มาตรฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม

Page 1

SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

มาตรฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม 1.ขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบ (Sizes and layout of drawing sheets) มาตรฐานขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบจะยึดตามมาตรฐาน ISO 5457:1999(E) 1.1 ขนาด(Sizes) ตองเลือกใชกระดาษขนาดเล็กที่สุดจากขนาดกระดาษมาตรฐานเพื่อขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบตนฉบับ(original drawing) โดยแบบที่เขียนบนกระดาษที่เขียนบนกระดาษที่เลือกใชตองยังคงไดรายละเอียดและความชัดเจน ขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบจะใชขนาดกระดาษมาตรฐาน ISO-A series(ดู ISO 216) ซึ่งแสดงในตารางที่1.1-1 ตารางที่1.1-1 ขนาดกระดาษกอนตัด,ขนาดกระดาษหลังตัดและพื้นที่เขียนแบบ กระดาษหลังตัด

พื้นที่เขียนแบบ

กระดาษกอนตัด

ชื่อกระดาษ

รูป

a1 1)

b1 1)

a2 ±0.5

b2 ±0.5

a3 ±2

b3 ±2

A0 A1 A2 A3 A4

1 1 1 1 2

841 594 420 297 210

1189 841 594 420 297

821 574 400 277 180

1159 811 564 390 277

880 625 450 330 240

1230 880 625 450 330

Note - - ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0, ดู ISO 216. 1) คา tolerances, ดู ISO 216.

รูปที่ 1.1-2 ขนาด A4 รูปที่ 1.1-1 ขนาด A3 ถึง A0 ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm) ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm) ชื่อกระดาษ(designation) จะตองระบุไวในขอบลางมุมดานขวามือ (ดูรูปที่ 1.2-2) หมายเหตุ : 1. กระดาษกอนตัด (untrimmed sheet,U) 2. กระดาษหลังตัด (trimmed sheet,T) ขนาดกระดาษหลังตัดจะเปนขนาดกระดาษเขียนแบบมาตรฐานสําหรับใชงาน

1 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

1.2 ขอกําหนดการใชกระดาษเขียนแบบ เพื่อความชัดเจนและเหมาะสมของงานเขียนแบบกําหนดใหมาตรฐานการใชกระดาษเขียนแบบดังนี้ ตาราง 1.2-1 Part Assembly Drawing Body Bonnet Dics Part ขนาดใหญอื่นๆ Part ขนาดเล็กอื่นๆ

A4

ขอกําหนดการใช B4 A3 A2

A1

O.K. O.K. O.K. O.K. O.K. Yes

Yes -

O.K. O.K. O.K. O.K. O.K. O.K.

2 / 101

O.K. Yes Yes Yes Yes O.K.

O.K. O.K. O.K. O.K. O.K. O.K.

Yes

ขนาดแนะนําใชงาน

O.K.

ขนาดอื่นๆที่ใชงานได

-

ขนาดหามใชงาน

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

1.3 ขอบและกรอบ (Borders and frame) ขอบแบบ(border) คือสวนที่ถูกลอมรอบดวยขอบของกระดาษและกรอบพื้นที่เขียนแบบซึ่งตองมีในแบบทุกขนาด ขอบดานซาย จะตองมีความกวาง 20 mm.โดยวัดระยะจากขอบของกระดาษถึงเสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ เพื่อใหมีพื้นที่สําหรับเก็บแบบเขา แฟม สวนขอบดานอื่นๆจะมีความกวางเปน 10 mm.ดูรูปที่ 1.3-1 กรอบพื้นที่เขียนแบบจะตองเขียนดวยเสนเต็ม ขนาดความหนาเสน 0.7 mm.

รูปที่ 1.3-1 ขอบแบบ(Border)

1.3.1 เครื่องหมายแกนกลาง (Centring marks) เพื่อใหงายตอการระบุตําแหนงของแบบเมื่อทําการถอดแบบหรือทําไมโครฟลม(microfilmed) จะตองทําเครื่องหมายแกนกลาง เครื่องหมายทั้ง 4 จะเขียนแสดงที่ปลายของแกนสมมาตรทั้ง 2 ของกระดาษเขียนแบบ(Trimmed sheet)ดวยคาพิกัด ความเผื่อ(tolerance) ±1 รูปแบบเครื่องหมายแกนกลางจะไมบังคับแตแนะนําวาควรแสดงในรูปแบบของเสนเต็มดวยคาความ หนาเสน 0.7 mm. โดยลากเปนเสนตรงความยาว 10 mm.จากขอบอางอิงกริด(grid reference border) ผานกรอบพื้นที่เขียนแบบ ตรงไปในแนวเดียวกับแกนสมมาตรกระดาษเขียนแบบดูรูปที่ 1.3.2-1 ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0 ตองเพิ่มเครื่องหมายแกน กลางที่จุดกึ่งกลางของแตละสวนที่ทํา ไมโครฟลม

3 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

1.3.2 ระบบอางอิงกริด(Grid reference system) กระดาษเขียนแบบตองแบงเปนสวนๆ(fields)เพื่อใหงายตอการการระบุตําแหนงของรายละเอียด,การเพิ่มเติม,การแกไข ฯลฯ บนแบบ(ดูรูปที่ 1.3.2-1) ในแตละพื้นที่(fields)ที่ถูกแบง จะระบุพิกัดอางอิงดวยตัวอักษรพิมพใหญ(ยกเวนตัวอักษร I และ O)เรียงจากบนลงลางและ จากตัวเลขเรียงจากซายไปขวา โดยอางอิงจากทั้งสองดานของกระดาษ สําหรับกระดาษขนาด A4 ระบุเฉพาะดานบนและดาน ขวาเทานั้นตัวอักษรใชขนาดความสูงขนาด3.5 mm. ขนาดชวงพิกัดฉากยาว 50 mm มี่จุดเริ่มตนที่แกนสมมาตร(centring mark) ของกระดาษเขียนแบบ จํานวนชวงของการแบงขึ้นกับขนาดกระดาษเขียนแบบ (ดูตารางที่ 1.3.2-1) ผลตางที่เกิดขึ้นจากการ แบงชวงพิกัดจะถูกรวมไวกับชวงที่อยูติดกับมุม

รูปที่ 1.3.2-1 ระบบอางอิงกริดและเครื่องหมายแกนกลาง (Grid reference system and centring marks) ตารางที่ 1.3.2-1 จํานวนชวงพิกัดฉาก Designation

A0

A1

A2

A3

A4

ดานยาว ดานสั้น

24 16

16 12

12 8

8 6

6 4

4 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

1.3.3 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marking) เพื่อความสะดวกการตัดกระดาษดวยมือหรือตัดอัตโนมัติ จะตองมีเครื่องหมายแสดงแนวตัดที่มุมทั้ง 4 ของขอบกระดาษเขียน แบบ รูปแบบของเครื่องหมายจะมีลักษณะเปนสี่เหลี่มสองรูปซอนกันโดยมีขนาด 10mm x 5mm ดูรูปที่ 1.3.3-1

รูปที่ 1.3.3-1 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marks)

5 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

2. ตารางรายการแบบ(Title blocks) ตารางรายการแบบตามมาตรฐาน ISO 7200-1984(E) 2.1 ขอกําหนดทั่วไป(General requirement) แบบหรือเอกสารที่เกี่ยวของตองมีตารางรายแบบซึ่งตองสอดคลองกับขอกําหนดการทําไมโครกอปป (ดู ISO 6428) 2.2 ตําแหนง(Position) ตําแหนงของตารางรายการแบบ(Title blocks) จะตองเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน ISO 5457 ดังนี้ กระดาษขนาด A0 ถึง A3 จะตองแสดงไวที่บริเวณมุมลางขวาของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ ในรูปแบบแนวนอน(landscape)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-1) กระดาษขนาด A4 จะตองแสดงไวที่บริเวณดานกวางลางของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ ในรูปแบบแนวตั้ง(Portrait)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-2) ทิศทางของการวางตารางรายการแบบจะตองมีทิศทางเดียวกับทิศทางการอานแบบ 2.3 ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบ เพื่อใหสามารถจัดหมวดหมูแบบใหเปนระเบียบได ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบจะถูกแบงกลุมแลวแยกแสดงตามสวน ตางๆของตารางรายการแบบดังนี้ 2.3.1) สวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone ) 2.3.2) สวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information) ซึ่งมีต้งั แต 1 สวนขึ้นไป ขอมูลสวนนี้อาจมีตําแหนงอยูเหนือ และ/หรือ อยูดานลางซายของสวนขอมูลประจําตัวแบบ 2.3.1 ขอมูลประจําตัวแบบ ( Identification zone ) ขอมูลประจําตัวแบบ จะตองประกอบไปดวยขอมูลพื้นฐานดังตอไปนี้ เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ(the registration or Identification number) ชื่อเรียกแบบ (the title of the drawing) ชื่อตามกฎหมายของเจาของแบบ (the name of the legal owner of the drawing) สวนขอมูลประจําตัวแบบตองมีตําแหนงอยูบริเวณมุมขวาลางของตารางรายการแบบและวางในทิศทางมุมมองที่ถูกตอง เสนกรอบตารางรายการแสดงแบบที่เปนสวนขอมูลประจําตัวแบบตองแสดงใหเดนชัดดวยเสนเต็มหนา เชนเดียวกับกรอบพื้น ที่เขียนแบบ เพื่อใหใหสวนขอมูลประจําตัวแบบสามารถอานไดจากดานหนาของแบบที่ถูกพับเพื่อนําไปใชงาน ความยาวสูงสุดของตาราง รายการแบบตองสอดคลองกับขอกําหนดที่สัมพันธกันใน ISO 5457 โดยความยาวสูงสุดของตารางรายการแบบจะตองยาว ไมเกิน170 มิลลิเมตร หมายเหตุ มาตรฐานในอนาคตจะเกี่ยวของกับวิธีการพับแบบ 6 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. ตัวอยาง ของการจัดวางรายการพื้นฐาน รายการ , และ

S.O.P.

DS73012

, และ แสดงในรูป 2.3.1-1,2.3.1-2 และ 2.3.1-3 เปนรายการบังคับ(mendatory)ตองมีในรายการแสดงแบบ

รูปที่ 2.3.1-1

รูปที่ 2.3.1-2

รูปที่ 2.3.1-3 2.3.1.1 เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบที่กําหนดโดยเจาของแบบตองแสดงที่ตําแหนงมุมลางขวาของสวนขอมูล ประจําตัวแบบ หมายเหตุ สัญญารับเหมาชวงหรือขอกําหนดของผูเกี่ยวของอาจทําใหแบบมีหมายเลขประจําตัวแบบมากกวาหนึ่งหมายเลข ซึ่งหมายเลขประจํา ตัวแบบตัวแรกกําหนดโดยเจาของแบบและหมายเลขประจําตัวแบบอื่นหนึ่งกําหนดโดยผูรับเหมาชวงหรือโดยผูเกี่ยวของอื่นๆ ในกรณีนี้ ตองมีวิธีที่เหมาะสมแยกระหวางหมายเลขที่แตกตางกัน และตองไมมีการเขียนหมายเลขพิเศษเติมเขาไปในชองหมายเลขของเจาของ แบบ แตถาหมายเลขแบบตนฉบับไมมีความเกี่ยวของใหลบทิ้งไป

7 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

2.3.1.2 ชื่อของแบบ(title) ตองบอกใหทราบถึงหนาที่ของตัวแบบ(ตัวอยางเชน หนาที่ของชิ้นงานในแบบหรือลักษณะการประกอบ ของชิ้นงานในแบบ) 2.3.1.3 ชื่อทางกฎหมายของเจาของแบบ(หางราน,บริษัท,กิจการ, ฯลฯ) อาจเปนชื่อทางการของเจาของแบบ,ชื่อยอทางการคา หรือเครื่องหมายสัญลักษณทางการคา ถาชองของชื่อทางกฎหมายนี้มีพ้นื ที่เพียงพอควรเพิ่มเครื่องหมายแสดงลิขสิทธิ์ของเจาของแบบเขาไปดวย อีกทางหนึ่ง อาจจะแสดงที่อื่นในตารางรายการแบบ หรือ แสดงบนแบบที่บริเวณนอกกรอบเขียนแบบ ตัวอยางเชน แสดงในพื้นที่ดาน ขอบเขาแฟม(กรอบดานซายมือของแบบ) 2.3.2 ขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information) ในสวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติ่มอาจแบงเปนรายการไดดังนี้ 2.3.2.1) รายการดานการบงชี้ ( indicative items) 2.3.2.2) รายการดานเทคนิค (technical items) 2.3.2.3) รายการดานเกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items) 2.3.2.1 รายการดานการบงชี้ ( indicative items) เปนรายการที่มีความจําปนที่ตอการอานแบบ เพื่อไมใหการอานแบบหรือตี ความแบบผิดพลาด รายการเหลานี้ไดแก - สัญลักษณแสดงวิธีการเขียนภาพฉาย(projection method)บนแบบ (แบบมุมมองที่ 1หรือ แบบมุมมองที่ 3 , ดู ISO 128) - มาตราสวนหลักของแบบ(the main scale of the drawing) - หนวยวัด(dimensional unit) ของการกําหนดขนาดเชิงเสน ในกรณีที่เปนหนวยอื่นที่ไมใชหนวยมิลลิเมตร รายการเหลานี้จะเปนรายการบังคับ(mandatory)ตองมีในตารางรายการแบบ ถาแบบไมสามารถอานใหเขาใจไดเมื่อไมมี ขอมูลเพิ่มเติมนี้เหลานี้ 2.3.2.2 รายการดานเทคนิค (technical items) จะเกี่ยวของกับวิธีการเฉพาะหรือขอตกลงสําหรับแบบที่ใชงาน - วิธีการระบุลักษณะผิว(surface texture) (ดู ISO 1302) - วิธีการระบุ geometrical tolerances (ตัวอยางดูใน ISO 1101) - คาพิกัดเผื่อทั่วไป(general toleraces) สําหรับใชงานในกรณีที่ไมมีคาพิกัดเผื่อกําหนด(specific tolerance)ระบุมาพรอม กับตัวเลขบอกขนาด (ดู ISO 2768) - มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวของในสวนนี้

8 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

2.3.2.3 รายการดานที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items) จะขึ้นอยูกับวิธีการที่ใชบริหารจัดการแบบโดย อาจจะประกอบดวยรายการตางๆดังตอไปนี้ - ขนาดกระดาษเขียนแบบ - วันที่ที่เริ่มใชงานแบบ (issue date) - สัญลักษณการแกไขแบบ(revision symbol) (ระบุในชองตารางรายการสําหรับเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ ) - วันที่และรายละเอียดยอของการแกไขแบบซึ่งอางอิงกับสัญลักษณการแกไข รายการนี้อาจแสดงไวนอกตารางรายการแบบโดยอาจแยกมาแสดงมาเปนตารางหรืออาจแสดงแยกในเอกสารตางหาก - ขอมูลการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบอื่นๆ เชน รายมือชื่อของผูรับผิดชอบ 2.4 แบบที่มีหลายแผน(Multiple sheet drawing) แบบที่มีหลายแผนใชหมายเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบเดียวกันตองระบุตัวเลขแสดงลําดับแผน (sequential sheet number) และตองแสดงจํานวนแผนทั้งหมดของแบบลงในแบบแผนที่ 1 ตัวอยางเชน "Sheet No. n/p" เมื่อ n คือ หมายเลขแผนของแบบ p คือ จํานวนแผนทั้งหมดของแบบ เมื่อแสดงตารางรายการแบบในแผนที่ 1 แลวอาจจะใชตารางแสดงรายการอยางยอกับแบบทุกแผนที่เหลือ โดยแสดงอยางยอ ในสวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone ) เทานั้น

9 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

3.มาตราสวน(Scales) 3.1 มาตรฐานมาตราสวนจะอางอิงตาม ISO 5455-1979(E) 3.2 นิยาม(Definitions) มาตราสวน : คือ อัตราสวนของขนาดเชิงเสนขององคประกอบ ของชิ้นงานที่เขียนแสดงในแบบตนฉบับ กับขนาดเชิงเสนจริงของ องคประกอบเดียวกันของตัวชิ้นงานจริง Scale : Ratio of the linear dimension of an element of an object as represented in the original drawing to the rea linear dimension of the same element of the object itself. มาตราสวนเทาของจริง : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนเปน 1 : 1 Full size : A scale with the ratio 1 : 1 มาตราสวนขยาย : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนมากกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่มากกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนขยาย enlargment scale : A scale where the ratio is larger than 1 : 1. It is said to be larger as its ratio increases. มาตราสวนยอ : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนนอยกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่นอยกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนยอ reduction scale : A scale where the ratio is smaller than 1 : 1. It is said to be smaller as its ratio decreases. 3.3 รูปแบบการระบุมาตราสวน(Designation) การระบุมาตราสวนของแบบที่สมบรูณจะตองประกอบดวยคําวา "SCALE" (หรือคําที่มีความหมายเดียวกันของภาษาที่ใช ในแบบ) ตามดวยการระบุอัตราสวนดังนี้ - SCALE 1 : 1 สําหรับมาตราสวนเทาของจริง - SCALE X : 1 สําหรับมาตราสวนขยาย - SCALE 1 : X สําหรับมาตราสวนยอ ถาไมมีโอกาสเกิดการเขาใจผิด คําวา "SCALE" อาจละเวนไมแสดงก็ได

3.4 การระบุมาตราสวน(Inscription) 3.4.1 การระบุมาตราสวนที่ใชในแบบตองเขียนลงในตารางรายการของแบบ 3.4.2 เมื่อมีความจําเปนตองใชมาตราสวนมากกวา 1 มาตราสวนในแบบ มาตรสวนที่จะเขียนแสดงลงในตารางรายการแบบ ตองเปนมาตราสวนหลักเทานั้น มาตราสวนอื่นๆใหแสดงใกลกับหมายเลขอางอิงรายการชิ้นสวน(item reference number of part)ที่เกี่ยวของหรือใกลกับตัวอักษรอางอิงภาพขยาย(detail view)หรือภาพตัด(Section view)

10 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

3.5 มาตราสวนแนะนํา(Recommended scales) 3.5.1 มาตราสวนแนะนําสําหรับใชในแบบทางเทคนิค(technical drawings) กําหนดในตารางดังตอไปนี้ ตารางที่ 3.5-1 มาตราสวนแนะนํา ประเภทมาตราสวน มาตราสวนขยาย

มาตราสวนแนะนํา 50 : 1 5:1

20 : 1 2:1

มาตราสวนเทาของจริง มาตราสวนยอ

1:2 1 : 20 1 : 200 1 : 2 000

1:5 1 : 50 1 : 500 1 : 5 000

10 : 1 1:1 1 : 10 1 : 100 1 : 1 000 1 : 10 000

หมายเหตุ ในกรณีพิเศษที่ตองใชขนาดมาตราสวนขยายที่ใหญกวาหรือมาตราสวนยอที่เล็กกวามาตราสวนแนะนําที่แสดงใน ตาราง ชวงที่แนะนําของมาตราสวนอาจขยายเพิ่มไดในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง คือหาคามาตราสวนที่ตองการจาก มาตราสวนแนะนําในตาราง โดยการคูณคาเศษของมาตราสวนขยาย หรือคาสวนมาตราสวนยอดวย10 ยกกําลัง เลขจํานวนเต็ม ในกรณีที่ไมสามารถใชมาตราสวนแนะนําไดเนื่องมาจากเหตุผลเกี่ยวกับหนาที่การทํางาน อาจใชมาตราสวนที่อยู ระหวางมาตราสวนแนะนําได

3.5.2 การเลือกมาตราสวนที่ใชในแบบจะใชหลัก 2 ขอดังตอไปนี้ ก) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดขนาดของกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจริงที่ทําแบบเปนสําคัญ ขนาดกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบ ข) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดลักษณะชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบเปนสําคัญ ขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบโดยยึดหลักในขอนี้จะขึ้นกับความซับซอนของชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบ มาตราสวนและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดของแบบ อยางไรก็ตาม มาตราสวนที่เลือกใชในแบบทุกกรณีจะตองใหญพอที่จะทําใหแบบมีความชัดเจนและงายตอการอานแบบ 3.5.3 รายละเอียดของแบบที่มีขนาดเล็กมากสําหรับการใหขนาดในภาพหลักของแบบ จะตองแยกแสดงดวยภาพขยาย(detail view)หรือภาพตัด(Section view)ในบริเวณที่ใกลกับภาพหลักของแบบดวยมาตราสวนที่ใหญกวา 3.6 แบบมาตราสวนขยายขนาดใหญ(Large scale drawings) แบบของชิ้นงานขนาดเล็กที่ใชมาตราสวนขยายขนาดใหญ ควรเขียนภาพขนาดเทาของจริงเพิ่มเขาไปดวยเพื่อใหเปนขอมูล ซึ่งในกรณีนี้ภาพขนาดเทาจริงอาจเขียนแสดงอยางงายโดยเขียนแสดงเพียงเสนรอบรูปของชิ้นงานเทานั้น

11 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.เสน(Lines) 4.1 มาตรฐานเสนจะอางอิงตาม 1.1) ISO 128-20:1996(E) Basic conventions for lines 1.2) ISO 128-24:1996(E) Lines on mechanical engineering drawings 1.3) BS304 : Part 1 : 1984 Recommendations for general principles 1.4) มอก. 210-2520 วิธีเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกล 4.2 ความหนาของเสน(Line widths or thickness of line) เสนทุกชนิดที่ใชในแบบจะตองมีความหนาของเทากับคาใดคาหนึ่งของเสนคาความหนาเสนดังตอไปนี้ ขึ้นอยูกับชนิดและขนาด ของแบบ โดยอนุกรมคาความหนาของเสนจะเพิ่มขึ้นในอัตราสวน 1 : 2 (≈ 1 : 1 .4 ) หรืออีกนัยหนึ่งคือคาความหนาของ เสนจะเพิ่มขึ้นตามอนุกรมกาวหนาเรขาคณิตของ 2 เชน ตัวอยางเชน เสนที่บางสุดคือ 0.13 mm ความหนาของเสนตอไปจะ เปน 0.13 2 ≈ 0.18 mm

- อัตราสวนคาความเสนของเสนหนาพิเศษตอเสนหนาตอเสนบางจะมีคาเปน 4 : 2 : 1 - ความหนาเสนตองมีขนาดสม่ําเสมอเทากันตลอดทั้งเสน 4.3 ระยะหางระหวางเสน (Spacing) ระยะหางต่ําสุดของเสนตรงสองเสนที่ขนานกันตองไมนอยกวา 0.7 mm เวนเสียแตขัดแยงกับหลักที่แสดงในมาตรฐาน ระหวางชาติอื่นๆ

12 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.4 ประเภทของเสนและการใชงาน (Types of line and their application) เสนที่ใชในงานเขียนแบบตองเปนเสนที่แสดงในตารางที่ 4.4-1 เทานั้น ตัวอยางการใชงานแสดงในรูปที่ 10 ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ เสน คําอธิบาย การใชงาน เสนเต็มหนา A1 เสนรอบรูปที่มองเห็น(visible outline) (Continuous thick ) A2 เสนขอบรูปที่มองเห็น(visible edge) or (Continuous wide) A3 เสนสุดความยาวเกลียว (Limit of length of full depth thread) A4 เสนยอดเกลียว (Crests of crew threads) A5 เสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ (Frame) เสนเต็มบาง B1 เสนแสดงรอยตอที่เปนขอบโคง, เสนแนวโคง (Continuous thin) (Imaginary lines of intersection) or (Continuous narrow) B2 เสนใหขนาด (dimension line) B3 เสนชวยใหขนาด(Extension line) B4 เสนชี้ (leader line) B5 เสนแสดงลายตัด(hatching) B6 เสนแสดงรูปรางหนาตัด(ขอบรูป) (Outlines of revolved sections) B7 แสดงเปนเสนศูนยสั้น(short cetre line) B8 เสนโคนเกลียว(Root of screw threads) B9 เสนทะแยงมุมสําหรับแสดงพื้นที่ราบ (Diagonals for the indication of flat surfaces) B10 เสนแนวดัดโคง(พับ)บนที่วางและบนชิ้นงานที่จะถูก แปรรูป (Bending lines on blanks and processed parts) B11 แสดงรายละเอียดซ้ําๆ (indication of repetitive details) B12 เสนชวยแสดงตําแหนงของผิวเอียง (Interpretation lines of tapered features) B13 จุดเริ่มตนระบุและเครื่องหมายขอบเขต (Origin and terminations of dimension lines) B14 เสนฉาย(Projection lines) B 15 เสนกริด(grid lines)

13 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. เสน

S.O.P.

DS73012

ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ (ตอ) คําอธิบาย การใชงาน เสนมือเปลา *C1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวนตัด (freehand continuous) ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section)ถา เสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry line หรือเสนแกนกลาง (Centre line ) เสนตรงซิกแซก § D1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวน( Continuous thin ตัด ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section) straight with zigzags) ถาเสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry line)หรือเสนแกนกลาง (Centre line ) เสนประหนา E1 แสดงบริเวณที่ใหทํา surface treatment เชน การทํา (Dashed thick) heat treatment เสนประบาง F1 เสนรอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden outlines) (Dashed thin) F2 ขอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden edges) G1 เสนศูนยกลาง (centre lines) เสนลูกโซบาง (Chain thin) G2 เสนสมมาตร (Lines of symmetry) หรือเสนศูนยกลางเล็ก G3 เสนแสดงแนวการหมุนของชิ้นงาน(Trajetectory) G4 เสนพิทซและวงกลมพิทซ(Pitch circles) เสนลูกโซบางหักมุม H1 เสนแสดงระนาบตัด (Cutting planes) (Chain thin, thick at end and changes of direct)

เสนลูกโซหนา

J1 แสดง(ขอบเขต)พื้นที่ที่ตองการทํา surface treatment (Chain thick) เชน heat treatment, carburizing hardening เสนลูกโซบางสองจุด K1 แสดงรูปรางชิ้นงานที่อยูติดกันหรือถัดไป (Chain thin double dashed) K2 เสนแสดงตําแหนงรูปรางชิ้นงานเคลื่อนที่ได K3 แสดงแนว Centroid K4 แสดงสวนที่อยูดานหนาของระนาบตัด K5 เสนรอบรูปเริ่มตนของชิ้นงานกอนการขึ้นรูป K6 เสนรอบรูปของชิ้นงานเมื่อทําสําเร็จภายในชิ้นงาน K7 เสนแสดงสวนของชิ้นงานที่ตองทําเพิ่ม K8 กรอบของสวน/พื้นที่ ที่บอกรายละเอียด K9 Projected tolerance zone หมายเหตุ * เสน C1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยมือ, § เสน D1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยเครื่องคอมพิวเตอร ในแบบแตละแผนควรจะเลือกใชเสนประเภทเดียวทั้งแบบ คือเลือกใชเสน C1 หรือ D1 อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น 14 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

15 / 101

S.O.P.

DS73012

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.5 กลุมของเสนและความหนาเสน(Line groups and Line widths) ตาม ISO 128-24 แบบทางวิศวกรรมเครื่องกลปกติจะใชเสนที่มีขนาดความหนา 2 คา โดยมีอัตราสวนคาความหนาเสน ระหวางเสนหนาตอเสนบางตองมีคาเปน 2 : 1 แตเพื่อความเหมาะสมในการใชงานยิ่งขึ้นจะเพิ่มคาความหนาที่อยูระหวาง เสนหนาและเสนบางเขาไปอีกหนึ่งคา โดยใชเปนคาความหนาเสนของเสนประบาง (มาตรฐานความหนาเสนชุดที่ 1 ของ มอก. 210-2520 ) ตารางที่ 4.5-1 ขนาดกลุมเสนและความหนาที่ใชเขียนแบบ กลุมเสนและความหนาของเสน คําอธิบาย ชนิดเสน 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 เสนเต็มหนา 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 (Continuous thick) เสนเต็มบาง 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (Continuous thin) เสนมือเปลา 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (freehand continuous) เสนตรงซิกแซก เสนประหนา (Dashed thick) เสนประบาง (Dashed thin) เสนลูกโซบาง (Chain thin ) เสนลูกโซบางหักมุม (Chain thin, thick at end and changes of direct)

เสนลูกโซหนา (Chain thick)

เสนลูกโซบางสองจุด (Chain thin double dashed)

0.5

0.35

0.25

0.18

0.13

1.0

0.7

0.5

0.35

0.25

0.7

0.5

0.35

0.25

0.18

0.5

0.35

0.25

0.18

0.13

0.5

0.35

0.25

0.18

0.13

1.0

0.7

0.5

0.35

0.25

0.5

0.35

0.25

0.18

0.13

กลุมของเสนความหนาเสนจะตองเลือกตามชนิด,ขนาดและมาตราสวน และตามขอขอกําหนดของการทําไมโครกอปป และ/หรือ วิธีการเขียนแบบอื่นๆ

16 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.6 จุดตัดของเสน(Junction) เสน E,F,G,J และ K ในตารางที่ 4.5-1 ตองมีจุดตัดหรือจุดชนของเสนที่เสนขีด(dash) ดังแสดงในรูปที่4.6-1 ถึง 4.6-6

รูปที่ 4.6-1

รูปที่ 4.6-2

รูปที่ 4.6-3

รูปที่ 4.6-4

รูปที่ 4.6-5

รูปที่ 4.6-6

17 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.7เสนชี้และเสนอางอิง (leader lines and reference lines) มาตรฐานการใชเสนชี้และเสนอางอิงจะอางอิงตาม ISO 128-22 เสนชี้ (Leader line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอระหวาง featureของแบบกับอักขระ(alphanumeric) และ/หรือ ขอความ ตางๆ( notes, item reference, ขอกําหนดทางเทคนิค ฯลฯ)ในรูปแบบที่ชัดเจนไมกํากวม เสนอางอิง (Reference line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอจากเสนชี้ในแนวนอนหรือแนวตั้ง และ/หรือ มีคําสั่งเพิ่มเติม (additional instructions) แสดงบนเสนหรือที่เสน

รูปที่ 4.7-1 การแสดงเสนชี้(Presentation of leader lines) เสนชี้จะเขียนดวยเสนเต็มบางและเขียนทํามุมกับเสนในแบบที่สัมพันธกันกับเสนชี้ และ/หรือ กับกรอบพื้นที่กระดาษเขียน แบบและตองไมขนานกับเสนใกลเคียง เชน เสนลายตัด โดยมุมระหวางเสนชี้และเสนที่เกี่ยวของกันตอง >15° ( ดูตัวอยางที่ให ในรูป 4.7-2 ถึง4.7-14 ) เสนชี้อาจเขียนดวยเสนหักงอ (ดูรูปที่ 4.7-6 ) และเสนชี้ตั้งแต 2 เสนขึ้นไปอาจเขียนรวมกัน(ดูรูป 4.7-3,4.7-6,4.7-8,4.7-9 และ4.7-12) โดยที่เสนชี้เหลานี้ตอง ไมตัดกับเสนชี้,เสนอางอิง,หรือสิ่งระบุอื่นๆ เชน สัญลักษณตางๆ คาตัวเลขบอกขนาด เสนชี้ตองไมลากผานจุดตัดของเสนอื่นๆ และตองหลีกเลี่ยงการใชเสนชี้ที่ยาวมากๆ เสนชี้ตองแสดงเครื่องหมายปลายเสนดานซึ่งสัมผัสกับ feature ของแบบดังนี้ - ดวยหัวลูกศรแบบปดระบายทึบหรือหัวลูกศรเปด(ที่มุมหัวลูกศร 15° ) ถาปลายเสนชี้ที่เสนรอบรูปหรือเสนขอบของแบบ หัวลูกศรยังเขียนแสดงไดที่จุดตัดของเสนรอบรูปหรือเสนขอบกับเสนอื่น ยกตัวอยางเชน เสนสมมาตร(ดูรูปที่4.7-2 ถึง 4.7-8) หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุใหกับเสนขนานกันหลายเสนสามารถใชขีดเอียงแทนหัวลูกศรได(ดูรูปที่ 4.7-9) - ดวยจุด(d = 5x ความหนาเสน) ถาปลายเสนชี้ภายในเสนรอบรูป (ดูรูปที่4.7-10 ถึง 4.7-12) - ไมมีจุดหรือหัวลูกศรถาปลายเสนชี้บนเสนอื่น เชน เสนบอกขนาด, เสนสมมาตร (ดูรูปที่4.7-13 ถึง 4.7-14)

รูปที่ 4.7-2

รูปที่ 4.7-3 18 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

รูปที่ 4.7-4

รูปที่ 4.7-5

รูปที่ 4.7-6

รูปที่ 4.7-7

รูปที่ 4.7-8

รูปที่ 4.7-9

รูปที่ 4.7-10

รูปที่ 4.7-11

รูปที่ 4.7-12

รูปที่ 4.7-13

S.O.P.

DS73012

รูปที่ 4.7-14 19 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

การแสดงเสนอางอิง(Presentation of reference lines) เสนอางอิงจะเขียนดวยเสนเต็มบาง โดยอาจถูกเขียนเพิ่มใหกับเสนชี้แตละเสนในทิศใดทิศหนึ่งของทิศที่ใชอานคาในแบบ เสนอางอิงจะเขียนดวยวิธีการใดวิธีการหนึ่งดังนี้คือ - กําหนดความยาวเสนที่แนนอน คือใชความยาวเสนที่ 20 x ความหนาเสนของเสนอางอิง (ดูรูป 4.7-16 และ 4.7-17) - เขียนเสนอางอิงดวยความยาวที่ปรับตามความยาวของคําสั่ง(instructions)ที่ระบุ (ดูตัวอยางในรูปที่ 4.7-15 และ 4.7-17)

รูปที่ 4.7-15

รูปที่ 4.7-16

รูปที่ 4.7-17 รูปที่ 4.7-18 ในกรณีเฉพาะของการใชงานตองเขียนเสนอางอิง(ดูตัวอยางที่ใหในรูปที่ 4.7-16) อยางไรก็ตามเสนอางอิงอาจไมตองแสดง ถาเสนชี้ถูกเขียนในทิศของการอานแบบทิศทางใดทางทิศหนึ่ง และคําสั่งที่ระบุถูก เขียนในทิศทางเดียวกัน(ดูรูปที่ 4.7-19) และ ในกรณีอื่นๆทุกกรณีที่ไมสามารถใชเสนอางอิง(ดูรูปที่ 4.7-10,4.7-20,4.7-21)

รูปที่ 4.7-19

รูปที่ 4.7-20

20 / 101

รูปที่ 4.7-21

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

การระบุคําสั่ง(Indication of instructions) คําสั่งที่เปนของเสนชี้ตองถูกระบุในลักษณะดังตอไปนี้ - โดยทั่วไปๆจะระบุ เหนือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-15,4.7-18,4.7-22) - กึ่งกลางหลังเสนชี้หรือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-17,4.7-19) - รอบๆ,ภายใน หรือหลังสัญลักษณ ใหถูกตองตรงตามกับขอกําหนดของมาตรฐานระหวางชาติ พิจารณาตามขอกําหนดสําหรับการทํา ไมโครกอปป ใน ISO 6428 คําสั่ง(Instructions)จะตองเขียนบนหรือใตเสนอางอิงที่ ระยะหางเปน 2 เทาของความหนาเสนอิงและเสนอางอิงตองไมเขียนภายในเสนอางอิงหรือสัมผัสกับเสนอางอิง

รูปที่ 4.7-22 ชิ้นงานที่มีหลายชั้นเฉพาะหรือประกอบจากชิ้นสวนหลายชิ้นสวน ถูกกําหนดดวยเสนดวยเสนชี้เพียงเสนเดียว ลําดับของการ ระบุคําสั่งตองตรงกับลําดับของชั้นหรือชิ้นงาน(ดูตัวอยาที่ใหในรูป4.7-23)

รูปที่ 4.7-23

หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุคาตางๆใหกับวงกลมหรือสวนของวงกลม แนวของเสนชี้ตองผานจุดศูนยกลาง(BS 308 Part2:1985 หนา 17)

21 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 5.ตัวอักษร(Lettering) 5.1 มาตรฐานตัวอักษรจะอางอิงตาม 5.1.1) มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษจะยึดตาม ISO 3098 :1997(E) 5.1.2) มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทยจะยึดตาม มอก. 210-2520 5.2 มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษ 5.2.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาอังกฤษ (Type of lettering) มาตรฐาน ISO 3098:1997(E) กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบดังตอไปนี้ - ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) - ตัวอักษรแบบ A ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) ) - ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) - ตัวอักษรแบบ B ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) ) (นิยมใชงาน)

S.O.P.

DS73012

ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง ที่ 5.2.3-1 ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง ที่ 5.2.3-2

- ตัวอักษรแบบ CA ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) - ตัวอักษรแบบ CA ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) ) แบบตัวอักษรที่ใชใน CAD - ตัวอักษรแบบ CB ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) (นิยมใชงาน) (ISO 3098-5) - ตัวอักษรแบบ CB ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) ) ในการเขียนแบบโดยทั่วไปจะนิยมใชงาน (preferred application) ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง ตัวอักษรแบบ A จะมีขนาดความ กวางแคบกวาและบางกวาแบบ B จึงเหมาะใชในแบบที่มีเนื้อที่จํากัด ตัวอักษรแบบเอียงจะเหมาะสําหรับการเขียนแบบดวยมือ ดูรายละเอียดไดใน ISO 3098:1997(E) 5.2.2 ขนาดความสูงมาตรฐาน (Range of nominal sizes) ขนาดความสูงตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบตามมาตรฐาน ISO 3098 (หนวยมิลลิเมตร)

ขนาดตัวหนังสือจะโตขึ้นเปนลําดับตามผลคูณของ 2 (เชน1 . 8 × 2 ≈ 2 . 5 ) ตามมาตรฐานการขยายลําดับขนาด ของกระดาษ (ดู ISO 216) ขนาดความหนาของเสนที่ใชเขียนตัวอักษรจะตองสอดคลองกับมาตรฐานความหนาเสนที่ใชเขียนแบบโดยที่ความหนาเสนนี้ จะตองใชกับทั้งตัวอักษรพิมพใหญ(upper-case letters)และและตัวอักษรพิมพเล็ก(lower-case letters)

22 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

5.2.3 ขนาดตางๆของตัวอักษร ขนาดตางๆของตัวอักษรจะถูกกําหนดจากความสูง (h) ของเสนบรรทัด(outline contour)ของตัวอักษรพิมพใหญ (ดูรูป5.2.3-1 ตาราง 5.2.3-1 และ ตาราง 5.2.3-2)

รูป 5.2.3-1

เมื่อ

h c1 c2 c3 f a b1 b2 b3 e d

คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ

รูป 5.2.3-2 รูป 5.2.3-3 ความสูงของตัวอักษรพิมพใหญ ( Lettering height ) ความสูงของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Height of lower - case letters (x-height) ) สวนลางของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Tail of lower - case letters) สวนบนของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Stem of lower - case letters ) พื้นที่สวนเครื่องหมาย diacritical ของตัวพิมพใหญ(Area of diacritical marks(upper-case letters)) ชองไฟระหวางตัวอักษร ( Spacing between characters ) ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 1) ( Spacing between baselines 1) ) ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 2)( Spacing between baselines 2) ) ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 3)( Spacing between baselines3) )

คือ ระยะหางระหวางคํา ( Spacing between words ) คือ ความหนาเสน ( Line width or Thickness of line )

23 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. ตาราง 5.2.3-1 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด A Multiple Dimensions Characteristic of h h (14/14)h 1.8 2.5 3.5 5 7 (10/14)h 1.3 5 c1 1.8 3.5 2.5 (4/14)h 0.52 2 c2 0.72 1.4 1 (4/14)h 0.52 2 c3 0.72 1.4 1 (5/14)h 0.65 2.5 f 0.9 1.75 1.25 (2/14)h 0.26 1 a 0.36 0.7 0.5 1) (25/14)h 3.25 12.5 b1 4.5 8.75 6.25 (21/14)h 2.73 b2 2) 10.5 7.35 5.25 3.78 3) (17/14)h 2.21 8.5 b3 5.95 4.25 3.06 e (6/14)h 0.78 1.5 3 1.08 2.1 4) 4) 4) d (1/14)h 0.13 0.25 0.35 0.5 0.18

S.O.P.

DS73012

10 7 2.8 2.8 3.5 1.4 17.5 14.7 11.9 4.2 0.7 4)

14 10 4 4 5 2 25 21 17 6 1

20 14 5.6 5.6 7 2.8 35 29.4 23.8 8.4 1.4 4)

14 10 4) 4.2 4.2 5.6 2.8 26.6 21 18.2 8.4 1.4

20 14 6 6 8 4 38 30 26 12 2

1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1 2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2 3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3 4) คาโดยประมาณ ; คาของขนาด c1 ถึง e คํานวณจากคาโดยประมาณของ d

ตาราง 5.2.3-2 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด B Multiple Characteristic Dimensions of h h 2.5 3.5 5 7 (10/10)h 1.8 4) c1 (7/10)h 1.26 1.75 3.5 2.5 5 4) c2 1.05 2.1 (3/10)h 0.54 0.75 1.5 c3 (3/10)h 0.54 1.05 2.1 0.75 1.5 (4/10)h 0.72 f 1.4 2.8 1 2 0.7 a 0.5 (2/10)h 0.36 1.4 1 1) 6.65 b1 (19/10)h 3.42 4.75 13.3 9.5 b2 2) 5.25 (15/10)h 2.7 3.75 10.5 7.5 3) b3 (13/10)h 2.34 4.55 3.25 9.1 6.5 e 4.2 (6/10)h 1.08 2.1 1.5 3 d (1/10)h 0.18 0.7 0.35 0.25 0.5

10 7 3 3 4 2 19 15 13 6 1

1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1 2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2 3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3 4) คาโดยประมาณ

24 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor)

25 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor)

26 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรกรีก (Greek charactor)

27 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

5.2.4 การเอียงของตัวอักษร (Lettering angle) ตัวอักษรควรเขียนตัวตรง หรือ เขียนเอียงไปดานขวาดวยมุม 75° กับแนวนอน (ดูรูป 5.2.4-1)

รูป 5.2.4-1 5.2.5 การขีดเสนใตและเสนบนตักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษร (Underlined and overlined text or text fields) เมื่อตัวอักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษรถูกขีดเสนใตหรือเสนบนควรจะเวนเสนทุกที่เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพเล็กมีสวนลาง หรือ เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพใหญหรือตัวพิมพเล็กมีเครื่องหมาย diacritical ถาเสนใตหรือเสนบนมีระยะหางไมเหมาะสมจะตอง ขยายระยะหางของเสนใตหรือเสนบนกับเสนบรรทัดลาง( Baselines )

รูปที่ 5.2.5-1

รูปที่ 5.2.5-2

28 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

5.3 มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทย 5.3.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาไทย ตาม มอก. 210-2520 กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบไว 2 ชนิด คือ ตัวอักษรแบบบรรทัดตัวตัวอักษร (Letter plate ) มีขนาดความหนาของเสนเทากับ 1 ใน 10 (หรือ 1 ใน 14 ) เทาของความสูงของตัวอักษร และตัวอักษรแบบแผนอักษรลอก มีขนาดความหนาของเสนตามความเหมาะสม เพื่อความสวยงามของตัวอักษรแตละแบบ มีหลายขนาดดังใน ตารางที่ 5.3.1-1 และตาราง 5.3.1-2 ตารางที่ 5.3.1-1 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบบรรทัดตัวหนังอักษร

ตารางที่ 5.3.1-2 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบแผนอักษรลอก

29 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

5.3.2 รูปแบบของตัวอักษรมาตรฐานภาษาไทย เนื่องจาก มอก.210-2520 ไมกําหนดรูปแบบมาตรฐานของตัวอักษรไวแนนอน เพื่อความเปนมาตรฐานเดียวกันขององคกร จึงขอกําหนดรูปแบบตัวอักษรภาษาไทยไว 2 แบบ โดยยึดรูปแบบของตัวอักษรตามรูปแบบของตัวอักษรที่ไดจากรองบรรทัดชวย เขียน และบรรทัดตัวอักษรที่นิยมใชกันในงานเขียนแบบดังนี้ - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน

รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน

30 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

5.3.3 ขนาดความสูงนอยสุดของตัวอักษรและตัวเลขในงานเขียนแบบ ตารางที่ 5.3.3-1 แสดงคาความสูงต่ําสุดแนะนําสําหรับตัวอักษรตัวพิมพใหญ ซึ่งเปนคาที่ไดจากประสบการณ และเปรียบเทียบ กับ มาตรฐานการเขียนแบบของประเทศอังกฤษ BS 308 : Part 1: 1984 ตารางที่ 5.3.3-1 ขนาดความสูงตัวอักษร ขนาดกระดาษ ความสูงตัวอักษร การใชงาน เขียนแบบ นอยสุด (mm) ขนาดแนะนํา (mm) A4 2 2.5 ตัวเลขบอกขนาด และ A3,A2 2.5 3 ตัวหนังสืออื่นๆที่ใชในแบบ A1,A0 3.5 A4,A3 2.5 หมายเลขแบบ(Drawing number) 2.5 A4,A3 3 Title และ Subtitle ตารางที่ 5.3.3-2 ขนาดความสูงตัวอักษรตาม BS 308 : Part 1: 1984 Minimum character height Drawing sheet size Application (mm) A0, A1, A2 and A3 7 Drawing numbers, etc. A4 5 A0 3.5 Dimensions and notes A1, A2, A3 and A4 2.5

31 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

6.วิธีการเขียนภาพฉาย (Projection methods) 6.1 วิธีการเขียนภาพฉายจะอางอิงตาม - มาตรฐาน ISO 5456-2 : 1996-06-15 First edition 6.2 การกําหนดภาพ (Designation of view )

รูป 6.2-1กรณีเปนภาพไอโซเมตริก ( Isometric ) ตารางที่ 6.2-1 ทิศทางของการมอง ภาพในทิศทาง ภาพ a ดานหนา

รูป 6.2-2 กรณีเปนภาพอ็อพบริค ( Oblique ) การกําหนดภาพ A

b ดานบน B ( E )1) c ดานซาย C d ดานขวา D e ดานลาง E f ดานหลัง F ภาพที่ใหรายละเอียดชัดเจนที่สุดของชิ้นงานโดยปกติจะถูกเลือกเปนภาพหลัก(ภาพดานหนา)ในการนําเสนอ นั้นคือภาพ A ตามทิศทางการมอง a ( ดู รูปที่ 6.2-1, 6.2-2 และตารางที่ 6.2-1)โดยทั่วไปจะแสดงวัตถุตามหนาที่การทํางานหรือตามการผลิต หรือตามตําแหนงการติดตั้ง ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลักในแบบจะขึ้นกับวิธีการฉายภาพที่เลือกใช (มุมมองที่ 1, มุมมองที่ 3, มุมมองตาม ลูกศรชี้อางอิง ) ซึ่งในทางปฏิบัติไมจําเปนตองใชทั้ง 6 ภาพ เมื่อมีภาพดานอื่นๆ(ภาพตัด,ภาคตัด) นอกจากภาพหลักมีความจําเปนที่ตองแสดง จะตองเลือกภาพโดย - จํากัดจํานวนภาพดานอื่นๆ, ภาพตัด(cuts)และภาคตัด(section)ที่จําเปนใหนอยที่สุดและเพียงพอตอการแสดงรายละเอียด ทั้งหมดของชิ้นงานโดยไมมีขอสงสัย - หลีกเลี่ยงการซ้ําซอนที่ไมจําเปนของรายละเอียด 32 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

6.3 การเกิดภาพฉาย ภาพฉาย มีการเกิดอยู 2 ลักษณะ คือ 6.3.1 ภาพฉายเกิดในลักษณะการเกิดเงา เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวเงาของวัตถุจะไปปรากฏที่ฉากรับภาพ การเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบมุมมองที่ 1

รูปที่ 6.3.1-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา 6.3.2 ภาพฉายเกิดในลักษณะการมองเห็นวัตถุ เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวภาพของวัตถุจะสะทอนเขาตาเราจึงทําใหเกิดการมองเห็น โดยภาพที่ปรากฎนั้นมีตาเปนฉากรับ ภาพนั่นเอง การเกิดภาพฉายลักษณะนี้จะเหมือนมีฉากใสมากั้นสายตาไวนั้นเองการเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบ มุมมองที่ 3

รูปที่ 6.3.2-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็น

33 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

6.4 การกําหนดมุมมอง มุมมองที่ใชในการกําหนดวิธีการฉายภาพสําหรับงานเขียนแบบ ใชหลักการแบงมุมภายในของวงกลม( 360° ) ออกเปน 4 สวนเทากันเรียกวา ครอด-แร็นท( Quadrant ) และตั้งเปนชื่อมุมมองมาตรฐานตามชื่อของครอด-แร็นทแตละสวนคือ

รูปที่ 6.4-1 การแบงมุมภายในของวงกลมออกเปน ครอด-แร็นท( Quadrant )

รูปที่ 6.4-2 การแบงมุมมองภาพ เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนในการเขียนภาพฉาย มุมมองที่เหมาะสมสําหรับใชในการเขียนแบบภาพฉายจะตองเปนมุมมองที่ใชวิธี การฉายภาพทุกดานของชิ้นงานเพียงแบบใดแบบหนึ่งเทานั้น ระหวางการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา หรือ การฉายภาพใน ลักษณะการมองเห็นวัตถุ ดังนั้นมุมมองที่เหมาะสมไดแกมุมมองที่ 1 ( First angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา และมุมมองที่ 3 ( Third angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็นวัตถุ

34 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

6.5 วิธีแสดงภาพฉาย ( Method of representation ) 6.5.1 ภาพฉายแบบมุมมองที่ 1 ( First angle projection ) วิธีการฉายภาพแบบมุมมองที่ 1 เปนวิธีการฉายภาพที่ชิ้นงานที่ถูกแสดงจะวางอยูระหวางผูสังเกตและระนาบโคออดิเนตที่เปน ฉากรับภาพที่ฉายจากชิ้นงาน ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ในแบบจะถูกกําหนดโดยการหมุนระนาบฉากรับภาพทั้ง หลายรอบเสนที่ติดกับหรือ ขนานกับแกนโคออดิเนต (coordinate axes) บนระนาบโคออดิเนตที่เปนฉากรับของภาพดาน A ( รูปที่ 6.5.1-1 )

รูปที่ 6.5.1-1 ดังนั้นในแบบเมื่ออางอิงกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ภาพดานอื่นๆจะถูกจัดวางดังนี้ ( ดูรูปที่ 6.5.1-2 ) - ภาพ B แสดง ภาพดานบน : ภาพที่มองจากดานบนแลวนําไปเขียนแสดงไวดานลาง - ภาพ E แสดง ภาพดานลาง : ภาพที่มองจากดานลางแลวนําไปเขียนแสดงไวดานบน - ภาพ C แสดง ภาพดานซาย : ภาพที่มองจากดานซายแลวนําไปเขียนแสดงไวดานขวา - ภาพ D แสดง ภาพดานขวา : ภาพที่มองจากดานขวาแลวนําไปเขียนแสดงไวดานซาย - ภาพ F แสดง ภาพดานหลัง : ภาพที่มองจากดานหลังแลวนําไปเขียนแสดงไวดานหนา

35 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

รูปที่ 6.5.1-2 สัญลักษณการเขียนภาพแบบมุมมองที่ 1 แสดงในรูปที่ 6.5.1-3

รูปที่ 6.5.1-3

36 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

6.5.2 ภาพฉายแบบมุมมองที่ 3 ( Third angle projection ) วิธีการฉายภาพแบบมุมมองที่ 3 เปนวิธีการฉายภาพที่ชิ้นงานที่ถูกแสดงซึ่งถูกมองจากผูสังเกตจะวางอยูขางหลังระนาบ โคออดิเนตที่เปนฉากรับภาพที่ฉายจากชิ้นงาน ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ในแบบจะถูกกําหนดโดยการหมุนระนาบฉากรับภาพทั้ง หลายรอบเสนที่ติดกับหรือ ขนานกับแกนโคออดิเนต (coordinate axes) บนระนาบโคออดิเนตที่เปนฉากรับของภาพดาน A

รูปที่ 6.5.2-1 ดังนั้นในแบบเมื่ออางอิงกับภาพหลัก A (ภาพดานหนา) ภาพดานอื่นๆจะถูกจัดวางดังนี้ ( ดูรูปที่ 6.5.2-2 หรือ 6.5.2-3) - ภาพ B แสดง ภาพดานบน : ภาพที่มองจากดานบนแลวนําไปเขียนแสดงไวดานบน - ภาพ E แสดง ภาพดานลาง : ภาพที่มองจากดานลางแลวนําไปเขียนแสดงไวดานลาง - ภาพ C แสดง ภาพดานซาย : ภาพที่มองจากดานซายแลวนําไปเขียนแสดงไวดานซาย - ภาพ D แสดง ภาพดานขวา : ภาพที่มองจากดานขวาแลวนําไปเขียนแสดงไวดานขวา - ภาพ F แสดง ภาพดานหลัง : ภาพที่มองจากดานหลังแลวนําไปเขียนแสดงไวดานหลัง

37 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

รูปที่ 6.5.2-2

รูปที่ 6.5.2-3 สัญลักษณการเขียนภาพแบบมุมมองที่ 3 แสดงในรูปที่ 6.5.2-4

รูปที่ 6.5.2-4

38 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

6.5.3ภาพฉายแบบใชทิศลูกศรอางอิง ถาตําแหนงของภาพฉายไมเหมาะสมที่จะวางภาพหรือไมสามารถที่จะวางภาพไดตามรูปแบบการวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 1 หรือแบบมุมมองที่ 3 อนุญาติใหใชวิธีการฉายภาพแบบใชลูกศรอางอิง ชวยในการแสดงภาพฉายโดยมีตําแหนงการวางภาพ ฉายที่อิสระ จากรูปแบบการวางภาพแบบมุมที่ 1 หรือการวางภาพแบบมุมมองที่ 3 ทิศทางของการมองภาพจะตองแสดงโดยใชลูกศรอยางชัดเจนพรอมทั้งระบุตัวอักษรพิมพใหญเปนชื่อทิศทางการมองกํากับ และตองระบุชื่อทิศทางการมองภาพนั้นกับภาพฉายที่แสดงตามทิศลูกศรอางอิง ดวยตัวอักษรพิมพใหญในตําแหนงที่สามารถ อานไดจากทิศทางปกติของการอานแบบ

รูปที่ 6.5.3-1

39 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

ตัวอยางการจัดวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 1 และ แบบมุมมองที่ 3

รูปที่ 6.5-1 ตัวอยางการการวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 1(First angle projection), BS 308-1984

รูปที่ 6.5-2 ตัวอยางการการวางภาพฉายแบบมุมมองที่ 3(Third angle projection), BS 308-1984

40 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

6.6 การเขียนรูปสัญลักษณมุมมองภาพ ตารางที่ 6.6-1 สัญลักษณแสดงวิธีการเขียนภาพฉายที่ใชในแบบ วิธีการ สัญลักษณ มุมมองที่ 1 (First angle method) มุมมองที่ 3 (third angle method) ` ขนาดที่ใชสําหรับการเขียนสัญลักษณและขนาดอื่นๆที่เกี่ยวของแสดงไวในตารางที่ 6.6-2

รูปที่ 6.6-1 ตารางที่ 6.6-2 ขนาดที่ใชสําหรับการเขียนสัญลักษณ ความสูงของตัวเลข ตัวอักษรพิมพใหญ (และ/หรือ ตัว อักษรพิมพเล็ก) และเสนผาศูนยกลางวงกลมวงเล็ก 3.5 5

7

10

14

20

ที่ปลายกรวย, h ความหนาเสนของรูปสัญลักษณ, d ความหนาเสนของตัวอักษร, d ความยาวและเสนผาศูนยกลางของวงกลมวงใหญที่ โคนกรวย, H

41 / 101

0.35

0.5

0.7

1

1.4

2

7

10

14

20

28

40

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

7.มาตรฐานวิธีเขียนแบบเกลียวและสกรู วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง เกลียวที่มองเห็น (Visible screw threads) ISO 6410-1:1993(E) 1.เสนยอดเกลียวแสดงดวยเสนเต็มหนา( เสนประเภท A BS 308 Part 1:1984 ในตาราง 4.4-1 ) 2.เสนโคนเกลียวเขียนดวยเสนเต็มบาง(เสนประเภท B ในตาราง 4.4-1 ) 3.ระยะหางระหวางเสนสันเกลียวและโคนเกลียวจะตองมี คาเทากับคาความลึกของฟนเกลียว และระยะหางนี้ตอง มีคาไมนอยกวา 2 เทาของความหนาของเสนหนา หรือ มีคาไมนอยกวา 0.7 mm โดยใหพิจารณาเลือกใชคาใด คาหนึ่งที่มีคามากกวา 4.ภาพดานปลายเกลียว เสนโคนเกลียวจะเขียนแสดงดวย สวนของวงกลมโดยใชเสนเต็มบาง ใหยาวประมาณ 3/4 สวนของเสนรอบวง และใหครอมทับเสนผาศูนยกลางทั้ง สองดาน โดยนิยมเขียนเปดครอด-แร็นทดานขวาบนของ วงกลม 5.วงกลมเปดนี้อาจจะวางในตําแหนงอื่นไดข้นึ กับแกนตัดรูป ( Intersecting axes ) 6. เสนเต็มหนาที่แสดงวงกลม chamfer โดยทั่วไปจะเวนไว ไมแสดง เกลียวที่ถูกบัง ( Hidden screw threads ) 1.เกลียวที่มองไมเห็นหรือเสนเกลียวที่ถูกบังจะแสดงดวย เสนประ ( เสนประเภท F ในตาราง 4.4-1 ) 2.ภาพดานปลายเกลียว เสนโคนเกลียวจะเขียนแสดงดวย สวนของวงกลมโดยใชเสนประ ใหยาวประมาณ 3/4 สวน ของเสนรอบวง และใหครอมทับเสนผาศูนยกลางทั้งสอง ดาน โดยนิยมเขียนเปดครอด-แร็นทดานขวาบนของ วงกลม ภาคตัดของชิ้นสวนทีเปนเกลียว( Section of threaded part ) ชิ้นสวนเกลียวที่มีการแสดงภาคตัด เสนแสดงลายตัดจะ ตองลากเลยผานเสนโคนเกลียวไปชนกับเสนสันเกลียว

42 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

7.มาตรฐานวิธีเขียนแบบเกลียวและสกรู ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง เสนสุดเกลียว( Limit of length of full depth thread ) ISO 6410-1:1993(E) 1.เกลียวที่มองเห็นจะตองเขียนดวยเสนเต็มหนา 2.เกลียวที่ถูกบังอาจจะเขียนแสดงดวยเสนประ 3.ปลายเสนทั้งสองขางตองลากเลยไปชนกับเสน major diameter ของเกลียว เสนเนินเกลียว ( Thread run-outs ) ISO 6410-1:1993(E) เสนเนินเกลียวเปนเสนแสดงชวงเกลียวที่ไมสมบรูณ (ชวง ถอยมีดกลึงเกลียว)เหนือเสนสุดเกลียว โดยปกติจะไม เขียนแสดง เวนแตมีความจําเปนในหนาที่การใชงาน เสนเนินเกลียวจะเขียนดวยเสนเต็มบางโดยลากเปนเสน เอียงตอจากเสนโคนเกลียวไปชนกับเสนสันเกลียวที่ระยะ เขตสุดของเสนเนินเกลียว ( Limit of thread run-outs) การประกอบชิ้นสวนที่เปนเกลียว ISO 6410-1:1993(E) ( Assembled threaded parts ) ISO 6410-2:1993(E) หลักการเขียนเกลียวที่กลาวมาแลวสามารถที่จะนํามาใช กับภาพประกอบเกลียวไดโดยที่ 1.ภาพประกอบของชิ้นสวนที่เปนเกลียวจะเขียนเกลียวนอก ทับชิ้นสวนที่เปนเกลียวในเสมอ และเกลียวนอกตองไมถูก บังโดยเกลียวใน 2.เสนสุดเกลียวของเกลียวในตองเขียนแสดงดวยเสนเต็ม หนาและลากไปชนกับเสนโคนเกลียวของเกลียวใน

หมายเหตุ 1.)ยอดเกลียว (Crest) ปกติจะหมายถึง major diameter สําหรับเกลียวนอก และ minor diameter สําหรับเกลียวใน 2.)โคนเกลียว (Root) ปกติจะหมายถึง minor diameter สําหรับเกลียวนอก และ major diameter สําหรับเกลียวใน

43 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

7.มาตรฐานวิธีเขียนแบบเกลียวและสกรู ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

รูปการเขียนแบบรูเกลียวตามมาตรฐาน (Convention representation)

รูปการเขียนแสดงอยางงาย (Simplified representation)

รูปการเขียนแบบรูเกลียวตามมาตรฐาน (Convention representation)

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การเขียนแสดงชิ้นสวนที่เปนเกลียวอยางงาย (Screw ISO 6410-3:1993(E) threads and threaded parts Simplified representation) ระดับของความงายจะขึ้นอยูกับชนิดของชิ้นงานที่จะแสดง, มาตราสวนของแบบและจุดประสงคของเอกสาร ดังนั้น features ดังตอไปนี้จะไมเขียนแสดงในแบบอยาง งายของชิ้นงานที่เปนเกลียว - ขอบของลบมุม(Chamfer)ของนัตและหัวเกลียว - เสนเนินเกลียว (Thread run-outs) - รูปราง(Shape)ของปลายของเกลียว - ตัดลาง(Undercuts)ของเกลียว 1.รูเกลียวที่มีเสนผาศูนยขนาดเล็ก(Small diameter threads) จะอนุญาติใหเขียนแสดงอยางงายในแบบ และ/หรือ มีการ ระบุขนาดถา - ขนาดเสนผาศูนยกลาง(ในแบบกระดาษ) ≤ 6 mm. - เปนรูปแบบที่เปนระเบียบ(regular pattern)ของรูหรือ เกลียวที่มีชนิดและขนาดเดียวกัน การกําหนดคาประจํารูเกลียว จะรวมทุก features ที่จําเปน ซึ่งปกติแสดงในการเขียนแบบรูเกลียวที่เขียนตามมาตรฐาน การเขียนแบบรูเกลียว และ/หรือ กําหนดขนาด คาที่กําหนดจะแสดงบนเสนอางอิงที่ลากตอจากเสนชี้ที่มี ปลายเสนเปนหัวลูกศรและชี้จากเสนศูนยกลางของรู 2.สกรูและนัตอยางงาย(Screws and nuts) เมื่อมีความจําเปนที่ตองแสดงรูปรางของหัวสลักเกลียว (Screw head), รูปแบบการขับ(Drive pattern)หรือนัต จะใชการเขียนแสดงในแบบดังตัวอยางที่แสดงในตารางที่ 7 ในการเขียนแบบสลักเกลียวอยางงายนี้ ภาพดานปลายที่ เปนเกลียวไมจําเปนตองแสดง

รูปการเขียนแสดงอยางงาย (Simplified representation)

44 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. No. Designation 1 Hexagon head screw

ตารางที่ 7 Simplified representation No. Designation 9 Countersunk screw, cross slot

2 Square head screw

10 Set screw, slot

3 Hexagon socket screw

11 Wood and selftapping screw, slot

4 Cylinder screw (pan-head type), slot

12 Wing screw

5 Cylinder screw, cross slot

13 Hexagon nut

6 Oval countersunk screw, slot

14 Crown nut

7 Oval countersunk screw, slot

15 Square nut

8 Countersunk screw, slot

16 Wing nut

45 / 101

S.O.P.

DS73012 Simplified representation

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

8.มาตรฐานวิธีเขียนภาพการจัดแนว วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย

มาตรฐานอางอิง

การเขียนภาพจัดแนว ISO 128-44 2001(E) 1.เพื่อความสะดวกและความสวยงามจึงหมุนแขน, ครีบ, หู หรือรูใหมาอยูตําแหนงสมมาตร 2.แนวจริงซึ่งเกิดจากการฉายจะไมนิยมเขียน การเขียนภาพจัดแนวของครีบ

การเขียนภาพจัดแนวของหู

การเขียนภาพจัดแนวของรูและครีบ

การเขียนภาพจัดแนวของแขน

46 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

9.การเขียนเสนสัมผัสของระนาบตรงและระนาบโคง วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.จุดสัมผัสของระนาบโคงสัมผัสกับระนาบตรง เมื่อพื้นผิวโคงสัมผัสกับผิวระนาบตรงจะไมมีเสนทึบ ปรากฎบนระนาบรับภาพ แตจะแสดงใหทราบโดย เขียน สวนโคงที่ปลายเสนตรง ณ จุดที่ระนาบทั้งสองสัมผัสกัน ดังแสดงในรูป

2.มุมคมที่เกิดจากการตัดกันของผิว จะมีเสนทึบปรากฎบน ระนาบรับภาพ การเขียนรอยตัดของพื้นที่ผิวโคงกับผิวระนาบตรง

การเขียนรอยตัดของพื้นที่ผิวโคงกับผิวระนาบตรง

47 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

10.การเขียนภาพที่มีสวนลาดเล็กนอยหรือสวนโคงที่มีขนาดเล็กๆ(Slight inclines or curves) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพที่มีสวนลาดเล็กนอยหรือสวนโคงที่มีขนาดเล็กๆ ISO 128-34 2001(E) จะไมเขียนภาพฉายตามหลักการเขียนภาพฉายปกติ เพราะแสดงภาพไดไมชัดเจน การเขียนภาพฉายที่มีสวนลาดเล็กนอย(Slight incline) หรือสวนโคง ที่มีขนาดเล็กๆ(Slight curve) เชน ผิวลบมุม, ผิวเอียง, ปรามิด เพื่ออธิบายใหเห็นรูปทรงชิ้นงานใหชัดเจน ขึ้น จะใชสวนลาดที่มีชวงแคบที่สุดของรูปชวยในการเขียน ภาพฉายในมุมมองภาพดานอื่น โดยใชเสนเต็มหนาเขียน แสดงแนวของสวนลาดเล็กนอยหรือสวนโคงที่มีขนาดเล็กๆ ที่มีชวงที่แคบที่สุดนั้นในมุมภาพดานอื่นๆ

48 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) วิธีเขียนแบบ

รูปที่ไมตองเขียนเสนแสดงระนาบตัด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง เสนแสดงระนาบตัด (Cutting Plan) BS308:patrt 1:1984 1.เสนระนาบตัดใหแสดงดวยเสนผาศูนยกลาง แลวลงเสน มอก. 210-2520 เต็มหนักที่ปลายเสน และตรงบริเวณที่มีการหักเลี้ยว ISO 128-40 2001(E) 2.มีหัวลูกศรที่ปลายเสนขนาดหัวลูกศรตองใหญมีขนาดเทา กับขนาดตัวอักษรพิมพใหญที่เขียนกํากับไวที่ปลายเสน ระนาบตัด 3.หัวลูกศรจะแสดงทิศทางการมอง เมื่อนําชิ้นสวนที่ถูกตัด ออกไปแลวมองผิวหนาของสวนที่เหลือตามหัวลูกศร 4.ตองเขียนตัวอักษรพิมพใหญกํากับไวที่ปลายเสนแสดง ระนาบตัด เชน A-A หรือ B-B ฯลฯ เพื่อสะดวกในการอาน แบบ โดยตองเปนตัวอักษรพิมพใหญแบบตัวหนา และ ขนาดใหญกวาตัวเลขบอกขนาดประมาณ 2 - 1.5 เทา กฎทั่วไปของการเขียนภาพตัดและภาคตัด BS308:patrt 1:1984 1.แบบเขียนแสดงเปนภาพตัดที่มีระนาบตัดเดียว หากตําแหนงของระนาบตัดมีความชัดเจนอยูแลว ไมตอง เขียนเสนแสดงระนาบตัดหรือชื่อประจําภาพตัด 2.หากตําแหนงของระนาบตัดไมชัดเจนหรือ เมื่อจําเปนตอง แยกระหวางระนาบตัดหลายๆระนาบ ตําแหนงของ ระนาบตัดจะถูกกําหนดโดยใชเสนแสดงระนาบตัดและ ระบุชื่อประจําภาพตัดตามตัวอักษรที่เขียนกํากับไวที่ ปลายเสนแสดงระนาบตัด 3.ชื่อประจําภาพตัดจะตองวางไวใตรูปภาคตัดที่ไดจากการ ตัดชิ้นงานตามแนวระนาบตัดนั้น ไมควรมีคําวา Section เวนแตไดพิจารณาดูแลววามีความจําเปนตอการอานแบบ 4.ครีบ, สลักเกลียว, สกรู, นัต, เพลา, ดามจับ,ซี่ของลอ จะไมแสดงเปนภาคตัด

รูปที่ตองเขียนเสนแสดงระนาบตัด 49 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย ภาพตัดเต็ม( Full Section ) 1.การตัดเต็มตองตัดครึ่งหนึ่งของชิ้นงานแลวแบงชิ้นงาน ออกเปน 2 สวน โดยตองตัดตลอดแนวชิ้นงาน

มาตรฐานอางอิง

2.ภาพพลิกขึ้นไปเขียนตองยึดทิศที่หัวลูกศรชี้ สวนภาพที่ อยูหลังหัวลูกศรใหเอาทิ้งไป 3.สวนที่ตัดถูกเนื้อชิ้นงานใหแสดงเสนลายตัด(Hatching) สวนที่ไมถูกตัดเชน รูหรือ รอง ใหเวนไว 4.เสนลายตัดจะเขียนดวยเสนเต็มบางเอียงทํามุม45° กับ แนววางชิ้นงาน (ลายตัดจะแตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของ วัสดุงาน) ดูที่ เสนลายตัด 5.ในการเขียนภาพตัด ใหยกเวนไมตองเขียนเสนประใดๆ เพราะจะทําใหยุงยากในการเขียนแบบ แตยกเวนใหมี เสนประไดในกรณีที่ชวยอานภาพไดงายขึ้นเทานั้น 6.ชื่อประจําภาคตัดใหแสดง ดวยตัวอักษรที่ เหมือนกับ ตัวอักษรที่กํากับไวปลายเสนแสดงระนาบตัด เชน A-A, B-B หรือ เพิ่มคําวา Section ตามดวยตัวอักษรที่กํากับไวที่ ปลายเสน เชน Section A-A,Section B-B หากพิจารณา ดูแลววามีความจําเปนตอการอานแบบ

50 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย ภาพตัดครึ่ง( Half Section ) 1.เปนภาพของชิ้นงานที่ถูกตัดออก 1/4 สวน

มาตรฐานอางอิง

2.ใชในกรณีที่ภาพของชิ้นงานสมมาตรกัน โดยตัดแยกตาม แนวของเสนศูนยกลาง 3.เสนประจะไมแสดงในภาคตัดครึ่ง นอกเสียจากตองการ แสดงเสนประในสวนที่จําเปนเทานั้น 4.ใชเสนผาศูนยกลางเปนเสนแบงครึ่งระหวางซีกที่ถูกตัด กับซีกดานที่ไมถูกตัดหามใชเปนเสนเต็ม 5.แนวเสนลายตัดตรงกลางชิ้นงานใหเขียนแสดงเสนหักมุม 6.ภาพตัดครึ่งแนวตั้งโดยปกติจะใหซีกถูกตัดอยูทางดาน ขวามือของเสนผาศูนยกลาง 7.ภาพตัดครึ่งแนวนอนโดยปกติจะใหซีกถูกตัดอยูทางดาน ลางของเสนผาศูนยกลาง 8.การกําหนดขนาดรูเจาะ สามารถกําหนดโดยใชเสน กําหนดขนาดที่มีหัวลูกศรขางเดียว ปลายหางของลูกศร จะตองลากใหเกินเสนผาศูนกลางเล็กนอย

51 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย ภาพตัดแยกแนว (Offset Section) 1.ใชเขียนเฉพาะชิ้นงานที่มีรายละเอียดไมเหมือนกันแต อยากแสดงไวในภาพตัดเดียวกัน

มาตรฐานอางอิง

2.ตรงตําแหนงหักมุมใหเขียนเสนหักมุมดวยเสนเต็มหนัก 3.ตามความเปนจริงตําแหนงที่หักมุมจะเปนเสนเหลี่ยม หรือเสนขอบ เราจะไมเขียนเสนเต็มลงไปในแบบใหถือวา เปนเนื้อเดียวกันเหมือนกับภาพตัดเต็ม

52 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย

มาตรฐานอางอิง

ภาพตัดหมุนขาง( Rotated Section ) 1.เปนภาพแสดงพื้นหนาตัดของชิ้นงาน โดยการหมุนหนา ตัดบริเวณนั้นไป 90 องศาเพื่อใหสามารถเขาใจหนาตัด นั้นได 2.ภาพตัดหมุนขางที่เขียนลงในภาพฉายตองเขียนดวย เสนเต็มบาง 3.ภาพตัดหมุนขางและตัดยอสวนดวยใหเขียนดวย เสนเต็มหนัก

ภาพตัดหมุนโคง( Revolved Section) 1.เปนการแสดงรายละเอียดในภาพ เพื่อใหเกิดความเขาใจ ในแบบไดดีกวาที่จะแสดงในแนวตัดตรง 2.ในการเขียนภาพจะหมุนเอาสวนที่อยูนอกแนวศูนยใหเขา อยูในแนวศูนย จากนั้นจึงถายขนาดมายังภาพตัด

3.ใชไดกับชิ้นงานที่มีลักษณะเปนปก แขนหรือหนาจาน เปนตน

53 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพตัดเคลื่อนที่ (Removed Section) 1.เปนภาพตัดที่ใชในกรณีที่ชิ้นงานมีรายละเอียดแตละชวง ตางกันและตองการแสดงพื้นที่หนาตัดของแตชวงนั้น 2.ภาพตัดเคลื่อนที่จะนํามาเขียนไวขางนอกภาพในแนว เดียวกันกับเสนแนวตัด 3.ภาพตัดอาจแสดงไวในแนวอื่นได แตควรพยายามใหอยู ในแนวตัด

4.ถาตองแสดงภาพตัดไวในแนวอื่น ตองบอกทิศทางการ หมุนและองศาที่หมุนไวดวย

5.ภาพตัดเคลื่อนที่ของเพลาสามารถเขียนเปนภาพอยาง งายไดโดยไมตองแสดงขอบงานที่อยูหลังแนวตัด

54 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพตัดเฉพาะสวน( Local Section ) เปนภาพตัดเพื่อแสดงรายละเอียดเฉพาะสวนของชิ้นงาน ซึ่งไมจําเปนตองผาชิ้นงานตลอดก็สามารถเขาใจแบบงาน ได

การเขียนภาพตัดของงานที่มีครีบ ชิ้นงานที่มีครีบ จะไมแสดงลายตัดที่ครีบแตจะเวนวางไป

55 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย

มาตรฐานอางอิง

ภาพชิ้นงานที่ครีบทั้งสองดานไมเทากันถูกตัด ภาพของชิ้นงานที่ครีบทั้งสองดานไมเทากันถูกตัด ใหเขียน เสนประและเสนลายตัดที่ครีบเดี่ยวเพื่อแยกความแตกตาง ในกรณีจํานวนครีบของชิ้นงานทั้งสองดานไมเทากัน

การเขียนHand Wheel(พวงมาลัย),ซี่ลอ การเขียนชิ้นงานเหลานี้ถาตัดในแนวของการตัดจริงๆจะ ทําใหเกิดความยุงยากในการอานและเขียนแบบเปนอยาง มากดังนั้น ในงานเขียนแบบจึงเขียนแสดงดังนี้ 1.เมื่อเขียนภาพตัดตองหมุนแขนใหอยูในแนวการตัด 2.แขนจะไมแสดงลายตัด

56 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย

มาตรฐานอางอิง

การเขียน Pulley,ซี่ลอ กรณี Pulleyไมมีแขน กรณี Pulleyไมมีแขนแตเปนแผนโลหะเต็มที่เชื่อมระหวาง ดุมกับขอบลอสามารถเขียนภาพตัดไดดังรูป

กรณี Pulleyมีแขน กรณี Pulley มีแขนใหเขียนภาพตัดเหมือนกับการเขียน ภาคตัดHand Wheel คือ 1.เมื่อเขียนภาพตัดตองหมุนแขนใหอยูในแนวการตัด 2.แขนจะไมแสดงลายตัด ภาพชิ้นงานรูปทรงสมมาตร 1.การเขียนแบบรูปทรงที่สมมาตรกัน สามารถเขียนแสดง ชิ้นงานไวเพียงสวนเดียว (ครึ่งเดียว) 2.ใหขีดเสนขนานสั้นๆ ดวยเสนเต็มบางไวที่บริเวณปลาย ทั้งสองขางของเสนผาศูนยกลางทั้งสองขางเพื่อแสดงวา เปนรูปทรงสมมาตร ดังรูป

57 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย

มาตรฐานอางอิง

ภาพตัดยอสวน(Interrupted Views) 1.ใชเขียนชิ้นงานที่มีขนาดยาวมากๆ ไมสามารถ เขียนในกระดาษเขียนแบบเทาความยาวชิ้นงานได 2.การกําหนดขนาดความยาวชิ้นงานจะกําหนดเทา ความยาวจริง การตัดยอสวนชิ้นงานแบนที่เปนแทงโลหะ,แผนโลหะจะใช เสนมือเปลาตรงรอยตัดยอ แตตองไมคดจนเกินไป

การตัดยอสวนเหล็กโครงสราง เชน เหล็กตัวไอ,เหล็กฉาก ,เหล็กตัวยู จะใชเสนตรงซิกแซกเปนเสนแสดงรอยตัด

การตัดยอสวนลิ่มเอียง พวกแทงโลหะ ใหใชเสนมือเปลา เปนเสนแสดงแนวตัด

การตัดยอสวนชิ้นงานทรงกระบอกกลมตัน ใหใชเสนเต็ม บางเขียนวงรีที่ปลายตัดทั้งสองขางสลับกัน

การตัดยอสวนชิ้นงานกลมเรียว ตัดเหมือนชิ้นงานทรง กระบอกกลมตัน

การตัดยอสวนชิ้นงานทรงกระบอกกลมกลวง เชน ทอ, เพลากลมกลวง ใชเสนเต็มบางเขียนวงรีซอนกันตามความ หนาของชิ้นงานนั้น

58 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

11.การเขียนภาพตัดและภาคตัด (Cuts and section views) ( ตอ ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การตัดยอสวนของชิ้นงานกลวงที่ตัดแสดงภายในอาจใช เสนมือเปลาแสดง

การตัดยอสวนไมในงานกอสราง ใหใชเสนมือเปลาเขียน ใหเปนหยักแหลมคลายเสี้ยนไม แลวเขียนลายไมที่ภาพ ดานขาง การแสดงสวนที่วางอยูหนาระนาบตัด เมื่อมีความจําเปนตองแสดงสวนที่วางอยูหนาระนาบตัด ในแบบที่เปนภาพตัดและภาคตัด ใหเขียนแสดงดวยเสน ลูกโซบางสองจุด ดังรูป

59 / 101

ISO 128-24 1999(E)

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

12.การเขียนเสนลายตัด(Hatching) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การเขียนเสนลายตัด(Hatching) 1.เสนลายตัดเขียนดวยเสนเต็มบาง เอียงทํามุม 45° กับ แนววางชิ้นงาน (ลายตัดจะแตกตางกันขึ้นขึ้นอยูกับชนิด ของวัสดุงาน)

2.เสนลายตัดเอียง 45 องศานี้ ตองมีระยะหางเทากันตลอด ในพื้นที่หนาตัดเดียวกัน

3.ระยะหางของเสนลายตัดขึ้นอยูกับพื้นที่หนาตัดของ ชิ้นงาน พื้นที่หนาตัดเล็กระยะหางระหวางเสนลายตัด จะแคบกวาพื้นที่หนาตัดใหญ ลายตัดตองไมหางหรือชิด จนเกินไปเมื่อเทียบกับพื้นที่หนาตัด

4.ถาเสนลายตัดเมื่อเขียนลงไปในพื้นที่แลวเกิดวางตัว ขนานกับเสนรอบรูป ก็ควรหลีกเลี่ยงโดยเปลี่ยนมุมเอียง เปน 30,60,75 องศา เพื่อไมใหเสนลายตัดขนานกับเสน รอบรูป

5.ในกรณีที่พื้นที่ในการเขียนลายตัดใหญมาก อาจจะเขียน ลายตัดเฉพาะบริเวณพื้นที่รอบนอกได

60 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

12.การเขียนเสนลายตัด(Hatching) (ตอ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 6.พื้นที่หนาตัดแคบๆ เชน แผนโลหะประกอบชิ้นงานไมตอง แสดงเสนลายตัด แตใชเขียนเปนเสนดําทึบแทน

7.กรณีชิ้นงานประกอบกันหลายชิ้นและถูกตัดจะตองแสดง เสนลายตัดคนละทิศกัน หรือเขียนระยะหางของเสนลาย ตัดใหตางกัน

8.ถาจําเปนตองกําหนดขนาดในพื้นที่หนาตัดตองเวนชอง ลายตัดสําหรับตัวเลขที่ใชกําหนดขนาดนั้น

61 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

13.การเขียนภาพชวย (Auxiliary Projection) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย

มาตรฐานอางอิง

การเขียนภาพชวย (Auxiliary Projection) 1.การเขียนภาพชวยเพื่อแสดงหนาตัดบางสวนของชิ้นงาน ใหสามารถอานแบบใหไดขนาดหรือการมองภาพตาม ความเปนจริง 2.ใชในงานที่มีผิวเอียงหลายผิว ลักษณะและขนาดของ ผิวเอียงจะทําใหยากตอการเขาใจและยุงยากในการที่ จะนํามาเขียนเปนภาพฉาย 3.การหมุนผิวเอียงเพื่อใหเห็นขนาดและรูปรางที่แทจริง จะกระทําเสมือนหนึ่งวาผูอานแบบไดมองพื้นที่หนาตัด นั้นในแนวตั้งฉากกับผิวหนาของชิ้นงานนั้น 4.เสนฉายภาพที่รางจากขอบภาพเพื่อจะทําการฉาย ภาพชวยจะตองลากออกจากขอบภาพและทํามุมฉาก กับภาพเดิม (ตามหลักการมองในขอ 3) 5.การฉายภาพชวยจะเขียนจากภาพฉายหรือภาพไอโซ ก็ได

62 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

14.การเขียนภาพ feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การเขียนภาพ feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) ISO128-34:2001(E) ถามี feature ที่เหมือนกันแนนอนและมีตําแหนงวางเปน ลําดับที่เปนระเบียบสม่ําเสมออาจเขียนรูปอธิบายเพียง 1 รูปสวนรูปอื่นๆระบุเพียงตําแหนงของรูป โดยจํานวน และชนิดของ feature ที่ซ้ําๆจะตองกําหนดใหแนชัดตาม วิธีการกําหนดขนาดใหกับ features ที่ซ้ําๆในทุกกรณี สําหรับ features ที่มีลักษณะสมมาตรตําแหนงของ features ที่ไมไดเขียนรูปจะถูกเขียนแสดงโดยใช เสนผาศูนยกลางดังรูป สําหรับ features ที่มีลักษณะไมสมมาตรตําแหนงของ features ที่ไมไดเขียนรูปจะถูกเขียนแสดงโดยใชเสนเต็มบางดังรูป กรณีที่เปน รู(hole), สลักเกลียว(bolt), หมุดย้ํา(rivet), ชอง BS 304 Part 1:1984 (slot) ฯลฯ ที่มีจํานวนมากๆ และมีรูปแบบที่เปนระเบียบ JIS B 0001-1985 สม่ําเสมอ อาจเขียนรูปสัญลักษณ(graphic symbol)ที่ จุดตัดของเสนพิทชและเสนผาศูนยกลาง แทนการเขียน แสดงรูปรางตามจริง โดยความหมายของสัญลักษณจะ ตองเขียนแสดงในตําแหนงซึ่งงายตอการทําความเขาใจ หรืออธิบายโดยใชเสนชี้

63 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

15.การเขียนภาพ feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) (ตอ) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย

มาตรฐานอางอิง BS 304 Part 1:1984 JIS B 0001-1985

เมื่อมี 1 feature ตัวอยางเชน รอยบาก(notch) หรือ รองลิ่ม( keyway ) มีตําแหนงอยูติดและมีความสัมพันธกับ feature ที่ซ้ําๆตั้งแตหนึ่ง feature ขึ้นไป จะตองเขียนแสดง feature ที่ซ้ําๆที่มีตําแหนงอยูติดและมีความสัมพันธกัน นั้นเปนรูปเต็ม ณ ตําแหนงซึ่งมีความสัมพันธกัน

64 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

16.การเขียนภาพกรณีพิเศษ (Conventional representations) วิธีเขียนแบบ

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ภาพขยาย(Enlarged features) ISO128-34:2001(E) ในกรณีที่มาตราสวนหลักที่ใชในการเขียนแบบมีขนาดเล็ก ทําใหรายละเอียดของ feature ยอยของแบบไมสามารถ แสดงไดอยางชัดเจนหรือไมเพียงพอตอการใหขนาด feature นี้อาจจะลอมกรอบหรือลอมลอบเปนวงกลมดวย เสนลูกโซบางและแสดงตัวอักษรตัวพิมพใหญกํากับไว เพื่อใชในการบงชี้ จากนั้นเขียน feature นี้อีกครั้งดวย มาตราสวนที่ใหญข้นึ พรอมกับตัวอักษรบงชี้ ดังรูป เสนแสดงแนวตัด(Imaginary lines of intersection) เสนแสดงแนวตัดหรือรอยตอของชิ้นงานที่เปนสวนโคงหรือ มุมโคงอาจจะเขียนแสดงในแบบไดโดยใชเสนเต็มบางแต ตองไมสัมผัสกับเสนขอบรูป

ชิ้นสวนที่อยูติดกัน(Adjacent parts) เมื่อมีความจําเปนตองเขียนแสดงชิ้นสวนที่อยูติดกัน ใหเขียนแสดงดวยใชเสนลูกโซบางสองจุด โดยภาพที่แสดง ชิ้นสวนที่อยูติดกันจะตองไมบังภาพหลักแตตัวของมันอาจ ถูกบังโดยภาพหลักได การแสดงชิ้นสวนที่อยูติดกันโดยปกติจะแสดงเปน เสนรอบรูป และถาแสดงในรูปที่เปนภาคตัดไมตองแสดง เสนลายตัด หนาระนาบบนชิ้นงานทรงกระบอก(Plane faces on cylindrical parts) พื้นที่ราบบนชิ้นงานทรงกระบอกเชน พื้นที่สี่เหลี่ยม, พื้นที่สี่เหลี่ยมเอียง(tapered squares)จะตองถูกระบุโดย เขียนเสนทะแยงมุมทั้งสองขางดวยเสนเต็มบาง

65 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

การกําหนดขนาด (Dimensioning) 1.มาตรฐานการบอกขนาดจะอางอิงตาม 1.1) ISO 129-1985 1.2) BS 308 Part 2-1985

Technical drawing-Dimensioning Recommendation for dimensioning and tolerancing of size

2.นิยาม (Definitions) จากมาตรฐาน ISO 129-1985(E) ใหคํานิยามศัทพมาตรฐานสําหรับการกําหนดขนาดดังนี้ ขนาด :คือคาตัวเลขที่กําหนดขนาดใหกับสวนประกอบตางๆของแบบโดยแสดงในหนวยการวัดที่เหมาะสม ขนาดอาจตองประกอบ ดวยเสน,สัญลักษณและขอความตางๆจึงจะกําหนดขนาดใหกับสวนประกอบของแบบชิ้นงานไดสมบรูณ

dimension : A numerical value expressed in appropiate unit of measurement and indicated graphically on technical drawings with lines, symbols and notes 2.1 ขนาด(dimensions) แบงออกเปนชนิดไดดังนี้ 1. ขนาดสําคัญตอการใชงาน คือ ขนาดที่มีความสําคัญตอหนาที่การใชงานของชิ้นงานหรือพื้นที่ (ดู "F" ในภาพ)

functional dimension : A dimension that essential to the function of the piece or space. 2. ขนาดไมสําคัญตอการใชงาน คือ ขนาดที่มีไมความสําคัญตอหนาที่การใชงานของชิ้นงานหรือพื้นที่(ดู "NF" ในภาพ)

non-functional dimension: A dimension that is not essential to the function of piece or space. 3. ขนาดชวย คือ ขนาดที่ใหไวเพื่อเปนขอมูลเทานั้น ไมใชเปนขอกําหนดในการผลิตหรือในการตรวจสอบ เปนคาที่ไดมาจากคาอื่นที่ แสดงบนแบบหรือเอกสารที่เกี่ยวของ ขนาดชวยจะเขียนแสดงในวงเล็บและไมใส คา Tolerance (ดู "AUX" ในภาพ

auxiliary dimension : A dimension given for information purposes only. It dose not govern production or inspection operations and is derived from other values shown on the drawing or in related documents An auxiliary dimension is given in parentheses and no tolerance applies to it

รูปแสดงที่1 Functional, non-functionalและ auxiliary dimensions

66 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

รูปลักษณ คือ รูปลักษณะประจําตัววัตถุ เชน ผิวเรียบ, ผิวทรงกระบอก, ผิวสองผิวที่ขนานกัน ,บา, แนวฟนเกลียว, รอง, เสนรอบรูป ฯลฯ

feature : An individual characteristic such as a flat surface, a cylindrical surface, two parallel surfaces, a shoulder, screw thread, a slot,a profile, etc. พิกัดความเผื่อ คือจํานวนคาความเบี่ยงเบนรวมสูงสุดที่ยอมใหไดสําหรับคาของ ขนาด,ตําแหนงที่สัมพันธกันหรือจากของ profile หรือ ความตองของการออกแบบดานอื่นๆ

tolerance : The total amount of variation permitted for the size of dimension, a positional relationship or the form of profile or other design requirement.

รูปที่2 พิกัดความเผื่อ(tolerance) = ขนาดโตสุด - ขนาดเล็กสุด จากรูป tolerance = 15.2-14.9 = 0.3

(เปนคาระยะเบี่ยงเบนรวมทั้งหมด)

ขนาดจริงเฉพาะที่ คือ ขนาดที่วัดไดจริงระหวางจุด 2 จุดของ feature ของชิ้นงานที่ผลิตออกมา

actual local size. An actual two-point measurement of a dimensioned feature. ผลิตภัณฑสําเร็จ คือ ชิ้นสวนสําเร็จสําหรับการประกอบหรือใชงานหรือโครงสรางที่ผลิตตามรายละเอียดที่กําหนดใน แบบ ผลิตภัณฑสําเร็จตองเปนชิ้นงานที่พรอมใชสําหรับกระบวนการในอนาคต หรือเปนโครงสราง ที่ตองการสําหรับกระบวนในอนาคต

end product : The complete part ready for assembly or service or a configuration produced from a drawing specification. An end product may also be a part ready for further processing (for example, the product of foundry or forge) or configuration needing futher processing

67 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

3.หลักเกณฑการกําหนดขนาด 1.ขอมูลเกี่ยวกับขนาดทั้งหมด(ขนาด,พิกัดเผื่อ,สัญลักษณการเชื่อม,ความละเอียดผิว ฯลฯ)ที่จําเปนตอการกําหนดขนาด ชิ้นสวนหรือสวนประกอบใหสมบณูณจะตองแสดงโดยตรงลงไปบนแบบ ยกเวน ขอมูลที่ถูกระบุในเอกสารที่เกี่ยวของแลว 2.แตละ feature ตองใหขนาดที่เดียวเทานั้น 3.การใหขนาดตองวางบนภาพฉายหรือภาพตัดที่แสดงไดชัดเจนที่สุด 4.ในแตละแบบตองใชหนวยวัดเดียวกันทั้งแบบแตไมตองแสดงสํญลักษณหนวยวัด(เชน millimeters สํญลักษณหนวย วัดคือ mm)เมื่อมีหนวยอื่นถูกระบุในแบบ(เชน N ⋅m สําหรับทอรก หรือ kPa สําหรับความดัน) ใหแสดงสัญลักหนวยไว พรอมกับคานั้น 5.การกําหนดขนาดแกชิ้นสวน(Part)หรือผลิตภัณหสําเร็จ(end product)ตองไมมากเกินความจําเปน และการใหขนาด feature ของชิ้นสวนหรือผลิตภัณฑสําเร็จตองใหเพียงที่เดียว อยางไรก็ตามอาจมีขอยกเวนเมื่อ 5.1.จําเปนตองใหขนาดเพิ่มแกขั้นตอนระหวางกลาง (intermediate stages) ของกระบวนการผลิต(เชน ขนาดของ feature กอนทํา carburizing และ finishing) 5.2.เมื่อดีกวาถาเพิ่มขนาดชวย( Auxiliary dimension) 6.กระบวนการผลิตหรือวิธีตรวจสอบไมตองระบุลงไปในแบบเวนแตมีความจําเปน เพื่อการทํางานที่ดีและการแลก เปลี่ยนได(interchangeability) 7.การกําหนดขนาดที่เปน functional dimension ควรระบุโดยตรงลงไปในแบบทุกๆที่(ดูรูปที่ 3.) แตบางโอกาศมีความจํา เปนหรือเหมาะที่จะกําหนดขนาดที่เปน functional dimension โดยออม ถาเปนกรณีนี้ตองกระทําดวยความระมัดระวัง โดยเมื่อใหขนาดโดยออมแลวคา functional dimension ตองยังคงอยูเหมือนกับการใหโดยตรง รูปที่ 4. แสดงผลที่ยอมรับไดของการกําหนดขนาดที่เปน functional dimension โดยออม แตยังคงไดขนาด functional dimension ที่ตองการซึ่งแสดงไวในรูปที่ 3

8.non-functional dimension ควรระบุเพื่อความสะดวกตอการผลิตและการตรวจสอบผลิตภัณห 9.ตัวเลขบอกขนาดตองแสดงดวยจํานวนตัวเลขที่มีจํานวนนัยสําคัญนอยที่สุด เชน 35 ไมใช 35.0 10.ใหใชจุด '.' เปนเครื่องหมายแสดงคาตัวเลขที่เปนทศนิยม(decimal marker) ซึ่งตองแสดงใหชัดเจนโดยใชระยะแสดง เทากับระยะหางหนึ่งตัวอักษร และแสดงไวที่ตําแหนงลางสุดของตัวเลขบอกขนาด 11.คาที่นอยกวา 1 ตองแสดงใหชัดเจนโดยเขียนเลขศูนย '0' นําหนา เชน 0.25 ไมใช .25

68 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

12.ขนาดเชิงมุมในแบบทางวิศวกรรมตองระบุรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งของ 2 รูปแบบดังตอไปนี้ 12.1 ระบุโดยบอกคาเปน องศา, ลิปดา, ฟลิปดา 22° 22° 30' 22° 30' 30" 12.2 ระบุโดยบอกคาเปน องศาทศนิยมขององศา 22.5° 22.55° 0.25° ระยะหางระหวางสัญลักษณบอกองศากับคาตัวเลขบอกลิปดาและระหวางสัญลักษณบอกลิปดากับคาตัวเลขบอก ฟลิปดามีคาเทากับระยะหนึ่งตัวอักษร(full letter space) หมายเหตุ การวัดมุมแบบเรเดียน(radian)ที่ใชในการวัดมุมในระบบ IS ปกติจะไมใชในแบบทางวิศวกรรม 13.คามุมที่นอยกวาหนึ่งตองแสดงใหชัดเจนโดยเขียนเลขศูนยนําหนา '0' นําหนา เชน 0° 0' 30", 0° 15' 14.ตองหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดแบบ 2 หนวย แตเมื่อมีความจําเปนตองแสดง คาหนวยที่ถูกแปลงใหแสดงไวในวงเล็บ

69 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.การกําหนดขนาด (Dimensioning) 4.1 สวนประกอบของการกําหนดขนาด (Elements of dimesioning) สวนประกอบการบอกขนาดแสดงในรูปที่ 4 และ รูปที่ 5

รูปที่ 4

รูปที่ 5 หมายเหตุ 1.Extension line, Dimension text, Origin offset เปนคําศัพทที่ใชในโปรแกรม AutoCAD

70 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.2 เสนบอกขนาด,เสนชวยใหขนาดและเสนชี้(Projection lines,dimension lines and leader lines) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย 1.เสนบอกขนาด,เสนชวยบอกขนาดและเสนชี้ตองเขียน ดวยเสนเต็มบาง

มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)

2.เสนชวยบอกขนาดตองมีระยะออฟเซทกับเสนขอบรูป และมีสวนตอเลยจากเสนบอกขนาดเล็กนอย ดังแสดง ในรูปที่ 4 และ รูปที่ 5 3.เสนชวยบอกขนาดตองเขียนตั้งฉากกับ feature ที่ถูก กําหนดขนาด อยางไรก็ตามเมื่อมีความจํา เปนสามารถ เขียนเปนแนวเอียงไดแตเสนชวยบอกขนาดทั้งสองตอง เขียนขนานกัน -ในโปรแกรม AutoCADใชคําสั่ง oblique ใน mode dimension edit เพื่อกําหนดขนาดในแนวเอียง -ขนาดแนะนําคือ เขียนใหเสนบอกขนาดและเสนชวยบอก ขนาดทํามุมกัน 60 องศาดังรูป

4.เสนบอกขนาดที่ลากอางอิงจากจุดบนผิวหรือจุดตัดของ เสนราง(construction) ตองสัมผัสหรือลากเลยจุดตัดไป เล็กนอย ดังรูป

71 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.2 เสนบอกขนาด,เสนชวยใหขนาดและเสนชี้(Projection lines,dimension lines and leader lines) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 5.โดยทั่วไปเสนชวยใหขนาดและเสนใหขนาดตองไมตัดกับ ISO 129-1985(E) เสนอื่นเวนแตไมสามารถหลีกเลี่ยงได ดังรูป

6.เสนใหขนาดของ feature ที่เขียนแสดงดวยวิธีตัดยอ ตอง ไมถูกตัดขาด ดังรูป

7.ตองหลีกเลี่ยงการตัดกันของเสนใหขนาดและเสนชวยใหขนาด ถาไมสามารถหลีกเลี่ยงไดเสนทั้งสองที่ตัดกันตอง ไมถูกเขียนแบง(break)เปน 2 ชวง

8.เสนศูนยกลางและเสนขอบชิ้นงานตองไมถูกใชเปน เสนบอกขนาด แตอาจใชเปนเสนชวยบอก ขนาดได

72 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.3 เครื่องหมายปลายเสนและจุดเริ่มตนระบุ(Terminations and origin indication) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.ตามมาตรฐาน ISO เครื่องหมายขอบเขต 2 แบบ ISO 129-1985(E) และ จุดเริ่มตนระบุ ดังตอไปนี้จะถูกใชในการ กําหนดขนาด 1.1 หัวลูกศร (arrowhead) จะเขียนเปนแบบเปด หรือ แบบปดหรือแบบปดระบายทึบก็ได หัวลูกศรแบบเปด มุมของหัวลูกศรจะอยูระหวาง 15 ถึง 90 องศา

1.1 หัวลูกศร (Arrowhead) 1.2 ขีดเอียง(obliqe stroke) จะเขียนดวยเสนสั้นเอียง ที่มุม 45° 1.2 ขีดเอียง(Obliqe stroke) 1.3 จุดเริ่มตนระบุ(origin indication) จะเขียนเปน วงกลมเปดขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 3 mm. 1.3 จุดเริ่มตนระบุ(Origin indication) 2.ขนาดเครื่องหมายขอบเขต(Terminations) จะตองมี ขนาดเหมาะสมกับแบบแตตองไมใหญเกินความจําเปน ที่จะอานแบบ 3.เครื่องหมายขอบเขตชนิดหัวลูกศร (arrowhead termination)ตองเลือกใชเพียงรูปแบบเดียวเทานั้นในแบบ ในกรณีเนื้อที่ไมพอเขียนหัวลูกศรสามารถที่จะใช ขีดเอียง หรือใชจุดทดแทนได 4.เมื่อมีเนื้อที่เพียงพอ เครื่องหมายปลายเสนชนิดหัวลูกศร ตองถูกแสดงที่จุดปลายของเสนบอกขนาด เมื่อมีเนื้อที่ จํากัด หัวลูกศรอาจแสดงดานนอกชวงขอบเขตมุงหมาย (intended limits)ของเสนใหขนาด ซึ่งเสนใหขนาดจะถูก เขียนตอออกมาเพื่อชวยใหขนาดตามวิธีดังกลาว 5.เครื่องหมายปลายเสนชนิดหัวลูกศรขางเดียว ที่จุดปลาย ของเสนใหขนาดดานอยูบนสวนโคงจะใชเพื่อบอกขนาด รัศมี หัวลูกศรอาจวางไวดานในหรือดานนอกของขอบรูป (หรือเสนชวยใหขนาด)ขึ้นอยูกับขนาดของ feature

73 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย 1.ตัวเลขบอกขนาดตองวางขนานกับเสนบอกขนาดโดย วางอยางชัดเจนเหนือเสนบอกขนาดเล็กนอยและควร วางอยูบริเวณกึ่งกลางของเสนบอกขนาด

มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)

2.การเขียนตัวเลขบอกขนาดความยาวในทิศตางๆ ตัวเลข บอกขนาดตองอานไดจากดานลางหรือจากดานขวาของ แบบ คาที่อยูบนเสนบอกขนาดที่มีการเอียงลาดตองเขียน แนวการวางดังรูป

3.ควรหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดในบริเวณเสนตัดมุม 30 ° แตถาจําเปนตองบอกขนาด ตัวเลขบอกขนาดตองเขียน ตามหลักขอ 2. ซึ่งแสดงดังรูป สาเหตุ เพราะเปนบริเวณที่อานคาบอกขนาดจากดานลาง หรือดานขวาของแบบไมได

4.การกําหนดขนาดมุม ตัวเลขบอกขนาดมุมตองอานได จากดานลางหรือจากดานขวาของแบบการกําหนด ลักษณะทิศทางการวางตัวเลขบอกขนาดที่ตําแหนงตางๆ สามารถกําหนดได 2 แบบ ดังรูป

74 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 5.ควรหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดมุมบริเวณเสนตัดมุม 30° ISO 129-1985(E) เพราะเปนบริเวณที่อานคาบอกขนาดจากดานลางหรือ ดานขวาของแบบไมได

6.ตําแหนงของคาตัวเลขบอกขนาดเมื่อมีการกําหนดขนาด ถี่ๆ(Frequently) ตองมีการปรับตําแหนงใหเหมาะสม ตัวอยางเชน 6.1 เมื่อมีเสนบอกขนาดที่วางขนานอยูติดๆกันหลายๆ เสน ตัวเลขบอกขนาดอาจวางเหลื่อมกันเพื่อ หลีกเลี่ยงตัวเลขซอนทับกัน หรือเพื่อหลีกเลี่ยง ที่ตองมีการวางเสนบอกขนาดเรียงตอกันเปน แนวยาว(a void to having to follow a long dimension) ในบางกรณีอาจจะเขียนแสดงหัว ลูกศร(Terminations)ดานที่ใกลกับตัวเลขบอก ขนาดเพียงดานเดียวพรอมกับสวนของเสนบอก ขนาด 6.2 ระบุตัวเลขบอกขนาดเหนือเสนที่ลากตอออกมา จากเสนบอกขนาดดานใดดานหนึ่งของหัวลูกศร (Terminations)ถาพื้นที่มีจํากัดไมเพียงพอตอการ เขียนแสดงตัวเลขบอกขนาดตามปกติ 6.3 ระบุตัวเลขบอกขนาดที่เหนืออางอิงของเสนชี้ (Leader linne)ที่ลากมาจากเสนบอกขนาดที่ สั้นมากสําหรับตัวเลขบอกขนาดที่ถูกระบุตามปกติ

75 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 7.เพื่อหลีกเลี่ยงตัวเลขบอกขนาดตัดกับเสนอื่น อาจจะวาง BS 308:Part 2:1985 ตัวเลขบอกขนาดเยื่องไปใกลกับหัวลูกศรดานใดดานหนึ่ง

8.ขนาดชวย (Auxiliary dimensions) 8.1 เมื่อแสดงขนาดความยาวทั้งหมด(overall dimension)จะมีขนาด 1 ขนาดที่อยูระหวางขนาด ความยาวทั้งหมด(intermediate dimension) เปนขนาดเกินความจําเปนฉะนั้นจะไมแสดง เวนแต อาจจะแสดงไดเมื่อขนาดเกิน(redundant dimension)จะใหขอมูลที่เปนประโยชนหรือเพิ่ม ความสะดวกในการอานแบบซึ่งในกรณีนี้จะตอง ใหเปนขนาดชวย 8.2 เมื่อขนาดทุกคาที่อยูระหวางชวงความยาวทั้งหมด (intermediate dimension) จําเปนจะตองแสดง ขนาดความยาวทั้งหมด(overall dimension) สามารถที่จะแสดงได แตตองใหเปนขนาดชวย

ตัวอยางการใชงาน ขนาดชวย(auxiliary dimension)

76 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.4 การระบุคาตัวเลขบอกขนาดในแบบ (Indicating dimensional values on drawings) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย 9.ขนาดไมถูกตองตามมาตราสวน (Dimension out-of-scale) ตัวเลขบอกขนาดที่ไมถูกตองมาตราสวนตองขีดเสน ใตดวยเสนเต็มหนา ยกเวนตัวเลขบอกขนาดงาน ภาพตัดยอ

มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)

10.การใชตัวอักษรและสัญลักษณ (Use of letters and symbols) 10.1 ตัวอักษรและสัญลักษณดังตอไปนี้ จะถูกใชกับ ตัวเลขบอกขนาดเพื่อชวยบอกรูปทรง feature ที่ถูกกําหนดขนาด : diameter (เสนผาศูนยกลาง)

R : Radius (รัศมี) : Square (สี่เหลี่ยมจตุรัส) : Spherical radius (รัศมีทรงกลม) : Spherical diameter (เสนผาศูนยกลางทรงกลม) 10.2 สัญลักษณเสนผาศูนยกลางและสี่เหลี่ยมจตุรัส อาจไมตองระบุในการกําหนดขนาด ถารูปทรงที่ แสดงในแบบชัดเจนอยูแลว 10.3 ตัวอักษรและสัญลักษณจะตองวางไวหนาตัวเลข บอกขนาด 10.4 ขนาดตัวอักษรและสัญลักษรณตองมีขนาด เทากับขนาดตัวเลขบอกขนาด ยกเวนสัญลักษณ สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีขนาดความสูง 0.7เทาของขนาด ความสูงตัวเลขบอกขนาด

77 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง การจัดวางขนาดในแบบจะตองระบุใหชัดเจนตาม ISO 129-1985(E) จุดมุงหมายของการออกแบบ การกําหนดขนาดสามารถ ที่จะจัดวางเปนแบบขนานกันหรือวางตอเนื่องกันเปน ลูกโซหรือใชสองวิธีรวมกัน ในบางกรณีอาจจําเปนตอง กําหนดขนาดโดยวิธีระบุเปนคาโคออดิเนต(coordinates) 1.การกําหนดขนาดแบบลูกโซ (Chain dimensioning) การกําหนดขนาดที่ตอเนื่องกันเปนลูกโซน้ี ควรใชเมื่อ การสะสมที่เปนไปไดของคา tolerances ไมมีผลกระทบ ตอหนาที่การทํางานที่ตองการของชิ้นสวน

2.การกําหนดขนาดจาก feature รวม ( Dimensioning from a common feature) วิธีการกําหนดขนาดนี้จะถูกใชเมื่อมีการกําหนดขนาด หลายขนาดในทิศทางเดียวกันและใชจุดอางอิงเดียวกัน การกําหนดขนาดโดยใช feature รวมนี้อาจจะกําหนด ขนาดแบบขนานหรือกําหนดขนาดเปนแบบซอนทับ 2.1 การกําหนดขนาดแบบขนาน(Parallel dimensioning) การกําหนดขนาดแบบขนานเปนการจัดวางเสนบอกขนาดซึ่งขนานกันโดยเวนชองไวเพื่อใหใสตัวเลขบอกขนาดไดงาย

2.2 การใหขนาดแบบซอนทับ(Superimposed running dimensioning) เปนการกําหนดขนาดแบบขนานอยางงาย อาจจะใช เมื่อมีพ้นื ที่จํากัดและเมื่อไมมีปญหาเรื่องความชัดเจน เกิดขึ้น

78 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง จุดเริ่มตนระบุจะตองเขียนวางใหเหมาะสมที่ดานซึ่งตรง ISO 129-1985(E) กันขามกับปลายดานทีเปนหัวลูกศรของเสนบอกขนาด แตละเสน เพื่อไมใหเกิดความสับสนตัวเลขบอกขนาดจะวางโดย วิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ 2.2.1 วางไวใกลกับหัวลูกศรในแนวของเสนชวยบอก ขนาด( Projection line)

2.2.2 วางไวใกลกับหัวลูกศรโดยวางอยูเหนือเสนบอกขนาดเล็กนอย

2.3 อาจจะนําวิธีการบอกขนาดแบบซอนทับไปใชในการ บอกขนาด 2 ทิศทาง ซึ่งในกรณีน้จี ุดอางอิงเริ่มตน (origin)อาจเขียนแสดงดังรูป

79 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 3. การกําหนดขนาดโดยใชระบบโคออดิเนต ( Dimension ISO 129-1985(E) by coordinates ) 3.1 การกํานดขนาดโดยระบุเปนคาโคออดิเนตอาจใช แทนการกําหนดขนาดที่แสดงในรูปบน โดยแสดง เปนตารางตัวเลขบอกขนาดดังรูปลาง

3.2 โคออดิเนตของการตัดกันของกริด ในรูปที่กําหนด ขนาดแบบโคออดิเนต จะระบุดังแสดงในรูป 3.3 โคออดิเนตสําหรับจุดอางอิงใดๆ ที่ไมมีกริดจะตอง วางไวใกลกับจุดนั้นหรือแสดงอยูในรูปของตาราง

80 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.5 วิธีการกําหนดขนาด (Dimensioning methods) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 4. การกําขนาดแบบรวม ( Combined dimension ) ISO 129-1985(E) ในการกําหนดขนาดใหกับแบบ ขนาดเดี่ยว(single dimensions),การกําหนดขนาดแบบลูกโซ(chain dimensioning),การกําหนดขนาดจาก feature รวม (dimensioning from a common feature) อาจใชรวม กันไดในแบบถามีความจําเปน

81 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.6 การระบุแบบพิเศษ (Spacial indications) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย 1.การกําหนดขนาดคอรด(Chord), สวนโคง(Arcs) และ มุม(Angles) ตองแสดงดังรูป

S.O.P.

DS73012 มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)

2.เมื่อจุดศูนยกลางของสวนโคงตกออกนอกขอบเขตพื้นที่ เขียนแบบ เสนบอกขนาดของรัศมีจะเขียนเปนเสนขาด (broken) หรือเสนยอ(interrupted) ขึ้นอยูกับวามีความ จําเปนหรือไมที่จะตองระบุตําแหนงจุดศูนยกลาง

3.เมื่อขนาดของรัศมีสามารถหาไดจากขนาดอื่น การบอก ขนาดรัศมีจะระบุเพียงและสัญลักษณ R โดยไมตองระบุ คารัศมีลงไป

82 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.7 การกําหนดขนาดเทากันหลายชวง (Equidistant features) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย

S.O.P.

DS73012 มาตรฐานอางอิง

การกําหนดขนาดเทากันหลายชวง(Equidistant features) ISO 129-1985(E) เมื่อมีขนาดเทากันหลายชวง หรือสวนเหมือนกัน หลายสวน การกําหนดขนาดอาจใชวิธีการกําหนดขนาด อยางงายดังนี้ 1.แบบระยะเชิงเสน(Linear spacings) การกําหนดขนาดอาจใชวิธีการอยางงายดังรูป ถาตองการแยกใหรูวาคาใดเปนระยะพิตชและคาใดเปน จํานวนพิตช ใหกําหนดขนาดของระยะพิตชไวชวงหนึ่ง ดังรูป 2.แบบระยะเชิงมุม(Angular spacings) การกําหนดขนาดอาจใชวิธีการอยางงายดังรูป

ระยะหางเชิงมุมอาจไมตองแสดงถาแบบแสดงระยะหาง ชัดเจนในตัวเองอยูแลว ดังแสดงในรูป

3.แบบระยะแนววงกลม(Circular spacings) การกําหนดขนาดอาจกําหนดโดยออมดวยการระบุ จํานวนองคประกอบ(elements)ลงไปในแบบดังรูป

83 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.8 การกําหนดขนาด feature ที่ซ้ําๆ วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย

S.O.P.

DS73012 มาตรฐานอางอิง

การกําหนดขนาด feature ที่ซ้ําๆ (Repeated features) ISO 129-1985(E) การกําหนดขนาด features ที่ซ้ําๆ ใหระบุจํานวน และขนาดสวนประกอบ แสดงไวที่เดียวแทนการกําหนด ขนาดซ้ําๆ ดังรูป

การระบุจํานวนfeaturesที่ซ้ําๆกัน เชน รูทุกชนิด(รูเจาะ, รูเกลียว, รูหลอ ฯลฯ)ที่มีขนาดเทาๆกันหลายรู จะตอง ระบุตัวเลขแสดงจํานวน features ไวตําแหนงหนาสุดแลว คั่นดวยเครื่องหมาย " x " จากนั้นจึงตามดวยขอความ อื่นๆประจําตัว features ( เชนขนาดเสนผาศูนยกลางรู, ความลึก ฯลฯ) features ซ้ําที่เปนรูแตไมใชรูเกลียว อาจระบุหมายเลข แสดงจํานวนรูตามดวยคําวา "holes"แลวจึงตามดวย ขนาดเสนผาศูนยกลางของรู ดังรูป

84 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.9 การกําหนดขนาดเสนผาศูนยกลาง(Diameters) วิธีกําหนดขนาด

S.O.P.

DS73012

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.การกําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางเพื่อการแสดงขนาด BS 308 Part2:1985 ที่ชัดเจนจะตองระบุขนาดบนดานที่เหมาะสมที่สุด JIS B 0001-1985 ตัวอยางเชน ในการกําหนดขนาดใหกับแบบที่ feature เปนวงกลมที่มีแกนศูนยกลางรวมกันหลายๆวง การกําหนดขนาดบนภาพดานตามยาว( longitunal view) มีความเหมาะสมกวาการกําหนดขนาดในภาพดานที่มอง จากดานปลาย(end view)ของชิ้นงาน ดังรูป

2.เมื่อเสนบอกขนาดและเสนชวยบอกขนาดมีการตัดกับ เสนอื่นหรือมีพ้นื ที่ไมเพียงพอสําหรับการกําหนดขนาด อาจจะไมใชเสนบอกขนาดและกําหนดขนาดใหกับแบบ โดยใชเสนชี้แทนดังรูป

3. เมื่อแบบไมไดแสดงเปนภาพเต็มทั้งหมด วงกลมที่มีแกน ศูนยกลางรวมกันอาจกําหนดขนาดดังรูป

85 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.10 การกําหนดขนาดลบมุม(Chamfers and countersinks) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย การกําหนดขนาดลบมุม (Chamfer) 1.ลบมุมกําหนดขนาดได 2 แบบดังแสดงในรูป

S.O.P.

DS73012 มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)

2.ลบมุม 45 องศาอนุโลมใหกําหนดขนาดอยางงายไดดัง แสดงในรูป

3.ลบมุมภายใน

4.ลบมุม 45 องศาภายใน

86 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.11 การกําหนดขนาดรู (Size of holes) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย

S.O.P.

DS73012 มาตรฐานอางอิง

1.การกําหนดขนาดรูผายปาก (Countersink) ISO 129-1985(E) การกําหนดขนาด countersinks สามารถกําหนด ได 2 วิธีคือ ใหขนาดเสนผาศูนยกลางที่ผิวและมุม หรือ ใหขนาดความลึกและมุมดังแสดงในรูป

2.วิธีการกําหนดขนาดรูแสดงดังรูป BS 308 Part2:1985 2.1 กรรมวิธีการผลิต เชน drill(เจาะ), punch(ตอก), JIS B 0001-1985 cast(หลอ), ream(ควาน) ฯลฯ ไมตองกําหนด ยกเวนมี ความจําเปนตองาน ความลึกของรูเจาะเมื่อกําหนดขนาดอยูในรูปแบบของ คําสั่ง( instructions) จะหมายถึงความลึกของชอง ทรงกระบอกของรูแตไมไดหมายถึงจุดปลายแหลมของ รูเจาะ ยกเวนการระบุในกรณีอื่นๆ หมายเหตุ ตามสากลนิยมถาไมจําเปนตองละเวนการใชคําวา " hole "

2.2 ในกรณีเปนรูที่ทะลุไมตองแสดงความลึกของรู

87 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.11 การกําหนดขนาดรู (Size of holes) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

S.O.P.

DS73012

คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 2.3 ในกรณีเมื่อมีความจําเปนตองระบุแยกชนิดของรู JIS B 0001-1985 ตามกรรมวิธีการผลิตเชน drill hole(รูเจาะ), punching hole(รูตอก), cast hole(รูหลอ) ฯลฯ ให แสดงขนาดเสนผาศูนยกลางระบุ หรือ ขนาดอางอิง ของเครื่องมือตามดวยชนิดของกรรมวิธีการผลิต โดยกรรมวิธีการผลิตตามที่แสดงในตารางดังตอไปนี้ อาจที่จะระบุเปนชื่อกรรมวิธีการผลิตเปนแบบอยางงาย ในแบบได กรรมวิธีการผลิต Casting Punching Drilling Reaming Tapping

88 / 101

ชื่อระบุอยางงาย Cast Punch Drill Reamer Tap

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.การระบุชื่อเกลียว (Designation) ISO 6410-1993(E) 1.1เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO (ISO Metric threads) ในการระบุชื่อเกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO โดย ทั่วไปจะประกอบไปดวยสวนตางๆดังนี้ - ตัวอักษรยอบอกชนิดของเกลียว ( ตัวอยางเชน M, Tr, G, HA, ฯลฯ) - เสนผาศูนยกลางระบุ ( Norminal diameter ) หรือ ขนาดของเกลียว ( เชน 20; 1/2; 40; 45 ฯลฯ) - เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO กรณีที่เปน เกลียวธรรมดาไมตองแสดงระยะพิทช และ (ถาจําเปน) เชน M16 - ระยะหลีด (Lead, L), ในหนวยมิลลิเมตร - ระยะพิทช (Pitch, P), ในหนวยมิลลิเมตร - เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO กรณีที่เปน - ทิศทางของการหลีด (เปนเกลียวซายหรือเกลียวขวา) เกลียวละเอียดจะตองแสดงระยะพิทช เชน M20 x 2 นอกจากนั้นอาจกําหนดขอมูลเพิ่มเติม เชน - ระดับความคลาดเคลื่อน (tolerance class) เกลียว - เกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO กรณีที่เปน ตามมาตรฐานระดับชาติ เกลียวหลายปาก - ระยะขบเกลียว (Thread engagement ) S = Short, L = Long, N = Normal - จํานวนปากของเกลียว ( the number of starts) ตัวอยางการระบุชื่อเกลียวเมตริก มาตรฐาน ISO

a) M20 x 2 - 6G/6h - LH b) M20 x L3 - P1.5 - 6H - S c) Tr 40 x 7 d) G 1/2 A e) HA 4.5 หมายเหตุ หนังสือใชประกอบ ERIK OBERG, "Machinery's Handbook" th , 24 Edition,INDUSTRIAL PRESS INC.,1992.

89 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.2 เกลียวยูนิฟายด (Unified threads) ASME B1.1 1989 การระบุชื่อเกลียวยูนิฟายดแบบพื้นฐานจะประกอบไป ดวยสวนตางๆโดยแสดงเรียงตามลําดับดังนี้ ขนาดระบุ, จํานวนฟนเกลียวตอนิ้ว, อนุกรมของเกลียว, ระดับของเกลียวและระบบเกจสวมรองเกลียว 1.2.1 ขนาดระบุ(Nominal size) ขนาดระบุจะเปนขนาดของเสนผาศูนยกลางหลัก(major diameter)โดยจะระบุเปนคาเศษสวนเสนผาศูนยกลาง, หมายเลขสกรู, หรือคาทศนิยมเทียบเทา เมื่อใชคาทศนิยมเทียบเทาบอกขนาดจะตอง แสดงเปนทศนิยม 4 ตําแหนง(ยกเวนไมตองแสดงเลข 0 ในทศนิยมตําแหนงที่ 4 )และใชเปนทศนิยม 3 ตําแหนง ตัวอยางการระบุชื่อเกลียว UN เมื่อใชแทนหมายเลขสกรู โดยคาเหลานี้จะตอง

รูบแบบเกลียว(Thread series) UN/UNR อนุกรมเกลียวมาตรฐาน(Standard Thread Series) - เกลียวหยาบ (Coarse-Thread Series) UNC/UNRC - เกลียวละเอียด (Fine-Thread Series) UNF/UNRF - เกลียวละเอียดพิเศษ (Extra-Fine-Thread Series) UNEF/UNREF อนุกรมเกลียวพิเศษ(Special Thread Series) UNS/UNRS ระดับชั้นเกลียว(Thread Class) A : เกลียวนอก B : เกลียวใน Class 1 งานสวมเกลียวหลวมที่สุด Class 2 เกลียวนอกและเกลียวในจะสวมกันพอดี Class 3 เกลียวนอกและเกลียวในจะขันเขาฝด

ถูกแปลเปน nominal size เทานั้นและตองไมมีเครื่องหมายเกี่ยวกับขนาดอื่นๆ อยูเหนือขนาดที่แสดงเปน เศษสวนหรือหมายเลขสกรู 1.2.2 สัญลักษณอนุกรมเกลียว(thread series symbol) จะแสดงใหทราบถึง รูปแบบเกลียว,อนุกรมเกลียว (ตัวอักษรที่2)และสูตรคา tolerance(ตัวอักษรที่3) สัญลักษณอนุกรมเกลียวสําหรับเกลียว UN ที่ระบุ ในตารางเกลียว UN มาตรฐานจะอยูในรูป UNC, UNF, UNEF หรือ UN และเปน UNS สําหรับ เกลียวอื่นๆที่ขนาดเสนผาศูนยกลางและคาระยะพิทช อยูระหวางหรือใหญกวาคาเกลียว UN มาตรฐาน โดยมีคา Tolerance เปนตามสูตรคา Tolerance ของเกลียวยูนิฟายดมาตรฐาน สัญลักษณอนุกรมเกลียวสําหรับเกลียว UNRจะอยูใน รูป UNRC, UNRF, UNREF, หรือ UNR และเปน UNRS ในกรณีมีเงื่อนไขเปนเหมือนกับเกลียว UNS 1.2.3 สัญลักษณระดับชั้นเกลียว(Thread class symbol) คือ 1A, 1B, 2A, 2B, 3A,หรือ 3B,เมื่อตัวอักษร A และ B จะเปนตัวบอกวาปนเกลียวนอกหรือเกลียวในตามลําดับ 90 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 1.3 เกลียววิทเวอรท (Whitworth threads) BS 84 : 1956 การระบุชื่อเกลียววิทเวอรทแบบพื้นฐานจะประกอบไป ดวยสวนตางๆโดยแสดงเรียงตามลําดับดังนี้ เสนผาศูนยกลางหลัก(major diameter), จํานวนฟนเกลียวตอนิ้ว, อนุกรมของเกลียว และถาเปนเกลียวซาย ใหระบุสัญลักษณ LH ตอจากสัญลักษณอนุกรมเกลียว สัญลักษณอนุกรมเกลียว B.S.W. : British Standard Whitworth series B.S.F. : British Standard Fine series

91 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง 2. การกําหนดขนาดเกลียว ISO 6410-1993(E) 2.1 เสนผาศูนยกลางระบุ(Nominal diameter, d) เสนผาศูนยกลางระบุจะหมายถึง เสนผาศูนยกลาง ของสันเกลียวของเกลียวนอก(external thread) หรือ หมายถึงเสนผาศูนยกลางของโคนเกลียวของเกลียวใน (internal thread) เสมอ ขนาดของความยาวเกลียวโดยปกติจะหมายถึง ความยาวของชวงเกลียวเต็ม(full depth thread) หรือ เกลียวสมบรูณ(complete thread) ยกเวนกรณีที่ ชวงเนินเกลียวเปนสวนที่มีความจําเปน เชน studs จะตองรวมชวงเนินเกลียวดวย

หมายเหตุ ชวงปลายของ bolts (ดู ISO 4753) จะรวมอยูในคา ความยาวของชวงเกลียวเต็มดวย (b) หรือ (l)

2.2 ความยาวของเกลียวและความลึกของรูเจาะไมทะลุ (Thread length and blind hole depth) โดยทั่วไปจําเปนที่จะตองระบุขนาดความยาวของ เกลียว แตความลึกของรูเจาะที่ไมทะลุปกติอาจจะไม แสดงก็ได

92 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

4.12 การระบุและการกําหนดขนาดของชิ้นสวนที่ทําเกลียว (Indication and dimensioning of threaded part) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด คําอธิบาย มาตรฐานอางอิง ความตองการสําหรับการระบุขนาดความลึกรูเจาะ ISO 6410-1993(E) ไมทะลุ สวนใหญแลวจะขึ้นอยูกับสวนของตัวมันเอง และเครื่องมือที่ใชสําหรับทําเกลียว เมื่อขนาดความลึก ของรูเจาะไมถูกระบุ จะตองแสดงขนาดความลึก รูเจาะเปน1.25 เทาของระยะความยาวเกลียว การกําหนดขนาดใหกับรูเกลียวอาจแสดงเปนแบบ อยางยอไดดังรูป

2.3 การกําหนดทิศทางของการหลีด (Indication of direction of lead) โดยทั่วไปเกลียวขวาจะไมแสดงทิศทางของการหลีด สวนเกลียวซายจะตองแสดงโดยการเพิ่มตัวอักษรยอ LH ตอเพิ่มเขาไปในชื่อเกลียวที่ระบุ เกลียวซายและเกลียวขวาที่อยูบนชิ้นสวนเดียวกันตอง แสดงทิศทางของการหลีดในทุกกรณี เมื่อมีความจําเปนตองแสดงเกลียวขวาดวยการเพิ่ม ตัวอักษรยอ RH ตอเพิ่มเขาไปในชื่อเกลียวที่ระบุ

93 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.12 การกําหนดขนาดแบบอื่นๆ(Other indications) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย

S.O.P.

DS73012 มาตรฐานอางอิง

1.เพื่อหลีกเลี่ยงการกําหนดขนาดซ้ําๆ หรือ หลีกเลี่ยงการ ISO 129-1985(E) ที่ตองมีเสนชี้ที่ยาว อาจใชตัวอักษรอางอิงชวยในการ กําหนดขนาดโดยแสดงพรอมกับเสนชี้หรือแสดง เฉพาะ ตัวอักษรอางอิงอยางเดียวแลวอธิบายขนาด ใหกับแบบโดยทําเปนตารางหรือ note

2.ภาพที่เขียนเปนเพียงบางสวนและภาพตัดเฉพาะสวน ของชิ้นสวนที่มีรูปทรงสมมาตร เสนบอกขนาดตางๆให เขียนยาวเลยเสนผาศูนยกลางไปเล็กนอยและให เวน การใชลูกศรอีกขางหนึ่ง

3.ในบางครั้งมีความจําเปนที่ตองกําหนดขนาดใหกับพื้นที่ ที่จํากัดหรือตามแนวยาวของผิวเพื่อระบุเงื่อนไขพิเศษ เชน ใหทํา carburizing hardening ในกรณีเชนนี้พื้นที่ หรือความยาวจะถูกระบุดวยเสนลูกโซหนา โดยเขียน เปนเสนขนานใกลๆกับพื้นผิวดวยระยะสั้นๆ ขอกําหนดพิเศษที่ระบุใหกับชิ้นงานที่หมุนไดตอง แสดงเพียงดานเดียวเทานั้น ตองกําหนดขนาดเพื่อแสดงตําแหนงและขอบเขตของ ขอกําหนดพิเศษใหชัดเจน แตถาแบบแสดงการระบุ ขอบเขตที่ชัดเจนอยูแลวการกําหนดขนาด ไมจําเปน ตองแสดง

94 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 4.12 การกําหนดขนาดแบบอื่นๆ(Other indications) (ตอ) วิธีกําหนดขนาด

คําอธิบาย

4. ความหนาอาจจะกําหนดอยางงายได โดยระบุตัวเลข

S.O.P.

DS73012 มาตรฐานอางอิง ISO 129-1985(E)

คาความหนาแลวตามดวยตัวอักษร "THK" ดังรูป

95 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

5.คํายอและสัญลักษณมาตรฐาน สัญลักษณหรือคํายอ

คําอธิบายหรือคําเต็ม

AF

Across flats

ASSY

Assembly

CRS

Centres

CL

มาตรฐานอางอิง BS 8888:2000

Centre line - in a note Centre line - on a view

CG

Center of gravity

CHAM

Chamfer, chamfered (in a note)

CH HD

Cheese head

CSK

Countersunk

CSK HD

Countersunk head

CBORE

Counterbore

CYL

Cylinder or cylindrical Diameter - preceding a dimension

DIA

Diameter - in a note

DRG

Drawing

EQUI SP

Equally spaced

EXT

External

FIG.

Figure

HEX

Hexagon

HEX HD

Hexagon head

HYD

Hydraulic

INSUL

Insulated or insulation

INT

Internal

LH

Left hand

LG

Long

MATL

Material

MC

Machine

MAX

Maximum

MIN

Minimum

NO.

Number

PATT NO.

Pattern number

PCD

Pitch circle diameter

96 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

5.คํายอและสัญลักษณมาตรฐาน (ตอ) สัญลักษณหรือคํายอ

คําอธิบายหรือคําเต็ม

Q'TY

Quantity

R

Radius - preceding a note

RAD

Radius - in a note

REQD

Required

Rev.

Revised

RH

Right hand

RD HD

Round head

SCR

Screw or screwed

SH

Sheet

SK

Sketch

SPEC

Specification

S

Spherical diameter (only preceding a dimension)

SR

Spherical radius (only preceding a dimension)

SFACE

Spotface

SQ

มาตรฐานอางอิง BS 8888:2000

Square - in a note Square - preceding a dimension

STD

Standard (oriented to direction of taper)

Taper, on diameter or width

THD

Thread

THK

Thick

TOL

Tolerance

TYP

Typical or typically

UCUT

Undercut

VOL

Volume

WT

Weight

97 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

มาตรฐานการเขียนแบบดวย AutoCAD 1.มาตรฐานการใช Layers เพื่อใหแบบที่เขียนโดยใชโปรแกรม AutoCAD มีการใช Layer พื้นฐานที่เหมือนกันทั้งองคกร จะกําหนดใช Layer มาตรฐาน ของการเขียนแบบโดยใชโปรแกรม AutoCAD ดังตารางที่ 1 ตาราที่ 1 Layers มาตรฐานสําหรับการเขียนแบบ Lineweight No. Name Color Linetype การใชงาน 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 ใชเขียนกรอบพื้นที่เขียนแบบ 1 Border Red Continuous 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชเขียนเสนผาศูนยกลาง

2 Center line

30

3 Drawing

Magenta Continuous

4 Dim

Cyan

Continuous

5 Detail

Cyan

Continuous

6 Hatch

Yellow

Continuous

0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชเขียน feature ของแบบที่ ตองใชเสนเต็มบาง 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชสําหรับเขียนเสนลายตัด

7 Hidden

White

DASHED2

0.7

8 Text

Green

Continuous

9 Text thick

Blue

Continuous

10 Text thin

104

Continuous

11 Viewports

White

Continuous

12 Symbol

Green

Continuous

0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชสําหรับเขียนตัวอักษร ปรกติ 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 ใชสําหรับเขียนตัวอักษร ประเภทตัวหนา 0.35 0.25 0.18 0.13 0.09 ใชสําหรับเขียนตัวอักษร ประเภทตัวบางพิเศษ 0.7 0.5 0.35 0.25 0.18 ใชเขียนรูป Viewports ของ กรอบกระดาษเขียนแบบ 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชเขียนรูปสัญลักษณตางๆ เชน สัญลักษณงานกลึง

Center

98 / 101

1.0

0.7

0.5 0.35 0.25 ใชเขียน feature ของรูปของ แบบ ที่ตองใชเสนเต็มหนา 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 ใชสําหรับกําหนดขนาด

0.5 0.35 0.25 0.18 ใชสําหรับเขียนเสนประ

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD. 2.มาตรฐานการตั้งชื่อ Dimension Styles วิธีกําหนดชื่อ

คําอธิบาย การตั้งชื่อ Dimension Styles เพื่อใหงายตอการทําความเขาใจและการแกไข Dimension Styles ของแบบที่เขียนโดยใชโปรแกรม AutoCAD การกําหนดชื่อของ Dimension Styles จะตอง ประกอบไปดวยสวนตางๆ เรียงตามลําดับดังนี้ 1.แนวของตัวเลขบอกขนาด (Text Alignment) - Hor (Horizontal) จัดวางตัวเลขบอกขนาดใหอยูใน แนวนอนเสมอ - Aligned (Aligned with dimension line) จัดวาง ตัวเลขบอกขนาดตามแนวของเสนบอกขนาด - ISO (ISO Standard) จัดวางตัวเลขบอกขนาดตาม แนวมาตรฐาน ISO 2.ความสูงตัวหนังสือ,ตัวเลขบอกขนาด (Text height)

S.O.P.

DS73012 หมายเหตุ

3.ขนาดหัวลูกศร (Arrow size) 4.ตัวคูณยอ/ขยายทุกมาตราสวน (Overall scale) 5.วิธีกําหนดคา Tolerance (Tolerance method) - Sym (Symmetrical) - Dev (Deviation) - Limits - Basic

99 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

3.มาตรฐาน Text Styles 3.1 Fonts ตัวอักษรภาษาอังกฤษมาตรฐาน เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในมาตรฐานตัวอักษรที่ใชในการเขียนแบบ จะกําหนดใหใช fonts isocp.shx เปน font มาตรฐาน ที่ใชในการเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ และ กําหนดใหใช fonts tis.shx หรือ thai.shx เปน font มาตรฐานที่ใชในการเขียนตัวอักษร ภาษาไทย รูปแบบตัวอักษร ของ font isocp.shx

รูปแบบตัวอักษร ของ font isocp.shx

100 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


SIAM CAST IRON WORKS CO., LTD.

S.O.P.

DS73012

รูปแบบตัวอักษร ของ font isocp.shx

3.2 การกําหนดชื่อ Text Style ชื่อของ Text Style ใน Program AutoCAD ใหกําหนดตามชื่อของ Font ที่ใช ตัวอยางเชน ใช font isocp.shx ชื่อของ Text Style(Style Name) คือ isocp ใช font tis.shx ชื่อของ Text Style(Style Name) คือ tis

101 / 101

TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.