ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 1

~1~

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความสำาคัญของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

ธรรมชาติมนุษย์ตอ้ งอยูร่ วมกันเป็ นกลุ่ม มีการติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน ร่ วมกันทำางานสร้างสรรค์สงั คมเพื่อให้ ความเป็ นอยูโ่ ดยรวมดีข้ ึน จากการ ดำาเนินชีวิตร่ วมกันทั้งในด้านครอบครัว การทำางานตลอดจนสังคมและ การเมือง ทำาให้ตอ้ งมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มี ความจำาเป็ นที่จะติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน พัฒนาการ ทางด้านคอมพิวเตอร์ จึงต้องตอบสนองเพือ่ ให้ใช้งานได้ตามความต้องการ แรกเริ่ มมีการพัฒนา คอมพิวเตอร์แบบรวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรื อ เมนเฟรม โดยให้ผใู้ ช้ งานใช้พร้อมกันได้หลายคนแต่ละคนเปรี ยบเสมือน เป็ นสถานีปลายทาง ที่ เรี ยกใช้ทรัพยากร การคำานวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ตอบ สนองต่อการทำางานนั้น ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทาำ ให้ สะดวกต่อการใช้งานส่ วนบุคคล จนมีการเรี ยกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พีซี (Personal Competer:PC) การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่ หลายอย่างรวดเร็ว


~2~

เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อมีการใช้ งานกันมาก บริ ษทั ผูผ้ ลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุ ง และพัฒนา เทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทำางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มในรู ปแบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จึงเป็ นวิธีการหนึ่ง และกำาลังได้รับความนิยมสูงมาก เพราะทำาให้ตอบสนองตรงความต้องการที่จะติดต่อสื่ อสาร ข้อมูลระหว่างกัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาเรื่ อยมาจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มี ขนาดเล็กลงแต่มีประสิ ทธิภาพสูงขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์กไ็ ด้รับ การพัฒนาให้ มีขีดความสามารถและทำางานได้มากขึ้ น จนกระทัง่ คอมพิวเตอร์สามารถทำางาน ร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทาำ งานในรู ปแบบ เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ คือนำาเอาเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาเป็ นสถานี บริ การ หรื อที่เรี ยกว่า เครื่ องให้บริ การ (Server ) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็ นเครื่ องใช้บริ การ (Client) โดยมีเครื อข่าย(Network) เป็ นเส้น ทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ


~3~

ในที่สุดระบบเครื อข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่เป็ นแบบ รวมศูนย์ได้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสำาคัญและได้รับความนิยม มากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจ ขนาดเล็กที่ไม่มีกาำ ลังในการลงทุนซื้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น มินิ คอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่ องต่อเชื่อมโยงกันเป็ น เครื อข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่ง เป็ นสถานีบริ การที่ทาำ ให้ใช้ งานข้อมูลร่ วมกันได้ เมื่อกิจการเจริ ญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครื อข่ายการ ใช้ คอมพิวเตอร์โดยเพิม่ จำานวนเครื่ องหรื อขยายความจุขอ้ มูลให้พอเหมาะกับ องค์กร ในปัจจุบนั องค์การขนาดใหญ่กส็ ามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็ นเครื อ ข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ขอ้ มูลสามารถทำาได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ ต้องลงทุนจำานวนมาก เครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สาำ คัญต่อหน่วยงาน ต่างๆ ดังนี้ 1. ทำาให้เกิดการทำางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม และสามารถทำางานพร้อมกัน 2. ให้สามารถใช้ขอ้ มูลต่างๆ ร่ วมกัน ซึ่งทำาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3. ทำาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุม้ ค่า เช่น ใช้เครื่ องประมวลผลร่ วมกัน แบ่ง กันใช้แฟ้ มข้อมูล ใช้เครื่ องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่ วมกัน 4. ทำาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้


~4~

ชนิดของเครื อข่าย การแบ่งประเภทของเครื อข่ายสามารถแบ่งได้หลายแบบด้วยกัน ซึ่งส่ วนใหญ่ นิยมแบ่งตาม ขนาดของเครื อข่าย โดยสามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ LAN (Local Area Network), MAN (Metropolitan Area Network) และ WAN (Wide Area Network)


~5~

1. LAN (Local Area Network)

หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทอ้ งถิ่นเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ซ่ ึงเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยูใ่ นท้องที่ บริ เวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรื อภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก เครื อข่ายแลนจัด ได้วา่ เป็ นเครื อข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครื อข่ายแลนนี้ องค์การสามารถ ดำาเนินการทำาเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่ อสารภายในอาคารหรื อภายในพื้นที่ ของตนเอง เครื อข่ายแลน มีต้ งั แต่เครื อข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่สองเครื่ องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรื อ องค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย มีการวางเครื อข่ายที่เชื่อมโยงระหว่าง อาคารภายในมหาวิทยาลัย เครื อข่ายแลนจึงเป็ นเครื อข่ายที่รับผิดชอบโดย องค์การที่เป็ นเจ้าของ ลักษณะสำาคัญของเครื อข่ายแลน คืออุปกรณ์ที่ประกอบ ภายในเครื อข่ายสามารถรับส่ งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก โดยทัว่ ไปมี ความเร็วตั้งแต่ หลายสิ บล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อยล้านบิตต่อวินาที การ สื่ อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่ อสารสูง ทำาให้การรับส่ งข้อมูลมีความ ผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่ งข้อมูลจำานวนมากในเวลาจำากัดได้


~6~

เทคโนโลยีเครื อข่ายแลน การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็ นเครื อข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่ อง คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องสื่ อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ท้ งั หมดหากนำาเครื่ องคอมพิวเตอร์ สองเครื่ องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ท้ ังสอง นั้นส่ งข้อมูล ถึงกันได้ครั้นจะนำาเอาคอมพิวเตอร์เครื่ องที่สามต่อรวมด้วย เริ่ มจะมีขอ้ ยุง่ ยากเพิม่ ขึ้น และยิง่ ถ้ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์เป็ นจำานวนมาก ก็ยงิ่ มีขอ้ ยุง่ ยากที่จะทำาให้เครื่ อง คอมพิวเตอร์ท้ งั หมดสื่ อสารกันได้ ด้วยเหตุน้ ีผพู้ ฒั นาเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหา วิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครื อข่ายแบบต่างๆ เพื่อลดข้อยุง่ ยาก ในการเชื่อม โยงสายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนำาไปใช้งานได้ ทั้งนี้ เพราะข้อจำากัดของการใช้ สายสัญญาณเป็ นเรื่ องสำาคัญมาก บริ ษทั ผูพ้ ฒั นาระบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธี และใช้เทคโนโลยีในการรับส่ งข้อมูล ภายในเครื อข่ายแลน ออกมาหลายระบบ ระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้ง มาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผผู้ ลิตที่สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่เครื อข่าย เทคโนโลยีเครื อข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ ายแลนทีน่ ่ าสนใจ เช่ น อีเทอร์ เน็ต (Ethernet) โทเก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching)


~7~

1 อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่พฒั นามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อ แบบสายสัญญาณร่ วมที่เรี ยกว่า บัส (Bus)

โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่ วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็ นตัวเชื่อม สำาหรับระบบบัส เป็ นระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องเชื่อมโยงเข้ากับสาย สัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผตู้ อ้ งการส่ งข้อมูล ก็ส่งข้อมูลได้เลย แต่เนื่องจากไม่มี วิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรื อเปล่า จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรื อคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน จะทำาให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการ สูญหายของข้อมูล ผูส้ ่ งต้องส่ งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง ทำาให้เสี ยเวลามาก จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่ งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรี ยกว่า ฮับ (Hub) และเรี ยก ระบบใหม่น้ ีวา่ เทนเบสที (10 base t) โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูก ซึ่งเรี ยกว่า สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุม้ ฉนวน (Unshielded twisted pair : UTP) ทำาให้ การเชื่อมต่อนี้ มีลกั ษณะแบบดาว


~8~

วิธีการเชื่อมแบบนี้ จะมีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ฮบั ใช้สายสัญญาณไปยังอุปกรณ์หรื อ คอมพิวเตอร์อื่น ๆ จุดเด่นของดาวตัวนี้ จะอยูท่ ี่ เมื่อมีการส่ งข้อมูล จะมีการตรวจ สอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่ งข้อมูลมาบ้างและจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้ หรื อไม่ แต่เมื่อมีฮบั เป็ นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิดเป็ นอะไรขึ้น มา อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ หรื อคอมพิวเตอร์กไ็ ม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก ภายในฮับมีลกั ษณะเป็ นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮบั และ บัสจะมีระบบการส่ งข้อมูลแบบ เดียวกัน และมีการพัฒนาเป็ นมาตรฐาน กำาหนดชื่อ มาตรฐานนี้วา่ 802.3 ความเร็วในการส่ งกำาหนดไว้ที่ 10 ล้านบิตต่อ วินาที และกำาลังมี มาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่ งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที 2 โทเก็นริ ง โทเก็นริ ง เป็ นเครื อข่ายที่บริ ษทั ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น รู ปแบบการ เชื่อมโยงจะเป็ น วงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็ นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็ นตัวส่ ง สัญญาณ การเชื่อมต่อแบบนี้ ทาำ ให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องสามารถส่ งข้อมูลถึงกันได้ โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้ การติดต่อสื่ อสารแบบนี้ จะมีการจัดลำาดับให้ผลัดกันส่ ง เพื่อว่าจะได้ไม่สบั สน และมีรูปแบบ ที่ชดั เจน โทเก็นริ งที่ใช้กนั อยูใ่ นขณะนี้ มีความเร็ว ในการรับส่ งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที ข้อมูลแต่ละชุดจะมี การกำาหนด ตำาแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่ งไปที่สถานีใด


~9~

3 สวิตชิง สวิตชิง เป็ นเทคโนโลยีที่พฒั นามาเพื่อให้สามารถรับส่ งข้อมูลระหว่าง สถานีทาำ ได้เร็วยิง่ ขึ้น การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่ งต่อไปยังสถานี ปลายทาง จะกระทำาที่ชุมสายกลางที่เรี ยกว่า สวิตชิง รู ปแบบของเครื อข่าย แบบนี้จะมีลกั ษณะ เป็ นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้ จะเหมือนกันกับแบบอีเทอร์ เน็ตที่มีฮบั เป็ นศูนย์กลาง แต่แตกต่างกันที่ฮบั เป็ นจุดร่ วมของสาย สัญญาณที่จะ ต่อกระจายไปยังทุกสาย แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำาแหน่งที่ ต้องการเท่านั้น สวิตชิงจึงมีขอ้ ดี กว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความ เป็ นอิสระต่อกันมาก ทำาให้รับส่ งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่ องการชนกัน ของ ข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และ เอทีเอ็มสวิตซ์ เอทีเอ็มสวิตซ์เป็ นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่ งข้อมูลที่มี การรับส่ งกันเป็ นชุด ๆ ข้อมูลแต่ละชุดเรี ยกว่า เซล มีขนาดจำากัด การสวิตชิง แบบเอทีเอ็มทำาให้ขอ้ มูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดำาเนินไปอย่าง รวดเร็ว ซึ่งกำาลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยมมากขึ้ น


~ 10 ~

ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการความเร็วสูง โดย เฉพาะการสื่ อสารที่มีการผสมหลายสื่ อรวมทั้งข้อความ รู ปภาพ เสี ยงและวีดิโอ

2. MAN (Metropolitan Area Network)

ระบบเครื อข่ายเมือง เป็ นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่ อสารขององค์การ โทรศัพท์หรื อการสื่ อสารแห่งประเทศไทย เป็ นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่ องเวิร์กส เตชัน่ อยูท่ ี่สุขมุ วิท มีการติดต่อสื่ อสารกับเครื่ องเวิร์กสเตชัน่ ที่บางรัก

3. WAN (Wide Area Network)

เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล เช่น เชื่อมโยง ระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครื อข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริ การ ข่ายสายสาธารณะ เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรื อจากการ สื่ อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่ อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่ อสารเฉพาะกิจที่มีให้ บริ การแบบสาธารณะ เครื อข่ายแวนจึงเป็ นเครื อข่าย ที่ใช้กบั องค์การที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารมีสาขาทัว่ ประเทศ มีบริ การ รับ


~ 11 ~

ฝากเงินผ่านตูเ้ อทีเอ็ม เครื อข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็ วในการสื่ อสาร จึงไม่สูง เนื่องจาก มีสญ ั ญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจำาเป็ นต้องใช้ เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของ การรับส่ งข้อมูล เครื อข่ายแวน เป็ น เครื อข่ายที่ทาำ ให้เครื อข่ายแลนหลายๆ เครื อข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทาำ การสาขาทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครื อข่ายแลนเพื่อใช้ทาำ งานภายในสาขานั้นๆ และมีการเชื่อมโยง เครื อข่ายแลน ของทุกสาขาให้เป็ นระบบเดียวด้วยเครื อข่ายแวน ในอนาคตอันใกล้น้ ี บทบาทของเครื อข่ายแวนจะทำาให้ทุกบริ ษทั ทุกองค์การทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครื อข่ายกลาง เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน และ การทำางานร่ วมกัน ในระบบที่ตอ้ งติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีที่ใช้กบั เครื อ ข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนำาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้นา้ ำ เทคโนโลยีของการเชื่อมโยง ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยงั ไม่พอเพียงกับความต้องการที่ เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ ว


~ 12 ~

ตัวอย่ างเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครื อข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบน เครื อข่ายอย่างกว้างขวาง ทำาให้เครื อข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็ น เครื อข่ายเดียวกัน เรี ยกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็ มีการพัฒนาเครื อข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กบั งานเฉพาะในองค์กร เรี ยกว่า อินทราเน็ต ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของ การเชื่อมโยง ส่ วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็ นมาตรฐานเดียวกัน

1 อินเทอร์ เน็ต

อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศ สหรัฐอเมริ กาให้ทุนกับมหาวิทยาลัย ชั้นนำาในสหรัฐฯ เพื่อเชื่อมโยงเครื่ อง คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็ นเครื อข่าย และใช้ทรัพยากรเพื่อทำางานวิจยั เกี่ยว กับการเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปาเน็ต และ จึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็ น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนา ให้เป็ นมาตรฐาน โดยมาตรฐานการรับส่ งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ต่อมามี การเชื่อมเครื อข่ายออกสู่องค์กรเอกชน และแพร่ ขยายไปทัว่ โลก เครื อข่าย อินเทอร์เน็ต ถือเป็ นเครื อข่ายของเครื อข่าย หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครื อข่าย ภายในตนเองขึ้นมา และนำามาเชื่อมต่อสู่เครื อข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการ กำาหนดตำาแหน่งอุปกรณ์ดว้ ยรหัสหมายเลขที่เรี ยกว่า แอดเดรส ซึ่งอินเทอร์เน็ต ำ นเลย ไอ กำาหนดรหัสแอดเดรสเรี ยกว่า ไอพีแอดเดรส และถือเป็ นรหัสสากลที่ไม่ซ้ากั พีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็ นรหัสของเครื อข่ายและรหัสของ อุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครื อข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 ส่ วนรหัสของเครื่ องจะมีอีกสองพิกดั ตามมา เช่น 2.71 เมื่อเขียนรวมกันจะได้ 158.108.2.71 เพื่อให้จดจำาได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กบั หมายเลข เราเรี ยกชื่อนี้ วา่ โดเมน เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ ku.ac.th โดย th หมายถึง


~ 13 ~

ประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ ku หมายถึง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และถ้ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์อยูใ่ นเครื อข่ายหลายเครื่ อง ก็ให้มีการตั้ง ชื่อเครื่ องด้วย เช่น nontri เมื่อมีการเรี ยกรวมกันก็ จะเป็ น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ ทำาให้ใช้งานง่ายกว่าตัวเลข เมื่อเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทวั่ โลก ทำาให้ โลกไร้พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่ อถึงได้อย่าง รวดเร็ว ตัวอย่างการใช้ งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็ นเพียงตัวอย่างที่แพร่ หลายและใช้กนั มาก เท่านั้น แต่ยงั มีการใช้งานอื่น ๆ อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา 1. การรับส่ งไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เป็ นระบบการสื่ อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่ งข้อความถึง ใครก็สามารถเขียนเป็ นเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยูข่ องผูร้ ับที่เรี ยกว่า แอดเดรส ระบบจะนำาส่ งให้ทนั ทีอย่างรวดเร็ว ลักษณะของแอดเดรสจะเป็ นชื่อรหัสผูใ้ ช้ และชื่อ เครื่ องประกอบกัน เช่น sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ จะ หาตำาแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนำาส่ งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่ ง ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (email) กำาลังเป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย 2. การโอนย้ายแฟ้ มข้อมูลระหว่างกัน เป็ นระบบที่ทาำ ให้ผใู้ ช้สามารถรับส่ งแฟ้ มข้อมูลระหว่างกันหรื อมีสถานีให้บริ การ เก็บแฟ้ มข้อมูลที่อยูใ่ นที่ต่าง ๆ และให้บริ การ ผูใ้ ช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนำาแฟ้ ม ข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ 3. การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครื อข่าย ทำาให้เราสามารถ เรี ยกหาเครื่ อง คอมพิวเตอร์ที่เป็ นสถานีบริ การใน ที่ห่างไกลได้ ผูใ้ ช้สามารถนำาข้อมูลไปประมวล ผลยังเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่อยูใ่ นเครื อข่าย โดยไม่ตอ้ งเดินทางไปเอง 4. การเรี ยกค้นข้อมูลข่าวสาร ปัจจุบนั มีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลใน รู ปสิ่ งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผใู้ ช้สามารถ เรี ยกอ่าน หรื อนำามาพิมพ์ ลักษณะการเรี ยกค้น


~ 14 ~

นี้จึงมีลกั ษณะเหมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่อยูภ่ ายในเครื อข่าย ที่สามารถค้นหา ข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรี ยกว่า เครื อข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทัว่ โลก (World Wide Web: WWW) เป็ นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทัว่ โลก 5. การอ่านจากกลุ่มข่าว ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็ นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผใู้ ช้อินเทอร์เน็ตส่ งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผตู้ อ้ งการเขียนโต้ตอบก็ สามารถเขียนตอบได้ กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่ หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว 6. การสนทนาบนเครื อข่าย เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเป็ นตัวกลาง ในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้ วิธีการสนทนาเป็ นตัวหนังสื อ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสี ยงได้ ปัจจุบนั ถ้าระบบสื่ อสารมี ความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันและกันบนจอภาพได้ 7. การบริ การสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครื อข่าย ปัจจุบนั มีผตู้ ้งั สถานีวิทยุบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผูใ้ ช้สามารถ เลือกสถานที่ตอ้ งการและได้ยนิ เสี ยงเหมือน การเปิ ดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่ ง กระจายภาพวีดิโอบนเครื อข่ายด้วย

2 อินทราเน็ต เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็ นที่ยอมรับและแพร่ หลาย จึงมีผตู้ อ้ งการ สร้างเครื อข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร โดยนำาวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กบั เครื อข่ายของตนเอง เครื อข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้ จึงเรี ยกว่า เครื อข่าย อินทราเน็ต การประยุกต์ใช้บนเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริ การ และสถานีผใู้ ช้บริ การ สถานีผใู้ ช้บริ การมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทาำ ให้ใช้งานระบบฐาน ข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทำาให้ผใู้ ช้ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาใน การเรี ยนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต


~ 15 ~

ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื อข่ายจะมีการทำางานรวมกันเป็ นกลุ่ม ที่เรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ นเครื อข่าย ขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครื อข่ายแวน ก็จะได้เครื อข่ายขนาด ใหญ่ข้ ึน การประยุกต์ใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เป็ นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้เกิดการเชื่อมโยง อุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่ อสารข้อมูลระหว่างกันได้ ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีดงั นี้ การใช้ อุปกรณ์ ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้ผใู้ ช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้อย่าง มีประสิ ทธิภาพ เช่นเครื่ องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็ นต้น ทำาให้ ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ตอ้ งซื้ออุปกรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมต่อพ่วงให้กบั คอมพิวเตอร์ทุก เครื่ อง การใช้ โปรแกรมและข้อมูลร่ วมกัน (Sharing of program and data) เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ทำาให้ผใู้ ช้สามารถใช้โปรแกรม และข้อมูลร่ วมกันได้ โดยจัดเก็บ โปรแกรมไว้แหล่งเก็บข้อมูล ที่เป็ นศูนย์กลาง เช่น ที่ฮาร์ดดิสก์ของเครื่ อง File Server ผูใ้ ช้สามารถใช้โปรแกรมร่ วมกัน ได้จากแหล่งเดียวกัน ไม่ตอ้ งเก็บโปรแกรมไว้ใน แต่ละเครื่ อง ให้ซาซ้ ้ ำ อนกัน นอกจากนั้นยังสามารถรวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ จัดเก็บเป็ น ฐานข้อมูล ผูใ้ ช้สามารถใช้สารสนเทศ จากฐานข้อมูลกลาง ผ่านระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย โดยไม่ตอ้ งเดินทางไปสำาเนาข้อมูลด้วย ตนเอง เพราะใช้การเรี ยกใช้ขอ้ มูล ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์นนั่ เอง เครื่ องลูก (Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล ร่ วมกันได้จากเครื่ องแม่ (Server) หรื อ ระหว่างเครื่ องลูกกับเครื่ องลูกก็ได้ เป็ นการประหยัดเนื้ อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่ จำาเป็ นว่าทุกเครื่ องต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ ในเครื่ องของตนเอง


~ 16 ~

สามารถติดต่ อสื่ อสารระยะไกลได้ (Telecommunication) การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื อข่าย ทั้งประเภทเครื อข่าย LAN, MAN และ WAN ทำาให้ คอมพิวเตอร์ สามารถสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล ระยะไกลได้โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทางด้านการติดต่อสื่ อสาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต มีการให้ บริ การต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้ายไฟล์ขอ้ มูล การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การสื บค้นข้อมูล (Search Engine) เป็ นต้น สามารถประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านธุรกิจได้ (ฺBusiness Applicability) องค์กรธุรกิจ มีการเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น เครื อข่ายของธุรกิจ ธนาคาร ธุรกิจการบิน ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจหลักทรัพย์ สามารถ ดำาเนินธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ว ตอบสนองความพึงพอใจ ให้แก่ลูกค้าในปัจจุบนั เริ่ มมี การใช้ประโยชน์จากเครื อข่าย Internet เพื่อทำาธุรกิจกันแล้ว เช่นการสัง่ ซื้ อสิ นค้า การ จ่ายเงินผ่านระบบธนาคาร เป็ นต้น ความประหยัด นับเป็ นการลงทุนที่คุม้ ค่า อย่างเช่นในสำานักงานหนึ่งมีเครื่ องอยู่ 30 เครื่ อง หรื อมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนำาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเห็นว่า ต้องใช้เครื่ องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่ อง มาใช้งาน แต่ถา้ มีระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรื อเครื่ องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่ อง ก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่ องสามารถเข้าใช้เครื่ องพิมพ์เครื่ องใดก็ได้ ผ่าน เครื่ องอื่น ๆ ที่ในระบบเครื อข่ายเดียวกัน


การแลกเปลีย่ นข้ อมูลทำาได้ ง่าย ~ อข่ายสามารถที่จะดึงข้อมูลจากส่ วน โดยผูใ้ ช้~ใ17นเครื กลาง หรื อข้อมูลจากผูใ้ ช้คนอื่นมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว และง่ายดาย เหมือนกับการดึงข้อมูลมาใช้จากเครื่ อง ของตนเอง และนอกจากดึงไฟล์ขอ้ มูลมาใช้แล้ว ยัง สามารถคัดลอกไฟล์ไปให้ผอู้ ื่นได้อีกด้วย

ใช้ ทรัพยากรร่ วมกันได้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ กับเครื อข่ายนั้น ถือว่าเป็ น ทรัพยากรส่ วนกลางที่ผใู้ ช้ใน เครื อข่ายทุกคน สามารถใช้ได้ โดยการสัง่ งานจากเครื่ อง คอมพิวเตอร์ของ ตัวเองผ่าน เครื อข่ายไปยังอุปกรณ์น้ นั เช่น มีเครื่ องพิมพ์ส่วนกลางในเครื อ ข่าย เป็ นต้น ซึ่งทำาให้ประหยัด ค่าใช้จ่ายได้ดว้ ย

ใช้ โปรแกรมร่ วมกัน ผูใ้ ช้ในเครื อข่ายสามารถที่จะรันโปรแกรมจาก เครื่ อง คอมพิวเตอร์ส่วนกลาง เช่น โปรแกรม Word, Excel, Power Point ได้ โดยไม่จาำ เป็ นจะต้องจัดซื้ อโปรแกรม สำาหรับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ อง เป็ นการประหยัดงบ ประมาณในการจัดซื้ อ และยังประหยัดเนื้ อที่ในหน่วย


~ 18 ~

ความเชื่อถือได้ ของระบบงาน นับเป็ นสิ่ งที่สาำ คัญสำาหรับการดำาเนินธุรกิจ ถ้า ทำางานได้เร็วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มีประสิ ทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนำา ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้งาน ทำาระบบงานมีประสิ ทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือ ของข้อมูล เพราะจะมีการทำาสำารองข้อมูลไว้ เมื่อเครื่ องที่ใช้งานเกิดมีปัญหา ก็สามารถ นำาข้อมูลที่มีการสำารองมาใช้ได้ อย่างทันที

บรรณานุกรม -http://www.rayongwit.ac.th/comcen09/network/lesson7.htm สื บค้นเมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2555 - http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html สื บค้นเมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2555 -http://srayaisom.dyndns.org/network/cybered/page13.htm สื บค้นเมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2555 -http://tc.mengrai.ac.th/paisan/e-learning/internet/page14.htm สื บค้นเมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2555 -http://blog.eduzones.com/banny/3478 สื บค้นเมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2555 -http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20net7.htm สื บค้นเมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม 2555


~ 19 ~

- http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/computer/network/net_network2.htm สื บค้น เมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม 2555


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.