ข้อมูลจังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2556

Page 1

บทที่ ๑ บทนา ๑. ข้อมูลพื้นฐานในจังหวัดร้อยเอ็ด ๑. ด้านกายภาพ : จังหวัดร้อยเอ็ดตั้งอยู่ตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ระหว่างเส้นรุ้งที่ ๑๕ องศา ๒๔ ลิปดา ถึง ๑๖ องศา ๑๙ ลิปดา และเส้นแวงที่ ๑๐๓ องศา ๑๗ ลิปดาถึง ๑๐๔ องศา ๒๒ ลิปดา ทิศเหนือติดจังหวัดกาฬสินธุ์และมุกดาหาร ทิศใต้ติดจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษ ทิศ ตะวันออก ติดจังหวัดยโสธร ทิศตะวันตกติดจังหวัดมหาสารคาม อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทาง ๕๑๒ กิโลเมตร มีพื้นที่ ๘,๒๙๙.๔๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๕,๑๘๗,๑๕๖ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๕.๑ ของภาค จัดเป็นลาดับที่ ๑๐ ของภาค และลาดับที่ ๒๓ ของประเทศ ๒. ลักษณะภูมิประเทศ : ภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง มีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง ๑๓๐ – ๑๖๐ เมตร ซึ่งสภาพพื้นที่และลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดร้อยเอ็ด สามารถแบ่งได้ ดังนี้ ๑. บริเวณภูเขาตอนเหนือของจังหวัด สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ปุาไม้และภูเขาเตี้ยๆ อยู่ใน พื้นที่อาเภอหนองพอก อาเภอโพธิ์ชัย อาเภอโพนทอง และอาเภอเมยวดี ๒. บริเวณที่ราบสูง สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอยตื้น อยู่บริเวณตอนกลางของ จังหวัดในเขตท้องที่อาเภอเสลภูมิ อาเภออาจสามารถ อาเภอเมืองสรวง อาเภอจตุรพักตรพิมาน อาเภอธวัชบุรี อาเภอเมืองร้อยเอ็ด อาเภอเชียงขวัญ และอาเภอทุ่งเขาหลวง ๓. บริเวณที่ราบลุ่มครอบคลุมพื้นที่ตอนล่างของจังหวัดในท้องที่ อาเภอปทุมรัตต์ อาเภอ เกษตรวิสัย อาเภอสุวรรณภูมิ อาเภอพนมไพร อาเภอโพนทราย และอาเภอหนองฮี ซึ่งเป็นที่ราบต่ารูปกระทะ ที่เรียกว่า“ทุ่งกุลาร้องไห” สภาพพื้นที่ลาดเทจากทางทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้เข้าหาแม่น้ามูล ทิศเหนือ มีลักษณะเป็นภูเขาเตี้ยๆ และพื้นที่ปุา ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มน้าของลาน้ายัง สภาพ พื้นที่ลาดเทจากทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเข้าหาลาน้ายัง ทิศใต้ มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบลุ่มแอ่งกระทะของทุ่งกุลาร้องไห้ สภาพพื้นที่ลาดเทจากทิศ ตะวันตกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้เข้าหาแม่น้ามูล ทิศตะวันออก มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบสูงลูกคลื่นลอนตื้น ระหว่างแม่น้าชีกับลาน้ายัง สภาพ พื้นที่ลาดเทเข้าหาแม่น้าชีและลาน้ายัง ทิศตะวันตก มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบสูงลูกคลื่นลอนตื้น ต้นน้าลาน้าสาขาของแม่น้าชี สภาพ พื้นที่ลาดเทจากทิศตะวันตกไปทางทิศเหนือและตะวันออก เข้าหาแม่น้าชี ๓. ด้านการปกครองและประชากร จังหวัดร้อยเอ็ด แบ่งการปกครองออกเป็น ๒๐ อาเภอ ๑๙๒ ตาบล ๒,๔๔๔ หมู่บ้าน/๒๐ ชุมชน ประกอบด้วย อาเภอเมืองร้อยเอ็ด อาเภอเกษตรวิสัย อาเภอปทุมรัตต์ อาเภอธวัชบุรี


อาเภอจตุรพักตรพิมาน อาเภอพนมไพร อาเภอโพนทอง อาเภอโพธิ์ชัย อาเภอหนองพอก อาเภอเสลภูมิ อาเภอสุวรรณภูมิ อาเภอเมืองสรวง อาเภอโพนทราย อาเภออาจสามารถ อาเภอเมยวดี อาเภอศรีสมเด็จ อาเภอจังหาร อาเภอเชียงขวัญ อาเภอหนองฮี และ อาเภอทุ่งเขาหลวง โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๓ รูปแบบ รวม ๒๐๔ แห่ง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง เทศบาลเมือง ๑ แห่ง เทศบาลตาบล ๖๔ แห่ง และองค์การบริหารส่วนตาบล ๑๓๘ แห่ง มีประชากรทั้งหมด จานวน ๑,๓๐๓,๐๙๓ คน ๔ . ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ๓.๑ การคมนาคม สามารถเดินทางได้ ๒ ทาง ได้แก่  ทางรถยนต์ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทางประมาณ ๕๑๒ กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางเพียง ๖ ชั่วโมง และสามารถเดินทางไปยังสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและ เวียดนาม โดยใช้เส้นทางผ่านไปจังหวัดมุกดาหารและอุบลราชธานี  ทางอากาศ มีท่าอากาศยาน ๑ แห่ง คือ ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด มีเที่ยวบิน ระหว่างกรุงเทพฯ ดอนเมือง – ร้อยเอ็ด โดยสายการบินของบริษัทนกแอร์ จากัด ซึ่งทาการบินทั้งขาขึ้นและ ขาล่อง วันละ ๒ เที่ยวบินทุกวัน ๔.๒ การสื่อสาร : มีที่ทาการไปรษณีย์โทรเลข ๑๖ แห่ง มีชุมสายโทรศัพท์ ๑๐๐ ชุมสาย มีจานวน ๓๒,๐๙๓ เลขหมาย และเลขหมายที่มีผู้เช่า ๒๔,๓๓๑ เลขหมาย ๔.๓ สถานีวิทยุ : มีสถานีวิทยุกระจายเสียง จานวน ๖ สถานี ได้แก่ ๑) สถานีวิทยุกระจายเสียง จส.๓ ๒) สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ ๒ ๓) สถานีวิทยุกระจายเสียงตารวจภูธร ภาค ๔ ๔) สถานีวิทยุกระจายเสียง อสมท. ๕) สถานีวิทยุกระจายเสียงกรมประมง ๖) สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสถานีวิทยุชุมชน ๙๙ แห่ง ๔.๔ ไฟฟ้า : มีสานักงานการไฟฟูา จานวน ๑๘ แห่ง ผู้ใช้ไฟฟูา ๓๑๖,๔๖๗ ราย และมี การใช้กระแสไฟฟูา ๕๓๙,๖๕๕,๕๗๓.๑๓ ยูนิต ๔.๕ ประปา : จังหวัดร้อยเอ็ดสามารถผลิตน้าได้ทั้งสิ้น ๘,๕๑๓,๗๕๙ ลบ.ม. และปริมาณน้า ที่จาหน่ายให้แก่ผู้ใช้ ๖,๐๑๘,๖๙๔ ลบ.ม. และมีจานวนผู้ใช้น้าประปา จานวน ๓๙,๓๘๙ ครัวเรือน ๔.๖ แหล่งน้า : จังหวัดร้อยเอ็ดมีพื้นที่อยู่ในเขตลุ่มน้าชีและมูล มีพื้นที่รับน้าฝนทั้งสิ้น


๘,๒๙๙.๔๖ ตร.กม. หรือประมาณ ๕,๑๘๗,๑๕๖ ไร่ มีแม่น้าที่สาคัญ ได้แก่ แม่น้าชี แม่น้ายัง แม่น้ามูล ลาน้า เสียว ลาน้าพลับพลา ลาน้าเตา มีแหล่งกักเก็บน้า จานวน ๑,๗๒๕ แห่ง ได้แก่  แหล่งน้าชลประทาน ๔๖๒ แห่ง (ฝายขนาดใหญ่ ๓ แห่ง/อ่างเก็บน้าขนาดกลาง ๑๓ แห่ง/อ่างเก็บน้าขนาดเล็กประเภทอ่างและฝาย ๓๐๘ แห่ง/โครงการพระราชดาริ ๘ แห่ง/สถานีสูบน้าด้วย ไฟฟูา ๑๓๐ แห่ง)  แหล่งน้าขนาดเล็ก ๑,๒๖๓ แห่ง (หนองน้าและคลองธรรมชาติขนาดเล็ก ๑,๐๔๖ แห่ง / แก้มลิงและ หนองน้าธรรมชาติขนาดใหญ่ ๑๑๐ แห่ง / ลาน้าสาขาต่างๆ ๑๐๕ แห่ง / โครงการปูองกัน อุทกภัย ๒ แห่ง) ๔.๗ ถนน : จานวน ๒,๓๕๘.๘๒๖ กิโลเมตร (ไม่รวมถนนในความรับผิดชอบของ อบต.) แยกเป็น  สานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด จานวน ๑,๑๘๙.๔๒๒ กิโลเมตร  สานักงานบารุงทางร้อยเอ็ด จานวน ๕๔๖.๙๔๙ กิโลเมตร  องค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๖๒๒.๔๕๕ กิโลเมตร ๔.๘ พืนที่ป่า : จังหวัดร้อยเอ็ดมีพื้นที่ที่มีสภาพเป็นปุา จานวน ๓๑๖,๔๘๖.๖๓ ไร่ คิดเป็น ร้อยละ ๖.๑๐ ของพื้นที่ทั้งหมด ๕,๑๘๗,๑๕๖ ไร่ ๕. ด้านเศรษฐกิจ จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นจังหวัดที่ทาการเกษตรโดยเฉพาะการทานา ที่มีทั้งนาปีและนาปรัง และ การปลูกพืชไร่ ได้แก่ มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน ถั่วลิสง ต้นกก งาดา ยาสูบพันธุ์เตอร์กิส แตงโมเนื้อ และ ข้าวโพด ซึ่งมีมูลค่าการเกษตร ปศุสัตว์ ปุาไม้ ๔,๕๙๑ ล้านบาท และมีมูลค่าการประมง ๖๑ ล้านบาท ๕ .๑ รายได้ของประชากร โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดร้อยเอ็ดขึ้นอยู่กับภาคการค้าส่งและการค้าปลีก ภาคการ เกษตรกรรม และภาคการศึกษาเป็นสาคัญตามลาดับ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ปี ๒๕๕๓ จานวน ๕๙,๗๗๕ ล้านบาท มีรายได้ประชากรตามผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ปี ๒๕๕๓ จานวน ๔๓,๙๒๐ บาท/คน ๕ .๒ ครัวเรือนที่มีรายได้ต่ากว่าเกณฑ์ จปฐ. (๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี) : จากการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๕๕ จังหวัดร้อยเอ็ดมีจานวนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ากว่าเกณฑ์ จปฐ. (๓๐,๐๐๐ บาทต่อคน ต่อปี) จานวน ๑,๘๒๙ ครัวเรือน และมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี จานวน ๕๕,๖๕๐ บาท/คน/ปี ๖. ผลิตผลทางการเกษตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดร้อยเอ็ดประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ การทานาข้าว โดยใน ปีการเพาะปลูก ๒๕๕๔/๒๕๕๕ มีพื้นที่ปลูกข้าวเหนียวและข้าวเจ้า รวม ๓,๕๖๗,๙๔๙ ไร่ โดยมีพื้นที่ปลูกข้าว เป็นอันดับหนึ่งของกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง แยกเป็น (ข้าวเจ้า ๒,๖๑๑,๙๐๕ ไร่ ข้าวเหนียว ๘๘๕,๐๘๑ ไร่) และมีพื้นที่ ปลูกข้าวหอมมะลิ (ข้าวหอมมะลิ ๑๐๕ และ กข ๑๕) ที่สาคัญของจังหวัดในเขต


พื้นที่อาเภอเกษตรวิสัย สุวรรณภูมิ โพนทรายและปทุมรัตต์ และมีพื้นที่ในการปลูกข้าวเหนียว (กข๖) ที่สาคัญ ของจังหวัดจะปลูกในพื้นที่อาเภอโพนทอง อาเภอโพธิ์ชัย อาเภอหนองพอก อาเภอเสลภูมิ และอาเภอจตุร พักตรพิมาน พืชเศรษฐกิจที่สาคัญ : นอกจากข้าวหอมมะลิซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญของจังหวัดแล้ว ยัง มีพืชเศรษฐกิจสาคัญอื่นๆ ที่เกษตรกรนิยมปลูกเพื่อเพิ่มรายได้ ได้แก่ อ้อย มันสาปะหลัง ยางพารา ข้าวโพด หวาน ข้าวโพดฝักสด ถั่วลิสง ยาสูบพันธุ์เตอร์กิส แตงโม ๗. การท่องเที่ยว จังหวัดร้อยเอ็ดมีแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ คือ พระมหาเจดีย์ชัยมงคล บึงพลาญชัย บึงเกลือ ศูนย์แสดงพันธุ์สัตว์น้า พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ร้อยเอ็ด วน อุทยานผาน้าย้อย สวนพฤษศาสตร์และวรรณคดี กู่กาสิงห์ บ่อพันขัน ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อ การศึกษาร้อยเอ็ด(หอดูดาว) เป็นต้น โดยในปี ๒๕๕๓ มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเที่ยวในจังหวัด จานวน ๖๘๘,๒๕๖ คน (นักท่องเที่ยวคนไทย ๖๘๑๘๕๐ คนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ๖,๔๐๖ คน) มีรายได้จากการ ท่องเที่ยว ๓๖๕,๒๙๔ ล้านบาท ๘. โรงงาน จานวนทั้งสิ้น ๔๓๗ โรง มีการจ้างงาน ๘,๓๖๕ คน จาแนกเป็น - ขนาดเล็ก (เงินทุนน้อยกว่า ๑๐ ล้านบาท) จานวน ๓๔๓ โรง - ขนาดกลาง (เงินทุนตั้งแต่ ๑๐ – ๑๐๐ ล้านบาท) จานวน ๗๗ โรง - ขนาดใหญ่ (เงินทุน ๑๐๐ ล้านบาทขึ้นไป) จานวน ๑๗ โรง ๙. โรงแรม จังหวัดร้อยเอ็ดมีโรงแรมที่ได้ขอขึ้นทะเบียนจากจังหวัด จานวน ๗๓ แห่ง โดยมีโรงแรมที่ สามารถให้บริการแบบครบวงจร จานวน ๕ แห่ง ได้แก่ โรงแรมร้อยเอ็ดซิตี้ โรงแรมเพชรรัชต์การ์เด้น โรงแรม ไหมไทย โรงแรมสาเกตุนคร และโรงแรมธนินทรกรีนปาร์ค ส่วนที่เหลือจะเป็นโรงแรมที่ให้บริการเฉพาะ ห้องพัก นอกจากนี้ ยังมีโรงแรมอีกจานวนหนึ่งที่สามารถให้บริการแบบครบวงจรที่อยู่ระหว่างการขอขึ้น ทะเบียนจากจังหวัด ๔.๘ ผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น (OTOP) จังหวัดร้อยเอ็ด มีผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการคัดสรร OTOP Product Champion ระดับ ๔ – ๕ ดาว ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จานวน ๕๘ ผลิตภัณฑ์ มียอดการ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๕ จานวน ๑,๔๓๘,๖๔๙,๐๒๔ บาท และ ผลิตภัณฑ์ที่ดีเด่นที่สุด คือ ผ้าไหม ข้าวหอมมะลิ ผ้าฝูายย้อมสีธรรมชาติ ผ้าขาวม้าลายขิต เครื่องจักสาน เช่น มวยนึ่งข้าว กระติบข้าว อาหาร เช่น มะม่วงปลอดสารพิษ ถั่วทอดเค็ม ๑๐. ด้านสังคม ๑๐.๑ การศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ดแบ่งเขตการศึกษาในพื้นที่ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษา แบ่งออกเป็น ๓ เขต(เขต๑/เขต๒/เขต๓) มีโรงเรียน จานวน ๘๗๘ แห่ง จานวนครู-อาจารย์ ๙,๐๘๒ คน จานวนนักเรียน ๑๑๔,๕๒๓ คน จานวนห้องเรียน ๗,๕๖๙ ห้อง - ระดับมัธยมศึกษา มีโรงเรียน จานวน (๖๐ แห่ง จานวนครู – อาจารย์ ๒,๕๒๕ คน จานวน นักเรียน ๕๗,๖๖๔ คน จานวนห้องเรียน ๑,๕๓๒ ห้อง


- ระดับอาชีวศึกษา มีโรงเรียน จานวน ๘ แห่ง จานวนครู – อาจารย์ ๕๓๑ คน จานวน นักเรียน ๑๓,๙๕๒ คน จานวนห้องเรียน ๕๕๖ ห้อง - ระดับอุดมศึกษา จานวน ๒ แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด และมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ๑๐.๒ การสาธารณสุข จังหวัดร้อยเอ็ดมีสถานพยาบาล จานวน ๔๖๔ แห่ง มีบุคลากรทางการแพทย์ จานวน ๑,๘๔๖ คน ๑๐.๓ แรงงาน จังหวัดร้อยเอ็ดมีประชากรที่เป็นกาลังแรงงานในปี พ.ศ.๒๕๕๔ จานวน ๗๓๘,๐๑๘ คน (มีงานทา ๗๑๕,๖๔๗ คน / ว่างงาน ๒,๐๕๙ คน / รอฤดูกาล ๒๐,๓๑๒ คน) ๑๑. ด้านศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ จังหวัดร้อยเอ็ดมีวัด/สานัก สงฆ์ ๑,๔๕๕ แห่ง และพระสงฆ์ ๗,๕๔๓ รูป นอกจากนั้นก็นับถือศาสนาอื่นๆ เช่น ศาสนาคริสต์ อิสลาม ซิกข์ ตามลาดับ จังหวัดร้อยเอ็ดมีพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ ๓ วัด คือ ๑. วัดกลางมิ่งเมือง ได้รับการยกฐานะจากวัดราษฎร์เป็นพระอารามหลวง วันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ๒. วัดบึงพระลานชัย ได้รับการยกฐานะจากวัดราษฎร์เป็นพระอารามหลวง พ.ศ. ๒๕๑๘ ๓. วัดบูรพาภิราม ได้รับยกฐานะจากวัดราษฎร์เป็นพระอารามหลวงวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๑ การปกครองคณะสงฆ์จังหวัดร้อยเอ็ด คณะสงฆ์จังหวัดร้อยเอ็ดมี ๒ นิกาย คือมหานิกาย และธรรมยุตอยู่ในเขตการปกครองภาค ๙ การปกครองคณะสงฆ์ทุกส่วนทุกชั้นให้มีเจ้าคณะมหานิกายและเจ้าคุณธรรมยุตปกครองบังคับบัญชา วัดและ พระภิกษุสามเณรในนิกายนั้น นอกจากพระพุทธศาสนาแล้วชาวร้อยเอ็ดยังนับถือและเลื่อมใสศาสนาและลัทธิ อื่น เช่น ศาสนาคริสต์ ประชาชนของจังหวัดร้อยเอ็ด นับถือศาสนาคริสต์แยกเป็น ๓ นิกาย ดังนี้ - นิกายโปรเตสแตนส์ (protstant) โบสถ์ตั้งอยู่ที่ ๙๘/๖ ถนนรณชัยชาญยุทธ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีสมาชิกประมาณ ๓๕๐ คน สุสานอยู่บ้านโคกงาม ตาบลหนองแสง อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร - นิกายคาทอลิค (Catoric) โบสถ์อยู่ที่เลขที่ ๗๑ หมู่ ๖ ตาบลรอบเมือง อาเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีสมาชิก ๑,๔๕๔ คน สุสานอยู่บ้านโนนมาลี อาเภอหนองพอก และบ้านมะหรี่ อาเภอเสลภูมิ


- นิกายมอร์มอน(Mormon) โบสถ์ตั้งอยู่เลขที่ ๕/๑๑ ถนนเพลินจิต ตาบลในเมือง อาเภอ เมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีสมาชิกประมาณ ๑๐๐ คน ศาสนาอิสลาม มีมัสยิด ๒ แห่ง ตั้งอยู่ที่ตาบลกลาง อาเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด มีสมาชิกประมาณ ๑๐๐ คน และมัสยิดปากิสตาน ตั้งอยู่ ถนนรณชัยชาญยุทธ ซอย ๑๐ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัด ร้อยเอ็ด ศาสนาซิกข์ ประชาชนชาวร้อยเอ็ดนับถือศาสนาซิกข์ประมาณ ๑๐ คน คือกันลิต้า อยู่บ้านเลขที่ ๓๗/๔ ถนนสันติสุข ตาบลในเมือง อาเภอเมือง ไปประกอบพิธีกรรมที่ศาสนสถานคุดวารา จังหวัดขอนแก่น ประชากรจาแนกตามกลุ่มชาติพันธุ์ จากการสารวจและศึกษาค้นคว้าปรากฏว่า ชาติพันธุ์ของประชากรในจังหวัดร้อยเอ็ด มีดังนี้ กลุ่มไทย - ลาว เป็นกลุ่มพื้นเมืองดั้งเดิม มีอยู่ทั่วไปในเขตพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มไทย - เขมร เป็นคนที่อยู่ในจังหวัดร้อยเอ็ด แต่มีบรรพบุรุษที่มีเชื้อสาย เป็นชาว เขมร อยู่ในพื้นที่อาเภอสุวรรณภูมิ เกษตรวิสัย กลุ่มไทย - ส่วย เป็นคนที่อยู่ในจังหวัดร้อยเอ็ด มีที่มีเชื้อสาย เป็นชาวส่วยหรือกูย อยู่ บริเวณอาเภอสุวรรณภูมิและอาเภอโพนทราย ติดต่อกับจังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มภูไทหรือผู้ไทย เป็นกลุ่มที่ตั้งถิ่นฐานในเขตอาเภอเมยวดี หนองพอก ซึ่งติดต่อกับ จังหวัดกาฬสินธุ์ ยโสธร และมุกดาหาร กลุ่มไทย้อ เป็นกลุ่มที่มีเชื้อสายจากแขวงคามวน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว อยู่ในเขตอาเภอโพธิ์ชัย นอกจากนี้ยังมีกลุ่มคนที่อพยพเข้ามาอาศัยในจังหวัดร้อยเอ็ดภายหลังที่สาคัญ ได้แก่ กลุ่มไทยจีน กลุ่มไทย-ญวน และกลุ่มไทย-แขก ๒. สถานการณ์ภาพรวมในจังหวัดร้อยเอ็ด ๒.๑

สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดร้อยเอ็ด ขึ้นอยู่กับ ภาคการค้าส่งและการค้าปลีก

ภาคการ

เกษตรกรรม และภาคการศึกษา เป็นสาคัญ โดยมีการผลิตทางเศรษฐกิจที่สาคัญ ปี ๒๕๕๕ จังหวัดร้อยเอ็ดมี จานวนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ากว่าเกณฑ์ จปฐ. (๓๐,๐๐๐ บาทต่อคนต่อปี) จานวน ๑,๘๒๙ ครัวเรือน และมี รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี จานวน ๕๕,๖๕๐ บาท/คน/ปีคือ ๒.๑

.๑ การเกษตร จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิดีที่สุด

โดยเฉพาะข้าวหอมมะลิจากทุ่งกุลาร้องไห้ซึ่งถือว่าพื้นที่ดังกล่าวเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิชั้นดีที่สุดและมี เอกลักษณ์ความหอมเฉพาะตัวเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ สามารถที่จะพัฒนาและส่งเสริม


ให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและจาหน่ายข้าวหอมมะลิสู่ตลาดโลกได้ ซึ่งมีพื้นที่รวมทั้งสิ้น ๒,๑๐๗,๖๙๐ ไร่ ครอบคลุม ๕ จังหวัด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด สุรินทร์ ศรีสะเกษ มหาสารคาม และยโสธร และจังหวัดร้อยเอ็ดเป็น จังหวัดที่มีพื้นที่ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้มากที่สุดถึง ๙๘๖,๘๐๗ ไร่ และการผลิตข้าวหอมมะลิของจังหวัดที่ผ่านมา พบว่า มีข้อจากัดในเรื่องการขยายพื้นที่เพาะปลูก เนื่องจากได้ใช้พื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกข้าวเต็มศักยภาพ แล้ว จังหวัดจึงกาหนดแนวทางการพัฒนาในด้านการยกระดับคุณภาพข้าวให้เป็นข้าวหอมมะลิคุณภาพปลอด สารโดยการผลิตด้วยกระบวนการเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP : Good Agricultural Practice) และมุ่งสู่เกษตร อินทรีย์ในขั้นต่อไป ทั้งนี้ ปัจจัยสาคัญในการพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิให้มีคุณภาพที่ต้องการ คือ น้าเพื่อ การเกษตร ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ชลประทานเพียง ๑๔๒,๕๐๐ ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ ๔.๔ ของพื้นที่ทานาทั้งหมด ปัญหาการขาดแคลนน้าจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องพัฒนาเป็นอันดับแรก โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการกระจาย น้าจากแหล่งน้าต้นทุนเดิมที่มีอยู่แล้วเข้าสู่พื้นที่การปลูกข้าวหอมมะลิ จะทาให้ลดความเสี่ยงจากความเสียหาย ที่มีสาเหตุมาจากฝนแล้ง ซึ่งที่ผ่านมาเกิดความเสียหายเป็นจานวนมาก ที่ทาให้สูญเสียทางเศรษฐกิจและความ มั่นคงในอาชีพของเกษตรกร นอกจากข้าวหอมมะลิซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนใน จังหวัดแล้ว ยังมีพืชเศรษฐกิจที่สาคัญอื่นๆ ที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน เช่น อ้อย มีพื้นที่ปลูก จานวน ๖๓,๒๐๘ ไร่ ผลผลิต ๖๒๕,๔๔๙ ตัน มันสาปะหลัง มีพื้นที่ปลูก จานวน ๕๑,๖๗๒ ไร่ ผลผลิต ๑๘๙,๖๘๗ ตัน และยางพารา มีพื้นที่ปลูก จานวน ๓๕,๑๕๔ ไร่ ผลผลิต ๑,๒๐๙ ตัน ๒.๑.๒ อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องจากการเกษตร คือ โรงสีที่ทาการ แปรรูปข้าวหอมมะลิ ทั้งของภาคเอกชนและองค์กรเกษตรกร จังหวัดจึงกาหนดแนวทางที่ต้องส่งเสริมให้มีการ พัฒนาเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าวสารหอมมะลิ และส่งเสริมผู้ประกอบการให้ มีความรู้ในการพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปข้าวสารให้มีประสิทธิภาพสูงตามแนวทาง GMP และรวมถึงการ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่มีคุณภาพและดึงดูดผู้ซื้อ นอกจากนี้ มีโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิคส์ ผลิต แหอวน และผลิตเสื้อผ้าอีกจานวนหนึ่ง ซึ่งมีปัญหาการขาดแคลนแรงงานที่มีฝีมือเฉพาะด้านที่จังหวัดกาหนด แนวทางการยกระดับฝีมือแรงงานที่อยู่ในระบบและกาลังเข้าสู่ระบบให้รองรับอุตสาหกรรมในพื้นที่ ๒.๑

.๓ การท่องเที่ยว นโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวถือเป็นวาระแห่งชาติที่สามารถสร้าง

รายได้เข้าสู่ประเทศเป็นจานวนมากและจัดได้ว่าเป็นรายได้ที่กระจายลงสู่กลุ่มเปูาหมายต่าง ๆ ได้อย่าง หลากหลายและทั่วถึง จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นจังหวัดหนึ่งที่ได้เล็งเห็นลู่ทางในการสร้างรายได้จากภาคการ ท่องเที่ยวและบริการ โดยมีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลายทั้งในเชิงประวัติศาสตร์โบราณสถาน/โบราณวัตถุ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา ซึ่งจังหวัดจะมุ่งเน้น


ส่งเสริมการท่องเที่ยวในเชิงวิถีพุทธ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา ซึ่งปัจจุบันกาลังได้รับความสนใจจาก นักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก เช่น พระมหาเจดีย์ชัยมงคล พระพุทธรัตนมงคลมหามุนี วัดบูรพาภิราม พระสังกระจาย วัดสระทอง งานบุญผะเหวด งานแห่เทียนเข้าพรรษา งานสมมาน้าคืนเพ็งเส็งประทีป งานเข้า ปริวาสกรรม วัดผาน้าย้อย และงานประเพณีฮีตสิบสองครองสิบสี่ ในอาเภอต่างๆ ซึ่งจะช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยว ให้เดินทางมาท่องเที่ยวมากขึ้น ๒.๑.๔ แรงงาน จังหวัดร้อยเอ็ดมีประชากรที่เป็นกาลังแรงงาน จานวนประมาณ ๗๓๘,๐๑๘ คน (มีงานทา ๗๑๕,๖๔๗ คน / ว่างงาน ๒,๐๕๙ คน / รอฤดูกาล ๒๐,๓๑๒ คน) ซึ่งจัดได้ว่าเป็นทรัพยากรที่มี ค่าของจังหวัดร้อยเอ็ด และสามารถทารายได้ให้กับจังหวัดเป็นจานวนมาก ถึงแม้ว่าคุณภาพฝีมือแรงงานยัง ไม่ได้รับการพัฒนา หรือที่เรียกว่าเป็นแรงงานไร้ฝีมือ หากว่าได้รับการพัฒนาและยกระดับฝีมือแรงงานให้เป็น ประเภทมีฝีมือและกึ่งฝีมือก็จะสามารถสร้างรายได้ให้กับจังหวัดร้อยเอ็ดได้อีกเป็นจานวนมาก นอกจากนี้ การ นาผู้ว่างงานมาพัฒนาศักยภาพและหางานที่เหมาะสมให้ทาก็จะทาให้มูลค่าของรายได้เพิ่มขึ้นอีกด้วย และ แรงงานที่อยู่ในระบบจะต้องพัฒนายกระดับฝีมือให้เป็นแรงงานมีฝีมือที่จะทาให้เกิดความมั่นคงในอาชีพต่อไป ๒.๒ . สถานการณ์ด้านสังคม และคุณภาพชีวิต ๒.๒.๑ การศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ดมีสถานศึกษาระดับต่างๆ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษา แบ่งออกเป็น ๓ เขต(เขต๑/เขต๒/เขต๓) มีโรงเรียน จานวน ๘๗๘ แห่ง จานวนครู-อาจารย์ ๙,๐๘๒ คน จานวนนักเรียน ๑๑๔,๕๒๓ คน จานวนห้องเรียน ๗,๕๖๙ ห้อง - ระดับมัธยมศึกษา มีโรงเรียน จานวน (๖๐ แห่ง จานวนครู – อาจารย์ ๒,๕๒๕ คน จานวน นักเรียน ๕๗,๖๖๔ คน จานวนห้องเรียน ๑,๕๓๒ ห้อง - ระดับอาชีวศึกษา มีโรงเรียน จานวน ๘ แห่ง จานวนครู – อาจารย์ ๕๓๑ คน จานวน นักเรียน ๑๓,๙๕๒ คน จานวนห้องเรียน ๕๕๖ ห้อง - ระดับอุดมศึกษา จานวน ๒ แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด และมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ๒.๒.๒ การสาธารณสุข จังหวัดร้อยเอ็ดมีสถานพยาบาล จานวน ๔๖๔ แห่ง มีบุคลากรทาง การแพทย์ จานวน ๑,๘๔๖ คน ๒.๒.๓ ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดนับถือศาสนาพุทธ มีวัดเป็นสถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนา ในเกือบทุกชุมชน วัดบึงพระลานชัยเป็นพระอารามหลวงตั้งอยู่ในตัวเมืองจังหวัดร้อยเอ็ด ในชุมชนจะมี ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมถือปฏิบัติอย่างจริงจัง มีประเพณีต่างๆตลอดปีที่ในภาคอิสานเรียกว่า “ ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่” ที่สาคัญ คือ ประเพณีงานบุญผะเหวด งานประเพณีบุญข้าวจี่ งานประเพณีบุญคูณลาน งาน ประเพณีบุญบั้งไฟ งานประเพณีกวนข้าวทิพย์ งานประเพณีสมมาน้าคืนเพ็ง เส็งประทีป งานประเพณีทอดกฐิน ๑๐๑ วัด เป็นต้น


๒.๒.๔ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน โดยภาพรวมของจังหวัดมีความสงบเรียบร้อยดี ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินแต่ในบางครั้งอาจจะมีปัญหาเด็กและเยาวชนก่อกวนสังคมบ้างเล็กน้อย รวมทั้งไม่มีปัญหาด้าน อาชญากรรมที่รุนแรง ซึ่งเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคงสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ แต่เนื่องจากกระแสความ เจริญทางวัตถุและเทคโนโลยีจากตะวันตกเข้ามาอย่างรวดเร็ว ทาให้ต้องมีการสร้างภูมิคุ้มกันสังคม โดยการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และความเอื้ออาทรในสังคม ตลอดจนการปรับปรุงระบบราชการให้ตอบสนอง การบริการแก่ประชาชนให้เกิดความพึงพอใจและสร้างความสุขให้กับประชาชนได้ ๒.๒.๕ ยาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด

ไม่มีแหล่งผลิตยาเสพติด เป็นเพียงเส้นทางลาเลียงของยาเสพติด โดย

ภาพรวมแล้วสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดอยู่ในระดับเบาบาง แต่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมี ผู้เสพรายใหม่ในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา (อายุระหว่าง ๑๓ – ๑๕ ปี) กลุ่มอาชีพรับจ้าง กลุ่มคนว่างงาน ซึ่งส่วนใหญ่จะนัดแนะรวมกลุ่มกันเสพยาในกลุ่มเพื่อนของตนเอง และตามสถานที่ต่างๆ เช่น หอพัก ปุา ทุ่งนา สวนสาธารณะ บังกะโล รีสอร์ท ที่เปิดบริการตลอดวัน และ สถานที่บันเทิงต่างๆ แต่เจ้าหน้าที่ของรัฐได้มีการสอดส่องเฝูาระวังอย่างเข้มงวดต่อเนื่อง ซึ่งจะต้องดาเนินการ ตามนโยบายของรัฐบาลอย่างจริงจัง ๒.๓

. สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒.๓

.๑ ปุาไม้

จังหวัดร้อยเอ็ดมีพื้นที่ที่มีสภาพเป็นปุา

จานวน ๓๑๖,๔๘๖.๖๓ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๖.๑๐ ของ

พื้นที่ทั้งหมด ๕,๑๘๗,๑๕๖ ไร่ มีพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติ จานวน ๑๐ ปุา ในพื้นที่ ๑๐ อาเภอ คือ อาเภอหนองฮี อาเภอพนมไพร อาเภอโพธิ์ชัย อาเภอโพนทอง อาเภอหนองพอก อาเภอเมยวดี อาเภอเสลภูมิ อาเภอธวัชบุรี อาเภอทุ่งเขาหลวง อาเภออาจสามารถ ๒.๓

.๒ สิ่งแวดล้อม

จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นจังหวัดที่ประสบปัญหาสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับจังหวัดอื่นๆ

คือ ปัญหา

ขยะ และปัญหาน้าเสียจากชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ ไม่ว่าจะเป็นในเขตเมืองและรวมถึงชุมชน ในท้องถิ่น เนื่องจากไม่มีระบบกาจัดขยะและระบบบาบัดน้าเสีย ๒.๓.๔ น้า จังหวัดมีลาน้าธรรมชาติที่สาคัญไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้าชี แม่น้ายัง แม่น้ามูล

ลาน้าเสียว ลาน้า


พลับพลา ลาน้าเตา แต่ยังขาดแคลนอีกมากเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ทาการเกษตรที่ต้องใช้น้าจากธรรมชาติ เป็นหลัก แม้แต่น้าต้นทุนที่มีอยู่ก็ยังนามาใช้ได้ไม่ทั่วถึง รวมทั้งในปัจจุบันเกิดความเสื่อมโทรมของแหล่งน้า เกิด ปัญหาอุทกภัยที่ขยายพื้นที่มากขึ้นและยาวนานขึ้น การบริหารจัดการน้าที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิด การขาดแคลนน้าเพื่อการเกษตร และอุปโภค-บริโภค และเกิดภัยแล้ง ๒.๔. สถานการณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จังหวัดร้อยเอ็ดมีศักยภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิข้าวหอมมะลิดีที่สุด โดยเฉพาะข้าวหอม มะลิจากทุ่งกุลาร้องไห้ ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิชั้นดีที่สุดและมีเอกลักษณ์ความหอมเฉพาะตัวเป็น ที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ สามารถที่จะพัฒนาและส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและ จาหน่ายข้าวหอมมะลิสู่ตลาดโลกได้ รวมทั้งเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวในเชิงวิถีพุทธ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา เนื่องจากมีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมถือปฏิบัติอย่างจริงจัง มีประเพณีต่างๆ ตลอดปีที่ในภาคอิ สานเรียกว่า “ ฮีตสิบสองครองสิบสี่” และเป็นเมืองที่มีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน รวมทั้งไม่มีปัญหาด้านอาชญากรรมที่รุนแรง แต่ยังมีปัญหาที่สาคัญที่ส่งผลกระทบต่อความ เป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของประชาชน และต้องได้รับการแก้ไขจากหน่วยงานภาครัฐ ดังนี้ (๑) ปัญหาน้าท่วม-ภัยแล้ง พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดประสบปัญหาน้าท่วม ๘ ปีติดต่อกัน และ มักจะเกิดขึ้นปีละ ๒ ครั้ง โดยครั้งแรกเกิดขึ้นประมาณเดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม ในพื้นที่ราบลุ่มแม่น้า ยัง และครั้งที่ ๒ เกิดขึ้นประมาณกลางเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม ในพื้นที่ราบลุ่มแม่น้าชี และแม่น้ามูล รวมทั้งลาน้าสาขา ทาให้สิ่งสาธารณประโยชน์ และพื้นที่การเกษตร ตลอดจนบ้านเรือนราษฎรได้รับความ เสียหาย คาดว่าเสียหายไม่ต่ากว่าปีละ ๑,๒๐๐ ล้านบาท และประชาชนได้รับความเดือดร้อนจานวนมาก โดยเฉพาะพื้นที่ราบลุ่มแม่น้าชี ของอาเภอจังหาร โพธิ์ชัย ธวัชบุรี เสลภูมิ อาจสามารถ พนมไพร โพนทอง เชียงขวัญ และทุ่งเขาหลวง ต้องอพยพขนย้าย ได้รับผลกระทบทางจิตใจซึ่งประเมินค่ามิได้ แต่ในขณะเดียวกัน อาเภอซึ่งอยู่ห่างไกลจากลาน้าสายหลักกลับประสบปัญหาน้าไม่เพียงพอสาหรับทาการเกษตร ฉะนั้น การ พัฒนาแหล่งน้าทั้งเพื่อจัดหาน้าเพื่อการเกษตรและเพื่อปูองกันอุทกภัยจึงเป็นแนวทางการพัฒนาที่จะ ตอบสนองการแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้ดีที่สุด ซึ่งส่งผลกระทบสู่เปูาประสงค์การสร้างสังคม ให้สงบสุข (๒) การผลิตข้าวหอมมะลิ จังหวัดร้อยเอ็ดมีชื่อเสียงเป็นแหล่งข้าวหอมมะลิดีที่สุดของโลก แต่ มีข้อจากัดในเรื่องการขยายพื้นที่เพาะปลูก และการพัฒนาให้เป็นข้าวหอมมะลิคุณภาพปลอดสารพิษโดยการ ผลิตด้วยกระบวนการเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP : Good Agricultural Practice) และมุ่งสู่เกษตรอินทรีย์ใน ขั้นต่อไป แต่ครัวเรือนเกษตรกร ๑๙๓,๑๘๓ ครัวเรือน ส่วนใหญ่มีฐานะยากจนขาดแคลนเงินทุนในการ พัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิให้ได้ปริมาฯและคุณภาพที่ดี (๓) ปัญหาราคาข้าวและผลผลิตการเกษตรตกต่า ผลผลิตการเกษตรของจังหวัดร้อยเอ็ดเรียง


ตามลาดับความสาคัญทางเศรษฐกิจ คือ ข้าว อ้อยโรงงาน มันสาปะหลัง ยางพารา ผลผลิตที่มีปัญหาด้านราคา ตลอดมาคือข้าวนาปี และโดยเฉพาะข้าวหอมมะลิที่เป็นสินค้าหลักของจังหวัดซึ่งเกี่ยวข้องกับเกษตรกรส่วน ใหญ่ ทาให้รายได้ของครัวเรือนเกษตรกรลดลง ประกอบกับเกษตรกรไม่สามารถกาหนดราคาผลผลิตเองได้ ขึ้นอยู่กับกลไกตลาดซึ่งไม่แน่นอน ทาให้ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรเป็นอย่างมาก (๔) ปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงาน จังหวัดร้อยเอ็ดจัดได้ว่ามีแรงงานเป็นจานวนมาก แต่ขาด แหล่งทางานในพื้นที่จึงทาให้ต้องเคลื่อนย้ายแรงงานออกไปนอกจังหวัด โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และปริมณฑล ประกอบกับเป็นแรงงานขาดทักษะจึงทาให้ได้รับค่าตอบแทนต่า เกิดผลกระทบต่อรายได้ของครอบครัว และ ความเป็นอยู่ในสังคม (๕) การบูรณาการการปฏิบัติงานของส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น พบว่า ในปัจจุบัน หน่วยงานส่วนกลางจัดทาแผนงาน/โครงการ (ตั้งงบประมาณ) ยังไม่ได้พิจารณาถึงศักยภาพของพื้นที่ หรือ ความต้องการ/ความจาเป็นของพื้นที่ (แผนพัฒนาจังหวัด/ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด) แต่ส่วนใหญ่จะ พิจารณาถึงภารกิจของกระทรวง/กรมเป็นหลัก ทาให้การแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาไม่เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ทาให้การขับเคลื่อนแผนพัฒนาจังหวัด/แผนยุทธศาสตร์จังหวัดไม่สอดคล้องและบรรลุเปูาหมายตามที่ กาหนดไว้ ๓.ข้อมูลทะเบียนเครือข่ายการเฝ้าระวังวัฒนธรรม ๑. เครือข่ายหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ประกอบด้วย - สานักศิลปากรที่ ๑๐ ร้อยเอ็ด - วิทยาลัยนาฏศิลปะร้อยเอ็ด - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด ๒. เครือข่ายการดาเนินงานด้านวัฒนธรรมในพื้นที่ - ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด คือ โรงเรียนสตรีศึกษา จานวน - สภาวัฒนธรรมจังหวัด จานวน ๑ แห่ง - สภาวัฒนธรรมอาเภอ จานวน ๒๐ แห่ง - สภาวัฒนธรรมตาบล จานวน ๕๘ แห่ง ๓. เครือข่ายเฝูาระวังทางวัฒนธรรมในและนอกสถานศึกษา ประจาปี ๒๕๕๕

แห่ง


ที่ รายชื่อ ที่อยู่ ศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ในสถานศึกษา ๑ โรงเรียนจังหารฐิตวิริยาประชาสรรค์ หมู่ที่ ๕ ต.จังหาร อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๗๐ ๒ โรงเรียนเชียงขวัญพิทยาคม หมู่ที่ ๒ ต.เชียงขวัญ อ.เชียงขวัญ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๓ โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย หมู่ที่ ๙ ต.รอบเมือง อ.หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๑๐

ที่ ๔

รายชื่อ โรงเรียนเทิดไทยวิทยาคม

ที่อยู่ หมู่ที่ ๕ ต.เทอดไทย อ.ทุ่งเขาหลวง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ ๕ โรงเรียนการกุศลวัดบ้านก่อ หมู่ที่ ๓ ต.ศรีสมเด็จ อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม นอกสถานศึกษา วัดโพธิการาม หมู่ที่ ๖ ต.โพนสูง อ.ปทุมรัตน์ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๙๐ ๔. เครือข่ายเฝูาระวังทางวัฒนธรรม ประจาปี ๒๕๕๖ ที่ รายชื่อ ที่อยู่ ๑ โรงเรียนสตรีศึกษา ๑๔๙ ถ.สุริยเดชบารุง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๒ โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ๒๗๕/๑๔ ถ.เทวาภิบาล ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๓ โรงเรียนขัติยะวงษา หมู่ที่ ๑๗ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๔ โรงเรียนพลายชัยพิทยาคม หมู่ที่ ๑๕ ต.หนองแวง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๔. ข้อมูลทะเบียนสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๔.๑ ข้อมูลสื่อประชาสัมพันธ์และวิทยุกระจายเสียง รายชื่อ ๑. นางกมลพร คานึง ๒. นายวิมล เร่งศึก

ที่อยู่ ประชาสัมพันธ์จังหวัดร้อยเอ็ด (ทีวี ช่อง ๑๑) ผู้ช่วยประชาสัมพันธ์จังหวัดร้อยเอ็ด

หมายเหตุ

หมายเหตุ

หมายเหตุ


สถานีวิทยุกระจายเสียงในจังหวัดร้อยเอ็ด ๓. สถานีวิทยุฯกองทัพภาคที่ ๒ (๙๕.๕๐ เมกกะเฮิร์ต) กองพลทหารราบที่ ๖ บ.โสกเชือก ต.โพธิ์สัย อ.ศรีสมเด็จ -พล.ต.ชวลิต ชุนประสาร หัวหน้าสถานีวิทยุฯ ทภ.๒ จ.ร้อยเอ็ด ๔. สถานีวิทยุฯ อสมท.ร้อยเอ็ด (๑๐๑ เมกกะเฮิร์ต) บ.โคกสาย ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ นายสุทิน เจริญศรี นายสถานีวิทยุฯ อสมท.ร้อยเอ็ด ๕. สถานีวิทยุฯ ตารวจภาค ๔ (๙๘.๗๕ เมกกะเฮิร์ต) ต.ขอนแก่น อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ -พล.ต.ต.สิทธิพร โนนจุ้ย หัวหน้าสถานีวิทยุฯตารวจ ภาค ๔ ๕. สถานีวิทยุฯกรมประมง (๑๐๑.๖ มฮ) ถ.แจ้งสนิท ต.นิเวศน์ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ นายนิเทศ สาระบรรณ หัวหน้าสถานีวิทยุฯ กรม ประมง ๖. สถานีวิทยุฯแห่งประเทศไทย(สวท.๙๔.๐ เมกกะ ถ.รณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ เฮิร์ต) นางผุศดี เสริมใหม่ ผู้อานวยการ สวท. ร้อยเอ็ด -๑๒รายชื่อ ๗. สถานีวทยุฯ จส.๓ ร้อยเอ็ด (๑๒๕๑ กฮ) พันตรี พีรชาญ คงสุวรรณ หัวหน้า สถานีฯ จส.๓ ๘. สถานีวิทยุถ่ายทอดโมเดอร์นไนน์ T.V. ร้อยเอ็ด นายมานพ เกิดเกรียงไกร หัวหน้าสถานีฯถ่ายทอด

ที่อยู่ ถ.กองพลสิบ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ บ.โคกสาย ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐

๔.๒ ข้อมูลสื่อบุคคล (ผู้สื่อข่าว) รายชื่อ ๑. นายชัยสิทธิ์ ธนสีลังกูร นายกสมาคมสื่อมวลชน ร้อยเอ็ด ๒. นายวินัย วงศ์วีระขันธ์ ประธานชมรมสื่อ สร้างสรรค์ จังหวัดร้อยเอ็ด ๓. นายธวัชชัย กฤตยาวรกุล

๔. นายสมนึก บุญศรี

ที่อยู่ ผู้สื่อข่าวทีวี ๖,ข่าวสด,สานักข่าวไทย ๒๘/๓๙ ถ.รณชัย ชาญยุทธ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ผู้สื่อข่าวทีวี ๕, สยามรัฐ,นสพ.เดลินิวส์,คมชัดลึก ๑๒๕/ ๒๘ ถ.เทวาภิบาล อ.เมืองฯ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ผู้สื่อข่าวทีวี ๗,๙ ,ไทย PBS ,คมชัดลึก ๑๔๓/๒ ถ.ผดุง พานิช สามแยกวัดเหนือ ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ผู้สื่อข่าวทีวี ๙/พิมพ์ไทย/สยามรัฐ ๑๐๓ ถ.ราชการดาเนิน


๕. นายวัชรินทร์ เขจรวงศ์

โมเดินท์ ๙ TV.

๖. นายปกรณ์ อนันทะวัน ๗. นายวิเศษ นันทะศรี ๘. นายฉลาด สุมมาตย์ ๙. นายจาลอง ศิริสุวรรณ ๑๐. นายสมพงศ์ อัศวแสงพิทักษ์ ๑๑. นายไชยยศ ไชยพฤกษ์ ๑๒. นายสุวัฒน์ ลีขจร

ต.ในเมือง อ.เมืองฯ อ.เมืองฯ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ แนวหน้า, คมชัดลึก , INN /๒๐๘ ม.๒ บ.สามแยก ต. เหนือเมือง อ.เมืองฯ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ บ.เมโทรเคเบิ้ลทีวี ๓/๕ ถ.มีโชคชัย ต.ในเมือง อ.เมืองฯ ๔๕๐๐๐ บ.กมลเคเบิ้ลทีวี ๗/๕ ถ.เปรมประชาราฏร์ ต.ในเมือง อ.เมืองฯ ๔๕๐๐๐ ผู้สื่อข่าว นสพ.ไทยรัฐ ๑๕/๖ (หมู่บ้านชฎาทอง) ถ.รอบเมือง อ.เมืองฯ ๔๕๐๐๐ ผู้สื่อข่าว นสพ.เดลินิวส์ ๑๗๔/๙ ถ.ผดุงพานิช ต.ในเมือง อ.เมืองฯ ๔๕๐๐๐ คมชัดลึก/บ้านเมือง/ไทยโพสท์/สยามรัฐ/INN ๖๒/๘ ถ.ผดุงพานิช ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ นสพ.๑๙๑,เลขที่ ๙ ถ.เสนาเริ่มคิด ต.ในเมือง อ.เมืองฯ ๔๕๐๐๐ บก.นสพ.พิราบข่าว ๔๑๓ หมู่ ๑ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ -๑๓-

รายชื่อ ๑๓. นายธนา วิสูตรานุกูล

๑๔. นายทรภูไพร วันโพนทอง

๑๕. นายสาธิต เสาโกมุท ๑๖. นายธนา บุญวิเศษ ๑๗. นายขวัญชัย พวงสร้อย นักข่าวอิสระ,

ที่อยู่ ตัวแทนสมาคมนักวิทยุสมัครเล่น จ.ร้อยเอ็ด ผู้สื่อข่าว นิตยสาร ๑๐๐ วัตต์ ๕๙/๙ ถ.เปรมประชาราษฎร์ ต.ใน เมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ นายกสมาคมวิชาชีพวิทยุ-โทรทัศน์ภาคประชาชน จ.รอ และเป็น ผอ.ฝุายการตลาดและหัวหน้าศูนย์ข่าวภาค ๔, บรรณาธิการอานวยการหนังสือพิมพ์ตารวจสีขาว เลขที่ ๒๒ หมู่ที่ ๒ บ.หนองบัว ต.โนนตาล อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ผู้สื่อข่าวเสียงไทยแลนด์ TNN ๑๒๔ ม.๔ ต.โพธิ์ทอง อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด ผู้สื่อข่าวเสียงไทยแลนด์ ช่อง ๒๐ เทศบาลตาบลมะอึ ต.มะอึ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด


ประชาสัมพันธ์กาชาด ๑๘. นายบพิตร จาปา ผู้สื่อข่าวโทรทัศน์ ENN ร้อยเอ็ด ๑๙. นายสุทธิชัย อุปปะ บก.นสพ.ไทยนิวส์ ๒๐. นายพิชัย ปราสาร ๒๑. นายสมบัติ เพียรพิทักษ์กิจ ผู้สื่อข่าวบริษัทกมล เคเบิ้ลทีวี

เลขที่ ๙๙ หมู่ที่ ๑๘ หมู่บ้านมารินทร์ใหม่ ซอย ๒ ต.รอบเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๓๖ ถ.มีโชคชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ผู้สื่อข่าวเสลภูมิเคเบิ้ลทีวี บ.กมลเคเบิ้ล ทีวี ๕๐๘/๘ ถ.ผดุงพานิช ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐

๔.๓ ข้อมูลสื่อเคเบิ้ลทีวีร้อยเอ็ด ที่ ๑ ๒ ๓ ๔

ชื่อ บริษัทกมลเคเบิ้ลทีวี บริษัทเสียงไทยแลนด์เคเบิ้ลทีวี บริษัทเสียงไทยแลนด์เคเบิ้ลทีวี บริษัท RKN เคเบิ้ลทีวี

ที่อยู่ บริษัทกมลเคเบิ้ลทีวี ๗/๖ ถ.เปรมประชาราษฏ์ อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ร้านเสียงไทยแลนด์ร้อยเอ็ด ถ.ประชาธรรมรักษ์ อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ บริษัทเสียงไทยแลนด์เคเบิ้ลทีวี ๓๑๕ ถ.มีโชคชัย อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ บริษัท RKN เคเบิ้ลทีวี ๒๒๑ หมู่ที่ ๑ ต.เกาะแก้ว อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐

๔.๔ ข้อมูลสื่อหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ที่ ชื่อ ๑ หนังสือพิมพ์พราบข่าว ๒ หนังสือพิมพ์ข่าวไทยนิวส์ ๓ หนังสือพิมพ์คนข่าว ๔.๕ ที่ ๑

บรรณาธิการ/ที่อยู่ นายสุวัฒน์ ลีขจร ๔๑๓ หมู่ ๒๒ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ นายสุทธิชัย อุปปะ ๓๖ ถ.มีโชคชัย อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ นายวัยัย วงศ์วีระขันธ์ ๑๒๕/๒๘ ถ.เทวาภิบาล อ.เมืองฯ ๔๕๐๐๐

ข้อมูลสื่อวิทยุชุมชน ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่ ชื่อวิทยุชุมชนคนของแผ่นดิน ที่อยู่ ๖/๑ ซอย ๑๖ ถ.เทวาภิบาล ต.ในเมือง อ. เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อวิทยุชุมชนสหไพบูลย์ ที่อยู่ สี่แยกบายพาสทางไป อ.โพนทอง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน)

นายอภิชัย เนียมศรีใส

๑๐๓.๕๐

นายขจิต เสรีรัตน์

๑๐๗.๘๕


ชื่อวิทยุชุมชน คนรักถิ่น ที่อยู่ สหไพบูลย์ ๔๙๗/๒-๓ ถ.ผดุงพานิช อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๔ ชื่อวิทยุชุมชน พลาญชัย ที่อยู่ สี่แยกโนนสีดา บึงพลาญชัย อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๕ ชื่อวิทยุชุมชน คนเมืองร้อยเอ็ด ที่อยู่ ๔/๒-๔ ถ.ประชาธรรมรักษ์ อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๖ ชื่อวิทยุชุมชน WE ที่อยู่ ๔/๒-๔ ๔ ถ.ประชาธรรมรักษ์ อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๗ ชื่อวิทยุชุมชน บ้านสันติสุข ที่อยู่ ๓๔ ม.๑๐ ต.ดงลาน อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๘ ชื่อวิทยุชุมชนโรงเรียนร้อยเอ็ดเทคโนโลยี ที่อยู่ ๒๘๔ ถ.รณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๙ ชื่อวิทยุชุมชน คนร้อยเอ็ด ที่อยู่ ๘๗ หมู่ ๙ บ้านดงเค็ง-แสบง ต.ปอภาร อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๑๐ ชื่อวิทยุชุมชน บริการชุมชน๑ (บกช.๑) ที่อยู่ ๑๑๖ หมู่ ๑๓ บ้านหนองแคน ต.รอบเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด

ที่ ๑๑

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่ ชื่อวิทยุชุมชน เมืองร้อยเอ็ด ที่อยู่ สนง.เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ถ.เทวาภิบาล ต.ในเมือง อ.เมืองฯ

นายขจิต เสรีรัตน์

๘๘.๒๕

น.ส.อารยา พันโนลาด

๙๐.๖๐

นายธนา บุญวิเศษ

๙๙.๔๐

นายพทยา เหล่าดี

๑๐๖.๐๐

น.ส.อภิวัน รัชนีกรกานต์

๑๐

๙๒.๕๐

นางทองสุข ชะโลธาร

๙๑.๐๐

นายดวงเด่น คนชัยภูมิ

๑๐๗.๖๐

นายบรบูรณ์ บุญโทแสง

๙๖.๐๐

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน) นายธนพนธ์ ปฐมกาเนิด ๕ ๙๕.๐ ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ


๑๒

๑๓

๑๔

๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙

๒๐

๒๑

ที่

ชื่อวิทยุชุมชน พลังร่วมอาสา คุณชุติกาญจน์ อุปปะ ที่อยู่ อาคารเลขที่ ๓๑ ถ.กองพลสิบ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ที่อยู่วิทยุชุมชน เครือข่าย ทสม.ร้อยเอ็ด นายเอกฐพล ที่อยู่ ๔๒๐ ม.๑๗ บ้านไทยอุดม ทรัพย์สมบูรณ์ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อคลื่นมหาชนคนร้อยเอ็ด นายขวัญชัย พวงสร้อย ที่อยู่ บ้านอีเม้ง ต.โนนตาล อ.เมือง ผู้ขอดาเนินการ จ.ร้อยเอ็ด ชื่อวิทยุชุมชน คลื่นมรดกอีสาน นายอุทัย ทุมสิทธิ์ ที่อยู่ ๗/๑ ม.๔ บ.หนองพุก ต.ขอนแก่น อ.เมือง (เซียงคาโพ) จ.ร้อยเอ็ด ชื่อวิทยุชุมชนลูกทุ่งวาไรตี้ นายบุญสุข ทุมสิทธิ์ ที่อยู่ ๑๕ ม.๓ บ้านโคกพิลา ต.ปอภาร อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อวิทยุชุมชน บกช.๓ พัชรินทร์ ฟองลม ตั้งอยู่ทางเข้าโรงเรียนเทคโนโลยีพาณิชการพลาญ ชัยร้อยเอ็ด ต.ขอนแก่น อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อวิทยุชุมชน M.RADIO สื่อเพื่อประชาพัฒนา นายสุทธิชัย อุปปะ เยาวชน เลขที่ ๓๖ ถ.มีโชคชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อ วิทยุชุมชนข่าท้องถิ่น นายธวัชชัย กฤตยาวรกุล ที่อยู่ ๑๑/๑ ถ.ทองทวี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อ วิทยุชุมชนพระพุทธศาสนาแห่งชาติจ.ร้อยเอ็ด พระครูเอ กุตรสตาธิคุณ ที่อยู่ วัดบูรพาภิราม ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อ วิทยุชุมชน NEW WAYE น.ส.ศิริเรขา ปลัดศรีช่วย ที่อยู่ ๑๐๖/๙ ถ.ผดุงพานิช ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

๘๗.๘๐

๑๐๓.๒๕

๙๙.๒๕

๙๙.๗๐

๑๐๕.๒๕

๙๙.๐๐

๑๐

๑๐๑.๓๕

๑๐๔

๙๗.๐๐

๑๐๖.๗๐

จานวน ผู้ทางาน (คน)

ความถี่ MHz


๒๒ ชื่อ วิทยุชุมชนพุทธบุตร ที่อยู่ ๘๒ ม.๓ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๒๓ ชื่อ วิทยุชุมชน “พี่น้องเอ๊ย” ที่อยู่ ๑๓๙ บ.หนองไผ่ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๒๔ ชื่อ วิทยุเพื่อการศึกษาและวิชาชีพ ที่อยู่ วิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๒๕ ชื่อ วิทยุชุมชนคลื่นเพลงเก่าเจ้าผญา ๒๙๓/๓ ถ.เทวาภิบาล คุ้มวัดเวฬุวัน อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๒๖ ชื่อ วิทยุชุมชนคนเมืองเกิน ๑๘๘ บ.ห้าแยกต้นโพธิ์ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๒๗ ชื่อ วิทยุชุมชนลูกทุ่งโคเทียมเกวียน ๑๒๑ ม.๑ บ.สนามม้า ต.ดงลาน อ. เมือง จ.ร้อยเอ็ด ๒๘ ชื่อ วิทยุชุมชน คนเมืองเมย ที่อยู่ ๖๘ ม.๖ ต.เมยวดี อ.เมยวดี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๕๐ ๒๙ ชื่อ วิทยุชุมชน ท้องถิ่นไทย อ.เมยวดี ที่อยู่ ร้านนัฐเครื่องเขียน อ.เมยวดี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๕๐ ๓๐ ชื่อ วิทยุชุมชน ธวัชบุรี ที่อยู่ ๕๕ ม.๖ บ.นิเวศน์ ต.นเวศน์ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ ๓๑ ชื่อ วิทยุชุมชน เสียงธงธานี ที่อยู่ รพ.ธวัชบุรี ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ ๓๒ ชื่อ วิทยุชมชน บ้านดงบ้านนา ที่อยู่ ๓ ม. ๒ ต.มะอึ อ.ธวัชบุรี

ว่าที่ร้อยตรีโกสิทธิ์ วันโพนทอง

๑.๓.๓๕

น.ส.เมตตา จินดา

๙๒.๒๐

นายธีระ คาแปล

๑๐๗.๔๐

นางกฤษณา ทุมสิทธิ์

๙๘.๒๕

นายศาสน์ มณีพันธ์

๑๑

๙๗.๘๐

น.ส.วิภาพร อินอุ่นโชติ

-

๙๗.๕๐ ๑๐๖.๐

นายนิกร ฤทธาพรม

๑๕

๙๑.๓๐

นายชาตรี วังคะฮาด

๑๐

๑๐๔.๓๐

นายมงคล คลังมนตรี

๑๓

๑๐๒.๐๐

นายอัครเดช พลบุตร

๑๐๐.๗๕

นายมีชัย บุราณเดช

๑๐๗.๐๐


จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ ที่

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่

๓๓ ชื่อ วิทยุชุมชน คนนิเวศน์ ที่อยู่ ๕๐ ม. ๑ ต.นิเวศน์ อ.ธวัชบุรี จ. ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ ๓๔ ชื่อ วิทยุชุมชน คนหนองไผ่ ที่อยู่ ๓๐ ม. ๑ ต.หนองไผ่ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ ๓๕ ชื่อ วิทยุชุมชน คนเมืองเกษ ที่อยู่ ๑๑๑ ม.๕ ต.เหล่าหลวง อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๕๐ ๓๖ ชื่อ วิทยุชุมชน ร.ร.จันทรุเบกษาอนุสรณ์ ที่อยู่ ร.ร.จันทรุเบกษาอนสรณ์ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๕๐ ๓๗ ชื่อ วิทยุชุมชน อาเภอเกษตรวิสัย ที่อยู่ ๒๐๙ ม.๑๐ ต.เกษตรวิสัย อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๕๐ ๓๘ ชื่อ วิทยุชุมชน เพื่อการศึกษา ศิลปะ และ วัฒนธรรมชุมชน ที่อยู่ ๙๖ ม. ๑๗ บ.หัวดงกาแพง ต.เมืองบัว อ.เกษตรวิสัยฯ ๓๙ ชื่อ วิทยุชุมชน เกษตรวิสัย ที่อยู่ ๒๘ ม.๑๕ ต.เกษตรวิสัย อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๕๐ ๔๐ ชื่อ วิทยุชุมชน คนรักเมืองอาจ ที่อยู่ ๒๙๗ ม. ๑๒ บ.โนนสะอาด อ.อาจ สามารถ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๖๐ ๔๑ ชื่อ วิทยุชุมชน เมืองอาจสามารถ ที่อยู่ บ้านหน่อม ต.หน่อม อ.อาจ สามารถ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๖๐ ๔๒ ชื่อ วิทยุชุมชน คนรักบ้านเกิด

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน)

น.ส.ปรีณา นุริตมนต์

๑๐๖.๕

นายเยี่ยม นิลผาย

๙๖.๕๐

นายณรงค์ คงอินทร์

๑๘

๙๗.๗๕

นายทองดี ช่องแรง

๑๐

๑๐๗.๒๐

นายประมวล เภตรา

๙๓.๕๐

นายสมชาติ อุดมทรัพย์

๑๐

๑๐๔.๐๐

นายธนพล เรืองเกษตรวิสัย

๙๒.๒๕

นายคาฝั่น วรรณสิทธิ์

๑๘

๑๐๖.๓๕

นายโกสินทร์ แม่นมาตย์

-

๙๒.๒๕

จ.ส.ต.วีระพงษ์ อุโคตร

๙๑.๒๐


ที่อยู่ ๘๑ ม.๔๒ ต.อาจสารมารถ อ.อาจ สามารถ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๖๐

ที่

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่

๔๓ ชื่อ วิทยุชุมชน ที่อยู่ ๒๓๓ ม.๕ ต.หนองขุ่นใหญ่ อ.หนอง พอก จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๑๐ ๔๔ ชื่อ วิทยุชุมชน คนรักถิ่น ที่อยู่ ๘๙ ม.๑๓ ต.รอบเมือง อ.หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ๔๕ ชื่อ – ที่อยู่ ๒๑๔ ม.๘ บ.โพนงาม ต.หนองขุ่น ใหญ่ อ.หนองพอกฯ ๔๕๒๑๐ ๔๖ ชื่อ วิทยุชุมชน คลื่นมหาชนคนรักษ์หนอง พอก ที่อยู่ ๖๑ ม.๘ ตลาดสดเทศบาลฯ อ.หนอง พอก จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๑๐ ๔๗ ชื่อ วิทยุชุมชนเมืองโหวดคนหนองพอก ที่อยู่ ๖๑ ม.๘ ตลาดสดเทศบาลฯ อ.หนอง พอก จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๑๐ ๔๘ ชื่อ วิทยุชุมชน ศรีสมเด็จ ที่อยู่ ๖๔ ม.๓ ต.ศรีสมเด็จ อ.ศรีสมเด็จ จ. ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๔๙ ชื่อ วิทยุชุมชนสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ที่อยู่ ๙ ม.๘ บ.หนองเม็ก ต.ศรีสมเด็จ อ. ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด ๕๐ ชื่อ วิทยุชุมชนลูกทุ่งบ้านดอน ที่อยู่ ๕๘ ม.๑๐ บ้านดอนน้าคา ต.สวนจิก อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด ๕๑ ชื่อ วิทยุชุมชน Green Radio

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน)

นายไพโรจน์ อาทิตย์ตั้ง

๙๐.๒๕

นายสีธนู สุ่มมาตย์

๑๐๐.๖๐

นายเมธี สุวรักษ์

๙๐.๓๕

นายชานาญ ระดารุต

๙๗.๗๕

นางสมศรี ระดารุต

๑๐๔.๗๕

นายสังคม สีสมบูรณ์

๑๐๖.๑

นายวรเดช วิบุญกุล

๘๘๓๖๐

นายปราโมท อังคะคามูล

๙๐.๘๕

คุณมงคล บุญเลิศ

๑๐

๙๙.๕๐


ที่อยู่ ๑๖๕ ถ.ปัทมานนท์ อ.จตุรฯ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๘๐ ๕๒ ชื่อ วิทยุชุมชน อสม.สัมพันธ์ ที่อยู่ ๑๕๒ ม.๒ ต.โคกล่าม อ.จตุรฯ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๘๐ ที่

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่

๕๓ ชื่อวิทยุชุมชน บริการชุมชน ๖ ที่อยู่ ๔๒๕ ม.๒๐ ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ จ. ร้อยเอ็ด ๔๕๑๓๐ ๕๔ ชื่อวิทยุชุมชน สตราเวฟ ที่อยู่ ๒๖๓ อาคารธนทรัพย์ ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๓๐ ๕๕ ชื่อวิทยุเสียงจากสุวรรณภูมิ ๒๒๔/๑ ม.๙ ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๓๐ ๕๖ ชื่อ วิทยุชุมชน ท้องถิ่นอาเภอสุวรรณภูมิ ที่อยู่ ๒๗๕ ม.๙ บ้านโพนสูง ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ ฯ ๔๕๑๓๐ ๕๗ ชื่อ วิทยุชุมชน คลื่นพลังชุมชนคนสุวรรณภูมิ ที่อยู่ ๔ ม.๒๐ ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๓๐ ๕๘ ชื่อ วิทยุชุมชน ดอนปูุตา ที่อยู่ ๖๒ ม.๑๐ ต.หนองฮี อ.หนองฮี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๔๐ ๕๙ ชื่อวิทยุชุมชน คนทุ่งกุลา ที่อยู่ ๘๘ ม.๑ ต.ขี้เหล็ก อ.ปทุมรัตต์ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๙๐ ๖๐ ชื่อวิทยุชุมชน อ.ปทุมรัตต์ ที่อยู่ ๑๐๒ ม.๕ บ.โนนสะอาด ต.ดอกล้า อ. ปทุมรัตต์ฯ ๔๕๑๙๐

น.ส.ฤทัย จิตแสง

๑๐๖.๒๐

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

จานวน ผู้ทางาน (คน)

ความถี่ MHz

นายเชษฐ์ เมืองหงส์

๑๐๓.๕๐

นายวิทยา ธนทรัพย์สิน

๙๘.๕๐

นางสุดารัตน์ จารัสรักษ์

๘๘.๐๐

น.ส.จุรีรัตน์ แสนศรี

๑๐๗.๗๕

นางพนาวรรณ ชูชื่น

๑๐๔.๒๕

นายเช่ง นากอก

๑๐๗.๒๕

นายเฟื่อง นันตลาด

๙๓.๗๕

นายพิชิต จาปาเกตุ

๑๐

๙๖.๗๕


๖๑ ชื่อ วิทยุชุมชน คนรักท้องถิ่น ที่อยู่ ๑๐๒ ม.๕ บ.โนนสะอาด ต.ดอกล้า อ. ปทุมรัตต์ฯ ๔๕๑๙๐ ๖๒ ชื่อวิทยุชุมชน คนปทุมรัตต์ ที่อยู่ ๒๖๘ ม.๙ ต.บัวแดง อ.ปทุมรัตต์ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๙๐ ๖๓ ชื่อ วิทยุชุมชน ปทุมรัตต์ ที่อยู่ ๒๖๘ ม.๙ ต.บัวแดง อ.ปทุมรัตต์ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๙๐ ที่ ๖๔

๖๕

๖๖

๖๗

๖๘

๖๙ ๗๐

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่

นายประเวช พิมารบูลย์

๑๐๖.๗๕

นายอนุจิต ผลโสภณ

๑๐๑.๓

นายประทวน ถนัดค้า

๑๐๑.๒

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

ชื่อ วิทยุชุมชน เมืองสรวง ที่อยู่ ๙๙ ม. ๖ ต.หนองผือ อ.เมืองสรวง จ. นายประเสริฐ จุนทวิเทศ ร้อยเอ็ด ๔๕๒๒๐ ชื่อ วิทยุเพื่อความมั่นคงอาเภอเมืองสรวงที่อยู่ ๖๔ ม.๔ บ.เมืองแก้ว ต.หนองผือ นายสุพรรณ มีบุญ อ.เมืองสรวง ฯ ๔๕๒๒๐ ชื่อวิทยุ คนพรสวรรค์ ที่อยู่ ๓/๒ บ.สะอาด ต.พรสวรรค์ นายสฤษดิ์ ประเสริฐสังข์ อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ชื่อ วิทยุชุมชน คนภูเงิน ที่อยู่ ๗๐ ม.๕ ต.ภูเงิน อ.เสลภูมิ น.ส.คณิศร ทองจันทร์ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ชื่อ วิทยุชุมชน เพื่อการเรียนรู้สู่รอยยิ้มคนรัก ที่อยู่ ม.๒ ต.ท่าม่วง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด นางประภาพร สุทธิประภา ๔๕๑๒๐ ชื่อ วิทยุชุมชน คนเสลภูมิ ที่อยู่ ๑๐๑ ม.๙ ต.กลาง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด นายบพิตร ดาก่า ๔๕๑๒๐ ชื่อ วิทยุชุมชน บริการชุมชน ๓ นายเฉลิม พิมพ์พา ที่อยู่ ๔๓ บ.ทรายขาว อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน) ๑๐

๘๙.๗๕

-

๙๐.๕๐

๑๐

๘๙.๗๕

๑๐๗.๐๐

๙๙.๒๐

๑๐๘.๐๐

๙๗.๕


๔๕๑๒๐ ชื่อ วิทยุชุมชน กลุ่มแม่บ้านเพื่อเศรษฐกิจ พอเพียง ๗๑ ที่อยู่ ๑๔๗ ม.๕ ต.ท่าม่วง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ชื่อ วิทยุชุมชนคนบ้านดอน ๗๒ ที่อยู่ ๓๓ ม.๔ ดอนน้าสร้าง ต.เมืองไพร อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ชื่อ วิทยุชุมชนคนรักศรีวิลัย ๗๓ ที่อยู่ ๔๓ ม.๓ บ.นาวี ต.ศรีวิลัย อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐

ที่

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่

๗๔ ชื่อ วทท.เสลภูมิ ที่อยู่ ๑๑๔ ม.๑๑ ต.ขวัญเมือง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ๗๕ ชื่อ วิทยุชุมชน อุดมยนต์เรดิโอ ที่อยู่ ๑๖๗/๑ ต.ขวัญเมือง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ๗๖ ชื่อ วิทยุชุมชน คนรักเสลภูมิ ที่อยู่ ๑๒๔ ม.๑๐ บ.หนองขาม ต.วังหลวง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ๗๗ ชื่อ วิทยุชุมชน อาเภอพนมไพร ที่อยู่ ๑๖/๒ ม.๒ ถ.เสมอใจราษฎร์ ต.พนมไพร อ.พนมไพรฯ ๔๕๑๔๐ ๗๘ ชื่อ วิทยุชุมชน คนเมืองแสน ที่อยู่ ๑๒๑ ม.๖ ต.คาไฮ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด (ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพครบวงจร) ๔๕๑๔๐

นางอนงค์นิตย์ วงศ์สินธุ

๙๖.๗๕

นายหนูไกร สิทธิไพร

๙๗.๕๐

นางมะลิวรรณ พูลเพิ่ม

๑๐๒.๗๕

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน)

นายรังสรรค์ แก้วคาลา

๑๐๘

นายธีระศักดิ์ นาเมืองรักษ์

๘๘.๑๐

นายนพพร กอผจญ

๘๙.๕๐

น.ส.พิสมัย อุทก

-

นายพงษ์ศักดิ์ นวานุช

๙๖.๒๕


๗๙ ชื่อ วิทยุชุมชนพนมไพร ที่อยู่ ๙๓/๒๒ ต.พนมไพร อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๔๐ ๘๐ ชื่อ วิทยุชุมชนท้องถิ่นหนองทัพไทย ที่อยู่ ๙๙ ม.๒ บ.หนองทัพไทย ต.หนองทัพไทย อ.พนมไพรฯ ๔๕๑๔๐ ๘๑ ชื่อ วิทยุชุมชน โพนทราย ที่อยู่ ๗๒ ม.๑๗ ต.ศรีสว่าง อ.โพนทราย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๔๐ ๘๒ ชื่อ วิทยุชุมชน คนโพนทราย ที่อยู่ ๒๐/๑ บ.ทรายทอง ต.โพนทราย อ.โพนทรายฯ ๔๕๒๔๐ ๘๓ ชื่อ วิทยุชุมชน ท้องถิ่นไทยที่อยู่ ศาลหลักเมือง อ.โพนทราย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๔๐ ที่

ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่

๘๔ ชื่อ วิทยุชุมชน บริการชุมชน ๕ ที่อยู่ ๑๔๒-๑๔๓ ถนนร้อยเอ็ด – กาฬสินธุ์ ม.๕ ต.จังหาร อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๘๕ ชื่อ วิทยุชุมชนพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่อยู่ ๓ ต.จังหาร อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ๘๖ ชื่อ วิทยุชุมชน คนบ้านแวง ที่อยู่ ๓๐ ม.๙ ต.หนองเป็ด อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๑๐ ๘๗ ชื่อ วิทยุชุมชน โพนทอง ที่อยู่ ๒๘๕/๑ บ.หนองนกเป็ด ต.สระนกแก้ว อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด ๘๘ ชื่อ วิทยุชุมชน คนบ้านแวง ที่อยู่ ๒๑๔ ม.๓ ต.แวง อ.โพนทอง จ.

นายนพรัตน์ โสหาเย็นวัฒนา

๑๐๔.๕๐

นายถนอม เหล็กศรี

๘๘.๕๐

นางสาย ศรีประสาน

๑๐

๙๓.๗๐

นายสงบ จันทร์เพชร

๑๐๓.๐๐

นายไพโรจน์ แก้วเปูา

๙๖.๕๐

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน)

น.ส.กนกรัตน์ เยาวเรศน์

๘๘.๕๐

นางหนูเทียน สามารถ

๙๑.๒๕

นายสุเทพ สอบแก้ว

๑๙

๙๑.๗๕

นายกฤษณะ โคตรพัฒน์

๙๒.๘๐

นายสุเทพ ลอยแก้ว

๙๙.๔๕


๘๙

๙๐

๙๑

๙๒

๙๓ ๙๔

ที่ ๙๕

๙๖

๙๗ ๙๘

ร้อยเอ็ด ๔๕๑๑๐ ชื่อ วิทยุชุมชน คนรักษ์บ้านเกิด ที่อยู่ ๓๒ ม. ๒ บ.โคกกกม่วง ต.โคกกกม่วง อ.โพนทองฯ ชื่อ คลื่นไทบ้าน ที่อยู่ ๕ ม.๑๒ ต.อุ่มเม่า อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๑๐ ชื่อ วิทยุชุมชนคนวังยาว ที่อยู่ ๑๗๐ ม.๘ บ.วังยาว ต.วังสามัคคี อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อ วิทยุชุมชน เพื่อคนทางาน ที่อยู่ ๒๖๘ ม.๗ บ.กุดสระ ต.สระแก้ว อ. โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด ชื่อ วิทยุชุมชนเพื่อความั่นคงคนโพนทอง ที่อยู่ ๙๓ ม.๒ ต.สว่าง อ.โพนทอง จ. ร้อยเอ็ด ๔๕๑๑๐ ชื่อ วิทยุชุมชน คนรักครอบครัว ที่อยู่ ๒๑ ม.๘ ต.หนองพอก อ.หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๑๐ ชื่อจุดปฏิบัติการ-ที่อยู่ ชื่อ วิทยุชุมชน จตุรพักตรพิมาน ที่อยู่ ๒๓๖ ม.๓ ต.หัวช้าง อ.จตุรพักตร พิมาน จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๘๐ ชื่อ วิทยุชุมชน Love Radio โรงพยาบาลจตุรพักตรพมาน อ.จตุรพักตร พิมาน จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๘๐ ชื่อ วิทยุชุมชน ดงแดง เรดิโอ ที่อยู่ ๑๕๒ ม.๑๓ ต.ดงแดง อ.จตุรพักตร พิมาน จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๘๐ ชื่อ วิทยุชุมชน เพื่อคนโพธิ์ชัย

นายสงกรานต์ เครือน้าคา

๑๐

๙๒.๘๐

นายดาเนิน พรมไชยา

๙๓.๗๐

นายอุทัย สุ่มมาตย์

๑๐๑.๒๕

นายอรุณ สีดี

๙๓.๒๐

น.ส.พวันนา สุธน

๑๐๒.๗๕

นายสายัณพ์ ดิลกสุนทร

๘๙.๒๐

ชื่อ-สกุล ผูร้ บั ผิดชอบ

จานวน ความถี่ MHz ผู้ทางาน (คน)

นายสุวัฒน์ พิบูลย์

๑๐๒.๗๐

นายมงคล บุญเลิศ

๑๐๓.๒๕

นายสมรรถภณ พรมสา

๘๙.๒๕

ว่าที่ ร.ต.วินัด ฉ่ามณี

๙๔.๕๐


๙๙

๑๐๑

๑๐๒

๑๐๓

ที่อยู่ ๑๐ ม.๒ ต.ขามเปี้ย อ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๓๐ ชื่อ วิทยุชุมชน รสทป.คลื่นคนรักษ์ปุา พัฒนาต้นน้าคาพอุง ที่อยู่ ๙๒ ม.๖ ต.คาพอุง อ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๓๐ ชื่อ วิทยุชุมชนหนองตาไก้ ที่อยู่ ๘๘/๔ ต.หนองตาไก้ อ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๒๓๐ ชื่อ วิทยุชุมชน คนร้อยเอ็ด ที่อยู่ ๙๙ ม.๖ ต.หมูม้น อ.ชียงขวัญ จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ ชื่อ วิทยุชุมชน บริการชุมชน ๔ (บกช.๔) ที่อยู่ ๔๑๘ ม. ๕ บ้านสนาม ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิฯ ๔๕๑๓๐

นายก่าย โภคา

๑๐๐.๖

นายทองศรี สิงเกื้อ

๑๐๓.๓๐

นายเชษฐพงษ์ ชัยคณารักษ์กุล

๑๐๔.๕

นายเที่ยง แสนสาโรง

๘๘.๗๘


บทที่ ๒ ผลการดาเนินงานเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ๒.๑ ผลการรณรงค์ปลุกจิตสานึก การแจ้งเตือนภัยและการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและวัฒนธรรม ความเป็นมาและความสาคัญ ปัจจุบันปัญหาของวัยรุ่นในสังคมไทยรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมเมือง ประกอบกับวัยรุ่นเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการ เจริญเติบโต มีความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ทาให้วัยรุ่นประสบปัญหามากมาย เช่น ปัญหามีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ปัญหาการทาแท้ง ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาความรุนแรง เป็นต้น เป็นปัญหา ทาให้เกิดความสับสนวุ่นวาย มีผลกระทบต่อตัวของวัยรุ่นเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ซึ่งปัญหานี้ ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ การศึกษาเรียนรู้ และหาแนวทางการในการแก้ปัญหา อีกประเด็นหนึ่ง คือ การขาด ความดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว เพราะบางครอบครัวมีการดูแลอย่างปล่อยปละละเลย ให้อิสระแก่วัยรุ่น มากเกินไป เกินความเหมาะสม เช่น การออกไปเที่ยวกลางคืนตามสถานบริการต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุที่วัยรุ่นมี โอกาสที่จะมีเพศสัมพันธ์มากที่สุด เพราะเป็นช่วงยามวิกาล และสถานที่ก็เอื้ออานวย วัยรุ่นส่วนใหญ่ต่างก็มี การดื่มกันฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ เหล้า เบียร์ ทาให้ขาดสติ ทาให้เกิดปัญหาการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่เต็มใจขึ้น การแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร จึงถือเป็นจุดบอดของสังคม ในทุกๆ สถาบัน ฉะนั้นครอบครัว และสังคมควรช่วยกันส่งเสริมและให้ความสนใจนั้นก็คือ การรณรงค์และการปลูกฝังค่านิยมของการรักนวล สงวนตัว และทาตัวให้เป็นแบบอย่างที่ดีเพื่อเป็นต้นแบบให้วัยรุ่นปฏิบัติตาม ส่วนผลกระทบที่เกิดจากการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรหรือการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ตั้งใจ เช่น ปัญหาการตั้งครรภ์ การทาแท้ง ซึ่งจะเห็น ได้จากสถิติของการตั้งครรภ์และการทาแท้งมีสูงขึ้นทุกปี ส่วนวัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกก็มีอายุเฉลี่ยน้อยลง ทุกๆปี และคาดว่าในอนาคตตัวเลขก็จะสูงขึ้นเรื่อยๆ เด็กวัยรุ่นบางรายเมื่อรู้ว่า ตนเองตั้งท้องก็คิดสั้นฆ่าตัวตาย บางรายก็เลือกที่จะกาจัดก้อนเนื้อที่ เกิดมาจากอารมณ์ชั่ววูบ อารมณ์รักสนุกทิ้งด้วยการทาแท้ง ซึ่งนับว่าเป็นบาปมาก แต่ในโลกแห่งความเป็นจริง วัยรุ่นบางรายที่เข้ารับการทาแท้งไม่ได้โชคดีเสมอไป บางรายอาจต้องจบชีวิตลงในขณะทาแท้ง จะเห็นว่า ผลกระทบส่วนใหญ่วัยรุ่นหญิงจะเป็นฝุายที่เสียเปรียบวัยรุ่นชาย ผู้ชายบางคนเมื่อรู้ว่าแฟนของตนเองตั้งท้องก็ จะตีตัวออกห่างหรือเลิกกันไป และคิดว่าเป็นเรื่องไม่สาคัญแค่เอาเด็กออกก็จบ และยังมีค่านิยมที่ผิดๆอีกนั่นคือ ค่านิยมการล่าแต้ม ซึ่งหมายถึง การที่วัยรุ่นทั้งชายและหญิงสะสมจานวนครั้ง จานวนคนของการมีเพศสัมพันธ์ แล้วจดบันทึกไว้เพื่อไปคุยกับเพื่อนๆได้ แม้เราจะไม่สามารถห้ามการมีเพศสัมพันธ์ได้ แต่ก็สามารถรณรงค์ให้มี การใส่ถุงยางอนามัยเวลามีเพศสัมพันธ์ได้ เพื่อปูองกันปัญหาที่จะเกิดตามมาได้ และผลกระทบอีกอย่างหนึ่งซึ่ง ถือว่าร้ายแรงมากนั่นก็คือการติดเชื้อ HIV เพราะสามารถคร่าชีวิตของคนได้เลยทีเดียว สังคมและประเทศชาติ ต้องขาดบุคลากรมาพัฒนาประเทศ ต้องเสียงบประมาณจานวนมากเพื่อมาดูแลรักษาคนเหล่านี้ แต่ถ้าหาก มองกลับกัน ถ้าสังคมและประเทศชาติไม่มีผู้ติดเชื้อ HIV งบประมาณที่รัฐบาลจะต้องนาไปช่วยในด้าน


การแพทย์ ของผู้ติดเชื้อ คงจะสามารถนาไปใช้ในด้านการพัฒนาประเทศได้อีกมากมายหลายด้าน ซึ่งก็จะทา ให้ประเทศพัฒนาได้อย่างก้าวหน้าต่อไป ประกอบกับทุกวันนี้เราต้องพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหรือไอซีที คอมพิวเตอร์ ช่วยให้เราเพิ่มขีดความสามารถในการคานวณและประมวลผลข้อมูลได้เร็ว ถูกต้อง แม่นยา เครือข่ายสื่อสารทา ให้เราติดต่อถึงกันได้ง่าย สามารถเชื่อมโยงการใช้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว สังคมใหม่จึงเป็นสังคมที่ต้องพึ่งพาไอซีที มีการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ผ่าน ทางเครือข่ายสื่อสารและอินเทอร์เน็ตในรูปแบบการใช้ข้อมูลดิจิตอล จนบางครั้งเราเรียกสังคมใหม่นี้ว่า สังคมดิจิตอล หรือ สังคมออนไลน์ เด็กและเยาวชนจานวนมากหลงใหลในสังคมออนไลน์จนเป็นปัญหาใหญ่ ปัญหาหนึ่งของสังคมในยุคปัจจุบัน สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จึงได้จัดโครงการ ค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสานึกการเฝูา ระวังทางวัฒนธรรม การแจ้งเตือนภัยในยุคออนไลน์ การเลือกใช้สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมและค่าที่นิยมที่พึงประสงค์ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์ สุจริต ๓) พอเพียง เสียสละ มีน้าใจ ๔) ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ๕) รู้หน้าที่ มีวินัย ภูมิใจในความเป็นไทย เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมที่ดีแก่เยาวชนได้อีกทางหนึ่ง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลุกจิตสานึกในการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม แจ้งเตือนภัยชีวิต ในสังคมปัจจุบัน และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้แก่เยาวชนในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ๒. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่เยาวชนได้รู้เท่าทันและเลือกใช้สื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ๓. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เยาวชนเครือข่ายเฝูาระวังทางวัฒนธรรมในพื้นที่ได้ผลิตและคัดเลือก สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อนาไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่อไป ๔. เพื่อให้เยาวชนได้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมน้อมนาหลักธรรมของศาสนาและค่านิยมที่พึง ประสงค์ ๕ ประการ มาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน มีค่านิยม จิตสานึกความเป็นไทย ส่งเสริมให้เกิดชุมชนและ สังคมที่สันติสุข สรุปผลการดาเนินงาน เชิงปริมาณ จัดค่ายฝึกอบรมเยาวชน จานวน ๒ วัน ๑ คืน ซึ่งมีเปูาหมายเป็นเยาวชนนักเรียน ระดับชั้น มัธยมศึกษาจากโรงเรียน ซึ่งเป็นเครือข่ายศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม จานวน ๓ โรงเรียน ในจังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ โรงเรียนสตรีศึกษา โรงเรียนขัติยะวงษา โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม โรงเรียนละ ๓๕ คน และ นักเรียนเครือข่ายศาสนาต่างๆ รวม ๑๔๐ คน ครู ผู้ควบคุมดูแลนักเรียน โรงเรียนละ ๒ คน รวม ๘ คน และ


ข้าราชการ เจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๒๒ คน รวมเป็น ๑๗๐ คน โดยจัดกิจกรรม จานวน ๔ กิจกรรม ดังนี้ ๑) จัดบรรยายให้ความรู้แก่เยาวชนในการรณรงค์การเฝูาระวังทางวัฒนธรรม/จัดเสวนาทาง วิชาการให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะสาหรับวัยรุ่น เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสานึกการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม การแจ้ง เตือนภัย การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ความปรองดองสมานฉันท์ และ เสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์ สุจริต ๓) พอเพียง เสียสละ มีน้าใจ ๔) ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ๕) รู้หน้าที่ มีวินัย ภูมิใจในความเป็นไทย ๒) จัดอบรมบรรยาย/เสวนาทางวิชาการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ๓) จัดกิจกรรมกลุ่ม/ให้เยาวชนระดมความคิดเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม หาแนวทางในการ ผลิตสื่อและคัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อเผยแพร่ต่อไป ๔) สนับสนุนให้โรงเรียนที่เป็นเครือข่ายศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม ๔ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน ร้อยเอ็ดวิทยาลัย โรงเรียนสตรีศึกษา โรงเรียนขัติยะวงษา และโรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม ร่วม จัดทาสื่อโปสเตอร์ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ขนาด ๑๒๐ x ๒๔๐ เซนติเมตร เข้ารับการคัดเลือกโรงเรียนละ ๒ แผ่น เพื่อรับรางวัล จานวน ๑๐,๐๐๐ บาท แยกเป็น ๔ รางวัล ได้แก่ ชนะเลิศ จานวน ๔,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศ อันดับ ๑ จานวน ๓,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศ อันดับ ๒ จานวน ๒,๐๐๐ บาท และชมเชย จานวน ๑,๐๐๐ บาท เชิงคุณภาพ ๑.เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม ทราบข้อมูลภัยที่หลากหลายชนิด ในสังคมปัจจุบัน เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้แก่เยาวชนในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดได้อีกทางหนึ่ง ๒.เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจรู้เท่าทันสื่อมากขึ้นและเลือกใช้สื่อที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๓.เป็นการพัฒนาศักยภาพของเยาวชนที่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดในการที่จะผลิตสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อนาไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่อไป ๔.เยาวชนได้รับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสามารถน้อมนาหลักธรรมของศาสนาและค่านิยมที่ พึงประสงค์ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์ สุจริต ๓) พอเพียง เสียสละ มีน้าใจ ๔) ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ๕) รู้หน้าที่ มีวินัย ภูมิใจในความเป็นไทยมาปรับใช้ ในชีวิตประจาวัน เกิด ค่านิยม จิตสานึกความเป็นไทย ส่งเสริมให้เกิดชุมชนและสังคมที่สันติสุขต่อไป ๕.เยาวชนได้สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างคนในหมู่คณะและสังคมส่วนรวมในการ ช่วยกันรณรงค์ ปลุกจิตสานึก เตือนภัยเฝูาระวังทางวัฒนธรรม และมีภูมิคุ้มกันทางสังคมที่ดี สรุปผลการประเมินโครงการ จากการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินโครงการ ค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม และเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ซึ่งได้จัดค่ายฝึกอบรมเยาวชน ระหว่างวันที่


๓๐ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ อาคารสโมสรนายทหาร จังหวัดทหารบกร้อยเอ็ด เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสานึกการ เฝูาระวังทางวัฒนธรรม การแจ้งเตือนภัยในยุคออนไลน์ การเลือกใช้สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม และค่าที่นิยมที่พึงประสงค์ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์ สุจริต ๓) พอเพียง เสียสละ มีน้าใจ ๔) ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ๕) รู้หน้าที่ มีวินัย ภูมิใจในความเป็น ไทย สรุปดังนี้ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อให้ได้ข้อมูลทั่วไปของเยาวชนผู้เข้าร่วมอบรม ๒) เพื่อประเมินผลความรู้/ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรมของเยาวชนทั้งก่อนและหลังการอบรม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ผูป้ ระเมินได้สร้างเครือ่ งมือเป็นแบบประเมินโครงการฯ แบ่งเป็น ๓ ตอน ได้แก่ ตอนที่ ๑ ข้อมูล ทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ ระดับชั้นที่กาลังศึกษา ข้อมูลอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ /เครื่องมือสื่อสาร ที่ใช้ในชีวิต ประจา วันในการเข้าถึง สังคมดิจิตอล หรือ สังคมออนไลน์ และข้อมูลการใช้ชีวิตประจาวันอื่น ๆ นอกจาก เรียนหนังสือ ตอนที่ ๒ เป็นการสอบถามความคิดเห็นต่อการเข้าร่วมอบรมเพื่อประเมินผลความรู้/ประโยชน์ จากการเข้าร่วมอบรมของเยาวชน จานวน ๗ ข้อ และตอนที่ ๓ เป็นข้อเสนอแนะ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลจากเยาวชนผูเ้ ข้าร่วมอบรม ซึ่งเป็นนักเรียน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาจากโรงเรียน ซึ่งเป็นเครือข่ายศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม จานวน ๓ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนสตรี ศึกษา โรงเรียนขัติยะวงษา โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคมและนักเรียนเครือข่ายศาสนาต่างๆ รวม ๘๖ คน วิธีการเก็บรวมรวมข้อมูล โดยแจกแบบประเมินระหว่างฝึกอบรมหลังจากเยาวชนได้ฟังการบรรยาย/เสวนาให้ความรู้ใน หัวข้อต่างๆ แล้ว โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย การวิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผลเพือ่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS สาหรับตอนที่ ๑ และตอนที่ ๒ โดย ตอนที่ ๑ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าความถี่และร้อยละ ตอนที่ ๒ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ย (X) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยกาหนดช่วงในการแปลผลค่าเฉลี่ย ๓ ช่วง คือ ๑.๐๐ – ๑.๕๙ มีระดับความ คิดเห็นน้อย ๒.๐๐ – ๒.๕๙ มีระดับความคิดเห็นปานกลาง ๒.๖๐ – ๓.๐๐ มีระดับความคิดเห็นมากส่วนตอน ที่ ๓ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการวิเคราะห์ข้อมูล ได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างของเยาวชนที่เข้าร่วมอบรม จานวน ๘๖ คน แบ่งเป็น ๓ ตอน ตามลาดับต่อไปนี้


๑.ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ตารางที่ ๑ แสดงจานวน และร้อยละ ของข้อมูลทั่วไปของเยาวชนที่เข้าร่วมอบรมโครงการค่ายเยาวชน สมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ข้อมูลทั่วไป ๑.เพศ ๒.อายุ ๓.กาลังศึกษา อยู่ระดับชั้น ๔.มีอุปกรณ์ อิเล็คทรอนิคส์/ เครื่องมือสื่อสาร ๕.คอมพิวเตอร์ ๕.๑ โน๊ตบุ๊ค

๕.๒ เครื่อง คอมพิวเตอร์ (PC)

๕.๓ อื่นๆ

จาแนกเป็น

จานวน (คน) ๓๐ ๕๖ ๘ ๗๘ ๑๒ ๗๔ ๖๙ ๑๒ ๕

ร้อยละ ๓๔.๙๐ ๖๕.๑๐ ๙.๓๐ ๙๐.๗๐ ๑๔.๐๐ ๘๖.๐๐ ๘๐.๒๐ ๑๔.๐๐ ๕.๕๘

มีโน๊ตบุ๊ค ๑ เครื่อง มีโน๊ตบุ๊ค มากกว่า ๑ เครื่อง ไม่ม/ี ไม่ตอบ

๓๓ ๑ ๕๒

๓๘.๔๐ ๑.๒๐ ๖๐.๕๐

มีคอมพิวเตอร์ (PC) ๑ เครื่อง มีคอมพิวเตอร์ (PC) มากกว่า ๑ เครื่อง ไม่ม/ี ไม่ตอบ มีอุปกรณ์อื่นๆ ไม่ม/ี ไม่ตอบ

๒๗ ๐ ๕๙ ๕ ๘๑

๓๑.๔๐ ๐ ๖๘.๖๐ ๕.๘๐ ๙๔.๒๐

ชาย หญิง น้อยกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๑๘ ปี มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โทรศัพท์มือถือ ๑ เครื่อง โทรศัพท์มือถือ มากกว่า ๑ เครื่อง ไม่ม/ี ไม่ตอบ

ตารางที่ ๑ แสดงจานวน และร้อยละ ของข้อมูลทั่วไปของเยาวชนที่เข้าร่วมอบรมโครงการค่ายเยาวชน สมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีฯ ๒๕๕๖ (ต่อ) ข้อมูลทั่วไป ๖.ใน ๑ วัน มี เวลา เล่นเกม/ อินเทอร์เน็ต/ ออนไลน์/อื่นๆ

จาแนกเป็น ๑ - ๒ ชั่วโมง ๓ - ๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ ๕ ชั่วโมง ขึ้นไป ไม่เล่น/ไม่ตอบ

จานวน (คน) ๕๓ ๑๙ ๘ ๖

ร้อยละ ๖๑.๖๐ ๒๒.๑๐ ๙.๓๐ ๗.๐๐


๗.ใน ๑ สัปดาห์ มีกิจกรรมเล่น กีฬา/นันทนาการ/ บันเทิง ๘.ใน ๑ สัปดาห์ มีกิจกรรมทัศน ศึกษา/ท่องเที่ยว ๙.อื่นๆ

๑ - ๓ ครั้ง ๔ – ๖ ครั้ง ตั้งแต่ ๗ ครั้ง ขึ้นไป ไม่ม/ี ไม่ตอบ ๑ – ๓ ครั้ง ตั้งแต่ ๔ ครั้ง ขึ้นไป ไม่ม/ี ไม่ตอบ อ่านหนังสือ/ทาการบ้าน/เรียนพิเศษ เข้าวัด ทางานอดิเรก ไม่มีกิจกรรม/ไม่ตอบ

๕๗ ๑๗ ๑๑ ๑ ๖๗ ๔ ๑๕ ๑๔ ๑ ๑ ๗๐

๖๖.๓๐ ๑๙.๘๐ ๑๒.๘๐ ๑.๒๐ ๗๗.๙๐ ๔.๗๐ ๑๗.๔๐ ๑๖.๒๐ ๑.๒๐ ๑.๒๐ ๘๑.๔๐

จากตารางที่ ๑ พบว่าเยาวชนที่เข้าร่วมอบรม ส่วนใหญ่เป็นหญิงมากกว่าชาย จานวน ๕๖ คน (ร้อยละ ๖๕.๑๐) มีอายุระหว่าง ๑๕ – ๑๘ ปี จานวน ๗๘ คน (ร้อยละ ๙๐.๗๐) กาลังศึกษาอยู่ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๗๔ คน (ร้อยละ ๘๖.๐) มีโทรศัพท์มือถือ ๑ เครื่อง จานวน ๖๙ คน (ร้อยละ ๘๐.๒๐) ใน ๑ วัน มี เวลาเล่นเกม/อินเทอร์เน็ต/ออนไลน์/อื่นๆ ๑ - ๒ ชั่วโมง จานวน ๕๓ คน (ร้อยละ ๖๑.๖๐) ใน ๑ สัปดาห์ มีกิจกรรมเล่นกีฬา/นันทนาการ/บันเทิง ๑ - ๓ ครั้ง จานวน ๕๗ คน (ร้อยละ๖๖.๓๐) ใน ๑ สัปดาห์ มีกิจกรรมทัศนศึกษา/ท่องเที่ยว ๑ – ๓ ครั้ง จานวน ๖๗ คน (ร้อยละ ๗๗.๙๐) และมีกิจกรรม อื่นๆ เช่น อ่านหนังสือ/ทาการบ้าน/เรียนพิเศษ จานวน ๑๔ คน (ร้อยละ ๑๖.๒๐) ๒.ตอนที่ ๒ ความคิดเห็นต่อการเข้าร่วมอบรมตามโครงการฯ ตารางที่ ๒ แสดงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของข้อมูลความคิดเห็นของ เยาวชนที่เข้าร่วมอบรมโครงการค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้าง ค่านิยมที่ พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ก่อนการอบรม คาถาม ๑.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับการ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ๒.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับการ สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ๓.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์

มาก ๑๕ ๑๗.๔๐ ๑๒ ๑๔.๐ ๙ ๑๐.๕๐

ปาน กลาง ๖๑ ๗๐.๙๐ ๖๑ ๗๐.๙๐ ๖๑ ๗๐.๙๐

น้อย ๑๐ ๑๑.๗๐ ๑๓ ๑๕.๑๐ ๑๖ ๑๘.๖๐

ค่าเฉลี่ย (X) ๒.๐๕

S.D.

แปลผล

.๕๓

ปานกลาง

๑.๙๘

.๕๔

ปานกลาง

๑.๙๑

.๕๓

ปานกลาง


๔.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับค่านิยม ที่พึงประสงค์ ๕ ประการ ๕.ท่านสามารถนาความรู้ไป เผยแพร่ให้กับเพื่อนๆ ต่อไปได้ ๖.เนื้อหาในการอบรมมีความ เหมาะสมกับท่าน ๗.ท่านมีความรู้ความเข้าใจ ในการฝึกอบรมครั้งนี้

๑๗ ๑๙.๘๐ ๑๖ ๑๘.๖๐ ๒๖ ๓๐.๒๐ ๑๗ ๑๙.๘๐

๕๕ ๖๔.๐ ๕๕ ๖๔.๐ ๕๓ ๖๑.๖๐ ๖๐ ๖๙.๘๐

๑๔ ๑๖.๓๐ ๑๕ ๐๗.๔๐ ๗ ๘.๑๐ ๙ ๑๐.๕๐

๒.๐๓

.๖๐

ปานกลาง

๒.๐๑

.๖๐

ปานกลาง

๒.๒๒

.๕๘

ปานกลาง

๒.๐๙

.๕๔

ปานกลาง

จากตารางที่ ๒ พบว่าเยาวชนที่เข้าร่วมอบรมโครงการ ค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ มีความคิดเห็น/ความรู้ต่อเนื้อหา/ หลักสูตร ก่อนการอบรม ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเห็นว่าเนื้อหาในการอบรมมีความเหมาะสม มากที่สุด ค่าเฉลี่ย (X) = ๒.๒๒ และมีความรู้เกี่ยวกับสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย (X) = ๑.๙๑ ตารางที่ ๓ แสดงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของข้อมูลความคิดเห็นของ เยาวชนที่เข้าร่วมอบรมโครงการค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้าง ค่านิยมที่ พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ หลังการอบรม คาถาม

มาก

๑.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับการ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ๒.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับการ สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ๓.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๔.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับค่านิยม ที่พึงประสงค์ ๕ ประการ ๕.ท่านสามารถนาความรู้ไป เผยแพร่ให้กับเพื่อนๆ ต่อไปได้ ๖.เนื้อหาในการอบรมมีความ เหมาะสมกับท่าน

๖๔ ๗๔.๔๐ ๖๓ ๗๓.๓๐ ๗๐ ๘๑.๔๐ ๖๔ ๗๔.๔๐ ๕๕ ๖๔.๐ ๖๗ ๗๗.๙๐

ปาน กลาง ๒๒ ๒๕.๖๐ ๒๓ ๒๖.๗๐ ๑๖ ๑๘.๖๐ ๒๒ ๒๕.๖๐ ๓๑ ๓๖.๐ ๑๙ ๒๒.๑๐

ค่าเฉลี่ย (X) ๒.๗๔

๒.๗๓

.๔๔

มาก

๒.๘๑

.๓๙

มาก

๒.๗๔

.๔๓

มาก

๒.๖๓

.๔๘

มาก

๒.๗๗

.๔๑

มาก

น้อย

S.D.

แปลผล

.๔๓

มาก


๗.ท่านมีความรู้ความเข้าใจ ในการฝึกอบรมครั้งนี้

๖๖ ๗๖.๗๐

๒๐ ๒๓.๓๐

๒.๗๖

.๔๒

มาก

จากตารางที่ ๓ พบว่าเยาวชนที่เข้าร่วมอบรมโครงการ ค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ มีความคิดเห็น/ความรู้ต่อเนื้อหา/ หลักสูตร หลังการอบรม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเห็นว่ามีความรู้เกี่ยวกับสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย (X) = ๒.๘๑ และมีความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย (X) = ๒.๗๓ ๓.ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ เยาวชนทีเ่ ข้าร่วมอบรมโครงการค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้าง ค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ได้ให้ข้อเสนอแนะต่อการดาเนินงาน ดังนี้ ๑.ต้องการให้จัดฝึกอบรมต่อไปอีก โดยเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ดีมีประโยชน์และควรมีกิจกรรมทัศน ศึกษาด้วย ๒.ควรมีกิจกรรมนันทนาการมากขึ้น ๓.ควรเพิ่มสื่อประกอบการบรรยายให้มากขึ้น อภิปรายผล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ ๑ แสดงให้เห็นว่าเยาวชนส่วนใหญ่มีอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์/ เครื่องมือสื่อสาร/คอมพิวเตอร์/โน๊ตบุ๊ค ใช้ในชีวิตประจาวันซึ่งสามารถเข้าถึงข้อมูลในทางดีและทางไม่ดีได้ ตลอดเวลา จะเห็นได้จากเยาวชนกลุ่มตัวอย่างมีโทรศัพท์มือถือเกือบทุกคนและมีเวลาเล่นเกม/อินเทอร์เน็ต/ ออนไลน์ วันละ ๑ – ๒ ชั่วโมง แต่มีกิจกรรมเข้าวัด/ทางานอดิเรกน้อยมาก จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ ๒ แสดงให้เห็นว่าหลังจากที่เยาวชนได้เข้าร่วมอบรมตาม โครงการค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ แล้ว มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาในการอบรมมากขึ้น จึงทาให้การดาเนินงานครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ส่วนข้อมูลตอนที่ ๓ เป็นข้อเสนอแนะนั้น ก็สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการ เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ดีที่ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จัดให้เป็นประโยชน์ต่อเยาวชนมากที่สุด และข้อเสนอแนะอีกส่วนหนึ่งก็ เป็นสิ่งที่ต้องนาไปปรับปรุงแก้ไขในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมเช่นนี้อีกให้ดีและเหมาะสมกับเยาวชนมากขึ้น ประโยชน์และข้อเสนอแนะ จากการประเมินผลโครงการฯ ในครั้งนี้ ทาให้ทราบว่าการดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ ได้แก่ ๑. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลุกจิตสานึกในการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม แจ้งเตือนภัยชีวิต ใน สังคมปัจจุบัน และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้แก่เยาวชนในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ๒. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่เยาวชนได้รู้เท่าทันและเลือกใช้สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์


๓. การส่งเสริมสนับสนุนให้เยาวชนได้ผลิตและร่วมคัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่น จังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อนาไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่อไป ๔. ทาให้เยาวชนได้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมน้อมนาหลักธรรมของศาสนาและค่านิยมที่พึง ประสงค์ ๕ ประการ มาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน มีค่านิยม จิตสานึกความเป็นไทย ส่งเสริมให้เกิดชุมชนและ สังคมที่สันติสุขต่อไป สาหรับข้อเสนอแนะในการดาเนินงานในครัง้ ต่อไป ผู้รบั ผิดชอบโครงการ/คณะทางาน ควรจัด กิจกรรมนันทนาการและมีสื่อต่างๆ ให้เยาวชนได้ร่วมกิจกรรมหรือชมมากขึ้น ๒.๒ ผลการตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้านเกม/อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอดยาเสพ ติด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดาเนินตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้านเกม/ อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอดยาเสพติด ในพื้นที่จังหวัด โดยดาเนินการ ๒ โครงการ ดังนี้ ๒.๒.๑ โครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของสถาน ประกอบกิจการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการ ปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ – เดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถาน ประกอบกิจการร้านเกม มีปูายแจ้งเตือนถึงแนวปฏิบัติตามกฎหมายเป็นแนวเดียวกันทุกแห่ง เป็นการอานวย ความสะดวกและประชาสัมพันธ์เผยแพร่สาระสาคัญตลอดจนขั้นตอน วิธีการขอรับบริการตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ส่งเสริมความเป็นระเบียบเรียบร้อยและลดจานวน ผู้กระทาผิดฝุาฝืนข้อกฎหมายลง การประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของ สถานประกอบกิจการรวมจานวน ๑,๐๐๐ แผ่น ซึ่งตามเปูาหมายให้ครบทั้ง ๒๐ อาเภอๆละ ๒๐ ชุด ปัญหา อุปสรรค ๑. ผู้ประกอบกิจการร้านเกมอินเทอร์เน็ตไม่ให้ความสาคัญที่จะนาปูายประชาสัมพันธ์ไปปิด ไว้ในสถานประกอบกิจการของตนเอง ๒. ผู้ประกอบกิจการร้านเกมอินเทอร์เน็ตไม่ได้ศึกษาสาระสาคัญ ขั้นตอน วิธีการต่างๆ จาก แผ่นโปสเตอร์เงื่อนไขการประกอบกิจการร้านเกมตามกฎกระทรวงและพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ ๒.๒.๒ โครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดี ทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖


สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ และปูองกันแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ปฏิบัติตามเงื่อนไข มาตรการ ประกาศ กฎกระทรวง ตลอดจน กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด เป็นการส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการ ร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและ ประชาชน ตลอดจนเป็นการสร้างจิตสานึกร่วมกันในการรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ เป็นการปูอง ปรามมิให้สถานประกอบกิจการเป็นแหล่งหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม ความเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรม ตลอดจนเป็นแหล่งมั่วสุมอบายมุขและยาเสพติดอื่นๆ การตรวจติดตามสถานประกอบการร้านวีดิทัศน์ จานวน ๘๗๕ แห่ง โดยสุ่มตรวจจาก ๒๐ อาเภอๆละ ๑๐ แห่ง และตรวจติดตามโครงการจัดระเบียบสังคม ของจังหวัดเดือนละอย่างน้อย ๒ ครั้งในพื้นที่อาเภอเมืองร้อยเอ็ด ผลการดาเนินงาน ในการออกตรวจติดตามสถานประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และ วีดิทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ ของจังหวัดร้อยเอ็ดได้รับเกียรติจากท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายธัชชัย สี สุวรรณ เป็นประธานในการออกตรวจสถานประกอบกิจการ วัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด นางพรพิมล คงตระกูล พนักงานเจ้าหน้าที่จากที่ทาการปกครองอาเภอเมืองร้อยเอ็ด และพนักงานเจ้าหน้าที่จาก สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมตรวจสถานประกอบการโดยตรวจแบบบูรณาการ ในการตรวจสถาน ประกอบการได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบกิจการเป็นอย่างดี ได้ชี้แจงในเรื่องการเปิด – ปิด การตรวจ บัตรประจาตัวประชาชนเพื่อตรวจดูในเรื่องอายุผู้เข้าใช้บริการ และได้กาชับในเรื่องให้ปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และเงื่อนไขตามที่ กฎกระทรวงได้กาหนดไว้อย่างเคร่งครัดตลอดจนการดูแลเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติด และเฝูา ระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการและในชุมชนร่วมกัน ๒.๓ ผลการขับเคลื่อนเครือข่ายศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษา สถานการณ์ปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด อยู่ในพื้นที่ตอนในเป็นเพียงเส้นทางผ่านของการค้ายาเสพติด ไม่ใช่จุดพักยา สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดโดยทั่วไปอยู่ในระดับเบาบาง สามารถควบคุมได้ชนิดของยาเสพติด ที่มีการแพร่หลายในพื้นที่มาที่สุดเป็นยาบ้า สารระเหยและกัญชา นับแต่จังหวัดร้อยเอ็ดได้ประกาศสงครามกับ ยาเสพติดและดาเนินการอย่างเข้มข้นจนสามารถประกาศชัยชนะต่อยาเสพติดเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๖


พบว่า สถานการณ์และแนวโน้มปัญหายาเสพติดลดระดับความรุนแรงลงอย่างมาก ภายหลังได้ดาเนินการ ตามปฏิบัติการต่างๆ ที่รัฐบาลกาหนดขึ้นเป็นระยะตลอดมา จากผลของการดาเนินงานปูองกันและแก้ไข ปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง สามารถลดระดับความรุนแรงของปัญหาจนอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหากระทบ ต่อการดารงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชนได้ อันเป็นผลมาจากการดาเนินการปูองกันและแก้ไขปัญหาในรูป ของภาคีร่วมทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งองค์กรภาคประชาชน การดาเนินการที่ผ่านมาถึงแม้ว่าจะสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้ จนไม่ ส่งผลกระทบต่อสังคมในส่วนร่วมแต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับ สถานการณ์การค้ายาเสพติดของประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผล ให้การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จาเป็นที่จะต้องมีการดาเนินการปูองกันและ ปราบปรามอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้ปัญหายาเสพติดขยายตัวเพิ่มขึ้นมาอีก ดังนัน้ ศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษาวัดโพธิการาม ตาบลโนนสูง อาเภอ ปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ให้ความสาคัญในการเฝูาระวังสถานการณ์ปัญหายาเสพติด เพื่อแก้ไขปัญหายา เสพติดเป็นอย่างยิ่ง ถือว่าการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นภารกิจหลักที่ทุกคนต้องช่วยกันดูแลแก้ไข เป็นปัญหา ความมั่นคงและปัญหาของสังคมที่ต้องแก้ไขทุกด้านอย่างครบวงจรปัญหา ดาเนินงานอย่างใกล้ชิด จริงจัง เพื่อให้เกิดการบูรณาการ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ที่ผ่านมามีการบริหารจัดการในการแก้ไขปัญหายาเสพ ติดที่สาคัญๆ ดังนี้ ๑. จัดกิจกรรมเฝูาระวังและสอดส่องพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน ๒. จัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ๓. การจัดกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดโดยการจัดนิทรรศการ ๒.๔ ผลการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดทาจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ปูองกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดในมิติวัฒนธรรม โดยการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ คือ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบ กิจการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ขึ้นในวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมร่ม อินทนินปาร์ค อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องตลอดทั้งวิธีปฏิบัติและขั้นตอนต่างๆ และเพื่อให้


ผู้ประกอบการได้รับทราบแนวทางการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการเป็นการสร้าง ภูมิคุ้มกันให้ผู้ประกอบการ โดยมีเปูาหมายประกอบด้วยผู้ประกอบการตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิ ทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๐ คน พนักงานเจ้าหน้าที่จากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น จานวน ๓๐ คน และพนักงานเจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๕ คน รวม ทั้งสิ้น จานวน ๙๕ คน ผลการดาเนินงาน ได้รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายสมศักดิ์ ขาทวีพรหม เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จาก สานักงานอัยการจังหวัดร้อยเอ็ด จากสถานีตารวจภูธรจังหวัดร้อยเอ็ด และจาก ปปป.ส. ภาค ๔ จังหวัด ขอนแก่น จากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดียิ่งมี ผู้เข้าร่วมประชุมตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ และได้รับเกียรติจากหัวหน้าส่วนในจังหวัดร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน ประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม หลายภาคส่วน จากการประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าวผู้เข้าประชุมมี ความรู้ เข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ตลอดทั้งการเฝูาระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและ สถานประกอบกิจการ ๒.๕ ผลการสร้างหรือจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม และการพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพให้กับ เครือข่ายเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ดาเนินการจัดตั้งศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม และการพัฒนาองค์ ความรู้และศักยภาพให้กับเครือข่ายเฝูาระวังทางวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานเฝูาระวังทางวัฒนธรรม ให้กับสถานศึกษาจานวน ๔ แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการค่ายเยาวชน สมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ผลการดาเนินงาน จังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดตั้งศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จานวน ๔ แห่ง ประกอบด้วย ๑. โรงเรียนสตรีศึกษา ๒. โรงเรียนขัติยะวงษา ๓. โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม ๔. โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย


บทที่ ๓ ผลการดาเนินงานพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๑. รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการดาเนินงาน สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ในฐานะฝุายเลขานุการคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์จังหวัด ได้จัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด จานวน ๒ ครั้ง ดังนี้ ๑.๑ ประชุมครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น ๒ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีสาระ การประชุมพอสรุปได้ ดังนี้ -รับทราบคาสั่งคณะกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์แห่งชาติ ที่ ๑/๒๕๕๖ เรื่องแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการ ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๖ โดยนายปลอดประสพ สุรัสวดี รอง นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์แห่งชาติ -รับทราบการจัดสรรงบประมาณในการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ได้รับจัดสรรจากสานักงานปลัดกระทรวง วัฒนธรรม -พิจารณาอนุมัติแผนปฏิบัติการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม และแผนปฏิบัติ การพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด ประกอบด้วยการพิจารณา การจัดกิจกรรมหลัก ดังนี้ ๑. การสารวจและพัฒนาทะเบียนข้อมูลสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ๒. โครงการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่น ๓. การผลิต VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐาน ๑.๒ ประชุมครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น ๒ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีสาระ การประชุมพอสรุปได้ ดังนี้ -รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ -รับทราบรายงานผลการดาเนินงานขับเคลื่อนการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด ตาม แผนปฏิบัติการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม และแผนปฏิบัติการพัฒนาสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์จังหวัด ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ซึ่งมีแผนงานโครงการตามแผนปฏิบัติการดังกล่าว จานวน ๗ แผนงานโครงการ ดังนี้ ๑) การจัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด จานวน ๒ ครั้ง ๒) โครงการผลิต VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐาน


๓) โครงการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่น ๔) โครงการสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม ๕) โครงการค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่าที่นิยมที่พึงประสงค์ จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ๖) โครงการปูองกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม ๗) การสารวจและพัฒนาทะเบียนข้อมูลสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ๒. ผลการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ดาเนินการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ดีเด่นตามมติคณะอนุกรรมการสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด โดยดาเนินการประกวด/คัดเลือก เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ผลการประกวด/คัดเลือก มีดังนี้


ประกาศสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด เรื่อง ผลการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖

............................................ ด้วย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ระหว่างวันที่ ๓๐ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ อาคารสโมสรนายทหาร จังหวัดทหารบกร้อยเอ็ด โดยมีกิจกรรมในเรื่องสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ เพื่อให้การพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ของจังหวัดร้อยเอ็ดเป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ดจึงได้จัดประกวดสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ขึ้นในวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด บัดนี้ การดาเนินการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ได้เสร็จ สิ้นแล้ว ผลการประกวด /คัดเลือกเสื่อ มีดังนี้ รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม (ภาพที่ ๑) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ ๑ ได้แก่ โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย (ภาพที่ ๑) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ ๒ ได้แก่ โรงเรียนขัติยะวงษา (ภาพที่ ๑) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ ๓ ได้แก่ โรงเรียนสตรีศึกษา (ภาพที่ ๒) จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่

พรพิมล คงตระกูล (นางพรพิมล คงตระกูล) วัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด

๒๐ เดือนกันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๖


๓. การผลิต VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดาเนินโครงการผลิต

VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้าง

ค่านิยมพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เด็ก เยาวชน และประชาชนตระหนัก และเห็นความสาคัญของ การประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมพื้นฐาน ๕ ประการและ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ค่านิยมพื้นฐาน ๕ ประการ ให้เป็นที่รู้จักของเด็ก เยาวชน และประชาชน อันจะเป็น รากฐานในการพัฒนาประเทศ โดยผลิต VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐานแจกจ่ายให้สถานศึกษา และผู้สนใจทั่วไป จานวน ๑๐๐ แผ่น เป็นสารคดีสั้น จานวน ๒ เรื่อง คือ สารคดีเรื่อง พ่อหลวง และสารคดี เรื่องเอกลักษณ์ไทย ดังรายละเอียดบทบรรยายประกอบ VTR ดังนี้

พ่อหลวง “ในหลวง” หรือ พ่อหลวงของเรา เป็นชื่อที่ประชาชนชาวไทย เรียกพระนาม พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเจ้าอยู่หัว ที่ชาวไทยเคารพนับถือมาโดยตลอด เพราะพระองค์ท่านทรง งานเพื่อเราชาวไทยได้ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเหน็ดเหนื่อยพระวรกายสักเพียงใด ก็ไม่เคยที่จะหยุดพระราชกรณียกิจ ด้านต่างๆ เลย ไม่ว่าสถานที่แห่งนั้นจะอยู่ห่างไกลและทุรกันดารสักเพียงใด พระองค์ก็เสด็จพระราชดาเนินไป ถึง เพื่อบาบัดทุกข์บารุงสุขให้แก่อาณาประชาราษฎร์ให้ทั่วถึง ตลอดระยะเวลากว่า ๖๐ ปีที่ผ่านมา พระองค์ ทรงตรากตราเพื่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยทัดเทียมกับประเทศอื่นๆ พ่อหลวง จึงเป็นที่รักเคารพ และอยู่ในดวงใจของปวงชนชาวไทยโดยตลอดมา

เอกลักษณ์ไทย ประเทศไทย เป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ มีความเจริญรุ่งเรือง ด้านศิลปะ และวัฒนธรรมมาเป็นเวลายาวนาน เอกลักษณ์ไทย ที่บ่งบอกความเป็นชาติไทยได้อย่างชัดเจน ได้แก่ ภาษาไทย คือ ภาษาพูดที่ใช้สื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ ถึงแม้จะมีสาเนียงที่แตกต่างกันไปบ้างในแต่ละ พื้นที่ และการใช้ศัพท์กับบุคคลในระดับต่างๆ และอักษรไทยที่ใช้ในภาษาเขียน อันมีเอกลักษณ์เฉพาะของภาษา


การแต่งกาย ถึงแม้ว่าในปัจจุบันการแต่งกายของชาวไทยจะเป็นสากลมากขึ้น แต่ก็ยังคงเอกลักษณ์ เครื่องแต่งกาย ของไทยไว้ในโอกาสสาคัญต่าง ๆ เช่น ในงานพระราชพิธี งานที่เป็นพิธีการ หรือในโอกาสพบปะ สังสรรค์ระหว่างผู้นา พิธีแต่งงาน เทศกาลและงานประเพณีที่จัดขึ้น หรือในกิจกรรมต่าง ๆ การแสดงความเคารพด้วยการไหว้และกราบ ซึ่งแบ่งแยกออกได้อย่างชัดเจน เช่น กราบพระพุทธรูป กราบพระสงฆ์ กราบไหว้บุคคลในฐานะ หรือวัยต่างๆ ตลอดจนการวางตนด้วยความสุภาพอ่อนน้อมถ่อมตน การแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ความมีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รวมไปถึงความ เกรงใจ สถาปัตยกรรม เห็นได้จากชิ้นงานที่ปรากฏในศาสนสถาน โบสถ์วิหาร ปราสาทราชวัง และอาคารบ้าน ทรงไทย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ประเทศไทยมีการติดต่อกับหลายเชื้อชาติ ทาให้มีการรับวัฒนธรรมของ ชาติ ต่าง ๆ เข้ามา แต่คนไทยสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม และปฏิบัติสืบต่อกันมาจน กลายเป็น ส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของไทย ดนตรีไทย กีฬาไทย และการละเล่นพื้นเมืองต่างๆ สิ่งที่กล่าวมานั้น เป็นเพียงบางส่วนที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ที่อยู่คู่สังคมไทยมาชั่ว กาลนาน


บทที่ ๕ ผลการดาเนินงานขับเคลื่อนมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม ................... ๕.๑ ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่นาร่อง ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตและเครื่องคอมพิวเตอร์มีการใช้งานกันอย่างกว้างขวาง ดังที่เห็นได้จากที่มีการใช้ งานในที่ทางาน สถานศึกษา และบ้านพัก ผู้ปกครองหลายครัวเรือนหาเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมซื้อการบริการ อินเทอร์เน็ต มาติดตั้งใช้งาน เพราะต้องการให้ลูกหลานได้เรียนรู้ แต่พบว่าบางครั้งการใช้คอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ตที่ขาดการควบคุมดูแลอย่างเหมาะสมกลับเป็นช่องทางให้บุตรหลานเข้าถึง ข่าวสารและพฤติกรรม ที่ไม่เหมาะสมนาความเสื่อมเสียให้เกิดขึ้นแก่ตัวเด็กเอง ครอบครัว และสังคม การเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็น กิจกรรมที่เด็กและเยาวชนนิยมมากขึ้น เกมที่เด็กและเยาวชนนิยมเล่นมีหลายรูปแบบ เช่น ตู้เกมหยอดเหรียญ วิดีโอเกม และเกมคอมพิวเตอร์ทั้งแบบออนไลน์และไม่ออนไลน์ เป็นต้น และทาให้เกิดปัญหาในเด็กและวัยรุ่น มากมาย เช่น ไม่สนใจการเรียน ใช้เวลาและเงินมากกับการเล่นเกม เด็กเหล่านี้ติดเกมทั้งที่บ้านและในโรงเรียน ยากต่อการเปลี่ยนแปลง นับเป็นปัญหาที่ควรแก้ไขและปูองกันตั้งแต่ต้น สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จึงได้จัดโครงการขับเคลื่อนมาตรการปูองกันและแก้ไขปัญหา เด็กติดเกม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เพื่อให้เกิดมาตรการ และกลไกการบูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกัน ของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่มีภารกิจความรับผิดชอบในการปูองกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้เกิด ประสิทธิผลต่อไป และได้คัดเลือกพื้นที่นาร่องในการดาเนินงาน ที่ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัด ร้อยเอ็ด เนื่องจากเป็นชุมชนที่มีพื้นที่แบบเมืองกึ่งชนบทมี ความหนาแน่น ของสถานประกอบการ และเป็น ตาบลที่พื้นที่กว้างใหญ่ สภาพทั่วไปของตาบล พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง ดินเป็นดินทราย มีเนื้อที่ทั้งหมด ๙.๙ ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ ๑๒,๔๓๐ ไร่ ประกอบไปด้วย ๑๔ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ ๑ บ้านสนามม้า หมู่ ๒ บ้าน เหล่าใหญ่ หมู่ ๓ บ้านอ้น หมู่ ๔ บ้านดงลาน หมู่ ๕ บ้านหนองจิก หมู่ ๖ บ้านโคกสูง หมู่ ๗ บ้านเหล่าสมบูรณ์ หมู่ ๘ บ้านเกษตรสาราญ หมู่ ๙ บ้านหนองจิกน้อย หมู่ ๑๐ บ้านสันติสุข หมู่ ๑๑ บ้านตาแย หมู่ ๑๒ บ้าน หนองจิก หมู่ ๑๓ บ้านโคกสูง และหมู่ ๑๔ บ้านดงลาน ประชากรของตาบล มีจานวน ๗,๗๕๕ คน และจานวนหลังคาเรือน ๒,๑๘๑ หลังคาเรือน ส่วน ใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพของประชาชน มีอาชีพหลัก คือ ทานา อาชีพเสริม คือ ทาสวน ทาหัตถกรรม สถานที่สาคัญของตาบล ได้แก่ ๑. มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ๒. ศูนย์การศึกษาและฟื้นฟูสมรรถภาพคนตาบอด ๓. สถานแรกรับเด็กและเยาวชน


๔. ตลาดกลางสินค้าเกษตร ๕. หน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ จานวน ๑ แห่ง ๕ สถานศึกษา จานวน ๔ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนหนองจิกโคกสูง โรงเรียนบ้านดงลาน(คุรุรัฐประชา สรรค์) โรงเรียนบ้านเหล่าใหญ่ และโรงเรียนพณิชยการพลาญชัยร้อยเอ็ด ๖. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บ้านหนองจิก ๗. สถานีบริการเชื้อเพลิง จานวน ๑ แห่ง ๘. ศาสนสถาน จานวน ๗ แห่ง ได้แก่ วัดโคกสูง วัดบ้านหนองจิก วัดธรรมวนาราม วัดบ้านดงลาน วัดบ้านเหล่าใหญ่ วัดศรีทองไพบูลย์วราราม(วัดเหล่าสมบูรณ์) วัดบ้านเหล่าเรือสามัคคีธรรม ๙. สานักงานการไฟฟูาฝุายผลิตแห่งประเทศไทย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้แต่งตั้งคณะทางานเพื่อขับเคลื่อนมาตรการปูองกันและแก้ไข ปัญหาเด็กติดเกมในพื้นที่ตาบลดงลาน และประสานหน่วยงาน สถานศึกษา ผู้นาชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ร่วมกันคัดเลือกสถานศึกษาในพื้นที่นาร่องและพื้นที่ใกล้เคียงพื้นที่นาร่อง จานวน ๔ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน บ้านดงลาน โรงเรียนบ้านหนองจิกโคกสูง โรงเรียนบ้านดงยางโคกพิลา และ โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม เพื่อเป็นกลุ่มตัวอย่างในการรวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูลเนื่องจากเยาวชนนักเรียนจากตาบลดงลานส่วนใหญ่จะไป ศึกษาตามสถานศึกษาดังกล่าว แล้วค่อยนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการจัดกิจกรรมประชุม ปรึกษาเพื่อหามาตรการปูองกันและแก้ไขปัญหาให้เป็นไปในแนวเดียวกัน โดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ วิธดี าเนินการ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คณะทางานได้สารวจข้อมูลโดยใช้เครื่องมือเป็นแบบสอบถามที่สานักเฝูาระวังทางวัฒนธรรมและ ประชาสัมพันธ์ กระทรวงวัฒนธรรม กาหนดให้ จานวน ๓ ชนิด ดังนี้ ๑.แบบสอบถามต้นทุนชีวิตของเยาวชนไทยทั่วไป สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี จานวน ๒๐๐ ชุด ๒.แบบสอบถามต้นทุนชีวิตของเยาวชนไทยทั่วไป สาหรับผู้ปกครอง จานวน ๒๐๐ ชุด ๓.แบบทดสอบเกี่ยวกับการติดเกมของเยาวชน สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี จานวน ๒๐๐ ชุด ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นเยาวชน อายุระหว่าง ๑๒-๒๕ ปี จานวน ๒๐๐ คน จากสถานศึกษาในพื้นที่นาร่อง ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และ/หรือใกล้เคียงพื้นที่นา ร่อง จานวน ๔ โรงเรียน ได้แก่ ๑) โรงเรียนบ้านดงลาน ๒) โรงเรียนบ้านหนองจิกโคกสูง ๓) โรงเรียนบ้านดง ยางโคกพิลา และ ๔) โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม และผู้ปกครองที่มีเยาวชนอาศัยอยู่ด้วย ในพื้นที่ตาบลดงลาน จานวน ๒๐๐ คน ในที่นี้ถือว่ากลุ่มตัวอย่างข้างต้นเป็นเยาวชนในตาบลดงลาน


การเก็บรวบรวมข้อมูล นาแบบสอบถามทีจ่ ะต้องใช้ในการดาเนินงานตามโครงการฯ ได้แก่ แบบสอบถามการติดเกม และแบบสอบถามต้นทุนชีวิตสาหรับเยาวชนไทยทั่วไปสาหรับกลุ่มเปูาหมาย จานวน ๒๐๐ ชุด ซึ่งกาหนดกลุ่ม ตัวอย่างแบบง่ายเป็นเด็กและเยาวชน อายุระหว่าง ๑๒-๒๕ ปี ในสถานศึกษาในพื้นที่นาร่อง ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และ/หรือใกล้เคียงพื้นที่นาร่อง จานวน ๔ โรงเรียน ได้แก่ ๑) โรงเรียน บ้านดงลาน ๒) โรงเรียนบ้านหนองจิกโคกสูง ๓) โรงเรียนบ้านดงยางโคกพิลา และ ๔) โรงเรียนพลาญชัย พิทยาคม ในห้วงระยะเวลาระหว่างเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ๒๕๕๖ การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล ๑.นาแบบสอบถามต้นทุนชีวิตของเยาวชนไทยทั่วไป และแบบสอบถามต้นทุนชีวิตของเยาวชน ไทยทั่วไป สาหรับผู้ปกครอง ที่ได้รับคืนมาประมวลผลเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS สาหรับตอนที่ ๑ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าความถี่และร้อยละ ตอนที่ ๒ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ย(  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยกาหนดช่วงในการแปลผลค่าเฉลี่ย เป็น ๔ ช่วง คือ ๑.๐๐ – ๑.๙๙ มี พฤติกรรมเป็นประจา ๒.๐๐ – ๒.๙๙ มีพฤติกรรมบ่อยครั้ง ๓.๐๐ – ๓.๕๐ มีพฤติกรรมบางครั้ง ๓.๕๑ ๔.๐๐ ไม่เคยมีพฤติกรรม ๒.นาแบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับเยาวชน ที่ได้รับคืนมาประมวลผลเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม SPSS สาหรับตอนที่ ๑ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าความถี่และร้อยละ ๓.นาแบบทดสอบการติดเกม ที่ได้รับคืนมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่และหา ค่าร้อย ละ ๕.๒ ผลการสารวจและประเมินสถานการณ์การติดเกมของเด็กและเยาวชนในพื้นที่นาร่อง จากการทดสอบเกีย่ วกับการติดเกมของเยาวชน สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี ในพื้นที่ตาบลดง ลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด (ได้รับแบบสอบถามคืนมา จานวน ๑๙๒ ชุด) ขอเสนอผลการสารวจ ข้อมูลฯ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ๑) เพศ ๒) อายุ ๓) ระดับชั้นเรียน ๔) จานวนชั่วโมงรวมทั้งหมดใน ๑ วัน ที่เยาวชนใช้เล่นเกมในช่วงเวลาต่างๆ ๕) ประเภทของเกมที่ชอบเล่น ๓ อันดับแรก ส่วนที่ ๒ แบบทดสอบการติดเกม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้


ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ๑) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๑๙๒ คน - ชาย จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๖๐ - หญิง จานวน ๖๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๔๐ ๒) อายุ - ๑ - ๑๕ ปี จานวน ๑๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๓๐ - ๑๖ – ๑๙ ปี จานวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๘๐ - ๒๐ – ๒๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๓) ระดับชั้นเรียน - ประถมศึกษา จานวน ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ - มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๑๐๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๒๐ - มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๘๐ ๔) จานวนชั่วโมงรวมทั้งหมดใน ๑ วัน ที่เยาวชนใช้เล่นเกมในช่วงเวลา - วันจันทร์ – วันศุกร์ ในช่วงเปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๑๐๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๗๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๐๙ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๑๐ - วันจันทร์ – วันศุกร์ ในช่วงปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๙๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๓๐ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๙๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ - วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในช่วงเปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๖๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๔๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๑๐ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๕๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๑๐ - วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในช่วงปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๐ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๖๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๓๐


อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖๐ ๕) ประเภทของเกมที่ชอบเล่น ๓ อันดับแรก เกมยิง (Shooting) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ ไม่เลือก จานวน ๑๐๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๗๐ เกมต่อสู้ (Fighting) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก จานวน ๑๓๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๘๐ - เกมผจญภัย (Adventure) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๐ ไม่เลือก จานวน ๑๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๙๐ - เกมจาลอง (Simulation) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๐๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๐ ไม่เลือก จานวน ๑๘๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๘๐ เกม RPG ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๑๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๑๐ ไม่เลือก จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๒๐ - เกมออนไลน์ (MMORPG) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก จานวน ๑๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๙๐


- เกมวางแผน (RTS) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ ไม่เลือก เกมปริศนา (Puzzle) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ ไม่เลือก - เกมกีฬา (Sport) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ ไม่เลือก - เกม Facebook ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ ไม่เลือก เกมรถแข่ง (Racing) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ ไม่เลือก - เกมเต้น (Dance) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ ไม่เลือก

จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๐ จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๗๐ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ จานวน ๑๖๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๔๐ จานวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๐ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ จานวน ๑๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๒๐ จานวน ๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๕๐ จานวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๙๐ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ จานวน ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๘.๒๐ จานวน ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๓๐ จานวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๒๐ จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๐ จานวน ๙๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๐๐ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ จานวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๙๐ จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๐ จานวน ๑๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๓๐ จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๖๐ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ จานวน ๑๖๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๔๐

จากข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นชายมากกว่าหญิง กาลังศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น มีเวลาในการเล่นเกม/ ๑ วัน ในวันจันทร์ – วันศุกร์ ในห้วงเปิด/ปิดเทอม จานวน ๑ –


๒ ชั่วโมง วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในห้วงเปิดเทอม จานวน ๑ – ๒ ชั่วโมง ส่วนวันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในห้วงปิด เทอม จานวน ๓ – ๔ ชั่วโมง ประเภทของเกมที่เลือกเล่นมากเป็นอันดับ ๑ ได้แก่ เกมยิง เกม Facebook และ เกมกีฬา เลือกเป็นอันดับ ๒ ได้แก่ เกมผจญภัย เกมต่อสู้ เกม Facebook และเกมออนไลน์ เลือกน้อยที่สุด ได้แก่ เกมจาลอง เกมวางแผน เกมเต้น และเกมปริศนา ส่วนที่ ๒ แบบทดสอบการติดเกม ตารางที่ ๓ แสดงข้อมูลการติดเกมของเยาวชนตาบลดงลาน จาแนกตามโรงเรียน โรงเรียน เพศ ระดับการติดเกม ปกติ คลั่งไคล้ น่าจะติดเกม ๑.บ้านดงลาน ชาย ๑๗ ๒ ๔ (๓๔ คน) ร้อยละ ๘.๙๔ ร้อยละ ๑.๐๕ ร้อยละ ๒.๑๐ หญิง ๑๑ ๐ ๐ ร้อยละ ๕.๗๘ ร้อยละ ๐ ร้อยละ ๐ ๒.บ้านหนองจิกโคกสูง ชาย ๘ ๒ ๒ (๒๓ คน) ร้อยละ ๔.๒๑ ร้อยละ ๑.๐๕ ร้อยละ ๑.๐๕ หญิง ๗ ๔ ๐ ร้อยละ ๓.๖๘ ร้อยละ ๒.๑๐ ร้อยละ ๐ ๓.ดงยางโคกพิลา ชาย ๑ ๑ ๐ (๗ คน) ร้อยละ ๐.๕๒ ร้อยละ ๐.๕๒ ร้อยละ ๐ หญิง ๕ ๐ ๐ ร้อยละ ๒.๖๓ ร้อยละ ๐ ร้อยละ ๐ ๔.พลาญชัยพิทยาคม ชาย ๖๑ ๑๖ ๙ (๑๒๘ คน) ร้อยละ ๓๑.๗๗ ร้อยละ ๘.๓๓ ร้อยละ ๔.๗๓ หญิง ๓๖ ๔ ๒ ร้อยละ ๑๘.๙๔ ร้อยละ ๒.๑๐ ร้อยละ ๑.๐๕ รวม (๑๙๒ คน) ชาย ๘๗ ๒๑ ๑๕ ร้อยละ ๔๕.๓๑ ร้อยละ๑๐.๙๓ ร้อยละ ๗.๘๙ หญิง ๕๙ ๘ ๒ ร้อยละ ๓๑.๐๕ ร้อยละ ๔.๒๑ ร้อยละ ๑.๐๕ รวมทั้งหมด ๑๔๖ ๒๙ ๑๗

ความรุนแรง ของปัญหา ระดับปกติ หมายถึง ยังไม่มีปัญหาในการ เล่นเกม - ชาย < ๒๔ คะแนน - หญิง < ๑๖ คะแนน ระดับคลั่งไคล้ หมายถึง เริ่มมีปัญหาในการเล่น เกม - ชาย = ๒๔-๓๒ คะแนน - หญิง = ๑๖-๒๒ คะแนน น่าจะติดเกม หมายถึง มีปัญหาในการเล่นเกม มาก - ชาย ≥ ๓๓ คะแนน - หญิง ≥ ๒๓ คะแนน


จากตารางที่ ๓ พบว่า เยาวชนตาบลดงลานมีสถานการณ์การติดเกม ดังนี้ ระดับปกติ ๑๔๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๐๔ เพศชาย จานวน ๘๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๓๑ เพศหญิง จานวน ๕๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๐๕ ระดับคลั่งไคล้ ๒๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๗๓ เพศชาย จานวน ๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๙๓ เพศหญิง จานวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๒๑ ระดับน่าจะติดเกม ๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๙๔ เพศชาย จานวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๘๙ เพศหญิง จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๐๕ ๕.๓ ผลการสารวจต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนในพื้นที่นาร่อง ๕.๓.๑ ผลการสารวจข้อมูลต้นทุนชีวิตของเยาวชน สาหรับเยาวชน อายุ ๑๒-๒๕ ปี จากการสารวจต้นทุนชีวิตของเยาวชนไทยทั่วไป สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลานอาเภอ เมืองร้อยเอ็ด (ได้รับแบบสอบถามคืนมา จานวน ๑๗๘ ชุด) ขอเสนอผลการสารวจ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ๑) เพศ ๒) อายุ ๓) นับถือศาสนา ๔) สถานภาพ ของบิดามารดา ๕) เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนพักอาศัยอยู่กับใคร ๖) ระดับการศึกษาปัจจุบัน ๗) ปัจจุบันอาศัยอยู่ ส่วนที่ ๒ ทัศนคติ / ความคิดเห็น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ๑) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๑๗๘ คน - ชาย จานวน ๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๔๐ - หญิง จานวน ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๖๐ ๒) อายุ - ๑๒ – ๑๕ ปี จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๗๐ - ๑๖ – ๑๙ ปี จานวน ๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๓๐ - ๒๐ – ๒๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๓) นับถือศาสนา - พุทธ จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔๐


- คริสต์ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อิสลาม จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๖ - อื่น ๆ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

๔) ๕) -

สถานภาพของบิดามารดา อยู่ด้วยกัน จานวน ๑๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๑๐ แยกกันอยู่ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๐๐ หย่าร้าง/แยกทางกัน จานวน ๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๐ บิดาเสียชีวิต จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๑๐ มารดาเสียชีวิต จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ ทั้งบิดาและมารดาเสียชีวิต จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ อื่น ๆ จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนพักอาศัยอยู่กับใคร อยู่กับบิดาและมารดา จานวน ๑๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ อยู่ลาพังกับบิดา จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๐ อยู่ลาพังกับมารดา จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๙.๐๐ อยู่กับพี่/น้อง(ไม่ได้อยู่กับบิดา/มารดา) จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ อยู่กับญาติผู้ใหญ่/ผู้ปกครอง (ที่ไม่ใช่บิดา/มารดา) จานวน ๔๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๐๐ - อยู่กับเพื่อน/คนรู้จัก จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - พักอยู่คนเดียว จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อื่น ๆ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ ๖) ระดับการศึกษาปัจจุบัน (หากปัจจุบันไม่ได้เรียนแล้วให้ตอบระดับการศึกษาสูงสุดของตนเอง) - ประถมศึกษา จานวน ๔๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๒๐ - มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๔๐ - มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๖๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๔๐ - ปวช. จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - ปวส./อนุปริญญา จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - สูงกว่าปริญญาตรี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - กศน. จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐


- การศึกษาที่บ้าน/ชุมชนผ่านดาวเทียม จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - การศึกษาเพื่อฝึกอาชีพ/ภูมิปัญญาท้องถิ่น จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - ไม่ได้เรียน จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อื่น ๆ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๗) ปัจจุบันอาศัยอยู่ - ในเขตเมือง/ในเขตเทศบาล จานวน ๗๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๓๐ - นอกเขตเมือง/นอกเขตเทศบาล จานวน ๑๐๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๗๐ จากข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน พบว่า เป็นหญิงมากกว่าชาย จานวน ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๖๐ ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๗๐ นับถือศาสนาพุทธ จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔๐ กาลังศึกษาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอนปลาย บิดามารดา อยู่ด้วยกัน จานวน ๑๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ โดยเวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนอาศัยอยู่กับบิดา มารดาในพื้นที่นอกเขตเมือง จานวน ๑๐๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๗๐ ส่วนที่ ๒ ทัศนคติ / ความคิดเห็น ตารางที่ ๕.๑ แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ เป็น บ่อย บาง คาถาม ไม่เคย ที่ ประจา ครั้ง ครั้ง ๑ ฉัน เชื่อว่าการได้ช่วยเหลือ ๖๗ ๖๔ ๔๗ ๐ ผู้อื่นเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่าง ๓๗.๖๐ ๓๖.๐๐ ๒๖.๔๐ ๐.๐๐ มาก ๒ ฉัน ให้ความสาคัญกับการ ๔๓ ๖๓ ๖๕ ๗ ส่งเสริมให้เกิดความเท่า ๒๔.๒๐ ๓๕.๔๐ ๓๖.๕๐ ๓.๙๐ เทียมในสังคม เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ เพศชาย/หญิง เพศ ทางเลือก เป็นต้น ๓ ฉัน กล้ายืนหยัดในสิ่งที่ฉัน ๒๕ ๗๒ ๗๗ ๔ เชื่อ เช่นกล้าเสนอความ ๑๔.๐๐ ๔๐.๔๐ ๔๓.๓๐ ๒.๒๐ คิดเห็น แม้ว่าบางครั้งจะมี ความเห็นแตกต่างจากผู้อื่น ๔ ฉัน พูดความจริงเสมอ ๓๑ ๘๓ ๖๒ ๒

(S.D.) ต้นทุนชีวิตของเยาวชน

S.D.

แปลผล

๑.๘๘ ๐.๙๗ เป็นประจา

๒.๒๐ ๐.๘๕

บ่อยครั้ง

๒.๓๓ ๐.๗๔

บ่อยครั้ง

๒.๑๙ ๐.๗๒

บ่อยครั้ง


๖ ๗ ๘

ถึงแม้ว่าบางครั้งมันจะทาได้ ๑๗.๔๐ ๔๖.๖๐ ยาก ฉัน รับผิดชอบในสิ่งที่ฉันทา ๖๑ ๘๖ (ไม่ว่าผลจะเปูนอย่างไรก็ ๓๔.๓๐ ๔๘.๓๐ ตาม) ฉัน ยึดมั่นในพฤติกรรมที่ดี ๗๙ ๗๖ ๔๔.๔๐ ๔๒.๗๐ ฉัน มีการวางแผนและการ ๕๕ ๘๗ ตัดสินใจก่อนลงมือทาเสมอ ๓๐.๙๐ ๔๘.๙๐ ฉัน เห็นอกเห็นใจและใส่ใจ ๖๕ ๗๖ ในความรู้สึกของผู้อื่น ๓๖.๕๐ ๔๒.๗๐

๓๔.๘๐ ๑.๑๐ ๓๐ ๑ ๑.๘๓ ๐.๗๑ เป็นประจา ๑๖.๙๐ ๐.๖๐ ๒๓ ๐ ๑.๖๘ ๐.๖๙ เป็นประจา ๑๒.๙๐ ๐.๐๐ ๓๓ ๓ ๑.๙๑ ๐.๗๔ เป็นประจา ๑๘.๕๐ ๑.๗๐ ๓๕ ๒ ๑.๘๕ ๐.๗๖ เป็นประจา ๑๙.๗๐ ๑.๑๐

ตารางที่ ๕.๑ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชน อายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ เป็น บ่อย บาง คาถาม ไม่เคย  S.D. แปลผล ที่ ประจา ครั้ง ครั้ง ฉัน เรียนรู้และสามารถ ปรับตัวให้อยู่ร่วมกับคนที่มี ๔๗ ๘๘ ๔๑ ๒ ๙ ความคิดเห็น หรือการ ๑.๙๘ ๐.๗๓ เป็นประจา ๒๖.๔๐ ๔๙.๔๐ ๒๓.๐๐ ๑.๑๐ ดาเนินชีวิตแตกต่างกันได้ เป็นอย่างดี ฉัน กล้าปฏิเสธพฤติกรรม เสี่ยง (เช่น เพศสัมพันธ์ ยา ๑๑๒ ๓๔ ๒๐ ๑๒ ๑๐ ๐.๙๓ เป็นประจา เสพติด ความรุนแรง และ ๖๒.๙๐ ๑๙.๑๐ ๑๑.๒๐ ๖.๗๐ ๑.๖๑ สื่อที่ไม่ด)ี ๑๑ ฉัน พยายามแก้ปัญหาข้อ ๕๐ ๘๐ ๔๖ ๒ ๒.๐๐ ๐.๗๖ บ่อยครั้ง ขัดแย้งด้วยสติปัญญา ๒๘.๑๐ ๔๔.๙๐ ๒๕.๘๐ ๑.๑๐ มากกว่าอารมณ์ ๑๒ ฉัน สามารถควบคุม ๔๐ ๖๘ ๖๗ ๓ ๒.๑๘ ๐.๗๙ บ่อยครั้ง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับ ๒๒.๕๐ ๓๘.๒๐ ๓๗.๖๐ ๑.๗๐ ตนเองได้ เช่น ควบคุม อารมณ์เวลาโกรธได้ดี เมื่อ ๑


เกิดการโต้เถียงหรือขัดแย้ง ๑๓ ฉัน รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ๑๔ ฉัน มีเปูาหมายในชีวิต ชัดเจน ๑๕ ฉัน รู้สึกพึงพอใจในชีวิต ความเป็นอยู่ของตัวเอง ๑๖ ฉัน ได้รับความรัก ความ อบอุ่น เอาใจใส่ และการ สนับสนุนในทางที่ดีจาก ครอบครัว ๑๗ ฉัน ปรึกษาหารือและขอ คาแนะนาจากผู้ปกครองได้ อย่างสบายใจไม่ว่าเรื่องเล็ก หรือเรื่องใหญ่

๗๐ ๓๙.๓๐ ๗๓ ๔๑.๐๐ ๙๕ ๕๓.๔๐ ๑๐๘ ๖๐.๗๐

๖๔ ๓๖.๐๐ ๖๓ ๓๕.๔๐ ๕๘ ๓๒.๖๐ ๔๔ ๒๔.๗๐

๔๐ ๒๒.๕๐ ๓๙ ๒๑.๙๐ ๒๒ ๑๒.๔๐ ๒๖ ๑๔.๖๐

๔ ๒.๒๐ ๓ ๑.๗๐ ๓ ๑.๗๐ ๐ ๐.๐๐

๑.๘๗ ๐.๘๓ เป็นประจา ๑.๘๔ ๐.๘๒ เป็นประจา ๑.๖๒ ๐.๗๖ เป็นประจา ๑.๕๓ ๐.๗๓ เป็นประจา

๘๐ ๖๒ ๓๓ ๓ ๑.๗๖ ๐.๘๐ เป็นประจา ๔๔.๙๐ ๓๔.๘๐ ๑๘.๕๐ ๑.๗๐

ตารางที่ ๕.๑ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชน อายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ เป็น บ่อย บาง คาถาม ไม่เคย  S.D. แปลผล ที่ ประจา ครั้ง ครั้ง ๑๘ ฉัน มีผู้ปกครองที่ส่งเสริม ๑๑๐ ๕๐ ๑๖ ๒ ๑.๔๙ ๐.๗๐ เป็นประจา สนับสนุน ช่วยเหลือด้าน ๖๑.๘๐ ๒๘.๑๐ ๙.๐๐ ๑.๑๐ การเรียนรู้ ๑๙ ฉัน รู้สึกปลอดภัย อบอุ่น ๑๑๔ ๔๖ ๑๗ ๑ ๑.๔๖ ๐.๖๙ เป็นประจา และมีความสุขเมื่ออยู่ใน ๖๔.๐๐ ๒๕.๘๐ ๙.๖๐ ๐.๖๐ ครอบครัวตัวเอง ๒๐ ฉัน อยู่ในครอบครัวที่มี ๗๕ ๗๗ ๒๒ ๔ ๑.๗๔ ๐.๗๕ เป็นประจา ระเบียบกฎเกณฑ์ชัดเจน มี ๔๒.๑๐ ๔๓.๓๐ ๑๒.๔๐ ๒.๒๐ เหตุผล และมีการดูแลให้ ปฏิบัติตาม ๒๑ ฉัน มีผู้ปกครองที่เป็น ๙๗ ๖๐ ๑๘ ๓ ๑.๕๘ ๐.๗๔ เป็นประจา แบบอย่างที่ดีให้ทาตาม ๕๔.๕๐ ๓๓.๗๐ ๑๐.๑๐ ๑.๗๐


๒๒ ฉัน มีผู้ปกครองที่สนับสนุน ให้ฉันทาในสิ่งที่ฉันชอบหรือ อยากทา ๒๓ ฉัน สามารถพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราว เกี่ยวกับสื่อ เช่น วิทยุ ทีวี สื่อประเภทอื่นๆ ภายใน ครอบครัวเป็นประจา ๒๔ ฉัน อยู่ในสถาบันการศึกษา ที่เอาใจใส่ สนับสนุน และ ช่วยเหลือผู้เรียนได้ดี ๒๕ ฉัน รู้สึกปลอดภัยเมื่ออยู่ใน สถาบันการศึกษา ๒๖ ฉัน อยู่ในสถาบันการ ศึกษา ที่มีระเบียบกฎเกณฑ์ที่ ชัดเจน มีเหตุผลและมีการ ดูแลให้ปฏิบัติตาม ๒๗ ฉัน มีครูที่สนับสนุนให้ฉันทา ในสิ่งที่ฉันชอบหรืออยากทา

๖๔ ๖๔ ๔๑ ๙ ๑.๙๗ ๐.๘๙ เป็นประจา ๓๖.๐๐ ๓๖.๐๐ ๒๓.๐๐ ๕.๑๐ ๔๑ ๗๖ ๕๐ ๑๑ ๒.๑๗ ๐.๘๕ ๒๓.๐๐ ๔๒.๗๐ ๒๘.๑๐ ๖.๒๐

บ่อยครั้ง

๙๒ ๕๙ ๒๓ ๔ ๑.๖๕ ๐.๗๘ เป็นประจา ๕๑.๗๐ ๓๓.๑๐ ๑๒.๙๐ ๒.๒๐ ๗๑ ๗๘ ๒๘ ๑ ๑.๗๖ ๐.๗๒ เป็นประจา ๓๙.๙๐ ๔๓.๘๐ ๑๕.๗๐ ๐.๖๐ ๙๙ ๕๗ ๒๐ ๒ ๑.๕๗ ๐.๗๓ เป็นประจา ๕๕.๖๐ ๓๒.๐๐ ๑๑.๒๐ ๑.๑๐

๔๙ ๗๕ ๔๕ ๙ ๒.๐๗ ๐.๘๕ ๒๗.๕๐ ๔๒.๑๐ ๒๕.๓๐ ๕.๑๐

บ่อยครั้ง

ตารางที่ ๕.๑ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชน อายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ เป็น บ่อย บาง คาถาม ไม่เคย  S.D. แปลผล ที่ ประจา ครั้ง ครั้ง ๒๘ ฉัน อยากเรียนให้ได้ดี ไม่ ๙๕ ๕๘ ๒๕ ๐ ๑.๖๐ ๐.๗๒ เป็นประจา เอาเปรียบ และรู้จักแบ่งปัน ๕๓.๔๐ ๓๒.๖๐ ๑๔.๐๐ ๐.๐๐ ผู้อื่น ๒๙ ฉัน เอาใจใส่ในการเรียน ๗๒ ๗๙ ๒๕ ๒ ๑.๗๕ ๐.๗๓ เป็นประจา อย่างสม่าเสมอ ๔๐.๔๐ ๔๔.๔๐ ๑๔.๐๐ ๑.๑๐ ๓๐ ฉัน ทาการบ้านหรือทบทวน ๔๐ ๗๘ ๕๖ ๔ ๒.๑๓ ๐.๗๘ บ่อยครั้ง บทเรียนทุกวัน ๒๒.๕๐ ๔๓.๘๐ ๓๑.๕๐ ๒.๒๐ ๓๑ ฉัน รักและผูกพันกับ ๗๒ ๖๓ ๔๐ ๓ ๑.๘๕ ๐.๘๒ เป็นประจา


๓๒ ๓๓ ๓๔

๓๕

๓๖

๓๗ ๓๘

๓๙

สถาบันการศึกษาของฉัน ฉัน อ่านหนังสือด้วยความ เพลิดเพลินเป็นประจา ฉัน ใฝุรู้ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมของชุมชน ฉัน สามารถพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราว เกี่ยวกับสื่อ เช่น วิทยุ ทีวี สื่อประเภทอื่นๆ กับครูเป็น ประจา ฉัน มีเพื่อนสนิทที่เป็น แบบอย่างที่ดีและชักนา ให้ ฉันทาดี ฉัน ทากิจกรรมสร้างสรรค์ ตามความชอบและ พึงพอใจ ของฉันเอง เช่น ทางาน ศิลปะ เล่นดนตรี วาดรูป เป็นประจา ฉัน ได้เล่นกีฬาหรือออก กาลังกายเป็นประจา ฉัน ร่วมกิจกรรมทางศาสนา หรือประกอบพิธีกรรมเป็น ประจา ฉัน และเพื่อนชวนกันทา กิจกรรมที่ดีเป็นประจา

๔๐.๔๐ ๓๔ ๑๙.๑๐ ๓๘ ๒๑.๓๐ ๒๑ ๑๑.๘๐

๓๕.๔๐ ๘๘ ๔๙.๔๐ ๗๘ ๔๓.๘๐ ๖๘ ๓๘.๒๐

๒๒.๕๐ ๕๒ ๒๙.๒๐ ๕๘ ๓๒.๖๐ ๗๗ ๔๓.๓๐

๑.๗๐ ๔ ๒.๑๔ ๐.๗๔ ๒.๒๐ ๔ ๒.๑๕ ๐.๗๗ ๒.๒๐ ๑๒ ๒.๔๔ ๐.๗๘ ๖.๗๐

บ่อยครั้ง บ่อยครั้ง บ่อยครั้ง

๖๑ ๘๓ ๓๐ ๔ ๑.๘๗ ๐.๗๖ เป็นประจา ๓๔.๓๐ ๔๖.๖๐ ๑๖.๙๐ ๒.๒๐ ๗๒ ๖๓ ๔๐ ๓ ๑.๘๕ ๐.๘๒ เป็นประจา ๔๐.๔๐ ๓๕.๔๐ ๒๒.๕๐ ๑.๗๐

๓๒ ๖๖ ๗๕ ๕ ๒.๒๙ ๐.๗๙ ๑๘.๐๐ ๓๗.๑๐ ๔๒.๑๐ ๒.๘๐ ๓๙ ๕๗ ๗๑ ๑๑ ๒.๓๐ ๐.๘๘ ๒๑.๙๐ ๓๒.๐๐ ๓๙.๙๐ ๖.๒๐

บ่อยครั้ง

๔๑ ๖๙ ๖๔ ๔ ๒.๑๗ ๐.๘๐ ๒๓.๐๐ ๓๘.๘๐ ๓๖.๐๐ ๒.๒๐

บ่อยครั้ง

บ่อยครั้ง

ตารางที่ ๕.๑ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชน อายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ เป็น บ่อย บาง คาถาม ไม่เคย  S.D. แปลผล ที่ ประจา ครั้ง ครั้ง ๔๐ ฉัน มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม ๔๐ ๗๓ ๖๐ ๕ ๒.๑๖ ๐.๘๐ บ่อยครั้ง เกี่ยวกับสื่อสร้างสรรค์กับ ๒๒.๖๐ ๔๑.๐๐ ๓๓.๗๐ ๒.๘๐


๔๑

๔๒ ๔๓

๔๔

๔๕

๔๖

๔๗

๔๘

เพื่อน ฉัน มีญาติหรือผู้ใหญ่ นอกเหนือจากผู้ปกครอง ที่ ฉันสามารถปรึกษาหารือ และขอความช่วยเหลือได้ อย่างสบายใจ ฉัน มีเพื่อนบ้านที่สนใจและ ให้กาลังใจฉัน ฉัน รู้สึกว่าคนในชุมชน ให้ ความสาคัญและเห็นคุณค่า ของเด็กและเยาวชน ฉัน ได้รับมอบหมายบทบาท หน้าที่ที่มีคุณค่าและเป็น ประโยชน์ต่อชุมชน ฉัน ร่วมทากิจกรรมบาเพ็ญ ประโยชน์ในชุมชนเป็น ประจา ฉัน รู้สึกอบอุ่น มีความสุข และภูมิใจในวิถีชีวิตเมื่ออยู่ ในชุมชนของฉัน ฉัน มีเพื่อนบ้านคอย สอดส่อง และดูแล พฤติกรรมของเด็กและ เยาวชนให้อยู่ในกรอบ ที่ เหมาะสม ฉัน มีผู้ใหญ่อื่น นอกเหนือจากผู้ปกครอง ที่ เป็นแบบอย่างที่ดีให้ ทา ตาม

๔๗ ๖๕ ๖๐ ๖ ๒.๑๔ ๐.๘๔ ๒๖.๔๐ ๓๖.๕๐ ๓๓.๗๐ ๓.๔๐

บ่อยครั้ง

๔๖ ๖๔ ๖๒ ๖ ๒.๑๕ ๐.๘๔ ๒๕.๘๐ ๓๖.๐๐ ๓๔.๘๐ ๓.๔๐ ๕๐ ๗๐ ๕๕ ๓ ๒.๐๖ ๐.๘๑ ๒๘.๑๐ ๓๙.๓๐ ๓๐.๙๐ ๑.๗๐

บ่อยครั้ง

๓๐ ๕๗ ๗๘ ๑๓ ๒.๔๑ ๐.๘๕ ๑๖.๙๐ ๓๒.๐๐ ๔๓.๘๐ ๗.๓๐

บ่อยครั้ง

๓๕ ๖๒ ๗๐ ๑๑ ๒.๓๒ ๐.๘๕ ๑๙.๗๐ ๓๔.๘๐ ๓๙.๓๐ ๖.๒๐

บ่อยครั้ง

บ่อยครั้ง

๗๑ ๖๒ ๔๑ ๔ ๑.๘๗ ๐.๘๔ เป็นประจา ๓๙.๙๐ ๓๔.๘๐ ๒๓.๐๐ ๒.๒๐ ๕๐ ๖๘ ๕๒ ๘ ๒.๑๐ ๐.๘๖ ๒๘.๑๐ ๓๘.๒๐ ๒๙.๒๐ ๔.๕๐

บ่อยครั้ง

๗๔ ๖๗ ๓๒ ๕ ๑.๘๒ ๐.๘๒ เป็นประจา ๔๑.๖๐ ๓๗.๖๐ ๑๘.๐๐ ๒.๘๐


จากตารางที่ ๕.๑ พบว่า เยาวชนมีค่านิยม/พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็นประจา ได้แก่ เชื่อว่าการได้ช่วยเหลือ ผู้อื่นเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างมาก รับผิดชอบในสิ่งที่ทา ยึดมั่นในพฤติกรรมที่ดี มีการวางแผนและการตัดสินใจ ก่อนลงมือทาเสมอ เห็นอกเห็นใจและใส่ใจในความรู้สึกของผู้อื่น เรียนรู้และสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับคนที่มี ความคิดเห็นหรือการดาเนินชีวิตแตกต่างกันได้เป็นอย่างดี กล้าปฏิเสธพฤติกรรมเสี่ยง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า มี เปูาหมายในชีวิตชัดเจน รู้สึกพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของตัวเอง ได้รับความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ และ การสนับสนุนในทางที่ดีจากครอบครัว ปรึกษาหารือและขอคาแนะนาจากผู้ปกครองได้อย่างสบายใจไม่ว่าเรื่อง เล็กหรือเรื่องใหญ่ มีผู้ปกครองที่ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ รู้สึกปลอดภัย อบอุ่น และมี ความสุขเมื่ออยู่ในครอบครัวตัวเอง อยู่ในครอบครัวที่มีระเบียบกฎเกณฑ์ชัดเจน มีเหตุผล และมีการดูแลให้ ปฏิบัติตาม มีผู้ปกครองที่เป็นแบบอย่างที่ดีให้ทาตาม อยู่ในสถาบันการศึกษาที่เอาใจใส่ สนับสนุน และ ช่วยเหลือผู้เรียนได้ดี และมีระเบียบกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน มีเหตุผลและมีการดูแลให้ปฏิบัติตาม อยากเรียนให้ได้ดี ไม่เอาเปรียบและรู้จักแบ่งปันผู้อื่น เอาใจใส่ในการเรียนอย่างสม่าเสมอ รักและผูกพันกับสถาบันการศึกษา มี เพื่อนสนิททากิจกรรมสร้างสรรค์ตามความชอบและพึงพอใจ รู้สึกอบอุ่น มีความสุข และภูมิใจในวิถีชีวิตเมื่ออยู่ ในชุมชนของฉัน และมีผู้ใหญ่นอกเหนือจากผู้ปกครองที่เป็นแบบอย่างที่ดีให้ทาตาม ๕.๓.๒ ผลการสารวจข้อมูลต้นทุนชีวิตของเยาวชนตาบลดงลาน สาหรับผู้ปกครอง จากการสารวจต้นทุนชีวิตของเยาวชนไทยทั่วไป สาหรับผู้ปกครอง ในพื้นที่ตาบลดงลาน อาเภอเมือง ร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด (ได้รับแบบสอบถามคืนมา จานวน ๑๘๑ ชุด) ขอเสนอผลการสารวจ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของผู้ปกครอง ซึ่งประกอบด้วย ๑) เพศ ๒) อายุ ๓) นับถือศาสนา ๔) สถานภาพของผู้ปกครองกับคู่ครอง/คู่สมรส ๕) เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เด็ก/เยาวชนในปกครองพักอาศัยอยู่ กับใคร ๖) ระดับการศึกษาสูงสุด ๗) ปัจจุบันอาศัยอยู่ ส่วนที่ ๒ ทัศนคติ / ความคิดเห็น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของผู้ปกครอง ๑) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๑๘๑ คน - ชาย จานวน ๖๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๕๐ - หญิง จานวน ๑๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ ๒) อายุ - น้อยกว่า ๓๐ ปี จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๕๐ - ๓๑ – ๔๕ ปี จานวน ๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๐๐ - ๔๖ – ๖๐ ปี จานวน ๑๐๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๙๐


- ๖๑ ปีขึ้นไป จานวน ๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๖๐ ๓) นับถือศาสนา - พุทธ จานวน ๑๗๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๓๐ - คริสต์ จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ -๘๗๖) ๗) -

อิสลาม จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ อื่น ๆ จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ สถานภาพของบิดามารดา อยู่ด้วยกัน จานวน ๑๕๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๓๐ แยกกันอยู่ จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๙๐ หย่าร้าง/แยกทางกัน จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ สามีเสียชีวิต จานวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๐ ภรรยาเสียชีวิต จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๐ อื่น ๆ จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๗๐ เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เด็ก/เยาวชนในปกครองพักอาศัยอยู่กับใคร อยู่กับบิดาและมารดา จานวน ๑๔๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๙.๐๐ อยู่ลาพังกับบิดา จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ อยู่ลาพังกับมารดา จานวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๑๐ อยู่กับพี่/น้อง(ไม่ได้อยู่กับบิดา/มารดา) จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ อยู่กับญาติผู้ใหญ่/ผู้ปกครอง(ที่ไม่ใช่บิดา/มารดา) จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๐๐ - อยู่กับเพื่อน/คนรู้จัก จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - เด็กๆ พักอยู่คนเดียว จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๐ - อื่น ๆ จานวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๐ ๖) ระดับการศึกษาสูงสุด - ประถมศึกษา จานวน ๙๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๙๐ - มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๔๐ - มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๗๐ - ปวช. จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ - ปวส./อนุปริญญา จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ - ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จานวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๐


- สูงกว่าปริญญาตรี จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ - กศน. จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ - การศึกษาทางเลือก จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - ไม่ได้เรียน จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อื่น ๆ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๗) ปัจจุบันอาศัยอยู่ - ในเขตเมือง/ในเขตเทศบาล จานวน ๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๘๐ - นอกเขตเมือง/นอกเขตเทศบาล จานวน ๑๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๒๐ จากข้อมูลพบว่า ผู้ปกครองเป็นหญิงมากกว่าชาย คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง ๔๖-๖๐ ปี คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๙๐ นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๓๐ อยู่ด้วยกันกับ คู่สมรส เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนในปกครองพักอาศัยอยู่กับบิดามารดา คิดเป็นร้อยละ ๗๙.๐๐จบ การศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๙๐ และอยู่นอกเขตเมือง คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๒๐ ส่วนที่ ๒ ทัศนคติ / ความคิดเห็น ตารางที่ ๕.๒ แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย(  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ต้นทุนชีวิตของเยาวชน สาหรับผู้ปกครอง ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ คาถาม ที่ ๑ เขา เชื่อว่าการได้ช่วยเหลือผู้อื่น เป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างมาก ๒ เขา ให้ความสาคัญกับการ ส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมใน สังคม เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ เพศชาย/หญิง เพศทางเลือก เป็นต้น ๓ เขา กล้ายืนหยัดในสิ่งที่ฉันเชื่อ เช่นกล้าเสนอความคิดเห็น แม้ว่าบางครั้งจะ มีความเห็น แตกต่างจากผู้อื่น ๔ เขา พูดความจริงเสมอถึงแม้ว่า

เป็น บ่อย บาง ไม่เคย  S.D. แปลผล ประจา ครั้ง ครั้ง ๘๘ ๕๓ ๓๙ ๑ ๑.๗๔ ๐.๘๑ เป็นประจา ๔๘.๖๐ ๒๙.๓๐ ๒๑.๕๐ ๐.๖๐ ๘๐ ๖๒ ๓๘ ๑ ๑.๗๗ ๐.๗๙ เป็นประจา ๔๔.๒๐ ๓๔.๓๐ ๒๑.๐๐ ๐.๖๐

๕๗ ๕๓ ๗๐ ๑ ๒.๐๘ ๐.๘๔ ๓๑.๕๐ ๒๙.๓๐ ๓๘.๗๐ ๐.๖๐

๗๙

๔๖

๕๒

บ่อยครั้ง

๑.๘๙ ๐.๘๙ เป็นประจา


๕ ๖

บางครั้งมันจะทาได้ยาก เขา รับผิดชอบในสิ่งที่เขาทา (ไม่ว่าผลจะเปูนอย่างไรก็ตาม) เขา ยึดมั่นในพฤติกรรมที่ดี

เขา มีการวางแผนและการ ตัดสินใจก่อนลงมือทาเสมอ ๘ เขา เห็นอกเห็นใจและใส่ใจใน ความรู้สึกของผู้อื่น ๙ เขา เรียนรู้และสามารถปรับตัว ให้อยู่ร่วมกับคนที่มีความ คิดเห็น หรือการดาเนินชีวิต แตกต่างกันได้เป็นอย่างดี ๑๐ เขา กล้าปฏิเสธพฤติกรรมเสี่ยง (เช่น เพศสัมพันธ์ ยาเสพติด ความรุนแรง และสื่อที่ไม่ดี)

๔๓.๖๐ ๘๗ ๔๘.๑๐ ๑๐๙ ๖๐.๒๐ ๘๓ ๔๕.๙๐ ๗๘ ๔๓.๑๐ ๙๔ ๕๑.๙๐

๒๕.๔๐ ๔๔ ๒๔.๓๐ ๔๓ ๒๓.๘๐ ๔๘ ๒๖.๕๐ ๕๕ ๓๐.๔๐ ๕๔ ๒๙.๘๐

๒๘.๗๐ ๓๘ ๒๑.๐๐ ๒๘ ๑๕.๕๐ ๔๙ ๒๗.๑๐ ๔๖ ๒๕.๔๐ ๒๙ ๑๖.๐๐

๒.๒๐ ๑๒ ๖.๖๐ ๑ ๐.๖๐ ๑ ๐.๖๐ ๒ ๑.๑๐ ๔ ๒.๒๐

๑.๘๖ ๐.๙๗ เป็นประจา ๑.๕๖ ๐.๗๖ เป็นประจา ๑.๘๒ ๐.๘๕ เป็นประจา ๑.๘๔ ๐.๘๔ เป็นประจา ๑.๖๘ ๐.๘๒ เป็นประจา

๖๗ ๓๘ ๓๗ ๓๙ ๒.๒๖ ๑.๑๗ ๓๗.๐๐ ๒๑.๐๐ ๒๐.๔๐ ๒๑.๕๐

บ่อยครั้ง

ตารางที่ ๕.๒ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย(  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชนสาหรับผู้ปกครอง ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ คาถาม ที่ ๑๑ เขา พยายามแก้ปัญหาข้อ ขัดแย้งด้วยสติปัญญา มากกว่าอารมณ์ (ไม่ใช้ ความรุนแรง) ๑๒ เขา สามารถควบคุม สถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับ ตนเองได้ เช่น ควบคุม อารมณ์เวลาโกรธได้ดี เมื่อ เกิดการโต้เถียงหรือขัดแย้ง ๑๓ เขา รู้สึกว่าตัวเขาเองมี คุณค่า

เป็น บ่อย บาง ไม่เคย  S.D. ประจา ครั้ง ครั้ง ๖๓ ๔๖ ๕๐ ๒๒ ๒.๑๗ ๑.๐๔ ๓๔.๘๐ ๒๕.๔๐ ๒๗.๖๐ ๑๒.๒๐

๖๕ ๔๖ ๖๗ ๓ ๒.๐๔ ๐.๘๙ ๓๕.๙๐ ๒๕.๔๐ ๓๗.๐๐ ๑.๗๐

แปลผล บ่อยครั้ง

บ่อยครั้ง

๑๑๘ ๓๐ ๒๗ ๖ ๑.๕๖ ๐.๘๖ เป็นประจา ๖๕.๒๐ ๑๖.๖๐ ๑๔.๙๐ ๓.๓๐


๑๔ เขา มีเปูาหมายในชีวิต ชัดเจน ๑๕ เขา รู้สึกพึงพอใจในชีวิต ความเป็นอยู่ของตัวเขาเอง ๑๖ ฉัน ให้ความรัก ความ อบอุ่น เอาใจใส่ และการ การสนับสนุนในทางที่ดีแก่ เขา ๑๗ ฉัน ให้คาปรึกษาหารือและ ขอคาแนะนากับเขาได้ อย่างสบายใจไม่ว่าเรื่อง เล็กหรือเรื่องใหญ่ ๑๘ ฉัน ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ แก่เขา ๑๙ เขา รู้สึกปลอดภัย อบอุ่น และมีความสุขเมื่ออยู่ใน ครอบครัวของตัวเขาเอง ๒๐ ครอบครัวของเรามี ระเบียบกฎเกณฑ์ชัดเจน มีเหตุผล และมีการดูแลให้ ปฏิบัติตาม

๑๑๖ ๔๐ ๒๔ ๑ ๑.๕๐ ๐.๗๔ เป็นประจา ๖๔.๑๐ ๒๒.๑๐ ๑๓.๓๐ ๐.๖๐ ๑๓๐ ๓๐ ๒๑ ๐ ๑.๓๙ ๐.๖๘ เป็นประจา ๗๑.๘๐ ๑๖.๖๐ ๑๑.๖๐ ๐.๐๐ ๑๓๔ ๑๘ ๒๙ ๐ ๑.๔๑ ๐.๗๕ เป็นประจา ๗๔.๐๐ ๙.๙๐ ๑๖.๐๐ ๐.๐๐

๑๑๘ ๒๔ ๓๑ ๘ ๑.๖๐ ๐.๙๒ เป็นประจา ๖๕.๒๐ ๑๓.๓๐ ๑๗.๑๐ ๔.๔๐

๑๓๖ ๒๐ ๒๕ ๐ ๑.๓๘ ๐.๗๑ เป็นประจา ๗๕.๑๐ ๑๑.๐๐ ๑๓.๘๐ ๐.๐๐ ๑๔๑ ๒๐ ๒๐ ๐ ๑.๓๓ ๐.๖๖ เป็นประจา ๗๗.๙๐ ๑๑.๐๐ ๑๑.๐๐ ๐.๐๐ ๑๒๘ ๓๔ ๑๘ ๗๐.๗๐ ๑๘.๘๐ ๙.๙๐

๑ ๑.๔๐ ๐.๖๘ เป็นประจา ๐.๖๐

ตารางที่ ๕.๒ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย(  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชนสาหรับผู้ปกครอง ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ คาถาม ที่ ๒๑ ฉัน เป็นแบบอย่างที่ดีให้ เขาทาตาม ๒๒ ฉัน สนับสนุนให้เขาทาใน สิ่งที่เขาชอบหรืออยากทา ๒๓ ครอบครัวของเราพูดคุย

เป็น บ่อย บาง ไม่เคย  S.D. แปลผล ประจา ครั้ง ครั้ง ๑๑๘ ๔๐ ๒๒ ๑ ๑.๔๘ ๐.๗๒ เป็นประจา ๖๕.๒๐ ๒๒.๑๐ ๑๒.๒๐ ๐.๖๐ ๑๐๙ ๒๓ ๔๗ ๒ ๑.๖๗ ๐.๘๙ เป็นประจา ๖๐.๒๐ ๑๒.๗๐ ๒๖.๐๐ ๑.๑๐ ๑๒๐ ๓๓ ๒๘ ๐ ๑.๔๙ ๐.๗๔ เป็นประจา


๒๔

๒๕

๒๖

๒๗

๒๘

๒๙ ๓๐ ๓๑

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราว เกี่ยวกับสื่อ เช่น วิทยุ ทีวี สื่อประเภทอื่นๆ เป็น ประจา สถาบันการศึกษาของเขา เอาใจใส่ สนับสนุน และ ช่วยเหลือผู้เรียนได้ดี เขา รู้สึกปลอดภัยเมื่ออยู่ ในสถาบันการศึกษาของ เขาเอง สถาบันการศึกษาของเขามี ระเบียบกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน มีเหตุผลและมีการดูแลให้ ปฏิบัติตาม ครูของเขาสนับสนุนให้เขา ทาในสิ่งที่เขาชอบหรือ อยากทา เขา อยากเรียนให้ได้ดี ไม่เอาเปรียบ และรู้จัก แบ่งปันผู้อื่น เขา เอาใจใส่ในการเรียน อย่างสม่าเสมอ เขา ทาการบ้านหรือ ทบทวนบทเรียนทุกวัน เขา รักและผูกพันกับ สถาบันการศึกษาของเขา

๖๖.๓๐ ๑๘.๒๐ ๑๕.๕๐ ๐.๐๐

๑๒๑ ๒๗ ๓๒ ๑ ๑.๕๑ ๐.๗๙ เป็นประจา ๖๖.๙๐ ๑๔.๙๐ ๑๗.๗๐ ๐.๖๐ ๑๑๕ ๓๕ ๓๐ ๑ ๑.๕๔ ๐.๗๘ เป็นประจา ๖๓.๕๐ ๑๙.๓๐ ๑๖.๖๐ ๐.๖๐ ๑๑๑ ๔๔ ๒๖ ๐ ๑.๕๓ ๐.๗๓ เป็นประจา ๖๑.๓๐ ๒๔.๓๐ ๑๔.๔๐ ๐.๐๐

๑๐๘ ๓๒ ๓๙ ๒ ๑.๖๔ ๐.๘๕ เป็นประจา ๕๙.๗๐ ๑๗.๗๐ ๒๑.๕๐ ๑.๑๐ ๑๑๘ ๓๕ ๒๗ ๑ ๑.๕๐ ๐.๗๖ เป็นประจา ๖๕.๒๐ ๑๙.๓๐ ๑๔.๙๐ ๐.๖๐ ๑๒๑ ๔๗ ๑๑ ๒ ๑.๔๑ ๐.๖๕ เป็นประจา ๖๖.๙๐ ๒๖.๐๐ ๖.๑๐ ๑.๑๐ ๑๓๒ ๒๘ ๑๙ ๒ ๑.๔๑ ๐.๖๙ เป็นประจา ๗๒.๙๐ ๑๕.๕๐ ๑๐.๕๐ ๑.๑๐ ๑๒๕ ๓๗ ๑๘ ๑ ๑.๗๐ ๐.๘๙ เป็นประจา ๖๙.๑๐ ๒๐.๔๐ ๙.๙๐ ๐.๖๐

ตารางที่ ๕.๒ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย(  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชนสาหรับผู้ปกครอง ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ เป็น บ่อย บาง คาถาม ไม่เคย  S.D. แปลผล ที่ ประจา ครั้ง ครั้ง ๓๒ เขา อ่านหนังสือด้วยความ ๙๙ ๔๓ ๓๒ ๗ ๑.๗๑ ๐.๗๙ เป็นประจา


๓๓ ๓๔

๓๕

๓๖

๓๗ ๓๘

๓๙ ๔๐

๔๑

๔๒

เพลิดเพลินเป็นประจา เขา ใฝุรู้ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมของชุมชน เขา สามารถพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราว เกี่ยวกับสื่อ เช่น วิทยุ ทีวี สื่อประเภทอื่นๆ กับครู เป็นประจา เพื่อนสนิทของเขาเป็น แบบอย่างที่ดีและชักนา ให้เขาทาดี เขา ทากิจกรรมสร้างสรรค์ ตามความชอบและ พึงพอใจของเขา เช่น ทางานศิลปะ เล่นดนตรี วาดรูป เป็นประจา เขา ได้เล่นกีฬาหรือออก กาลังกายเป็นประจา เขา ร่วมกิจกรรมทาง ศาสนา หรือประกอบ พิธีกรรมเป็นประจา เขา และเพื่อนชวนกันทา กิจกรรมที่ดีเป็นประจา เขา มีโอกาสเข้าร่วม กิจกรรมเกี่ยวกับสื่อ สร้างสรรค์กับเพื่อน เขา มีญาติหรือผู้ใหญ่ นอก เหนือจากฉันที่เขาสามารถ ปรึกษาหารือและขอความ ช่วยเหลือได้อย่างสบายใจ เขา มีเพื่อนบ้านที่สนใจ และให้กาลังใจ

๕๔.๗๐ ๒๓.๘๐ ๑๗.๗๐ ๓.๙๐ ๘๘ ๕๙ ๓๒ ๒ ๑.๖๔ ๐.๘๐ เป็นประจา ๔๘.๖๐ ๓๒.๖๐ ๑๗.๗๐ ๑.๑๐ ๙๙ ๔๙ ๓๑ ๒ ๑.๗๐ ๐.๗๙ เป็นประจา ๕๔.๗๐ ๒๗.๑๐ ๑๗.๑๐ ๑.๑๐

๙๑ ๕๔ ๓๕ ๑ ๑.๗๖ ๐.๙๐ เป็นประจา ๕๐.๓๐ ๒๙.๘๐ ๑๙.๓๐ ๐.๖๐ ๙๑ ๔๙ ๓๓ ๘ ๑.๗๕ ๐.๘๒ เป็นประจา ๕๐.๓๐ ๒๗.๑๐ ๑๘.๒๐ ๔.๔๐

๘๗ ๕๒ ๔๑ ๑ ๑.๘๗ ๐.๘๑ เป็นประจา ๔๘.๑๐ ๒๘.๗๐ ๒๒.๗๐ ๐.๖๐ ๗๒ ๖๑ ๔๗ ๑ ๑.๘๗ ๐.๘๑ เป็นประจา ๓๙.๘๐ ๓๓.๗๐ ๒๖.๐๐ ๐.๖๐ ๗๗ ๕๑ ๔๗ ๖ ๑.๙๐ ๐.๙๐ เป็นประจา ๔๒.๕๐ ๔๒.๕๐ ๒๖.๐๐ ๓.๓๐ ๗๒ ๖๓ ๓๘ ๘ ๑.๙๐ ๐.๘๘ เป็นประจา ๓๙.๘๐ ๓๔.๘๐ ๒๑.๐๐ ๔.๔๐ ๑๐๕ ๓๘ ๓๕ ๓ ๑.๖๔ ๐.๘๔ เป็นประจา ๕๘.๐๐ ๒๑.๐๐ ๑๙.๓๐ ๑.๗๐

๙๙ ๔๙ ๓๒ ๑ ๑.๖๔ ๐.๗๘ เป็นประจา ๕๔.๗๐ ๒๗.๑๐ ๑๗.๗๐ ๐.๖๐


ตารางที่ ๕.๒ (ต่อ) แสดงจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย(  ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ต้นทุนชีวิตของ เยาวชนสาหรับผู้ปกครอง ตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ คาถาม ที่ ๔๓ เขา รู้สึกว่าคนในชุมชน ให้ความสาคัญและเห็น คุณค่าของเด็กและเยาวชน ๔๔ เขา ได้รับมอบหมาย บทบาทหน้าที่ที่มีคุณค่า และเป็นประโยชน์ต่อ ชุมชน ๔๕ เขา ร่วมทากิจกรรม บาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน เป็นประจา ๔๖ เขา รู้สึกอบอุ่น มีความสุข และภูมิใจในวิถีชีวิตเมื่ออยู่ ในชุมชนของฉัน ๔๗ เขา มีเพื่อนบ้านคอย สอดส่อง และดูแล พฤติกรรมของเด็กและ เยาวชนให้อยู่ในกรอบ ที่เหมาะสม ๔๘ เขา มีผู้ใหญ่อื่นนอกเหนือ จากฉันเป็นแบบอย่างที่ดี ให้เขาทาตาม

เป็น บ่อย บาง ไม่เคย  S.D. แปลผล ประจา ครั้ง ครั้ง ๙๔ ๕๙ ๒๘ ๐ ๑.๖๓ ๐.๗๓ เป็นประจา ๕๑.๙๐ ๓๒.๖๐ ๑๕.๕๐ ๐.๐๐ ๙๖ ๕๓ ๒๘ ๔ ๑.๖๖ ๐.๘๑ เป็นประจา ๕๓.๐๐ ๒๙.๓๐ ๑๕.๕๐ ๒.๒๐

๙๘ ๓๗ ๔๓ ๓ ๑.๗๒ ๐.๘๘ เป็นประจา ๕๔.๑๐ ๒๐.๔๐ ๒๓.๘๐ ๑.๗๐ ๑๒๒ ๓๙ ๑๘ ๖๗.๔๐ ๒๑.๕๐ ๙.๙๐

๒ ๑.๔๔ ๐.๗๑ เป็นประจา ๑.๑๐

๙๕ ๕๗ ๒๗ ๒ ๑.๖๔ ๐.๗๗ เป็นประจา ๕๒.๕๐ ๓๑.๕๐ ๑๔.๙๐ ๑.๑๐

๑๑๔ ๓๖ ๒๓ ๘ ๑.๕๘ ๐.๘๗ เป็นประจา ๖๓.๐๐ ๑๙.๙๐ ๑๒.๗๐ ๔.๔๐

จากตารางที่ ๕.๒ พบว่า ผู้ปกครองเห็นว่า เยาวชนมีค่านิยม/พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็นประจา ได้แก่ เยาวชนเชื่อว่าการได้ช่วยเหลือผู้อื่นเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างมากให้ความสาคัญกับการส่งเสริมให้เกิดความเท่า เทียมในสังคม พูดความจริงเสมอถึงแม้ว่าบางครั้งมันจะทาได้ยาก รับผิดชอบในสิ่งที่เขาทา ยึดมั่นในพฤติกรรม ที่ดี มีการวางแผนและการตัดสินใจก่อนลงมือทาเสมอ เห็นอกเห็นใจและใส่ใจในความรู้สึกของผู้อื่น เรียนรู้และ สามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับคนที่มีความคิดเห็น หรือการดาเนินชีวิตแตกต่างกันได้เป็นอย่างดี รู้สึกว่าตัวเขา


เองมีคุณค่า มีเปูาหมายในชีวิตชัดเจน รู้สึกพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ ผู้ปกครองให้ความรัก ความอบอุ่น เอา ใจใส่ และการการสนับสนุนในทางที่ดี ให้คาปรึกษาหารือและขอคาแนะนากับเขาได้อย่างสบายใจไม่ว่าเรื่อง เล็กหรือเรื่องใหญ่ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ เยาวชนรู้สึกปลอดภัย อบอุ่น และมีความสุข เมื่ออยู่ในครอบครัว มีระเบียบกฎเกณฑ์ชัดเจน มีเหตุผล และมีการดูแลให้ปฏิบัติตาม ผู้ปกครองเป็นแบบอย่าง ที่ดีให้เขาทาตาม สนับสนุนให้เขาทาในสิ่งที่เขาชอบหรืออยากทา ในครอบครัวพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับสื่อเป็นประจา สถาบันการศึกษาของเขาเอาใจใส่ สนับสนุน และช่วยเหลือผู้เรียนได้ดี เขารู้สึกปลอดภัยเมื่ออยู่ในสถาบันการศึกษาของเขาเอง สถาบันการศึกษา มีระเบียบกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน มีเหตุผลและมีการดูแลให้เขาปฏิบัติตาม มีครูสนับสนุนให้เขาทาในสิ่งที่เขาชอบ หรืออยากทา อยากเรียนให้ได้ดี ไม่เอาเปรียบ และรู้จักแบ่งปันผู้อื่น เอาใจใส่ในการเรียนอย่างสม่าเสมอ ทา การบ้านหรือทบทวนบทเรียนทุกวัน รักและผูกพันกับสถาบันการศึกษาของเขา อ่านหนังสือด้วยความ เพลิดเพลินเป็นประจา ใฝุรู้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของชุมชน พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับสื่อกับ ครูเป็นประจา เพื่อนสนิทของเขาเป็นแบบอย่างที่ดีและชักนาให้เขาทาดี ทากิจกรรมสร้างสรรค์ตามความชอบ และพึงพอใจของเขาเป็นประจา เล่นกีฬาหรือออกกาลังกาย ร่วมกิจกรรมทางศาสนา หรือประกอบพิธีกรรม เป็นประจา มีเพื่อนชวนกันทากิจกรรมที่ดีเป็นประจา มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับสื่อสร้างสรรค์กับเพื่อน มีญาติหรือผู้ใหญ่ นอก เหนือจากฉันที่เขาสามารถปรึกษาหารือและขอความช่วยเหลือได้อย่างสบายใจ มีเพื่อน บ้านที่สนใจและให้กาลังใจ รู้สึกว่าคนในชุมชน ให้ความสาคัญและเห็นคุณค่าของเด็กและเยาวชน ได้รับ มอบหมายบทบาทหน้าที่ที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ร่วมทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชนเป็น ประจา รู้สึกอบอุ่น มีความสุข และภูมิใจในวิถีชีวิตเมื่ออยู่ในชุมชนของฉัน มีเพื่อนบ้านคอยสอดส่อง และดูแล พฤติกรรมของเด็กและเยาวชนให้อยู่ในกรอบที่เหมาะสม มีผู้ใหญ่อื่นนอกเหนือ จากฉันเป็นแบบอย่างที่ดีให้เขา ทาตาม สรุปและอภิปรายผล เยาวชนกลุม่ ตัวอย่างทีต่ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นหญิงมากกว่าชาย มีอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี นับถือศาสนาพุทธ กาลังศึกษาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอนปลาย บิดามารดาอยู่ด้วยกัน และเยาวชน อาศัยอยู่กับบิดามารดา ในพื้นที่นอกเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แสดงให้เห็นว่าเยาวชนมีสถานภาพทาง ครอบครัวที่อบอุ่นแบบสังคมชนบท ในส่วนต้นทุนชีวิตของเยาวชน มีความภาคภูมิใจในตัวเองมีความรู้สึกที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น มีเพื่อนผู้ปกครองคอยช่วยเหลือ คอยแนะนาในสิ่งที่ดีปฏิบัติตนให้ ถูกต้องตามหน้าที่ต่อตนเอง ในครอบครัว ในชุมชน และในสถานศึกษา ฯลฯ แสดงให้เห็นว่า มีต้นทุนชีวิตที่ดี เนื่องจากกลุ่มเยาวชนตัวอย่างที่สารวจข้อมูลอยู่ในสถานศึกษาซึ่งเป็นพื้นที่ที่อยู่นอกเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ส่วนใหญ่เป็นชุมชนแบบเกษตรกรรม มีวิถีชีวิตอยู่บนพื้นฐานวัฒนธรรมประเพณีอีสาน ครอบครัวพ่อแม่ลูก อาศัยอยู่ด้วยกันจึงส่งผลให้มีต้นทุนชีวิตที่ดี


สาหรับผู้ปกครองกลุม่ ตัวอย่างเป็นหญิงมากกว่าชาย ส่วนใหญ่อายุระหว่าง ๔๖-๖๐ ปี นับถือศาสนา พุทธ อยู่ด้วยกันกับคู่สมรส เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เด็ก/เยาวชนในปกครองพักอาศัยอยู่กับบิดามารดา จบ การศึกษาระดับประถมศึกษา และอยู่นอกเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นว่า เยาวชนมี ต้นทุนชีวิตที่ดี คือ เยาวชนมีครอบครัวที่อบอุ่น มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น อยู่ในชุมชน โรงเรียนได้ โดยไม่มีปัญหา มีเพื่อน บิดามารดา และครูคอยช่วยเหลือ แนะนาให้เขาปฏิบัติในสิ่งที่ดีและถูกต้องตามหน้าที่ ต่อตนเอง ต่อครอบครัว ต่อชุมชน และในสถานศึกษา เช่นกัน ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลต้นทุนชีวิตของเยาวชน จากข้อมูลการเล่นเกมและแบบทดสอบการติดเกมของเยาวชนกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาย มากกว่าหญิง กาลังศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีเวลาในการเล่นเกม/ ๑ วัน ในวันจันทร์ – วันศุกร์ ใน ห้วงเปิด/ปิดเทอม จานวน ๑ – ๒ ชั่วโมง วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในห้วงเปิดเทอม จานวน ๑ – ๒ ชั่วโมง ส่วน วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในห้วงปิดเทอม จานวน ๓ – ๔ ชั่วโมง ประเภทของเกมที่เลือกเล่นมากเป็นอันดับ ๑ ได้แก่ เกมยิง เกม Facebook และเกมกีฬา เลือกเป็นอันดับ ๒ ได้แก่ เกมผจญภัย เกมต่อสู้ เกม Facebook และเกมออนไลน์ เลือกน้อยที่สุด ได้แก่ เกมจาลอง เกมวางแผน เกมเต้น และเกมปริศนา แสดงว่าเยาวชนชอบเกมที่ต่อสู้ แข่งขัน ผจญภัย การเอาชนะมากกว่าที่จะเลือกเล่นเกมที่เป็นการคิด วางแผน หรือเกมเบา ๆ หากเล่นเกมประเภทนี้นานจนติดอาจส่งผลต่อสภาพร่างกายและจิตใจของเยาวชนเปลี่ยนไป ในทางที่ไม่ดี ๕.๔ ผลการประชุม/ประชาคม และมาตรการ/แนวทางหรือโครงการ/กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหา จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลตาม ๕.๓ ได้นาไปใช้เพื่อหาทางปูองกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม ในพื้นที่ นาร่อง โดยจัดประชุมผู้นาตาบล/หมู่บ้านชุมชน ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและตัวแทนเยาวชน ในพื้นที่ตาบลดง ลาน จานวน ๔๐ คน เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลบ้านหนองจิก สรุปผลจากการประชุมเพื่อหามาตรการปูองกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม ใน พื้นที่นาร่อง ตาบลดงลาน ดังนี้ ๑.สร้างวินัยและความรับผิดชอบตั้งแต่ยังเล็ก ๒.ลดโอกาสการเข้าถึงคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต พ่อแม่ควรเอาคอมพิวเตอร์มาวางไว้กลางบ้าน แทนที่จะเป็นห้องส่วนตัวของลูก เพื่อใครผ่านไปมาก็เห็นจะได้ดูแลและระวังได้ ๓.ใช้มาตรการทางการเงิน พยายามให้ลูกบริหารจัดการเงินรายรับ-รายจ่ายของตนให้ได้ ๔.ในครอบครัวควรฟังและพูดด้วยดีต่อกัน หลีกเลี่ยงการดุด่าว่ากล่าว เพราะจะทาให้เกิดช่องว่าง ระหว่างกันกับเด็ก ๕.ชื่นชมให้กาลังใจ มองหาข้อดีในตัวลูกแทนการหาข้อตาหนิ แม้เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ก็ควรชื่นชม ๖.ร่วมกาหนดกติกาอย่างเป็นรูปธรรม ตอนลูกเด็กๆ เราสั่งเขาได้ แต่เมื่อเขาโตมาพ่อแม่ต้องเปลี่ยนวิธี จากการสั่งเป็นการเจรจา หาจุดกึ่งกลางที่จะเจอกัน ๗.มีทางออกที่สร้างสรรค์ให้เด็ก จิตวิทยามนุษย์ชอบให้มีคนยอมรับ ชอบความภาคภูมิใจในตนเอง ซึ่ง เกมทาให้เขารู้สึกเช่นนั้นได้ ดังนั้น ครอบครัวต้องดึงเขามาสู่กิจกรรมใหม่ๆ เช่น กีฬา ดนตรี


๘.สร้างรอยยิ้มเล็กๆ ในครอบครัว จัดการบรรยากาศโดยรวมของบ้านให้มีปฏิสัมพันธ์กัน ยิ้มต่อกันชม ลูกเมื่อลูกทาดี ๙.การควบคุมอารมณ์และการสร้างความสุขเล็กๆ ในใจของพ่อแม่เองควรมองตัวเองในแง่ดี รวมทั้ง มองมิติอื่นที่ประสบความสาเร็จในชีวิตบ้าง ไม่ใช่แค่ทรัพย์สิน ๑๐. สถาบันครอบครัวคือเกราะปูองกันอันเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญของการดูแลเอาใจใส่และแนะนาใน สิ่งที่ถูกที่ควรให้แก่เด็กๆ ๕.๕ ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมสร้างสรรค์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ถึงแม้ว่าหน่วยงานภาครัฐจะมีความพยายามในการปูองกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ ง มี การออกมาตรการ กลไก และเครื่องมือ เช่น กฎหมาย หรือระเบียบต่างๆ เพื่อเฝูาระวัง ควบคุม และดูแลสังคม ในการปูองกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายจุดที่ยังไม่สามารถดาเนินการตรวจสอบ ได้อย่างทั่วถึงเต็มที่ เนื่องจากขาดแคลนด้านบุคลากร หรือระบบตรวจสอบที่ยังต้องมีการพัฒนา เรื่องจานวน เวลา และความถี่บ่อยของการเล่นอินเทอร์เน็ตและเกมว่า ยิ่งเล่นมาก โอกาสการ ติดอินเทอร์เน็ตและเกมก็ มากขึ้นตามไปด้วย การติดอินเทอร์เน็ตและเกมส่งผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ ดังจะเห็นได้จากข่าวเด็กติดเกมฆ่าตัวตาย เลียนแบบพฤติกรรมด้านลบของตัวละครในเกม ก่อคดีฉก ชิงวิ่งราวหาเงินจ่ายค่าชั่วโมงในการเล่นเกม บางรายเป็นโรคซึมเศร้าตัดขาดจากสังคม แยกไม่ออกระหว่างโลก จริงและโลกเสมือน เป็นต้น บทสรุปจากคณะทางาน เกมบาง เกมอาจทาให้รู้สึกผ่อนคลายหลบจากโลกภายนอก แต่เด็กบางคนที่ อยู่กับจอคอมพิวเตอร์หรือตู้เกมทั้งวัน จึงอาจกลายเป็นเด็กที่อยู่แต่กับตัวเองได้เหมือนกัน การเล่นอย่างขาด การควบคุมที่เรียกว่าติดเกมนั้น ส่งผลให้เด็กใช้เวลากับการเล่นเกมจนขาดความกระตือรือร้น ขาดความ รับผิดชอบต่อตนเองที่จะทากิจวัตรประจาวัน และหน้าที่สาคัญ โดยเฉพาะเรื่องการเรียน เพราะส่วนใหญ่เมื่อ ได้เล่นเกมแล้วจะเล่นอย่างหมกมุ่น ทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพกาย ทั้งเรื่องสายตา ความอ่อนล้าของกล้ามเนื้อ เด็กขาดโอกาสในการเรียนรู้จากการทากิจกรรมอื่นๆ เด็กบางคนที่อยู่กับจอคอมพิวเตอร์หรือตู้เกมทั้งวัน จึง อาจกลายเป็นเด็กที่อยู่แต่กับตัวเอง ขาดทักษะทางสังคมในการอยู่ร่วมกับคนอื่น เด็กที่ติดเกมหลายคนจะ หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย ไม่รู้จักแบ่งปันคนอื่น ใจแคบ และหลายคนก้าวร้าวมากขึ้น คุณพ่อคุณแม่อีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเป็นส่วนใหญ่ที่ตัดสินใจซื้อเกมให้ลูกเล่น เพราะทนลูกเรียกร้องไม่ไหว หรือกลัวว่าลูกจะไม่ทันเพื่อน หรือ เพราะเห็นประโยชน์จากเกมอยู่ไม่น้อย เมื่อซื้อเกมให้ลูกเล่นแล้วก็ต้องคาดคานึงพฤติกรรมในอนาคตของลูกไว้ บ้าง ตลอดจนต้องใส่ใจกากับดูแลการเล่นของลูกกันตั้งแต่ต้นให้ดีเลยทีเดียว จึงควรแนะนาให้ลูกเลือกเล่นเกม ที่ช่วยฝึกการสังเกต ฝึกทักษะความไวในการโต้ตอบ ฝึกไหวพริบ สร้างสรรค์หรือประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ จะดีกว่าการ ห้าม ดูแลเวลาเด็กเล่นเกม และดูเกมที่ลูกเลือกเล่น ในประเด็นแรก คุณพ่อคุณแม่ต้องมีกติกาชัดเจนว่าเล่น เกมได้เวลาไหน นานเท่าไหร่ เช่นจะให้เล่นได้หลังจากทาการบ้านเสร็จแล้ว ไม่เกินครึ่งชั่วโมง กากับดูแลให้


เป็นไปตามข้อตกลง พร้อมมีกิจกรรมที่น่าสนใจอื่นๆ เป็นทางเลือกให้ลูกด้วย อย่าปล่อยให้เด็กเล่นไปเรื่อยๆ หรือใช้วิธีพูดโดยไม่มีท่าทางกากับอย่างหนักแน่นจริงจังประการที่สองที่คุณพ่อคุณแม่ต้องเรียนรู้เกมที่ลูกเล่น ด้วย พูดคุยกับลูกเรื่องเกมที่เขาสนใจ เลือกเกมที่เป็นกีฬา การผจญภัย หรือเกมในทางสร้างสรรค์อื่นๆ มาเล่น กับลูก การแก้ไข ถ้าลูกเล่นเกมจนติดเกมไปแล้ว การแก้ไขก็จะต้องการความมั่นคงจากคุณพ่อแม่มาก ทั้ง ความมั่นคงทางอารมณ์ และความตั้งใจที่จะแก้ปัญหาอย่างจริงจัง เริ่มจากการตกลงกติกากันให้ชัดเจน ซึ่งคุณ พ่อคุณแม่ก็ต้องกากับให้เป็นตามข้อตกลง ในช่วงแรกเด็กจะหงุดหงิด และต่อต้านผู้ใหญ่ เพราะเขาเคยต่อรอง ได้ผลมาก่อน คุณพ่อและคุณแม่ต้องพยายามอย่าใช้อารมณ์กับลุก ด้วยท่าทีธรรมดา แต่มั่นคงว่า "เราตกลงกัน แล้วก็ต้องทาตามที่ตกลง" อย่าเอาแต่พูดบ่นโดยไม่มีท่าทีเอาจริง ในช่วงแรกอาจต้องชักจูงให้ลูกมาสนใจใน กิจกรรมอื่น ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ต้องให้เวลากับเขาพอสมควร อย่าท้อถอยหรือพูดประชด เมื่อเด็กเห็นว่าต่อรอง ไม่ได้ก็จะทาตามในที่สุด นอกจากนี้ อีกทางเลือกหนึ่งควรมีการดึงความสนใจของลูกให้ออกห่างจากเกม โยอาจแบ่งการใช้ เวลาในวันหยุดของลูกๆ ออกอย่างเป็นกิจ จะลักษณะ ตัวอย่างเช่น ในวันเสาร์ หากิจกรรมอื่นๆที่อยู่ในความ สนใจของลูกให้ทา เช่น ให้ลูกเข้าอบรม เรียนดนตรี เรียนศิลปะ เต้นรา เล่นกีฬา เรียนภาษาเพิ่มเติม เข้าค่าย เยาวชน พายามหากิจกรรมต่างๆ ที่คิดว่าเหมาะสมกับลูกมาให้เขารู้จัก ให้เขาได้เลือกเอง สิ่งที่เด็กได้รับ นอกจากเพิ่มทักษะด้านต่างๆ แล้วยังมีเพื่อนมากขึ้น รู้จักเข้าสังคมกับคนอื่นๆ โดยเฉพาะกับเด็กรุ่นเดียวกัน การหากิจกรรให้ลูกทาเหล่านี้ จะทาให้ลูกไม่อยู่กับตัวเองมากเกินไป และมีโลกทัศน์กว้างขึ้น วันอาทิตย์ สร้างสรรค์กิจกรรมที่ทาร่วมกันในครอบครัว เช่น ช่วยคุณแม่ทาอาหาร ช่วยคุณพ่อปลูกต้นไม้ ไปเที่ยว ต่างจังหวัด ไปปิกนิก เป็นต้น ประโยชน์ทไี่ ด้รับ ๑. ทาให้ทราบข้อมูลและสภาวะการติดเกมและต้นทุนชีวิตของเยาวชนอายุ ๑๒ - ๒๕ ปี และเกิด การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการดูแล เฝูาระวัง เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหา เด็กติด เกมในพื้นที่ตาบลดงลาน ๒. มีมาตรการหรือแนวทางในการปูองกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกมในตาบลดงลาน ซึ่งเป็น พื้นที่นาร่อง ของจังหวัดร้อยเอ็ดเพื่อนาไปปรับใช้ในการหารมาตรการและแนวทาง แก้ไขปัญหาเด็กติดเกมใน พื้นที่อื่นๆ ต่อไป ข้อเสนอแนะ ในการสารวจข้อมูล/ศึกษา ครั้งต่อไป ควรเพิ่มขนาดกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างให้มากขึ้น และควรเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยสอบถามข้อมูลพื้นฐานของครอบครัว/การเรียน เพื่อน สิ่งแวดล้อมฯลฯ ประกอบควบคู่ไปด้วย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนมากขึ้น



บทที่ ๖ ผลการบูรณาการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม ๖.๑ ผลการสารวจสถานการณ์ปัญหายาเสพติดของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ สถานการณ์ยาเสพติดในภาพรวมของจังหวัด ๑. ประเภทยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาด ได้แก่ ยาบ้า,กัญชา,พืชกระท่อม และสารระเหย ๑.๑ กลุ่มผู้ค้ายาเสพติดส่วนใหญ่จะเป็นผู้เสพจนติดจาเป็นต้องหายามาเพื่อเสพ และแบ่งขาย ให้กับ พรรคพวกในกลุ่มเดียวกัน เพื่อนาเงินไปซื้อยามาเสพต่อ ๑.๒ วิธีการกระทาผิด ส่วนใหญ่จะหาซื้อมาแบ่งขายในกลุ่มเดียวกันในลักษณะทยอยมาครั้งละไม่ เกิน ๑๐๐ – ๒๐๐ เม็ด แล้วจะรีบกระจายขายให้กับคนรู้จักคุ้นเคยเท่านั้น ๑.๓ ผู้ค้าในปัจจุบัน ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติดหรือเคยถูกจับกุมมาก่อน ๑.๔ ผู้ค้าส่วนหนึ่งรู้จักกันในเรือนจา เมื่อพ้นโทษออกมาก็จะร่วมกันกลับมาค้ายาอีก ๑.๕ ราคายาบ้านในพื้นที่ ประมาณเม็ดละ ๒๐๐ – ๕๐๐ บาท ๑.๖ กลุ่มผู้เสพในพื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มวัยรุ่น นักเรียน นักศึกษา และผู้ใช้แรงงาน ๑.๗ ปัจจุบันเริ่มพบในกลุ่มคนทางานเพิ่มมากขึ้น ๑.๘ รูปแบบการค้า จะติดต่อสั่งซื้อทางโทรศัพท์โดยใช้ SIM หลายอัน เปิดบัญชีธนาคารในชื่อ บุคคล อื่น ทรัพย์สินอยู่ในชื่อบุคคลอื่น ๒. สถานการณ์การค้ายาเสพติด ๒.๑ นักค้ายาบ้า ในพื้นที่มีลักษณะเป็นรายย่อย ไม่เกิน ๑,๐๐๐ เม็ด ส่วนใหญ่จะพัฒนามาจากผู้ เสพ โดยมีรูปแบบการค้าคือ ผู้ขายจะขายให้กับบุคคลที่ใกล้ชิดคุ้นเคยกันเท่านั้น ติดต่อซื้อขายกันทางโทรศัพท์ แล้วนัดส่งมอบยาบ้าด้วยวิธียื่นหมูยื่นแมว วางยาบ้าแล้วรับเงิน โอนเงินเข้าบัญชีแล้วค่อยรับยาบ้าภายหลัง ๒.๒ ราคายาบ้า เม็ดละ ๗๕ ถึง ๑๕๐ ขายให้ผู้ค้ารายย่อยเม็ดละ ๒๐๐ – ๒๕๐ บาท ขายให้ผู้ เสพ เม็ดละ ๓๕๐ – ๕๐๐ บาท ๒.๓ ส่วนการค้ากัญชา มีการลักลอบซื้อขายเฉพาะกลุ่มเดิม ซึ่งเคยถูกจับกุมมาแล้วหลายครั้ง และผู้กระทาผิดมีอายุเกิน ๔๐ ปี และมีบางส่วนนับไปแลกกับยาบ้า


๒.๔ ราคากัญชาที่ซื้อขายกันในพื้นที่ กิโลกรัมละ ๗,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ บาท ๓. นโยบาย และแนวทางป้องกันปราบปรามยาเสพติด เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบัน การก่ออาชญากรรม และการแพร่ระบาดยาเสพติด ยังคงเป็น ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ และมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงที่มีการขัดแย้ง ทางสังคม การเมือง ตลอดจนปัญหาเศรษฐกิจตกต่า จนมีการร้องเรียนจากประชาชนและองค์กรที่เกี่ยวข้องให้ เร่งรัดแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้ลดน้อยลง และหมดสิ้นไป จังหวัดร้อยเอ็ด โดยตารวจภูธรจังหวัดร้อยเอ็ด ในฐานะหน่วยดาเนินงานด้านการปราบปราม ยา เสพติด ได้ดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาล/ตร. โดยจัดทาแผนระดมปูองกันปราบปรามยาเสพติด ให้สถานี ตารวจในสังกัดดาเนินการ ดังนี้ ๑. การป้องกัน - จัดกาลังเจ้าหน้าที่ทั้งในและนอกเครื่องแบบออกกวดขัน ตรวจตราในพื้นที่ และให้ออกคาสั่ง มอบหมายตารวจทุกคนรับผิดชอบหมู่บ้าน ชุมชน ในเขตพื้นที่ หมู่บ้านละ ๑ คน ออกสืบสวนหาข่าวเพื่อ สนับสนุนข้อมูล - การตั้งจุดตรวจ จุดสกัด การตั้งด่านในลักษณะใยแมงมุม เน้นเส้นทางลาเลียง โดยให้ เชื่อมโยงระหว่าง จังหวัด อาเภอ หมู่บ้าน ฯลฯ - จัดชุมเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือและเผยแพร่ข่าวสาร ชี้แจงพ่อค้า ประชาชน ผู้ปกครอง นักเรียน นักศึกษาในพื้นที่ได้รับทราบถึงโทษของภัยยาเสพติด ๒. การสืบสวน สอบสวน และปราบปราม - จัดตั้งศูนย์ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด ตารวจภูธรจังหวัด(ศพส.ภ.จว.) โดยสั่งการให้แต่ละ สถานีตารวจออกคาสั่งมอบหมายเจ้าหน้าที่ชุดปราบปรามยาเสพติด สภ.ละ ๑ ชุด/ภ.จว.ร้อยเอ็ด ๑ ชุด รวม เป็นจานวน ๓๔ ชุด เพื่อออกสืบสวนปราบปรามจับกุมในพื้นที่รับผิดชอบ - จัดทาบัญชีผู้ค้า ผู้เสพอย่างเป็นระบบ ตามแนวทางการสืบสวนปราบปราม - เมื่อมีการจับกุม ผู้เสพ ให้มีการซักถามเพื่อนาไปสู่การจับกุมผู้ค้ารายใหญ่ และเชื่อมโยง เครือข่ายยาเสพติด โดยทาเป็นสานวนการสืบสวนขยายผล - เจ้าพนักงานสืบสวนสอบสวนทุกคนทาเครือข่ายยาเสพติด คนละ ๑ เครือข่าย แต่ละ เครือข่ายมีผู้เกี่ยวข้องตั้งแต่ ๕ คน ขึ้นไป


- ทาลายเครือข่าย โดยการยึดทรัพย์ตามพระราชบัญญัติมาตรการฯ พ.ศ. ๒๕๓๔ ๖.๒ ผลการตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้านเกม/อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอด ยาเสพติด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดาเนินตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้าน เกม/อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอดยาเสพติด ในพื้นที่จังหวัด โดยดาเนินการ ๒ โครงการ ดังนี้ ๖.๒.๑ โครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของ สถาน ประกอบกิจการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพใน การ ปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ – เดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถาน ประกอบกิจการร้านเกม มีปูายแจ้งเตือนถึงแนวปฏิบัติตามกฎหมายเป็นแนวเดียวกันทุกแห่ง เป็นการอานวย ความสะดวกและประชาสัมพันธ์เผยแพร่สาระสาคัญตลอดจนขั้นตอน วิธีการขอรับบริการตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และ วีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ส่งเสริมความเป็นระเบียบเรียบร้อยและลดจานวนผู้กระทาผิดฝุาฝืนข้อกฎหมายลง การประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบกิจการรวมจานวน ๑,๐๐๐ แผ่น ซึ่งตามเปูาหมายให้ครบทั้ง ๒๐ อาเภอๆละ ๒๐ ชุด ปัญหา อุปสรรค ๑. ผู้ประกอบกิจการร้านเกมอินเทอร์เน็ตไม่ให้ความสาคัญที่จะนาปูายประชาสัมพันธ์ไปปิด ไว้ในสถานประกอบกิจการของตนเอง ๒. ผู้ประกอบกิจการร้านเกมอินเทอร์เน็ตไม่ได้ศึกษาสาระสาคัญ ขั้นตอน วิธีการต่างๆ จากแผ่น โปสเตอร์เงื่อนไขการประกอบกิจการร้านเกมตามกฎกระทรวงและพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖.๒.๒ โครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และ วีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และปูองกัน แก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ ตาม


พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และปูองกัน แก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ปฏิบัติตามเงื่อนไข มาตรการ ประกาศ กฎกระทรวง ตลอดจน กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด เป็นการส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการ ร้านวีดิทัศน์ตาม พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและประชาชน ตลอดจนเป็นการสร้างจิตสานึกร่วมกันในการรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ เป็นการปูองปรามมิให้ สถานประกอบกิจการเป็นแหล่งหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม ความเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรม ตลอดจน เป็นแหล่งมั่วสุมอบายมุขและยาเสพติดอื่นๆ การตรวจติดตามสถานประกอบการร้านวีดิทัศน์ จานวน ๘๗๕ แห่ง โดยสุ่มตรวจจาก ๒๐ อาเภอๆละ ๑๐ แห่ง และตรวจติดตามโครงการจัดระเบียบสังคมของจังหวัด เดือนละอย่างน้อย ๒ ครั้งในพื้นที่อาเภอเมืองร้อยเอ็ด ผลการดาเนินงาน ในการออกตรวจติดตามสถานประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์ และ วีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ของจังหวัดร้อยเอ็ดได้รับเกียรติจากท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายธัชชัย สีสุวรรณ เป็นประธานในการออกตรวจสถานประกอบกิจการ วัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด นางพรพิมล คงตระกูล พนักงานเจ้าหน้าที่จากที่ทาการปกครองอาเภอเมืองร้อยเอ็ด และพนักงานเจ้าหน้าที่จาก สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมตรวจสถานประกอบการโดยตรวจแบบบูรณาการ ในการตรวจสถาน ประกอบการได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบกิจการเป็นอย่างดี ได้ชี้แจงในเรื่องการเปิด – ปิด การตรวจ บัตรประจาตัวประชาชนเพื่อตรวจดูในเรื่องอายุผู้เข้าใช้บริการ และได้กาชับในเรื่องให้ปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบกฎหมาอื่นที่เกี่ยวข้อง และเงื่อนไขตามที่ กฎกระทรวงได้กาหนดไว้อย่างเคร่งครัดตลอดจนการดูแลเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติด และเฝูา ระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการและในชุมชนร่วมกัน ๖.๓ ผลการขับเคลื่อนเครือข่ายศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษาเฝ้าระวัง สถานการณ์ปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด อยู่ในพื้นที่ตอนในเป็นเพียงเส้นทางผ่านของการค้ายาเสพติด ไม่ใช่จุดพักยา สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดโดยทั่วไปอยู่ในระดับเบาบาง สามารถควบคุมได้ชนิดของยาเสพติด


ที่มีการแพร่หลายในพื้นที่มาที่สุดเป็นยาบ้า สารระเหยและกัญชา นับแต่จังหวัดร้อยเอ็ดได้ประกาศสงครามกับ ยาเสพติดและดาเนินการอย่างเข้มข้นจนสามารถประกาศชัยชนะต่อยาเสพติดเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๖ พบว่า สถานการณ์และแนวโน้มปัญหายาเสพติดลดระดับความรุนแรงลงอย่างมาก ภายหลังได้ดาเนินการ ตามปฏิบัติการต่างๆ ที่รัฐบาลกาหนดขึ้นเป็นระยะตลอดมา จากผลของการดาเนินงานปูองกันและแก้ไข ปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง สามารถลดระดับความรุนแรงของปัญหาจนอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหากระทบ ต่อการดารงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชนได้ อันเป็นผลมาจากการดาเนินการปูองกันและแก้ไขปัญหาในรูป ของภาคีร่วมทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งองค์กรภาคประชาชน การดาเนินการที่ผ่านมาถึงแม้ว่าจะสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้ จนไม่ ส่งผลกระทบต่อสังคมในส่วนร่วมแต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับ สถานการณ์การค้ายาเสพติดของประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผล ให้การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จาเป็นที่จะต้องมีการดาเนินการปูองกันและ ปราบปรามอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้ปัญหายาเสพติดขยายตัวเพิ่มขึ้นมาอีก ดังนั้น ศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษาวัดโพธิการาม ตาบลโนนสูง อาเภอ ปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ให้ความสาคัญในการเฝูาระวังสถานการณ์ปัญหายาเสพติด เพื่อแก้ไขปัญหายา เสพติดเป็นอย่างยิ่ง ถือว่าการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นภารกิจหลักที่ทุกคนต้องช่วยกันดูแลแก้ไข เป็นปัญหา ความมั่นคงและปัญหาของสังคมที่ต้องแก้ไขทุกด้านอย่างครบวงจรปัญหา ดาเนินงานอย่างใกล้ชิด จริงจัง เพื่อให้เกิดการบูรณาการ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ที่ผ่านมามีการบริหารจัดการในการแก้ไขปัญหายาเสพ ติดที่สาคัญๆ ดังนี้ ๑. จัดกิจกรรมเฝูาระวังและสอดส่องพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน ๒. จัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ๓. การจัดกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดโดยการจัดนิทรรศการ ๖.๔ ผลการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดทาจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ปูองกันและแก้ไขปัญหา ยา เสพติดในมิติวัฒนธรรม โดยการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ คือ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถาน


ประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ขึ้นในวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมร่มอินทนินปาร์ค อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ประกอบการ ได้มี ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องตลอดทั้งวิธีปฏิบัติและขั้นตอนต่างๆ และเพื่อให้ ผู้ประกอบการได้รับทราบแนวทางการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการเป็นการสร้าง ภูมิคุ้มกันให้ผู้ประกอบการ โดยมีเปูาหมายประกอบด้วยผู้ประกอบการตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิ ทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๐ คน พนักงานเจ้าหน้าที่จากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น จานวน ๓๐ คน และพนักงานเจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๕ คน รวมทั้งสิ้น จานวน ๙๕ คน ผลการดาเนินงาน ได้รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายสมศักดิ์ ขาทวี พรหม เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จาก สานักงานอัยการจังหวัดร้อยเอ็ด จากสถานีตารวจภูธรจังหวัดร้อยเอ็ด และจาก ปปป.ส. ภาค ๔ จังหวัด ขอนแก่น จากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดียิ่งมี ผู้เข้าร่วมประชุมตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ และได้รับเกียรติจากหัวหน้าส่วนในจังหวัดร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน ประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม หลายภาคส่วน จากการประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าวผู้เข้าประชุมมี ความรู้ เข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ตลอดทั้งการเฝูาระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและ สถานประกอบกิจการ


บทที่ ๗ สรุปและอภิปรายผล รายงานผลการดาเนินภารกิจงานที่ได้รับมอบหมายจากสานักเฝูาระวังทางวัฒนธรรมและ ประชาสัมพันธ์ สานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สรุป รายละเอียดได้ ดังนี้ ๑. การดาเนินงานเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม กิจกรรมที่ดาเนินการประกอบด้วย - กิจกรรมรณรงค์ปลุกจิตสานึก การแจ้งเตือนภัยและการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและวัฒนธรรม สรุปผลการดาเนินงาน จัดค่ายฝึกอบรมค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพือ่ สร้างภูมิคุม้ กันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมทีพ่ ึง ประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จานวน ๒ วัน ๑ คืน ระหว่างวันที่ ๓๐ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ อาคารสโมสรนายทหาร จังหวัดทหารบกร้อยเอ็ด ซึ่งมีเปูาหมายเป็นเยาวชนนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาจาก โรงเรียน ซึ่งเป็นเครือข่ายศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม จานวน ๓ โรงเรียน ในจังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ โรงเรียน สตรีศึกษา โรงเรียนขัติยะวงษา โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม โรงเรียนละ ๓๕ คน และนักเรียนเครือข่าย ศาสนาต่างๆ รวม ๑๔๐ คน ครู ผู้ควบคุมดูแลนักเรียน โรงเรียนละ ๒ คน รวม ๘ คน และข้าราชการ เจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๒๒ คน รวมเป็น ๑๗๐ คน โดยจัดกิจกรรม จานวน ๔ กิจกรรม ดังนี้ ๑) จัดบรรยายให้ความรู้แก่เยาวชนในการรณรงค์การเฝูาระวังทางวัฒนธรรม/จัดเสวนาทาง วิชาการให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะสาหรับวัยรุ่น เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสานึกการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม การแจ้ง เตือนภัย การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ความปรองดองสมานฉันท์ และ เสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์ สุจริต

๓)

พอเพียง เสียสละ มีน้าใจ ๔) ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ๕) รู้หน้าที่ มีวินัย ภูมิใจในความเป็นไทย ๒) จัดอบรมบรรยาย/เสวนาทางวิชาการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์


๓) จัดกิจกรรมกลุ่ม/ให้เยาวชนระดมความคิดเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม หาแนวทางในการ ผลิตสื่อและคัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อเผยแพร่ต่อไป ๔) สนับสนุนให้โรงเรียนที่เป็นเครือข่ายศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม ๔ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน ร้อยเอ็ดวิทยาลัย โรงเรียนสตรีศึกษา โรงเรียนขัติยะวงษา และโรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม ร่วมจัดทาสื่อ โปสเตอร์ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ขนาด ๑๒๐ x ๒๔๐ เซนติเมตร เข้ารับการคัดเลือกโรงเรียนละ ๒ แผ่น เพื่อ รับรางวัล จานวน ๑๐,๐๐๐ บาท แยกเป็น ๔ รางวัล ได้แก่ ชนะเลิศ จานวน ๔,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศ อันดับ ๑ จานวน ๓,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศ อันดับ ๒ จานวน ๒,๐๐๐ บาท และชมเชย จานวน ๑,๐๐๐ บาท - การตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้านเกม/อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอดยาเสพติด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดาเนินตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้านเกม/ อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอดยาเสพติด ในพื้นที่จังหวัด โดยดาเนินการ ๒ โครงการ ดังนี้ ๑. โครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของสถาน ประกอบกิจการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการ ปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ – เดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถาน ประกอบกิจการร้านเกม มีปูายแจ้งเตือนถึงแนวปฏิบัติตามกฎหมายเป็นแนวเดียวกันทุกแห่ง เป็นการอานวย ความสะดวกและประชาสัมพันธ์เผยแพร่สาระสาคัญตลอดจนขั้นตอน วิธีการขอรับบริการตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ส่งเสริมความเป็นระเบียบเรียบร้อยและลดจานวนผู้กระทาผิดฝุาฝืนข้อ กฎหมายลง การประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบกิจการ รวมจานวน ๑,๐๐๐ แผ่น ซึ่งตามเปูาหมายให้ครบทั้ง ๒๐ อาเภอๆละ ๒๐ ชุด ๒. โครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดี ทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ และปูองกันแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติ


ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ปฏิบัติตามเงื่อนไข มาตรการ ประกาศ กฎกระทรวง ตลอดจน กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด เป็นการส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการ ร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและ ประชาชน ตลอดจนเป็นการสร้างจิตสานึกร่วมกันในการรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ เป็นการปูอง ปรามมิให้สถานประกอบกิจการเป็นแหล่งหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม ความเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรม ตลอดจนเป็นแหล่งมั่วสุมอบายมุขและยาเสพติดอื่นๆ การตรวจติดตามสถานประกอบการร้านวีดิทัศน์ จานวน ๘๗๕ แห่ง โดยสุ่มตรวจจาก ๒๐ อาเภอๆละ ๑๐ แห่ง และตรวจติดตามโครงการจัดระเบียบสังคม ของจังหวัดเดือนละอย่างน้อย ๒ ครั้งในพื้นที่อาเภอเมืองร้อยเอ็ด ผลการดาเนินงาน ในการออกตรวจติดตามสถานประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ ของจังหวัดร้อยเอ็ดได้รับเกียรติจากท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายธัชชัย สีสุวรรณ เป็นประธานในการออกตรวจสถานประกอบกิจการ นางพรพิมล คงตระกูล วัฒนธรรม จังหวัดร้อยเอ็ด พนักงานเจ้าหน้าที่จากที่ทาการปกครองอาเภอเมืองร้อยเอ็ด และพนักงานเจ้าหน้าที่จาก สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมตรวจสถานประกอบการโดยตรวจแบบบูรณาการ ในการตรวจสถาน ประกอบการได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบกิจการเป็นอย่างดี ได้ชี้แจงในเรื่องการเปิด – ปิด การตรวจ บัตรประจาตัวประชาชนเพื่อตรวจดูในเรื่องอายุผู้เข้าใช้บริการ และได้กาชับในเรื่องให้ปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบกฎหมาอื่นที่เกี่ยวข้อง และเงื่อนไขตามที่ กฎกระทรวงได้กาหนดไว้อย่างเคร่งครัดตลอดจนการดูแลเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติด และเฝูา ระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการและในชุมชนร่วมกัน - การขับเคลื่อนเครือข่ายศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษาเฝ้าระวัง สถานการณ์ ปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด อยู่ในพื้นที่ตอนในเป็นเพียงเส้นทางผ่านของการค้ายาเสพติด ไม่ใช่จุดพักยา สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดโดยทั่วไปอยู่ในระดับเบาบาง สามารถควบคุมได้ชนิดของยาเสพติด ที่มีการแพร่หลายในพื้นที่มาที่สุดเป็นยาบ้า สารระเหยและกัญชา นับแต่จังหวัดร้อยเอ็ดได้ประกาศสงครามกับ ยาเสพติดและดาเนินการอย่างเข้มข้นจนสามารถประกาศชัยชนะต่อยาเสพติดเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๖ พบว่า สถานการณ์และแนวโน้มปัญหายาเสพติดลดระดับความรุนแรงลงอย่างมาก ภายหลังได้ดาเนินการ ตามปฏิบัติการต่างๆ ที่รัฐบาลกาหนดขึ้นเป็นระยะตลอดมา จากผลของการดาเนินงานปูองกันและแก้ไข ปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง สามารถลดระดับความรุนแรงของปัญหาจนอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหากระทบ ต่อการดารงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชนได้ อันเป็นผลมาจากการดาเนินการปูองกันและแก้ไขปัญหาในรูป


ของภาคีร่วมทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งองค์กรภาคประชาชน การดาเนินการที่ผ่านมาถึงแม้ว่าจะสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้ จนไม่ ส่งผลกระทบต่อสังคมในส่วนร่วมแต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับ สถานการณ์การค้ายาเสพติดของประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผล ให้การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จาเป็นที่จะต้องมีการดาเนินการปูองกันและ ปราบปรามอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้ปัญหายาเสพติดขยายตัวเพิ่มขึ้นมาอีก ดังนัน้ ศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษาวัดโพธิการาม ตาบลโนนสูง อาเภอ ปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ให้ความสาคัญในการเฝูาระวังสถานการณ์ปัญหายาเสพติด เพื่อแก้ไขปัญหายา เสพติดเป็นอย่างยิ่ง ถือว่าการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นภารกิจหลักที่ทุกคนต้องช่วยกันดูแลแก้ไข เป็นปัญหา ความมั่นคงและปัญหาของสังคมที่ต้องแก้ไขทุกด้านอย่างครบวงจรปัญหา ดาเนินงานอย่างใกล้ชิด จริงจัง เพื่อให้เกิดการบูรณาการ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ที่ผ่านมามีการบริหารจัดการในการแก้ไขปัญหายาเสพ ติดที่สาคัญๆ ดังนี้ ๑. จัดกิจกรรมเฝูาระวังและสอดส่องพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน ๒. จัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ๓. การจัดกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดโดยการจัดนิทรรศการ - การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดทาจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ปูองกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดในมิติวัฒนธรรม โดยการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ คือ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบ กิจการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ขึ้นในวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมร่ม อินทนินปาร์ค อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องตลอดทั้งวิธีปฏิบัติและขั้นตอนต่างๆ และเพื่อให้ ผู้ประกอบการได้รับทราบแนวทางการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการเป็นการสร้าง ภูมิคุ้มกันให้ผู้ประกอบการ โดยมีเปูาหมายประกอบด้วยผู้ประกอบการตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิ ทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๐ คน พนักงานเจ้าหน้าที่จากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น จานวน ๓๐ คน และพนักงานเจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๕ คน รวม ทั้งสิ้น จานวน ๙๕ คน


ผลการดาเนินงาน ได้รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายสมศักดิ์ ขาทวีพรหม เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จาก สานักงานอัยการจังหวัดร้อยเอ็ด จากสถานีตารวจภูธรจังหวัดร้อยเอ็ด และจาก ปปป.ส. ภาค ๔ จังหวัด ขอนแก่น จากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดียิ่งมี ผู้เข้าร่วมประชุมตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ และได้รับเกียรติจากหัวหน้าส่วนในจังหวัดร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน ประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม หลายภาคส่วน จากการประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าวผู้เข้าประชุมมี ความรู้ เข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ตลอดทั้งการเฝูาระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและ สถานประกอบกิจการ - การสร้างหรือจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม และการพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพให้กับ เครือข่ายเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ดาเนินการจัดตั้งศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม และการพัฒนาองค์ ความรู้และศักยภาพให้กับเครือข่ายเฝูาระวังทางวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานเฝูาระวังทางวัฒนธรรม ให้กับสถานศึกษาจานวน ๔ แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการค่ายเยาวชน สมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ผลการดาเนินงาน จังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดตั้งศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จานวน ๔ แห่ง ประกอบด้วย ๑. โรงเรียนสตรีศึกษา ๒. โรงเรียนขัติยะวงษา ๓. โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม ๔. โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ๒. ผลการดาเนินงานพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ รายละเอียดประกอบด้วย


สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ในฐานะฝุายเลขานุการคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด ได้จัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด จานวน ๒ ครั้ง ดังนี้ ประชุมครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น ๒ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ประชุมครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น ๒ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ดาเนินการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ดีเด่นตามมติคณะอนุกรรมการสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด โดยดาเนินการประกวด/คัดเลือก เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ผลการประกวด/คัดเลือก มีดังนี้ การผลิต

VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดาเนินโครงการผลิต

VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้าง

ค่านิยมพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เด็ก เยาวชน และประชาชนตระหนัก และเห็นความสาคัญของ การประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมพื้นฐาน ๕ ประการและ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ค่านิยมพื้นฐาน ๕ ประการ ให้เป็นที่รู้จักของเด็ก เยาวชน และประชาชน อันจะเป็น รากฐานในการพัฒนาประเทศ โดยผลิต VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐานแจกจ่ายให้สถานศึกษา และผู้สนใจทั่วไป จานวน ๑๐๐ แผ่น เป็นสารคดีสั้น จานวน ๒ เรื่อง คือ สารคดีเรื่อง พ่อหลวง และสารคดี เรื่องเอกลักษณ์ไทย ๓. ผลการดาเนินงานสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม รายละเอียดประกอบด้วย ระเบียบวิธีการศึกษา เรื่อง การสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๕ ๖ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดย ใช้วิธีการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) ผู้ทรงคุณวุฒิของกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ๑. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ตามแบบสารวจซึ่งออกแบบโดย


๑. ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ เด็ก เยาวชนและประชาชนในจังหวัด ร้อยเอ็ด ที่มีอายุระหว่าง ๑๒-๑๕ ปี จานวน ๒๖๙,๐๒๓ คน ๒. กลุ่มตัวอย่างในการสารวจเป็นเด็กและเยาวชน อายุ ๑ ๒-๒๕ ปี และประชาชนทั่วไป เด็กและ เยาวชนที่อยู่ในระบบการศึกษา จานวน ๘๐๐ คน จาแนกตามอาเภอดังนี้ อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จานวน

๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลในเมือง ๑๐๐ คน ตาบลเหนือเมือง ๑๐๐ คน) อาเภอ

เสลภูมิ

จานวน ๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลกลาง ๑๐๐ คน ตาบลนางาม ๑๐๐ คน) อาเภอโพนทอง

จานวน ๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลแวง ๑๐๐ คน ตาบลนาอุดม ๑๐๐ คน) อาเภอเกษตรวิสัย

จานวน ๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลเกษตรวิสัย ๑๐๐ คน ตาบลเมืองบัว ๑๐๐ คน) ประชาชนที่มีอายุ ๒๕ ปี ขึ้นไป ที่ประกอบอาชีพแล้ว จานวน ๔๐๐ คน พื้นที่ในการสุ่มตัวอย่างเพื่อ เก็บรวบรวมข้อมูล คือ อาเภอเมือง ร้อยเอ็ด อาเภอเสลภูมิ อาเภอโพนทอง และอาเภอเกษตรวิสัย จานวน อาเภอละ ๑๐๐ คน ๒. ขอบเขตการศึกษา ๒.๑ ขอบเขตด้านพื้นที่ที่สารวจอาเภอ

๔ อาเภอ ในจังหวัด ร้อยเอ็ด คือ อาเภอเมือง ร้อยเอ็ด อาเภอ

เสลภูมิ อาเภอโพนทอง และอาเภอเกษตรวิสัย ๒.๒ ขอบเขตด้านเนื้อหา สารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชนในมิติคือ ๑) ครอบครัว ๒) สื่อ ๓) ศาสนา ๔) ความมีน้าใจเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ ๕) การอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพ ผู้ใหญ่ มี สัมมาคารวะ ๖) ความซื่อสัตย์ไม่คดโกง ๗)การขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิดให้อภัย ๘) การรักนวล สงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ ๙) ความกตัญญูรู้คุณ ๑๐) การเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม ๑๑) การ เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น ๑๒) การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์


๒.๓ เนื้อหาด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม จะใช้สาหรับกลุ่ม

เด็กและ

เยาวชนเท่านั้น ๓. เครื่องมือในการสารวจ ใช้แบบสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งออกแบบโดยสถาบันรามจิตติและคณะทางานวิจัยจังหวัด นาร่องในการสารวจ ๑๐ จังหวัด เป็นเครื่องมือที่มีเนื้อหาที่ตรงความเป็นจริงในสังคมปัจจุบันมากที่สุด แบบสารวจเป็นแบบสารวจทัศนคติและความคิดเห็นซึ่งประกอบไปด้วย ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ซึ่งประกอบไปด้วย เพศ การศึกษา การอยู่อาศัย ส่วนที่ ๒ ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม ๑๒ ด้าน คือ ๑) ครอบครัว ๒) สื่อ ๓) ศาสนา ๔) ความ มีน้าใจเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ ๕) การอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ มีสัมมาคารวะ ๖) ความซื่อสัตย์ไม่ คดโกง ๗) การขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิด ให้อภัย ๘) การรักนวลสงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ ๙) ความ กตัญญูรู้คุณ ๑๐) การเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม ๑๑) การเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น ๑๒) การ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นแบบสารวจที่จัดระดับประมาณค่า ๕ ระดับคือ ๑. น้อยที่สุด ๒. น้อย ๓. ปานกลาง ๔. มาก ๕. มากที่สุด ส่วนที่ ๓ ข้อมูลด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรมสาหรับเด็กและเยาวชน ผลการศึกษาสารวจ ผลการวิจัยการสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชนจังหวัดร้อยเอ็ดแบ่ง ออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑. สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ตอนที่ ๑) ข้อมูลพื้นฐาน ของผู้ตอบแบบสารวจ ๒) ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม ๓) ข้อมูลด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพ


ติดในมิติวัฒนธรรม ๒. สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของประชาชนที่มีอายุ ๒๕ ปีขึ้นไป ซึ่งประกอบด้วย ตอนที่ ๑) ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ๒) ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชน ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ๘) ๙) -

เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๘๐๐ คน ชาย จานวน ๑๘๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๔๐ หญิง จานวน ๖๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๖๐ การศึกษา ในระบบการศึกษา เช่น มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา เป็นต้น จานวน ๘๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ๑๐) การอยู่อาศัย - อยู่กับพ่อและแม่ จานวน ๖๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๔๐ - อยู่กับพ่อและแม่ คนเดียว จานวน ๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๖๐ - อยู่กับญาติ เช่น ปูุย่าตายายหรือลุงปูาน้าอา จานวน ๑๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๙๐ - อยู่เองคนเดียว จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๑๐ ตอนที่ ๒ ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม มิติด้านครอบครัว มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้ น้าหนักในหัวข้อ ครอบครัวของฉันทานข้าวเย็นร่วมกัน เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๙๐ รองลงมาคือ ครอบครัวของฉันมีเวลาพูดคุยกัน ร้อยละ ๖๙.๖๐ ครอบครัวของฉันรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ร้อย ละ ๖๖.๗๐ ครอบครัวของฉันใช้เวลาเสาร์-อาทิตย์หรือวันหยุดร่วมกัน ร้อยละ ๔๙.๑๐ และครอบครัวของ ฉันมีการบอกรักกันระหว่างพ่อแม่ลูกเป็นปกติ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๑๐ มิติด้านสื่อ มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันดู ข่าวรายวันทางโทรทัศน์ เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ

๗๒.๘๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ Facebook,Google

plus,Line,Skype และ Social Media ต่าง ๆ ร้อยละ ๖๘.๗๐ ฉันติดตามข่าวสารทางเว็บไซต์ ร้อยละ ๓๒.๓๐ ฉันคิดว่าข่าวสารที่ปรากฏผ่านสื่อประเภท ต่างๆ มีความน่าเชื่อถือ ร้อยละ

๓๑.๔๐

ฉันอ่าน

หนังสือพิมพ์รายวัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๓๐ มิติด้านศาสนา มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันมีความศรัทธาในหลักคาสอนของศาสนาของฉัน เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๘๓.๐๐ รองลงมาคือ


ฉันเชื่อในการทาดีต้องได้ดี ทาชั่วต้องได้ชั่ว ร้อยละ ๘๒.๑๐ ฉันเข้าร่วมกิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา ร้อยละ ๖๐.๑๐ ฉันเข้าใจความหมายเบื้องหลังหรือกุศโลบายของพิธีกรรมทางศาสนา ร้อยละ ๕๔.๓๐ และหัวข้อ ฉันปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในชีวิตประจาวัน (สวดมนต์ ละหมาด ขอพรพระผู้เป็นเจ้า) เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๓๘ มิติด้าน ความมีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ

มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น เด็กและ

เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ เมื่อใช้บริการสาธารณะ ฉันสละที่นั่งให้แก่เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์ เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๓๐ รองลงมาคือ ฉันช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อมีโอกาส ร้อยละ ๗๗.๘๐ และ ฉันให้ บริจาคหรือเสียสละ ทรัพย์สิน สิ่งของและเวลาให้กับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือผู้ด้อยโอกาส เป็น ลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๓๐ มิติด้านการอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ มีสัมมาคารวะ มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น เด็ก และเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันไหว้พ่อแม่หรือผู้อาวุโสกว่าเมื่อได้พบเจอ เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ

๘๕.๖๐ รองลงมาคือ ฉันเชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ร้อยละ

๘๓.๒๐ และฉันพูดจาสุภาพ

เรียบร้อยกับผู้อาวุโสกว่าในทุกโอกาส เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๔๐ มิติดา้ นความซื่อสัตย์ ไม่คดโกง มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้ น้าหนักในหัวข้อ หากเก็บทรัพย์สินมีค่าของผู้อื่นได้ฉันจะประกาศหาเจ้าของเพื่อคืนของที่เก็บได้ทุกครั้ง เป็น ลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๘๐.๗๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ของของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต ร้อยละ ๔๐.๙๐ ฉัน เคยลอกข้อสอบหรือการบ้านจากเพื่อน ร้อยละ ๔๐.๓๐ และฉันเคยพูดโกหก เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็น ร้อยละ ๒๖.๗๐ มิติ ดา้ นการขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิด ให้อภัย

มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น เด็กและ

เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันขอโทษเมื่อกระทาความผิดทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจทุกครั้ง

เป็น

ลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๖๐ รองลงมาคือ ฉันกล่าวขอบคุณเมื่อได้รับสิ่งของ หรือความช่วยเหลือจาก ผู้อื่นทุกครั้ง ร้อยละ ๘๑.๗๐ และเมื่อเพื่อนรู้สึกตัวว่าทาผิดมาขอโทษ ฉันก็พร้อมที่จะให้อภัย เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็น ร้อยละ ๗๑.๑๐ มิติ ดา้ นการรักนวลสงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ

มีประเด็นในการสารวจ ๖ ประเด็น เด็กและ

ฉันระมัดระวังตนเองไม่ให้มีการถูกเนื้อต้องตัวกับเพื่อนต่างเพศเพื่อ


ไม่ให้เกิดปัญหาตามมาภายหลัง คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๕๐ รองลงมาคือ ฉันคิดว่าอยู่ด้วยกันก่อนแต่งงานเป็น เรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อยละ ๑๙.๔๐ ฉันไปเที่ยวกับเพื่อนต่างเพศในช่วงวันหยุดหรือช่วง กลางคืน ร้อยละ ๑๘.๙๐ ฉันคิดว่าการกอดจูบกันของวัยรุ่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อย ละ ๑๕.๑๐ ฉันมีแฟนหรือมีกิ๊กหลายคน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๑๐ และฉันคิดว่าการแต่งกายยั่วยวนเพศตรง ข้ามเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๑๐ มิตดิ า้ นความกตัญญูรู้คุณ มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนัก ในหัวข้อ ฉันดูแลและช่วยเหลืองานของพ่อแม่หรือครูอาจารย์ทุกโอกาส คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๐๐ รองลงมาคือ ฉันจะตอบแทนบุญคุณของชาติและแผ่นดินทุกครั้งที่มีโอกาส ร้อยละ ๗๒.๕๐ มิติ ดา้ นการเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม

มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น เด็กและ

เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันข้ามถนนโดยใช้สะพานลอยหรือทางม้าลาย เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๗๑.๔๐ รองลงมาคือ ฉันประพฤติตนตามกฎกติการะเบียบของโรงเรียนของชุมชนหรือของสถานที่ สาธารณะ ร้อยละ ๖๗.๓๐ ฉันจะต่อแถวหรือเข้าคิวทุกครั้งที่เข้าใช้บริการกรณีคนเยอะๆ ร้อยละ ๖๔.๓๐ และฉันไม่เคยทิ้งขยะในที่สาธารณะ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๘๐ มิติดา้ นการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันรับฟังความคิดเห็นของเพื่อหรือผู้อื่นทุกครั้งแม้จะไม่เห็นด้วยในใจ เป็นลาดับ แรก คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๙๐ รองลงมาคือ ฉันไม่เคยส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นในที่สาธารณะ หรือในโอกาสอื่นๆ ร้อยละ ๖๑.๐๐ มิติดา้ นการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันภาคภูมิใจพระมหากษัตริย์ของไทยที่ทรงเสียสละปกปูองอธิปไตยและพัฒนา ประเทศไทยจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๐๐ รองลงมาคือ ฉันยืนตรงเคารพธง ชาติทุกครั้งเมื่อได้ยินเสียงเพลงชาติในที่สาธารณะ ร้อยละ ๖๖.๘๐ฉันนากระแสพระราชดารัสและพระจริยวัตร ที่งดงามของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต

ร้อยละ ๖๐.๘๐ และฉันนา

แนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๒๐ (ค่าร้อยละมาจากผลบวกของค่าร้อยละในระดับมาก และมากที่สุด)


สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของประชาชนที่มีอายุ ๒๕ ปีขึ้นไป ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ๑) เพศ - ชาย

จานวน ๑๑๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๘.๘๐

- หญิง

จานวน ๒๘๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๗๑.๒๐

๒) การศึกษาสูงสุด - ประถมศึกษา จานวน ๖๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๕.๒๐ - มัธยมศึกษา จานวน ๒๕๗ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖๔.๒๐ - อาชีวศึกษา จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๘๐ - อุดมศึกษา จานวน ๗๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๙.๘๐ ๓) การอยู่อาศัย - อยู่กับครอบครัวพ่อแม่ลูก จานวน ๒๘๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๗๐.๕๐ - อยู่กับครอบครัวพ่อหรือแม่หรือลูก จานวน ๔๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๒.๓๐ - อยู่กับญาติ จานวน ๕๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๔.๗๐ - อยู่เองคนเดียว จานวน ๑๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๕๐ ตอนที่ ๒ ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม มิติด้านครอบครัว มีประเด็นในการสารวจ

๕ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ

ครอบครัวของฉันรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๗๔.๑๐ รองลงมาคือ ครอบครัวของฉันทานข้าวเย็นร่วมกัน ร้อยละ ๗๑.๓๐ ครอบครัวของฉันมีเวลาพูดคุยกัน ร้อยละ ๗๐.๘๐


ครอบครัวของฉันใช้เวลาเสาร์-อาทิตย์หรือวันหยุดร่วมกัน ร้อยละ ๔๕.๓๐ และครอบครัวของฉันมีการบอก รักกันระหว่างพ่อแม่ลูกเป็นปกติ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๘๐ มิติด้านสื่อ มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันดูข่าว รายวันทางโทรทัศน์

เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ

๗๒.๓๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ Facebook,Google

plus,Line,Skype และ Social Media ต่าง ๆ ร้อยละ ๔๕.๘๐ ฉันอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน ร้อยละ ๓๑.๓๐ ฉันติดตามข่าวสารทางเว็บไซต์

ร้อยละ ๒๒.๘๐ และฉันคิดว่าข่าวสารที่ปรากฏผ่านสื่อประเภทต่าง ๆ มี

ความน่าเชื่อถือ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๖๐ มิติ ดา้ นศาสนา มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันเชื่อในการทาดีต้องได้ดี ทาชั่วต้องได้ชั่ว เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๕๐ รองลงมาคือ ฉันมีความ ศรัทธาในหลักคาสอนของศาสนาของฉัน ร้อยละ ๖๗.๖๐ ฉันเข้าร่วมกิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา ร้อย ละ ๖๒.๘๐ ฉันเข้าใจความหมายเบื้องหลังหรือกุศโลบายของพิธีกรรมทางศาสนา ร้อยละ ๔๐.๑๐ และฉัน ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในชีวิตประจาวัน (สวดมนต์ ละหมาด ขอพรพระผู้เป็นเจ้า)

เป็นลาดับสุดท้าย

ร้อยละ ๓๔.๘๐ มิตดิ า้ นความมีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ เมื่อใช้บริการสาธารณะ ฉันสละที่นั่งให้แก่เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์ เป็นลาดับ แรก คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๖๐ รองลงมาคือ ฉันช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อมีโอกาส ร้อยละ ๗๔.๐๐ และฉันให้ บริจาคหรือเสียสละ ทรัพย์สิน สิ่งของและเวลาให้กับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือผู้ด้อยโอกาส

คิดเป็น

ร้อยละ ๕๘.๓๐ มิติ ดา้ นการอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ มีสัมมาคารวะ

มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น

ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันไหว้พ่อแม่หรือผู้อาวุโสกว่าเมื่อได้พบเจอ เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๘๑.๓๐ รองลงมาคือ ฉันพูดจาสุภาพเรียบร้อยกับผู้อาวุโสกว่าในทุกโอกาส ร้อยละ ๗๖.๓๐ และ ฉันเชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๗๔.๘๐ มิตดิ า้ นความซื่อสัตย์ ไม่คดโกง มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนัก ในหัวข้อ หากเก็บทรัพย์สินมีค่าของผู้อื่นได้ฉันจะประกาศหาเจ้าของเพื่อคืนของที่เก็บได้ทุกครั้ง

เป็นลาดับ

แรก คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๓๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ของของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต ร้อยละ ๓๘.๑๐ ฉันยินดี


ให้สินบน หากทาให้งานเสร็จเร็วขึ้น ร้อยละ ๓๑.๘๐ และฉันเคยพูดโกหก เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๘๐ มิติดา้ นการขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิด ให้อภัย มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันขอโทษเมื่อกระทาความผิดทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจทุกครั้ง เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๘๓.๘๐ รองลงมาคือฉันกล่าวขอบคุณเมื่อได้รับสิ่งของ หรือความช่วยเหลือจากผู้อื่นทุกครั้ง ร้อยละ ๘๐.๘๐ และเมื่อเพื่อนรู้สึกตัวว่าทาผิดมาขอโทษ ฉันก็พร้อมที่จะให้อภัย เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็น ร้อยละ ๗๓.๑๐ มิตดิ า้ นการรักนวลสงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ มีประเด็นในการสารวจ ๖ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันระมัดระวังไม่ให้มีการถูกเนื้อต้องตัวกับเพื่อต่างเพศเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาตามมา ภายหลัง เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๓๘.๓๐ รองลงมาคือ ฉันแฟนหรือมีกิ๊กหลายคน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๐๐ ฉันคิดว่าอยู่ด้วยกันก่อนแต่งงานเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อยละ ๒๔.๐๐ ฉันคิดว่าการ กอดจูบกันของวัยรุ่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อยละ ๑๔.๒๕ และฉันคิดว่าการแต่งกายยั่วยวน เพศตรงข้ามเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๘๐ มิติดา้ นความกตัญญูรู้คุณ มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักใน หัวข้อ ฉันจะตอบแทนบุญคุณของชาติและแผ่นดินทุกครั้งที่มีโอกาส เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๓๐ รองลงมาคือ ฉันดูแลพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ ร้อยละ ๗๒.๓๐ มิติดา้ นการเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันประพฤติตนตามกฎกติการะเบียบของชุมชนหรือของสถานที่สาธารณะ เป็น ลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๖๐ รองลงมาคือฉันจะต่อแถวหรือเข้าคิวทุกครั้งที่เข้าใช้บริการกรณีคนเยอะๆ ร้อยละ ๖๑.๘๐ ฉันข้ามถนนโดยใช้สะพานลอยหรือทางม้าลาย ร้อยละ ๕๒.๕๐ และฉันไม่เคยทิ้งขยะในที่ สาธารณะ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๓๐ มิตดิ า้ นการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นทุกครั้งแม้จะไม่เห็นด้วยในใจ ร้อยละ ๖๔.๖๐ รองลงมา คือฉันไม่เคยส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นในที่สาธารณะ หรือในโอกาสอื่น ๆ ร้อยละ ๓๙.๑๐


มิติดา้ นการการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันภาคภูมิใจพระมหากษัตริย์ของไทยที่ทรงเสียสละปกปูองอธิปไตยและพัฒนา ประเทศไทย เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๕๐ ฉันนากระแสพระราชดารัสและพระจริยวัตรที่งดงาม ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต

ร้อยละ ๗๗.๕๐ ฉันนาแนวคิดหลัก

เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ร้อยละ ๗๐.๘๐ และฉันยืนตรงเคารพธงชาติทุกครั้งเมื่อได้ยิน เพลงชาติในที่สาธารณะ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๓๐ (ค่าร้อยละมาจากผลบวกของค่าร้อยละในระดับมาก และมากที่สุด) - การรายงานผลและการสื่อสารสาธารณะ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้รายงานผลการ สารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมเด็ก เยาวชน และประชาชน จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๕๖ ให้กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดร้อยเอ็ด ดังนี้ ๑) สานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ๒) สานักงานพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ด ๓) การประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์จังหวัดหนองบัวลาภู ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ให้ ความสนใจในข้อมูลที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ดนาเสนอเป็นอย่างดี ๔. ผลการดาเนินงานขับเคลื่อนมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม รายละเอียดประกอบด้วย - จังหวัดร้อยเอ็ด ได้คัดเลือกตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัด ร้อยเอ็ด เป็น พื้นที่นาร่องใน การดาเนินงานตามโครงการเนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นชุมชนที่อยู่ใกล้ตัวเมือง และชุมชนมีความสนใจที่จะเข้า ร่วมโครงการ จากการทดสอบเกีย่ วกับการติดเกมของเยาวชน สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี ในพื้นที่ตาบลดง ลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด (ได้รับแบบสอบถามคืนมา จานวน ๑๙๒ ชุด) ขอเสนอผลการสารวจ ข้อมูลฯ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ๑) เพศ ๒) อายุ ๓) ระดับชั้นเรียน ๔) จานวนชั่วโมงรวมทั้งหมดใน ๑ วัน ที่เยาวชนใช้เล่นเกมในช่วงเวลาต่างๆ ๕) ประเภทของเกมที่ชอบเล่น ๓ อันดับแรก ส่วนที่ ๒ แบบทดสอบการติดเกม มีรายละเอียดดังต่อไปนี


ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ๑) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๑๙๒ คน - ชาย จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๖๐ - หญิง จานวน ๖๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๔๐ ๒) อายุ - ๑ - ๑๕ ปี จานวน ๑๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๓๐ - ๑๖ – ๑๙ ปี จานวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๘๐ - ๒๐ – ๒๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๓) ระดับชั้นเรียน - ประถมศึกษา จานวน ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ - มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๑๐๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๒๐ - มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๘๐ ๔) จานวนชั่วโมงรวมทั้งหมดใน ๑ วัน ที่เยาวชนใช้เล่นเกมในช่วงเวลา - วันจันทร์ – วันศุกร์ ในช่วงเปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๑๐๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๗๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๐๙ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๑๐ - วันจันทร์ – วันศุกร์ ในช่วงปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๙๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๓๐ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๙๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ - วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในช่วงเปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๖๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๔๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๑๐ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๕๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๑๐ - วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในช่วงปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๐


มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๖๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๓๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖๐ ๕) ประเภทของเกมที่ชอบเล่น ๓ อันดับแรก -

เกมยิง (Shooting) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ ไม่เลือก -

จานวน ๑๐๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๗๐

เกมต่อสู้ (Fighting) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๘๐

- เกมผจญภัย (Adventure) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๙๐

- เกมจาลอง (Simulation) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๐๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๐


ไม่เลือก -

จานวน ๑๘๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๘๐

เกม RPG ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๑๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๑๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๒๐

- เกมออนไลน์ (MMORPG) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๙๐

- เกมวางแผน (RTS) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๗๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ ไม่เลือก -

จานวน ๑๖๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๔๐

เกมปริศนา (Puzzle) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๒๐


- เกมกีฬา (Sport) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๕๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๙๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๑ คน

คิดเป็นร้อยละ ๖๘.๒๐

- เกม Facebook ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๒๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๐ ไม่เลือก -

จานวน ๙๖ คน

คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๐๐

เกมรถแข่ง (Racing) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๙๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๓๐

- เกมเต้น (Dance) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๖๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๔๐


จากข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นชายมากกว่าหญิง กาลังศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น มีเวลาในการเล่นเกม/ ๑ วัน ในวันจันทร์ – วันศุกร์ ในห้วงเปิด/ปิดเทอม จานวน ๑ – ๒ ชั่วโมง วันเสาร์ วันอาทิตย์ ในห้วงเปิดเทอม จานวน ๑ – ๒ ชั่วโมง ส่วนวันเสาร์ วันอาทิตย์ ในห้วงปิดเทอม จานวน ๓ – ๔ ชั่วโมง ประเภทของเกมที่เลือกเล่นมากเป็นอันดับ ๑ ได้แก่ เกมยิง เกม Facebook และ เกมกีฬา เลือกเป็นอันดับ ๒ ได้แก่ เกมผจญภัย เกมต่อสู้ เกม Facebook และเกมออนไลน์ เลือกน้อยที่สุด ได้แก่ เกมจาลอง เกมวางแผน เกมเต้น และเกมปริศนา ๕. ผลการสารวจต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนในพื้นที่นาร่อง ผลการสารวจข้อมูลต้นทุนชีวติ ของเยาวชน สาหรับเยาวชน อายุ ๑๒-๒๕ ปี จากการสารวจต้นทุนชีวิตของเยาวชนไทยทั่วไป สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลานอาเภอ เมืองร้อยเอ็ด (ได้รับแบบสอบถามคืนมา จานวน ๑๗๘ ชุด) ขอเสนอผลการสารวจ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ๑) เพศ ๒) อายุ ๓) นับถือศาสนา ๔) สถานภาพ ของบิดามารดา ๕) เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนพักอาศัยอยู่กับใคร ๖) ระดับการศึกษาปัจจุบัน ๗) ปัจจุบันอาศัยอยู่ ส่วนที่ ๒ ทัศนคติ / ความคิดเห็น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ๑๑) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๑๗๘ คน - ชาย จานวน ๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๔๐ - หญิง จานวน ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๖๐ ๑๒) อายุ - ๑๒ – ๑๕ ปี จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๗๐ - ๑๖ – ๑๙ ปี จานวน ๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๓๐ - ๒๐ – ๒๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๑๓) นับถือศาสนา - พุทธ จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔๐


- คริสต์ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อิสลาม จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๖ - อื่น ๆ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๑๔) สถานภาพของบิดามารดา - อยู่ด้วยกัน จานวน ๑๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๑๐ - แยกกันอยู่ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๐๐ - หย่าร้าง/แยกทางกัน จานวน ๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๐ - บิดาเสียชีวิต จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๑๐ - มารดาเสียชีวิต จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ - ทั้งบิดาและมารดาเสียชีวิต จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ - อื่น ๆ จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ ๑๕) เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนพักอาศัยอยู่กับใคร - อยู่กับบิดาและมารดา จานวน ๑๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ - อยู่ลาพังกับบิดา จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๐ - อยู่ลาพังกับมารดา จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๙.๐๐ - อยู่กับพี่/น้อง(ไม่ได้อยู่กับบิดา/มารดา) จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ - อยู่กับญาติผู้ใหญ่/ผู้ปกครอง (ที่ไม่ใช่บิดา/มารดา) จานวน ๔๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๐๐ - อยู่กับเพื่อน/คนรู้จัก จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - พักอยู่คนเดียว จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อื่น ๆ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ ๖) ระดับการศึกษาปัจจุบัน (หากปัจจุบันไม่ได้เรียนแล้วให้ตอบระดับการศึกษาสูงสุดของตนเอง) - ประถมศึกษา

จานวน ๔๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๒๐

- มัธยมศึกษาตอนต้น

จานวน ๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๔๐

- มัธยมศึกษาตอนปลาย

จานวน ๖๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๔๐

- ปวช.

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- ปวส./อนุปริญญา

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐


- ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- สูงกว่าปริญญาตรี

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- กศน.

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- การศึกษาที่บ้าน/ชุมชนผ่านดาวเทียม

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- การศึกษาเพื่อฝึกอาชีพ/ภูมิปัญญาท้องถิ่น จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - ไม่ได้เรียน

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- อื่น ๆ

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

๘) ปัจจุบันอาศัยอยู่ - ในเขตเมือง/ในเขตเทศบาล

จานวน ๗๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๓๐

- นอกเขตเมือง/นอกเขตเทศบาล จานวน ๑๐๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๗๐ จากข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน พบว่า เป็นหญิงมากกว่าชาย จานวน ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๖๐ ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๗๐ นับถือศาสนาพุทธ จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔๐ กาลังศึกษาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอนปลาย บิดามารดา อยู่ด้วยกัน จานวน ๑๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ โดยเวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนอาศัยอยู่กับบิดา มารดาในพื้นที่นอกเขตเมือง จานวน ๑๐๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๗๐ ๖. ผลการบูรณาการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม จากการสารวจข้อมูลด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม พบว่ามีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ๑) เคยทดลองยาเสพติดหรือไม่ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๘๐๐ คน - เคยครั้งเดียวแล้วเลิก จานวน ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๖๐ - เคยนานๆครั้ง แต่ปัจจุบันเลิกแล้ว จานวน ๔๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕.๘๐ - เคยนานๆครั้งเรื่อยๆ จานวน ๔ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๕๐ - ไม่เคยทดลอง จานวน ๖๙๗ คน คิดเป็น ร้อยละ ๘๗.๑๐


๒) ยาเสพติดที่เคยทดลองครั้งแรก - บุหรี่

จานวน ๔๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕๐.๕๐

- เหล้าปั่น จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๙๐ - เหล้า

จานวน ๔๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๑.๗๐

- กัญชา

จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๙๐

- กระท่อม จานวน ๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๐๐ - ยาบ้า

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๙๐

๓) เหตุผลที่เริ่มทดลองยาเสพติดครั้งแรก - เครียดจากปัญหาส่วนตัว/แฟน จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๙๐ - อยากลอง/เท่ จานวน ๒๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๕.๒๐ - เครียดจากปัญหาทางบ้าน/ขาดความอบอุ่น จานวน ๑๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๗.๕๐ - ตามเพื่อนๆพี่ๆในกลุ่ม จานวน ๔๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๔.๗๐ - ถูกบังคับ - อื่นๆ

จานวน ๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔.๘๕ จานวน ๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔.๘๕

๔) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านเสพยาเสพติดประเภทใด - บุหรี่

จานวน ๔๒๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕๒.๗๐

- เหล้าปั่น จานวน ๓๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔.๕๐ - เหล้า

จานวน ๓๓๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๑.๙๐

- กัญชา

จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๔๐

- ยาบ้า

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕


- ไอซ์

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

๕) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านจาหน่ายยาเสพติดประเภทใด - บุหรี่

จานวน ๖๒๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๗๗.๗๕

- เหล้าปั่น จานวน ๓๐๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๗.๕๐ - เหล้า

จานวน ๕๓๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖๖.๙๐

- กัญชา

จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๔๐

- ยาบ้า

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

- ไอซ์

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

- ไม่เคยเห็นเลย จานวน ๑๗๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๒.๒๕ ๖) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านผลิตยาเสพติดประเภทใด - บุหรี่

จานวน ๔๔ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕.๕๐

- เหล้า

จานวน ๑๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๙๐

- กัญชา

จานวน ๒๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๕๐

- ไม่เคยเห็นเลย จานวน ๗๔๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙๒.๖๓ ๗) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านเป็นแหล่งพักยาเสพติดประเภทใด - บุหรี่

จานวน ๑๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๖๓

- เหล้า

จานวน ๓๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓.๘๘

- กัญชา

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

- ยาบ้า

จานวน ๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๑๒

- ไม่เคยเห็นเลย จานวน ๗๖๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙๕.๑๓


๘) สถานที่ฉันและเพื่อนๆชอบไปรวมกลุ่มทากิจกรรมในวันหยุด ยามว่าง ตอนเย็นหรือตอนกลางคืน - โรงเรียน จานวน ๓๑๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๘.๘๘ - ศาลาหรือสวนสาธารณะในหมู่บ้าน/ชุมชนจานวน ๒๓๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๘.๘๘ - หอพัก/ห้องเช่า จานวน ๑๔๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๗.๘ - ศาลาหรือนาร้างห่างคน จานวน ๕๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖.๕๐ - ริมถนนในหมู่บ้าน/ชุมชน จานวน ๗๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙.๕๐ - ห้างสรรพสินค้า จานวน ๗๕๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙๔.๗๕ - ร้านค้าในหมู่บ้าน/ชุมชน จานวน ๔๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕.๖๓ - สถานบันเทิง จานวน ๒๘๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๕.๐๐ - โต๊ะสนุกเกอร์ จานวน ๒๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓.๕๐ - ร้านเกม/อินเทอร์เน็ต จานวน ๑๒๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๕.๐๐ - บ้านเพื่อนที่พ่อแม่ไม่อยู่หรืออยู่คนเดียว จานวน ๑๔๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๗.๕๐ - อื่นๆ

จานวน ๕๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖.๒๕ ๙) ฉันคิดว่ากิจกรรมที่ต้องการให้ผู้ใหญ่ใจดีหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจัดให้เด็กและเยาวชน

- กีฬา

จานวน ๔๕๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕๗.๐๐

- เวทีการแสดงความสารถ จานวน ๒๕๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๒.๒๕ - ตลาดนัดวัยรุ่น เช่นถนนเด็กเดิน จานวน ๖๕๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๘๑.๕๐ - เวทีประกวด/แข่งขัน จานวน ๓๐๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๗.๕๐ - ค่ายทักษะชีวิต/ทักษะอาชีพเบื้องต้น จานวน ๓๘๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๗.๕๐ - ค่ายศิลปะและวัฒนธรรม จานวน ๒๕๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๑.๒๕


- ค่ายอาสาสมัคร/จิตสาธารณะ จานวน ๔๙๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖๑.๒๕ - ห้องสมุดพิพิธภัณฑ์แหล่งเรียนรู้ จานวน ๓๐๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๘.๕๐ - กิจกรรมทางสาสนา จานวน ๒๘๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๕.๐๐ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายหรือปัญหาอุปสรรค ๑. งานเฝูาระวังทางวัฒนธรรมและงานพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ มีเนื้อหาการเก็บรวบรวม ข้อมูลคล้ายกับงานวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลควรไม่ควรดาเนินการปีละหลายเรื่อง เกรงว่าหน่วยงานในระดับ จังหวัดจะดาเนินการไม่ทัน ๒. การจัดสรรงบประมาณ ล่าช้าทุกปี ทาให้ต้องเร่งดาเนินการ การประสานงานหน่วยงานต่างๆ อาจ ไม่ครบถ้วน


บทที่ ๗ สรุปและอภิปรายผล รายงานผลการดาเนินภารกิจงานที่ได้รับมอบหมายจากสานักเฝูาระวังทางวัฒนธรรมและ ประชาสัมพันธ์ สานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สรุป รายละเอียดได้ ดังนี้ ๑. การดาเนินงานเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม กิจกรรมที่ดาเนินการประกอบด้วย - กิจกรรมรณรงค์ปลุกจิตสานึก การแจ้งเตือนภัยและการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและวัฒนธรรม สรุปผลการดาเนินงาน จัดค่ายฝึกอบรมค่ายเยาวชนสมานฉันท์เพือ่ สร้างภูมิคุม้ กันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมทีพ่ ึง ประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จานวน ๒ วัน ๑ คืน ระหว่างวันที่ ๓๐ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ อาคารสโมสรนายทหาร จังหวัดทหารบกร้อยเอ็ด ซึ่งมีเปูาหมายเป็นเยาวชนนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาจาก โรงเรียน ซึ่งเป็นเครือข่ายศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม จานวน ๓ โรงเรียน ในจังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ โรงเรียน สตรีศึกษา โรงเรียนขัติยะวงษา โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม โรงเรียนละ ๓๕ คน และนักเรียนเครือข่าย ศาสนาต่างๆ รวม ๑๔๐ คน ครู ผู้ควบคุมดูแลนักเรียน โรงเรียนละ ๒ คน รวม ๘ คน และข้าราชการ เจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๒๒ คน รวมเป็น ๑๗๐ คน โดยจัดกิจกรรม จานวน ๔ กิจกรรม ดังนี้ ๑) จัดบรรยายให้ความรู้แก่เยาวชนในการรณรงค์การเฝูาระวังทางวัฒนธรรม/จัดเสวนาทาง วิชาการให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะสาหรับวัยรุ่น เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสานึกการเฝูาระวังทางวัฒนธรรม การแจ้ง เตือนภัย การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ความปรองดองสมานฉันท์ และ เสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์ สุจริต

๓)

พอเพียง เสียสละ มีน้าใจ ๔) ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ๕) รู้หน้าที่ มีวินัย ภูมิใจในความเป็นไทย ๒) จัดอบรมบรรยาย/เสวนาทางวิชาการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ๓) จัดกิจกรรมกลุ่ม/ให้เยาวชนระดมความคิดเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม หาแนวทางในการ ผลิตสื่อและคัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อเผยแพร่ต่อไป


๔) สนับสนุนให้โรงเรียนที่เป็นเครือข่ายศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม ๔ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน ร้อยเอ็ดวิทยาลัย โรงเรียนสตรีศึกษา โรงเรียนขัติยะวงษา และโรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม ร่วมจัดทาสื่อ โปสเตอร์ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ขนาด ๑๒๐ x ๒๔๐ เซนติเมตร เข้ารับการคัดเลือกโรงเรียนละ ๒ แผ่น เพื่อ รับรางวัล จานวน ๑๐,๐๐๐ บาท แยกเป็น ๔ รางวัล ได้แก่ ชนะเลิศ จานวน ๔,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศ อันดับ ๑ จานวน ๓,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศ อันดับ ๒ จานวน ๒,๐๐๐ บาท และชมเชย จานวน ๑,๐๐๐ บาท - การตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้านเกม/อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอดยาเสพติด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดาเนินตรวจสอบตรวจเยี่ยมและกากับควบคุมร้านเกม/ อินเทอร์เน็ตและคาราโอเกะให้ปลอดยาเสพติด ในพื้นที่จังหวัด โดยดาเนินการ ๒ โครงการ ดังนี้ ๑. โครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของสถาน ประกอบกิจการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการ ปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบการร้านเกมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ – เดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถาน ๑๐๕ ประกอบกิจการร้านเกม มีปูายแจ้งเตือนถึงแนวปฏิบัติตามกฎหมายเป็นแนวเดียวกันทุกแห่ง เป็นการอานวย ความสะดวกและประชาสัมพันธ์เผยแพร่สาระสาคัญตลอดจนขั้นตอน วิธีการขอรับบริการตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ส่งเสริมความเป็นระเบียบเรียบร้อยและลดจานวนผู้กระทาผิดฝุาฝืนข้อ กฎหมายลง การประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบกิจการ รวมจานวน ๑,๐๐๐ แผ่น ซึ่งตามเปูาหมายให้ครบทั้ง ๒๐ อาเภอๆละ ๒๐ ชุด ๒. โครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดี ทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดโครงการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ และปูองกันแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดร้อยเอ็ด ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ซึง่ ดาเนินการระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ปฏิบัติตามเงื่อนไข มาตรการ ประกาศ กฎกระทรวง ตลอดจน


กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด เป็นการส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการตรวจสถานประกอบกิจการ ร้านวีดิทัศน์ตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและ ประชาชน ตลอดจนเป็นการสร้างจิตสานึกร่วมกันในการรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ เป็นการปูอง ปรามมิให้สถานประกอบกิจการเป็นแหล่งหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม ความเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรม ตลอดจนเป็นแหล่งมั่วสุมอบายมุขและยาเสพติดอื่นๆ การตรวจติดตามสถานประกอบการร้านวีดิทัศน์ จานวน ๘๗๕ แห่ง โดยสุ่มตรวจจาก ๒๐ อาเภอๆละ ๑๐ แห่ง และตรวจติดตามโครงการจัดระเบียบสังคม ของจังหวัดเดือนละอย่างน้อย ๒ ครั้งในพื้นที่อาเภอเมืองร้อยเอ็ด ผลการดาเนินงาน ในการออกตรวจติดตามสถานประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ ของจังหวัดร้อยเอ็ดได้รับเกียรติจากท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายธัชชัย สีสุวรรณ เป็นประธานในการออกตรวจสถานประกอบกิจการ นางพรพิมล คงตระกูล วัฒนธรรม จังหวัดร้อยเอ็ด พนักงานเจ้าหน้าที่จากที่ทาการปกครองอาเภอเมืองร้อยเอ็ด และพนักงานเจ้าหน้าที่จาก สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมตรวจสถานประกอบการโดยตรวจแบบบูรณาการ ในการตรวจสถาน ประกอบการได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบกิจการเป็นอย่างดี ได้ชี้แจงในเรื่องการเปิด – ปิด การตรวจ บัตรประจาตัวประชาชนเพื่อตรวจดูในเรื่องอายุผู้เข้าใช้บริการ และได้กาชับในเรื่องให้ปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบกฎหมาอื่นที่เกี่ยวข้อง และเงื่อนไขตามที่ กฎกระทรวงได้กาหนดไว้อย่างเคร่งครัดตลอดจนการดูแลเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติด และเฝูา ระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการและในชุมชนร่วมกัน - การขับเคลื่อนเครือข่ายศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษาเฝ้าระวัง สถานการณ์ ปัญหายาเสพติด จังหวัดร้อยเอ็ด อยู่ในพื้นที่ตอนในเป็นเพียงเส้นทางผ่านของการค้ายาเสพติด ไม่ใช่จุดพักยา สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดโดยทั่วไปอยู่ในระดับเบาบาง สามารถควบคุมได้ชนิดของยาเสพติด ที่ -๑๐๖มีการแพร่หลายในพื้นที่มาที่สุดเป็นยาบ้า สารระเหยและกัญชา นับแต่จังหวัดร้อยเอ็ดได้ประกาศสงครามกับ ยาเสพติดและดาเนินการอย่างเข้มข้นจนสามารถประกาศชัยชนะต่อยาเสพติดเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๖ พบว่า สถานการณ์และแนวโน้มปัญหายาเสพติดลดระดับความรุนแรงลงอย่างมาก ภายหลังได้ดาเนินการ ตามปฏิบัติการต่างๆ ที่รัฐบาลกาหนดขึ้นเป็นระยะตลอดมา จากผลของการดาเนินงานปูองกันและแก้ไข ปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง สามารถลดระดับความรุนแรงของปัญหาจนอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหากระทบ


ต่อการดารงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชนได้ อันเป็นผลมาจากการดาเนินการปูองกันและแก้ไขปัญหาในรูป ของภาคีร่วมทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งองค์กรภาคประชาชน การดาเนินการที่ผ่านมาถึงแม้ว่าจะสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้ จนไม่ ส่งผลกระทบต่อสังคมในส่วนร่วมแต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับ สถานการณ์การค้ายาเสพติดของประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผล ให้การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จาเป็นที่จะต้องมีการดาเนินการปูองกันและ ปราบปรามอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้ปัญหายาเสพติดขยายตัวเพิ่มขึ้นมาอีก ดังนัน้ ศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรมนอกสถานศึกษาวัดโพธิการาม ตาบลโนนสูง อาเภอ ปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ให้ความสาคัญในการเฝูาระวังสถานการณ์ปัญหายาเสพติด เพื่อแก้ไขปัญหายา เสพติดเป็นอย่างยิ่ง ถือว่าการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นภารกิจหลักที่ทุกคนต้องช่วยกันดูแลแก้ไข เป็นปัญหา ความมั่นคงและปัญหาของสังคมที่ต้องแก้ไขทุกด้านอย่างครบวงจรปัญหา ดาเนินงานอย่างใกล้ชิด จริงจัง เพื่อให้เกิดการบูรณาการ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ที่ผ่านมามีการบริหารจัดการในการแก้ไขปัญหายาเสพ ติดที่สาคัญๆ ดังนี้ ๑. จัดกิจกรรมเฝูาระวังและสอดส่องพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน ๒. จัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ๓. การจัดกิจกรรมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดโดยการจัดนิทรรศการ - การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดทาจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ปูองกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดในมิติวัฒนธรรม โดยการจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ คือ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบ กิจการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ขึ้นในวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมร่ม อินทนินปาร์ค อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องตลอดทั้งวิธีปฏิบัติและขั้นตอนต่างๆ และเพื่อให้ ผู้ประกอบการได้รับทราบแนวทางการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการเป็นการสร้าง ภูมิคุ้มกันให้ผู้ประกอบการ โดยมีเปูาหมายประกอบด้วยผู้ประกอบการตามพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิ ทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๐ คน พนักงานเจ้าหน้าที่จากองค์กรปกครองส่วน


-๑๐๗ท้องถิ่น จานวน ๓๐ คน และพนักงานเจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน ๓๕ คน รวม ทั้งสิ้น จานวน ๙๕ คน ผลการดาเนินงาน ได้รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายสมศักดิ์ ขาทวีพรหม เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จาก สานักงานอัยการจังหวัดร้อยเอ็ด จากสถานีตารวจภูธรจังหวัดร้อยเอ็ด และจาก ปปป.ส. ภาค ๔ จังหวัด ขอนแก่น จากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดียิ่งมี ผู้เข้าร่วมประชุมตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ และได้รับเกียรติจากหัวหน้าส่วนในจังหวัดร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิด การประชุมเชิงปฏิบัติการเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน ประกอบการโดยใช้มิติทางวัฒนธรรม หลายภาคส่วน จากการประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าวผู้เข้าประชุมมี ความรู้ เข้าใจในเรื่องระเบียบ กฎหมาย ตลอดทั้งการเฝูาระวังปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและ สถานประกอบกิจการ - การสร้างหรือจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม และการพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพให้กับ เครือข่ายเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ดาเนินการจัดตั้งศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม และการพัฒนาองค์ ความรู้และศักยภาพให้กับเครือข่ายเฝูาระวังทางวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานเฝูาระวังทางวัฒนธรรม ให้กับสถานศึกษาจานวน ๔ แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการค่ายเยาวชน สมานฉันท์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและเสริมสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ผลการดาเนินงาน จังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดตั้งศูนย์เฝูาระวังทางวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จานวน ๔ แห่ง ประกอบด้วย ๑. โรงเรียนสตรีศึกษา ๒. โรงเรียนขัติยะวงษา ๓. โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม ๔. โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย


๒. ผลการดาเนินงานพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ รายละเอียดประกอบด้วย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ในฐานะฝุายเลขานุการคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด ได้จัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัด จานวน ๒ ครั้ง ดังนี้ ประชุมครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น ๒ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ประชุมครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น ๒ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด

-๑๐๘ผลการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ดีเด่นจังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ดาเนินการประกวด/คัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ดีเด่นตามมติคณะอนุกรรมการสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด โดยดาเนินการประกวด/คัดเลือก เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๖ ณ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ผลการประกวด/คัดเลือก มีดังนี้ การผลิต

VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๖ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดาเนินโครงการผลิต

VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้าง

ค่านิยมพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เด็ก เยาวชน และประชาชนตระหนัก และเห็นความสาคัญของ การประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมพื้นฐาน ๕ ประการและ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ค่านิยมพื้นฐาน ๕ ประการ ให้เป็นที่รู้จักของเด็ก เยาวชน และประชาชน อันจะเป็น รากฐานในการพัฒนาประเทศ โดยผลิต VTR สื่อพื้นบ้านรณรงค์สร้างค่านิยมพื้นฐานแจกจ่ายให้สถานศึกษา และผู้สนใจทั่วไป จานวน ๑๐๐ แผ่น เป็นสารคดีสั้น จานวน ๒ เรื่อง คือ สารคดีเรื่อง พ่อหลวง และสารคดี เรื่องเอกลักษณ์ไทย ๓. ผลการดาเนินงานสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม รายละเอียดประกอบด้วย


ระเบียบวิธีการศึกษา เรื่อง การสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมจังหวัด ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๕ ๖ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดย ใช้วิธีการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research)

ตามแบบสารวจซึ่งออกแบบโดย

ผู้ทรงคุณวุฒิของกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ๑. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๑. ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ เด็ก เยาวชนและประชาชนในจังหวัด ร้อยเอ็ด ที่มีอายุระหว่าง ๑๒-๑๕ ปี จานวน ๒๖๙,๐๒๓ คน ๒. กลุ่มตัวอย่างในการสารวจเป็นเด็กและเยาวชน อายุ ๑ ๒-๒๕ ปี และประชาชนทั่วไป เด็กและ เยาวชนที่อยู่ในระบบการศึกษา จานวน ๘๐๐ คน จาแนกตามอาเภอดังนี้ อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จานวน

๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลในเมือง ๑๐๐ คน ตาบลเหนือเมือง ๑๐๐ คน) อาเภอ

เสลภูมิ

จานวน ๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลกลาง ๑๐๐ คน ตาบลนางาม ๑๐๐ คน) อาเภอโพนทอง

จานวน ๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลแวง ๑๐๐ คน ตาบลนาอุดม ๑๐๐ คน) อาเภอเกษตรวิสัย

จานวน ๒๐๐ คน

(แบ่งเป็นตาบลเกษตรวิสัย ๑๐๐ คน ตาบลเมืองบัว ๑๐๐ คน) ประชาชนที่มีอายุ ๒๕ ปี ขึ้นไป ที่ประกอบอาชีพแล้ว จานวน ๔๐๐ คน พื้นที่ในการสุ่มตัวอย่างเพื่อ เก็บรวบรวมข้อมูล คือ อาเภอเมือง ร้อยเอ็ด อาเภอเสลภูมิ อาเภอโพนทอง และอาเภอเกษตรวิสัย จานวน อาเภอละ ๑๐๐ คน ๒. ขอบเขตการศึกษา ๒.๑ ขอบเขตด้านพื้นที่ที่สารวจอาเภอ เสลภูมิ อาเภอโพนทอง และอาเภอเกษตรวิสัย

๔ อาเภอ ในจังหวัด ร้อยเอ็ด คือ อาเภอเมือง ร้อยเอ็ด อาเภอ


๒.๒ ขอบเขตด้านเนื้อหา สารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชนในมิติคือ ๑) ครอบครัว ๒) สื่อ ๓) ศาสนา ๔) ความมีน้าใจเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ ๕) การอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพ ผู้ใหญ่ มี -๑๐๙สัมมาคารวะ ๖) ความซื่อสัตย์ไม่คดโกง ๗)การขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิดให้อภัย ๘) การรักนวลสงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ ๙) ความกตัญญูรู้คุณ ๑๐) การเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม ๑๑) การเคารพสิทธิ เสรีภาพของผู้อื่น ๑๒) การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒.๓ เนื้อหาด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม จะใช้สาหรับกลุ่ม

เด็กและ

เยาวชนเท่านั้น ๓. เครื่องมือในการสารวจ ใช้แบบสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งออกแบบโดยสถาบันรามจิตติและคณะทางานวิจัยจังหวัด นาร่องในการสารวจ ๑๐ จังหวัด เป็นเครื่องมือที่มีเนื้อหาที่ตรงความเป็นจริงในสังคมปัจจุบันมากที่สุด แบบสารวจเป็นแบบสารวจทัศนคติและความคิดเห็นซึ่งประกอบไปด้วย ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ซึ่งประกอบไปด้วย เพศ การศึกษา การอยู่อาศัย ส่วนที่ ๒ ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม ๑๒ ด้าน คือ ๑) ครอบครัว ๒) สื่อ ๓) ศาสนา ๔) ความ มีน้าใจเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ ๕) การอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ มีสัมมาคารวะ ๖) ความซื่อสัตย์ไม่ คดโกง ๗) การขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิด ให้อภัย ๘) การรักนวลสงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ ๙) ความ กตัญญูรู้คุณ ๑๐) การเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม ๑๑) การเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น ๑๒) การ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นแบบสารวจที่จัดระดับประมาณค่า ๕ ระดับคือ ๑. น้อยที่สุด ๒. น้อย ๓. ปานกลาง ๔. มาก ๕. มากที่สุด


ส่วนที่ ๓ ข้อมูลด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรมสาหรับเด็กและเยาวชน ผลการศึกษาสารวจ ผลการวิจัยการสารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชนจังหวัดร้อยเอ็ดแบ่ง ออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑. สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ตอนที่ ๑) ข้อมูลพื้นฐาน ของผู้ตอบแบบสารวจ ๒) ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม ๓) ข้อมูลด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดในมิติวัฒนธรรม ๒. สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของประชาชนที่มีอายุ ๒๕ ปีขึ้นไป ซึ่งประกอบด้วย ตอนที่ ๑) ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ๒) ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของเด็กและเยาวชน ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ๑๖) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๘๐๐ คน - ชาย จานวน ๑๘๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๔๐ - หญิง จานวน ๖๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๖๐ ๑๗) การศึกษา - ในระบบการศึกษา เช่น มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา เป็นต้น จานวน ๘๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ -๑๑๐๑๘) การอยู่อาศัย - อยู่กับพ่อและแม่ จานวน ๖๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๔๐ - อยู่กับพ่อและแม่ คนเดียว จานวน ๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๖๐ - อยู่กับญาติ เช่น ปูุย่าตายายหรือลุงปูาน้าอา จานวน ๑๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๙๐ - อยู่เองคนเดียว จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๑๐ ตอนที่ ๒ ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม มิติด้านครอบครัว มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้ น้าหนักในหัวข้อ ครอบครัวของฉันทานข้าวเย็นร่วมกัน เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๙๐ รองลงมาคือ ครอบครัวของฉันมีเวลาพูดคุยกัน ร้อยละ ๖๙.๖๐ ครอบครัวของฉันรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ร้อย


ละ ๖๖.๗๐ ครอบครัวของฉันใช้เวลาเสาร์-อาทิตย์หรือวันหยุดร่วมกัน ร้อยละ ๔๙.๑๐ และครอบครัวของ ฉันมีการบอกรักกันระหว่างพ่อแม่ลูกเป็นปกติ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๑๐ มิติด้านสื่อ มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันดู ข่าวรายวันทางโทรทัศน์ เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ

๗๒.๘๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ Facebook,Google

plus,Line,Skype และ Social Media ต่าง ๆ ร้อยละ ๖๘.๗๐ ฉันติดตามข่าวสารทางเว็บไซต์ ร้อยละ ๓๒.๓๐ ฉันคิดว่าข่าวสารที่ปรากฏผ่านสื่อประเภท ต่างๆ มีความน่าเชื่อถือ ร้อยละ

๓๑.๔๐

ฉันอ่าน

หนังสือพิมพ์รายวัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๓๐ มิติด้านศาสนา มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันมีความศรัทธาในหลักคาสอนของศาสนาของฉัน เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๘๓.๐๐ รองลงมาคือ ฉันเชื่อในการทาดีต้องได้ดี ทาชั่วต้องได้ชั่ว ร้อยละ ๘๒.๑๐ ฉันเข้าร่วมกิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา ร้อยละ ๖๐.๑๐ ฉันเข้าใจความหมายเบื้องหลังหรือกุศโลบายของพิธีกรรมทางศาสนา ร้อยละ ๕๔.๓๐ และหัวข้อ ฉันปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในชีวิตประจาวัน (สวดมนต์ ละหมาด ขอพรพระผู้เป็นเจ้า) เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๓๘ มิติด้าน ความมีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ

มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น เด็กและ

เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ เมื่อใช้บริการสาธารณะ ฉันสละที่นั่งให้แก่เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์ เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๓๐ รองลงมาคือ ฉันช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อมีโอกาส ร้อยละ ๗๗.๘๐ และ ฉันให้ บริจาคหรือเสียสละ ทรัพย์สิน สิ่งของและเวลาให้กับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือผู้ด้อยโอกาส เป็น ลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๓๐ มิติด้านการอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ มีสัมมาคารวะ มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น เด็ก และเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันไหว้พ่อแม่หรือผู้อาวุโสกว่าเมื่อได้พบเจอ เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ

๘๕.๖๐ รองลงมาคือ ฉันเชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ร้อยละ

๘๓.๒๐ และฉันพูดจาสุภาพ

เรียบร้อยกับผู้อาวุโสกว่าในทุกโอกาส เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๔๐ มิติดา้ นความซื่อสัตย์ ไม่คดโกง มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้ น้าหนักในหัวข้อ หากเก็บทรัพย์สินมีค่าของผู้อื่นได้ฉันจะประกาศหาเจ้าของเพื่อคืนของที่เก็บได้ทุกครั้ง เป็น ลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๘๐.๗๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ของของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต ร้อยละ ๔๐.๙๐ ฉัน


เคยลอกข้อสอบหรือการบ้านจากเพื่อน ร้อยละ ๔๐.๓๐ และฉันเคยพูดโกหก เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็น ร้อยละ ๒๖.๗๐ มิติ ดา้ นการขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิด ให้อภัย

มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น เด็กและ

เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันขอโทษเมื่อกระทาความผิดทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจทุกครั้ง

เป็น

ลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๖๐ รองลงมาคือ ฉันกล่าวขอบคุณเมื่อได้รับสิ่งของ หรือความช่วยเหลือจาก ผู้อื่นทุกครั้ง -๑๑๑ร้อยละ ๘๑.๗๐ และเมื่อเพื่อนรู้สึกตัวว่าทาผิดมาขอโทษ ฉันก็พร้อมที่จะให้อภัย เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็น ร้อยละ ๗๑.๑๐ มิติ ดา้ นการรักนวลสงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ

มีประเด็นในการสารวจ ๖ ประเด็น เด็กและ

ฉันระมัดระวังตนเองไม่ให้มีการถูกเนื้อต้องตัวกับเพื่อนต่างเพศเพื่อ

ไม่ให้เกิดปัญหาตามมาภายหลัง คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๕๐ รองลงมาคือ ฉันคิดว่าอยู่ด้วยกันก่อนแต่งงานเป็น เรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อยละ ๑๙.๔๐ ฉันไปเที่ยวกับเพื่อนต่างเพศในช่วงวันหยุดหรือช่วง กลางคืน ร้อยละ ๑๘.๙๐ ฉันคิดว่าการกอดจูบกันของวัยรุ่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อย ละ ๑๕.๑๐ ฉันมีแฟนหรือมีกิ๊กหลายคน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๑๐ และฉันคิดว่าการแต่งกายยั่วยวนเพศตรง ข้ามเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๑๐ มิตดิ า้ นความกตัญญูรู้คุณ มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนัก ในหัวข้อ ฉันดูแลและช่วยเหลืองานของพ่อแม่หรือครูอาจารย์ทุกโอกาส คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๐๐ รองลงมาคือ ฉันจะตอบแทนบุญคุณของชาติและแผ่นดินทุกครั้งที่มีโอกาส ร้อยละ ๗๒.๕๐ มิติ ดา้ นการเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม

มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น เด็กและ

เยาวชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันข้ามถนนโดยใช้สะพานลอยหรือทางม้าลาย เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๗๑.๔๐ รองลงมาคือ ฉันประพฤติตนตามกฎกติการะเบียบของโรงเรียนของชุมชนหรือของสถานที่ สาธารณะ ร้อยละ ๖๗.๓๐ ฉันจะต่อแถวหรือเข้าคิวทุกครั้งที่เข้าใช้บริการกรณีคนเยอะๆ ร้อยละ ๖๔.๓๐ และฉันไม่เคยทิ้งขยะในที่สาธารณะ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๘๐


มิติดา้ นการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันรับฟังความคิดเห็นของเพื่อหรือผู้อื่นทุกครั้งแม้จะไม่เห็นด้วยในใจ เป็นลาดับ แรก คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๙๐ รองลงมาคือ ฉันไม่เคยส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นในที่สาธารณะ หรือในโอกาสอื่นๆ ร้อยละ ๖๑.๐๐ มิติดา้ นการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น เด็กและเยาวชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันภาคภูมิใจพระมหากษัตริย์ของไทยที่ทรงเสียสละปกปูองอธิปไตยและพัฒนา ประเทศไทยจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๐๐ รองลงมาคือ ฉันยืนตรงเคารพธง ชาติทุกครั้งเมื่อได้ยินเสียงเพลงชาติในที่สาธารณะ ร้อยละ ๖๖.๘๐ฉันนากระแสพระราชดารัสและพระจริยวัตร ที่งดงามของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต

ร้อยละ ๖๐.๘๐ และฉันนา

แนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๒๐ (ค่าร้อยละมาจากผลบวกของค่าร้อยละในระดับมาก และมากที่สุด) สภาวการณ์ทางวัฒนธรรมของประชาชนที่มีอายุ ๒๕ ปีขึ้นไป ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจ ๑) เพศ - ชาย

จานวน ๑๑๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๘.๘๐

- หญิง

จานวน ๒๘๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๗๑.๒๐

๒) การศึกษาสูงสุด - ประถมศึกษา จานวน ๖๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๕.๒๐ - มัธยมศึกษา จานวน ๒๕๗ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖๔.๒๐ - อาชีวศึกษา จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๘๐ - อุดมศึกษา จานวน ๗๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๙.๘๐ -๑๑๒-


๓) การอยู่อาศัย - อยู่กับครอบครัวพ่อแม่ลูก จานวน ๒๘๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๗๐.๕๐ - อยู่กับครอบครัวพ่อหรือแม่หรือลูก จานวน ๔๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๒.๓๐ - อยู่กับญาติ จานวน ๕๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๔.๗๐ - อยู่เองคนเดียว จานวน ๑๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๕๐ ตอนที่ ๒ ข้อมูลสภาวการณ์ทางวัฒนธรรม มิติด้านครอบครัว มีประเด็นในการสารวจ

๕ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ

ครอบครัวของฉันรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๗๔.๑๐ รองลงมาคือ ครอบครัวของฉันทานข้าวเย็นร่วมกัน ร้อยละ ๗๑.๓๐ ครอบครัวของฉันมีเวลาพูดคุยกัน ร้อยละ ๗๐.๘๐ ครอบครัวของฉันใช้เวลาเสาร์-อาทิตย์หรือวันหยุดร่วมกัน ร้อยละ ๔๕.๓๐ และครอบครัวของฉันมีการบอก รักกันระหว่างพ่อแม่ลูกเป็นปกติ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๘๐ มิติด้านสื่อ มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันดูข่าว รายวันทางโทรทัศน์

เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ

๗๒.๓๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ Facebook,Google

plus,Line,Skype และ Social Media ต่าง ๆ ร้อยละ ๔๕.๘๐ ฉันอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน ร้อยละ ๓๑.๓๐ ฉันติดตามข่าวสารทางเว็บไซต์

ร้อยละ ๒๒.๘๐ และฉันคิดว่าข่าวสารที่ปรากฏผ่านสื่อประเภทต่าง ๆ มี

ความน่าเชื่อถือ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๖๐ มิติ ดา้ นศาสนา มีประเด็นในการสารวจ ๕ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันเชื่อในการทาดีต้องได้ดี ทาชั่วต้องได้ชั่ว เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๕๐ รองลงมาคือ ฉันมีความ ศรัทธาในหลักคาสอนของศาสนาของฉัน ร้อยละ ๖๗.๖๐ ฉันเข้าร่วมกิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา ร้อย ละ ๖๒.๘๐ ฉันเข้าใจความหมายเบื้องหลังหรือกุศโลบายของพิธีกรรมทางศาสนา ร้อยละ ๔๐.๑๐ และฉัน ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในชีวิตประจาวัน (สวดมนต์ ละหมาด ขอพรพระผู้เป็นเจ้า)

เป็นลาดับสุดท้าย

ร้อยละ ๓๔.๘๐ มิตดิ า้ นความมีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ จิตสาธารณะ มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ เมื่อใช้บริการสาธารณะ ฉันสละที่นั่งให้แก่เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์ เป็นลาดับ แรก คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๖๐ รองลงมาคือ ฉันช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อมีโอกาส ร้อยละ ๗๔.๐๐ และฉันให้


บริจาคหรือเสียสละ ทรัพย์สิน สิ่งของและเวลาให้กับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือผู้ด้อยโอกาส

คิดเป็น

ร้อยละ ๕๘.๓๐ มิติ ดา้ นการอ่อนน้อมถ่อมตน เคารพผู้ใหญ่ มีสัมมาคารวะ

มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น

ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันไหว้พ่อแม่หรือผู้อาวุโสกว่าเมื่อได้พบเจอ เป็นลาดับแรก คิดเป็น ร้อยละ ๘๑.๓๐ รองลงมาคือ ฉันพูดจาสุภาพเรียบร้อยกับผู้อาวุโสกว่าในทุกโอกาส ร้อยละ ๗๖.๓๐ และ ฉันเชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๗๔.๘๐ มิตดิ า้ นความซื่อสัตย์ ไม่คดโกง มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนัก ในหัวข้อ หากเก็บทรัพย์สินมีค่าของผู้อื่นได้ฉันจะประกาศหาเจ้าของเพื่อคืนของที่เก็บได้ทุกครั้ง

เป็นลาดับ

แรก คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๓๐ รองลงมาคือ ฉันใช้ของของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต ร้อยละ ๓๘.๑๐ ฉันยินดี ให้สินบน หากทาให้งานเสร็จเร็วขึ้น ร้อยละ ๓๑.๘๐ และฉันเคยพูดโกหก เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๘๐ มิติดา้ นการขอโทษ ขอบคุณ ยอมรับผิด ให้อภัย มีประเด็นในการสารวจ ๓ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันขอโทษเมื่อกระทาความผิดทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจทุกครั้ง เป็นลาดับแรก -๑๑๓คิดเป็น ร้อยละ ๘๓.๘๐ รองลงมาคือฉันกล่าวขอบคุณเมื่อได้รับสิ่งของ หรือความช่วยเหลือจากผู้อื่นทุกครั้ง ร้อยละ ๘๐.๘๐ และเมื่อเพื่อนรู้สึกตัวว่าทาผิดมาขอโทษ ฉันก็พร้อมที่จะให้อภัย เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็น ร้อยละ ๗๓.๑๐ มิตดิ า้ นการรักนวลสงวนตัว แต่งกายถูกกาลเทศะ มีประเด็นในการสารวจ ๖ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันระมัดระวังไม่ให้มีการถูกเนื้อต้องตัวกับเพื่อต่างเพศเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาตามมา ภายหลัง เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๓๘.๓๐ รองลงมาคือ ฉันแฟนหรือมีกิ๊กหลายคน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๐๐ ฉันคิดว่าอยู่ด้วยกันก่อนแต่งงานเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อยละ ๒๔.๐๐ ฉันคิดว่าการ กอดจูบกันของวัยรุ่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน ร้อยละ ๑๔.๒๕ และฉันคิดว่าการแต่งกายยั่วยวน เพศตรงข้ามเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตปัจจุบัน เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๘๐


มิติดา้ นความกตัญญูรู้คุณ มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ให้น้าหนักใน หัวข้อ ฉันจะตอบแทนบุญคุณของชาติและแผ่นดินทุกครั้งที่มีโอกาส เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๓๐ รองลงมาคือ ฉันดูแลพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ ร้อยละ ๗๒.๓๐ มิติดา้ นการเคารพกฎหมาย กฎระเบียบในสังคม มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันประพฤติตนตามกฎกติการะเบียบของชุมชนหรือของสถานที่สาธารณะ เป็น ลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๖๐ รองลงมาคือฉันจะต่อแถวหรือเข้าคิวทุกครั้งที่เข้าใช้บริการกรณีคนเยอะๆ ร้อยละ ๖๑.๘๐ ฉันข้ามถนนโดยใช้สะพานลอยหรือทางม้าลาย ร้อยละ ๕๒.๕๐ และฉันไม่เคยทิ้งขยะในที่ สาธารณะ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๓๐ มิตดิ า้ นการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีประเด็นในการสารวจ ๒ ประเด็น ประชาชนที่สารวจได้ ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นทุกครั้งแม้จะไม่เห็นด้วยในใจ ร้อยละ ๖๔.๖๐ รองลงมา คือฉันไม่เคยส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นในที่สาธารณะ หรือในโอกาสอื่น ๆ ร้อยละ ๓๙.๑๐ มิติดา้ นการการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ มีประเด็นในการสารวจ ๔ ประเด็น ประชาชนที่ สารวจได้ให้น้าหนักในหัวข้อ ฉันภาคภูมิใจพระมหากษัตริย์ของไทยที่ทรงเสียสละปกปูองอธิปไตยและพัฒนา ประเทศไทย เป็นลาดับแรก คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๕๐ ฉันนากระแสพระราชดารัสและพระจริยวัตรที่งดงาม ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต

ร้อยละ ๗๗.๕๐ ฉันนาแนวคิดหลัก

เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ร้อยละ ๗๐.๘๐ และฉันยืนตรงเคารพธงชาติทุกครั้งเมื่อได้ยิน เพลงชาติในที่สาธารณะ เป็นลาดับสุดท้าย คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๓๐ (ค่าร้อยละมาจากผลบวกของค่าร้อยละในระดับมาก และมากที่สุด) - การรายงานผลและการสื่อสารสาธารณะ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด ได้รายงานผลการ สารวจสภาวการณ์ทางวัฒนธรรมเด็ก เยาวชน และประชาชน จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๕๖ ให้กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดร้อยเอ็ด ดังนี้ ๑) สานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ๒) สานักงานพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ด ๓) การประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์จังหวัดหนองบัวลาภู ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ให้ ความสนใจในข้อมูลที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ดนาเสนอเป็นอย่างดี


-๑๑๔๔. ผลการดาเนินงานขับเคลื่อนมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม รายละเอียดประกอบด้วย - จังหวัดร้อยเอ็ด ได้คัดเลือกตาบลดงลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัด ร้อยเอ็ด เป็น พื้นที่นาร่องใน การดาเนินงานตามโครงการเนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นชุมชนที่อยู่ใกล้ตัวเมือง และชุมชนมีความสนใจที่จะเข้า ร่วมโครงการ จากการทดสอบเกีย่ วกับการติดเกมของเยาวชน สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี ในพื้นที่ตาบลดง ลาน อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด (ได้รับแบบสอบถามคืนมา จานวน ๑๙๒ ชุด) ขอเสนอผลการสารวจ ข้อมูลฯ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ๑) เพศ ๒) อายุ ๓) ระดับชั้นเรียน ๔) จานวนชั่วโมงรวมทั้งหมดใน ๑ วัน ที่เยาวชนใช้เล่นเกมในช่วงเวลาต่างๆ ๕) ประเภทของเกมที่ชอบเล่น ๓ อันดับแรก ส่วนที่ ๒ แบบทดสอบการติดเกม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ๑) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๑๙๒ คน - ชาย จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๖๐ - หญิง จานวน ๖๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๔๐ ๒) อายุ - ๑ - ๑๕ ปี จานวน ๑๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๓๐ - ๑๖ – ๑๙ ปี จานวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๘๐ - ๒๐ – ๒๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๓) ระดับชั้นเรียน - ประถมศึกษา จานวน ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ - มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๑๐๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๒๐ - มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๘๐


๔) จานวนชั่วโมงรวมทั้งหมดใน ๑ วัน ที่เยาวชนใช้เล่นเกมในช่วงเวลา - วันจันทร์ – วันศุกร์ ในช่วงเปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๑๐๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๗๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๐๙ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๑๐ - วันจันทร์ – วันศุกร์ ในช่วงปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๙๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๓๐ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๙๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๐๐ - วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในช่วงเปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๖๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๔๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๑๐ -๑๑๕มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๕๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๑๐ - วันเสาร์ – วันอาทิตย์ ในช่วงปิดเทอม ๑ – ๒ ชั่วโมง จานวน ๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒๐ ๓ – ๔ ชั่วโมง จานวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๐ มากกว่า ๔ ชั่วโมง จานวน ๖๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๓๐ อื่น ๆ (ไม่ตอบ) จานวน ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖๐ ๕) ประเภทของเกมที่ชอบเล่น ๓ อันดับแรก -

เกมยิง (Shooting) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ ไม่เลือก -

เกมต่อสู้ (Fighting)

จานวน ๑๐๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๗๐


ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๘๐

- เกมผจญภัย (Adventure) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๙๐

- เกมจาลอง (Simulation) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๐๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๐ ไม่เลือก -

จานวน ๑๘๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๘๐

เกม RPG ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๑๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๑๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๒๐

- เกมออนไลน์ (MMORPG) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๐๐


ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๙๐ -๑๑๖-

- เกมวางแผน (RTS) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๗๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ ไม่เลือก -

จานวน ๑๖๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๔๐

เกมปริศนา (Puzzle) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๒๐

- เกมกีฬา (Sport) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๕๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๙๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๑ คน

คิดเป็นร้อยละ ๖๘.๒๐

- เกม Facebook ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๒๐


ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๐ ไม่เลือก -

จานวน ๙๖ คน

คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๐๐

เกมรถแข่ง (Racing) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๙๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๓๐

- เกมเต้น (Dance) ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๑ จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๒ จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๖๐ ชอบเล่นเป็นลาดับที่ ๓ จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๘๐ ไม่เลือก

จานวน ๑๖๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๔๐

จากข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นชายมากกว่าหญิง กาลังศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น มีเวลาในการเล่นเกม/ ๑ วัน ในวันจันทร์ – วันศุกร์ ในห้วงเปิด/ปิดเทอม จานวน ๑ – ๒ ชั่วโมง วันเสาร์ วันอาทิตย์ ในห้วงเปิดเทอม จานวน ๑ – ๒ ชั่วโมง ส่วนวันเสาร์ วันอาทิตย์ ในห้วงปิดเทอม จานวน ๓ – ๔ ชั่วโมง ประเภทของเกมที่เลือกเล่นมากเป็นอันดับ ๑ ได้แก่ เกมยิง เกม Facebook และ เกมกีฬา เลือกเป็นอันดับ ๒ ได้แก่ เกมผจญภัย เกมต่อสู้ เกม Facebook และเกมออนไลน์ เลือกน้อยที่สุด ได้แก่ เกมจาลอง เกมวางแผน เกมเต้น และเกมปริศนา

-๑๑๗๕. ผลการสารวจต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนในพื้นที่นาร่อง ผลการสารวจข้อมูลต้นทุนชีวติ ของเยาวชน สาหรับเยาวชน อายุ ๑๒-๒๕ ปี


จากการสารวจต้นทุนชีวิตของเยาวชนไทยทั่วไป สาหรับเยาวชนอายุ ๑๒-๒๕ ปี ตาบลดงลานอาเภอ เมืองร้อยเอ็ด (ได้รับแบบสอบถามคืนมา จานวน ๑๗๘ ชุด) ขอเสนอผลการสารวจ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ๑) เพศ ๒) อายุ ๓) นับถือศาสนา ๔) สถานภาพ ของบิดามารดา ๕) เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนพักอาศัยอยู่กับใคร ๖) ระดับการศึกษาปัจจุบัน ๗) ปัจจุบันอาศัยอยู่ ส่วนที่ ๒ ทัศนคติ / ความคิดเห็น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน ๑๙) เพศ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๑๗๘ คน - ชาย จานวน ๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๔๐ - หญิง จานวน ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๖๐ ๒๐) อายุ - ๑๒ – ๑๕ ปี จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๗๐ - ๑๖ – ๑๙ ปี จานวน ๕๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๓๐ - ๒๐ – ๒๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๒๑) นับถือศาสนา - พุทธ จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔๐ - คริสต์ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อิสลาม จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๖ - อื่น ๆ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ ๒๒) สถานภาพของบิดามารดา - อยู่ด้วยกัน จานวน ๑๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๑๐ - แยกกันอยู่ จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๐๐ - หย่าร้าง/แยกทางกัน จานวน ๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๐ - บิดาเสียชีวิต จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๑๐ - มารดาเสียชีวิต จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ - ทั้งบิดาและมารดาเสียชีวิต จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐


- อื่น ๆ จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ ๒๓) เวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนพักอาศัยอยู่กับใคร - อยู่กับบิดาและมารดา จานวน ๑๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ - อยู่ลาพังกับบิดา จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๐ - อยู่ลาพังกับมารดา จานวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๙.๐๐ - อยู่กับพี่/น้อง(ไม่ได้อยู่กับบิดา/มารดา) จานวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๐ - อยู่กับญาติผู้ใหญ่/ผู้ปกครอง (ที่ไม่ใช่บิดา/มารดา) จานวน ๔๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๐๐ -๑๑๘- อยู่กับเพื่อน/คนรู้จัก จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - พักอยู่คนเดียว จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ - อื่น ๆ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๘๐ ๖) ระดับการศึกษาปัจจุบัน (หากปัจจุบันไม่ได้เรียนแล้วให้ตอบระดับการศึกษาสูงสุดของตนเอง) - ประถมศึกษา

จานวน ๔๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๒๐

- มัธยมศึกษาตอนต้น

จานวน ๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๔๐

- มัธยมศึกษาตอนปลาย

จานวน ๖๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๔๐

- ปวช.

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- ปวส./อนุปริญญา

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- สูงกว่าปริญญาตรี

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- กศน.

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- การศึกษาที่บ้าน/ชุมชนผ่านดาวเทียม

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- การศึกษาเพื่อฝึกอาชีพ/ภูมิปัญญาท้องถิ่น จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐


- ไม่ได้เรียน

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

- อื่น ๆ

จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐

๙) ปัจจุบันอาศัยอยู่ - ในเขตเมือง/ในเขตเทศบาล

จานวน ๗๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๙.๓๐

- นอกเขตเมือง/นอกเขตเทศบาล จานวน ๑๐๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๗๐ จากข้อมูลส่วนตัวของเยาวชน พบว่า เป็นหญิงมากกว่าชาย จานวน ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๖๐ ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี จานวน ๑๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๗๐ นับถือศาสนาพุทธ จานวน ๑๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔๐ กาลังศึกษาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอนปลาย บิดามารดา อยู่ด้วยกัน จานวน ๑๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๕๐ โดยเวลาส่วนใหญ่ใน ๑ เดือน เยาวชนอาศัยอยู่กับบิดา มารดาในพื้นที่นอกเขตเมือง จานวน ๑๐๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๗๐ ๖. ผลการบูรณาการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม จากการสารวจข้อมูลด้านการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในมิติวัฒนธรรม พบว่ามีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ๑) เคยทดลองยาเสพติดหรือไม่ จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ๘๐๐ คน - เคยครั้งเดียวแล้วเลิก จานวน ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๖๐ - เคยนานๆครั้ง แต่ปัจจุบันเลิกแล้ว จานวน ๔๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕.๘๐ - เคยนานๆครั้งเรื่อยๆ จานวน ๔ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๕๐ - ไม่เคยทดลอง จานวน ๖๙๗ คน คิดเป็น ร้อยละ ๘๗.๑๐ ๒) ยาเสพติดที่เคยทดลองครั้งแรก - บุหรี่

จานวน ๔๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕๐.๕๐

- เหล้าปั่น จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๙๐ - เหล้า

จานวน ๔๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๑.๗๐


- กัญชา

จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๙๐

- กระท่อม จานวน ๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๐๐ -๑๑๙- ยาบ้า

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๙๐

๓) เหตุผลที่เริ่มทดลองยาเสพติดครั้งแรก - เครียดจากปัญหาส่วนตัว/แฟน จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๙๐ - อยากลอง/เท่ จานวน ๒๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๕.๒๐ - เครียดจากปัญหาทางบ้าน/ขาดความอบอุ่น จานวน ๑๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๗.๕๐ - ตามเพื่อนๆพี่ๆในกลุ่ม จานวน ๔๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๔.๗๐ - ถูกบังคับ - อื่นๆ

จานวน ๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔.๘๕ จานวน ๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔.๘๕

๔) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านเสพยาเสพติดประเภทใด - บุหรี่

จานวน ๔๒๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕๒.๗๐

- เหล้าปั่น จานวน ๓๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔.๕๐ - เหล้า

จานวน ๓๓๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๑.๙๐

- กัญชา

จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๔๐

- ยาบ้า

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

- ไอซ์

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

๕) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านจาหน่ายยาเสพติดประเภทใด


- บุหรี่

จานวน ๖๒๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๗๗.๗๕

- เหล้าปั่น จานวน ๓๐๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๗.๕๐ - เหล้า

จานวน ๕๓๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖๖.๙๐

- กัญชา

จานวน ๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๔๐

- ยาบ้า

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

- ไอซ์

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

- ไม่เคยเห็นเลย จานวน ๑๗๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๒.๒๕ ๖) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านผลิตยาเสพติดประเภทใด - บุหรี่

จานวน ๔๔ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕.๕๐

- เหล้า

จานวน ๑๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๙๐

- กัญชา

จานวน ๒๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒.๕๐

- ไม่เคยเห็นเลย จานวน ๗๔๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙๒.๖๓ ๗) เคยเห็นเพื่อนหรือคนในชุมชนหรือในหมู่บ้านเป็นแหล่งพักยาเสพติดประเภทใด - บุหรี่

จานวน ๑๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.๖๓

- เหล้า

จานวน ๓๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓.๘๘

- กัญชา

จานวน ๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๒๕

- ยาบ้า

จานวน ๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๐.๑๒

- ไม่เคยเห็นเลย จานวน ๗๖๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙๕.๑๓ ๘) สถานที่ฉันและเพื่อนๆชอบไปรวมกลุ่มทากิจกรรมในวันหยุด ยามว่าง ตอนเย็นหรือตอนกลางคืน - โรงเรียน จานวน ๓๑๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๘.๘๘


- ศาลาหรือสวนสาธารณะในหมู่บ้าน/ชุมชนจานวน ๒๓๑ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๘.๘๘ - หอพัก/ห้องเช่า จานวน ๑๔๓ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๗.๘๘ -๑๒๐-

- ศาลาหรือนาร้างห่างคน จานวน ๕๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖.๕๐ - ริมถนนในหมู่บ้าน/ชุมชน จานวน ๗๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙.๕๐ - ห้างสรรพสินค้า จานวน ๗๕๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙๔.๗๕ - ร้านค้าในหมู่บ้าน/ชุมชน จานวน ๔๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕.๖๓ - สถานบันเทิง จานวน ๒๘๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๕.๐๐ - โต๊ะสนุกเกอร์ จานวน ๒๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓.๕๐ - ร้านเกม/อินเทอร์เน็ต จานวน ๑๒๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๕.๐๐ - บ้านเพื่อนที่พ่อแม่ไม่อยู่หรืออยู่คนเดียว จานวน ๑๔๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๗.๕๐ - อื่นๆ

จานวน ๕๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖.๒๕ ๙) ฉันคิดว่ากิจกรรมที่ต้องการให้ผู้ใหญ่ใจดีหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจัดให้เด็กและเยาวชน

- กีฬา

จานวน ๔๕๖ คน คิดเป็น ร้อยละ ๕๗.๐๐

- เวทีการแสดงความสารถ จานวน ๒๕๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๒.๒๕ - ตลาดนัดวัยรุ่น เช่นถนนเด็กเดิน จานวน ๖๕๒ คน คิดเป็น ร้อยละ ๘๑.๕๐ - เวทีประกวด/แข่งขัน จานวน ๓๐๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๗.๕๐ - ค่ายทักษะชีวิต/ทักษะอาชีพเบื้องต้น จานวน ๓๘๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๔๗.๕๐ - ค่ายศิลปะและวัฒนธรรม จานวน ๒๕๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๑.๒๕


- ค่ายอาสาสมัคร/จิตสาธารณะ จานวน ๔๙๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๖๑.๒๕ - ห้องสมุดพิพิธภัณฑ์แหล่งเรียนรู้ จานวน ๓๐๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๘.๕๐ - กิจกรรมทางสาสนา จานวน ๒๘๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๕.๐๐ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายหรือปัญหาอุปสรรค ๑. งานเฝูาระวังทางวัฒนธรรมและงานพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ มีเนื้อหาการเก็บรวบรวม ข้อมูลคล้ายกับงานวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลควรไม่ควรดาเนินการปีละหลายเรื่อง เกรงว่าหน่วยงานในระดับ จังหวัดจะดาเนินการไม่ทัน ๒. การจัดสรรงบประมาณ ล่าช้าทุกปี ทาให้ต้องเร่งดาเนินการ การประสานงานหน่วยงานต่างๆ อาจ ไม่ครบถ้วน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.