Monnisa_Trainee

Page 1


1


2

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ขาพเจาไดมาฝกงาน ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( Samut Songkhram PAO.) ตั้งแตวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2556 สงผลใหขาพเจา ไดรับความรูใหมๆและประสบการณตางๆอยางมากมาย สําหรับรายงานการฝกงานฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดีจาก ความรวมมือและสนับสนุนจากหลายฝายดังนี้ 1. คุณพิสิฐ เสือสมิง นายกองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 2. คุณขวัญใจ หอสกุล หัวหนาสํานักปลัด 3. คุณนิรมล กลัดสมบูรณ หัวหนาฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป และบุคคลทานอื่นๆในฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวทุกทานที่ไดใหคําแนะนําชวยเหลือในการจัดทํา รายงานฉบับนี้ ขาพเจาใครขอขอบพระคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานที่มีสวนรวมในการใหขอมูล เปนที่ปรึกษาในการ ทํารายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ ตลอดจนใหการดูแลและใหความเขาใจเกี่ยวกับชีวิตการทํางานจริง ขาพเจา ขอขอบคุณ ไว ณ ที่นี้

นางสาวมนนิสา รุงปจฉิม ผูจัดทํารายงาน 20 มิถุนายน 2556


3

บทคัดยอ (Abstract) การฝกประสบการณวิชาชีพ เปนการฝกประสบการณในการทํางานในบริษัทหรือองคกร เปนการนํา ความรูที่นอกเหนือจากตําราเรียน มาฝกประสบการณวิชาชีพและสามารถนํามาประยุกตใช เพื่อเตรียมตัว สําหรับการทํางานจริงในบริษัทหรือองคกรตางๆ ซึ่งการฝกประสบการณวิชาชีพนั้นสามารถสอนใหรับมือกับ ปญหาและแกไขปญหาในสถานการณที่เกิดขึ้นจริง ไดเรียนรูเทคนิคตาง ๆและพรอมที่จะพัฒนาตนเอง ทาง มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ไดกําหนดการฝกประสบการณวิชาชีพขึ้นเพื่อใหนักศึกษาไดมีโอกาสในการ ปฏิบัติงานจริงในสถานที่ประกอบการ ทําใหนักศึกษามีความรูความเขาใจในการทํางาน และสามารถนํา ความรูทั้งทางดานทฤษฎีและปฏิบัติ ที่ไดจากการปฏิบัติงานนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางมี ประสิทธิภาพ หลังจากจบหลักสูตรปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


4

สารบัญ จดหมายตอบรับนักศึกษาฝกงาน กิตติกรรมประกาศ บทคัดยอ สารบัญ บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ วัตถุประสงคของการศึกษา วิธีการดําเนินการศึกษา ระยะเวลาในการฝกประสบการณวิชาชีพ ขอบเขตการศึกษา บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ก. ชื่อหนวยงาน ข. สถานที่ตั้ง ค. ประวัติหนวยงาน ง. อัตลักษณองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม จ. ลักษณะของหนวยงานองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ฉ. ผังการบริหารงาน ช. งานวิจัยที่เกี่ยวของ บทที่ 3 การปฏิบัติงาน หลักการปฏิบัติงาน การวิเคราะห SWOT การฝกประสบการณวิชาชีพ งานที่ไดรับมอบหมาย บทที่ 4 ผลที่ไดรับจากการปฎิบัติงาน บทที่ 5 สรุปผลการปฎิบัติงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก

2

หนา 1 3 4 5 5 6 6 6 7 8 8 9 9 13 14 18 19 20 21 21 26 46 47 49 52


5

บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ การศึกษาในระดับปริญญาตรี สิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งคือการฝกประสบการณวิชาชีพ ซึ่งเปนเปนการ นําความรูในแขนงวิชาที่ศึกษา มาประยุกตใชในการฝกประสบการณวิชาชีพในบริษัทหรือองคกรตางๆ เพื่อ เจาของกิจการตองการตรวจสอบความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติงานของบัณฑิตวามีความรูความสามารถ จริง ดังใบปริญญา หรือมีความรูความสามารถตรงกับขอบเขต และคุณภาพของงานที่ตองการจะวาจางหรือไม สิ่งที่เปนเครื่องยืนยันในคุณสมบัติ และในคุณภาพที่เปนรูปธรรมก็คือ รายงานเลมนี้ ดังนั้นการทําความเขาใจ อยางถองแทลึกซึ้ง และการใชความสามารถในการทํารายงาน จึงนับวามีความสําคัญมากที่สุดของการศึกษา ระดับปริญญาตรี สิ่งที่สําคัญที่สุดของรายงานที่สมบูรณก็คือ การฝกประสบการณวิชาชีพซึ่งในที่นี้หมายรวมถึง องคประกอบ และขั้นตอนการปฏิบัติการตางๆที่ถูกตองตามหลักการศึกษา การดําเนินการ ปฏิบัติงาน จึงเปน การสรางเสริมความรูความสามารถ หลายประการใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรี ความสามารถทั้งหลายที่ กลาวถึงนี้เปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของการศึกษาระดับปริญญาตรีดังนั้นการทํารายงาน จึงเปนสวนสําคัญใน การเสริมสรางความสามารถที่พึงประสงคทั้งหลายเหลานี้ การฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรมเปนกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ทํารวมกัน ระหวางมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูทักษะและฝกประสบการณในการทํางาน จริงในสายงานที่มีความจําเปนตอการประกอบอาชีพซึ่งมุงเสริมใหนักศึกษาไดประสบการณโดยตรงจากการฝก ประสบการณวิชาชีพและเรียนรูสถานการณที่เปนจริงของการทํางาน เปนการเรียนรูการเพิ่มทักษะและ ประสบการณในการทํางานที่มีประโยชนตอการประกอบอาชีพของนักศึกษา ซึ่งเปนการนําความรูจากวิชาที่ได ศึกษาตลอดทั้งหลักสูตรนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริงในการทํางานกับสถานประกอบการณ อีกทั้งยัง เปนการฝกใหมีความอดทน มีความตรงตอเวลา การใชเวลาอยางมีประสิทธิภาพ การชวยเหลือผูอื่น การมี มนุษยสัมพันธที่ดี รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตนเองในการเตรียมความพรอมกับปญหาที่จะเกิดขึ้น ขางหนาและคนหาวิธีแกไขเฉพาะหนาไดอยางเหมาะสมตรงตามปญหานั้นๆ เพื่อที่จะออกไปดําเนินชีวิตและ ประกอบอาชีพดานออกแบบกราฟก ไดอยางมีประสิทธิภาพตอสังคมและหนวยงาน หรือองคกรไดเปนอยางดี


6

การฝกประสบการณวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ครั้งนี้ เปนการนําความรู ความสามารถที่นักศึกษาไดเรียนมาในชั้นเรียนดานตางๆ มาประยุกตปรับใชในการฝกประสบการณวิชาชีพ ซึ่ง นักศึกษาจะตองนําความรูที่ไดจากภายในชั้นเรียนมาปรับใชกับงานที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนางาน เพื่อ นักศึกษาจะไดรูจักกระบวนการคิด วิธีการทํางานจริง และเมื่อพบปญหาการทํางานสามารถใชไหวพริบแกไข เหตุการณเฉพาะหนาได เปนแนวทางในการประกอบอาชีพ และนักศึกษาจะไดทราบถึงประสิทธิภาพการ ทํางานของตนเองได วัตถุประสงคของการศึกษา 1.1 เพื่อบรรลุตามจุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษารายวิชา การฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรม 1.2 เพื่อสรางประสบการณการทํางาน ณ สถานที่จริง 1.3 เพื่อพัฒนาตนในดานความรับผิดชอบตอหนาที่ การเขากับสังคม และวิถีชีวิตการทํางานจริง 1.4 เพื่อใหนักศึกษานําความรู ความสามารถที่ไดเรียนมาประยุกตใช ในที่ทํางานจริง วิธีการดําเนินการศึกษา 1.1 หาสถานที่ฝกประสบการณดวยตนเองและดําเนินการติดตอหนวยงาน 1.2 เขาไปติดตอกับหัวหนางานกอนวันที่จะทําการฝก หากหนวยงานรับนักศึกษาฝกประสบการณ วิชาชีพ ใหรีบแจงกับทางมหาวิทยาลัยรับทราบและพิจารณา 1.3 นําเอกสารสงตัวนักศึกษาที่ไดจากทางมหาวิยาลัย ไปยื่นใหกับหนวยงานที่ไดทําการฝก 1.4 นําเอกสารตอบรับที่ไดรับจากหนวยงาน ไปยื่นใหกับมหาวิทยาลัย 1.5 เขารายงานตัวกับหนวยงานที่ฝกประสบการณวิชาชีพ 1.6 เริ่มเขาฝกประสบการณวิชาชีพ ตั้งแตวันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 1.7 ในระหวางฝกประสบการณวิชาชีพ ทําภาคนิพนธประกอบไปดวย คือ เก็บสะสมผลงานที่ไดรับ มอบหมาย เปนตน 1.8 สงผลงานการปฏิบัติงานวิชาชีพศิลปกรรม ระยะเวลาในการฝกประสบการณวิชาชีพ วันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 จนถึง วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 รวมระยะเวลา 36 วัน เปนจํานวน 288 ชั่วโมง โดยฝกประสบการณวิชาชีพในวันจันทรถึงวันศุกร ตั้งแตเวลา 08.30 น. – 16.30 น. วันละ 8 ชั่วโมง เปนจํานวน 9 สัปดาห


7

ขอบเขตการศึกษา 1.1 ศึกษาบทบาทหนาที่ของการเปนบุคลากรขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 1.2 ศึกษาระบบการทํางานของฝาย พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป 1.3 ภาพถายพิธีการ กิจกรรมตางๆ ขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 1.4 Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) 1.5 Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels 1.6 Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว ขอบเขตการศึกษาดานระยะเวลา ฝกประสบการณวิชาชีพตั้งแตวันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 จนถึงวันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.1 ไดประสบการณจากการปฏิบัติงานในสถานที่ประกอบการจริง เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนา ตนเองใหดีขึ้น 1.2 สามารถนําความรูที่เรียนมาแกไขปญหาเฉพาะหนาที่เกิดขึ้นในขณะการปฏิบัติงาน 1.3 รูจักการทํางานเปนทีม การทํางานเปนหมูคณะ และการชวยเหลือซึ่งกันและกัน 1.4 ไดเรียนรูถึงสภาพการทํางาน สังคม และวัฒนาธรรมจากสถานที่ประกอบการจริง 1.5 มีความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติ


8

บทที่ 2 การจัดการภายในองคกร

การฝกประสบการณวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( ครั้งนี้ ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของดังหัวขอตอไปนี้

Samut Songkram PAO.)

ก. ชื่อหน่วยงาน ข. สถานที่ตั ้ง ค. ประวัติหน่วยงาน ง. อัตลักษณ์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม จ. ลักษณะของหน่วยงาน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม ฉ. ผังการบริหารงาน ช. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง

ก. ชื่อหนวยงาน องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.)

ภาพที่ 2.1 ภาพบริเวณสํานักงานองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.)


9

ข. สถานที่ตั้ง องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) อาคารสํานักงานตั้งอยูที่ ถนนเอกชัย ตําบลแมกลอง อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 โทรศัพท : 0-3471-5012 / โทรสาร : 0-3471-5012 / Website : www.skmpao.go.th

ภาพที่ 2.2 ภาพแผนที่องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) ค. ประวัติหนวยงาน การจัดรูปแบบขององคการบริหารสวนจังหวัดซึ่งเปนการปกครองทองถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใชอยูใน ปจจุบันไดมีการปรับปรุงแกไขและวิวัฒนาการมาตามลําดับ โดยจัดใหสภาจังหวัดขึ้นเปนครั้งแรกในป พ.ศ. 2476 ตามความในพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ.2476 ฐานะของสภาจังหวัดขณะนั้น มีลักษณะเปน องคการแทนประชาชน ทําหนาที่ใหคําปรึกษาหารือแนะนําแกคณะกรรมการจังหวัดยังมิไดมีฐานะเปนนิติ บุคคลที่แยกตางหากจากราชการบริหารสวนภูมิภาคหรือเปนหนวยการปกครองทองถิ่นตามกฎหมาย ตอมาในป พ.ศ.2481 ไดมีการตราพระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ.2481 ขึ้นโดยมีความประสงคที่จะ แยกกฎหมายที่เกี่ยวกับสภาจังหวัดไวโดยเฉพาะ สําหรับสาระสําคัญของพระราชบัญญัติฯ นั้นยังมิไดมีการ


10

เปลี่ยนแปลงฐานะและบทบาทของสภาจังหวัดไปจากเดิม กลาวคือ สภาจังหวัดยังคงทําหนาที่เปนสภาที่ปรึกษา ของคณะกรรมการจังหวัดเทานั้น จนกระทั้งไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2495 ซึ่งกําหนดใหผูวาราชการจังหวัดเปนหัวหนาปกครองบังคับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบ บริหาร ราชการในสวนจังหวัด ของกระทรวง ทบวงกรมตาง ๆ โดยตรงแทนคณะกรรมการจังหวัดเดิม โดยผลแหงพระราชบัญญัติฯ นี้ทําใหสภาจังหวัดมีฐานะเปนสภาที่ปรึกษาของผูวาราชการจังหวัด แต เนื่องจากบทบาทและการดําเนินงานของสภาจังหวัดในฐานะ ที่ปรึกษา ซึ่งคอยใหคําแนะนําและควบคุมดูแล การปฏิบัติงานของจังหวัด ไมสูจะไดผลตามความมุงหมายเทาใดนักจึงทําใหเกิดแนวคิดที่จะปรับปรุงบทบาท ของสภาจังหวัด ใหมีประสิทธิภาพโดยให ประชาชนไดเขามามีสวนในการปกครองตนเองยิ่งขึ้น ในป พ.ศ. 2498 อันมีผลใหเกิด "องคการบริหารสวนจังหวัด" ขึ้นตามภูมิภาคตอมา ไดมีการประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ลงวันที่ 29 กันยายน 2515 ซึ่งเปนกฎหมายแมบทวาดวยการจัดระเบียบบริหารราชการแผนดิน กําหนดใหองคการบริหารสวนจังหวัดมีฐานะเปนหนวยการปกครองทองถิ่นรูปหนึ่งเมื่อสภาจังหวัดแปรสภาพมา เปนสภาการปกครองทองถิ่น จึงมีบทบาทและอํานาจหนาที่เพิ่มขึ้นอยางมาก ดังนั้นเพื่อประโยชนในการทํา ความเขาใจอํานาจหนาที่และบทบาทของสภาจังหวัดจากอดีตจนถึงปจจุบัน จึงขอแบงระยะวิวัฒนาการของ สภาจังหวัดออกเปน ดังนี้ ในอดีต (พ.ศ.2476 - 2498) นับตั้งแตป พ.ศ.2476 ที่ไดมีการจัดตั้งสภาจังหวัดขึ้น ตามพระราชบัญญัติระเบียบเทศบาล พ.ศ.2476 ซึ่ง นับเปนจุดกําเนิด และรากฐานของการพัฒนาที่ทําใหใหมีหนวยงานปกครองทองถิ่นในรูปองคการบริหารสวน จังหวัดขึ้น จนถึงป พ.ศ.2498 นั้น อาจกลาว โดยสรุปถึงฐานอํานาจหนาที่บทบาทของสภาจังหวัดไดวามี ลักษณะ ดังนี้ ฐานะสภาจังหวัดในขณะนั้นก็ยังมิไดมีฐานะเปนหนวยการปกครองทองถิ่นและเปนนิติบุคคลที่แยกตางหากจาก ราชการบริหารสวนภูมิภาคตามกฎหมายเปนเพียงองคกรตัวแทนประชาชนรูปแบบหนึ่ง ที่ทําหนาที่ให คําปรึกษา แนะนําแกจังหวัด ซึ่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแหงพระราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2476 กําหนดใหจังหวัดเปนหนวยราชการบริหารสวนภูมิภาคอํานาจการบริหารงานในจังหวัดอยูภายใตการ ดําเนินงานของคณะกรรมการจังหวัด ซึ่งมีผูวาราชการจังหวัดเปนประธานสภาจังหวัดจึงมีบทบาทเปนเพียงที่ ปรึกษาเกี่ยวกับกิจการของสภาจังหวัดแกคณะกรรมการจังหวัด และคณะกรรมการจังหวัด ไมจําเปนตองปฏิบัติ ตามเสมอไป กระทั่งในป พ.ศ.2495 ไดมีการตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวนแผนดิน กําหนดให ผูวาราชการจังหวัด สภาจังหวัดจึงเปลี่ยนบทบาทจากสภาที่ปรึกษาของกรรมการจังหวัดมาเปนสภาที่ปรึกษา ของผูวาราชการจังหวัด สําหรับอํานาจหนาที่ของสภาจังหวัดพระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ.2481 มาตรา 25 ไดกําหนดใหสภาจังหวัดมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้


11

1. ตรวจและรายงานเรื่องงบประมาณที่ทางจังหวัดตั้งขึ้น และสอบสวนการคลังทางจังหวัดตาม ระเบียบ ซึ่งจะไดมีกฎกระทรวงกําหนดไว 2. แบงสรรเงินทุนอุดหนุนของรัฐบาลระหวางบรรดาเทศบาลในจังหวัด 3. เสนอขอแนะนําและใหคําปรึกษาตอคณะกรรมการจังหวัดในกิจการจังหวัด ดังตอไปนี้ ก. การรักษาความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ข. การประถมศึกษาและอาชีวศึกษา ค. การปองกันโรค การบําบัดโรค การจัดตั้งและบํารุงสถานพยาบาล ง. การจัดใหมีและบํารุงทางบก ทางน้ํา จ. การกสิกรรมและการขนสง ฉ. การเก็บภาษีอากรโดยตรง ซึ่งจะเปนรายไดสวนจังหวัด ช. การเปลี่ยนแปลงเขตหมูบาน ตําบล อําเภอ และเขตเทศบาล 4. ใหคําปรึกษาในกิจการคณะกรรมการจังหวัดรองขอในป (พ.ศ.2498 - 2540) การจัดตั้งและการบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัด ในปจจุบัน เปนไปตามพระราชบัญญัติระเบียบ ราชการสวนจังหวัด พ.ศ.2498 ซึ่งกําหนดใหองคการบริหารสวนจังหวัดมีฐานะเปนนิติบุคคลและประกาศของ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ไดกําหนดใหองคการบริหารสวนจังหวัดเปนหนวยการปกครองทองถิ่นรูปหนึ่ง ดังนั้น องคการบริหารสวนจังหวัด จึงเปนหนวยราชการบริหารสวนทองถิ่น ที่มีฐานะเปนนิติบุคคล และใน พระราชบัญญัติฯ ดังกลาว ไดกําหนดอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดไว เชน การรักษาความสงบ เรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน การศึกษา การทํานุบํารุงศาสนา และการสงเสริมวัฒนธรรม การ สาธารณูปการ การปองกันโรค การบําบัดโรค และการจัดตั้งและบํารุงสถานพยาบาล ฯลฯ เปนตน นอกจากนี้ องคการบริหารสวนจังหวัดยังอาจทํากิจการซึ่งอยูนอกเขต เมื่อกิจการนั้น จําเปนตองทําและเปน การเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมที่ดําเนินตามอํานาจหนาที่ อยูภายในเขตของตน โดยไดรับความยินยอมจากสภา เทศบาล คณะกรรมการสุขาภิบาล สภาจังหวัดหรือสภาตําบลที่เกี่ยวของนั้น และไดรับอนุมัติจาก รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยแลวดวย ป (พ.ศ.2540 - ปจจุบัน) พระราชบัญญัติองคการบริหารสวน จังหวัด พ.ศ.2540 ไดผานการพิจารณาของรัฐสภาและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 114 ตอนที่ 62 ก ลง วันที่ 31 ตุลาคม 2540 โดยใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2540 เปนตนมา พระราชบัญญัติดังกลาว เปน กฎหมายที่กลาวถึงระเบียบวิธีการบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัด ซึ่งเปนหนวยการบริหารราชการ สวนทองถิ่นแทนที่องคการบริหารสวนบริหารสวนจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวน จังหวัด พ.ศ.2498 สําหรับเหตุผลของการ ใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ อาจพิจารณาไดจากบทบัญญัติของ พระราชบัญญัติซึ่งระบุวา "โดยที่องคการบริหารสวนจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร


12

ราชการสวนจังหวัด พ.ศ.2498 เปนองคกรปกครองทองถิ่นที่รับผิดชอบในพื้นที่ทั้งจังหวัดที่อยูนอกเขต สุขาภิบาล และเทศบาล เมื่อไดมีพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล ในการนี้สมควร ปรับปรุงบทบาทและอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดใหสอดคลองกัน และปรับปรุงโครงสรางของ องคการบริหารสวนจังหวัดใหเหมาะสมยิ่งขึ้น"นอกจากจะพิจารณาในเหตุผลของพระราชบัญญัติแลว จาก บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ สภาผูแทนราษฎร ซึ่งพิจารณารางพระราชบัญญัติองคการบริหาร สวนจังหวัด พ.ศ. ....... ครั้งที่ 2 วันที่ 13 มีนาคม 2540 ที่ประชุมไดอภิปรายประเด็นวัตถุประสงคของการออก กฎหมายสรุปวา 1. เพื่อจัดระบบบริหารใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งปจจุบันมีปญหาดานการบริหารการจัดการดานพื้นที่ และ รายไดช้ําซอน 2. เพื่อเปนการปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของการเมืองการปกครองทองถิ่นที่มีการเปลี่ยนแปลง ทางดานการขยายความเจริญเติบโตของแตละทองถิ่น 3. เพื่อเปนการถายโอนอํานาจการปกครองสวนภูมิภาคมาสูทองถิ่น โดยใหองคการบริหารสวนจังหวัด ทําหนาที่ในการประสานกับองคกรปกครองทองถิ่น การประสานกับรัฐบาลและตัวแทนหนวยงานของรัฐ การ ถายโอนภารกิจและงบประมาณ ที่เคยอยูในภูมิภาคไปอยูในองคการบริหารสวนจังหวัด 4. เพื่อเปนการกระจายอํานาจสูทองถิ่นใหมากยิ่งขึ้น โดยจะเพิ่มอิสระใหกับองคการบริหารสวนจังหวัด มากขึ้นดวย โดยการลดการกํากับดูแลจากสวนกลางลง ซึ่งพระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2546) มีการกําหนดภารกิจ อํานาจและหนาที่ขององคการบริหาร สวนจังหวัดไมใหซ้ําซอนกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น นอกจากนั้นยังปรับปรุงโครงสรางใหเหมาะสม เพื่อใหการบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัดเปนไปดวย ความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งใหการไดมาซึ่งนายกองคการบริหารสวนจังหวัดและสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดมาจากการ เลือกตั้งโดยตรงของประชาชนซึ่งจะสอดคลองกับกฎหมายการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น องคการบริหารสวนจังหวัดนอกจากจะมีอํานาจและหนาที่ตามพระราชบัญญัติ องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และฉบับแกไขเพิ่มเติมแลว ยังมีอํานาจและหนาที่ ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของ ประชาชนในทองถิ่นของตนเองตามมาตรา 12 (15) 17 และมาตรา 20 แหงพระราชบัญญัติกําหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 การจัดตั้งและฐานะ พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 กําหนดใหมีหนวยการบริหารราชการ สวนทองถิ่น รูปแบบหนึ่งเรียกวา องคการบริหารสวนจังหวัด โดยมีอยูใน ทุกจังหวัด ๆ ละ 1 แหง รวม 76 แหง มีฐานะ


13

เปนนิติบุคคลและมีพื้นที่รับผิดชอบทั่วทั้ง จัง หวัด โดยทับซอนกับพื้นที่ของหนวยการบริหารราชการ สวน ทองถิ่น อื่น คือ เทศบาล สุขาภิบาล และองคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดนั้น ง. อัตลักษณองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ไดมีประกาศลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ เรื่อง กําหนดตรา เครื่องหมายเปนรูปหนาจั่ว กลองทัด ปลาทูถือไมตีกลอง เพื่อใชเปนตราสัญลักษณประจําหนวยงานตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๓๗ แลวนั้น องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ไดกําหนดตรา เครื่องหมายเปนรูปกงจักรมีชางศึกภายใน และไดรับอนุมัติจากผูวาราชการจังหวัดสมุทรสงคราม ในการใชแทน ตราเดิมดังกลาว โดยความหมายของตราเครื่องหมายองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงครามดังนี้

ภาพที่ 2.3 ภาพตราสัญลักษณองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม • รูปกงจักรมีชางอยูภายใน สื่อถึงธงชาติสมัยรัชกาลที่ ๒ ซึ่งพระองคทรงประสูติที่อําเภออัมพวา ลักษณะใบจักรมี ๙ ใบ แสดงวาตรานี้ทําขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รัชกาลที่ ๙ • ภาษาบาลี อหังนาโค วสังคาเม"” มีคําแปลวา เราจะอดทนตอคําเสียดสีของคนอื่น เหมือนพญาคช" สารในสนามรบ” สื่อความหมายถึงขาราชการ ลูกจางประจํา พนักงานองคการบริหารสวนจังหวัด สมุทรสงคราม ซึ่งเปนขาพระบาทฯ ทํางานตางพระเนตร พระกรรณ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยา


14

หัวฯ ตองอดทนตออุปสรรคตางๆ ไมยอทอในการที่จะแกไขปญหาความเดือดรอนใหกับประชาชน ตอเนื่องไปถึงรูปชางภายในกงจักร ก็คือ ขาราชการ ลูกจาง และพนักงานขององคการบริหารสวน) (จังหวัดสมุทรสงครามนั่นเอง ความหมายของสี • • • •

ขอบวงกลมสีน้ําเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย วงกลมสีแดง หมายถึง ชาติ วงกลมสีขาว หมายถึง ศาสนา จักรสีทอง หมายถึง ความมั่งคั่งของจังหวัดสมุทรสงคราม

จ. ลักษณะของหนวยงานองคการบริหารสวนจังหวั ดสมุทรสงคราม นโยบายของนายกองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ไดกําหนดนโยบายบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับ แผนพัฒนาจังหวัด/ กลุมจังหวัด/ แผนการบริหารราชการแผนดิน/ นโยบายของรัฐบาล ซึ่งจะเปนการประสาน รวมมือกันในการขับเคลื่อนการพัฒนาองคกรปกครองทองถิ่น อันจะกอใหเกิดการบูรณาการในการแกปญหาที่มี ผลกระทบตอประชาชนในจังหวัด และประสานกับองคกรสวนทองถิ่นอื่นในการแกปญหาทั้งดาน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้งประเภทโครงการที่ตองการรวมกันพัฒนาตามศักยภาพของทองถิ่น และ เสริมสรางบทบาทการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม สงเสริมกลไกลการ ตรวจสอบ การดําเนินงานของภาครัฐ เพื่อใหอยูในกรอบแนวทางของการบริหารองคกรตามหลักธรรมาภิบาล โดยยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวทางปฏิบัติควบคูกับการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนเมืองนาอยู เชื่อมโยงทุกมิติทั้งดานคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และการเมือง อยางมีเหตุผล ใชหลัก “ความ พอประมาณ” โดยมีระบบ “ภูมิคุมกัน” และนําทุนที่มีศักยภาพในทองถิ่นมาใชประโยชนอยางบูรณาการและ เกื้อกูลกัน มีเปาหมายที่จะพัฒนาจังหวัดสมุทรสงครามใหเปนจังหวัดที่มีการพัฒนาอยางยั่งยืน เปนเมืองนาอยู ชุมชนทองถิ่นมีความเขมแข็ง โดยมีงานหลักที่จะดําเนินการ ๔ ดาน ดังนี้


15

๑. ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต ๒. ดานการเพิ่มรายได ๓. ดานการพัฒนาชุมชน ๔. ดานการพัฒนาองคกร อํานาจหนาที่/บทบาทองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม อํานาจหนาที่ของนายกองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ร.บ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2552 มาตรา 35/5 นายกองคการบริหารสวนจังหวัดมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (1) กําหนดนโยบายโดยไมขัดตอกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการขององคการบริหารสวนจังหวัด ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ขอบัญญัติและนโยบาย (2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการขององคการบริหารสวนจังหวัด (3) แตงตั้งและถอดถอนรองนายกองคการบริหารสวนจังหวัด เลขานุการนายกองคการบริหารสวนจังหวัด และ ที่ปรึกษานายกองคการบริหารสวนจังหวัด (4) วางระเบียบเพื่อใหงานขององคการบริหารสวนจังหวัดเปนไปดวยความเรียบรอย (5) รักษาการใหเปนไปตามขอบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด (6) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด พ.ร.บ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ.2552


16

มาตรา 45 องคการบริหารสวนจังหวัดมีอํานาจหนาที่ดําเนินกิจการภายในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด ดังตอไปนี้ (1) ตราขอบัญญัติโดยไมขัดหรือแยงตอกฎหมาย (2) จัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวัด และประสานการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ตามระเบียบ คณะรัฐมนตรีกําหนด (3) สนับสนุนสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่นในการพัฒนาทองถิ่น (4) ประสานและใหความรวมมือในการปฏิบัติหนาที่ของสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่น (5) แบงสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะตองแบงใหแกสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่น (6) อํานาจหนาที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวนจังหวัด พ.ศ. 2498 เฉพาะภายใน เขตสภาตําบล (7) คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (7 ทวิ) บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น (8) จัดทํากิจการใดๆ อันเปนอํานาจหนาที่ของราชการสวนทองถิ่นอื่นที่อยูในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด และกิจการนั้นเปนการสมควรใหราชการสวนทองถิ่นอื่นรวมกันดําเนินการหรือใหองคการบริหารสวนจังหวัด จัดทํา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (9) จัดทํากิจการอื่นใดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น กําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของ องคการบริหารสวนจังหวัด ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา อบจ.สมุทรสงคราม 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน แหลงทองเที่ยว อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางการพัฒนา


17

• พัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การกอสราง ซอมแซม ปรับปรุง บํารุงรักษา โครงสราง พื้นฐานใหไดมาตรฐาน • พัฒนาระบบการคมนาคมทางบกและทางน้ํา • การจัดทําผังเมืองและผังเมืองรวม • อนุรักษ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ • บริหารจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ําเสีย • พัฒนาแหลงน้ําเพื่อการอุปโภค - บริโภค 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต สงเสริมเศรษฐกิจ สังคมเขมแข็ง แนวทางการพัฒนา • สงเสริม อนุรักษ ฟนฟู และเผยแพร ประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี คุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมทางศาสนา โบราณสถาน โบราณวัตถุ และภูมิปญญาทองถิ่น • สงเสริมสนับสนุน การมีสวนรวมทางการศึกษา การกีฬา นันทนาการ และชองทางการรับรูขอมูล ขาวสารใหกับเด็ก เยาวชน ประชาชน รวมถึงผูดอยโอกาส • สงเสริมสนับสนุนการสาธารณสุขมูลฐาน ยกระดับการบริการทางแพทย เสริมสรางสุขภาพอนามัย ปองกัน แกไข ควบคุม โรคติดตอ และโรคไมติดตอ • สงเสริมสนับสนุนการปองกัน แกไขปญหาสังคม การจัดสวัสดิการ ใหความชวยเหลือ เด็ก สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ ผูดอยโอกาส และผูติดเชื้อเอดส • พัฒนาสถาบันครอบครัว ชุมชน และสังคม ใหมีความเขมแข็ง ภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • บริหารจัดการปองกัน บรรเทาสาธารณภัย การรักษาความสงบเรียบรอย ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสินของประชาชน • สงเสริมสนับสนุนภาครัฐ เอกชน องคกรชุมชน/เครือขาย ในการพัฒนาอาชีพ การลงทุน พาณิชยกรรม การบริการ เพื่อสรางงาน สรางอาชีพ และสรางรายไดใหกับประชาชน • สงเสริมสนับสนุนการปองกัน แกไข ปญหายาเสพติด ตลอดจนการฟนฟูผูติดยาเสพติด • สงเสริมการมีสวนรวมของภาครัฐและเอกชน 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร การปกครอง และสงเสริมระบอบประชาธิปไตย


18

แนวทางการพัฒนา - พัฒนาความรูความเขาใจและการมีสวนรวมของประชาชนเกี่ยวกับการเมือง การปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย - พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงพัฒนาหนวยงานและบุคลากร ทุกรูปแบบ ฉ. ผังการบริหารงาน นายพิสิฐ เสือสมิง นายก อบจ.สมุทรสงคราม นางปริมพร อ่ําพันธุ ปลัด อบจ. นักบริหารงาน อบจ. 9 นางวรรณดี เล็กเซง รองปลัดอบจ. นักบริหารงาน

นางสาวนิรมล กลัดสมบูรณ หัวหนาฝายพัฒนา

นางวรรณา แตรสังข หัวหนาฝายนิติการ

และสงเสริมการทองเที่ยว นักบริหารงานทั่วไป

และการพาณิชย นักบริหารงานทั่วไป 7

นางสาวขวัญใจ หอสกุล หัวหนาฝายบริหารงาน ทั่วไป นักบริหารงานทั่วไป 7

นางสุทัสสี ทับทิมทอง หัวหนาฝายบริหารงาน บุคคล นักบริหารงานทั่วไป 7

ภาพที่ 2.4 ภาพผังการบริหารโดยสังเขป ที่มา : http://www.skmpao.go.th/index.php?option=com_content&view= article&id=36&Itemid=4


19

ช. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ชาญศิลป กิตติโชติพาณิชย. 2544 ไดศึกษา” การศึกษาความสําคัญของวิวัฒนาการการออกแบบสิ่งพิมพ โฆษณาไทย ที่มีตอการสอนสาขาออกแบบนิเทศศิลป ระดับปริญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัด ทบวงมหาวิทยาลัย”การวิจัยครั้งนี้แบงออกเปน 2 ตอน วัตถุประสงคการวิจัยตอนที่ 1 เพื่อศึกษาวิวัฒนาการ การออกแบบสิ่งพิมพโฆษณาไทย วัตถุประสงคการวิจัย ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาความสําคัญของวิวัฒนาการการ ออกแบบสิ่งพิมพโฆษณาไทยที่มีตอการสอนสาขาออกแบบนิเทศศิลป ระดับปริญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย สุรเชษฐ ระวัง. 2547 ไดศึกษา” การออกแบบคูมือพัฒนาทักษะทางนิเทศศิลปดวยตนเอง สําหรับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย” การตวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อการออกแบบคูมือพัฒนาทักษะทางนิเทศศิลป ดวยตนเองสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สําหรับเปนแนวทางในการเตรียมตัวสอบเขาศึกษาตอ ระดับมหาวิทยาลัย วิชาออกแบบนิเทศศิลป รหัสวิชา 33 วิธีการดําเนินการวิจัยคือรวบรวมขอมูลภาคเอกสาร ขอมูลทางภาคสนาม วิเคราะหขอมูล โดยการสัมภาษณนักเรียน ผูสอนติวศิลปะสําหรับสอบเขามหาวิทยาลัย หลังจากนั้นสรุปวิเคราะหและผลิตคูมือตัวอยาง ทําการทดสอบขอมูล เพื่อออกแบบคูมือพัฒนาทักษะทางนิเทศ ศิลปดวยตนเองสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยางสมบูรณ ชนัญญา สุวรรณวงศ. 2550 ไดศึกษา” การพัฒนาแบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียนศิลปกรรม โดยใช คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย ” การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค 1) เพื่อพัฒนา 2) เพื่อประเมินคุณภาพ 3) เพื่อหา ความสัมพันธของคะแนนสอบที่ไดจากแบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียนศิลปกรรมกับคะแนนวิชาความรู ทั่วไปทางศิลปะของผูทดสอบ 4) เพื่อหาความพึงพอใจของผูทดสอบที่มีตอแบบทดสอบวัดความถนัดทางการ เรียนดานศิลปดกรรมโดยใชคอมพิวเตอรมัลติมีเดียที่สรางขึ้น


20

บทที่ 3 การปฏิบัติงาน

การฝกประสบการณวิชาชีพนั้น นักศึกษาตองนําเอาความรูที่ไดรับจากการศึกษาทั้งนอกและใน สาขาวิชาศิลปกรรม มาประยุกตใชใหเขากับงานที่ไดรับมอบหมายใหไดผลงานที่สามารถนําไปใชไดจริง เพื่อ ประโยชนตอตัวนักศึกษาและหนวยงาน และงานที่ไดรับมอบหมายตองมีความถูกตอง เสร็จทันเวลาตามที่ หัวหนางานกําหนด จึงจะถือวางานชิ้นนั้นสําเร็จตามเปาหมายที่ไดกําหนด หลักการของการปฏิบัติงาน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สรางเสริมประสบการณ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเปนจริงในสถานประกอบการ 2. เพื่อจะไดทราบถึงปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานและสามารถใชสติปญญาแกปญหาไดอยางมีเหตุผล 3. เพื่อใหมีความรับผิดชอบตอหนาที่ มีระเบียบวินัย และทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเปนแนวทางในการประกอบอาชีพตอไป ภายหลังจากสําเร็จการศึกษา 5. เพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหนวยงานรัฐบาล ระเบียบวาดวย งานที่ไดรับมอบหมาย การวิเคราะห SWOT การฝกประสบการณวิชาชีพ จุดแข็งของเรา (Strengths : S) เปนจุดเดนของตัวเรา ซึ่งจะวิเคราะหจากการฝกประสบการณวิชาชีพภายใน จังหวัดสมุทรสงคราม

องคการบริหารสวน


21

โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.

เปนคนที่ตรงตอเวลาจึงทําใหมาทํางานไมสาย 2. เปนคนอัธยาศัยดี เขากับบุคคลอื่นไดงาย ทําใหการปฏิบัติงานไดอยางราบรื่น 3. เปนคนที่เรียนรูสิ่งตางๆไดอยางรวดเร็ว 4. ไมปฏิเสธงานที่ไดรับมอบหมาย

จุดออน (Weakness : W) เปนจุดออนของตัวเรา ซึ่งจะวิเคราะหจากการฝกประสบการณวิชาชีพภายใน องคการบริหารสวน จังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ไมชินกับระบบงานราชการ โอกาส (Opportunities : O) 1. ไดมีโอกาสรูจักกับผูบริหารระดับสูงของจังหวัด 2. ความรู และประสบการณที่ไดรับจากการฝกประสบการณวิชาชีพครั้งนี้ สามารถ นําไปใชกับงาน และชีวิตประจําวันได 3. ไดมีโอกาสออกแบบงานในรูปแบบใหมๆเสนอหนวยงาน อุปสรรค (Threat : T) 1. สถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพเปนหนวยงานของราชการจึงตองใชความละเอียด รอบคอบสูง หาก เกิดขอผิดพลาดจะเกิดความเสียหาย 2. เนื่องจากหนวยงานไมมีเครื่องมือที่ใชในงานกราฟกโดยตรงจึงทําใหงานลาชา


22

การปฏิบัติตัวระหวางการฝกงาน 1. ตรงตอเวลา 2. มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 3. แตงกายชุดนักศึกษา กรณีใสเสื้อช็อปตองผานความเห็นชอบจากบริษัทกอน 4. การลากิจ ลาปวย ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสถานที่ฝกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใชเครื่องมือสื่อสาร 6. ไมควรตอรองเรื่องระยะเวลาการฝกงานหรือ เรียกรองอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาคิด กลาแสดงออกและกลาตัดสินใจ 8. ใหถือเสมือนวา การฝกงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝกงานอยางเต็มกําลังความสามารถ 9. การไปฝกงานของนักศึกษา ถือวาไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ตองไม กระทําการ ใด ๆ ที่จะทําใหเสื่อมเสียตอสวนรวม 10. ในระหวางการฝกงาน หากมีปญหาเกี่ยวกับงานตองการคําปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดตอ กลับมายังอาจารยประจําภาควิชา แตถามีปญหาเกี่ยวกับการฝกงานติดตอเจาหนาที่หนวยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหวางการฝกงานใหติดตอคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ผลการฝกประสบการณวิชาชีพ การฝกประสบการณวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( Samut Songkram PAO.) นักศึกษาไดเขาฝกในฝาย พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป เปนฝายที่รับผิดชอบงานดาน การถายรูป-วีดิโอ การทําปายโฆษณา สื่อสิ่งพิมพ เชน วารสาร โบชัวร เปนตน นักศึกษาไดทําการฝก ประสบการณวิชาชีพ โดยมีรายระเอียดและขั้นตอนดังนี้


23

1. รับงานจากผูบริหาร 2. จัดทําเอกสารเพื่อยื่นเรื่องใหหัวหนางานดูความเหมาะสม 3. ออกแบบตามลักษณะงานที่ไดรับมอบหมาย 4. สงตนแบบใหหัวหนางานตรวจ 5. ปรับแกไขงานตามที่หัวหนางานตองการ 6. สงตัวอยางผลงานใหผูบริหารดู 7. สงโรงพิมพเพื่อผลิตผลงาน


24

งานที่ไดรับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ : ถายภาพ โครงการขยายเครือขายเศรษฐกิจพอเพียง สถานที่ : สํานักงาน คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง (กปร.) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.รับหัวขอในการถายภาพจากหัวหนางาน โดยหัวขอที่รับคือ การเขาประชุมของคณะผูที่มาประชุม กิจกรรมตางๆตลอดการประชุม 2. นําภาพที่ไดไปตกแตงในโปรแกรม Adobe Photoshop 3. ไรทภาพที่ไดลงแผนซีดีพรองสงใหหัวหนางาน

ภาพที่ 1.1 ภาพสํานักงาน (กปร.)


25

ภาพที่ 1.2 ภาพผูบรรยายการประชุม

ภาพที่ 1.3 ภาพผูเขารวมประชุม


26

ภาพที่ 1.4 ภาพอาหารมือกลางวัน

ภาพที่ 1.5 ภาพถายรูปหมูของคณะที่เขารวมประชุม


27

สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ 1. ไดรับรูถึงการทํางานนอกสถานที่เปนครั้งแรก 2. ไดรับรูถึงการทํางานเปนหมูคณะ 3. ไดรับรูมุมในการถายรูปการเขาประชุม ปญหาที่เกิดขึ้น 1. เนื่องจากเปนการทํางานครั้งแรก จึงทํางานไดไมคลองแคลวเทาที่ควร 2. มุมมองในการถายภาพยังไมสวย การแกไขปญหา 1. ศึกษาการทํางานของเพื่อนรวมงาน 2. ศึกษาการถายภาพจากชางกลองในพื้นที่ ประสบการณที่ไดรับ ไดรับความรูการหัวขอในการประชุม มุมมองการถายภาพการเขาประชุม และการทํางานในหนวยงาน ราชการ 2. เรื่อง/รายการ : ออกแบบปายโฆษณางาน วัดพระยาญาติ สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ การออกแบบปายงานปดทองวัดพระยาญาติ โดยมี ขอความมาใหและออกแบบตามความเขาใจของตนเอง


28

2. นําหัวขอที่ไดไปทําการสเก็ตแบบ 3. เมื่อไดแบบที่ตองการมาผลิตงานในโปรแกรม Adobe Photoshop

ภาพที่ 2.1 ภาพการผลิตงานในโปรแกรม Adobe Photoshop

ภาพที่ 2.2 ภาพปายโฆษณางาน วัดพระยาญาติ


29

สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดเรียนรูการทํางานตามหัวขอตามที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนางาน ปญหาที่เกิดขึ้น การออกแบบยังไมสามารถทําใหมีดีไซนที่แตกออกไปจากเดิมได ยังคงตองเปนแนวเดิมๆอยางที่เคย เปน การแกไขปญหา ออกแบบใหเปนในแนวทางเดิมมากที่สุด ประสบการณที่ไดรับ

3. เรื่อง/รายการ : Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ การผลิตโบวชัว ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) โดยหัวหนางานตองการความเรียบงาย สีสันไมเยอะเกินไป 2. นําเนื้อหาที่ไดไปทําการผลิตในโปรแกรม Adobe Illustrator 3. สงใหหัวหนาเลือกแบบและแกไขงาน 4. นํางานไปปริ้นเพื่อผลิตผลงานออกมาใชงานจริง


30

ภาพที่ 3.1 ภาพการผลิตผลงานในโปรแกรม Adobe Illustrator

ภาพที่ 3.2 ภาพผลงานในโปรแกรม Adobe Illustrator รอสงตรวจ


31


32

ภาพที่ 3.3 ภาพ Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดเรียนรูการใชฟอนตในงานราชการ ที่ควรจะใชฟอนต TH SarabunPSK ในการทํางาน ปญหาที่เกิดขึ้น การแกไขปญหา ประสบการณที่ไดรับ ไดเรียนรูการใชฟอนตในงานราชการ ที่ควรจะใชฟอนต TH SarabunPSK ในการทํางาน

4. เรื่อง/รายการ : ถายภาพโครงการ สถานที่ : จังหวัดเชียงใหม 1.รับหัวขอในการถายภาพจากหัวหนางาน โดยหัวขอที่รับคือ การถายรูปกิจกรรมตลอดโครงการ 2. นําภาพที่ไดไปตกแตงในโปรแกรม Adobe Photoshop 3. ไรทภาพที่ไดลงแผนซีดีพรองสงใหหัวหนางาน


33


34


35


36

สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดรูจักการทํางานกับหมูคณะใหญๆ การวางตัวในการทํางาน ปญหาที่เกิดขึ้น พื้นที่ในกลองถายรูปไมเพียงพอในการทํางาน การแกไขปญหา นํารูปลงเครื่องคอมพิวเตอรและฟอรแมชหนวยความจําในกลองทุกครั้งกอนทํางาน ประสบการณที่ไดรับ การทํางานลวนมีทั้งความสําเร็จและอุปสรรค


37

5. เรื่อง/รายการ : Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํา ยุทธศาสตร โดยมีภาพวาดของนายก อบจ. มาให 2. นําภาพที่ไดไปดราฟในโปรแกรม Adobe Illustrator 3. เตรียมภาพที่จะนําไปประกอบเปนงาน 4. นําภาพที่เตรียมไวไปประกอบและทําเอนิเมชั่นในโปรแกรม Adobe Flash

ภาพที่ 5.1 ภาพการดราฟในโปรแกรม Adobe Illustrator


38

ภาพที่ 5.2 ภาพการเตรียมภาพในโปรแกรม Adobe Illustator

ภาพที่ 5.3 ภาพการประกอบภาพโปรแกรม Adobe Flash


39

ภาพที่ 5.4 ภาพBanner Animation 2D


40

ภาพที่ 5.5 ภาพBanner Animation 2D ในการประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ไดรูการทํางานเปนอยางเปนระบบเปนขั้นเปนตอน ปญหาที่เกิดขึ้น ระยะเวลาการทํางานที่กระชันชิดเกินไป การแกไขปญหา ประสบการณที่ไดรับ ไดรูการทํางานแตละขั้นตอนตองผานการตรวจสอบของแตละฝายเพื่องานที่สมบูรณ 6. เรื่อง/รายการ : ถายภาพ รีทัชภาพ พิธีเปด โครงการสอนกีฬาภาคฤดูรอน (เด็กดี มีกีฬา) สถานที่ : หอประชุมองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6.1 ถายภาพ/เตรียมไฟล ที่ตองการนํามาทําเปนภาพพาโนรามา

ภาพที6่ .1 ภาพการเตรียมไฟลรูป


41

6.2 นําภาพที่ไดมารีทัชในโปรแกรม Adobo Photoshop

ภาพที่6.2 ภาพการรีทัชรูปในโปรแกรม Adobe Photoshop

ภาพที่6.2 ภาพพาโนรามาจากโปรแกรม Adobe Photoshop สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ ปญหาที่เกิดขึ้น การแกไขปญหา ประสบการณที่ไดรับ ไดรับทักษะการรีทัชภาพหลายๆใหเปนภาพพาโนรามา


42

7. เรื่อง/รายการ : ออกแบบ Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ ออกแบบ Brochure การทองเที่ยวจังหวัด สมุทรสงคราม โดยบอกสถานที่ทองเที่ยวของแตละอําเภอในจังหวัดสมุทรสงคราม 2. หาขอมูลและรูปสถานที่ทองเที่ยวในจังหวัดสมุทรสงคราม 3. นํารูปที่ไดไปตกแตง 4. นําขอมูลและรูปที่หาไดไปจัดเรียงในโปรแกรม Adobe Illustrator 5. นําไปปริ้นทเพื่อไปผลิตจริง

ภาพที่ 7.1 ภาพการเตรียมไฟลงาน


43

ภาพที่ 7.2 ภาพการทํางานในโปรแกรม Adobe Illustrator

ภาพที่ 7.3 ภาพ Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว


44

ภาพที่ 7.4 ภาพ Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ 1.ไดทราบถึงสถานที่ทองเที่ยงในจังหวัดสมุทรสงครามมากขึ้น 2. มีอิสระในการออกแบบในสไตลของตนเอง ปญหาที่เกิดขึ้น 1. ขอมูลที่หัวหนางานใหมามีมากเกินไป 2. รูปสถานที่ทองเที่ยวมีนอย การแกไขปญหา 1. ตัดเอาแตใจความสําคัญของเนื้อหา 2. นํารูปที่ตนมีมาใชในงาน ประสบการณที่ไดรับ ในการทํางานครั้งนี้ทําใหนักศึกษามีประสบการณในการจัดการสื่อสิ่งพิมพใหอยูในจุดที่สวยงาม ไม เยอะจนเกินไป มีองคประกอบที่สวยง


45

บทที่4 ผลที่ไดจากการฝกงาน

ประโยชนจากการฝกประสบการณวิชาชีพ ประโยชนที่นักศึกษาไดรับจากการฝกประสบการณืวิชาชีพ ณ องคการบริหารสวนจังหวัด สมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) ในครั้งนี้ นักศึกษาไดรับความรูและประสบการณในการฝกงาน ดังนี้ 1. การปรับตัว ในการฝกงานชวยทําใหเราไดรูจักผูอื่นมากขึ้น รูจักการวางตัวเมื่ออยูตอหนาผูใหญ สามารถทําใหเราปรับตัวเขากับสังคมการทํางานในฝายงานนั้นๆไดดี 2. การตรงตอเวลาในการมาทํางานและการทํางาน ในการฝกงาน ณ องคการบริหารสวนจังหวัด สมุทรสงคราม ซึ่งเปนหนวยงานราชการมีการตรวจเวลาเขาออกงาน การตรงตอเวลาจึงเปนสิ่งที่สําคัญในการ ทํางานราชการ 3. ความรับผิดชอบเปนสิ่งที่สําคัญในการทํางานราชการเพราะถามีฝายใดฝายหนึ่งลาชาไมรับผิดชอบ งานในสวนที่ตนเองทํา จะทําใหงานๆนั้นลาชาไมทันกําหนด 4. ความขยัน งานที่ไดรับมาในแตละครั้งจะมีกําหนดระยะเวลาที่แนนอน ทําใหนักศึกษามีความขยันที่ จะทํางานใหเสร็จตามเวลาที่กําหนด 5. ความละเอียดรอบคอบและความเอาใจใส งานทุกชิ้นตองมีคุณภาพ สวยงาม ถูกตองตามที่หัวหนา งานตองการ งานที่ผลิตออกมาสามารถนํามาใชงานไดจริง สามารถบงบอกความเอาใจใสทมุ เทในงานที่ รับผิดชอบได 6. ความอดทน การฝกงานจะชวยใหมีความอดทน เมื่อนักศึกษาไดทํางานจริงๆไมวาจะเปนความอด ทําในการปฏิบัติงานสวนที่ตนเองรับผิดชอบใหลุลวงเรื่องเวลาที่มีกําหนดระยะเวลาของงาน แรงกดดันจากหัว หนางาน และลูกคา


46

งานชิ้นที่ประสบความสําเร็จ เรื่อง/รายการ : Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels สถานที่ : ฝายพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับหัวขอในการออกแบบงาน หัวขอที่ไดรับคือ Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํา ยุทธศาสตร โดยมีภาพวาดของนายก อบจ. มาให 2. นําภาพที่ไดไปดราฟในโปรแกรม Adobe Illustrator 3. เตรียมภาพที่จะนําไปประกอบเปนงาน 4. นําภาพที่เตรียมไวไปประกอบและทําเอนิเมชั่นในโปรแกรม Adobe Flash

ภาพการดราฟรูปในโปรแกรม Adobe Illustrator


47

ภาพการเตรียมภาพในโปรแกรม Adobe Illustator

ภาพการประกอบภาพโปรแกรม Adobe Flash


48

ภาพBanner Animation 2D

ภาพBanner Animation 2D ในการประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร


49

บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน

ในการฝกประสบการณวิชาชีพมีขอดีหลายอยางที่สามารถทําใหเรามีความรูความสามารถกอนที่จะ ออกไปทํางานจริงกับองคกรหรือบริษัทฯอื่นๆ เปนการเตรียมความพรอมที่จะเริ่มการทํางานจริงหลังจากที่จบ การศึกษาปริญญาตรี แตในการฝกประสบการณวิชาชีพนั้นมีอุปสรรคตางๆ ซึ่งทําใหเราไดเรียนรูและคิดหา วิธีการแกปญหาตางๆและพรอมรับมือกับปญหาที่จะเกิดขึ้นอีก การฝกประสบการณทําใหเรารูวิธีการวาง แผนการทํางานอยางเปนระบบ และความสามัคคีของพนักงานใน แตละฝาย ที่รวมมือกันแกปญหาไดเปน อยางดี ไมมีการเกี่ยงกันวาฝายนี้ทําผิดตองเปนผูรับผิดชอบ แตทุกคนในหนวยงานไมวาจะเปน ฝายไหนก็ตาม ทุกคนจึงมีสวนรวมในการคิดและตัดสินใจที่จะแกปญหารวมกัน สิ่งที่เราไดเรียนรูจากหนวยงานนี้ เราสามารถ นํามาประยุกตใชในการทํางานในอนาคตได ไมวาเปนเปนการเรียนรูการทํางาน การแกปญหา การแสดง ความคิดเห็นรวมกับผูอื่น ความสามัคคี ความรับผิดชอบในหนาที่ของตนเอง ความตรงตอเวลา การวางตัว เมื่ออยูตอหนาผูใหญหรือเพื่อนรวมงาน เปนตน องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ( หนาที่พัฒนาจังหวัดในทุกๆดานของจังหวัด

Samut Songkram PAO.) เปนหนวยงานราชการ ที่มี ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณสุข การอาชีพ

สาธารณูปโภคตาง ๆ ซึ่งทําใหเราสามารถเรียนรูการทํางานในระบบราชการและเขาใจกับการทํางานของแตละ ฝายในหนวยงานมากขึ้น จึงเปนเรื่องที่ดีที่ทําใหเราไดเรียนรู และฝกประสบการณหลายอยางในหนวยงานเดียว สถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพ องคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม (Samut Songkram PAO.) อาคารสํานักงานตั้งอยูที่ ถนนเอกชัย ตําบลแมกลอง อําเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 โทรศัพท : 0-3471-5012 / โทรสาร : 0-3471-5012 / Website : www.skmpao.go.th


50

ระยะเวลาการฝก วันที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 จนถึง วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 รวมระยะเวลา 36 วัน เปนจํานวน 288 ชั่วโมง โดยฝกประสบการณวิชาชีพในวันจันทรถึงวันศุกร ตั้งแตเวลา 08.30 น. – 16.30 น. วันละ 8 ชั่วโมง เปนจํานวน 9 สัปดาห หนาที่ที่ไดรับมอบหมาย 1.ศึกษาระบบการทํางานของฝาย พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวนักบริหารงานทั่วไป 2. ภาพถายพิธีการ กิจกรรมตางๆ ขององคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม 3. Brochure ขอมูลขาวสารของราชการ ขนาด 8.27 x 11.69 นิ้ว (A4) 4. Banner Animation 2D การประชุมโครงการจัดทํายุทธศาสตร ขนาด 550 x 400 pixels 5. Brochure การทองเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม ขนาด 16.54 x 11.69 นิ้ว


51

บรรณานุกรม ขาวประชาสัมพันธแมกลอง, 2556, Online URL : http://pr.prd.go.th/samutsongkhram/ewt_news.php?nid=2273, เขาถึงเมื่อวันที่ 20/06.2556 เว็บไซตองคการบริหารสวนจังหวัดสมุทรสงคราม, 2556, Online URL : http://www.skmpao.go.th/index.php, เขาถึงเมื่อวันที่ 20/06.2556 หองสมุดงานวิจัย , 2556 Online URL : http://www.riclib.nrct.go.th/database/database.html#N1, เขาถึงเมื่อวันที่ 20/06.2556


52

ภาคผนวก หมวด ก. เอกสาร




ประวัติผศู ึกษา

ชื่อ-สกุล

นางสาวมนนิสา รุงปจฉิม Ms. MONNISA RUNGPATCHIM

รหัสประจําตัว

5221304792

สาขาวิชา ศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป

หมูเรียน ศศ.บ.522(4)/9 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม e-mail: monnisa522@gmail.com ………………………………… ( นางสาวมนนิสา รุ่งปั จฉิม) ผู้ศกึ ษา วันที่ ......./เดือน..../พ.ศ.........




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.