno, Thailand’s Policies toward Chaina, 1949-1954, (Oxford: St. Antony’s College, 1992), p. 51.


83

รัฐบาลจอมพล ป.แลว แตสหรัฐฯกลับมีความตองการสนับสนุนใหรัฐบาลจอมพล ป. มีความ เขมแข็ง71 เมื่อ ปรีดี พนมยงคและกลุม ของเขาเดินทางจากจีนมาไทยเพื่อปฏิบตั ิการทวงอํานาจคืน ในเหตุการณที่เรียกกันตอมาวา “กบฎวังหลวง” ดวยการโดยสารเรือปราบเรือดําน้าํ (Submarine Chaser)ชื่อ เอส.เอส. บลูบริ ด(S.S. Bluebird) ซึ่งมีกับตันเรือ ชื่อ จอรช นิลลิส(George Nellis) และนายเรือทัง้ หมดเปนชาวอเมริกัน เรือดังกลาวไดแลนออกจากฮองกง มารับปรีดีและคณะ จํานวน 8-9 คนทีก่ วางตุง ประเทศจีน พรอมลําเลียงอาวุธหลายชนิด เชน ปนบารซูกา ปนสะเต็น ปนการบิน ลูกระเบิดมือ และกระสุนจํานวน 40 หีบที่ไดรบั การสนับสนุนจากโอเอสเอสในจีน จากนั้น เรือก็มุงตรงมายังสัตหีบ72 สําหรับการเตรียมแผนเคลื่อนไหวในประเทศนัน้ ปรีดี พนมยงคติดตอกับกลุมผานวิจิตร ลุลิตานนทอยางตอเนื่อง และมีการประชุมวางแผนกันภายในกลุม เขาไดใหทวี ตะเวทิกุล ทาบทามขอความสนับสนุนจากพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตแตไดรับการ ปฏิเสธ ทัง้ นี้ แผนการใชกําลังในการกลับคืนสูอํานาจของปรีดีนี้ ทวีไมเห็นดวยและพยายามโนม นาวใหปรีดีลมเลิกแผนดังกลาวเพื่อใหเขาสามารถกลับมาไทยตอไปได แตเขาคงยืนยันดําเนิน แผนการชิงอํานาจคืนตอไป73 แมเปนที่รับรูกันวากําลังหลักของการพยายามรัฐประหารดังกลาว คือ ทหารเรือจากหนวยนาวิกโยธิน ชลบุรี ของพล.ร.ต.ทหาร ขําหิรัญและเหลาเสรี ประกอบดวย

71

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01090A000500010009-7, 7-13 September 1948, “The Chinese National Government regards Siam with increasing disfavor”. 72 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R002700370010-5, 4 May 1949, “Participation of Former United States Navy Ship in the Attempted 26 February Coup”; อนุสรณ ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516, หนา 173174.;ประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ) (กรุงเทพฯ: โพสต พับ ลิชชิ่ง, 2542),หนา 162-163.; พล.ต.ต.อํารุง สกุลรัตนะ, ใครวา อตร.เผาไมดี,หนา 53).จากเอกสารซีไอเอ ให ขอมูลวา ภายหลังความพายแพ กัปตันนิลลิสไดหลบซอนที่บานของประสิทธิ์ ลุลิตานนท จากนั้น เขาไดรับการ ชวยเหลือเดินทางกลับไปสูฮองกงและกลับสูสหรัฐฯ สวนเรือเอส.เอส.บลูเบิรดนั้นไดเขาสูนานไทยเมื่อ 7 กุมภาพันธ 2492 เพื่อสงปรีดี พนมยงคและลําเลียงอาวุธขึ้นฝงเมื่อ 24 กุมภาพันธ จากนั้นออกจากฝงไทยเมื่อ 2 มีนาคม มุงหนาสูไซงอน อินโดจีน ภายหลัง เรือดังกลาวถูกขายใหกองเรือลาดตระเวนของฝรั่งเศสตอไป 73 ประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ), หนา 150,161162.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516, หนา 180.


84

ทหารบก ตํารวจ และนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง74 แตจากหลักฐานใน การสนทนาระหวางปรีดีและพล.ร.ต.สังวร สุวรรณชีพไดใหขอมูลที่สอดคลองกับหลักฐานของซีไอ เอวา การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ ไดรับความชวยเหลือจากก็กหมินตัง๋ และอดีตโอเอสเอส75 อยางไรก็ตาม รัฐบาลจอมพล ป.สามารถปราบปรามการตอตานครั้งนีล้ งได 76 ไมกวี่ ันจากนั้น คณะรัฐประหารตัดสินใจปราบปรามแกนนําของ“กลุมปรีดี” ดวยการสังหารอดีตรัฐมนตรี 4 คนที่ บริเวณบางเขนอยางเหี้ยมโหด รวมทั้ง การสังหารทวี ตะเวทิกุลและพ.ต.อ.บรรจงศักดิ์ ชีพเปนสุข 77

แมสหรัฐฯจะมีนโยบายสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ตาม แตความชวย เหลือของอดีตโอเอสเอสที่ใหแกปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาในการตอตานรัฐบาล ทําให จอมพล ป.เกิดความไมไววางใจสหรัฐฯเปนอยางมาก ประกอบกับชวงเวลาดังกลาว สหรัฐฯไดสง ทูตทหารเดินทางเขามาประจําการในไทยจํานวนมากขึน้ ยิง่ สรางความกังวลใหกบั จอมพล ป. มากยิง่ ขึ้นวา สหรัฐฯสนับสนุนปรีดีและหันหลังใหกับรัฐบาลของเขา78

74

สุเพ็ญ ศิริคูณ, “กบฏวังหลวง (26 กุมภาพันธ 2492),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2518), หนา 54-55. 75 โปรดดู การบอกเลาของความชวยเหลือของปรีดี พนมยงคถึง ความชวยเหลือจากก็กหมินตั๋งและ อดีตโอเอสเอสใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516 , หนา 175, 181. 76 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R002600450003-5, 25 April 1949, “Political Activities Resultant on the 26 February Coup”. การประชุมกลุมเล็กระหวางภายใน คณะ รัฐประหารมี พล ร.ต.หลวงพลสินธวาณัติก พล.ท.ผิน และน.อ. ม.จ.แรงอาภากร โดยม.จ.แรงอาภากร เห็นวา การเมืองไทยจะไมสงบจนกวาปรีดีและแกนนําจะถูกกําจัด 77 ชาญวิทย เกษตรศิริ และ ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต บรรณาธิการ, ปรีดี พนมยงค และ 4 รัฐมนตรี อีสาน + 1,(กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร, 2544).ซีไอเอรายงานวา ผูลงมือสังหาร 4 รัฐมนตรี คือ พ.ต.ลั่นทม จิตรวิมล โดยมี พ.ต.อ.หลวงพิชิตธุรการเปน ผูสั่งการให พ.ต.ลั่นทม ลงมือสังหาร(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP8200457R002600450004-4, 25 April 1949, “Added Information Concerning the Murder of the ExMinister”). 78 NA, CO 54462/3, Thompson to Foreign Office, 29 November 1949.; NA, FO 371/84348, Thompson to Mr. Bevin,” Siam: Annual Review for 1949,” 10 May 1950.


85

3.7 “กลุมรอยัลลิสต” กับการสถาปนารัฐธรรมนูญที่ปฏิเสธกองทัพ ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในชวงเวลาดัง กลาวไดสรางความไมพอใจใหกับจอมพล ป. พิบูลสงครามเปนอยางมาก สแตนตัน ทูตสหรัฐฯได รายงานวา จอมพล ป.ไดเคยถกเถียงกับกรมพระยาชัยนาทฯ ผูสําเร็จราชการฯ เกีย่ วกับเนื้อหา สาระในรางรัฐธรรมนูญฉบับที“่ กลุมรอยัลลิสต”ดําเนินการรางและเรียกรองใหพระองคในฐานะ ผูสําเร็จราชการฯมีความระมัดระวังในการไดรับคําปรึกษาและการใหขอแนะนําตอองคมนตรี ตลอดจนการมีบทบาทในทางการเมืองของสถาบันกษัตริย ในขณะนี้ เขาเริ่มเห็นความแผน ทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”ในการรางรัฐธรรมนูญ เขาจึงมีความตองการใหมีการตั้ง คณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญใหมอีกครั้ง หรืออยางนอยขอใหรัฐสภาทําการแกไขรางรัฐธรรมนูญ ฉบับที”่ กลุมรอยัลลิสต”ไดรางขึ้น 79 ในระหวางที่รฐธรรมนูญฉบับใหมทถี่ ูกรางโดย “กลุมรอยัลลิสต” ถูกเสนอเขาสูการ พิจารณาในรัฐสภาที่ดารดาษไปดวย“กลุมรอยัลลิสต”ทั้งในวุฒิสภาและสภาผูแทนราษฎร จอม พล ป. พิบูลสงครามยังคงยืนยันกับทูตสหรัฐฯวา เขานิยมรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 มากกวาเพราะมีความเปนประชาธิปไตยมากกวาฉบับของ“กลุมรอยัลลิสต” เขาเห็นวา สาระใน รางรัฐธรรมนูญฉบับใหมเปนการลดอํานาจของประชาชนแตกลับไปขยายอํานาจของสถาบัน กษัตริย เขาเห็นวาเปนทิศทางการเมืองที่ไมถูกตองและมีขอความที่ซอนเรนบางประการอยู ภายในรัฐธรรมนูญ เขาเห็นวารัฐธรรมนูญฉบับใหมนจี้ ะนําไปสูปญหาทางการเมือง80 ในที่สุด รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวหรือ รัฐธรรมนูญ 2492 ที่เพิม่ อํานาจใหพระมหากษัตริยใ นทางการเมือง แตกีดกันคณะรัฐประหารออกไปจากการเมืองไดถูกประกาศใชสําเร็จ81 แมในระหวางการ พิจารณาจะมีการคัดคานจากนายทหารจํานวนหนึ่งในคณะรัฐประหารและสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรจากอีสานที่นาํ โดยเลียง ไชยกาล ฟอง สิทธิธรรม ชื่น ระวิวรรณ และสมาชิกสภาผูแทนฯ จากภาคอีสานอื่นๆก็ตาม82 แตก็ไมอาจตานทานเสียงใหการสนับสนุนรัฐธรรมนูญจาก“กลุมรอยัล 79

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 725, Stanton to Secretary of State, 9 February 1949. 80 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Memorandum of Conversation Phibun and Stanton, 1 March 1949. 81 ราชกิจจานุเบกษา 66, 17 (23 มีนาคม 2492). 82 ในการประชุมรัฐสภาเพื่อพิจารณารับรัฐธรรมนูญ 2492นี้ ชื่น ระวีวรรณ และเลียง ไชยกาล ได อภิปรายวิจารณรัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจพระมหากษัตริยมีอํานาจในทางการเมืองวา “รางรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไมใชประชาธิปไตยอันแทจริง แตมีลัทธิการปกครองแปลกประหลาดแทรกซอนอยู ลัทธินี้ คือ ลัทธินิยมกษัตริย” และ“ รางรัฐธรรมนูญฉบับนี้เขียนไวโดยปรารถนาจะเหนี่ยวรั้งพระมหากษัตริย เขามาพัวพันกับการเมืองมาก


86

ลิสต”ที่ทว มทนในรัฐสภาได ไมแตเพียงเทานัน้ “กลุมรอยัลลิสต”ยังไดรุกคืบทางการเมืองดวยการ เตรียมจัดตั้งพรรคการเมืองที่มีแนวทางแบบกษัตริยนยิ มเพิ่มเติมขึน้ อีก จากเดิมที่มมี ีเพียงพรรค ประชาธิปตยและพรรคกษัตริยนิยม83 ซีไอเอรายงานวา เมือ่ รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวผานการ พิจารณาของรัฐสภา “กลุมรอยัลลิสต”มีความมัน่ ใจมากขึ้นในการคุมกลไกลทางการเมือง ทําให พวกเขาเริ่มใชอํานาจที่เหนือกวาคณะรัฐประหารดวยการเสนอแนวคิดจัดตั้งรัฐบาลผสมรอยัล ลิสต ระหวางพรรคประชาธิปตยและคณะรัฐประหาร โดยพวกเขามีแผนผลักดันใหเจาพระยาศรี ธรรมาธิเบศ แกนนําสําคัญใน“กลุมรอยัลลิสต” เปนนายกรัฐมนตรีแทนจอมพล ป. และลด ตําแหนงจอมพล ป.ลงเปนเพียงเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม สวนตําแหนงรัฐมนตรีอื่นๆ จะตกเปนของพรรคประชาธิปตยทั้งหมด 84 ความสําเร็จในการสถาปนาระบอบการเมืองภายใต รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวทีเ่ พิ่มอํานาจทางการเมืองใหสถาบันกษัตริยส รางความพอใหกับพระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”เปนอันมาก 85 ดังนัน้ นับแตหลังการรัฐประหาร 2490 “กลุมรอยัลลิสต”มีความไดเปรียบทางการเมือง เหนือคณะรัฐประหาร เนื่องจาก พวกเขาสามารถเขาคุมกลไกลทางการเมืองและการออกแบบ ระบอบการเมืองผานรัฐธรรมนูญ 2492 ทําใหพวกเขาไดเปรียบในการแขงขันและมีอํานาจทีย่ ั่งยืน การรุกคืบของ“กลุมรอยัลลิสต”ทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหาร และนายกรัฐมนตรีแสวงหาความรวมมือกับ“กลุมปรีดี”เพื่อตอตานการขยายอํานาจของ“กลุม รอยัลลิสต” แตไมประสบความสําเร็จ อีกทัง้ “กลุมปรีดี” ไดกอการรัฐประหารที่ลมเหลวเพื่อ ตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไมแตเพียงทําใหกลุมของเขาบอบช้ําจากการตอสูและ เสียแกนนําที่สาํ คัญไปหลายคนเทานัน้ แตยังทําลายโอกาสในการพยายามสรางความรวมมือ ระหวาง รัฐบาลจอมพล ป.กับ“กลุมปรีดี”เพื่อยุติแผนการขยายอํานาจของ “กลุมรอยัลิสต” ประสบความลมเหลว แตกลับเปดทางใหกับ“กลุมรอยัลลิสต” เดินแผนการทางการเมืองของ ตนเองตอไปได เกินไป โดยการถวายอํานาจมากกวาเดิม … ยังงี้ไมใชรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย มันเปนรัฐธรรมนูญพระมหา กษัตริยอยางชัดๆทีเดียว” (ธงชัย วินิจจะกูล, ขามใหพนประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม,( กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณสถาน 14 ตุลา, 2548), หนา 21. 83 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 11 February 1949. 84 NARA, CIA Records search Tool (CREST) ,CIA-RDP82-00457R002500140001-2, 15 March 1949, “Faction involved in political maneuvering in connection with the draft constitution and the amnesty bill”. อยางไรก็ตามรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวประกาศใชสําเร็จเมื่อ 23 มีนาคม 2492 85 กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร, เจ็ดรอบอายุกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร, (พระนคร: พระจันทร, 2512 ), หนา 118. พระองคทรงเรียกขานการเมืองหลังการรัฐประหาร 2490 วา “วันใหมของชาติ”


บทที่ 4 สูภาวะกึ่งอาณานิคม: การมาถึงของสหรัฐฯและการปราบปรามปรปกษ ทางการเมืองของไทย 2493-2495 4.1 สัญญาณจากวอชิงตัน ดี.ซี.ถึงไทย จากการที่สหรัฐฯ มีความตองการสนับสนุนการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ไปทั่วโลก ประธานาธิบดีทรูแมนไดเริ่มตนแผนกระตุนการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกผานโครงการ ขอที่สี่ สหรัฐฯมีความตองการสนับสนุนใหโลกกาวเขาสูยุคแหงการพัฒนาโดยใหมีโครงการ โยกยายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นายทุน เกษตรกรและชาวนาสหรัฐฯไปยังภูมิภาคตางๆเพื่อ ขยาย การลงทุนของสหรัฐฯออกไปทั่วโลก โดยผานการใหความชวยเหลือแกประเทศกําลัง พัฒนาใหสามารถใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในประเทศนัน้ และขยายอิทธิพลของ การใชสกุลเงินดอลลารออกไปยังสวนตางๆทั่วโลก โครงการของประธานาธิบดีทรูแมนเปนการ ผสมผสานกิจกรรมระหวางประเทศเพื่อใหเกิดการขยายตัวการคาและลดอุปสรรคการลงทุนของ ภาคเอกชนสหรัฐที่จะเคลื่อนยายการลงทุนไปยังในสวนตางๆของโลกใหไดรับสะดวกมากยิ่งขึน้ 1 สําหรับนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอไทยภายหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 นั้น สหรัฐฯ ตองการใหไทยยอมรับระเบียบการเงินระหวางประเทศที่มีสกุลดอลลารเปนหลักเพือ่ ลดอิทธิพล ของอังกฤษและสกุลเงินปอนดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตลง และพยายามผลักดันใหไทย กลายเปนแหลงทรัพยากรและเปนตลาดรองรับสินคาจากประเทศอุตสาหกรรม เมื่อไทยตอง เผชิญหนากับปญหาการรักษาคาเงินบาทภายหลังสงครามโลก หลังการรัฐประหาร 2490 รัฐบาล ควง อภัยวงศไดขอคําปรึกษาการแกปญหาคาเงินจากสถานทูตสหรัฐฯ และดวยเหตุที่ สหรัฐฯมี นโยบายสงเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกแบบทุนนิยมที่มีสหรัฐฯเปนผูน ํา สถานทูต สหรัฐฯจึงสนับสนุนใหไทยเปลี่ยนการผูกคาเงินบาทจากเงินปอนดไปสูสกุลดอลลารไดสําเร็จในป

1

Gilbert Rist, The History of Development: From Western Origins to Global Faith,(London: Zed Books, 1999), pp. 71-77.; Samuel P. Hayes, Jr., “The United States Point Four Program,” The Milbank Memorial Fund Quarterly 28, 3 (July 1950): 27-35, 263-272.


88

2492 2 จากการเปลี่ยนแปลงนี้ ซีไอเอรายงานวา สหรัฐฯสามารถเขามามีอทิ ธิพลตอไทยแทนที่ อังกฤษไดสําเร็จ3 ตั้งแตชวงตนทศวรรษ 2490 สหรัฐฯไดเริ่มเขามาครอบงําระบบการเงิน การคาของไทย และทําใหไทยกลายเปนแหลงทรัพยากรและเปนตลาดรองสินคาของสหรัฐฯและญี่ปนุ และ ตอจากนัน้ สหรัฐฯก็เริ่มเขามาครอบงําทางการทหารของไทยดวยความชวยเหลือทางการทหาร และขอตกลงทางการทหารเพื่อทําใหไทยกลายเปนปอมปราการทางการ ทหารของสหรัฐฯในการ ตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งมีผลทําใหไทยมีความเปนอิสระในการ ตัดสินใจลดนอยลงเรื่อยๆ แมสหรัฐฯจะมิไดใชรูปแบบการเขายึดครองดิน แดนเพื่อบงการการ ปกครองอยางเบ็ดเสร็จเฉกเชนที่จกั รวรรดินิยมกระทําในอดีต แตดวยนโยบายและบทบาทของ สหรัฐฯทีม่ ีตอไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2491-2500 ซึ่งมีสว นสําคัญใน ฐานะปจจัยชีข้ าดชัยชนะของกลุมการเมืองของไทยที่จะตองดําเนินการตามความตองการของ สหรัฐฯเทานั้นถึงจะสามารถมีอํานาจทางการเมืองตอไปได อันสะทอนใหเห็นวา ในชวงเวลา ดังกลาวไทยไดเคลื่อนเขาสูภ าวะที่ดูประหนึง่ กึง่ อาณานิคมภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯทีเ่ ห็น ไดชัดเจนยิ่งขึน้ ในการเมืองไทยในสมัยถัดมา บริบทการเมืองระหวางประเทศในชวงเวลาตนทศวรรษที่ 2490 สถานการณในจีนเริม่ เขา สูภาวะคับขัน เนื่องจากกองทัพของก็กหมินตั๋งที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนนัน้ ไดเริ่มสูญเสียพืน้ ที่ใน การครอบครองใหกับกองทัพของพรรคคอมมิวนิสตจีนมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหสหรัฐฯเริ่มมีความวิตก ในชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสตจีนและชัยชนะนี้ยอมหมายถึงการขยายตัวของลัทธิทางการเมือง ที่เปนภัยตอการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมตามที่สหรัฐฯตองการ ดวยเหตุนี้ สหรัฐฯดําเนินการยับยัง้ การขยายตัวของสิง่ เปนอุปสรรคตตอความตองการของสหรัฐฯ ในเดือน กุมภาพันธ 2492 ดีน จี. อัชเชอรสัน(Dean G. Acheson)รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตาง ประเทศไดสั่งการถึงสถานทูตสหรัฐฯในไทยวา สถานการณในเอเชียมีการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว เขาตองการจัดใหมีการประชุมคณะทูตสหรัฐฯประจําภูมิภาคเอเชียทีก่ รุงเทพฯหรือการ ประชุมทีน่ ําโดยฟลลิปส ซี. เจสสัป(Phillip C. Jessup)นีไ้ ดเกิดขึ้นในกลางเดือนกุมภาพันธป ถัดไป การประชุมดังกลาวเปนไปเพื่อระดมความคิดเห็นในการตอสูกบั คอมมิวนิสต และตอตาน

2

Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 72, 328-329, 391. 3 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP67-00059A000500080009-9, 17 May 1948 , “Review of the World Situation”.


89

ปฏิรูปที่ดินทุกรูปแบบในภูมิภาค อัชเชอรสันตองการใหคอมมิวนิสตกลายเปนภัยคุกคามอยาง แทจริงตอภูมิภาคเอเชีย4 เมื่อสหรัฐฯมีนโยบายตองการสงเสริมการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม สหรัฐฯจึงตองทําใหคอมมิวนิสตกลายเปนภัยที่คุกคามสันติภาพและภูมิภาคตางๆของโลกและ ดวยโครงการขอที่สี่ทําใหสหรัฐฯเริ่มตนใหความสนใจที่จะปรับปรุงเศรษฐกิจของไทย ในเดือน มิถุนายน 2492 ทูตพาณิชยของสหรัฐฯในกรุงเทพฯไดกลาวถึงแนวทางการดําเนินการตาม แนวทางโครงการขอที่สี่ในไทยวา สหรัฐฯตองการใหไทยมีความมัน่ คงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ตลอดจนมีการสงเสริมการซือ้ ขายวัตถุดิบในการผลิตสินคาระหวางไทยกับสหรัฐฯ ดวยการ ชวยเหลือแกไทยนี้เปนสวนหนึง่ ของนโยบายเศรษฐกิจระดับโลกของสหรัฐฯเพื่อสงเสริมการ ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโลก5 ในชวงตนๆทศวรรษ 2490 สหรัฐฯยังคงเห็นวาไทยเปนเพียง แหลงทรัพยากร และตลาดรองรับสินคาทีส่ ําคัญสําหรับสหรัฐฯเทานั้น แตสําหรับทางดานความ มั่นคงนั้น สหรัฐฯยังคงมองวาไทยยังไมมนี โยบายตางประเทศที่อยูเคียงขางกับสหรัฐฯอยาง ชัดเจน 6 จากโครงการขอที่สี่ ทําใหสหรัฐฯไดมีนโยบายตอไทยจํานวน 4 ประการ คือ ทําใหไทยมี การพัฒนาเศรษฐกิจ ทําใหไทยเปนมิตรทีซ่ ื่อสัตย ทําใหไทยรวมมือในตอตานคอมมิวนิสต และ ทําใหไทยเปนขอตอทางการคาที่สําคัญระหวางสหรัฐฯกับญี่ปุน7 สหรัฐฯไดใหสนับสนุนการเพิ่ม ผลผลิตการเกษตรดวยเทคโนโลยีชลประทาน ปรับปรุงระบบการขนสง ผลักดันใหไทยมีนโยบาย สงเสริมการลงทุนในแหลงทรัพยากรธรรมชาติ ขจัดการผูกขาดทางการคาที่เปนอุปสรรคตอ ผูประกอบการเอกชนของสหรัฐฯ และทําใหไทยรวมมือกับสหรัฐฯในการตอตานคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ สหรัฐฯไดกําหนดเงื่อนไขในความชวยเหลือตอไทยวา ไทยจะไดรับความชวยเหลือจากสหรัฐฯ อยางตอเนื่อง “ตราบเทาที่รฐั บาลไทย ยังยอมรับและหลีกเลี่ยงที่จะขัดแยงอยางสําคัญตอ

4

NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958 Acherson to American Embassy Bangkok , 4 February 1949 5 Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 159-160. 6 “Basic U.S. Security Resource Assumptions, 1 June 1949,” in Foreign Relations of the United States 1949 Vol.1, (Washington DC.: Government Printing Office,1976), pp.339-340. 7 Neher, “Prelude to Alliance : The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 171.


90

ประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐฯ”8 ตอมาไทยเปนประเทศแรกที่ไดรับความชวยเหลือในโครงการ เงินกูจากธนาคารโลกเพื่อสรางระบบชลประทานและทางรถไฟเพื่อปรับปรุงเศรษฐกิจ9 เมื่อกองทัพของพรรคคอมมิวนิสตจีนมีชัยชนะอยางตอเนือ่ งเหนือกองทัพก็กหมินตั๋ง กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. มีคาํ สั่งถึงสถานทูตและกงสุลสหรัฐฯในเอเชีย ตะวันออกไกลวา สหรัฐฯมีนโยบายเศรษฐกิจที่คาดหวังกับเอเชียใตและเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยสหรัฐฯมีแผนความชวยเหลือที่มิใชเปนเพียงการชวยเหลือเทานัน้ แตเปนการชวยเหลือที่ เตรียมความพรอมใหกับสหรัฐฯในการดําเนินความสัมพันธกับประเทศตางๆในภูมิภาคนี้ตอไป10 ในที่สุดเมื่อ สาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาขึน้ เมื่อเดือนตุลาคม 2492 ในปลายเดือนธันวาคม ประธานาธิบดีทรูแมนไดอนุมัติใหสภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯ(National Security Council: NSC)เริ่มตนการศึกษาการวางนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอภูมิภาคเอเชีย ซึง่ มีผลทําให นโยบายปองกันการขยายตัวของคอมมิวนิสตในเอเชียของสหรัฐฯมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น 11 4.2 การถูกตอตานกับการกาวเขาหาสหรัฐฯของรัฐบาลจอมพล ป. การกาวขึ้นมามีอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบลู สงครามดวยการรัฐประหาร รัฐบาล“กลุมปรีดี” และลมรัฐบาลควง อภัยวงศที่ไดรับการสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต”ทําให รัฐบาลจอมพล ป. ตองเผชิญหนากับการถูกทาทายจากกลุมการเมืองหลายกลุม มีผลทําใหตั้งแต ป 2491 รัฐบาลจอมพล ป.มีความจําเปนทีจ่ ะตองแสวงหาอาวุธทีท่ นั สมัยเพื่อเสริมสรางศักยภาพ การทหารเพื่อปราบ ปรามกลุมตอตานดวยหลายวิธีการ เชน การจัดซือ้ อาวุธจากตางประเทศ12

8

“Policy Statement Prepared in the Department of State, 15 October 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6,(Washington D.C.: Government Printing Office,1976), pp. 1533-1534. 9 กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “ธนาคารโลกกับพัฒนาการเศรษฐกิจของไทย,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517). 10 Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 166. 11 The Pentagon Papers,(New York: The New York Times,1971), p. 9. 12 เริ่มมีหลักฐานการแสวงหาอาวุธใหกับกองทัพเพื่อปองกันการตอตานรัฐบาลตั้งแตเดือนมิถุนายน 2491 ตอมาตนป 2492 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดสงนายทหารไปติดตอ วิลลิส เบิรดเพื่อใหชวยซื้ออาวุธ มูลคา 1,000,000 เหรียญใหกองทัพไทย(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP8200457R001600460010-7, 28 June 1948, “Colonel Phao Sriyanon possible trip to the United state for


91

และการสงผูแทนรัฐบาลเดินทางไปขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯตั้งแต 2491 แตการขอความ ชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯ ในชวงแรกไมไดรับการตอบสนอง เนื่องจาก สหรัฐฯยังไมเห็น ความจําเปนในการใหความชวยเหลือและรัฐบาลไทยไมมีเหตุผลทีช่ ัดเจนในการขออาวุธ13 จวบกระทั่ง สถานการณในจีนเมื่อกองทัพก็กหมินตั๋งถอยรนจากการรุกรบของกองทัพ พรรคคอมมิวนิสตจีนอยางตอเนื่อง สหรัฐฯไดเปลี่ยนแปลงการสนับสนุนทางการทหารมูลคา 75,000,000 ดอลลารที่เคยใหกับกองทัพก็กหมินตัง๋ ไปสูการใหการความชวยเหลือแกประเทศ ตางๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อตอตานคอมมิวนิสตแทน ดวยเหตุนี้ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจึงสบโอกาสที่จะไดรับอาวุธสมัยใหมตามที่คาดหวัง ในปลายเดือนกันยายน 2492 รัฐบาลไดรับรายงานจากสถานทูตไทยในสหรัฐฯวา สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางอาวุธ แกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตแตประเทศนัน้ ๆจะตองมีภัยคอมมิวนิสตคุกคามและตองมีการ ลงนามขอตกลงความรวมมือกับสหรัฐฯกอน กรมหมืน่ นราธิปพงศประพันธ(พระองคเจาวรรรไวท ยากร)เอกอัครราชทูตไทยประจําสหรัฐฯ ไดแจงเรื่องดังกลาวใหรัฐบาลทราบ ไมนานจากนัน้ จอม พล ป. ใหความเห็นชอบที่จะขอความชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯเพื่อตอตานคอมมิวนิสต คุกคาม14 ดวยเหตุที่ สหรัฐฯมีนโยบายใหการสนับสนุนใหฝรั่งเศสคงมีอํานาจเหนืออาณานิคมใน อินโดจีนตอไปได โดยสหรัฐฯสงสัญญาณในปลายป 2492 ที่ใหการสนับสนุนรัฐบาลจักรพรรดิ เบาไดที่ฝรั่งเศสตั้งขึ้น จากนัน้ สหรัฐฯไดใหการสนับสนุนทางการทหารแกฝรั่งเศสเพือ่ ตอตาน เวียดมินหที่สหรัฐฯเห็นวาเปนพวกคอมมิวนิสตมากยิง่ ขึ้น15 เดือนตุลาคมปเดียวกัน สหรัฐฯไดหยัง่ arms purchases”; CIA-RDP82-00457R002400490002- 4, 4 Mar 1949, “Siamese Requests for Arms through Willis H. Bird”). 13 รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเคยสง พล.ต.หลวงสุรณรงค พ.ต.ม.จ.นิทัศนธร จิรประวัติ และ พล อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เดินทางไปขอความชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯใน ตนเดือน เมษายน 2491แตไม มีความคืบหนาใด(หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, พจน สาร สิน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี 21 พฤษภาคม 2492). 14 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 1102-344-301-401-9301 ไทยขอความชวยเหลือ ดานวุธยุทธภัณฑจากสหรัฐฯ 2493-2494, พจน สารสิน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 1 สิงหาคม 2492.;หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, เอกอัครราชทูตไทย ประจํา วอชิงตัน ดีซี ถึง กระทรวงการตางประเทศ 30 กันยายน 2492.; เอกอัครราชทูตไทยประจํา วอชิงตัน ดี.ซี. ถึง กระทรวงการตางประเทศ 30 กันยายน 2492. โดยจอมพล ป. พิบูลสงครามตอบรับความคิดนี้เมื่อ 5 ตุลาคม 2492 15 Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam, p. 35.; The Pentagon Papers, p. 5.


92

ทาทีไทยผานพจน สารสิน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศขณะนัน้ วา รัฐบาลไทย จะใหสนับสนุนรัฐบาลเบาไดตามสหรัฐฯหรือไม16 อยางไรก็ตาม เมื่อสหรัฐฯยังไมอนุมัติความ ชวยเหลือทางอาวุธที่รัฐบาลไทยรองขอ จอมพล ป.พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีจึงยังคง สงวนทาทีไมตอบสนองตอความตองการของสหรัฐฯในเรือ่ งดังกลาว การรับรองรัฐบาลเบาไดของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเกิดขึ้นทามกลางการ ประชุมทูตสหรัฐฯในเอเชียทีม่ ีฟลลิปส ซี. เจสสัปเปนเอกอัครราชทูตผูมีอํานาจเต็มเปนหัวหนา การประชุมในเดือนกุมภาพันธ 2493 และกลายเปนประเด็นการตอรองระหวางสหรัฐฯกับรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม เนื่องจาก เมื่อรัฐบาลโฮจิมนิ หไดรับการรับรองจากจีนและสหภาพโซ เวียต แตสหรัฐฯกลับใหการรับรองรัฐบาลเบาไดที่ฝรั่งเศสใหการสนับสนุนในตนเดือนกุมภาพันธ 2493 ทันที พรอมการใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแกฝรั่งเศสจํานวน 10,000,000 ดอลลารเพื่อปราบปรามขบวนการของโฮจิมินห 17 ในวันรุงขึ้น หลังจากทีส่ หรัฐฯ รัฐบาลเบาไดแลว สแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดเขาพบจอมพล ป.และพจน สารสิน เพื่อโนมนาวใหไทย รับรองรัฐบาลเบาไดตามสหรัฐฯ โดยจอมพล ป. ไดประกาศวารัฐบาลไทยจะรับรองเบาได แต พจน สารสินไมเห็นดวย เนือ่ งจาก เขาเห็นวารัฐบาลเบาไดจะพายแพแกโฮจิมินห 18 ในชวงเวลาดังกลาว เมื่อประธานาธิบดีทรูแมนดําเนินนโยบายตามโครงการขอที่สี่และ การเริ่มตนการสกัดกั้นการแพรขยายของคอมมิวนิสตที่ขดั ขวางการขยายตัวของทุนนิยม จากนัน้ เขาไดสงคณะทูตทีน่ ําโดย ฟลลิปส ซี. เจสสัป ที่ปรึกษาดานนโยบายตางประเทศของเขาเปนเอก อัคร ราชทูตผูม ีอํานาจเต็มมาสํารวจสภาพทั่วไปของภูมภิ าคเอเชียและจัดประชุมคณะทูตสหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกไกลที่กรุงเทพฯ ระหวาง 13-15 กุมภาพันธ 249319 เมื่อเจสสัป

16

หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, พจน สารสิน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี 15 ตุลาคม 2492. 17 The Pentagon Papers, p. 9-10. 18 “The Ambassador in Thailand (Stanton) to the Secretary of State, 8 February 1950,” Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 724. 19 หจช.กต. 73.1.1 / 77 กลอง 5 การประชุมหัวหนาคณะทูตอเมริกันในตะวันออกไกลที่กรุงเทพฯ (2492-2493) วรรณไวทยากร เอกอัครราชทูต ประจําวอชิงตัน ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2492.;ในตนเดือนมกราคม 2493 พล.ร.ท. รัสเซลล เอส. เบอรกีย ผูบัญชาการกองเรือ พิเศษที่ 7 แหงคาบสมุทรแปซิกฟกไดเดินทางมาไทยเพื่อสํารวจปากน้ําเจาพระยาและไดแจงกับจอมพล ป. พิบูลสงครามวา ปากแมน้ําเจาพระยาตื้นเกินไปสําหรับเรือเดินสมุทร สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางเทคนิก ในการขุดลอกสันดอนปากแมน้ํา จากนั้น เขาไดเดินทางไปพบ ฟลลิปส ซี. เจสสัปที่ฮองกง(ไทยประเทศ, 11 มกราคม 2493.; ประชาธิปไตย, 14 มกราคม 2493). และโปรดดูรายชื่อ คณะทูตจํานวน 14 คน ในเอเชียตะวัน


93

เดินทางมาถึงไทยเมื่อ 11 กุมภาพันธ เขาแจงแกจอมพล ป.พิบูลสงครามวา สหรัฐฯไดใหการ รับรองรัฐบาลเบาไดแลว และสหรัฐฯตองการใหไทยรับรองตามสหรัฐฯ แตจอมพล ป. ไดยื่นขอ แลกเปลี่ยนกับสหรัฐฯวารัฐบาลของเขาตองการความชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯใหกับ กองทัพและตํารวจของไทยเพื่อใชในการปองกันการแทรกซึมของคอมมิวนิสต20 ประเด็นหลักในการประชุมคณะทูตสหรัฐฯที่นาํ โดยฟลลิปส ซี. เจสสัปครั้งสําคัญนี้ คือ ปญหาจีนคอมมิวนิสต และขบวนการชาตินิยมที่ตอตานอาณานิคม พวกเขาเห็นวาขบวนการ ชาตินิยมในอินโดจีนไดรับการสนับสนุนจากคอมมิวนิสต 21และเห็นรวมกันถึงความจําเปน เรงดวนในการใชสงครามจิตวิทยาในภูมิภาค ความชวยเหลือที่สหรัฐฯจะใหกับประเทศในภูมิภาค จะตองตอบสนองตอผลประโยชนทางการเมืองของสหรัฐฯในระยะยาว สวนปญหาเฉพาะหนานัน้ ใหสหรัฐฯใชปฏิบัติการจิตวิทยาเพื่อสรางความชอบธรรมในการตอตานคอมมิวนิสต โดยสหรัฐฯ จะตองรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคและสรางแบบแผนการคากับภูมภิ าค ตะวันออกไกลขึ้นใหม 22 นอกจากนี้ ที่ประชุมเห็นพองกันวา สหรัฐฯควรใหความชวยเหลือทาง เศรษฐกิจผานองคการระหวางประเทศเพือ่ เบี่ยงเบนไมใหเห็นวัตถุประสงคทางการเมืองของ สหรัฐฯ 23 สแตนตัน ทูตสหรัฐประจําไทยในฐานะเจาภาพการจัดประชุม บันทึกวา การประชุม คณะทูตครั้งนี้ มีความสําคัญเปนอยางยิง่ ตอการกําหนดนโยบายระยะยาวตอภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตของสหรัฐฯ 24

ออก ออสเตรียเลีย และนิวซีแลนด ไดใน หจช.กต.73.1.1 / 77 กลอง 5 การประชุมหัวหนาคณะทูตอเมริกันใน ตะวันออกไกลที่กรุงเทพฯ(2492-2493). 20 “The Ambassador in Thailand (Stanton) to the Secretary of State, 17 February 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 739.; NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State, 27 February 1950.; Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 238. 21 Ibid., p. 234-235. 22 NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State 13 February 1950.; NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State, 15 February 1950. 23 NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State 15 February 1950. ความเห็นของคณะทูตสวนใหญที่เสนอใหสหรัฐฯอําพรางตนเองอยูเบื้องหลัง องคการระหวางประเทศนั้น มีผลทําใหคณะทูตบางสวนเห็นวาแผนดังกลาวคือการที่สหรัฐฯพยายามเปน “จักรวรรดินิยม” 24 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 235.


94

ทันทีที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามไดเสนอขอแลกเปลี่ยนในการไดรับความชวยเหลือทาง อาวุธจากสหรัฐฯแลกกับการรับรองรัฐบาลเบาได ฟลลิปส ซี. เจสสัป ไดยอมรับขอแลกเปลี่ยน จากไทย จากนั้น รัฐบาลจอมพล ป.ไดจัดมีการประชุมคณะรัฐมนตรีขึ้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ 2493 ซึ่งมีผูบัญชาการ 3 เหลาทัพเขาประชุมรวมดวย ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นพองกับการรับรอง รัฐบาลเบาได เพื่อแสดงใหเห็นวาไทยเขารวมตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯ 25 อยางไรก็ตาม คณะรัฐมนตรียังคงไมประกาศมติดังกลาว ในขณะเดียวกัน มีขาวรั่วไหลออกมาสูสาธารณะวา รัฐบาลจอมพล ป.จะใหการรับรองรัฐบาลเบาได เสียงไทย ซึ่งเปนหนังสือพิมพทมี่ ีจดุ ยืนไป ในทางตอตานสหรัฐฯไดวิจารณวา“กอดเบาได เพื่อเงินกอนใหญ”26 แมตอมา รัฐบาลไดออก แถลงการณปฏิเสธก็ตาม27 แตสุดทายแลว รัฐบาลไดประกาศรับรองรัฐบาลเบาไดอยางเปน ทางการเมื่อ 28 กุมภาพันธ 28 ตอมาอีกไมกวี่ นั ตนเดือนมีนาคม ประธานาธิบดีทรูแมนไดอนุมัติ ความชวยเหลือทางการทหารในรูปอาวุธใหกับกองทัพไทยมูลคา 10,000,000 ดอลลารในทางลับ ทันที 29 อัชเชอรสัน รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ ไดบอกเหตุผลแกสแตนตัน ทูต สหรัฐฯประจําไทยวา สาเหตุที่สหรัฐฯใหความชวยเหลือทางอาวุธแกไทยนัน้ เพื่อเปนการจูงใจไทย ใหมีความมัน่ ใจที่จะตอบสนองตอนโยบายสหรัฐฯตอไป30 ทั้งนี้ ความชวยเหลือทางอาวุธแกไทยนี้ สหรัฐฯตองการใหเปนความลับ31 แตปรากฎวา หนังสือพิมพไทยหลายฉบับไดนําขาวดังกลาวไป ตีพิมพ ตอมารัฐบาลขอรองใหหนังสือพิมพอยาลงขาวดังกลาว32 25

แนวหนา, 15 กุมภาพันธ 2493. ผูบัญชาการ 3 เหลาทัพที่เขารวม คือ จอมพลผิน ชุณหะวัณ พล.ร.อ.สินธุ กมลนาวิน และพล.อ.ท.ขุนรณนภากาศ 26 เสียงไทย, 23 กุมภาพันธ 2493. 27 ธรรมาธิปตย, 24 กุมภาพันธ 2493. 28 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 238.; J. Alexander Caldwell, American Economic Aid to Thailand,(London: Lexington Books, 1974),p.4.กนต ธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 410. ตอมา พจน สารสินไดขอ ลาออกในวันที่ 1 มีนาคม 2493 29 NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Webb to American Embassy Bangkok, 7 March 1950. 30 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190, Acheson to Bangkok, 12 April 1950. 31 หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, นายวรการ บัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี วันที่ 11 เมษายน 2493. 32 หจช.(2)สร. 0201.96 / 3 กลอง 1 การแพรขาวเกี่ยวกับอเมริกันชวยเหลือแกไทย(21 เมษายน – 9 พฤษภาคม 2493) เชน เกียรติศักดิ์ ฉบับ 22 เมษายน 2493 พาดขาววา “กองทัพไทยจะฟนดวยอาวุธ 10 ลาน


95

หลังการจัดประชุมคณะทูตของฟลลิปส ซี. เจสสัป เพื่อกําหนดนโยบายทางการเมืองและ เศรษฐกิจของสหรัฐฯตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต สหรัฐฯไดสงคณะ กรรมการพิเศษทางเศรษฐกิจที่มนี ายอาร. อัลแลน กริฟฟน(R. Allen Griffin) นักธุรกิจดานสื่อ มวลชนทัง้ หนังสือพิมพและวิทยุในแคลิฟอรเนียผูมงั่ คั่งเปนหัวหนาเดินทางมาสํารวจสภาพ เศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเขามาสํารวจไทยในชวง 4-12 เมษายน 249333 เขาได เสนอใหสหรัฐฯใหความชวยเหลือแกไทยโดยมีเปาหมายทางการทหารและการเมือง ดวยการทํา ใหไทยกลายเปนพืน้ ทีท่ างยุทธศาสตรในการตอตานการขยายอิทธิพลของจีนที่จะแผลงมาใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต และสหรัฐฯจะตองทําใหไทยคงการตอตานคอมมิวนิสตเอาไวเพื่อทําให ความสัมพันธไทยและสหรัฐฯแนบแนนยิง่ ขึ้น 34 นิวยอรค ไทมส(New York Times) หนังสือพิมพ ชั้นนําในสหรัฐฯไดราย งานวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯใหการยกยอง ขอเสนอของกริฟฟนเปนอยางมาก 35 4.3 สหรัฐฯกับความชวยเหลือทางการทหารแกไทย เมื่อสงครามเกาหลีปะทุขนึ้ ในเดือนมิถุนายน 2493 ประธานาธิบดีทรูแมนไดวางแผน ปฏิบัติการลับดวยการจัดตั้งกองกําลังกึ่งทหารเพื่อสกัดกัน้ การแผของคอมมิวนิสตในภูมิภาค เอเชีย36 โดยใหเจาหนาที่การทหารและซีไอเอเดินทางมากรุงเทพฯเพื่อพบวิลลิส เบิรด อดีตโอเอส เอสเพื่อประสานงานการสืบความเคลื่อนไหวของกองทัพโฮจิมนิ ตในอินโดจีนรวมกับกองทัพ ฝรั่งเศส การพบกันครั้งนี้ เบิรดไดแจงกับตัวแทนซีไอเอวา รัฐบาลไทยพรอมจะรวมมือกับสหรัฐฯ แตขาดประสบการณและอุปกรณ แตผูแทนจากสหรัฐฯชุดนี้ยงั ไมตอบรับขอเสนอดังกลาว ตอมา เบิรดไดจัดการใหผูแทนซีไอเอพบกับตัวแทนจากตํารวจและทหารไทยเปนการสวนตัว เมื่อผูแทนซี ไอเอเดินทางกลับไปเจรจาการใหความชวยเหลือจากซีไอเอ ขณะนัน้ ไทยและสหรัฐฯยังไมมี ดอลลาร” เสียงไทย ฉบับ 26 เมษา มีบทความเรื่อง “การชวยเหลือของโจร” และหลักไชย ฉบับ 23 เมษายน พาดหัวขาววา “ไทยจะเปนฐานทัพชวยเบาได ” เปนตน 33 “The Ambassador in Thailand(Stanton)to the Secretary of State, 12 April 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p.79.; Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, pp. 249-250. 34 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190, Lacy to Rusk, “Thailand Military Aid Program,” 25 July 1950. 35 New York Times, 15 September 1950. 36 Harry Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action,(London: Westview Press, 1988), p. 174.


96

ขอตกลงทางการทหาร ซีไอเอจึงไดหลบเลีย่ งปญหาดังกลาว ดวยการใหความชวยเหลือทาง การทหารแกไทยในทางออมผานการจัดตั้งบริษัทเอกชน ชื่อ เซาทอีส เอเชีย สัพพลาย(South East Asia Supplies)หรือซีสัพพลายที่เมืองไมอามี่ ฟลอริดา ดวยเงินจํานวน 35,000,000 ดอลลาร เพื่อใหการสนับสนุนทางการทหารแกไทยในทางลับ 37 ตอมาในปลายป 2493 กรม ตํารวจไทยไดเสนอใหกระทรวงการตางประเทศแตงตั้ง พอล ไลโอเนล เอ็ดวารด เฮลลิแวล (Paul Lionel Edward Helliwell)∗เปนกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทย ณ เมืองไมอามี่ เพื่อเปนผูป ระสานงาน ระหวางซีไอเอและกรมตํารวจ38 จากนั้น ตนป 2494 เบิรดไดตั้งบริษัทชื่อเดียวกันขึ้นในไทยโดย จดทะเบียนเปนบริษัทการคาทีน่ ําเขาและสงออกสินคาเพื่อปกปดภารกิจลับ ในทางเปดเผยแลวซี สัพพลายทํา งานตามสัญญาใหกับรัฐบาลไทย แตภาระกิจที่แทจริง คือ ทําหนาที่รับขนสงอาวุธ ของสหรัฐฯรายใหญที่สุดในไทยดวยเครื่องบินขนาด 4 เครื่องยนตใหแกกองทัพก็กหมินตั๋งในจีน ตอนใตและใหการสนับสนุนตํารวจไทยในทางลับ ดวยการจัดตั้ง การฝกและสนับสนุนอาวุธใหกับ ตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดน 39 ทั้งนี้ ซีสพั พลายมีภารกิจคูขนานในไทยมี 2 ประการ ประการแรก คือ การใหความ ชวยเหลือกองพล 93 ของก็กหมินตั๋งภายใตการนําของนายพลหลีมี่ ที่เริ่มตนในป 2494 ใหทํา 37

Thomas Lobe and David Morell, “Thailand’s Border Patrol Police : Paramilitary Political Power ” in Supplemental Military Forces: Reserve , Militarias, Auxiliaries Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins (Berverly Hills and London: SAGE,1978), p.156. ∗ พอล ไลโอเนล เอ็ดวารด เฮลลิเวล อดีตโอเอสเอสในจีน เปนคนกวางขวางและมีอิทธิพลในการ กําหนดนโยบายของสหรัฐฯ เขามีล็อบบี้ยิสตที่ใกลชิดกับรองประธานาธิบดีจอนหสัน( Lyndon Baines Johnson) เชน ทอมมี คอโคลัน(Tommy Corcoran) และเจมส โรว(James Rowe)ที่ปรึกษาของรอง ประธานาธิบดีจอนหสัน(Scott, The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War, p. 211) เขามีเครือขายเชื่อมโยงระหวางซีไอเอและซีสัพพลายกับองคกรอาชญากรรมในการคาฝน สํานักงาน ใหญของซีสัพพลายที่ไมอามี่ โดยมีเขาเปนหัวหนา และเขาเคยเปนกงสุลไทยประจําไมอามี ตั้งแต 2494 เขามี บทบาทสําคัญในการประสานงานระหวางสหรัฐฯและไทย ทั้งนี้ ระหวางที่เขาเปนกงสุลใหไทยชวง 2498-2499 เขาไดเปนเลขานุการบริษัท American Banker’s Insurance Company ในรัฐฟลอริดาทําหนาที่สงผานเงิน จํานวน 30,000ดอลลารในการจัดหาบริษัทล็อบบี้ยิสตในวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อคาฝน (Ibid., p. 211). 38 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 1102-344-202-522-9401 กรมอเมริกาและแปซิกฟกใต กองอเมริกาเหนือ การแตงตั้ง กงลุสใหญกิตติมศักดิ์ ณ เมือง ไมอามี สหรัฐอเมริกา 2494-2522, นายวรการ บัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 16 ธันวาคม 2493. 39 Scott , The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War, p. 194.; Nicholas Tarling, Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, (Singapore: Singapore University Press, 2005), p.159 .


97

หนาทีโ่ จมตีและกอกวนกองทัพของพรรคคอมมิวนิสตจนี ในแถบตอนใตของจีน โดยซีสัพพลาย รวมมือกับตํารวจไทยไดสงกําลังอาวุธและกําลังบํารุงใหกองพล 93 ผานบริษัทแคท แอร(Civil Air Transport :CAT หรือ Air America)ที่รับจางทํางานใหกบั ซีไอเอ โดยมีตํารวจพลรมและตํารวจ ตระเวนชายแดนที่ซีสพั พลายใหการฝกการรบแบบกองโจรไดเขารวมปฏิบัติภาระกิจรวมกับกอง พล 93 ในการแทรกเขาซึมตามชายแดนของไทยกับเพื่อนบาน เชน หนวยก็กหมิน๋ ตั๋งที่รัฐฉานมี กําลังพล 400 คนทําหนาที่หาขาวในประเทศเพื่อนบาน เชน ลาว และกัมพูชา ซึง่ ดําเนินการดวย เงินราชการลับของสหรัฐฯจํานวน 300,000บาทตอเดือน40 สําหรับภาระกิจประการที่สองของซีสัพพลาย คือ การสนับสนุนตํารวจไทยนั้น เบิรด อดีตโอเอสเอส เปนผูรับผิดชอบการฝกปฏิบัติการตํารวจพลรม(Parachute Battalion)รุนแรกขึ้นที่ คายเอราวัณ ลพบุรีในเดือนเมษายน 249441 ตอมาซีไอเอไดสง ร.อ.เจมส แลร(James William Lair) และร.อ.เออรเนส ชีคค(Ernest Jefferson Cheek) เขามาเปนครูฝกซึ่งมีฐานะเปน ขาราชการตํารวจ ทําหนาทีฝ่ กตํารวจพลรมตามหลักสูตรการรบแบบกองโจร มีการฝกการใช อาวุธพิเศษ การวางระเบิดทําลาย การกอวินาศกรรม ยุทธวิธีและการกระโดดรม42 ตอมามีการ 40

พ.อ.กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, ทหารจีนคณะชาติ ก็กหมินตั๋ง ตกคางทางภาคเหนือประเทศไทย, (กรุงเทพฯ: สยามรัตนพริ้นติ้ง, 2546), หนา 39-40.; พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ พีวาทิน พับลิเคชั่น จํากัด, 2532), หนา 169. 41 พล.ต.ต. นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย,(กรุงเทพฯ: กองบรรณาธิการนิตยสารโลห เงิน , 2530), หนา 10.; Thomas Lobe,United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, (Monograph Series in World Affaires University of Denver,1977), p. 19 ,fn.13, P.129.; พันศักดิ์ วิญญรัตน, “CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมั่นคงแหงชาติ,” สังคมศาสตรปริทัศน (กุมภาพันธ 2517): 17-18. เดือนตุลาคม 2493 มีรายงานของฝรั่งเศสวา ฝรั่งเศสไดสงปฏิบัติการลับเขาไปในภาคอีสานของ ไทยเพื่อติดตามกิจกรรมของพวกเวียดมินห(Christopher E. Goscha, Thailand and the Southeast Asian Networks of the Vietnamese Revolution, 1885-1954,[Richmond, Surrey: Curzon,1999], p. 324.; Tarling, Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, p.159.) 42 หจช.(3) สร. 0201.14 / 14 กลอง 1 จางชาวตางประเทศเปนครูฝกหัดตํารวจพลรม(21 ธันวาคม 2496–18 มกราคม 2502) พล ต.อ.เผา ฯรียานนท ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี วันที่ 15 ธันวาคม 2496.; 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536),(กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536), หนา 68 . เจาหนาที่ที่ซี ไอเอหรือซีสัพพลายสงเขามาปฏิบัติงานในไทย เชน เจมส วิลเลี่ยม แลร(James William Lair) สอนการใชอาวุธ , จอหน แอล. ฮารท(John L. Hart), ปเตอร โจสท(Pete Joost), เออรเนส เจฟเฟอรสัน ชีคค(Ernest Jefferson Cheek), วอลเตอร พี. คูซมุค(Walter P. Kuzmuk) สอนการกระโดดรม, นายแพทยจอหนสัน(Dr. Johnson), พอล(Paul), โรว ร็อกเกอร(Rheu Rocker) สอนกระโดดรม, กรีน(Gene), ริชารด ฟาน วินสกี(Richard Van Winkee) และ ชารล สทีน(Charle Steen) บุคลากรเหลานี้ เคยทํางานกับกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯมากอน พวกเขามีประสบการณมากในปฏิบัติการกึ่งทหาร ดานการใชอาวุธ การขาว การบํารุงรักษาวิทยุสื่อสารและ


98

ขยายโครงการฝกตํารวจตระเวนชายแดนอยางเรงดวนในคายฝกที่อาํ เภอจอหอ นครราชสีมา จํานวน 7,000 คนเพื่อปองกันการแทรกซึมของคอมมิวนิสตทางอีสานและทางใตของไทย43 ตั้งแต นั้นมา กรมตํารวจและที่ปรึกษาอเมริกนั ทีเ่ ขามาในฐานะเจาหนาที่ของซีสัพพลาย ไดรวมมือได ขยายคายฝกในอีกหลายแหง เชน อุบลราชธานี อุดรธานี และเชียงใหม 44 นอกจากนี้ ซีสัพพลาย ไดชวยเหลือในการฝกกองกําลังพลเรือนกึง่ ทหารในการรบนอกแบบ การแทรกซึม และการให อาวุธแกตาํ รวจตระเวนชายแดน เชน ปนคารไบน มอรตา บาซูกา ระเบิดมือ อุปกรณการแพทย ตอมาพัฒนาเปน เปนรถเกราะ รถถัง และเฮลิคอปเตอร 45 ทั้งนี้ ความชวยเหลือของซีไอเอที่ใหกบั ตํารวจนัน้ เปนความลับมาก แมแต สแตนตัน ทูตสหรัฐฯก็ไมรูเรื่องความชวยเหลือดังกลาว ตอมา เมื่อเขารูเรื่องราวดัง กลาว แตเขาก็ไมมีอํานาจแทรกแซงกิจกรรมตางๆได ความชวยเหลือในทาง ลับนี้สรางความไมพอใจใหกบั เขามาก46 สําหรับความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐฯแกกองทัพไทยนัน้ เมือ่ กองทัพเกาหลี เหนือบุกเกาหลีใตในเดือนมิถุนายน 2493 นั้น กระทรวงการตางประเทศและกลาโหม สหรัฐฯได ตกลงกันในตนเดือนกรกฎาคมปเดียวกันที่จะสงคณะกรรมาธิการรวมระหวางกระทรวงการตาง ประเทศ และกลาโหม(United States Military Survey Team)เดินทางมาสํารวจเอเชียตะวันออก เฉียงใต โดยมีจอหน เอฟ. เมลบี(John F. Melby)ผูชวยพิเศษของผูชว ยรัฐมนตรีวา การกระทรวง การตางประเทศ ฝายกิจการตะวันออกไกล และพล.ร.อ.เกรฟ บี. เออรสกิน(Graves B. Erskine) ผูบังคับการกองพลนาวิกโยธินที่ 1 คายเพลเดลตัน แคลิฟอรเนีย เพื่อสํารวจสถานะทางทหารใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่จะถูกคอมมิวนิสตคุกคาม โดยสหรัฐฯมีแผนการใหความชวย เหลือทางการทหารแกกองทัพบกไทยดวยอาวุธสําหรับ 9 กองพล และสําหรับกองทัพเรือและ

พาหนะ การกระโดดรม แตพวกเขาไมมีประสบการณดานงานตํารวจเลย นอกจากนี้ เจาหนาที่ของซีสัพพลาย มาจาก สายลับ และเจาหนาที่ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯ(พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรม ไทย, หนา 209.; Lobe ,United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 23). 43 Ibid., p.20. ตอมาไดจัดตั้งตํารวจตระเวนชายแดนขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 5 มีนาคม 2495 เพื่อทําหนาที่ตรวจตราและระวังรักษาชายแดน(หจช.มท. 0201.7/17 กรมตํารวจแจงวาเนื่องจากกรมตํารวจได ตั้งกองตํารวจรักษาดินแดนขึ้นใหมจึงขอใหนําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี พล ต.อ.เผา ศรียานนท รัฐมนตรีชวยวา การกระทรวงมหาดไทย ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 28 เมษายน 2495). 44 พล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา, “บันทึกความทรงจํา,” ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536), หนา 39. 45 Thomas Lobe and David Morell, “Thailand’s Border Patrol Police: Paramilitary Political Power,” in Supplemental Military Forces: Reserve, Militarias, Auxiliaries, Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins (Berverly Hills and London: SAGE,1978), p. 157. 46 Tarling , Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, p. 158.


99

กองทัพอากาศเปนอาวุธและการฝกการทหาร47 จากนั้น รัฐบาลจอมพล ป.ไดตอบสนองทาทีของ สหรัฐฯดวยการตัดสินใจเสนอที่จะสงทหารไทย 4,000 คนเขารวมสงครามเกาหลี 48 ทาที่ดังกลาว ของรัฐบาลจอมพล ป.สรางความประทับใจใหประธานาธิบดีทรูแมน เปนอันมาก49 เมื่อคณะกรรมาธิการรวมระหวางกระทรวงการตางประเทศและกลาโหม สหรัฐฯเดิน ทางเขามาสํารวจฐานทัพอากาศดอนเมือง กรมอูทหารเรือ และกรมทหารปนใหญ ฯลฯ ในชวง 21 สิงหาคม – 28 สิงหาคม 2493 คณะกรรมาธิการฯประเมินวากองทัพไทยเหมาะสมที่จะเขารวม สงครามเกาหลี 50 ตอมา สหรัฐฯไดสงคณะที่ปรึกษาใหความชวยเหลือทางการทหารแหงสหรัฐฯ หรือแมค(United States Military Assistance Advisory Group: MAAG)*เดินทางมาถึงไทยใน เดือนตุลาคม เพื่อเตรียมการทําขอตกลงวาดวยความรวมมือทางการทหารระหวางไทยและ สหรัฐฯ ซึง่ ตอมา สหรัฐฯและไทยไดลงนามในขอตกลงดังกลาวเมื่อ 17 ตุลาคมปเดียวกัน51 สาระสําคัญในขอตกลง คือ สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางการทหาร โดยอาวุธยุทธโธปกรณ ทั้งหมดจะโอนกรรมสิทธิ์ไมไดหากไมไดรับความยินยอมจากสหรัฐฯ52 ขอตกลงทางการทหาร ระหวางไทยกับสหรัฐฯฉบับนี้มีความสําคัญมากในฐานะที่เปนจุดเริ่มตนของการที่ไทยไดตกเขาสู ระเบียบโลกของสหรัฐฯ 47

Library of Congress, Declassified CK3100360771, Memorandum For President, 10 July 1950.; กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 1105-344-301-401-9301 ไทยขอความชวยเหลือดานวุธ ยุทธภัณฑจากสหรัฐฯเพื่อรวมรบในสงครามเกาหลี 2493-2494, วรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 26 กรกฎาคม 2493. 48 เดลิเมล, 21 กรกฎาคม 2493. 49 Harry S. Truman, Years of Trial and Hope, 1946-1952 Vol 2., (New York: A Signet Book, 1965), p. 423. 50 หจช.กต. 73.7.1/87 กลอง 6 คณะสํารวจอเมริกันเดินทางมาประเทศไทย(2493), Stanton to Minister of Foreign Affaire, 9 August 1950.; หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่อง อเมริกาใหอาวุธแกไทย, นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี 26 กันยายน 2493. *

ตอมาแมค( MAAG)ไดเปลี่ยนชื่อเปน คณะที่ปรึกษาใหความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐ อเมริกาหรือจัสแมค(Joint United States Military Advisory Group: JUSMAG) ในเดือนกันยายน 2497 51 จันทรา บูรณฤกษ และปยะนาถ บุนนาค, “เรื่อง ผลกระทบทางการเมืองจากความสัมพันธไทยสหรัฐอเมริกา(พ.ศ.2463-2506)” รายงานวิจัยทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521, หนา 152. 52 หจช.สร. 0201.96 / 8 กลอง 2 ขอตกลงเกี่ยวกับการชวยเหลือทงการทหารแกประเทศไทยของ สหรัฐฯ (6 กันยายน 2493-28 กันยายน 2498).


100

ในชวงเวลานัน้ สหรัฐเห็นวา นโยบายตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามที่ ไดใหการรับรองรัฐบาลเบาได การไมรับรองจีนแดง และการกระตือรือรนในการสงทหารเขา สงครามเกาหลีนั้น สหรัฐฯถือวา รัฐบาลไดแสดงการผูกพันตนเขากับการตอตานคอมมิวนิสตและ เปนการแสดงความมิตรกับสหรัฐฯอยางชัดเจน ดังนัน้ สหรัฐฯตองการสรางความแนบแนน ระหวางกันเพือ่ ใหรัฐบาลสนับสนุนนโยบายของสหรัฐฯตอตานคอมมิวนิสตในเอเชียตะวันออก ไกลใหดํารงอยูตอไป แตการเมืองไทยที่ผา นมาภายใตรฐั บาลจอมพล ป.กลับไมมีเสถียรภาพทาง การเมือง เนื่องจาก รัฐบาลตองเผชิญหนากับการพยายามรัฐประหารบอยครั้ง เปนเหตุใหรัฐบาล ไมมีความตอเนื่องในการดําเนินนโยบายตามสหรัฐฯ ดังนั้น สหรัฐฯตองการที่จะทําใหรัฐบาลมี เสถียรภาพทางการเมืองและมีเศรษฐกิจทีเ่ ขมแข็ง53 ทัง้ นี้ ไทมส(Time) ซึ่งเปนนิตยสารชั้นนํา วิเคราะหวา รัฐบาลของจอมพล ป. ไดแสดงทาทีอยางชัดเจนในการตอสูกับคอมมิวนิสตเพื่อหวัง ที่จะไดรับความชวยเหลือจากสหรัฐฯ54 ดังที่ไดเห็นมาแลววา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตั้งอยูทา มกลางการทาทายอํานาจ จากกลุม การเมืองตางๆ และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในจีน สงผลใหสหรัฐฯมีนโยบายขยายการ ตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อปกปองการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แบบทุนนิยม ทําใหรัฐบาลจอมพล ป.เห็นหนทางทีจ่ ะไดรับการสนับสนุนอาวุธแบบใหมจาก สหรัฐฯ เพื่อปรับปรุงสมรรถนะทางการทหารอันจะทําใหรัฐบาลสามารถรักษาอํานาจทางการ เมืองไวได แตในชั้นแรกนั้น สหรัฐฯยังคงไมตอบสนองตอคําขอความชวยเหลือทางอาวุธจากไทย และเมื่อสหรัฐฯตองการใหไทยรับรองรัฐบาลเบาได รัฐบาลไดเสนอขอแลกเปลี่ยนใหสหรัฐฯให การสนับสนุนทางการทหารของไทย อีกทัง้ เมื่อรัฐบาลตัดสินใจสงทหารไปสงครามเกาหลียงิ่ สรางความมัน่ ใจใหกับสหรัฐฯมากยิ่งขึน้ สแตนตัน ทูตสหรัฐฯเห็นวา ตราบเทาที่ รัฐบาลจอม พลป. ยังคงสนับสนุนสหรัฐฯ ตราบนัน้ สหรัฐฯยังสามารถใหความชวยเหลือตอไปได 55

53

“Policy Statement Prepared in the Department of State, 15 October 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6,pp.1529-1530. 54 หจช.กต. 80 / 29 กลอง 3 บทความเกี่ยวกับประเทศไทยในหนังสือพิมพ, Times, 17 October 1950. 55 “Stanton to The Secretary of States, 19 March 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp. 1599-1601.; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, p. 51.


101

4.4 ความขัดแยงในคณะรัฐประหารทามกลางการรุกของ “กลุมรอยัลลิสต” โครงสรางอํานาจในคณะรัฐประหารชวง 2490-93 ตั้งอยูบ นฐานของอํานาจของ จอมพล ผิน ชุณหะวัณในฐานะเปนผูบ ัญชาการทหารบกและผูนาํ ของคายราชครู และคายของพล ท.กาจ กาจสงครามรองผูบัญชาการทหารบกซึ่งมีนายทหารบกจํานวนหนึ่งที่ใหการสนับสนุนเขา โดยมี จอมพล ป.พิบูลสงครามเปนแกนกลางของความสัมพันธทางอํานาจ ความขัดแยงระหวางจอม พลผินและพล ท.กาจไดเพิ่มขึ้น เนื่องจาก พล ท.กาจมีความตองการดํารงตําแหนงผูบ ัญชาการ ทหารบกแทนจอมพลผิน เขาไดเริ่มขยายอํานาจทางการเมืองดวยการใหการสนับสนุนพรรค ประชาธิปตยและทางเศรษฐกิจเพื่อทาทายคายราชครูทาํ ใหจอมพล ป.ตองเลนบทประสานความ ขัดแยงระหวางจอมพลผินและพล ท.กาจเสมอ56 ตอมา พล ท.กาจไดพยายามโจมตีจอมพลผิน ดวยการเขียนหนังสือชุด“สารคดีใตตุม”เพือ่ กลาวหาวาจอมพลผินฉอราษฎรบังหลวงทําใหจอม พลผินไมพอใจในการเปดโปงจากพล ท.กาจ 57 ปลายเดือนสิงหาคม 2492 จอมพล ป .ตองการให พล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี“กลุมปรีดี” เขารวมคณะรัฐมนตรี โดยหวังวา จะทําใหสหรัฐฯมีความพึงพอใจในการที่จะใหความชวยเหลือทางการทหารและนํานักการเมือง “กลุมปรีดี”กลับมาสูการเมืองเพื่อบัน่ ทอนอํานาจการเมืองของพรรคประชาธิปตย แตขอเสนอ ดังกลาวถูกขัดขวางโดยพล ท.กาจและเขมชาติ บุณยรัตนพันธ เนื่องจาก กลุมของเขาสนับสนุน พรรคประชาธิปตยจึงไมตอง การใหพล ร.ต.ถวัลยกลับมาฟน ฟูพรรคสหชีพและแนวรัฐธรรมนูญ ขึ้นมาเปนคูแขงทางการเมืองกับพรรคประชาธิปตยอีก ซึ่งเหตุเหลานีจ้ ึงไดกลายเปนชนวนความ แตกแยกภายในคณะรัฐประหารหรือในกองทัพบกระหวางจอมพล ป. จอมพลผิน และพล ท.กาจ 58

ไมแตเพียงความแตกแยกในกองทัพบกเทานั้น แตการที่คณะรัฐประหารกลับขึน้ มามี อํานาจอีกครั้งภายหลังการรัฐประหาร 2490 ทําใหกองทัพเรือซึง่ ไดเคยไดรับการสนับสนุนจาก รัฐบาล“กลุมปรีดี”ใหขึ้นมามีอํานาจแทนกองทัพบกตกจากอํานาจลงไปอีก ซึ่งสรางความไมพอใจ ใหกับกองทัพเรือเปนอยางยิง่ และพวกเขามีความตองการที่จะทาทายอํานาจของกองทัพบก นอกจากนี้ ในหวงเวลาดังกลาว รัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามตองเผชิญหนากับปญหาความ ขัดแยงภายในกองทัพบกซึ่งเปนฐานกําลังที่ใหการสนับสนุนรัฐบาล มิพักที่จะตองรวมถึงการ 56

“ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ,(พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 42-45, 60. พล.ท.กาจ กาจสงคราม, สารคดี เรื่อง สถานะการณของผูลืมตัว,(พระนคร: โรงพิมพรัฐภักดี, 2492); “ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ, (พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 54.; เสียงไทย, 1 พฤศจิกายน 2492. 58 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R003300290006-5, 22 September 1949, “Communist Strategy and Tactics in Thailand”. 57


102

ตอตานจาก“กลุมรอยัลลิสต”ภายในระบบราชการดวย โดยม.จ.ปรีดีเทพพงศ เทวกุล ปลัด กระทรวงการตางประเทศไดพยายามขับไลนายวรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ ผูเปนคนสนิทของจอมพล ป.ออกไป ดวยทรงเห็นวา นายวรการบัญชาไมมี ความสามารถในดานการตางประเทศเทาพระองค 59 ทามกลางศึกภายนอกหลายดานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามที่มาจากการทา ทายรัฐบาลของ“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมปรีดี” 60 ซีไอเอยังคงรายงานวา จอมพล ป. ยังคงเลือก ที่จะรวมมือกับ“กลุมปรีดี”ผูเปนมิตรเกาของเขามากกวา“กลุมรอยัลลิสต” เขาไดประกาศทางวิทยุ ในเดือนธันวาคม 2492 ดวยน้ําเสียงที่ชี้ใหเห็นถึงความเปนไปไดที่จะขอคืนดีกับปรีดี พนมยงค โดยสาเหตุอาจมาจาก เขาตระหนักถึงพลังทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เขมแข็งขึ้นอยาง รวดเร็วทัง้ ในรัฐบาล รัฐสภาและในสังคม ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ที่ใหอาํ นาจทางการเมือง แกพระมหากษัตริยและสรางความไดเปรียบแก“กลุมรอยัลลิสต”มากกวากลุมการเมืองอื่น61 ในขณะที่ ศึกภายในคณะรัฐประหารนั้นยังคงคุกรุนตอไป โดย พล ท.กาจ กาจสงคราม ประกาศเปนปรปกษกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพลผิน ชุณหะวัณ และพล ต.อ.เผา ศรียา นนทอยางชัดเจน จากนั้น เขาไดรวมมือกับ“กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยเสนอญัตติ อภิปรายเพื่อลมรัฐบาล62 ตอมา สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแตงตั้งของพระมหากษัตริยได เคลื่อนไหวขัดขวางการบริหารของรัฐบาลดวยการยับยัง้ รางพระราชบัญัติบงบประมาณป 2493 ทําใหสมาชิกคณะรัฐประหารและอดีตคณะราษฎรบางคน เชน พล ต.อ.เผาและพล ท.มังกร พรหมโยธีไปเจรจากับเตียง ศิริขันธ อดีตเสรีไทยและแกนนําสําคัญคนหนึง่ ใน“กลุมปรีดี”เพื่อขอ การสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. เตียงตัดสินใจใหสมาชิกสภาผูแทนฯในกลุมของเขามีมติยนื ยัน

59

NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R002800780003-7, 20 July 1949 , “Opposition to M.C. Pridithepong Devakul ”. 60 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 box 7251, Hannah to Secretary of State, “View of a Pridi Supporter on Political event in Thailand-Summary of Paper on Thai Political Development written by a Supporter of Pridi Phanomyong,” 30 December 1949. 61 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-0108A000100020022-4, 12 December 1949 , “Phibul paves way for Pridi reconciliation ”. 62 นครสาร, 1 พฤศจิกายน 2492.; NA, FO 371/76277, Thompson to Foreign Office, 6 December 1949.


103

การประกาศใชงบประมาณเพื่อลมลางมติของสมาชิกวุฒิสภาไดสําเร็จ เนื่องจากเขาไมตองการ ใหพล ท.กาจขึ้นมามีอาํ นาจ63 สําหรับความขัดแยงระหวางกองทัพนัน้ กลางธันวาคม 2492 ซีไอเอรายงานขาววา กองทัพเรือและกองทัพอากาศมีแผนการรัฐประหาร แตแผนการรั่วไหลเสียกอน โดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตไดรายงานเรื่องดังกลาวใหกับจอมพล ป. พิบูลสงครามรับทราบทําใหรัฐบาล ประกาศปลดพล.อ.ท.เทวฤทธิ์พนั ลึกจากตําแหนงผูบัญชาการทหารอากาศ สําหรับสาเหตุของ การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ มาจากปญหาการคอรัปชั่นของจอมพลผิน ชุณหะวัณและจอมพล สฤษดิ์ในการจัดซื้ออาวุธใหกองทัพหลายกรณี เชน รถถังเบรนกิน้ ที่อื้อฉาวทําใหนายทหารใน กองทัพบกจํานวนหนึ่งไมพอใจ การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ ซีไอเอเห็นวามีความแตกแยกใน กองทัพบกและระหวางกองทัพดวยเชนกัน64 เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามรอดพนจากการพยายามรัฐประหารที่เกิดขึ้นจาก ความรวมมือระหวางกองทัพลงไดก็ตาม แตปญหาทีเ่ ขาตองดําเนินการแกไขอยางรวดเร็ว คือ ปญหาความแตกแยกภายในคณะรัฐประหารซึ่งเปนฐานอํานาจที่ค้ําจุนรัฐบาลของเขานัน้ ทําให จอมพล ป.ตัดสินใจเลือกที่จะสนับสนุนจอมพลผิน ชุณหะวัณมากกวาพล ท.กาจ กาจสงคราม ดังนัน้ เขาสัง่ การใหพล ท.กาจยุติการใหสมั ภาษณ เขียน และตีพิมพ“สารคดีใตตุม”ที่ทําลาย

63

NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Memoramdum of Conversation James Thompson and R.H. Bushner, 12 August 1949.; Hannah to Secretary of State, 14 December 1949. 64 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R004000600004-1, 27 December 1949, “Current Political Crisis in Thailand”. ในรายงานฉบับนี้รายงานวา พล.อ.อดุล อดุลเดช จรัสมีความเกี่ยวของกับการพยายามรัฐประหารครั้งนี้ดวย นอกจากนี้ จอมพล ป. พิบูลสงครามไดแจงกับสแตน ตัน ทูตสหรัฐฯวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมีความเกี่ยวของกับการคอรรับชันภายในกองทัพบกในการจัดซื้อ รถถังเบรนกิ้น จํานวน 250 คันและเขามีธุรกิจการคาฝนจากรัฐฉานสงไปขายยังฮองกง(NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation P. Phibunsonggram and Stanton, “ Corruption in Army and Government service,” 16 June 1950.; NA, FO 371/84348, Thompson to Mr. Bevin, ”Siam: Annual Review for 1949,” 10 May 1950.; FO 371/92952 Whittington to Foreign Office (Morrison), 16 April 1951). สถานทูตอังกฤษในไทย ไดรายงานวา รถถังเบรนกิ้นเปนยุทโธปกรณตกรุนจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่บริษัทสายฟาแลบซึ่งเปนบริษัท ของจอมพลผิน ชุณหะวัณและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนนายหนาสั่งมาจากศรีลังกา จํานวน 250 คัน แต รถถังเหลานี้ใชการไมไดถึง 210 คัน


104

ความนาเชื่อถือของคณะรัฐประหารแตพล ท.กาจปฏิเสธ65 เขายังคงเคลื่อนไหวเพื่อทาทายอํานาจ ของจอมพลผินตอไป จากนัน้ กลางดึกของ 26 มกราคม 2493 จอมพลผินและพล ต.อ.เผา ศรียา นนทไดรายงานแผนการรัฐประหารของพล ท.กาจตอจอมพล ป. ในวันรุงขึ้น พล ท.กาจถูกจับกุม ฐานกบฎ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผารวมมือกันจับกุมเขา จากนัน้ จอมพล ป.ได สั่งปลดพล ท.กาจจากรองผูบ ัญชาการทหารบกและใหเขาเดินทางออกนอกประเทศ ความพาย แพของพล ท.กาจทําใหความแตกแยกภายในคณะรัฐประหารลดลง66 ภายใตระบอบการเมืองที“่ กลุมรอยัลลิสต”ออกแบบผานรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ทําให จอมพล ป. พิบูลสงครามหันมาสรางความแข็งแกรงของรัฐบาลของเขาในทางการเมืองผานสภา ผูแทนฯ ดวยการพยายามจัดตั้งกลุมการเมืองฝายรัฐบาลชื่อพรรคประชาธิปไตยเพื่อตอสูกับพรรค ประชาธิปตย67 ความเคลื่อนไหวดังกลาวทําให“กลุมรอยัลลิสต”ที่เปนสมาชิกวุฒิสภานําโดย พระ ยาอรรถการียนิพนธ หลวงประกอบนิติสาร และพระยาศรีธรรมราช วิจารณรัฐบาลวา จอมพล ป. ควรลาออกจากตําแนงนายกรัฐมนตรี และใหมีจัดตั้งรัฐบาลผสมทีม่ ีพรรคประชาธิปตยเขารวม รัฐบาลแทน และใหคณะรัฐประหารตองออกไปจากการเมือง68 ความเคลื่อนไหวของสมาชิก วุฒิสภาดัง กลาวทําใหประเทือง ธรรมสาลี สมาชิกสภาผูแทนฯ จังหวัดศรีษะเกษ ไดวิจารณ บทบาทของสมาชิกวุฒิสภาวา “ไมมีความจําเปน ไมไดเปนตัวแทนประชาชน ไมมีประโยชนและ การปกครองภายใตรัฐธรรมนูญ 2492นี้ไมเปนประชาธิปไตย” 69 หนังสือพิมพไทยขณะนั้นได รายงานวา การเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในหลายทางเพื่อ โคนลมรัฐบาลนั้น ทําให พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดสั่งการใหตํารวจสันติบาลสกดรอยความ เคลื่อนไหวของ กรมพระยาชัยนาทฯ ผูสําเร็จราชการฯ และนักการเมือง“กลุมรอยัลลิสต”อยาง ใกลชิด70

65

พิมพไทย, 10 มกราคม 2492.; “ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ,(พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 74-

75. 66

NARA, RG 319 Entry 57, Sgd. Cowen Military Attache Bangkok to CSGID Washington D.C., 28 January 1950.; “รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร ครั้งที่ 12/2493 (วิสามัญ) ชุดที่1 10 กุมภาพันธ 2493,” ใน รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยวิสามัญ พ.ศ.2493 เลม 1,(พระนคร: โรง พิมพรุงเรืองธรรม, 2497), หนา 1624-1627.; “ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ,(พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 78-82. 67 เกียรติศักดิ์, 12 มกราคม 2493.; สายกลาง, 14 มกราคม 2493. 68 หลักเมือง, 17 มกราคม 2493. 69 เสียงไทย, 19 มกราคม 2493. 70 ประชาธิปไตย, 20 มกราคม 2493.


105

แมสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” จะประสบความพายแพในการรักษาอํานาจ ใหกับรัฐบาลควง อภัยวงศซึ่งเปนรัฐบาลตัวแทนของพวกตนที่ถกู บังคับลงดวยอํานาจของคณะ รัฐประหารก็ตาม แตพวกเขายังคงประสบความสําเร็จในฐานะที่เปนสถาปนิกทางการเมืองในการ ออกแบบระบอบการเมืองทีท่ ําใหพวกตนไดเปรียบภายใตรัฐธรรมนูญ 2492 ตอไปซึ่งนําไปสู ปญหาความขัดแยงระหวางผูสําเร็จราชการฯ สมาชิกวุฒสิ ภากับ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงคราม จากการแตงตั้งสมาชิกวุฒิสภาเขามาใหม สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ผูสาํ เร็จราชการฯ ทรงพยายามรักษาฐานอํานาจทางการเมืองของพวกตนในรัฐสภาเอาไวอยางตอเนื่อง โดยทรงได ตั้งบุคคลที่เปน“กลุมรอยัลลิสต”กลับเขามาเพื่อขัดขวางการทํางานของรัฐบาลอยางตอเนื่อง โดย มิไดปรึกษา หารือกับรัฐบาลทั้งทางตรงหรือทางออม อีกทั้ง ที่ผา นมา ผูสําเร็จราชการฯไดทรง ขยายบทบาททางการเมือง ดวยการเขาประทับในการประชุมคณะรัฐมนตรีของจอมพล ป.เสมอๆ ดวย สิง่ ทัง้ หลายเหลานี้ลวนสรางความไมพอใจใหกับจอมพล ป. เปนอยางมาก ตอมาเขาจึง ตอบโตกลับดวยการเรียกรองวา หากผูสาํ เร็จราชการฯยังทรงแทรกแซงทางการเมืองผานรัฐสภา และรัฐบาล นายกรัฐมนตรีกม็ ีความตองการที่จะเขารวมประชุมคณะองคมนตรีดวยเชนกัน 71 4.5 “กลุมรอยัลลิสต” กับ “กบฏแมนฮัตตัน”: แผนซอนแผนในการโคนลมรัฐบาล กลาวไดวา ในชวงตนทศวรรษ 2490 อํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามที่ ตั้งอยูทา มกลาง“กลุมรอยัลลิสสต”และ“กลุมปรีดี” เกิดลักษณะความสัมพันธทางการเมืองของ กลุมการเมืองเหลานี้ที่ในบางครั้งก็มีความรวมมือกันเพื่อตอสูกับอีกกลุม หนึง่ ในกลางป 2493 ซี ไอเอรายงานขาววา “กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต”ไดเตรียมการรัฐประหาร โดย“กลุมรอยัล ลิสต”ที่มีพรรคประชาธิปตย ขาราชการจํานวนหนึ่งที่เคยใหสนับสนุนปรีดี พนมยงคและ กองทัพเรือที่สนับสนุน“กลุมรอยัลลิสต”ตองการทําการรัฐประหารตัดหนา“กลุมปรีดี” 72อยางไรก็ ตาม สิง่ จําเปนที่จะเปนเครื่องชี้ขาดในความสําเร็จในการรัฐประหารขับไลรัฐบาลจอมพล ป. แต

71

Bangkok Post, 18 December 1950.; NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for November 1950, ” 26 December 1950. 72 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, Monthly Political Report for May 1950, 15 June 1950 .


106

เปนสิ่งทีท่ ั้งสองกลุมขาดอยางมากคือ กําลังที่จะใชยึดอํานาจ ทําใหเวลาตอมา ทัง้ สองกลุมได รวมมือกันวางแผนการรัฐประหารลมรัฐบาล73 ปลายป 2493 การตอสูทางการเมืองระหวาง รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับ“กลุม ปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต”ยังคงดําเนินการไปอยางแหลมคม มีกระแสขาววาจะเกิดการ รัฐประหารโคนลมรัฐบาล74 ทามกลางสถานการณดังกลาว หนังสือพิมพที่สนับสนุนรัฐบาล ตั้งแต ปลายป 2493 ถึงตน 2494 เชน ธรรมาธิปต ย และ บางกอก ทริบนู (Bangkok Tribune) ไดลงขาว ประนามบทบาททางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” พรรคประชาธิปตยและสมาชิกวุฒิสภาอยาง หนัก แมกระทัง่ หนังสือพิมพที่มีจุดยืนทางการเมืองแบบกลางๆ ก็มีความเห็นใจรัฐบาลที่ถกู “กลุม รอยัลลิสต”โจมตีอยางไมมีเหตุผล ในขณะทีห่ นังสือพิมพฝายซายไดประนามสมาชิกวุฒิสภาวา เปนเครื่องมือที่ไมใชวิถีประชาธิปไตยของชนชั้นปกครอง ดังนัน้ การเมืองภายใตรัฐธรรมนูญ 2492 หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสตที่ใหอํานาจทางแกพระมหากษัตริยในการแตงตัง้ สมาชิกวุฒิสภา ทั้งหมด การแตงตั้งองคมนตรีใหเปนพระราชอํานาจโดยแท และการแทรกแซงทางการเมืองจาก ผูสําเร็จราชการฯ ไดสรางปญหาใหกับการบริหารงานของรัฐบาลเปนอันมาก รัฐบาลจึงมีความ ตองการยุติอํานาจของสมาชิกวุฒิสภาและบทบาททางการเมืองของผูส ําเร็จราชการฯ ดวยการ

73

NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R006100010001-6, 17 October 1950, “Coup plans by Thai Navy Group”. 74 NARA, RG 468 Mission to Thailand 1950-1954, Entry 1385 Box 7, “Brief Political Survey of Thailand,” 20 November 1950. ในรายงานฉบับนี้ รายงานวา ฝายคานขณะนั้น มี 2 กลุม คือ พรรค ประชาธิปตย ซึ่งมีส.ส.จํานวน 30-35 คน มีนโยบายสนับสนุนผลประโยชนของ“กลุมรอยัลลิสต”และเจาที่ดิน ตอตานคอมมิวนิสตและนิยมตะวันตก แตพรรคฯไมเขาใจสถานการณของโลก พรรคฯรับการสนับสนุนจาก “กลุมรอยัลลิสต” เชน พระยาศรีวิสารฯผูมีบทบาทอยางมากในการรางรัฐธรรมนูญ 2492 สมาชิกสวนใหญของ พรรคฯมาจากพระราชวงศที่มีบทบาทอยางสูงในวุฒิสภา สวน“กลุมปรีดี”เปนกลุมที่กระจัดกระจายจนไมมี ประสิทธิภาพในสภาผูแทนฯ พวกเขาใหการสนับสนุนปรีดี พนมยงคและตอตานจอมพล ป. พิบูลสงคราม พวก เขามีความคิดเสรีนิยม หรือเรียกวา ความคิดกาวหนาทางเศรษฐกิจและปฏิรูปสังคมซึ่งไดรับผลจากแนวคิดใน เคาโครงเศรษฐกิจของปรีดี สมาชิกสวนใหญจบมาจากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง เคยเปนเสรี ไทยมากอน ตอมาไดเคยใหชวยเหลือพวกเวียดมินหอยางใกลชิด กลุมนี้ไดรับการสนับสนุนจากกองทัพเรือ โดยเฉพาะอยางยิ่งพรรคนาวิกโยธิน มีสมาชิกที่เปนส.ส.จํานวน 12-15 คนในสภาผูแทนฯ, NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP78-01617A006100020023-4, 4 December 1950, “ Reported plan for coup”.


107

แกไขรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวแตไมสําเร็จ เนื่องจาก “กลุมรอยัลลิสต”จํานวนมากที่อยูในกลไกล ทางการเมืองนั้นทําการขัดขวางแผนการลดอํานาจของพวกเขา75 ในขณะที่ “กลุม ปรีดี”กับ“กลุม รอยัลลิสต” มีแผนการรวมกันในการรัฐประหารรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ สมาชิกสภาผูแทนฯจํานวนหนึ่งทีน่ ําโดยเตียง ศิริขันธ แกนนําคัญ สําคัญใน“กลุมปรีดี”ไมเห็นดวยกับแผนการดังกลาวของปรีดี พนมยงค เนื่องจาก เตียงและพวก เขามีความเห็นวา ความรวมมือดังกลาวจะนําไปสูสถานการณทางการเมืองที่แยยงิ่ กวาที่เปนอยู ดังนัน้ พวกเขาจึงพยายามหาหนทางสรางความปรองดองระหวางจอมพล ป. และปรีดีเพื่อ ประโยชนของประเทศมากกวาแผนการใชกําลัง76 การพยายามสรางความปรองดองระหวางกัน โดยรัฐบาลดําเนินการผานพล ต.อ.เผา ศรียานนท โดยเขาไดใหความชวยเหลือทางการเมืองแก นักการเมืองกลุมของเตียง77อยางไรก็ตาม การเจรจาระหวางทั้งสองกลุมไมสําเร็จ เนื่องจาก ปรีดี ยังคงดําเนินแผนการดังกลาวตอไป สถานทูตอังกฤษและซีไอเอรายงานวา ปรีดีไดลักลอบ เดินทางกลับมาไทยในเดือนกุมภาพันธ 2494 เพื่อเตรียมแผนการรัฐประหาร โดยไดรับความ ชวยเหลือจากเจมส ทอมสัน-เพื่อนสนิทของเตียง และอเล็กซานเดอร แมคโดนัล อดีตโอเอสเอส ั อดีตผู และบรรณาธิการบางกอก โพสต 78 โดยปรีดีพยายามโนมนาวใหพล.ร.ต.ทหาร ขําหิรญ บังคับการพรรคนาวิกโยธินทีเ่ คยใหการสนับสนุนปรีดีในการกอ“กบฎวังหลวง”ใหเขารวมแผนการ 75

NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “ Political Report for December 1950 and January 1951,” 21 February 1951. 76 NA, FO 371/84352, Far Eastern Department to U.K. High Commissioner in Canada, Australia, New Zealand, India, Pakistan, Ceylon, 14 December 1950. 77 พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดใหการสนับสนุนจารุบุตร เรืองสุวรรณ นักการเมืองกลุมของเตียง ศิริขันธ ลงสมัครสมาชิกสภาผูแทนฯ(NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for December 1950 and January 1951,” 21 February 1951). สถานทูตอังกฤษรายงานวา เตียงกําลังหาหนทางใหเกิดการ เจรจาคืนดีกันระหวางจอมพล ป.พิบูลสงครามและปรีดี พนมยงค(NA, CO 537/7115, Whittington to Foreign Office, 27 February 1951.; NA, FO 371/92954, Whittington to Foreign Office, 28 February 1951). 78 NA, CO 537/7115, Whittington to Foreign Office, 26 February 1951. ทูตอังกฤษไดรายงาน วา ร.อ.เดนิส (S.H. Denis)-อดีตทูตทหารเรืออังกฤษ-ไดพบสนทนากับปรีดี พนมยงคในกรุงเทพฯ ปรีดีไดกลาว กับเดนนิสวา เขามีความหวังวาจะกลับมาสูการเมืองในเร็วๆนี้ ตอมา ทูตอังกฤษไดแจงขาวลับมาเรื่องการมาถึง ไทยของปรีดีใหทูตสหรัฐฯทราบเชนกัน(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIARDP79T01146A000100040001-7, 5 March 1951, “Pridi-Phibul Negotiations”).


108

รัฐประหารอีกครั้ง79 ทัง้ นี้ ในปลายเดือนเมษายน 2494 พล ท.กาจ กาจสงคราม ผูเปนคูแขงขันใน ตําแหนงผูบัญชาการทหารบกและตําแหนงทางการเมืองกับจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ. เผา ศรียานนทหรือคายราชครู เขาไดลักลอบกลับมาไทยเพื่อรวบรวมกําลังทหารบกที่ภักดีเพื่อ กอการรัฐประหาร ดวยเหตุที่ “กลุมปรีดี”ไมมีกําลังที่เพียงพอจึงไดมาเจรจาขอรวมมือกับเขาแต การตกลงไมประสบความสําเร็จ80 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ความพยายามในการกอการรัฐประหารของ “กลุมปรีดี” “กลุมรอยัล ลิสต” และคายของพล ท.กาจ กาจสงคราม แมทงั้ หมดจะมีเปาหมายรวมกันคือ โคนลมรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะรัฐประหาร แตปญหาหลัก คือ พวกเขาไมมกี ําลังมากเพียงพอ ในการรัฐประหาร ดังนัน้ กองทัพเรือในฐานคูแขงขันของคณะรัฐประหารหรือกองทัพบกจึงเปนตัว แปรสําคัญในความสําเร็จดังกลาว อยางไรก็ตาม ภายในกองทัพเรือนัน้ ก็มีความแตกแยกใน ความนิยมที่มตี อปรีดี พนมยงค กลาวคือ พรรคนาวิกโยธินนําโดยพล.ร.ต.ทหาร ขําหิรัญใหการ สนับ สนุน“กลุม ปรีดี” แตพรรคนาวินนําโดยพล.ร.อ.สินธุ กมลนาวิน ผูบ ัญชาการกองทัพเรือไม นิยมทั้งจอมพล ป. พิบลู สงคราม ปรีดี และพล ท.กาจ กาจสงคราม แตเขาตองการใหกองทัพเรือ ขึ้นมามีอาํ นาจแทนคณะรัฐประหารหรือทหารบกซึง่ เปนคูแขงขัน ดวยเหตุนี้ กองทัพเรือจึงโนม เอียงไปในการสนับสนุน“กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยมากกวา การจับกุมตัวจอมพล ป. พิบูลสงครามในพิธีมอบเรือขุดสันดอน ชื่อ แมนฮัตตัน เมื่อ 29 มิถุนายน 2494 โดยนายทหารเรือกลุมหนึง่ ซึ่งตอมาถูกเรียกวา “กบฎแมนฮัตตัน” นัน้ โดยทัว่ ไป มักรับรูกันวาเปนความพยายามกอรัฐประหารโดยนายทหารเรือสองคน คือ น.อ.อานนท ปุณฑริกานนทและน.ต.มนัส จารุภาจนนําไปสูความบอบซ้าํ ของกองทัพเรือ แตจากหลักฐานในราย งานของสถานทูตสหรัฐฯในชวงดังกลาวนัน้ การพยายามรัฐประหารครั้งนี้เปนการพยายามกอการ ที่มีความสลับซับซอนมากจนถูกเรียกวาเปน “แผนสมคบคิดที่ลึกลับซับซอน”(Machiavellian Conspiracy)81 จากรายงานหลายหนวยงานของสหรัฐฯ ทั้งสถานทูตสหรัฐฯและซีไอเอ ตลอดจน 79

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146 A0001000 80001-3, 9 March 1950 , “Coup Attempt Possibly in Progress”. 80 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000200010001-9, 28 April 1951, “General Kach’s Return Rumored”. 81 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, R. H. Bushner to Secretary of State, “Current Thai Political Potting,” 26 April 1951. ทั้งนี้ รายชื่อวาที่คณะรัฐมนตรีที่ถูกประกาศในวันนั้นมีหลายกลุม ทําใหสามารถวิเคราะหไดวา การพยายาม รัฐประหารนี้มีความรวมมือของหลายกลุม เชน “กลุมปรีดี” มี พล.ร.ต. ทหาร ขําหิรัญ เปนรองนายกฯ “กลุม รอยัลลิสต” เชน ม.ร.ว.เสนีย เปนรัฐมนตรีวาการะทรวงการตางประเทศ พล.ท.สินาดโยธารักษ เปนรัฐมนตรี


109

บันทึกการสนทนากับบุคคลสําคัญของไทย สรุปไดวา “กบฎแมนฮัตตัน” เปนแผนการรวมกันเพื่อ โคนลมรัฐบาลจอมพล ป. ระหวาง “กลุมปรีดี” “กลุมรอยัลลิสต” คายของพล ท.กาจ และ กองทัพเรือ อยางไรก็ตาม ดวยเหตุที่ แตละกลุมก็มีความขัดแยงและหวาดระแวงกันระหวางกัน ดังนัน้ แตละกลุมจึงมีแผนทีจ่ ะรัฐประหารตลบหลังซึง่ กันและกัน และเมื่อไมมีกลุมใดมีกําลัง เพียงพอในปฏิบัติการยึดอํานาจ ทําใหกองทัพเรือกลายเปนตัวแปรสําคัญ ดวยเหตุที่ ผูบัญชาการ ทหารเรือขณะนั้น ไมพอใจความเปนอิสระของพรรคนาวิกโยธินที่ใหสนับสนุนปรีดี พนมยงค อีก ทั้ง เขาตองการใหกองทัพเรือมีอํานาจแทนคณะรัฐประหารเขาจึงใหการสนับสนุน“กลุมรอยัล ลิสต”ใหมีอํานาจทางการเมืองแทน เขาไดนําแผนการทีท่ ุกกลุม มาขอความชวยเหลือจาก กองทัพเรือแจงใหควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยและแกนนําคนหนึง่ ใน“กลุมรอยัล ลิสต”ทราบ ตอมา ควงไดนาํ แผนการทัง้ หมดทูลตอพระองคเจาธานีฯ ผูสําเร็จราชการฯ ผูที่ไมทรง โปรดจอมพล ป. และปรีดี พนมยงคใหทรงทราบถึงแผนการตางๆ จากนั้น แผนซอนแผนของ “กลุมรอยัลลิสต”ก็ถูกเตรียมการขึ้น ทั้งนี้ ตามแผนซอนแผนของ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา กองทัพเรือ จะแสดงทาทีใหความชวยเหลือแกทุกกลุม แตไมใหแตละกลุมรูความเคลื่อนไหวซึง่ กันและกัน โดยขั้นแรกกําหนดใหคายของพล ท.กาจ กาจสงครามเขาจับกุมตัวจอมพล ป. พิบลู สงคราม จอม พลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่เรือแมนฮัตตัน จากนัน้ จะให“กลุมปรีด”ี ยึดอํานาจ ซอนกลุมของพล ท.กาจ และสุดทาย “กลุมรอยัลลิสต” และกองทัพเรือฝายพรรคนาวินจะยึด อํานาจตลบหลัง “กลุมปรีดี” อีกทีหนึ่ง82 แตปรากฏวา ในเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงนัน้ กลุมที่ลงมือ จับกุมตัวจอมพล ป.ไมเปนไปตามแผน เนือ่ งจากกลุมทีล่ งมือกลับกลายเปนทหารเรือของ“กลุม

มหาดไทย สวนนายกรัฐมนตรี คือ พระสารสาสนประพันธ ซึ่งอดีตขาราชการอาวุโส ที่ไมสังกัดกลุมใด(“ไทย นอย”, กบฎ 29 มิถุนายน,[พระนคร: โอเดียนสโตร, 2494], หนา 54-55). 82 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation Nai Tula Bunnag and Hannah, “Current Thai Political Potting,” 26 April 1951. ตุลย บุนนาค เปนบุคคลที่ใหขาวนี้ เขาเปนขาราชการกระทรวงการตางประเทศและ เลขานุการของควง อภัยวงศ หัวหนาพรรรคประชาธิปตย ; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R008000720001-7, 6 July 1951, “Seizure of Premier Phibul by the Thai Navy”.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation General Phao, Major Thana Posaynon and N.B. Hannah, ”Recent Attempted Coup d’etat,” 16 July 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Luang Sukhum Naipradit, Nai Charoon Suepsaeng and N.B. Hannah, ”Recent Attempted Coup,” 7 August 1951.


110

ปรีดี”∗ ทามกลางความสับสนในวันนั้น รัฐบาลที่ปราศจากผูน ําไดสงผูแทนไปหาพระองคเจาธานี ฯ ผูสําเร็จราชการฯ ถึง 3 ครั้งเพื่อขอใหทรงสนับสนุนรัฐบาล แตทรงปฏิเสธ เนื่องจากขณะนัน้ ทรงไมแนใจวากลุมที่ลงมือเปนไปตามแผนทีพ่ วกตนตกลงกันไวหรือไม สถานทูตสหรัฐฯตั้ง ขอสังเกตวา แทนที่พระองคจะติดตอกับรัฐบาล แตปรากฎวาทรงติดตอกับควง อภัยวงศ ผูน ํา ฝายคาน เพื่อสอบถามสถานการณที่เกิดขึ้น โดยควงไดบอกกับพระองควา เขา“กําลังรอบางสิง่ บางอยางอยู” ( a waiting one) ตอมา ควงไดทูลตอพระองควา“มันไมใช”(this is not it) จากนัน้ ผูสําเร็จราชการฯไดประกาศสนับสนุนฝายรัฐบาลทันที ดวยการทรงลงพระนามประกาศกฎ อัยการศึกตามคําขอของรัฐบาล83 หลังความลมเหลวของแผนการรัฐประหารของ“กลุม รอยัล ลิสต” ควงไดกลาวอยางหัวเสีย และกลาวประนามการเคลื่อนไหวของนายทหารเรือสองคนนั้นวา “โงเขลาและปญญาออน”เปนการลงมือรัฐประหารอยางไรหลักการ84 ควรบันทึกดวยวา การ ปราบปรามการพยายามกอการรัฐประหารครั้งนี้ กําลังของที่เขาปฏิบัติการปราบราม“กบฎแมน ฮัตตัน”มาจากกองทัพผสมกับตํารวจ โดยพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนมีบทบาทอยางมาก ในการเขาปราบปราม ทั้งนี้ ตํารวจชุดดังกลาวไดรับการฝกจากซีไอเอและไดใชอาวุธที่ไดรับการ สนับสนุนจากจากซีไอเอผานวิลลิส เบิรด เชน ปนบาซูกา ปนคารบิน จํานวน 500 กระบอกและ กระสุนจํานวนมากทําใหรัฐบาลสามารถปราบความพยายามรัฐประหารครั้งนี้ลงไดอยางงายดาย

สาเหตุที่นายทหารเรือกลุมที่ลงมือนั้นถูกพิจารณาเปน“กลุมปรีดี” เนื่องจาก สุภัทร สุคนธาภิรมย อดีตนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง อดีตเสรีไทย ผูมีความใกลชิดปรีดี พนมยงค เปนผู หนึ่งอยูเบื้องหลัง“กบฎแมนฮัตตัน” เขามีความสัมพันธที่ดีกับน.ต.มนัส จารุภา หนึ่งในทหารเรือผูลงมือจับตัว จอมพล ป. พิบูลสงคราม(Somsak, “The Communist Movement in Thailand,” p.340.;วิวัฒน คติธรรมนิตย, กบฎสันติภาพ,หนา 229.) ทั้งนี้ น.ต.มนัส เปนนายทหารเรือคนสนิทของพล ร.ต.ผัน นาวาวิจิตร ผูใหการ สนับสนุนปรีดี พนมยงค (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. แผนชิงชาติไทย, หนา 36,206) โปรดดูรายละเอียดเหตุการณ ดังกลาวโดยละเอียดใน “ไทยนอย”, กบฎ 29 มิถุนายน; สุดา กาเดอร, “กบฎแมนฮัตตัน,” (วิทยานิพนธ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2516). 83 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation Nai Khuang and Hannah, “ Attempted Coup d’etat 29-31 June 1951,” 9 July 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bushner to Secretary of State, ” Attempted Coup d’etat of 22-30 June and its Aftermath,” 19 September 1951. 84 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation Nai Khuang and Hannah, “Attempted Coup d’etat 29-31 June 1951,” 9 July 1951.


111 85

สถานทูตอังกฤษรายงานวา หนวยงานของสหรัฐฯไดใหความชวยเหลือรัฐบาลในการปราบการ พยายามรัฐประหารครั้งนี้ 86 ภายหลังความสําเร็จในการปราบปราม จอมพลผิน ชุณหะวัณได แสดงความประทับใจตอความชวยเหลือทางอาวุธอยางมากจากสหรัฐฯ เขาเห็นวา ความ ชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯมีสวนสําคัญในการปราบปรามดังกลาวลงไดสําเร็จ 87 ผลที่ตามมาหลังเหตุการณ คือ บทบาทของปรีดี พนมยงคในการชิงอํานาจคืนครั้งนีจ้ ึง เปนการตอสูทจี่ ะกลับสูการเมืองดวยกําลังครั้งสุดทายของเขา อีกทัง้ กองทัพเรือในฐานะคูแขงกับ คณะรัฐประหารไดถูกลดความเขมแข็งลงอยางรวดเร็ว อาวุธของกองทัพเรือที่ทนั สมัยไดถูก กองทัพ บกและตํารวจยึดไป ในขณะที่ แมรัฐบาลจะปราบปรามปรปกษทางการเมืองลงได แต ปญหาใหมที่ไดเกิดขึ้นภายในคณะรัฐประหารก็มคี วามเดนชัดมากขึน้ คือ การแขงขันทางการ เมืองระหวางจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทมีการเมืองมากยิง่ ขึน้ สถานทูต อังกฤษรายงานวา ความเขมแข็งของทัง้ สองคนทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามตองประสบปญหา การรักษาอํานาจของเขาดวยเชนกัน88 ตนเดือนกรกฎาคม 2494 หนังสือพิมพในไทยไดรายงานขาวอยางตอเนื่องหลายวันวา สหรัฐฯไดใหความชวยเหลือทางอาวุธแกรฐั บาลในการปราบ”กบฎแมนฮัตตัน” เกิดกระแส วิพากวิจารณในสังคมวา “อาวุธอเมริกันฆาเรา”89 ทามกลางขาวในทางลบตอสหรัฐฯที่แพรสะพัด เทอรเนอร อุปทูตสหรัฐฯไดเขาพบจอมพล ป. พิบูลสงครามและไดแสดงความกังวลตอขาว ดังกลาวบนหนาหนังสือพิมพไทย90 ในวันเดียวกันนัน้ กองทัพบกไดปฎิเสธการใชอาวุธที่ไดรับ ความชวยเหลือจากสหรัฐฯในปราบปราม “กบฎแมนฮัตตัน”91 ตอมา สถานทูตสหรัฐฯไดรับ โทรศัพทตอวาการใหการสนับสนุนทางการทหารแกกองทัพและตํารวจไทยจากสตรีไทยคนหนึ่ง

85

“Turner The Charge in Thailand to Mr. Robertson P. Joyce Policy Planning Staff, 7 November 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1634.; พล.ต.ต. อํารุง สกุล รัตนะ, ใครวา อตร.เผาไมดี, หนา 73-74, 92. 86 NA, FO 628/79, Minutes, 1 July 1951. 87 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 5625, Memorandum of Conversation Phin, E.O’Connor and R.H. Bushner, 24 July 1951. 88 NA, FO 371/92956, Whittington to Foreign Office, ”Siam: Political Summary,” 13 July 1951. 89 New York Times, 5 July 1951. 90 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 2 July 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p.1616. 91 “ไทยนอย”, กบฎ 29 มิถุนายน, หนา 168-169.


112

ดวยเสียงสะอืน้ วา “ทําไม อเมริกาจึงใหอาวุธทําใหคนไทยตองตอสูกัน”92 หลัง“กบฎแมนฮัตตัน” แม สแตนตัน ทูตสหรัฐฯผูชว ยทูตทหาร และแมค(MAAG)ไดเสนอใหสหรัฐฯระงับความชวยเหลือ ทางทหารแกไทยก็ตาม93 แต รัฐบาลที่วอชิงตัน ดี.ซี.ยังคงยืนยันความชวยเหลือทางการทหารและ เศรษฐกิจแกไทยตอไป โดยไดใหเหตุผลวา สหรัฐฯตองการใหไทยมีเสถียรภาพทางการเมือง เพื่อที่จะทําใหไทยเปนพันธมิตรที่มีความเขมแข็งในการรักษาเสถียรภาพในเอเชียตะวันออกฉียง ใตตอไป94 ดังนัน้ กลาวไดวา ภายหลัง ”กบฎแมนฮันตัน” เมื่อปรีดี พนมยงคประสบความพายแพ และหมดโอกาสในการกลับสูอ ํานาจทางการเมือง แตสําหรับ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น แมพวกเขาจะ ถูกจับตามมองจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามอยางมากก็ตาม แตโอกาสทางการเมือง ภายใตรัฐธรรมนูญบับ 2492 ยังคงอยูขางพวกเขา และพวกเขายังรอเวลาที่พระบาทสมเด็จพระ เจาอยูจะทรงนิวัตรพระนครในเร็ววัน ทําใหสถานการณทางการเมืองไทยในขณะนัน้ เปนชวงเวลา ที่ตัวละคอนทางการเมืองทัง้ ระหวางรัฐบาลกับ “กลุมรอยัลลิสต” รอเวลาชิงชัยกันทางการเมือง ระหวางกันและกันอีกครั้ง 4.6 การรัฐประหาร 2494 กับการยุติบทบาททางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” ความพยายามใชกําลังเขาเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ประสบ ความลมเหลวไปในเหตุการณ“กบฎแมนฮัตตัน”มิไดทําใหพวกเขายุติบทบาทางการเมือง แตพวก เขายังคงพยายามรักษาฐานอํานาจในกลไกทางการเมืองทีพ่ วกเขาสามารถควบคุมไดตอ ไปเพื่อ โจมตีรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามจนนําไปสูความขัดแยงกับรัฐบาลอีกครั้ง สถานทูตสหรัฐฯ รายงานวา กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผูสําเร็จราชการฯและพระองคเจาธานีฯ องคมนตรีในขณะ นั้น สั่งการใชสมาชิกวุฒิสภาเขาขัดขวางการทํางานของรัฐบาล95 ตอมา สถานทูตสหรัฐฯได 92

NARA, RG 84 General Records, Thailand 1945-1953, Entry UD 3267 Box 93, R.H. Bushner to Political Section, ”Thai Reaction to Coup d’etat,” 11 July 1951. สตรีไทยคนดังกลาวได โทรศัพทมาตอวาสถานทูต ชื่อนางสาว สุวรรณ มาลิก เปนครูที่สอนในโรงเรียนแหงหนึ่งในกรุงเทพฯ 93 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 12 July 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp. 1620-1621. 94 “Analysis and Appreciation of Foreign Military and Economic Assistance Programs for Thailand, 17 July 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp.1623-1625. 95 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for December 1950 and January 1951,” 21 February 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum


113

รายงานวา ภายหลังที่รัฐบาลปราบ“กบฎแมนฮัตตัน”ลง “กลุมรอยัลลิสต”ได สมาชิกวุฒิสภาซึ่ง เปน“กลุมรอยัลลิสต”ในรัฐสภาไดโจมตีรัฐบาล เนื่องจาก พวกเขาไมพอใจที่ความพยายามกอการ รัฐประหารของพวกเขาลมเหลว 96 พวกเขาไดอภิปรายวิจารณรัฐบาลทีป่ ราบปรามการพยายาม รัฐประหารดังกลาว และโจมตีความผิดพลาดในการปฏิวัติ 2475 ที่ผานมาอยางรุนแรง จอมพล ป. พิบูลสงครามมีความไมพอใจอยางยิง่ ตอการโจมตีจาก“กลุมรอยัลลิสต”และไดกลาวตอบโตวา วุฒิสภามุง “ดา” รัฐบาลแตฝายเดียว และหากสมาชิกวุฒิสภาเห็นวาประชาธิปไตยไมเหมาะสม กับการปกครองของไทยก็ใหสมาชิกวุฒิสภาดําเนินการถวายอํานาจการปกครองคืนพระมหา กษัตริยไป 97 ทั้งนี้ สถานการณทางการเมืองในป 2494 ภายใตรัฐธรรมนูญ 2492 หรือรัฐธรรมนูญ รอยัลลิสตคงมีความคุกกรุน อยูภายในตลอดเวลา แมรฐั บาลจะสามารถปราบปราม “กบฏแมน ฮัตตัน” พรอมกับการปดโอกาสทางการเมืองของปรีดี พนมยงคและจํากัดอํานาจของกองทัพเรือ ลงแลวก็ตาม แต“กลุมรอยัลลิสต” ยังคงอยูและพวกเขามีโอกาสในการทาทายอํานาจรัฐบาลอยู ตลอดเวลา สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ดวยเหตุที่ รัฐธรรมนูญ 2492 เปนผลงานของ“กลุมรอยัล ลิสต” ที่พวกเขาไดออกแบบระบอบการเมืองขึ้นมาเพื่อยึดอํานาจจากคณะรัฐประหาร ดวยการ สรางกติกาการ เมืองที่ทาํ ใหสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ไดเปรียบทางการเมืองเหนือ กลุมการเมืองอื่นๆอยางมาก98 ดังนั้น บทบาทของ“กลุมรอยัลลิสต”ภายใตรัฐธรรมนูญนี้จึงเปน เสมือนหนึง่ หอกขางแครของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีครั้งหนึ่ง

of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah,” 29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. การขัดขวางการทํางานของรัฐบาลโดย “กลุมรอยัลลิสต” เชน บทบาทของวุฒิสภาที่ยับยั้ง รางกฎหมายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามถึง 31 ฉบับจาก 57 ฉบับ และไดยับยั้งกฎหมายที่สภาผูแทนฯ เสนอ 10 จาก 16 ฉบับ รวมทั้งการตั้งกระทูถามรัฐบาลถึง 67 กระทู (สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมือง ของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 150-153). 96 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 24 August 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1632. 97 “รายงานการประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ 3 / 2494 วันที่ 27ตุลาคม 2494,” ใน รายงานการประชุม วุฒิสภา สมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2494,(พระนคร: โรงพิมพอําพลวิทยา, 2495), หนา 412-415. วุฒิสภาได วิจารณการปฏิวัติ 2475 วา เปนการกบฎอันเปนเหตุใหใหคุณภาพของสมาชิกสภาผูแทนฯมีคุณภาพต่ํา เนื่องจากประชาชนไมมีคุณภาพ ไมมีการศึกษาจึงเลือกสมาชิกสภาผูแทนฯที่ไมดี 98 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for November 1950, ” 26 December 1950.


114

ในกลางเดือนสิงหาคม 2494 ไดมีหารือถึงปญหาทางการเมืองดังกลาว ที่ประชุมเห็นวา ควร รัฐประหารลมรัฐธรรมนูญฉบับดัง กลาวเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม99 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา รัฐบาลจอมพล ป.ตองการสรางความเขาใจถึงปญหา การเมืองที่เกิดขึ้นใหกับพระมหากษัตริยท รงทราบจึงสง พล ต.อ.เผา ศรียานนทไปเจรจากับ พระองคทโี่ ลซาน สวิสเซอรแลนดในเดือนสิงหาคม 2494 เพื่ออธิบายปญหาที่เกิดขึ้นจาก รัฐธรรมนูญและบทบาทของ”กลุมรอยัลลิสต” ใหพระองคทรงทราบเพือ่ หาทางแกไขปญหาความ ขัดแยงระหวางกัน 100 ตอมา หนังสือพิมพ เอกสารฝายไทยและสถานทูตสหรัฐฯไดรายงานที่สรุป ไดวา ในเดือนตุลาคม รัฐบาลไดสงพล ต.อ.เผาและกลุม ตํารวจของเขาไดเดินทางกลับไปเขาเฝา พระองคอีกครัง้ เพื่อรับทราบพระบรมราชวินิจฉัย แตปรากฏวา พระองคทรงไมเห็นดวยกับ ความเห็นของรัฐบาลที่เห็นวา ปญหาการเมืองเกิดจากรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวและจากบทบาท ของ“กลุมรอยัลลิสต”แตพระองคไดทรงกลาววิจารณ คณะรัฐประหารและนายกรัฐมนตรี โดยทรง มีแผนการทางการเมืองที่จะจัดตั้งรัฐบาลขึ้นใหมภายหลังทรงเสด็จนิวตั พระนครในปลายป 2494 แลว โดยทรงมีพระราชประสงคใหพระองคเจาธานีฯ เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศ หรือ พล.ท.ชิต มัน่ ศิลป สินาด โยธารักษ ผูเปนแกนนําสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต”เปนนายกรัฐมนตรีคนใหมแทน จอมพล ป.101 ในชวงเดือนพฤศจิกายน สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา “กลุมรอยัลลิสต” มีการ

99

เสวต เปยมพงศสานต, “เสวต เปยมพงศสานต,”ใน บันทึก 25 นักการเมือง วิเคราะหการเลือกตั้ง ในไทย, “ใหม รักหมู” และธวัชชัย พิจิตร, บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ นพรัตน, 2522), หนา 597. 100 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R008300700010-6, 16 August 1951, “Departure of Lt. Gen. Phao Sriyanon for Europe and England ”.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. 101 ชาวไทย, 20 ตุลาคม 2494.; พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหง เอเชีย, หนา 150-151. กลุมตํารวจที่เดินทางไปกับพล ต.อ.เผา ศรียานนทในเดือนตุลาคม 2494 มี พ.ต.ท.เยื้อน ประภาวัตร พ.ต.ต.พุฒ บูรณสมภพ พ.ต.ต.อรรณพ พุกประยูร พ.ต.ต.วิชิต รัตนภานุ พ.ต.ต.ธนา โปษยานนท และพ.ต.ต.พจน เภกะนันท.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. รายงานฉบับนี้ รายงานวา สังข พัธโนทัย บุคคลใกลชิดจอมพล ป. พิบูลสงครามไดแจง กับฮันนาหวา บุคคลที่อยูเบื้องหลังในการแนะนําใหพระมหากษัตริยกลับมาตอตานรัฐบาล คือ ม.จ.นักขัตรมง คล กิตติยากร ฮันนาหไดบันทึกในรายงานวา ขอมูลจากสังขนี้ เขาไดตรวจสอบกับแหลงขาวอื่นๆของเขาแลว พบวามีความแมนยํา


115

เคลื่อนไหวทางการเมืองที่คึกคักมาก พวกเขาหวังจะใชการเสด็จนิวัตรพระนครของ พระมหากษัตริยเปนพลังสนับสนุนบทบาททางการเมืองของพวกเขา102 ปลายเดือนพฤศจิกายน 2494 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานกระแสขาวการพยายาม รัฐประหารโดยฝายรัฐบาลกอนพระองคเสด็จนิวัตพระนคร เพื่อปองกันมิให กลุมรอยัลลิสต” รวมมือกับพระองคตอตานการยุติการใชรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสต โดย เปาหมายของการรัฐประหารครั้งนี้ คือ การแกไขรัฐธรรมนูญใหมที่จะลดอํานาจพระมหากษัตริย และวุฒิสภาลง โดยจอมพล ป. มีความคิดในการนํารัฐธรรมนูญ 2475 กลับมาใชใหม103 แตคณะ รัฐประหารยังไมพองดวยถึงทิศทางในอนาคต จวบกระทัง่ ชวงบายของ 29 พฤศจิกายน ทั้งหมด จึงเห็นพองกับความคิดของจอมพล ป. จากนัน้ การรัฐประหารก็เริ่มตนขึ้นในเย็นวันนั้นเองห ดวย การ ที่จอมพลผิน ชุณหะวัณ ในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหารที่เรียกตนเองวา คณะผูบริหาร ประเทศชั่วคราวไปเขาเฝาพระองคเจาธานีฯ ผูสําเร็จราชการฯในเวลา 18.00 ขอใหทรงลงนาม ประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 และยุบรัฐสภา แตพระองคเจาธานีฯทรงกริ้วมากที่คณะ รัฐประหารตองการลมรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาว และทรงตรัสถามจอมพลผิน ชุณหะวัณวา จอม พล ป. พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีทราบการดําเนินการนีห้ รือไม จอมพลผินมิไดตอบ คําถามพระองคเจาธานีนิวัตฯ แตตอมา จอมพล ป. จอมพลผินและพล ท.บัญญัติ เทพหัสดินฯ ไดเดินทางกลับมาเพื่อแสดงความพรอมเพรียงของความเห็นชอบของรัฐบาลตอหนาพระพักตร และทาบทามใหพระองคทรงยอมรับการเปนผูสําเร็จราชการฯตอไป แตทรงปฏิเสธ104 102

“Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 29 November 1951,“ in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1638.; PRO, FO 371/92957, Murray to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,”3 December 1951.; Scott to Foreign Office, 4 December 1951. 103 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R009400250011-3, 27 November 1951, “ Possible Coup d’etat”.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951.ในเอกสาร รายงานวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทยังไม พรอมที่จะเขารวมการรัฐประหาร อยางไรก็ตามมีรายงานวา ในกลางเดือนพฤศจิกายน กอนการรัฐประหารลม รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492 จอมพลสฤษดิ์ไดรับแตงตั้งจากรัฐบาลใหเปนประธานกองสลากคนใหม (NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000500260001-9, 16 November 1951, “Sarit’s position enhanced”). 104 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. จอม พลผิน ชุณหะวัณไดบันทึกความทรงจําถึงสาเหตุของการรัฐประหารครั้งนี้วา เกิดจากปญหาของการเมืองที่เกิด จากรัฐธรรมนูญที่รางโดย“กลุมรอยัลลิสต”ที่กีดดันทหารออกจากการเมือง แตกลับใหอํานาจมากกับ


116

4.7 ความขัดแยงระหวางสถาบันกษัตริยกับรัฐบาลจอมพล ป. การรัฐประหารที่เกิดเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2494 มีผลใหรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492หรือ รัฐธรรมนูญรอยัลลิสตถูกยกเลิก และมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475 ขึ้นใหม แทนนั้นมีผลใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามชุดเดิมและรัฐสภาทีถ่ ูก“กลุมรอยัลลิสต”ครอบงํา ไดสิ้นสุดลง โดยคณะผูบริหารประเทศชัว่ คราวในฐานะองคกรที่มีอาํ นาจสูงสุดไดประกาศไม เปลี่ยน แปลงนโยบายตางประเทศ และอางสาเหตุของการรัฐประหารครั้งนี้วา เพื่อเปนการ ตอตานคอมมิวนิสต แตในรายงานของสถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษวิเคราะหวา เบื้องหลังที่แทจริง ของการรัฐประหารครั้งนี้ คือ การตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”นั่นเอง ดวยเหตุนี้ การรัฐประหารครั้งนี้ จึงเปนการชิงไหวชิงพริบตัดหนาแผนการขยายอํานาจของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่จะเขมแข็งมากขึ้น จากการกลับมาของพระมหากษัตริย 105

พระมหากษัตริย ทําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามบริหารงานไดยากลําบาก จนทําให“เกือบตั้งตัวไมติด” คณะรัฐประหารเห็นวา หากปลอยใหการเมืองเปนเชนนี้ตอไป รัฐบาลจะไมสามารถทํางานไดจึงทําการ รัฐประหาร( จอมพล ผิน ชุนหะวัณ, ชีวิตกับเหตุการณ,[พระนคร: โรงพิมพประเสริฐศิริ, 2513],หนา 95). 105 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 29 November 1951,“ in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1638.; NA, FO 371/92957, Murray to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,”3 December 1951.; Scott to Foreign Office, 4 December 1951.สําหรับ ความเห็นของประชาชนตอสาระในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2475 ที่ถูกประกาศใชใหมหลังการรัฐประหารนั้น เจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา นิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 คน ที่มีความเห็นไปในทางฝายซาย ใหการสนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาววา ดีกวารัฐธรรมนูญฉบับ 2492 มาก แตนายทหารที่มีความสัมพันธ กับ“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยกลับเห็นวา รัฐธรรมนูญฉบับที่ถูกลมไปนั้นดีกวา(NARA, RG 84 General Records, Thailand 1945-1953, Entry UD 3267 Box 93, R.H. Bushner to Political Section, ”Public Opinion regarding 29 November Coup,” 11 December 1951.; NA, FO 371/92957, Wallinger to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,” 5 December 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Turner to Secretary of State, 30 November 1951.; NARA, RG 84 General Records, Thailand 1945-1953, Entry UD 3267 Box 99, Colonel D.W. Stonecliffe to Secretary of Defense, “Thailand-Military significance 29 November 1951 Coup d’etat,” 4 January 1952.; NA, FO 371/92957, Foreign Office to Bangkok, 4 December 1951.; Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 270.สังข พัธโนทัย คนใกลชิดจอมพล ป. พิบูลสงคราม เห็นวา เหตุผลสวนหนึ่งของรัฐประหารครั้งนี้ จอมพล ป. ตองการเยียวยาความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและคณะ รัฐประหาร(NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November 1951 Coup d’etat,” 11 December 1951).


117

เมื่อการรัฐประหารเกิดขึ้น สถานทูตอังกฤษรายงานวา พระองคเจาธานีฯ ผูสําเร็จราชการ ฯ พยายามติดตอแจงขาวการรัฐประหารใหพระมหากษัตริยทรงทราบ โดยพระองคเจาธานีฯ ได ทรงแจงตอสถานทูตสหรัฐฯวา พระมหากษัตริยทรงไมยอมรับรัฐธรรมนูญ 2475 และทรงแจงวา พระมหากษัตริยอาจจะสละราชยสมบัติ โดยพระองคเจาธานีฯจะไดทรงใหคําปรึกษาทางการ เมืองแกพระองคที่จะมีตอไปภายหลังทีท่ รงเสด็จนิวัตพระนครแลว106 สําหรับทาทีของฝาย รัฐประหาร คือ หากพระมหากษัตริยไมรับรองรัฐธรรมนูญใหมและสละราชยนั้น ไทยก็อาจจะเปน สาธารณรัฐ107 สถานทูตอังกฤษรายงานวา เมื่อพระมหากษัตริยทรงเสด็จนิวัตพระนครเมื่อ 2 ธันวาคม 2494 ดวยเรือพระทีน่ ั่ง พระองคเจาธานีฯทรงมิไดขึ้นไปเขาเฝาเพื่อรับเสด็จ แตจอมพล ป.พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีชั่วคราวและรักษาการผูส ําเร็จราชการตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ซึ่งไปรอเขาเฝาแทน แตพระองคไมมีทรงพระราชปฏิสันถารดวย ตอมา จอมพล ป.ไดไปเขาเฝา พระองคเปนเวลาสัน้ ๆเพื่อขอใหทรงรับรองรัฐบาลใหม แตพระองคไมทรงตอบรับขอเสนอจาก รัฐบาล ในวันรุงขึ้น พระองคเจาธานีฯไดเขาเฝาใหคาํ ปรึกษาเปนการสวนพระองคอกี จากนัน้ พระองคเจาธานีฯไดทรงแจงแก สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษวา พระมหากษัตริยกาํ ลังทรงหา หนทางทีจ่ ะคว่ําบาตรการรัฐประหารครั้งนี้ดวยการทรงไมลงพระปรมาธิไภยประกาศใช รัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ที่จาํ กัดอํานาจทางการเมืองของพระองค อยางไรก็ตาม พระองคเจาธานีฯ ทรงเห็นวามีความเปนไปไดที่จะมีการประนีประนอมรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับเขาหากัน108 สถานทูตสหรัฐฯ ซีไอเอและสถานทูตอังกฤษไดรายงานสถานการณชว งเวลาดังกลาววา จอมพล ป. พิบูลสงครามและจอมพลผิน ชุณหะวัณไดเขาเฝาพระมหากษัตริยถงึ 2 ครั้งเพื่อขอให ทรงลงพระปรมาภิไธยรับรองรัฐบาลใหมและประกาศใชรัฐธรรมนูญแตทรงปฏิเสธ ทรงมีพระราช ประสงคใหนํารัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ที่ถกู ลมไปกลับมาใชใหม แตจอมพล ป. ไมเห็นดวย เมื่อ การเจรจาไมสาํ เร็จ พระองคทรงใชการสละราชยเปนเงื่อนไขเพื่อตอรองกับจอมพล ป. อันนําไปสู การรางรัฐธรรมนูญใหมในเวลาตอมา109 ในชวงเวลาดังกลาว รัฐบาลมีแผนเตรียมรับมือการ 106

NA, FO 371/92957, Whittington to Foreign Office, 30 November 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Turner to Secretary of State, 30 November 1951 . 107

NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November 1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. 108 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190, Turner to Secretary of State, 3 December 1951.; NA, FO 371/92957, Whittington to Foreign Office, 5 December 1951. 109 NA, FO 371/92957, Whittington to Foreign Office, 7 December 1951.; NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal File 1950-1954 Box 4188, Tunner to


118

ตอตานจาก “กลุมรอยัลลิสต” โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดสงตํารวจไปควบคุมและติดตาม ความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัลลิสต” และแกนนําพรรคประชาธิปตยที่บานพักของพวกเขา เชน พระองคเจาธานีฯ ควง อภัยวงศและม.ร.ว.เสนีย ปราโมช110 ตอมา พระมหากษัตริยไดยินยอม ทรงประกาศรับรองรัฐบาลใหมและรัฐธรรมนูญ 2475 ใหใชชั่วคราวในระหวางการรางรัฐธรรมนูญ ฉบับใหม อยางไรก็ตาม รัฐธรรมนูญฉบับรางใหมหรือรัฐธรรมนูญ 2475 แกไข 2495 ที่รัฐบาล จอมพล ป.ไดมีสวนสําคัญในการรางนั้นยินยอมตามสนองพระราชประสงคแตบางประการเทานัน้ เชน การใหทรงมีอํานาจในกิจการสวนพระองค เชน การแตงตั้งองคมนตรี เทานั้น แตรัฐบาลไม อนุญาตใหทรงมีอํานาจในการการแตงตั้งวุฒิสภาซึง่ จะสรางปญหาทางการเมืองใหกับรัฐบาล ดังที่ผานมาอีก∗ ดวยเหตุที่สาระที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 แกไข 2495นั้น สถานทูตสหรัฐฯได รายงานวา กอนการประกาศใชและงานเฉลิมฉลองรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวเพียงหนึง่ วัน ราช สํานักไดแจงกับรัฐบาลวา พระองคไมเห็นดวยกับฤกษยามในการประกาศใชรัฐธรรมนูญและทรง มีพระราชประสงคไมเขารวมงานเฉลิมฉลองตามหมายกําหนดการ สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ทรง ตองการใชการประวิงเวลาเปนเครื่องมือทางการเมืองเพือ่ การตอรองใหม แต รัฐบาลจอมพล ป. Secretary of State, 8 December 1951.; NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIARDP79T01146A000600190001-6, 18 December 1951, “King reported prepared to abdicated”. 110 NA, FO 371/92957, Wallinger to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,” 5 December 1951. ในรายงานของซีไอเอรายงานวา เพียงหนึ่งเดือนหลังการรัฐประหาร มีขาราชการระดับสูง“กลุมรอยัล ลิสต” หลายคนเตรียมแผนกอการรัฐประหารซอนขึ้นโดยอาจรวมมือกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000700010001-4, 2 January 1952, “Split in ruling clique presages early Coup”). ∗

รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใชเมื่อ 8 มีนาคม 2495 ดวยเหตุที่ รัฐธรรมนูญฉบับนี้เปนการแกไข เพิ่มเติมจากรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ที่ลงพระปรมาภิไธยโดยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯ และไมเคยถูก ยกเลิก ดังนั้น การแกไขรัฐธรรมนูญดังกลาวจึงเปนอํานาจของสภาผูแทนราษฎรเปนสําคัญ ในคําปรารภมี ขอความวา “สภาผูแทนราษฎรไดประชุมปรึกษารางรัฐธรรมนูญสนองพระเดชพระคุณสําเร็จลงดวยดี จึ่งนําขึ้น ทูลเกลาทูลกระหมอมถวายคําปรึกษาแนะนําดวยความยินยอม พรอมที่จะตราเปนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา จักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ได เมื่อและทรงพระราชวิจารณถี่ถวนทั่ว กระบวนความแลว ทรงพระราชดําริเห็นสมควรพระราชทาน พระบรมราชานุมัติ” (โปรดดู [Online]เพิ่มเติม รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวใน เวปไซดของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา www.krisdika.go.th [11 มกราคม 2553]) ดังนั้น จากรายงานทางการทูตหลายชิ้นชี้วา พระองคทรงไมพอพระราชหฤทัยรัฐธรรมนูญฉบับใหม อยางมากนั้นอาจมาจากสาเหตุที่ ทรงไมสามารถใชการลงพระปรมาภิไธยเปนเรื่องมือในการควบคุมทิศทางใน การรางใหเปนไปตามพระราชประสงคได


119

พิบูล-สงครามและคณะรัฐประหารไดตัดสินใจยืนยันการประกาศใชรัฐธรรมนูญในเมือ่ 8 มีนาคม ตอไป ทั้งนี้ ในเวลาบายของ 7 มีนาคม เมื่อรัฐบาลทราบถึงการไมเสด็จเขารวมงาน รัฐบาลไดสง ผูแทนเดินทางไปวังไกลกังวล หัวหิน เพื่อทูลเชิญพระองคทรงมารวมงานประกาศใชรัฐธรรมนูญ ตามหมายกําหนดการของพระองคที่รัฐบาลกําหนดซึ่งพระองคกท็ รงยินยอมทําตาม111 สถานทูต สหรัฐฯไดรายงานวา การทีพ่ ระองคทรงปฏิเสธการเขารวมงานตามหมายกําหนดการนั้นประสบ ความลมเหลว112 ในสายตาของพระองคเจาธานีฯ ประธานองคมนตรี ทรงเห็นวา เหตุการณนี้เปน การประลองกําลังระหวางพระมหากษัตริยกับรัฐบาล แมตอจะทรงผอนตามความตองการของ รัฐบาลก็ตาม แตพระองคเจาธานีฯทรงเห็นวาการโอนออนผอนตามของพระมหากษัตริยเปนสิง่ ที่ ถูกตอง เนื่องจากเวลาที่สมควรในการแตกหักกับคณะรัฐประหารยังไมมาถึง113 แมขณะนั้น สหรัฐฯจะไมมีปฏิกริยาอันใดตอการรัฐประหารที่เกิดขึน้ ในปลายป 2494 แต ภายหลังการรัฐประหาร รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดพยายามใหความสําคัญกับนโยบาย การตอตานคอมมิวนิสตมากขึ้นเพื่อสรางความไววางใจจากสหรัฐฯ114 สถานทูตอังกฤษ ไดตั้งขอ สังเกตทีน่ า สนใจวา ภายหลังที่รัฐบาลจอมพล ป. สามารถปราบปรามกลุมตอตานรัฐบาล ทั้ง “กลุมปรีดี” “กลุมรอยัลลิสต” และกองทัพเรือลงไดก็ตาม แต การปราบปรามดังกลาวกลับทําให เขาตองพึงพิงอํานาจจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่ควบคุมการสั่งการ กองทัพและตํารวจมากยิง่ ขึน้ 115

111

NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185 , Memorandum of Conversation ; Nai Sang Pathanotai, N.B. Hannah , 8 March 1951.คณะผูแทนดังกลาวมี พล ต.อ.เผา ศรี ยานนท จอมพลเรือยุทธศาสตรโกศล ฟน-ผูบัญชาการทหารอากาศ น.อ.ทวี จุลทรัพย; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 112 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 113 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”King, Constitution, Phibun and Coup Group,” 7 March 1951.; NA, FO 371/101166, Whittington to Foreign Office, 10 March 1952. 114 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000600200001-4, 19 December 1951, “1947 coup group gains complete dominance of government”; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State,” Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 115 Tarling, Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, p. 206.


120

4.8 การแขงขันและสรางพันธมิตรทางการเมืองของกลุมตํารวจและกลุมทหาร อาจกลาวไดวา แมการรัฐประหาร 2494 จะเปนการทําลายฐานอํานาจของสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทีท่ าทายอํานาจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และคณะ รัฐประหารซึ่งเปนความขัดแยงระหวางกลุม ลงก็ตาม แตความขัดแยงภายในกลุม ระหวางคาย ราชครูที่มีจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนทเปนแกนนํา และคายสี่เสาเทเวศนที่มี จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนผูนํามีความเขมขนขึ้น ซีไอเอรายงานวา จอมพลสฤษดิ์ไดพยายาม แสวงหาการสนับ สนุนจากสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”116 ในขณะที่ พล ต.อ.เผาใน ฐานะทายาททางการเมืองคนสําคัญไดพยายามการขยายฐานอํานาจทางการเมืองของเขา ออกไปดวยพยายามเปนมิตรและแลกเปลี่ยนผลประโยชนกับ“กลุมปรีดี” ผานเตียง ศิริขันธ โดย พล ต.อ.เผาใหการสนับสนุนกลุมของเตียงในการเลือกตั้งในป 2495 ทําใหสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรภาคอีสานกลุม ของเตียงมีจาํ นวนเพิ่มขึ้น สงผลใหใหรัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้น จากนั้น รัฐบาลสนับสนุนใหเตียงเขาไปมีบทบาทในการจัดสรรงบประมาณใหกับภาคอีสาน อยางไรก็ตาม ความสัมพันธระหวางเตียงและพล ต.อ.เผานัน้ ยังคงวางอยูบนความไมวางใจกันและกัน 117 หลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 แกไข 2495แลว ทําใหคณะรัฐมนตรีชุดเกา ตองพนจากตําแหนง นําไปสูการชวงชิงอํานาจทางการเมืองในการจัดตั้งรัฐบาลอีกครั้ง จอมพล ผิน ชุณหะวัณในฐานะแกนนําของคายราชครูไดรับการผลักดันจาก พล ต.อ.เผา ศรียานนทใหขนึ้ เปนนายกรัฐมนตรี ในขณะทีจ่ อมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกลับใหสนับสนุน ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชแกน นําคนสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต” ขึ้นเปนายกรัฐมนตรีคนใหมเขาแขงขันสะทอนใหเห็นวา ดุลอํานาจภายคณะรัฐประหารยังมิไดตกเปนของคายราชครูเสียทัง้ หมด ทําใหตําแหนง นายกรัฐมนตรีมิอาจตกเปนของจอมพลผินได เนื่องจาก แกนนําบางคน เชน จอมพลสฤษดิ์ และ 116

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000700010001-4 , 2 January 1952, “Split in ruling clique presages early Coup”; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A000500340001-8, 23 January 1952, “Reports of Political unrest in Thailand continue”. 117 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Tiang Sirikhan and Robert Anderson, ”Internal Political Situation ,” 31 March 1952. ในรายงาน ฉบับนี้ใหขอมูลวา สมาชิกสภาผูแทนฯในกลุมของเตียง ศิริขันธไดรับการเลือกตั้งถึง 25 คนมากเปน 2 เทานับ แตการรัฐประหาร 2490 เนื่องจาก พวกเขาไดรับการสนับสนุนจากพล ต.อ.เผา ศรียานนท โดยเตียงไดแจงวา แมพล ต.อ.เผาจะรูดีเสมอวา เขาสนับสนุนปรีดี พนมยงค แตพล ต.อ.เผาจําตองเปนพันธมิตรกับเขาเพื่อ จํานวนสมาชิกสภาผูแทนฯที่จะสนับสนุนรัฐบาลใหมีความมั่นคง โดยเตียงใหเหตุผลถึงการที่เขารวมงานกับ รัฐบาล เพราะเขารูดีวาไมสามารถเปลี่ยนแปลงรัฐบาลไดจนกวาดุลอํานาจจะเปลี่ยนไป


121

พล ท.บัญญัติ เทพหัสดินทรฯ และไมตองการใหคายราชครูมีอํานาจทางการเมืองมากกวานี้ สุดทายแลว ตําแหนงนายกรัฐมนตรีจึงตกกลับไปสูจอมพล ป.พิบูลสงครามอีกครั้ง118 ดังนัน้ จะ เห็นไดวา การกลับมาเปนนายกรัฐมนตรีของจอมพล ป. หลังการรัฐประหาร 2494 นัน้ เขามี อํานาจทางการเมืองลดลง โดยอํานาจของเขาวางอยูบนความสามารถในการดุลอํานาจภายใน คณะรัฐประหาร ชวงเวลาดังกลาว พล ต.อ.เผา ศรียานนทไมแตเพียงพยายามผลักดันใหตนเองกาวขึ้นไป มีบทบาททางการเมืองภายในอยางโดดเดนดวยการเปนมิตรกับ“กลุมปรีดี”ผานเตียง ศิริขันธเทานัน้ แตเขายังไดพยายามเขาไปมีอิทธิพลในกองทัพอีกครั้ง หลังจากที่เขาไดหันมาทํา หนา ที่ตํารวจเปนเวลานาน119 อีกทั้ง เขายังไดพยายามขยายเครือขายอํานาจทางการเมือง ออกไปนอกประเทศ ดวยการติดตอกับกลุมฝายซายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน การอนุญาต ใหซัน หงอก ทัน ผูนาํ ฝายซายในกัมพูชาเขามาในไทย และรวมมือกับอารีย ลีวีระ บุคคลที่สหรัฐฯ เห็นวาเปนคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ การขยายเครือขายไปยังกลุม การเมืองตางๆของเขาเปนการสราง ฐานอํานาจทีม่ ั่นคงที่ยากแกการโคนลมในอนาคต 120 ไมแตเพียงพล ต.อ.เผา ศรียานนทเทานัน้ ที่พยายามเปนมิตรกับเตียง ศิริขันธ แตจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตก็มีความพยายามเชนเดียวกัน นอกจาก ที่จอมพลสฤษดิ์จะพยายามสราง พันธมิตรกับ“กลุมรอยัลลิสต” แลวเขายังพยายามผูกมิตรกับสมาชิกสภาผูแทนภาคอีสานกลุม ของเตียงดวยการประกาศแกไขปญหาของภาคอีสานและเรียกรองใหเตียงชวยเหลือเขาในทาง การเมือง จนนําไปสูการประชุมระหวางจอมพลสฤษดิ์และเตียง 2 ครั้ง อยางไรก็ตามในทาง เปดเผยนัน้ เตียงปฏิเสธความชวยเหลือจอมพลสฤษดิ์ เนือ่ งจากเขารวมมือกับพล ต.อ.เผาแลว แตในทางลับนั้น เขาไดสงพวกของเขาไปชวยจอมพลสฤษดิ์ 121 ในที่สุดพันธมิตรทางการเมือง 118

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A000600110001-2, 7 March 1952, “Political showdown in Thailand reportedly imminent ”; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 119 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A001200230001-4, 10 September 1952, “General Phao reportedly negotiating with former Thai army leaders”. พล ต.อ.เผา ศรียานนทพยายามเจรจากับอดีตนายทหารที่เกี่ยวของกับการ“กบฎเสนาธิการ” โดยเขาสัญญาวาจะผลักดันให อดีตนายทหารกลับเขาสูราชการอีกครั้ง แตนายทหารหนึ่งในนั้นปฏิเสธ สวนอีกคนหนึ่งตองการกลับเขารับ ราชการเมื่อไดรับการนิรโทษกรรม 120 NA, FO 371/101168, Chancery to Foreign Office, 21 July 1952. 121 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Tiang Sirikhan and Robert Anderson, ” Internal Political Situation,” 9 October 1952.; NARA, RG


122

ระหวางเตียงและพล ต.อ.เผาก็หกั สะบัน้ ลง โดยเตียงหันมาสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์เพื่อในการ ทาทายอํานาจคายราชครูอยางเต็มที122 ่ 4.9 การปราบปรามขบวนการตอตานสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป. ตั้งแต สงครามเกาหลีเริ่มตนขึ้นและรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดสงทหารเขารวม ในสงครามดังกลาวนัน้ ปญญาชนฝายซายหลายกลุมไดเคลื่อนไหวตอตานสงครามเกาหลี สหรัฐฯและรัฐบาลภายใตชอื่ วา“ขบวนการสันติภาพ”และ“ขบวนการกูช าติ” 123 แตความเคลื่อน ไหวดังกลาวกลับมิไดถูกปราบปรามจากรัฐบาลจอมพล ป. ทําให สหรัฐฯเริ่มเกิดความไมไววางใจ ตอความมุง มัน่ ในการตอตานคอมมิวนิสตของไทย เนื่องจาก สหรัฐฯไดรับรายงานเสมอๆวา พล ต.อ.เผา ศรียานนทมีการติดตอลับๆกับ“กลุมปรีดี”124 ฮันนาห เลขานุการโทประจําสถานทูต สหรัฐฯ∗ ไดพบพล ต.อ.เผาในเดือนสิงหาคม 2495 เพื่อสอบถามถึงทาทีของรัฐบาลไทยในการ ตอตาน“ขบวนการสันติภาพ”และ“ขบวนการกูชาติ”ที่มคี อมมิวนิสตอยูเบื้องหลัง เขาไดแจงกับ พล ต.อ.เผาวา “ หากมีการคุกคามใดๆหรือการลุกฮือใดๆในไทย ตํารวจไทยจะทําอยางไรกับภัย รายแรงที่เกิดขึ้น” อีกทั้ง “ผูมีอํานาจในวอชิงตัน ดี.ซี. คาดหวังวาตํารวจจะสามารถรักษาเสถียร ภาพทางการเมืองภายในของไทยได “ พล ต.อ.เผา ไดตอบเขาวา ขบวนการสันติภาพเปนเพียง “เสือกระดาษ” การรักษาเสถียรภาพการเมืองภายในของไทยเกิดขึ้นจาก “เพื่อนอเมริกันและไทย 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for August-September 1952 ,” 27 October 1952. 122 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Tiang Sirikhan and Robert Anderson, ”Internal Political Situation,” 9 October 1952. 123 โปรดดู ความเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสตและกลุมฝายซายในชวงเวลาดังกลาวเพิ่มเติมใน Somsak , “The Communist Movement in Thailand”. 124 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A001300150001-2, 13 August 1952, “Phao denies Thai police knew of departure of Peiping delegates”. ∗

นอรแมน ฮันนาห ทํางานใหกับซีไอเอ มีบทบาทในการสนับสนุนใหตํารวจจับภริยาและบุตรชายของ เขาในกรณี“กบฎสันติภาพ”ในป 2495 (ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐ ราษฎรจีน, หนา 108-109). พูนศุข พนมยงค ภริยาของปรีดี ไดบันทึกวา ในระหวางที่เธอจับกุมถูกคุมขังที่ สันติบาลเธอไดเคยเห็น พล ต.อ.เผา ศรียานนทตอนรับชาวอเมริกัน 2 คน ในยามดึก คนแรกเปนชาวอเมริกันที่ เคยเปนอดีตโอเอสเอสที่เขามาไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คนที่สองคือ ฮันนาห เจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯที่ ทําหนาที่การขาว ซึ่งเคยเปนกงสุลสหรัฐฯผูเคยขีดฆาวีซาปรีดีที่เซี่ยงไฮ (พูนศุข พนมยงค, 101 ปรีดี-90 พูนศุข, [กรุงเทพฯ: ลลิตา สุดา สุปรีดา ดุษฎี วาณี พนมยงค, 2545], หนา 125).


123

ที่จะรวมมือกันในการปองกันภัยคุมคามนี้ ” พล ต.อ.เผาไดกลาวย้าํ กับเขาวา ขอใหรกั ษาการ สนทนาลับสุดยอดนี้ไว นอกจากนี้ พล ต.อ.เผาไดบอกตอไปวา สิง่ สําคัญสําหรับนโยบายของพล ต.อ.เผา คือ ความจริงใจระหวางเขากับฮันนาหและสหรัฐฯ พล ต.อ.เผาขอใหการสนทนานี้เปน ความลับสุดยอด ฮันนาหตอบเขาวา ความรวมมือที่ใกลชดิ ระหวางกันนีจ้ ะตอเนื่องและขยายตัว ตอไป125 จากการที่ สหรัฐฯไดเริ่มสงสัยความเคลื่อนไหวของ พล ต.อ.เผา ศรียานนทติดตอกับ เตียง ศิริขันธ และสุรีย ทองวาณิชย ซึ่งเปน “กลุมปรีดี” ทําใหกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯเริ่มเกิด ความสงสัยตอทาทีของรัฐบาลไทยที่กาํ ลังจะเปลี่ยนฝายจากตะวันตกไปตะวันออกอันจะมีผลตอ ความชวยเหลือทางการทหารที่สหรัฐฯจะใหแกไทย ในตนเดือนพฤศจิกายน 2495 จอมพล ป. พิบลู สงครามสั่งใหทูตทหารที่วอชิงตัน ดี.ซี.ไปชี้แจงใหกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯมีเขาใจที่ถกู ตอง ตอไทย126 ในที่สดุ ตนเดือนพฤศจิกายนนัน้ เอง รัฐบาลจําเปนที่จะตองแสดงความชัดเจนในการ ดําเนินนโยบายตอตานคอมมิวนิสตใหประจักษแกสหรัฐฯนําไปสูการแตกหักกับ“ขบวนการ สันติภาพ”และ“ขบวนการกูช าติ”ที่ไดรับการสนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย127 จากนั้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน พล ต.อ.เผาไดเสนอพระราชบัญญัติการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต เขาสูสภาและผาน 3 วาระรวดในวันเดียวอยางไมเคยมีมากอน สแตนตัน ทูตสหรัฐฯเห็นวา การ จับกุมนายทหาร และปญญาชน นักหนังสือพิมพไทยฝายซายจํานวนมาก และการออกกฎหมาย นี้เปนการแสดงความจริงใจเปนครั้งแรกของรัฐบาลจอมพล ป.ในการตอตานคอมมิวนิสต หลังจากที่รัฐบาลเขารวมตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯมานานหลายป 128 เชา ฉบับ 13 125

NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4186, Memorandum of Conversation General Phao and Hannah, “Current Politics,” 16 August 1952. 126 NA, FO 371/101168, Wallinger to Foreign Office, 27 November 1952.; Wallinger to Foreign Office, 28 November 1952. 127 Somsak, “The Communist Movement in Thailand,” pp. 335-340. ความเคลื่อนไหวของทั้ง สองขบวนการนี้เปนสวนหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสตที่มุงโจมตีสหรัฐฯและรัฐบาล มีการออกใบปลิวที่ปลิวโจมตี สหรัฐฯเปน “จักรรดินิยม” “นักบุญที่มือถือสากปากถือศีล โจมตีรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามวา “ทําตัวเปน สมุนรับใชจักรวรรดินิยมอเมริกา” “ทําตัวไปอยูใตเบื้องบาทาของจักรวรรดินิยม” ตองการใชไทยเปนฐานทัพใน เอชียและตองการ “สูบ” ทรัพยากรธรรมชาติ และใชไทยเปนฐานทํา “ทําสงครามประสาท” ตอตานคอมมิวนิสต ใบปลิวเหลานี้ สถานทูตสหรัฐฯไดสงกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.(NARA, RG 59 Central Decimal File 19501954 Box 4189, “แถลงการณขบวนการกูชาติ ฉบับที่ 7,” 24 มิถุนายน 2495). 128 “Stanton to The Secretary of States, 14 November 1952,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12,(Washington D.C.: Government Printing Office, 1987), p.657.;


124

พฤศจิกายน ลงการใหสัมภาณของพล ต.อ.เผาวา การจับกุมครั้งนี้ไดรบั แรงกดดันจากสหรัฐฯ และอังกฤษในการปราบปรามคอมมิวนิสต ตอมาสแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดนําคําใหสัมภาษณของ พล ต.อ.เผาทีก่ ลาววา สหรัฐฯอยูเบื้องหลังการจับกุม“ขบวนการสันติภาพ”แจงใหจอมพล ป. ทราบ แตจอมพล ป. ไมไดปฏิเสธขอเท็จจริงดังกลาว เขากลาววา คําใหสัมภาษณของพล ต.อ. เผา “ไมเปนการดี” 129 ในขณะที่ วิทยุปกกิง่ ไดกลาวโจมตีการจับกุม“ขบวนการสันติภาพ”วา การ จับกุมครั้งนี้ไดรับคําสั่งจากจักวรรดินิยมตะวันตก130 ภายหลังการจับกุมขบวนการตอตานสหรัฐฯและรัฐบาลครั้งใหญแลว ในตนป 2496 สแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดเรียกรองให สหรัฐฯใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแก รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตอไป เขารายงานวา จอมพล ป. ไมแตเพียงมีทา ทางที่เปนมิตร และใหความรวมมือกับสหรัฐฯเทานัน้ แตยังสามารถถวงดุลอํานาจระหวางกลุมทหารได ดังนัน้ การทํางานรวมกันระหวางสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป.จะทําใหนโยบายของสหรัฐฯสําเร็จได อยางไรก็ตาม สแตนตัน ไดเสนอแนะกลับไปยังกระทรวงการตางประเทศวา สหรัฐฯควรลดการ แทรกแซงทางการเมืองภายในของไทย เพราะขณะนี้ คนไทยมีความรูสึกชาตินยิ มเพิ่มขึน้ เนื่องจาก พวกเขามองวา รัฐบาลไดกลายเปนหุน เชิดของสหรัฐฯแลว 131

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A000900470001-0, 6 December 1952, “Thai Premier concerned over Communist activities”; หจช.บก.สูงสุด 1 / 668 กลอง 24 เรื่อง พระราชบัญญัติการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต พ.ศ.2495 (13-21 พฤศจิกายน 2495). 129 “Stanton to The Secretary of States, 14 November 1952,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, p.656.; NA, FO 371/101168, Whittington to Foreign Office, 13 November 1952. 130 หจช.(2) สร. 0201.89 / 10 การสนับสนุนสันติภาพของคอมมิวนิสต(23 พฤศจิกายน 2493-13 มีนาคม 2496) นายวรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 29 พฤศจิกายน 2495. 131 “Stanton to The Department of States-Summary of Thai Political and Economic Situation as of January 1953-23 January 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, pp.659-660.


บทที่ 5 ไอเซนฮาวรกับการสรางความแข็งแกรงให กลุมทหารและกลุมตํารวจไทย 2496-2497 5.1 นโยบายตางประเทศของไอเซนฮาวรตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย สหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดี ดไวต ดี.ไอเซนฮาวร (Dwight D. Eisenhower) (20 มกราคม 2496-20 มกราคม 2504) เปนชวงเวลาทีถ่ ือไดวา เปนจุดเปลี่ยนที่สําคัญของ นโยบายตางประเทศสหรัฐฯตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เนื่องจาก ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมนี โยบายที่เขมขนและมุงตรงตอภูมภิ าคและไทยเปนอยางมากผานความชวยเหลือทาง การทหารและการดําเนินสงครามจิตวิทยาในการตอตานคอมมิวนิสต สาเหตุสาํ คัญของการตัด สินใจดําเนินนโยบายตางประเทศดังกลาวตอภูมิภาคนั้น นับตั้งแตการลมสลายของจีน การเกิด สงครามเกาหลี และการดําเนินนโยบายปราบปรามคอมมิวนิสตในอินโดจีนอยางรุนแรงเนื่องจาก สหรัฐฯวิตกถึงการลมสลายของภูมิภาคตามทฤษฎีโดมิโน ซึง่ มีผลทําใหสหรัฐฯสูญเสียแหลงผล ประโยชนของสหรัฐฯในเอเชียตะวันออกไกล ดวยเหตุนี้ สหรัฐฯจึงจําเปนจะตองทุมงบประมาณ ลงในภูมิภาคเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชนที่ไหลกลับคืนมาสูสหรัฐฯในเวลาตอไป1 และเมื่อ สถานการณในอินโดจีนตึงเครียดมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิง่ เวียดมินหมีแนวโนมทีจ่ ะชนะฝรัง่ เศส สหรัฐฯประเมินวา เวียดมินหจะบุกเขาไทยทางอีสานดวยการสนับสนุนจากจีนเปนเหตุใหสภา ความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯมีนโยบายทําใหการเมืองของไทยมีเสถียรภาพ หาไมแลวไทยอาจไม สามารถตานทานการรุกรานจากคอมมิวนิสตได 2 ดวยเหตุนี้ กระทรวงการตางประเทศสหรัฐฯ โดย วอลเตอร เบลเดล สมิธ(Walter Bendell Smith)ปลัดกระทรวงฯไดสั่งการใหสถานทูตสหรัฐฯไทยดําเนินการตามนโยบาย ดังนี้ ทําใหรัฐบาลไทยและการตอตานคอมมิวนิสตในไทยมีเขมแข็ง เพิม่ การรับรูเกี่ยวกับสหรัฐฯใน ทางบวกใหกับคนไทย และเพิ่มโอกาสใหนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯประสบความสําเร็จใน ไทยแมจะมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลก็ตาม3 ทั้งนี้ นับตั้งแตไทยไดลงนามในขอตกลงทางการทหาร 1

The Pentagon Papers, p. 6. The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4 NSC summery of discussion, National Intelligence Estimate Resistance of Thailand, Burma ,and Malaya to Communist Pressures in the event of a Communist Victory in Indochina in 1951, 15 March 1951. 3 NARA, RG 469 Entry 1385, U.S. Policy in Thailand, 7 August 1951. 2


125

สหรัฐฯในป 2493 ทําใหสหรัฐฯไดเริ่มเขามาจํากัดความเปนอิสระในการตัดสินใจของไทยมากขึน้ เรื่อยๆ 4 พรอมกันนัน้ สหรัฐฯยังคงผลักดัน โครงการขอที่สี่ตอไปดวยการใหความชวยเหลือทาง เศรษฐกิจและเทคนิค เพื่อกระตุนใหภูมิภาคนี้สามารถฟน ฟูการคาระหวางกันและเพิม่ การคาโลก เสรี ตลอดจนใหมีการตอตานคอมมิวนิสตดวยการเริ่มนโยบายความชวยเหลือทางการทหารตอ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวยแผนปฏิบัติการทางการทหาร และการโฆษณาชวนเชื่อผาน กิจกรรมทางวัฒนธรรมใหกบั ผูคนภายในภูมิภาคใหมากขึ้นเพื่อเปนพลังเกื้อหนุนใหประเทศตางๆ ที่เปนพันธมิตรกับโลกเสรีตอไป สําหรับนโยบายของสหรัฐฯตอไทยนัน้ สหรัฐฯเห็นวา ไทยมี ความสําคัญในฐานะประเทศสงออกขาวและมีทรัพยา-กรที่จะชวยฟน ฟูญี่ปุน และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย ดังนัน้ หากสหรัฐฯสูญเสียเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยไปจะมีผลกระทบอยางมาก ทางการเมืองและเศรษฐกิจของญี่ปุนและเอเชียในภาพรวม5 ดังนัน้ สหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรจึงเปนชวงที่ซีไอเอมีบทบาท อยางมากในการดําเนินการสงครามจิตวิทยา การปฏิบัติการลับ การจัดตั้งกองกําลังกึ่งทหารเพื่อ ทําสงครามกองโจร การโฆษณาชวนเชื่อ การดําเนินการทางการเมืองทั่วโลกเพื่อปองมิใหเกิด ทฤษฎีโดมิโนตามที่สหรัฐฯมีความวิตก6 สําหรับไทยนัน้ สหรัฐฯไดใหความสนใจในไทยในฐานะ เปนแหลงยุทธศาสตรที่สําคัญในภูมิภาคอันสะทอนใหเห็นจากสหรัฐฯมีเจาหนาที่ปฏิบัติในไทย ทั้งประจําสถานทูต การขาว การทหารในกลางป 2496 มีจํานวนถึง 245 คน7 ตนเดือนพฤษภาคม 2496สถานการณการสูรบระหวางเวียดมินหกับฝรั่งเศส มีแนวโนมที่ ที่ฝรั่งเศสจะปราชัย สแตนตัน ทูตสหรัฐฯและหัวหนาหนวยแมก(MAAG)ไดเรียกรองใหสหรัฐฯ 4

Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 327. 5 “1952 Policy Statement by U.S. on Goals in Southeast Asia,” in The Pentagon Papers, pp. 27-29. 6 Michael J. Hogan, Thomas G. Patterson, Explaning the History of American Foreign Relation,(Cambridge: Cambridge University Press, 1991), p. 155. 7 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers, 1953 -1961, Psychological Strategy Board Central Files Series Box 16, Summary of Department of State Revision of PSB-D 23, 24 July 1953. อดีตตํารวจของไทยระดับสูงคนหนึ่งไดบันทึก วา เปอรรี่ ฟลลิปส เปนเจาหนาที่ซีไอเอแตแฝงเขามาในตําแหนงเจาหนาที่สถานทูต ทําหนาที่จารกรรมขาวจาก สถานทูตสหภาพโซเวียตในไทย โดยเจาหนาที่คนดังกลาวปฏิบัติหาขาวในไทยดวยการดักฟงโทรศัพทของ สถานทูตสหภาพโซเวียตในกรุงเทพฯ(พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 226, 157165).


126

สนับสนุนทางการทหารแกไทยเพิ่มขึ้น ตอมา จอหน เอฟ. ดัลเลส(John F. Dulles) รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ ไดเสนอความเห็นตอรัฐมนตรีกลาโหมใหเพิม่ สนับสนุนทาง การทหารแกไทย เขาใหเหตุผลสนับสนุนวา ไทยเปนจุดยุทธศาสตรสําคัญในการตอตานการ ขยายตัวคอมมิวนิสตในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยกําลังถูกคุกคามจากพวก คอมมิวนิสตตามพรมแดนในภาคอีสาน 8 ดวยสถานการณที่เลวรายตอความตองการของสหรัฐฯ ที่ตองการตอตานคอมมิวนิสตในเอเชีย ทําใหไอเซนฮาวร อนุมัติแผนการสนับสนุนอยางเรงดวน ทางการทหารแกไทย ดวยการสงเสนาธิการทหารสนับสนุนการฝกการใชอาวุธและเรงใหการ สนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณแกไทย9 จากนัน้ ดัลเลส ไดแจงตอพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯ วา สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือในหลายรูปแบบแกไทย เชน อาวุธ การสงนายทหารระดับสูงเขา มาใหความชวยเหลือ การสงเจาหนาที่ไปสังเกตุการณชายแดนไทยถึงความเคลื่อนไหวของพวก คอมมิวนิสตทชี่ ายแดน และสหรัฐฯจะสงอาวุธ กระสุน ใหแกไทยอยางเรงดวนที่สุด10 รายงานการขาวระดับสูงของสหรัฐฯขณะนั้นประเมินสถานการณวา หากเวียดมินหบุก เขาลาวจะทําใหความสามารถในการตานทานของไทยสิน้ สุดลง เนื่องจาก กองทัพบกไทย แมจะ มีกําลังพล ประมาณ 50,000 คน แตมีอาวุธ ยุทโธปกรณต่ํากวามาตรฐานของสหรัฐฯ สวนตํารวจ มีกําลังพล 38,000 คน แตมภี าระกิจหนาที่กวางขวางตัง้ แต การรักษาความสงบภายใน และการ รักษาชายแดน แตขาดแคลนอาวุธหนัก ไมมีหนวยฝกเฉพาะ ขาดแคลนพาหนะ กลาวสรุป สหรัฐฯเห็นวา กองทัพและตํารวจของไทยไมสามารถปราบปรามคอมมิวนิสตที่จะแทรกซึมเขามา ได 11 ดังนั้น ดวยเหตุการณทแี่ ปรผันอยางรวดเร็วในอินโดจีนทําใหประธานาธิบดีไอเซนฮาวรได อนุมัติแผนการของกระทรวงกลาโหมที่มีการคาดการณตามทฤษฎีมิโนวา การสูญเสียประเทศ ใดๆในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตจะนําไปสูการสูญเสียทัง้ ภูมิภาค และยอมมีผลกระทบที่รายแรง ตอเสถียรภาพและความมัน่ คงของยุโรปดวย12

8

“Dulles to Wilson-The Secretary of Defense, 5 May 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 666. 9 The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4 NSC summery of discussion, Minutes of the 143 rd Meeting of the National Security Council, 6 May 1953. 10 “Memorandum of Conversation by the officer in charge of Thai and Malayan Affaires (Landon), May 6 , 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 672. 11 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A001200150001-3, 19 May 1953, “NIE-96: Thailand’s Ability to withstand Communist Pressure or attacks”. 12 The Pentagon Papers, p. 7.


127

ตอมา ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมอบหมายให ซี. ดี. แจคสัน (C.D. Jackson)ที่ปรึกษา ประธานาธิบดีเตรียมการเสนอแผนการใชไทยเปนฐานปฏิบัติการจิตวิทยาเพื่อตานคอมมิวนิสต ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต13 เขาไดสอบถามโรเบิรต คัตเลอร (Robert Cutler) ผูชวย พิเศษของเขาถึงบุคคลที่เหมาะสมในการดําเนินงานแผนสงครามจิตวิทยาระหวางไทยและสหรัฐฯ คัทเลอรไดเสนอ ชื่อ วิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan)∗ เปนทูตสหรัฐฯประจําคนใหม แทนสแตนตัน เนื่องจากโดโนแวนมีประสบการณ และมีความคุน เคยบุคคลสําคัญตางๆในไทย มากกวา เขาจึงมีความเหมาะสมที่จะดําเนินการประสานแผนการที่มีความหลากหลายระหวาง สหรัฐฯและไทยใหสําเร็จได 14 กระแสขาวการตั้งโดโนแวนมาเปนทูตสหรัฐฯคนใหมประจําไทยไดสรางความวิตกใหกับ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมาก เนือ่ งจากรัฐบาลจอมพล ป. เห็นวาโดโนแวน เคยใหการ สนับสนุน “กลุม ปรีดี” ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทําใหรฐั บาลไทยระแวงวา โดโนแวนจะ สนับสนุนปรีดี พนมยงคใหกลับมามีอํานาจทางการเมืองไทยอีก ดวยเหตุนี้ โดโนแวนจึง แสดงออกตอรัฐบาลวา เขาไมสนใจความขัดแยงทางการเมืองภายในและเขาไมใชพวกปรีดี และ ไดแสดงใหรัฐบาลรูวา ความเคลื่อนไหวของอดีตโอเอสเอสพยายามโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. นัน้

13

Dwight D. Eisenhower, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4 NSC summery of discussion, Minutes of the 143 rd Meeting of the National Security Council, 6 May 1953. ∗

วิลเลี่ยม เจ.โดโนแวน (2426-2502) เปนทูตสหรัฐฯประจําไทยระหวางสิงหาคม 2496-สิงหาคม 2497 เขาเปนคนนิวยอรค จบกฎหมายจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เคยเปนอัยการ ตอมาเดินทางมาตะวันออก ไกลในป 2463 เคยเปนที่ปรึกษาเอกอัคราชทูตสหรัฐฯประจําญี่ปุน เคยเขาไปลืบราชการลับในรัสเซียหลังการ ปฏิวัติ ประธานาธิบดีรูสเวลทไดสงไปยุโรปสืบราชการลับจากนาซีและทําหนาที่สืบราชการลับตั้งแตป 2483 (Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan. (New York: Vintage Books,1982), p. 824. 14 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Smith-Chairman of Operations Coordinating Board from Robert Cutler-Special Assistant to the President, 10 September 1953.; Memorandum by Robert Cutler , Special Assistant to The President for National Security Affaires to The Chairman of The Operations Coordination Board (Smith), 10 ,August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp.686-687.; Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan, p. 824.


128

ไมใชสิ่งที่เขาใหการสนับสนุนเลย15 ตอมา สมิธ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ ไดเรียกพจน สาร สิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯมาพบเพื่อยั่งทาทีไทยตอการทีส่ หรัฐจะแตงตัง้ โดโนแวนอีกครั้งหนึง่ พจนไดโทรเลขดวนกลับกรุงเทพฯ ไมกวี่ ันหลังจากนั้น รัฐบาลไทยไดตอบรับทูตสหรัฐฯคนใหม 16 ทั้งนี้ ภารกิจสําคัญที่ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมอบหมายให วิลเลีย่ ม โดโนแวน ปฏิบัติการในเอเชียตะวันออกเฉียงใตโดยเฉพาะตอในไทย คือ การสราง“ปอมปราการ”(Bastion of resistance)ของการตอตานคอมมิวนิสตของสหรัฐฯประจําภูมิภาคขึ้นในไทย โดยใหเขาดําเนิน งานรวมกับหลายหนวยงานของสหรัฐฯ ดังนัน้ เขาจะตองทํางานประสานงานหลายหนวยงานทาง ลับในปฏิบัติการทางสงครามจิตวิทยาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสรางความเปนไปไดที่จะให สหรัฐฯเขามาปฏิบัติการหลายรูปแบบในไทยและใหใชประโยชนจากคนไทยใหมากทีส่ ุด เพื่อ รองรับภารกิจอื่นๆของสหรัฐฯในภูมิภาคทีจ่ ะมีตอไป 17 เขาเห็นวา ภารกิจใหมของเขาในไทย คือ “เอกอัครราชทูตนักรบ”(Warrior-Ambassador)18 5.2 “เอกอัครราชทูตนักรบ”กับสราง “ปอมปราการ” ทางการทหารในไทย สาเหตุ สําคัญที่สหรัฐฯเลือกไทยเพื่อสรางปอมปราการในการตอตานคอมมิวนิสตไมแต เพียงภูมิศาสตรที่เหมาะสมเทานั้น แตซีไอเอไดเคยรายงาน มุมมองของสภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯตอไทยวา ที่ผา นมาไทยดําเนินนโยบายตางประเทศตามสหรัฐฯ โดยไทยไดยอมรับความ ชวย เหลือทางเศรษฐกิจและการทหารจากสหรัฐฯ และไทยไมพยายามเขาไปมีอิทธิพลเหนือ 15

Dwight D. Eisenhower Library, John Foster Dulles Paper 1951-1959, Personnel Series Box 1, Robertson to Secretary of State, Possible designation of General William Donovan as Ambassador to Thailand, 2 June 1953. 16 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0005 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายวิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย พจน สารสิน ถึง รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ 28 มิถุนายน 2496 และ วรรณไวทยากร ถึง เอกอัครราชทูต ณ กรุง วอชิงตัน 2 มิถุนายน 2493 ถวายสาสน 4 กันยายน 2496 , “Memorandum of Conversation by the officer in charge of Thailand and Malayan Affaires (Landon), 29 July 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp.679-680. 17 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire : Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Cutler from W.B. Smith, 11 September 1953.; Anthony Cave Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan, p. 824. 18 Ibid., pp. 822-823.


129

ประเทศเพื่อนบานมากเกินไปจนกระทั่งถูกมองจากประเทศอื่นๆวาไทยเปนรัฐบริวารของสหรัฐฯ ดังนัน้ ไทยจึงมีความเหมาะสมในทางยุทธศาสตรที่สหรัฐฯจะดําเนินการสรางปอมปราการ ตอตานคอมมิวนิสตใหเกิดขึ้น 19 ตอมา ตนเดือนสิงหาคม 2496 สภาความมัน่ คง สหรัฐฯไดอนุมัติ ใหใชแผนสงครามจิตวิทยาในประเทศไทย(U.S. Psychological Strategy based on Thailand) โดยโดโนแวนเปนผูริที่สาํ คัญในการเสนอแผนสงครามจิตวิทยาตอไทย20 แผนสงครามจิตวิทยานี้ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณประจําป 1954 จํานวน 1,500,000 ดอลาร21 โดยมีหลายหนวย งานที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม สํานักขาวสารอเมริกัน(USIA) และซีไอเอ22 ภาระกิจสําคัญของแผนสงครามจิตวิทยาในไทย คือ สหรัฐฯมีความตองการทําใหกองทัพ และประชาชนไทยใหความรวมมือกับสหรัฐฯในการตอตานคอมมิวนิสต ดวยการลดทอนโอกาสที่ ไทยจะถูกคุกคามจากคอมมิวนิสต การใหความชวยเหลือทางการทหารและขยายปฏิบัติการกอง กําลังกึ่งทหาร(Para-military)เพื่อทําใหไทยกลายเปน “ปอมปราการ”ทางการทหาร การใหความ ชวย เหลือทางเศรษฐกิจระยาวที่มุงเนนไปยังภาคอีสานเพื่อลดทอนการตอตานสหรัฐฯ การใช โครงการจิตวิทยาทําใหคนไทยมีความผูกพันธเปนหนึ่งเดียวเพื่อใหความรวมมือและสนับสนุนใน สิ่งที่สหรัฐฯตองการ อีกทัง้ การขยายกิจกรรมของสหรัฐฯในไทยผานแผนสงครามจิตวิทยา และ การกระตุนใหไทยขยายโครงการสงครามกองโจรและกองกําลังกึง่ ทหาร ตลอดจน การทําใหไทย

19

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP80R01443R000100300007-2, 13 August 1953, “NSC briefing Thailand”. 20 “Memorandum of Conversation at the 161 st Meeting of the National Security , 9 August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 685.; Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers, 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service Box 2, Memorandum for James S. Lay, Jr.-Executive Secretary National Security Council, Special Report on Thailand, 12 July 1954. 21 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record, 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), U.S. Psychological Strategy based on Thailand, 8 September 1953. 22 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record, 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Smith-Chairman of Operations Coordinating Board from Robert Cutler-Special Assistant to the President, 10 September 1953.


130

เปนฐานปฏิบตั ิการสงครามจิตวิทยาตลอดทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อขยายอิทธิพลของ สหรัฐฯตอไป 23 ในรายงานของพล.ต.วิลเลีย่ ม เอ็น. กิลโมร((Maj. Gen William N. Gillmore)หัวหนาแมค ไดประเมินวา ความสามารถในการรักษาความมัน่ คงภายในและภายนอกของไทยมีไมเพียงพอ ดังนัน้ สหรัฐฯจะตองใหความชวยเหลือทางอาวุธและที่ปรึกษาทางการทหารแกรัฐบาลไทยซึ่งยัง ผูกพันธกับการตอตานคอมมิวนิสต โดยทัว่ ไปแลวคนไทยนิยมและนับถือคนอเมริกนั สังคมไทย ไมมีปญหาความยากจนและความรูสึกตอตานอาณานิคม สวนนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี มีความนิยมสหรัฐฯ ดวยเหตุนี้ ไทยสามารถที่เปนแหลงทรัพยากรและฐานปฏิบัติการจิตวิทยาที่ ตอบสนองผลประโยชนของสหรัฐฯในภูมภิ าคไดเปนอยางดี 24 ตอมา โดโนแวน ทูตสหรัฐฯ ประเมินวา รัฐบาลไทยมีทัศนคติที่เปนมิตรกับสหรัฐฯ และยอมรับคําแนะนําและขอเสนอแนะจาก สหรัฐฯ รัฐบาลไทยยังคงตองการความชวย เหลือทางเศรษฐกิจและอาวุธจากสหรัฐฯ25 สวน รายงานของคณะกรรมาธิการพิเศษของสภาผูแทนราษฎรสหรัฐฯประเมินวา ไทยยังคงมี เสถียรภาพทางการเมืองมากกวาประเทศเพื่อนบาน แมไทยจะมิไดเปนประชาธิปไตย แตไทยมี องคประกอบที่เขมแข็งจากการมีประวัติศาสตรที่ยาวนาน ทําใหไทยมีความเหมาะสมที่สหรัฐฯจะ ใชเปนพันธมิตรที่มีประสิทธิภาพได ในขณะที่ประเทศในแถบนี้สว นใหญมีนโยบายตางประเทศ เปนกลาง สําหรับทาทีของไทยนั้นมีแนวโนมทีจ่ ะเขารวมกับประเทศที่มีความเขมแข็งทาง การทหารมากกวา ในรายงานเสนอใหสหรัฐเพิ่มความชวยเหลือทางการทหารแกไทยใหมากขึ้น และย้ําวาการใหความชวยเหลือจะใหกับประเทศที่อยูฝา ยสหรัฐฯมากกวาใหประเทศที่เปนกลาง 26

การประชุมสภาความมั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ ครั้งหนึง่ ในป 2497 เห็นวา หากสหรัฐฯ สูญเสียเอเชียตะวันออกเฉียงใตจะมีผลกระทบตอหลายประเทศในโลกเสรี เนื่องจากภูมิภาค 23

“U.S. Psychological Strategy Based on Thailand”(PSB-D23), 14 ,August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12,(Washington : Government Printing Office,1987), pp. 688-691. 24 “Gillmore-The Chief of the Joint Military Mission to Thailand to The Joint Chief Staff, 30 September 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, pp. 695-697. 25 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4187, Donovan to Secretary of State, 17 October 1953. 26 Special Study Mission to Southeast Asia and The Pacific report by Walter H. Judd, Minnesota; Margerite Stitt Church, Illinois; E. Ross Adair, Indiana; Clement J. Zablocki, Wisconsin, 29 January 1954, printed for the used of the Committee on Foreign Affaire,( WashingtonD.C.: United States Government Printing Office, 1954), pp. 56-59.


131

ดังกลาวเปนแหลงทรัพยากร ธรรมชาติที่สาํ คัญ เชน ยาง ดีบุก ขาว การผลิตน้ํามัน และสินคา ยุทธปจจัย รวมทั้งศักยภาพของการเปนตลาดใหกับสินคาอุตสาหกรรมจากประเทศในโลกเสรี ดังนัน้ วัตถุประสงคของสหรัฐฯ คือ การปกปองและโนมนาวใหประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตรว มมือกับประเทศโลกเสรี สําหรับนโยบายของสหรัฐฯตอไทย คือ การทําใหการ เมืองไทยมีเสถียรภาพ และทําใหไทยยังคงผูกพันธกับสหรัฐฯตอไป ดวยการควบคุมทิศทาง การทหาร เศรษฐกิจ ความชวยเหลือทางเทคนิค และการสนับสนุนโครงการโฆษณาชวนเชื่อและ กิจกรรมทางวัฒนธรรมรวมทั้งปฏิบัติการลับตอไป27 ดวยเหตุที่ การตัดสินใจดานการทหารของสหรัฐฯขณะนัน้ ตั้งอยูบนขอมูลและคําแนะนํา จากชุมชนของสายลับของสหรัฐฯ 28 ทําใหตลอดระยะเวลาที่โดโนแวนดํารงตําแหนงทูตสหรัฐฯ ประจําไทย เขาดําเนินการตอบสนองตอความตองการของสหรัฐฯเปนอยางดี โดยการเรียกรองให สหรัฐฯใหการสนับสนุนทางการทหารแกไทยใหมากขึ้นควบคูไปกับการผลักดันใหซไี อเอมีขยาย กลไกในไทยอยางกวางขวาง โดยเขาไดเริ่มจากการประสานกับอดีตโอเอสเอสกลุมเล็กๆและทํา การขยายเครือขายปฏิบัติการของซีไอเอออกไปจากนั้น เขาไดใชวิธีสมัยใหมทางการเมืองและ การทหารในการปราบปราบการกอกบฏและการตอตานคอมมิวนิสตภายในและตามชายแดน ของไทย29 ในชวงที่เขาปฏิบัตหิ นาทีท่ ูตสหรัฐฯ เขาไดริเริ่มงานหลายประการ เชน การจัดตั้ง หมูบานการทหาร การใชสื่อสารมวลชนสมัยใหมทําสงครามจิตวิทยา การใหการสนับสนุนอาวุธ สมัยใหม เครื่องบินไอพน และเรือเร็วใหกบั กองทัพและตํารวจ โดยเฉพาะอยางยิง่ การฝกอบรม ใหกับตํารวจ และการจัดตั้งการขาวทางการทหารขึ้นในประเทศไทย30 ในสายตาของทูตอังกฤษไดประเมินอิทธิพลของสหรัฐฯตอไทยในชวงเวลานัน้ วา สหรัฐฯ มีอิทธิพลตอไทยทางเศรษฐกิจและการทหารมากขึน้ เห็นไดจาก การที่สหรัฐฯสงบุคคลสําคัญ เดินทางมาไทยหลายคน เชน รองประธานาธิบดีริชารด นิกสัน วุฒิสมาชิก วิลเลี่ยม โนวแลนด (William F. Knownland) รวมทัง้ การสงโดโนแวนมาเปนทูตประจําไทยนัน้ ยอมสะทอนใหเห็นวา สหรัฐฯมีความตองการมีอทิ ธิพลโดยตรงตอไทย โดยสหรัฐฯตองการเปลี่ยนใหไทยเปน“ปอม

27

NARA, RG 84 box 2, Top Secret General Record 1947-1958, Statement of Policy by the National Security Council on United States objectives and courses of action with respect to Southeast Asia ,1954. 28 The Pentagon Papers, p.6 . 29 iIbid., p. 825. 30 Ibid., p. 825.


132

ปราการ”ในการตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาค ทูตอังกฤษสรุปวา การดําเนินการตางๆของสหรัฐฯ ในไทยเปนนโยบายตางประเทศที่สาํ คัญของวอชิงตัน ดี.ซี.31 5.3 เพนตากอนกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมทหาร ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรไดสงสัญญาณสองชวงในตนป 2497ใหฝรั่งเศสทราบวา สหรัฐฯพรอมที่จะชวยเหลือฝรั่งเศสดวยการเขาแทรกแซงอินโดจีนดวยกําลัง แมวาขณะนั้น กองทัพฝรั่งเศสจะออนกําลังลงในอินโดจีนแลวก็ตาม การสงสัญญาณจากสหรัฐฯใหกับฝรั่งเศส ชวงแรกเริ่มตนในเดือนมีนาคมซึ่งเปนชวงเวลากอนที่เดียนเบียนฟูจะแตก เนื่องจาก สหรัฐฯ ไม ตองการใหฝรัง่ เศสแพเพื่อใหฝรั่งเศสสามารถรักษาสถาน ภาพของการเปนหนึ่งในสามมหา อํานาจตอไป 32 ตอมา สหรัฐฯสงสัญญาอีกครั้ง ในเดือนพฤษภาคม เนือ่ งจากสหรัฐฯไมเห็นดวย การเปดการเจรจาสงบศึกของฝรั่งเศสกับเวียดมินห แตฝรั่งเศสขณะนัน้ ไมสามารถตานทานการ โจมตีของกองทัพเวียดมินหไดอีกตอไป จึงนําไปสูการเจรจาสงบศึก ณ กรุงเจนีวาที่เกิดขึ้นใน ปลายเดือนเมษายน แตสุดทายแลว ฝรั่งเศสจําตองลงนามยุติการรบกับเวียดมินหจนไปสูการ แบงเวียดนามออกเปน 2 สวน คือ เวียดนามเหนือ และเวียดนามใตที่เสนขนานที่ 17 จากเหตุการณนที้ ําใหรัฐบาลของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรไดสรางแนวคิดทฤษฎีโดมิโนสงผลใหสหรัฐฯมี นโยบายจะเขามามีบทบาทตอเอเชียตะวันออกเฉียงใต33 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมคี วามคิดวา หากสหรัฐฯสูญเสียอินโดจีนจะนําไปสูการสูญเสียเสียไทย พมา มาเลซียและเอเชียตะวันออกเฉียงใตทงั้ หมดในเวลาตอไป34 ดวยเหตุนี้ สหรัฐจึงไดใหความชวยเหลือทางการทหารเพิ่มใหแก กลุมทหารไทย ตั้งแตป 2495, 2496 และ 2497 มีมูลคา 12,000,000 ดอลลาร 55,800,000 ดอลลาร และ 38,900,000 ดอลลารตามลําดับ 35 อีกทัง้ กลุมทหารยอมรับใหจัสแมค (JUSMAG)มีฐานะที่ปรึกษาทางการทหาร และสามารถสงเจาหนาทีเ่ ขาไปในหนวยงานตางของ 31

NA, FO 371/112261, Wallinger to Foreign Office, Annual Report on Thailand for 1953, 18 January 1954. 32 Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam, p. 3.; The Pentagon Papers, p. 5-7. 33 David L. Anderson, Trapped by Success: The Eisenhower Administration and Vietnam, 1953-1961,(New York: Columbia University Press, 1991), p. 73. 34 Dwight D. Eisenhower, Mandate For Change, 1953-1956,(New York: Doubleday & Company, 1963), p. 333. 35 Surachart Bamrungsuk, United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947– 1977, p. 57.


133

กองทัพไทย จากนัน้ กระทรวงกลาโหม สหรัฐฯและกลุม ทหารไทยรวมกันกอตั้งกองบิน ยุทธศาสตรสําหรับชายแดนไทยขึ้น36 ในตนเดือนเมษายน 2497 พล.ร.อ.เออรสกิน ผูช วยปลัดกระทรวงกลาโหมฝาย ปฏิบัติการพิเศษ สหรัฐฯ เรียกรองใหซีไอเอขยายบทบาทที่อยูเบื้องหลังปฏิบัติการลับในไทยให มากขึ้น เนื่องจาก กระทรวงกลาโหม สหรัฐฯเห็นวา ที่ผา นมาบทบาทของซีไอเอจํากัดบทบาท เพียงปฏิบัติการสงครามกองโจรตอตานคอมมิวนิสตเทานั้น 37 ตอมา สภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯมีนโยบายสนับสนุนใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมีเสถียรภาพทางการเมืองเพื่อ ความรวมมือกับสหรัฐฯในการทําใหเกิดเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทําใหไทย ผูกพันธกับการตอตานคอมมิวนิสตในภูมภิ าคและเปนมิตรกับโลกเสรีตอไป โดยสหรัฐฯใหการ สนับสนุนทางการทหาร เศรษฐกิจ เทคนิกอยางเหมาะสม และใหความสําคัญกับการโฆษณาชวน เชื่อในการตอตานคอมมิวนิสตและปฏิบัติการลับของไทยในประเทศเพื่อนบานตอไป 38 อยางไรก็ ตาม รายงานสําหรับประธานาธิบดีไอเซนฮาวรขณะนัน้ ไดประเมินความสามารถทางการทหาร ของไทยขณะนั้นยังคงอยูในระดับศูนย แมวา สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางการทหารแกกลุม ทหารที่ผา นมาหลายปก็ตาม แตกลุมทหารสรางแตเรื่องอื้อฉาว39 5.4 ซีไอเอกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมตํารวจ สาเหตุที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนกลุมตํารวจเพื่อทําหนาที่ปฏิบัติการลับและการรักษา ชายแดนที่ประชิดกับอินโดจีน เนื่องจาก สนธิสัญญาระหวางไทย-ฝรั่งเศสที่ทงั้ สองฝายลงนาม ตั้งแตป 2436 นั้นไดหา มทั้งสองประเทศมีกําลังทหารตามชายแดนในรัศมี 25 กิโลเมตร ดังนัน้ กองทัพจึงไมสามารถทําหนาที่รักษาดินแดนในบริเวณดังกลาวได ดวยเหตุนี้ สภาความมั่นคง 36

พล.อ. จิระ วิชิตสงคราม, “การชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐอเมริกา,” กลาโหม 1, 1 (มกราคม 2497): 76.; หจช.บก.สูงสุด 7 / 5 กลอง 4 รวมเรื่องเกี่ยวกับยศทหาร เชน กฎหมาย ขอบังคับการแตงตัว ขาว เกี่ยวกับการแตงตั้งทหาร ฯลฯ (5 กุมภาพันธ 2495 – 5 เมษายน 2500), บันทึกยอรายงานการประชุมสภา กลาโหม ครั้งที่ 3 เมื่อ 27 เมษายน 2497.; Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan, p. 826. 37 NARA, RG 84 box 1, Top Secret General Records 1947-1958, Memorandum G.B. Erskine to Donovan, 6 April 1954. 38 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service Box 2 , Memorandum for James S. Lay, Jr.-Executive Secretary National Security Council, Special Report on Thailand, 12 July 1954. 39 Library of Congress, CK3100297663, October 1954, Thailand: An American Dilemma.


134

แหงชาติ สหรัฐฯเห็นวา กลุม ตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทมีความยืดหยุน ในการปฏิบัติการ ลับและเปดที่รับภารกิจใหมในการจารกรรมและการรบแบบกองโจรมากกวาทหารที่ถนัดการรบ ในแบบ จึงมอบหมายใหซีไอเอปรับปรุงกําลังตํารวจดวยการผลักดันใหจัดตั้งหนวยงานใหมขนึ้ เชน ตํารวจพลรมเพื่อใหตํารวจมีกําลังที่เปยมดวยสมรรถนะทั้งการรุกและการรับ มีความสามารถ แทรกซึมไปจารกรรมแนวหลังของขาศึกได รวมทัง้ การสนับสนุนจัดตั้งตํารวจตระเวนชายแดน เพื่อดูแลชายแดนของไทยแทนทหาร40 ดวยเหตุที่ ปฏิบัติการของซีไอเอในไทยและภูมิภาคเปนการหาขาวเพือ่ ชวยการกําหนด นโยบายของสหรัฐฯ สงผลใหหนวยสืบราชการลับของสหรัฐฯที่อยูในไทยทั้งในสถานทูตฯและ หนวยงานนอกสถานทูตฯในรูปแบบกิจกรรมตางๆซึ่งมีมากมายจนกระทั่ง “เกลื่อนไปหมด”41 ทัง้ นี้ ปฏิบัติการของซีไอเอมีทงั้ การหาขาว การสงอาวุธ การใชไทยเปนฐานปฏิบัติการลับ การสนับสนุน กลุมการเมืองตางๆ การโฆษณาชวนเชื่อ ภารกิจเหลานีเ้ ปนความลับมาก 42 ในป 2495 ซีไอเอได สงเจาหนาที่จาํ นวน 76 คน แฝงเขามาเปนพนักงานของซีสัพพลายเพื่อฝกการรบใหตํารวจและมี เจาหนาที่ปฏิบัติการลับอีกกวา 200 คนนําโดยจอหน ฮารท(John Hart)∗ หัวหนาเจาหนาที่ซีไอเอ ซึ่งมีความสนิทสนมกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท เขาจึงใหการสนับสนุนกลุมตํารวจอยางเต็มที่ 40

Lobe and Morell, “Thailand’s Border Patrol Police: Paramilitary Political Power,” in Supplemental Military Forces: Reserve, Militarias, Auxiliaries, eds. Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins(Berverly Hills and London: SAGE, 1978), p.158.; Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 20-23.; พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพล รมไทย,หนา 3.; พล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา, “บันทึกความทรงจํา,” ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536), หนา 39.; ตอมา เมื่อกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน(ตชด.)ยายไปหัวหินในป 2496 ความสัมพันธระหวาง พระมหากษัตริยกับตชด.ไดเริ่มขึ้น (Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 24). 41 พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, (กรุงเทพฯ: ไมปรากฎ ปพิมพ), หนา 207. 42 ประดาบ พิบูลสงคราม, “ซี.ไอ.เอ กับประเทศไทย,” สราญรมย 24 ( 2517): 334. ∗

จอหน ฮารทเคยรวมงานกับโดโนแวน ทูตสหรัฐฯ เมื่อครั้งที่โดโนแวนเปนหัวหนาหนวยสืบราชการ ลับของสหรัฐฯหรือโอเอสเอสในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ตอมาในชวง 2495 หนวยงานของซีสัพพลายได ขยายตัว รวมทั้งความสัมพันธที่แนบแนนระหวาง พล ต.อ.เผา ศรียานนทกับเขา นอกจากนี้ ทั้งคูมีผลประโยชน รวมทางการเงินและธุรกิจนอกกฎหมาย เชน การคาประเวณีในกรุงเทพฯ(Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 24.; E. Thadeus Flood, The United States and the Military Coup in Thailand : A Background Study,[California: Indochina Resource Center, 1976], p. 1).


135

ดวยเหตุที่ สหรัฐฯมีแผนกําหนดใหตํารวจพลรมรับผิดชอบปฏิบัติการลับและสงคราม นอกแบบ โดโนแวน ทูตสหรัฐฯ จึงแนะนําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตั้งคณะกรรมการขึ้น ชุดหนึง่ ชื่อวา “คณะกรรมการนเรศวร”เปนเสมือนผูวา จางซีสัพพลายใหทํางานตามโครงการทีซ่ ี ไอเอใหความชวยเหลือแกกลุมตํารวจเพื่อเปนการอําพรางบทบาทของซีไอเอ ดังนั้น การฝกและ ความชวยเหลือของซีไอเอจึงเปนความลับ อาวุธที่ซีไอเอสงมาใหแกกลุม ตํารวจมีปน คารไบน ปน มอรตา ปนตอตานรถถัง ระเบิดมือ อุปกรณเสนารักษ รมชูชีพ อุปกรณตั้งคายที่พัก ตลอดจน ปน ใหญ รถถังและเฮลิคอปเตอร 43 ตอมา สหรัฐฯไดสงเจาหนาที่ระดับสูงของสหรัฐฯไดตรวจคาย ปฏิบัติการคายนเรศวรที่ฝกตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนหลายคน เชน อัลแลน เวลช ดัลเลส(Allen Welsh Dulles)ผูอํานวยการซีไอเอ แมกซ บิชอป(Max Bishop)ทูตสหรัฐฯประจํา ไทยคนถัดมา และพล.ร.อ.เออรสกิน ผูแทนประธานาธิบดี ฝายกิจการทหาร เปนตน44 ดังนัน้ ความชวยเหลือของซีไอเอมีผลทําใหกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทมี อํานาจทางการเมืองมากขึ้น45 ทั้งนี้ กําลังพลของตํารวจของพล ต.อ.เผาในป 2496 นัน้ ประกอบ ดวย ตํารวจพลรมจํานวน 300 คน และตํารวจตระเวนชายแดน จํานวน 4,500 คน ซึ่งกองกําลัง ตํารวจที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนนี้ติดอาวุธประจํากายและประจําหนวยที่ทนั สมัย มีวทิ ยุสนาม ทํา ใหตํารวจหนวยนี้มีความสามารถในการปราบปรามความไมสงบ การหาขาว ทําการปฏิบัติการ

43

พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย, หนา 2, 8, 76-77. คณะกรรมการนเรศวร มี สมาชิกในคณะรัฐประหารหลายคนเขารวม เชน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต จอมพลถนอม กิตติขจร พล ต.อ.เผา ศรียานนท จอมพลอากาศฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี พล ร.ต.หลวงชํานาญอรรถยุทธ สําหรับวิชาที่ซีไอเอฝก ใหตํารวจ เชน ความรูเกี่ยวกับอาวุธ การใชอาวุธ การรบนอกแบบ การหาขาว การกระโดดรม แผนที่ การปฐม พยาบาล อาวุธที่ใชประจํากายและประจําหนวยพลรมและตํารวจตระเวนชายแดน เชน ปน M3-A คารไบน บราวนิ่ง ปนน้ําหนักเบา บาซูกา มอรตา ระเบิดมือ และวัตุระเบิดอื่นๆ.; Lobe , United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 23. 44 พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย, หนา 225-226. อัลแลน ดัลเลส ผูอํานวยการ ซีไอเอไดกลาวชมคายนเรศวรวา “…ผลงานที่ขาพเจาไดเห็นนี้เปนความชํานาญที่ยากจะหาเสมอเหมือน และ ยังเปนการดําเนินกิจการที่นับวาเปนเอก ขาพเจาภูมิใจที่มีสวนรวมในกิจการนี้ …”สวนบุคคลสําคัญอื่นๆที่มา เยี่ยมชม เชน วอลเตอร พี. คูสมูล( Walter P. Kusmule)ผูจัดการบริษัทซีสัพพลายสาขาซีไอเอ อัลเฟรด ซี. อีล เมอร จูเนียร( Alfred C. Ulmer Jr.) เจาหนาที่ซีไอเอ พ.อ.แฮรรี แลมเบิรต(Harry Lambert)หัวหนาคณะเสนาธิ การทหารประจํา ฮาวาย พ.อ.อีเดน เอฟ.สวิฟท(Eben F. Swift)กองทหารพลรมที่ 3 พ.อ.โรเบิรต เอช. ซิมเมนน (Robert H. Zimmemn)ที่ปรึกษาทางการทหารประจําไทย; หจช.(3) สร. 0201.21.3/101 กลอง 5 นายอลัน ดัลเลส ผูอํานวยการองคการซีไอเอ (8-11 กันยายน 2499). 45 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 1.


136

ตอสูและลาดตระเวนตลอดแนวชายแดนไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ 46 ตอมา ในชวง 2498-2499 พล.ต.อ.เผา มีกําลังตํารวจทัง้ หมดทั่วไประเทศถึง 48,000 คนแบงเปนตํารวจในกรุงเทพฯ จํานวน 10,000 คน การที่ตํารจของพล ต.อ.เผามีอาวุธประจํากายและอาวุธหนักรวมทัง้ รถถังที่สหรัฐฯให การสนับสนุน47 ตรงขามกับกลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ในขณะนั้น เขามีทหารเพียง 45,000 คนและมีอาวุธที่ลา สมัยกวา เนื่องจาก ที่ผานมาทีป่ รึกษาการทหารจากสหรัฐฯปฏิเสธที่ จะใหอาวุธแกกลุมทหารอยางที่กลุมตํารวจไดรับ48 ตอมา 2497 สหรัฐฯใหความชวยเหลือดวย การมอบอุปกรณสื่อสารและอุปกรณในการสืบราชการลับเพื่อหาขาวใหแกกลุมตํารวจเพิม่ เติม ตลอดจนการสนับสนุนการตั้งกรมประมวลราชการแผนดินซึ่งเปนหนวยงานทําหนาที่ขาวกรอง เพื่อเพิม่ สมรรถนะในการหาขาวนี้ ยิง่ ทําใหกลุมตํารวจมีศักยภาพเหนือกวากลุมทหารมีสว นทําให กลุมทหารเริ่มหวาดระแวงกลุมตํารวจมากยิ่งขึ้น49 5.5 ความชวยเหลือจากสหรัฐฯกับการแขงขันระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหาร ความชวยเหลือของสหรัฐฯมีสวนทําใหการแขงขันระหวางกลุมตํารวจทีน่ ําโดยพล ต.อ. เผา ศรียานนทและกลุมทหารที่นาํ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมีความรุนแรงมากขึ้น เชน กรณี การจัดตั้งหนวยพลรม(Parachute Battalion) ในเบื้องแรก จอมพลสฤษดิ์ใหความสนับสนุนเปน อยางดี เนื่องจาก เขาหวังวาหนวยดังกลาวจะกลายเปนฐานกําลังของกลุมทหารตอไป แตปรากฎ วาตอมาหนวยพลรมไดกลายเปนฐานกําลังใหกับกลุมตํารวจแทน อีกทั้งการสรรหาบุคลากรใน การฝกที่เคยมาจากหลายหนวยงานเชน กองทัพบก กองทัพเรือและตํารวจไดเปลี่ยนแปลงไป 46

“Lansdale Memo for Taylor on Unconventional Warfare, July 1961,” in The Pentagon Papers, p.133-134.; Lobe and Morell, “Thailand’s Border Patrol Police: Paramilitary Political Power,” Supplemental Military Forces: Reserve, Militarias, Auxiliaries, p. 157. 47 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 1. 48 Alfred W. McCoy, The Politics of Heroin in Southeast Asia,(New York: Harper Colophon Books, 1973), p.138. ตํารวจนายหนึ่งไดบันทึกความกาวหนาของตํารวจไทยขณะนั้นวา “…กําลังตํารวจของ เราเปนหนวยแรกและหนวยเดียวในขณะนั้นที่มีเครื่องแตงกาย มีเครื่องใชประจํากายดีเทากําลังพลสหรัฐและมี เครื่องใชประจําหนวยก็เหมาะสมกับภูมิประเทศและเหตุการณ ตลอดจนอาวุธยุทธภัณฑที่สมบูรณทันสมัยกวา หนวยอื่นๆในสมัยนั้น..” (พล.ต.ต.ทักษ ปทมสิงห ณ อยุทธยา, “บันทึกความทรงจํา,” ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536), [กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน,2536], หนา 75). 49 Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 23.; พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ , 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 171.; พล.ต.ท.ชัยยงค ปฏิพิมพาคม, อธิบดี ตํารวจสมัยหนึ่ง, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแพรพิทยา, 2522), หนา 79.


137

ตอมา หลัง 2496 กองทัพถูกกันออกจากการฝกตามหลักสูตรพลรมทัง้ หมดไดสรางความไมพอใจ ใหกับจอมพลสฤษดิ์และกลุม ทหารเปนอยางมาก 50 ทั้งนี้ ไมแตเพียงความจําเปนทีม่ าจากขอ สนธิสัญญาไทย-ฝรั่งเศสเทานัน้ ทีท่ ําใหสหรัฐฯใหการสนับสนุนกลุม ตํารวจอยางมากเทานัน้ แต สาเหตุอีกประการมาจากความสัมพันธสว นตัวระหวางพล ต.อ.เผา จอมพลสฤษดิ์และเจาหนาที่ ของสหรัฐฯดวย โดยโดโนแวน ทูตสหรัฐฯมีสวนสําคัญในทําใหเกิดการเผชิญหนาทางการเมืองกัน ระหวางกลุมทหารและกลุมตํารวจ เนื่องจาก ในระหวางที่เขาเปนทูตสหรัฐฯประจําไทย เขาให ความสนิทสนมกับกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผามากกวากลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ดังนั้น โดโน แวน ทูตสหรัฐฯและฮารท หัวหนาเจาหนาที่ซีไอเอกับบรรดาเจาหนาทีข่ องซีไอเอในไทยจึงให สนับสนุนกลุม ตํารวจมากกวา ทําใหกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผาสามารถมีกองกําลังที่เขมแข็ง ทัดเทียมกับกลุมทหาร51 อยางไรก็ตาม การที่ ซีไอเอ เลนบทสําคัญในปฏิบัติการลับและทุมความชวยเหลือใหกับ กลุมตํารวจ ทัง้ อาวุธและอาวุธหนักนัน้ สรางความไมพอใจใหกับกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯดวย เชนกัน กระทรวงกลาโหมไดเริ่มทาทายบทบาทของซีไอเอที่มีอิทธิพลเหนือไทย ดวยความ ชวยเหลือใหกบั กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์อยางมากในเวลาตอมาดวยเชนกัน 52 แมวาอดีตที่ ปรึกษาประธานาธิบดีไอเซนฮาวรคนหนึง่ เคยแนะนําโดโนแวน ทูตสหรัฐฯวา อยาใหความ สําคัญ เฉพาะแตกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทเทานัน้ แตตองใหความสําคัญกับกลุมทหารของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตดวย แมในเวลาตอมา โดโนแวนจะพยายามกระจายความชวยเหลือทาง การทหารและสมานไมตรีกบั กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ก็ตาม แตการแขงขันทางการเมือง ระหวางกลุมตํารวจของพลต.อ.เผาและกลุม ทหารของจอมพลสฤษดิก์ บ็ าดหมางเกินกวาที่โดโนแวนจะชวยไดเยียวยาความขัดแยงได และมีความเปนไปไดวายิ่งซีไอเอชวยเหลือกลุม ตํารวจมาก เทาใด กลุมทหารยิง่ ใกลชิดจัสแมกมากขึ้นเทานั้น53 50

NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1957 box 7, Charles N. Spinks to Secretary of State , 6 October 1952.; Conversation with General Sarit Thanarat.; Memorandum of Conversation with General Sarit , General Thanom and Colonel Gerald W. David-MAAG, 4 October 1952.; พันศักดิ์ วิญญรัตน, CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมั่นคงแหงชาติ,” สังคมศาสตรปริทัศน (กุมภาพันธ 2517): 17-18. 51 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 2, 129.; Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, pp. 23-24. 52 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 1. 53 พันศักดิ์ วิญญารัตน, “CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมั่นคงแหงชาติ,”: 19.; ตอ มาจัสแมค(JUSMAG)ไดแนะนําใหกองทัพไทยจัดตั้งหนวยงานเพื่อตอตานขาวกรอง(Counterintelligence Agency) และทําสงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare)ดวยการตั้งชื่อชื่อวาโรงเรียนรักษาความปลอดภัย


138

5.6 ถนนทุกสายมุง สูว อชิงตัน ดี.ซี. เมื่อแหลงทรัพยากรสําคัญในการกาวขึ้นมามีอํานาจมาจากสหรัฐฯ คูแ ขงขันทางการ เมืองทัง้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทก็ไดเริ่มแขงกันการเขาหาสหรัฐฯมาก ขึ้น ในป 2497 ทัง้ จอมพลสฤษดิ์ และพล ต.อ.เผาไดเดินทางไปเจรจาขอความชวยเหลือจาก สหรัฐฯ เนื่องจาก สหรัฐฯไดลดความชวยเหลือทางการทหารแกไทยจากเดิมป 2496 จํานวน 55,800,000 ดอลลารเหลือเพียง จํานวน 38,900,000 ในป 2497 54 เนื่องจาก สหรัฐฯเห็นวา การ ใหความชวยเหลือที่สหรัฐฯใหกับมิตรประเทศที่ไมสนิ้ สุด ไมแตเพียงทําใหมิตรประเทศไมสามารถ ตอตานภัยคอมมิวนิสตไดดวยตนเองแลวยังทําใหงบประมาณสหรัฐฯเพิ่มสูงดวย 55 ดังนัน้ คณะ เสนาธิการทหารของไทยนําโดยจอมพลสฤษดิ์ และพล.ต. กิลโมร หัวหนาจัสแมคเดินทางไป วอชิงตัน ดี.ซี. (27 มิถุนายน-9 กรกฎาคม 2497)ดวยเครื่องบินของสหรัฐฯเพื่อขอความชวยเหลือ ทางการทหารเพิ่มเติมจากสหรัฐฯ โดยจอมพลสฤษดิ์และคณะของเขาไดประชุมที่ตึกเพนตากอน ซึ่งเปนทีท่ ําการของกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯกับพล.ร.อ.อาเธอร ดับลู. แรดฟอรด ประธานคณะ เสนาธิการผสมของสหรัฐฯ เอช. สตรูฟว เฮนเซล(H. Struve Hensel) ผูชวยรัฐมนตรีกลาโหม ฝาย กิจการความมัน่ คงระหวางประเทศ นายพล แมทธิว บี. ริดจเวย เสนาธิการทหารบก และประชุม หารือกับคณะเสนาธิการผสม พบกับ สมิท ปลัดกระทรวงการตางประเทศ และไดเขาพบสนทนา กับประธานาธิบดีไอเซนฮาวร 56 จอมพลสฤษดิ์ใหสัมภาษณเปนภาษา ไทยผานวิทยุเสียงอเมริกา มายังไทยวา ขณะนี้ไทยและสหรัฐฯไดตกลงกันที่จะใหความชวยเหลือแกไทยในการปองกันภัย คอมมิวนิสต ดวยการทําใหไทยเปน “ปอมคาย” ที่แข็งแกรงของโลกเสรี โดยสหรัฐฯจะสง เจาหนาที่การทหารจํานวน 400 นายมาฝกหัดทางการทหารใหกับกองทัพไทยเพื่อขยายกําลังรบ ใหมเพิม่ อีก 4 กองพล และจะสงเครื่องบินฝกมาใหอีก 30 ลํา สวนกองทัพเรือจะไดรบั เรือรบใหม เพื่ออําพรางปฏิบัติการใหกับทั้ง 3 เหลาทัพและโรงเรียนเสนาธิการ โรงเรียนดังกลาวมีเปาหมายการจัดตั้งเพื่อ ปองกันและรักษาความลับทางการทหารใหพนจากการจารกรรม และตอตานการกอวินาศกรรม(หจช.บก.สูงสุด 7 / 6 กลอง 4 รวมเรื่องเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ การใหขาวและการสื่อสารตางๆ (19 ตุลาคม 2497 – 18 เมษายน 2500) รายงานการประชุมสภากลาโหม ครั้งที่ 6 / 2499 13 มิถุนายน 2499). 54 Surachart Bamrungsuk, United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947– 1977, p. 57. 55 พล.อ. จิระ วิชิตสงคราม, “นโยบายปองกันประเทศสหรัฐอเมริกา,” กลาโหม 1, 4 (เมษายน 2497): 29-30. 56 หจช.สร. 0201.15 /5 การจัดคณะทูตทหารไปวอชิงตัน(30 มิถุนายน – 10 สิงหาคม 2497).; สยาม นิกร, 4 กรกฎาคม 2497.; เชา, 26 มิถุนายน 2497. คณะเสนาธิการที่ไปดวยมี พล.ท.สุทธิ์ สุทธิสารรณกร พล.ร.ต.หลวงวิเชียรนาวา พล.อ.อ.ทวี จุลทรัพย พล อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ และพล.ต.อนันต พิบูลสงคราม


139

3 ลํา57 ตอมา แอนเดอรสัน รัฐมนตรีชวยกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯผลักดันความชวยเหลือทาง การทหารแกรฐั บาลไทยเพิ่มอีก 25,000,000 ดอลลาร เพื่อสรางความแข็งแกรงใหกองทัพในดาน การปรับปรุงการฝกการใหยทุ โธปกรณ และการเสริมความเขมแข็งใหหนวยรบ58 ตอมา เมื่อโดโนแวน ทูตสหรัฐฯขอลาออกจากตําแหนงภายหลังฝรั่งเศสพายแพที่สมรภูมิ เดียนเบียนฟู สหรัฐฯไดสงจอหน อี. ฟวริฟอย(John E. Peurifoy)∗ มาดํารงตําแหนงเอกอัคราชทูต แทนโดโนแวน ทัง้ นี้ ฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯคนใหมมีประวัติการทํางานทีโ่ ชกโชนรวมกับซีไอเอในการ สนับสนุนนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯใหบรรลุดวยการใชกําลังโคนลมดวยการสนับสนุนให พ.อ.คารอส คาสติลโล-อามาส (Carlos Castillo-Armas) รัฐประหารลมรัฐบาลฝายซายของ ประธานาธิบดีจาโคโบ อารเบซ กูซแมน(Jacobo Arbenz Guzman)แหงกัวเตมาลา59 ดังนัน้ การ ที่สหรัฐฯตัดสินใจเลือกตัดสินใจเลือกนักการทูตสายเหยีย่ วตั้งแตโดโนแวน อดีตหัวหนาโอเอสเอส และตอมาฟวริฟอยเขามาประจําการในไทยนัน้ ยอมสะทอนใหเห็นวา สหรัฐมีความตองการบรรลุ ภาระกิจที่สาํ คัญยิ่งในภูมิภาคและในไทย เมื่อสหรัฐฯเปนเสมือนดั่งแหลงขุมทรัพยากรในการสรางฐานอํานาจทางการเมือง พล ต.อ.เผา ศรียานนทและคณะของเขาก็ไดออกเดินทางไปการเดินทางไปยุโรปและมีเปาหมาย ที่สหรัฐฯ (20ตุลาคม-12 ธันวาคม 2497)เชนกัน∗ พล ต.อ.เผาเดินทางไปพบอีเดน รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ อังกฤษ จากนัน้ เขาเดินทางตอไปสหรัฐฯเพื่อพบประธานาธิบดี ไอเซนฮาวร จอหน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ อัลแลน ดัลเลส ผูอํานวย การซีไอเอ โรเบิรตสัน ผูชว ยรัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ ฝายตะวันออกไกล 57

เทอดไทย, 13 กรกฎาคม 2497.; ขาวพาณิชย, 20 กรกฎาคม 2497. 58 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , R.B. Anderson to Sarit , 19 July 1954 . ∗

จอหน อี. ฟวริฟอย (John E. Peurifoy)(2440-2498) มีฉายา“Smiling Jack” จบการศึกษาดาน การบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยอเมริกัน และกฎหมายระหวางประเทศจาก มหาวิทยาลัยจอรช วอชิงตัน รับ ราชการในกระทรวงการตางประเทศตั้งแตป 2471 เคยเปนเอกอัคราชทูตประจํากรีซ(2493) กัวเตมาลา(2496) เขาเปนนักการทูตสายเหยี่ยวผูที่มีบทบาทสําคัญในการปฏิบัติงานรวมกับซีไอเอในการโคนลมรัฐบาลกูซแมนใน กัวเตมาลา ตอมาไดยายมาดํารงตําแหนงทูตประจําไทย และเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุ(15 สิงหาคม 2497 – 12 สิงหาคม 2498)(หจช.(3)กต. 0201.16/9 กลอง 1 ทูตอเมริกันประจําประเทศไทย (30 ธันวาคม 2496 – 14 กุมภาพันธ 2501).; David Wise and Thomas B. Ross , The Invisible Government,(New York: Vintage Books,1974), p.170. 59 Ibid., p. 165. ∗

คณะของพล ต.อ.เผา ศรียานนทประกอบดวย พ.ต.ท. ธนา โปษยานนท พ.ต.ต สุนิตย ปณยวณิช ร.ต.ท. พิชิต วิชัยธนพัฒน ส.ต.อ. สามารถ ชลานุเคราะห ปวย อึ้งภากรณ และประพนธ บุนนาค


140

แอนเดอสัน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม โดโนแวน อดีตทูตสหรัฐฯประจําไทย และสแต สเสน(Stassen) ผูอํานวยการ FOA เพื่อขอความชวยเหลือเพิ่มใหกับไทย ในการสนทนาระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทกับประธานาธิบดีนนั้ ไอเซนฮาวรเห็นวา ไทยเปนมิตรทีด่ ีกับสหรัฐฯ ดังนัน้ สหรัฐฯจะพิจารณาใหความชวยเหลือไทยดวยความเห็นอกเห็น ใจยิ่ง และไอเซนฮาวรไดกลาวเสริมวา การปฏิบัติงานระหวางไทยและสหรัฐฯในประเทศไทยนั้น ไดรับทราบจากโดโนแวน อดีตทูตสหรัฐฯประจําไทยเสมอ60 ตอมา เขาไดพบ จอหน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการและเจาหนาที่ระดับสูงของกระทรวงการตางประเทศ จอนห ดัลเลสไดแจงกับเขา วา สหรัฐฯมีตอ งการชวยเหลืออินโดจีนโดยตรงไมตองผานฝรั่งเศสอีกและโนมนาวใหไทยเขารวม สนธิสัญญารวมปองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่จะลงนามทีก่ รุงมะนิลา โดยสหรัฐฯพรอมจะให ความชวยเหลือทางการ ทหาร การเมือง เศรษฐกิจแกประเทศไทยตอไป 61 ตอมา เขาไดพบอัล แลน ดัลเลส ผูอ ํานวยการซีไอเอ เขาไดรองขอใหสหรัฐฯเพิ่มความชวยเหลือตามที่เขารองขอ อัล แลน ดัลเลส กลาวใหการสนับสนุนวา “สหรัฐฯจะสนับสนุนทุกอยางและพอใจในผลงานที่ไทยได ปฏิบัติมา และไมมีประเทศใดแข็งแกรงเทากับไทย” 62 ตอมา เขาไดพบกับโดโนแวน อดีตทูต สหรัฐฯเพื่อทาบทามใหดํารงตําแหนงที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจใหรัฐบาลไทย∗ โดโนแวนไดแนะนํา 60

หจช.(2)กต. 14.3/26 กลอง 4 พล.ต.อ.เผา ศรียานนทเขาพบบุคคลสําคัญของสหรัฐฯ(4-14 พฤศจิกายน 2497), รายงานการสนทนาของพล.ต.อ. เผา ศรียานนท 10 พฤศจิกายน 2497.; หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ, ขอความชวยเหลือทางการเงินจากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497 –14 ธันวาคม 2498). 61 หจช.(3)กต. 0201.20.1.1/8 กลอง 1 การเดินทางไปตางประเทศของนายพล.ต.อ.เผา ศรียานนท (29 ตุลาคม 2497-7 เมษายน 2498 ), บันทึกเรื่องการพบและสนทนาระหวาง พล.ต.อ.เผา ศรียานนท หมอมหลวงชวนชื่น กําภู และน.อ.สิทธิ เศวตศิลา กับนายดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ 4 พฤศจิกายน 2497, รายงานเดินทางฉบับที่ 5 พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ฝายการเมือง วันที่ 16 พฤศจิกายน 2497.; หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงินจากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498). 62 หจช.(3)กต. 0201.20.1.1/8 กลอง 1 การเดินทางไปตางประเทศของนายพล.ต.อ.เผา ศรียานนท (29 ตุลาคม 2497-7 เมษายน 2498), รายงานเดินทางฉบับที่ 3 พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการ คณะรัฐมนตรีฝายการเมือง วันที่ 7 พฤศจิกายน 2497.; หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงินจากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498). ∗

เมื่อโดโนแวนพนจากตําแหนงทูตสหรัฐฯแลว รัฐบาลไทยไดตั้งโดโนแวนเปนที่ปรึกษาทั่วไปของ รัฐบาลในทางกฎหมายและเศรษฐกิจใหปฏิบัติหนาที่ในสหรัฐฯ เขายอมรับตําแหนงนี้ดวยความเต็มใจ แตไมรับ คาตอบแทนประจําตําแหนง นอกจากคาใชจายในการเดินทาง(สยามนิกร, 19 ธันวาคม 2497)ในบท บรรณาธิการพิมพไทยไดเขียนบทความประชดประชันวา สํานักงานที่ปรึกษาของไทยนี้มิไดตั้งในไทยแตตั้งที่


141

เขาใหรูจักบุคคลสําคัญทางการเมืองเชน พล.ร.อ. เบอรเกน(Bergen) เพื่อนสนิทของรัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงกลาโหมและสมาชิกในสภาคองเกรสอีกหลายคน โดโนแวนแจงวา เขาได ประสานงานใหประธานาธิบดีไอเซนฮาวรทราบความตองการของรัฐบาลไทยแลว สําหรับความ ชวยเหลือทางการทหารนั้น รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหมจะชวยเหลือแกรัฐบาลไทยใหได มากที่สุด63 ตอมา ดิ อีโคโนมิสต (The Economist)นิตยสารที่มชี ื่อเสียงของอังกฤษฉบับตนเดือน พฤศจิกายน 2497 ไดรายงานขาวการเดินทางเยือนตางประเทศและพบปะคณะผูบริหารของ หลายประเทศของพล ต.อ.เผา ศรียานนทวาเปนการเปดตัวของผูปกครองที่แทจริงของไทย64 ตน เดือนธันวาคม ในระหวางทีพ่ ล ต.อ.เผาอยูที่สหรัฐฯ เขาไดกลาวปราศัยผานวิทยุเสียงอเมริกา (VOA)มายังไทยเพื่อรายงานถึงการเขาพบบุคคลสําคัญของสหรัฐฯหลายคน เชน ประธานาธิบดี โอเซนฮาวร โดโนแวน อดีตทูตสหรัฐฯ และนักธุรกิจทีเ่ คยเกี่ยวของกับไทย และกลาววา ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรไดแนะนําใหเขารูจักบุคคลสําคัญหลายคน 65 เมื่อ พล ต.อ.เผาเดินทาง ถึงไทย เขาประกาศถึงความสําเร็จในการเดินทางไปขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯวา สหรัฐฯจะ ใหความชวย เหลือเศรษฐกิจไทยจํานวน 28,000,000 ดอลลารภายใน 6 เดือน และสหรัฐฯให สํานักงานของโดโนแวนในสหรัฐฯและหลายปที่ผานมาสหรัฐฯไดใหความชวยเหลือไทยทุกอยางตั้งแตการทหาร อาวุธ ทางดานเศรษฐกิจไทยสงวัถุดิบไปขายสหรัฐฯแตตองซื้อสินคาอุตสาหกรรมของสหรัฐฯกลับมา ตลอดจน การทําสงครามจิตวิทยาผานยูซิสเชน หนังสือ ภาพยนต(พิมพไทย, 19 ธันวาคม 2487) ดวยเหตุที่ โดโนแวน ยอมรับตําแหนงที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจใหกับไทย ฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯประจําไทยคนใหมไมเห็นดวยที่เขารับ ตําแหนงดังกลาว ตอมา จอหน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ไดแจงใหประธานาธิบดีไอเซน ฮาวรทราบวา โดโนแวนยอมเปนตัวแทนใหรัฐบาลไทยดวยคาจาง 100,000 ดอรลารตอป โดยประธานาธิบดี ไอเซนฮาวรแสดงความไมเห็นกับการตัดสินใจของโดโนแวนเลย (NARA, RG 59 Central Decimal File 19501954 Box 5625, Peurifoy to Secretary of State, 22 December 1954.; Dwight D. Eisenhower Library, Paper of John Foster Dulles 1951-1959, White House Memorandum Series box 1, Memorandum of Conversation with The President, 4 April 1955.; หจช.กต. 81.35 / 50 กลอง 3 ตั้งนายพลโดโนแวนเปนที่ ปรึกษาสภาเศรษฐกิจแหงชาติ (2497-2498), เภา เพียรเลิศ บริภัณฑยุทธกิจ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ถึง รัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศ 21 มกราคม 2498.; รัฐบาลไดโอนงบประมาณใหกับสถานทูตไทย ประจําวอชิงตัน ดีซี จํานวน 500,000 ดอรลาร เอกสารระบุวา คาใชจายในราชการลับ(หจช.กต. 81.35 / 50 กลอง 3 ตั้งนายพลโดโนแวนเปนที่ปรึกษาสภาเศรษฐกิจแหงชาติ (2497-2498). 63 หจช.(3)กต. 0201.20.1.1/8 กลอง 1 การเดินทางไปตางประเทศของนายพล.ต.อ.เผา ศรียานนท (29 ตุลาคม 2497-7 เมษายน 2498), รายงานเดินทางฉบับที่ 3 พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการ คณะรัฐมนตรีฝายการเมือง 7 พฤศจิกายน 2497. 64 The Economist , 6 November 1954. 65 ศรีกรุง, 11 ธันวาคม 2497.; เชา, 13 ธันวาคม 2497.


142

ชวยเหลือดานอาวุธแกกองอาสาสมัครรักษาดินแดนเปนจํานวนมากโดยสหรัฐฯมีเปาหมายการ ฝกอาสาสมัครปองกันตนเองใหได 120,000 แสนคนใน 40,000 หมูบา นตอไป 66 อยางไรก็ตาม ปญหาจากการที่พล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต แขงขันกันเพื่อชวงชิงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ยังคงถูกรายงานตอประธานาธิบดีไอเซนฮาวรอยาง ตอเนื่องวา ทัง้ คูยังโคนลมกันไมได ในขณะที่จอมพล ป. พิบูลสงครามไมสามารถควบคุมกลุม ตํารวจและกลุม ทหารได ทัง้ พล ต.อ.เผาและจอมพลสฤษดิ์ตางพยายามรัฐประหารโคนลมกัน เพื่อควบคุมรัฐบาล แตหากทัง้ คูตอสูกันตอไปนั้น ในรายงานเห็นนวา กําลังกลุม ตํารวจของพล ต.อ.เผาจะตานทานความแข็งแกรงของกลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ไดยาก รายงานวิจารณวา แมพวกเขาทัง้ สองจะขึ้นมามีอํานาจดวยการวางตัวกักขฬะ แตพวกเขายังรวมมือสนับสนุนรัฐบาล จอมพล ป.ตอไป โดยสหรัฐฯมีแผนใหความชวยเหลือทางการทหารแกกลุมทหารและกลุมตํารวจ จํานวน 80,000คน โดยแยกความชวยเหลือแกกลุมตํารวจ จํานวน 43,000คนใหสามารถปฏิบตั ิ หนาที่ชายแดนทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือได และสําหรับกลุม ทหาร จํานวน 37,000 คน อยางไรก็ตาม สหรัฐฯยังคงใหการสนับสนุนทั้งสองคนตอไป 67

66

ขาวพาณิชย, 12 ธันวาคม 2497.; NARA , RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1954 Box 35 , Donovan to Secretary of State, 22 July 1954.; The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4, NSC summery of discussion, Potential Political Difficulties for the United States inherent in Supplying Arms to the Thai National Police and Army, 20 December 1954. 67 NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1954 box 35, Donovan to Secretary of State, 22 July 1954.; The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 19531961 (Ann Whitman file) box 4, NSC summery of discussion, Potential Political Difficulties for the United States inherent in Supplying Arms to the Thai National Police and Army , 20 December 1954.; Library of Congress, CK3100007533, 20 December 1954, Potential Political Difficulties for the United States Inherent in Supplying Arms to the Thai National Police and Army.


บทที่ 6 สหรัฐฯ สถาบันกษัตริย กับ จุดเริ่มตนสงครามจิตวิทยาในไทย 2497 6.1 สหรัฐฯกับการตอตานคอมมิวนิสตในไทย ไมแตเพียงนโยบายการตอตานคอมมิวนิสตของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรจะใหความ สําคัญกับความชวยเหลือทางการทหารเทานัน้ แตยงั ใหความสําคัญอยางมากกับการใชยุทธศาสตรการโฆษณาชวนเชื่อ(Psychological Strategy)คูขนานไปดวย เนื่องจากคณะที่ปรึกษา ของเขามีความตระหนักวา สงครามเย็นเปนประหนึง่ การแขงขันในการทําสงครามจิตวิทยาและ สงครามอุดมการณที่เปนเสมือนเครื่องมือในการตอสูดุจเดียวกับการใชกําลังทางการทหารและ เศรษฐกิจ ตอมา คณะกรรมการประสานปฏิบัติการ(Operations Coordinations Board: OCB) ถูกจัดตั้งขึ้น หนวยงานนี้รับผิดชอบแผนปฏิบัติการโฆษณาชวนเชื่อและการปฏิบัติการทาง การเมืองอยางลับๆกวา 50 แผนการในยุโรปและประเทศโลกที่สามซึ่งเปนพันธมิตรกับโลกเสรี สงผลใหชว งเวลาดังกลาว สหรัฐฯไดเขาแทรกแซงการเมืองภายในประทศตางๆอยางมากรวมทั้ง การขยายงานดานปฏิบัติการลับดวยการโฆษณาชวนเชือ่ เพื่อสรางภัยคอมมิวนิสตคกุ คามโลกให เกิดขึ้น1 ดวยนโยบายของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรทําใหอัลแลน ดัลเลส ผูอํานวยการซีไอเอ ใน ฐานะหนวยงานสําคัญที่รับผิดชอบปฏิบัติการลับของสหรัฐฯไดประกาศวา สหรัฐฯมีนโยบายตอสู

1

Kenneth A. Osgood, “Total Cold War: U.S. Propaganda in the Free World 1953-1960,” (Doctoral dissertation, University of California Santa Barbara, 2001).; Alfred W. McCoy, A Question of Torture: CIA Interrogation from the Cold War to the War on Terror, (New York: Metropolitan Books, 2006),pp. 24-25. ป 2494 ประธานาธิบดีทรูแมนไดตั้งสภายุทธศาสตรทางจิตวิทยา(The Psychological Strategy Board: PSB)มีหนาที่ประสานงาน วางแผนและจัดทําขาวโฆษณาชวนเชื่อใหกับ รัฐบาล หนวยงานนี้อยูภายใตการดูแลของผูอํานวยซีไอเอ ในยุคประธานาธิบดีทรูแมน ปฏิบัติการลับของ สหรัฐฯนั้นสาธารณชนแทบไมมีใครลวงรู เชน การที่ซีไอเอไดจัดอบรมนักจิตวิทยาสหรัฐฯจํานวน 200 คนที่ไป ปฏิบัติการทั่วโลก(ประเวศ ศรีพิพัฒน (แปล) พอล เอม. เอ. ไลนเบอรเกอร(Paul M.A. Linebarger) (เขียน) สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare),[พระนคร: สํานักพิมพวีรธรรม, 2507], หนา 397-400).; Harry Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action, (London: Westview Press, 1988), pp. 154-156).


144

กับคอมมิวนิสตดวยสงครามจิตวิทยา∗คณะกรรมการประสานงานปฏิบัติการ(OCB) ไดวางแผน ใหใชผูนาํ ของประเทศเปาหมายที่มีฐานะเปนศูนยกลางของความเชื่อ เพื่อเปนสัญลักษณในการ ทําสงครามจิตวิทยาผานวัถตุทางอุดมการณ เชน สิ่งพิมพ หนังสือ และภาพยนต เปนตน2 ทั้งนี้ ที่ ผานมา กลไกของซีไอเอในสวนที่ทาํ งานเปนนักหนังสือพิมพไดพยายามสรางกระแสการรับรูใน สังคมใหหวาดกลัวภัยคอมมิวนิสต ผานวรรณกรรมที่เปนวัตถุทางอุดมการณ เชน งานเขียนของ เอ็ดวารด อันเตอร(Edward Hunter) นักหนังสือพิมพไมอามี เดลินิวส(Miami Daily News) ได เขียนบทความที่ตอมาพิมพเปนหนังสือชื่อ Brain Washing in Red China เขาเห็นวา งานเขียน ของเขา คือ ปฏิบัติการสําคัญที่มีตอจีนเมือ่ คอมมิวนิสตเขายึดครองจีนไดสําเร็จเพื่อทําให ประชากรทัว่ โลกเกลียดชังคอมมิวนิสต เขาเรียกปฏิบัติการนี้วา สงครามจิตวิทยาที่จะมีผลอยาง มากเหนือคณนับมากเสียยิ่งกวาปฏิบัติการทางทหารในอดีตที่ไดทํามา ตอมา งานชิน้ นีถ้ ูกตีพมิ พ ในภาษาไทยในชื่อ ลางสมองในจีนแดง โดยพิมพจากนิวยอรค เขามาเผยแพรในไทย3 ตอมา 2496 ในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาวร งานดานโฆษณาชวนเชื่อไดถกู ผนวกเปนงานของ คณะกรรมการประสานปฏิบัติการ(OCB) โดยคณะกรรมการชุดนี้ปฏิบัติงานภายใตสภาความ มั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ(National Security Council: NSC) โดยมี ปลัดกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ เปนประธานฯ และกรรมการคนอืน่ ๆ เชน ผูอาํ นวยการซีไอเอ ปลัดกระทรวงกลาโหม และ ผูอํานวยการยูซิส(USIS) 4

ความหมายของคําวา สงครามจิตวิทยา ในป 2497 คือ สงครามจิตวิทยาประกอบดวยการใชการ โฆษณาชวนเชื่อที่ไดวางแผนไวแลว รวมทั้งกระบวนการการใชขาวสารที่สัมพันธกับการโฆษณาชวนเชื่อในเรื่อง นั้น โดยมีวัตถุประสงคที่จะจูงใจ ความคิดเห็น อารมณ ทัศนวิสัย และพฤติกรรมของขาศึกหรือกลุมตางดาว อื่นๆในแนวทางสนับสนุนใหเกิดสัมฤทธิผลแกประโยชนแหงชาติ ตอเปาหมายหรือภารกิจทางการทหารของ สหรัฐฯ (ประเวศ ศรีพิพัฒน (แปล), สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare), หนา 400). 2 Osgood, “Total Cold War: U.S. Propaganda in the Free World 1953-1960,” (Doctorial dissertation, University of California Santa Barbara, 2001),pp.289-307.; ประเวศ ศรีพิพัฒน(แปล), สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare), หนา 301-315. 3 Edward Hunter, Brain Washing in Red China: the calculated destruction of men’s minds, ( New York: Vanguard Press,1951).; เอ็ดวารด ฮันเตอร, การลางสมองในจีนแดง, (นิวยอรค: แวนการดอิน คอรปอเรชั่น, 2494). 4 ประเวศ ศรีพิพัฒน (แปล), สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare),หนา 397-400).;Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action, pp. 154-156.


145

เมื่อสภาความมั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯไดอนุมัติใหใชแผนสงครามจิตวิทยาสําหรับประเทศ ไทย(PSB-D23)ในตนเดือนสิงหาคม 24965 ในปลายปนนั้ เอง โครงการศึกษาลักษณะทางสังคม ไทยอยางเปนระบบเพื่อใชเปนขอมูลในการกําหนดนโยบายตอตานคอมมิวนิสตในไทยของ สหรัฐฯก็ไดเริ่มตนขึ้น ดวยการที่สหรัฐฯสง ลูเชียน เอ็ม. แฮงค ผูอํานวยการสถาบันวิจัยฯจาก มหาวิทยาลัยคอรแนลเขามาทําวิจยั ทัศนคติและความเชื่อของชุมชนเกษตรกรบางชัน มีนบุรี เปน ตน 6 และรวมทั้ง การเขามาสํารวจทัศนคติของคนไทยเกี่ยวกับคอมมิวนิสต โดยมหาวิทยาลัย จอรช วอชิงตัน ในพืน้ ที่ กรุงเทพฯ ภูมิภาคและเขตชายแดน โดยรวมมือกับจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และกระทรวงวัฒนธรรม7 ตอมา โดโนแวน ทูตสหรัฐฯแนะนําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึง่ ทําหนาที่พัฒนาสงครามจิตวิทยารวมกับสหรัฐฯ เพื่อดําเนินการตอตานคอมมิวนิสตในไทยผานสื่อหนังสือพิมพ วิทยุและการอบรมความรู โดยให วัด มหาวิทยาลัย กลุมเยาวชน กลุมวัฒนธรรม ขาราชการและกองทัพเปนกลุมเปาหมายรวมมือ กับสหรัฐฯในการตอตานและทําการหาขาวเกี่ยวกับคอมมิวนิสตในไทย8 ในสายตาของสหรัฐฯ ความพายแพของฝรัง่ เศสที่สมรภูมเิ ดียนเบียนฟูเปนความนาอับ อายทีจ่ ะมีผลทําใหประเทศในเอเชียหันไปมีนโยบายใหการสนับสนุนคอมมิวนิสตแทน ดังนัน้ สหรัฐฯมีนโยบายสกัดกัน้ แนวโนมการเปลีย่ นแปลงดังกลาวดวยทุกวิธกี าร ตอมา สหรัฐฯไดผลัก 5

“Memorandum of Conversation at the 161 st Meeting of the National Security ,9 August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p.685.; The Dwight D. Eisenhower Library , White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16, file: Southeast Asia (1953-1961), U.S. Psychological Strategy based on Thailand, 8 September 1953.; The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16, file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Smith- Chairman of Operations Coordinating Board from Robert Cutler-Special Assistant to the President, 10 September 1953. 6 หจช.มท. 0201.2.1/375 กลอง 4 โครงการศึกษาอบรมระเบียบวิธีวิจัยและปฏิบัติงานวิจัยทาง วิทยาศาสตรสังคม(2496), ลูเซี่ยน เอ็ม แฮงค ถึง ปลัดกระทรวงมหาดไทย 30 พฤศจิกายน 2496.; โปรดดู รายละเอียดใน แถมสุข นุมนนท, “เมื่ออเมริกันศึกษาประวัติศาสตรไทย,” การทูตสมัยรัตนโกสินทร,หนา 5766.; และ อานันท กาญจนพันธุ, “บทบาทของนักวิจัยและทุนวิจัยอเมริกันในการสรางกระบวนทัศนดานไทย ศึกษา,” ใน บทบาทของตางประเทศในการสรางองคความรูที่เกี่ยวของกับประเทศไทย, หนา 308-347. 7 เทอดไทย, 1 กันยายน 2497. 8 “Parson to The Secretary of States, the Charge in Thailand, 7 December 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, p. 698.


146

ดันใหมกี ารจัดตั้งองคการสนธิสัญญาปองกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asia Treaty Organization: SEATO)หรือซีโตเพื่อการสรางความมัน่ ใจใหเกิดในภูมิภาคอีกครั้ง ∗ อยางไรก็ตาม สหรัฐฯเห็นวาในชวงเวลาดังกลาวจะเปนสูญญากาศของอิทธิพลทางการเมือง ระหวางประเทศมีผลทําใหคอมมิวนิสตมีโอกาสสรางบรรยากาศความรูสึกเปนกลางขึ้น เพื่อสกัด กั้นการขยายอิทธิพลของสหรัฐฯในภูมิภาค และสถานการณดังกลาวจะทําใหไทยเปลี่ยนโยบาย จากการสนับสนุนสหรัฐฯ ไปสูนโยบายที่เปนกลางดวยเชนกัน9 ตอมา สภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯไดรายงานวาอิทธิพลของคอมมิวนิสตในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความเขมแข็งมากขึ้น ดังนั้น สหรัฐฯตัดสินใจใหการสนับสนุนทางการ ทหารและเศรษฐกิจใหแกไทยตอไปเพื่อใหไทยมีความเขมแข็งและมีเสถียรภาพทางการเมืองและ ทําใหนโยบายบายที่ตองการทําใหไทยเปนจุดเนนพิเศษในปฏิบัติการลับและปฏิบัติการสงคราม จิตวิทยาในเอเชียตะวันออกเฉียงใตของสหรัฐฯดําเนินตอไปได10 ทัง้ นี้ ในชวงเวลาดังกลาว มี รายงานลับหลายฉบับไดเสนอใหประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมีทา ทีที่แข็งกราวในการปฏิบัติการลับ ทางจิตวิทยา รวมทัง้ การสนับสนุนใหสหรัฐฯเขาจัดตั้งองคกรทางการเมืองและกองกําลังกึง่ ทหาร เพื่อทําลายศัตรูของสหรัฐฯ11 6.2 จากความลมเหลวสูโอกาส: สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับการเขาหา สหรัฐฯ ควรบันทึกดวยวา สถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” ไดเขามามีบทบาททางการเมือง อยางชัดเจนตัง้ แตตนทศวรรษ 2490 แมพวกเขาจะมีความไดเปรียบทีไ่ ดทําหนาที่สถาปนิกทาง การเมืองดวยการรวมรางรัฐธรรมนูญถึง 2 ฉบับ คือ ฉบับ 2490 และ 2492 ซึ่งพวกเขาหวังวาผล จาก รัฐธรรมนูญ 2492 หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสต ทีถ่ ูกสรางขึ้นใหมนนั้ จะสรางความมั่นคง ∗

ซีโตเปนองคการที่กอตั้งขึ้นตามสนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อ 8 กันยายน 2497 ณ กรุงมะนิลา ฟลิปปนส และมีผลบังคับใชเมื่อ 19 กุมภาพันธ 2498 ในชวงสงครามเย็น มีประเทศสมาชิก จํานวน 8 ประเทศ คือ สหรัฐฯ อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ปากีสถาน ไทยและฟลิปปนส โดยสํานักงานใหญตั้งที่ กรุงเทพฯ มีพจน สารสิน ดํารงตําแหนงเลขาธิการทั่วไปคนแรก 9 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP80R01443R000300010010-8, 4 August 1954, “ NSC Briefing–Probable Post–Geneva Communist Policy”. 10 NARA, RG 84 box 2, Top Secret General Record 1947-1958, National Policy approved on 20 August 1954 in connection with a review of U.S. Policy toward the Far East . 11 Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action, p. 155.


147

ทางการเมืองใหกับพวกเขา แตสถานการณการเมืองก็มไิ ดเปนอยางทีพ่ วกเขาหวัง เมื่อรัฐบาล ควง อภัยวงศที่พวกเขาใหการสนับสนุนถูกคณะรัฐประหารบังคับใหลงจากอํานาจ(2491) การอยู เบื้องหลัง“กบฎแมนฮัตตัน”(มิถุนายน 2494)ที่ลมเหลว และรัฐธรรมนูญที่พวกเขาฝากความหวัง ถูกรัฐประหารโคนลมลง(ปลาย 2494) มีผลทําใหพวกเขาตองหันกลับมาทบ ทวนวิธกี ารตอสูใหม แทนการปะทะโดยตรงกับรัฐบาล เหมือนดังที่ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ประธานองคมนตรี และ แกนนําสําคัญในสถาบันกษัตริย ทรงเคยเปดเผยตอทูตอังกฤษวา พวกเขากําลังแสวงหาหนใน การตอสูทางการเมืองแบบใหม(2495) 12 กระนัน้ ก็ดี ในกลางป 2496 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ในชวงดังกลาว เกิดกระแส ขาวความเคลือ่ นไหวของ“กลุมรอยัลลิสต” ไดเตรียมการกอการรัฐประหาร ทําใหเจาหนาที่ สถานทูตสหรัฐฯไดสอบถามเรื่องดังกลาวจากพระยาศรีวิสารวาจา องคมนตรี แกนนําสําคัญอีก คนหนึ่งในสถาบันกษัตริย ในรายงานฉบับนี้บันทึกวา พระยาศรีวิสารฯไดแสดงอารมณโกรธและ ปฏิเสธแผนการดังกลาว พรอมกลาววา การพยายามกอการรัฐประหารนี้เปนขอกลาวหาจาก รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม 13 อีกไมกวี่ ันตอมา ซีไอเอไดรายงาน วากระแสขาวทีพ่ วกเขา ไดรับรูมากลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.ดังนีว้ า มีขาววาสถาบันกษัตริยใหการสนับสนุนการเตรียมการ กอการรัฐประหาร และในรายงานวิเคราะหวา หากขาวนี้เปนความจริง จอมพล ป.อาจจะขอให พระมหากษัตริยทรงสละราชย 14 อยางไรก็ตาม สุดทายแลว การเตรียมรัฐประหารของ “กลุม รอยัลลิสต”ที่รัฐบาลลวงรูมิเกิดขึ้นแตอยางใด อาจกลาวไดวา ความสัมพันธระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในชวงทศวรรษที่ 2490 นั้นมีลักษณะเปนปฏิปกษตอกัน โดยทัง้ สอง ฝายตางมีความหวาดระแวงทางการเมืองซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ นับตั้งแต พระมหากษัตริยท รง เสด็จนิวัตพระนครเปนการถาวรในปลายป 2494 นั้นทรงไดมีบทบาทในดานการคัดคานหรือ ขัดขวางการดําเนินงานของรัฐบาลในดานตางๆในชวงนัน้ จนอาจจะวิเคราะหไดวา ทรงกลายเปน ผูนําที่มีบทบาทสําคัญในลักษณะเสมือนหนึ่งทรงเปนแกนของพลังตอตานรัฐบาล เชน การทรงไม รับรองการประกาศใชรัฐธรรมนูญใหมหลังการรัฐประหาร 2494 การไมเสด็จเขารวมการเฉลิม ฉลองการใชรฐั ธรรมนูญฉบับ 2495 (มีนาคม 2495) และการไมยอมลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชพระราช- บัญญัติที่มุงปฏิรูปทีด่ ินของรัฐบาล(2496)ซึ่งจะมีผลกระทบตอผลประโยชน 12

NA , FO 371/101168 , Chancery to Foreign Office , 21 July 1952. NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn , George M. Widney , 1 September 1953. 14 NARA , CIA Records search Tool (CREST) ,CIA-RDP79R00890A000100080021-5 , 9 September 1953 , “ Thailand ”. 13


148

ของสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”ซึ่งถือครองที่ดินจํานวนมากในประเทศไทย ทัง้ นี้ จาก หลักฐานการสนทนาระหวางความพระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี ในฐานะที่ปรึกษาของพระมหา กษัตริย กับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯ เขาไดแสดงความเห็นคัดคานวา ประเทศไทยไมจําเปนตอง มีกฎหมายปฏิรูปที่ดินเพราะไทยไมมีปญหาความขาดแคลนที่ดนิ 15 ดังนัน้ การแสดงทัศนะดัง กลาวของที่ปรึกษาสวนพระองคอาจเปนสิง่ สะทอนใหเห็นถึงทัศนะของสถาบันกษัตริยและ “กลุม รอยัลลิสต”โดยรวมที่คัดคานการดําเนินการของรัฐบาลจอมพล ป.ในการปฏิรูปที่ดนิ ไดเปนอยาง ดี จากความลมเหลวในการตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามที่สถาบันกษัตริยแ ละ “กลุมรอยัลลิสต”อยูเบื้องหลังความพยายามใชกําลังเขาปะทะรัฐบาล เชน กรณี “กบฎแมนฮัต ตัน”(มิถุนายน 2494)ที่ผานมาอาจมีผลทําใหรัฐบาลไมไววางใจและมีการควบคุมกิจกรรมของ พระมหากษัตริย ทัง้ นี้ ในชวงเวลานัน้ สถานทูตอังกฤษรายงานสถานการณวา ในชวงเวลาดัง กลาว พระองคปรากฎตอสาธารณะนอยครั้ง ทรงมีความเครงขรึม และทรงพยายามควบคุม บุคลิกภาพใหเปนไปตามลักษณะแบบจารีตประเพณีเพือ่ ใหเกิดความเคารพจากประชาชน 16 ดวยเหตุที่ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ประสบความพายแพทางการเมืองอยาง ตอเนื่อง อาจมีผลทําใหพวกเขาไดเปลี่ยนวิธกี ารตอสูกบั รัฐบาลขึ้นใหม ดวยการหันไปสราง พันธมิตรกับสหรัฐฯ ซึง่ ในชวงเวลานัน้ สหรัฐฯตกเปนเปาหมายสําคัญของพวกเขาในการแสวงหา การสนับสนุนทางการเมือง เนื่องจาก ในชวงเวลาดังกลาว ไมมีใครปฏิเสธไดวา สหรัฐฯมีบทบาท สําคัญยิ่งในการเมืองระหวางประเทศ อีกทั้ง แกนนําสําคัญหลายคนในสถาบันกษัตริยและ “กลุม รอยัลลิสต” เปนบุคคลที่เคยมีตําแหนงสูงในทางการเมืองและระบบราชการที่เคยมีสว นรวม กําหนดวิเทโศบายของไทยและมีทกั ษะในการวิเคราะหและมีความเขาใจสถานการณทาง การเมืองระหวางประเทศเปนอยางดี มีความเปนไปไดที่พวกเขาเห็นชองทางในสถานการณ ระหวางประเทศที่อาจจะเอื้อประโยชนใหกบั พวกเขาได เชนพระยาศรีวสิ ารฯ องคมนตรี อดีตปลัด ทูลฉลองและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ และม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อดีต เอกอัครราชทูตไทยประจําวอชิงตัน ดี.ซี. อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ 15

NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn , George M. Widney , 1 September 1953. โปรดดูการศึกษาในประเด็นบทบาทของ พระมหากษัตริยในชวงเวลาดังกลาวเพิ่มเติมใน Kobkua Suwanathat-Pian, King , Country and Constitution : Thailand’s Political Development 1932 – 2000, (New York: Routledge Curzon, 2003), pp.137-155. 16 NA , FO 371/112262 , Wallinger to Foreign Office,” Annual Report on Thailand for 1953”, 4 November 1952.


149

ตางประเทศและรองหัวหนาพรรคประชาธิปตย ทั้งนี้ คนแรกมีฐานะเปนที่ปรึกษาอยางเปน ทางการของพระมหากษัตริย สวนคนหลังเปนแกนนําคนสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งไมนา ประหลาดใจแตประการใดทีพ่ วกเขาจะสามารถทีจ่ ะคิดวิเทโศบายของพวกตนตอมหาอํานาจ อยางเชนสหรัฐฯเพื่อใหไดประโยชนทางการเมือง ซึ่งเห็นไดจากตอมาพวกเขาไดพยายามสราง ความสนิมสนมใกลชิดระหวางสถาบันกษัตริยกับสหรัฐฯขึ้น ดังปรากฎในรายงานทางทางการทูต จากสถานทูตอังกฤษประจํากรุงเทพฯไดรายงานเรื่องดังกลาววา ในกลางป 2496 ไดเกิด เหตุการณที่พระมหากษัตริยไดทรงจัดเลีย้ งอําลาตําแหนงทูตใหกับสแตนตันเปนการสวนพระองค นอกจากนี้ ในรายงานฉบับดังกลาวไดรายงานขอมูลจากการบอกเลาของ สแตนตันวา พระองค ทรงสนพระทัยในความชวย เหลือจากสหรัฐฯที่ใหกับไทยมาก และที่สาํ คัญสถานทูตอังกฤษไดตั้ง ขอสังเกตการเขาใกลชิดระหวางพระองคกบั สหรัฐฯครั้งนีว้ า เปนเรื่องไมปกติทว่ั ไป 17 ตอมา เมื่อสหรัฐฯไดประกาศดําเนินการแผนสงครามจิตวิทยาในไทยแลว โดโนแวน ทูต สหรัฐฯคนใหม ผูมีความคุน เคยกับการเมืองไทยเปนอยางดี เนื่องจากเขาเคยรวมมือกับเสรีไทย ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทําใหเขามีสว นในการรางแผนสงครามจิตวิทยาที่สหรัฐฯจะดําเนินการ ตอตานคอมมิวนิสตในไทย โดยเขาไดรับความไววางใจจากพระมหากษัตริยเปนอยางยิ่ง ทําให เขาไดรับโอกาสเขาเฝาเปนการสวนพระองคอยางนอยถึง 5 ครั้งในชวงเวลาที่เขาดํารงตําแหนง เพียงปเดียว 18 เขาไดบันทึกการเขาเฝาครั้งหนึง่ ในเดือนตุลาคม 2496 วา พระองคทรงมีความ กระตือรือลนทีจ่ ะมีบทบาททางการเมือง แตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไมอนุญาติใหทรงมี บทบาททางการเมืองตามทีท่ รงมีพระราชประสงค และเมื่อเขาไดเลาความชวยเหลือทาง การทหารและการตอตานคอมมิวนิสตของสหรัฐฯแกไทยถวายใหพระองคทรงทราบ ทรงใหความ สนพระทัยในเรื่องดังกลาวมาก19 เกือบทุกครัง้ ที่ โดโนแวน ทูตสหรัฐฯเดินทางกลับไปรายงานและรับทราบนโยบายของ สหรัฐฯตอไทยที่วอชิงตัน ดี.ซี. เขามักจะเขาพบสนทนากับพระองคเสมอ ทัง้ นี้ การเดินทางกลับไป สหรัฐฯครั้งหนึง่ ในเดือนธันวาคม 2496 เขาไดเขาเฝาเปนการสวนพระองคกอนออกเดินทาง และ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. เขาไดเสนอแนวคิดใหสหรัฐฯใชประเด็นการคุกคามสถาบันกษัตริยเปนประเด็น 17

NA, FO 371/106890 , Whitteridge to Foreign Office , 10 July 1953. 18 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0002 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายจอหน อี. เพอรีฟอย เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย วรรณไวทยากร ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 31 มกราคม 2498. โดโนแวนเขาเฝา ครั้งแรกเมื่อ ตุลาคม 2496 ครั้งที่สองเมื่อ 3 ธันวาคม 2496 ครั้งที่สามเมื่อ 30 มกราคม ครั้งที่สี่เมื่อ13 มีนาคม และครั้งที่หาเมื่อ 14 สิงหาคม 2497 19 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4187, Donovan to Secretary of State, 17 October 1953.


150

สําคัญของปฏิบัติการสงครามจิตวิทยาในไทย สมิธ ปลัดกระทรวงการตางประเทศเห็นดวยกับ ขอเสนอของเขา20 ตอมา เขาไดเสนอความคิดตอประธานาธิบดีไอเซนฮาวรวา สถาบันกษัตริยจะ ทําใหสหรัฐฯบรรลุแผนสงครามจิตวิทยาในการทําใหคนไทยตอตานคอมมิวนิสต ซึ่งประธานา- ธิ บดีไอเซนฮาวรเห็นดวยกับแนวคิดดังกลาว และสัง่ การใหเขาประสานงานแผนดําเนินการกับ รัฐมนตรีวากระทรวงการตางประเทศ 21 การกลับไปวอชองตัน ดี.ซีครั้งนี้ เขาไดผลักดันให สหรัฐฯใหทุมงบประมาณจํานวน 150,000,000 ดอลลารในการทําสงครามจิตวิทยาผานสื่อตางๆ ในสังคมไทยเพื่อสรางความมุงมัน่ ใหคนไทยรวมในการตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯ 22 ทันทีที่ เขาเดินทางกลับมาถึงกรุงเทพฯ เขาไดเขาเฝาพระองค อีกครั้ง เพื่อรายงานความคืบหนาของแผน สงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตใหทรงทราบ23 โดโนแวน ทูตสหรัฐฯ เสนอแนวคิดใหสหรัฐฯผลักดันใหสถาบันกษัตริยเปนแกนกลาง สําคัญในการดําเนินการตอตานคอมมิวนิสตในไทยมีความสอดคลองกับนโยบายของสหรัฐฯเปน อยางยิ่ง เนื่องจาก ในขณะนัน้ กรรมาธิการพิเศษวาดวยภัยคุกคามคอมมิวนิสตของกระทรวง กลาโหม สหรัฐฯไดเสนอชุดปฏิบัติการทางการเมืองและการทหาร ทีก่ ําหนดให กระทรวงการ ตางประเทศ และซีไอเอ ดําเนินการสรางแนวคิดทําใหคอมมิวนิสตกลาย เปนภัยคุกคามภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต เพือ่ สรางความหวาดวิตกใหกับประชาชนประเทศเปาหมายที่สหรัฐฯจะ ทําสงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสต 24 ภายใตการนําของโดโนแวน ทูตสหรัฐฯ ปฏิบัติการลับและสงครามจิตวิทยาของสหรัฐฯใน ไทยไดถูกเชื่อมโยงเขาหากัน ในปลายป 2496 เขาและซีไอเอไดพยายามสรางความคิดแบบเทิด ทูลสถาบันกษัตริยใหกลายเปนอุดมการณสําคัญของตํารวจตระเวนชายแดนและตํารวจพลรมที่ สหรัฐฯใหสนับสนุนใหจัดตั้งขึ้น ไมนานจากนัน้ กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดนไดถูกยาย 20

“Smith to Donovan, 7 December 1953,” in Foreign Relations of the United States 19521954 Vol.12, pp.704-705. 21 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4190, Memorandum of Conversation ; General Donovan Philip W. Bonsal Director PSA Lieut. William Vanderheuvel Aid to Ambassador Donovan K.P. Landon officer in charge Thai and Malayan Affaires PSA, 4 January 1954.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4190, Donovan to Secretary of State, 8 January 1954. 22 Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12 (Washington : Government Printing Office,1987), Parson , the Charge in Thailand to The Secretary of States , December 8 , 1953,p.699. 23 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0002 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายจอหน อี เพอรีฟอย เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย วรรณไวทยากร ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 31 มกราคม 2498. 24 The Pentagon Papers, p. 37.


151

ไปที่ตั้งหัวหิน ใกลวังไกลกังวล โดยสหรัฐฯมีวัตถุประสงคเพื่อทําใหตํารวจตระเวนชายแดนและ ตํารวจพลรมมีความสัมพันธที่ใกลชิดกับสถาบันกษัตริย 25 การเดินหนาแผนสงครามจิตวิทยาในไทยของสหรัฐฯไดเริ่มตนขึ้นในตนป 2497 นัน้ เอง โดโนแวน ทูตสหรัฐฯไดสั่งการปรับปรุงภารกิจหนาที่ของยูซิสในไทยจากเดิมที่เคยทําหนาที่แต เพียงเผยแพรความรูเกีย่ วกับสหรัฐฯใหยูซสิ กลายเปนเปนกลไกลใหมที่ทาํ หนาที่ปฏิบัติการ สงครามจิตวิทยาเชิงรุกผานการโฆษณาชวนเชื่อผานสื่อตางๆ และขยายเครือขายปฏิบัติการของ ยูซิสออกไปยังภูมิภาคของไทย พรอมการมีหนวยโฆษณาชวนเชื่อยอยๆที่เคลื่อนที่เขาไปในเขต ชนบทโดยเฉพาะอยางยิง่ ภาคอีสานของไทยในเวลาตอมา ไมกี่เดือนหลังจากที่ โดโนแวน ทูตสหรัฐฯไดนําเสนอแนวคิดในการสนับสนุนสถาบัน กษัตริยเพื่อทําสงครามจิตวิทยาใหคนไทยใหตระหนักในการเขารวมตอตานคอมมิวนิสตกับ สหรัฐฯ ในกลางเดือนพฤษภาคม 2497 พระมหากษัตริยไดทรงสงพระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี เปนผูแทนสวนพระองคเดินทางไปพบประธานาธิบดีไอเซนฮาวรทวี่ อชิงตัน ดี.ซี. จากหลักฐาน จากกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดบันทึกเหตุการณดังกลาววา พระยาศรีวิสารฯไดแจงกับ เจาหนาทีท่ ี่ทาํ เนียบขาววา เขาเปนผูแทนของพระมหากษัตริยไทยมีความตองการเขาพบ ประธานาธิบดีเพื่อนําพระบรมฉายาลักษณมาพระราชทานใหและมีขอความที่ทรงฝากขอความ ถึงประธานาธิบดีบางประการดวย ทัง้ นี้ ในชวงแรก เจาหนาที่ทที่ ําเนียบขาวไมอนุญาติเขาใหเขา พบ เนื่องจากไมมีการนัดหมายประธานาธิบดีอยางเปนทางการจากรัฐบาลไทย แตอยางไรก็ตาม ในเวลาตอมา กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดสั่งการให ผูแทนของพระมหากษัตริยไทยเขา พบประธานาธิบดีได โดยกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯใหเหตุผลวา ไทยมีความสําคัญทาง การเมืองในภูมิ ภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และไทยจะมีความสําคัญตอนโยบายตางประเทศ ของสหรัฐฯตอไปในอนาคต 26 ดังนัน้ จากหลักฐานของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯฉบับดังกลาวนี้ทาํ ใหสามารถ วิเคราะหไดวา การที่สถาบันกษัตริยไดสงองคมนตรีเปนผูแ ทนสวนพระองค เดินทางออกไปพบ กับประธานาธิบดีสหรัฐฯทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.โดยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามไมรับรูนี้ เปนเหตุ การณสําคัญที่แสดงใหเห็นถึงการวิเทโศบายดานการตางประเทศของสถาบันกษัตริยเปนครั้งแรก 25

Lobe, United States National Security Policy And Aid to The Thailand Police, pp.24-

29,fn.16. 26

NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , Everett F. Drumright to Merphy,“ Presentation of the King of Thailand’s Photograph to the President ”, 21 May 1954 .อยางไร ก็ตามผูเขียนยังคนไมพบบันทึกการสนทนาระหวาง พระยาศรีวิสารฯกับประธานาธิบดีไอเซนฮาวร วามีสาระ เปนเชนไร


152

หลังการปฏิวตั ิ 2475 ที่สถาบันกษัตริยไดแสดงเจตจํานงคออกไปภายนอกรัฐไทยโดยรัฐบาลไทย ในฐานะฝายบริหารที่ตองรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรไมอาจลวงรูก ารกระทําที่ละเมิด รัฐธรรมนูญดังกลาวไดเลย ทั้งนี้ เหตุการณดังกลาวอาจะเปนตัวอยางที่สะทอนใหเห็นถึงความ พยายามแสวงหาการสนับสนุนจากสหรัฐฯของสถาบันกษัตริย ซึง่ อาจจะเปนหนทางใหมของการ ตอสูทางการเมืองของสถาบันกษัตริยท ี่จะไดประโยชนจากบริบททางการเมืองระหวางประเทศ ในชวงสงครามเย็น ดังที่พระองคเจาธานีนวิ ัตฯ ประธานองคมนตรี แกนนําสําคัญของสถาบัน กษัตริยไดเคยกลาวไวกับสถานทูตอังกฤษก็เปนไปได 27 ซึง่ ตอมา การสนับสนุนของสหรัฐฯทีม่ ีตอ สถาบันกษัตริยไดกลายมาเปนพลังสนับสนุนที่มีความสําคัญในการชี้ขาดชัยชนะการตอสูทาง การเมืองภายในระหวางสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับรัฐบาลจอมพล ป. ตอไป 6.3 ยูซิสกับสงครามจิตวิทยา ความคิดของโดโนแวน ทูตสหรัฐฯทีม่ ีความตองการใหยซู ิสทําหนาที่การปฏิบัติสงคราม จิตวิทยาเชิงรุกในเขตพืน้ ที่ชายแดนของไทย และปฏิบัติการผานสื่อตางๆ เพื่อทําใหคนไทยเห็น ภาพภัยจากการคุกคามของคอมมิวนิสต โดยเขาตองการจัดตั้งหนวยงานโฆษณาชวนเชื่อ เคลื่อนที่ของยูซิสในภาคอีสานและภาคเหนือ เชน อุบลราชธานี อุดรธานี นครราชสีมา และ ลําปาง28 แตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไมเห็นดวยกับขอเสนอที่ใหยูซิสตั้งหนวยเคลื่อนที่ อิสระในภูมิภาคโดยปราศจากการควบคุมของรัฐบาล อยางไรก็ตาม รัฐบาลจะจัดตัง้ หนวยงาน ของกรมประชาสัมพันธในภูมิภาคขึ้นและใหยูซิสเขารวมงานดวย โดยยูซิสจะตองสําหรับคาใช จายหมดทัง้ วัสดุ อุปกรณ การดูแลเนื้อหาสาระในการกระจายเสียงการตอตานคอมมิวนิสต 29 ขอเสนอของรัฐบาล สรางความพอใจใหกบั ยูซิสมากที่รฐั บาลใหกรมประชาสัมพันธออกหนาแทน ยูซิส 30 27

28

NA, FO 371/101168 , Chancery to Foreign Office , 21 July 1952.

หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497) Donovan to His Royal Highness The Foreign Minister Aide-Memoire, 29January 1954.; หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497), วรรณไวทยากร ถึง นายกรัฐมนตรี 30 มกราคม 2497. 29 หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497), หลวงชํานาญอักษร เลขาการคณะรัฐมนตรี ถึง รัฐมนตรีวากการะทรวงการตางประเทศ 11 กุมภาพันธ 2497 . 30 หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497) อธิบดี กรมยุโรป และอเมริกา ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 17 กุมภาพันธ 2497.


153

ตอมา ในกลางป 2497 ยูซิสไดตั้งหนวยงานประชาสัมพันธเคลื่อนที่ขนึ้ โดยมีโรเบิรต ลาชเชอร และเจมส เฮนเดอร(James Hender)รับผิดชอบในการดําเนินการโฆษณาชวนเชื่อตาม หมูบานในภาคอีสานดวยกองคาราวานรถจิ๊ปที่มีคณะผูเชี่ยวชาญในการทําสงครามจิตวิทยาออก เดินทางไปทั่วเขตชนบทเพื่อแจกโปสเตอร และสมุดคูมือการตอตานคอมมิวนิสตใหกับกํานัน ผูใหญบานและประชาชนในเวลากลางวัน สวนกิจกรรมในเวลากลางคืนมีการฉายภาพยนต ตอตานคอมมิวนิสตใหกบั ประชาชนในชนบทรับชม ทัง้ นี้ งานโฆษณาชวนเชื่อของยูซิสผานการ กระจายเสียงทางวิทยุในภูมิภาคของไทยนั้น ประสบความสําเร็จมาก อดีตเจาหนาทีข่ องยูซิสคน หนึง่ บันทึกวา รายการตางๆที่ออกอากาศเปนการโฆษณาชวนเชื่อออนๆ แตไมมีคนไทยคนใดรูสึก วาเปนโฆษณาชวนเชื่อแตอยางใด เนื่องจากยูซิสสามารถดําเนินการไดอยางแนบเนียน ทําให ผูฟงคนไทยสวนมากไมรูวา เปนรายการทีส่ หรัฐฯใหการสนับสนุนอยูเบื้องหลัง31 อยางไรก็ตาม การดําเนินการฉายภาพยนตของยูซิสในภูมิภาคนั้น นําไปสูการตั้งกระทู ตอรัฐบาลในสภาผูแทนราษฎรครั้งหนึ่ง แตรัฐบาลชี้แจงอยางเลีย่ งๆวา รัฐบาลมีนโยบายบํารุง ครัวเรือน สงเสริมการศึกษา อบรมและสงเคราะหหัวหนาครอบครัว จึงใหดําเนินการสรางสถานที่ ฝกอบรมหัวนาครอบครัวในจังหวัดและอําเภอตางๆ และมีการนําภาพยนตเรื่องเสียงสาบจากโล กันตออกไปฉายในภูมิภาค32 ตอมา รัฐบาลไดอนุมัติใหนาํ วิชาสงครามจิตวิทยาเขามาสอนใน ระดับมหาวิทยาลัย โดยมีกรมประมวลราชการแผนดินรับผิดชอบการสอนที่ คณะรัฐศาสตรและ อักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะรัฐศาสตร เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โรงเรียนนายรอย นายเรือ นายเรืออากาศและตํารวจ33 ไมแตเพียงเทานัน้ ยูซิสไดจัดทําภาพยนต

31

อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พล.ร.ท.เฉลิม สถิรถาวร ณ เมรุ วัดเทพศิรินทราวาส 27 มีนาคม 2512,(กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรมสารบรรณทหารเรือ, 2512), หนา 26-27. พล.ร.ท.เฉลิมไดแปลบทความ ของเมนารด ปารคเกอร โดยปารคเกอรมีภูมิหลังเคยเปนนายทหารประชาสัมพันธในไทย รับรูการปฏิบัติงาน สงครามจิตวิทยาในภาคอีสานของไทย ตอมา เขาผันตัวเองมาเปนนักหนังสือพิมพนิตยสารไลฟ ไดเขียน บทความลง Atlantic วา การตอตานคอมมิวนิสตในภาคอีสานเปนหนาที่ของหนวยงานพลเรือน 2 หนวย คือ สํานักขาว สารอเมริกันยูซิส กับสํานักงานพัฒนาระหวางชาติ(Agency for International Development: AID) ลงในนิตยสารนาวิกศาสตร เดือนมีนาคม 2510 ตอมาถูกพิมพในหนังสืองานศพเลมดังกลาว 32 รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร ครั้งที่ 11 / 2496 (สามัญ) ชุดที่1 10 กันยายน 2496 ใน รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ พ.ศ.2496,(พระนคร: บริษัท เสนาการพิมพ, 2499), หนา 860-863. 33 สารเสรี, 28 กรกฎาคม 2497.


154

สงครามจิตวิทยาเรื่อง From Mao to Mekong มีการนําเสนอเรื่องปรีดี พนมยงคกับพวก คอมมิวนิสตไปฉายในวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร 34 การดําเนินการสงครามจิตวิทยาของยูซิสในไทยชวง 2496-97 นัน้ ยูซสิ ไดจัดพิมพ หนังสือตอตานคอมมิวนิสตฉบับกระเปา แจกจายใหวัดทั่วประเทศ จํานวน 19,000 แหง ภายในมี บทความที่เขียนกระตุนใหคนไทยตระหนักถึงคอมมิวนิสตเปนศัตรูทอี่ ยูภายในและภายนอกที่จะ มาคุกคามไทย โดยยูซิสไดคัดสรรหนังสือที่จะแปลที่สอดคลองกับการทําสงครามจิตวิทยาในไทย ตามที่สหรัฐฯตองการเพื่อสรางใหคนไทยเห็นปญหาทางสองแพรง สื่อผานการสื่อสารกับมวลชน ดวยหนังสือราคาถูกที่ไมไดเนนกําไรและแจกจายใหกับคนไทยทั่วประเทศ 35 ทั้งนี้ ควรบันทึก ดวยวา ในชวง 2496-2500 การปฏิบัติการสงครามจิตวิทยาดวยการใชสื่อในฐานะเปนอาวุธทาง อุดมการณของยูซิสในไทย นั้น สามารถจําแนกสื่อออกเปน 2 กลุม ดังนี้ กลุม แรกเปนเอกสาร สิ่งพิมพตอตานคอมมิวนิสตที่ยูซิสสนับสนุนการจัดพิมพเพื่อแจกจายใหแกประชาชน และ ขาราชการทั่วประเทศ และสําหรับหองสมุดตอตานคอมมิวนิสต 36 เชน หนังสือโฆษณาชวนเชื่อ ความกาวหนาและยิ่งใหญของสหรัฐฯ หนังสือหนังสือ สมุดภาพ โปสเตอร-แผนปลิวตอตาน คอมมิวนิสตและภาพยนตตอ ตานคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ การนําเสนอภาพภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต ในชวงการนําแผนสงครามจิตวิทยามาปฏิบัตินี้ไดเริ่มเห็นรองรอยของการพยายามทําใหสถาบัน กษัตริยใหกลายเปนศูนยกลางของตอตานคอมมิวนิสต เชน หนังสือเลมเล็ก เรื่อง ชะตากรรมของ ราชะ โปสเตอรและแผนปลิว เรื่อง ลัทธิคอมมิวนิสตคุกคามพระมหากษัตริยเปนภาพ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั และพระแกวมรกต และภาพยนตชุดเพื่อไทยเปนไท มีการนําเสนอ เรื่องราวพระราชกรณรียกิจของพระมหากษัตริยเรื่องทรงเสด็จเปดงานวันเกษตรแหงชาติป

34

นายกรัฐมนตรีใหสัมภาษณแกผูแทนหนังสือพิมพและผูสื่อขาวตางประเทศ,(พระนคร : โรงพิมพ มหาดไทย, 2498), หนา 197-198. 35 Leo Bogart, Premises for propaganda : the United States Information Agency's operating assumptions in the Cold War, (New York: Free Press, 1976),pp. xiii,61-62 36 หจช.(3) สร.0201.23/10 หองสมุดหนังสือสําหรับตอตานคอมมิวนิสต(26 กันยายน – 22 พฤศจิกายน 2498) บุณย เจริญไชย รักษาการรองอธิบดี กรมประมวลราชการแผนดิน ฝายตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝายการเมือง วันที่ 26 กันยายน 2498 , รัฐบาลสั่งการใหมีการตั้งหองสมุดหนังสือ ตอตานคอมมิวนิสตขึ้นในกรุงเทพฯที่หองสมุดประชาชนของสภาวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม (หจช.(3) สร.0201.23/10 หองสมุดหนังสือสําหรับตอตานคอมมิวนิสต(26 กันยายน – 22 พฤศจิกายน 2498) , หลวงวิเชียรแพทยาคม ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ฝายการเมือง วันที่ 22 พฤศจิกายน 2498).


155

249737 ทัง้ นี้ รายงานถึงประธานาธิบดีไอเซนฮาวรในปลายป 2498 มีการรายงานวา ยูซิสไดสนับ สนับสนุนใหรฐั บาลไทยทําสงครามจิตวิทยาเพื่อครอบงําลึกลงไปถึงในระดับหมูบา นแลว 38 6.4 สงครามจิตวิทยากับการสถาปนาอํานาจของสถาบันกษัตริย การดําเนินการตามแผนสงครามจิตวิทยาในไทยของสหรัฐมีวัตถุประสงคที่จะครอบงํา การรับรูของคนไทยในเขตชนบทจนถึงระดับหมูบานในภาคเหนือและอีสานของไทย ดวยการ สรางภาพภัยจากคอมมิวนิสตที่จะคุกคามสถาบันกษัตริย จารีตประเพณีและเอกราชของไทยที่ เคยมีมาอยางยาวนานใหลม สลายลง 39 อยางไรก็ตาม ความมุง หวังของสหรัฐฯที่จะทําใหคนไทย ใหเห็นภัยคอมมิวนิสตที่คุกคามสถาบันกษัตริยในขณะนั้นไมมีสมั ฤทธิผลนัก เนื่องจากที่ผานมา เปนเวลานาน รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามมิไดใหความสนับสนุนใหสถาบันกษัตริยมีความ สําคัญ ซึ่งเห็นไดจาก การสํารวจความรูของคนไทยในชนบทภาคอีสานในป 2497 ของสหรัฐฯนัน้ คนไทยในภาคอีสานไมรูถึงความหมายของสถาบันกษัตริยถึงรอยละ 61 40 ดวยเหตุที่ สหรัฐฯตองการสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหเขาเปนสวนหนึ่งในการทําสงคราม จิตวิทยาในไทยจึงเปนจังหวะเวลาสําคัญที่เปดโอกาสทางการเมืองใหกับสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” กลับมามีโอกาสทางการเมืองอีกครั้ง ดังความคิดของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช 37

โปรดดูรายละเอียดใน ณัฐพล ใจจริง, “จากสงครามจิตวิทยาแบบอเมริกันสูการสรางสัญลักษณ แหงชาติภายใตเงาอินทรีย” การสัมมนาวิชาการ สงครามเย็นในประเทศไทย วันที่ 8 กุมภาพันธ 2553 อาคาร มหาจุฬาลงกรณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 38 Dwight D. Eisenhower Library , White House Office, National Security Council Staff : Papers, 1948-1961 , Operations Coordinating Board Central File Service box 80, Memorandum for The Operations Coordinating Board Assistants ,”Progress Report on Southeast Asia (NSC 5405 AND portion of NSC 5429/5)”, 2 December 1955. 39 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service box 2, Special Report to The National Security Council 1954.; “Parson to The Secretary of States, the Charge in Thailand, 9 December 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, p. 700.; Library of Congress, CK3100288451, 28 December 1953, Memorandum of Meeting-Operations Cooperating Board Working Group on PSB D-23 – Thailand.; PRO, FO 371/117338, Gage to Foreign Office, 2 August 1955. 40 Bowie, Ritual of National Loyalty: An Anthropology of the State and the Village Scout Movement in Thailand, p. 87.


156

สมาชิกสําคัญคนหนึ่งของ “กลุมรอยัลลิสต” ไดเปดเผยกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯในเดือน เมษายน 2497 ซึ่งเปนชวงเวลากอนที่พระยาศรีวิสารฯ ผูเปนองคมนตรี จะเดินทางไปพบ ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรวา พระองคกําลังแสวงหาความนิยมจากประชาชน เนื่องจาก “กลุม รอยัลลิสต”เห็นวาอํานาจทางการเมืองของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกําลังออนตัวลง 41 จากคําบอกเลาของควง อภัยวงศ แกนนําคนหนึ่งใน“กลุมรอยัลลิสต” และหัวหนาพรรค ประชาธิปตย ไดใหกับสถานทูตสหรัฐฯรับฟงวา พระองคทรงพยายามเขามามีบทบาททางการ เมืองดวยการทรงขอใหเขาเปนที่ปรึกษาทางการเมืองสวนพระองค จากนัน้ ทรงไดเริ่มตนทาทาย อํานาจของรัฐบาลจอมพล ป.ดวยการคัดคานและชลอการลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายปฏิรูป ที่ดินเพื่อชวยเหลือคนยากจนของรัฐบาล เนื่องจาก ทรงเห็นวา กฎหมายดังกลาวไมมคี วาม จําเปนเพราะที่ดินในประเทศมีราคาถูกและมีมากมายในชนบท และควงไดเลาตออีกวาพระองค ทรงมีพระบรมราชวินจิ ฉัยวา การควบคุมการถือครองที่ดนิ ตามกฎหมายของรัฐบาลจะสรางความ ไมพอใจใหกับเจาที่ดนิ 42 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ไมแตเพียง สถาบันกษัตริยเริ่มตนการทาทายอํานาจของ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเทานัน้ แต “กลุมรอยัลสิสต”ยังมีแผนการสรางกระแสความนิยม ในพระมหากษัตริยใหเกิดในหมูป ระชาชนเพื่อทาทายอํานาจของรัฐบาลจอมพล ป. ในอีกทาง หนึง่ ดวยการใหจัดโครงการใหพระองคเสด็จเยี่ยมประชาชนในชนบท 43 ควง อภัยวงศในฐานะที่ ปรึกษาทางการเมืองสวนพระองคใหความเห็นวา แผนการการเสด็จเยีย่ มประชาชนที่ “กลุมรอยัล ลิสต”ผลักดันขึ้นนัน้ จะสรางความนิยมใหกับพระองคเปนอยางมาก เขาเห็นวา การเสด็จชนบท เปนการแสดงการทาทายอํานาจรัฐบาล 44 อยางไรก็ตาม ในขณะนัน้ รัฐบาลปฏิเสธทีจ่ ะใหการ สนับสนุนในการเดินทางเสด็จเยี่ยมประชาชนในชนบท อาจมีผลทําใหพระยาศรีวิสารวาจาฯ องคมนตรี แกนนําคนสําคัญในสถาบันกษัตริย ที่ไดเดินทางไปพบประธานาธิบดีไอเซนฮาวรที่

41

NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Kukrit Pramote , George M. Widney , 29 April 1954. 42 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Nai Kwaung , Pierson M. Hall , 12 May 1954 , NARA , RG 59 General Records of Department of State , Central Decimal File 1950-1954 Box 4188 , Bangkok to Secretary of Stat , 4 December 1954 .อยางไรก็ตาม สภาผูแทนราษฎรไดยืนยันการใชกฎหมายดังกลาวจนสามารถประกาศใชไดสําเร็จ. 43 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Kukrit Pramote , George M. Widney , 29 April 1954. 44 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Nai Kwaung , Pierson M. Hall , 12 May 1954.


157

วอชิงตัน ดี.ซี.ในเดือนพฤษภาคมปเดียวกัน45 ซึ่งการแสดงการวิเทโศบายของสถาบันกษัตริยใน ลักษณะดังกลาวเชนนี้ออกไปนั้น อาจพิจารณาไดวา การกระทําดังกลาวเปนแสดงเจตนารมยที่ดู เสมือนหนึง่ มีความปดลับบางประการออกไปภายนอกประเทศโดยไมใหรัฐบาลลวงรูในลักษณะที่ อาจมีการตกลงบางประการ และ/หรือ ขอความชวยเหลือจากมหาอํานาจอยางสหรัฐฯใหชวย ผลักดันความตองการของพวกเขาใหสําเร็จ เชน โครงการเสด็จชนบทของพระมหากษัตริย เปน ตน ไมนานจากทีพ่ ระยาศรีวิสารฯเดินทางไปพบประธานาธิบดี พระมหากษัตริยไดทรงจัด งานเลี้ยงอําลาตําแหนงทูตใหกับโดโนแวนเปนการสวนพระองค เขาไดแจงใหพระองคทรงทราบ วา สหรัฐฯมีนโยบายสนับสนุนแผนสงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตในภาคอีสานของไทย พระองคทรงใหความสนใจแผนสงครามจิตวิทยาในภาคอีสานนีม้ าก ทรงกลาววา ทรงมีพระราช ประสงคเสด็จภาคอีสาน ทูตอังกฤษเห็นวา หากพระองคเขารวมแผนการตอตานคอมมิวนิสตกับ สหรัฐฯนัน้ จะเกิดผลทางบวกแกสหรัฐเปนอยางมาก อีกทั้งจะเปนสาเหตุทที่ ําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไมสามารถที่จะควบคุมพระราชกรณียกิจของพระองคใหปลอดจากสายตา ประชาชนได และการรวมโครงการตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯจะทําใหพระองคมีโอกาส ปรากฎพระองคตอสาธารณะไดบอยครั้งอีกดวย 46 อยางไรก็ตาม จากหลักฐานรวมสมัยของคณะทูตประเทศมหาอํานาจไดบันทึกพัฒนา การของบุคลิกภาพของพระองควา ในตนทศวรรษ 2490 ทูตสหรัฐฯบันทึกวา พระองคทรงเปนคน ขี้อาย(Shyness) 47 แตตอมาในปลายทศวรรษ 2490 ทูตอังกฤษไดบันทึกในทางกลับกันกับทีท่ ูต สหรัฐฯบันทึกวา พระองคทรงสามารถเอาชนะความขี้อาย และเริ่มกลาปรากฏพระองคตอ สาธารณชนมากขึ้น อีกทัง้ กลุมราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” รวมมือกันในการผลักดันแผน ประชาสัมพันธที่จะการสรางกระแสความนิยมของพระองคใหเกิดกับคนไทยในชนบท ทูตอังกฤษ ประเมินวา แผนการของ“กลุม รอยัลลิสต”เปนสมือนการหวานเมล็ดพันธุเพื่อสรางอิทธิพลที่มนั่ คง ใหกับพระองคนี้จะประสบความสําเร็จอยางมาก 48 ตอมา รายงานถึงประธานาธิบดีไอเซนฮาวรในปลายป 2497 ไดประเมินการเมืองไทยวา การเมืองยังคงไมมีเสถียรภาพตอไป ดังนัน้ สหรัฐฯควรใหการสนับสนุนบทบาทสถาบันกษัตริย 45

NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , Everett F. Drumright to Merphy, “ Presentation of the King of Thailand’s Photograph to the President ”, 21 May 1954 . 46 NA, FO 371/112262 , Gage to Foreign Office , 21 August 1954. 47 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , Stanton to Secretary of State , 4 May 1950. 48 NA, FO 371/106884 , Wallinger to Foreign Office , 19 December 1954.


158

ในรายงานเสนอแนะวา แมพระมหากษัตริยจะทรงไรอํานาจและยังไมมีความชัดเจนทาง สัญลักษณในการเมืองของไทย แตทรงมีความกระตือรือลนอยางยิง่ 49 ในตนเดือนกุมภาพันธ 2498 เอช. สรูฟว เฮนเซล(H. Struve Hensel) ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมไดเสนอความคิด ตอกระทรวงการตางประเทศ วา ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงมีปญหาชองวางของอุดมการณ ดังนัน้ สหรัฐฯจะตองใชประโยชนจากผูน ําและความเชื่อในผูนาํ ของพวกเขา ชักนําใหพวกเขารวม ตอตานคอมมิวนิสต แตตองอําพรางมิใหพวกเขามองเห็นบทบาทสหรัฐฯ อาณานิคมและคนขาว 50 ตอมา กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯได สั่งการใหยซู ิสในไทยเรงปฏิบัติการครอบงําคนไทย ใหมากขึ้น โดยใชประเด็นจากจารีตประเพณี และความมีเอกราชของชาติเปนประเด็นในการปลุก เราใหคนไทยเห็นภาพรวมกันถึงความชั่วรายของคอมมิวนิสตที่กําลังคุกคามไทย51 เมื่อ สหรัฐฯมีนโยบายตอตานคอมมิวนิสตดวยการสนับสนุนใหสถาบันกษัตริยม ี ความสําคัญนัน้ มีสวนทําใหแผนการเสด็จเยี่ยมประชาชนในชนบทของพระมหากษัตริยไทยที่ “กลุมรอยัลลิสต”พยายามผลักดันมีความชัดเจนยิง่ ขึ้น ในเวลาตอมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามยอมเปลี่ยนทาทีจากที่เคยคัดคานโครงการเสด็จเยี่ยมประชาชนมาเปนความยินยอมให พระองคเสด็จเยี่ยมประชาชน ในกลางป 2498 ทูตอังกฤษรายงานวา แผนเสด็จเยี่ยมประชาชนฯ ของพระองคที่ “กลุมรอยัลลิสต” ผลักดันขึน้ นัน้ เปนแผนประชาสัมพันธที่จะประสบความสําเร็จ อยางมาก52 จากนัน้ โครงการเสด็จเยี่ยมประชาชนไดเริ่มตนในชวงปลายกันยายนจนถึงปลาย พฤศจิกายน 2498 ทั้งนี้ ชวงแรกของการเสด็จนั้น ทรงเสด็จเยี่ยมประชาชนในภาคกลางเปน ชวงเวลาสัน้ ๆครั้งละ 1-2 วัน ตอมา การเสด็จครั้งสําคัญ คือ การเสด็จภาคอีสาน ในชวงเดือน พฤศจิกายน 2498 53

49

Dwight D. Eisenhower Library , White House Office , National Security Council Staff : Papers, 1948-1961 , Operations Coordinating Board Central File Service Box 2 ,“ Thailand : An American Dilemma ” , October 1954. 50 NARA, RG 84 ,Top Secret General Records 1947-1958 Box 3 , Hensel to Dulles , 4 February 1955 . 51 “U.S. Assistance in the Development of Force Adequate to Provide Security in Countries Vulnerable to Communist Subversion(Thailand)1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22,(Washington D.C.: Government Printing Office,1989), p. 820. 52 NA, FO 371/117360 , Gage to Tomlinson , 29 April 1955. 53 ปราการ กลิ่นฟุง, “การเสด็จพระราชดําเนินทองที่ตางจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิ พลอดุลยเดช พ.ศ.2493-2530,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551), หนา 121.


159

หลังจากที่ทรงเริ่มตนโครงการการเสด็จเยี่ยมประชาชนฯในเขตภาคกลางของไทยเมื่อ ปลายเดือนกันยายน 2498 ทําใหพระองคเริ่มกลายเปนจุดสนใจ และแกนกลางของจารีต ประเพณีไทย พระยาศรีวิสารฯ องคมนตรีไดบอกตอสถานทูตสหรัฐฯในเดือนตุลาคมวา “กลุม รอยัลลิสต”กําลังวางแผนใหพระองคทรงเสด็จเยี่ยมเยียนประชาชนในทั่วทุกภาคเพือ่ สนับสนุน การตอตานคอมมิวนิสตตามความตองการของสหรัฐฯ54 ทัง้ นี้ ความนิยมของประชาชนที่มีตอ พระองคทาํ ใหรัฐบาลพยายามคัดคานแผนการเสด็จเยีย่ มประชาชนฯดวยการตัดลดงบประมาณ และการรับรองความปลอดภัยลงทําใหพระองคทรงไมพอใจรัฐบาล55 อยางไรก็ตาม แผนการ เสด็จภาคอีสานในเดือนพฤศจิกายนดําเนินตอไปทําใหพระองคทรงกลายเปนศูนยกลางของ ความสนใจของคนไทยอยางมาก 56 เดือนธันวาคม 2498 สภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯประเมินวากิจกรรมสงคราม จิตวิทยาในไทยที่สหรัฐฯผลักดันนัน้ สามารถกระตุนใหชาวบานในระดับหมูบานตระหนักถึงภัยที่ จะมาคุกคามสถาบันกษัตริย จารีตประเพณี และความมีเอกราชของไทยได 57 ตอมาเมื่อ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเดินทางมาไทยเมื่อเดือนมีนาคม 2499 เขาไดเขาเฝา พระมหากษัตริย และกราบบังคมทูลใหพระองคทรงตระหนักถึงความสําคัญของการตอสูกับ คอมมิวนิสตวา พระองคจะตองทรงมีความแข็งแกรง กระฉับกระเฉงและมีกิจกรรมที่เปยมไปดวย จิตวิญญาณของการตอตานคอมมิวนิสตตอ ไป 58 ในขณะที่ สหรัฐฯชื่นชมและใหความสําคัญกับการรวมตอตานคอมมิวนิสตของสถาบัน พระมหากษัตริย แตในทางกลับกัน ในเวลาตอมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกลับเริ่มถอย หางออกจากสหรัฐฯ ดวยการเริ่มตนการมีนโยบายตางประเทศที่เปนกลางและกระบวนการ 54

NARA , RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Box 3908 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn Vacha , Robert N. Magill , “ The Current Political Situation ”, 12 October 1955. 55 NA, FO 371/117360 , Gage to Tomlinson , 29 April 1955,NARA , RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Box 3908 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn Vacha , Robert N. Magill , “ The Current Political Situation ”, 12 October 1955. 56 โปรดดูภาพการเสด็จฯดังกลาวทามกลางประชาชนใน เสด็จฯเยี่ยมราษฎร, (กรุงเทพฯ: สํานัก พระราชวัง, 2532). 57 Dwight D. Eisenhower Library , White House Office , National Security Council Staff : Papers, 1948-1961 , Operations Coordinating Board Central File Service Box 80 , Memorandum for The Operations Coordinating Board Assistants ,”Progress Report on Southeast Asia (NSC 5405 AND portion of NSC 5429/5) ”, 2 December 1955. 58 “Memorandum of a Conversation at Government House-Bangkok, 13 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 862.


160

ประชาธิปไตยที่มีการแขงขันทางการเมืองอันนําไปสูการวิจารณสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป. อยางหนัก อีกทั้ง กระบวนการทางการเมืองในการเตรียมการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นในตนป 2500นั้น ทําใหรัฐบาลตองหันไปประนีประนอมกลุมการเมืองตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “กลุมปรีดี”และ กลุมฝายซายในสังคมไทยเพือ่ ชัยชนะในการเลือกตั้ง ทําใหสหรัฐฯเริ่มมองเห็นความยอหยอนของ รัฐบาลในฐานะพันธมิตรที่รว มตอตานคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ ในบันทึกของรักษาการรัฐมนตรีกระทรวง การตางประเทศถึงสถานทูตสหรัฐฯในกรุงเทพฯในปลายป 2499 ไดแสดงความกังวลใจถึงความ ยอหยอนของรัฐบาลในการตอตานคอมมิวนิสต 59

59

NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Hoover(Acting of Secretary of State) to Bangkok, 4 August 1956.


บทที่ 7 ความเปนกลางและการสรางประชาธิปไตย ของรัฐบาลจอมพล ป.ปลายทศวรรษ 2490 7.1 บริบทการกอตัวของนโยบายเปนกลางของรัฐบาลจอมพล ป. นับตั้งแต การยุติการยิงในสงครามเกาหลี(2496)ที่ไมปรากฎผูชนะและติดตามดวยความ พายแพของฝรัง่ เศสที่เดียนเบียนฟู (2497) มีผลทําใหรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามเกิด ความลังเลในการสนับสนุนที่สหรัฐฯจะใหแกไทยเพื่อตอตานการรุกรานของกองทัพของพรรค คอมมิวนิสตจนี 1 ในปลายปเดียวกันสหรัฐฯไดตั้งขอสังเกตถึงทาทีของรัฐบาลไทยวา แมในดานที่ เปนทางการไทยยังประกาศดําเนินการตามนโยบายของสหรัฐฯตอไป แตในความคิดเห็นของผูน าํ ไทยบางคนนัน้ พวกเขาเริ่มตั้งคําถามถึงความเปนไปไดที่สหรัฐฯจะใหการคุมครองความมัน่ คง ของไทยหลังขอตกลงที่เจนีวาตอไป สหรัฐฯเชื่อวา มีความเปนไปไดที่รฐั บาลไทยจะแสวงหา ทางเลือกใหม 2 เมื่อฝรั่งเศสพันธมิตรสําคัญของสหรัฐฯตองถอนตัวออกไปจากอินโดจีนสงผลใหสหรัฐฯ เกิดความวิตกวา อาจเกิดสูญญากาศทางอํานาจในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทําใหสหรัฐฯ สูญเสียอิทธิพลในภูมิภาคไป เนื่องจากภูมิภาคนี้อาจจะถูกคอมมิวนิสตยึดครองตามทฤษฎีโดมิโน ดวยความวิตกเชนนี้ทาํ ใหสหรัฐฯเสนอจัดตั้งระบบความมั่นคงรวมกันระหวางสหรัฐฯกับประเทศ ในเอเชียหรือองคการสนธิสญ ั ญาปองกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต(SEATO)หรือซีโตใน เวลาตอมา เพือ่ การสรางความมัน่ ใจใหเกิดในภูมิภาคอีกครั้ง 3 รัฐบาลไทยไดแสดงใหสหรัฐฯเห็น วาไทยยังคงมีความความสัมพันธที่แนบแนนกับสหรัฐฯตอไป ดวยการประกาศตัวเปนประเทศ แรกที่ใหสัตยาบันในสนธิสัญญากอตั้งซีโต ทําใหสหรัฐฯมีความพอใจมาก4 ในขณะที่ภูมิภาคเผชิญหนากับสภาวะสุญญากาศของอํานาจในการเมืองระหวาง ประเทศ จีนไดเริ่มตนโครงการชักชวนใหประเทศตางๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตให

1

NA, FO 371/117338, Gage to Foreign Office, 2 August 1955. NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79R00890A000300050008-1, 5 August 1954 , “NSC briefing”. 3 Leszek Busynki, SEATO: The Failure of an Alliance Strategy,(Singapore: Singapore University Press, 1983), p. 6. 4 สยามรัฐ, 24 กันยายน 2497. 2


162

ความสําคัญกับสันติภาพขึน้ 5 ตอมา รูปธรรมของการรณรงคสันติภาพไดเกิดขึ้นเมื่อ เยาวะฮะราล เนหรู นายกรัฐมนตรีอิเดียและอูนุ นายกรัฐมนตรีพมาไดเดินมาแวะเยือนไทยกอนเดินทางไป ประชุมของกลุม ประเทศไมฝก ใฝฝายใด(Non-Aligned Movement: NAM)∗ ทีก่ รุงโคลัมโบ ศรีลังกา จอมพล ป.พิบูลสงครามใหการตอนรับ โดยผูน าํ ทัง้ สองไดกลาวสุนทรพจนเพื่อโนมนาว ใหไทยเห็นดวยกับการรักษาสันติภาพทามกลางความขัดแยงของโลก6 หนังสือพิมพขณะนั้น เชน เทอดไทย เห็นวา การมาเยือนของผูนาํ ทั้งสองเปนการมายั่งทาทีไทยใหโนมเอียงไปกับกลุม ประเทศไมฝกใฝผายใด7 ในสายตาของสหรัฐฯ แมการเมืองไทยในชวงปลายป 2497 จะปลอดจากการทาทายทาง การเมืองจากลุมภายนอกรัฐบาลก็ตามแตภายในกลับมีความขัดแยงที่เขมขนระหวางจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทซึ่งเปนผูมีอาํ นาจทางการเมืองอยางแทจริง ใน รายงานวิเคราะหแมจอมพล ป.พิบูลสงครามจะเปนนายกรัฐมนตรีแตเขาไมมีอํานาจทาง การเมือง และแมเขาจะมียศจอมพลแตเขากลับไมมีกําลังทหารสนับสนุน ทามกลางความขัดแยง ภายในเชนนี้ สหรัฐฯเห็นวาไทยกําลังตกอยูในสภาวะแหงความเสี่ยงทีจ่ ะคอมมิวนิสตคุกคามได งาย และหากสหรัฐฯสูญเสียไทยยอมหมายถึงสหรัฐฯสูญเสียทัง้ ภูมิภาคตามทฤษฎีโดมิโน อยางไรก็ตาม ในขณะนัน้ สหรัฐฯยังไมตัดสินใจสนับสนุนผูใดระหวางจอมพลสฤษดิ์ และพล ต.อ. 5

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A001600530001-5, 25 July 1954 , “Communists pleased with ‘neutralization’ campaign in Southeast Asia”. ∗

กลุมประเทศไมฝกใฝฝายใด(Non-Aligned Movement :NAM) ไดรับการกอตั้งขึ้นเมื่อ 2497 เริ่มตนจากการที่ผูนําของประเทศตาง ๆ ในเอเชีย 5 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย พมา อินเดีย ปากีสถาน และศรี ลังกา ไดมาประชุมกันที่กรุงโคลัมโบเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณระหวางประเทศใน ขณะนั้น และเห็นวา ควรมีการขยายกรอบการประชุมใหกวางออกไป ตอมา ในป 2498 มีการประชุมกลุม ประเทศเอเชีย-แอฟริกาที่เมืองบันดุง อินโดนีเซีย (Bundung Conference) โดยมีผูเขารวมการประชุมเพิ่มขึ้น เปน 29 ประเทศ ประเทศที่เขารวมการประชุมไดเห็นพองกันวา ประเทศในเอเชียและแอฟริกาควรมีการรวมตัว กันเพื่อไมตองถูกครอบงําโดยสหรัฐฯและสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น และเพื่อเปนพลังรวมกันในการ ตอตานการเปนอาณานิคมของประเทศมหาอํานาจ ในการนี้ ที่ประชุมไดยอมรับหลักการ 5ประการ(หลักปญจ ศีล)เปนหลักการรวมที่สมาชิกยึดถือกัน ดังนี้ การเคารพในบูรณภาพและอธิปไตยซึ่งกันและกัน การไมรุกรานซึ่ง กันและกัน การไมแทรกแซงซึ่งกันและกันทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจและความเชื่อ การใหความเสมอภาคและ ผลประโยชนอันเทาเทียมกันและการอยูรวมกันอยางสันติ 6 ศรีกรุง, 26 ธันวาคม 2497.; โปรดดูสุนทรพจนของอูนุ นายกรัฐมนตรีพมาและเนหรู นายกรัฐมนตรี อินเดียในงานเลี้ยงตอนรับครั้งนี้ ใน ขาวพาณิชย, 29 ธันวาคม 2497.; ประชาธิปไตย, 30 ธันวาคม 2497.; ประชาธิปไตย, 31 ธันวาคม 2497. 7 เทอดไทย, 28 ธันวาคม 2497.


163

เผาใหขึ้นมาเปนผูมีอํานาจคนใหม เนื่องจาก สหรัฐฯยังคงมองวาทัง้ คูลวนแสดงตนเปน“เด็กดี” (Fair-haired boy)ของสหรัฐฯ ในขณะที่กองทัพไทยตกอยูในการควบคุมของเหลานายพลที่มี ความเฉื่อยชาและไมเขาใจนโยบายของสหรัฐฯ แมสหรัฐฯยังคงสนับสนุนทั้งสองคนตอไปแต สหรัฐฯมีความตองการผลักดันปลดระวางนายทหารระดับสูงของไทยหลายคนที่ตายซากออกไป จากกองทัพ 8 ตนเดือนมกราคม 2498 เมื่อจีนไดเริ่มรณรงคเชิญชวนใหประเทศตางๆเขาประชุมกลุม ประเทศไมฝกใฝฝายใดที่บนั ดง อินโดนีเซียนั้น รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามยังมีทา ทีเปน ปรปกษกับการเชิญดังกลาว9 แมวารัฐบาลยังคงมีความลังเลตอสถานการณการเมืองระหวาง ประเทศในภูมภิ าค แตในระดับที่เปนทางการแลว รัฐบาลยังพยายามสรางความมัน่ ใจกับสหรัฐฯ ถึงความสัมพันธที่แนบแนนตอไป ดวยการแสดงความตองการเยือนสหรัฐฯ และพบปะสนทนา กับประธานาธิบดีไอเซนฮาวร ดวยเหตุผลวา จอมพล ป. ไมเคยเดินทางออกไปตางประเทศนาน กวา 27 ปตั้งแตเรียนเขาจบการศึกษาดานการทหารปนใหญจากฝรัง่ เศส เขามีความตองการทํา ความคุนเคยกับรัฐบาลในเอเชียและยุโรปทีร่ วมเปนมิตรกันในสหประชาชาติและรวมการตอตาน คอมมิวนิสต 10 เมื่อความผันผวนของบริบทการเมืองระหวางประเทศมีสงู ทําใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม เริ่มมีความไมมั่นใจในความชวยเหลือจากสหรัฐฯ ความเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึ้นอยางรวดเร็วนี้ ทํา ใหจอมพล ป. เริ่มตัดสินใจสงสัญญาณการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทยขึ้น เห็นไดจาก เขาได เริ่มตนแสดงทัศนะทางการเมืองในการประชุมขาราชการครั้งหนึง่ ในตนเดือนมกราคม 2498 โดย เขาแนะนําใหขาราชการอยาหวงเรื่องการอนุรักษสิ่งเดิมๆเพราะไมมที างรักษาไวได แตใหคิดและ มองไปขางหนา สวนพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดกลาววา โลกเปลี่ยนไป ขาราชการตองหมุนใหทนั โลก และควรมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่ใหประชาชนมีอํานาจในการปกครองมากขึ้น

8

Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service box 2, “Thailand: An American Dilemma, October 1954. 9 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A001800560001-0, 5 January 1955, “Invitees initially wary of Asian-African Conference”. 10 “Memorandum from the Deputy Under Secretary of State for Political Affaires(Murphy) to The Secretary of States, 5 January 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 807.


164

หนังสือพิมพในขณะนัน้ เห็นวาทัศนะทางการเมืองที่สาํ คัญของผูนาํ ทั้งสอง คือ การไปสู“ยุค ประชาชน”11 ตอมา จอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศในการประชุมสมาชิกสภาผูแ ทนฯที่สนับสนุน รัฐบาลวา เขาจะเรงรัดแผนการปกครองใหมทจี่ ะกระจายอํานาจไปสูป ระชาชน เลิกระบบราชการ ที่เปน“ขุนน้าํ ขุนนาง” แตขาราชการจะตองเปนผูรับใชประชาชน 12 จากนัน้ เขาไดวจิ ารณสาเหตุ แหงความลาหลังของการปกครองของไทยวา เกิดจาก“ระบบศักดินา”ทําใหขาราชการเหินหาง จากประชาชน ดวยเหตุนี้ รัฐบาลของเขามีความตองการทําลายระบบดังกลาวหายไปอยาง เด็ดขาด13 ทั้งนี้ แผนการปรับปรุงการปกครองใหมภายใตรัฐบาลของเขา คือ การเปลีย่ นแปลง การปกครองทีย่ ังคงมีความคิดตามแบบระบบศักดินาไปสูการปกครองที่มีความเสมอภาคเทา เทียมและมุงไปสูความเจริญ14 โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนทเห็นวา“ระบบศักดินา” หรือ“ระบบขุน นาง” เปนอุปสรรคในการเปลี่ยนแปลง เขาเห็นวา หลังการปฏิวัติ 2475 ประชาชนตองการมีสว น ในการปกครอง15 จากนั้นพล ต.อ.เผาไดเสนอแผนที่เรียกวา“แผนปฏิรูปการปกครอง” ตามความ ตองการของรัฐบาลที่ตองการใหการกระจายอํานาจจากสวนกลางไปสูสวนภูมิภาค ผานรูปแบบ การปกครองสวนทองถิ่นและกระบวนการเลือกตั้ง16 7.2 นโยบายการทูตสองทางของรัฐบาลจอมพล ป. แมวาสหรัฐฯมีความตองการทําใหไทยกลายเปนแหลงทรัพยากร และตลาดรองรับสินคา การผลักดันใหไทยเปดรับทุนจากสหรัฐฯเขามาลงทุนในไทยจะประสบความสําเร็จบางสวนดวย การที่รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามยอมออกกฎหมายสงเสริมการลงทุนตามที่สหรัฐฯผลักดันก็ ตาม แตรัฐบาลยังคงควบคุมการลงทุนอยู เนื่องจากรัฐบาลยังคงรักษาการประกอบการทาง เศรษฐกิจของรัฐในรูปรัฐวิสาหกิจตอไป17 ทําใหสหรัฐฯมีความตองการผลักดันใหไทยเปดการ 11

“บทบรรณาธิการ,” ใน สยามนิกร, 19 มกราคม 2498. สยามรัฐ, 22 มกราคม 2498. 13 ประชาธิปไตย, 15 กุมภาพันธ 2498 14 ไทยใหม, 16 มกราคม 2498 15 ชาวไทย, 18 มกราคม 2498 16 หจช.มท.0201.2.1/571 กลอง 18 แผนปฏิรูปการปครอง(2498) 17 กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก,” (กองทุน ปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550), หนา 6-8.; อุกฤษฏ ปทมานันท, “สหรัฐอเมริกา กับเศรษฐกิจไทย(1960-1970),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526). 12


165

ลงทุนใหมากขึ้นอีก ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเขาพบจอมพล ป. เพื่อผลัก ดันแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจใหกับไทยอีกครั้ง ภายหลังที่เขาเขารวมการเปดประชุมซีโตครั้ง แรกในไทยเมือ่ ปลายเดือนกุมภาพันธ 2498 เขาแจงตอจอมพล ป.วา สหรัฐฯตองการใหรัฐบาล ไทยทบทวนกฎระเบียบเพื่อดึงดูดการลงทุนจากสหรัฐฯเพิ่มขึ้นอีก แตจอมพล ป. ไมแสดงทาที ตอบรับความตองการจากสหรัฐฯดังกลาวแตอยางใด18 แมฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯประจําไทยได พยายามเสนอใหรัฐบาลไทยมีการพัฒนาระบบการคลัง การตั้งสํานักงบประมาณ การสงเสริม ความสามารถในการแขงขันทางการคาและอุตสาหกรรมดวยการลดอุปสรรคในการคาและการ ลงทุนเพื่อสงเสริมการลงทุนจากจากสหรัฐฯใหเขามาลงทุนในไทยอีกก็ตาม แต จอมพล ป.มิได ตอบรับขอเสนอกลาวเชนเดิม19 ดังนั้นจะเห็นไดวา แมรัฐบาลจอมพล ป. ยอมรับการเขารวมในซี โต แตรัฐบาลของเขากลับไมตอบสนองการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเปดการลงทุนจาก ตางประเทศ เนื่องจากจะมีผลกระทบตอฐานทางเศรษฐกิจของกลุมผูนําของรัฐบาล เชน คาย ราชครูที่มีจอมพลผิน ชุณหะวัณกับพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่ใหการค้ําจุนรัฐบาลอยู การเดินทางไปเยือนสหรัฐฯและประเทศตางๆ(เมษายน-มิถุนายน 2498) โดยเฉพาะ อยางยิ่งสหรัฐฯของจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ เขามีความตองการขอบคุณความชวยเหลือที่ สหรัฐฯไดใหแกไทย และดูงานการบริหารงานและระบบเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และพบปะสนทนา กับประธานาธิบดีและบุคคลสําคัญของรัฐบาลสหรัฐฯเพือ่ ปรึกษาปญหาความไมเพียงพอของ งบประมาณของไทย เนื่องจากไทยใชงบประมาณไปทางการทหารถึงรอยละ 40 ทําใหเขามี ตองการขอใหสหรัฐฯเพิม่ ความชวยเหลือทางทางเศรษฐกิจมากกวาการทหาร 20 ทัง้ นี้ กอนที่เขา จะออกเดินทาง เจาหนาที่ของสหรัฐฯพยายามโนมนาวเขาใหดําเนินการปรับปรุงระบบการบริหาร และนโยบายทางเศรษฐกิจตามที่สหรัฐฯตองการอีกครั้ง 21

18

“Memorandum of Conversation between The Sectary of States and Field Marshal P. Pibulsonggram at Government House-Bangkok, 22 February 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 809. 19 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3913, Peurifoy to Secretary of State, 21 March 1955.; “Peurifoy to Prime Minister Pibulsonggram, 21 March 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 813-814.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3913, Pibulsonggram to Peurifoy, 13 April 1955. 20 เชา, 22 ธันวาคม 2497.; หจช.(3)สร. 0201.20.1.1/16 กลอง 2 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. ไปเยือน อเมริกา พ.ศ.2498 (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2498).; Evening News, 22 April 1955 21 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Anschutz to Secretary of State, 29 April 1955.


166

แมในดานหนึง่ จอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามแสดงการกระชับไมตรีกับสหรัฐฯดวย การเดินทางไปเยือนสหรัฐฯก็ตาม แตเขามิไดยอมรับการผลักดันขอเสนอจากสหรัฐฯใหไทย ปรับปรุงการบริหารและนโยบายเศรษฐกิจตามที่สหรัฐฯตองการ อีกทัง้ เขาไดเริ่มตนการถอยหาง ออกจากสหรัฐฯ ดวยการสงกรมหมืน่ นราธิปพงศประพันธ รัฐมนตรีวา การกระทรวงการ ตางประเทศเปนตัวแทนไปประชุมกลุมประเทศไมฝกใฝฝายใดที่บนั ดุง อินโดนีเซีย (18- 24 เมษายน 2498) ในชวงเวลาเดียวกัน 22 อยางไรก็ตาม กอนที่คณะผูแทนไทยจะเดินทางไปประชุม ที่บันดุง อินโดนีเซีย สหรัฐฯไดพยายามเขายับยั้งการเขารวมประชุมของไทย โดยสัง่ การใหฟว ริฟอย ทูตสหรัฐฯเขาพบกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธในเย็นของ 9 เมษายน 2498 ที่สนามบิน ดอนเมือง กอนคณะผูแทนฯทั้งหมดออกเดินทางไปบันดุง แตการยับยัง้ จากสหรัฐฯไมเปนผล23 การประชุมทีบ่ ันดุง อินโดนีเซียนัน้ ที่ประชุม จํานวน 29 ประเทศไดรวมรับรับรอง ”หลักปญจศีล”ที่มีสาระสําคัญในการอยูรวมกันอยางสันติและการไมแทรกแซงกิจการภายใน ระหวางกัน อีกทัง้ ที่ประชุมไดรวมกันประนามลัทธิอาณานิคมในทุกรูปแบบ ในวันสุดทายของการ ประชุม กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ไดบันทึกวา โจวเอินไหล นายกรัฐมนตรีจีนไมมีทาที คัดคานการจัดตั้งซีโตแตอยางใด ทรงเห็นวา คําปราศัยของโจวเอินไหลกลับทําใหบรรยากาศ การเมืองระหวางประเทศในเอเชียผอนคลายลง พระองคไดหาโอกาสสนทนาสวนตัวกับโจวเอิน ไหลเพื่อซักถามถึงความของใจของไทยทีม่ ตี อจีนบางประการ เชน ขาวที่จีนใหการสนับสนุนทาง การเมืองใหกบั ปรีดี พนมยงค โจวเอินไหลไดกลาวปฏิเสธโดยบอกวา ปรีดีเปนเพียงผูพํานักอาศัย คนหนึ่งในจีนเทานั้น และตอคําถามทีว่ า จีนใหสนับสนุนใหเกิดรัฐไทยอิสระทางตอนใตของจีน เขาตอบพระองควา จีนไมมนี โยบายที่จะสนับสนุนรัฐไทยอิสระใหแพรออกไป จากนั้น เขาไดเชิญ คณะผูแทนไทยไปเยือนจีน24 จากทาทีของจีนที่มีตอไทยนัน้ สรางความมหัศจรรยใหกับพระองค 22

หจช.สบ. 5.1.1.2/1 กลอง 1 รายงานการประชุมกลุมประเทศเชีย-อัฟริกา(พ.ศ.2498-2508), ลับ มาก(ภาคผนวก)สรุปผลการประชุมอัฟโฟร-เอเชียน ครั้งที่ 1 ประกอบดวยคณะผูแทนฝายไทย มี กรมหมื่นราธิป พงศประพันธ ม.จ.ดิลกฤทธิ์ กฤดาดร หลวงรัตนธิป หลวงวิเชียรแพทยาคม มนู อมาตยกุล ปวย อึ้งภากรณ สุวิทย บวรวัฒนา วัฒนา อิศรภักดีและเสวี โกมลภูมิ 23 สยามนิกร, 11 มิถุนายน 2498 24 Selected Documents of The Bandung Conference Texts of Selected Speeches and Final Communique of The Asian-African Conference Bandung Indonesia, 18-24 April 1955,(New York: Institution of Pacific Relations,1955).; หจช.สบ. 5.1.1.2/1 กลอง 1 รายงานการประชุมกลุมประเทศเชีย-อัฟ ริกา(พ.ศ.2498-2508), ลับมาก(ภาคผนวก)สรุปผลการประชุมอัฟโฟร-เอเชียน ครั้งที่ 1.; สยามรัฐ, 28 เมษายน 2498.; กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ, “พบจูเอนไหลที่บันดง,” สราญรมย 25 (2518): 4.; George McT. Kahin, The Asian-African Conference Bandung Indonesia, April 1955, (Ithaca, New York: Cornell University Press, 1955), pp. 26-27.


167

มาก ทรงบันทึกวา “ โจวเอินไหลแสดงอัธยาศัยไมตรีอันดีแกขาพเจา…มีการกระจายขาวดังกลาว มาไทย ตอมาเมื่อจอมพล ป. ไดยินขาวกระจายเสียงแลว รีบโทรศัพทมาถามขาพเจา ใหขา พเจา รายงานใหทราบ” 25 ดังนั้น เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามรับรูถึงทาทีที่เปนมิตรของจีนแลวก็ตาม แตทาทีของจอมพล ป.ในอีกฝากหนึง่ ของโลก เมื่อเขาอยูในสหรัฐฯนัน้ เขายังคงใหสัมภาษณวา ไทยยังคงตองการความชวยเหลือจากสหรัฐฯตอตานคอมมิวนิสตตอไปและสําหรับการประชุมบัน ดุงนัน้ เขา“ไมหวังผลอยางจริงจังนัก”26 ในขณะที่ ซีไอเอประเมินวา ทาทีของไทยหลังการประชุม บันดุง คือ ไทยมีแนวโนมทีจ่ ะมีนโยบายเปนกลาง27 กระนัน้ ก็ดี จอมพล ป. พิบูลสงครามยังคงยืนยันนโยบายที่แนบแนนตอสหรัฐฯตอไป 28 เขาได ใหสัมภาษณที่ วอชิงตัน ดีซี.ผานวิทยุเสียงอเมริกาวา “ขาพเจามาใหคําประกันแกทานอีก ครั้งวา ประเทศไทยจะอยูเคียงขางสหรัฐฯเสมอไป”29 และยังไดกลาวใหความมัน่ ใจกับสภาคองเก รสวา “ประเทศของเราจะอยูกับทานเสมอ” 30 ในขณะที่ ในสายตาของเจาหนาที่กระทรวงการ ตางประเทศทีว่ อชิงตัน ดี.ซี. ไดตั้งขอสังเกตวา การทีจ่ อมพล ป. มาเยือนสหรัฐฯในขณะที่สงกรม หมื่นนราธิปพงศประพันธเขาประชุมที่บันดุงนัน้ สหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลไทยกําลังพยายามอยางยิ่ง ที่จะอาศัยสถานการณการเมืองระหวางประเทศเปนเหตุในการบายเบีย่ งการมีความสัมพันธกับ สหรัฐฯ และสหรัฐฯมีความสงสัยวาอาจมีการตกลงกันบางอยางระหวางจอมพล ป. กับกรมหมืน่ นราธิปพงศประพันธเกีย่ วกับการประชุมบันดงซึง่ เปนผลมาจากปญหาการเมืองภายในไทย สหรัฐฯเห็นวา การดําเนินนโยบายของไทยลักษณะเชนนี้ เกิดจากความไมมั่นใจของไทยวา ซีโต

25

กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ, “พบจูเอนไหลที่บันดง,” สราญรมย 25 (2518): 5. 26 สยามนิกร, 26 เมษายน 2498. 27 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A002000150001-2, 26 April 1955, “Thai foreign minister reported to have become more neutralist at Bandung”. 28 The Dwight D. Eisenhower Library, Papers as President 1953-1961( Ann Whitman file), International Series box 48, file Thailand(3), Dulles’s Memorandum for The President , Visit of P. Phibulsonggram, 2 May 1955. 29 เชา, 4 พฤษภาคม 2498. 30 หจช.(3)สร. 0201.20.1.1/16 กลอง 2 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. ไปเยือนอเมริกา พ.ศ.2498 (1 เมษายน–15 พฤษภาคม 2498).; United Press, 5 May 1955.


168

จะสามารถปกปองไทยใหรอดพนหากเกิดปญหาการรุกรานได 31 สอดคลองกับการวิเคราะหของ ทูตอังกฤษวาทาทีของโจวเอินไหลที่บนั ดุงทําใหรัฐบาลไทยคลายความเชื่อมั่นที่มีตอ ซีโต32 ทันทีที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามกลับมาไทย เขาไดสอบถามรายละเอียดถึงความเปน มิตรของโจวเอินไหลที่มีตอไทยจากกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ทรงไดแจงวา จีนยินดีตอนรับ ผูแทนไทยไปเยือนจีน33 จากนั้น จอมพล ป. ไดนําเรื่องดังกลาวมาปรึกษาสังข พัธโนทัย คนสนิท ของเขา สังขใหความเห็นวา ไทยไมควรเปนศัตรูกับประเทศเพื่อนบานโดยเฉพาะจีน ดังนัน้ เมื่อ จีนแสดงทาทีเปดกวาง ไทยควรลองเชื่อมไมตรีกับจีน จากนัน้ จอมพลป.ไดกลาววา“โลกกําลัง เปลี่ยนแปลงใหมอีกแลว” 34 7.3 วิสยั ทัศนใหมของจอมพล ป.ทามกลางความขัดแยงระหวาง “ขุนศึก” นับตั้งแตกลางป 2498 การเมืองไทยทามกลางการแขงขันระหวางจอมพลสฤษดิ์ ธนะ รัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทนั้น พล ต.อ.เผาไดกาวขึน้ มามีอํานาจเหนือจอมพลสฤษดิ์อยาง รวดเร็วเนื่องจากความสามารถในการบริหารของเขาและการสนับสนุนจากซีไอเอ ทําใหเขามี แผนการขจัดคูแขงขันทางการเมืองดวยการรัฐประหารและจับตัวสฤษดิ์ กอนที่จอมพล ป. พิบูล

31

“the Acting Officer in Charge of Thailand and Malayan Affaires(Foster) to The Ambassador in Thailand(Peurifoy), 22 June 1955,” in Foreign Relations of the United States 19551957 Vol.22, pp. 825-827. 32 Nicholas Tarling, “Ah-Ah: Britain and the Bandung Conference of 1955,” Journal of Southeast Asian Studies, 23, 1 (March 1992): 108. 33 กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ, “พบจูเอนไหลที่บันดง,” สราญรมย 25 (2518): 5.; อารี ภิรมย, เบื้องหลังการสถาปนาสัมพันธภาพ ยุคใหม ไทย- จีน,(กรุงเทพฯ: มิตรนราการพิมพ, 2524), หนา 6. 34 สังข พัธโนทัย, “อานเบื้องหลังสถาปนาสัมพันธไทย-จีน,” ประโคนชัย 26 (กรกฎาคม 2525) อาง ถึงใน กรุณา กุศลาสัย, ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัติของผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึ่ง(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ แมคําผาง, 2532), หนา 258-260. สังข พัธโนทัยเห็นวา ความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐฯสรางความ เขมแข็งใหกับคณะรัฐประหาร มิใช รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม(NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4190, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.H. Hannah, 24 March 1952). สังข ยอมรับวา เขาเคยรวมมือกับสหรัฐฯในการตอตานคอมมิวนิสตอยาง“ลึกซึ้ง” ตอมา เขาเห็น วาการดําเนินตามสหรัฐฯมิไดเกิดประโยชนกับไทย ในขณะที่สหรัฐฯมี “แผนยึดครอง”ไทย โดยเขารับทราบเรื่อง ดังกลาวจากเจาหนาที่ซีไอเอคนหนึ่ง ตอมา เขาไดนําเรื่องดังกลาวเลาใหจอมพล ป.ฟง และสนับสนุนใหจอม พล ป. ตอสูกับสหรัฐฯ(ทองใบ ทองเปาด, คอมมิวนิสตลาดยาว,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพคนหนุม, 2517), หนา 271-272.


169

สงครามจะเดินทางกลับจากสหรัฐฯเพื่อยุติการแขงขันในการเปนผูน ําทางการเมืองคนถัดไป35 ใน คืน 13 กรกฎาคม 2498 เขาไดมาที่สถานทูตสหรัฐฯเพื่อขอการสนับสนุนการรัฐประหารจากฟว ริฟอย ทูตสหรัฐฯ แตทูตสหรัฐฯปฏิเสธการสนับสนุนและไดบอกกับพล ต.อ.เผาวา สหรัฐฯยังคง สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป.ตอไป เขาเห็นวาพล ต.อ.เผายังไมเหมาะสมกับตําแหนง นายกรัฐมนตรี แตพล ต.อ.เผามีความเหมาะสมที่จะอยูเ บื้องหลังฉากมากกวา36 และเขาไดแจง ตอพล ต.อ.เผาเพิ่มเติมวา หากกลุมตํารวจพยายามรัฐประหารเพื่อกําจัดจอมพลสฤษดิ์และกลุม ทหารไดสําเร็จก็ยากที่จะไดรับการยอมรับจากจัสแมค เนื่องจาก จัสแมคสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ และกลุมทหาร37 เมื่อจอมพล ป.เดินทางกลับมาไทย ฟวริฟอยไดนําเรื่องความพยายาม รัฐประหารของพล ต.อ.เผาแจงใหเขาทราบ38 เมื่อดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไดรับรายงานในไทยถึงความ พยายามกอการรัฐประหารของพล ต.อ.เผา ศรียานนท เขาไดแจงกับฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯวา สหรัฐฯไมตองการใหมกี ารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม39 ฟวริฟอยไดแสดงความเห็น กลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.วา เขาเห็นดวยกับดัลเลสที่สหรัฐฯควรใหการสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. ตอไป และสหรัฐฯจะยังคงไดรับประโยชนหากสนับสนุนใหทงั้ พล ต.อ.เผาและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใหมีการรวมมือกันตอไป อยางไรก็ตาม เขาเสนอแนะตอดัลเลสวา หากมีความจําเปนที่ สหรัฐฯจําเปนตองเลือกสนับสนุนคนใดคนหนึง่ ใหขนึ้ มามีอํานาจแลวนั้น“จะตองเปนไปเพื่อ ผลประโยชนระยะยาวของสหรัฐเทานัน้ ” 40 ไมแตเพียงโลกทัศนที่เปลีย่ นไปของจอมพล ป. พิบูลสงครามจากการที่เขาไดเดินทางไป เห็นความเปลีย่ นแปลงของโลกจากการเดินทางไปเยือนตางประเทศและสหรัฐฯเทานั้น แตปญหา การแขงขันระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ที่ทงั้ คูไดรับการสนับสนุน จากซีไอเอและเพนตากอนก็มีความแหลมคมมากยิ่งขึน้ สงผลใหจอมพล ป. ในฐานะหัวหนา รัฐบาลตระหนักดีถึงความมีเสถียรภาพของรัฐบาลของเขาที่วางอยูบนความเปราะบางที่ดํารงอยู 35

NA, FO 371/106890, Whitteridge to Foreign Office, Annual Review: Report on the general situation in Thailand for 1955, 3 January 1956. 36 “Peurifoy to the Department of States, 14 July 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 827-828.; NA, FO 371/117346, Gage to Tomlinson, 27 July 1955. 37 NA, FO 371/117346, Gage to Tomlinson, 27 July 1955. 38 Ibid. 39 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal File 1955-1959 Box 3908 , Dulles to Peurifoy , 28 July 1955 . 40 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Peurifoy to Secretary of State, 4 August 1955.


170

ภายในคณะรัฐประหารระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหาร ดังนั้น เขาจึงจําเปนตองแสวงหา ทางออกทางการเมืองที่จะทําใหเขาไดรับการสนับสนุนจากประชาชนอยางกวางขวางมีผลทําให เขาตัดสินใจเปดกวางทางการ เมือง การใหมีบรรยากาศของประชาธิปไตย และใหเสรีภาพในการ นําเสนอขาวของหนังสือพิมพอยางเต็มที่เพื่อนําไทยเขาสูวิถีทางประชาธิปไตยและโดยให ประชาชนมีสวนรวมทางการเมือง 41 การเปลีย่ นในทาทีของจอมพล ป. ครัง้ นี้ ทําใหหนังสือพิมพ ขณะนั้น เชน สารเสรีประเมินวา หลังการกลับจากการเดินทางตางประเทศของจอมพล ป.ทําให เขามีความคิดใหมทมี่ ีความเปนมิตรและใหความสําคัญของหนังสือพิมพตอประชาธิปไตย โดย เขาไดกลาวในวันชาติ ประจําป 2498 วา “ไมมีใครอยูค้ําฟา” และไดเคยกลาวในที่ประชุมคณะ รัฐประหารวา ประเทศไทยยังลาหลังอยูม าก เขาตองใหสมาชิกคณะรัฐประหารชวยสรางความ เจริญใหกับประเทศและมองไปขางหนา42 และพิมพไทย ไดใหฉายากับจอมพล ป.วา “จอมพลคน ใหม” และเห็นวา “นายกฯของเรามีชวี ทัศนและโลกทัศนที่เปลี่ยนไปจากเดิมมาก”43 เปนตน ในขณะที่ การแขงขันระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหารยังไมมีฝา ยใดมีชัยอยางเด็ดขาด ทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทพยายามที่จะขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯใหมากขึ้นอีก แตฟว ริฟอย ทูตสหรัฐฯไมสนับสนุนใหพล ต.อ.เผาเดินทางไปสหรัฐฯเพื่อขอเงินสนับสนุนเพิ่มเติมอีก44 เนื่องจาก ฟวริฟอยเห็นวา สหรัฐฯไดใหความชวยเหลือแกทงั้ กลุมทหารและกลุมตํารวจตาม ขอตกลงที่เรียกวา “Sarit and Phao”ที่มีมลู คารวมถึง 53,000,000 ดอลลารเปนพิเศษแลว นอกเหนือความชวย เหลือทางการเงินและอาวุธตามปกติ อีกทัง้ เงินจํานวนพิเศษกอนนีย้ ังไมถกู ใช 45 อยางไรก็ตาม พล ต.อ.เผายังคงยืนยันแผนการเดินทางไปสหรัฐฯ ในตนเดือนสิงหาคม 2498 เพื่อขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯอีก46 ในที่สุด เขาไดเดินทางไปขอความชวยเหลือจาก 41

สยามนิกร, 24 มิถุนายน 2498. 42 สารเสรี, 30 มิถุนายน 2498. 43 พิมพไทย, 3 กรกฎาคม 2498. 44 หจช.(2)กต. 1.1/ 48 กลอง 5 การเจรจาขอเพิ่มการใหความชวยเหลือจากสหรัฐฯอเมริกา(25 กรกฎาคม–8 สิงหาคม 2498), บันทึก เอกอัครราชทูตอเมริกัน ไดมาเขาเฝาเสด็จในกรมฯ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ 28 กรกฎาคม 2498. 45 หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงิน จากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498), เฟอริฟอย ถึง จอมพลอากาศ ฟน รณนภากาศฤทธาคนี 30 มิถุนายน 2498. 46 หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงิน จากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498) พล ต.อ.เผา ศรียานนทถึง นายกรัฐมนตรี 22 ตุลาคม 2498. การเดินทางไปของ พล ต.อ.เผา ครั้งนี้ ไทยไดรับเงินชวยเหลือพิเศษจํานวน 2,200,000 ดอลลาร เงิน ชวยเหลือจากงบประมาณดานวิชาการ(Technology Cooperation)จํานวน 4,800,000 ดอลลาร ดานการ


171

สหรัฐฯสําเร็จ การเยือนสหรัฐฯครั้งนี้ เขาไดพบบุคคลสําคัญหลายคน เชน ดัลเลส รัฐมนตรีวา กระทรวงการตางประเทศ นายพลแมกซแวลล เทยเลอร(Maxwell Taylor)เสนาธิการทหารบก พล.ร.อ.เออรสกิน ผูช วยรัฐมนตรีกลาโหมดานชวยเหลือทางอาวุธ กอนดอน เกรย( Gordon Grey)ผูชวยรัฐมนตรีกลาโหมฝายการปองกัน เปนตน47 ในระหวางทีพ่ ล ต.อ.เผา ศรียานนทอยูในสหรัฐฯ ฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯที่ไมสนับสนุนพล ต.อ.เผาไดถึงแกอสัญกรรมอยางฉับพลัน(12 สิงหาคม 2498)จากอุบัตเิ หตุจากการขับรถดวย ความเร็วสูงรถชนกับรถบรรทุก ภายหลังจากเขาเดินทางกลับจากการชมการกระโดดรมของ ตํารวจพลรมทีค่ ายนเรศวร หัวหิน ทําใหเขาและบุตรชายคนหนึ่งเสียชีวติ ในที่เกิดเหตุทนั ที48 แม ความตายของเขาจะสรางความตกตะลึงและความสนเทหใหกบั สหรัฐฯก็ตาม แตเจาหนาที่ซีสพั พลายที่ชว ยงานกลุมตํารวจ อยางฮิว แมคคาฟฟ(Hugh McCaffrey) แจค เชอรลี่(Jack Shirley) ที่โดยสารรถกับฟวริฟอยดวย พวกเขาไดรายงานวา ความตายของทูตสหรัฐฯเปนอุบตั ิเหตุ49 ความตายของฟวริฟอยทีก่ รุงเทพฯไดสรางความกดดันใหกับพล ต.อ.เผาทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.มาก เขา ไดบันทึกถึงเรือ่ งดังกลาววา “ในตอนตนมีผูสงสัยระแวงอยูบาง แตเมือ่ สถานีวทิ ยุและโทรทัศนได ประกาศอยางละเอียด ทําใหเจาหนาที่ CIA หายสงสัย และเมื่อมีรายงานยืนยันจากเจาหนาที่ สหรัฐฯที่ปฏิบตั ิงานในหนวยพลรม ซึง่ อยูในเหตุการณอยาง ร.ต.อ.แจค เชอรลี่ และนายแมคคาฟ รี่ เปนผูลงนามแลว ความคลี่คลายจึงเกิดขึ้น”50 อยางไรก็ตาม การขาวทางการทหารของสหรัฐฯ ใหนา้ํ หนักความตายของฟวรีฟอย ทูตสหรัฐฯวา เกิดจากอุบัติเหตุดวยความเปนไปไดเพียงหาสิบ ปองกัน(Defense Support) 29,500,000 ดอลลาร เงินชวยเหลือกองทัพโดยตรง(Direct Forces Support) จํานวน 10,400,000 ดอลลาร และกรมประมวลฯไดใหสายงานของพอล เฮลิเวลดําเนินการประชาสัมพันธ โดย จางวิลเลี่ยม คอสเตลโล ประธานกรรมการบริษัท Television and Radio Correspondent’s Association ประชาสัมพันธประเทศไทยในสหรัฐฯ 47 หจช. สร. 0201.17/16 กลอง 1 การพบปะสนทนาทางราชการในสหรัฐฯของนายพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท(19–30 สิงหาคม 2498), บันทึกการสนทนา ระหวางรัฐมนตรีเผา นายพจน สารสิน และน.อ. สิทธิ เศวตศิลา กับนายฮอลลิสเตอร(Hollister)หัวหนา ICA และ ฟชเจอรรัล ลอเรนท(Filzgerald Lorenz) 12 สิงหาคม 2498 เวลา 10-10.30 น. 48 หจช.(3) สร. 0201.21/ 10 เอกอัคราชทูตอเมริกันและบุตรชายคนเล็กถึงแกกรรมโดยอุปทวเหตุ(12 สิงหาคม – 28 ตุลาคม 2498). 49 หจช.(2)กต. 1.1.6 / 21 กลอง 2 คําตอบกระทูถามของนายอารีย ตันติเวชกุล ส.ส. เรื่องการ มรณะกรรมของนาย จอหน อี. ฟวรีฟอย เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจําประเทศไทย(23–31 สิงหาคม 2498). 50 หจช.(3)สร. 0201.20.1.1/ 20 รายงานการเดินทางไปปฏิบัติราชการตางประเทศของนายพลตํารวจ เอกเผา ศรียานนท (25 สิงหาคม–17 กันยายน 2498), พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝาย การเมือง 17 กันยายน 2498.


172

เปอรเซ็นตเทานั้น51 ไมนานจากนัน้ สหรัฐฯไดสงแมกซ วอลโด บิชอป(Max Waldo Bishop)∗ เขา มาเปนเอกอัคราชทูต(ธันวาคม 2498 – ธันวาคม 2500)คนใหมตอไป สถานทูตอังกฤษวิเคราะหวา ในสายตาของจอมพล ป.พิบูลสงครามเห็นวา คายราชครูที่ นําโดยจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนทเปนกลุมที่แสดงการทาทายอํานาจของ เขาอยางเปดเผย ทําใหเขามีความตองการลดทอนอํานาจของกลุมดังกลาวลงดวยการปรับ คณะรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคม 2498 ดวยการยาย พล ต.อ.เผาจากรัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงการคลังซึ่งเปนตําแหนงทีพ่ ล ต.อ.เผาหาประโยชนจากการคาทองและฝน และใช ตําแหนงเปนชองทางในการติดตอรับความชวยเหลือจากสหรัฐฯ ใหเปนรัฐมนตรีชวยมหาดไทย แทน และการปรับจอมพลผินจากการควบตําแหนงรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงกลาโหมเปนรองนายกรัฐมนตรีเพียงตําแหนงเดียว ในขณะทีเ่ ขาเปดโอกาสจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต หัวหนาคายสี่เสาเทเวศนเขาไปดํารงตําแหนงรัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวง กลาโหมแทนจอมพลผิน ทําใหคายราชครูเสียใจกับการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งดังกลาว52 อยางไร ก็ตาม แมการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งนี้จะเปนความพยายามลดอํานาจของคายราชครูลง แต ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯเห็นวา พล ต.อ.เผาเปนคนที่ไมธรรมดา เขามีความสามารถทัง้ การบริหารและศักยภาพในการทํางาน พล ต.อ.เผายังสามารถเปนคู แขงขันทางการเมืองของจอมพลสฤษดิ์ตอไป53 แผนการตอไปในการจัดดุลอํานาจในรัฐบาลโดยจอมพล ป. พิบูลสงครามไดดําเนินตอไป ดวยการที่เขาพยายามปรับปรุงการควบคุมกลุมทหารและกลุมตํารวจใหมดวยการปฏิเสธแรง กดดันจากคายราชครูที่ตองการกําจัดจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตออกจากตําแหนงผูบัญชาการ ทหารบกและใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทเขาดํารงตําแหนงแทนจอมพลสฤษดิ์ อีกทั้ง จอมพล ป.ได 51

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP75-00149R000600300030-3, 15 August 1955, “Probe Envoy’s Death Ride”. ∗

แมกซ ดับบลิว บิชอป (Max Waldo Bishop)(2451- )จบการศึกษาดานปรัชญาจากมหาวิทยาลัย ชิคาโก ปฏิบัติงานในกระทรวงการตางประเทศที่ญีปุนในฐาะลาม(2478-2481) กงสุลโคลัมโบ-ซีลอน(2488) หัวหนากิจการเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ(2491-2492) เอกอัคราชทูตประจําไทย(ธันวาคม 2498 – ธันวาคม 2500) (หจช. (3)กต.0201.16/9 กลอง 1 ทูตอเมริกันประจําประเทศไทย (30 ธันวาคม 2496 – 14 กุมภาพันธ 2501). 52 NA, FO 371/117346, Whitteridge to Foreign Office, 6 August 1955.; NA, FO 371/117338 , Whitteridge to Foreign Office, 11 August 1955. 53 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, Relationship between General Phao and Prime Minister Phibun, 20 October 1955.


173

ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกะทรวงมหาดไทยเพื่อควบคุมกรมตํารวจซึ่งเปนฐานอํานาจของพล ต.อ.เผาโดยตรง54 จากนัน้ เขาไดลดทอนอํานาจของพล ต.อ.เผาในกรมประมวลราชการแผนดินที่ สหรัฐฯใหการสนับสนุนจัดตัง้ ขึ้นดวยการสัง่ ใหขาราชการที่เคยถูกยืมตัวไปชวยราชการที่กรม ประมวลฯกลับไปปฏิบัติงานที่ตน สังกัดเดิม แมจอมพล ป.ไดพยายามปรับดุลอํานาจทาง การเมืองระหวางสองกลุมใหมแลวก็ตาม แตเขาก็ยังคงไมไววางใจในฐานอํานาจทางเศรษฐกิจ ของทั้งสองกลุม จากนัน้ เขาดําเนิน การทอนฐานอํานาจทางเศรษฐกิจของทั้งสองกลุมลงอีกดวย มติคณะรัฐมนตรี 14 สิงหาคม 2498 ใหสมาชิกคณะรัฐมนตรีตองไมดํารงตําแหนงในธุรกิจของรัฐ และเอกชน55 จากนัน้ จอมพล ป. ไดเปดกวางทางการเมือง ดวยการใหตั้งพรรคการเมือง ให เสรีภาพแกหนังสือพิมพ เขาพยายามมีความใกลชิดประชาชน และสนับสนุนการตอตานการ ผูกขาดอํานาจเศรษฐกิจและการคอรรัปชั่น ตลอดจน เขาไดปฏิเสธอยางชัดเจนถึงแรงกดดันของ “กลุมรอยัลลิสต”ที่ตองการฟน ฟูรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสตขึ้นมาใหม สถานทูตสหรัฐฯเรียกนโยบายการเปลี่ยนแปลงขางตนของจอมพล ป.วา วิสัยทัศนใหม 56 ดวยเหตุที่ การแขงขันระหวางขุนศึกทัง้ สองนัน้ ยากแกการเขาใจ สงผลให ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ มีบันทึกถึงบิชอป ทูตสหรัฐฯคนใหม โดยใหขอมูลพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ขุนศึกทัง้ สองวา ทัง้ คูเปนเพื่อนรวมรุน ที่โรงเรียน นายรอยทหารบกและมีธุรกิจบางอยางรวมกัน แตก็มีแขงขันอยางเขมขนเพื่อหาความสนับสนุน จากจอมพล ป.พิบูลสงคราม แมพวกเขาสูก ันแตไมไดเปนศัตรูกัน ทัง้ สองคนยังคงสนับสนุนจอม พล ป. แตจอมพลสฤษดิม์ ักชอบเยาะเยยความภักดีของพล ต.อ.เผาที่มีตอจอมพล ป.อยางแนน แฟน อยางไรก็ตาม จอมพล ป. กลับมีความระแวงพล ต.อ.เผามากกวาจอมพลสฤษดิ์ โดยจอม พล ป. ตองการผนึกอํานาจทางการเมืองของเขาโดยไมตองการอิงกับอํานาจของสองขุนศึกอีก ตอไป ดวยการใชหนทางประชาธิปไตยเปนแนวทางการเสริมสรางอํานาจและความชอบธรรม 54

หจช.มท.0201.2.1.23 / 4 กลอง 3 คําสั่งของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย(จอมพล ป.) เรื่อง ของอํานาจในการออกขอบังคับของมหาดไทยวาดวยการเคลื่อนยายกําลังและเตรียมพรอม(2498). จอมพล ป. พิบูลสงครามไดออกคําสั่งใหอํานาจในการสั่งการใชกําลัง เคลื่อนยายกําลังและการเตรียมพรอมของตํารวจ ที่ เคยเปนอํานาจของรัฐมนตรีชวยมหาดไทยใหเปนของรัฐมนตรีมหาดไทยแทน 55 หจช.(3)สร. 0201.45/51 กลอง 4 การควบคุมองคกรของรัฐและบริษัทในความควบคุมของรัฐ(20 ธันวาคม 2498 – 15 สิงหาคม 2500), สุนทร หงสลดารมย เลขาธิการสภาเศรษฐกิจแหงชาติ ถึง เลขาธิการ คณะรัฐมนตรีฝายการเมือง 20 ตุลาคม 2498. 56 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State , Phibun-The New Look, 24 August 1955.; NARA, RG 59 General Records of The Department of State ,Central Decimal File 1955-1959 Entry Thailand 1955-1959 box 3910, Anschuetz to Secretary of State, 17 September 1955.


174

ใหกับตนเอง อยางไรก็ตาม ดัลเลส ตั้งขอสังเกตุวา ทามกลางการตอสูร ะหวางพล ต.อ.เผาและ จอมพล สฤษดิ์ เมื่อใดจอมพล ป. ไมมีอาํ นาจเมื่อนัน้ เขายังรักษาตําแหนงนายกรัฐมนตรีได แต หากเมื่อใด เขาตองการอํานาจมากขึ้น เมือ่ นั้นเขาจะเสียทัง้ ตําแหนงและอํานาจไป57 เมื่อพล ต.อ.เผา ศรียานนทเดินทางกลับจากวอชิงตัน ดี.ซี.และภายหลังการมรณกรรม ของทูตสหรัฐฯแลว เขารูสึกไดถึงความเหินหางระหวางเขากับสหรัฐฯ เขาไดเคยกลาวกับนอรแมน แอนชูทส(Norman Anschuetz) อุปทูตรักษาการฯ ในเดือนกันยายน 2498 วา เขามีความ ตองการใกลชดิ กับผูแทนของสหรัฐฯตอไป แตเขาคิดวา เขาอาจไมไดรับสนิทแนบแนนจาก ตัวแทนของสหรัฐฯเหมือนเชนในอดีตอีก58 แอนชูทสไดรายงานในฉบับตอมาวา เมื่อมีใดที่เขามี โอกาสสนทนากับพล ต.อ.เผานัน้ พล ต.อ.เผามักจะกลาวชื่นชมความสัมพันธของเขากับสหรัฐฯที่ ผานมาอยางยาวนานอยูเสมอๆ แอนชูทสเห็นวา การที่พล ต.อ.เผาแสดงทาทีดังกลาวเพื่อ ตองการไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐฯตอไป59 ปลายเดือนพฤศจิกายน 2498 สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา การทาทายพล ต.อ.เผา ศรียา นนทตอจอมพล ป. พิบูลสงครามดูเหมือนใกลจบสิ้นลง พล ต.อ.เผาไดถูกหนังสือพิมพของจอม พล ป. วิจารณอยางหนัก ทําใหเกิดสภาพตึงเครียดไปทั่วการเมืองของไทย เห็นไดจาก สํานักงาน ตํารวจทีว่ ังปารุสกของพล ต.อ.เผาไดรับการคุมกันอยางแนนหนาโดยกลุมตํารวจหรือพวกอัศวิน แหวนเพชร เนือ่ งจาก ขณะนัน้ จอมพล ป. ไดรับการสนับสนุนจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเพื่อ จํากัดอํานาจของพล ต.อ.เผา60 ตอมา จอมพล ป. บอกกับแอนชูทสวา กลุมตํารวจพยายามสราง ความตึงเครียดทางการเมืองขึ้น เนื่องจาก พวกเขาอาจจะถูกจับกุมในฐานเกี่ยวของกับการ ฆาตกรรมหลายคดี รวมทัง้ การทําธุรกิจผิดกฎหมาย เชน การขนสินคาเถื่อน การปลอมแปลง ธนบัตรและการคาฝน พวกเขาไดสงจดหมายคุกคามไปยังจอมพลสฤษดิ์จึงทําใหเกิดการเตรียม ความพรอมของกลุมทหาร แอนชูทสแจงกับ จอมพล ป.วา สหรัฐฯไมตองการใหเกิดความรุนแรง ในการตอสูกนั เพื่อชวงชิงอํานาจทางการเมือง เนื่องจาก การตอสูของผูนํากลุม ในรัฐบาลไทยจะ ทําใหสหรัฐฯและไทยสูญเสียความนาเชื่อถือในซีโต และความขัดแยงจะนําไปสูการแทรกซึมของ 57

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, Relationship between General Phao and Prime Minister Phibun , 20 October 1955. 58 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 8 September 1955. 59 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 20 September 1955. 60 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A002300130001-1, 29 November 1955, “Political showdown in Bangkok may be near”.


175

คอมมิวนิสตได61 แตการแขงขันระหวางกลุม ทหารและกลุมตํารวจยังดําเนินตอไป เชน ในปลาย เดือนธันวาคม 2498 กองทัพบกภายใตการนําของจอมสฤษดิ์ไดเคลื่อนกําลังอยางไมมีสาเหตุเขา คุมสถานที่สาํ คัญในกรุงเทพฯ โดยมีการตั้งกําลังหนาหนวยทหาร การแขงขันดังกลาวสงผลให จอมพล ป. ตองมีความระมัดระวังตัวมากขึ้นโดยเขาไดเปลี่ยนที่พกั ในเวลากลางคืนอยูเสมอ 62 ดวยเหตุที่ พล ต.อ.เผา ศรียานนทพยายามขอการสนับสนุนจากสหรัฐฯบอยครั้ง และการ ที่เขามีความสัมพันธกับซีไอเอ ทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามมีความไมไววางใจพล ต.อ.เผา เนื่องจาก เขามีความใกลชดิ กับสหรัฐฯมากเกินไป ทั้งนี้ พจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯ ได เคยบอกกับแลนดอน เจาหนาที่กระทรวงการตางประเทศ แผนกกิจการเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่ วอชิงตันดี.ซี. ถึงการขยายบทบาททางการเมืองของพล ต.อ.เผาผานการขอการสนับสนุนจาก สหรัฐฯวา จอมพล ป.ไดเคยบอกโดยออมกับเจาหนาที่สหรัฐฯกรุงเทพฯวา เขา คือ หัวหนารัฐบาล ซึ่งเปนตําแหนงที่เปนทางการของของทางความสัมพันระหวางกัน ดังนั้น สหรัฐฯควรติดตอผาน เขามากกวาการติดตอผานพล ต.อ.เผา จอมพล ป.ไดยกตัวอยางตําแหนงของโดโนแวน อดีตทูต สหรัฐฯประจําไทยและที่ปรึกษาของรัฐบาลไทย ที่มักติดตอโดยตรงกับพล ต.อ.เผา มากกวาเขา พจน เห็นวา จอมพล ป.มีความระแวงความทะเยอทยานทางการเมืองของพล ต.อ.เผาที่จะชิง ตําแหนงนายกรัฐมนตรีไปจากเขา นอกจากนี้ พจนเห็นวา การทีพ่ ล ต.อ.เผาเดินทางไปเยือน ตางประเทศเพื่อกระชับมิตรกับประเทศตางๆและสหรัฐฯเปนการเตรียมตัวเปนนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ แลนดอนไดตั้งขอสังเกตุในการสนทนากับพจนวา พจนไมพอใจทีพ่ ล ต.อ.เผา ขยาย อํานาจของมายังกิจกรรมดานการตางประเทศ พจนมีความระแวงวาพล ต.อ.เผาตองการเปนทูต ไทยประจําสหรัฐฯแทนเขา 63 7.4 : การสรางบรรยากาศประชาธิปไตยทางออกการเมือง ควรบันทึกดวยวา หลายปทผี่ าน รัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามตองเผชิญหนากับ ปญหาความขัดแยงทางการเมืองระหวางกลุมการเมืองตางๆ แมตอมา เขาจะสามารถปราบ ปรามกลุมการเมืองตางๆลงไดก็ตาม แตเขายอมตระหนักดีถึงการเปลีย่ นแปลงของปญหาการ 61

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 1 December 1955. 62 พิมพไทย, 30 ธันวาคม 2498.; สารเสรี, 30 ธันวาคม 2498. 63 The Dwight D. Eisenhower Library, OCB Central File Series, OCB 091 Thailand, Landon to Kenneth T. Young, Conversation with Thai Ambassador Sarasin and Kenneth P. Landon, 9 February 1956.


176

เมืองจากความขัดแยงภายนอกคณะรัฐประหารมาสูความขัดแยงภายในระหวางขุนศึกที่สาํ คัญ สองคนที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึน้ คือ พล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ซึง่ มี ความลอแหลมตอความมัน่ คงของรัฐบาลของเขา อีกทั้ง ปญหาความขัดแยงภายในคณะ รัฐประหารซึ่งเปนพลังที่คา้ํ จุนรัฐบาลที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทําใหเขาตระหนักดีถงึ ปญหาที่ เปราะบางทีเ่ ปนเงื่อนไขของเสถียรภาพของรัฐบาล ดังนัน้ การเดินทางไปตางประเทศของจอมพล ป.ทําใหเขาไดเห็นความเปลีย่ นแปลงของโลกและเห็นหนทางใหมในการแกไขปญหาการเมือง เขามีความจําเปนตองแสวงหาการสนับสนุนจากประชาชนอยางกวางขวางเพื่อสรางความชอบ ธรรมใหกับตัวเขาในฐานะผูน ํารัฐบาลมากกวาการพึง่ พิงอํานาจจากสองขุนศึกในการค้ําจุน รัฐบาลทีท่ ําใหเขาเปนเสมือนหนึ่งหุน เชิดของสองขุนศึก สําหรับจอมพล ป.อดีตแกนนําของ คณะราษฎรและอดีตนายกรัฐมนตรีในชวงการสรางกระแสชาตินิยมในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น เขามีความ คุน เคยกับการแสวงหาความสนับสนุนจากประชาชนอยูกอนแลว ดวยเหตุผล เหลานี้ ทําใหเขาตัด สินใจเปดกวางทางการเมือง สนับสนุนใหมีบรรยากาศของประชาธิปไตย และการใหเสรีภาพในการนําเสนอขาวของหนังสือพิมพอยางเต็มที่ เพื่อนําประเทศไทยไปสู วิถีทางประชาธิปไตยและใหประชาชนมีสวนรวมทางการเมือง ตลอดจนการสรางบรรยากาศแหง เสรีภาพดวยการเปลี่ยนสนามหลวงใหกลายเปนเวทีไฮดปารคแบบที่เกิดในลอนดอน64 นอกจากการไฮดปารคที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมุง สรางใหเกิดบรรยากาศที่เปน ประชาธิปไตยไดเกิดขึ้นครั้งแรกในปลายป 2498 แลวเทานัน้ แตขอมพล ป.ยังหวังวาบรรยากาศ ดังกลาวจะทําใหรัฐบาลจะไดรับการสนับสนุนจากประชาชนใหมีฐานะที่เขมแข็งขึ้น ทั้งนี้ การเปด ปราศัยในครั้งแรกๆเริ่มตนจากการวิจารณนโยบายรัฐบาล เชน การศึกษา การประกันสังคม ตอมาไดเปลี่ยนการปราศัยไปสูการโจมตีทตี่ ัวของจอมพล ป.สลับกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท โดยเฉพาะอยางยิง่ สําหรับพล ต.อ.เผานัน้ ถูกโจมตีจากประเด็นเรื่องการฆาตกรรมการเมือง รัฐมนตรี 4 คนและการโจมตีคายราชครู ตอมาการไฮดปารคไดเปลี่ยนเปนการปราศัยวิจารณ นโยบายตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. และเรียกรองใหไทยมีนโยบายที่เปนอิสระจากสหรัฐฯ 65

การที่จอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามผลักดันใหมกี ารสรางเวทีไฮดปารคออกไปทัว่ ประเทศเพื่อสรางบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย แตเวทีการสรางประชาธิปไตยดังกลาวกลับ กลายเปนเวทีที่กลุมการเมืองตางๆใชเปนโอกาสในการเปดสงครามโจมตีคูแขงทางการเมือง เชน 64

Newsweek, 21 November 1955. NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956 , ประจวบ อัมพะเศวต, พลิก แผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2543), หนา 390. 65


177

จอมพล ป.และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดรวมมือในการโจมตีพล ต.อ.เผา ศรียานนทและคาย ราชครู สวนพล ต.อ.เผาใชเวทีในการโจมตีคูแขงในคณะรัฐมนตรี ในขณะที่ กลุม ฝายซายใชเปน เวทีในการโจมตีรัฐบาลจอมพล ป. พล ต.อ.เผาและสหรัฐฯ สวน“กลุมรอยัลลิสต”ใชเปนเวที ดังกลาวในการโจมตีรัฐบาล รายงานจากสถานทูตสหรัฐฯเห็นวา จอมพล ป. ไมสามารถควบคุม การไฮดปารคได66 การปราศัยทางการเมืองภายใตบรรยากาศที่มีเสรีภาพนั้นทําใหมีคนมารวมฟงจํานวน มาก ตั้งแตจํานวนนับพันคนและเพิ่มขึ้น“เปนหมื่นและกวาแสนคน”ในเวลาตอมา67 บรรยากาศ ทางการเมืองที่เกิดขึ้นนีน้ ํามาสูความตื่นตัวทางการเมืองของนิสิตนักศึกษาดวยเชนกัน สถานทูต สหรัฐฯไดรายงานวา นิสิตนักศึกษาเริ่มมีความตืน่ ตัวทางการเมืองมากขึ้น พวกเขาไดมีการ รวมกลุมนิสิตนักศึกษาเคลือ่ นไหวที่แมจะเปนในประเด็นเกี่ยวกับการศึกษา แตสหรัฐฯเห็นวา การ รวมตัวเหลานีม้ ีศักยภาพที่จะนําไปสูการกอตัวของความเห็นสาธารณชนและการเคลื่อนไหวทาง การเมืองตอไป ทัง้ นี้ พวกเขาไดตระหนักถึงอํานาจในการตอรองมากขึน้ จากเดิมทีเ่ คยเปนแต เพียงผูยอมรับคําสั่งไปสูการเรียกรองและแสดงใหเห็นถึงความไมพอใจ ดังเชน เหตุการณการ ประทวงม.ร.ว.สลับ ลดาวัลย เลขาธิการจุฬาลงการณมหาวิทยาลัยเมื่อ 11 สิงหาคม 2498 ของ เหลานิสิตและเหตุ การณนักศึกษาธรรมศาสตรไดประทวงขุนประเสริฐศุภมาตรา คณบดี เศรษฐศาสตร เมื่อ 18 สิงหาคม และกรณีนักศึกษาธรรมศาสตร กวาหนึง่ พันคนไดรวมตัวประทวง ที่หนารัฐสภาเมื่อ 24 สิงหาคมเรียกรองใหจอมพล ป. พิบลู สงครามลาออกจากอธิการบดี โดย ตอมา จอมพล ป.ยอมลาออก เขาใหเหตุผลวา เขาไมสามารถอุทิศเวลาใหกับหนาที่อธิการบดีได อยางเพียงพอในการบริหารงานมหาวิทยาลัย โดยจอมพล ป. เห็นวา การความเคลื่อนไหวของ นิสิตนักศึกษาเปนการกระทําที่เปนประชาธิปไตย68 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ภายใตการสราง 66

พิมพไทย, 5 ตุลาคม 2498. เริ่มลงขาวการเริ่มตนการจัดไฮดปารคที่ลําปาง; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956. 67 Ibid. สําหรับขอมูลจํานวน “เปนหมื่นและกวาแสนคน” (โปรดดู ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดิน ประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 390). 68 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Thai Students Re-emerge as a Significant Political Force ?, 5 October 1955.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 27 August 1955. เหตุการณการ ประทวงของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเกิดจากเลขาธิการมหาวิทยาลัยมีนโยบายที่เขมงวดกับนิสิตมาก เกินไป สวนการประทวงของนักศึกษาธรรมศาสตร เนื่องจากคณบดี คณะเศรษฐศาสตรมีนโยบายที่จะรับ นักเรียนจากวิทยาลัยการพาณิชยอัสสัมชัญเขามาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยซึ่งนักศึกษาไมเห็นดวย เนื่องจาก พวกเขาเห็นวา นักเรียนพาณิชยเหลานั้นมีระดับความรูต่ํากวามาตราฐาน


178

บรรยากาศที่ใหเสรีภาพในการแสดงออกทําใหนิสิตนักศึกษาไดเริ่มแสดงออกถึงความคิดเห็นและ พลังทางการเมืองของพวกเขาที่พรอมจะกลายเปนพลังการเมืองที่สาํ คัญตอไป แมบรรยากาศของการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนและนิสิตนักศึกษาไดขยายตัว อยางที่ไมเคยมีมากอน แตกระนั้นก็ดี ความตื่นตัวดังกลาวไดถูกชีน้ ําโดยกลุมทางการเมืองที่ ขัดแยงแขงขันกัน โดยแกนนําไฮดปารคหลายคนไดรับการสนับสนุนทางการเมืองจากบุคคลใน รัฐบาลหลายคนที่ขัดแยงกันในขณะนั้น รวมทัง้ “กลุมรอยัลลิสต”ไดเขามามีบทบาททางการเมือง ในชวงเวลาดังกลาวดวย สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา จอมพล ป. พิบูลสงครามใหการสนับสนุน นักการเมืองหลายคนใหขึ้นเวทีไฮดปารค เชน พีร บุนนาค และทองอยู พุฒพัฒน รวมทั้ง นักหนังสือพิมพฝายซายหลายคน พวกเขาไดพยายามเรียกรองใหไทยมีนโยบายตางประเทศที่ เปนกลางและมีการปราศัยโจมตีพล ต.อ.เผา ศรียานนท ผูที่กาํ ลังขึน้ มาทาทายอํานาจทาง การเมืองของจอมพล ป. สวนจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดใหการสนับสนุนนักการเมืองฝายซาย หลายคน เชน เทพ โชตินุชิต เพทาย โชตินชุ ิต และชวน รัตนะวราหะ เปาหมายของจอมพล สฤษดิ์ เนนการวิจารณพล ต.อ.เผา ผูเปนคูแขงทางการเมืองของเขาเปนสําคัญ ในขณะที่ “กลุมรอยัล ลิสต”และพรรคประชาธิปตย ใหการสนับสนุน ไถงสุวรรณทัต กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ และเพิ่ม วงศ ทองเหลือเนนการโจมตีทั้งรัฐบาลและตัวบุคคลเชน จอมพล ป. และพล ต.อ.เผา แตพวกเขา หลีกเลี่ยงการโจมตีจอมพลสฤษดิ์ และเรียกรองใหนํารัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492 หรือรัฐธรรมนูญ รอยัลลิสตกลับมาใชใหม69 ในขณะนัน้ ประชาชนที่เริ่มตืน่ ตัวทางการเมืองจากความไมพอใจที่ถกู ปกครองภายใต คณะรัฐประหารมานานหลายป ความอัดอัน้ ดังกลาวไดนาํ ไปสูรวมตัวกันของประชาชนหลายพัน คนเพื่อทาทายอํานาจของคณะรัฐประหารที่บริเวณทองสนามหลวง พวกเขาเรียกรองใหคณะ รัฐประหารสลายตัว และมีการปราศัยโจมตีไปที่กลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่เคย ปราบปรามศัตรูทางการเมืองอยางความนาสะพรึงกลัวและมีการแสวงหาประโยชนจากธุรกิจ นอกกฎหมาย จากนัน้ พวกเขาไดเดินขบวนไปวางพวงหรีดที่อนุสาวรียป ระชาธิปไตย และรวม ตระโกนวา “ประชาธิปไตย จงเจริญ คณะรัฐประหารไมเอา คณะรัฐประหารออกไป เราไม ตองการคณะรัฐประหาร” 70 ตอมา 10 ธันวาคม เพิ่ม วงศทองเหลือ นักไฮดปารคที่ไดรับการ 69

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956.; พิมพไทย, 6 พฤศจิกายน 2498. 70 สยามนิกร, 10 พฤศจิกายน 2498.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956.


179

สนับสนุนจาก”กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยไดนําการชุมนุมกันของประชาชนที่ สนามหลวงและมีการถือปายขอความหลายขอความวา “เราตองการประชาธิปไตย”,“เลิกลัทธิโจร ครองเมือง”,“ ประชาธิปไตยดวยปนจงฉิบหาย” มีกลาวโจมตีงบ ประมาณการทหารรัฐบาล และ พาฝูงชนเดินไปยังลานพระบรมรูปทรงมา ตํารวจไดเขาสกัดการชุมนุม ตอมาเกิดความวุนวายขึ้น เมื่อทหารนอกเครื่องแบบหลายคนใหความคุมครองการชุมนุมที่นาํ โดยแกนนําที“่ กลุมรอยัลลิสต” ใหการสนับสนุนนั้น โดยทหารนอกเครื่องแบบจะใชขวนจามกับตํารวจนอกเครื่องแบบ71 การเปดบรรยากาศประชาธิปไตยและไฮดปารคนําไปสูการการเติบโตของพลังประชา ธิปไตยและการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนและนิสติ นักศึกษา โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนท ไดตกเปนเปาหมายของการโจมตีจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและ“กลุม รอยัลลิสต” เนือ่ งจาก เขาพยายามทาทายอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. ทําใหจอมพล ป. ไมไววางใจและตองการทําใหพล ต.อ.เผาเสื่อมอํานาจลง ในชวงเวลานั้นจอมพล ป. จึงหันไป แสวงหาการสนับสนุนจากจอมพลสฤษดิ์เพื่อลดอํานาจของพล ต.อ.เผา สงผลใหทงั้ สองคน รวมมือกันในการโจมตีพล ต.อ.เผา ในขณะที่ “กลุมรอยัลลิสต” ไมชอบพล ต.อ.เผาดวยเชนกัน เนื่องจาก เขาเปนบุคคลที่แสดงตนเปนปรปกษกับ“กลุมรอยัลลิสต”อยางตอเนื่อง อีกทั้ง กิจการ ตํารวจและบทบาทของกลุมตํารวจเกีย่ วของกับการควบคุมประชาชนโดยตรงมากกวาทหาร ทํา ใหประชาชนไมพอใจพล ต.อ.เผามากกวาจอมพลสฤษดิ์ ดังนัน้ เขาจึงตกเปนเปาการโจมตีและ เกลียดชังจากรอบทิศ ดังเชน การปราศัยครั้งหนึง่ มีการเรียกรองใหจบั พล ต.อ.เผามาแขวนคอที่ ตนมะขามสนามหลวง และเอามีดเชือดเนือ้ ออกทีละชิน้ จนขาดใจตาย72 นักหนังสือพิมพรวม สมัยบันทึกวา การไฮดปารคไดทําลายความชอบธรรมของพล ต.อ.เผาลง จนกระทัง่ ครั้งหนึ่ง พล ต.อ.เผาเคยกลาวถึงการไฮดปารควา “จอมพล ป.ทําอะไรไมรูทําใหตํารวจเสียหาย”73 การตกเปนเปาการโจมตีจากรอบทิศทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทตระหนักดีวา เขากําลัง ตกอยูในวงลอมของการไฮดปารคที่ทาํ ใหเขาเสื่อมอํานาจลง ดังนัน้ เขาจึงตองการตอบโตดวย เชนกัน ดังการไฮดปารคครั้งหนึง่ ในเดือนธันวาคม 2498 ชวน รัตนวราหะ แกนนําไฮดปารคที่ สนับสนุนจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตไดไฮดปารคโจมตีการทํางานของตํารวจตอผูฟงราว 30,000 71

สารแสรี, 12 ธันวาคม 2498. 72 สารเสรี, 14 ธันวาคม 2498.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Indication of relaxation in Political tensions, 10 February 1956. 73 สมบูรณ วรพงศ, ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูลฯ,(พระนคร: โรงพิมพเจริญ ธรรม, 2500),หนา 98.; ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 391.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ นายศักดิ์ ไทยวัฒน ณ เมรุพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 30 มิถุนายน 2544,(กรุงเทพฯ: 2544), หนา 152.


180

คน พล ต.อ.เผาไดตอบโตการโจมตีดวยการใชกําลังในระหวางการปราศัย โดยใชกลุมชายฉกรรจ สวมชุดสีนา้ํ เงินเปนเครื่องแบบของคนงานองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ( ร.ส.พ.)ซึง่ เปน รัฐวิสาหกิจที่อยูภายใตการดูแลของคายราชครูและพล ต.อ.เผาทําใหบญ ุ ยัง สันธนะวิทย นักพูด คนหนึ่งถูกแทงบาดเจ็บ74 ตอมา ชวนไดทาํ หนังสือเรียกรองใหจอมพลสฤษดิ์สงทหารมาคุมครอง การปราศัยโจมตีกลุมตํารวจ75 สําหรับบทบาทของ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ไดในการเขารวมการสงครามทําลายความชอบ ธรรมรัฐบาลครั้งนัน้ เนื่องจาก พวกเขามีผลประโยชนเปนของตนเองเชนกัน โดยควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยและแกนนําคนหนึง่ ของ“กลุมรอยัลลิสต” ไดเคยประกาศวา พรรคฯไม เคยหามสมาชิกสภาผูแทนฯและสมาชิกพรรคประชาธิปตยรวมไฮดปารค76 ตอมา กิตศิ ักดิ์ ศรี อําไพ นักไฮปารคที่รับการสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต”ไดปขึ้นราศัยเรียกรองประชาชนควรให สนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 หรือรัฐธรรมนูญฉบับรอยัลลิสตมากกวารัฐธรรมนูญฉบับ 247577 เนื่องจาก รัฐธรรมนูญฉบับ 2492 นัน้ เปนสิง่ ที่ “กลุมรอยัลลิสต”ไดออกแบบขึ้นซึ่งเปน ประโยชนกับพรรคประชาธิปตยที่จะรื้อฟน รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวและตอมาการรื้อฟน รัฐธรรมนูญฉบับบนี้ไดกลายมาเปนนโยบายหาเสียงในการเลือกตั้งของพรรคประชาธิปตย ไม นานจากนัน้ กิตติศักดิ์ทาทายพล ต.อ.เผาใหขึ้นปราศัยแขงกับเขา เมื่อพล ต.อ.เผาตกลงขึ้น ปราศัยแขง เขาไดทําใหพล ต.อ.เผากลายเปนตัวตลกบนเวทีไฮปารคดวยการสาบานบนเวทีเมื่อ ตนเดือนมกราคม 249978 การตอสูทางการเมืองในไทยที่ในบรรยากาศทีเ่ ปนประชาธิปไตยเกิดขึ้น ตั้งแตปลายป 2498 นั้น สภาความมั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ เห็นวา การตอสูในลักษณะดังกลาวจะ ทําใหการเมืองไทยออนแอลงมาก79 ดังนัน้ อาจกลาวไดวา การไฮดปารคจึงเปนเหมือนเวทีในการทําลายความชอบธรรมของ พล ต.อ.เผา ศรียานนทซึ่งเปนผูทา ทายอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามใหเกิด แกสาธารณชนที่จะมีผลทําใหจอมพล ป.เปนผูมีความชอบธรรมที่โดดเดนและปลดปลอย 74

สารเสรี, 18 ธันวาคม 2498.; พิมพไทย, 19 ธันวาคม 2498.; สารเสรี, 19 ธันวาคม 2498. สารเสรี, 20 ธันวาคม 2498. 76 ลมูล อติพยัคฆ, รอนไปปารีสกับนายควง อภัยวงศ,(พระนคร: คลังวิทยา, 2499), หนา 170. 77 สยามนิกร, 31 มกราคม 2499. 78 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 392.; สยามนิกร, 4 มกราคม 2499.; ชาวไทย, 10 มกราคม 2499. 79 “Staff Study Prepared by an Interdepartment Working Group for the Operations Coordinating Board, 4 January 1956, Analysis of Internal Security in Thailand(Pursuant to NSC Action 1290-d)and Recommend Action,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 845. 75


181

พันธนาการพึง่ พิงทางการเมืองของเขาออกจากคายราชครูไปสูการไดรับการสนับสนุนจาก ประชาชนแทน อีกทั้ง กอใหเกิดกระแสการตอตานสหรัฐฯขึ้นในสังคมไทยเพื่อจะกลายเปนสวน หนึง่ ของสาเหตุที่รัฐบาลจอมพล ป.จะใชเปนขออางในการถอยหางออกจากสหรัฐฯตอไป 7.5 การพยายามเปดไมตรีกับจีนของรัฐบาลจอมพล ป. ควรกลาวดวยวา บริบทการเมืองระหวางประเทศนับตัง้ แตการหยุดยิงในสงครามเกาหลี ทําใหจีนเริ่มมีอิทธิพลมากขึ้นและติดตามดวยการพายแพของฝรั่งเศสที่สมรภูมิเดียนเบียนฟูใน อินโดจีน ทําใหสหรัฐฯเริ่มสูญเสียอิทธิพลทางการเมืองระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชียและ เอเชียตะวันออกเฉียงใตลง สงผลให จอมพล ป. พิบูลสงครามมีความวิตกถึงความเปลี่ยนแปลง การเมืองระหวางประเทศในภูมิภาค ประกอบกับทาทีที่เปนมิตรของโจวเอินไหล นายกรัฐมนตรี ของจีนที่มีตอไทยในการประชุมบันดุง(เมษายน 2498) และปลายป 2498 นั้นเอง สหรัฐฯและจีน มีการประชุมรวมกันทีก่ รุงเจนีวาเพื่อตกลงกันแลกเปลีย่ นพลเรือนของทั้งสองประเทศที่ตกคางอยู ในทัง้ สองประเทศ โดยจีนเรียกรองใหมีการประชุมในระดับรัฐมนตรีตางประเทศระหวางกันตอไป เพื่อใหมกี ารยกเลิกการควบคุมสินคาที่สหรัฐฯใชกับจีนตัง้ แตสงครามเกาหลี โดยสหรัฐฯยินดี ประชุมในระดับรัฐมนตรีแตสหรัฐฯยังคงตองการควบคุมการคากับจีนเชนเดิม80 ไมแตเพียงความเปลี่ยนแปลงของบริบทการเมืองระหวางประเทศที่เริ่มดูเหมือนมีความ คลี่คลายของความขัดแยงลงเทานัน้ แตบริบทดังกลาวก็มีผลกระทบการคาของไทยในฐานะผู สงออกขาวรายสําคัญดวย เนื่องจากนับตัง้ แตสงครามอินโดจีนยุติลงปริมาณการสงออกของขาว ไทยลดลงเชนกัน รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเริ่มมองเห็นวา จีนจะเปนตลาดชวยในการ ระบายขาวที่ลน ตลาดของไทยได รัฐบาลจึงมีความคิดสงออกสินคาที่ไมใชยุทธปจจัยไปยังกลุม ประเทศคอมมิวนิสตโดยเฉพาะอยางยิง่ ขาว ซึง่ ขณะนั้นสหรัฐฯมีเห็นวา ไทยเริ่มมีความตองการ คากับกลุมประเทศคอมมิวนิสตที่สหรัฐฯไมอนุญาต81 ในปลายป 2498 หอการคาจีนในไทยไดรับจดหมายจากรัฐบาลจีนเรียกรองใหมีการเปด การคาระหวางกัน หนังสือพิมพจนี และไทยไดรายงานจดหมายฉบับดังกลาวอยางคึกโครม 80

สรอยมุกข ยิ่งชัยยะกมล, “นโยบายตางประเทศไทยของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตอ สาธารณรัฐประชาชนจีน(1948 - 1957),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธระหวาง ประเทศ ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544), หนา 84100. 81 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A001600530001-5, 25 July 1954, “Thailand may look to Communist China as market for surplus rice”.


182

สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา มีความเปนไปไดที่จะมีการคาระหวางไทยและจีน82 แมจอมพล ป. ประกาศคัดคานการเปดการคาระหวางกัน แตหนังสือพิมพชิเฉียนยิดเปา(Shih Chien Jih Pao) ซึ่งเปนหนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ศรียานนทตลอดจนหนังสือพิมพจนี ฉบับอื่นๆใหการ สนับสนุนการเปดการคาระหวางกันวา แมวาไทยและจีนจะไมมีความสัมพันธทางการทูตแตไทย สามารถคากับจีนได เนื่องจากที่ผา นมามีการคาอยางลับๆระหวางกันดวยใชการชําระเงินผาน ผานธนาคารในลอนดอนและนิวยอรค และใชเรือของประเทศที่สามขนสินคาเขามาผานฮองกง และสิงคโปรเขาสูไทยได ทัง้ นี้ ปริมาณสินคาจากจีนที่เขาสูตลาดของไทยในป 2497 มีมูลคาถึง 70,000,000บาท ซึ่งสวนใหญเปนสินคาทีม่ ีราคาถูกทําใหพอคาจีนในไทยสามารถขายไดอยาง รวดเร็วและมีกําไรดี83 ดังนัน้ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ในการเมืองระหวางประเทศนี้ เปนเหตุ ใหรัฐบาลจอมพล ป. ตองตัดสินใจเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทยใหม ดวยเหตุที่ บริบทการเมืองระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทําให รัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงครามตีความวาเหตุการณการเจรจาระหวางสหรัฐฯและจีนทีเ่ กิดขึ้นเปนเสมือนสัญ ญาณของการผอนคลายความขัดแยงระหวางประเทศในภูมิภา ดวยเหตุนี้ รัฐบาลจอมพล ป.จึง เริ่มหันมาเปลีย่ นแปลงนโยบายตางประเทศจากที่เคยเปนปรปกษกับจีนมาเปนมิตร ทัง้ นี้ ในเดือน ตุลาคม 2498 จอมพล ป.ไดหยัง่ ทาทีตอแอนชูทส อุปทูตรักษาการฯถึงการปรับเปลีย่ นทาทีของ สหรัฐฯตอจีน แตแอนชูทสยนื ยันวา สหรัฐฯมีนโยบายตอตานจีนเชนเดิม กระนั้นก็ดี สิ่งที่แอนชูทส ยืนยันนั้น หาไดสรางความมัน่ ใจใหกับจอมพล ป. ผูที่ตคี วามบริบทการเมืองระหวางประเทศ ชวงเวลานัน้ วาเปนชวงโอกาสที่ไทยควรปรับเปลี่ยนนโยบายตางประเทศเสียใหม การหยัง่ ทาที สหรัฐฯจากจอมพล ป.นี้ แอนชูทสไดรายงานเรื่องดังกลาวกลับไปยังกระทรวงการตางประเทศวา รัฐบาลไทยตีความวาการเจรจาระหวางสหรัฐฯและจีนเปนความปรองดองระหวางกันและรัฐบาล

82

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Entry Thailand 1955-1959 box 3910, Harry Conover to Secretary of State, 20 September 1955.; 23 September 1955. 83 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Entry Thailand 1955-1959 box 3910, Harry Conover to Secretary of State, 30 September 1955.; ไทยใหม, 27 พฤศจิกายน 2498. สินคาจากจีน หลายประเภทเขาขายในกรุงเทพฯ เชน ปากกา หมึก ดินสอสิ่งทอ แปรงสีฟน กระติกน้ํารอน ปากกาหมึกซึม ดินสอ หมึก แปรงสีฟน จักรยาน จักรเย็บผา ลวดโลหะ สิ่งทอ กระดาษ ยาจีน อาหารกระปอง อาหารแหง ทั้งนี้ เหตุผลที่สหรัฐฯไมตองการใหไทยคากีบจีนนอกจาก สหรัฐฯไมตองการใหจีนมีเงินตราตางประเทศแลว สหรัฐฯ ยังไมตองการให สินคาตางๆของจีนมีผลกระทบตอจิตวิทยาของพอคาจีนโพนทะเลที่จะทําใหจีนอางไดวา เนื่องจาก อํานาจอุตสาหกรรมจากจีนใหม(NARA, RG 84 box 1, Top Secret General Records 19471958, Memorandum from Norbert L. Anschuetz to John Jarman, Chinese Communist Trade with Thailand, 26 April 1954).


183

ไทยเกรงวา หากไทยยังคงมีนโยบายที่ไมเปนมิตรกับจีนตอไป ไทยอาจเปนประเทศเดียวทีถ่ ูกกัน ออกจากความสัมพันธระหวางประเทศใหมทกี่ อตัวขึ้นในภูมิภาค84 ที่วอชิงตัน ดี.ซี. ในเดือนพฤศจิกายน 2498 อัลแลน ดัลเลส ผูอํานวยการซีไอเอได รายงานตอประธานคณะเสนาธิการรวมสหรัฐฯวา สถานทูตสหรัฐฯประจําไทยและแหลงขาวของ สหรัฐฯสรุปวา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกําลังทบทวนนโยบายการตอตานคอมมิวนิสต แมกระทัง่ กรมหมืน่ นราธิปฯ รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศก็มที ัศนคติในทางบวกตอ การผอนคลายการมีความ สัมพันธกับจีน อีกทัง้ ขาราชการไทยไดเริ่มเรียกรองใหไทยมีนโยบาย ตางประเทศทีเ่ ปนอิสระ ตลอดจน การควบคุมหนังสือพิมพของรัฐบาลจอมพล ป. ไดผอนคลาย ลงทําใหมกี ารวิพากษวิจารณสหรัฐมากขึน้ พรอมกับเสียงเรียกรองใหไทยมีความสัมพันธกับจีน ในสายตาของสหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลยอหยอนในการตอตานคอมมิวนิสต นอกจากนี้ยงั เปดโอกาส ใหจัดตั้งพรรคการเมืองที่เรียกรองใหไทยมีนโยบายถอยหางออกจากความแนบแนนกับสหรัฐฯ ไปสูนโยบายตางประเทศเปนกลาง สหรัฐฯเห็นวา จอมพล ป.และผูนาํ หลายคนในรัฐบาลตองการ แสดงใหคนไทยเห็นวา พวกเขามีความเปนอิสระตามหลัก“จิตวิญญาณแหงบันดุง” 85 ไมแตเพียง สหรัฐฯเริ่มเห็นสัญญาณการถอยหางออกจากความแนบแนนกับสหหรัฐฯ เทานัน้ แตสหรัฐฯยังไดเห็นการขยายการติดตอทางการคาระหวางจีนกับไทยดวย แมการคาดัง กลาวจะไมใชสินคายุทธปจจัยและเปนการคาทางออมก็ตาม นายวรการบัญชา อดีตรัฐมนตรีวา การะทรวงการตางประเทศไดเคยกลาวใหการสนับสนุนการเปดการคากับจีนวา การคาทางตรง กับจีนจะไดกําไรมากกวาการคาทางออม ทั้งนี้ หนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชตลวนใหการสนับสนุนการดําเนินการดังกลาวของรัฐบาล 86 ตอมานิวยอรค ไทมส( New York Times)ฉบับ 19 พฤศจิกายน 2498 ไดลงขาววิจารณรัฐบาลไทยวา ไทยกําลัง เปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศไปสูความเปนกลาง เนื่องจาก“ประเทศไทยกลัวจะกลายเปน ประเทศเดียวที่ถูกทอดทิง้ ไวแตลําพังในเอเชีย และรูสึกไมแนใจวาใครจะชนะ จึงคอยๆเปลี่ยน ทาทีอยางเงียบๆ”87 การเริ่มเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามครั้งนี้ นํามาสูความเคลื่อนไหวในทางลับที่เปนรูปธรรมดวยการสงทูตลับของรัฐบาลไปยังจีน โดย 84

เรื่องเดียวกัน, หนา 103-106. “Memorandum From the Director of Central Intelligence (Dulles) to the Chairman of the Joint Chiefs Staff(Radford), 18 November 1955,” in Foreign Relations of the United States 19551957 Vol.22, pp. 840-841. 86 Ibid. 87 New York Times, 19 November 1955. 85


184

สถานทูตอังกฤษที่ฮองกงไดรายงานวา ตั้งแตเดือน ธันวาคม 2498 มีกลุมคนไทยไดขามฝงจาก ฮองกงไปจีนหลายคณะ เชน กลุมสอิง้ มารังกูรและอัมพร สุวรรณบล สมาชิกสภาผูแ ทนฯ กลุม เทพ โชตินุชิต หัวหนาพรรคเศรษฐกรกับคณะคนไทย จํานวน 10 คนไดเขาพบเหมาเจอตง พวก เขาไดปราศัยผานวิทยุปกกิง่ เลาถึงสิ่งที่พบเห็นและไดตดิ ตอชักชวนปรีดี พนมยงคและกลุมผูลี้ ภัยทางการเมืองเดินทางกลับไทย เนื่องจากรัฐบาลไทยจะนิรโทษกรรมความผิดให สถานทูต อังกฤษเห็นวา ทูตลับเหลานี้ ไดรับการสนับสนุนจากจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา ศรียานนท 88 อยางไรก็ตาม ความเคลื่อนไหวดังกลาวก็มิอาจเล็ดลอดไปจากสายตาของสหรัฐฯได บิชอป ทูตสหรัฐฯ ไดรายงานขาวดังกลาวกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี. วา รัฐบาลไทยอยูเบื้องหลังการ ติดตอกับจีน ทูตลับเหลานัน้ ไดรับการสนับสนุนจากจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียา นนท ในรายงานตั้งขอสังเกตวา เมื่อทูตลับเดินทางกลับจากจีนมาไทย พวกเขามิไดถูกจับ กุม ในทันที แมตอมา พวกเขาจะถูกจับกุมดวยขอหาละเมิดพระราชบัญญัติการกระทําอันเปน คอมมิวนิสต แตก็ถูกปลอยตัวในเวลาตอมา โดยทูตลับทัง้ สองชุดไดคําใหสัมภาษณที่สรางความ พอใจใหกับชุมชนชาวจีนในไทยเปนอยางมากมาก89 การถอยหางออกจากความความสัมพันธที่แนบแนนกับสหรัฐฯไปสูการเปดไมตรีกับจีน หาใชเกิดจากบริบทการเมืองระหวางประเทศแตเพียงประการเดียว แตการตัดสินใจดังกลาว เกิด จากปญหาภายในของไทยดวยเชนกัน เนื่องจาก อํานาจของกลุมการเมืองในไทยขณะนั้นวางอยู บนความสัมพันธผลประโยชนกับพอคาจีนในไทย ดังนั้น การเปดไมตรีกับจีนจะกลายเปนแหลง ผลประโยชนทางการคาใหมที่จะเกิดขึ้นกับคายราชครู เชน ประโยชนจากคาพรีเมี่ยมขาวและการ แลกเปลี่ยนเงินตราในการคากับจีน90นอกจากนี้ สถานทูตสหรัฐฯวิเคราะหวา การเปดไมตรีกับจีน ของรัฐบาลไทยภายใตการสนับสนุนของจอมพล ป. พิบลู สงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานนทนนั้

88

NA, FO 371/123645, Thai Nationals Visiting China, 22 February 1956.; โปรดดู ณัฐพล ใจจริง, “ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: ‘การทูตใตดิน’(2498-2500)ของจอมพล ป. พิบูล สงคราม,” รัฐศาสตรสาร 29 (ฉบับพิเศษ 2551): 29-80. 89 “the Embassy in Thailand (Bishop) to the Department of State, 23 May 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 875-876. นอกจากพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอม พลผิน ชุณหะวัณอยูเบื้องหลังแลว ยังมี เลื่อน บัวสุวรรณ ผูเปนนายทุนและผูจัดการทางการเมืองใหกับคาย ราชครูเปนคนออกเงินทุนในการเดินทางครั้งนี้ 90 Ibid., p.878.; โปรดดู Kevin Hewison, Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand,(Connecticut : Yale University, 1989).; สังศิต พิริยะรังสรรค, ทุนนิยมขุนนางไทย พ.ศ. 2475-2503, (กรุงเทพฯ: สรางสรรค, 2526).


185

จะทําใหรัฐบาลจะไดประโยชนจากการแสวงหาการสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมปรีดี”ในการ เลือกตั้งทีจ่ ะมาถึงในตนป 2500 ดวย91 การพยายายามถอยหางจากสหรัฐฯแตกลับพยายามเปดไมตรีกับจีนของไทยนัน้ สภา ความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯ เห็นวา จอมพล ป. พิบูลสงครามตีความบริบทการเมืองระหวาง ประเทศผิดที่คดิ วา สหรัฐฯใหความสนใจการสกัดกัน้ คอมมิวนิสตใหกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต และไทยนอยลงจึงหันไปติดตอกับจีน92 ตอมาในตน ป 2499 สถานทูตสหรัฐฯยังคงรายงานวา มี สัญญาณหลายอยางทีท่ ําใหสหรัฐฯเชื่อวารัฐบาลจอมพล ป.กําลังปรับนโยบายตางประเทศไปสู ทางซายและกําลังเพิ่มระดับความสัมพันธกับจีน โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนทจะไดรับประโยชน จากการมีความสัมพันธกับจีนในทางการเมือง สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา การดําเนินนโยบาย ตางประเทศของไทยเปนการแสดงใหสหรัฐฯเห็นวารัฐบาลไทยไมยอมผูกมัดกับอํานาจของโลก เสรีอีกตอไป93 7.6 การคากับจีนและความไมพอใจของสหรัฐฯ อยางที่ไดกลาวมาแลววา นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯของประธานาธิบดีไอเซนฮาวร ไดใหความสําคัญกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทงั้ เศรษฐกิจและการทหารและไดมีการผสม ผสานทั้งสองสิ่งเขากันอยางแนบแนนมากยิ่งขึน้ ดังจะเห็นไดจากในปลายป 2498 สภาความ มั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ ไดเสนอแผนการคาและการลงทุนของสหรัฐฯที่มุงตรงตอภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต โดยสหรัฐฯเห็นวา อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในภาพของภูมิภาครวมอยูใน ระดับต่ํา ดังนัน้ แผนระยะสัน้ ของสหรัฐฯจะสงเสริมสภาพแวดลอมที่อาํ นวยการลงทุนเอกชน การ ประกันการลงทุน และสงเสริมการคากับสหรัฐฯ โดยใหสถานทูตสหรัฐฯในภูมิภาคเปนผูดําเนิน การ โดยสหรัฐฯตองการใหความชวยเหลือทางการทหารมีความเกี่ยวของกับการพัฒนาเศรษฐกิจ 91

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Report of Thai contracts with The Chinese Communist , 21 March 1956. รายงานฉบับนี้ ใหขอมูลวา อัมพร สุวรรณบล สมาชิกสภาผูแทนฯภาคอีสาน ที่รับหนาที่เดินทางไปจีนนั้นเปนเพื่อนของพล.ร.ท.ทหาร ขํา หิรัญ“กลุมปรีดี” 92 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Paper 1948-1961, OCB Central File Series box 55, National Security Council: Progress Report on United States Objective and Courses of Action with Respect to Southeast Asia by The Operations Coordinating Board (No.5405), 21 December 1955. 93 “the Embassy in Thailand (Magill) to the Department of State , February 8,1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 855-856.


186

ตามแผนระยะยาวของสหรัฐฯ และใหหนวยงานตางๆของสหรัฐฯรักษาความสมดุลระหวาง นโยบายทางการทหารและโครงการพัฒนาเศรษฐกิจกับทุนทองถิ่นและรักษาความเปนไปไดใน การลงทุนของสหรัฐฯในภูมภิ าค94 ในขณะที่ สหรัฐฯมีความตองการเดินหนาแผนการคา การลงทุนและการพัฒนาเศรษฐกิจ ตอไทย แตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกลับมีนโยบายที่ไมสอดคลองกับความตองการของ สหรัฐฯดวยการเดินหนาเปดการคากับจีนแทนที่จะทําตามความตองการของสหรัฐฯ ติดตามดวย การที่รัฐบาลจอมพล ป. สั่งใหพจน สารสิน ทูตไทยเขาเขาพบซีบัลด ผูชวยรองรัฐมนตรี ตางประเทศฝายกิจการตะวันออกไกล เมือ่ 6 มีนาคม 2499 เพื่อชี้แจงใหสหรัฐฯทราบถึง ความ จําเปนของไทยที่ตองขายขาวใหกับจีน เนือ่ งจาก ขาวมิใชสินคายุทธปจจัยและไทยมีสิทธิที่จะขอ ถอนตัวออกจากบัญชีรายชือ่ ประเทศที่ไมคากับจีนของสหประชาติเมือ่ ใดก็ได แตซีบัลดใหเหตุผล กับพจนวา สหรัฐฯไมเห็นดวยกับการกระทําของไทย เพราะการคากับจีนจะเปนการสนับสนุนให จีนมีความสามารถในการคุกคามไทยเอง แตพจนแจงตอสหรัฐฯวา ไทยตระหนักในสิ่งที่สหรัฐฯ เตือน แตไทยไมมีทางเลือกอืน่ ที่ดีไปกวานี้ 95 ในวันรุงขึน้ ทีก่ รุงเทพฯนัน้ เอง รัฐบาลจอมพล ป. ได ตัดสินใจวาไทยจะคากับจีน96

94

The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Paper 1948-1961, OCB Central File Series box 55, National Security Council: Progress Report on Future United States Economic Assistance For Asia by The Operations Coordinating Board (No.5506), 7 December 1955. 95 “Memorandum of a Conversation Between the Thai Ambassador (Pote) and the Deputy Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Sebald), 6 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.858. 96 หจช.(2)กต. 14.3.3/8 กลอง 3 การกักกันสินคาไปยังดินแดนคอมมิวนิสต(22 เมษายน 2497-17 พฤษภาคม 2499), ปุน จาติกวนิช เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝายการเมือง ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ 8 มีนาคม 2499. ความเห็นกระทรวงตางประเทศ ที่เสนอรายงานเขาสูการประชุมคณะรัฐมนตรีคือ การคากับจีนมิไดนํามาซึ่งการรับรองจีน เชนในอดีตไทยก็เคยคากับจีน แตไมไดมีความสัมพันธทางการทูต และการคาระหวางกันที่เกิดขึ้นกระทําในนามเอกชนมิใชรัฐ ในรายงานเห็นวา สินคาจากจีนถูกมากกวาสินคา จากญี่ปุนซึ่งเปนประโยชนกับคนไทยมากกวา เพราะฉะนั้น กระทรวงฯเห็นวา การคากับจีนพึงทําไดตาม ระเบียบของไทยเอง ไมขัดกับขอหามของสหประชาชาติและสหรัฐฯ โดยไทยสามารถสงออกสินคาที่ไมใชยุทธ ปจจัยได เนื่องจากไมมีขอหามกําหนดไว แตสงออกยางไมได(หจช.(3)สร. 0201.45/42 กลอง 4 เรื่องการลด รายการสินคาที่ไทยหามสงไปประเทศจีนคอมมิวนิสต และแถลงการณเรื่องนโยบายการคาระหวางประเทศ(15 กุมภาพันธ 2499–26 กุมภาพันธ 2500).


187

การตัดสินใจของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามในการเปดการคากับจีนนัน้ ไดสราง ความไมพอใจใหกับสหรัฐฯมาก ไมกี่วนั หลังจากนัน้ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการะทรวงการตาง ประเทศไดถือโอกาสที่เดินทางมาแวะเยือนไทยระหวาง 13-14 มีนาคม 2499 ภายหลังเสร็จสิน้ การประชุมซีโตที่กรุงการาจี ปากีสถาน เขาไดขอพบจอมพล ป.เปนการสวนตัว หลังจากพบปะกัน แลว จอมพล ป. ไดแถลงสุนทรพจนยนื ยันการเปนพันธมิตรกับสหรัฐฯตอไป แมขณะนัน้ จะมีขาว โจมตีไทยวา ไทยกําลังโนมเอียงไปสูความเปนกลางเนื่องจากไทยไมพอใจความชวยเหลือจาก สหรัฐฯและไทยมีความตองการคาขายกับจีนก็ตาม โดยดัลเลส ไดกลาวตอบจอมพล ป.โดย เปรียบเทียบวา ไทยเปนเสมือนประเทศที่อยูกงึ่ กลางระหวางสหรัฐฯกับภูมิภาคเอเชีย และย้าํ วา “ …เราเปนพันธมิตรกันและการเปนพันธมิตรกัน มิใชเพียงเพราะวา เราไดรวมลงนามกันใน กระดาษแผนหนึง่ เทานั้น หากเราไดลงนามในกระดาษแผนนัน้ ดวยเหตุที่เรามีความรูสึกรวมกัน และดวยเหตุทเี่ ราเชื่อมั่นวามีภยันตรายอยูในโลก…”97 ในวันรุงขึ้น ดัลเลส ไดรายงานการสนทนา กับนายกรัฐมนตรีไทยกลับไปประธานาธิบดีไอเซนฮาวรวา จอมพล ป.ไดปฏิเสธการมีนโยบาย ตางประเทศทีเ่ ปนกลางและไมตองการดําเนินนโยบายออกไปจาก“อุงปก”ของสหรัฐฯ แมขณะนี้ ไทยจะมีแนวโนมมีความสัมพันธกับจีนแตยังอยูภายใตการควบคุมของรัฐบาล98 แมจอมพล ป. พิบูลสงครามจะแสดงใหสหรัฐฯมั่นใจวา ไทยจะดําเนินนโยบายตาง ประเทศตามสหรัฐฯตอไปก็ตาม ในเดือนมิถุนายน 2499 รัฐบาลจอมพล ป.ประกาศถอนการ ควบคุมสินคาที่ไมใชยุทธปจจัยกับจีนเพื่อเดินหนานโยบายการเปดการคากับจีนอยางเต็มตัว ตอมา เจาหนาที่จากสถานทูตสหรัฐฯไดเขาพบกรมหมืน่ นราธิปฯ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการ ตางประเทศเพื่อแสดงความเสียใจอยางสุดซึ้งตอนโยบายตางประเทศของรัฐบาลไทย นอกจากนี้ เขาไดแจงกับฝายไทยวา เมือ่ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดทราบ ขาวการเปดการคากับจีนนัน้ ดัลเลสเกือบจะโทรเลขเพือ่ ขอใหยับยั้งการดําเนินการของไทย ในทันที99 ตอมา จอมพล ป.ใหเหตุผลถึงการเปดการคากับจีนแกนกั ขาวไทยและตาง ประเทศวา ไทยจําเปนตองปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของโลกวา “ในยุโรปและเอเชียมีแตไทยเทานัน้ ทีห่ าม 97

“Memorandum of a Conversationat Government House-Bangkok , 13 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 861.; หจช.(3)สร. 0201.21.3/ 58 กลอง 3, วิทยุสาร (15 มีนาคม 2499). 98

“the Secretary of State to the Department of State to Mr. President , 14 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 865. 99 หจช. กต. 87/46 บันทึกการสนทนาระหวางเสด็จในกรมฯ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กับ นายแอนชูตส 13 มิถุนายน 2499.; “the Embassy in Thailand (Bishop) to the Department of State , June 13,1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22 , pp. 889-890.


188

การคากับจีน ดังนัน้ เราไมอาจฝนโลกได”100 สุดทาย รัฐบาลจอมพล ป.ไดแถลง การณเรื่อง นโยบายการคาระหวางประเทศ เมื่อ 21 มิถุนายน 2499 เพื่อเปดการคากับจีน101 เกือบจะทันทีที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศเปดการคากับจีน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯมีปฏิกริยาตอรัฐบาลไทยทันทีวา เขา”รูสึกผิด หวัง” เขาเห็นวา การกระทําของรัฐบาลไทยแสดงใหเห็นถึงความออนแอของโลกเสรี102 ไมกี่วนั จากนั้น เขาไดโทรเลขถึง บิชอป ทูตสหรัฐฯประจําไทยวา สหรัฐฯไมเคยรองขอใหประเทศพันธ มิตรฝนใจทําในสิ่งที่ไมอยากทํา แตสหรัฐฯ“ไมเห็นดวยกับการกระทําของไทยอยางมาก” และได ฝากจดหมายถึงจอมพล ป.วา สหรัฐฯไมเห็นดวยกับไทยมีการคาระดับปกติกับจีน103 หลังจากที่ เขาไดทิ้งชวงการตอบจดหมายกลับดัลเลส รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯเปน เวลา 2 เดือน จอมพล ป. ไดตอบกลับดัลเลสวา ไทยยังคงยืนยันการเปดการคากับจีนเนื่องจาก สถานการณการเมืองระหวางประเทศในภูมิภาคไดเริ่มมีนโยบายเปนกลาง และคนไทยมีความ 100

สยามนิกร, 16 มิถุนายน 2499. 101 “Memorandum of a Conversation Between the Thai Ambassador (Pote) and the Deputy Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Sebald), 6 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 858. กอนรัฐบาลไทยแถลงการณฉบับดังกลาว จอมพล ป. พิบูล สงครามไดสั่งการใหกระทรวงการตางประเทศจัดรวบรวมปญหาขอเท็จจริงและขอดีและเสียเกี่ยวกับรายการ สินคาที่ไทยจะคากับจีน กระทรวงการตางประเทศไทยไดเสนอตอคณะรัฐมนตรีโดยอางอิงกับขอผูกพันของ สหประชาชาติ ตามมติสมัชชาที่ 500 (สมัยที่ 5) 18 พฤษภาคม 2494 สาระสําคัญขอผูกพันธนั้นหามสงยุทธ ปจจัยรวมทั้งยางและดีบุกคากับประเทศคอมมิวนิสตแตมิไดหามขาวและไม อีกทั้ง สหประชาชาติไดใหแตละ ประเทศกําหนดเอาเองวาสินคาใดเปน”ขอยกเวน” สวนขอผูกพันธของสหรัฐฯ ตามรัฐบัญญัติแบตเติล 2494 ได กําหนดวายุทธปจจัยที่หามคือ ยางและดีบุก แตไมไดหามขาวและไมและสินคาอื่นที่ไมใชยุทธปจจัยแตอยางใด ทั้งนี้ แถลงการณเรื่องนโยบายการคาระหวางประเทศของสํานักนายกรัฐมนตรีเมื่อ 21 มิถุนายน 2499 ได ประกาศยกเลิกการควบคุมสินคาที่ไมใชยทุ ธปจจัย โดยใหเหตุผลวาสงครามเกาหลีไดสงบศึกแลว ดังนั้น การ หามสินคาที่ไมใชยุทธปจจัยจึงไมมีความจําเปน ฉะนั้นเพื่อประโยชนทางการคาทั่วไปสําหรับประชาชนไทย รัฐบาลเห็นวา การสงสินคาไปจําหนายตางประเทศควรยึดหลักปฏิบัติทางการคาทั่วไป กลาวคือ การเปดเสรี ทางการคาที่อนุโลมตามนานาประเทศ(หจช. (2)กต. 1.1.5/19 กลอง 3 สาสนของรัฐมนตรีกระทรวงการตาง ประเทศ อเมริกันเกี่ยวกับการคากับสาธารณรัฐประชาชนจีน(9 มิถุนายน – 3 สิงหาคม 2499), แถลงการณเรื่อง นโยบายการคาระหวางประเทศสํานักนายกรัฐมนตรี 21 มิถุนายน 2499). 102 Ibid. 103 “the Department of State to the Embassy in Thailand (Bishop), 23 June 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp.892-894.; หจช.(2)กต. 1.1.5 / 19 กลอง 3 สาสน ของรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศ อเมริกันเกี่ยวกับการคากับสาธารณรัฐประชาชนจีน(9 มิถุนายน – 3 สิงหาคม 2499) โทรเลขลับเฉพาะของดัลเลส ถึง จอมพล ป. 25 มิถุนายน 1956.


189

ตองการใหคา กับจีนเพราะปริมาณการสงออกของไทยลดนอยลง รัฐบาลจึงตองทําตามความ ตองการของประชาชน การคาระหวางกันนี้เปนการคาตามหลักสากลที่ไมมียทุ ธปจจัย ไมมีการ สถาปนาความสัมพันธระหวางกัน และไทยยืนยันวาไทยยัง คงยังคงรักษาความสัมพันธกับสหรัฐ ตามเดิมและยืนยันวา “หากจีนมุง มาทางใต มิใชประเทศไทยเปนผูจงู ใหมาเด็ดขาด”104 จาก หลายเหตุการณที่ผานมา ทําใหสหรัฐเริ่มมีความไมแนใจในนโยบายในการเปนพันธมิตรกับ สหรัฐฯของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมากยิง่ ขึ้น อีกทั้ง เมื่อรองประธานาธิบดีริชารด นิกสัน ไดเดินทางมาเยือนไทยในชวงเวลานัน้ เขาพบจอมพล ป. จากนัน้ เขาไดใหสัมภาษณกับ หนังสือพิมพวา “ไทยจะเปนกลางไมได”105 7.7 หนังสือพิมพกับตอสูท างการเมืองและการตอตานสหรัฐฯ ภายใตบริบทของความผันผวนของการเมืองระหวางประเทศที่ไทยไดเริ่มแสดงทาทีถอย หางออกจากความตองการของสหรัฐฯ ในขณะที่ การตอสูทางการเมืองของกลุมการเมืองตางๆ ทั้ง จอมพล ป. พิบูลสงครามพล ต.อ.เผา ศรียานนท จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต “กลุมรอยัลลิสต” และกลุมฝายซาย ขณะนัน้ ยังคงดําเนินไปอยางเขมขน ไมแตเพียงพวกเขาไดเขาตอสูทาง การเมืองผานบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตยดวยการโจมตีซึ่งกันและกันบนเวทีการไฮดปารค เทานัน้ แตพวกเขายังมีหนังสือพิมพฉบับตางๆเปนกระบอกเสียงของกลุมตนเองดวยเชนกัน โดย จอมพล ป.ไดใหการสนับสนุนหนังสือพิมพหลายฉบับเพื่อสนับสนุนรัฐบาลและวิจารณ พล ต.อ. เผาและจอมพลสฤษดิ์ เชน ธรรมาธิปตย เสถียรภาพ บางกอก ทรีบูน(Bangkok Tribune) ประชา ศักดิ์ และไฮดปารครายปกษ 106 สําหรับพล ต.อ.เผาใหการสนับสนุนหนังสือพิมพหลายบับดวย 104

หจช.(2)กต. 1.1.5 / 19 กลอง 3 สาสนของรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศ อเมริกันเกี่ยวกับ การคากับสาธารณรัฐประชาชนจีน(9 มิถุนายน – 3 สิงหาคม 2499) นายกรัฐมนตรี ถึง รัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐฯ 2 สิงหาคม 2499. 105 หจช.(3)สร. 0201.21.3/ 89 กลอง 5 รองประธานาธิบดีแหงสหรัฐฯจะมากรุงเทพฯ(4 – 10 กรกฎาคม 2499 ), วิทยุสาร (10 กรกฎาคม 2499).; หจช.(2)กต. 1.2 /กลอง 9 สรุปขาวในประเทศประจํา สัปดาห ของกรมประชาสัมพันธ ระหวางวันที่ 4 ธันวาคม 2498–2 กันยายน 2499. 106 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State , ” Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956.; สุวิมล รุงเจริญ, “บทบาท ของนักหนังสือพิมพในการเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526), หนา 51. สุพจน ดานตระกูล(2466-2552)เปนคน นครศรีธรรมราช เขาเคยเขารวมขบวนการเสรีไทย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาทํางานกับหนังสือพิมพหลาย ฉบับ ตอมาถูกจับ 10 พฤศจิกายน 2495 ในขอหากบฎในและนอกราชอาณาจักรกรณี“กบฎสันติภาพ” จากนั้น


190

งบราชการลับเพื่อใชหนังสือพิมพเปนเครื่องมือในการโจมตีจอมพลสฤษดิ์ เชน ชาวไทย เผาไทย เสรีไทย ไทยเสรี ขาวดวน เชา 2500 และชิเฉียนยิดเปา107 สวนจอมพลสฤษดิ์ใหการสนับสนุน หนังสือ พิมพหลายฉบับเพือ่ สรางฐานอํานาจทางการเมืองของเขาดวยการทําลายพล ต.อ.เผา เชนกัน โดยใชเงินจากสํานักงานกองสลาก จํานวน 30 ลานบาทสนับสนุนหนังสือพิมพ เชน สาร เสรี ไทรายวันและไทรายสัปดาห108 ควรบันทึกดวยวา หนังสือพิมพฉบับตางๆทีท่ ั้งจอมพล ป. พล ต.อ.เผา และจอมพลสฤษดิ์ใหการสนับสนุนนัน้ มีทาทีตอตานสหรัฐฯ เนื่องจาก พวกเขาตองการ แสวง หาการสนับสนุนจากประชาชนในทางการเมือง ดวยเหตุที่ ความขัดแยงทางการเมืองระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตตมีสูง ทําใหหนังสือพิมพืไดกลายเปนสวนหนึง่ ของการตอสูทางการเมืองดวยเชนกัน เชน เขาไดรับนิรโทษกรรมโดยรัฐบาลจอมพล ป. ทั้งนี้ เขาเคยรวมงานหนังสือพิมพหลายฉบับ เชน เกียรติศักดิ์ สยามรัฐ สยามใหม และกงหวอปอ หลังนิรโทษกรรมกลับนครศรีธรรมราช และออกหนังสือพิมพเสียงชาวใต ตอมาเขามารวมงานกับประชาศักดิ์ที่จอมพล ป. สนับสนุนการจัดตั้งขึ้นในตําแหนงคอลัมภนิสต (สุพจน ดาน ตระกูล, 80 ป สุพจน ดานตระกูล, [นนทบุรี: สถาบันวิทยาศาสตรสังคม, 2546],หนา 25, 59-60). 107 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Peurifoy to Secretary of State, 6 August 1955 . พล ต.อ.เผา ศรียานนทเตรียมการออกหนังสือพิมพจีนชื่อชิเฉียนยิดเปาตั้งแตกลางป 2497 เพื่อใหเปนกระบอกเสียงของรัฐบาลในหมูคนจีน(NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4188, Donovan to Secretary of State, 8 May 1954).; NARA, RG 84 General Record, Thailand 19561958 Entry UD 3267 box 112, D.H. Rochlen to The Ambassador, Change in ownership of Sri Krung and Liberty Newspapers, 4 January 1957. กลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่เขาควบคุมทิศทาง หนังสือพิมพ สําหรับไทยเสรีนั้นมีกลุมบุคคลที่ทําหนาที่บริหารหนังสือพิมพมีทั้ง “กลุมปรีดี”และกลุมตํารวจเชน พ.ต.อ.ชมพู อรรถจินดา ผูอํานวยการ พ.ต.อ.พันศักดิ์ วิเศษภักดี ผูชวยผูอํานวยการ โกมุท จันทร เรือง หัวหนา บรรณาธิการ( ผูเปน“กลุมปรีดี” ) แสวง ตุงคะบรรหาร บรรณาธิการ(อดีตบรรณาธิการเชา) ทั้งนี้ ร็อกเลน ผูเขียนรายงานฉบับนี้เปนเจาหนาที่ซีไอเอ.; หจช.บก.สูงสุด 7/6 กลอง 4 รวมเรื่องเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ การใหขาวและการสื่อสาร(19 ตุลาคม 2497 – 18 เมษายน 2500).; สมบูรณ วรพงษ, บนเสนทางหนังสือพิมพ ,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเพื่อนชีวิต, 2527), หนา 35-36. โชติ มณีนอย, “ตอยๆตามกันมากวา 30 ป ,” ใน อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ เฉลิมวุฒิ โฆษิต ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 19 มีนาคม 2526, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพธรรมดา, 2526).พล ต.อ.เผาไดตั้งหนังสือพิมพชาวไทยไวตอสูกับสารเสรีและไทรายวัน ของจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต ทั้งนี้ พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ ตํารวจที่ใกลชิดพล ต.อ.เผาไดเคยรับผิดชอบหนังสือพิมพชาว ไทยและเคยรวมเขียนบทความโจมตีจอมพล ป.มากกวาจอมพลสฤษดิ์ ทําใหพล ต.อ.เผาเรียกเขามาตักเตือน (พ.ต.อ. พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 234-235). 108 สมบูรณ วรพงษ, บนเสนทางหนังสือพิมพ,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเพื่อนชีวิต, 2527), หนา 35-36. มีบริษัทธนะการพิมพ เปนเจาของ พล.ต.เนตร เขมะโยธิน เปนผูจัดการ(เสถียร จันทิมาธร และขรรคชัย บุนปาน , กองทัพบกกับประเทศไทย,(กรุงเทพฯ: มติชน, 2526), หนา 83.


191

สารเสรีของจอมพล สฤษดิ์ ไดเริ่มวิจารณพล ต.อ.เผาตั้งแตปลายป 2498 และตอมาก็ไดโจมตีพล ต.อ.เผาอยางหนักและรวมถึงวิพากษรัฐบาลและเริ่มลงขาวโนมเอียงไปทางสังคมนิยม109 การที่ หนังสือพิมพของทัง้ พล ต.อ.เผาและจอมพลสฤษดิ์ตางโจมตีกันอยางรุนแรง แมพล ต.อ.เผาจะมี หนังสือพิมพทใี่ ชตอบโตหลายฉบับมากกวาจอมพลสฤษดิ์ก็ตาม แตสารเสรี ไดรับความนิยมจาก ผูอานมากกวา เนื่องจากกลาขุดคุยพล ต.อ.เผา แตในบางครั้งสารเสรีก็ลงขาวบิดเบือน อยางไรก็ ตาม ดวยเหตุที่สาธารณชนใหความเชื่อถือสารเสรีมากกวาหนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ทําให หนังสือพิมพของจอมพลสฤษดิ์จึงเปนเสมือนเปนหัวหอกในการสรางความเกลียดชังพล ต.อ.เผา ใหกับประชาชน แตในขณะเดียวกันก็ไดสรางกระแสจอมพลสฤษดิ์ใหกลายเปนขวัญใจของ ประชาชน110 สําหรับกระบอกเสียงของ“กลุมรอยัลลิสต” เชน สยามรัฐ และประชาธิปไตย นัน้ หนังสือ พิมพเหลานีม้ ีเปาหมายเพื่อตอตานทัง้ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และตัวบุคคลในรัฐบาล เชน จอมพล ป.กับพล ต.อ.เผา ศรียานนทแตไมตอตานจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและไมตอตาน สหรัฐฯ111 สําหรับสยามรัฐนั้นมี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แกนนําคนหนึ่งของ“กลุมรอยัลลิสต” เปน เจาของโดยมีนักหนังสือพิมพที่มีความคิดคลายคลึงกันในสังกัด เชน สละ ลิขิตกุล และประหยัด ศ.นาคะนาท112 สวนหนังสือพิมพของกลุม ฝายซาย เชน สยามนิกร และ พิมพไทย มีนโยบาย ตอตานการดําเนินโยบายตามสหรัฐฯ เรียกรองนโยบายทีเ่ ปนกลาง และคัดคานการเปนพันธมิตร ทางการทหารของไทยกับสหรัฐฯ อยางไรก็ตาม ประเด็นการคัดคานการดําเนินนโยบาย 109

ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 412.; สุกัญญา ตีระวนิช, หนังสือพิมพไทย จากปฏิวัติ 2475 สูปฏิวัติ 2516,(กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2526), หนา 96. 110 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 413, 459-460. 111 เรื่องเดียวกัน, หนา 413. 112 “นายรําคาญ” หรือประหยัด ศ.นาคะนาท(2457-2545) เคยเรียนกฎหมายแตไมจบการศึกษา เริ่มตนทํางานหนังสือพิมพตั้งแตป 2477 เขามีความถนัดงานเขียนแนวขบขัน เสียดสี ลอเลียนลงในหนังสือ พิมพหลายฉบับ เชน บางกอกรายวัน(2490) สยามสมัย(2491) พิมพไทยวันจันทร(2493) เขารวมงานกับกับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สละ ลิขิตกุล อบ ไชยวสุที่ สยามรัฐสัปดาหวิจารณตั้งแตป 2497 เขาถนัดเขียนเรื่องแนว ลิเก เสียดสีลอเลียนจอมพล ป.(อนุสรณในงานพระราชทนเพลิงศพ นายประหยัด ศ.นาคะนาท ณ ณาปน สถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 22 กรกฎาคม 2545, [กรุงเทพฯ: ไมปรากฎโรงพิมพ, 2545]). 112 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 412.


192

ตางประเทศตามสหรัฐฯ หนังสือพิมพหลายฉบับใหการสนับสนุนดวย เชน สารเสรี ไทยรายวัน และเสถียรภาพ เปนตน 113 การตอสูทางการเมืองที่เกิดขึน้ ไดกลายมาเปนประเด็นการตอตานสหรัฐฯอยางหลีกเลีย่ ง ไมได เนื่องจาก หนังสือพิมพและปญญาชนฝายซายของไทย ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามทีเ่ ขาไปมีความสนิทแนบแนนกับสหรัฐฯ พวกเขาไดเรียกรองใหไทยมีนโยบายตาง ประเทศที่เปนอิสระและวิจารณบทบาทสหรัฐฯมากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะอยางยิ่งความชวยเหลือทาง การทหารของสหรัฐฯ114 ทําใหการวิพากษวิจารณบทบาทของสหรัฐฯบนหนาหนังสือพิมพฝาย ซายไดทวีความรุนแรงมากขึ้น เห็นไดจากสยามนิกรไดใชคําวา“จักวรรดินิยมดอลลาร”ในการ วิพากษวิจารณความชวยเหลือของสหรัฐฯวามีผลทําใหไทยถูกควบคุมทางเศรษฐกิจและตอง พึ่งพาสหรัฐฯและพวกเขาไดเรียกรองใหไทยเปนอิสระจากสหรัฐฯ115 กลางเดือนมิถุนายน 2499 กรมตํารวจไดประกาศยกเลิกคําสั่งหามหนังสือพิมพการวิจารณการเมืองระหวางประเทศ116 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานบรรยากาศของหนังสือพิมพไทยขณะนัน้ มีการโจมตีสหรัฐฯอยางหนัก เนื่องมาจากการผอนคลายการควบคุมหนังสือพิมพของรัฐบาล โดยมีหนังสือพิมพฝายซายเปน หัวหอกของการตอตานสหรัฐฯ รวมทั้ง พวกฉวยโอกาสกับพวกนิยมคอมมิวนิสตรวมการตอตาน สหรัฐฯดวย โดยกระแสการโจมตีสหรัฐฯผานหนังสือพิมพประกอบขึ้นจากหลายกลุม ยอยที่มี ลักษณะเปนอิสระ อีกทัง้ หนังสือพิมพบางฉบับที่ไดรับการสนับสนุนจากบุคคลหลายคนใน รัฐบาลรวมทัง้ นายกรัฐมนตรีดวย 117 ทามกลางบรรยากาศการโจมตีกันทางการเมืองและการตอตานสหรัฐฯของหนังสือพิมพ ไทยนัน้ นิวยอรค ไทมส(New York Times) ฉบับปลายเดือนสิงหาคม 2499 ไดพาดหัวขาววา 113

เรื่องเดียวกัน, ประจวบ อัมพะเศวต, หนา 412.; สุวิมล รุงเจริญ “บทบาทของนักหนังสือพิมพใน การเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526), หนา 126-128. 114 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service box 2, Analysis of International Security in Thailand and Recommended Action, 4 January 1956.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Robert N. Magill to Secretary of State, Press criticism of U.S. Aid Program, 11 January 1956.; Rockwood H. Foster to Young, 23 January 1956. 115 สยามนิกร, 15 มกราคม 2499. 116 หจช.(2)กต. 1.2 /กลอง 9 สรุปขาวในประเทศประจําสัปดาห ของกรมประชาสัมพันธ ระหวางวันที่ 4 ธันวาคม 2498–2 กันยายน 2499. 117 “the Embassy in Thailand (Bishop) to the Department of State, 23 May 23,1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 878.


193

หนังสือ พิมพไทยเปนปรปกษกับสหรัฐฯ และรายงานวา หนังสือพิมพทตี่ อตานสหรัฐฯสวนใหญ อยูใตอิทธิพลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม พล ต.อ.เผา ศรียานนท และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต โดยไดตั้งขอสังเกตวา แมทั้งสามคนจะประกาศอยางเปนทางการวา ใหการสนับสนุนตะวันตก อยางแข็งขัน แตหนังสือพิมพของพวกเขานั้นกลับทําในสิ่งตรงกันขาม โดยเฉพาะอยางยิง่ การ ตอตานสหรัฐฯ นิวยอรค ไทมสไดวิเคราะหวา เข็มมุง ของหนังสือพิมพขณะนั้นมี 3 กลุม กลุมแรก เปนหนังสือพิมพแบบกลางๆ กลุมที่ 2 เปนปรปกษกับสหรัฐฯในระดับปานกลาง กลุมที่ 3 เปน ปรปกษกับสหรัฐฯอยางรุนแรง เชน สารเสรีของจอมพลสฤษดิ์ มีการใชคําวา “ขุนศึกอเมริกัน” สวนเสถียรภาพของจอมพล ป. ก็โจมตีสหรัฐฯ ชิเฉียนยิดเปาหนังสือพิมพจีนของพล ต.อ.เผาก็ โนมเอียงไปทางการตอตานสหรัฐฯและนิยมคอมมิวนิสตเชนกัน 118 สําหรับสาเหตุที่จอมพล ป.พิบูลสงครามใหการสนับสนุนหนังสือพิมพฝา ยซายใหโจมตี สหรัฐฯนัน้ สุพจน ดานตระกูล ปญญาชนฝายซาย อดีตผูเ คลื่อนไหวโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. ผู เคยถูกจับใน “กบฎสันติภาพ” หลังไดรับนิรโทษกรรมแลว เขาไดรวมงานกับหนังสือพิมพทจี่ อม พล ป.สนับสนุนใหจดั ตั้ง ชื่อ ประชาศักดิ์ เขาไดบันทึกวา หลังจากที่จอมพล ป. ไดเห็นบรรยากาศ ของประชาธิปไตยในที่ตางๆของโลก จอมพล ป.ตระหนักถึงปญหาเอกราชของไทยภายใตการ อํานาจสหรัฐฯ จอมพล ป.เกิดแนวคิดที่พยายามเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และจอมพล ป.ไม พอใจการที่สหรัฐฯครอบงําไทยมากเกินไปจึงมีความคิดที่จะคอยๆเปลีย่ นนโยบายตางประเทศให ถอยหางออกจากสหรัฐฯอยางคอยเปนคอยไป ดวยการสรางกระแสประชามติผานการใชหนังสือ พิมพปลุกเรา ตอมาในป 2499 จอมพล ป.ใหการสนับสนุนทุนจัดตั้งหนังสือพิมพและตั้งชื่อใหวา ประชาศักดิ์ ตอมา จอมพล ป.ไดรับอดีตนักโทษการเมืองกรณี“กบฏสันติภาพ” หลายคนมา รวมงานรวมทัง้ เขาเพื่อรวมกันสรางกระแสประชามติใหประชาชนคลอยตามเพื่อใหรัฐบาลใชมติ มหาชนดังกลาวเปนขออางกับสหรัฐฯในการถอยหางออกจากการดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯ ตองการ119 ทั้งนี้ นิวยอรค ไทมส(New York Times)ในชวงเวลาดังกลาวไดรายงานขาววา คนไทย สวนมากไมพอใจความชวยเหลือทางการทหารจากสหรัฐฯนี้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ปญญาชน และ กลุมคนทํางาน พวกเขาเห็นวา สหรัฐฯทําใหกลุมตํารวจและกลุมทหารมีอํานาจมากมีผลกระทบ 118

New York Times, 26 August 1956. สุพจน ดานตระกูล, ทนายจําเปน,(กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2516), หนา 16-18, 22-27. สุ พจน เห็นวา จอมพล ป. ไมสามารถออกหนาในการตอตานสหรัฐฯได เนื่องจากจอมพล ป.เปนนายกรัฐมนตรีที่ ตองรักษาความไววางใจจากสหรัฐฯ แตจอมพล ป.ได ดําเนินการทางลับดวยใหขอมูลแกหนังสือพิมพและการ ไฮดปารคเพื่อการเปดความไมเปนธรรมที่สหรัฐฯทํากับไทย สุพจนเห็นวาเปาหมายของจอมพล ป.และเขาตอง ตรงกัน เขาจึงรวมงานคุมทิศทางหนังสือพิมพใหกับจอมพล ป. 119


194

ใหเกิดการริดรอนเสรีภาพของประชาชน พวกเขาเห็นวา สหรัฐฯทําผิดพลาดที่ใหความชวยเหลือ ทางการทหารมากกวาการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ สหรัฐฯยังไดแทรกแซง เสรีภาพของไทยดวยการมีเจาหนาที่ปฏิบตั ิงานในไทยจํานวนมาก 120 7.8 ความไมพอใจของสหรัฐฯตอการเปดรับวัฒนธรรมจีนของไทย ดังไดเห็นมาแลววา การดําเนินการแผนสงครามจิตวิทยาในไทยไมประสบผลสําเร็จ ตามที่สหรัฐฯหวังไว เนื่องจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามยอหยอนในการตอตาน คอมมิวนิสต ดวยการพยายามเปดไมตรีกบั จีน เปดการคาและรับวัฒนธรรมจากจีนเขามาในไทย ทําใหในตนป 2499 สหรัฐฯไดสงดร.ไรเดคเกอร(Leidecker)นักสังคมวิทยาที่เชีย่ วชาญศาสนา พุทธเขามาศึกษาทัศนคติของคนไทยตอความเชื่อที่ยึดเหนี่ยวเพื่อใชในการวางแผนสงคราม จิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตตอไป เนื่องที่ผานมา เมื่อยูซิสดําเนินสงครามจิตวิทยาตอประชาชน มักจะถูกคัดคานจากผูเขารับฟงเสมอ 121 เชน ในการอบรมสงครามจิตวิทยาครัง้ หนึ่งในไทย นิวยอรค ไทมส(New York Times) รายงานวา ชาวนาไทยสวนใหญไมเคยไดยินเรือ่ งคอมมิวนิสต มากอน แตการอบรมไมมีผลครอบงําคนทั้งหมดได เนื่องจากยังคงมี คนไทยบางสวนไมเห็นดวย ทําใหผูเขาอบรมคนไทยบางคนถามเจาหนาที่ยซู ิสวา“ถาคอมมิวนิสตไมดีแลวจะอบรมใหคนไทย รูทําไม ทําไมไมอบรมในสิ่งที่ดีซึ่งชาติเสรีมีมากกวา แตกลับมาอบรมเรื่องคอมมิวนิสตและหาก คอมมิวนิสตไมดีทําไมคอมมิวนิสตจงึ ขยายตัวมาก อะไรเปนจุดออนของเสรีประชาธิปไตย และ ทําไมชาติเสรีจึงกลัวคอมมิวนิสตจนตัวสัน่ ทําไมสหรัฐฯไมทิ้งระเบิดในประเทศคอมมิวนิสตไป เลย ทําไมไมแจกอาวุธใหคนไทยปอง กันตนเอง และบางคนถามวา สหรัฐฯตองการอะไรจาก ประเทศไทย หรือตองการครอบครองประเทศไทยหรือ”122 นอกจากนี้ ในการอบรมสงคราม จิตวิทยาใหกบั ประชาชนของยูซิสครั้งหนึง่ ที่อาํ เภอราษฎรบูรณะ กรุงเทพฯในป 2499 เมื่อการ อบรมเสร็จสิ้นลง ชาวสวนคนหนึ่งไดถามเจาหนาที่ยูซิสวา การที่สหรัฐฯสงอาวุธและเจาหนาทีเ่ ขา มาในไทยนัน้ มุงจะยึดครองไทยหรือ 123 นอกจากนี้ ในชวเวลาดังกลาว สถานทูตสหรัฐฯแจงตอ รัฐบาลวา กลุม ฝายซายไดเขาแทรกซึมเขาขัดขวางการทํางานของยูซสิ 124 120

New York Times, 21 September 1956. สยามนิกร, 18 กุมภาพันธ 2499. 122 New York Times, 18 May 1956. 123 ประชาธิปไตย, 5 พฤษภาคม 2499. 124 หจช.(2)กต. 14.3/76 กลอง 8 หนังสือพิมพกลาวหาวายูซิสชวยหาเสียงใหฝายคาน(1 ธันวาคม 2499 – 13 กุมภาพันธ 2500), บิชอป ถึง นายวรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 12 121


195

ทามกลางความลมเหลวในการตอตานคอมมิวนิสตของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่ไมแตเพียงเริม่ มีนโยบายตางประเทศถอยหางออกจากสหรัฐฯเทานั้น แตยังพยายามมีไมตรีและ มีการคากับจีน อีกทั้ง การยินยอมของรัฐบาลใหมกี ารนําเขาวัฒนธรรมจากจีนดวยการให ภาพยนตจากจีนเขามาฉายในกรุงเทพฯหลายเรื่อง125 ทําให ฮูเวอร(Hoover)รักษาการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯแสดงความกังวลใจถึงความยอหยอนการ ตอตานคอมมิวนิสตของรัฐบาลไทย126 จากนัน้ รายงานความเคลื่อนไหวของการฉายภาพยนตจนี ในกลางกรุงเทพฯทีม่ ีอยางตอเนื่องถูกรายงานกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี. ทําใหสหรัฐฯเกิดความวิตก ตอผลกระทบที่จะมีตอความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนสงครามจิตวิทยาทีก่ ําหนดไว ตอมา 16 พฤษภาคม 2500 โรเบิรตสัน รองอธิบดีกรมการเมืองตะวันออก ไดเรียก พจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯเขาพบเพื่อแจงความกังวลของสหรัฐฯตอความเปลี่ยนแปลงของไทยเริ่มเหิน หางจากความตองการของสหรัฐฯและตั้งคําถามตอไทย 4 ประการ คือ เหตุใดรัฐบาลจอมพล ป. จึงอนุญาตใหคณะคนไทยการเดินทางไปจีน เหตุใดหนังสือพิมพไทยจึงเปนปฏิปกษตอสหรัฐฯ และซีโตมาก เหตุใด บุคคลชั้นนําในรัฐบาลจึงใหการสนับสนุนหนังสือพิมพทโี่ จมตีสหรัฐฯ และ เหตุใด ไทยจึงยินยอมใหมกี ารฉายภาพยนตจีนที่มงุ โฆษณาชวนเชื่อในกรุงเทพฯ127 คําถามของ สหรัฐฯที่ไมพอใจไทยเหลานั้น พจนไดรายงานกลับมายังไทย ในการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อ เดือนพฤษภาคม ที่ประชุมไดมีมติใหพจน แจงยืนยันตอสหรัฐฯวา ไทยยังคงมีนโยบายตอตาน คอมมิวนิสต และจะดําเนินการควบคุมการฉายภาพยนตจีนตอไป128อยางไรก็ตาม การฉาย ภาพยนตจากจีนใจกลางกรุงเทพฯยังคงมีอยางตอเนื่อง ทําให สถานทูตสหรัฐฯไดประทวงการที่ รัฐบาลยอหยอนใหมกี ารฉายภาพยนตดังกลาวและไดกลาวประนามภาพยนตเรื่องหนึง่ ทีก่ ําลัง ฉายทีโ่ รงภาพยนตบรอดเวย แถบเยาวราชขณะนั้นวา เปนภาพยนตที่โฆษณาชวนเชือ่ ปลุกปนคน ธันวาคม 2499. ในกลางเดือนตุลาคม 2499 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา มหาหัด ดาวเรือง สมาชิกของกลุม ฝายซายไดแทรกซึมเขาสูกระบวนการทํางานของยูซิสที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในฐานะลาม จากนั้น เขาทํา การเปลี่ยนแปลงขอความที่เจาหนาที่ยูซิสบรรยายแกคนไทยไปในทางตรงขาม 125 โปรดดูรายชื่อภาพยนตจีนที่ฉายในกรุงเทพฯใน ณัฐพล ใจจริง, “จากสงครามจิตวิทยาแบบ อเมริกันสูการสรางสัญลักษณแหงชาติภายใตเงาอินทรีย”. 126 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Hoover(Acting of Secretary of State) to Bangkok, 4 August 1956 . 127 หจช.(3)สร. 0201.23/21 การฉายภาพยนตเกี่ยวกับคอมมิวนิสต หรือนโยบายควบคุมหนังสือพิมพ และภาพยนตจีนแดง(การสนทนาระหวางเอกอัคราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน กับ ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐอเมริกา)(24 พฤษภาคม – 14 สิงหาคม 2500), โทรเลขจากเอกอัคราชทูต ประจํากรุง วอชิงตัน ถึง กระทรวงการตางประเทศ วันที่ 16 พฤษภาคม 2500. 128 หจช.คค. 0201.1.1 กลอง 5 บันทึกการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 8/2500(29 พฤษภาคม 2500).


196

จีนใหมีความเชื่อวา “ระบบเกาทําใหคนเปนผี ระบบใหมทําใหผีเปนคน” 129 จากนัน้ รักษ ปนยา รชุน รัฐมนตรีชวยวาการะทรวงการตางประเทศมีบนั ทึกถึงจอมพล ป. พิบูลสงครามรายงานเรื่อง การประทวงจากสถานทูตสหรัฐฯ แมตอมา กระทรวงมหาดไทยไดดําเนินการสัง่ การใหควบคุม การฉายภาพยนตจากจีนแดงตามคําประทวงจากสถานทูตสหรัฐฯแลวก็ตาม แตก็ยงั คงมีการ ลักลอบนําเขาและฉายภาพยนตจากจีนในพืน้ ทีน่ อกกรุงเทพฯตอไป จนกระทั่งเดือนสิงหาคม 2500 จอมพล ป. จึงสัง่ การหามฉายภาพยนตจากจีนทัง้ หมด130 ทั้งนี้ สแตนตัน อดีตทูตสหรัฐฯประจําไทยไดบันทึกถึงรอยตอของการเปลี่ยนแปลง นโยบายของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามในชวงดังกลาววา ตัง้ แตไทยเขารวมการประชุมบัน ดุง อินโดนีเซียทําใหไทยมีทา ทีโนมเอียงไปทางจีน ประกอบกับการเดินทางกลับมาจากการ เดินทางตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. ทําใหเกิดการผอนคลายทางการเมือง การใหเสรีภาพ แกหนังสือพิมพ รวมทั้ง การผอนคลายการคากับจีนสงผลใหสินคาจีนทวมตลาดในไทย ในทัศนะ ของอดีตทูตสหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลจอมพล ป.มีความยอหยอนในการตอตานคอมมิวนิสต131 ดังนั้น จะเห็นไดวา ในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. ไดเกิดความพยายามถอยหางออกจากสหรัฐฯ ดวย การเปดไมตรีและการคากับจีน รวมทัง้ การยินยอมใหมกี ารนําเขาวัฒนธรรมจากจีนเขามา เผยแพรในไทยดวย ในขณะที่ สหรัฐฯตองการที่จะครอบงําไทยดวยสงครามจิตวิทยาที่มุงสรางภัย คอมมิวนิสตทนี่ าสพึงกลัวใหเกิดกับคนไทย แตปรากฎวา สิ่งที่เกิดขึ้นในไทยทามกลางบรรยากาศ ที่เริ่มเปนประชาธิปไตยกลับกลายเปนไปทาง ตรงขามกับความตองการของสหรัฐฯ นัน่ ก็คือ เกิด กระแสการตอตานสหรัฐฯขึ้นแทน ยิง่ ทําใหสหรัฐฯมีความไมพอใจการดําเนินการทีย่ อหยอนของ รัฐบาลไทยในการดําเนินการตามความตองการของของสหรัฐฯมากยิง่ ขึ้น

129

หจช.(3)สร. 0201.23/21 การฉายภาพยนตเกี่ยวกับคอมมิวนิสต หรือนโยบายควบคุมหนังสือพิมพ และภาพยนตจีนแดง(การสนทนาระหวางเอกอัคราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน กับ ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐอเมริกา)(24 พฤษภาคม – 14 สิงหาคม 2500), Bishop to Rak, 29 May 1957. 130 หจช.(3)สร. 0201.23/21 การฉายภาพยนตเกี่ยวกับคอมมิวนิสต หรือนโยบายควบคุมหนังสือพิมพ และภาพยนตจีนแดง(การสนทนาระหวางเอกอัคราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน กับ ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐอเมริกา)(24 พฤษภาคม – 14 สิงหาคม 2500), รักษ ถึง นายกรัฐมนตรี 3 มิถุนายน 2500. 131 เอ็ดวิน เอฟ สแตนตัน, “ความกดดันของคอมมิวนิสตในประเทศไทย ใน พ.ศ.2492-2496,” รัฏฐาภิรักษ 3, 1 (มกราคม 2504): 14.


บทที่ 8 การหวนคืนของพันธมิตรทามกลางความขัดแยงกับ“กลุมรอยัลลิสต” 8.1 การตอตาน“กลุม รอยัลลิสต” ของรัฐบาลจอมพล ป. แมสภาพการเมืองภายในไทยตน 2499 นั้นมีการแขงขันทางการเมืองระหวางกลุมตํารวจ ของพล ต.อ.เผา ศรียานนทกับกลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกันอยางเขมขน แตจอมพล ป. พิบูลสงครามยังคงมีความตองการใหมกี ารเปลี่ยนผานอํานาจทางการเมืองอยางสันติดวยการ เลือกตั้งทีจ่ ะมีขึ้นในชวงตนป 2500ในสายตาของสหรัฐฯนัน้ พล ต.อ.เผา ศรียานนทมีคาดหวังที่ จะเปนนายกรัฐมนตรีคนตอไป ในขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตตองการรักษาอํานาจในการสั่ง การกองทัพตอไป แมวาเสถียรภาพทางการเมืองของไทยจะขึ้นอยูกับสัมพันธภาพของกลุม การเมืองตางๆก็ตามที แตสหรัฐฯยังคงยืนยันวา ไมวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง อยางไร ผูน ําคนใหมของไทยจะตองผูกพันธกับสหรัฐฯตอไป1 ทามกลางการแขงขันทางการเมืองกําลังดําเนินอยูน ั้น รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม สนับสนุนใหมกี ารจัดตั้งพรรคการเมืองขึน้ อยางเสรี ทําใหในขณะนั้น ไทยมีพรรคการเมืองจํานวน ถึง 25 พรรคซึ่งสามารถแบงไดเปน 3 กลุม คือ พรรคการเมืองที่สนับสนุนรัฐบาล เชน พรรค เสรีมนังคศิลา มีนโยบายเสรีนิยม ใหความสําคัญกับการสรางสวัสดิการสังคม สวนพรรคฝายคาน ที่เปนอนุรักษนิยม เชน พรรคประชาธิปตย มีนโยบายสนับสนุนประโยชนของชนชัน้ สูง และผูก ตนเองเขากับสถาบันกษัตริย และพรรคคานที่เปนฝายซาย เชน พรรคเสรีประชาธิปไตย พรรค เศรษฐกร สมาชิกมาจากภาคอีสาน ตอมารวมตัวเปนพรรคแนวรวมสังคมนิยม นโยบายสําคัญ คือ ตองการใหไทยมีนโยบายเปนกลาง2 เมื่อการเลือกตั้งใกลเขามาถึง กลุมการเมืองตางๆในไทยตางมีความเคลื่อนไหวในการ แสวงหาการสนับสนุนเพื่อชัยชนะทางการเมือง ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ แจงใหสถานทูตสหรัฐที่กรุงเทพฯในเดือนพฤษภาคม 2499 ทราบถึงสถานการณการเมืองไทยวา 1

“Staff Study Prepared by an Interdepartment Working Group for the Operations Coordinating Board -Analysis of Internal Security in Thailand (Pursuant to NSC 1290-D) and Recommend Action, 4 January 1956 ,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 850-851. 2 ขอบังคับวาดวยการจัดการ พรรคเสรีมนังคศิลา และกําหนดนโยบายของพรรค พ.ศ.2498 กับ พระราชบัญญัติพรรคการเมืองพ.ศ.2498.(พระนคร: บริษัท ประชาชาง จํากัด, 2499).; David A. Wilson, Politics in Thailand,(Ithaca, New York: Cornell University Press, 1962), pp.31, 241.


198

สถาบันกษัตริยอาจจะมีสวนเกีย่ วของกับการเลือกตั้งของไทยที่จะมาถึง3 ไมกี่เดือนตอมา หนังสือพิมพไทยขณะนั้นไดรายงานขาวการหาเสียงของพรรคประชาธิปตยวา พรรคฯไดนําพระ ปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยไปใชในการหาเสียงการเลือกตั้งในภาคอีสาน และรายงานตอไป อีกวา พระมหากษัตริยท รงใหการสนับสนุนทางการเมืองแกพรรคประชาธิปตยโดยทรง พระราชทานเงินและเสด็จมาเยี่ยมอีสานเพื่อสนับสนุนพรรคประชาธิปตย จากปญหาดังกลาว จอมพล ป. พิบูลสงครามไดใหสัมภาษณวา รัฐบาลกําลังสืบสวนขอเท็จจริงอยู หากไดความจริง มาจะกราบบังคมทูลใหพระองคทรงทราบ แตเขามั่นใจวาพระองคไมมพี ระราชประสงคที่จะทรง เขาเกี่ยวของทางการเมือง4 อยางไรก็ตาม ในระหวางการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง ในปลายเดือน กรกฎาคม สถานทูตสหรัฐฯรายงานยืนยันสิ่งที่เกิดขึ้นขณะนั้นวา พรรคประชาธิปตยไดเริ่มอางใน ระหวางการหาเสียงในภาคอีสานวา “พรรคประชาธิปตยเปนพรรคของกษัตริย”(King’s Party)5 ควรบันทึกดวยวา เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามไดประกาศเริ่มตนกระบวนการ ประชาธิปไตยในไทยและตองการลาออกจากตําแหนงจอมพลเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้ง ทําให สยามรัฐซึ่งเปนหนังสือพิมพของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ไดโจมตีคําประกาศของจอมพล ป.วา เปนสิ่งที่ไมเหมาะสม เนื่องจาก ตําแหนงจอมพลซึง่ เปนตําแหนงพระราชทาน และโจมตีวา จอม พล ป.จะลงสมัครรับเลือกตั้งไมไดรับหากไมไดความยินยอมจากพระมหากษัตริย 6 เมื่อการ พยายามขัดขวางและโจม ตีรัฐบาลจอมพล ป.จาก “กลุม รอยัลลิสต”ไดกลับมาเริ่มตนอีกครั้ง พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดเปดฉากตอบโต“กลุมรอยัลลิสต”ในทันที สยามนิกร ฉบับ 4 ธันวาคม 2498 พาดหัวขาวบทสัมภาษณของ พล ต.อ.เผา แกนนําของกลุมตํารวจวา“ไทยไมเจริญเทาสหรัฐฯ เพราะศักดินา” พล ต.อ.เผาไดกลาวเปรียบเทียบการตั้งกรุงเทพฯกับสหรัฐฯในชวงเวลาที่ใกลเคียง กัน แตเขาเห็นวา ไทยมีความเจริญไมมาก ในขณะที่สหรัฐฯมีเจริญมากกวามากมาย เขาเห็นวา ปญหาหลักทีถ่ วงความเจริญ คือ ไทยนั้นมีพวกศักดินาเปนผูปกครอง คนเหลานี้แสวงหาแตมั่งคัง่ และเอาแตประโยชนสวนตน7 สถานทูตสหรัฐฯไดเคยรายงานทาทีของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่มีตอ รัฐบาลวา พระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี แกนนําคนหนึง่ ใน“กลุมรอยัลลิสต” ผูใหการสนับสนุน พรรคประชาธิปตยไดแสดงความรูสึกที่มตี อรัฐบาลวา เขาไมชอบจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา เขา 3

NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3908, Dulles to Bangkok, 23 May

1956. 4

ศรีกรุง, 21 กรกฏาคม 2499. NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3910, Bangkok to Secretary of State, 30 July 1956. 6 สยามรัฐ, 16 กรกฎาคม 2498. 7 สยามนิกร, 4 ธันวาคม 2498. 5


199

วิจารณวา จอมพล ป.วาเปนคนโงเงาเหมือนกับเหลาสมาชิกสภาผูแทนฯ สวนพล ต.อ.เผานั้นเปน คนกักขฬะและเปนเผด็จการ 8 ดวยเหตุที่ พล ต.อ.เผามักจะเปนหัวหอกในการตอบโต “กลุม รอยัลลิสต”เสมอทําใหพวกเขาเกลียดชังพล ต.อ.เผามาก9 การคุกคืบทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยทําใหรัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงครามจําเปนที่จะตองแสวงหาการสนับสนุนใหกวางขวางดวยการหันไปหาปรีดี พนมยงคเพื่อชัยชนะในการเลือกตั้งทีจ่ ะมาถึง ตอมาเดือนกุมภาพันธ 2499 พล ต.อ.เผา ศรียา นนทสงตัวแทนไปติดตอกับปรีดีที่จีน สถานทูตสหรัฐฯและซีไอเอเห็นวา แกนนําสําคัญในรัฐบาล คือ จอมพล ป.และพล ต.อ.เผารวมมือกันในการสงผูแทนลับๆหลายชุดไปเยือนจีนเพือ่ ประโยชน ทางการเมือง 2 ประการ คือ ประการแรก รัฐบาลตองการนําปรีดีกลับมาไทยเพื่อตอตาน“กลุม รอยัลลิสต” และประการที่สอง รับบาลตองการปูทางสูการเปดไมตรีกับจีนเพื่อถอยหางออกจาก อิทธิพลของสหรัฐฯ10 อยางไรก็ตาม ตอกระแสขาวการจะกลับมาของปรีดีนั้น ทําใหควง อภัยวงศ แกนนําคนหนึง่ ของ“กลุมรอยัลลิสต”และหัวหนาพรรคประชาธิปตยใหสัมภาษณวา เขาไมเชื่อวา จอมพล ป.จะสามารถคืนดีกับปรีดีได11 ตอมา พล ต.อ.เผา ศรียานนทและกลุมตํารวจของเขา เชน พ.ต.อ พันศักดิ์ วิเศษภักดี และพ.ต.อ. พุฒ บูรณสมภพ ไดเริ่มตนโครงการนําปรีดี พนมยงคกลับมา ดวยการใชหนังสือพิมพ ของกลุมตํารวจ เชน ไทยเสรี สรางกระแสขาวเพื่อทําใหปรีดีใหกลับมาสูความสนใจของ สาธารณชนอีกครั้งดวยการตีพิมพผลงานของปรีดีเรื่องเคาโครงเศรษฐกิจกลับมาเผยแพรแก สังคมอีกครั้ง12 ควบคูกับการใชเสรีไทย ซึ่งเปนหนังสือพิมพที่มเี ข็มมุงเปนสังคมนิยมมากกวาฉบับ ขางตน ลงขาวใหการสนับสนุนการคาระหวางไทยกับจีนโดยตรง และการเรียกรองใหคนไทย เปดรับฟงวิทยุจากปกกิ่ง สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา หนังสือพิมพ 2 ฉบับที่พล ต.อ.เผาใหการสนับ สนุนมีความโนมเอียงไปทางสังคมนิยม ในรายงานของสถานทูตสหรัฐฯเห็นวา มีความเปนไปไดที่ 8

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Memorandum of Conversation Phya Srivisarn Vacha and Robert N. Magill, The Current Political Situation, 12 October 1955. 9 พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย,หนา 156-157. 10 “the Embassy in Thailand (Magill) to the Department of State, 8 February 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 854-855.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A002400330001-8, 28 Feb 1956, “Arrested Thai MP reportedly to be charge with treason”. 11 ประชาธิปไตย, 22 เมษายน 2499. 12 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956.; “the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 917-918.


200

รัฐบาลจอมพล ป.จะเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศดวยการแสวงหาความมั่นคงใหม โดยเปด ความสัมพันธกับจีน อีกทัง้ จะไดประโยชนจากการนําปรีดีกลับมาเพื่อประโยชนทางการเมือง ภายใน13 ทามกลางการแขงขันทางการเมืองในชวงหัวเลี้ยวหัวตอกอนการเลือกตั้งจะมาถึงนัน้ “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยไดเคลื่อนไหวรวมมือกันวิจารณรัฐบาลอยางหนัก โดย พรรคประชาธิปตยไดกลาวปราศัยทีพ่ ิษณุโลกโจมตีรัฐบาลวาเปน“เผด็จการรัฐสภา”ลมเหลวใน การแกไขปญหาคาครองชีพ การคอรรับชั่น14 ตอมา ควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตย ได ประกาศนโยบายการหาเสียงสําคัญ คือ การเรียกรองใหนํารัฐธรรมนูญฉบับ 2492 หรือ รัฐธรรมนูญรอยัลลิสตกลับมาใชใหม ซึ่งเขาเห็นวาเปนรัฐธรรมนูญที่สมบูรณที่สุด เขาใหเหตุผล วา “รัฐธรรมนูญ 2492 เปนประชาธิปไตย ไมใชรัฐธรรมนูญเจา ประชาชนเปนผูราง ที่ใหอํานาจ กษัตริยมากเปนเพราะความปรารถนาของประชาชน(สภารางรัฐธรรมนูญ) สวนการมีวุฒิสภา ที่ตั้งโดยกษัตริยนนั้ เปนเพียง ที่ปรึกษาไมมอี ํานาจอยางใด สวนเศรษฐกิจนัน้ ปจจุบนั สูสมัยกอน เปลี่ยนแปลงการปกครองไมได สมัยเจาดีกวา ” ในดานนโยบายตางประเทศของพรรคฯจะยึด ตามกลุมโลกเสรี และการไมยอมรับจีน 15 ตอมา พรรคประชาธิปตยไดเปดเวทีปราศัยที่สนามหลวงโจมตี รัฐบาลและจอมพล ป. พิบูลสงคราม เชน การนําเรือ่ งการเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 2 กับญี่ปุน การทําใหประชาชน เสียชีวิตจากการสรางเมืองใหมทเี่ พชรบูรณ การทําใหประเทศเปนหนีเ้ งินกูสหรัฐฯ 7,000,000,000 บาท การเรียกรองใหรัฐบาลคืนพระทีน่ งั่ อนันตสมาคมใหกับพระมหากษัตริย และกลาวหาวา รัฐบาลทรยศตอประชาธิปไตยบิดเบือนสัจจะที่ใหกบั พระมหากษัตริย 16 ชาวไทย ไดวิจารณนโยบายและขอเรียกรองของพรรคประชาธิปตยวาเปนไปเพือ่ ประโยชนของสถาบัน กษัตริยและ”กลุมรอยัลลิสต” อีกทัง้ สมาชิกพรรคประชาธิปตยคนหนึ่งเปดเผยวา หากพรรคฯ ไดรับชัยชนะการเลือก ตั้ง ควง อภัยวงศมแี ผนที่จะเชิญพระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” เชน

13

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Possible contracts between The Thai Government and Communist China, 8 February 1956. เจาของ หนังสือพิมพและบรรณาธิการเสรีไทย คือ สนิท ธนจันทร เขาเปนขาราชการของบริษัท ไทยโทรทัศน ที่พล ต.อ. เผา ศรียานนท ควบคุมอยู และมีสมุทร สุรักขกะ อดีตกบฏสันติภาพเปนผูชวยบรรณาธิการ 14 ประชาธิปไตย, 15 ธันวาคม 2498. 15 เชา, 2 กุมภาพันธ 2499.; สยามนิกร, 12 สิงหาคม 2499. 16 พิมพไทย, 5 กุมภาพันธ 2499.


201

พระองคเจาวิวัฒนไชย และพระยาศรีวิสารฯ ซึ่งดํารงตําแหนงองคมนตรีอยูในขณะนั้นใหเขามา ดํารงในคณะรัฐมนตรี17 ทาทีของจอมพล ป. พิบูลสงครามตอแนวทางการรณรงคหาเสียงของพรรคประชาธิปตย ที่ใหการสนับสนุนผลประโยชนของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น จอมพล ป. ไดวิจารณ พรรคประชาธิปตยในตนเดือนกรกฎาคม 2499วา ควง อภัยวงศเปนนักฉวยโอกาสทีม่ กั จะเขากับ ฝายตรงขามรัฐบาลเสมอ18 ตอมา ปลายเดือนเดียวกันนัน้ เอง ขาวพาณิชยไดรายงานขาววา ควง และพรรคประชาธิปตยยังคงอางพระนามพระมหากษัตริยไปใชในการหาเสียงเลือกตั้งตอไป19 สยามนิกร รายงานวา สมาชิกพรรคประชาธิปตยคนหนึง่ ไดเคยวิจารณแนวทางการเมืองของ พรรคฯที่รวมมือกับสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”วา “พอไดเปนรัฐบาลก็จะไปเอาพวกเจา ศักดินาเขามาเปนใหญ ดูหมิ่นลูกพรรคตัวเอง ขออะไรก็ไมใหนนั้ ” ทําใหควงตอบขอวิจารณจาก สมาชิกพรรคฯดังกลาววา “เปนความจริง เพราะผูใหญเหลานัน้ มีคุณวุฒิดี เปนที่นา เชื่อถือของ ตางประเทศ” 20 ในสายตาของจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีมาหลายสมัยและผูนําการตอสูกับ “กลุมรอยัลลิสต”มายาวนาน เขาไดวิเคราะหภาพกลุมการเมืองไทยขณะนัน้ แก บิชอป ทูตสหรัฐฯ วา การเมืองไทยมีกลุมการเมือง 3 กลุม คือ กลุมแรก คือ “กลุมรอยัลลิสต” ตั้งอยูปก ขวาของการ เมืองไทย กลุม ฝายซายตั้งอยูอีกฟากหนึง่ โดยรัฐบาลตั้งอยูตรงกลาง สําหรับจอมพล ป. แลวนัน้ เขาคอนขางกังวลกับบทบาทของ“กลุมรอยัลลิสต” มากกวากลุมฝายซาย เนื่องจากเขาไดเคย ตอสูกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตอตานการปฏิวัติ 2475 มาตลอด แม“กลุมรอยัลลิสต” จะถูกปราบ ปรามลงแลวก็ตามแตเขาไมเคยวางใจ เขายังคงจับตามองความเคลื่อนไหวของกลุมนี้อยางตอ เนื่อง เขาเห็นวา แมวา“กลุม รอยัลลิสต” จะยังไมสามารถครอบงําการเมืองได แต “กลุมรอยัล ลิสต”และพระราชวงศก็สามารถเขาครอบงําระบบราชการได เนื่องจาก พวกเขาอยูในตําแหนงที่ สูงทัง้ ฝายพลเรือนและทหาร ดังนั้น รัฐบาลของเขาไดวางยุทธวิธีในการตอสูทางการเมืองใหม โดยรัฐบาลตองการถอยออกหางจาก“กลุมรอยัลลิสต” 21 กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ วิเคราะหวา สาเหตุที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานนทอนุญาตใหปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทยได เนื่องจาก รัฐบาล 17

ชาวไทย, 14 กรกฎาคม 2499. สยามนิกร, 9 กรกฏาคม 2499. 19 ขาวพาณิชย, 25 กรกฎาคม 2499. 20 สยามนิกร, 27 กันยายน 2499. 21 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, Prime Minister Pibul’s remarks on the internal Political situation, 1 August 1956. 18


202

ตองการไดรับสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมปรีดี” ในการเลือกตั้งทีจ่ ะมาถึงในปลายเดือน กุมภาพันธ 2500 เพื่อครองเสียงขางมากในสภาผูแทนราษฎรใหมีชัยเหนือกวาพรรคประชาธิปตย ที่ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทั้งนี้ ในขณะนั้น กระแสความนิยม ของสถาบันกษัตริยในชนบทไดขยายตัวเพิ่มขึ้นมากจากการที่ทรงออกไปเยี่ยมประชาชนตามแผน สงครามจิตวิทยาของสหรัฐฯทําใหอํานาจของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”มีเพิ่มขึ้นจน สามารถทาทายอํานาจของรัฐบาลอีกครั้ง ในรายงานสถานทูตรายงานวา ทัง้ จอมพล ป.และพล ต.อ.เผามีความไมนิยมสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” สําหรับพล ต.อ.เผานัน้ เขามั่นใจใน การถือไพที่เหนือกวาสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” เนื่องจากเขามี “ปรีดีเปนอาวุธที่ใชใน การตอตานกลุมรอยัลลิสต” 22 รายงานฉบับนี้วิเคราะหวา ปญหาความขัดแยงทางการเมือง ระหวางรัฐบาลจอมพล ป.กับ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น มีความเปนไปไดที่จอมพล ป. และพล ต.อ.เผา อาจมีแผนรวมมือเตรียมการรางรัฐธรรมนูญใหมเพื่อยกเลิกสถาบันกษัตริย ดวยเหตุนี้ ปรีดีจึง ไดรับการรับรองความปลอดภัยจากรัฐบาลในการเดินกลับไทย ความรวมมือระหวางจอมพล ป. และ พล ต.อ.เผาในการตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”นั้น เดลิเมล ฉบับเดือนธันวาคม 2499 ไดพาดหัว ขาวการปราศัยหาเสียงของพล ต.อ.เผาที่เกิดขึ้นครั้งหนึ่งในชวงนัน้ วา“เผาเปดหาเสียง ประกาศ ตัวขับไลพวกขุนนาง”23 นับตั้งแตสหรัฐฯหันมาใหความสําคัญกับสงครามจิตวิทยาในไทยดวยการสนับสนุนให สถาบันกษัตริยมีความสําคัญเพื่อการตอตานคอมมิวนิสต ทําใหสหรัฐฯไมเห็นดวยกับแผนการ สาธารณรัฐของจอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานนท กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯเห็นวา สถาบันกษัตริยเปนปจจัยทําคัญในการสรางเสถียรภาพทางการเมืองไทยตาม ความตอง การของสหรัฐฯ และหากมีการลมเลิกสถาบันกษัตริยแลว สหรัฐฯเห็นวา การเมืองไทย อาจจะเดินไปสูภาวะยุง เหยิงทําใหคอมมิวนิสตเขาแทรกแซงได24 นอกจากนี้ ความพยายามมี ไมตรีกับจีนและการพยายามนําปรีดี พนมยงคกลับไทยของรัฐบาลจอมพล ป.ที่สหรัฐฯไมตองการ นี้ไดสรางความไมพอใจใหกบั ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ เปนอยาง ยิ่ง เนื่อง จาก เขาเชื่อวา จีนอยูเบื้องหลังในการสนับสนุนใหปรีดีเดินทางกลับไทย25

22

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3912, Bushner to Young, 19 September 1956.ขอความดังกลาวมีวา “Pridi is my weapon against the Royalist” 23 เดลิเมล, 3 ธันวาคม 2499. 24 Ibid. 25 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, 18 October 1956.


203

8.2 พันธมิตรทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป.และกลุมตํารวจกับ “กลุม ปรีดี” เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในฐานะนายกรัฐมนตรีและพล ต.อ.เผา ศรียานนทแกนนํา กลุมตํารวจตัดสินใจดึง “กลุมปรีดี”กลับมาเปนพันธมิตรเพื่อตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”มีความ คืบหนาจากการที่ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค และชม แสงเงินซึ่งติดตามปรีดี พนมยงคออกไปจีนหลัง “กบฎวังหลวง”ไดเปนตัวแทนปรีดีกลับเขามาไทยเมื่อ 10 เมษายน 2499 โดย พล ต.อ.เผา ศรียา นนทในฐานะอธิบดีกรมตํารวจเปนผูอนุญาตใหพวกเขากลับเขาไทยได 26 ตอมา ร.ต.อ.เฉียบให สัมภาษณวา การกลับมาของเขาตองการนําขาวจากปรีดีมาถึงจอมพล ป. โดยจอมพล ป. ให สัมภาษณในประเด็นดังกลาววา เขาไดรับจดหมายขนาดยาวจากปรีดี และไดมอบจดหมายนี้ ใหแกพล ต.อ.เผาแลวสาระสําคัญของจดหมายจากปรีดี คือ ปรีดีปฏิเสธความเกี่ยวของกับคดี สวรรคต และหวังวารัฐบาลจะนิรโทษกรรมใหกับนักโทษทางการเมืองทัง้ หมดรวมทั้งที่หลบหนี ออกนอกประเทศเพื่อฉลอง 25 พุทธศตวรรษ 27 การกลับมาของร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค ตัวแทนของปรีดี พนมยงคนนั้ สหรัฐฯเห็นวา มีความ เปนไปไดที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับปรีดี พนมยงคอาจจะมีขอตกลงลับระหวางกัน เนื่องจาก หลังจากร.ต.อ.เฉียบกลับไทยไดไมนานหลัง กรมตํารวจก็แจงวาไมมหี ลักฐานเพียงพอ ในการฟองรองเขาในฐานรวมกอการ“กบฎวังหลวง” อีกทั้งจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา ศรียา นนทไดเคยสงตัวแทนไปติดตอกับปรีดีที่จีนหลายครั้ง ทัง้ นี้ พล ต.อ.เผาไดเคยกลาวเปนการ สวนตัวกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯครั้งหนึ่งวา รัฐบาลจอมพล ป.จะไมฟองปรีดีในขอหาที่ เกี่ยวของกับการสวรรคต28 การสรางพันธมิตรทางการเมืองระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทกับ“กลุมปรีดี” ไดปรากฎ ชัดเจนขึ้นในปลายป 2499 โดยพล ต.อ.เผาใหการสนับสนุนทางการเงินแก “กลุมปรีดี” เชน การ ใหความชวยเหลือแกพรรคเสรีประชาธิปไตยของจารุบุตร เรืองสุวรรณ พรรคชาตินิยมของแชม พรหมยงค ตอมา แชมไดใหสัมภาณวา เขาไดเจรจากับพล ต.อ.เผาแลววา เขามีเงื่อนไขกอนที่จะ สมัครเขาเปนสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลาซึ่งเปนพรรครัฐบาลวา เขาตองการนําปรีดี พนมยงคกลับ 26

หจช.กต. 81.16/1 นายเฉียบ ชัยสงค และนายชม แสงเงิน ขอกลับประเทศไทย(2498-2499). เฉียบ ไดทําเรื่องขอกลับเขาไทยตั้งแต 10 พฤศจิกายน 2498 และสามารถกลับถึงเมื่อ 10 เมษายน 2499 27 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956 . 28 “Memorandum From the Deputy Director of the Office of southeast Asia Affaire(Kocher) to the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson), 2 January 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.911.


204

มาไทย โดยพล ต.อ.เผาไดยอมรับขอเสนอจากแชม สถานทูตสหรัฐฯวิเคราะหวา สาเหตุที่ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตองการการสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมปรีดี” เนื่องจาก รัฐบาลตองการมีเสียงสนับสนุนในสภาผูแทนฯมากพอในการมีที่จะ แกไขรัฐธรรมนูญหลังการ เลือกตั้งเพื่อสรางความเปนประชาธิปไตยใหมากยิ่งขึน้ เชน การยกเลิกสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ประเภท 2 และการใหกําหนดมีการเลือกตัง้ นายกรัฐมนตรีโดยตรง เพือ่ เปนการตอตานอํานาจ ของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” และการพยายามสถาปนาสาธารณรัฐ สถานทูตฯเห็น วา ความรวมมือระหวางจอมพล ป.และพล ต.อ.เผาในการนําปรีดีกลับจากจีน มาเพื่อรื้อฟนคดี การสวรรคตเปนเครื่องมือในการลมสถาบันกษัตริย หากแผนการณนสี้ ําเร็จจะเปนการเปลี่ยน แปลงโครงสรางอํานาจทางการเมืองใหมในไทย29 ความขัดแยงทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับ“กลุมรอยัลลิสต” มีมาอยางตอเนื่อง อีกทัง้ พวกไดเคยรวมมือกับกลุมอืน่ ๆเพื่อโคนลมรัฐบาลดวย ทําใหจอมพล ป . ไดเคยเผยความในใจกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯหลายครั้งวา เขาไมพอใจ“กลุมรอยัลลิสต” อยางมาก เขาตองการ“แกเผ็ด”(retaliation)ดวยการอนุญาตใหปรีดี พนมยงคกลับมาไทยเพื่อ ฟนฟูคดีสวรรคตขึ้นใหม สถานทูตฯเห็นวา หากแผนการนี้สําเร็จ จอมพล ป.จะเปนประมุขของรัฐ สวนตําแหนงนายกรัฐมนตรีจะมาจากการเลือกตั้งทางตรง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต” จะตอ สูกัน โดยมีจอมพล ป. เปนผูร ักษาเสถียรภาพทางการเมือง สถานทูตฯเห็นวา แผนการดัง กลาว จะทํามีผลกระทบตอเสถียรภาพทางการเมืองของไทย30 แมวา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ “กลุมปรีดี” จะรวมมือกันนําปรีดี พนมยงค กลับมาไทยเพือ่ รื้อฟนคดีสวรรคตและแกเผ็ด “กลุมรอยัลลิสต”จะเกิดประโยชนทางการเมืองกับ จอมพล ป. พล ต.อ.เผา ศรียานนทและ“กลุมนายปรีดี”ก็ตาม แตสหรัฐฯเห็นวา การกลับมาไทย ของปรีดีไมเปนประโยชนตอการดําเนินนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯในอนาคตอันใกล จึงแจง ตอพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯวา สหรัฐฯแสดงกังวลตอการกลับมาของปรีดนี ั้นจะสราง อุปสรรคในการใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารของสหรัฐฯแกไทย และขอใหพจน 29

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956.; สารเสรี, 10 ธันวาคม 2499.; “Memorandum From the Deputy Director of the Office of southeast Asia Affaire(Kocher) to the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson) , 2 January 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 911. 30 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956. รายงานฉบับนี้ไดรับการชื่มชมจากดัลเลสวาเปนการวิเคราะหที่ใหภาพ “สมจริง” เปนการ วิเคราะหอยางระมัดระวังที่มีคุณภาพ(NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, 15 January 1957).


205

แจงความกังวลนี้แกจอมพล ป.วา “นายกรัฐมนตรีของไทยจะตองไมเปนปรปกษกับปฏิกริยา สหรัฐฯ[ที่สหรัฐฯไมตองการใหปรีดี พนมยงคกลับมาไทย]ดวยการดําเนินการ[ที่นายกรัฐมนตรี ไทย]จะกูชื่อเสียงใหปรีด”ี 31 ไมกี่วนั หลังจากที่จอมพล ป. ไดรับทราบสัญญาณเตือนจากวอชิงตัน ดี.ซี. เขาไดปฏิเสธกับบิชอป ทูตสหรัฐฯวา ขาวลือที่รัฐบาลจะเชิญปรีดีกลับมาไทยนัน้ ไมมีมูล 32 อยางไรก็ตาม แผนการกลับมาไทยของปรีดี พนมยงคยังคงคืบหนาตอไป ตนป 2500 ใน บันทึกติดตอภายในของกระทรวงการตางประเทศ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. รายงานวา มีความเปนไปไดที่ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจะอนุญาตใหปรีดีเดินทางกลับไทยโดยเขาจะไดรับการปลด ปลอยใหเปนอิสระ รายงานฉบับดังกลาววิเคราะหวา ปญหาการเมืองภายในของไทยมีความ เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทย สหรัฐฯเห็นวา ปรีดีเปนตัวแทนของจีน ที่จะสงเสริมกิจกรรมของคอมมิวนิสตในไทยอีก และหากสหรัฐฯยอมใหรัฐบาลจอมพล ป.นําปรีดี กลับมาไดจะเปนแรงกระเพือ่ มทําใหไทยปรับนโยบายตางประเทศหันไปสูจีน ดังนัน้ สหรัฐฯจํา ตองตอบโตการกระทําของรัฐบาลไทย33 ความคืบหนาของการเดินทางกลับมาไทยของปรีดีได กลายเปนประเด็นตอสูทางการเมืองของไทยกอนการเลือกตั้งทีก่ ําลังจะเกิดขึ้นในปลายเดือน กุมภาพันธ 2500 ทําให“กลุมรอยัลลิสต” มีความตระหนกตกใจมาก และทําใหพรรคประชา ธิปตยใชประเด็นดังกลาวตอตานรัฐบาลอยางหนักเพื่อยับยั้งแผนการดังกลาวของรัฐบาล34 ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทําใหเกิดการกอ ตัวของพันธมิตรที่นาตืน่ เตนระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ“กลุมปรีดี” เพื่อนําปรีดี พนมยงคกลับมาเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นมาใหม35 ไมแตเพียงการแสวงหาการสนับสนุนจาก “กลุมปรีดี” เทานัน้ แตจอมพล ป.ไดพยายามแสวงหาการสนับสนุนจากนักศึกษาฝายซายใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรดวยการกลาวปราศัยตอนักศึกษาดวยการชูนโยบายรัฐบาลอันโนม เอียงไปในทางสังคมนิยมเมือ่ ตนเดือนกุมภาพันธ 2500กอนการเลือกตั้งจะเกิดขึ้นไมนาน เขา เรียกรองใหนกั ศึกษาเขามามีสวนรวมทางการเมืองในการรักษาระบอบประชาธิปไตย และรักษา 31

“Memorandum From the Deputy Director of the Office of southeast Asia Affaire(Kocher) to the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson) ,January 2 ,1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 912. 32 “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State, January 8 , 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 911. 33 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Kocher to Robertson, Courses of Action in anticipation of possible return to Thailand of Pridi Phanomyong, 2 January 1957. 34 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 8 January 1957. 35 NA, FO 371/129610, Chancery to Foreign Office, 12 January 1957.


206

หลักวิชาและหลักเหตุผลเปนสําคัญ มิใชการโจมตีรัฐบาลอยางปราศจากหลักวิชาและไรเหตุผล เฉกเชน พรรคประชาธิปตยไดกระทํา เขาไดกลาวสนับสนุนใหเลิกพระราชบัญญัติการกระทําอัน เปนคอมมิวนิสต และกลาวแกนักศึกษาถึงอนาคตทางการเมืองของไทยวา “เราไมควรไปถึงขั้น คอมมิวนิสต หากไปในรูปสังคมนิยมก็พอ”36 ตอมา จอมพล ป.ไดมอบเงินจํานวน 300,000 บาท ผานสังข พัธโนทัย คนสนิทของจอมพล ป.เพื่อสนับสนุนการจัดพิมพวารสารของนักศึกษาที่ชื่อ นิติศาสตรรับศตวรรษใหม 37 ในขณะที่ การตอสูทางการเมืองของไทยนัน้ ไดทวีความเขมขนมากขึน้ ทําใหสหรัฐฯไดเฝา จับการการตอสูอยางใกลชิด ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สัง่ การใหสถานทูต สหรัฐฯในไทย รายงานความเคลื่อนไหวของกลุมการเมืองในไทยใหมากขึ้น โดยเฉพาะ“กลุมปรีด”ี กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทซงึ่ เปนกลุมภาย ในคณะรัฐประหาร กับสถาบันกษัตริยก ับ“กลุมรอยัลลิสต”38 สถานทูตอังกฤษรายงานวา “กลุม รอยัลลิสต” และควง อภัยวงศไมตองการใหจอมพลป.พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผาสามารถ บรรลุแผนการนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยเพื่อฟนฟูคดีสวรรคตอีกครั้ง39 8.3 การเลือกตั้งและการทําลายการเลือกตั้ง 2500 ของ “กลุมรอยัลลิสต” และกลุมทหาร นับตั้งแตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามสงผูแทนฯเขาประชุมกลุมประเทศไมฝกไฝฝาย ใดที่บันดุง อินโดนีเซีย ตลอดจนการพยายามเปดไมตรีและการเปดการคากับจีน ซึง่ สะทอนให เห็นวารัฐบาลกําลังพยายามถอยหางออกจากสหรัฐฯ ผนวกกับการแขงขันทางการเมืองในชวง แหงการหาเสียงเลือกตัง้ ที่ไดเริ่มตนขึ้นสงผลใหเกิดกระแสการเรียกรองใหไทยมีนโยบายที่เปน กลางและกระแสโจมตีสหรัฐฯมากขึน้ ในสังคมไทยทําใหความสัมพันธไทยและสหรัฐฯเริ่มเสื่อม ทรามลง แตรัฐบาลก็ยงั ไมมแี นวทางที่จะปรับปรุงความสัมพันธระหวางกันอยางจริงจัง ในขณะที่ เสียงวิพากษวจิ ารณสหรัฐฯบนหนาหนังสือพิมพไทยไดสรางมติมหาชนที่ไมพอใจสหรัฐฯมากขึ้น 36

จอมพล ป. พิบูลสงคราม, “คําปราศรัย เรื่อง แนวนโยบายของรัฐบาล 4 กุมภาพันธ 2500 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,” ใน สิริ เปรมจิตต, ประวัติศาสตรไทยในระบอบประชาธิปไตย 30 ป,(พระนคร: เกษมบรรณากิจ, 2505), หนา 466-476.; สยามรัฐ, 6 กุมภาพันธ 2500. 37 Kasian Tejapira, Commodifying Marxism: The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958,(Kyoto: Kyoto University Press, 2001), p. 135. 38 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3908, Dulles to Bangkok, Political reporting from Thailand, 24 January 1957. 39 NA, FO 371/129610, Nai Pridi and his Followers, 27 March 1957.


207

เรื่อยๆ 40 เมื่อการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ 2500ใกลจะมาถึง การรณรงคหาเสียงดวยการโจมตี สหรัฐฯไดทวีความรุนแรงมากขึ้นอีก นิวยอรค ไทมส (New York Times) ไดรายงานขาวสถาน การณการเมืองไทยขณะนั้นวา พรรคการเมืองฝายซายไดรวมกันประนามสหรัฐฯวา สหรัฐฯเปน จักรวรรดินิยมทําใหคนไทยกลายลงเปนทาส 41 อีกทั้ง หนังสือพิมพฝา ยซายวิจารณวา ความ ชวยเหลือของสหรัฐฯเปนการทําใหไทยเปนหุน กระบอก ทําใหคนรวยมัง่ คั่งยิง่ ขึ้นแตทาํ ใหคนจน ยิ่งจนลง และวิจารณตอไปวา ความชวยเหลือของสหรัฐฯเปนไปเพื่อการสูบทรัพยากร การลาง สมอง ดังนัน้ ความชวยเหลือจากสหรัฐฯ คือ การแทรกแซงกิจการภายใน และขัดขวางความ สัมพันธไทยกับจีน 42 หลังการเลือกตั้งในปลายเดือนกุมภาพันธ 2500 สถานทุตอังกฤษประเมินวา ความนิยม ของพล ต.อ.เผา ศรียานนทเริ่มเสื่อมลงอยางมากและยากทีฟ่ น ฟูความนิยมใหกลับมาดังเดิม และ รัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายตางประเทศที่มีตอสหรัฐฯและจีน เพื่อใหมีผลตอการเลือกตั้งในไทย 43 อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทย ตอจีน ทําใหสหรัฐฯไมพอใจ เพราะเห็นวา ไทยเริ่มหันเหออกจากสหรัฐฯ และสหรัฐฯตอง การ ยับยั้งไทยมิใหเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศมากไปกวานี้ 44 ผลการเลือกตัง้ ในวันที่ 26 กุมภาพันธ 2500 ปรากฎวา พรรคเสรีมนังคศิลาซึ่งเปนพรรค รัฐบาล ไดรับการเลือกตั้งถึง 82 คนจาก 160 คน สวนพรรคฝายคาน เชน พรรคประชาธิปตย ได เพียง 28 คน พรรคฝายซาย เชน พรรคเสรีประชาธิปไตย พรรคเศรษฐกร พรรคอิสระ และพรรค ขบวนการไฮดปารค ไดรับเลือกจํานวน 23 คน 45 อยางไรก็ตามหลังการเลือกตั้ง หนังสือพิมพ ขณะนั้นไดรายงานความยุง เหยิงและการทุจริตในการเลือกตั้งของรัฐบาลหลายรูปแบบ เชน การ

40

NA, FO 371/112261, Gage to Selwyn Lloyd, Thailand: Annual Review for 1956, 11 February 1957. 41 New York Times, 29 January 1957. 42 NARA, RG 84 General Record, Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 112, USIS Bangkok to USIA Washington, The Press in Thailand, 13 February 1957. 43 NA, FO 371/112261, Gage to Selwyn Lloyd , Thailand: Annual Review for 1956, 11 February 1957. 44 หจช.(3) สร. 0201.45/55 รักษ ปนยารชุน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝายการเมือง 25 มกราคม 2500, อางถึงใน สรอยมุกข ยิ่งชัยยะกมล, “นโยบาย ตางประเทศไทยของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตอสาธารณรัฐประชาชนจีน(1948 - 1957),” หนา 72-73. 45 Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 913.


208

ทุจริตการเลือกตั้งดวยใช “ไพไฟ” และใช “พลรม”* ขมขูและเวียนการลงคะแนนเสียงในการ เลือกตั้ง ซึง่ ทําใหรัฐบาลและการเลือกตั้งครั้งนี้สูญเสียความชอบธรรมในสายตาสาธารณชนมาก 46 อยางไรก็ตาม การทุจริตในการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นหาไดเกิดจากรัฐบาลแตเพียงฝายเดียว โดย แกนนํานักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและนักหนังสือพิมพขณะนั้นบันทึกวา พรรค ประชาธิปตยไดรวมทุจริตในการเลือกตั้งดวยเชนกันโดยใชยุทธวิธีการ“ยอนรอยเอาแบบเดียวกัน” ดวยการสงสมาชิกพรรคประชาธิปตยสวมรอยติดแหนบตราไกเลียนแบบพรรคเสรีมนังคศิลาทํา การทุจริตดวยในการเลือกตัง้ ใหขยายตัวออกสูวงกวางเพื่อทําใหการเลือกตั้งครั้งนัน้ เปนโมฆะ 47 ในเดือนมีนาคม 2500 หลังการเลือกตั้งสิน้ สุดลง พล ต.อ.เผา ศรียานนทถูกโจมตีจาก “กลุมรอยัลลิสต” จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมปญญาชนฝายซายที่ทาํ งานในหนังสือพิมพได รวมมือกันสรางกระแสโจมตีพล ต.อ.เผาอยางหนัก สถานทูตอังกฤษรายงานความเคลื่อนไหวของ พล ต.อ.เผาวา เขาไดเจรจาออนวอนใหสหภาพแรงงานที่เปนฝายซายสนับสนุนเขาเพื่อทําลาย ความนิยมของจอมพลสฤษดิ48์ ทั้งนี้ จอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผาเคยใหการสนับ สนุนความเคลือ่ นไหวและสวัสดิการใหกับสหภาพแรงานและกลุมแรงงานตางๆซึง่ เปนแนวรวม หนึง่ ของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย49 การเจรจาดังกลาวของพล ต.อ.เผาอาจทําผานสังข พัธโนทัย คนสนิทของจอมพล ป. กับสมาชิกพรรคคอมมิวนิสตที่ปฏิบัติงานในสหภาพแรงงานและ กลุมแรงงานตางๆที่ใหการสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจาก รัฐบาลไดออกพระราชบัญญัติ แรงงาน การสนุนสนุนใหมวี นั แรงงานและการใหสวัสดิการแกคนยากจนและกรรมกรไทย 50

*

“ไพไฟ” หมายถึง การใชบัตรเลือกตั้งปลอม สวน “พลรม” หมายถึง กลุมบุคคลที่เวียนลงคะแนน ใหกับพรรคเสรีมนังคศิลาดวย“ไพไฟ”หรือบัตรเลือกตั้งปลอมหลายครั้ง 46 พิมพไทย, 27 กุมภาพันธ 2500. 47 หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, โครงการประวัติศาสตรบอกเลาถนนราชดําเนิน, สัมภาษณ สุวิทย เผดิมชิต, อดีตประธานนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(2499-2500)และนักขาวของ หนังสือพิมพสยามนิกรในขณะนั้น, 3 มกราคม 2544. 48 NA, FO 371/136020, Whittington to Foreign Office, 20 March 1958.; สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ 6 ตุลารําลึก, 2544), หนา 36-41. 49 สังศิต พิริยะรังสรรค, ประวัติการตอสูของกรรมกรไทย,(กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2529), หนา 198-223. 50 โปรดดู [Online]หัวขอ ถามตอบพายัพ วนาสุวรรณ หัวขอจอมพล ป.กับนายกทักษิณ 31 สิงหาคม 2548 ใน www.manager.co.th/Politics/PoliticsQAQuestion.asp?QAID=5246(เขาถึง 11 กันยายน 2552) ใหขอมูลวา ผูแทนของพรรคคอมมิวนิสตที่ปฏิบัติงานในสหภาพแรงานที่ประชุมกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท คือ ประสิทธิ์ เทียนศิริ สุน กิจจํานง อยางไรก็ตาม สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง, หนา 39. ให


209

ในชวงเวลาเดียวกันนัน้ เอง “กลุมรอยัลลิสต” ก็ไดเริ่มตนแผนการทําลายการเลือกตัง้ โดย ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” และสมาชิกคนสําคัญของพรรคประชาธิปตย ไดยื่นฟองตอศาลเพื่อทําใหการเลือกตั้งครั้งนี้เปนโมฆะ51สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ความเคลื่อนไหว ในการตอตานและการพยายามทําใหการเลือกตั้งครั้งนี้เปนโมฆะนี้เปนความรวมมือกันระหวาง “กลุมรอยัลลิสต” พรรคประชาธิปตยและจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต52 ความไมพอใจของประชาชน ไดเพิ่มขึ้น แมรัฐบาลพยายามกอบกูสถานการณความยุง เหยิงดังกลาว ในกลางดึกของคืน 1 มีนาคม 2500 หลักฐานจากเอกสารของไทยหลายชิน้ และเอกสารจากสหรัฐฯรายงานวา จอมพล ป. พิบูลสงครามเรียกประชุมนายทหารจาก 3 เหลาทัพและตํารวจ เพือ่ ในการประชุมวางแผนการ ประกาศภาวะฉุกเฉิน พล ต.อ.เผา ศรียานนทเสนอใหมีการเสนอใหจับกลุมที่อยูเบื้องหลังการ ความวุนวายทางการเมือง เชน พระมหากษัตริย รัฐมนตรี และนักการเมืองบางคน เชน ควง อภัย วงศ แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต”แตจอมพลสฤษดิ์ ไดคัดคานขอเสนอการจับบุคคลตางๆที่ พล ต.อ.เผา เสนอ53 ตอมาในวันรุงขึน้ (2 มีนาคม )รัฐบาลตัดสินใจประกาศภาวะฉุกเฉินทําให จอมพลสฤษดิ์มีอํานาจสูงสุดในการรักษาความสงบเรียบรอย 54 ทันที ที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศภาวะฉุกเฉิน กระแสความไมพอใจใน การเลือกตั้งและการประกาศภาวะฉุกเฉินไดปรากฎขึ้นภายในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยแรกที่สุด โดยนิสิตของคณะรัฐศาสตรเปนแกนนําในการคัดคานผลการเลือกตั้ง พวกเขาประทวงดวยการ

ขอมูลวา สุวิทย เนียมสา แกนนําคนสําคัญในกลุมแรงงานมีความสนิทสนมกับสังข พัธโนทัย คนสนิทจอมพล ป. พิบูลสงครามดวยเชนกัน 51 สยามนิกร, 2 มีนาคม 2500.; สยามนิกร, 4 มีนาคม 2500 หนังสือพิมพไดรายงานการประชุม ระหวางควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชและพรรคประชาธิปตยมีมติวา ใหฟองการ เลือกตั้งครั้งนี้ใหเปนโมฆะ โดยมีทนายความจาก“กลุมรอยัลลิสต” คือ พระยาอรรถการียนิพนธ พระยาปรีดีนฤ เบศร เสงี่ยม วุฒิวัย และกลุมทนายความ อีกจํานวน 20 คนเขารวมดําเนินการ 52 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 2 March 1957 . 53 หจช.สบ. 9.2.3/14 เลม 5 .; ไทยใหม, 2 มีนาคม 2500.; สยามรัฐ, 2 มีนาคม 2500.; และโปรดดู รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก)และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500,(พระนคร: โรง พิมพรวมมิตรไทย, 2506), หนา 1032-1033. พล.จ.วัลลพ โรจนวิสุทธิ์ไดรายงานเรื่องดังกลาวกับสหรัฐฯวา พล ต.อ.เผา ศรียานนทเคยสั่งใหจับกุมพระมหากษัตริย (NARA , RG 59 General Records of Department of State , Entry Thailand 1955-1959 Box 3909 , Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut , Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957). 54 ราชกิจจานุเบกษา, 74, 22 (ฉบับพิเศษ 2 มีนาคม 2500): 2-3.


210

ลดธงชาติลงครึ่งเสาเพื่อเปนการประทวงรัฐบาล 55 ตอมา เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในฐานะ ผูรักษาความสงบเรียบรอยทราบขาวการชุมนุมที่จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย เขาไดเดินทางไปพบ กลุมนิสิต พรอมกลาวใหการสนับสนุนการประทวงวา การเลือกตั้งนี้เปน“การเลือกตั้งสกปรก สกปรกดวยกันทัง้ นัน้ ” เมื่อนิสิตไดตะโกนถามเขาวา เมือ่ การเลือกตั้งสกปรกแลวควรจะทําอยาง ไร เขาตอบวา “ไมใชหนาที่ผมจะจัดการ ถาผมจะจัดการก็ตองรัฐประหารหรือปฏิวัติลา งใหหมด เลย มันจะแยกันใหญ หรือคุณจะใหผมทํา” กลุมนิสิตไดรองตะโกนวา “เอาเลย เอาเลย” และ ถามเขาวา นิสติ จะเดินขบวนประทวงรัฐบาลไดหรือไม เขาตอบกลับวา“นิสิตจะเดินขบวนก็ไดไม ผิด” นิสิตคนหนึ่งเรียกรองใหจอมพลสฤษดิ์คุมกันการเดินขบวน แตจอมพลสฤษดิ์กลาวตอบวา “ตามใจคุณ คุณจะเดินกันไปเดี๋ยวนีก้ ็ได แตผมไมขอเดินกับคุณ แตจะรับรองความปลอดภัยให และถาคุณจะไปทางไหนก็บอกดวย ผมจะใหทหารหลบไปอีกทาง” จากนัน้ ขบวนของนิสิตนับพัน คนไดเดินออกจากจุฬาลงกรณฯ ไปยังสนามหลวง56 ตอมา ในเวลาบายของวันเดียวกันที่บริเวณ สนามหลวง มีนักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยรวมทัง้ ประชาชนไดเขารวมการประทวงกับนิสิต จุฬาลงกรณฯ ขบวนการชุมนุมไดเคลื่อนไปวางพวงหรีดไวอาลัยตอประชาธิปไตยที่อนุสาวรีย ประชาธิปไตย จากนัน้ นิสิตจุฬาลงกรณฯไดนําขบวนนิสติ นักศึกษาและประชาชนเขาพบควง อภัยวงศ แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” และหัวหนาพรรคประชาธิปตยเพื่อรวมการตอสูกับรัฐบาล 57 เมื่อความรวมมือที่ใกลชิดและการเตรียมแผนการอยางเปนระบบของ“กลุมรอยัลลิสต” และ จอมพลสฤษดิ์ ไดเริ่มตนขึ้น ควงไดประกาศวา “จากนี้ไปทุกสิง่ ขึ้นอยูก บั สฤษดิ”์ 58 ทั้งนี้ สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษไดตั้งขอสังเกตที่ตรงกันวา เหตุใด สถานการณการ ประกาศฉุกเฉินทําให จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในฐานะผูบ ัญชาการทหารบกและผูรักษาความสงบ 55

หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, โครงการประวัติศาสตรบอกเลาถนนราชดําเนิน, สัมภาษณ สุวิทย เผดิมชิต, อดีตประธานนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(2499-2500)และนักขาวของ หนังสือพิมพสยามนิกรในขณะนั้น, 3 มกราคม 2544. ในขณะนั้นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรอยูในระหวางการ หยุดการบรรยายเพื่อเตรียมการสอบปลายภาค ตอมานักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยไดเขารวมในภายหลัง; ไทรายวัน, 3 มีนาคม 2500.; สวาง ลานเหลือ, 37 ปแหงการปฏิวัติ, (กรุงเทพฯ: นิตยสารพระเพลิง-อาชญา กรรม, 2512), หนา 464.; หาสิบปรวมใจรักรัฐศาสตรเพื่อชาติไทย,(กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดงานกึ่งศตวรรษ รัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541), หนา 36 . 56 สารเสรี, 3 มีนาคม 2500. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนคนที่มีทักษะในการพูดดี มีศิลปการหวาน ลอม (อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิริ นทราวาส 17 มีนาคม 2507,[พระนคร: โรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรี, 2507],หนา 26). 57

58

พิมพไทย, 2 มีนาคม 2500.

NARA, CIA Records search Tool (CREST), Current Intelligence Bulletin ,CIARDP79T00975A00300100001-6, 3 May 1957,“ The situation in Bangkok”.


211

เรียบรอยมีอํานาจในการปราบปรามการชุมนุมทางการเมือง แตปรากฎวา เขากลับไมดําเนินการ ตามกฎหมายที่ใหเขารักษาความสงบ แตเขากลับใหการสนับสนุนการชุมนุมทางการเมืองทีท่ ําให รัฐบาลสูญเสียความชอบธรรม ในขณะที่ ภาพลักษณของเขามีความโดดเดนมากยิง่ ขึ้นในสายตา ของนิสิตนักศึกษาและประชาชนทันที ตรงขามกับพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดตกเปนเปาของการ โจมตีอยางมากจากหนังสือพิมพและการปราศัย ไฮดปารค59 นอกจากนี้ เหตุการณดงั กลาวทําให กลุมฝายซายเห็นวา จอมพลสฤษดิ์กลายเปนศูนยกลางของสัญลักษณในการตอตานรัฐบาลและ สหรัฐฯ ทําใหจอมพลสฤษดิ์ไดรับการตอบรับจากปญญาชน นักหนังสือพิมพและนิสติ นักศึกษา ฝายซายมาก จากเหตุการณดังกลาวนีท้ ําใหจอมพลสฤษดิ์กลายเปน“อัศวินมาขาวของ ประชาชน”60 ควรบันทึกดวยวา “กลุมรอยัลลิสต”บางคนไดเขาไปมีบทบาทในการสอนในระดับ มหาวิทยาลัยมีผลทําใหพวกเขาสามารถจัดตั้งองคกรเพื่อเปนฐานการเมืองของพวกเขาภายใน มหาวิทยาลัยไดอยางไมยากนัก เชน ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชเปนอาจารยพเิ ศษสอนกฎหมายใน คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในชวง ปลายทศวรรษ 250061 และที่มหาวิทยาธรรมศาสตร ม.ร.ว.เสนียไดเคยพยายามจัดตั้งกลุม นักศึกษานิติศาสตรที่มหี ัวอนุรักษนิยมเปนฐานทางการเมืองใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”62 สําหรับ เบื้องหลังของการประทวงของนิสิตที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนัน้ สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ม. ร.ว.เสนียและพระยาอรรถการียนิพนธอยูเบื้องหลังการประทวงของนิสิตที่จุฬาลงกรณฯ63 หลัง ความวุนวายภายจากการประทวงของนิสิตนักศึกษาและประชาชนหลังการประกาศภาวะฉุกเฉิน 59

NARA, RG 84 General Records, Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, Bishop to Secretary of State, 3 March 1957.; NA, FO 371/129610, Gage to Foreign Office, 3 March 1957.; หนังสือพิมพของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมีสวนสําคัญในการลดความนาเชื่อถือของพล ต.อ.เผา ศรียานนท(NA, FO 371/129610, Adam to Selwyn Lloyd, 6 March 1957).; James Ockey, “Civil Society and Street Politics in Historical Perspective,” in Reforming Thai Politics, ed. Duncan McCargo(Copenhagen: Nodic Institution of Asian Studies: 2002), pp.107-123. 60 สมบูรณ วรพงษ , ยึดรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยา ลมรัฐบาลพิบูล,(พระนคร: เจริญธรรม, 2500), หนา 208-213. ; เฉลิม มลิลา, “รัฐประหาร พ.ศ. 2500 ในประเทศไทย,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518), หนา 115-118. 61 ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีวลิขิต,(กรุงเทพฯ: ทิพยวดี ปราโมช, 2543), หนา 104. 62 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 373-374. 63 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 2 March 1957 .


212

นั้น สถานทูตอังกฤษไดรายงานวา มีความรวมมือกันอยางลับๆระหวาง “กลุมรอยัลลิสต” และ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในการเคลื่อนไหวโคนลมรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม64 สําหรับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชแกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” ผูมสี ยามรัฐเปนกระบอก เสียง เขาไดเขียนบทความโจมตีและทําลายความชอบธรรมของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ใหเกิดกับประชาชนอยางสม่าํ เสมอนัน้ ตอมา สยามรัฐ ฉบับ 12 มีนาคม 2500 ใน“คอลัมอันธ พาล“ ไดเขาไดเขียนบทวิจารณถึง การที่บชิ อป ทูตสหรัฐฯไดแจงกับจอมพล ป. พิบูลสงครามวา การเลือกตั้งในสหรัฐฯ ทีช่ ิคาโก ในสหรัฐฯ ก็มีการแยงหีบบัตรลงคะแนนเหมือนกับที่เกิดในไทย เขาไดเขียนวา “มันชางสอนกันดีจริงวะ เพราะคบกุยมะริกันยังงีน้ ี่เองถึงไดมาเสียคน มีชื่อเสียงที่ ไมเรียบรอย เอาเมื่อตอนแกจะเขาโลง- บ.ก.หนาใหม”65 ตอมา ตํารวจไดจับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เมื่อ 2 เมษายน 2500 ฐานละเมิดกฎหมายอาญา มาตรา 134 ในขอหาหมิน่ ทูต66 แม บิชอป ทูตสหรัฐฯจะปฏิเสธความเกี่ยวของกับการแจงความจับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต”ก็ตาม แตผูที่แจงความใหตํารวจดําเนินคดีกบั ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ คือ เจาหนาทีส่ ถานทูตสหรัฐฯ 67 การจับกุม ม.ร.ว.ศึกฤทธิ์ ของรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามได สรางความไมพอใจใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”มาก ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช แกนนําคนหนึ่งของ “กลุม รอยัลลิสต”และพี่ชายของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ไดวิจารณ รัฐบาลวาทําตัวเหมือนเปนเมืองขึน้ ของสหรัฐฯ และเขาตําหนิบทบาทของบิชอปวาเปนแทรกแซงกิจการภายในของไทย 68 ตอมา จอมพล ป.ได

64

NA, FO 371/129610, Adam to Selwyn Lloyd, 6 March 1957. 65 สยามรัฐ, 6 เมษายน 2500 66 หจช.(2)กต. 14.3/89 กลอง 9 การดําเนินคดีเกี่ยวกับบทความที่ตีพิมพในหนังสือพิมพที่มีการกลาว รายนายบิชอป เอกอัคราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําไทย(4 เมษายน–19 มิถุนายน 2500). ตํารวจสงฟองม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมชเมื่อ 5 เมษายน ในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาฐานหมิ่นประมาททูต ตามมาตรา 134 ตามประมวลกฎหมายอาญา เมื่อมีการพิจารณาคดีที่ศาลแขวงพระนครเหนือ ศาลตัดสินใหเขามีความผิด ในขอหาหมิ่นประมาท ลงโทษจําคุก 1 เดือน ปรับ 500 บาท แมตอมา ตํารวจไดอุธรณคดีตอศาล จากนั้นศาล ไดใหยกโทษจําคุกและปรับเปนเงินเขาเพียงอยางเดียว แตเขาไมยอมรับแตตองการสูคดีตอไปในชั้นฎีกา (สยามรัฐ, 24 มิถุนายน 2500.; สยามรัฐ, 1 ธันวาคม 2500).ภายหลังการรัฐประหาร 2500 “คณะปฏิวัติ”สั่ง การใหตํารวจและอัยการยุติการดําเนินคดีกับเขา 67 สยามนิกร, 4 เมษายน 2500.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, 3 April 1957.; U. Alexis Johnson, The Right Hand of Power,(New Jersey: Prentice-Hall, 1984), pp. 266-267. 68 สยามนิกร, 4 เมษายน 2500.


213

วิจารณสยามรัฐวาเปนกระบอกเสียงใหกบั พรรคประชาธิปตย และม.ร.ว.คึกฤทธิ์ มีบทบาทในการ เขียนบทความปลุกเราใหนิสติ นักศึกษาเดินขบวนประทวงและบุกมาที่ทาํ เนียบรัฐบาล69 8.4 การกลับมาของปรีดี พนมยงคกบั ความตื่นตระหนกของ “กลุมรอยัลลิสต”และความ วิตกของสหรัฐฯ หลังจากที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามมีนโยบายตางประเทศทีถ่ อยหาง ออกจากสหรัฐฯ ดวยการพยายามเปดไมตรีและการคากับจีน ทามกลางกระแสการโจมตีสหรัฐฯ และความวุนวายจากการเลือกตั้งซึ่งมีผลกระทบบตอเสถียรภาพของรัฐบาลอยางมาก ในเดือน มีนาคม 2500 สหรัฐฯไดวางแผนปฏิบัติการของสหรัฐฯตอไทย(Outline Plan of Operations With Respect to Thailand) ที่มกี ารกําหนดเปาหมายเปนพิเศษตอไทยวา ประการแรก ปองกัน มิใหไทยทีพ่ ึ่งพาเศรษฐกิจจากกลุมประเทศคอมมิวนิสต ประการที่สอง ผลักดันใหไทยหันกลับไป ใหความรวมมือกับสหรัฐฯ ประการที่สาม ผลักดันใหไทยมีการพัฒนาเศรษฐกิจ ประการที่สี่ สนับ สนุนกิจกรรมสงครามจิตวิทยา และประการที่หา เปดโอกาสกลุมผูน าํ ใหมของไทยทีป่ ระชาชน นิยมชมชอบ และมีความนิยมสหรัฐฯ เขาสูโครงสรางอํานาจทางการเมืองของไทย 70 การเอาชนะความขัดแยงระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามกับ สถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” ของรัฐบาลดวยแผนการนําปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทยเพื่อรื้อฟน คดีสวรรคตขึ้นใหมนนั้ พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดเคยกลาวเปนการสวนตัวในกับเจาหนาที่สถาน ทูตสหรัฐฯวา สาเหตุที่รัฐบาลยินยอมใหปรีดีเดินทางกลับไทยเพราะปรีดีเปนผูบริสุทธิ์ในคดีการ สวรรคต เขาเสริมวา ที่ผานมาขอกลาวหาวาปรีดีเกี่ยวของกับการสวรรคตนั้นเปนขอกลาวหาทาง การเมืองเพื่อทําลายปรีดีในทางการเมือง ดังนัน้ ตํารวจตองการใหปรีดีเดินทางกลับมาไทยเพื่อ ขึ้นใหการในศาลเกี่ยวกับคดีดังกลาวใหม71 ในที่สุดสัญญาณของการจะเดินทางกลับไทยของปรีดี และการรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นใหมมีความชัดเจนมากยิง่ ขึ้น ในปลายเดือนมีนาคม 2500 ร.ต.อ. เฉียบ ชัยสงคตัวแทนของปรีดี ไดแจงกับพล ต.อ.เผาวา “นายปรีดีตองการรวมมือกับรัฐบาล

69

คนเมือง, 30 เมษายน 2500, อางถึงใน สยามรัฐ, 3 พฤษภาคม 2500. “Outline Plan Prepared by an Interdepartmental Committee for the Operations Coordination Broad, 20 March 1957- Outline Plan of Operations With Respect to Thailand,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 913-915. 71 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956 . 70


214

ทํางานใหกับประเทศชาติ” 72 ทาทีของร.ต.อ.เฉียบ สอดคลองกับทาทีของพล ต.อ.เผา ศรียานนท ที่ประกาศวา ปรีดีสามารถเดินทางกลับมาไทยไดหากปรีดีตองการ สถานทูตอังกฤษเห็นวา คําให สัมภาษณของแกนนํารัฐบาลนี้เปนเสมือนการสงสัญญาณยืนยันการเปนพันธมิตรกับ“กลุมปรีดี” 73

ตอมา เมื่อ พูนสุข พนมยงค ภรรยาของปรีดี พนมยงคไดเดินทางกลับถึงไทยเมื่อ 3 เมษายน 2500 เธอไดใหสัมภาณวาปรีดีอยากกลับไทย สวนความสัมพันธระหวางจอมพล ป. กับ ปรีดี นั้น เธอกลาววา “ความสัมพันธกับจอมพล ป.พิบูลสงครามนัน้ เราไมมีอะไรกัน ทานอยาก ใหทุกคนรวมมือกันชวยเหลือประเทศชาติ ” และปรีดีตองการกลับมาอุปสมบทในโอกาส 25 พุทธศตวรรษ 74ทั้งนี้ พล ต.อ.เผาไดใหสัมภาษณถึงการกลับมาของพูนสุขวา คนไทยทุกคนมีสทิ ธิ กลับประเทศ สวนปรีดีจะมีความผิดหรือไมนั้นขึน้ กับเจาหนาที่ หากไมมีความผิด ปรีดีก็มีสิทธิ เต็มที่เหมือนคนไทยทุกคน75ตอมาสแตนดารด(Standard) หนังสือพิมพในฮองกง ฉบับ 9 เมษายน 2500 รายงาน ขาววาปรีดีและพูนสุขจะกลับไทยมาสูคดีการสวรรคตในประเทศไทย 76 จากนั้น จอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานทไดผลักดันใหแผนการนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยใหมีความคืบหนาตอไป ดวยการสนับสนุนให คณะศิลปนไทยที่มี สุวัฒน วรดิลก อดีตนักศึกษาธรรมศาสตร คณะนักกีฬาบาสเก็ตบอลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและคณะกรรมกรไทยในสังกัดของรัฐบาลนําโดยสังข พัธโนทัยไดเดินทางไปยังจีนในเดือน เมษายน 2500 การกระทําดังกลาว ประหนึง่ การสงสัญญาณบางอยางจากรัฐบาลจอมพล ป. ถึง ปรีดี พนมยงค ทัง้ นี้ ในชวงเวลานัน้ จอมพล ป.ไดกลาวอนุญาตใหปรีดซี ึ่งลี้ภัยอยูท ี่จนี เดิน ทาง กลับมาสูคดีทถี่ ูกกลาวหาในกรณีสวรรคตในไทยไดผานหนาหนังสือพิมพดวย 77 ความคืบหนาของการสรางพันธมิตรระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ “กลุม ปรีดี” นั้นยิ่งมีความชัดเจนขึน้ เมื่อร.ต.อ. เฉียบ ชัยสงคคนสนิทของปรีดี พนมยงคไดใหตอบ 72

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Secret Thailand, 21 March

1957. 73

NA, FO 371/129610, Nai Pridi and his Followers, 27 March 1957. 74 พิมพไทย, 4 เมษายน 2500. 75 เชา, 5 เมษายน 2500. 76 หจช.(2)กต. 1.1/47 กระทรวงการตางประเทศขอใหกระทรวงมหาดไทยสืบสวนติดตามขาวของ นายปรีดี พนมยงคและนางพูนสุข พนมยงคขอกลับประเทศไทย และเรื่องนายหลุย พนมยงคขอตอหนังสือ เดินทางออกนอกประเทศ(19 เมษายน 2498–18 พฤษภาคม 2500), รักษ ปนยารชุน รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี, 20 เมษายน 2500. 77 ณัฐพล ใจจริง, “ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: ‘การทูตใตดิน’(24982500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม,”: 29-80.


215

คําถามแกหนังสือพิมพเมื่อถูกถามวา “กลุมปรีดี” คิดกอการรัฐประหารอีกไหม เขาตอบวากลาว วา “ใครขืนคิดก็โงเต็มที เพราะเทากับเปดชองใหจักรพรรดินิยมตางชาติฉวยโอกาส รัฐบาลไม ควรเพงเล็งนายปรีดี แตควรจะใหความสนใจกับความเคลื่อนไหวของพวกเจามากกวา ”78 ใน ขณะเดียวกัน หนังสือพิมพหลายฉบับที่สนับสนุนรัฐบาลหลายฉบับไดวิจารณบทบาททางการ ของพรรคประชาธิปตยและสยามรัฐที่โจมตีรัฐบาลตลอดเวลาเปนไปเพื่อเปดโอกาสทางการเมือง ให“กลุมรอยัลลิสต”กลับมาครองเมือง สยามรัฐ ไดตอบโตขอกลาวหาดังกลาวดวยการลงบท สัมภาษณควง อภัยวงศ แกนนํา”กลุมรอยัลลิสต”และหัวหนาพรรคประชาธิปตยไดกลาวตอบโต ขอวิจารณดังกลาววา “ไมมีเจาองคไหนยุง การเมืองเลย กรมหมื่นพิทยลาภฯ(พระองคเจาธานี นิวัตฯ)ก็สนใจแตของโบราณ สวนพระองคเจาภาณุพนั ธฯก็เลนภาพยนต จะเอาเจาองคไหนเปน ผูนํา ”79 จากการรุกคืบทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีและพล ต.อ.เผา ศรียานนทในฐานะแกนนํากลุมตํารวจเพื่อตอตานความเคลื่อนไหวทางการเมืองของ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ดวยการนําปรีดี พนมยงคกลับมาจากจีนเพื่อรือ้ ฟนคดี สวรรคตขึ้นใหมไดสรางความตระหนกใหกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ที่เปนพันธมิตร กับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตแกนนําของกลุม ทหารมาก สถานทูตอังกฤษไดรายงานขาวลับที่ไดมา วา สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับจอมพลสฤษดิ์ไดรวมมือกันกําหนดแผนโตกลับรัฐบาล ดวยการมีการจัดประชุมลับขึ้นเมื่อ16 เมษายน 2500 ในรายงานฉบับนี้ใหรายชื่อบุคคลที่เปนสวน หนึง่ ของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”เขารวมวางแผนการรัฐประหารครั้งนี้กบั จอมพล สฤษดิ์หลายคน เชน พระองคเจาธานีฯ ประธานองคมนตรี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช และม.ร.ว.คึก ฤทธิ์ ปราโมช แกนนํา”กลุมรอยัลลิสต” และไดรายงานตอไปวา ที่ประชุมเห็นชอบในการกอ รัฐประหารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. แตพวกเขายังไมกําหนดวันเวลาที่แนนอน สําหรับบุคคลที่ เหมาะสมเปนนายกรัฐมนตรีภายหลังการรัฐประหารนัน้ พระองคเจาธานีนิวัตฯเสนอใหพระมหา กษัตริยเปนผูท รงชี้ขาด80 ทาทีของพระมหากษัตริยในชวงเวลาดังกลาวนัน้ สถานทูตสหรัฐฯได รายงานวา พระองคทรงไมพอพระราชหฤทัยอยางมากทีพ่ ล ต.อ.เผามีนโยบายติดตอกับจีนและ กลุมฝายซาย อีกทั้งมีความพยายามที่จะนําปรีดีกลับมาไทย ทรงเห็นวามีความเปนไปไดที่จอม พล ป.และพล ต.อ.เผามีแผนการที่เปนการคุกคามสถาบันกษัตริย 81 78

สยามนิกร, 18 เมษายน 2500. สยามรัฐ, 21 เมษายน 2500. 80 NA, FO 371/129610, Gage to Foreign Office, 17 April 1957. 81 “the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 918. 79


216

ไมแตเพียง สถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามเทานัน้ แตสหรัฐฯก็ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. เชนกัน ในปลายเดือนเมษายน 2500 สหรัฐฯไดแสดงทาทีตอถึงประเทศพันธมิตรที่หนั ไปคากับจีนวา สหรัฐฯไมเคยมีความตองการผอน คลายการคากับจีน เพราะจะทําใหสินคายุทธปจจัยตางๆไหลเขาสูจนี ดังนัน้ สหรัฐฯยังคงยืนยัน นโยบายการตอตานจีนและการคว่ําบาตรกับจีนตอไป 82 ตนเดือนพฤษภาคม สถานทูตสหรัฐฯใน กรุงเทพฯรายงานวา รัฐบาลจอมพล ป.ไดแสดงทาทีและใชยุทธวิธที างการเมืองที่ใหการสนับ สนุนการปรับปรุงความสัมพันธกับจีนในทางลับ แมจอมพล ป.จะแสดงความไมเกีย่ วของกับการ ดําเนินการดังกลาว แตสถานทูตฯไมเชื่อวา จอมพล ป.จะไมใหความเห็นชอบในการดําเนินการ นโยบายดังกลาว สหรัฐฯเห็นวา การดําเนินการนโยบายเปดไมตรีกับจีนของรัฐบาลจะทําใหความ นากลัวของภัยคอมมิวนิสตจีนที่จะรุกรานไทยลดลงไปมาก สถานการณดังกลาว จะทําใหสหรัฐฯ ประสบกับความยากลําบากที่จะหมุนนโยบายตางประเทศของไทยใหกลับมาใหเหมือนเดิมตามที่ สหรัฐฯตองการ 83 ในอีกฝากหนึ่งของโลก ที่วอชิงตัน ดี.ซี. โฮเวิรด พี. จอหน(Howard P. John) ผูชวยรองรัฐมนตรีตางประเทศไดเรียกพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯเขาพบเพื่อแจงใหไทย ทราบอยางเปนทางการวา สหรัฐฯไมตองการใหไทยเพิม่ ความสัมพันธกับจีนและไมตองการให ปรีดี พนมยงคกลับมาไทย84 กลางเดือนพฤษภาคม 2500 บิชอบ ทูตสหรัฐฯไดบอกเกจ ทูตอังกฤษวา เขาไดรับคําสั่ง จากกระทรวงการตางประเทศทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.ใหเตือนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามวา สหรัฐฯ ไมพอใจการติดตอกับจีนและการนําปรีดี พนมยงคกลับมาไทย เนื่องจาก สหรัฐฯเห็นวา หากปรีดี กลับมาจะทําใหเกิดปญหากระทบกับเสถียรภาพทางการเมืองของไทย และหากรัฐบาลของจอม พล ป. ยังดําเนินการในสิง่ ทีส่ หรัฐฯไมเห็นชอบตอไป สหรัฐฯจะมีปฏิกริยาในทางลบตอสิ่งที่จะ เกิดขึ้นตอไป 85

82

“Embargo on trade with the People’s Republic of China, 20 April 1957,” in Document ‘s on American Foreign Relations 1957,(New York: Council on Foreign Relation, 1957), p. 345. 83 NARA, RG 59 Miscellaneous Lot files No.60 D 50 Subject Files Relating to Thailand 1955-1959 box 1, Magill to Young, Some Aspects of the Situation in Thailand, 2 May 1957. 84 “the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.917. 85 NA, FO 371/129611, Gage to Foreign Office, 15 May 1957.ขอความดังกลาวมีวา “United State Government would react unfavorably to any such development”


217

8.5 ความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” สถานทูตสหรัฐฯไดวิเคราะหวา สาเหตุสําคัญที่สุด ที่ผลักดันใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามติดตอกับจีน คือ ปญหาที่เกิดขึ้นภายในการเมืองไทยและการแสวงหานโยบาย ตางประเทศทีเ่ หมาะสมทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง ในชวงเวลานั้น พล ต.อ.เผา ศรียา นนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตตางกําลังแขงขันกันเปนทายาททางการเมืองดวยการแสวงหา ความสนับสนุนกลุมฝายซายทัง้ ในกรุงเทพและภาคอีสาน โดยจอมพลสฤษดิ์ไดแสวงหาการ สนับสนุนจากกลุมฝายซายในอีสานกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” แตพล ต.อ.เผาขาม ไปติดตอกับปรีดี พนมยงคและจีนเพื่อการตอสูทางการเมือง อีกทัง้ เมือ่ รัฐบาลจอมพล ป.ไดมี พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสฉลอง 25 พุทธศตวรรษเพื่อปลดปลอยแกนนําที่เคยตอตาน รัฐบาลและผูนาํ กลุม ฝายซายทีเ่ คยถูกจับกุมจากความขัดแยงทางการเมืองที่ผา นมานัน้ สถานทูต สหรัฐฯเห็นวา การกระทําของรัฐบาลจอมพล ป.เปนจุดเริ่มตนของสัญญาณความเสือ่ มถอยทาง การเมืองภายในของไทย 86 ในชวงเวลาดังกลาว ความขัดแยงระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับสถาบัน กษัตริยและ”กลุมรอยัลลิสต”ยังคงดําเนินไปอยางเขมขน จอมพล ป.ยอมรับวารัฐบาลของเขา กําลังถูกโจมตีจาก “กลุมรอยัลลิสต”และพระราชวงศทรี่ วมมือกันตอตานงานฉลอง 25 พุทธ ศตวรรษที่รัฐบาลจัดขึ้น ดวยการทีพ่ ระมหากษัตริยทรงถอนตัวออกจากการสนับสนุนงานฉลองฯ โดยใหสาเหตุวา พระองคทรงประชวรอยางฉับพลัน ทัง้ ที่ กอนหนานี้ ทรงไดยืนยันวาจะทรงเสด็จ มารวมงานฯใน 12 พฤษภาคม 250087 สาเหตุดังกลาวทําใหหนังสือพิมพของฝายรัฐบาล เชน ไทยเสรี ฉบับ 17 พฤษภาคม 2500 ที่ไดเขียนวิจารณบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ไมเขารวมงานฉลองดังกลาวโดยอางวาทรงประชวร ในขณะที่ สยามรัฐ กระบอกเสียงของ“กลุมรอยัลลิสต”ไดพยายามชักจูงใหประชาชนไมรว มงานดังกลาวดวย88 ทําให 86

“the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State, 24 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp.917-921. 87 หจช.คค. 0201.1.1 กลอง 1 บันทึกการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 5/2500(8 พฤษภาคม 2500).; โปรดดู คําแปลเอกสารของสถานทูตอังกฤษชื่อ “the King and I” โดยสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ที่รายงานถึงปญหา ความขัดแยงดังกลาว, อางถึงใน ณัฐพล ใจจริง,“ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: การทูต ใตดิน(พ.ศ.2498-2500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม,” รัฐศาสตรสาร 29, ฉบับพิเศษ (2551): 29-80. 88 รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก) และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500, หนา 1016.; “ไทยนอย”และกมล จันทรสร, วอเตอรลูของจอมพลแปลก, (พระนคร: บริษัท แพร พิทยา และ บริษัทโ อเดียนสโตร, 2503), หนา 67-68.


218

ไทยเสรี ถูกรองเรียนจาก“กลุม รอยัลลิสต” วาหมิ่นประมาทสถาบันกษัตริย จากเหตุการณนี้ สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา จอมพล ป. ดูจะขมขื่นมากกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”ที่ใชราชบัลลังกและกฎหมายที่คุมครองพวกเขาเปนเกราะกําบังในการตอสูทาง การเมืองกับรัฐบาล89 ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2500 สัญญาณของการจับขัว้ ทางการเมืองไทยไดเริ่มแตก ออกเปน 2 ขั้ว คือ ขั้วแรก จอมพล ป.พิบูลสงคราม และพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดรวมมือกับ “กลุมปรีดี”เพือ่ ตอสูกับสถาบันกษัตริย กับ“กลุมรอยัลลิสต”และจอมสฤษดิ์ ธนะรัชต ทูตอังกฤษ รายงานวา พล ต.อ.เผาเปรียบเสมือนกับ“สถาปนิกทางการเมือง”ของรัฐบาล ขณะนัน้ พล ต.อ. เผาไดเริ่มรณรงคตอตานความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และ พรรคประชาธิปตย ทูตอังกฤษเห็นวา แผนทางการเมืองของจอมพล ป. และพล ต.อ.เผาเปนการ ยุทธวิธที างการเมืองที่มีความเสี่ยงมาก 90 กลางเดือนพฤษภาคม ทัง้ จอมพล ป.และพล ต.อ.เผา กําลังเตรียมแผนการใหมในการตอตานกลุมที่เปนปรปกษรัฐบาลตอไป โดยพล ต.อ.เผาไดอยู เบื้องหลังการสงคณะผูแทนไปติดตอปรีดี พนมยงคที่จีนเพื่อเตรียมการใหปรีดีกลับมารื้อฟน คดี สวรรคตขึ้นใหมเพื่อตอบโตความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และจอมพล สฤษดิ์ 91 ตอมา ทูตอังกฤษไดรับรายงานการขาวจากหนังสือพิมพ ออปเซอรฟเวอร(Observer) ซึ่งลงบทสัมภาษณของพูนสุข พนมยงค ภริยาของปรีดี พนมยงคที่กลาวตอบขอซักถามของ นักขาวเกีย่ วกับกรณีสวรรคตวา หากนักขาวตองการรูความจริงเกีย่ วกับการสวรรคต ควรไปถาม พระมหากษัตริยไทยรัชกาลปจจุบัน ทูตอังกฤษบันทึกวา ขณะนัน้ หนังสือพิมพในไทยไดใชเรื่อง สวรรคตโจมตีราชสํานักอยางหนัก เขาเห็นวา เรื่องสวรรคตเปนเรื่องออนไหว และสัง่ หาม เจาหนาที่ของสถานทูตฯรายงานขาวใดๆทีเ่ กี่ยวของกับเรือ่ งการสวรรคตอีก92 ตนเดือนมิถุนายน 2500 แมกระแสขาวการกลับไทยของปรีดี พนมยงคจะเริ่มจางหายไป จากหนาหนังสือพิมพก็ตาม แตความความเคลื่อนไหวของกลุมคนไทยที่เดินทางเขาสูจีนกลับมี ความคึกคักมากขึ้น ขณะนัน้ “กลุมปรีดี” และกลุมฝายซายที่มีความสัมพันธกับปรีดีไดใหการ สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเพิ่มขึ้น ทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทเปดการรุกตอ 89

“the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State , 24 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp.920-921. 90 NA, FO 371/129611, Gage to Tomlinson, 12 May 1957. 91 NA, FO 371/129611, Gage to Foreign Office, 15 May 1957.; “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State , 24 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 920-921. 92 NA, FO 371/129653, Whittington to Foreign Office, 15 May 1957.


219

สถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”ที่ใหการสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมากขึ้น สถานทูต อังกฤษไดรายงานวา สถานทูตไดรับรายงานกระแสขาวที่ยงั ไมยืนยันวา พล ต.อ.เผามีแผนการที่ จะทําใหพระมหากษัตริยทรงสละราชยสมบัติดวยคดีสวรรคตและสถาปนาสาธารณรัฐขึ้น ในชวง เวลาดังกลาว สถานทูตอังกฤษรายงานตออีกวา หนังสือพิมพฝา ยซายไดวิจารณสถาบันกษัตริย พระราชวงศ และกองทัพไดอยางอิสระโดยตํารวจมิไดดําเนินการควบคุมๆใด แตพวกเขากลับให การสนับสนุนการวิจารณเหลานัน้ ในขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ยังคงรักษาความรวมมือกับ “กลุม รอยัลลิสต”อยางใกลชิด สถานทูตอังกฤษเห็นวา จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต”นั้นลวงรู แผนการของจอมพล ป.และพล ต.อ.เผาวาจะดําเนินไปในทางทิศทางใด 93 ในตนเดือนมิถนุ ายนปเดียวกัน ซึง่ เปนเดือนที่พระมหากษัตริยพระองคกอ นไดสวรรคตไป อยางปริศนาเมื่อ 11 ปที่แลว ณ บริเวณทองสนามหลวงไดมีการปราศัยครั้งสําคัญของ “ชางงา แดง”94 ผูพยายามบอกเปนนัยวา “ใคร”อยูเบื้องหลังการสวรรคตดังกลาว ตอมา ในกลางเดือน นั้นเอง นักขาวไดนําการปราศัยของ “ชางงาแดง” มาถามควง อภัยวงศ แกนนํา“กลุมรอยัลลิสต” เขาไดตอบขอซักถามดังกลาววา หนังสือพิมพไมควรเอาเรื่องดังกลาวมาขยายความ95 นอกจากนี้ ในชวงเวลาเดียวกันไดมีการนําบันทึกลับของพระยาศรยุทธเสนียมาเปดเผยในหนาหนังสือพิมพ เพื่อชี้ ใหเห็นวามีการสรางพยานเท็จเพื่อกลาวหาปรีดี พนมยงคและพวกวาเกีย่ วของกับการ สวรรคตของพระมหากษัตริย 96 “กลุมรอยัลลิสต”ไดพยายามกดดันใหรัฐบาลจอมพล ป.พิบูล สงครามจับกุม“ชางงาแดง”ที่ไดปราศัยดังกลาว ตอมา ตํารวจจับและปรับเงิน“ชางงาแดง” ดวย ความผิดเพียงการปรับฐานละเมิดกฎหมายที่ใชเครื่องขยายเสียงโดยมิไดรับการอนุญาตจากทาง ราชการเทานัน้ การดําเนินการของรัฐบาลดังกลาวไดสรางความไมพอให“กลุมรอยัลลิสต”มาก97 93

NA, FO 371/129611, Adam to Tomlinson, 8 June 1957. 94 ซีไอเอบันทึกบทบาทของ “ชางงาแดง” หรือสงา เนื่องนิยมวา เขามีบทบาททางการเมืองตั้งแต 2490 ดวยการแจกใบปลิวการเมืองลึกลับหลายครั้งในนามของ “ชางงาแดง” “ชางงาดํา”และ“Buddha’s disciples” ตอมาเขาถูกตํารวจจับเมื่อ 9 มกราคม 2492 เนื่องจากเปนผูแจกใบปลิวที่วิจารณรัฐบาลหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 และเขามีบทบาทเรียกรองใหจอมพล ป. พิบูลสงครามคืนดีกับปรีดี พนมยงค ทั้งนี้ภูมิหลัง ของเขา เคยเปนเจาหนาที่ในสหอาชีวะกรรมกรแหงประเทศไทยและอดีตขาราชการกรมโฆษณาการ เอกสารชิ้น นี้ใหขอมูลวา สงาเปนสมาชิกคนชั้นกรรมาชีพหรือพรรคคอมมิวนิสตไทย(NARA , RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Summary of Political events in Siam January 1948). ในชวงป 2500 เขาเปน สมาชิกของพรรคศรีอาริยเมตไตรยของร.ต.อ. เฉียบ ชัยสงคคนสนิทของปรีดีดวย 95 ชาวไทย, 16 มิถุนายน 2500. 96 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 435-436. 97 สยามรัฐ, 30 มิถุนายน 2500


220

ความพยายามกลับมาเปนพันธมิตรทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามกับปรีดี พนมยงคและ“กลุมปรีด”ี ที่ไดเริ่มตนไปแลวมีความคืบหนาเปนอันมาก ทําให ปาล พนมยงค ผูเปนบุตรชายคนโตของปรีดี เมื่อเขาไดรับนิรโทษกรรมและไดมาขอลาบวชกับ จอมพล ป. เมือ่ 24 มิถนุ ายน 2500 ที่วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฏิ์ โดยจอมพล ป.ผูเปนมิตรเกา ไดฝากขอความผานปาลไปยังบิดาของเขาวา “บอกคุณพอของหลานดวยนะวา ลุงอยากให กลับมาชวยลุงทํางานใหชาติ ลุงคนเดียวสูศักดินาไมไหวแลว” 98 ในชวงเวลาดังกลาว รายงาน ของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานสถานการณทางการเมืองไทยที่ไดรับรายงานมา วา มีขาวที่ลือกันทั่วไปในสังคมวา มี“บุคคลสําคัญอยางมาก” ที่ไมมีใครคาดคิดอยูเบื้องหลังการ สวรรคตไดแพรสะพัดไปทั่วสังคม99 โดยม.ร.ว.เสนีย ปราโมชแกนนําคนหนึง่ ของ“กลุมรอยัลลิสต” ไดบันทึกเหตุการณในชวงเวลาดังกลาววา ควง อภัยวงศเคยบอกกับเขาวา “จอมพล ป. จะหา เรื่องในหลวง”100 ตนเดือนกรกฎาคม 2500 หนังสือพิมพในฮองกง ชื่อ ฮองกงไทเกอรสแตนดารด (Hong Kong Tiger Standard) ไดนาํ คําใหสัมภาษณของปรีดี พนมยงคใน ตากงเผาซึ่งเปนหนังสือพิมพ ในจีนมารายงานตอวา ปรีดกี ลาววา จักรวรรดินิยมอเมริกาขัดขวางการมีความสัมพันธระหวาง ไทยกับจีน และเขายอมรับวา เขาไดติดตอกับบุคคลสําคัญยิ่งในไทยเพือ่ การเดินทางกลับมาตอสู คดีสวรรคตในไทย101 ตอมา สถานทูตอังกฤษรายงานวา พล ต.อ.เผา ศรียานนทยังคงมีการติด 98

ไทรายวัน, 26 มิถุนายน 2500.; ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 410.; พูนศุข พนมยงค, ชีวิตของลูกปาล. ใน อนุสรณนายปาล พนม ยงค,(กรุงเทพฯ: อมรินทรการพิมพ, 2525), หนา 76. 99 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957. 100 ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีวลิขิต, หนา 104. 101 หจช. 80/158 กลอง 10 นายปรีดี พนมยงคใหสัมภาษณหนังสือพิมพเกี่ยวกับประเทศไทย(2500). Hongkong Tiger Standard, 9 June 1957. คณะวัฒนธรรมไทยจํานวน 40 คน ไดเดินทางกลับมาจากจีน คอมมิวนิสตในเดือนกรกฎาคม 2500 โดยมีตํารวจมารับไปสอบสวน พรรคประชาธิปตยไดโจมตีรัฐบาลวา การ ที่รัฐบาลไมจับกุมเปนการแสดงใหเห็นวา ไทยกําลังผอนคลายในการตอตานจีนคอมมิวนิสต จากนั้น สุวัฒน วรดิลก หัวหนาคณะวัฒนธรรมไดแถลงขาววา เขาไดพบกับปรีดี พนมยงค ซึ่งมีความตองการกลับประเทศไทย และเขาไดบันทึกไววา จอมพล ป. พิบูลสงครามมีความสนใจเรื่องที่เขาไดเดินทางไปจีนมาก และจะสงคนมา นัดใหไปนอนคุยกันที่บางแสนสักคืน แตการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดเกิดขึ้นกอน(สุวัฒน วร ดิลก, ชีวิตในความทรงจํา,[กรุงเทพฯ: กลุมวรรณกรรมเพื่อชีวิต, 2517],หนา 71.; New York Times, 3 August 1957).


221

ตอกับปรีดีในจีนผาน“กลุมปรีดี”ในไทยตอไป โดยพล ต.อ.เผาหวังที่นาํ การตัดสินคดีสวรรคตที่ผิด พลาดของศาลมาโจมตีราชสํานัก ทําให“กลุมรอยัลลิต” รวมมือกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเพื่อ โตตอบกับจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา102 ปลายเดือนกรกฎาคม ดัลเลส รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ มีบนั ทึกถึง สถานทูตสหรัฐฯในกรุงเทพฯที่พรรณนาถึงความตกต่ําทางการเมืองของพล ต.อ.เผา ศรียานนท ในขณะที่ ดัลเลสเห็นวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดรับความนิยมจากประชาชนมากยิ่งขึ้น นอก จากนี้ จอมพลสฤษดิ์ยังไดรบั การสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยเพื่อ ตอตานแผนนําปรีดี พนมยงคกลับมาไทยของจอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา 103 โดย สถานทูตอังกฤษในวอชิงตัน ดี.ซี.ไดรายงานกลับไปลอนดอน ยืนยันถึงความเห็นของสหรัฐฯวา พล ต.อ.เผากําลังเสื่อมความนิยมทางการเมืองตรงกันขามกับจอมพลสฤษดิ์ที่มีอนาคตทาง การเมืองมากกวา104 ดังนัน้ จะเห็นไดวา สหรัฐฯมีความไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. ที่พยายาม ถอยหางออกจากสหรัฐฯ ดวยการเปดไมตรีกับจีน และสหรัฐฯไมเห็นดวยกับแผนการสาธารณรัฐ ของจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา เนื่องจาก สหรัฐฯตองการสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหมีสวน สําคัญในการทําสงครามจิตวิทยาคนไทยใหรวมตอตานคอมมิวนิสต จะเห็นไดวา ความตองการ ของสหรัฐฯมีความสอดคลองกับพันธมิตรใหมที่เกิด ขึ้นระหวางสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัล ลิสต”กับจอมพลสฤษดิ์มากกวาแผนการของจอมพล ป. พล ต.อ.เผาและ“กลุมปรีด”ี อีกทัง้ สหรัฐฯมีความตองการสนับสนุนใหกลุมผูนําใหมทนี่ ิยมสหรัฐฯกาวขึน้ มามีอํานาจในการเมืองไทย เพื่อตอบสนองนโยบายของสหรัฐฯตอไป 105

102

NA, FO 371/129611, Adam to Selwyn Lloyd, 12 July 1957. 103 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, 25 July 1957. 104

NA, FO 371/129611, Snellgrove to Foreign Office, United States views about The Prospect in Thailand, 31 July 1957. 105 “Outline Plan Prepared by an Interdepartmental Committee for the Operations Coordination Broad-Outline Plan of Operations With Respect to Thailand, 20 March 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 913-915.


บทที่ 9 “ไตรภาคี” กับภาวะกึ่งอาณานิคมและ การลมสลายของประชาธิปไตยไทย 9.1 ความไมพอใจของวอชิงตัน ดี.ซี.ตอรัฐบาลจอมพล ป. สถานการณทางการเมืองหลังการเลือกตั้งนัน้ สหรัฐฯเห็นวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ไดรับความนิยมทางการเมืองเพิม่ ขึ้นและหนังสือพิมพที่เปนกระบอกเสียงของเขาก็ไดรับความ นิยมสาธารณชนมากเชนกัน ในขณะที่ความนิยมของพล ต.อ.เผา ศรียานนทตกต่ําสุดขีด แมวา พล ต.อ.เผาจะไดรับสนับสนุนจาก จอมพล ป. พิบูลสงครามและสมาชิกสภาผูแทนราษฎร“กลุม ปรีดี”เพื่อตอตานความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”และจอมพลสฤษดิ์ก็ ตาม ในขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ไดสรางกลุม ปรปกษกับรัฐบาลจอมพล ป.ดวยการเปนพันธมิตรกับ สถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต” เนือ่ งจาก พวกเขาไมตองการใหปรีดี พนมยงคกลับมาไทย เพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นอีกครั้ง สวนจอมพลสฤษดิ์ตองการมีชัยชนะเหนือคูแขงทางการเมืองของ เขา คือ พล ต.อ.เผา นอกจากนี้ จอมพลสฤษดิ์ยังแสดงตนสนับสนุนนโยบายตางประเทศที่เปน กลางเพื่อใหไดรับสนับสนุนจากกลุม ฝายซายดวย ตอมา เขาไดตั้งพรรคสหภูมิซึ่งเปนการรวมตัว ของสมาชิกสภาผูแทนภาคอีสานจํานวนหนึง่ เพื่อสนับสนุนเขาในสภาผูแทนฯ ในสายตาของ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการะทรวงการตางประเทศ ไดยา้ํ กับทูตสหรัฐฯในไทยวา ความชวยเหลือทาง การทหารที่สหรัฐฯใหกับกองทัพทําใหจอมพลสฤษดิ์มีความเขมแข็งทางการเมืองมากกวากลุม การเมืองอืน่ ๆ1 ในเดือนมิถุนายน 2500 สหรัฐฯเห็นวา ฉากการเปลี่ยนผูนาํ กลุมใหมไทยเริ่มมีความชัด เจนขึ้น นัน่ คือ ภาพของจอมพลสฤษดิท์ ี่ไดรับความนิยมจากประชาชนมากขึ้นทําใหเขากําลังกาว ขึ้นมามีอาํ นาจแทนจอมพล ป. และพล ต.อ.เผาแลว สหรัฐฯวิเคราะหวา หากมีการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองก็มิทาํ ใหนโยบายตางประเทศของไทยเปลีย่ นแบบถอนรากถอนโคน แตการเปลี่ยน แปลงดังกลาวเปนเพียงการผลัดเปลี่ยนผูน ํารัฐบาลเทานั้น 2 ในชวงเวลาเดียวกัน ซีไอเอ ได ประเมินสถานทางการเมืองของทายาททางการเมืองคนตอไปวา ความนิยมของสาธารณชนที่มี

1

NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1957 box 59, Dulles to Embassy London and Embassy Bangkok, 21 April 1957. 2 “National Intelligence Estimate-Problem Developments in Thailand, 18 June 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 924.


223

ตอพล ต.อ.เผา เขากําลังอยูใ นความเสื่อม ในขณะทีจ่ อมพลสฤษดิ์ไดรับความนิยมอยางมาก 3 นอกจากนี้ ในบันทึกติดตอภายในของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ ทีว่ อชิงตัน ดี.ซี. ได สะทอนใหเห็นถึง ความไมพอใจและไมวางไวใจของสหรัฐฯที่มีตอรัฐบาลจอมพล ป.วา นโยบาย ตางประเทศของรัฐบาลในหลายปที่ผานมาเริ่มมีนโยบายความสัมพันธออนๆกับจีน และรัฐบาล พยายามอยางยิ่งที่จะเปนอิสระออกจากนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯ ดังนั้น สหรัฐฯจําตองที่ จะหยุดยั้งความสัมพันธระหวางไทยกับจีน โดยสหรัฐฯไดสงสัญญาณไมพอใจหลายครั้งผานพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯและมอบ หมายใหบิชอป ทูตสหรัฐฯประจําไทยแจงความไมพอใจ ของสหรัฐฯใหกับจอมพล ป.และผูนําคนอื่นๆในรัฐบาลทราบ นอกจากนี้ สหรัฐฯตองการสงคณะ บุคคลที่จะไปเยือนไทยเพื่อแจงความไมพอใจนี้ใหจอมพล ป. ทราบโดยตรงอีกดวย เนื่องจาก สหรัฐฯไมพอใจที่จอมพล ป. เลนบทสองนัยยะดวยการยินยอมใหพล ต.อ.เผาติดตอกับจีนและ อนุญาตใหปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทย ในขณะที่อีกดานหนึ่งจอมพล ป. ก็ประกาศ อยางเปดเผยยืนยันการเปนมิตรชิดใกลกับสหรัฐฯและตอตานการมีความสัมพันธกับจีน4 9.2 จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” กับการแสวงหาความสนับสนุนจากสหรัฐฯ ภาวะลอแหลมตอเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามเริ่มตนขึ้น เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกับ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ประธานองคมนตรี และ“กลุมรอยัลลิสต” จัดการประชุมลับเมื่อ 16 เมษายน 25005 วันรุงขึน้ จากการประชุมแผนการรัฐประหาร จอมพล สฤษดิ์ไดสง ร.อ.สมหวัง สารสาสน เปนตัวแทนมาหยั่งทาทีสถานทูตสหรัฐฯ∗ เพื่อแสวงหาการ สนับสนุนการรัฐประหาร ซึง่ จะผลักดันใหจอมพลสฤษดิ์เปนนายกรัฐมนตรี แมในทางเปดเผย 3

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP85S00362R000600010001-3, 25 June 1957, “Probable Development’s in Thailand”. 4 “Memorandum From the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson) to the Secretary of State, 3 July 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 929. 5 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 19 April 1957. โปรดดูรายงานการรประชุมลับระหวางจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” ใน NA, FO 371/129610 , Gage to Foreign Office, 17 April 1957. ∗

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดเคยพยายามผูกไมตรีกับบิชอป ทูตสหรัฐฯ ในตนเดือนตุลาคม 2499 เขา ไดเคยสงจดหมายลับไปหาบิชอป เพื่อขอติดตอกับบิชอปเปนการสวนตัว และตองการเชิญบิชอปมาสนทนากับ กลุมทหารของเขา แตบิชอปไมตอบสนองการติดตอในทางลับของจอมพลสฤษดิ์ เขากลาวตอบปฏิเสธวา สถานทูตสหรัฐฯจะติดตอกับไทยผานกระทรวงการตางประเทศและนายกรัฐมนตรี ตามชองทางที่เปนทางการ


224

จอมพลสฤษดิ์จะปฏิเสธความทะเยอทยานก็ตาม นอกจากนี้ พวกเขามีแผนตั้งพรรคสหภูมิขึ้นเพื่อ สนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ในสภาผูแทนฯ ร.อ.สมหวังแจงกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯวากลุมทหาร ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป.และคาดวารัฐบาลจะตั้งอยูไดไมนาน แมพล ต.อ.เผาจะนําการตอตาน แตเขามั่นใจวาจอมพลสฤษดิ์จะเปนฝายชนะ จากนัน้ รัฐบาลใหมจะถูกตั้งขึ้นโดยนายพลจํานวน ราว 4-5 คน ร.อ.สมหวังแจงวา สาเหตุที่เขาตองมาติดตอสถานทูตสหรัฐฯ เพื่อขอการสนับสนุน จากสหรัฐฯ เนือ่ งจาก“บุคคลสําคัญ”คนหนึง่ ในไทยเห็นวา ทัศนคติของสหรัฐฯมีความสําคัญมาก ในการรับรองการรัฐประหารและรัฐบาลใหม ดังนัน้ รัฐบาลใหมจะตองไดรับการสนับสนับสนุน จากสหรัฐฯ 6 ตอมาในปลายพฤษภาคมนัน้ เอง จอมพลสฤษดิ์ไดสงทูตทหารและทหารคนสนิท มาพบบิชอป ทูตสหรัฐฯอีก เพื่อแจงใหสถานทูตฯทราบวา จอมพลสฤษดิ์ตระหนักดีวา จอมพล ป. และพล ต.อ.เผามีแผนการที่จะกําจัดเขา หากจอมพล ป. และพล ต.อ.เผาการเคลือ่ นไหวตอตาน เขาจะชิงลงมือกอน โดยจอมพลสฤษดิ์จะอางวา การกระทําของเขาเปนการปกปอง“กลุมรอยัลล สิสต” และพวกตอตานคอมมิวนิสตกับพวกนิยมสหรัฐฯใหรอดพนจากแผนการของจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา ไมกวี่ ันหลังจากนัน้ บิชอป ทูตสหรัฐฯไดรายงานกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.วา เกิด ความรวมมือในการขับไลรัฐบาลระหวางจอมพลสฤษดิ์ “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตย7 สถานทูตอังกฤษเปนเปาหมายในขอการสนับสนุนแผนการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตลําดับตอไป ในเดือนมิถนุ ายน จอมพลสฤษดิ์ไดสง ร.อ.สมหวัง สารสาสนเปนตัว แทนมา พบขอการสนับสนุนการรัฐประหารจากทูตอังกฤษ ร.อ.สมหวังอางวา กลุมทหารของจอมพล สฤษดิ์ไดรับการสนับสนุนจากกองทัพบก เรือ อากาศและพลเรือนขัดขวางแผนการของจอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผาที่ตองการใหพระมหากษัตริยท รงสละราชยและนําไปสูการจัดตั้ง สาธารณรัฐ พวกเขามีแผนการรัฐประหารที่ตองการใหจอมพลสฤษดิ์เปนนายกรัฐมนตรี โดยมี ควง อภัยวงศ แกนนําของ “กลุมรอยัลลิสต”เปนรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดใหม จากนัน้ ร.อ. สมหวังไดเสนอขอแลกเปลี่ยนกับอังกฤษวา หากอังกฤษใหการสนับสนุนการรัฐประหาร รัฐบาล เทานั้น หากกลุมทหารจะติดตอสถานทูตสหรัฐฯใหดําเนินการผานทูตทหารเทานั้น การติดตอครั้งนี้ จอมพล สฤษดิ์สงพ.อ.บุญมาก เทศบุตร เปนผูถือจดหมายไปใหบิชอป(NARA, RG 84 General Records, Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, Sarit to Bishop, 9 October 1956.; Bishop to Sarit , 12 October 1956). 6 NARA, RG 59, Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Memorandum of Conversation Captain S. Sarasas and Amos Yodes, Internal Politics, 15 April 1957. 7 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3912, Tremblay to Secretary of State, 20 May 1957.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 29 May 1957.


225

ชุดใหมของพวกเขาที่ตงั้ ขึ้นจะเปดโอกาสใหอังกฤษกลับเขามีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดวยการยินยอมอังกฤษมีฐานะเปนผูชวยและที่ปรึกษารัฐบาล ในรายงานของสถานทูตอังกฤษ บันทึกวา ตัวแทนของจอมพลสฤษดิ์คนนี้ไดเคยแอบไปพบบิชอป ทูตสหรัฐฯแลว แตไมไดรับการ สนับสนุน เพราะบิชอปใหการสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. แตทูตอังกฤษรายงานวา ความ พยายามในการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์อาจจะไดรับการสนับสนุนจากจัสแมค เพราะจัส แมคสนับสนุนกลุมทหาร8 ตอมา เกิดกระแสขาวในสังคมวา “พรรคประชาธิปตย พวกศักดินา และจักรวรรดินิยม รวมมือกันเพื่อลมลางรัฐบาล” ทําใหควงออกมาปฎิเสธขาวดังกลาว 9 9.3 การเมืองสองหนาของจอมพลสฤษดิ์ การปลุกกระแสการโจมตีความสัมพันธไทย-สหรัฐฯและการเรียกรองใหถอนทหาร จัสแมคออกจากไทยในชวงการหารณรงคหาเสียงเลือกตั้งแตปลายป 2499 จนถึงปลายเดือน กุมภาพันธ 2500 ที่ผานนัน้ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเชื่อวา ทหารกลุมของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตอยูเบือ้ งหลังการใหขาวแกหนังสือพิมพฝา ยซายในการโจมตีความชวยเหลือทางการ ทหารที่สหรัฐฯใหกับไทย10 ตอมา เมื่อจอมพลสฤษดิ์ไดกลายเปนศูนยกลางของการตอตาน รัฐบาลจอมพล ป.และสหรัฐฯทําใหจอมพลสฤษดิ์ไดรับการสนับสนุนจากกลุมฝายซายอยางมาก อยางไรก็ตาม สิ่งที่เขาแสดงออกเพื่อหาการสนับสนุนทางการเมืองกับความตองการที่แทจริงของ เขานัน้ มีความแตกตางกันเห็นไดจาก เมื่อจอมพลสฤษดิ์ไดยื่นขอเรียกรองตอรัฐบาลวา เขามิได เรียกรองใหจัสแมคถอนทหาร เขาเพียงแตเรียกรองใหรัฐบาลลดงบประมาณทางการทหารเทานัน้ แตปรากฎวาการแถลงขาวในที่สาธารณะนั้น จอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารของเขากลับให สัมภาษณหนังสือพิมพ วา พวกเขาเรียกรองใหจัสแมคลดจํานวนเจาหนาที่ในประเทศไทยลง สถานทูตสหรัฐฯวิเคราะหวา การกระทําของสฤษดิ์และกลุมทหาร คือ ยุทธวิธที างการเมืองของ 8

NA, FO 371/129611, Adam to Tomlinson, 8 June 1957. จากรายงานใหขอมูลวา บุคคลอื่นๆที่ จะเขารวมเปนคณะรัฐมนตรี เชน ม.จ.วิวัฒนไชย เจาพระยาศรีธรรมธิเบศ กรมหมื่นนราธิปฯจะเปนรัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ สวนปวย อึ้งภากรณจะเดินทางกลับมาจากอังกฤษเพื่อรับตําแหนงในคณะ รัฐมนตรีชุดใหม 9 สยามนิกร, 9 มิถุนายน 2500. 10 หจช.(3)สร. 0201.13.1/27 กลอง 4 แถลงการณสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่องคาใชจายตามความตก ลงวาดวยการชวยเหลือทางการทหาร ระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหรัฐฯ(17-26 มิถุนายน 2500), บันทึกของ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ถึงนายกรัฐมนตรี 18 มิถุนายน 2500 และ แถลงการณ เรื่องคาใชจายตามความตกลง คาใชจายตามความตกลงวาดวยการชวยเหลือทางการทหาร ระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหรัฐฯ18 มิถุนายน 2500


226

จอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารเพื่อแสวงหาความชืน่ ชอบจากสาธารณชนและการสนับสนุนจาก เหลานักการเมืองฝายซาย ความเคลื่อนไหวของกลุมทหารนี้สรางความไมพอใจใหกับจอมพล ป. เปนอยางมาก 11 การแสดงตนเปนปรปกษกับรัฐบาลและสหรัฐฯของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตทําใหเขาได รับความนิยมชมชอบจากปญญาชนและกลุมฝายซายมาก ตอมา เขาไดการสรางพันธมิตรกับ สมาชิกสภาผูแ ทนฯภาคอีสานฝายซาย ดวยการจัดตั้งพรรคสหภูมิขึ้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2500 เพื่อเปนฐานการเมืองของเขาภายในสภาผูแ ทนฯ เขาไดมอบหมายใหสกุ ิจ นิมานเหมินทร เปน หัวหนาพรรค โดยมีสงวน จันทรสาขา นองชายตางมารดาของเขาเปนเลขาธิการพรรคฯ และมี แกนนําสําคัญของพรรคฯ คือ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรภาคอีสานฝายซาย เชน ญาติ ไหวดี อารีย ตันติเวชกุล และสอิ้ง มารังกูร เปา หมายของพรรคฯ คือ การลมรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ทําลายพล ต.อ.เผา โจมตีซีโต และตอตานสหรัฐฯ 12 แมวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหารจะเลนบทตอตานสหรัฐฯอยางตอเนื่อง โดย พวกเขาใหสมั ภาษณตอสาธารณวา พวกเขาสนับสนุนใหจัสแมคถอนทหารออกจากไทย แต ในทางลับแลว ปรากฎวา เขาไดแสดงทาทีอยางลับๆแกพล.ต.อาร. ซี.พารทริค (R.C. Partridge) หัวหนาจัสแมคในไทยวา ขอเรียกรองตางๆของเขาที่มีตอ จัสแมคที่ปรากฎในที่สาธารณะนั้นไม เปนความจริง ดังบันทึกการสนทนาทีพ่ ล.ต.พารทริคที่ไดรายงานการในการสนทนากับจอม พลสฤษดิ์ครั้งสําคัญซึ่งทําใหสหรัฐฯเขาใจทาทีที่แทจริงของจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหาร ดัง รายงานในกลางเดือนกรกฎาคม 2500 พล.ต.พารทริคไดถามเขาที่บานสี่เสาเทเวศนวา “กองทัพบกตองการใหที่ปรึกษาทางการทหารของจัสแมคถอนตัวออกจากไทยหรือ ?” จอม พลสฤษดิ์ตอบวา “ ไม” ตอมา นายพลแหงกองทัพสหรัฐฯถามเขาอีกวา “กองทัพตองการใหจัส แมคลดขนาดลงหรือ?” จอมพลสฤษดิ์ ไมตอบคําถามแตกลาววา “ใหมาคุยกันวันหลัง” คําถาม สุดทายทีน่ ายพลคนดังกลาวถาม คือ “ทําไม[จอมพลสฤษดิ์]จึงใหสัมภาษณแกหนังสือพิมพวา ตองการใหจัสแมคถอนหรือลดกําลังทหารของสหรัฐฯในไทยลง” จอมพลสฤษดิ์ตอบวา “ขาวบน หนาหนังสือพิมพเชื่อถือไมได” 13 จากนัน้ บันทึกการสนทนาระหวางนายพลทั้งสองคนเกีย่ วกับทา 11

NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1955-1959 box 59, Theodore A. Tremblay to Secretary of State, 21 June 1957. 12 NARA, RG 59 Entry Thailand 1956-1958 box 3909, Bishop to Secretary of State, 5 August 1957. 13 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Memorandum for Record conversation between Major General R.C. Partridge and Field Marshal Srisdi on 16 July 1951; Bishop to Secretary of State, 31 July 1957.


227

ที่แทจริงของนายพลไทยถูกรายงานกลับไปยังกระทรวงการตางประเทศและกระทรวง กลาโหม สหรัฐฯ ซึง่ สะทอนใหเห็นวา สหรัฐฯรับทราบถึงการเลนบทการเมืองสองหนาของจอมพล สฤษดิ์ เพื่อหวังไดรับการสนับสนุนจากสังคม แตมิไดมีความตองการใหสหรัฐฯถอนทหารจริงตาม ที่เขา กลาวแกสาธารณะ สถานทูตอังกฤษในวอชิงตัน ดี.ซี. รายงานวา ความคิดเห็นของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯตอรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามวา รัฐบาลไทยกําลังคอยๆ ปรับนโยบายตางประเทศ เนื่องจาก ความจําเปนทางการเมืองภายในที่รัฐบาลจะตองรักษาอํานาจและผูนาํ ไทยตีความ สถานการณระหวางประเทศดวยมุมมองที่มีความลังเลสงสัยในความชวยเหลือจากสหรัฐฯตอ ไทยในการตอตานอิทธิพลของจีนสงผลใหรัฐบาลเริ่มเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศ เห็นได จาก การที่รัฐบาลยินยอมใหคณะผูแทนไทยหลายคณะเดินทางไปจีน การเปดสัมพันธทางการคา กับจีน การยินยอมใหภาพยนตจีนเขามาฉายในไทย รวมทั้ง การเปดโอกาสใหพนู สุข พนมยงค ภริยาของปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทยพรอมการประกาศวาปรีดีจะกลับไทย การ เพิกเฉยตอบทบาทของหนังสือพิมพสว นใหญที่กระตุนใหคนไทยตอตานสหรัฐฯ ซีโตและเรียกรอง ใหไทยมีนโยบายตางประเทศที่เปนกลาง ตลอดจน รัฐบาลนิรโทษกรรมใหกับอดีตนักโทษทาง การเมืองซึ่งสวนใหญเปนพวกฝายซายและคอมมิวนิสตใหออกมาจากที่คุมขัง จากตัวอยางการ ดําเนินการทั้งหลายเหลานี้ของรัฐบาล สถานทูตอังกฤษไดรายงานทาทีของกระทรวงการตาง ประเทศ สหรัฐฯทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.วา สหรัฐฯ ไมพอใจการเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทย มากและมีความตองการให“นโยบายตางประเทศของไทยกลับไปสูสงิ่ ทีถ่ ูกตองตามที่สหรัฐฯ ตองการ”14 9.4 การรุกทางการเมืองของจอมพลสฤษดิ์ และ“กลุมรอยัลลิสต” กับ การสรางพันธมิตร ระหวางรัฐบาลกับคณะราษฎร ชวงของการตอสูทางการเมืองที่ปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในกลางเดือน สิงหาคม 2500 จอมพล ป. พยายามจํากัดฐานอํานาจทางเศรษฐกิจของพล ต.อ.เผา ศรียานนท และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ดวยมติคณะรัฐมนตรีที่ใหรฐั มนตรีทุกคนถอนตัวออกจากธุรกิจ การคาของรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชน แตจอมพลสฤษดิ์ไมยอมปฏิบัติตาม เขาไดนํากลุม ทหาร 14

NA, FO 371/129611, A.J. de La Mare to Tomlinson, 7 July 1957. เดอ ลาแมร เปนทูตอังกฤษ ประจําสหรัฐฯไดเขาพบเจาหนาที่ระดับสูงของกระทรวงการตางประเทศสหรัฐฯที่วอชิงตัน ดี.ซี. ตอมา เขาได รายงานทาทีของเจาหนาที่สหรัฐฯกลับไปยังลอนดอน; Snellgrove to Foreign Office,United States views about The Prospect in Thailand, 31 July 1957.


228

ทหารหรือคายสี่เสาเทเวศน ซึ่งเปนกลุมทหารที่สนับสนุนเขาลาออกจากคณะรัฐมนตรี โดยเขาได ลาออกจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเมื่อ 20 สิงหาคม แมเขาใหสัมภาษณปฏิเสธวา การ ลาออกของเขาไมเกี่ยวของกับการใหรัฐมนตรีถอนตัวออกจากธุรกิจของรัฐและเอกชน แตเกิดจาก ความไมพอใจรัฐบาลเพียงเทานั้น สวนจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนท แกนนํา ของคายราชครูยินยอมถอนตัวออกจากธุรกิจ โดย พล ต.อ.เผาไดทําตามความตองการของ จอมพล ป. ดวยการประกาศถอนตัวออกจากการคา เพื่อดํารงตําแหนงอธิบดีตํารวจและรัฐมนตรี มหาดไทยตอไป จากนัน้ กลุม ตํารวจมีการเตรียมความพรอมเพื่อตอบโตความเคลื่อนไหวจาก กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ทันที 15สถานทูตสหรัฐฯรายงานในปลายเดือนสิงหาคมวาจอมพล ป. พยายามแกปญ  หาการคอรรับชั่นที่เกิดขึ้นภายในรัฐบาลซึ่งมีผลกระทบใหเกิดความแตกแยก ภายในรัฐบาล เนื่องจาก เขามีความตองการจํากัดอิทธิพลของจอมพลสฤษดิ์ และควบคุม พล ต.อ.เผาเพื่อสรางความมั่นคงภายในรัฐบาล16 ในขณะเดียวกัน “กลุมรอยัลสิ ต”ไดเปดการรุกทางการเมืองตอรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามดวยการอภิปรายทัว่ ไปในปลายเดือนสิงหาคม 2500 (26-27 สิงหาคม)โดยพรรคฝาย คานที่นาํ โดยพรรคประชาธิปตย เปนผูเสนอญัตติ ขอกลาวหาหนึง่ ตอรัฐบาล คือ รัฐบาลจอมพล ป. ไมสามารถรักษากฎหมายบานเมืองเปนเหตุใหเกิดความไมสงบเรียบรอยและไดมีการหมิ่น 15

หจช.คค. 0201.1.1 กลอง 13 บันทึกการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 23/2500(14 สิงหาคม 2500).;สารเสรี, 21 สิงหาคม 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State , 20 August 1957.; John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. มติ คณะรัฐมนตรีเมื่อ 14 สิงหาคม 2500 ใหรัฐมนตรีถอนตัวจากองคกรธุรกิจทั้งรัฐบาลและเอกชน โดยรัฐมนตรีที่ ลาออกมีดังนี้ จอมพลผิน ชุณหะวัณ รัฐมนตรีเกษตร พล ต.ท.ละมาย อุทยานานนท รัฐมนตรีชวยกระทรวง เกษตรและสหกรณ พล ต.อ.เผา ศรียานนท รัฐมนตรีมหาดไทย หลวงบูรณกรรมโกวิท รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงมหาดไทย พล.ท.บัญญัติ รัฐมนตรีวาการะทรวงคมนาคม ลาออกจากตําแหนงประธานกรรมการ กรรมการของ องคการธุรกิจและบริษัทของรัฐกวา 20 แหง(เชา, 31 สิงหาคม 2500) หลังสิ้นสุดระยะเวลาให รัฐมนตรีลาออกจากการคาแลว จอมพล ป. พิบูลสงครามสั่งการใหรัฐมนตรีและการคาแยกกันเด็ดขาด เขาเห็น วา ตําแหนงรัฐมนตรีเปนตัวแทนประชาชน ไมควรยุงเกี่ยวกับการคา และสั่งการใหทุกหนวยงานดําเนินการ แกไขกฎระเบียบที่กําหนดใหรัฐมนตรีตองดํารงตําแหนงประธาน ผูอํานวยการในรัฐวิสาหกิจทั้งหมด เพื่อมิให รัฐมนตรียุงเกี่ยวกับการคาอีก(สยามนิกร, 1 กันยายน 2500) ธุรกิจของคายราชครูในกิจการอุตสาหกรรม การเงินและการคา มีมูลคารวม 266 ลานบาท สวนธุรกิจของคายสี่เสาเทเวศนในอุตสาหกรรม การเงินและ การคา มีมูลคารวม 305.5 ลานบาท (Kevin Hewison, Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand, [Connecticut: Yale University, 1989], p. 82.; สังศิต พิริยะรังสรรค, ทุนนิยมขุนนาง ไทย พ.ศ. 2475-2503, หนา 245-253, 262-268. 16 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 31 August 1957.


229

พระบรมเดชานุภาพขึน้ ในประเทศ17 การอภิปรายในสภาผูแ ทนฯของพรรคประชาธิปตยมีการ หยิบยกประเด็นการอภิปรายขอกลาวหานี้วา หนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดมีการลง ขอความโจมตีสถาบันกษัตริยในหนังสือพิมพวา พระมหากษัตริยท รงใหเงินสนับสนุนพรรค ประชาธิปตยจํานวน 700,000 บาทและรัฐบาลเตรียมการจับกุมพระองค 18 สําหรับการรับมือความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ ในสายตาของเทพ โชตินุชิต หัวหนาพรรคเศรษฐกรซึ่งเปนพรรคฝายซายนัน้ เขาเห็นวา จอมพล ป.และพล ต.อ.เผา ศรียานนท มีแผนการโตกลับ”ฝายศักดินา” ดวยการสรางพันธมิตรกับกลุมแรงงาน แต “จักวรรดินิยมสหรัฐฯ” คัดคาน ทําใหรัฐบาลอยูในภาวะ“กลืนไมเขา คลายไมออก” จากนัน้ รัฐบาลและกลุมแรงงานจึง ติดตอกับแบบ“ใตดิน” สวน“ฝายศักดินา”นั้น เขาเห็นวา “กลุมรอยัลลิสต”ตองการกลับไปสูการ ปกครองทีพ่ วกเขามีอํานาจแบบเดิม โดยมีพรรคประชาธิปตยใหการสนับสนุน แมพรรค ประชาธิปตยพยายามทําตนเปนฝายคาน แตเขาเห็นวา พรรคประชาธิปตยคานเพือ่ ใครและทําสิ่ง ใด ตอไปประชาชนก็อาจจะรู 19 ตอมา พล ต.อ.เผาไดรวมมือกับสมาชิกสภาผูแทนฯจํานวน 1214 คนที่มาจากพรรคเศรษฐกรและเสรีประชาธิปไตยซึง่ เปน “กลุมปรีดี” เตรียมการจัดตั้งพรรค การเมืองที่เปน“สังคมนิยมปกขวา” ใหสนับสนุนรัฐบาล20 นอกจาก การที่พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดประสานงานสรางพันธมิตรกับกลุมแรงงานและ นักเมืองฝายซายแลว ในตนเดือนกันยายน 2500 กอนที่เขาจะถูกรัฐประหาร เขาไดหนั ไปหา คณะราษฎร ดวยการชักชวนสมาชิกคณะราษฎรใหกลับมาสูการเมืองอีกครั้งขึ้น โดยพล ต.อ.เผา ไดเชิญพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรีสนทนากับเขาเปนการสวนตัว โดยหลัง การสนทนาครั้งนี้ พล ร.ต.ถวัลยไดเปดเผยวา การพบดังกลาวเปนเรื่องสวนตัว ไมอาจเปดเผยได แตไมใชเรื่องการคา21 จากนั้น พล ต.อ.เผาไดเชิญใหพล ร.ต.ถวัลย ดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษา ของพรรคเสรีมนังคศิลา ความเคลื่อนไหวในการสรางพันธมิตรกับคณะราษฎรของรัฐบาลนี้ จอม พล ป. พิบูลสงคราม ในฐานะนายกรัฐมนตรีไดยืนยันการรื้อฟนความสัมพันธระหวางตัวเขากับ 17

เปดอภิปรายทั่วไปเมื่อ 29 สิงหาคม 2500 รวม 2 วัน 2 คืน โดยพรรคประชาธิปตย และกลุมสหภูมิ ในที่สุดตองปฏิวัติ, (พระนคร: โรงพิมพประยูร, 2501). 18 รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก)และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500, หนา1023-1035.; “ไทยนอย” และกมล จันทรสร, วอเตอรลูของจอมพลแปลก, หนา 67-68. 19 ชาวไทย, 29 สิงหาคม 2500. 20 NARA, RG 84 Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, R.G. Cleveland to Secretary of State, 4 September 1957. 21 ไทรายวัน, 6 กันยายน 2500.


230

คณะราษฎรวา เขาไดเคยพยายามชักชวนพล ร.ต.ถวัลยใหเขารวมรัฐบาลของเขาหลายครั้งแลว22 ตอมา จอมพล ป. และพล ต.อ.เผา มีแผนในการจัดตั้งพรรคการเมืองขนาดเล็กเพือ่ ทอนกําลังทาง การเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยในสภาผูแทนฯลง โดยจอมพล ป.ไดให สัมภาษณวา เขาไดชวนพล ร.ต.ถวัลย และดิเรก ชัยนาม สมาชิกคณะราษฎรมาเขารวมพรรค เสรีมนังคศิลาดวย23 นอกจากนี้ พล ต.อ.เผากลาวถึงความพยายามฟน ความสัมพันธกับ คณะราษฎรเพื่อตอตาน “กลุมรอยัลลิสต”วา แมเขาไมใชสมาชิกคณะราษฎรแตเขาสนับสนุน จอมพล ป.ในการตอตานความเคลื่อนไหวทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” มานานหลายป อีก ทั้ง เขามีบทบาทในฐานะผูป ระสานงานการติดตอระหวางจอมพล ป.กับปรีดี พนมยงคดวย 24 การพยายามพิสูจนความบริสุทธิ์ในคดีสวรรคตใหปรีดีของพล ต.อ.เผานัน้ เขาไดเปดเผยกับ สถานทูตสหรัฐฯวา “รัฐบาลไมมีหลักฐานที่เอาผิดกับนายปรีดีในฐานะที่เกีย่ วของกับการสวรรคต ได” เขากลาววา ที่ผา นมาปรีดียังคงติดตอกับพล ร.ต.ถวัลยและดิเรกอยูเสมอ ปรีดีตอ งการใหมี การพิจารณาคดีของเขาขึ้นมาใหมและตองการใหรัฐบาลออกพระราชบัญญัติที่สามารถทําใหคดี นี้มีความคืบหนาขึ้นอีกครั้ง25 ดังนัน้ ประเด็นการรื้อฟน คดีสวรรคตขึ้นมาใหมอกี ครั้งจึงเปนเสมือนจุดแตกหักระหวาง รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต” กับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต หลังจากมีการอางกระแสขาววา รัฐบาลเตรียมการจับกุมพระมหากษัตริยในการเปดอภิปรายไม ไววางใจในการประชุมสภาผูแทนฯตัง้ แตปลายเดือนสิงหาคม ไมกวี่ ันหลังจากนัน้ เมือ่ 6 กันยนยน 2500 หรือเพียงราว 10 วันกอนการรัฐประหารที่จะเกิดขึ้น จอมพล ป.ไดปฏิเสธขาว 22

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3911, Bishop to Secretary of State, 10 September 1957. 23 สยามนิกร, 13 กันยายน 2500 24 NARA, RG 84 Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, R.G. Cleveland to Secretary of State, 4 September 1957.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Eric Kocher to Robertson, Summary of Conversation with General Phao, 4 November 1957. 25 NARA, RG 84 Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, R.G. Cleveland to Secretary of State, 4 September 1957. ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา กอนหนาที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตจะทําการรัฐประหาร เมื่อ 16 กันยายน 2500 ไมนาน จอมพลป. พิบูลสงครามไดติดตอกับปรีดี พนมยงคในจีนเพื่อการรื้อฟนคดี สวรรคตขึ้นมาพิจารณาใหมนั้น มีความคืบหนาเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยจอมพล ป.มอบหมายใหสังข พัธโนทัย คนสนิทของเขาเปนผูดําเนินการฝากขอความแกทนายความ 2 คนเปนผูรับผิดชอบคดีสวรรคตใหกับปรีดี เดินทางไปพบปรีดีที่จีนเมื่อเดือนสิงหาคม 2500 หลังคณะทนายความเดินทางกลับมาไทยในตนเดือน กันยายน เพียงสองสัปดาหหลังจากนั้นก็เกิดการรัฐประหาร (สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง, หนา 31-35,78).


231

เตรียมการจับกุมพระมหากษัตริย และในวันเดียวกันนั้นเอง จอมพลสฤษดิ์ไดประกาศลาออกจาก รองหัวหนาพรรคเสรีมนังคศิลาและกลาววา เขา“ไมอดทนกับแผนการตอตานกษัตริย” ของจอม พล ป.และพล ต.อ.เผา26 ตอมา จอมพลสฤษดิ์ ไดปฏิเสธการเขาการประชุมของจอมพล 4 คนที่ รวมตกลงกันเพื่อจับกุมพระมหากษัตริย และเขาไดปฏิเสธความเปนไปไดที่รัฐบาลจะเชิญพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์กลับมารวมงานในรัฐบาลอีก27 สําหรับผลกระทบจากขาวทีถ่ ูกเปดเผย ในสภาผูแทนฯที่วา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและควง อภัยวงศรับเงิน 700,000บาทจากพระมหา กษัตริยเพื่อใหพรรคประชาธิปตยใชเปนทุนทางการเมืองนัน้ สงผลให ม.ร.ว.เสนีย ตองการลาออก จากรอพรรคฯ แตควงในฐานะหัวหนาพรรคฯไมอนุญาต และในชวงเวลาดังกลาว ชาวไทยอาง รายงานขาวจาก สเตรทไทมส( Strait Times) วา จอมพลสฤษดิ์เตรียมกอการรัฐประหารโดยมี แผนใหควง อภัยวงศเปนนายกรัฐมนตรี28 ตนเดือนกันยายน 2500 เมือ่ การตอสูทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ”กลุมปรีดี” กับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต” และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตได เดินทางมาใกลถึงจุดแตกหักนัน้ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดแสดง ทาทีที่แตกตางไปจากความตองการของบิชอป ทูตสหรัฐฯในไทย โดยดัลเลสไดมีบันทึกถึงบิชอป ที่ไดเรียกรองใหสหรัฐฯทบทวนความชวยเหลือทุกโครงการที่ใหไทยหากจอมพลสฤษดิ์กาวขึน้ มา เปนนายกรัฐมนตรี แตดัลเลสมิไดตอบสนองขอเรียกรองของบิชอปในประเด็นดังกลาว แตกลับ เนนประเด็นเสถียรภาพทางการเมืองของไทยเปนสําคัญ และดัลเลสแจงตอบิชอปอีกวา บิชอป ยอมรูดีวา สหรัฐฯตองการสนับสนุนและสงเสริมใหเกิดเสถียรภาพทางการเมืองในไทย แตรัฐบาล ของจอมพล ป. ไมสามารถตอบสนองตอความตองการของสหรัฐฯได อีกทัง้ รัฐบาลไทยตองการให ไทยถอนตัวออกจากซีโต และมีแนวโนมความสัมพันธที่พยายามใกลชิดกับจีน นอกจากนี้ ดัลเลส

26

ขาวพาณิชย, 6 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 27 ชาวไทย, 8 กันยายน 2500. ในชวงเวลาดังกลาว มีจอมพลในกองทัพไทยอยู 5 คน คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพล ผิน ชุณหะวัณ จอมพลเรือหลวงยุทธศาสตรโกศล จอมพลอากาศฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต จากการเปดเผยในการประชุมสภาผูแทนฯในปลายเดือนสิงหาคม 2500 ถึงการประชุม 4 จอมพล เพื่อจับกุมพระมหากษัตริยนั้น การประชุม 4 จอมพลดังกลาวนั้น จอมพล ป. มิไดเขา รวมประชุมดวย(โปรดดู รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก)และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500, หนา1023- 1035). 28 ชาวไทย, 8 กันยายน 2500. ส.ส.ของพรรคสหภูมิ นายทหาร ขาราชการ พอคาบางคนไปพบจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชตที่บานสี่เสาเทเวศนในชวงเชาวันนั้น โดยมีกลุมพอคาจีนนั้น นําโดยสหัส มหาคุณ นายก สมาคมพอคาจีน (สยามรัฐ, 8 กันยายน 2500).


232

ไดประเมิณสถานการณการตอสูทางการเมืองในไทยวา จอมพลสฤษดิ์มีความเปนไปไดที่จะไดรับ ชัยชนะในการตอสูครั้งนี้ 29 จากนั้น สหรัฐไดสงเจาหนาที่ระดับสูงของกระทรวงการตางประเทศมาเยือนไทยเพือ่ โนม นาวใหไทยหันกลับสูเสนทางที่สหรัฐฯตองการ ในตนเดือนกันยายน 2500 คริสเตียน เอ. เฮอร เทอร(Christian A. Herter) ปลัดกระทรวงการตางประเทศและเจมส พี. ริชารด เจาหนาที่ระดับ สูงในกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดเดินทางมาแวะสนทนากับพระมหากษัตริย การสนทนา ในวันนัน้ ในรายงานฉบับดังกลาวบันทึกวา นับเปนครัง้ แรกที่พระองคไดทรงถกเถียงปญหาการ เมืองไทยกับเจาหนาที่ระดับสูงที่มาจากสหรัฐฯ จากนัน้ เฮอรเทอรไดเขาสนทนาพบกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยจอมพล ป.ในฐานะนายกรัฐมนตรีไดพยายามอธิบายถึงปญหาของรัฐบาลที่ ไดรับแรงกดดันจากพรรคการเมืองฝายคานและฝายซาย ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงระหวาง ประเทศหลายประการ แตเฮอรเตอร มิไดกลาวตอบสนองสิ่งที่จอมพล ป.พรรณนามา แตเฮอร เทอรกลาวยืนยันแตเพียงนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯที่ตอตานจีน 30 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ในชวงเวลาดังกลาวนี้ สหรัฐฯเลือกที่จะใหความสําคัญกับสถาบันกษัตริยมากกวาการพยายาม เขาใจปญหาของรัฐบาลโดยสหรัฐฯยังคงยืนยันการตอตานจีนตอไปในขณะที่ไทยพยายามเปด ไมตรีกับจีน กลางเดือนกันยายน 2500 ไมกี่วนั กอนการรัฐประหาร สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหารมีความมัน่ ใจในการไดรับความสนับสนุนจากสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” อีกทั้งการไดรับความสนับสนุนจากจัสแมค ทําใหพวกเขามีความ มั่นใจมากยิง่ ขึน้ สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ความัน่ ใจดังกลาวของกลุมทหารถือเปนจุดเปลี่ยนที่ สําคัญที่ทาํ ใหพวกเขายกระดับการตอตานรัฐบาลอยางฉับพลันดวยการถอนตัวออกจากพรรค เสรีมนังคศิลาซึ่งถือเปนการแยกตัวออกจากรัฐบาลอยางชัดเจน นอกจากนี้ สถานทูตสหรัฐฯได รายงานตออีกวา ภายใตรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ “กลุมรอยัลลิสต”มี“ความขม 29

NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Dulles to Bangkok, Possibility f Field Mashal Sarit’s Acession to Power, 3 September 1957. 30 “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State, 9 September 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.930-931.; NARA , RG 59 General Records , Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Dulles to Bangkok , 25 September 1957. ผูเขียนยังคน ไมพบหลักฐานเกี่ยวกับบันทึกการสนทนาระหวางเฮอรเทอรกับพระองค อยางไรก็ตาม ควรบันทึกดวยวา ตอมา ฮอรเทอรไดเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศในรัฐบาลของประธานาธิบดีไอเซนฮาวร ถัดตอจาก ดัลเลสที่ถึงแกอสัญกรรมไป โดยเขาไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศในชวงที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเสด็จเยือนสหรัฐฯในป 2503


233

ขื่น”และเปน“ปรปกษ” กับจอมพล ป. จึงทําใหพวกเขาตัดสินใจใหการสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ แมขณะนั้น พวกเขาจะมองจอมพลสฤษดิ์ดวยสายตาระแวดระวังดวยเชนกัน เนื่องจาก จอม พลสฤษดิ์เปนพันธมิตรทางการเมืองกับพวกฝายซายและพวกนิยมคอมมิวนิสต31 ตอมา 10 กันยายน เพียงหกวันกอนการรัฐประหาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดเปดการ รุกทางการเมืองดวยการดึงสมาชิกสภาผูแ ทนฯฝายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามใหถอนตัว จากการสนับสนุนรัฐบาลเพือ่ ทําใหรัฐบาลขาดเสถียรภาพสงผลใหจอมพล ป.เรียกประชุม สมาชิกสภาผูแ ทนฯประเภท 1 และ 2 ของพรรคเสรีมนังคศิลาทั้งหมดเพื่อยับยัง้ การลาออกไป สังกัดพรรคสหภูมิของจอมพลสฤษดิ์ โดยจอมพล ป.ใหสัมภาษณกับสยามนิกรวา “ขอใหเลน การเมืองกันอยางเปดเผย อยาใชกาํ ลังทําลายกัน”32 ในวันเดียวกันนัน้ สถานทูตสหรัฐฯได รายงานวา จอมพลสฤษดิ์ไดเรียกประชุมกลุมทหารของเขาและประกาศ 2 ยุทธวิธีในการโคนลม รัฐบาลจอมพล ป.วา วิธีแรก คือ กลุม ทหารของเขาทัง้ หมดลา ออกจากสมาชิกสภาผูแทนฯ ประเภท 2 และวิธที ี่สองนัน้ หากมีความจําเปนเขาจะใชกําลังกําจัดพล ต.อ.เผา33 ทันทีที่ จอม พลสฤษดิ์ประกาศทาทีแข็งกราวตอรัฐบาล ในชวงเวลานัน้ ควง อภัยวงศ แกนนํา“กลุมรอยัล ลิสต” และหัวหนาพรรคประชาธิปตยไดการประกาศสนับสนุนการลาออกจากสมาชิกสภาผูแทน ราษฎร ประเภท 2 ของกลุมทหารวา การกระทําดังกลาวเปนสิ่งที่ถกู ตองซึ่งจะทําใหรฐั บาลตอง เผชิญกับปญหาเสถียรภาพทางการเมืองอยางรุนแรง โดยหนังสือพิมพขณะนัน้ ไดรายงานวา พรรคประชาธิปต ยไดเรียกประชุมลับเตรียมความพรอมของสมาชิกสภาผูแทนฯจํานวน 20 คน โดยไมมีการแถลงขาวเกีย่ วกับการประชุมลับครั้งนี้ 34 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมคี วามมัน่ ใจในความเปนตอใน การตอสูกับรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ดวยการกระดับการกดดันขึ้นไปสูการ“ขมขู”ให นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี และพล ต.อ.เผา ศรียานนทลาออกภายใน 13 กันยายน 2500 แต จอมพล ป. ปฏิเสธคําขูของจอมพลสฤษดิ์ แตเขายินยอมแตเพียงการปรับคณะรัฐมนตรีเทานัน้ จากนั้น จอมพลสฤษดิ์ ไดกลาววิจารณการบริหารงานของรัฐบาล โดยกลุมทหารไดนําประเด็น การหมิน่ พระบรมเดชานุภาพทีพ่ รรคประชาธิปตยซงึ่ เปนพันธมิตรของพวกเขาไดเคยเปดประเด็น อภิปรายในสภาผูแทนฯแลวนัน้ ใหกลับมาเปนประเด็นสาธารณะอีกครั้ง รวมทั้งนําระเด็นการ 31

NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 11 September 1957. 32 สยามนิกร, 12 กันยายน 2500. 33 สยามนิกร, 12 กันยายน 2500.; ขาวพาณิชย, 12 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 34 สยามรัฐ, 12 กันยายน 2500.; สยามรัฐ, 13 กันยายน 2500.; สยามนิกร, 14 กันยายน 2500.


234

อภิปรายอื่นๆที่พรรคประชาธิปตยวิจารณในสภาผูแทนฯเพื่อใชทําลายความชอบธรรมของรัฐบาล 35 สถานทูตสหรัฐฯไดรับรายงานขาวจากแหลง ขาวในกองทัพไทยวา จอมพลสฤษดิย์ ังไม ตัดสินใจรัฐประหาร แตหนวยงานตางๆภายใตการสั่งการของกลุมทหารมีการเตรียมพรอมแลว 36 ตอนบายของวันเดียวกันนั้น กลุมตํารวจของพล ต.อ.เผาไดมีการเตรียมพรอมรับมือกับความ เคลื่อนไหวของกลุมทหารดวยการสงตํารวจนอกเครื่องแบบเฝาสังเกตการณทหี่ นากองพลที่ 1 รวมทัง้ การเตรียมเรือและเฮลิคอปเตอรของกลุมตํารวจเพื่อปฏิบัติการตอตานกลุมทหาร ในขณะ ที่ กลุม ทหารของจอมพลสฤษดิ์มีความเคลื่อนไหวอยางคึกคัก พวกเขาไดประชุมกันที่หอประชุม กองทัพภาคที่ 1 ในเวลาค่ําของวันเดียวกันนั้นเอง การประชุมดังกลาว นําโดยจอมพลประภาส จารุเสถียร พวกทหารในคายสี่เสาเทเวศนของจอมพลสฤษดิ์ไดเรียกรองใหพล ต.อ.เผาลาออก จากทุกตําแหนง แตพล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ สมาชิกของคายราชครู ผูเปนบุตรชายของจอมพล ผิน ชุณหะวัณและนองภรรยาของพล ต.อ.เผา ศรียานนท ไดโตแยงในที่ประชุมวา การยื่นคําขาด ตอรัฐบาล เชนนี้ คือ การกบฎ37 อยางไรก็ตาม คําคัดคานจากพล.อ.ชาติชายไมสามารถทําให ความตองการของคายสี่เสาเทเวศนยุติลงได ตอมา จอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารมิไดเรียกพล อ. ชาติชายใหรับรูปฏิบัติการของพวกเขาอีกตอไป ทั้งนี้ บิชอป ทูตสหรัฐฯไดรายงานถึงสถานการณ ชวงหัวเลีย้ วหัวตอกอนการลมสลายของรัฐบาลจอมพล ป.วา จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” มีแผนที่เตรียมการมาเปนอยางดี 38 35

สารเสรี, 14 กันยายน 2500.; ไทรายวัน, 14 กันยายน 2500. 36 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 11 September 1957. 37 สารเสรี, 14 กันยายน 2500.; ไทรายวัน, 14 กันยายน 2500.; ผิน ชุนหะวัณ, ชีวิตกับเหตุการณ, (พระนคร: โรงพิมพประเสริฐศิริ, 2513), หนา 109. ทั้งนี้ ภายในคายสี่เสาเทเวศนนั้น มีนายทหารบางคนยังคง ภักดีกับคายราชครูอยู แตไมกลาเปดเผยตัว นายทหารคนนี้คาดวาเปนพล อ.กฤษณ สีวะรา เขาไดสงจดหมาย ลับถึงพล ต.อ.เผา ศรียานนทวา “ลับที่สุด กราบพี่เผาที่เคารพ กระผมกราบขอรอง 2 ขอ 1 อยาลาออกจาก อธิบดีตํารวจเปนอันขาด 2 อยาลาออกจากเลขาธิการคณะรัฐประหาร และพรรคเสรีมนังคศิลา พี่เผากรุณาเชื่อ ผม พวกเด็กๆที่เปนสมาชิกรป.[คณะรัฐประหาร]ยังเคารพรักพี่เผาอยู กระผมสนับสนุนพี่เผาแนนอน พ.อ.เกรียง ไกร[อัตตะนันทน]ที่มาเปนผบ.ร.1 รอ.คนใหมก็เปนอันหนึ่งอันเดียวกับผม และเปนเด็กของคุณปาผิน กระผม เปนคนเสนอเขามาเอง ฉะนั้น กระผมควบคุมได กรุณาอดทน การเมืองไทยเปนอยางนี้เอง และกระผมกราบ ขอรองพี่เผาอยาดื่มมากนัก เพราะสุขภาพจะทรุดโทรมและขาดความรอบครอบ ที่กราบมานี้ดวยความเคารพ และหวังดีจริงๆเคารพ ก.” (เสถียร จันทิมาธร, ชาติชาย ชุณหะวัณ ทหาร‘นัก’ประชาธิปไตย, [กรุงเทพฯ: มติชน, 2541], หนา 143-144). 38 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 13 September 1957.


235

ไมแตเพียง คายสี่เสาเทเวศนของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตจะเคลื่อนไหวกดดันรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงครามเทานั้น เมื่อ13 กันยายน 2500 “กลุมรอยัลลิสต” ไดมีความเคลื่อนไหวที่ บริเวณสนามหลวงเพื่อสรางกระแสความเกลียดชังใหเกิดกับรัฐบาลจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา คูขนานไปดวย โดยกิตติศักดิ์ ศรีอําไพ นักไฮดปารคที่พรรคประชาธิปตยใหการสนับสนุนการ ปราศัยขับไลจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา ไมแตเพียงเทานั้น กลุมฝายซายไดกลายเปนแนวรวม มุมกลับใหกับจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” ดวย ชวน รัตนวราหะ นักไฮดปารคจากพรรค แนวรวมสังคมนิยมไดปราศัยสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ และวิจารณรัฐบาลทําใหประชาชนที่มารับ ฟงการปราศัยที่สนามหลวงไดเคลื่อนตัวไปลอมทําเนียบรัฐบาล ทําใหเกิดการปะทะกันระหวาง ตํารวจกับฝูงชน เมื่อพวกเขาเขาไปในทําเนียบฯได มีการรองตะโกนวา “ประชาชนชนะแลว” “ทําเนียบของเรา” “นี่คือบานของเรา” “เอาเผาไปแขวนคอ” “จอมพล ป. ออกไป สฤษดิจ์ งมาหา ประชาชน” จากนัน้ พวกเขาไดเดินทางไปพบจอมพลสฤษดิ์ ที่บานสี่เสาเทเวศน 39 สถานทูต สหรัฐฯไดประเมินสถานการณทางการเมืองวา จอมพลสฤษดิ์ไดรับความนิยมทางการเมืองมาก กวาพล ต.อ.เผา เนื่องจากเขาไดมีการดําเนินการสรางพันธมิตรทางการเมืองกับ “กลุมรอยัล ลิสต”และพวกฝายซายมากอนหนานี้แลว 40 9.5 จากการเมืองสามเสา สูการเมืองสองขั้ว: รัฐบาลจอมพล ป. กลุมตํารวจและ“กลุม ปรีดี” กับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต” และกลุม ทหาร นับตั้งแตราวกลางทศวรรษ 2490 ความขัดแยงทางการเมืองไทยตั้งอยูบนความสัมพันธ เชิงแขงขันทางการเมืองระหวางจอมพล ป. พิบูลสงครามกับ กลุม ตํารวจและกลุมทหารหรือ การเมืองสามเสา โดยทั้งพล ต.อ.เผา ศรียานนท ผูน ํากลุม ตํารวจและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ผูนํากลุม ทหารตางไดรับความชวยเหลือทางการทหารจากสหรัฐฯยิง่ ทําใหทั้งสองขุนศึกมีความ เขมแข็งมากขึน้ อันทําใหความขัดแยงแขงขันระหวางขุนศึกทั้งสองเพิ่มสูงตามไปดวย อีกทัง้ พล ต.อ.เผาไดเคยแสดงทาทีทะเยอทยานทางการเมืองทําใหจอมพล ป. ไมไววางใจและไดเคย รวมมือกับจอมพลสฤษดิ์ในการพยายามทําลายอํานาจทางการเมืองของพล ต.อ.เผาลง แตเมื่อ สถาบันกษัตริยและ”กลุมรอยัลลิสต”ทาทายอํานาจทางการเมืองของรัฐบาลและการที่จอม พลสฤษดิ์แสวงหาการสนับสนุนจากสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” ทําใหจอมพล ป.หัน กลับมารวมมือกับพล ต.อ.เผารื้อฟนความสัมพันธกับ“กลุมปรีดี” เพือ่ ตอสูกับความเคลื่อนไหว 39

พิมพไทย, 16 กันยายน 2500.; สารเสรี, 16 กันยายน 2500. NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 40


236

ทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” ทําใหความขัดแยงทางการเมืองไทยในชวง ปลายทศวรรษ 2490 กลายเปนการตอสูร ะหวางการเมืองสองขั้ว คือ รัฐบาลจอมพล ป. กลุม ตํารวจและ“กลุมปรีดี” กับ สถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหาร ทัง้ นี้ สถานการณ ความขัดแยงทางการเมืองในชวงเดือนสุดทายของรัฐบาลจอมพล ป. นั้น ลอนดอน ไทมส (London Times)ไดวิเคราะหวา วิกฤติการณการเมืองของไทย เกิดขึ้นจากความขัดแยงระหวาง สถาบันกษัตริยกับรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจากจอมพล ป. สนับสนุนใหปรีดี พนมยงคกลับจากจีน มาไทยเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นใหม 41 สองวันกอนความขัดแยงระหวางสองขั้วการเมืองจะเดินไปสูความแตกหักดวยการ รัฐประหาร สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานสถานการณทางการเมืองของไทยขณะนัน้ วา จอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะผูน ํารัฐบาลไดเขาเฝาพระมหากษัตริยเมื่อ 15 กันยายนเพื่อขอรองให พระองคทรงไกลเกลี่ยความขัดแยงดวยการขอพระบรมราชานุญาตใหทรงเรียกพล ต.อ.เผา ศรียา นนทและจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตมาไกลเกลี่ยความขัดแยงรวมกับจอมพล ป.เพื่อรักษาเสถียร ภาพทางการเมืองใหกับรัฐบาลตอไป สถานทูตสหรัฐฯรายงานตอไปวา พระองคทรงปฏิเสธ ขอเสนอดังกลาวของจอมพล ป. ตอมา พล ต.อ.เผา แกนนําสําคัญของกลุมตํารวจ ไดรายงาน ขาวใหจอมพล ป. ทราบวา จอมพลสฤษดิ์แกนนําของกลุมทหารไดเคลื่อนยายหนวยทหารเขามา ภายในและรอบๆกรุงเทพฯเพื่อเตรียมการรัฐประหารแลว เมื่อจอมพล ป. ตองเผชิญหนากับการ ตอตานรัฐบาล เขาไมมีฐานกําลังอืน่ ใดในการตอตานการรัฐประหารนอกจากการพึง่ กําลังตํารวจ ของพล ต.อ.เผา ทําใหเขาตัดสินใจสนับ สนุนใหพล ต.อ.เผาดํารงตําแหนงอธิบดีกรมตํารวจตอไป จากนั้น พล ต.อ.เผาสัง่ การใหกําลังตํารวจพลรมทีห่ ัวหิน ประจวบคีรีขันธ เตรียเคลื่อนกําลังเขา กรุงเทพฯทําการตอตานการรัฐประหารของกลุมทหาร เนื่องจาก พล ต.อ.เผาไดรแู ผนกอการ รัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ และในเย็นวันนัน้ จอมพล ป. สั่งการใหพล ต.อ.เผาเตรียมการ จับกุมจอมพลสฤษดิ์และกลุม ทหารดวยขอหากบฏ ในตลอดคืนที่วกิ ฤตินั้น พล ต.อ.เผาไดสั่งการ กลุมตํารวจใหเคลื่อนกําลังตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนกําลังอยางลับๆเพื่อเตรียม การตอตานการรัฐประหารทีจ่ ะเกิดขึ้น42 ทามกลางสถานการณตึงเครียดในกรุงเทพฯ ทัง้ พล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตสั่งการใหกลุม ตํารวจและกลุมทหารเตรียมความพรอมในการเผชิญหนากัน สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา มีความเปนไปไดที่จะเกิดความรุนแรงจากการปะทะกันของกําลังทัง้ 41

หจช.กต. 80/189 กลอง 12 สรุปขาวจากรอยเตอร (2500). NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Eric Kocher to Robertson, Summary of Conversation with General Phao, 4 November 1957.; John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 42


237

สองฝาย โดยทาทีของจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารไมตองการการประนีประนอมกับรัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงครามอีกตอไป ในขณะที่ รัฐบาลและสมาชิกสภาผูแทนฯของพรรคเสรีมนังคศิลา สนับสนุนใหพล ต.อ.เผาจับจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารดวยขอหากบฎ สถานทูตสหรัฐฯรายงาน วา “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยผลักดันใหจอมพลสฤษดิ์เดินหนาแผนการรัฐประหาร ขับไลรัฐบาล 43 ในวันสุดทายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเรียกรองให จอมพล ป. มาพบเขาและกลุมทหารทีห่ อประชุมกองทัพบกในตอนเชา 16 กันยายน 2500 แต จอมพล ป.ปฏิเสธ เนื่องจาก เขารูวา จอมพลสฤษดิ์มีแผนจับตัวเขา44 เมือ่ จอมพล ป. ไมหลงกล ของจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหาร ทําใหพวกเขาตองเดินทางมาพบจอมพล ป.ที่ทําเนียบรัฐบาล พรอมยืนยันคําขาดใหรัฐบาลจอมพล ป.ทัง้ คณะลาออก แตเขาขอผลัดการใหคําตอบแกคําขาด ของกลุมทหารในวันรุงขึ้น จากนัน้ เขาเดินทางไปเขาเฝาพระมหากษัตริยอีกครั้ง โดยจอมพล สฤษดิ์ใหสัมภาษณถงึ การเขาเฝาดังกลาววา พระองคจะใหขอคิดดีๆแกจอมพล ป.45 ทัง้ นี้ จาก เอกสารของไทยและสหรัฐฯ ไดใหรายละเอียดในการเขาเฝาครั้งสําคัญกอนการรัฐประหารจะ เกิดขึ้น วา จอมพล ป. ไดขอพระบรมราชนุญาตใหทรงมีพระบรมราชโองการใหปลดจอม พลสฤษดิ์ฐานยื่นคําขูใหรัฐบาลลาออก แตทรงมีพระราชดํารัสกับจอมพล ป.วา “เอ ก็เห็นเขาเปน คนดีๆนี่นา” ทัง้ นี้ เอกสารของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานเรื่องราวดังกลาวตอ รักษาการรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐวา พระมหากษัตริยไทยไดทรงมีพระราช ดํารัสใหจอมพล ป.ปรึกษาจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารเพื่อการตัดสินใจทางการเมือง จากนั้น ทรงมีพระบรมราชวินจิ ฉัยใหจอมพล ป. ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี แตจอมพล ป.ปฏิเสธ เนื่องจาก เขาเห็นวา พระบรมราชวินิจฉัยตามวิธกี ารทีพ่ ระองคเสนอแกเขานัน้ ไมใชวิถที างตาม รัฐธรรมนูญ46

43

NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 15 September 1957. 44 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 45 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 16 September 1957.; ขาวพาณิชย, 17 กันยายน 2500.; สารเสรี, 17 กันยายน 2500.; สยามรัฐ, 17 กันยายน 2500. 46 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Howard P. Jones to Acting Secretary of State(Murphy), 17 September 1957.; ชาวไทย, 18 กันยายน 2500.; คําสัมภาณของ พล.ท. สุรจิต จารุ เศรณี แกนนําคณะปฏิวัติใน พยงค อรุณฤกษ, ยุคปฏิวัติ,(พระนคร: มานิตย ชินตระกูล, 2502), หนา 434 .


238

หลังการเขาเฝาพระมหากษัตริยแลว จอมพล ป. พิบูลสงครามออกจากการเขาเฝา พระมหากษัตริยดวยใบหนาที่เครงขรึม นักขาวที่ไดพบเห็นเขาขณะนั้นจึงไดสอบถามผลการเขา เฝาดังกลาว แมเขาปฏิเสธการใหรายละเอียดของพระราชดํารัส แตเขาไดประเมินลวงหนาไดวา จะเกิดอะไรขึ้นกับรัฐบาลของเขา จากนั้น จอมพล ป.ตัดสินใจที่จะตอตานการรัฐประหารของจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต ตอมา พล ต.อ.เผา ศรียานนทและกลุมตํารวจไดเขาประชุมเตรียมแผนการกับ จอมพล ป. จากนัน้ เขาเรียกประชุมสมาชิกสภาผูแทนฯประเภทที่ 1 ของพรรคเสรีมนังคศิลา โดย มี พล ต.อ.เผา ศรียานนท จอมพลผิน ชุณหะวัณ จอมพลอากาศฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี และ จอมพลเรือหลวงยุทธศาสตรฯเขารวมประชุมดวย47 ในอีกฝากหนึง่ ความเคลื่อนไหวของจอม พลสฤษดิ์และกลุมทหารไดมีการจัดประชุมกันที่กองพล 1 เวลา 15.00 น พวกเขาไดปรึกษาถึง แผนการตอบโตรัฐบาลที่สนับสนุนใหพล ต.อ.เผาและกลุมตํารวจเตรียมการจับพวกเขาฐาน ความผิดกบฎ 48 เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเตรียมการตอตานการรัฐประหารดวยการขอมติ จากที่ประชุมคณะรัฐมนตรีนัดพิเศษเพื่อตอตานการรัฐประหาร พล ต.อ.เผาเสนอใหใชตํารวจพล รม และตํารวจตระเวนชายแดนเปนกําลังหลักในการตอตานการรัฐประหาร และเมื่อกลุมทหาร จับรหัสวิทยุของกลุมตํารวจถอดความไดวา พล ต.อ.เผาสั่งการใหตํารวจตระเวนชายแดนทุกคาย และหนวยพลรมทุกหนวยเตรียมพรอมรอฟงคําสัง่ สถานทูตสหรัฐฯไดรบั รายงานจากแหลงขาวที่ เปนนายทหารไทยวา ขณะนัน้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหารลวงรูแผน การตางๆของ รัฐบาลและกลุม ตํารวจแลวเพียงแต กลุมทหารรอการตัดสินใจปฏิบัติการเทานัน้ 49 ในกลางดึก ของ 16 กันยายน เวลาราว 22.00 ที่คายนเรศวร หัวหินซึ่งเปนฐานของตํารวจพลรม กองกําลัง สําคัญของกลุม ตํารวจนัน้ ไดมีความเคลื่อนไหวเตรียมความพรอม โดยรถแลนดโรเวอรของตํารวจ

47

สยามนิกร, 17 กันยายน 2500.; สารเสรี, 17 สิงหาคม 2500.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พล เรือโท ประสงค พิบูลสงคราม ณ เมรุวัดพระศรีมหาธาตุ 5 กุมภาพันธ 2546,(กรุงเทพฯ: ไมปรากฎโรงพิมพ, 2546), หนา 129. 48 พยงค อรุณฤกษ, ยุคปฏิวัติ, หนา 413. การลาออกของส.ส. ประเภท 2 กลุมทหารของจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชตทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทในฐานะเลขาธิการพรรคเสรีมนังคศิลาไมพอใจมาก โดยพ.ต.อ. วิเชียร สีมันตระ ส.ส. กาญจนบุรีไดรวมสนับสนุนใหรัฐบาลจับกุมส.ส.ประเภท 2 ซึ่งเปนกลุมทหารฐานกบฎใน ราชอาณาจักร ในสถานการณนี้ พ.ต.อ.พุฒ บุรณสมภพไดสั่งการใหตํารวจเตรียมกําลังใหเตรียมพรอม ทั้ง อาวุธและกระสุนเพื่อตอตานการรัฐประหาร(พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ , 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 175). 49 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 20 September 1957.; พยงค อรุณฤกษ, ยุคปฏิวัติ, หนา 413-414.


239

ไดโบกธงสีเหลือง สงสัญญาณระดมพลทีห่ นาตลาดฉัตรชัย หัวหิน มีการแจกอาวุธปนกล ประจําตัว มีการเพิ่มเวรยามรักษาคายฯและรอฟงคําสัง่ ปฏิบัติการ50 สถานทูตสหรัฐฯ ไดรายงานฉากสุดทายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเมื่อวลา 23.00 ของ 16 กันยายนวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตอาจกอการรัฐประหารขึ้น โดยกลุมทหารไดสั่ง การใหหนวยทหารตางๆเตรียมความพรอมรอฟงคําสัง่ เพื่อตอบโตแผนการใชกําลังของพล ต.อ. เผา ศรียานนทโดยจอมพลสฤษดิ์ถูกคุมกันความปลอดภัยอยางแนนหนาจากทหาร เนื่องจาก เขา กลัวถูกลอบสังหาร ทัง้ นี้ สถานทูตฯเห็นวา สถานการณการเผชิญหนาดังกลาวนัน้ พล ต.อ.เผารูดี วาการตอตานการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์เปนการเดิมพันที่เขาไมมีอะไรจะเสียอีกตอไป เนื่องจาก กําลังตํารวจของเขานัน้ เทียบกับกลุมทหารไมได 51 กลางดึกราวกอนรัฐประหารจะเริ่มตน หนังสือพิมพไทยรวมสมัยและรายงานทางการทูต ของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ บันทึกเหตุการณสําคัญดังกลาววา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต และจอมพลถนอม กิตติขจรไดเขาเฝาพระมหากษัตริยท พี่ ระทีน่ ั่งอัมพรสถาน พรอมกับราง ประกาศพระบรมราชโองการที่แตงตั้งใหจอมพลสฤษดิ์เปนผูรักษาพระนครฝายทหาร โดยจอม พลสฤษดิ์ไดอธิบายเหตุผลและความจําเปนใหพระองคทรงทราบ หลังจากที่พระองคทรงรับฟง การรายงานจากจอมพลสฤษดิ์แลวเสร็จ จากรายงานทางการทูตของสหรัฐฯที่รับทราบ รายละเอียดจากนายทหารไทยคนหนึ่งไดบันทึกเรื่องราวนีว้ า พระองคทรงตรัสกับจอมพลสฤษดิ์ หัวหนาคณะปฏิวัติวา “You don’t have to explain things. I know. Give me the Decrees and let me sign them. I have only one thing to say to you : From now on don’t do the thing you don’t want the others to do.”52จากนั้น จอมพลสฤษดิ์ไดกลับไปที่กองบัญชาการ และแจงพระราชประสงคใหกลุมทหารทราบ เมื่อเวลา 23.00 น. คณะปฏิวัติสั่งการใหทหารออก ยึดจุดสําคัญในกรุงเทพฯและธนบุรี การรัฐประหารครั้งสําคัญก็ไดเริ่มตนขึ้นในเวลานัน้ เอง53 และ เมื่อกําลังของกลุมทหารปะทะกับกลุมตํารวจที่สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม สงผล

50

พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย,หนา 6. 51 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 16 September 1957. 52 สารเสรี, 18 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957. 53 สารเสรี, 18 กันยายน 2500.


240

ใหตํารวจเสียชีวิตจํานวน 8 คน และทหารจํานวน 1 คน54 อยางไรก็ตาม แผนการตอตานการ รัฐประหารของรัฐบาลและกลุมตํารวจไมอาจหยุดยั้งการรัฐประหารครั้งนี้ได ตอมา กลุมทหาร สามารถยึดวังปารุสฯซึ่งเปนศูนยบัญชาการของกลุมตํารวจและยึดรถเกราะของตํารวจได 40 คัน 55 ในกลางดึกนัน้ เอง พล ต.อ.เผาและกลุม ตํารวจไดเขามอบตัวกับคณะปฎิวัติ ตอมา เขาและ พวกถูกสงตัวออกนอกประเทศ สวนจอมพล ป. ไดหลบหนีการรัฐประหารออกจากกรุงเทพฯไปยัง ชายแดนไทย-กัมพูชาทีจ่ ังหวัดตราด∗ ดังนั้น การรัฐประหาร 2500 ครั้งนี้ จึงเปนการปดฉากความ พยายามรื้อฟน คดีสวรรคตใหกลับขึ้นมาสรางความกระจางใหกับสาธารณชนไทยและผูนําคน สุดทายที่มาจากคณะราษฎร ผูเคยทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญา สิทธิราชยมาสูร ะบอบประชาธิปไตย แตการรัฐประหารครั้งนีน้ ําไปสูการเริ่มตนของ “พันธมิตร ใหม”ระหวางกองทัพและสถาบันกษัตริย กับสหรัฐฯ หรือกําเนิด“ไตรภาคี”( The Tripartite )ขึ้นใน การเมืองไทย ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา ในชวงเวลาดังกลาวนั้น สหรัฐฯมีนโยบายตอไทยทั้งดาน การทหารและเศรษฐกิจ โดยสหรัฐฯตองการใหไทยเปนฐานปฏิบัติการทางการทหารและสงคราม จิตวิทยาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลอดจน สหรัฐฯตองการผลักดันใหไทยเปดรับ การคาเสรี เปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจของไทยและการเปดการลงทุนจากตางประเทศ ควบคูไป กับการตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯ อยางไรก็ตาม ในสายตาของสหรัฐฯ การดําเนินงานในชวง ทายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามนั้น รัฐบาลพยายามถอยหางออกจากสหรัฐฯ แตกลับ 54

พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย, หนา 6.; NARA , RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957. จากหลักฐานที่รวบรวมได พบวา เมื่อทหารจู โจมปอมตํารวจที่มักกะสัน ทหารไดยิงตํารวจตาย 2 คน และตูยามที่ราชวัตร ทหารไดใชดาบปลายปนฟนพล ตํารวจ ทองหลอ ศรกระจาง เสียชีวิต (สมบูรณ วรพงศ, ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูลฯ, หนา 21.; พิมพไทย, 19 กันยายน 2500). 55 สารเสรี, 17 กันยายน 2500.; สมบูรณ วรพงศ, ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูล ฯ, หนา 22. ∗

หลังการพนจากอํานาจดวยการรัฐประหาร 2500 ที่เกิดจาก“ไตรภาคี“ จอมพล ป.พิบูลสงครามได พํานักที่พนมเปญ กัมพูชา ตอมาเขาไดเดินทางไปสหรัฐฯโดยหวังวาจะใชชีวิตปนปลายที่สหรัฐฯ ตอมา เขาได อุปสมบทที่พุทธคยา อินเดีย ทั้งนี้ ควรบันทึกดวย ภายหลังรัฐบาลของเขาถูกรัฐประหารไปแลวระยะหนึ่งมี คณะทูตจากกลุมประเทศแองโกแซกซอนเขาพบเขา และเสนอวา กลุมประเทศแองโกแซกซอนจะสนับสนุนให เขากลับสูอํานาจอีกครั้ง แตเขาปฏิเสธการสนับสนุนดังกลาว จากนั้น เขาตัดสินใจลี้ภัยทางการเมืองอยางถาวร ในญี่ปุนแทนที่จะเปนสหรัฐฯตามที่เขาตั้งใจไวในชวงแรก จนกระทั่งเขาถึงแกอสัญกรรมเมื่อ 11 มิถุนายน 2507 ที่ญี่ปุน(สัมภาษณ นิตย พิบูลสงคราม บุตรชายของจอมพล ป. พิบูลลสงคราม, 28 กุมภาพันธ 2551)


241

พยายามเปดไมตรีและมีการคากับจีน รวมถึงการเปดรับวัฒนธรรมจากจีน เนื่องจาก สหรัฐฯเห็น วา การดําเนินการของรัฐบาลจอมพล ป.มีความยอหยอนในการดําเนินการตอตานคอมมิวนิสต อีกทั้งรัฐบาลพยายามนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตเพื่อตอตาน ความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”นั้นยิง่ ไมตอบสนองนโยบายของสหรัฐฯ ซึ่งไมตองการใหไทยมีความสัมพันธกับจีน อีกทัง้ สหรัฐฯตองการสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหมี ความสําคัญในการดําเนินสงครามจิตวิทยาในไทย นอกจากนี้ รัฐบาลขณะนั้นไดสญ ู เสียความ นาเชื่อถือจากสาธารณชนจากปญหาเหตุการณการทุจริตเลือกตั้งในตนป 2500 รวมทั้ง รัฐบาล ไมสามารถสรางเสถียรภาพทางการเมืองตามสหรัฐฯ ทําใหสุดทายแลว สหรัฐฯไดใหความ สนับสนุนกลุม ผูนําใหมทนี่ ิยมสหรัฐฯและเปนที่ชนื่ ชอบจากสาธารณชนไทยเพื่อใหไทยดําเนิน ตามนโยบายของสหรัฐฯตอไปในชวงสงครามเย็นทีท่ วีความรุนแรงในภูมิภาคตอไป 9.6 บนเสนทางของ “ไตรภาคี ”: สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพ กับการดํารงภาวะ กึ่งอาณานิคม วันรุงขึน้ หลังการรัฐประหาร( 17 กันยายน) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใหสัมภาษณวา พระมหากษัตริยทรง“พอพระทัย” 56 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ตัวแทนของคณะปฏิวัติ ซึ่ง ประกอบดวย “กลุมรอยัลลิต”และนายทหาร เชน พระยาศรีสารวาจา พระยาอภิบาลราชไมตรี (ตอม บุนนาค) พล.ต.อํานวย ชัยโรจน และพ.อ.เฉลิมชัย จารุวัสต ไดมาแจงขาวการรัฐประหารให สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษทราบ บิชอป ทูตสหรัฐฯไดสอบถามตัวแทนฯคณะปฏิวัติวา พระมหากษัตริยทรงยอมรับการรัฐประหารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามหรือไม พระยา ศรีวิสารฯ องคมนตรีและหัวหนาตัวแทนฯ ตอบวา พระองคทรงยอมรับการรัฐประหารและทรง แตงตั้งใหจอมพลสฤษดิ์ หัวหนาคณะปฏิวตั ิเปนผูรักษาพระนครแลว57 ตอมา พระองคทรงเรียก จอมพลสฤษดิ์เขาเฝาเวลาเทีย่ งคืนในวันเดียวกัน เพื่อรับทราบสถานการณ จอมพลสฤษดิ์ได รายงานถึงความสําเร็จในการรัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม กอนที่เขาจะถวาย บังคมลานั้น สารเสรี ไดรายงานขาววา พระองคไดมีพระราชดํารัสกับจอมพลสฤษดิว์ า “คนไหน ไมดี ควรไลออกไป”58

56

เชา, 18 กันยายน 2500. NA, FO 371/129611, Whittington to Foreign Office, 17 September 1957.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 58 สารเสรี, 19 กันยายน 2500. 57


242

ทั้งนี้ ซีไอเอ ไดรายงานถึง บทบาทของสถาบันกษัตริยแ ละองคมนตรีในการรัฐประหาร ครั้งนี้วา “ไมใชแคเพียงมีบทบาทริเริ่มในการกอการรัฐประหารเทานัน้ แต ทรงเปนผูผลักดัน สฤษดิ์ใหทําการรัฐประหารดวย เนื่องจากพระองคทรงกลัวแผนการของจอมพล ป.ที่จะนําปรีดี กลับมาจากจีน” 59 หลังการรัฐประหาร หนังสือพิมพในไทยไดรายงานขาววา พระองคทรงสน พระทัยความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองมาก ทรงเรียกจอมพลสฤษดิ์เขาเฝาเพื่อรายงานความ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองตลอดเวลา 60 ทั้งนี้ สิงคโปร สแตนดารด( Singapore Standard )ได รายงานขาวการรัฐประหารในไทย วา สถาบันกษัตริยและองคมนตรีเห็นชอบกับการลมรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยจอมพลสฤษดิ์ หัวหนาคณะปฏิวัตินั้นไดติดตอกับพระมหากษัตริย อยางใกลชิด 61 ตอมาจอมพลสฤษดิ์ไดประกาศ ไมใหจอมพล ป. กลับเขาประเทศอีก สวนปรีดี พนมยงคนั้น หากปรีดีเดินทางกลับจะถูกรัฐบาลจับดําเนินคดีสวรรคต 62 สําหรับคดีหมิน่ ประมาท บิชอป ทูตสหรัฐฯของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชที่เกิดขึ้นในชวงรัฐบาลจอมพล ป.นั้น คณะปฏิวัติสั่ง การใหอัยการยกเลิกการฟองรองดคีดังกลาวตอศาล 63 ทาทีของสหรัฐฯหลังการรัฐประหารนัน้ เมอรฟ(Murphy) รักษาการรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดมีบันทึกถึง บิชอป ทูตสหรัฐฯในไทยสองวันหลังการ รัฐประหารวา สหรัฐฯเห็นวาการรัฐประหารครั้งนี้จะทําใหพระมหากษัตริยมีบทบาททางการ เมืองขึ้นอยางมากเพราะทรงเปนผูริเริ่มเหตุการณดังกลาว และขณะนี้ พระองคทรงเปนประมุข ของรัฐที่ทรงเปนแกนกลางของความเปนเอกภาพและเสถียรภาพทางการเมืองภายในของไทย ดังนัน้ สหรัฐฯจะใชประโยชนจากคุณสมบัติที่พระองคจะทรงมีอิทธิพลทางการเมืองในไทยจากนี้ ไปดวยการพัฒนาความใกลชิดกับพระองค เนื่องจาก สหรัฐฯเห็นวา บทบาททางการเมืองของ พระองคจะกลายเปนสวนหนึ่งของนโยบายของรัฐบาลไทยซึง่ จะมีนัยยสําคัญตอผลประโยชนของ สหรัฐฯ64 59

NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79R00890A000900010020-5, 21 September 1957, “Thailand”. 60 เดลิเมล, 20 กันยายน 2500. 61 หจช.กต. 80/44 กลอง 4 การวิจารณการเมืองของประเทศไทย(2500). Singapore Standard, 13 November 1957. 62 สารเสรี, 25 กันยายน 2500.; สยามรัฐ, 26 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 6 November 1957. 63 พิมพไทย, 22 กันยายน 2500. 64 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Acting Secretary of State (Murphy) to Bangkok, 18 September 1957. ในบันทึกดังกลาวสั่งการให บิชอป ทูตสหรัฐฯเขาเฝาพระองค เพื่อแจงทาที ของสหรัฐฯตอการรัฐประหารครั้งนี้ วา สหรัฐฯมีความพอใจที่การรัฐประหารครั้งนี้ไมกอภยันตรายตอสถาบัน


243

ทั้งนี้ สิง่ ทีก่ ลุมผูนําใหมจะตองทําใหสหรัฐฯยอมรับ คือ การจัดตั้งรัฐบาลใหมที่ทาํ ให สหรัฐฯพอใจ โดยคณะปฏิวัติยินยอมใหพระมหากษัตริยทรงเลือกพจน สารสิน ดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรีชวงสั้นๆเพื่อจัดการเลือกตัง้ ใหม เนื่องจาก เขาเปนคนที่ทรงไววางพระราชฤทัยและ มีความสัมพันธที่ดีกับสหรัฐ เนื่องจากเขาเปนเลขาธิการซีโต 65จากนัน้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตได กลาวยืนยันกับพล.ต. พารทริค หัวหนาจัสแมควา ไทยจะอยูเคียงขางกับสหรัฐฯ ซีโต ตอไป และ ความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯจะดีขึ้นกวาทีผ่ านมา 66 ตอมา ลิงคอลน ไวท โฆษกกระทรวงการ ตางประเทศสหรัฐฯไดแถลงขาวถึงการรัฐประหารในไทยวา การรัฐประหารครั้งนี้ไมกระทบกระ เมือนตอความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐฯตอไทย67 หลังรัฐประหาร บิชอป ทูตสหรัฐฯ ผูเห็นใจรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามที่ถกู รัฐประหาร เขายังคงแสดงทาทีไมสนับสนุนการรัฐประหารดังกลาว ดวยการรายงานความเห็น ของทูตอังกฤษในไทยวา “การรัฐประหารครั้งนี้จะทําใหไทยถอยหลังไปอยางนอยอีก 100 ป ทํา ใหประชาชนไทยไมรูจักโตและเปนเหมือนเด็ก” แมเขาจะพยายามทีจ่ ะเตือนความจําใหกับ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯถึงความเคลื่อนไหวที่ผา นมาของจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัล ลิสต” ที่ไดรวมมือกันโจมตีสหรัฐฯ ซีโตและจัสแมคก็ตาม แต ดัลเลส รัฐมนตรีวา การกระทรวงการ กษัตริยและราชวงศ สหรัฐฯหวังวา รัฐบาลใหมจะมีเสถียรภาพและสงเสริมความสัมพันธที่ดีระหวางกัน และ สหรัฐฯหวังวาไทยจะยังคงเปนพันธมิตรในการตอตานคอมมิวนิสตตอไป และใหความมั่นใจกับพระมหากษัตริย วาความสัมพันธและผลประโยชนระหวางไทยและสหรัฐฯจะดําเนินตอไปโดยผานพระองค 65 NA, FO 371/129611, Whittington to Foreign Office, 21 September 1957. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใหสัมภาษณวา พระมหากษัตริยทรงแนะนําบุคคลที่มีความเหมาะที่จะเปนนายกรัฐมนตรี ใหกับเขา (ขาวพาณิชย, 21 กันยายน 2500).; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957.; Eric Kocher to Robertson, Summary of Conversation with General Phao, 4 November 1957. 66 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 20 September 1957. ภายหลังการรัฐประหารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไปได 3 ป จอมพล ป.ให สัมภาษณหนังสือพิมพอาซาฮี เอฟเวนนิง นิวส ในขณะที่เขาไดยายที่ลี้ภัยทางการเมืองจากสหรัฐฯไปที่ญี่ปุนถึง การรัฐประหาอีกครั้งของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในป 2501วา “ รัฐบาลสฤษดิ์ เปนเผด็จการและจะลมสลายลง อีกไมนาน หรืออยางนอยที่สุดก็อาจจะเหมือนกับรัฐบาลอาณานิคมที่ถูกบงการโดยชาติอื่น” (“Phibul Predicts Sarit’s Downfall,” Asahi Evening News , 2 June 1960.; หจช.(2)กต. 2.1 กลอง 23/314 ปกที่ 2/3 รายงาน ความเคลื่อนไหว จอมพล ป. [18 มิถุนายน 2502 – 17 มิถุนายน 2503] ). โปรดดู เบื้องหลังการรัฐประหาร 2501 ที่สหรัฐฯมีบทบาทอยูเบื้องหลังเพื่อทําใหไทยกาวเขาสู”ยุคแหงการพัฒนา”และการปกครองแบบเผด็จ การทหารในกุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก”. 67 สารเสรี, 19 กันยายน 2500.


244

ตางประเทศ พยายามทําใหเขาเขาใจมุมมองของสหรัฐฯตอสถานการณการเมืองในไทยวา สถาบันกษัตริยจะเปนผูนาํ ทางการเมืองทีแ่ ทจริง68 ในสายตาของ ฮันนาห เจาหนาที่ซีไอเอผูปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการโทของสถานทูต สหรัฐฯ รายงานวา การรัฐประหารครั้งนี้ เปนการเปดโอกาสให “กลุมรอยัลลิสต” กลับมาเลนบท สําคัญทางการเมืองไทยอีกครั้ง เขาเห็นวา การรัฐประหารครั้งนี้ เปนเสมือนการเปลีย่ นถาย อํานาจจากกลุม หนึง่ ไปยังอีกกลุมหนึ่ง 69 สวนสถานทูตอังกฤษไดรายงาน บทบาทของสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในการรัฐประหารวา พระองคมิไดทรงเปนเพียงผูสังเกตการณเทานัน้ 70 ทัง้ นี้ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ประธานองคมนตรีไดกลาวกับสถานทูตอังกฤษเปนการสวนตัว วา “การรัฐประหารครั้งนี้คือสิ่งที่พวกรอยัลลิสตตองการ”71ตอมา สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา พระองคเจาธานีนิวัตฯมีความตองการใหพระมหากษัตริยเพิ่มบทบาทในทางการเมืองในฐานะ ผูใหคําปรึกษาแกรัฐบาลพจน สารสิน พระองคเจาธานีนิวัตฯทรงกลาววา “กลุมรอยัลลิสต” ตองการใหพระมหา กษัตริยท รงมีบทบาทางการเมืองในการเมืองไทยอยางถาวร และ“กลุมรอยัล ลิสต” ตองการใหสหรัฐฯใหความชวยเหลือและมิตรภาพแกรัฐบาลไทยเหมือนเชนเดิม สถานทูตฯ เห็นวา บทบาทของพระองคเจาธานีนิวัตฯเพิ่มสูงขึน้ หลังการรัฐประหาร จากเดิมที่เคยทรงอยูแต เบื้องหลังการเมืองไทย 72 หลังการจัดตั้งรัฐบาลพจน สารสินแลว สถานทูตสหรัฐฯตั้งขอสังเกตถึงความแข็งแกรง ทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”นั้นมีเพิ่มสูงขึน้ เนื่องจาก พระมหากษัตริยไดทรงเลนบทเปน ผูนําของ “กลุมรอยัลลิสต” โดยมีแกนนําสําคัญ เชน พระองคเจาธานีนวิ ัตฯ ประธานองคมนตรี พระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เปนตน ตอมา เมื่อ พระยาศรีวิสารฯ ไดออกเดินทางไปประชุมโรตารี่สากล สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา พระยาศรีวิสารฯ

68

NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 23 September 1957.; Bishop to Secretary of State, 27 September 1957.; Dulles to Bangkok, Preliminary estimate reading current situation in Thailand, 3 October 1957. 69 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Hannah to Rolland Bushner, Thai Prognostications, 17 September 1957. 70 NA, FO 371/129612, Whittington to Selwyn Lloyd , 22 September 1957. 71 NA, FO 371/129611, Whittington to Foreign Office, 21 September 1957.ขอความดังกลาวมี วา “The Coup is just that the Royalist wanted” 72 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 1 October 1957.


245

เคลื่อนไหวเพือ่ สรางการสนับสนุนและยอมรับใหกับการรัฐประหารทีเ่ กิดขึ้นและรัฐบาลพจน จาก แวดวงระหวางประเทศ73 ไมแตเพียงการใหการสนับสนุนการรัฐประหารและการจัดตั้งรัฐบาลพจน สารสินเทานัน้ แต“กลุมรอยัลลิสต” ไดพยายามขยายอํานาจเขาสูการควบคุมการเมืองมากขึ้นดวยเชนกัน ตน เดือนตุลาคม 2500 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา พระองคเจาธานีนิวัตฯ แจงวา พระมหากษัตริย ทรงมีพระราชประสงคใหพระยาศรีวิสารฯรวมงานกับรัฐบาลใหมที่จะเกิดขึ้นหลังการเลือกตั้งใน ปลายป 2500 แตทรงไมทรงตองการถูกวิจารณวา ทรงกระทําขัดกับรัฐธรรมนูญ สําหรับความสน พระทัยในการเมืองของพระมหากษัตริยน นั้ พระองคเจาธานีนวิ ัตฯแจงกับสถานทูตฯวา พระองค ทรงมิไดมีลักษณะเปนผูเ ขินอายเหมือนแตกอนอีกแลว74 หลังจากที่ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใชประเด็นการโจมตีสหรัฐฯจนไดรบั การสนับสนุนจาก สาธารณชนอยางมากจนนําไปสูการยอมรับการรัฐประหารครั้งนี้ แตตอ มา คณะปฏิวัติไดสั่งการ ใหหนังสือพิมพยุติการโจมตีสหรัฐฯ เนื่องจาก คณะปฏิวัติไมตองการใหเกิดการกระทบ ความสัมพันธระหวางไทยและสหรัฐฯอีกตอไป 75 สําหรับผลประโยชนทพี่ วกเขาไดรับหลังการ รัฐประหารนัน้ การเมือง ซึ่งเปนนิตยสารของไทยขณะนัน้ รายงานขาววา มีการโอนเงินอยางลับๆ เขาบัญชีของผูมีอํานาจในคณะปฏิวัติ ชือ่ บัญชี “หนุมาน” และบัญชี “สุครีพ” บัญชีละ 150 ลาน บาท76 นอกจากนี้ ทูตอังกฤษตั้งขอสังเกตในเวลาตอมาวา หลังการรัฐประหารไปแลว ความ ชวยเหลือทางการทหารจากสหรัฐฯผานจัสแมค ยังคงดําเนินการตอไปดูราวกับไมเกิดอะไรขึ้น77 สําหรับทัศนะของปญญาชนฝายซายจํานวนหนึ่งที่อยูร วมสมัย เชน สุพจน ดานตระกูล ผู เคยตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจนถูกจับกุม แตตอมา รัฐบาลไดนิรโทษกรรมความ ผิด เขาไดรวมงานกับจอมพล ป.ในการสรางกระแสใหไทยการถอยออกหางสหรัฐฯ สุพจนได วิเคราะหวา สาหตุที่จอมพล ป. ถูกรัฐประหาร เนื่องจาก จอมพล ป.มีความตองการใหไทยหลุด ออกจากออกจากการครอบงําของสหรัฐฯ เขาเห็นวา สหรัฐฯใหการสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ ธนะ รัชตกอการรัฐประหารเพื่อลมรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจาก รัฐบาลไดเริ่มตนการเปดความสัมพันธ 73

NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 3 October 1957. 74 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3912, Bishop to Secretary of State, 8 October 1957.ขอความดังกลาวมีวา “ King no longer as shy as he had been” 75 การเมือง, 5 ตุลาคม 2500. 76 การเมือง, 30 ตุลาคม 2500. ควรบันทึกดวยวา สัญลักษณประจําตัวจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต คือ หนุมานหาวเปนดาวเปนเดือน 77 NA, FO 371/136020, Whittington to Foreign Office, 20 March 1958.


246

กับจีนเพื่อทําใหไทยหันกลับไปมีนโยบายตางประเทศตามสหรัฐฯดังเดิม78 สวนประจวบ อัมพะ เศวต ปญญาชนฝายซายอีกคนหนึง่ เห็นวา รัฐบาลจอมพล ป. เคยมีนโยบายตางประเทศเขา ใกลชิดกับสหรัฐฯสามารถสรางพอใจใหสหรัฐฯชั่วระยะเวลาหนึง่ แตตอ มา เมื่อรัฐบาลไม ดําเนินการตามความตองการ จากนัน้ สหรัฐฯจึงให “ไฟเขียว” ใหทาํ การรัฐประหารโคนลมรัฐบาล ลง 79 หลังการรัฐประหารลมรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามสงผลใหชะตากรรมของ บิชอป ทูตสหรัฐฯที่สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป.มีความพลิกผันเปนอยางมาก กลาวคือ ทาทีของ บิชอปในรายงานของเขาที่เขียนกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี. เขายังคง โจมตีการรัฐประหารครั้งนี้ ตอไปนั้น ไมนานจากนัน้ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดตัดสินใจหาทูตคนใหมที่สามารถ ทํางานรวมกับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตหรือกลุมผูนําใหมที่ สหรัฐฯใหการสนับสนุนตอไปได ไมนานจากนัน้ กระทรวงการตางประเทศ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. มี คําสั่งยายบิชอปกลับไปวอชิงตัน ดี.ซี. และสงยู. อเล็กซิส จอหนสัน มาดํารงตําแหนงทูตสหรัฐฯ ประจําไทยคนใหม โดยจอหนสัน ทูตคนใหมไดบันทึกเรือ่ งราวดังกลาวไววา สาเหตุที่บิชอปถูก ยายเพราะเขาไมสามารถทํางานตอบสนองนโยบายของกระทรวงการตางประเทศทีม่ ีตอไทยหลัง การรัฐประหารได80 ตอมา บิชอปไดทําหนังสือขอลาออกจากกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ 81 78 79

สุพจน ดานตระกูล, ทนายจําเปน, หนา 28-29. ประจวบ อัมพะเศวต,พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา

399, 450. 80

U. Alexis Johnson, The Right Hand of Power,(New Jersey: Prentice-Hall, 1984), pp.266267. จอหนสันบันทึกเพิ่มเติมวา สหรัฐฯเห็นวาไทยเปนพันธมิตรสําคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต แตขณะนั้น ความสัมพันธไทยและสหรัฐฯกําลังเสื่อมลงและกําลังเดินไปสูทางตัน แตบิชอป ไมสามารถทํางานรวมกับ รัฐบาลใหม ราชสํานักและ“กลุมรอยัลลิสต” และคณะทหารของจอมพลสฤษดิ์ได อีกทั้งบิชอปมีความขัดแยง กับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชซึ่งเปนเจาของสยามรัฐและเปนพระสหายของพระมหากษัตริย ซึ่งทรงใหการ สนับสนุนม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เปนสาเหตุที่ทําให บิชอปตองถูกยายกลับสหรัฐฯ ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา จอหนสันเปน ทูตสหรัฐฯที่ประสานงานการเสด็จประพาสสหรัฐฯของพระมหากษัตริยไทยสูวอชิงตัน ดี.ซี. ในป 2503 ซึ่งการ ประพาสดังกลาวสรางความมั่นใจใหกับทั้งสองฝายในการดําเนินนโยบายตางประเทศรวมกันตอไปตลอดชวง สงครามเย็น 81 Dwight D. Eisenhower Library, White House Central Files, Office Files 1953-1961 OF 8 F Ambassador and Minister, Gorge V. Allen Box 134, Bishop to The President, 15 November 1957. บิชอป ทูตสหรัฐฯมีความสัมพันธที่ดีกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขาไดเคยเรื่องตางเกี่ยวกับเบื้องหลังการ รัฐประหาร 2500 ใหจีรวัสส ปนยารชุน บุตรีของจอมพล ป.ทราบ ตอมา หลังการลาออกจากกระทรวงการ ตางประเทศ เขายึดอาชีพเปนอาจารยสอนในวิทยาลัยเล็กๆแหงหนึ่งในสหรัฐฯ และแมเขาจะพนตําแหนงไป


247

ในสายตาของจอหนสัน ทูตสหรัฐฯคนใหมภายหลังการรัฐประหารไดประเมินวา ความสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯหลังการรัฐประหาร 2500 วายังคงไมราบรื่นนัก เนื่องจากใน ไทยยังคงมีการตอตานสหรัฐฯจากกลุมฝายซายตอเนื่องจากรัฐบาลชุดเกาอยูบา ง แตอยางไรก็ ตาม ไทยมีโอกาสทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจได และรัฐบาลพจน สารสินใหความสําคัญกับการตอตาน คอมมิวนิสตอยางเขมแข็งกวารัฐบาลที่ผานมา และเขาเห็นวา สถาบันกษัตริยมีเอกภาพและมี เสถียรภาพ 82 จากทาทีของทูตสหรัฐฯนัน้ เปนไปในทิศทางเดียวกับนโยบายของสหรัฐฯที่ตองการ พัฒนาความสัมพันธที่ใกลชดิ กับสถาบันกษัตริย ผูนาํ ทางการเมืองกลุม ใหมมากยิง่ ขึ้น โดยพ.อ. เอ็ดเวิรด แลนสเดล ผูชวยรัฐมนตรีกลาโหมไดกลาวแกคณะผูแทนของคณะปฏิวัติทถี่ ูกสงมาสราง ความเขาใจใหกับสหรัฐฯภายหลังการรัฐประหาร 2500 วา “สหรัฐฯตระหนักดีถงึ ความสําคัญของ กษัตริย และศาสนาที่มีตอวิถีชีวิตของคนไทย แมสหรัฐฯจะไมสามารถมีนโยบายตางประเทศ โดยตรงตอศาสนาได แตสหรัฐฯจะสนับสนุนกษัตริย “83 ดวยเหตุนี้ การรัฐประหาร 2500 จึงเปนการปดฉากความพยายามรื้อฟนคดีสวรรคตและ ผูนําคนสุดทายที่มาจากคณะราษฎรและโอกาสที่ไทยจะถอยหางออกภาวะที่สหรัฐฯเขามามี บทบาทแทรกแซงกิจการภายในของไทยเพื่อทําใหไทยคงดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการ ตอไป ดวยเหตุนี้ การรัฐประหารดังกลาวจึงเปนการทําใหไทยยังคงเปนประเทศทีอ่ ยูในฐานะกึ่ง อาณานิคมของสหรัฐฯตอไป ไมแตเพียงเทานัน้ การรัฐประหารดังกลาวยังไดเปนจุดเริ่มตนของ ”พันธมิตรใหม”ระหวางสถาบันกษัตริยแ ละกองทัพกับสหรัฐฯหรือกําเนิด“ไตรภาคี”สงผลใหการ เมืองไทยเดินไปสูการปกครองระบอบเผด็จการทหารเต็มรูปแบบในชวงเวลาตอมา ซึ่งการ ปกครองดังกลาวนี้สามารถรักษาเสถียรภาพทางการเมืองไทย พรอมกับการฟน ฟูสถาบันกษัตริย ใหมีความเขมแข็งทางการเมือง อีกทั้ง ไทยถูกทําใหกลายเปนฐานทัพของสหรัฐฯในการคุกคาม ประเทศเพื่อนบานในอินโดจีนตามความตองการของสหรัฐฯได โดยสิ่งเหลานี้มีผลกระทบอยาง มากตอการเมืองภายในและนโยบายตางประเทศของไทยตลอดสองทศวรรษในชวงสงครามเย็น แลว เมื่อเขามีโอกาสมาเยือนไทย เขามักมาเยี่ยมบุตรีของจอมพล ป.เสมอ (สัมภาษณ จีรวัสส ปนยารชุน, 13 กันยายน 2552) 82 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3913, U. Alexis Johnson to Secretary of State , 28 July 1958. ตอมา สหรัฐฯผลักดันใหคณะปฏิวัติปราบปรามปญญาชนฝายซายอยางรุนแรง โปรดดู กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก”. ทั้งนี้ การปราบปราม อยางรุนแรงของรัฐบาลถนอมและสฤษดิ์ตามความตองการของสหรัฐฯ เปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิด “เหตุการณ เสียงปนแตก” ในป 2508 นําไปสูสงครามภายในประเทศอยางยาวนาน 83 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957.


บทที่ 10 สรุป

ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง สหรัฐฯมีบทบาทสําคัญในการผลักดันการจัด ระเบียบโลกขึน้ โดยสหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีทรูแมนใหความสําคัญกับการฟนฟู และสนับสนุนการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมโลกภายใตนโยบายโครงการขอที่ 4 และ ไดเริ่มใหความสนใจตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยมากขึ้น ในฐานะทีเ่ ปนแหลง ทรัพยากรและตลาดเพื่อฟน ฟูเอเชียตะวันออกและรองรับสินคาจากสหรัฐฯและญี่ปนุ 1 โดยสหรัฐฯ ไดเริ่มเขามีบทบาทตอการเมืองภายในมากขึ้นอยางตอเนื่องเพื่อทําใหการเมือง ไทยมีเสถียรภาพ และทําใหไทยดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการตอไป สําหรับ ไทยทามกลางบริบทภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ ไทยสามารถรอดพนจาก การเปนผูแพสงครามโลกดวยความชวยเหลือของสหรัฐฯ เนื่องจาก สหรัฐฯภายใตการนําของ ประธานาธิบดีทรูแมนมีตองการเขามีบทบาทในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อสนับสนุนการ ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมภายใตการนําของสหรัฐฯ โดยสหรัฐฯขณะนัน้ เห็นวา ขบวนการชาตินิยมและการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสตที่เกิดขึ้นในภูมภิ าคเอเชียเปนอุปสรรค ตอผลประโยชนของสหรัฐฯ สหรัฐฯจึงใหการสนับสนุนฝรั่งเศสใหกลับเขามีอํานาจในอินโดจีนอีก ครั้งหนึง่ ในขณะที่ รัฐบาลปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาที่แมจะเคยมีความสัมพันธที่ดีกับ สหรัฐฯในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ตาม แตดวยเหตุที่ พวกเขามีนโยบายการบริหารที่โนม เอียงไปในทางสังคมนิยมและใหการสนับสนุนขบวนการชาตินิยมปลดแอกของเวียดมินห อัน นําไปสูการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใตขึ้นยิง่ ขัดแยงกับนโยบายของสหรัฐฯ ทําให สหรัฐฯไมพอใจพวกเขาและไมใหการสนับสนุน “กลุมปรีดี”ใหมีอํานาจตอไป เมื่อพวกเขาตองเพื่อ เผชิญกับการตอตานทางการเมือง ควรกลาวดวยวา เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลง “กลุมรอยัลลิสต”ไดกลับมาเปนตัว แสดงทางการเมืองไทยอีกครั้ง เมื่อ“กลุม จอมพล ป.”ไดตกจากอํานาจการเมืองไปแลว เมื่อ “กลุม รอยัลลิสต”มีความตองการเขามามีอาํ นาจทางการเมืองจึงนําไปสูการแตกสลายของ“พันธมิตร”ที่ เคยเกิดขึ้นในชวงสงครามโลกระหวาง“กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต” ประกอบกับบรรยากาศ

1

William Borden, The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955.; Jim Glassman, “The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy”: 1527-1544.


249

การเมืองแบบเปดภายหลังสงครามโลก ทําใหทงั้ 2 กลุมไดกลายมาเปนคูปรปกษสําคัญในการ เมืองไทยจนนําไปสูปญหาเสถียรภาพทางการเมือง 2 ไมแตเพียงเสถียรภาพการเมืองภายในที่เกิดขึ้นจาก “กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต” เทานัน้ ที่เปนปญหา แตปญหาการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯที่รัฐบาล ปรีดี พนมยงคและกลุมของเขายังไมสามารถสรางความกระจางใหกับสาธารณชนไดถูก “กลุม รอยัลลิสต”ใชเปนประเด็นทางการเมืองในการโจมตีรัฐบาลขณะนัน้ อยางรุนแรง อีกทัง้ ความไม พอใจของ“กลุมจอมพล ป.” ที่ถูกโจมตีจาก“กลุมปรีดี”วา พวกเขาเปนผูท ี่นาํ ไทยเขาสูส งครามจน เกือบตกเปนประเทศผูแพสงคราม พวกเขามีความตองการกลับเขาสูอาํ นาจอีกครั้งหนึ่ง จึง นําไปสูการเกิดขึ้นของ “พันธมิตรใหม” ระหวาง“กลุมรอยัลลิสต” กับ“กลุมจอมพล ป.”ขึ้น ทําให ปรีดีและกลุมของเขาถูกกําจัดออกไปจากอํานาจทางการเมืองอยางไมยากนักดวยการในการ รัฐประหารเมือ่ 8 พฤศจิกายน 2490 ดวยกําลังของคณะรัฐประหาร โดยสหรัฐฯมิไดมีนโยบาย ชวยเหลือปรีดี และกลุมของเขา ซึ่งมิตรเกาในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ใหกลับเขาสูอ ํานาจอีก ภายหลังการรัฐประหาร 2490 ไมนาน จอมพล ป. พิบูลสงครามไดขับไลรัฐบาลของ “กลุมรอยัลลิสต”ลงจากอํานาจสําเร็จ การกลับเขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีของเขาครั้งนี้ สหรัฐฯไดใหการยอมรับรัฐบาลของเขา แมเขาจะเคยเปนผูประกาศสงครามกับฝายสัมพันธมิตร ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ตาม เนื่องจากในชวงเวลาดังกลาวสถานการณการเมืองระหวาง ประเทศในภูมภิ าคเอเชียมีความผันผวนอยางมากจากชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสตในจีน สงผล ใหสหรัฐฯสนับสนุนรัฐบาลของเขาใหมีเสถียรภาพทางการเมืองเพื่อทําใหไทยสามารถรวมมือกับ สหรัฐฯตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาคไดอยางราบรื่น นับตั้งแตป 2493 ความใกลชิดระหวางสหรัฐฯกับรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามผาน ความชวยเหลือทางการทหารแกไทยมีความชัดเจนมากขึน้ เมื่อทัง้ สองฝายไดลงนามในขอตกลง ถึง 3 ฉบับในปเดียวกันนัน้ เอง โดยเฉพาะอยางยิ่งขอตกลงความชวยเหลือทางการทหารทีท่ าํ ให ไทยไดเริ่มตกเขาสูเงาภาวะกึ่งอาณานิคมของสหรัฐฯ อีกทัง้ เมื่อสงครามเกาหลีปะทุขึ้น ดวยทาที ของรัฐบาลทีป่ ระกาศสงกองทัพเขารวมสงครามเกาหลีสรางความพอใจใหกับสหรัฐฯเปนอยาง มาก จากนัน้ สหรัฐฯไดขยายความชวยเหลือทางการทหารแกกลุมทหารและกลุมตํารวจมากขึน้ มีผลทําใหรัฐบาลสามารถรักษาเสถียรภาพทามกลางแรงตอตานรัฐบาลไดมากยิ่งขึน้ อยางไรก็ ตาม ความชวยเหลือของสหรัฐฯที่ใหกับรัฐบาลก็นําไปสูก ารแขงขันทางการเมืองระหวางจอม 2

Sorasak Ngamcachonkulkid, “The Seri Thai Movement: The First Alliance against Military Authoritarianism in Modern Thai Politics”.; สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทาง การเมืองภายในประเทศไทย ระหวางพ.ศ. 2481-2492.


250

พลสฤษดิ์ ธนะรัชตในฐานะผูนํากลุม ทหารและพล.ต.อ.เผา ศรียานนทในฐานะผูนาํ กลุมตํารวจที่ เพิ่มมากขึ้นเปนเงาตามตัวอันไดสรางปญหาใหกับรัฐบาลในเวลาตอมาดวยเชนกัน ภายหลังความฝายแพของฝรั่งเศสในสมรภูมิเดียนเบียนฟู ทําใหสหรัฐฯภายใตการนํา ของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรปรับเปลี่ยนนโยบายตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยใหมีความ เขมขนมากยิง่ ขึ้น เนื่องจาก สหรัฐฯขณะนัน้ มีความวิตกถึงปญหาสุญญากาศทางการเมือง ระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตามทฤษฎีโดมิโนทีจ่ ะทําใหสหรัฐฯสูญเสีย เขตอิทธิพลทางการเมืองในภูมิภาคฯไปอันจะมีผลกระทบตอการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมทําใหสหรัฐฯมีแผนการเปลีย่ นใหไทยกลายเปนปอมปราการของการตอตาน คอมมิวนิสตในภูมิภาคฯ อีกทัง้ สหรัฐฯไดอนุมัติแผนสงครามจิตวิทยา(PSB-D23)เพื่อตอตาน คอมมิวนิสตในไทยอีกดวย ดวยแผนสงครามจิตวิทยาที่เริ่มตนในตนป 2497ทําใหสหรัฐฯเริ่มใหการสนับสนุน สถาบันกษัตริยใหเขามามีสว นรวมในสงครามจิตวิทยาในไทย ทัง้ นี้ การใหความสนับสนุนสถาบัน กษัตริยของสหรัฐฯนีเ้ ปนสิง่ ใหมทมี่ ีความแตกตางไปจากเดิม เนื่องจากที่ผานมาสหรัฐฯเคยให ความชวยเหลือแตเพียงกลุม ทหารและกลุม ตํารวจเทานัน้ ดังนัน้ ดวยแผนสงครามจิตวิทยาของ สหรัฐฯมีสวนสําคัญทําใหสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต” มีความเขมแข็งทางการเมืองมาก ขึ้นและทําใหพวกเขาพรอมที่จะทาทายอํานาจของรัฐบาลไดในเวลาตอมา อยางไรก็ตาม สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศที่ผันผวน ทําใหรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามพยายามเปดไมตรีกับจีนซึ่งสรางความไมพอใจใหกับสหรัฐฯ อีกทัง้ การที่รัฐบาล พยายามสรางบรรยากาศประชาธิปไตยในไทยเมื่อปลายป 2498 มีสวนสําคัญในการสรางกระแส ความตื่นตัวทางการเมืองและการเกิดกระแสตอตานสหรัฐฯที่ทวีความเขมขนมากขึ้น ในชวงเวลา นั้นเอง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหาร ผูเปนคูขดั แยงกับกลุมตํารวจไดหันไปสรางพันธ มิตรสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”เพื่อชัยชนะทางการเมือง ทําใหทงั้ รัฐบาลจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา แกนนํากลุม ตํารวจซึง่ ไมตองการใหสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กลับมา มีอํานาจทางการเมืองที่จะทาทายอํานาจของรัฐบาลไดอีก พวกเขาจึงหันไปเปนพันธมิตรกับ “กลุมปรีดี” เพือ่ ชัยชนะทางการเมืองเชนกัน ดวยเหตุนี้ ภาพการตอสูทางการเมืองในชวงปลาย รัฐบาลจอมพล ป.จึงเปนภาพของการเมืองที่มีสองขั้ว คือ รัฐบาลจอมพล ป. กลุม ตํารวจและ “กลุมปรีดี” ขั้วหนึง่ กับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหาร อีกขั้วหนึ่ง ซึ่งพรอมที่จะ เดินไปสูจุดแตกหักทางการเมืองในที่สุด ดังนัน้ การเมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวนัน้ จึงหาไดมีแตเพียงบทบาทของทหารเปนตัว แสดงทางการเมืองตัวเดียวที่สรางปญหาใหกับการเมืองไทยตามแนวคิดเรื่อง“อํามาตยาธิปไตย” ที่ครอบงําการศึกษาการเมืองไทยมานานเทานั้น แตสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”ก็มี


251

บทบาทในทางการเมืองในขณะนั้น เฉกเชนเดียวกับบทบาทของสหรัฐฯในฐานะอํานาจภายนอกก็ ไดเขามีสวนในการใหความสนับสนุนทางการเมืองแกกลุมการเมืองตางๆของไทยทัง้ กลุมทหาร กลุมตํารวจและสถาบันกษัตริยในเวลาตอมา อันมีสวนสําคัญที่ทาํ ใหการตอสูทางการเมืองในชวง ปลายรัฐบาลจอมพล ป.เปนไปอยางเขมขน สุดทายแลว ปญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้นในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม นั้น ในสายตาของสหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลไดสูญเสียความนิยมจากสาธรณชน อีกทัง้ ที่ผา นมา รัฐบาลก็หาไดดําเนินนโยบายตามความตองการของสหรัฐฯ มีผลทําใหสหรัฐฯตัดสินใจสนับสนุน กลุมการเมืองใหมใหกาวขึ้นมามีอํานาจในการเมืองไทยแทนกลุม การเมืองเดิม เพื่อดําเนิน นโยบายตามที่สหรัฐฯตองการตอไป ไมนานจากนัน้ ความขัดแยงทางการเมืองระหวางสองขั้วได เดินไปสูจุดแตกหักในการรัฐประหารโคนลมรัฐบาลเมื่อ 16 กันยายน 2500 ดังนั้น การรัฐประหาร ครั้งนี้จึงกลายเปนจุดเริ่มตนของการกอตัวของพันธมิตรใหมระหวาง สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและ กองทัพหรือ“ไตรภาคี” ที่ดํารงอยูในการเมืองไทยอยางยาวนานกวา 2 ทศวรรษตอมา กลาวโดยสรุปแลว จะเห็นไดวา ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯทีก่ อตัวขึน้ ภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ สหรัฐฯไดเขามามีบทบาทแทรกแซงการเมืองไทยในฐานะเปนปจจัยที่ สําคัญในการสนับสนุนกลุม การเมืองกลุมใดกลุมหนึง่ ใหไดรบั ชัยชนะทางการเมือง และมีสวน สําคัญในการสนับสนุนใหกลุมการเมืองทีไ่ ดรับชัยชนะมีอํานาจทางการเมืองที่มเี สถียรภาพเพื่อ ทําใหกลุมดังกลาวดําเนินนโยบายของไทยใหสอดคลองกับความตองการของสหรัฐฯตอไป ดวย เหตุนี้ การรัฐประหาร 2500 จึงเปนจุดเริ่มตนของการเปดทางโลงใหกบั บทบาทของสหรัฐฯในการ ผลักดันและแสวงหาประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจควบคูไปกับการปราบปรามคอมมิวนิสต ในไทยอันนําไปสูการปกครองระบอบเผด็จการทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและจอมพล ถนอม กิตติขจรอยางปราศจากขอกังขา อีกทัง้ ทําใหสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ได กลายเปนกลุม การเมืองทีม่ บี ทบาททางการเมืองสําคัญมากยิง่ ขึ้นในการเมืองไทยในเวลาตอมา ตลอดจน การรัฐประหารดังกลาวมีสวนทําใหไทยตกอยูภ ายใตการครอบงําของสหรัฐฯตอไปและ มีผลทําใหไทยกลายเปนฐานทัพที่สําคัญของสหรัฐฯเพื่อการเขาแทรกแซงกิจการภายในของ ประเทศเพื่อนบานในอินโดจีน ซึ่งไมแตเพียง การสรางปญหาความสูญเสียที่ยืดเยือ้ ยาวนานแก ประเทศเพื่อนบานของไทยเทานั้น แตยังไดกลายเปนชนวนใหเกิดความขัดแยงภายในการเมือง ไทยใตรัฐบาลเผด็จการทหารและรัฐบาลพลเรือนอํานาจนิยมกวา 2 ทศวรรษตอมา ซึ่งมีผล สะเทือนอยางลึกซึ้งตอการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของไทยสมัยใหม อยางสําคัญทีส่ ุดชวงหนึง่ ในประวัติศาสตรไทยในระยะใกลนี้ 3 3

โปรดดู กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก”.; Jim Glassman, Thailand at the Margins.; อุกฤษฏ ปทมานันท, “สหรัฐอเมริกากับเศรษฐกิจไทย(1960-1970)”.;


252

Hewison, Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand.; พอพันธ อุยยานนท, “สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยกับบทบาทการลงทุนทางธุรกิจ” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549.; พวงทอง ภวัคพันธุ, สงครามเวียดนาม: สงครามกับความจริงของ‘รัฐไทย’,(กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2549).; จุฬาพร เอื้อรักสกุล, “กรณีมายาเกส: ศึกษาการตัดสินใจนโยบายในภาวะวิกฤต,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529).; Bowie, Rituals of National Loyalty: The Village Scout Movement in Thailand.; Benedict R.O’G Anderson, “Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspects of the October 6 Coup,” in Bulletin of Concerned Asian Scholars 3, 31(977):, 13-33.; ธงชัย วินิจะกูล, “ความทรงจํา ภาพสะทอนและความเงียบในหมูฝายขวาหลัง การสังหารหมู 6 ตุลา (Memories, Reflections and Silence among the Right-wingers after the October 6 Massacre),” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2550.; ใจ อึ๊งภากรณ สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ และคนอื่นๆ, อาชญากรรมรัฐในวิกฤตการเปลี่ยนแปลง,(กรุงเทพฯ: คณะกรรมการรับรูและสืบพยานเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519, 2544).; สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง.; เกงกิจ กิตติเรียงลาภ, “การเมืองวาดวยการ ตอสูทางชนชั้นในประเทศไทยจากพ.ศ.2535-พ.ศ.2549,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551) เปนตน


รายการอางอิง ภาษาไทย 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536. กฎบัตรปาซิฟค สนธิสัญญาการปองกันรวมกันแหงเอเชียอาคเนย พิธสี ารตอทายสนธิสัญญาการ ปองกันรวมกันแหงเอเชียอาคเนย และประมวลสนธิสญ ั ญาและอนุสัญญาระหวาง ประเทศบางฉบับ. พระนคร: โรงพิมพพระจันทร, 2497. กนตธีร ศุภมงคล. การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพทุ ธศักราช 2483 ถึง 2495. กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิง่ จํากัด, 2537. กมล เข็มทอง. สูอเมริกันแดนสวรรค. พระนคร: โรงพิมพศิลปชัย, 2493. กมล จันทรสร. วิธีกาํ จัดนักการเมืองชั่วจากหนังสือพิมพประชาธิปไตย ฉบับวันเกิดที่ 24 มกราคม 2500. พระนคร: สํานักพิมพประชาธิปไตย, 2500. กรุณา กุศลาสัย, ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัติของผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึง่ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแมคําผาง, 2532. กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ. ประชาธิปไตยสมัย พล.ต.อ.เผา ศรียานนท. กรุงเทพฯ: กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ, 2529. กรุณา กุศลาสัย. คณะทูตใตดินสูปกกิง่ . กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสุขภาพใจ, 2545. กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. ธนาคารโลกกับพัฒนาการเศรษฐกิจของไทย. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517. กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอม ภายใตโครงสรางอํานาจโลก . กองทุน ปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550. กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. ความขัดแยงทางการเมืองไทย ขามไปใหพนพลวัตภายใน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา, 2552. กาจ กาจสงคราม,พล ท. สารคดีลับ คดีปฏิวัตรประเทศไทย 2492.พระนคร : บริษัท รัฐภักดี จํากัด, 2492. กาจ กาจสงคราม, พล ท. เรือ่ งของวันชาติ 2492.พระนคร: โรงพิมพรัฐภักดี , 2492. กาจ กาจสงคราม,พล ท. สารคดี สําเนาจดหมายของ ‘อมตชน’ กับเรียงความตอบประเด็น เรื่องเกี่ยวกับประเทศชาติและคณะรัฐประหาร 8 พ.ย.2490. พระนคร: บริษัท รัฐภักดี จํากัด, 2492.


254

กาจ กาจสงคราม,พล ท. สารคดี เรื่อง กําลังและอํานาจของประเทศชาติ. พระนคร : บริษัท รัฐภักดี จํากัด, 2492. กองบรรณสาร กระทรวงการตางประเทศ เกงกิจ กิตติเรียงลาภ. การเมืองวาดวยการตอสูทางชนชัน้ ในประเทศไทยจาก พ.ศ.2535พ.ศ.2549. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2551. “เกียรติ”(สละ ลิขิตกุล). จี้นายก. พระนคร: สํานักพิมพชัยฤทธิ,์ 2493. “เกียรติ”(สละ ลิขิตกุล). พงษาวดารการเมือง. พระนคร: สํานักพิมพเกียรติศักดิ์, 2493. เกรียงศักดิ์ พิศนาคะ. เลือกตั้งสกปรก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเอเชียการพิมพ, 2517. ขอบังคับวาดวยการจัดการ พรรคเสรีมนังคศิลา และกําหนดนโยบายของพรรค พ.ศ.2498 กับ พระราชบัญญัติพรรคการเมืองพ.ศ.2498. พระนคร : บริษัท ประชาชาง จํากัด, 2499. ขาวโฆษณาการ 10, 11 (พฤศจิกายน 2490) ขาพเจาถูกสัง่ เนรเทศ: เอกสารเกี่ยวกับกรณีสั่งเนรเทศ บรรณาธิการและผูพิมพ ผูโฆษณาของ หนังสือพิมพฉวนหมินเปา. พระนคร: จี้ฮง แซฉั่ว กับ เกีย้ งตง แซโงว, 2494 “คนขาวอิสสระ”. เบื้องหลังคดีเลือด ยุคอัศวินผยอง . พระนคร: โรงพิมพ อักษรบริการ, 2500. ความตกลงวาดวยความชวยเหลือทางการทหารระหวางรัฐบาลแหงประเทศไทยกับรัฐบาล สหรัฐอเมริกา ลงนาม ณ กรุงเทพฯ วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2493. พระนคร: โรงพิมพ พระจันทร, 2493. แคลว นรปติ. เยี่ยมปกกิ่ง. พระนคร: อักษรวัฒนา, 2500. คูรสิโอ มาลาปารเต(เขียน) จินดา จินตนเสรี(แปล). เทคนิครัฐประหาร. พระนคร: สํานักพิมพ เกวียนทอง, 2500. โฆษณาการ, กรม. ประมวลคําปราศรัยและสุนทรพจนของนายกรัฐมนตรี , พระนคร : โรงพิมพพานิชศุภผล, 2483. จงกล ไกรฤกษ,ร.ท. อยูอยางเสือ: บันทึกชีวิตนักตอสูท างการเมืองยุคบุกเบิก(2475-2500). เชียงใหม: The Knowledge Center, 2546. จันทรา บูรณฤกษ และ ปยนาถ บุญนาค. การศึกษาผลกระทบทางการเมืองจากความสัมพันธ ไทย-สหรัฐอเมริกา(พ.ศ.2463-2506). รายงานการวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521. “จารึก ชมพูพล”. บันทึกจากบางขวาง. พระนคร: สหบรรณ, 2500. “จารึก ชมพูพล”. สูอิสรภาพ. พระนคร : สํานักพิมพสหบรรณ, 2501.


255

จิระ วิชิตสงคราม,พล อ. การชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐอเมริกา. กลาโหม 1,1 (มกราคม 2497) จุฬาพร เอื้อรักสกุล. กรณีมายาเกวซ : ศึกษาการตัดสินนโยบายในภาวะวิกฤตการณ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2529. ใจ อึ๊งภากรณ, สุธาชัย ยิม้ ประเสริฐและคนอื่นๆ. อาชญากรรมรัฐในวิกฤตการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการรับรูและสืบพยานเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519, 2544. จําลอง อิทธะรงค. ละครการเมือง. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2492. เฉียบ อัมพุนนั ท,ร.ต.อ. มหาวิทยาลัยของขาพเจา. พระนคร: ไทยสัมพันธ, 2500. เฉลิม มลิลา. รัฐประหาร พ.ศ. 2500 ในประเทศไทย. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518. ชวน รัตนวราหะ. กอนฟาสาง. กรุงเทพฯ: สหมิตรการพิมพ, 2518. ชีวิตและงานของอารีย ลีวีระ.พระนคร: ไทยพณิชการ. 2506. ชีวิตและงานของหลวงสุขุมนัยประดิษฐ (พิมพแจกในงานครบรอบหกสิบปของหลวงสุขุมนัย ประดิษฐ). พระนคร: หองภาพสุวรรณ, 2507. ชาญวิทย เกษตรศิริ และคนอื่นๆ, บรรณาธิการ. บันทึกการสัมมนาจอมพล ป.พิบลู สงคราม กับการเมืองไทยสมัยใหม. กรุงเทพฯ: โครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2540. ชาญวิทย เกษตรศิริ. 2475 การปฏิวัติสยาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร, 2543. ชาญวิทย เกษตรศิริ และธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต, บรรณาธิการ. ปรีดี พนมยงค และ 4 รัฐมนตรีอีสาน+ 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร หอ จดหมายเหตุธรรมศาสตร, 2544. ชาตรี ฤทธารมย. นโยบายตางประเทศของประเทศไทย(2488-2497).วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาการระหวางประเทศและการทูต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517. ชาย ไชยกาล, พ.อ. สูแดนเสรี (Leap to Freedom). พระนคร: หอวิทยาการ, 2496. ชุมพล โลหะชาล,พล.ต.ท. หนีไปกับจอมพล. ใน เบื้องแรกประชาธิปไตย: บันทึกความทรงจํา ของผูอยูในเหตุการณสมัย พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ: สมาคมนักขาวแหงประเทศ ไทย, 2516.


256

ชุมสาย ไชยวัต. บทบาททางการเมืองของพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท พ.ศ. 2490 – 2500. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538. โชติ มณีนอย. ตอยๆตามกันมากวา 30 ป. ใน อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ เฉลิมวุฒิ โฆษิต ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 19 มีนาคม 2526. กรุงเทพฯ : โรงพิมพธรรมดา, 2526. ไชยวัฒน ค้ําชู. รวมบทความสัมมนาของนิสิตวาดวยความสัมพันธระหวางประเทศ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2522. ไชยวัฒน ค้ําชู, บรรณาธิการ. ญี่ปุนศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2540. ไชยวัฒน ค้ําชู. นโยบายตางประเทศญี่ปุน: ความตอเนื่องและความเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549. ณัฐพล ใจจริง. วิวาทะของหนังสือ ‘เคาโครงการณเศรษฐกิจฯ’ และ ‘พระบรมราชวินิจฉัยฯ’ กับ การเมืองของการผลิตซ้ํา. จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร 6 (มิ.ย. 2544 - พ.ค. 2545) ณัฐพล ใจจริง. 555 กับ My Country Thailand: ความเคลื่อนไหวทางการเมือง ความคิดทาง เศรษฐกิจและประวัติศาสตรนิพนธแบบชาตินิยมวิพากษของพระสารสาสนพลขันธ. รัฐศาสตรสาร. 25,1 (2547) ณัฐพล ใจจริง. เดือน บุนนาค กับ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง. จุลสารหอ จดหมายเหตุธรรมศาสตร 8 (มิ.ย. 2547-พ.ค. 2548) ณัฐพล ใจจริง. การรื้อสราง 2475: ฝนจริงของนักอุดมคติ ‘น้าํ เงินแท’. ศิลปวัฒนธรรม 27, 2 (ธันวาคม 2548) ณัฐพล ใจจริง. มองคดีการลบชื่อนักศึกษากรณี‘กบฏสันติภาพ’ผานเอกสาร ศาสตราจารย วิจิตร ลุลิตานนท. จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร 10 (มิ.ย.2549 - พ.ค.2550) ณัฐพล ใจจริง. ความชอบดวยระบอบ: วิวาทะวาดวยอํานาจของ‘รัฐฏาธิปตย’ในคําอธิบาย กฎหมายรัฐธรรมนูญ (2475-2500). ศิลปวัฒนธรรม 28, 3 (มกราคม 2550) ณัฐพล ใจจริง. การปฏิวัติ 2475 และ ‘รอยัลลิสต’: การเมืองไทยกับ ‘ระบอบกลายพันธุ’. รัฐศาสตรสาร 28, 1 (2550) ณัฐพล ใจจริง. ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: การทูตใตดิน(พ.ศ.24982500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม. รัฐศาสตรสาร 29, ฉบับพิเศษ (2551)


257

ณัฐพล ใจจริง. จากสงครามจิตวิทยาแบบอเมริกันสูการสรางสัญลักษณแหงชาติภายใตเงา อินทรีย. การสัมมนาวิชาการ สงครามเย็นในประเทศไทย วันที่ 8 กุมภาพันธ 2553 อาคารมหาจุฬาลงกรณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. นายควง อภัยวงศ กับพรรคประชาธิปตย. กรุงเทพฯ: เรืองศิลป, ไมปรากฎปพมิ พ. ณรงค ไตรวัฒน. เบื้องหลังการเมืองยุคทมิฬ. กรุงเทพฯ: อุดมศึกษา, 2517. ดารารัตน เมตตาริกานนท. การเมืองสองฝงโขง: การรวมกลุมทางการเมืองของ ส.ส.อีสาน พ.ศ. 2476-2494. กรุงเทพฯ: มติชน, 2546. ดําริห ปทมะศิริ. บันทึกความจําและกรณีสวรรคต. พระนคร: สุรียรัตน, 2491. ถนอม กิตติขจร,จอมพล. คําไวอาลัยแดคุณ ปา จอมพล ผิน ชุณหะวัณ. ใน อนุสรณในงาน พระราชทานเพลิงศพ จอมพลผิน ชุณหะวัณ ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุ วันที่ 7 พฤษภาคม 2516, กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ, 2516. ถนอมจิตต มีชื่น. จอมพล ป.พิบูลสงครามกับงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ(พ.ศ.2495-2500). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2531. ถามตอบ “พายัพ วนาสุวรรณ” หัวขอจอมพล ป.กับนายกทักษิณ 31 สิงหาคม 2548 [ออนไลน] แหลงที่มา: www.manager.co.th/Politics/PoliticsQAQuestion.asp?QAID=5246 [11 กันยายน 2552] แถมสุข นุมนนท. การเจรจาทางการทูตระหวางไทยกับอังกฤษ ค.ศ.1900-1909. ใน ชุมนุม บทความวิชาการถวายพระวรวงศเธอ กรมหมืน่ นราธิปประพันธพงศในโอกาสทีพ่ ระชนม มายุครบ 80 พรรษาบริบูรณ 25 สิงหาคม 2514. กรุงเทพฯ: โครงการตําราสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย,2514. แถมสุข นุมนนท. จอมพล ป.พิบูลสงครามกับการสรางชาติ. วารสารประวัติศาสตร 3, 2 (พฤษภาคม–สิงหาคม 2521) แถมสุข นุมนนท. การเมืองและการตางประเทศในประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา พานิช, 2524. แถมสุข นุมนนท. ขบวนการตอตานอเมริกาสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม. ใน รวมบทความ ประวัติศาสตร 2 (มกราคม 2524) แถมสุข นุมนนท. ความสัมพันธระหวางไทย-สหรัฐฯอเมริกาภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2525. แถมสุข นุมนนท. การทูตสมัยรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2528.


258

แถมสุข นุมนนท. เมื่ออเมริกันศึกษาประวัติศาสตรไทย. ใน การทูตสมัยรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2528. แถมสุข นุมนนท. รายงานการวิจัย เรื่อง 50 ป พรรคประชาธิปตยกับการเมืองไทย. 2539. ทักษ เฉลิมเตียรณ(เขียน) พรรณี ฉัตรพลรักษและ ม.ร.ว.ประกายทอง สิริสุข(แปล) การเมือง ระบบพอขุนอุปถัมภแบบเผด็จการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2526. ทักษ เสนียวงศ ณ อยุทธยา, พ.อ. อินโดจีน: รัฐสมทบของสหภาพฝรั่งเศส. พระนคร: การพิมพ ทหารผานศึก, 2496. ทักษ ปทมสิงห ณ อยุทธยา, พล.ต.ต. บันทึกความทรงจํา. ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536. “ทหารเกา”(สละ ลิขิตกุล). เบื้องหนา-เบื้องหลัง พรรคประชาธิปตย(ลับเฉพาะ-ไมเคยมีการ เปดเผย).กรุงเทพฯ: การะเวก, 2521. ทองใบ ทองเปาด. คอมมิวนิสตลาดยาว. กรุงเทพฯ: คนหนุม, 2517. “เทอดเกียรติ ”และ“เอกซเรย”. ปทานุกรมการเมือง. พระนคร: รัชดารมภ, 2493. เทียน ประทีปเสน. จอมพลป.ขุนศึกผูไรแผนดิน . กรุงเทพฯ: โรงพิมพพัฒนาการพิมพ, 2507. เทียมจันทร อ่าํ แหวว. บทบาททางการเมืองและการปกครองของจอมพลป.พิบูลสงคราม (พ.ศ.2475 - 2487). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521. “ไทยนอย”(เสลา เรขะรุจ)ิ . จลาจล 2492. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2492. “ไทยนอย”(เสลา เรขะรุจ)ิ . กบฏ 29 มิถุนา. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2494. “ไทยนอย” (เสลา เรขะรุจ)ิ และกมล จันทรสร. วอเตอรลขู องจอมพลแปลก. พระนคร: บริษัท แพร พิทยาและบริษัท โอเดียนสโตร, 2503. “ไทยนอย” (เสลา เรขะรุจ)ิ . 25 คดีกบฎ. พระนคร: ประมวลสาสน, 2513. ธงชัย วินิจจะกูล. ประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม: จากยุคอาณานิคมอําพรางสูราชาชาตินิยม ใหม หรือ ลัทธิเสด็จพอของกระฎมพีไทยในปจจุบัน. ศิลปวัฒนธรรม 23, 1 (พฤศจิกายน 2544) ธงชัย วินิจจะกูล. ชัยชนะของเสรีประชาธิปไตยที่มพี ระมหากษัตริยอยูเหนือการเมือง. ใน ชาญ วิทย เกษตรศิริ, บรรณาธิการ. ธรรมศาสตรและการเมืองเรื่องพืน้ ที.่ กรุงเทพฯ: มูลนิธิ ตําราทางสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2547. ธงชัย วินิจจะกูล. ขามใหพน ประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณสถาน 14 ตุลา, 2548.


259

ธงชัย วินิจจะกูล. ขามไมพน ประชาธิปไตยหลัง 14 ตุลา: ประชาธิปไตยแบบใสสะอาดของอภิชน กับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549. ใน รัฐประหาร 19 กันยา : รัฐประหารเพื่อ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข. กรุงเทพฯ: ฟาเดียวกัน, 2550. ธงชัย วินิจจะกูล. ความทรงจํา ภาพสะทอนและความเงียบในหมูฝายขวาหลังการสังหารหมู 6 ตุลา(Memories, Reflections and Silence among the Right-wingers after the October 6 Massacre). สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2550. ธานี สุขเกษม. ความสัมพันธระหวางไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน: วิเคราะหแนวนโยบาย ตางประเทศของไทยที่มีตอจีน พ.ศ.2492-2515. วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการระหวางประเทศและการทูตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2525. “ธิบดี”. จดหมายเหตุประวัตศิ าสตรประชาธิปไตยของสยามใหม. พระนคร: ดารากร, 2493. ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต. แนวความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สมัยเปนนายกรัฐมนตรี .รายงานการวิจยั เสนอตอสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2544. นคร ศรีวาณิช ,พล.ต.ต นายแพทย. กําเนิดพลรมไทย. กรุงเทพฯ: กองบรรณาธิการนิตยสาร โลหเงิน, 2530. นครินทร เมฆไตรรัตน. ระบอบรัฐนิยม จอมพล ป.พิบูลสงคราม: การกอรูปของแนวความคิดและ ความหมายทางการเมือง. รัฐศาสตรสาร 14, 1 (กันยายน – เมษายน 2532 ) นครินทร เมฆไตรรัตน. การปฏิวัติสยาม พ.ศ.2475. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง, 2540. นครินทร เมฆไตรรัตน. ความคิด ความรูและอํานาจการเมืองในการปฏิวัติสยาม 2475. กรุงเทพฯ: ฟาเดียวกัน, 2546. นครินทร เมฆไตรรัตน. วิชารัฐศาสตรไทยในบริบทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง. รัฐศาสตรสาร 21, 1 (2542) นิจ ทองโสภิต. แผนดินพระจอมเกลาฯ(Mongkut the King of Siam). กรุงเทพฯ: สมาคม สังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2520. นิคัล สมิธและแบล็คคลาก(เขียน) เอก วีรสกุล(แปล). สยาม-เมืองใตดิน. พระนคร: ประชามิตรสุภาพบุรุษ, 2489. นงลักษณ ลิ้มศิริ, พ.อ.หญิง. ความสัมพันธญี่ปุน-ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จากงาน คนควาวิจัยของนักวิชาการญี่ปุน-ตะวันตก-ไทย : บทสํารวจสถานภาพแหงความรู. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.


260

นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). ภารกิจของทูตในวอชิงตัน อารยะ ธรรมอเมริกัน. พระนคร: หอวิทยาการ, 2490. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). วิเทโศบายของสยาม. พิมพครั้งแรก ใน หนังสือพิมพประชาชาติ 3 ตุลาคม 2475 ใน อนาคตแหงสยาม. พระนคร: บรรณกิจ, 2489. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). ประวัติการทูตไทย. พระนคร: อุดม, 2486. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). คุณานุสรณพระปยะมหาราช. ใน ชุมนุมพระนิพนธ. พระนคร: โรงพิมพประชาชาติ, 2483. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). พบจูเอนไหลที่บนั ดง. สราญรมย 25 (2518) นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร).ความรูท ั่วไปในการตางประเทศ. พระนคร: สมาคมนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย,2488. นอม ชอมสกี(เขียน) ภควดี วีระภาสพงษ(แปล). อเมริกา อเมริกา อเมริกา. กรุงเทพฯ: โกมล คีมทอง, 2544. “นายฉันทนา”(มาลัย ชูพนิ ิจ). X.O.Group: เรื่องภายในขบวนการเสรีไทย. พระนคร: โรงพิมพไทย พานิช สํานักพิมพวรรธนะวิบูลย และจําลองสาร, 2489. “นายรํา”(รําพรรณ พุกกะเจียม). ไมมีเสียงหัวเราะจากภาคอีสาน. พระนคร: ชัยฤทธิ์, 2500. “นายเมือง เดิมชื่อเถื่อน”(ถวิล อุดล). กบฎแบงแยกอิสานในคดีเตียง ศิริขันธ. พระนคร: ประเสริฐ อักษร, 2491. นิติศาสตรรับศตวรรษใหม. พระนคร: คณะกรรมการจัดทําวารสารนิติศาสตร, 2500. เนตร เขมะโยธิน,พลตรี. ไอเซน ฮาวร . พระนคร: โชคชัยเทเวศร, 2495. เนตร เขมะโยธิน,พลตรี. ชีวติ นายพล. พระนคร: ผดุงศึกษา, 2499. เนตร เขมะโยธิน,พลตรี. งานใตดนิ ของพันเอกโยธี. พระนคร: ธนะการพิมพ, 2499. บุณฑริกา บูรณะบุตร. บทบาททางการเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ.์ วิทยานิพนธ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. ประจวบ ทองอุไร. สิ้นยุคมืด. พระนคร: อักษรบริการ, 2500. ประจวบ อัมพะเศวต. พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2543. ประดาบ พิบูลสงคราม. ซี.ไอ.เอ กับประเทศไทย. สราญรมย 24 (2517) ประทีป สายเสน. กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค. กรุงเทพฯ: อักษรสาสน, 2532.


261

ประภัสสร เทพชาตรี. นโยบายตางประเทศไทยจากยุควิกฤตเศรษฐกิจสูสหัสวรรษใหม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543. ประเวศ ศรีพพิ ัฒน (แปล) พอล เอ็ม.เอ. ไลนบารเกอร(Paul M.A. Linebarger) (เขียน). สงคราม จิตวิทยา(Psychological Warfare). พระนคร: วีรธรรม,2507. ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน. เจียงไคเช็ค: ประมุขของจีนใหม. พระนคร: โรงพิมพรุงนคร, 2490. ประสิทธิ์ ลุลิตานนท. จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ). กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิง่ , 2542. ประเสริฐ ปทมะสุคนธ. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองป(2485-2517). พระนคร: ชุมนุมชาง, 2517. ปราการ กลิ่นฟุง. การเสด็จพระราชดําเนินทองที่ตา งจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิ พลอดุลยเดช พ.ศ.2493-2530. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2551. “ปากเหล็ก”. ปฏิวัติ (Revolution). พระนคร: ป ๘ ๘, 2502. “ปลาทอง”(ประจวบ ทองอุไร) พรรคการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: กาวหนา, 2508. ปรีดี พนมยงค. คํานิยม. ใน ร.ท.สุภัทร สุคนธาภิรมย. พุทธปรัชญาประยุกต. กรุงเทพฯ: ประจักษ การพิมพ, 2517. ปรีดี พนมยงค. ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน. กรุงเทพฯ: เทียนวรรณ, 2529. ปรีดี พนมยงค. ชีวประวัติยอของนายปรีดี พนมยงค. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการศึกษาวิจยั และ ประมวลผลงานของศาสตราจารย ดร.ปรีดี พนมยงค, 2544. เปดอภิปรายทัว่ ไปเมื่อ 29 สิงหาคม 2500 รวม 2 วัน 2 คืน โดยพรรคประชาธิปตย และกลุม สหภูมิในที่สุดตองปฏิวัติ. พระนคร: โรงพิมพประยูร, 2501. แปลก พิบูลสงคราม, จอมพล. นายกรัฐมนตรีใหสัมภาษณแกผูแทนหนังสือพิมพและผูสื่อขาว ตางประเทศ. พระนคร: กรมราชทัณฑ กระทรวงมหาดไทย, 2498. แปลก พิบูลสงคราม, จอมพล. คําปราศรัย เรื่องแนวนโยบายของรัฐบาล 4 กุมภาพันธ 2500 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ใน สิริ เปรมจิตต. ประวัติศาสตรไทยในระบอบประชาธิปไตย 30 ป. พระนคร: เกษมบรรณากิจ, 2505. ผิน ชุณหะวัณ, จอมพล. ชีวติ กับเหตุการณ. พระนคร : โรงพิมพประเสริฐศิริ, 2513. ผิวบุศย อยูพ รหม. ปทานุกรมคําแผลงอเมริกัน(American Slang)มีคําแผลงในวงภาพยนต ทหารบกและการเมือง. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2490.


262

เผา ศรียานนท, พล.ต.อ. ชีวิตในตางแดน. ใน อนุสรณ พล.ต.อ.เผา ศรียานนท วันถึงแก อนิจกรรมครบ 10 ป 21 พฤศจิกายน 2513. พระนคร: หางหุน สวนจํากัด ไทย สงเคราะหไทย, 2513. เผา ศรียานนท, พล.ต.อ. เรื่องตะวันออก-ตะวันตก. ใน อนุสรณ พล.ต.อ.เผา ศรียานนท วันถึง แกอนิจกรรมครบ 10 ป 21 พฤศจิกายน 2513. พระนคร: หางหุน สวนจํากัด ไทย สงเคราะหไทย, 2513. เผา ศรียานนท,พล.ต.อ. เหตุการณกอนเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ใน เบื้องแรกประชาธิปไตย: บันทึกความทรงจําของผูอยูใ นเหตุการณสมัย พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ: สมาคม นักขาวแหงประเทศไทย, 2516. พวงทอง ภวัคพันธุ. สงครามเวียดนาม: สงครามกับความจริงของ‘รัฐไทย’. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2549. พยงค อรุณฤกษ. ยุคปฏิวัติ. พระนคร: มานิตย ชินตระกูล ,2502. พอพันธ อุยยานนท. สํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริยกับบทบาทการลงทุนทางธุรกิจ. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549. พัฒนชาติ เกริกฤทธิ์สะทาน. ยอดอัศวิน พล.ต.อ.เผา ศรียานนท เลม 1-3 . กรุงเทพฯ: ประมวล สาสน, 2519. “พันเมือง”. สยามนําหนา.พระนคร: โรงพิมพอุดม, 2493. พันศักดิ์ วิญญรัตน. CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมัน่ คงแหงชาติ. สังคมศาสตร ปริทัศน (กุมภาพันธ ,2517) พิทยลาภพฤฒิยากร, กรมหมื่น. เจ็ดรอบอายุกรมหมืน่ พิทยลาภพฤฒิยากร. พระนคร: พระจันทร, 2512. พิทยาลาภพฤฒิยากร, กรมหมื่น. อัตตชีวประวัต.ิ พระนคร : โรงพิมพตีรณสาร, 2517. เพ็ญศรี ดุก. การตางประเทศกับเอกราชและอํานาจอธิปไตยของไทย (ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ถึง สิ้นสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม). กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ, 2527. พุฒ บูรณสมภพ, พ.ต.อ. ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย. กรุงเทพฯ: ศูนยรวม ขาวเอกลักษณ, ไมปรากฎปพิมพ. พุฒ บูรณสมภพ,พ.ต.อ. 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย. กรุงเทพฯ: พีวาทิน พับลิเคชัน่ จํากัด, 2532. พูนศุข พนมยงค. ชีวิตของลูกปาล. ใน อนุสรณนายปาล พนมยงค. กรุงเทพฯ: อมรินทรการพิมพ, 2525. พูนศุข พนมยงค. 101 ปรีดี-90 พูนศุข. กรุงเทพฯ: ลลิตา สุดา สุปรีดา ดุษฎี วาณี, 2545.


263

“ไพศาล มาลาพันธ”(ไสว มาลยเวช). บันทึกนักโทษการเมือง. กรุงเทพฯ: สันติธรรม, 2528. ฟราน ซิสสโตรี่. พระพุทธศาสนาตอบลัทธิมากซิสม. พระนคร: มหามงกุฎราชวิทยาลัย, 2497. “ฟรีเพรสส”. นักการเมือง สามกก เลม 1-4. พระนคร: สหกิจ, 2493. เฟร็ดเดอริค มาติน สเตอรน(เขียน) “ทูนกิ า”(แปล). วงไพบูลยประชาธิปไตย(Capitalism in America: A Classless Society). พระนคร: คาปราพิมพการ, 2496. เฟร็ดเดอริค ลูอิส แอลเล็น(เขียน) “มัสโคเกียน”(แปล). อเมริกันรุดหนา: การเปลี่ยนแปลงครั้ง ใหญในสหรัฐอเมริกาในรอบกึ่งศตวรรษ 1900-1950(The Big Change). พระนคร: สํานักพิมพคาปรา, 2497. ฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี, จอมพลอากาศ. ความทรงจําของขาพเจา ที่ระลึกครอบรอบ 85 ป 21 กุมภาพันธ 2527. กรุงเทพฯ: ไมปรากฎทีพ่ มิ พ, 2527. ฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี,จอมพลอากาศ. คําไวอาลัย แด ฯพณฯ จอมพล, พลเรือเอก , พล อากาศเอก ผิน ชุณหะวัณ. ใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ จอมพลผิน ชุณหะวัณ ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุ วันที่ 7 พฤษภาคม 2516. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ, 2516. ภูธร ภูมะธน. ศาลพิเศษ พ.ศ.2476 พ.ศ.2478 และ พ.ศ.2481. วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 252. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั . (สําเนา) พระราชหัตถเลขาขอ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห ัวภูมพิ ลอดุลยเดช ถึงจอมพล ป. พิบูลสงคราม วันที่ 25 พฤศจิกายน 2490. ใน วิชัย ประสังสิต. เบื้องหลังการสวรรคต ร. 8. พระนคร: ธรรมเสวี, 2498. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั . บันทึกพระราชวิจารณ เรื่อ รางรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย แกไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495. ใน หยุด แสงอุทัย. คําอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495.พระนคร: โรงพิมพชูสนิ , 2495. มาเรีย เยน(เขียน) “ป.ศานติ”(แปล). เหตุเกิดที่เปตา หรือ ชีวิตนักศึกษามหาวิทยาลัยจีนระบอบ คอมมิวนิสต. พระนคร: อุณากรรณ , 2500. มารก เอ เทนเนี่ยน (เขียน) ประจิต พันธนะพันธ (แปล). ประตูมีตา (Out secret in safe). พระนคร: โรงพิมพประเสริฐศิลป, 2497. มุกดา เอนกลาภากิจ. รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2542. มนัส จารุภา. เมื่อขาพเจาจี้จอมพล. พระนคร: แพรพทิ ยา, 2502.


264

มนูญ มาคะสิระ. การรักษาอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามระหวาง พ.ศ.24912500. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2529. มัสสิโม ซัลวาดอริ(เขียน) ประจิต พัธนะพันธ(แปล). ประวัติลัทธิคอมมิวนิสตปจจุบนั (The Rise of Modern Communism). พระนคร: สํานักพิมพวีระธรรม, 2498. “แมลงหวี”่ (ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช). เบื้องหลังประวัติศาสตร เลม 1. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ , 2491. ยวด เลิศฤทธิ.์ ระลึกถึงมือกฎหมายคณะรัฐประหาร 2490. ใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิง ศพนายเขม ชาติ บุญยรัตพันธุ ณ เมรุ วัดธาตุทอง วันที่ 25 กุมภาพันธ 2538. กรุงเทพฯ: ไมปรากฎทีพ่ ิมพ, 2538. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและขอบังคับการประชุมและการปรึกษาของสภาผูแทนราษฎร พ.ศ.2495. พระนคร: สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2499. รัฐธรรมนูญแหงพระราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แกไขพุทธศักราช 2495[ออนไลน] แหลงที่มา: www.krisdika.go.th [11 มกราคม 2553] รายงานการดูงานในตางประเทศของพล ต.อ.พระพินิจชนคดีและคณะ. พระนคร: ส.การพิมพ, 2496. รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก) และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500. พระนคร: รวมมิตรไทย, 2506. ราชกิจจานุเบกษา(แผนกกฤษฎีกา) 64, 56 (ฉบับพิเศษ 22 พฤศจิกายน 2490). ราชกิจจานุเบกษา 66, 17 (23 มีนาคม 2492). ราชกิจจานุเบกษา 74, 22 (ฉบับพิเศษ 2 มีนาคม 2500). รังสรรค ธนะพรพันธ. กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย : บทวิเคราะหเชิง ประวัติศาสตรการเมือง พ.ศ.2475-2530. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศ ไทย, 2532. โรงเรียนสงครามจิตวิทยา. หลักและปฏิบตั ิของลัทธิคอมมิวนิสต. พระนคร: โรงพิมพอุดม , 2497. ละเอียด พิบูลสงคราม, ทานผูหญิง. บันทึกความทรงจํา. ใน เบื้องแรกประชาธิปไตย : บันทึก ความทรงจําของผูอยูในเหตุการณสมัย พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ: สมาคมนักขาว แหงประเทศไทย, 2516. ลมูล อติพยัคฆ. รอนไปปารีสกับนายควง อภัยวงศ. พระนคร: คลังวิทยา, 2499. วรรณไว พัธโนทัย. โจวเอินไหล ผูปลูกสัมพันธไทย-จีน. กรุงเทพฯ: ศูนยการพิมพ, 2519. วิชัย ประสังสิต. ปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏจลาจลในสมัยประชาธิปไตยแหงประเทศไทย. พระนคร: บริษัทรัฐภักดี จํากัด, 2492.


265

วิจิตร วิชยั สาร. รัฐบาลไทยในสมัยนายทวี บุณยเกตุเปนนายกรัฐมนตรี(31 สิงหาคม–16 กันยายน 2488). วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2516. “วิเทศกรณีย” . เมื่อ…จอมพลป.ลี้ภัย. พระนคร: โรงพิมพ พิบูลยการพิมพ, 2505. วิวัฒน คติธรรมนิตย. กบฎสันติภาพ. กรุงเทพฯ: พคบไฟ, 2539. วีระ สมบูรณ. ความไมรูไรพรมแดน: บางบทสํารวจในดินแดนความคิดทางสังคม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมล คีมทอง, 2541. ศิริ พงศทัต. ธรรมนูญองคการโลก. พระนคร: โรงพิมพไทยเขษม, 2488. “ศิวะ รณชิต”(สุวัฒน วรดิลก). จดหมายจากลาดยาว. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ, 2521. ศุภกาญจน ตันตราภรณ. รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย(ฉบับ ชั่วคราว)พุทธศักราช2490. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2542. ศุภมิตร ปติพัฒน. ความสัมพันธระหวางประเทศ : พัฒนาการและความกาวหนาขององคความรู. คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2550. ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน ,หมอมเจา. 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์ .กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง, 2543. ศูนยขอมูลของสํานักงานขาวกรองกลาง สหรัฐฯ(CIA) ศูนยเอกสารแหงประเทศไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (TIC) ศรีวิสารวาจา,พระยา. The Revolution of 1932. ใน อนุสรณในการพระราชทานเพลิงศพ พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ณ เมรุหนาพลับพลาอิสริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 8 มิถนุ ายน 2511, พระนคร: พระจันทร, 2511. “ส.เจริญจรัมพร”(เตียง ศิรขิ ันธ) ปรัชญาการเมืองสมัยปจจุบัน(Modern Political Philosophies). พระนคร: โรงพิมพอทุ ัย,2492. ส.เทพโยธิน. จลาจลปกษใต. พระนคร: บรรณาคาร, 2494. สังข พัธโนทัย. ชีวิตเปลี่ยน. พระนคร: คลังวิทยา, 2497. สังข พัธโนทัย. ความนึกในกรงขัง. พระนคร: คลังวิทยา, 2499. สังข พัธโนทัย. อานเบื้องหลังสถาปนาสัมพันธไทย-จีน. ประโคนชัย (กรกฎาคม 2525)ใน กรุณา กุศลาสัย, ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัตขิ องผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึ่ง. กรุงเทพฯ: แมคําผาง, 2532.


266

สังศิต พิริยะรังสรรค. ทุนนิยมขุนนางไทย พ.ศ. 2475-2503. กรุงเทพฯ: สรางสรรค, 2526. สังศิต พิริยะรังสรรค. ประวัติการตอสูของกรรมกรไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2529. สังวรยุทธกิจ(สังวร สุวรรณชีพ),พล.ร.ต. หลวง. เกิดมาแลวตองเปนไปตามกรรม คือ กฎแหง ธรรมชาติ. ใน อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณยุทธกิจ ณ เมรุ วัดธาตุทอง 29 ธันวาคม 2516. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ, 2516. สมบูรณ วรพงศ. ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูลฯ. พระนคร: โรงพิมพ เจริญธรรม, 2500. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตรที่เพิง่ สราง. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2544. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. จุดเปลี่ยน 2500: เผา สฤษดิ์ และพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย.ใน ประวัติศาสตรที่เพิง่ สราง. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2544. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. 50 ปการประหารชีวิต 17 กุมภาพันธ 2498. ฟาเดียวกัน 3, 2 (เมษายน- มิถนุ ายน 2548) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. หลัง 14 ตุลา. ฟาเดียวกัน 3, 4 (ตุลาคม- ธันวาคม 2548) สมศักดิ์ เจียม ธีรสกุล. สํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริย คือ อะไร. ฟาเดียวกัน 4, 1 (มกราคม-มีนาคม 2549) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ขอมูลใหม กรณีสวรรคต:หลวงธํารงระบุชัดผลการสอบสวน ใคร คือ ผูตอง สงสัยที่แทจริง. ฟาเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. บันทึกของเคนเน็ธ แลนดอน เกี่ยวกับกรณีสวรรคตและขาวลือเรื่อง แผนการใหญของพีน่ องปราโมช. ฟาเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. วาดวยจดหมายเปดเผยความลับกรณีสวรรคตของ ‘ปรีดี’ ที่เพิ่งเผยแพร. ฟาเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552) สมศักดิ์ นิลนพคุณ. ปญหาเศรษฐกิจของไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และ การแกไขของรัฐบาล ตั้งแต พ.ศ.2488-2498. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปกร, 2527. สมุทร สุรักขกะ. 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507. พระนคร: โรงพิมพ สื่อการพิมพ, 2507. สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา, 2535.


267

สรอยมุกข ยิง่ ชัยยะกมล. นโยบายตางประเทศไทยของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตอสาธารณรัฐประชาชนจีน (1948 - 1957). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544. สวาง ลานเหลือ. 37 ปแหงการปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: นิตยสารพระเพลิง-อาชญากรรม, 2512. สิทธิ เศวตศิลา, พล.อ.อ. บันทึกความทรงจํา. ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536. สรุปขออภิปรายของพรรคประชาธิปตยในญัตติเปดอภิปรายทัว่ ไปในนโยบายของรัฐบาลตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา 34. พระนคร: โรงพิมพยิ้มศรี, 2490. สละ ลิขิตกุล. คึกฤทธิ์ขนึ้ ศาล. กรุงเทพฯ: กาวหนาการพิมพ , 2518. เสด็จฯเยี่ยมราษฎร. กรุงเทพฯ: สํานักพระราชวัง, 2532. เสถียร จันทิมาธร และขรรคชัย บุนปาน. กองทัพบกกับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2526. เสถียร จันทิมาธร. ชาติชาย ชุณหะวัณ ทหาร‘นัก’ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: แปลน พับลิชชิ่ง, 2532. เสนาะ รักธรรม, พล.ร.ท., บรรณาธิการ. ความเปนมาแตหนหลังของจอมพลเรือ หลวง ยุทธศาสตรโกศล. กรุงเทพฯ: บํารุงนุกูลกิจ, 2516. เสนีย ปราโมช,ม.ร.ว. คิงมงกุฏในฐานะทรงเปนนักนิติศาสตร. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2492. เสนีย ปราโมช,ม.ร.ว. ตานคอมมิวนิสตสวนตัว. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2496. เสนีย ปราโมช ม.ร.ว. ชีวลิขติ . กรุงเทพฯ: ทิพยวดี ปราโมช, 2543. เสวต เปยมพงศสานต. เสวต เปยมพงศสานต. ใน “ใหม รักหมู” และธวัชชัย พิจิตร. บรรณาธิการ, บันทึก 25 นักการเมือง วิเคราะหการเลือกตั้งในไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ นพรัตน, 2522. เสวต เปยมพงศสานต. ชีวิตการเมือง. กรุงเทพฯ: ครอบครัวเปยมพงศสานต, 2546. สิริ เปรมจิตต. เบื้องหลังชีวิต 8 นายกรัฐมนตรีไทย. พระนคร: บริษัท ศิริอักษร จํากัด, 2492. สิริ เปรมจิตต. ชีวิตและงานของพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ.์ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ บํารุงนุกูลกิจ, 2521. สิรินทร พัธโนทัย (เขียน) บุญรัตน อภิชาติไตรสรณ(แปล). มุกมังกร.กรุงเทพฯ: เดอะเนชัน่ , 2538. สิริรัตน เรืองวงษวาร. บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ.2475 – 2491. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต แผนกประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521.


268

สิริลักษณ จันทรวงศ ทาคาฮาชิ คัทซูยูกิ และสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. กึ่งศตวรรษ ขบวนการ สันติภาพ. กรุงเทพฯ: ศูนยไทย-เอเชียศึกษา สถาบันวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต และชมรม ศึกษาประวัติศาสตรไทยสมัยใหม มหาวิทยาลัยวาเซดะ. สุกัญญา ตีระวนิช. หนังสือพิมพไทย จากปฏิวัติ 2475 สูปฏิวัติ 2516. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา พานิช , 2526. กุศลาสัย. ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัตขิ องผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึ่ง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแมคําผาง, 2532. สุชิน ตันติกุล. ผลสะทอนทางการเมืองรัฐประหาร 2490. วิทยานิพนธรฐั ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517. สุดา กาเดอร. กบฎแมนฮัตตัน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 . วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. แผนชิงชาติไทย. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2550. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. ฐานะทางประวัติศาสตรของการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549. ใน รัฐประหาร 19 กันยน: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมุข. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ฟาเดียวกัน, 2550. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐสาย. ธารประวัติศาสตรประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: พี.เพรส, 2551. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, บรรณาธิการ. 60 ปประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการ 60 ป ประชาธิปไตย, 2536. สุนทร หงสลดารมย. ความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและวิทยาการของสหรัฐฯ. สราญรมย (2498) สุพจน แจงเร็ว. คดียึดพระราชทรัพยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯ. ศิลปวัฒนธรรม 23, 8 (มิถุนายน 2545 ) สุพจน ดานตระกูล. ทนายจําเปน. กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2516. สุพจน ดานตระกูล. เหตุเกิดที่ศิริราช. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยาศาสตรสงั คม, 2537. สุพจน ดานตระกูล. 80 ป สุพจน ดานตระกูล. นนทบุร:ี สถาบันวิทยาศาสตรสังคม, 2546. สุเพ็ญ ศิริคูณ. กบฏวังหลวง(26 กุมภาพันธ 2492). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518.


269

สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ. (แปล). พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจากรุงสยาม(King Mongkut of Siam). พระนคร: โรงพิมพมหากุฏราชวิทยาลัย, 2508. สุรพล จุลละพราหมณ, พ.ต.ท.(แปล). สงครามเย็น(War of Wits). พระนคร: ผดุงศิลป, 2500. สุลักษณ ศิวรักษ. เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของส.ศิวรักษ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ เสถียรโกเศศ-นาคะประทีป, 2528. สุวิชช พันธเศรษฐ. ชุมนุมนายกรัฐมนตรีอังกฤษ. พระนคร: โรงพิมพสมัยนิยม, 2491. สุวัฒน วรดิลก. ชีวิตในความทรงจํา. กรุงเทพฯ: กลุมวรรณกรรมเพื่อชีวติ , 2517. สุวัฒน วรดิลก. ใตดาวแดง คนสองคุก. กรุงเทพฯ: ลายสือไทย, 2521. สุวิมล รุงเจริญ. บทบาทของนักหนังสือพิมพในการเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526. สัมพันธ ขันธะชวนะ,ร.ท. 30 วันในกรงเหล็ก. พระนคร: เกียรติศักดิ์, 2490. หอจดหมายเหตุแหงชาติ ประเทศไทย หอจดหมายเหตุแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หอจดหมายแหงชาติ สหรัฐฯ(NARA) หอจดหมายเหตุแหงชาติ อังกฤษ(NA) หอสมุดประธานาธิบดีไอเซนฮาว (Eisenhower Library) หองสมุดของสมาคมประวัติศาสตรแหงมลรัฐวิสคอนซิน (The Historical Society of Wisconsin) หองสมุดแหงรัฐสภาสหรัฐฯ (Library of Congress) หาสิบปรวมใจรักรัฐศาสตรเพื่อชาติไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดงานกึ่งศตวรรษรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2541. หัตถีสิงห ราชา. แดนมิตรของปรีดี. พระนคร: โรงพิมพศลิ ปอักษร, 2499. หลักการและนโยบายของชุมนุมธรรมาธิปตย. พระนคร: โรงพิมพสหการพานิช, 2490. หยุด แสงอุทัย. คําอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-95. พระนคร: โรงพิมพชูสนิ , 2495. หลุย คีรีวัต. จอมพลในทัศนะของหลุย คีรีวัต. ใน จอมพลในทัศนะของขาพเจา. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2492. หลุย คีรีวัต. ประชาธิปไตย 17 ป. พระนคร: โรงพิมพโอเดียนสโตร, 2493. หลู ชิว ตง(Liu Shaw Tong) (เขียน) ประจิต พัธนะพันธ(แปล). เรื่องจริงจากแดนจีนยุคใหม แหวกมานไมไผ(Out of Red China). พระนคร: โรงพิมพประเสริฐสิน,2497. “แหลมสน”(เสลา เรขะรุจ)ิ บุกบรมพิมาน. พระนคร: สหกิจ, 2492.


270

อนันต พิบูลสงคราม, พล ต. จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2 เลม. กรุงเทพฯ: ตระกูลพิบลู สงคราม, 2540. องคการจัดความรวมมือทางเศรษฐกิจ(อี.ซี.เอ:E.C.A.)การชวยเหลือเศรษฐกิจประเทศไทยจาก สหรัฐอเมริกา. พระนคร: ประชาชาง, 2494. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทกาจ กาจสงคราม(เทียน เกงระดมยิง) ณ เมรุหนา พลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 20 เมษายน 2510. กรุงเทพฯ: กรมการทหาร สื่อสาร, 2510. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พันเอกชวง เชวงศักดิ์สงคราม ณ เมรุ หนาพลับพลา อิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 18 มิถนุ ายน 2505. กรุงเทพฯ: กรมชลประทาน, 2505. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ นายเขมชาติ บุญยรัตพันธุ ณ เมรุ วัดธาตุทอง 25 กุมภาพันธ 2538. กรุงเทพฯ : ไมปรากฎทีพ่ ิมพ, 2538. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ ดร.โชติ คุมพันธุ. พระนคร: ไมปรากฎที่พิมพ, 2514. อนุสรณพระราชทานเพลิงศพ รอยโท จงกล ไกรกฤษ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม 15 มกราคม 2513. พระนคร: ศูนยการพิมพ, 2513. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ พลเอก จิระ วิชิตสงคราม ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทรราวาส 26 ธันวาคม 2522. กรุงเทพฯ: ดํารงการพิมพ, 2522. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพนายฉัตร บุญยศิริชัย ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุ 5 พฤศจิกายน 2533. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือโทเฉลิม สถิรถาวร ณ เมรุ วัดเทพศิรินทราวาส 27 มีนาคม 2512. กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรมสารบรรณทหารเรือ,2512. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพนายทองอิน ภูริพฒ ั นและนางสาว อรทัย ภูรพิ ัฒน ธิดา ณ เมรุ วัดมกุฎกษัตริยาราม 9 พฤษภาคม 2505. พระนคร: ไมปรากฎที่พิมพ, 2505. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ ณ เมรุ วัดเทพศิรินทราวาส 22 พฤษภาคม 2506. พระนคร: โรงพิมพกรมสรรพาสามิต, 2506. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ เทพ โชตินุชิต ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม 26 ตุลาคม 2517. กรุงเทพฯ: บริษัท บพิธ จํากัด, 2517. อนุสรณในงานพระราชเพลิงศพ พระยาโทณวณิกมนตรี(วิสุทธิ์ โทณวณิก) ณ เมรุหนาพลับพลา อิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 21 มีนาคม 2516. กรุงเทพฯ: ศูนยการพิมพ, 2516. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพพลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ณ เมรุ หนาพลับพลา อิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 8 พฤศจิกายน 2519. กรุงเทพฯ: โรงพิมพครุสภา ลาดพราว, 2519.


271

อนุสรณนายปาล พนมยงค. กรุงเทพ ฯ: อมรินทรการพิมพ, 2525. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพนายประหยัด ศ. นาคะนาท ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัด พระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 22 กรกฎาคม 2545. กรุงเทพฯ: ฟนนีพ่ บั บลิชชิ่ง, 2545. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเอก มังกร พรหมโยธี ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 29 มิถุนายน 2509. พระนคร: โรงพิมพกรมสรรพสามิต, 2509. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ จอมพลเรือหลวงยุทธศาสตรโกศล ณ เมรุหนาพลับพลา อิศยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 14 มิถนุ ายน 2519. กรุงเทพฯ: น.อ.แสวง บุญยัง (ร.น.) และคนอื่นๆ, 2519. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารยรอง ศยามานนท ณ เมรุวัดธาตุทอง 18 สิงหาคม 2528. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2528. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ ดร.รักษ ปนยารชุน 5 กุมภาพันธ 2550. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริน้ ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง, 2550. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ จอมพลผิน ชุณหะวัณ ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุ 7 พฤษภาคม 2516. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ, 2516. อนุสรณ พล.ต.อ.เผา ศรียานนท วันถึงแกอนิจกรรมครบ 10 ป 21 พฤศจิกายน 2513. พระนคร: หจก. ไทยสงเคราะหไทย, 2513. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ นายเลียง ไชยกาล ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 18 สิงหาคม 2529. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2529. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ นายศักดิ์ ไทยวัฒน ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 30 มิถุนายน 2544. กรุงเทพฯ: อมรโปรดัก, 2544. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ณ เมรุหนาพลับพลา อิสริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 8 มิถนุ ายน 2511. พระนคร: สํานักทําเนียบ นายกรัฐมนตรี, 2511. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 17 มีนาคม 2507. พระนคร : โรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรี,2507 อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชวนพิมพ, 2516. อนุสรณฌาปนกิจศพ นายสอิ้ง มารังกูล,อดีต ส.ส.บุรีรัมย และอดีตหัวหนาพรรคไทยรวมไทย . ณ ฌาปนสถาน วัดศุภโสภณ อําเภอลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย วันเสารที่ 29 เมษายน 2521. กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2517.


272

อนุสรณในงานพระราชเพลิงศพ พลเรือเอก สินธุ กมลนาวิน ณ เมรุ หนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 15 ธันวาคม 2519. พระนคร : กรมสารบรรณทหารเรือ, 2519. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพพลตรี หลวง วีรวัฒนโยธิน ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร 28 มกราคม 2512. พระนคร : โรงพิมพกรมแผนทีท่ หาร, 2512. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพนายใหญ ศวิตชาติ ณ เมรุ วัดธาตุทอง วันที่ 4 มิถุนายน 2526. กรุงเทพฯ: เรืองชัยการพิมพ, 2526. “อรัญญ พรหมชมพู” (อุดมศรี สุวรรณ). ไทยกึง่ เมืองขึ้น. พระนคร: โรงพิมพอุทยั ,2493. อานันท กาญจนพันธุ. บทบาทของนักวิจัยและทุนวิจัยอเมริกันในการสรางกระบวนทัศนดานไทย ศึกษา. ใน บทบาทของตางประเทศในการสรางองคความรูที่เกี่ยวของกับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย , 2538. อารีย ภิรมย. เบื้องหลังการสถาปนาสัมพันธภาพ ยุคใหม ไทย-จีน.กรุงเทพฯ: มิตรนราการพิมพ, 2524. อุกฤษฏ ปทมนันท. สหรัฐอเมริกากับนโยบายเศรษฐกิจ(1960-1970). วิทยานิพนธรฐั ศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526. “เอกซเรส”. นายควง อภัยวงศ นายกรัฐมนตรี 4 สมัย. พระนคร: สํานักพิมพบันดาลสาสน, 2511. เอ็ดวิน เอฟ. สแตนตัน. ความกดดันของคอมมิวนิสตในประเทศไทย ในพ.ศ.2492-2496. รัฏฐาภิรักษ 3, 1 (มกราคม 2504) เอ็ดวารด ฮันเตอร. การลางสมองในจีนแดง. นิวยอรค: แวนการดอินคอรปอเรชั่น, 2494. เอฟ เบค และ ดับบลิว กอดิน(เขียน) เลอสรร ธรรมพิชา(แปล). แดงรุแดง(Russian purge and the extraction of confession). พระนคร: โรงพิมพสหชาติ, 2496. เอลิเนอร อิปเปอร (เขียน) “ชนะ ชาญเดชา”(แปล). 11 ป ในคายนักโทษโซเวียต(Eleven years in Soviet Prison). พระนคร: นครไทย, 2497. อิเกอร กูเชนโก (แปล) “ชนะ ชาญเดชา”(แปล). มานเหล็ก หรือ ภายในวงการจารกรรมของ สตาลิน(The Iron Curtain). พระนคร: โรงพิมพนครไทย, 2497. อิศรเดช เดชาวุธ. เบื้องหลังชีวิตนายปรีดี พนมยงค. พระนคร: บริษัทรวมอาชีพ, 2491. อํารุง สกุลรัตนะ,พล.ต.ต. ใครวาอตร.เผาไมดี. กรุงเทพฯ: กิจสยามการพิมพ, 252. ฮิซาฮิโกะ โอกาซากิ(เขียน) ไชยวัฒน ค้ําชู และคนอื่นๆ(แปล). มหายุทธศาสตรสําหรับการปองกัน ประเทศของญี่ปุน( A grand strategy for Japanese defense ). กรุงเทพฯ: ศูนยญี่ปุน ศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2535. เฮอรบลอคมองดูคอมมิวนิสต. ไมปรากฎทีพ่ ิมพ: ไมปรากฎปพิมพ.


273

ภาษาอังกฤษ Adulyasak Soonthornrojana. The Rise of United States-Thai Relations, 1945-1954. Doctoral Dissertation University of Arkon, 1986. Aldrich , Richard J., The Key to the South: Britain , the United States ,and Thailand during the Approach of the Pacific War, 1929-1942. Kuala Lumpur: Oxford University Press, 1993. Aldrich, Richard J., Legacies of Secret Service: Renegade SOE and the Karen Struggle in Burma, 1948-1950. In Richard J. Aldrich, Gary D. Rawnsley and Ming-Yeh T. Rawnsley (eds.), The Clandestine Cold War in Asia, 1945-1965: Western Intelligence, Propaganda and Special Operation. London: Frank Class, 2000. Aidrich, Richard J., Intelligence and the War against Japan: Britain , America and the Politics of Secret Service. Cambridge: Cambridge University Press, 2000. Anderson,Benedict R.O’G., Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspects of the October 6 Coup. Bulletin of Concerned Asian Scholars 3, 3 Anderson, Benedict R.O’G., The Studies of The Thai State: The State of Thai Studies. In Elizier B.Ayal (ed.), The Study of Thailand. Athens, Ohio: Ohio University Center for International Studies Southeast Asia Program, 1979. Anderson, Benedict R.O’G., Introduction. In Benedict R.O’G Anderson and Ruchira Mendiones, In The Mirror. Bangkok: Duang Kamol, 1985. Anderson David L., Trapped by Success: The Eisenhower Administration and Vietnam, 1953-1961. New York: Columbia University Press, 1991. Anuson Chinvanno. Thailand's Politics toward Chaina, 1949-1954. Oxford: St. Antony's College, 1992. Apichat Chinwanno. Thailand’s Search for Protection: The Making of the Alliance with the United States,1947-1954. Doctoral Dissertation Oxford University, 1985. Bartholomew-Feis, Dixee R., The Man on The Ground: The OSS In Vietnam, 19441945. Doctoral Dissertation The Ohio State University, 2001. Batson, Benjamin A., The End of the Absolute Monarchy in Siam. Singapore: Oxford University Press, 1984.


274

Bogart, Leo. Premises for propaganda: the United States Information Agency's operating assumptions in the Cold War. New York: Free Press,1976. Borden , William. The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955. London: University of Wisconsin Press, 1984. Bowie, Katherine A., Rituals of National Loyalty: The Village Scout Movement in Thailand. New York: Columbia University, 1997. Brailey, N.,J., Thailand and the Fall of Singapore: A Frustrated Asian Revolution. Boulder: Westview Press, 1986. Brown, Anthony Cave. The Last Hero: Wild Bill Donovan. New York: Vintage Books, 1982. Busynki, Leszek. SEATO: The Failure of an Alliance Strategy. Singapore: Singapore University Press, 1983. Caldwell, J. Alexander. American Economic Aid to Thailand. London: Lexington Books, 1974. Chalong Soontravanich. The small arms industry in Thailand and the Asian crisis. In Takeshi Hamashita and Takashi Shiraishi (eds.), Hegemony, Technocracy, Networks. Kyoto: The Networks, 2002. Chaiwat Khamchoo and E. Bruce Reynolds., eds., Thai-Japanese relations in historical perspective. Bangkok: Innomedia, 1988. Charivat Santaputra . Thai Foreign Policy. Bangkok: Chareon Wit Press, 1985. Chatri Ritharom. The Making of the Thai-U.S. military alliance and the SEATO Treaty of 1954: a study in Thai decision-making . Doctoral Dissertation Claremmont Graduate School, 1976. Chula Chakrabongse. Lord of Life. London: Alwin Redman Limited,1960. Coast,John. Some Aspects of Siamese Politics. New York: Institute of Pacific Relations, 1953. Darling ,Frank C., Thailand and the United States. Washington D.C.: Public Affaires Press, 1965. Damrong Rachanuphap, Price. The Introduction of Western Culture in Siam . Journal of Siam Society 20


275

Damrong Rachanuphap, Price. Miscellaneous articals: Written for The Journal of Siam Society. Bangkok: The Siam Society, 1962. Dhani Nivat Prince, The Old Siamese Conception of the Monarchy. Journal of Siam Society 36 Dhani Nivat, Prince. The Reign of King Chulalongkorn . Journal of World History 2 Dhani Nivat, Prince. Collected articals. Bangkok: The Siam Society, 1969. Document’s On American Foreign Relations 1957. New York: Council on Foreign Relation, 1957. Dunne, Matthew W., A Cold War State of Mind: Cultural Constructions of Brainwashing in The 1950s. Doctoral Dissertation Brown University, 2003. Eisenhower, Dwight D., Mandate For Change , 1953-1956. New York: Doubleday & Company, 1963. Fifield , R.H., Americans in Southeast Asia: The Roots of Commitment.New York : Thomas Y. Crowell, 1972. Fine,Herbert A., The Liquidation of World War II in Thailand. The Pacific Historical Review 34, 1 Fineman, Daniel Mark. A Special Relationship: The United State and Military Government in Thailand 1947-1958. Honolulu: University of Hawaii Press, 1997. Flood, E. Thadeus. The United States and the military Coup in Thailand: A Background Study. California: Indochina Resource Center, 1976. Foreign Relations of the United States 1948 Vol.6. Washington D.C.: Government Printing Office,1974. Foreign Relations of the United States 1949 Vol.1. Washington D.C.: Government Printing Office,1976. Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6. Washington D.C.: Government Printing Office,1976. Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12. Washington D.C.: Government Printing Office,1987. Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22. Washington D.C.: Government Printing Office,1989. Glassman, Jim. Thailand at the Margins. New York: Oxford University Press, 2004.


276

Glassman, Jim. The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy. Environment and Planning 37 Griswold, A.B., King Mongkut of Siam. New York: The Asia Soceity, 1961. Goscha, Christopher E., Thailand and the Southeast Asian Networks of the Vietnamese Revolution, 1885-1954. Richmond, Surrey: Curzon,1999. Hall, D. G. E., A History of South East Asia. London: Macmillan, 1968. Hayes, Jr., Samuel P., The United States Point Four Program. The Milbank Memorial Fund Quarterly 28, 3 Herring, George C. From Colony To Supper Power. New York: Oxford University Press, 2008. Hewison, Kevin. The Monarchy and democratization. In Kewin Hewison (ed.), Political Change in Thailand : Democracy and Paticipation. London: Routledge, 1997. Hewison, Kevin. Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand. Connecticut: Yale University, 1989. Hess, Gary R., Franklin Rosevelt and Indochina. The Journal of American History 59, 2 Hayes, Jr., Samuel P., Point Four in United States Foreign Policy. Annuals of the American Academy of Political and Social Science Vol.268 Aiding Underdeveloped Areas Aboard (March,1950) Jain,R.K., ed., Chaina and Thailand, 1949-1983. New Delhi: Radiant Publishers, 1984. Johnson, U. Alexis. The Right Hand of Power. New Jersey: Prentice-Hall, 1984. Kahin,George McT., The Asian-African Conference Bandung Indonesia April 1955 Ithaca,New York: Cornell University Press, 1955. Kasian Tejapira. Commodifying Marxism : The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958 . Kyoto University Press, 2001. Keyes, Charles F., Isan: Regionalism in Northeastern Thailand. data paper no.65. Southeast Asia Program Department of Asian Studies, Cornell University Itahaca, New York : Cornell University ,1967. Kobkua Suwannathat – Pain. Politics and National Interests: Negotiations for The Settlement of The Franco-Siamese Territorial Dispute 1945-1947. Tokyo: Sophia University, 1994.


277

Kobkua Suwannathat-Pian. Thailand’s Durable Premier : Phibun through Three Decades 1932 – 1957. Kuala Lumpur: Oxford University Press, 1995. Kobkua Suwanathat-Pian. King , Country and Constitution : Thailand’s Political Development 1932 – 2000. New York: Routledge Curzon, 2003. Kullada Kesboonchoo Mead. A revisionist history of Thai-U.S. relation. Asian Review 16 Kullada Kesboonchoo Mead. The Rise and Decline of Thai Absolutism. New York: Routledge Curzon, 2004. Landon, Kenneth Perry. Siam in Transition : A Brief Survey of Culture Trends in The Five Years since the Revolution of 1932. New York: Greenwood Press, 1968. Lifton , Robert jay., ed., America and the Asian Revolutions. New York: Trans-action Books, 1970. Likhit Dhiravegin. Thai Politics: Selected Aspects of Development and Change. Bangkok: TRI-Sciences Publishing House, 1985. Lobe,Thomas. United States National Security Policy And Aid to The Thailand Police . Monograph Series in World Affaires, Colorado: University of Denver, 1977. Lobe, Thomas and David Morell. Thailand’s Border Patrol Police : Paramilitary Political Power. In Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins (eds.), Supplemental Military Forces : Reserve , Militarias , Auxiliaries. Berverly Hills and London: SAGE, 1978. Lockhart , Bruce McFarland. Monarchy in Siam and Vietnam,1925-1946. Doctoral Dissertation Cornell University, 1990. Mahmud, Nik Anuar Nik. The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup. Selangor Darul Ehasan: Center for Educational Technology Universiti Kebangsaan Malaysia, 1998. McCoy, Alfred W., The Politics of Heroin in Southeast Asia. New york: Harper and Row, 1973. McCoy, Alfred W., A Question of Torture: CIA Interrogation , from the Cold War to the War on Terror. New York: Metropolitan Books, 2006. Mehden, Fred Von der and Fred W. Riggs. Evaluation of the VSO: Interviews with VSO and Villagers. Bangkok: USOM, 1967.


278

Moffat, Abbot Low. Mongkut: The King of Siam. Ithaca,New York: Cornell University Press, 1961. Morell ,David and Chai-anan Samudavanija. Political Conflict in Thailand : reform, reaction, revolution. Cambridge,Massachusette: Oelgeschlager,Gunn & Hain, Publishers,1981. Namngern Boonpiam. Anglo-Thai relations, 1825-1855: a study in changing of Foreign Policies. Doctoral Dissertation University of Nebraska-Lincoln, 1979. Nattapoll Chaiching. The Monarch and the Royalist Movement in Thai Politics, 1932-1957. In Soren Ivarsson and Lotte Isager (eds.), Saying the Unsayable: Monarchy and Democracy in Thailand. Copenhagen: NIAS Press, forthcoming 2010 Neher, Arlene Becker. Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand during the 1940’s. Ph.D. Dissertation Northern Illinois University, 1980. Neon Snidvongs. The development of Siam's relations with Britain and France in the reign of King Mongkut, 1851-1868. Doctoral Dissertation University of London, 1961. Nuecterlein ,Donald E., Thailand and The Struggle for Southeast Asia, New York: Cornell University Press, 1967. Manich Jumsai, M.L., History of Anglo-Thai relations. Bangkok: Chalermnit, 1970. Ockey, James. Civil Society and Street Politics in Historical Perspective. In Duncan McCargo ( ed.), Reforming Thai Politics. Copenhagen: Nodic Institution of Asian Studies, 2002. Osgood, Kenneth A., Total Cold War: U.S. Propaganda in the Free World 1953-1960. Doctoral Dissertation University of California Santa Barbara, 2001. Paterson, Thomas G., The Quest for Peace and Prosperity: International Trade, Communism, and the Marshall Plan. In Barton J. Bernstein, Politics and Policies of the Truman Administration. Chicago: Quadrangle Books,1972. Praagh, David Van. Thailand's Struggle for Democracy: The life and Time of M.R.Seni Pramoj. New York: Holmes and Meier, 1996.


279

Randolph, R. Sean. The United State and Thailand : Alliance Dynamics, 1950-1985. Berkeley: Institution of East Asian Studies University of California, 1986. Ray, Jayanta Kumar. Portraits of Thai Politics. New Delhi: Orient Langman, 1972. Reynolds, E. Bruce. The Opening Wedge: The OSS in Thailand. In George C. Chalou(ed.), The Secrets War: The Office of Strategic Services in World War II. Washington D.C.: National Archives and Record Administration, 1992. Reus-Smit ,Christian. American Power and World Order. Cambridge: Polity Press, 2004. Reynolds , E. Bruce. Thailand's secret war: the Free Thai OSS, and SOE during World War II. Cambridge: Cambridge University Press, 2005. Reynolds, E. Bruce. Thailand and The Southeast Asia League. paper presented at the International Conference on Thai Studies in Bangkok, 22-24 August 1984. Riggs, Fred W., Thailand: The Modernization of A Bureaucratic Polity. Honolulu: EastWest Center, 1967. Rist, Gilbert. The History of Development : From Western Origins to Global Faith. London: Zed Books,1999. Rong Syamananda. An Outline f Thai History. Bangkok: Chulalongkorn University, 1963. Rositzke,Harry. The CIA’s Secret Operations Espionage , Counterespionage , and Covert Action. London: Westview Press. 1988. Scott, Peter Dale. The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War. New York: The Bobbs-Merrill, 1972. Sears, Laurie J., The Contingency of Autonomous History. In Laurie J. Sears(ed.), Autonomous Histories Particular Truths. Wisconsin: Center for Southeast Asian Studies University of Wisconsin, 1993. Selected Documents of The Bandung Conference Texts of Selected Speeches and Final Communique of The Asian-African Conference Bandung Indonesia, 1824 April 1955. New York: Institution of Pacific Relations, 1955. Seni and Kurit Pramoj, M.R., The King of Siam Speaks. Type written,1948 In Abbot Low Moffat, Mongkut: The King of Siam. Ithaca,New York: Cornell University Press, 1961.


280

Seni Promoj, M.R., King Mougkut as a Legislator. Journal of Siam Society 38 In Abbot Low Moffat, Mongkut: The King of Siam. Ithaca,New York: Cornell University Press, 1961. Seni and Kukrit Promoj, M.R., A King of Siam Speaks. Bangkok: The Siam Society, 1987. Somsak Jeamteerasakul. The Communist Movement in Thailand. Doctoral Dissertaion Monash University, 1993. Sorasak Ngamcachonkulkid. The Seri Thai Movement: The First Alliance against Military Authoritarianism in Modern Thai Politics. Doctoral Dissertation University of Wisconsin-Madison, 2005. Soravis Jayanama. Rethinking the Cold War and the American empire. Asian Review 16 Special Study Mission to Southeast Asia and The Pacific report by Walter H. Judd, Minnesota; Margerite Stitt Churc, Illinois; E. Ross Adair, Indiana; Clement J. Zablocki, Wisconsin, 29 January 1954 for the used of the Committee on Foreign Affaire. Washington D.C.: United States Government Printing Office, 1954. Stanton, Edwin F., Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World. New York: Harper & Brothers Publishers, 1956. Stowe, Judith A., Siam Becomes Thailand: A Story of Intrigue. London: Hurst & Company, 1991. Suchit Bunbongkarn. Political Institution and Processes. In Somsakdi Xuto (ed.), Government and Politics of Thailand. Singapore: Oxford University Press, 1987. Surachart Bamrungsuk. United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947-1977. Bangkok: Duang Kamol, 1988. Tarling, Nicholas. Ah-Ah: Britain and the Bandung Conference of 1955. Journal of Southeast Asian Studies 23, 1 Tarling, Nicholas. Britain and the coup 1947 in Siam. Paper Presented to International Association of Historians of Asia, Chulalongkorn University Bangkok, 20-24 May 1996.


281

Tarling, Nicholas. Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War. Singapore: Singapore University Press, 2005. Tamada, Yoshifumi. Political Implication of Phibun's Cultural Policy, 1938 – 1941. Final report submitted to the National Research Council of Thailand, 1994. Terwiel, Barend Jan. Field Marshal Plaek Phibun Songkhram. St Lucia: University of Queensland Press, 1980. Thanet Aphornsuvan. The United States and the Coming of the Coup of 1947 in Siam. Journal of the Siam Society 75 Thak Chaloemtiarana. ed., Thai Politics 1932 – 1957. Bangkok:The Social Science Association of Thailand, 1978. Thak Chaloemtiarana. Thailand: The Politics of Despotic Paternalism. Bangkok: Thammasat University Press, 1979. Thamsook Numnonda. Phibunsongkhram's Thai Nation-Building Program during the Japanese Military Presence, 1941-1945. Journal of Southeast Asian Studies 9, 2 Thedeus, Flood E., The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study. Washington D.C.: An Indochina Resourse Center Publication, 1976. Theoharis, Athan. The Rhetoric of Politics: Foreign Policy, Internal Security and Domestic Politics in the Truman Era. In Barton J. Bernstein, Politics and Policies of the Truman Administration. Chicago: Quadrangle Books,1972. Thongchai Winichakul. Siam mapped: a history of the geo-body of a nation. Chiang Mai: Silkworm books, 1995. Thongchai Winichakul. Writing At The Interstices: Southeast Asian Historians and Postnational Histories in Southeast Asia. In Abu Talib Alimad and Tan Liok Ee (eds.), New Terains in Southeast Asia History. Singapore: Singapore University Press, 2003. Thongchai Winichakul. Siam’s Colonial Conditions and the Birth of Thai History.paper presented to the Conference on“ Unraveling the Myths of Southeast Asia Historiography” In honor of Professor Barend Jan Terwiel, 24-26 November 2006.


282

The Pentagon Papers. New York: The New York Times, 1971. Truman, Harry S., Years of Trial and Hope, 1946-1952, Vol. 2. New York: A Signet Book, 1965. Vanida Trongyounggoon Tuttle. Thai-American Relations,1950-1954. Doctoral Dissertation Washington States University, 1982. Vella, Walter F., The Impact of The West on Government in Thailand. Berkeley: University of California Press, 1955. Wilson, Constance M., State and Society in the reign of Mongkut, 1851-186 : Thailand on the Eve of Modernization. Doctoral Dissertation Cornell University, 1970. Wilson, David A., Political Tradition and Political Change in Thailand. S.I.: The Rand Corporation,1962. Wilson, David A., Trip for AACT to Thailand. Bangkok: USOM, 1968. Wilson, David A., The United States and the Future of Thailand. New York: Praeger Publishers, 1970. Wilson, David A., Politics in Thailand. Ithaca, New York: Cornell University Press, 1962. Wilson, David A., Fred Von der Mehden and Paul Trescott. Thinking about ARD. S.I.: USOM,1970. Wise, David and Thomas B. Ross. The Invisible Government . New York: Vintage Books,1974. Wiwat Mungkandi. The Security Sydrome, 1941-1975. In Wiwat Mungkandi and William Warren (eds.), A Century and A Half of Thai-American Relation. Bangkok: Chulalongkorn University, 1982. Wyatt, David K., Thailand: A Short History. Bangkok: Thai Watana Panich and Yale University Press, 1984.


283

สัมภาษณ จีรวัสส ปนยารชุน, 20 มีนาคม 21 เมษายน 22 มิถุนายน 2551และ 13 กันยายน 2552 นิตย พิบูลสงคราม, 28 กุมภาพันธ 2551


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.