วิทยานิพนธ์มิวเซียมสยาม บทที่ 2

Page 1

7

บทที่ 2 วรรณกรรม และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง งานวิจยั เรื่ อง พฤติกรรมการเข้าชม ทัศนคติ และความคาดหวังของนักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ มีต่อพิพิธภัณฑ์มิวเซี ยมสยาม นี้ เป็ นการศึ กษาพฤติ กรรม ทัศนคติ และความคาดหวังของผูช้ มที่ เป็ นกลุ่ ม วัยรุ่ น เพื่อหาแนวทางการทําพิพิธภัณฑ์ที่เหมาะสําหรับวัยรุ่ น ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 ความเป็ นมาและบทบาทของมิวเซียมสยาม 2.2 รู ปแบบการจัดพิพิธภัณฑ์มิวเซียมสยาม 2.3 แนวคิดการดําเนินงานพิพิธภัณฑ์  แนวคิดการสื่ อสาร  แนวคิดการจัดนิทรรศการ  แนวคิดการบริ การข้อมูล 2.4 แนวคิดและรู ปแบบการจัดพิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ 2.5 ทฤษฏีการรับรู้ 2.6 แนวคิดพิพิธภัณฑ์กบั ผูช้ ม 2.7 แนวคิดด้านทัศนคติและความคาดหวัง 2.8 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 2.8.1 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับความคาดหวัง 2.8.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเข้าชม

2.1 ความเป็ นมาและบทบาทของสถาบันพิพธิ ภัณฑ์ การเรียนรู้ แห่ งชาติ 2.1.1 ความเป็ นมา คณะรัฐมนตรี มีมติให้จดั ตั้งสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรี ยนรู ้แห่ งชาติ (สพร.) เป็ นหน่วยงานเฉพาะด้าน สังกัดสํานักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การมหาชน) เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2547 เพื่อกํากับดูแล การจัดตั้ง พิพิธภัณฑ์ก ารเรี ยนรู ้ ขนาดใหญ่ ของประเทศ โดยมี วตั ถุ ประสงค์เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ อย่า ง รื่ นรมณ์ และยกระดับมาตราฐานรู ปแบบใหม่ให้ประชาชน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน เกี่ ยวกับการสร้าง สํ า นึ ก ในการรู ้ จ ัก ตนเอง รู ้ จ ัก เพื่ อ นบ้า น และรู ้ จ ัก โลก รวมถึ ง แนวคิ ด การสร้ า งภาพลัก ษณ์ ใ หม่ ข อง พิพิธภัณฑ์ในสังคมไทย นอกจากนี้ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรี ยนรู ้ แห่ งชาติมีบทบาทสนับสนุ นและร่ วมมือ


8

เป็ นเครื อข่ายกับพิพิธภัณฑ์อื่นๆ เพื่อยกระดับมาตราฐานกระบวนการเรี ยนรู ้ และกระบวนการบริ หารจัดการ พิพิ ธ ภัณฑ์ไ ทยให้มี คุ ณภาพและประสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น (ครั้ งแรก สถาบันพิ พิธ ภัณฑ์ก ารเรี ย นรู ้ แห่ ง ชาติ ,2548:2)

ภาพ : คนกบแดง สัญลักษณ์สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรี ยนรู ้แห่งชาติ คนกบแดงและความหมาย คนทุกคนมีกาํ เนิ ดมาตัวเปล่าทั้งนั้น ยุคแรกเริ่ มยังไม่รู้จกั ทําเครื่ องนุ่ งห่ ม จึงเป็ นคนเปลื อย เลยถูก เรี ยกจากคนอื่นที่มีอารยธรรมสู งกว่าว่า นาค (นาคก็คืองู ไม่มีขน ไม่มีเกล็ด มีแต่หนังหุ ้มและลอกได้ ตาม กําหนด ทั้งหมดเท่ากับเปลือยเปล่า และเป็ นสัญลักษณ์ของนํ้าที่อยูใ่ ต้ดิน คือบาดาล กับบนฟ้ า คือสวรรค์ ซึ่ ง เป็ นสิ่ งที่คนในอุษาคเนย์ตอ้ งการเพื่อใช้เพาะปลูกพืชพันธุ์ธญ ั ญาหารตาม ฤดูกาล) ฉะนั้น ตราสัญลักษณ์ จึง เป็ นรู ปคนที่ไม่ระบุเพศและเผ่าพันธุ์ รู ปคนยืนกางแขน กางขา ทําท่าเป็ นกบ เพราะกบ (รวมทั้งอึ่งอ่าง คางคก เขียด) เป็ นสัญลักษณ์ของ นํ้า โดยเฉพาะนํ้าฝน จึ งมีรูปกบอยู่บนหน้ากลองทอง (สัมฤทธิ์ ) หรื อมโหระทึ กของอุษาคเนย์ เพราะเป็ น เครื่ องมือเครื่ องใช้ประโคมตีในพิธีกรรมขอฝนเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของชนทุก เผ่ายุคดึกดําบรรพ์ ไม่นอ้ ย กว่า 3,000 ปี มาแล้ว นอกจากยกย่องกบเป็ นสัตว์ศ กั ดิ์ สิ ทธิ์ แล้ว คนในชุ ม ชนยัง ร่ วมกันเต้นฟ้ อนทําท่ าเป็ นกบด้วย มี ภาพเขียนสี สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตาม เพิงผา และเถื่อนถํ้าตั้งแต่เขตมณฑลกวางสี ถึงบริ เวณประเทศไทย พิพิธภัณฑ์จึงแสดงเรื่ องราวของ "คน" เพื่อให้รู้และเข้าใจรากเหง้าเหล่ากอความเป็ นมาของบรรพชน ซึ่ งล้วน เป็ นคนพื้ นเมื องของภู มิภาคอุ ษ าอาคเนย์โบราณ คนพวกนี้ ป ระสมประสารกันทางเผ่า พันธุ์ สัง คม และ วัฒนธรรม แล้วก่ อบ้านสร้ างเมืองขึ้ นเป็ นแว่นแคว้นหรื อรั ฐ จนเป็ นอาณาจักร แล้วดํารงเป็ นประเทศสื บ มาถึงทุกวันนี้


9

2.1.2 บทบาท บทบาทของมิวเซียมสยามในปัจจุบนั มิวเซียมสยามเป็ นพิพิธณ ั ฑ์ที่ได้รับความนิยมจากเยาวชนและ บุคคลทัว่ ไปหากเทียบกับพิพิธภัณฑ์ในแห่ งอื่นๆ ซึ่ งนอกจากจะเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่มีความโดดเด่นด้านการจัด แสดงแล้ว ยังมีกิจกรรมที่จดั ขึ้นอย่างต่อเนื่ องทุกเดือนอันแสดงถึงบทบาทของการเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่ส่งเสริ ม ให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่สร้างสรรค์ของเยาวชนและประชาชนทัว่ ไป 2.1.2.1 การจัดแสดงนิทรรศการ นิทรรศการของมิวเซี ยมสยามจะมี 2 รู ปแบบคือนิทรรศการถาวรและนิทรรศการหมุนเวียน โดย หลักๆแล้วการจัดนิทรรศการของมิวเซี ยมสยามจะเป็ นการให้ความรู ้ดา้ นประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ผ่าน การบอกเล่าเรื่ องราวตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั นิทรรศการถาวร นิทรรศการถาวรถูกจัดแสดงที่อาคารถูกจัดแสดงที่อาคารกระทรวงพานิชเดิม ภายใต้หวั ข้อ “เรี ย งความประเทศไทย” เป็ นการบอกเล่ า เรื่ องราวของการกํา เนิ ดสุ วรรณภู มิ การแลกเปลี่ ย น วัฒนธรรมและพัฒนาการของดินแดนสุ วรรณภูมิจนนํามาสู่ ความเป็ นไทยในปั จจุบนั

นิทรรศการหมุนเวียน นิ ท รรศการหมุ นเวีย นจะถู ก จัดแสดงชั่ว คราว โดยนํา เรื่ องราวทางประวัติศ าสตร์ และ วัฒนธรรมมาจัดแสดง ซึ่ งเนื้ อหาสาระนั้นสอดคล้องและเป็ นส่ วนหนึ่ งของนิ ทรรศการเรี ยงความ ประเทศไทย เช่น นิทรรศการลูกปั ด นิทรรศการจากสยามสู่ ยโุ รป 2.1.2.2 กิจกรรม มิวเซี ยมสยามเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่มีกิจกรรมหลากหลายและจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่ อง โดยหลักแล้วจะ เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ วฒั นธรรม การสัมนา และการให้ความรู ้ความบันเทิง เสวนาและสั มนาทางวิชาการ กิจกรรมเสวนาเป็ นการเปิ ดเวทีพดู คุยไม่เน้นหนักวิชาการ เช่น โจรกรรมในพิพิธภัณฑ์ เนื้ อ ร้ องแบบไหนโดนใจผูฟ้ ั ง ลูกทุ่งบนแผ่นฟิ ล์ม จากหางเครื่ องสู่ แดนเซอร์ ส่ วนที่เน้นหนักงาน วิชาการจะเป็ นการสัมนา เช่ น เรื่ อง เครื่ องรางของขลัง วัฒนธรรมชาวพุทธในสุ วรรณภูมิ ,ภาพ หลอกหลอน ณ ชายแดนใต้ข องไทย: การเขี ย นประวัติศาสตร์ ปาตานี แ ละโลกอิ ส ลาม โดย พิพิธภัณฑ์เป็ นเจ้าภาพและเชิญผูเ้ ชี่ยวชาญบรรยายสัมนา


10

จัดอบรมให้ ความรู้ มิวเซี ยมสยามได้จดั อบรมให้ความรู ้เกี่ ยวกับงานพิพิธภัณฑ์โดยเชิ ญผูเ้ ชี่ ยวชาญมาบรรยาย เช่ น อบรมเชิ งปฏิ บตั ิการการอนุ รักษ์วตั ถุ ในพิพิธภัณฑ์ ได้เชิ ญผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านการอนุ รักษ์มาเป็ น อาจารย์สอนฝึ กอบรม โดยกิจกรรมนี้ได้ออกไปจัดนอกสถานที่ตามภาคต่างๆด้วย การแสดงดนตรี การแสดงดนตรี เป็ นกิ จกรรมที่ จดั ขึ้ นบ่อย โดยได้นําดนตรี แขนงต่ างๆมาจัดแสดง เช่ น จัดการแสดงสาธิ ตมโนราห์พ้ืนบ้าน โดย เอกชัย ศรี วิชยั , ดนตรี คลาสสิ คจาก วง BSQ “Bangkok String Quartet” วงดนตรี Quartet, คอนเสิ ร์ต “โปรดฟั งอีกครั้ง.....ตอนดนตรี ใต้แสงจันทร์ โดยศุ บุญเลี้ ยง”, การแสดงสาธิ ตลิเก โดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็ นต้น ส่ วน ใหญ่จะเป็ นกิจกรรมที่จดั เวลาตอนเย็น กิจกรรมสาหรับเด็ก กิจกรรมสําหรับเด็กที่พิพิธภัณฑ์จดั ขึ้นมีหลายรู ปแบบ เช่ น พิพิธพาเพลิ นกับเจ้าขุนทอง ตอน มือน้อยสร้างฝัน เป็ นกิจกรรมการทําหุ่น หัดเชิด หัดพากย์ และหัดเล่านิ ทาน เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ ที่ดีเยีย่ มที่จะชักจูงเด็กๆให้มีความสนใจในเรื่ องที่กว้างขึ้น กระตุน้ ความใฝ่ เรี ยนรู ้, กิจกรรมมิวเซี ยม สยาม ที่นี่ ไม่มีคาํ ว่า “ห้าม”, พิพิธพาเพลิน ตอนปริ ศนาแห่งลูกปั ด, กิจกรรม รักษ์สายนํ้ากับวันลอย กระทง, กิจกรรมชุมชนของเรากับมิวเซี ยมสยาม, พิพิธพาเพลิน ตอน "มหกรรมเพลงลูกทุ่ง" เป็ นต้น กิจกรรมอื่นๆ กิ จ กรรมอื่ น ๆเป็ นกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ งานวัฒ นธรรมและท้อ งถิ่ น เช่ น กิ จ กรรม “ประลองต่อจิ๊กซอว์ 3 มิติ”, การแสดงหุ่นนานาชาติ, กิจกรรมชุ มชนของเรากับมิวเซี ยมสยาม, พิพิธ พาเพลิน ตอน สงกรานต์สุวรรณภูมิ, พิพิธพาเพลิน ตอน ล่องเรื อ เลาะคลอง ท่องชุมชน, Muse Trip ตะลุยมหานครบางกอก เป็ นต้น


11

2.2 รู ปแบบการจัดพิพธิ ภัณฑ์ มิวเซียมสยาม 2.2.1 พื้นที่การจัดแสดง นิทรรศการถาวรถูกจัดแสดงที่อาคารกระทรวงพาณิ ชย์เดิม ภายในมิวเซียมสยามเป็ นอาคาร 3 ชั้น มี ห้องจัดแสดงนิทรรศการถาวรทั้งหมด 17 ห้อง ภายใต้หวั ข้อ "เรี ยงความประเทศไทย"

นิทรรศการถาวร

นิทรรศการหมุนเวียน ร้ านค้ า ร้ านกาแฟ ลานหญ้ าหน้ าพิพิธภัณฑ์ ลานกิจกรรม สานักงาน

ภาพ 1 แสดงตําแหน่งที่ต้ งั ส่ วนต่างๆของมิวเซี ยมสยาม การจัดแสดง การจัดพื้นที่ภายในแบ่งเป็ นเนื้อหาย่อย 17 ธี ม ในรู ปแบบ "เรี ยงความประเทศไทย" ให้ผเู ้ ข้าชมได้ เรี ยนรู ้ผา่ นสื่ อต่างๆ ได้แก่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ตึกเก่าเล่าเรื่ อง เบิกโรง (Immersive Theater) ไทยแท้ (Typically Thai) เปิ ดตํานานสุ วรรณภูมิ (Introduction to Suvarnabhumi) สุ วรรณภูมิ (Suvarnabhumi) พุทธิปัญญา (Buddhism)


12

7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

กําเนิดสยามประเทศ (Founding of Ayutthaya) สยามประเทศ (Siam) สยามยุทธ์ (War Room) แผนที่ ความยอกย้อนบนแผ่นกระดาษ (Map Room) กรุ งเทพฯ ภายใต้ฉากอยุธยา (Bangkok, New Ayutthaya) ชีวติ นอกกรุ งเทพฯ (Village Life) แปลงโฉมสยามประเทศ (Change) กําเนิดประเทศไทย (Politics & Communications) สี สันตะวันตก (Thailand and the World) เมืองไทยวันนี้ (Thailand Today) มองไปข้างหน้า (Thailand Tomorrow)

ในการเข้าชมพิพิธภัณฑ์มิวเซี ยมสยามนั้น เริ่ มเดินชมจากชั้น 1 ต่อไปยังชั้น 3 และลงมาสิ้ นสุ ดห้อง สุ ดท้ายที่ช้ นั 2

ภาพ : ส่ วนต่างๆในอาคารการจัดแสดง


13

ห้องจัดแสดง ห้องจัดแสดงมีท้ งั หมด 17 ห้องโดยเริ่ มชมตั้งแต่ช้ นั ที่ 1 3 และ 2 ตามลําดับ โดยการเข้าชมผูช้ ม จะต้องซื้ อตัว๋ ก่อนและรอเวลาเพื่อเข้าชมห้องเบิกโรง แต่ระหว่างรอเข้าห้องเบิกโรงผูช้ มสามารถเข้าชมห้อง ตึกเก่าเล่าเรื่ องก่อนได้ ชั้น 1

ภาพ : ตึกเก่าเล่าเรื่ อง  ตึกเก่าเล่าเรื่อง ห้องจัดแสดงความเป็ นมาของอาคารกระทรวงพาณิ ชย์เดิม การบูรณะซ่อมแซม รวมถึงการกลายเป็ นมิวเซียมสยามในปัจจุบนั

ภาพ : ห้องเบิกโรง  เบิกโรง ห้องฉายภาพยนตร์ ส้ ันเพื่อนําเข้าสู่ การชมมิวเซี ยมสยาม ผ่านตัวละครต่าง ๆ

ภาพ : ห้องไทยแท้  ไทยแท้ ห้องแสดงวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของไทย พร้อมการไขว่าแท้ที่จริ งแล้วสิ่ งเหล่านี้ เป็ นของ ไทยแท้หรื อไม่


14

ชั้น 3

ภาพ : ห้องเปิ ดตํานานสุ วรรณภูมิ  เปิ ดตานานสุ วรรณภูมิ ห้องจัดแสดงที่ต้ งั ของดินแดนที่เรี ยกว่าสุ วรรณภูมิ ชาติพนั ธุ์ในดินแดนนี้ และวิธีการขุดค้นหลักฐานทางประวัติศาสตร์

ภาพ : ห้องสุ วรรณภูมิ  สุ วรรณภูมิ ห้องจัดแสดงความเป็ นอยูข่ องผูค้ นในสุ วรรณภูมิ การติดต่อกับต่างประเทศ และ หลักฐานประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิ

ภาพ : ห้องพุทธิปัญญา  พุทธิปัญญา ห้องแสดงหัวใจพระพุทธศาสนาและเรื่ องราวที่แสดงถึงสัจจธรรม


15

ภาพ : ห้องกําเนิดสยามประเทศ  กาเนิดสยามประเทศ ห้องแสดงเรื่ องราวความเป็ นมาอาณาจักรต่าง ๆ ในดินแดนสยาม และตํานาน ต้นกําเนิ ดกรุ งศรี อยุธยา

ภาพ : ห้องสยามประเทศ  สยามประเทศ ห้องแสดงเรื่ องราวความเป็ นอยูใ่ นสมัยอยุธยา และรู ปจําลองเรื อแบบต่าง ๆ ตั้งแต่เรื อ พื้นบ้านถึงเรื อพระราชพิธี

ภาพ : ห้องสยามยุทธ์  สยามยุทธ์ ห้องแสดงรู ปแบบการรบ กําลังพล และการทําสงครามในสมัยอยุธยา ชั้น 2

ภาพ : „ แผนที่ : ความยอกย้อนบนแผ่นกระดาษ  แผนที่ : ความยอกย้อนบนแผ่นกระดาษ ห้องแสดงแผนที่ประเทศไทยในสมัยต่าง ๆ


16

ภาพ : กรุ งเทพ ภายใต้ฉากอยุธยา  กรุ งเทพฯ ภายใต้ฉากอยุธยา ห้องแสดงเรื่ องราวเมื่อสิ้ นกรุ งศรี อยุธยา เริ่ มตั้งกรุ งธนบุรี จนถึงกรุ ง รัตนโกสิ นทร์ การอพยพของคนชาติต่าง ๆ ในสยาม และการเปรี ยบเทียบว่ากรุ งรัตนโกสิ นทร์ เหมือนกับกรุ งศรี อยุธยาอย่างไร

ภาพ : ห้องชีวติ นอกกรุ ง  ชี วติ นอกกรุ งเทพฯ ห้องแสดงวิถีชีวติ ของคนในชนบทนอกกรุ งเทพฯ โดยมีเรื่ องข้าวเป็ นหลัก

 แปลงโฉมสยามประเทศ ห้องแสดงการเปลี่ยนแปลงสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 และเรื่ องราวของถนน เจริ ญกรุ ง

ภาพ : ห้องกําเนิดประเทศไทย  กาเนิดประเทศไทย ห้องแสดงเรื่ องราวในสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็ นระบอบ ประชาธิปไตย


17

ภาพ : ห้องสี สันตะวันตก  สี สันตะวันตก ห้องแสดงวัฒนธรรมตะวันตกที่เริ่ มเข้ามาในประเทศไทย

ภาพ : ห้องเมืองไทยวันนี้  เมืองไทยวันนี้ ห้องอุโมงค์กระจกขนาดใหญ่ มีโทรทัศน์ขนาดเล็กรายล้อมทัว่ ห้อง

ภาพ : ห้องมองไปข้างหน้า  มองไปข้ างหน้ า ห้องสําหรับแสดงความคิดเห็นของผูเ้ ข้าชม ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ แสดงข้อความ บนผนัง 2.2.2 สื่ อจัดแสดง สื่ อที่มิวเซี ยมสยามใช้ในการจัดนิ ทรรศการ นับว่าเป็ นจุดเด่นที่ทาํ ให้มิวเซี ยมสยามเป็ นพิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ มีความแตกต่างไปจากพิพิธภัณฑ์บอกเล่าเรื่ องราวทางประวัติศาสตร์ ทวั่ ไป เพราะมีการใช้สื่อ ที่หลากหลาย ทันสมัย และสวยงาม รู ปแบบของสื่ อจัดแสดงหลักๆมีดงั นี้


18

สื่ อมัลติมีเดีย เป็ นส่ วนประกอบที่ทาํ ให้มิวเซี ยมสยามมีความน่าสนใจและกลายเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่ ทันสมัย ทุกห้องที่จดั แสดงจะมีสื่อมัลติมีเดีย เช่น จอหนังห้องเบิกโรง สื่ อวิดีโอเล่าเรื่ องวิถีชีวติ ใน ประวัติศาสตร์ สื่ อวิดีโอเกมส์ เป็ นต้น โมเดล มิวเซี ยมสยามเป็ นพิพธิ ภัณฑ์ที่เต็มไปด้วยโมเดลหรื อรู ปจําลองย่อส่ วนของวัตถุต่างๆ เช่น รถตุก๊ ๆ ร้านส้มตํารถเข็น เรื อสําเภา หมู่บา้ นในอดีต นักรบ เป็ นต้น ตู้จัดแสดง ตูจ้ ดั แสดงส่ วนใหญ่จะใช้กบั วัตถุสาํ คัญๆหรื อวัตถุที่ตอ้ งการให้ดูเด่น เช่น เครื่ องประดับ แผงนิทรรศการ แผงที่ติดตั้งเป็ นนิทรรศการถาวร ประกอบไปกับการจัดแสดงสิ่ งต่างๆ เช่น ภาพ วิดีโอ โมเดล ฯลฯ 2.2.3 การให้ บริการข้ อมูลของมิวเซียมสยาม การให้บริ การข้อมูลในเชิ งความรู ้ ของมิ วเซี ยมสยามมีสามช่ องทางหลัก ได้แก่ เว็บไซท์ สังคม เครื อข่ายออนไลน์ เว็บไซท์ เว็บไซท์ของมิวเซี ยมสยามนอกจากจะให้ขอ้ มูลในเชิ งอัพเดทข่าวสารล่าสุ ดแล้ว ยังให้เกร็ ดความรู ้ ต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ นิ ท รรศการเช่ น ที่ ม าของลู ก ปั ด ที่ ม าของคนกบแดง รวมทั้ง ได้ใ ห้ ข ้อ มู ล เกี่ ย วกับ นิ ท รรศการถาวรในรู ป แบบของโครงสร้ า งนิ ท รรศการเพื่ อให้ผูช้ มได้ศึ ก ษาก่ อนได้เข้าชมจริ ง และอี ก รู ปแบบของการให้ความรู้ในเว็บไซท์ของมิวเซี ยมสยามคือ Youtube ซึ่ งเป็ นบริ การวิดีโอหรื อคลิปออนไลน์ สําหรับ Youtube ของมิวเซี ยมสยามเป็ นคลิปย้อนหลังของรายการพิพิธเพลินในตอนต่างๆ ซึ่ งในแต่ละตอน ของรายการพิพิธเพลิ นจะเป็ นการพาผูช้ มไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้ องถิ่ น เช่ น พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็ นหิ น พิพิธภัณฑ์บา้ นวงศ์บุรี พิพิธภัณฑ์พ้นื บ้านจ่าทวี พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติร้อยเอ็ด เป็ นต้น อย่างไรก็ตามการให้ความรู ้ผา่ นคลิปวิดีโอ Youtube นั้นยังทําได้ไม่ดีพอเนื่องจากจํานวนผูช้ มคลิป วิดีโออยูใ่ นเฉลี่ยที่นอ้ ยมาก แม้วา่ กลุ่มเป้ าหมายของพิพิธภัณฑ์หรื อเด็กนักเรี ยนจะชอบดูคลิปวิดีโอก็ตาม สั งคมเครือข่ ายออนไลน์ มิวเซียมสยามได้ใช้ Facebook กับ Twitter เป็ นช่องทางออนไลน์ในการสื่ อสารกับสังคมออนไลน์ โดยที่ Face Book Fanpage ของมิวเซียมสยามมีผตู้ ิดตามถึง 21,843 โดยเนื้ อหาที่ใช้สื่อสารเป็ นการบอกเล่า ความเคลื่อนไหวกิจกรรมต่างๆของมิวเซี ยมสยาม และเรื่ องราวที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ไทยในแบบของมิวเซียมสยาม


19

2.3 แนวคิดการดาเนินงานพิพธิ ภัณฑ์ การดําเนินงานพิพิธภัณฑ์ในงานวิจยั นี้ ประกอบไปด้วยสามอย่างคือ การสื่ อสาร การจัดนิทรรศการ และการบริ ก ารข้อมู ล ซึ่ ง การดํา เนิ นงานดัง กล่ า วเป็ นการทํา งานของพิ พิ ธ ภัณฑ์ ท วั่ ไป โดยการสื่ อสาร หมายถึ งการติดต่อสื่ อสารกับผูช้ ม การจัดนิ ทรรศการเป็ นการจัดแสดงนิ ทรรศการของพิพิธภัณฑ์ และการ บริ การข้อมูลเป็ นการให้ขอ้ มูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู ้ในนิทรรศการ การดําเนินงานทั้งสามอย่างมีความสอดคล้องกันอย่างเป็ นกระบวนการอยูใ่ นตัวของงาน การสื่ อสาร เป็ นการเรี ยกผูช้ มให้เข้าชมนิ ทรรศการ การจัดนิ ทรรศการเป็ นการสื่ อสารเนื้ อหาของพิพิธภัณฑ์ และบริ การ ข้อมูลเป็ นเหมือนการบริ การต่อยอดจากการจัดนิ ทรรศการเพื่อตอบสนองความต้องการเพิ่มเติม ด้านความรู้ จากนิ ท รรศการแก่ ใ ห้ ผูช้ ม แนวคิ ด การดํา เนิ น งานพิ พิ ธ ภัณ ฑ์จึ ง ประกอบไปด้ว ยการสื่ อ สาร การจัด นิทรรศการและการบริ การข้อมูล

2.3.1 แนวคิดการสื่ อสาร การสื่ อสารและการประชาสัมชาสัมพันธ์เป็ นกระบวนการหนึ่งที่มีผลต่อองค์กรและการดําเนินงาน ของพิพิธภัณฑ์ เพราะการสื่ อสารเป็ นกระบวนการที่จะนําไปสู่ การรับว่าของผูช้ มถึงข้อมูลความเคลื่อนไหว ของพิพิธฑ์ สารที่สื่อไปนั้นเป็ นทั้งข้อมูลและภาพลักษณ์ขององค์กร ซึ่งภาพลักษณ์น้ นั เป็ นข้อมูลสําคัญใน การดําเนิ นงานประชาสัมพันธ์ เพราะภาพลักษณ์น้ นั เปรี ยบเสมือนกับพื้นฐานของความคิดที่คนมีต่อองค์กร สิ นค้าและบริ การ (ดวงพร คํานูนวัฒน์:109) 2.3.1.1 กระบวนการสื่ อสาร กระบวนการสื่ อสารนี้คือ SMCR เป็ นแบบจําลองการสื่ อสารของ David Berlo S Source (แหล่งข้อมูล)

M Message (เนื้ อหา)

C Channel (ช่องทาง)

R Receiver (ผูร้ ับสาร)

กระบวนการสื่ อสารเป็ นเป็ นการส่ งสารจากแหล่งข้อมูล (source) คือองค์กรของพิพิธภัณฑ์ ได้ส่ง เนื้อหาข่าวสาร (message) โดยใช้ช่องทางการสื่ อสาร (channel) เช่น วิทยุ แผ่นพับ โปสเตอร์ ฯลฯ เพื่อส่ ง สารไปยังผูร้ ับสาร (receiver) หรื อผูช้ ม อย่างไรก็ตามการสื่ อสารจะมีประสิ ทธิ ภาพหรื อประสบความสําเร็ จมากน้อยเพียงใด ไม่ใช่เพียงแค่ การทําให้ผรู ้ ับสารรับรู ้ได้เท่านั้น แต่การสื่ อสารที่ดีผรู ้ ับสารต้องมีปฏิกิริยาตอบสนอง


20

S Source (แหล่งข้อมูล)

M Message (เนื้ อหา)

C Channel (ช่องทาง)

R Receiver (ผูร้ ับสาร)

ปฏิกิริยาตอบสนองของผูร้ ับสารไปยังผูส้ ่ งสาร

2.3.1.2 การสื่ อสารกับเครือข่ ายสั งคมออนไลน์ Social network หรื อสังคมเครื อข่ายออนไลน์ ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นเว็บไซท์ที่ให้ผใู ้ ช้สร้างพื้นที่ส่วนตัว และสร้ างเครื อข่ายหรื อกลุ่มผูใ้ ช้ไว้สําหรับการติดต่อสื่ อสารระหว่างกลุ่มผูใ้ ช้ดว้ ยกัน โดย Social network ในโลกนั้นมีหลากหลายและมีจาํ นวนมากเช่น Facebook, Hi5, Twitter, Myspace, Orkut, Skyrock, Bebo, Friendster, Studivz เป็ นต้น แต่ Social network ที่เป็ นที่นิยมในประเทศไทยได้แก่ Twitter Facebook Hi5 และ Multiply ส่ วนที่เป็ นที่นิยมมากที่สุดคือ Facebook ซึ่ งมีจาํ นวนผูใ้ ช้คนไทยมากที่สุด แต่ในอดีต Hi5 เคย เป็ นที่นิยมซึ่ งกําลังถูกลดความนิ ยมและกําลังถูก Facebook ซึ่ งเป็ น Social network อันดับหนึ่งของโลกมา แทนที่ประโยชน์ของ Facebook ไม่ได้มีไว้แค่สื่อสารกันเฉพาะผูใ้ ช้เท่านั้น หากแต่เป็ นพื้นที่ของการตลาด การประชาสัม พันธ์ ขององค์กรหรื อเว็บไซท์ต่า งๆ ที่ ต้องการเผยแพร่ ขอ้ มูล ข่า วสารหรื อสื่ อสารกับผูใ้ ช้ Facebook

2.3.1.3 Facebook ปั จจุบนั เฟสบุ๊ค (Facebook) ของมิวเซี ยมสยามมีสมาชิ กมากถึง 33,213 คน การสื่ อสารทางเฟสบุ๊ค จะทรงอิทธิ พลมากกว่าเครื อข่ายสังคมออนไลน์ อย่าง Hi5 และ Twitter เพราะรู ปแบบของการสื่ อสารที่โพ สเพียงครั้งเดี ยวแต่สมาชิ กทุกคนสามารถรับรู ้ได้และเป็ นการสื่ อสารที่ผสู ้ ่ งสารโต้ตอบกับผูร้ ับสารได้ทนั ที อีกทั้งยังโต้ตอบแบบเป็ นกลุ่ มได้ และจํานวนสมาชิ กที่มีมากกว่าเว็บอื่นทําให้เฟสบุ๊คเป็ นสังคมเครื อข่าย ออนไลน์ที่ทรงอิทธิ พลมากที่สุดขณะนี้ องค์กรต่างๆจํานวนมากรวมทั้งบริ ษทั ร้ านค้าได้มีการสร้ าง “Fan page” มีลกั ษณะเป็ นหน้าเว็บ เฟสบุค๊ เพื่อทําการสื่ อสารและประชาสัมพันธ์กบั ลูกค้าหรื อคนที่จะมาเป็ นลูกค้า การสร้างหน้า Fan page จะ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้คนใช้เฟสบุ๊คเข้าถึ งได้โดยง่าย เพราะนอกผูใ้ ช้จะได้ติดตามข่าวสารแล้วยังสามารถ พูดคุย แสดงความคิดเห็น หรื อเป็ นช่องทางติดต่อไปยังองค์กร และนอกจากองค์กรหรื อร้านค้าแล้วบุคคลที่ มีชื่อเสี ยงอย่างดารานักร้องก็ได้เปิ ดหน้า Fan page เพื่อใช้ในการสื่ อสารกับแฟนคลับอีกด้วย


21

2.3.1.4 การสื่ อสารของผู้ชมบน Facebook การสื่ อสารของผูช้ มบน Facebook จะมีลกั ษณะการเป็ นโพสคําพูด ความรู ้สึก รู ปถ่าย คลิป หรื อเป็ น การอัพเดทสถานะของผูใ้ ช้ แต่ Facebook นั้นมีลกั ษณะเด่นคือที่หน้า Home (หน้าแรก) จะแสดงการอัพเดท สถานะหรื อโพสทั้งหมดของเครื อข่ายของผูใ้ ช้ในช่ วงเวลานั้นๆ ทําให้ผูใ้ ช้สามารถมองเห็ นสถานะหรื อ โพสของเครื อข่ายหรื อเพื่อนๆในเวลาล่ า สุ ดเสมื อนได้อพั เดทตลอดเวลา เพราะข้อความเนื้ อหาที่ ข้ ึ นบน Facebook ไม่ได้มีแต่เรื่ องส่ วนตัวแต่รวมถึ งข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่ผใู ้ ช้ได้โพสขึ้นบนเฟสบุ๊ค และเมื่อผูใ้ ช้ เปิ ด Facebook มาที่หน้าแรกก็จะเห็นข่าวสารข้อมูลล่าสุ ดหรื อการโพสข้อความของผูใ้ ช้ที่อยูใ่ นเครื อข่าย เดี ย วกั น ด้ ว ยเหตุ น้ ี เองเฟสบุ๊ ค จึ ง เป็ นโอกาสทางการตลาดขององค์ ก รต่ า งๆในการเผยแพร่ แ ละ ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารต่างๆ การสื่ อสารมีสามช่องทางหลักคือการ โพส, แสดงความคิดเห็น และ Direct message โดยการ โพสของเฟสบุ๊ค จะมี ลกั ษณะลักษณะเป็ นการแบ่ งปั นข้อมู ลและอัพเดทสถานะของผูใ้ ช้ เช่ นการแสดง ความรู ้สึก แสดงความคิดเห็น โพสรู ปถ่าย คลิปวิดีโอ หรื อข่าวสารล่าสุ ด และในขณะเดียวกันผูใ้ ช้สามารถ แสดงความคิดเห็นต่อการโพสของเพื่อนหรื อเครื อข่ายเดียวกันของผูใ้ ช้ เฟสบุค๊ จะแจ้งเตือนมาทางอีเมล์ทนั ที เมื่อมีเพื่อนมาแสดงความคิดเห็นต่อการโพสของเรา นอกจากนั้นผูใ้ ช้ยงั สามารถโพสมาที่หน้าเฟสบุ๊คของเรา ได้โดยตรง ส่ วน Direct message เป็ นการส่ งข้อความมาหาเราโดยตรงแบบไม่เปิ ดเผยให้กบั เพื่อนที่อยูใ่ น เครื อข่ายเดียวกัน 2.3.1.5 การสื่ อสารระหว่ างมิวเซียมสยามกับผู้ชมบนเฟสบุ๊ค ลักษณะเฟสบุ๊คของมิวเซี ยมสยามเป็ น Fan page คือเปิ ดโอกาสให้ผใู ้ ช้เฟสบุ๊คได้สมัครเข้าร่ วมกลุ่ม เพื่อติดตามข่าวสารของทางมิวเซี ยมสยาม ซึ่ งปั จจุบนั เฟสบุค๊ ของมิวเซียมสยามมีสมาชิกมากถึง 9480 คน อีก ทั้งยังมีการสื่ อสารกับสมาชิ กทุกวัน ทําให้สมาชิ กทราบถึงข่าวสารหรื อความเคลื่อนไหวต่างๆของมิวเซี ยม สยามได้ทุกวัน ลักษณะการสื่ อของมิวเซี ยมสยามบนเฟสบุ๊คไม่ใช่แค่การแจ้งข่าวของทางพิพิธภัณฑ์อย่างเดียวแต่มี ลัก ษณะเป็ นการเปิ ดประเด็ นให้ร่วมแสดงความคิ ดเห็ น หรื อเป็ นการนําสาระต่ า งๆมาเสนอ ซึ่ ง สมาชิ ก สามารถแสดงความคิดเห็นได้ในทุกโพสของมิวเซียมสยาม


22

2.3.3 แนวคิดนิทรรศการ 2.3.3.1 หลักการออกแบบนิทรรศการ แนวคิ ดพิพิธภัณฑ์มีชีวิตก็คือการจัดแสดงนิ ทรรศการให้มีชีวิต ซึ่ งปั จจุบนั พิพิธภัณฑ์ในหลายๆ แห่ งถูกมองว่าขาดชี วิตโดยเฉพาะพิพิธภัณฑสถานแห่ งชาติและพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้าน สาเหตุที่พิพิธภัณฑ์ถูก มองเช่นนั้นเป็ นเพราะว่ารู ปแบบการจัดแสดงที่ไม่มีการหมุนเวียน ขาดเรื่ องราวมีแต่วตั ถุ ไม่มีการโต้ตอบ กับผูช้ ม ฯลฯ และนักวิชาการได้นิยามรู ปแบบของพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตแตกต่างกันไป แต่โดยรวมๆแล้ว พิพิธภัณฑ์หรื อการจัดแสดงนิทรรศการที่มีชีวติ มีลกั ษณะดังต่อไปนี้ 1 ลักษณะการจัดแสดงไม่ได้ใช้วตั ถุเป็ นตัวหลัก หากแต่นิทรรศการเต็มไปด้วยเรื่ องราวโดยเฉพาะ เรื่ องราวของผูค้ นที่มีความสัมพันธ์กบั วัตถุที่ใช้จดั แสดง หรื อใช้วตั ถุเป็ นตัวสะท้อนเรื่ องราวชี วติ ของผูค้ น 2 การจัดแสดงมีการหมุนเวียนหรื อปรับปรุ งอยู่ตลอด กล่าวคือนอกจากตัวนิ ทรรศการถาวรแล้ว พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ค วรมี นิท รรศการหมุ น เวี ย นผลัด เปลี่ ย นเพื่ อนํา เสนอเรื่ อ งราวใหม่ ๆ ทํา ให้ พิ พ ะภัณ ฑ์มี ก าร เคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่งกลายเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่ตาย 3 นิ ทรรศการสามารถทําปฏิสัมพันธ์กบั ผูช้ ม ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั การใช้เทคโนโลยีหรื อวิธีการจัดแสดง ให้มีการโต้ตอบกับผูช้ ม เช่ นการใช้ระบบจอสัมผัส หรื อลูกเล่นอื่นๆให้ผชู ้ มได้เกิ ดการสัมผัสด้วยมือหรื อ สร้างปฏิกริ ยาอย่างใดอย่างหนึ่งกับผูช้ ม นอกจากจะใช้เทคโนโลยี การใช้สื่อจัดแสดงก็สร้างปฏิสัมพันธ์กบั ผูช้ มได้ เช่น การจัดแสดงโดยใช้สื่อและเรื่ องราวที่ตรงกับความสนใจหรื อเป็ นเรื่ องไกล้ตวั กับกลุ่มเป้ าหมาย 4 นิทรรศการนั้นควรให้ความเพลิดเพลินกับผูช้ ม เรี ยกได้วา่ เป็ นการให้ผชู ้ มได้เยนรู ้อย่างเพลิดเพลิน 5 นิทรรศการมีความเป็ นเรื่ องเป็ นราว ซึ่ งมีคนกล่าวไว้วา่ การทําพิพิธภัณฑ์ก็เหมือนกับทําภาพยนตร์ โดยเฉพาะในส่ วนของการเล่าเรื่ อง 2.3.3.2 แนวคิดการสร้ างบรรยากาศนิทรรศการ บรรยากาศของนิ ทรรศการเป็ นส่ วนสําคัญที่จะกระตุน้ การเรี ยนรู ้ของผูช้ ม หรื อทําให้นิทรรศการมี ความน่ า สนใจ ที่ ผ่า นมาสั ง คมไทยยัง ติ ด กับ ภาพลัก ษณ์ ข องพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ใ นเชิ ง ที่ ว่า เป็ นสถานที่ ค รํ่ า ครึ บรรยากาศภายในเต็ ม ไปด้ว ยสิ่ ง ของเก่ า แก่ ซึ่ งเป็ นบรรยากาศที่ ไ ม่ ไ ด้พึ ง ประสงค์ เ ท่ า ใดนัก แม้ว่ า ปั จจุบนั พิพิภณั ฑ์หลายๆแห่ ง ได้พยายามสร้างภาพลักษณ์หรื อบรรยากาศของพิพิธภัณฑ์ให้น่ารื่ นรมณ์ เช่น การจัดพิพิธภัณฑ์ให้เป็ นในลักษณะของแหล่งท่องเที่ยว การใช้สื่อที่หลากหลายเพื่อกระตุน้ การเรี ยนรู ้และ ดึงดูดผูช้ มให้มีความสนใจ เป็ นต้น อย่างไรก็ตามการสร้ างบรรยากาศที่ ดีสําหรับนิ ทรรศการ ไม่จาํ เป็ นต้องอาศัยเทคโนโลยีหรื อการ ลงทุ นสู ง เสมอไป แต่ บ รรยากาศนิ ท รรศการที่ ดีควรมี ความเหมาะสมกับ กลุ่ ม คนนั้น ๆหรื อผูช้ มที่ เป็ น กลุ่มเป้ าหมายหลักของนิทรรศการ


23

2.3.4 แนวคิดการให้ บริการข้ อมูล การให้บริ การข้อมูลในที่น้ ี หมายถึ งการบริ การในเชิ งให้ความรู ้กบั ผูช้ ม ไม่วา่ จะเป็ นการให้ขอ้ มูล นิ ทรรศการ รวมทั้งงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องของนิ ทรรศการ แต่ในปั จจุบนั การให้บริ การความรู้ของพิพิธภัณฑ์ นั้นส่ วนใหญ่ยงั ไม่ทาํ ออกมาในรู ปแบบที่เป็ นรู ปธรรมหรื อทําอย่างจริ งจังเท่าที่ควร ความรู ้ส่วนใหญ่น้ นั อยู่ ที่ผนู้ าํ ชมหรื อผูเ้ ป็ นเจ้าของพิพิธ ภัณฑ์ อีกทั้งฐานความรู ้ที่อยูใ่ นชุ ดนิ ทรรศการนั้นยังไม่แน่ นพอ ทําให้การ บริ การความรู ้ท้ งั จากนิทรรศการและบริ การเสริ มต่างๆยังไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ อย่า งไรก็ ต ามพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ใ นหลายๆแห่ ง ได้พ ฒ ั นาการให้บ ริ ก ารข้อ มู ล ในเชิ ง ความรู ้ เช่ น บ้า น พิพิธภัณฑ์ของคุณ อเนก นาวิกมูล นอกจากจะมีการจัดแสดงนิทรรศการแล้ว ยังได้ออกหนังสื อเล่าเรื่ องของ เก่าของสะสมซึ่ งมีเรื่ องราวที่เกี่ ยวข้องกับการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์หลายๆแห่ งได้จดั ทําคู่มือ หรื อหนังสื อที่ เป็ นเรื่ องราวเกี่ ยวกับพิพิธภัณฑ์เช่ นพิพิธภัณฑ์อุดรธานี จะมี บริ การให้ยืมถ่ ายเอกสาร และ บริ การให้ขอ้ มูลอื่นๆของพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์มิวเซี ยมสยามเองก็มีการให้บริ การข้อมูลในเชิ งความรู ้ ที่หลากหลาย เช่ นการให้ขอ้ มูล ผ่านเว็บไซท์ การขายหนังสื อที่มีเรื่ องราวหรื อเนื้อหาเกี่ยวกับนิทรรศการ และการเปิ ดบริ การบริ การห้องสมุด เป็ นอีกตัวเลือกหนึ่งของการแสวงหาความรู้ของผูช้ มนอกเหนือจากการจัดนิทรรศการ

2.3.4.1 ลักษณะการให้ บริการข้ อมูล การบริ การข้อมูลถือว่าเป็ นการบริ การที่พ้ืนฐานที่สุดของพิพิธภัณฑ์ แต่ความต่างของการบริ การอยู่ ที่รูปแบบการให้บริ การ โดยทัว่ ไปการบริ การจะมีดงั นี้ บริ การเอกสาร พิพิภณ ั ฑ์ส่วนใหญ่ลว้ นมี ขอ้ มูล เอกสาร งานวิจยั ที่ เกี่ ยวข้อง หรื องานวิจยั ของ พิพิธภัณฑ์เอง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั พิพิธภัณฑ์วา่ จะให้บริ การด้านเอกสารหรื อขอบเขตข้อมูลมากน้อยเพียงใด บริการฐานข้ อมูล การบริ การข้อมูลที่ถูกจัดเก็บเป็ นฐานข้อมูลออนไลน์ ผูใ้ ช้บริ การสามารถสื บค้น ข้อมูลได้จากอินเตอร์เน็ต การนาชม/การให้ สัมภาษณ์ พิพิธภัณฑ์ส่วนใหญ่จะมีบริ การนําชมให้กบั ผูช้ ม ส่ วนการให้สัมภาษณ์ จะเป็ นในลักษณะของการไปขอข้อมูลกับพิพิธภัณฑ์พ้นื บ้านหรื อพิพิธภัณฑ์เอกชน

2.4 แนวคิดการจัดพิพธิ ภัณฑ์ ทพี่ งึ ประสงค์ การทบทวนวรรณกรรมและศึกษาเอกสารที่ เกี่ ยวข้องยังไม่มีผใู ้ ดอธิ บายถึ งนิ ยาม หรื อคําอธิ บาย อย่างตรงๆเกี่ยวกับ “พิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์” แต่มีแนวคิดหรื อความต้องการที่จะให้พิพิธภัณฑ์น้ นั เป็ นไป ตามแนวทางของพิพิธภัณฑ์เพื่อสังคม กล่าวคือพิพิธภัณฑ์ตอ้ งรับใช้สังคมมากกว่าเป็ นแค่แหล่งเก็บรักษา


24

วัตถุโบราณ (จิรา จงกล, 2532:32)แต่การที่พิพิธภัณฑ์จะสามารถตอบสนองความต้องการของสังคมได้ก็มี หลากหลายแนวคิดที่ จะทําให้พิพิธภัณฑ์เป็ นสถานที่ น่าสนใจ เพราะภาพลักษณ์ ของพิพิธภัณฑ์ในความ เข้าใจของคนส่ วนใหญ่ไ ม่ค่ อยจะสู ้ ดีนักและยัง ไม่ ไ ด้เป็ นที่ นิยมของประชนอย่า งแท้จริ ง หลัก การของ รู ปแบบพิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์มีดงั นี้ 2.4.1 เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ปั ญหาของการจัดทําพิพิธภัณฑ์ไทยตั้งแต่แรกเริ่ มส่ วนใหญ่คือการไม่ได้กาํ หนดกลุ่มเป้ าหมายหรื อ การกําหนดกลุ่มผูช้ มหลักๆไว้อย่างชัดเจน ทําให้เนื้ อหาสาระและการออกแบบของพิพิธภัณฑ์ไม่ได้ถูกใจ คนทัว่ ไป นอกเสี ยจากคนที่สนใจเรื่ องนั้นๆจริ งๆ การพัฒนาที่ผ่านมาพิพิธภัณฑ์หลายแห่ งได้เน้นเรื่ องทํา ให้ พิ พ ธภัณ ฑ์ ท ัน สมัย ด้ว ยเทคโนโลยี แต่ ท ว่ า พอนานวัน เข้า กลับ ประสบปั ญ หาอุ ป กรณ์ ชํา รุ ด ขาด บุ คคลากรและงบประมาณในการซ่ อมบํารุ ง ทําให้สื่อใช้ไม่ได้ส่งผลต่อความพึงพอใจต่อผูเ้ ข้าชม การ แก้ปั ญ หาจึ ง ควรพัฒ นาเนื้ อหานิ ท รรศการ และเลื อ กใช้สื่ อที่ เหมาะสมต่ อการเรี ย นรู ้ ข องคนกลุ่ ม ต่ า งๆ (ประภัสสร โพธิ์ ศรี ทอง, 2552:ออนไลน์) 1.1 สื่ อสาร 1.2 ออกแบบ การออกแบบนิทรรศการเพื่อสื่ อเรื่ องราวของพิพิธภัณฑ์ถือเป็ นงานสําคัญที่สุดงานหนึ่งของการจัดทํา นิทรรศการ การออกแบบควรคํานึงถึงกลุ่มผูช้ มหลักที่จะเข้าชมพิพิธภัณฑ์ มีวธิ ี การเล่าเรื่ องที่น่าติดตาม สร้างความต่อเนื่ องของการเข้าชมจากอีกจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง และมีขอ้ มูลที่ไม่หนักเกินไปสําหรับผูช้ ม 2.4.2 พิพธิ ภัณฑ์ มีชีวติ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ มี ชี วิ ต คื อ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ที่ มี ก ารเคลื่ อ นไหวหรื อ ว่า เป็ นพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ที่ ไ ม่ ต าย อยู่ ก ับ ที่ ไ ม่ เปลี่ยนแปลงเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่สร้างเสร็ จแล้วไม่มีการพัฒนาใดๆต่อ แต่พิพิธภัณฑ์มีชีวิตมีการจัดกิจกรรม มี การเคลื่อนไหวหรื อสิ่ งที่ทาํ ให้ผชู ้ มหรื อสิ่ งว่ามีความเคลื่อนไหวและเปลี่ ยนแปลง เช่น มิวเซี ยมสยามได้จดั นิ ทรรศการหมุนเวียน กิ จกรรมดนตรี กิ จกรรมวันเด็ก เป็ นต้นสังเกตได้ว่าความเคลื่ อนไหวเหล่ านี้ ไม่ได้ เกี่ยวข้องกับการจัดนิทรรศการถาวร การออกแบบและการตกแต่ ง พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ก็ ส ามารถทํา ให้ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ เ ป็ นพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ที่ มี ชี วิต ได้ นอกจากการจัดกิ จกรรม เช่ นพิ พิธภัณฑ์มหาวิท ยาลัยมหาสารคาม ตกแต่ง ทางเดิ นด้วยสวนดอกไม้ จัด สถานที่ให้เป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจ มีสวนสัตว์ขนาดเล็กและมีบ่อเลี้ ยงปลา เพื่อให้ผชู ้ มที่มานั้นสามารถทํา กิจกรรมอย่างอื่นได้นอกจากการชมนิทรรศการ


25

2.4.3 แนวคิดพิพธิ ภัณฑ์ ทพี่ งึ ประสงค์ ของมิวเซียมสยาม มิวเซี ยมสยามเองก็ต้ งั ความหวังหรื อมีแนวคิดพิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ในรู ปแบบของตัวเอง โดยมุ่ง ให้เป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ ที่มีความทันสมัย ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ อย่างรื่ นรมณ์ และยกระดับมาตราฐานการเรี ยนรู ้ แบบใหม่ให้กบั ประชาชน ภายใต้แนวคิดดังนี้  Discovery museum สร้างสรรค์นิทรรศการถาวรที่กระตุกต่อมคิดและจุดประกายความอยากรู ้ เกิด การตั้งคําถามและเน้นปฏิสัมพันธ์ระหว่างนิทรรศการกับผูช้ ม  Discovery Zone พื้นที่แห่งการเรี ยนรู ้ ด้วยการค้นหาความรู ้อย่างเร้าใจและรื่ นรมณ์  Collection Zone พื้นที่สิ่งของจัดแสดงที่ คดั สรรวัตถุ ช้ นั เยี่ยมที่ สามารถเป็ นตัวแทนบอกเล่ า เรื่ องราวทางประวัติศาสตร์ วฒั นธรรมและมรดกงานศิลป์ แห่งบรรพบุรุษ  Resource Zone แหล่งข้อมูลต่อยอดองค์ความรู ้สืบค้นเพิ่มเติมได้ท้ งั ทางทฤษฏีและในทางปฏิบตั ิ

2.5 แนวคิดการรับรู้ 2.5.1 การรับรู้ ความหมายของการับรู้ การรับรู้ (รัจรี นพเกตุ, 2540:1) คือกระบวนการประมวลและการตีความข้อมูลต่างๆที่อยูร่ อบๆโดย ผ่านความรู ้สึก สิ่ งมีชีวติ ทุกชนิดจะมีความรู ้สึกตอบโต้สิ่งที่มากระตุน้ เช่น คนบางคนเปลี่ยนบุคลิกจากที่เคย เป็ นคนเย่อหยิ่งจองหองมาเป็ นคนที่มีลกั ษณะเป็ นมิตร ยิ้มง่าย เพื่อต้องการสมัครผูแ้ ทนเพื่อผลประโยชน์ บางอย่าง นักจิตวิทยาเรี ยกสาเหตุของพฤติกรรมว่าเป็ นตัวกระตุน้ หรื อ Stimulus (S) พฤติกรรมที่แสดงออก เรี ยกว่าการตอบสนองหรื อ Response (R) หน้าที่คือหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวกระตุน้ และการตอบสนอง การรู้ สึกและการรับรู้ การรู ้ สึกนั้นมี ความตรงไปตรงมามี ความหมายน้อยกว่าการรั บรู ้ และไม่ได้อยู่ใต้อิทธิ พลของการ เรี ยนรู้ ประสบการณ์ แรงจูงใจ และอารมณ์ ส่ วนการรั บรู ้ เป็ นขบวนการขั้นสู งขึ้ นไปกว่าความรู ้ สึก การ เรี ยนรู ้ ประสบการณ์ แรงจูงใจ อารมณ์ ล้วนมีผลต่อการรับรู ้ท้ งั สิ้ น การรับรู ้จึงมีความหมายผิดกับเมื่อพูดถึง ความรู ้สึก เรามักเข้าใจว่าหมายถึงการกระตุน้ อวัยวะรับความรู ้สึกทําให้เกิดกระแสประสาท ระบบประสาท ไปตามระบบประสาทการศึกษา เรื่ องของการรับความรู้สึกจึงหนักไปในทางโครงสร้างและเส้นประสาท ของอวัยวะรับความรู ้สึก ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง


26

กระบวนการของการรับรู้ กระบวนการของการรับรู้ ( novabizz.com, 2553:ออนไลน์)เป็ นกระบวนการที่คาบเกี่ ยวกัน ระหว่างเรื่ องความเข้าใจ การคิด การรู ้สึก (Sensing) ความจํา (Memory) การเรี ยนรู้ (Learning) การตัดสิ นใจ (Decision making) Sensing -----> Memory ------> Learning -------> Decision making กระบวนการของการรับรู้ เกิดขึน้ เป็ นลาดับดังนี้ สิ่ ง เร้ า ไม่ ว่ า จะเป็ นคน สั ต ว์ สิ่ ง ของ หรื อ สถานการณ์ มาเร้ า อิ น ทรี ย ์ ทํา ให้ เ กิ ด การสั ม ผัส (Sensation) และเมื่อเกิดการสัมผัสบุคคล จะเกิดมีอาการแปล การสัมผัสและมีเจตนา (Conation) ที่จะแปล สัมผัสนั้น การแปลสัมผัส จะเกิดขึ้นในสมอง ทําให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ เช่น การที่เราได้ยนิ เสี ยงดัง ปั ง ปั ง ๆ สมองจะแปลเสี ยงดังปั ง ปั ง โดยเปรี ยบเทียบกับเสี ยง ที่เคยได้ยินว่าเป็ น เสี ยงของอะไร เสี ยงปื น เสี ยงระเบิด เสี ยงพลุ เสี ยงประทัด เสี ยงของท่อไอเสี ยรถ เสี ยงเครื่ องยนต์ระเบิด หรื อเสี ยงอะไร ในขณะเปรี ยบเทียบ จิต ต้องมีเจตนา ปนอยู่ ทําให้เกิดแปลความหมาย และ ต่อไปก็รู้วา่ เสี ยงที่ได้ยินนัน่ คือ เสี ยงอะไร อาจเป็ นเสี ยง ปื น เพราะบุคคลจะแปลความหมายได้ ถ้าบุคคลเคย มีประสบการณ์ในเสี ยงปื นมาก่อน และอาจแปลได้ว่า ปื นที่ ดงั เป็ นปื นชนิ ดใด ถ้าเขาเป็ นตํารวจ จากตัวอย่างข้างต้นนี้ เราอาจสรุ ป กระบวนการรั บรู ้ จะเกิ ดได้ จะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 1. มีสิ่งเร้า ( Stimulus ) ที่จะทําให้เกิด การรรับรู ้ เช่น สถานการณ์ เหตุการณ์ สิ่ งแวดล้อม รอบกาย ที่เป็ น คน สัตว์ และสิ่ งของ 2. ประสาทสัมผัส ( Sense Organs ) ที่ทาํ ให้เกิดความรู ้สึกสัมผัส เช่น ตาดู หู ฟัง จมูกได้ กลิ่น ลิ้นรู ้รส และ ผิวหนังรู้ร้อนหนาว 3. ประสบการณ์ หรื อความรู ้เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งเร้าที่เราสัมผัส 4. การแปลความหมายของสิ่ งที่เราสัมผัส สิ่ งที่เคยพบเห็ นมาแล้วย่อมจะอยู่ในความทรงจําของสมอง เมื่อ บุคคลได้รับสิ่ งเร้า สมองก็จะทําหน้าที่ทบทวนกับความรู ้ที่มีอยูเ่ ดิมว่า สิ่ งเร้านั้นคืออะไรเมื่อมนุ ษย์เราถูกเร้า โดยสิ่ งแวดล้อม ก็จะเกิดความรู ้สึกจากการสัมผัส (Sensation) โดยอาศัยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา ทําหน้าที่ดู คือ มองเห็น หู ทาํ หน้าที่ฟังคือ ได้ยิน ลิ้นทําหน้าที่รู้รส จมูก ทําหน้าที่ดมคือได้กลิ่น ผิวหนังทําหน้าที่สัมผัส คือรู ้สึกได้อย่างถูกต้อง กระบวนการรับรู ้ ก็สมบูรณ์ แต่จริ งๆ แล้วยังมีการสัมผัสภายในอีก 3 อย่างด้วยที่จะ ช่วยให้เรารับสัมผัสสิ่ งต่างๆ


27

ลาดับขั้นของกระบวนการรับรู้ การรับรู ้จะเกิดขึ้นได้ ต้องเป็ นไปตามขั้นตอนของกระบวนการดังนี้ ขั้นที่ 1 สิ่ งเร้า( Stimulus )มากระทบอวัยวะสัมผัสของอินทรี ย ์ ขั้นที่ 2 กระแสประสาทสัมผัสวิ่งไปยังระบบประสาทส่ วนกลาง ซึ่ งมีศูนย์อยู่ที่สมองเพื่อสั่งการ ตรงนี้ เกิ ด การรับรู้ ( Perception ) ขั้นที่ 3 สมองแปลความหมายออกมาเป็ นความรู ้ความเข้าใจโดยอาศัย ความรู้เดิม ประสบการณ์เดิม ความจํา เจตคติ ความต้องการ ปทัสถาน บุคลิกภาพ เชาวน์ปัญญา ทําให้เกิดการตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่ ง การรับรู ้ ( Perception ) องค์ ประกอบของการรับรู้ 1. สิ่ งเร้าได้แก่วตั ถุ แสง เสี ยง กลิ่น รสต่างๆ 2. อวัยวะรับสัมผัส ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น ผิวหนัง ถ้าไม่สมบูรณ์จะทําให้สูญเสี ยการรับรู ้ได้ 3. ประสาทในการรับสัมผัสเป็ นตัวกลางส่ งกระแสประสาทจากอวัยวะรับสัมผัสไปยังสมองส่ วนกลาง เพื่อ การแปลความต่อไป 4. ประสบการณ์เดิม การรู ้จกั การจําได้ ทําให้การรับรู ้ได้ดีข้ ึน 5. ค่านิยม ทัศนคติ 6. ความใส่ ใจ ความตั้งใจ 7. สภาพจิตใจ อารมณ์ เช่น การคาดหวัง ความดีใจ เสี ยใจ 8. ความสามารถทางสติปัญญา ทําให้รับรู้ได้เร็ ว ปัจจัยกาหนดการรับรู้ สิ่ งเร้าอย่างเดียวกัน อาจจะทําให้คนสองคน สามารถรับรู ้ต่างกันได้ เช่น คนหนึ่ งมองว่าคนอเมริ กนั น่ารัก แต่อีกคนมองว่า เป็ นคนอเมริ กนั เป็ นชาติที่น่ารักน้อยหน่อยก็ได้ เพราะในใจเขาอาจชอบคนอังกฤษก็ ได้ เลยชอบชาวอเมริ กนั น้อยกว่า ซึ่ งก็แล้วแต่มุมมองของแต่ละคน แล้วแต่ก ารรั บรู ้ ข องแต่ละคน การที่ มนุษย์สามารถรับรู ้สิ่งต่าง ๆ ได้ตอ้ งอาศัยปั จจัยหลายอย่าง และจะรับรู ้ได้ดีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยูก่ บั สิ่ งที่มี อิทธิ พลต่อ การรับรู ้ เช่น ประสบการณ์ วัฒนธรรม การศึกษา เป็ นต้น ดังนั้นการที่บุคคล จะเลือกรับรู ้สิ่งเร้า ใจอย่างใดอย่างหนึ่ ง ในขณะใดขณะหนึ่ งนั้นจึงขึ้นอยู่กบั ปั จยั ที่มีอิทธิ พลต่อการรับรู ้ ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อ การรับรู้มี 2 ประเภท คือ


28

อิทธิ พลที่มาจากภายนอก ได้แก่ ความเข้มและขนาดของสิ่ งเร้ า ( Intensively and Size) การกระทําซํ้า ๆ (Repetition) สิ่ งที่ตรงกันข้าม (Contrast) การเคลื่อนไหว (Movement) และอิทธิ พลที่มาจากภายใน ได้แก่ แรงจูงใจ (Motive) การคาดหวัง (Expectancy) ความสนใจ อารมณ์ ความคิดและจิตนาการ ความรู ้สึกต่างๆ ที่ บุคคลได้รับ เป็ นต้น ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการรับรู ้ ยงั แบ่งออกได้อีกเช่นแบ่งปั จจัยของการรับรู ้ ออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ ประการ แรกลักษณะของผูร้ ับรู ้ กับ ประการที่สองลักษณะของสิ่ งเร้า ดังจะอธิ บายดังนี้คือ ปัจจัยการรับรู้ มี 2 ประเภทคือ 1. ลักษณะของผูร้ ับรู้ ลักษณะของผูร้ ับรู ้ พิจารณาจากการที่บุคคลจะเลือกรับรู ้สิ่งใดก่อนหรื อหลัง มากหรื อน้อย อย่างไรนั้นขึ้นอยู่ กับลักษณะของผูร้ ับรู ้ดว้ ยเป็ นสําคัญประการหนึ่ ง ปั จจัยที่เกี่ยวกับผูร้ ับรู ้สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ด้าน คือ ด้านกายภาพกับด้านจิตวิทยา ดังอธิ บาย 1.1 ด้านกายภาพ หมายถึง อวัยวะสัมผัส เช่น หู ตา จมูก และอวัยวะสัมผัสอื่น ๆ ปกติหรื อไม่ มีความรู ้สึกรับ สัมผัสสมบูรณ์ เพียงใด เช่น หู ตึง เป็ นหวัด ตาเอียง บอดสี สายตายาว สายตาสั้น ผิวหนังชา ตายด้าน ความ ชรา ถ้าผิดปกติหรื อหย่อนสมรรถภาพ ก็ยอ่ มทําให้ การรับสัมผัส ผิดไป ด้อยสมรรถภาพในการรับรู ้ ลงไป ความสมบูรณ์ ของอวัยวะรั บสัมผัส จะทําให้รับรู ้ ได้ดี การรั บรู ้ บางอย่าง เกิ ดจากอวัยวะรั บสัมผัส 2 ชนิ ด ทํางานร่ วมกัน เช่น ลิ้นและจมูกช่วยกันรับรู ้ รส การรับรู ้ จะมีคุณภาพดี ข้ ึน ถ้าเราได้รับสัมผัสหลายทาง เช่ น เห็นภาพและได้ยินเสี ยงในเวลาเดียวกันทําให้เราแปลความหมายของสิ่ งเร้าได้ถูก ต้องขึ้น อีกอย่างหนึ่ งต้อง ขึ้นกับ ขอบเขตความสามารถในการรับรู ้ดว้ ยคือ ขอบเขตความสามารถโดยธรรมชาติในการรับรู ้ของคน ซึ่ ง ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถในการรับสัมผัสและ ความสามารถในการแปลความหมายของสิ่ งเร้า ความสามารถ ของอวัยวะสัมผัสมีขอบเขตํากัด ไม่สามารถรับสัมผัสสิ่ งเร้ าได้ทุกชนิ ด แสงที่มีความเข้มน้อยเกินไป วัตถุ ขนาดเล็กมากเราไม่สามารถมองเห็นได้ พวกรังสี คลื่นวิทยุ ประสาทหู รับไม่ได้ เสี ยงที่เบาเกินไปจนไม่ทาํ ให้แก้วหูสนั่ สะเทือนเราก็ไม่ได้ยิน นักล้วงกระเป๋ า กระทําอย่างแผ่วเบามาก เราก็รับสัมผัสไม่ได้ ขนาดหรื อ ความเข้มของสิ่ งเร้า ที่สามารถทําให้อวัยวะสัมผัสเกิด ความรู ้สึกได้ เรี ยกว่า Threshold 1.2 ด้านจิ ตวิทยา ปั จจัยทางด้านจิ ตวิทยาของคนที่มีอิทธิ พลต่อการรั บรู ้ น้ นั มี หลายประการ เช่ น ความจํา อารมณ์ ความพร้ อ ม สติ ปั ญญา การสั ง เกตพิ จารณา ความสนใจ ความตั้ง ใจ ทัก ษะค่ า นิ ย ม วัฒนธรรม ประสบการณ์เดิม เป็ นต้น สิ่ งเหล่านี้ เป็ นผลจาก การเรี ยนรู ้เดิม และประสบการณ์เดิมทั้งสิ้ น นักจิตวิทยา ถือ ว่า การรับรู ้ น้ นั เป็ นสิ่ งที่บุคคลเลื อกสรรอย่างยิ่ง (High Selective) เริ่ มตั้งแต่รับสัมผัส เลื อกเอาเฉพาะที่


29

ต้องการ และแปลความให้เข้ากับตนเอง บุคคลจึงจะเลือกรับรู ้สําหรับลักษณะของผูร้ ับรู ้ทางด้านจิตวิทยานั้น ยังมีปัจจัยด้านจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการรับรู ้ อีก 14 ข้อ คือ ความรู ้ เดิ ม ความต้องการหรื อความปรารถนา สภาวะของจิตหรื ออารมณ์ เจตคติ อิทธิ พลของสังคม ความตั้งใจ ความสนุ กสนานเพลิดเพลิ นที่มีผลต่อการ รับรู ้ แรงจูงใจ คุ ณค่าและความสนใจที่ มีผลต่อการรับรู ้ ความดึ งดูดในทางสังคม สติปัญญา การพิจารณา สัง เกต ความพร้ อมหรื อการเตรี ย มพร้ อมที่ จะรับรู้ และการคาดหวัง ดังจะอธิ บายเป็ นข้อๆ โดยละเอี ยด ดังนี้คือ 1.2.1 ความรู้เดิม และประสบการณ์ (Experience) ของแต่ละบุคคลจะทําให้บุคคลเข้าใจรับรู ้เหตุการณ์ต่างๆ หรื อภาพต่างๆ แตกต่างกัน ออกไปโดยที่กระบวนการรับรู ้ เมื่อบุคคลรับสัมผัสแล้ว จะแปลความหมายอาจ แปลในรู ปสัญลักษณ์หรื อภาพต่างๆ การแปลความหมายนี้ จะต้องอาศัยความรู้เดิม และประสบการณ์เดิม ที่ เกี่ยวข้องกับ สิ่ งที่เราจะรับรู ้ ฉะนั้นถ้าหากไม่มีความรู ้เดิม ไม่มีประสบการณ์เดิม ในเรื่ องนั้นๆ มาแต่ก่อน ก็ ย่อมจะทําให้ การรับรู ้ผดิ ไปจากความเป็ นจริ ง 1.2.2 ความต้องการ ความปรารถนา (need) หรื อแรงขับ ใครต้องการอะไรก็สนใจแต่สิ่งนั้น เช่น 2 คนไปซื้ อ ของด้วยกัน คนที่ จะซื้ อหนัง สื อก็ดูแต่หนัง สื อ คนที่ จะซื้ อเครื่ องกี ฬาก็ดูแต่เครื่ องกี ฬา คนที่ หิวก็ มองแต่ ร้านอาหารและต้องการรายการอาหาร คนที่ตอ้ งการขับถ่าย ก็มองหาแต่ส้วม คนกําลังกระหายสนใจรายการ เครื่ องดื่ม ชูภาพให้ 3 คนดู แล้วถามทีละคนว่าเห็นอะไร ก.กําลังหิ วเห็นอาหาร ข. กําลังเห็นเบียร์ เพราะกําลัง อยากดื่ม ค. เห็นเด็กเพราะกําลังคิดถึงลูก 1.2.3 สภาพของจิตใจหรื อภาวะของอารมณ์ คนเราขณะอารมณ์ดี มักจะไม่พิจารณารายละเอียดของสิ่ งที่เร้ า มากนัก มองไม่เห็น ข้อบกพร่ อง มองเห็นสิ่ งนั้น สิ่ งนี้ ดีไปหมด แต่ถา้ หากอยูใ่ นภาวะอารมณ์ไม่ดีไม่ผอ่ งใส เช่น หิ ว กระหาย เหนื่อยล้า เครี ยด กังวล ทุกข์ ขุ่นมัว เจ็บป่ วย กังวลหรื อได้รับอิทธิ พลจากสารเคมีบางชนิ ด เช่น กินยาระงับประสาท ยานอนหลับ ดื่ มสุ รา ยาเสพติด ฯลฯ มักจะมองอะไรไม่ชอบใจ ไปหมด หากว่ามี อารมณ์ เสี ย มาก ๆ อาจจะไม่รับรู ้อะไรเลย หรื อรับรู ้ผดิ พลาดมาก เมื่อคนมีอารมณ์เครี ยดมาก กล้ามเนื้ อและ ประสาท จะมีความต้านทาน การวนเวียนกระแสประสาทสู ง ทําให้การแปลความหมายผิดพลาด เกิ ดการ รับรู ้ไม่ดี ถ้าจิตใจแจ่มใสกระชุ่มกระชวย ใจคอปลอดโปร่ ง การแปลความหมายย่อมจะดีและถูกต้องขึ้น 1.2.4 เจตคติ มีผลต่อการแปลความหมายคน ที่เรามีเจตคติไม่ดียมิ้ ให้เราเราก็รู้วา่ ยิม้ เยาะ ถ้าเขาหกล้มก็วา่ เซ่ อ คนที่เราเคารพรัก รับประทานได้มากก็รับรู ้วา่ เจริ ญอาหาร คนรับใช้กินมากกว่าตะกละ


30

1.2.5 อิทธิพลของสังคม (Social Factor) สภาพความเป็ นอยูข่ องสังคม และ ลักษณะของวัฒนธรรมปทัสถาน (Norm) เป็ นกรอบของการอ้างอิง (Frames of Reference) จารี ต ประเพณี ค่านิ ยม เป็ นเครื่ องกําหนดค่านิ ยม เป็ นเครื่ องกําหนด 1.2.6 ความตั้งใจ (Attention) ที่จะรั บรู ้ และความสนใจสิ่ งต่าง ๆ ที่ อยู่รอบ ๆ ตัวเรามี มากมาย ล้วนแต่มี โอกาส ก่อให้เกิ ดการรับรู ้ ขึ้นในตัวเราได้ แต่ในขณะหนึ่ ง ๆ เราไม่ได้รับรู ้ ทุ กสิ่ งทุ กอย่างในสิ่ งแวดล้อม รอบตัวเรา พร้อม ๆ กัน เราจะเลือกรับรู ้ ไม่ได้รับรู ้ ในทุกสิ่ งที่ผา่ นเข้า ทางประสาทสัมผัส บางสิ่ งบางอย่าง เข้าหู ซ้ายไปทะลุ ออก หู ขวาโดยไม่มีการรั บรู ้ หรื อตระหนักถึ งสิ่ งนั้นเลย มี ปฏิ กิริยาต่อสิ่ งต่าง ๆ มากน้อย ต่างกันไม่เสมอเหมือนกัน 1.2.7 ความสนุกสนานเพลิดเพลินมีผลต่อการรับรู ้ เพราะเมื่อมีความสนุ กสนาน ก็จะรู ้สึกสบายใจช่วย ทําให้ บุคคลเกิ ด การรับรู ้ ได้เร็ ว และได้ดี เช่น การเล่นไพ่ตอ้ งจําทั้งกติกา และชนิ ดของตัวไพ่มากมาย แต่คนก็จาํ ทั้งตัวไพ่และวิธีการเล่นได้อย่างรวดเร็ ว ทั้งนี้ เพราะมี ความสนุ กสนานเพลิ ดเพลินแฝงอยู่ดว้ ย จึงก่อให้เกิ ด การรับรู้ได้ดี 1.2.8 แรงจูงใจ (Motivation) มีผลต่อการรับรู ้ แรงจูงใจ กระตุน้ ให้เกิด ความต้องการ (Needs) ในสิ่ งใด จะทํา ให้บุคคลเกิด การรับรู ้สิ่งนั้นเป็ นอย่างดี 1.2.9 คุณค่า (Value) และความสนใจที่ มีผลต่อการรับรู ้ เมื่อเห็นคุณค่าก็เพิ่ม ความสนใจใส่ ต่อการที่จะรับรู ้ คนเราสนใจต่อสิ่ งใด มักจะบังเกิดความตั้งใจทันที เช่น สนใจพระ หรื อเหรี ยญ ใครพูดคุยหรื อดูกนั อยูท่ ี่ไหน ก็ต้ งั ใจจะรั บรู ้ ผูห้ ญิ ง สนใจแหวนเพชร พบที่ไหนก็ขอดู ผูช้ ายไม่ต้ งั ใจจะรับรู ้ นอกจากคนที่ กาํ ลังจะซื้ อ แหวนหมั้นความสนใจ ตั้งใจ ช่วยให้การแปลความหมาย ถูกต้อง ยิง่ ขึ้นสิ่ งเร้าภายในแบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ 1.2.10 ความดึงดูดในทางสังคม ถ้าคนส่ วนใหญ่หรื อกลุ่มสนใจอะไร เราจะสนใจบ้าง คนมุงดูอะไร ก็อยากดู บ้าง ทั้งบ้านชอบดู โทรทัศน์รายการใดเราก็ดูบา้ ง ถ้าครู บอกว่าเรื่ องนี้ น่าสนใจ กําลังเป็ นที่สนใจของสังคม ครู เล่าให้ฟัง นักเรี ยนจะเพิม่ ความสนใจขึ้น การรับรู ้จะดีข้ ึนมาก 1.2.11 สติ ปัญญา คนที่ เฉลี ยวฉลาดรั บรู ้ ไ ด้ดี เร็ วและถู กต้องกว่า ผูม้ ี สติ ปัญญาตํ่า แปลความหมายได้ดีมี เหตุผล 1.2.12 การสังเกตพิจารณา ช่วยการแปล ทําให้รับรู ้แม่นยําขึ้นรู ้ละเอียดลึกซึ้ ง ซึ้ งขึ้น เช่น ตํารวจเห็นปั๊ บก็รู้วา่ ที่เดินผ่านไปนั้นเป็ นคนผูช้ ายแต่สังเกตพิจารณาดูก็รู้วา่ เป็ นคนเมา


31

1.2.13 ความพร้อมหรื อการเตรี ยมพร้อมที่จะรับรู้ ( Pre Paratory set ) นัก กีฬา ได้ยินให้ “ระวัง” ทันทีที่ได้ ยินเสี ยงสัญญาณ เขาจะออกจากเส้นสตาร์ ททันที คนที่ยนื คอยรถเมล์ เขาพร้อมจะขึ้นรถได้ทนั ทีที่รถจอด คน กําลังหาของหายพบอะไรที่คล้ายกัน ก็อาจคิดไปว่า พบของที่ตอ้ งการแล้ว คนที่กาํ ลังคอยใครคนหนึ่ ง เห็ น คนอื่น ๆ เป็ นคนที่เรากําลังคอยบ่อย ๆ แม่ที่ห่วงลูกได้ยนิ เสี ยงแมวคราง อยูท่ ี่หน้าประตูก็คิดไปว่าลูกร้อง คน ที่กลัวผีมกั จะเห็นอะไร ๆ เป็ นผีไปหมด นุ่ น 1 กก. กับเหล็ก 1 กก. ทั้ง ๆ ที่น้ าํ หนักเท่ากัน แต่เวลายกเราจะ รู ้สึกว่าเหล็กหนักกว่า เพราะเรามีการเตรี ยมใจไว้พร้อมแล้วว่าเหล็กเป็ นของหนัก 1.2.14 การคาดหวัง ( Expectancy ) บางครั้ ง คนเราก็ มี การคาดหวังล่ วงหน้าซึ่ งเป็ นการทํา ให้ค นเรา เตรี ยมพร้อมในการ รับรู ้สิ่งใหม่ เช่น คนกลุ่มที่ทาํ งานเกี่ ยวกับตัวเลขอยู่เสมอ โดยเฉพาะจะต้องพบกับเลข 13 เสมอทําให้คนกลุ่มนี้ ลากเส้นตามภาพบนหน้า เขาจะลากเป็ นตัวเลข 1 กับ 3 เป็ น 13 แต่ถา้ ให้คนกลุ่มที่ ทํางานเกี่ยวกับตัวอักษรเป็ นประจํา โดยเฉพาะอักษร B คนกลุ่มนี้จะลากเส้นตามภาพเป็ น B 2. ลักษณะของสิ่ งเร้า ลักษณะของสิ่ ง เร้ า นั้นพิจารณาจาก การที่ บุ คคลจะเลื อกรั บรู ้ สิ่ งใด ก่ อนหรื อหลัง มากหรื อน้อย เพียงใดนั้นขึ้นอยู่กบั ว่าสิ่ งเร้ าดึงดูดความสนใจ ความตั้งใจมากน้อยเพียงใด หรื อไม่ ลักษณะของสิ่ งเร้าที่มี อิทธิ พลต่อการรับรู ้มีดงั นี้ 2.1 สิ่ งเร้าภายนอกที่ดึงดูดความสนใจและความตั้งใจ ได้แก่คุณสมบัติและคุณลักษณะของสิ่ งเร้าที่ จะทําให้เกิดการรับรู ้นนั่ เอง ซึ่ งถ้าสิ่ งเร้ามีคุณสมบัติและลักษณะที่สนองธรรมชาติในการรับรู ้ของคนเรา ก็จะ ทําให้มีความตั้งใจในการรับรู ้ดีข้ ึน 2.1.1 ขนาดความเข้มข้นหรื อความหนักเบาของสิ่ งเร้า ถ้าสิ่ งเร้ามีความเข้มมาก ก็รับรู ้ได้มาก บังเกิด การรับรู ้ได้ชดั แจ้ง ความชัดเจนของสิ่ งที่มองเห็นก็ดี ความดังของเสี ยงก็ดี การสัมผัสทางผิวหนังอย่างหนักก็ ดี กลิ่ นที่ฉุนจัดก็ดี เหล่านี้ เป็ น ความเข้มข้น ที่ทาํ ให้เกิ ดความรู ้ สึกจากการสัมผัสที่จดั แจ้งทั้งสิ้ น ในสิ่ งเร้ า ชนิดเดียวกันบุคคลจะเลือก รับรู ้สิ่งเร้าที่มีความเข้มข้นมากกว่า ก่อนสิ่ งที่มีความเข้มน้อย 2.1.2 ความเปลี่ ยนแปลงหรื อความเคลื่ อนไหวของสิ่ งเร้ า สิ่ งเร้ าที่มีการเปลี่ ยน-แปลงจะดึ งความ ตั้งใจได้ดีกว่าสิ่ งเร้าที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง สิ่ งเคลื่อนไหวดึงความตั้งใจได้ดีกว่าของที่อยูใ่ นลักษณะหยุดนิ่ ง ภาพยนต์มีประสิ ทธิ ภาพในการทําให้คนตั้งใจดูได้มากกว่าภาพนิ่ง 2.1.3 การกระทําซํ้า ๆ ของสิ่ งเร้ า สิ่ ง เร้ าที่ เกิ ดขึ้ นซํ้าซาก เรี ยกร้ องให้เราสนใจ ได้มาก เช่ น การ โฆษณาสิ นค้าซํ้าบ่อย ๆ จะเป็ นทางวิทยุ โทรทัศน์ก็ตามทําให้เกิดความสนใจ บีบแตรรถถี่ ๆ หลาย ๆ ครั้งทํา ให้คนหันมาดู กริ่ งที่ประตูบา้ นดังถี่ ๆ ติดกันทําให้ รี บร้อนออกไปเปิ ดประตูมากกว่าดังครั้งเดียว


32

2.1.4 ความกว้างขวางหรื อขนาดของสิ่ งเร้า ถ้าสิ่ งเร้ามีขอบเขตจํากัดเกินไป เราก็รับสัมผัสได้ยา เรา จะรับสัมผัสได้ดีถา้ สิ่ งเร้ามีขนาดหรื อมีอาณาเขตกว้างขวางพอสมควร สิ่ งเร้าที่มีขนาดใหญ่น่าสนใจกว่าที่มี ขนาดเล็ก เช่ นคนอ้วนใหญ่คนมักจะมองป้ ายโฆษณา ที่มีขนาดใหญ่ย่อมดึ งดูดความสนใจได้มากกว่าป้ าย โฆษณาที่มีขนาดเล็ก ๆ 2.1.5 ความแปลกใหม่ สิ่ งเร้าที่ไม่เป็ นไปตามปกติทาํ ให้เกิดความตั้งใจมากกว่า 2.1.6 ความคงทน สิ่ งเร้าที่เร้าในระยะเวลาสั้นจะทําให้เรารับสัมผัสได้ยาก เราจะรับสัมผัสได้ ถ้าสิ่ ง เร้านั้นเร้าอยูน่ านพอสมควร ตัวอย่างเช่น การยกบัตรคําให้เด็กอ่าน ถ้ายกให้ดูแป๊ บเดียวระยะเวลาสั้นเกินไป เด็กจะมองเห็นไม่ชดั เจนและมักจะเกิดการรับรู ้ ที่คลาดเคลื่อน 2.1.7 ระยะทาง เป็ นระยะทางพอสมควรไม่ใกล้หรื อไกลเกินไป 2.1.8 ลักษณะการตัดกัน (Contrast) ของสิ่ งเร้า ตามปกติภาพ (Figure) ควรให้สีเด่นขึ้นพื้น (Ground) สี จางลง สิ่ งเร้าที่ตดั กันจะดึงดูดความสนใจ ได้มากกว่าสิ่ งที่คล้ายคลึ งกัน การพาดหัวข่าวของหนังสื อพิมพ์ ใช้ตวั อักษรขนาดโตกว่าปกติ และหรื อใช้สีต่าง ๆ เพื่อเรี ยกร้องความสนใจของผูอ้ ่าน 2.1.9 สี แต่ละสี มีประสิ ทธิ ภาพในการดึ งดูสายตาได้ต่างกัน สี ที่เกิ ดจากคลื่ น ช่ วงยาว เช่ น สี แดง เหลือง ย่อมดึงดูดความตั้งใจได้ดีกว่าสี ที่มีช่วงสั้น เช่น สี ม่วง สี ฟ้า 2.2 การจัดลักษณะหมวดหมู่ของวัตถุที่เป็ นสิ่ งเร้า หลักเกณฑ์ในการที่คนเรามีแนวโน้มที่จะจัดภาพที่มองเห็น โดยจัดกลุ่มวัตถุเรี ยง ตามกฎ 4 ประการ ดังต่อไปนี้ 2.2.1 กฎแห่ งความคล้ายคลึง (the law of Similarity) ว่าสิ่ งใดก็ตามที่มีลกั ษณะเหมือนกัน หรื อมี ลักษณะสําคัญร่ วมกัน อาจเป็ นรู ปร่ างหรื อขนาดหรื อสี เหมือนกันคนเรามักจะรับรู ้ รวมกันเป็ นสิ่ งเดี ยว กัน รับรู ้วา่ เป็ นพวกเดียวกัน กล่าวคือจัดอยูใ่ นกลุ่มเดียวกัน 2.2.2 กฎแห่งความใกล้ชิด หรื ออยูภ่ ายในขอบเขตที่ใกล้เคียงกัน (The law of Proximity) ว่า สิ่ งที่อยู่ ใกล้ก ันคนเรามักจะรั บ รู ้ ว่า มี ค วามเกี่ ยวข้องกันมากกว่า สิ่ ง ที่ เหมื อนกัน แต่อยู่ไ กลกันออกไป คนเรามี แนวโน้มที่จะรับรู ้สึกที่ใกล้กนั ให้เป็ นภาพเดียวกัน หรื อเป็ นหมวดหมู่เดียวกัน พวกเดียวกันเช่น เราจะรับรู ้วา่ อักษรมีอยู่ 2 พวกคือ พวกแนวนอน กับพวกแนวตั้งเรามักจะจัดเส้น หรื อจุดที่อยูใ่ กล้กนั เข้าด้วยกัน 2.2.3 กฎแห่งความสมบูรณ์ หรื อกฎแห่ งความสิ้ นสุ ด (The law of Closure) เป็ น ไปตามแนวคิดของ Gestalt Psychology ที่ ว่า มนุ ษ ย์เรารั บ รู ้ เป็ นส่ วนรวม มากกว่า ที่ จะรั บ รู ้ เป็ นส่ วนย่อย ๆ ส่ วนรวมมี ความสําคัญมากกว่าสิ่ งที่ยอ่ ยที่มารวมกันและการรับรู ้ประเภทนี้ ต้องอาศัยประสบการณ์เดิม จิตใจของคนเรา จะรู ้สึกผิดปกติเมื่อมองเห็นสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด ขาดตกบกพร่ องไปจากสิ่ งที่เราคิด และความคิดของเรา ก็จะหลอก ให้เรารับรู ้วา่ มันเต็มสมบูรณ์โดยที่เราไม่ได้ต้ งั ใจ


33

2.2.4 กฎแห่ งความต่อเนื่ อง (The law of Good Continuation) ถ้าไม่มีอะไรมาขัดขวางแล้ว คนเรา มักจะรับรู ้ในลักษณะเดียวกัน ต่อเนื่องกันตั้งแต่ตน้ จนจบ ถ้าเราเห็นเส้นตรงตั้งแต่ตน้ เราก็มกั สรุ ปเอาว่า มัน เป็ นเส้นตรงตลอด ความต่อเนื่ อง (Continuity) เกิดจากสิ่ งเร้ามีทิศทางไปทางเดียวกัน เช่น เราดูไฟกระพริ บ ตามป้ ายโฆษณา 2.3 การรับรู ้เกี่ยวกับระยะทางหรื อความลึก (Distance of Depth perception) มนุษย์เรานอกจากจะ รับรู้ภาพ 2 มิติบน แผ่นกระดาษแล้ว ยังสามารถรับรู ้ภาพที่มี 3 มิติดว้ ย คือ สามารถรับรู้ระยะทางหรื อความ ลึกได้จากภาพ ความสามารถนี้ เกิ ดจาก การเรี ยนรู ้ ของมนุ ษย์ นักจิตวิทยาใช้วิธีการต่าง ๆ ทาง Monocular cues หลาย ๆ อย่าง เพื่อให้สามารถทราบระยะทางของสิ่ งนั้น ๆ ดังแสดงในรู ปที่ 5.12 2.3.1 ตําแหน่งที่เหลื่อมกัน Super position of the objects คือการที่วตั ถุหนึ่งบัง (วางซ้อน) หรื อทับ ส่ วนใดส่ วนหนึ่งของวัตถุอีกอันหนึ่ ง เราจะรู ้สึกว่าวัตถุที่ถูกทับอยูห่ ่ างออกไป ภาพของวัตถุแรกจะเป็ นภาพ ที่ใกล้กว่าวัตถุหลัง 2.3.2 ภาพทิวทัศน์ที่เห็นไกล (Perpective) หมายถึงสิ่ งที่อยูห่ ่ างออกไป เราจะรู ้สึกว่าขนาดของมัน ค่อย ๆ เล็กลง ๆ เช่น ภาพทางรถไฟ หรื อถนน ถ้าเรามองดูภาพต่าง ๆ ในพื้นที่ราบจะเห็นว่าวัตถุไกลสู งกว่า วัตถุที่อยูใ่ กล้ 2.3.3 แสงและเงา (Light and Shadow) แสงและเงาช่วยในการรับรู ้เกี่ยวกับความลึกของภาพ ช่วยทํา ให้ภาพเป็ นสามมิติ โดยทําให้ภาพนั้นเว้าเข้าไปหรื อนูนเด่นออกมา 2.3.4 การเคลื่อนที่ (Movement) เราสามารถใช้การเคลื่อนไหวสัมพันธ์ (Relative Motion) มาเป็ น เครื่ องตัดสิ นระยะวัตถุ ได้ เช่ น เวลาเรานั่งรถไฟ เราจะเกิ ดความรู ้ สึกเหมื อนว่าวัตถุ ที่อยู่ใกล้เคลื่ อนที่ ใ น ทิศทางตรงกันข้าม กับตัวเรา แต่วตั ถุที่อยู่ไกล ๆ รู ้สึกว่าเหมือนเคลื่อนไหวตามตัวเรา ทิศทางเคลื่อนที่ของ วัตถุจึงมีส่วนช่วยในการตัดสิ นระยะทางใกล้ไกลได้


34

2.6 แนวคิดพิพธิ ภัณฑ์ กบั ผู้ชม ผูช้ มเป็ นปั จจัยหนึ่งที่จะทําให้พิพิธภัณฑ์จะประสบความสําเร็ จได้ เพราะเป็ นสถานที่ที่สร้างไว้ให้ สําหรับคนเข้าชม การจัดแสดงและการบริ การที่ดีของพิพิธภัณฑ์ไม่ใช่ พียงว่าจะทําตามความต้องการของ ตนเองเท่านั้น หากแต่ได้ทาํ ตามความต้องการของผูช้ มด้วย ดังนั้นสิ่ งสําคัญจึงอยูท่ ี่ความเข้าใจเกี่ยวกับผูช้ ม และการนํามาประยุกต์ใช้เพื่อก่อให้เกิดกับพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์เป็ นสถานที่ที่ก่อให้เกิดการมีส่วนร่ วมด้าน ประสบการณ์ระหว่างผูช้ มกับพิพิธภัณฑ์ (Timothy Ambrose and Crispin Paine, 1994:16) 2.6.1 ประเภทของผู้ชม ประเภทของของผูช้ มสามารถแบ่งออกได้หลากหลายรู ปแบบขึ้นอยูก่ บั ว่าจะใช้อะไรเป็ นเกณฑ์การ แบ่ง เช่ น แบ่งตามวัย แบ่งลักษณะผูเ้ ข้าชม แบ่งตามอาชี พ เชื้ อชาติ ภูมิศาสตร์ ฯลฯ ซึ่ งการแบ่งประเภท ของผูช้ มจะทําให้มีความง่ายต่อการศึกษาและวางแผนที่ดีสาํ หรับผูช้ มในประเภทนั้นๆ เพราะผูช้ มแต่ละกลุ่ม นั้นมีความแตกต่าง 2.6.1.1 Demographic กลุ่มผูช้ มแบ่งได้ตามค่า Demographic ซึ่ งเป็ นการจัดแจงรายละเอียดของผูเ้ ข้าชมแบบลักษณะทาง ประชากร สามารถแบ่งรายบะเอียดได้ดงั นี้ เพศ ชาย-หญิง อายุ บ่งบอกถึงสถานะด้านวัยวุฒิแสดงถึงความเป็ นเด็ก ผูใ้ หญ่ วัยรุ่ น ฯลฯ การศึกษา ระดับการศึกษาสู งสุ ดของผูช้ มหรื อผูช้ มกําลังศึกษาอยูใ่ นระดับใดและสามารถแบ่งได้อีก ว่าศึกษาเกี่ยวกับอะไร สถานภาพ หมายถึงการแต่งงานหรื อโสด รายได้ เกี่ยวกับสถานะทางเศรษฐกิจของผูช้ มว่ามีรายได้เฉลี่ยเท่าใด รายได้ของผูช้ มส่ งผลถึงการ วางแผนด้านงานบริ การต่างๆ ตลอดจนการขายสิ นค้าขององค์กร ศาสนา เกี่ ยวกับศาสนาและความเชื่ อของผูช้ ม เพราะต้องคํานึ งถึ งข้อยกเว้น ข้อห้ามต่างๆของ สาสนาที่ผชู้ มนับถือ


35

2.6.1.2 แบ่ งตามลักษณะผู้เข้ าชม การแบ่งตามลักษณะผูเ้ ข้า เป็ นการแบ่งตามสถานภาพและบทบาทของผูช้ มในพิพิธภัณฑ์ ซึ่ งบุคคล ในแต่ละกลุ่มนั้นความสนใจที่แตกต่างกันไป อันขึ้นอยู่กบั สถานะของผูเ้ ข้าชมในเวลานั้นๆ การแบ่งผูช้ ม ตามสถานะผูช้ มสามารแบ่งได้ดงั นี้ (นิคม มูสิกะคามะ, 2521:36) นักเรียน เป็ นกลุ่มที่มีอายุโดยประมาณ 12-13 ปี เข้าชมพิพิธภัณฑ์เพื่อความเพลิดเพลินหรื อเพราะ โรงเรี ยนพาไป เด็กกลุ่มนี้อยูใ่ นวัยที่กาํ ลังเรี ยนรู ้และจดจําหาประสบการณ์ในชีวติ ครั้งแรก ผู้ชมทั่วไป กลุ่มนี้ จดั เป็ นผูช้ มส่ วนใหญ่ของพิพิธภัณฑสถาน เป็ นกลุ่มที่ควรจะได้รับการจัด กิจกรรมพิเศษและให้คาํ แนะนําด้านวามสําคัญของวัตถุ นักท่องเทีย่ ว เป็ นกลุ่มที่มุ่งหาความเพลิดเพลินในพิพิธภัณฑ์เป็ นหลัก กลุ่มนี้ มกั มากับกล้องถ่ายรู ป ชอบเที่ยวสถานที่สวยงาม ผู้สนใจพิเศษ กลุ่มนี้ จะมีความสนใจเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์หรื อวัตถุในพิพิธภัณฑ์เป็ นพิเศษ เป็ นกลุ่ม คนที่เข้ามาศึกษาหาความรู ้อย่างจริ งจัง เช่น นักวิชาการ นักศึกษา เป็ นต้น คนกลุ่มนี้ เป็ นประโยชน์ในด้าน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอาจช่วยได้ในการพัฒนาศักยภาพของพิพิธภัณฑ์

2.6.2 ผู้ชมกลุ่มวัยรุ่น วัยรุ่ นเป็ นกลุ่มวิจยั ตัวอย่างในงานชิ้ นนี้ โดยขอบเขตกลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนมัธยมศึกษาตอน ปลาย และนักศึกษาเทคนิค อาชีวศึกษา อายุระหว่าง 15-18 ปี 2.6.2.1 ความหมายของวัยรุ่ น วัยรุ่ นเป็ นช่วงวัยที่มีการกําลังพัฒนาด้านร่ างกาย อารมณ์ สติปัญญา และสังคมอย่างสู ง เป็ นช่วงหัว เลี้ยวหัวต่อที่สาํ คัญที่จะพัฒนาจากเด็กไปเป็ นผูใ้ หญ่ ช่วงอายุของวัยรุ่ นอยูท่ ี่ 12-25 ปี โดยในระยะแรก วัยรุ่ น ที่อายุระหว่าง 12-14 ปี วัยรุ่ นมีความเป็ นเด็กมากกว่าผูใ้ หญ่ วัยรุ่ นในระยะหลังจะมีความเป็ นผูใ้ หญ่มากกว่า เด็กโดยเริ่ มตั้งแต่อายุ 14 ปี ขึ้นไปจะมีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 22-25 ปี (ปราณี ราม สู ตร:10) 2.6.2.2 พัฒนาการของวัยรุ่ น ด้ านร่ างกาย สภาพร่ างกายของวัยรุ่ นจะเข้าสู่ การเจริ ญเติบโตอย่างเต็มวัยทุกส่ วน ซึ่ งส่ งผลให้มีการเปลี่ยนแปลง อื่ นๆตามมาด้วย ทั้ง ด้า นอารมณ์ สติ ปั ญ ญา การเข้า สั ง คม การเจริ ญ เติ บ โตของวัย รุ่ นนั้น ไม่ ไ ด้เท่ า กัน โดยเฉพาะผูห้ ญิ ง จะมี ก ารเจริ ญเติ บ โตที่ เร็ วกว่า ผูช้ าย การเปลี่ ย นแปลงที่ เห็ นได้ชัดเจนของวัย รุ่ น เช่ น


36

ส่ วนสู ง การเปลี่ยนแปลงของรู ปหน้า และเสี ยง โดยเฉพาะวัยรุ่ นชายจะเริ่ มมีเสี ยงแตกได้อย่างชัดเจน ใน ระยะนี้ วยั รุ่ นจะแสดงถึ ง ความเป็ นเพศมากขึ้ น เริ่ ม มี พ ฒ ั นาการด้า นการสื บ พันธุ์ ข องอวัยวะเพศ ความ เปลี่ ยนแปลงเหล่านี้ จะเห็ นชัดเจนในวัยรุ่ นหญิง แต่พอเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นตอนกลางผูช้ ายจะเริ่ มสู งกว่าผูห้ ญิง และมีพฒั นาการต่างๆของร่ างกายที่ชดั เจนจนเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นตอนปลาย ด้ านอารมณ์ การเปลี่ ยนแปลงด้านอารมณ์ เกิ ดขึ้ นอย่างรวดร็ วและเริ่ มแสดงออกได้อย่างชัดเจนของวัยรุ่ น เช่ น เบื่อ เหงา อิจฉา โกรธ ต่อต้าน ฯลฯ แต่การแสดงออกมากน้อยจะขึ้นอยู่กบั บุคคลิ กของแต่ละคน ซึ่ งโดย พื้นฐานแล้วก็ มีพฒั นาการมาตั้ง แต่ เด็ก สัม พันธภาพของครอบครั ว เพื่อนและคนรอบข้างก็มีผ ลต่อด้า น อารมณ์ ลักษณะเด่นด้านอารมณ์ของวัยรุ่ นคือมีความอ่อนไหวง่าย การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์จะมีความรุ่ น แรงเมื่อเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นตอนกลาง เมื่อถึงวัยรุ่ นตอยปลายวัยรุ่ นจะมีความอดทน สุ ขุม และมีความเป็ นผูใ้ หญ่ มากขึ้น ด้ านสั งคม วัย รุ่ นจะมี ค วามเป็ นอิ ส ระมากกว่า ตอนเป็ นเด็ ก เริ่ ม ได้รับ ความวางใจด้า นความปลอดภัย ของ ครอบครัว ในเวลาที่ตอ้ งออกไปข้างนอกหรื อไปอยูท่ ี่อื่นได้ต่างกันกับวัยเด็กผูป้ กครองจะดูแลค่อนข้างไกล้ ชิ ด การเข้าสังคมของวัยรุ่ นในช่ วงวัยรุ่ นตอนต้นส่ วนใหญ่จะคบหากับเพื่อนที่เป็ นเพศเดียวกันมากกว่า แต่ เริ่ มสนใจเพศตรงข้ามเมื่อเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นตอนกลาง และพอเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นตอนปลาย พัฒนาการวัยรุ่ นตอนปลายของซิลแวน ในช่วงปี ท้ายๆของชั้นมัธยมต้นต่อกับชั้นมัธยมปลาย วัยรุ่ นตอนต้นเริ่ มมีความสนใจและสัมพันธ์ กับเพศตรงข้าม เรื่ องเพศเป็ นเรื่ องที่อยูใ่ นความนึกคิดอย่างมาก ส่ วนวัยรุ่ นตอนปลายคือช่วงที่อยูป่ ี ท้ายๆของ มัธยมต้นต่อกับระยะต้นของอุดมศึกษา เลือกทํากิจกรรมที่เหมาะสมตามเพศของตนความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลเป็ นเรื่ องเป็ นราวยิง่ ขึ้น (ศรี เรื อน แก้วกังวาล, 2551:82) 2.6.2.3 ความต้ องการและความสนใจของวัยรุ่ น ความต้องการและความสนใจของวัยรุ่ น (ยุวดี ศรี หว้ ยยอด, 2551:19) มีความหลากหลายซึ่งความ ต้องการในหลายๆด้านเป็ นความต้องการทัว่ ไปขั้นพื้นฐานของมนุษย์ แต่ความต้องการและความสนใจของ วัยรุ่ นนั้นมีความแตกต่างอยูท่ ี่การที่เป็ นวัยเด็กที่กาํ ลังจะเป็ นผูใ้ หญ่ ความต้องการของวัยรุ่ นจึงมีลกั ษณะที่ ต้องการให้สังคมเข้าใจและเป็ นความต้องการที่มีอุดมการณ์ ดังต่อไปนี้ 1 เด็กวัยรุ่ นต้องการทราบวิธีจ่ายเงินและสิ่ งของอย่างชาญฉลาด


37

2 เด็กวัยรุ่ นต้องการปรับปรุ งความเสมอภาคในการคิดอย่างมีเหตุผล และมีความสามารถในการแสดง ความคิดเห็นของตนได้อย่างแจ่มแจ้ง สามารถอ่านและฟั งได้เองอย่างเข้าใจ 3 เด็กวัยรุ่ นต้องการทราบซึ้ งในรสแห่งวรรณคดี ดนตรี ศิลปะ และธรรมชาติ 4 เด็กวัยรุ่ นต้องการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ และต้องการแบ่งเวลาว่างให้เหมาะสมกับกิจกรรมต่างๆ ของตน 5 เด็กวัยรุ่ นต้องการที่จะเข้าใจครอบครัวและปั จจัยต่างๆ ที่นาํ มาซึ่ งความสุ ขของครอบครัว 6 เด็กวัยรุ่ นต้องการที่จะเข้าใจวิธีทางวิทยาศาตร์ และความก้าวหน้าทางวิทยาศาตร์ ที่มีอิทธิ พลต่อ ชีวติ ประจําวันของมนุษย์ ตลอดจนความจริ งต่างๆ ตามธรรมชาติ 7 เด็กวัยรุ่ นต้องการปรับปรุ งสมรรถภาพการทํางานให้ดียงิ่ ขึ้น เพื่อที่จะได้มีส่วนร่ วมในการผลิตเครื่ อง อุปโภคบริ โภค 8 เด็กวัยรุ่ นต้องการปรับปรุ งความเคารพต่อผูอ้ ื่น มีความสามารถในการดํารงชีวติ อยูแ่ ละทํางานร่ วมกับ ผูอ้ ื่น 9 เด็กวัยรุ่ นต้องการที่จะมีความเข้าใจในสิ ทธิ หน้าที่ในระบอบประชาธิ ปไตย 10 เด็กวัยรุ่ นมีความต้องการที่จะรักษาสุ ขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง

2.6.2.4 วัยรุ่ นกับ Social network วัยรุ่ นจํานวนมากมักมีพ้ืนที่ส่วนตัวในโลกออนไลน์หรื อ Social network ซึ่ งเป็ นลักษณะของการ สร้ างเครื อข่ายทางสังคมบนโลกออนไลน์ โดยเว็บไซท์สังคมออนไลน์ที่คนไทยนิ ยมได้แก่ Hi5 และ Facebook โดยเฉพาะ Hi5 วัยรุ่ นไทยเล่ นมากที่ สุดโดยติ ด 1 ใน 50 เว็บไซท์ที่คนไทยเข้ามากที่สุด (marketingoops.com, 2552:ออนไลน์)รองลงมาเป็ น Facebook ที่ กลุ่ มผูเ้ ล่นส่ วนใหญ่เป็ นวัยทํางานหรื อ วัยรุ่ นตอนปลาย ส่ วนการสร้ างเครื อข่ายออนไลน์ในอี กลักษณะหนึ่ งจะเป็ นการแชทและทวิทเตอร์ โดยเฉพาะการแชทเป็ นที่รู้จกั ทัว่ ไปของกลุ่มวัยรุ่ น


38

ลักษณะ Social network ของกลุ่มวัยรุ่ นไทยมีดังนี้ Hi5 Hi5 เป็ นพื้นที่ทางออนไลน์ที่คนไทยเล่ นมากที่สุดเป็ นอันดับหนึ่ ง หน้าเว็บส่ วนบุคคลของ Hi5 สามารถแสดงตัวตนของผูใ้ ช้ได้ ผูใ้ ช้สามารถสื่ อสารกันด้วยการแสดงความคิดเห็นผ่านหน้าโปรไฟล์ หรื อ ส่ งเป็ นข้อความส่ วนตัวได้ รู ปแบบการสื่ อสารเป็ นการโต้ตอบหนึ่ งต่อหนึ่ ง นอกจากนั้นผูใ้ ช้ยงั สามารถนํา รู ปภาพมาแสดงที่เว็บได้ พร้อมกับการปรับแต่งสี สันของหน้าเว็บได้ตามใจผูใ้ ช้ บริ การอื่นๆนอกจากการใช้ สื่ อสารระหว่างบุคคลของ Hi5 ยังมีพ้ืนที่ให้สร้ างกลุ่ม เช่ นกลุ่มศิษย์เก่าโรงเรี ยน กลุ่มการเมือง กลุ่มแฟน คลับดารา และมีเกมส์ให้เล่นผ่านบริ การ Hi5 Facebook Facebook เป็ นเว็บไซท์ที่เป็ น Social network อันดับหนึ่ งของโลกแต่สําหรับประเทศไทยอยูอ่ นั ดับ สองรองจาก Hi5 และผูท้ ี่ใช้ Facebook ในประเทศไทยส่ วนใหญ่เป็ นวัยรุ่ นตอนปลายและวัยทํางาน การ ทํางานของ Facebook จะต่างกับ Hi5 กล่าวคือหน้าโปรไฟล์ไม่สามารถปรับแต่งสี สันได้ แต่ลกั ษณะการ สื่ อสารจะมีความเป็ นสังคมมากกว่าเพราะเป็ นการสื่ อแบบโต้ตอบ แสดงความคิดเห็ นกับสถานะหรื อสารที่ ได้รับได้ทีละหลายคน อีกทั้งสามารถแชทหรื อสนทนากันได้ เรี ยกได้วา่ Facebook มีการสื่ อสารที่ครบครัน มากกว่า นอกจากนั้นยังมีบริ การอื่นๆที่เปิ ดโอกาสให้ผใู ้ ช้ร่วมพัฒนาได้ ได้แก่ เกมส์ แอพพิเคชัน่ อันเป็ น จุดเด่นอีกอย่างหนึ่งที่ทาํ ให้ Facebook มีพลังในแง่ของการเป็ น Social network

Msn Msn เป็ นบริ การสนทนาผ่านอินเตอร์ เนตที่มาพร้อมกับฟรี อีเมล์ ซึ้ งเป็ นบริ การที่คนไทยใช้มากที่สุด โดยรู ปแบบการสนทนาจะเป็ นการพูดคุ ยผ่านตัวอักษรที่ เรี ยกว่า “แชท” ผูใ้ ช้สามารถปรั บแต่งสี สันและ แบ่งปั นรู ปภาพ เอกสาร หรื อไฟล์ต่างๆผ่านบริ การสนทนานี้ได้ Twitter ทวิทเตอร์ เป็ นบริ การส่ งข้อความสั้นๆ ผ่านโปรแกรมทวิสเตอร์ โดยสามารถส่ งข้อมูลข่าวสาร ส่ ง ข้อความถามตอบ และใช้เป็ นพื้นที่ประชาสัมพันธ์ได้


39

2.7 แนวคิดด้ านทัศนคติและความคาดหวัง 2.7.1 แนวคิดทัศนคติ ทัศนคติคือการแสดงความรู ้สึกภายในที่สะท้อนว่าบุคคลมีความโน้มเอียง พอใจหรื อไม่พอใจต่อ บางสิ่ ง (เสรี วงษ์มณฑา, 2542:106) การเกิดทัศนคติน้ นั เป็ นผลมาจากประสบการณ์หรื อสิ่ งแวดล้อมที่ได้ โน้มน้าวให้แสดงออกในทางสนับสนุนว่าหรื อไม่เห็นด้วย ที่มีต่อเหตการณ์ ผูค้ น หรื อสิ่ งนั้นๆ ความหมายของทัศนคติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525:393) ได้ให้ความหมายของทัศนคติไว้วา่ ทัศนคติ หมายถึง แนวความคิดเห็น ประภาเพ็ญ สุ วรรณ (2520:3) ได้กล่าวว่า ทัศนคติเป็ นความคิดเห็นซึ่ งมีอารมณ์เป็ นส่ วนประกออบ เป็ นส่ วน ที่พร้อมจะมีปฏิกิริยาเฉพาะอย่างต่อสถานการณ์ภายนอก นวลศิริ เปาโรหิ ตย์ (2527:131) กล่าวว่า ทัศนคติเป็ นผลรวมของความเข้าใจ ความรู ้สึก และแนวโน้มในการ ตอบโต้ของเราต่อบุคคล วัตถุ หรื อเรื่ องราวทั้งปวง

ลักษณะของทัศนคติ นักจิตวิทยาได้ทาํ การศึกษาเกี่ยวกับทัศนคติและได้นิยามลักษณะของทัศนคติที่หลากหลาย หาก กล่าวถึงลักษณะของทัศนะคติโดยรวมๆสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ (แพรภัทร, 2553:ออนไลน์) 1. ทัศนคติเป็ นสิ่ งที่เรี ยนรู ้ได้ 2. ทัศนคติมีลกั ษณะที่คงทนถาวรอยูน่ านพอสมควร 3. ทัศนคติมีลกั ษณะของการประเมินค่าอยูใ่ นตัว คือ บอกลักษณะดี ‟ ไม่ดี ชอบ ‟ ไม่ชอบ เป็ นต้น 4. ทัศนคติทาํ ให้บุคคลที่เป็ นเจ้าของพร้อมที่จะตอบสนองต่อที่หมายของทัศนคติ 5. ทัศนคติบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล บุคคลกับสิ่ งของและ บุคคลกับสถานการณ์


40

องค์ ประกอบของทัศนคติ 1 ประสบการณ์ ทัศนคติเป็ นสิ่ งที่ได้มีมาแต่กาํ เนิด หากแต่เกิดขึ้นมาจากการสะสมประสบการณ์จน กลายเป็ นความเข้าใจ ประสบการณ์ในที่น้ ีหมายถึงเหตุการณ์ ผูค้ น สิ่ งแวดล้อมที่พบเจอ สภาวะต่างๆที่ ประสบมา เช่น คนที่กลัวการหาหมอนั้นหมายถึงเป็ นคนที่มีทศั นคติในทางลบกับหมอ อันเกิดจากการที่เคย ต้องเจ็บจากการฉี ดยาหรื อการรักษาอื่นๆ ดังนั้นประสบการณ์การรักษาครั้งก่อนจึงส่ งผลให้มีทศั นคติที่ไม่ดี กับหมอ 2 อารมณ์ ความรู ้สึกเป็ นปฏิกิริยาของคนที่มีต่อสิ่ งต่างๆ เช่น ชอบ-ไม่ชอบ ดี-ไม่ดี หลงไหลเกลียดชัง สิ่ งเหล่านี้เป็ นความรู ้สึกที่บุคคลมีต่อสิ่ งนั้นๆ 3 พฤติกรรม ทัศนคติสามารถแสดงออกผ่านพฤติกรรม หรื อเป็ นในลักษณะที่แสดงออกมาอย่าง ชัดเจน เช่น นักการเมืองที่เป็ นขวัญใจของมหาชนก็มกั จะถูกผูส้ นับสนุนหรื อคนที่มีทศั นคติที่ดีดว้ ยจะ กล่าวถึงในทางบวกหรื อในเชิงที่สรรเสิ ญ ตรงกันข้ามกับคนที่มีทศั นคติในแง่ลบกับนักการเมืองคนนั้นก็ มักจะกล่าวหาว่าร้ายหรื อพูดถึงนักการเมืองคนนั้นในทางที่ไม่ดี

2.7.2 แนวคิดความคาดหวัง ความคาดหวังหมายถึงความต้องการของบุคคลที่มุ่งหวังต่อสิ่ งใดให้เกิดขึ้นในอนาคต โดยความ คาดหวังนั้นเป็ นความคิด ความรู ้สึก ความต้องการความมุ่งหวังที่มีต่อบางสิ่ งบางอย่าง ซึ่ งเป็ นเหตุการณ์ การ กระทํา หรื อบุคคล ความคาดหวังนั้นเป็ นการคิดล่วงหน้าที่จะเป็ นไปตามประการณ์ ของบุคคล (เต็มดวง เจริ ญสุ ข, 2532:16) สกาวเดื อน ปธนสมิ ทธิ์ (สกาวเดื อน ปธนสมิทธิ์ , 2540:64) กล่ าวว่า ความคาดหวังเป็ นแนวคิ ดที่ บุคคลมีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง แสดงออกมาได้โดยการพูดหรื อเขียน ซึ่ งการแสดงออกนั้นขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์ สภาวะทางสังคม และในสภาพแวดล้อมนั้นๆ หรื อจะกล่ าวได้ว่าความคาดหวังนั้นเป็ นการแสดงออกถึ ง ทัศนคติอย่างหนึ่ ง ซึ่ งอาจจะมีอารมณ์ร่วมหรื อปฏิกิริยาในสถานการณ์น้ นั ๆประกอบ ทําให้การแสดงความ คาดหวังนั้นคื อการปฏิ เสธหรื อยอมรั บ การพิจารณาความคาดหวังจึ งควรควบคู่ไปกับองค์ประกอบด้าน ทัศนคติ ประเทือง ลงสุ วรรณ์ (ประเทือง สงสุ วรรณ, 2543:40)กล่าวถึ งความคาดหวังว่าเป็ นความต้องการ ด้านความรู ้สึกความคิดอย่างมีสติวจิ ารณญาณของบุคคลนั้นๆ ต่อการคาดคะเนล่วงหน้าถึงบางสิ่ งบางอย่างที่ คิ ดว่าควรจะมี ควรจะให้เกิ ดขึ้ นในอนาคตตามความเหมาะสมกับสภาพการณ์ ส่ วนความคาดหวัง จะมี ความถูกต้องมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลด้วย


41

สรุ ปความหมาย ความคาดหวังคือความต้องการอย่างหนึ่ งที่ อยากจะให้เกิ ดขึ้นในอนาคต ที่ มีต่อบางสิ่ งบางอย่าง อย่าง โดยพื้นฐานของความคาดหวังนั้นขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลที่ส่งผลให้มีความคาดหวังที่ แตกต่างกันไป ลักษณะความคาดหวัง ความคาดหวังนั้นเปรี ยบเสมือนการเล่นละครเวที (ทรรศนะของ เทอร์ เนอร์ )โดยมีผแู้ สดง ผูช้ ม และ มีบทบาทของผูแ้ สดงดังนี้ 1 ความคาดหวังจากบท คือสังคมมักมีบรรทัดฐานเป็ นตัวกําหนดว่าบุคคลควรจะมี พฤติ กรรมเช่ นใดในสังคม การกระทําต่างๆของบุ คคลจะถู กควบคุ มและจัดระเบียบโดยบรรทัดฐานทาง สังคม ซึ่ งจะมีความแตกต่างกันไปตามสถานการณ์หรื อไขทางสังคมนั้นๆ 2. ความคาดหวังจากนักแสดง กล่าวคือบุคคลในสังคมนั้นจะมีการสวมบทบาทซึ่ งกันและกัน ซึ่ งบุคคลอื่นจะได้คาดหวังถึ งพฤติกรรมคน อื่นในสังคมที่แสดงออก และสามารถมีปฏิสัมพันธ์ได้ตามความคาดหวังทางสังคมและบุคคลอื่นๆ 3. ความ คาดหวังจากผูช้ ม คือความคาดหวังของบุคคลในสังคม ที่มีความคาดหวังต่อการสวมบทบาทของบุคคลอื่น อันเป็ นเครื่ องมือที่จะนําไปสู่ กฏเกณที่เป็ นความหวังร่ วมกัน ปัจจัยความคาดหวัง 1 ความคาดหวังขึ้นอยูก่ บั ความแตกต่างของแต่ละบุคคล สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ในขณะนั้น ทําให้ บุคคลมีการแสดงออกถึงความคาดหวังในลักษณะที่แตกต่างกัน 2 ความคาดหวังขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์และความรู ้ของแต่ละบุคคล คนที่เคยมีประสบการณ์ในด้านนั้นๆมา ก่อนอาจจะมีความคาดหวังที่สูงกว่าคนที่ขาดประสบการณ์ หรื อแม้แต่ความสําเร็ จของบุคคลก็ทาํ ให้ระดับ ความคาดหวังมความสู งขึ้น แต่ในทางตรงกันข้ามการแสดงความคาดหวังอยูใ่ นระดับตํ่านั้นเป็ นการป้ องกัน ความรู้สึกล้มเหลวหรื อความผิดหวังต่อความคาดหวังนั้นๆ 3. ความคาดหวังเป็ นความรู ้สึกนึ กคิดถึงการประเมิณความเป็ นไปได้ ต่อการคาดการณ์ต่อบุคคลหรื อสิ่ งใด สิ่ ง หนึ่ ง โดยมารตาฐานการประเมิ ณ ความเป็ นไปได้ จ ะขึ้ นอยู่ ก ับ ความสนใจ การให้ คุ ณ ค่ า และ ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ปัจจัยที่ทาํ ให้บุคคลมีความคาดหวังต่างกัน ของฮิวร์ ล็อก (อ้างโดย คม ตรี กิจการ : ชื่อเรื่ องอ้างแล้ว) 1 วัฒนธรรม วัฒนธรรมของบุคคลที่แตกต่างกันส่ งผลให้ความคาดหวังของแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน มาตราฐานนี้ครอบคลุมถึงระดับเจตนคติต่อความสําเร็ จ เมื่อเด็กเข้าสู่ วยั รุ่ นจะรับรู ้ความคาดหวังทางสังคมที่ มีต่อตนเอง และความรับผิดชอบที่มีต่อสังคม การตั้งความคาดหวังของแต่ละบุคคลจึงแตกต่างกันไป


42

2 ครอบครัว ครอบครัวที่มีความมัน่ คงมีความเป็ นไปได้สูงที่จะตั้งจุดมุ่งหมายไว้สูงกว่าครอบครัวที่ไม่มนั่ คง ขนาดของครอบครัวก็มีผลต่อการตั้งเป้ าด้วยเช่นกัน ครอบครัวขนาดเล็กมีแนวโน้มที่จะประสบความสําเร็ จ ด้านบุคคลมากกว่าครอบครัวขนาดใหญ่ ด้วยความทุ่มเทและการส่ งเสริ มจะเป็ นแนวทางสู่ ความคาดหวังได้ มากกว่า 3. ชนชั้นทางสังคม ครอบครัวที่มีฐานะทางเศรษฐกิ นปานกลางหรื อดี บุตรคนแรกจะถูกคาดหวังและให้ โอกาสมากที่ สุ ด ในทางตรงกันข้ามครอบครั วที่ มีฐานะทางเศรษฐกิ จตํ่า บุ ตรคนสุ ดท้องจะได้รับความ ส่ งเสริ มจากครอบครัวมากที่สุด 4 วินยั เด็กที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิ ปไตยจะตั้งความคาดหวังที่สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง 5 ฐานะทางกลุ่ ม ถ้าฐานะในกลุ่มมัน่ คงระดับความคาดหวังก็จะไกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง แต่คนที่ไม่มี บทบาทสําคัญในกลุ่ม จะต้องเลื่ อนขั้นตนเองเข้าสู่ ผนู ้ าํ กลุ่ม ทําให้การตั้งความคาดหวังหลายๆอย่างไม่อยู่ บนรากฐานของความเป็ นจริ ง ในขณะที่บุคคลชอบแยกตัวเองความคาดหวังของกลุ่มจะมีผลต่อเขาเพียง เล็กน้อย 6 การใช้กลไกการหลบหนี กลไกลการหลบหนี ที่ก่อให้เกิ ดการตั้งความหวังมากที่สุดคือการฝั นกลางวัน แต่ความคาดหวังนั้นไม่ได้ต้ งั อยูบ่ นรากฐานของความเป็ นจริ ง 7 การบอกกล่าวถึงความคาดหวัง บุคคลที่บอกกล่าวความคาดหวังออกมามักจะตั้งความคาดหวังของตนเอง อยูบ่ นพื้นฐานของความเป็ นจริ งมากกว่าคนที่เก็บไว้และคิดอยูค่ นเดี ยว อย่างไรก็ตามความคาดหวังที่บอก กับเพื่อนสนิ ทจะเป็ นลักษณะของความใฝ่ ฝัน ไม่ค่อยไกล้เคียงกับความเป็ นจริ งเท่าที่บอกกับครอบครัว ครู หรื อบุคคลที่ไม่ค่อยคุน้ เคยกัน เมื่อวัยรุ่ นบอกถึงความคาดหวังของตนให้กบั บุคคลอื่นฟั งจะเป็ นการท้าทาย ให้เขาพิสูจน์ตนเอง โดยพยายามทําให้ได้ตามที่ พูดไว้ เพราะเขารู ้ ว่า หลายคนใส่ ใ จในสิ่ ง ที่ พูด เขาไม่ ต้องการพบสายตาที่มองดูดว้ ยความผิดหวัง 8 ความล้มเหลวและความสําเร็ จในอดีต บุคคลที่ประสบความสําเร็ จเสมอๆ มีแนวโน้มที่จะต้องมีความ คาดหวังว่าจะได้รับความสําเร็ จอีกในอนาคต ในทํานองเดียวกันบุคคลที่พบความผิดหวังซํ้าๆ ก็มกั จะคิดว่า อนาคตจะผิดหวังอี ก ประสบการณ์ เช่ นนี้ จะมี ผลต่อการตั้งความคาดหวังในอนาคต ว่าบุ คคลผูน้ ้ นั จะตั้ง ความคาดหวังไว้เหมาะสมกับสภาพความเป็ นจริ งหรื อไม่อย่างใด 9 เพศ บรรยากาศของบ้านและโรงเรี ยนจะส่ งเสริ มกระตุน้ ให้ผชู ้ ายตั้งความหวังไว้สูงกว่าผูห้ ญิง ครอบครัว จะตั้งความคาดหวังที่บุตรชายมากกว่าบุตรหญิง ผูช้ ายมักถูกกระตุน้ ให้มีความคาดหวังทางการศึกษา การ งานและการประกอบอาชีพ แต่ผหู ้ ญิงมักคาดหวังว่าจะถูกได้รับการยอมรับจากกลุ่ม การแต่งงานซึ่ งยังไม่รู้ ว่าจะแต่งอย่างไร แต่งงานกับใคร ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมหลังแต่งจะเป็ นอย่างไร จึงเป็ นเรื่ องยากที่ ผูห้ ญิงจะวางแผนในเรื่ องเหล่านี้ ดังนั้นผูห้ ญิงจึงตั้งความมุ่งหมายสั้นกว่าผูช้ าย แม้ในเรื่ องการเรี ยนมักจะ วางแผนในระยะสั้น เช่น เดือนต่อเดือน 10 เชาว์ปัญญา เมื่อบุคคลอยู่ในกลุ่มที่มีค่านิ ยมต่อความสําเร็ จสู ง บุคคลจะตั้งตนให้ประสบความสําเร็ จ มากกว่าเพื่อนๆในกลุ่ม ซึ่ งอาจไม่อยูบ่ นรากฐานของความเป็ นจริ ง อย่างไรก็ตามคนที่ฉลาดมักจะตั้งความ


43

คาดหวังโดยอาศัยความสนใจและความสามารถของตนมากกว่าทําตามที่จุดมุ่งหมายที่กลุ่มตั้งไว้ ในทาง กลับกันเด็กที่ฉลาดน้อยจะตั้งความคาดหวังไว้ตามค่านิยมกลุ่ม 11 บุคคลิกภาพ บุคคลิกภาพมีอิทธิ พลต่อความคาดหวังได้หลายหลายกรณี ดว้ ยกันในเรื่ องการชดเชย บุคคลที่ไม่ยอมรับตนเองจะตั้งความคาดหวังโดยไม่คาํ นึงถึงความสารถของตนเอง เพื่อปกปิ ดความไม่ สามารถของตน บุคคลที่ไม่มนั่ ใจในตนเองจะตั้งความคาดหวังที่สอดคล้องกับความจริ งของตน ส่ วน คนที่มีความวิตกกังวลตํ่ามีแนวโน้มจะตั้งความคาดหวังไว้สูง เนื่องจากจะคํานึงถึงความสําเร็ จของตน มากกว่าความล้มเหลว อาจมีความคาดหวังไม่สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง

2.8 ทบทวนวรรณกรรมจากงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

2.8.1.1 การสื่ อสาร วีปาลี จันทรโรจน์ (2543) ได้ศึกษางานการประชาสัมพันธ์ของพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่ น และศึกษาเพื่อ นําเสนอแนวทางการกําหนดนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์ ที่เหมาะสม เพื่อให้พิพิธภัณฑ์นาํ ไปใช้ ในทางปฏิ บตั ิ กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาคือประชากรของอําเภอที่มีพิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่ นทั้งสามแห่ งและมี ความเกี่ ย วเนื่ องทางวัฒนธรรม และกลุ่ ม เป้ าหมายรองพิ พิ ธ ภัณฑสถานแห่ ง ชาติ พ ระนคร เพื่ อศึ กษาถึ ง พฤติกรรมการรับสื่ อข่าวสาร ตลอดจน ความรู ้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างที่มีติอพิพิธภัณฑ์ ผลการวิจยั พบว่า ผูป้ ฏิ บตั ิ งานพิ พิธ ภัณฑ์ทอ้ งถิ่ นส่ วนใหญ่ ไม่ ได้มีก ารกํา หนดนโยบายและวาง แผนการประชาสัมพันธ์ไว้อย่างเป็ นระบบ เนื่องจากปั จจัยหลายอย่างเช่น การขาดงบประมาณ ขาดบุคคลากร ในการดําเนิ นงาน และขาดความรู ้เกี่ยวกับงานประชาสัมพันธ์ จากการศึกษาพฤติกรรมการเปิ ดรับสื่ อของ กลุ่ มตัวอย่างพบว่ากลุ่ มตัวอย่า งนิ ยมปิ ดรั บสื่ อบุ คคลและสื่ อโทรทัศ น์มากที่ สุด ส่ วนข่า วสารที่ เกี่ ยวกับ พิพิ ธ ภัณฑ์ก ลุ่ ม ตัวอย่า งได้รับ สื่ อจากบุ ค คลมากที่ สุ ด ในเรื่ องของความรู ้ ทัศ นคติ และพฤติ กรรมกลุ่ ม ตัวอย่างอยูใ่ นระดับที่ไม่สูงมากนักและกลุ่มตัวอย่างในกรุ งเทพจะมีความรู ้เกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์ค่อนข้างดีกว่า กลุ่มตัวอย่างในท้องถิ่น สรุ ปแนวทางการแก้ไขปั ญหาของพิพิธภัณฑ์คือเปิ ดโอกาสให้คนในท้องถิ่นมีส่วนร่ วมในการจัดตั้ง พิพิธภัณฑ์มากขึ้น ใช้การประชาสัมพันธ์สร้ างความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างพิพิธภัณฑ์กบั คนในท้องถิ่น ใน เรื่ องของการจัดแสดงหรื อนิทรรศการพิเศษควรให้มีการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงอยูส่ มํ่าเสมอ


44

การรับรู้ วิสุ ช า สิ ริ ร ชดา (2552) ได้ศึ ก ษาเพื่ อ สํา รวจการรั บรู้ ข องนิ สิ ต ระดับ ปริ ญ ญาตรี จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยต่อการดําเนิ นงานของพิพิธภัณฑ์อญั ญมณี และเครื่ องประดับในด้านต่างๆ และศึกษาเพื่อหา แนวทางในการดําเนินงานของพิพิธภัณฑ์อญั ญมณี และเครื่ องประดับให้ตอบสนองความต้องการให้แก่นิสิต จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย อย่า งครอบคลุ ม ผลการศึ ก ษาพบว่า พบว่า นิ สิ ตส่ วนใหญ่ ไ ม่ รู้ จกั พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ เนื่องจากขาดการสื่ อสารระหว่างพิพิธภัณฑ์กบั นิสิต แนวคิดสําคัญคือพิพิธภัณฑ์ควรมีการวางแผนให้มีความเหมาะสมกับผูช้ มในแต่ละกลุ่มเป้ าหมาย ผ่านทางรู ปแบบสื่ อและกิจกรรมต่างๆ และผูว้ จิ ยั ได้เสนอแนะในเชิงนโยบาย ได้แก่ - ควรมีการปรับปรุ งป้ ายทางเข้าพิพิธภัณฑ์ให้มีความน่าสนใจ - ปรับปรุ งภูมิทศั น์รอบๆให้สื่อถึงตัวพิพิธภัณฑ์ - จัดทําสื่ อนําชมให้มีความทันสมัย สามารถแจกจ่ายผูช้ มได้อย่างทัว่ ถึง - สร้างเครื อข่ายการร่ วมมือกับนิสิต ในการเป็ นอาสาสมัครร่ วมดําเนินงานกับพิพิธภัณฑ์ - ส่ งเสริ มให้บุคคลากรพิพิธภัณฑ์มีการประชาสัมพันธ์ภายในมหาวิทยาลัยมากขึ้น

ความคาดหวังและทัศนคติ วรวิท ย์ องค์ค รุ ฑ (2544) ได้ศึ ก ษาถึ ง ความต้อ งการของนัก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยต่ อการจัด การ พิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ดา้ นสิ่ งดึงดูดใจ สิ่ งอํานวยความสะดวก และการเข้าถึง ผลการวิจยั พบว่า สิ่ งที่ดึงดูดใจของพิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ - นักท่องเที่ยวต้องการเห็ นรู ปแบบของสถาปั ตยกรรมแบบผสมระหว่างสมัยเก่าและสมัยใหม่ นักท่องเที่ยวส่ วนใหญ่ตอ้ งการพิพิธภัณฑ์ที่นาํ เสนอเนื้อหาที่หลากหลาย สามารถจับต้องสิ่ งของ จัดแสดงได้ มีผนู ้ าํ ชม มีการอธิ บายที่ทาํ ให้เข้าใจได้ง่ายๆ สิ่ งที่อาํ นวยความสะดวกของพิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ - นักท่องเที่ยวต้องการห้องนํ้าสะอาด ที่จอดรถปลอดภัย มีร้านอาหารหรื อเครื่ องดื่ม มีสวนหรื อ บริ เวณพักผ่อนที่ร่มรื่ นสวยงาม และมีจุดพักผ่อนเพียงพอ วิธีการนําเสนอของวัตถุที่จดั แสดงของพิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ - พิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ข้ ึนอยูก่ บั ความสนใจส่ วนบุคคล กลุ่มนักท่องเที่ยวต้องการชพิพิธภัณฑ์ ประวัตศาสตร์ พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยี และพิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพนั ธ์ประเพณี พ้นื เมือง ผูว้ จิ ยั ได้สรุ ปในเชิงเสนอแนะว่าการจะสร้างพิพิธภัณฑ์ให้เป็ นพิพิธภัณฑ์ที่พึงประสงค์ โดยพื้นฐาน ต้องมี ผูท้ ี่สนใจจะเข้าชม และให้ความสําคัญต่อความต้องการของผูช้ ม เพราะถ้าพิพิธภัณฑ์ขาดผูช้ มการ


45

ดําเนิ นงานก็จะไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ในส่ วนของการจัดกิกรรม หากจะดึ งดูดกลุ่มนักท่องเที่ยว ควรจะทําการ ร่ วมมื อกับการท่องเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย โดยเป็ นส่ วนหนึ่ งของแผนที่ กิ จกรรม ซึ่ ง จะเป็ นการกระจาย ข่าวสารอย่างดี นันทภรณ์ จันทร์เจริ ญสุ ข (2547) ได้ศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของผูช้ มชาวไทย ศึกษา ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเดินทางเข้ามาชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร และศึกษาเพื่อประเมิน มูลค่าของการประโยชน์ในพิพิธภัณฑสถานแห่ งชาติ พระนคร โดยกลุ่มตัวอย่างของการศึกษาส่ วนใหญ่ เป็ นเพศหญิง โสด อายุเฉลี่ ย 26 ปี มีความต้องการให้พิพิธภัณฑ์ปรับปรุ งด้านต่างๆ ได้แก่ 1) ต้องการให้มี โบราณวัตถุที่หลากหลายเพิ่มขึ้น 2)ต้องการให้มีการประชาสัมพันธ์เพิ่มขึ้น และ 3) ต้องการให้ปรับปรุ งการ ให้บริ การและการให้ขอ้ มูลของเจ้าหน้าที่ สําหรับปัจจัยในการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ คือค่าใช้จ่ายในการเดินทาง โดยมีระดับความเชื่ อมัน่ ทางสถิติ ร้ อยละ 99 ส่ วนข้อเสนอแนะคื อ ควรเน้นปรับปรุ งด้านการประชาสัมพันธ์ ความหลากหลายของ โบราณวัตถุและการให้บริ การของเจ้าหน้าที่ เพื่อเพิ่มอุปสงค์ของการเดินทางมาเข้าชมให้มากขึ้น

อรชร เรื องจันทร์ (2549) ได้ศึกษาความยินดี ที่จะจ่ายค่าธรรมเนี ยมในการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ ของ สวนพฤษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าศิ ริกิ ต์ ิ เพื่ อใช้เสนอแนะแนวทางในการจัดเก็บ ค่า เข้าชมพิ พิธ ภัณฑ์ ธรรมชาติ ของสวนพฤษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าศิริกิต์ ิ ผลการศึกษาพบว่า ผูช้ มส่ วนใหญ่จะเดินทางมากับ เพื่อน รองลงมาคือครอบครัวและญาติสนิท สิ่ งที่ตดั สิ นใจเข้าชมพิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ ของสวนพฤษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าศิริกิต์ ิ - ได้ยนิ มาจากเพื่อน คนชวนมา - ความดึงดูดของสถานที่ วัตถุประสงค์ของการเข้าชมพิพิธภัณฑ์คือการพักผ่อนหย่อนใจ ทั้งนี้ ผวู ้ ิจยั เสนอให้จดั สิ่ งอํานวย ความสะดวก แก่นกั ท่องเที่ยว และทําการปรับปรุ งการประชาสัมพันธ์เพราะส่ วนใหญ่ยงั ได้ยินมา จากญาติและเพื่อน

การจัดนิทรรศการ จิตพงศ์ วงศ์อุปราช (2540) ได้ศึกษารายละเอี ยดต่างๆที่เกี่ ยวข้องกับการออกแบบและการสร้ าง มัลติมีเดียระบบสื่ อโต้ตอบ เพื่อใช้ในการนําเสนอความรู ้โรคเอดส์ให้แก่บุคคลทัว่ ไปช่วงอายุ 15-55 ปี โดย


46

ติดตั้งไว้กบั นิทรรศการเคลื่อนที่เพื่อต้องการเผยแพร่ ความรู ้ได้อย่างทัว่ ถึง ผลการวิจยั ผูว้ ิจยั ได้เสนอแนวทาง โดยนําสื่ อมัลติมีเดี ยระบบตอบโต้ไปติดตั้งไว้กบั นิ ทรรศการเคลื่ อนที่ โดยบรรจุ ไว้ในพาหนะในรู ปแบบ ของหน่วยเคลื่อนที่ ผูว้ จิ ยั ได้อภิปรายแนวทางการออกแบบนิทรรศการไว้ดงั นี้ - ในอนาคตสื่ อมัลติ มีเดี ยจะมี ความสัมพันธ์ กบั สังคมไทยมากขึ้ น และเข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่ งใน ชีวติ ประจําวันโดยเฉพาะคนในเมืองหลวง - สื่ อมัลติมีเดี ยมีบทบาทที่หลากหลายไม่ได้จาํ กัดอยู่ในแวดวงคอมพิวเตอร์ แต่รวมถึ งธุ รกิจการ โฆษณา ธนาคาร และความบันเทิงต่างๆ ปัญหาของการใช้สื่อมัลติมีเดียของไทย - การไม่เข้าใจความรู ้ และปั ญหาการใช้งานอุปกรณ์ - ทัศนคติที่ไม่ดี เนื่องจากสื่ อมัลติมีเดียเป็ นอุปกรณ์ที่ราคาแพง อาจทําให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย - วัฒนธรรมด้านการแสดงออกของคนไทย อาจมีปัญหากับการใช้สื่อ เพราะถูกห้ามมาแต่เด็ก เพราะกลัวเครื่ องจะเสี ย ผูว้ จิ ยั ได้เสนอทางเลือกในการแก้ปัญหาถ้าหากจะนําสื่ อมัลติมีเดียมาใช้ในนิทรรศการ โชติรส พิพฒั น์ผล (2550) และ เชิ ดชาติ หิ รัญโร เรื่ อง (2546) ที่ได้เสนอแนะให้ใช้สื่อที่มีความ หลากหลายเพื่อกระตุน้ ให้ผชู ้ มเกิดความสนใจ โดยงานวิจยั ที่พิพิธภัณฑ์ชา้ งเอราวัณเป็ นการศึกษาโดยการ สัมภาษณ์ผเู ้ กี่ยวข้องกับผูจ้ ดั ทําพิพิธภัณฑ์ ได้เสนอให้พิพิธภัณฑ์เพิ่มสื่ อให้มีความหลากหลาย เหมาะสมต่อ การรั บ รู ้ เพื่อกระตุ น้ ให้ผูช้ มสนใจ ผูว้ ิจยั เห็ นว่า พิพิธ ภัณฑ์ส ามารถเป็ นองกรณ์ ทางสัง คมที่ นําไปสู่ การ ค้นคว้าความรู ้อย่างลึกซึ้ งในด้านปรัชญาและจริ ยธรรม ส่ วนงานวิจยั ของเชิ ดชาติที่ศึกษาเกี่ยวกับ การสื่ อความหมาย และการรับรู้ของผูช้ มจากนิ ทรรศการ โดยผลวิจยั พบว่าการรับรู ้ของผูช้ มกลุ่มนักเรี ยนมีการรับรู ้ระดับตํ่า กลุ่มผูช้ มวัยทํางานมีการรับรู ้ระดับปาน กลาง และกลุ่ ม ผูช้ มวัย อวุโ สมี ก ารรั บ รู ้ ระดับ ที่ ดี โดยนิ ท รรศการของพิ พิ ธ ภัณฑ์ เชี ย งแสนได้นําเสนอ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี โดยเน้นการนําเสนอในรู ปแบบของวัตถุเป็ นหลัก ผูว้ ิจยั ได้เสนอแนะว่าควรเน้น รู ปแบบและวิธีการสื่ อความหมายที่ทาํ ให้ผชู ้ มมีปฏิสัมพันธื กบั นิ ทรรศการ เพื่อทําให้ผชู ้ มเกิดการรับรู ้และมี ความพึงพอใจต่อนิทรรศการมากขึ้น ศันสนี ย ์ อินทรประสิ ทธิ์ (2540) ได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลต่างๆของ นายชิ ต เหรี ยญประชา ใน ฐานะศิลปิ นเพื่อนํามาวิเคราะห์จดั ทําเนื้อหาจัดแสดง โดยมีวตั ถุประสงค์ที่จะนําเสนอแนวคิดแนวคิดในการ จัดพิพิธภัณฑ์บา้ นศิลปิ นของประเทศไทย รวมทั้งเสนอแนวทางและรู ปแบบการจัดพิพิธภัณฑ์บา้ นศิลปิ นชิ ต เหรี ยญประชา เพื่อเป็ นตัวอย่างของการจัดพิพิธภัณฑ์เพื่อเป็ นอรุ สรณ์ และยกย่องเชิ ดชู เกี ยรติบุคคลที่ทาํ


47

ประโยชน์แก่ประเทศชาติ ผลการวิจยั พบว่าความสมบูรณ์ของเนื้ อหานั้นเป็ นปั จจัยสําคัญที่จะทําให้การจัด พิพิธภัณฑ์ในรู ปแบบใหม่ประสบความสําเร็ จได้ รวมทั้งความเหมาะสมของสถานที่ วัตถุ ที่จดั แสดงและ กิจกรรมเสริ ม และเสนอแนะว่าควรให้มีการตั้งหน่วยงานรับผิดชอบในการค้นคว้าชี วประวัติและผลงาน ของศิลปิ นที่สาํ คัญๆต่อวงการศิลปะไทยเพื่อนําข้อมูลมาจัดตั้งเป็ นบ้านพิพิธภัณฑ์ศิลปิ น


48

สรุป สรุ ปสาระจากแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเข้าชม ทัศนคติ และความคาดหวัง ของนักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีต่อพิพิธภัณฑ์มิวเซี ยมสยาม แนวคิด ความเป็ นมาและบทบาทของมิว เซียมสยาม

รูปแบบการจัดนิทรรศการ พิพิธภัณฑ์มิวเซียมสยาม

สาระ การจัดตังพิ ้ พิธภัณฑ์การเรี ยนรู้ มี วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ เรี ย นรู้ อย่ า งรื่ น รมณ์ และสร้ าง สานึกในการรู้จกั ตนเอง รู้จกั เพื่อน บ้ าน รู้จกั โลก และสร้ างภาพลั ก ษณ์ ใ หม่ ข อง พิพิธภัณฑ์ในสังคมไทย

นิทรรศการเรี ยงความประเทศไทย เป็ นนิ ท รรศการถาวร จัด แสดง ทังหมด ้ 18 ห้ อง เนื ้อหาการจัด แ ส ด ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ร า ว ท า ง ประวั ติ ศ าสตร์ ไทยในดิ น แดน สุวรรณภูมิจนถึงยุคปั จจุบนั แนวคิดการดาเนินงานพิพิธภัณฑ์ แนวคิ ด การด าเนิ น งานของมิ ว เซียมสยามประกอบไปด้ วย -การสื่อสาร -การจัดนิทรรศการ -การบริการข้ อมูล แนวคิดพิพิธภัณฑ์ที่พงึ ประสงค์ -พิพิธภัณฑ์ควรถูกสร้ างขึ ้นมาให้ มีความเหมาะสมของผู้ที่จะเข้ า ชม -พิพิธภัณฑ์มีชีวิตคือพิพิธภัณฑ์ที่ ไม่หยุดปรับปรุง พัฒนา แต่มี ความเคลื่อนไหวใหม่ๆอยูเ่ สมอๆ

ประเด็น -มิ ว เซี ย มสยามส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ อย่างรื่ นรมณ์ -มิวเซียมสยามสร้ างภาพลักษณ์ใหม่ ให้ กบั พิพิธภัณฑ์ -ความเข้ าใจเกี่ยวกับมิวเซียมสยาม ของผู้ชม -พฤติกรรมการเข้ าชมนิทรรศการใน แต่ละห้ อง

-การสื่อสาร -การจัดนิทรรศการ -การบริการข้ อมูล การดาเนินงานทังสามด้ ้ าน ส่งผลต่อ การเข้ าชมพิพิธภัณฑ์ของนักเรี ยน ความพึงพอใจที่มีตอ่ การสื่อสาร การ จัดนิทรรศการและการบริการข้ อมูล ของพิพิธภัณฑ์


49

การรับรู้

การรับรู้เป็ นกระบวนการตีความ การรับรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ และรับข้ อมูลจากสิ่งที่อยูร่ อบๆตัว บริการทังการสื ้ ่อสารของพิพิธภัณฑ์ ภัณฑ์ การจัดนิทรรศการและการ บริการข้ อมูล

พิพิธภัณฑ์กบั ผู้ชม

-ผู้ชมแบ่งออกได้ หลายประเภท ตามการศึกษา อาชีพ อายุ ฯลฯ - กลุม่ นักเรี ยนมัธยมศึกษาตอน ปลายจัดเป็ นกลุม่ วัยรุ่นมีอายุ ระหว่าง 15-18 ปี - ผู้ชมกลุม่ วัยรุ่นมีลกั ษณะที่ แตกต่างไปจากวัยอื่นๆ ทัง้ ความชอบ สังคม และความคิดที่ ต้ องการเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ -ทัศนคติความรู้สึกภายในที่ สามารถแสดงออกผ่านพฤติกรรม ว่าเห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย มีความ คิดเห็นหรื อมีความรู้สึกอย่างไรต่อ สิ่งๆนัน้ -ความคาดหวัง คือความต้ องการ ที่มงุ่ หวังจะให้ เกิดขึ ้นในอนาคต ปั จจัยของความคาดหวังอยู่ที่ ประสบการณ์ของแต่ละคนและ ความรู้สกึ นึกคิดที่จะประเมิณไป ได้

แนวคิดด้ านทัศนคติและความ คาดหวัง

กลุม่ ผู้ชมวัยรุ่นมีความสัมพันธ์อย่างไร กับการดาเนินงานพิพิธภัณฑ์

มุมมองมุมมองในด้ านทัศนคติและ ความคาดหวังของผู้ชมที่มีตอ่ การ สื่อสาร การจัดแสดงนิทรรศการ และ การบริ การข้ อมูลของพิพิธภัณฑ์


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.