รักบ้านเกิด ฉบับที่ 32 เดือนพฤษภาคม 2557

Page 13

ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

นครศรีธรรมราช

สุเมธ รุจิวณิชย์กุล

sumet_arch@hotmail.com

ม่ ใ ช่ ชื่ อ หนั ง ที่ น� ำ มาตั้ ง ชื่ อ ให้ ตื่ น เต้ น หรอกครั บ แต่ ก็ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ผ มเขี ย น โยงกันมาสามเดือนต่อเนื่องกันที่เกี่ยวข้อง กับปัญหาทางธรรมชาติตามชื่อเรื่อง และ เดือนที่แล้วชาวเมืองก็ประสบปัญหาการ ขาดแคลนน�้ำกันจริงๆ เฉลี่ยความล�ำบาก กั น ทั่ ว หน้ า กั น แต่ ยั ง ดี ที่ วั น สงกรานต์ ยั ง มี น�้ ำ ให้ เ ล่ น สาดกั น ชุ ่ ม ฉ�่ ำ รอดตั ว ไป อีกปี ผมเองก็ไม่แน่ใจว่ าความร้อนจาก เดื อ นเมษายนปี นี้ จ ะลากยาวจนมาถึ ง เดื อ นพฤษภาคมหรื อ ไม่ ซึ่ ง ปกติ แ ล้ ว จะ ย่ า งเข้ า ฤดู ฝ นอั น เป็ น ช่ ว งเปิ ด เทอมแรก ของนั ก เรี ย นที่ จ ะเจอฝนแทบทุ ก ปี แต่ ผมก็ไม่อยากตั้งชื่อเรื่องให้ล้อกับข้อเขียน ของผมเมื่ อ เดื อ นมี น าคมว่ า “ภั ย น�้ ำ มา แล้ว เตรียมตัวตั้งรับกันหรือยัง ?” เพียง แต่อยากเตือนกันไว้ว่าภัยพิบัติจาก ดิน น�้ำ ลม ไฟ ล้วนแล้วแต่เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกัน หากไม่ตระหนักและไม่จัดการป้องกันล่วง หน้า เราคงต้องทนทุกข์กันซ�้ำซากทุกปี เมื่ อ เดื อ นที่ แ ล้ ว ผมได้ มี โ อกาสเข้ า ร่วมฟังบรรยายจากนักวิชาการในโครงการ ส่งเสริมการจัดการน�้ำในภาวะวิกฤตโดย การรักษาระบบนิเวศในพื้นที่ลุ่มน�้ำ ท�ำให้ ผมในฐานะประชาชนคนหนึ่ ง ทราบว่ า มี ห น่ ว ยงานต่ า งๆ มากมายที่ ค อยดู แ ล ปั ญ หา เรื่ อ งน�้ ำ เช่ น กรมทรั พ ยากรน�้ ำ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อม (ไม่ทราบว่ามีคนรู้จักมากน้อย เพี ย งใด) รวมทั้ ง องค์ ก รร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ประเทศของเยอรมันที่ผมเข้าร่วมฟังมีชื่อ ย่ อ ว่ า GIZ ได้ ค วามรู ้ แ ละข้ อ มู ล ต่ า งๆ มากมาย แต่ ผมเสี ย ดายว่ า หน่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้องหลายแห่ง และประชาชนที่ สนใจเข้าฟังน้อยเกินไป เพราะเป็นเรื่อง ใกล้ตัวของพวกเราทุกคนที่ต้องมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหา และอาจช่วยวิกฤตเรื่อง น�้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์กร GIZ ได้น�ำเสนอแนวทางใหม่ในการใช้ธรรมชาติ เพื่อช่วยรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ซึ่งเรียกว่า “การปรับตัวโดย อาศัยระบบนิเวศ (Ecosystem- Based

www.nakhonforum.com

Adaptation หรือ EbA)” โดยมีโครงการ น� ำ ร่ อ งที่ จั ง หวั ด ขอนแก่ น และจั ง หวั ด นครศรีธรรมราชรายละเอียดถ้าต้องการ ทราบสามารถไปขอได้จากกรมทรัพยากร น�้ ำ นอกจากนี้ ข ้ อ มู ล ที่ ผ มเองรั บ ทราบ มาจากที่ ป ระชุ ม ว่ า นครศรี ธ รรมราช มี ป ริ ม าณน�้ ำ ฝนประมาณ ๗๐๐ ล้ า น ลูกบาศก์เมตรต่อปี แต่ความต้องการใช้น�้ำ เพียงประมาณ ๑๑๔ ล้านลูกบาศก์เมตร ต่อปี ค�ำถามว่านครศรีธรรมราชขาดน�้ำได้ อย่างไร หรือน�้ำส่วนที่ไม่ได้ใช้ไปอยู่ที่ไหน และมีข้อมูลอีกว่าเรามีลุ่มน�้ำที่สามารถกัก เก็บน�้ำได้เพียง ๔.๖๗ ล้านลูกบาศก์เมตร ตัวเลขการส�ำรวจของนักวิชาการหากถูก ต้องก็คงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่ต้อง รีบรับไปด�ำเนินการต่อ หรืออาจมีแล้วแต่ ไม่ได้ประชาสัมพันธ์ให้ชาวเมืองรับทราบ ก็เป็นได้ ผมคิดว่าไม่น่าจะเป็นข้อมูลที่ ปกปิดอะไรในโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับความเป็นอยู่ของพลเมือง อย่างน้อย ก็ได้รับทราบเพื่อที่จะเตรียมตัวหรือช่วย กันในหน่วยเล็กๆ ของครอบครัว มุ ม มองของผมเกี่ ย วกั บ การบริ ห าร จัดการทรัพยากรน�้ำของนครศรีธรรมราช ตามประสาคนไม่ใช่นักวิชาการด้านนี้ก็มี ค�ำถามเพื่อผู้ที่เกี่ยวข้องหาค�ำตอบว่า ๑. ตราบใดที่ เ รายั ง มี น�้ ำ เต็ ม แม่ น�้ ำ ปากพนัง เต็มคลองปากนคร และคลอง สายต่างๆ ยังมีน�้ำทั้งปี ก็แสดงว่าเรายัง ไม่ได้ขาดน�้ำจริงๆ แล้วเราสามารถผันน�้ำ

ไปใช้ได้หรือไม่ ไม่ว่าน�ำไปบ�ำบัดเพื่อการ บริโภคหรือเพื่อการเกษตร ๒. คลองในโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่ม น�้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มีปริมาณน�้ำดิบจ�ำนวนมาก แต่ทราบมา ว่าให้ใช้ส�ำหรับภาคการเกษตรเท่านั้น ไม่ สามารถน� ำ ไปใช้ เ พื่ อ การบริ โ ภคได้ จน เทศบาลเมืองปากพนังต้องหาซื้อที่ดินเพื่อ เป็นแหล่งเก็บน�้ำใช้บริโภค (ข้อมูลนี้ผมได้ มาจากค�ำบอกเล่า ไม่ยืนยันนะครับ) หาก ทบทวนแบ่งปันน�้ำจากภาคการเกษตรมา ใช้บริโภคจะได้หรือไม่ ๓. จากแหล่งน�้ำดิบใหญ่ๆ ดังกล่าว สามารถผันน�้ำหรือต่อท่อส่งน�้ำเข้ามายัง ตัวเมืองนครซึ่งมีปริมาณการใช้น�้ำมากได้ หรือไม่ นอกเหนือจากใช้แหล่งน�้ำคลอง ท่าดี ๔. นอกเหนื อ จากแหล่ ง น�้ ำ หรื อ ลุ ่ ม น�้ำที่สามารถกักเก็บน�้ำได้ตามธรรมชาติ แล้ว จะหาพื้นที่สร้างเป็นที่กักเก็บน�้ำย่อย (Catchment) เพิ่มขึ้น เช่นแนวที่ลุ่มซึ่ง เป็นที่ดินราชพัสดุขนานไปกับค่ายวชิราวุธ ด้านทิศตะวันตกจะได้หรือไม่ (ส�ำหรับการ ขุดเชิงเขาน�ำดินไปใช้ถมที่ และสนับสนุน

หน้า ๑๓

ให้ใช้แอ่งดินเป็นที่กักเก็บน�้ำไว้ใช้นั้น ควร พิจารณาปัญหาที่จะเป็นการส่งเสริมการ ท�ำลายธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรือไม่ ) ๕. น�้ ำ ใต้ ดิ น ในแนวสั น ทรายมี ป ริ มาณมาก จะมี ก ารรณรงค์ ใ ห้ ป ระชาชน หวนกลับมาใช้บ่อน�้ำประจ�ำบ้านอย่างใน อดี ต คู ่ กั บ การใช้ น�้ ำ ประปาของเทศบาล หรือของการประปาส่วนภูมิภาคจะเหมาะ สมหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตามหากมีการขุด บ่อบาดาลขนาดใหญ่เพื่อใช้ในปริมาณมาก อาจต้ อ งศึ ก ษาผลกระทบเรื่ อ งการขาด สมดุลของชั้นดินจนเป็นเหตุให้ดินทรุดดัง เช่นกรุงเทพมหานครได้ เดื อ นพฤษภาคมนี้ ผ มเองยั ง ไม่ ไ ด้ ตรวจสอบข้ อ มู ล จากกรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา ว่าสภาพอากาศจะเป็นอย่างไร แต่หาก หน่วยงานราชการทราบเรื่อง ก็ต้องขอให้ ช่วยประชาสัมพันธ์ถึงการเตรียมตัวของ ประชาชนและการป้องกันโดยทางหน่วย งานราชการล่วงหน้าด้วยนะครับจะได้มี ความสูญเสียน้อยลง แต่ท างราชการจะ ช่วยได้ขนาดไหนก็คงไม่ว่ากัน ที่ผ่านมา ชาวเมื อ งส่ ว นใหญ่ ต ้ อ งช่ ว ยเหลื อ ตั ว เอง ตามยถากรรมไม่ว่าเรื่องขาดแคลนน�้ำหรือ น�้ำท่วม ส�ำหรับการแก้ปัญหาน�้ำท่วมซ�้ำซาก ในตั ว เมื อ งนคร ผมเข้ า ใจเอาเองว่ า ทาง ราชการคงมีแผนและโครงการไว้แล้ว ผม อยากขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยชี้แจง ทั้ ง ในด้ า นหลั ก การและด้ า นแผนปฏิ บั ติ การให้ประชาชนรับทราบด้วย เพราะที่ ผ่านมามีคนถามผมหลายเรื่องที่ผมเองก็ ตอบไม่ได้ เช่น เรื่องการก่อสร้างก�ำแพง คอนกรีตกั้นตลิ่งคลองท่าวัง การก่อสร้าง บ่ อ พั ก น�้ ำ ขนาดใหญ่ ก ลางถนน เป็ น ต้ น แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามผมเชื่ อ ว่ า หน่ ว ยงานที่ ก่อสร้างมีการศึกษาหาข้อมูลและมีความรู้ เป็นอย่างดี หากประชาชนได้มีโอกาสรับรู้ และมีส่วนร่วมจะช่วยกันสนับสนุนในการ แก้ไข ปัญหาวิกฤตทางด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งในอนาคตจะเป็นเรื่องใหญ่มากกว่า ปัญหาทางด้านการเมือง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.