นสพ รักบ้านเกิด ฉบับที่ 43 เดือนเมษายน 2558

Page 1

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน ๒๕๕๘

พบกับเรื่องราวดีดี..ที่นี่..เดือนละครั้ง หนังสือพิมพ์เพื่อชาวนครศรีธรรมราช

www.nakhonforum.com

www.facebook.com/rakbaankerd

ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ลงนามร่วมมือหัวหน้า ต�ำรวจและภาคเอกชนร่วม ๑๐๐ องค์กรรณรงค์สวม หมวกนิรภัย ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ สถิติเมืองนครอุบัติเหตุ ตายเจ็บอันดับ ๑ ของภาคใต้ ผู้ว่าฯ จี้ข้าราชการ ถ้า ข้าราชการท�ำผิดผู้บังคับบัญชาต้องร่วมรับผิดชอบ ¹¤Ã´Í¹¾ÃÐ ¹¾.ºÑญ ­ ªÒ ¾§Éì¾Ò¹Ôª àÃ×èͧ´Õ´Õ·ÕèàÁ×ͧ¹¤Ã ¨ÓÅͧ ½Ñ觪ŨԵà ชวนคิด ชวนคุย สุธรรม ชยันต์เกียรติ ทันโลกธุรกิจ ไพโรจน์ เพ็ชรคง มุมมองท่องเที่ยว สาธิต รักกมล รักสุขภาพ นพ.อรรถกร วุฒิมานพ มุมมองรักษ์บ้านรักษ์เมือง สุเมธ รุจิวณิชย์กุล ท่องเที่ยวเมืองนคร ทาร์ซานบอย มองเมืองคอนผ่านเลนส์ นพ.รังสิต ทองสมัคร์

˹éÒ ò ˹éÒ ó

เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๘ บ้านพักผู้ว่า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช

˹éÒ ๔ ˹éÒ ๗ ˹éÒ ๑๐ ˹éÒ ñ๒ ˹éÒ ñ๓ ˹éÒ ñ๖ ˹éÒ ñ๗

จังหวัดนครฯ จัดประชุมสัมมนาภายใต้แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ ๓ ฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซียและไทย (IMT-GT) เน้นการพัฒนาโครงข่าย ด้านโครงสร้างพื้นฐานระบบการขนส่ง คมนาคมและพลังงาน เร่งผลักดัน ศูนย์กระจายสินค้าทุ่งสงและการพัฒนาท่าเรือจังหวัดตรัง เมื่ อ วั น ที่ ๒๖ มี น าคม ๒๕๕๘ นายสมเกี ย รติ จั น หนู หั ว หน้ า ส� ำ นั ก งานจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า ระหว่างวันที่ ๓๑ มีนาคม – ๒ เมษายน ๒๕๕๘ จังหวัด >> อ่านต่อหน้า ๙ นครศรีธรรมราช จะจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อน


หน้า ๒

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

ความเสื่อมที่บังเกิดขึ้นในแวดวงของพระสงฆ์องค์ เจ้าเป็นข่าวรายวันในสังคมเมืองไทย สร้างความ เศร้าหมองและทดท้อใจให้กับพุทธศาสนิกชนซ�้ำ แล้วซ�้ำเล่า ไม่เว้นแม้กระทั่ง ‘นครเมืองพระ’ บ้าน เรา ดินแดนที่เป็นเนื้อนาบุญให้พระพุทธศาสนา เจริ ญ งอกงามและด� ำ รงอยู ่ ม าตลอดตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึงปัจจุบันนับพันปี ข่าวคราวที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งสร้างความสะเทือน ใจและแทบจะไม่ คิ ด ไม่ ฝ ั น ว่ า คนที่ อ ้ า งตนเป็ น ผู ้ ประพฤติธรรมถือศีลกินเจจะกระท�ำกันได้ถึงเพียง นี้ หากปราศจากหลั ก ฐานที่ ชั ด เจนทั้ ง ภาพและ เสียง ก็จะมีการยกเหตุผลมากล่าวอ้างเลี่ยงบาลี ข้างๆ คูๆ จนหลีกพ้นเงื้อมมือของกฎหมายบ้าน เมืองแทบทุกครั้ง เหลือเพียงกระบวนการลงโทษ เอาผิดทางพระธรรมวินัย ซึ่งก็ดูจะเชื่องช้าไม่ทัน อกทันใจ แถมยังสร้างความคลางแคลงใจให้กับ ผู้คนในสังคมอยู่เสมอ สุดท้ายก็ไม่สามารถเอาผิด ขับไล่อัปเปหิอลัชชีเหล่านี้ออกไปได้ ยังคงอาศัย อยู่ร่วมมือกับกลุ่มปุถุชนคนชั่วเป็นเหลือบเกาะกิน พระพุทธศาสนาไปเรื่อยๆ โดยที่ไม่มีใครหน้าไหน หรือหน่วยงานใดเข้ามาดูแลจัดการอย่างเป็นรูป ธรรม ปล่อยให้ลอยหน้าลอยตากระท�ำการย�่ำยี สร้างความแปดเปื้อนให้พระพุทธศาสนาอย่างน่า เอือมระอา

มื่ อ หลายวั น ก่ อ น มี ห ลายคนที่ เ มื อ งนครถามผมถึ ง การบู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ์ ที่ พ ระธาตุ เจดี ย ์ ยั ก ษ์ หอพระ อิ ศ วรและหอพระนารายณ์ เ มื อ งนคร ว่ า ก� ำ ลั ง เกิ ด ขึ้ น อย่างคึกคักทั้ง ๔ ที่ เป็นอย่างไรบ้าง? ผมได้ใช้จังหวะ วั น สตรี ส ากลที่ แ ม่ ๆ เมื อ งนครก� ำ ลั ง เตรี ย มตั ว ออกเดิ น บนถนนราชด� ำ เนิ น ถี บ จั ก รยานดู จ นครบและเห็ น เป็ น จังหวะเหมาะเพราะเดือนเมษายน อนุรักษ์มรดกไทยปี นี้ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เจดีย์ยักษ์ที่วัดพระเงินวันนี้ มีการบูรณะองค์เจดีย์ จนถึ ง ปล้ อ งไฉนตลอดยอดเท่ า ที่ เ หลื อ จนขาวเด่ น และ งดงามมาก ในขณะที่ด้านหน้าที่มีองค์พระ ศาลาพระเงิน และต้ น โพธิ์ ก� ำ ลั ง ผลิ ใ บนั้ น ยั ง ไม่ ท ราบว่ า จะขุ ด แต่ ง และ บู ร ณะออกมาเป็ น อย่ า งไร ที่ น ่ า สนใจอย่ า งมากคื อ ตรง ใต้ฐานที่จากการขุดค้น พบร่องรอยรากฐานรวมทั้งก้อน ศิลาหินทรายแดงแกะสลักยังไม่ทราบว่าเป็นอะไร หาก กรมศิลปากรหรือใครไขความออกจะท� ำเป็นนิทรรศการ

จะทรงเจริ ญ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา พวกเราน่าจะ ได้ ร ่ ว มกั บ กรมศิ ล ปากรใน การอนุ รั ก ษ์ ปู ช นี ย ศาสนสถานส�ำคัญทั้ง ๔ ของเมือง นคร ด้ ว ยการแวะเวี ย นไป ชื่นชมในผลงานที่ทางกรมฯ ก� ำ ลั ง ท� ำ อย่ า งเงี ย บๆ แต่ ทรงคุณค่าและน่าสนใจอย่างยิ่ง มีป้ายประกาศบอกไว้ อย่างนี้ด้วยว่า “งานก่อสร้างรายนี้สร้างด้วยเงินภาษีของ ท่าน”

ประกอบไว้ ด ้ ว ยก็ น ่ า จะดี ทั้ ง นี้ ห ากได้ น� ำ ผลการขุ ด ค้ น ตกแต่งบูรณะปฏิสังขรณ์ครั้งก่อนๆ ที่ทราบว่าพบหลักฐาน ส�ำคัญอย่างมากมาย ทั้งพระทั้งถ้วยโถโอชามที่น่าจะยัง เก็บรักษาไว้หรือจัดแสดงอยู่ที่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ แม้กระทั่งในพิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุก็เคยเห็น ส่วนที่หอพระอิศวร หอพระนารายณ์นั้นน่าสนใจ ยิ่งกว่า เพราะพบฐานรากเทวสถานโบสถ์พราหมณ์อีกองค์ ตรงบริเวณฐานเสาชิงช้าที่จัดพิธีโล้ตอนตรุษสงกรานต์กัน ทุกปี ยังไม่ทราบว่างานสงกรานต์ปีนี้จะย้ายไปจัดหรือโล้ ชิงช้ากันที่ไหน รวมทั้งไม่ทราบเช่นกันว่าจะยกเทวสถาน โบสถ์พราหมณ์ขึ้นมาใหม่อีกไหม? แล้วจะย้ายเสาชิงช้า

ไม่ว่าการปล่อยปละละเลย จะเกิดขึ้นจากนิสัย ดั้งเดิมของคนไทย คือความเป็นคนนิสัยขี้เกรงใจ ไม่กล้าเผชิญปัญหาโดยตรง หรือเกิดจากความ มืดบอดทางปัญญา ความรู้สึกรับผิดชอบชั่วดีถูก บดบังด้วยตัณหาอวิชชาก็ตาม แต่ความเน่าเฟะที่ เกิดขึ้น ยากที่พุทธบริษัท อันประกอบด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จะปฏิเสธให้พ้นตัวไปได้ หอพระนารายณ์ กับ ฐานเทวสถานโบส์พราหมณ์ที่โคนเสาชิงช้า ข้างหอพระอิศวร

>> อ่านต่อหน้า ๑๙


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นุษย์กับความเชื่อ เชื่อว่าเทพเจ้าสูงสุดที่นับถือเป็นผู้ประธานความสุข ความสงบ ความสมบูรณ์พูนสุขบนแผ่นดิน ต�ำนานแห่นางดานหรือนาง กระดานของชาวนครศรีธรรมราช มาจากคติพราหมณ์ในอดีตที่ได้รับการ ฟื้นฟูสืบทอด พิธีนี้ประกอบด้วยกระดาน 3 แผ่น วาดหรือสลักรูปเคารพ แผ่น แรก รูปพระอาทิตย์ กับพระจันทร์ แผ่นสอง คือพระแม่ธรณี และแผ่นที่สาม พระแม่คงคา ตั้งขบวนแห่แหนไปยังเสาชิงช้า ประเพณีนี้เกิดขึ้นครั้งแรกใน เมืองนครศรีธรรมราช ชาวเมืองแห่แหนต้อนรับพระอิศวรเทพสูงสุดที่จะเสด็จ ลงมาเยี่ยมโลกมนุษย์ และทรงประสาทพรให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ และ คุ้มครองให้ปลอดภัย ก�ำหนดเอาเดือนอ้าย ซึ่งตรงกับวันขึ้นปีใหม่ของชาว ฮินดูพราหมณ์ ประเพณีแห่นางดาน จัดขึ้นในวันที่ ๑๔ เมษายนของทุกปี โดยมีขบวน แห่จากสนามหน้าเมืองมายังหอพระอิศวร การแสดงแสง สี เสียง ต�ำนานนาง ดานและเทพเจ้าที่เกี่ยวข้อง การจ�ำลองพิธีแห่นางดาน ร�ำเสน่ง และการโล้ ชิงช้า ซึ่งเป็นการโล้ชิงช้านอกเขตเมืองหลวงแห่งเดียวของไทย ที่ชาวนครควร ภาคภูมิใจ ปีนี้กรมศิลปากรก�ำลังบูรณะหอพระอิศวร ถ้าเสร็จทันเวลาพิธีแห่นาง ดานจะสวยงามบนพื้นที่ใหม่

นครศรีธรรมราช

หน้า ๓


หน้า ๔

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

โดย : นครา nagara@nakhonforum.com

สุธรรม ชยันต์เกียรติ

ดิมคนไทยนับเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ตาม อย่างชาวอินเดียในสมัยโบราณ ก่อนที่จะเปลี่ยนมา เป็นแบบสากลอย่างฝรั่งเขา มานับเอาวันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่มาจนถึงทุกปัจจุบัน การนับวันขึ้นปีใหม่แทบทุกชาติในสมัยโบราณ มัก เริ่มต้นนับเอาวันแรกที่เริ่มการเพาะปลูกของปี วันเริ่ม ฤดูกาลเพาะปลูกใหม่ การนับปีใหม่จึงไม่ตรงกัน อินเดีย โบราณถือเอาการเคลื่อนย้ายจาก ‘ราศีมีน’ สู่ ‘ราศีเมษ’ เป็นวันที่เริ่มต้นเปลี่ยน ‘จุลศักราช’ อาณาจักรสยาม สมัยนั้นใช้จุลศักราชอยู่ด้วย จึงนับวันขึ้นศักราชอย่าง อินเดีย แต่การเปลี่ยนครั้งแรกของสยามเรานั้น ตรงกับ วันที่ ๑๓ เมษายน เราจึงนับวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ ๑๓ เมษษยนของทุกปี แม้ว่าการเคลื่อนย้ายของ ‘ราศีมีน’ สู่ ‘ราศีเมษ’ จะไม่ตรงกับวันที่ ๑๓ ก็ตาม ค�ำว่า ‘สงกรานต์’ เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า ‘ผ่าน’ หรือ ‘เคลื่อนย้ายไป’ ซึ่งหมายถึงดวงอาทิตย์ เคลื่อนย้ายจากราศีหนึ่งไปสู่อีกราศีหนึ่งในทุกๆ เดือน นั่ น คื อ เดื อ นหนึ่ ง ก็ จ ะมี ส งกรานต์ ค รั้ ง หนึ่ ง เป็ น อย่ า ง นี้ตลอดทั้งปี แต่มีเฉพาะราศีมีนเคลื่อนย้ายสู่ราศีเมษ เท่านั้นที่เขาจะเรียกว่า ‘มหาสงกรานต์’ เป็นวันเปลี่ยน ศักราช แต่เดิมชาวนครจะไม่นิยมเรียกวันสงกรานต์ แต่ เราเรียกว่า ‘วันว่าง’ ก่อนวันว่างเราเรียก ‘วันส่งเจ้า เมืองเก่า’ เป็นความเชื่อคล้ายๆ กับประเพณีของชาว จีน เราเชื่อกันว่าทุกเวลาที่เราอยู่ในเมืองนี้จะมีเทวดา ปกป้องคุ้มครองเราอยู่ เทวดาองค์นี้จึงเสมือนเจ้าเมือง ของเราเมื่อครบหนึ่งปี เทวดาจะกลับคืนสู่สวรรค์ เราจึง มาท�ำบุญเรียกว่า ‘วันว่าง’ หมายถึงตัวเรา ครอบครัว และบ้านเมืองว่างจากเทวดาคุ้มครอง เมื่อไม่มีเทวดา คุ้มครองผู้คนจะงดออกจากบ้านเรือน งดเว้นจากการ ท�ำงานประกอบอาชีพ ไม่จับพร้าจับมีดจับจอบ เพราะ อาจเกิดพลาดพลั้งขึ้นได้ เนื่องจากไม่มีเทวดาคุ้มครอง ถัดมาอีกวันเป็นวัน ‘รับเทวดา’ เชื่อกันว่า เทวดาองค์ ใหม่จะลงมาคุ้มครองบ้านเมือง ครอบครัวและตัวเรา จึง

มีงานบุญต้อนรับ จัดการละเล่นสนุกสนาน งานบุญนี้เรา เรียกรวมกันว่า ‘บุญเดือน ๕’ ประเพณีบุญเดือน ๕ ของชาวนคร เราได้รับอิทธิพลจากพราหมณ์จึงมีการสะเดาะเคราะห์ขับไล่สิ่งไม่ดี ไม่งามออกจากบ้านจากเรือน มีการสรงน�้ำพระพุทธรูป และอาบน�้ ำ พ่ อท่า น หรือ สรงน�้ ำ พ่ อท่า นตามวั ด ต่า งๆ ในหมู่บ้าน โดยการน�ำพระพุทธรูปที่ส�ำคัญในวัดมาให้ ผู้คนได้สรงน�้ำ ท�ำความสะอาดองค์พระพุทธรูป ทาแป้ง ประพรมน�้ำหอม ส่วนการอาบน�้ำพ่อท่านท�ำได้อึกทึก นัก จะมีการกั้นผ้าเหลืองเป็นกระโจมใหญ่ แล้วนิมนต์ พ่อท่าน (พระสงฆ์ที่สูงอายุ) เข้าสู่กระโจม บางแห่งมีการ อุ้มหรือแบกหามแห่แหนเข้าไป แล้วมีอุบาสกคอยช่วย ดูแล ต่อรางน�้ำเข้าไป ซึ่งนิยมใช้กาบกล้วยต่อกันเป็น รางน�้ำยาวสัก ๒๐ วา ตั้งบนเสาสูงไม่เกินศีรษะ ทุกคน ก็น�ำน�้ำของตนที่เตรียมไว้ ตักใส่รางน�้ำกาบกล้วยไหลลง ไปในกระโจมซึ่งมีพ่อท่านนั่งอยู่ อุบาสกผู้ชายคอยดูแล ถูตัวให้ เมื่อสรงน�้ำเสร็จเช็ดตัวแห้ง ผลัดเปลี่ยนจีวรใหม่ ก็แห่แหนไปยังกุฏิของท่าน ผู้คนก็เข้าไปกราบไหว้รับพร กันเป็นประจ�ำทุกปี เป็นประเพณีบุญอันยิ่งใหญ่ของชาว นครแม่แต่โบราณ ส่วนการอาบน�้ำคนแก่ก็เช่นกัน เราไม่มีพิธีมานั่ง หมอบบนโต๊ะให้ลูกหลานมารดน�้ำบนฝ่ามืออย่างธรรมเนียมสมัยใหม่ ซึ่งเดิมเป็นของชาวภาคเหนือ เขาใช้น�้ำ แช่ ใ บส้ ม ป่ อ ยมารดน�้ ำ สระหั ว ให้ ผู ้ เ ฒ่ า ผู ้ แ ก่ ที่ เ รี ย กว่ า ‘รดน�้ำด�ำหัว’ ของเรารมีหลักการคล้ายๆ กัน คนแก่ของ เราคือเป็น ‘พ่อเฒ่า’ และ ‘แม่เฒ่า’ >> อ่านต่อหน้า ๑๔

หนั ง สื อ พิ ม พ์ รั ก บ้ า นเกิ ด ปี ที่ ๔ ฉบั บ ที่ ๔๓ เดื อ นเมษายน ๒๕๕๘ อากาศร้ อ น... อย่ า ร้ อ นตาม คอลั ม น์ นี้ ฉ บั บ ที่ แ สดงความห่ ว งใยแวดวง พระสงฆ์ ทั้งฝ่ายธรรมยุติและมหานิกาย ว่าหมั่นตรวจ สอบความประพฤติ ข องพระภิ ก ษุ ส ามเณรที่ อ อกนอกลู ่ นอกทาง ปรากฏว่า วัดวังตะวันตกที่พระเทพสิริโสภณ เจ้ า อาวาสและเจ้ า คณะจั ง หวั ด ฝ่ า ยมหานิ ก าย กลาย เป็นที่ฉาวโฉ่เสียเอง เมื่อสตรีนางหนึ่งเข้าไปบงการให้ นั ก เลงรุ ม ซ้ อ มพระลู ก วั ด และถึ ง ขนาดเก็ บ จี ว รกั บ ข้ า ว ของเครื่องใช้ออกจากกุฏิ สร้างความคลางแคลงใจแก่ ชาวบ้าน ปัญหานี้ไม่มีใครกล้าแตะ กระทั่งผู้เช่าแผงพระ ไปร้ อ งเรี ย น พล.ต.ธี ร ์ ณ ฉั ฎ ฐ์ จิ น ดาเงิ น ผบ.มทบ.๔๑ ค่ า ยวชิ ร าวุ ธ ให้ เ ข้ า มาแก้ ไ ข อยู ่ กั บ โลกสากล ผู้ว่าฯ พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า, พล.ต.ต. เกียรติพงศ์ ขาวส�ำอางค์ ผู้บังคับการต�ำรวจภูธร จ.นครฯ ร่วมน�ำ ภาคเอกชนรณรงค์ ขั บ ขี่ ป ลอดภั ย และเพิ่ ม ความ เคร่งครัดทางกฎหมาย...เลิกยึดมั่น ‘ท�ำอะไรได้ตามใจ เป็ น ไทยแท้ ’ ที่ มี แ ต่ อุ บั ติ เ หตุ แ ละอั น ตรายที่ ส ามารถ ป้องกันได้เสียที เมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘ รองผู ้ ว ่ า ฯศิ ริ พั ฒ พั ฒ กุ ล เป็ น ประธานปล่ อ ยแถว ชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารร่ ว มบู ร ณาการ การตรวจแรงงานในเรื อ ประมงทะเลที่ท่าโรงไฟฟ้าขนอม ป้องกันและแก้ไขปัญหา การค้ามนุษย์ด้านแรงงาน เนื่องจากประเทศไทยถูกโจมตี ว่ามีการใช้แรงงานทาสในเรือประมงจนสินค้าอาหารทะเล ของไทยถูกต่อต้านจากหลายประเทศในยุโรป ซึ่งจังหวัด นครฯเป็น ๑ ใน ๒๒ จังหวัดติดชายฝั่ง จังหวัดจึงจัดชุด ปฏิบัติการร่วมลงตรวจแรงงานในเรือประมงทะเลตั้งแต่ เดือนมีนาคม – เดือนกันยายน ๒๕๕๘

เมื่ อ วั น ที่ ๙ มานาคม ๒๕๕๘ ศ.ดร.วิ ชั ย บุ ญ แสง ผอ.ส� ำ นั ก บริ ห ารโครงการส่ ง เสริ ม การวิ จั ย ในอุ ด มศึ ก ษาและพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ ร่วมกับมรภ.นครศรีธรรมราช และเครือข่ายมหาวิทยาลัย ๗๐ แห่ ง ทั่ ว ประเทศ จั ด ประชุ ม โครงการส่ ง เสริ ม การ วิจัยในอุดมศึกษาขึ้นครั้งนี้เป็นครั้งที่ ๓ เพื่อ เป็นการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการวิจัย


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๕

ขอแสดงความยินดีกับ วาริน ชิณวงศ์ ประธาน หอการค้ า จั ง หวั ด นครศรี ฯ ได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น คณะ กรรมการบริ ห ารหอการค้ า ไทยชุ ด ใหม่ ปี ๒๕๕๘-๕๙ จากที่ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีหอการค้าไทย

เทวกฤต เข็ ม ขาว สหกรณ์ จั ง หวั ด นครฯ น� ำ คณะปลูกป่าชายเลนที่แหลมตะลุมพุก เฉลิมพระเกียรติ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ ทรงมี พ ระชนมายุ ค รบ ๖๐ พรรษา โรงเรี ย นประที ป ศาสน์ ปอเนาะ บ้านตาลเปิดสอนวิชาศาสนาอิสลามตั้งแต่ปี ๒๔๗๘ โดย อัล มัรฮูม อาจารย์ฮัจ ยี ยะโกบ พิศ สุวรรณ วันที่ ๓-๔๕ เมษายน ๒๕๕๘ ซอฟียะฮ์ พิศสุวรรณ, ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ จัดงานฉลองวาระครบ ๗๕ ปี ฯพณฯ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี เป็นประธานประกอบศาสน พิธี ดร.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เป็นประธานเปิดงาน ช่ ว งปิ ด เทอม เด็ ก ๆ อายุ ไ ม่ เ กิ น ๑๕ ปี จมน�้ ำ เสียชีวิตบ่อยๆ ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๑ นครฯ โดย นพ.จิรพันธุ์ เต้พันธ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด พร้อมเจ้าหน้าที่ฝากเตือนผู้ปกครองให้ดูแลลูกหลานและ รณรค์ ร ่ ว มกั บ โรงพยาบาลในพื้ น ที่ ใ ห้ รั บ มื อ กั บ เรื่ อ งนี้ การเมืองท้องถิ่น มาโนช เสนพงศ์ นายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัดนครฯ (อบจ.นศ.) ถูกกล่าวหาว่าทุจริต การเลือกตั้งได้รับใบแดงจาก กกต. ๑๔ ใบ จะอยู่ต่อไป หรือตกเก้าอี้ งานนี้พิจารณาดูคดีใบแดงของ เชาวน์วัศ เสนพงศ์ ที่ศาลพิพากษาใช้ชนะคดีมานั่งบริหารเทศบาล นครนครฯ จนถึงปัจจุบัน

ปลายปี ๒๕๕๗ เมื อ งนครไม่ เ กิ ด น�้ ำ ท่ ว มตาม ฤดูกาล ปลายมีนาคม ๒๕๕๘ อากาศร้อนถึงร้อนมาก บน ภูเขาฝนจากพื้นที่ต้นน�้ำก็ไม่ตก เชื่อว่าเขตเทศบาลเกิด ขาดแคลนน�้ำแน่นอน หากไม่คิดแก้ไข นายกเชาวน์วัศ เสนพงศ์ โดนสงกรานต์น�้ำลายแน่นอน ปี ๒๕๕๗ ดร.กณพ เกตุชาติ น�ำรถบรรทุกน�้ำไปแจกจ่ายตามชุมชนที่ ขาดแคลน ใช้ทุนเองบรรเทาความเดือดร้อนของชาวบ้าน บางที ปีนี้ วงศ์วชิร โอวรารินท์ ผู้ประกาศพร้อมเป็นนายก เทศมนตรีนครนครฯ อาจเอาอย่างบ้าง แต่ ๒ คนจะเอา น�้ำดิบมาจากไหน--- ถ้าฝนแล้ง

วิ ท ยาลั ยช่ า งศิ ลปนครฯ เชิ ญ อุ บ ลรั ต น์ แดงขาว จากคลังจังหวัดนครฯ มาอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องเทคนิคการเบิกจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ ยัง ร้อนเร่า..เฉลิม จิตรามาศ โพสต์ในเฟซบุ๊ค เชิญคนรัก พระบรมธาตุ ฯ ไปฟั ง เสวนาเรื่ อ งสนิ ม ยอดพระธาตุ ที่ ลานโพธิ์ วันที่ ๔ เมษายน เวลา ๐๙.๐๐น. เป็นต้นไป

ผู้บริหาร บ.ฮอนด้าศรีนคร จ�ำกัด ร่วมออกบุูธ ในงานรวมพลั ง ศรั ท ธา ‘นู รุ ล อิ ส ลาม’ ณ มั ส ยิ ด นู รุ ล อิสลาม และเข้าโครงการ ‘นคร ปลอดภั ย ทุ ก วั น ทุ ก วั ย สวม หมวกนิรภัย ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์’ ซึ่ ง ผู ้ ว ่ า ฯ พี ร ะศั ก ดิ์ หิ น เมื อ งเก่ า เป็ น ประธานเปิ ด นวนิ ย าย ‘หลั ง เที่ ย งคื น ’ ของ จ� ำ ลอง ฝั ่ ง ชลจิ ต ร เขี ย นไว้ นานกว่า ๓๐ ปี พิมพ์ครั้งที่ ๗

เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ที่ห้องอรพิน โรงแรมทวิน โลตัส รองผู้ว่าฯสมาน แสงสอาด, นายจุมพต ตระกูลนุช วัฒนธรรมจังหวัด, นายชาคริต สังขนิตย์ ผู้ช่วยท่องเที่ยว และกีฬา และ นางนงเยาว์ จิรันดร ผช.ผอ.การท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานนคร ร่วมกันแถลงข่าวการจัด งาน “ชาวนครศรีธรรมราช ร่วมใจภักดิ์ อนุรักษ์มรดกไทย” ก�ำหนดจัดงานระหว่างวันที่ ๒-๖ เมษายน ๒๕๕๘ ณ สวน ศรี ธ รรมาโศกราช เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสทรง เจริญพระชนมายุ ๕ รอบ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ อนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้ อ งถิ่ น และ ประชาสั ม พั น ธ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ หั ต ถศิ ล ป์ แ ละ หัตถกรรมของจังหวัดนครศรีธรรมราช

ทีมบิ๊คไบเกอร์ชาวนครศรีธรรมราช น�ำทีมโดย ภูริภัทร ชีวะพันธศักดิ์ (โป้) พร้อมด้วย โจ เอ็ม ท้อป เอก ไม่ พลาดการแข่งขันจักรยานยนต์ทางเรียบรายการใหญ่ ศึก เวิลด์ ซูปเปอร์ไบค์ ๒๐๑๕ ที่ สนามช้างอินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต ของ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ ๒๑-๒๒ มีนาคม ๒๕๕๘ ที่ผ่านมา ไบเกอร์เมือง คอนกับ ฟีม รัฐภาคย์ วิไลโรจน์ ยอดนักบิดไทย ที่คว้าแชมป์ เวิลด์ ซูเปอร์สปอร์ต ครั้งแรกในเมืองไทย เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๘ ที่ ช้างอินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต บุรีรัมย์

Not only you are contented with our fine diamond and gold jewels, but community also enjoys.

ถนนเนรมิต ท่าวัง

โรบินสัน

Jewels Of Nakhon Si Thammarat

สหไทยพลาซ่า

แยกคูขวาง (ติดปั๊มเชลล์)

ตลาดเสาร์อาทิตย์

หัวอิฐ

Diamond & Gold 1. Naeramit Road (Tawang) Diamond 2. Robinson 3. Sahathai Plaza Gold 4. Ta Ma 5. Hau It 6. Ku Kwang(Near Shell Gas Station) 7. Weekend Market On-line Shop 8. www.facebook.com/BOONADA Gold (HTY) 9. Chuan Heng Hat Yai

ท่าม้า


หน้า ๖

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

จิ

รายุณัฐ สุวรรณรัตน์ อัจฉริยะขจร ค� ำ เรี ย กในสั ง คม คื อ ‘คุ ณ นาย’ คุณนายของใครชาวนครต้องจินตนาการ กันเอง แต่ไม่ใช่คุณนายนั่งจับเจ่าอยู่กับ เหย้าเรือนแน่ “จริ ง แล้ ว เราเป็ น เรามากกว่ า ค่ ะ เห็นอะไรแล้วคลิ๊ก หรือเกิดไอเดียคิดว่า ท� ำ ได้ จ ะมองช่ อ งทางแล้ ว ลองท� ำ ชอบ ท้าทายตัวเองค่ะ”

เธอเพิ่ ง ลงมื อ ท� ำ ขนมเปี ๊ ย ะออก สู ่ ท ้ อ งตลาดและได้ รั บ ความนิ ย มอย่ า ง รวดเร็ว “เป็นคนชอบทานขนมเปี๊ยะมาก ลองทานมาเยอะ ชอบสั ง เกตส่ ว นผสม ว่าน่าจะมีอะไรบ้าง ก็มาคิดปรับปรุงโดย เปลี่ยนใช้วัตถุดิบคุณภาพทั้งหมด ศึกษา จากหนังสือและขอค�ำแนะน�ำจากแม่และ พี่สาวซึ่งท�ำเบเกอรี่อยู่แล้วที่กรุงเทพฯ”

คุณนายใช้วิธีเรียนลัดอาศัยประสบการณ์ของญาติที่ส�ำเร็จแล้ว ไม่ต้องเสีย เวลาคล�ำผิดคล�ำถูก ก่อนปล่อยสูตรที่มั่น อกมั่นใจต้องลองตลาดกันก่อน อุตส่าห์ เล่าเรียนรับปริญญามาจากมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ (ABAC) เรื่องการค้าขายนี่สาย ตรง จบแล้ ว มาสะสมประสบการณ์ กั บ องค์การค้าอันดับ ๑ ด้านสินค้าบริโภค อย่างบริษัทซีพีย่อมไม่ธรรมดา เธอเปิด เผยว่า “เวลาท�ำทานเองก็จะน�ำไปฝาก เพื่อนๆ ชิม หลายครั้งเข้ารสชาติเริ่มคงที่ พอหลายคนได้ทานก็โทรกลับมาบอกว่า นุ่มลิ้น ไม่แห้ง ไม่ร่วง หวานน้อยก�ำลังดี” แล้ ว ก็ ต ้ อ งมี สั ก คนหรื อ หลายคน แนะน�ำ “ท�ำขายซิหลายคนว่างั้น เราก็ คลิ๊กค่ะ เริ่มลองท�ำมา ๒ เดื อ นกว่ า นึ ก สนุ ก คว้ า กล้องมาถ่ายรูปไว้” จะว่าไปคุณนายนับ เป็ น คนประเภทบ้ า พลั ง อยู ่ ห น่ อ ยๆ นึ ก อยากจะ ถ่ า ยรู ป ให้ ส วยอย่ า งมื อ อาชีพก็ฝึกฝนเอาจนได้ “พู ด กั บ แม่ ว ่ า ... ถ่ า ยๆ เก็ บ ไว้ ก ่ อ น เผื่ อ ดั ง ก็ ข� ำ นะคะให้ แ ม่ ถื อ กาละมั ง บ้ า ง ถื อ ไข่ เ ค็ ม บ้างแม่บอกว่า—แม่แต่ง ตั ว ไม่ ส วยอย่ า ถ่ า ย--แม่

เข้าใจว่าเขาต้องเป็นนางแบบ” เล่าไปยิ้ม ไปอย่างมีความสุข “เราก็บอกว่าไม่ได้ถ่ายแม่ จะถ่าย แป้ง ถ่ายไข่เค็ม แม่หัวเราะค่ะ” เรื่ อ งนี้ มี แ ม่ เ ข้ า มาเกี่ ย วเพราะเป็ น ขนมแบบ home made ใช้ แ ม่ เ ป็ น ที่ ปรึกษา แรงงานและก�ำลังใจ เมื่อรูปลักษณ์ กับรสชาติสินค้าออกมาดี สิ่งที่เหลือคือ ช่ อ งทางจ� ำ หน่ า ยที่ ต ้ อ งประชาสั ม พั น ธ์ และโปรโมชั่นให้คนรับรู้ “ตอนนั้ น คิ ด ว่ า จะลองท� ำ โฆษณา ผ่ า นมื อ ถื อ โพสต์ เ ฟซฯ เช็ ค เรตติ้ ง เล่ น ๆ แต่มันเกินคาดค่ะ ทั้งเพื่อนและคนไม่รู้จัก เข้ามาในกล่องข้อความแบบตั้งตัวไม่ทัน เพียงข้ามคืนเดียว ออเดอร์จากคนละ ๒-๓ กล่อง เป็น ๕ เป็น ๑๐ เป็นลัง...YES!!!” อุทานแบบคลิ๊ก ที่ท�ำมาถูกต้องแล้ว “ลูกค้าบอกต่อค่ะ โพสต์เฟซฯ กัน สนุกสนานกับขนมเปี๊ยะนุ่มลิ้น เสียงมือถือ

ดั ง ขึ้ น ไม่ เ ว้ น วรรค ทั้ ง วั น จนต้ อ งมานั่ ง ล�ำดับจัดการออเดอร์และมองที่ๆ เหมาะ กับขนม เพื่อลูกค้าจะไปซื้อทานสะดวก เราก็จะเหนื่อยน้อยลงไม่ต้องขับรถส่งทั้ง วัน” อย่างที่บอกว่า home made ของ แท้คือท�ำเอง ควบคุมคุณภาพเองและส่ง เอง “...ด้วยความโชคดีที่เราทานอาหาร ร้านมีชื่อที่ไหนก็มักจะท�ำความรู้จักเจ้าของร้าน และ add friend ไว้ เมื่อเขารู้ว่า เราท�ำขนมคุยกันในเฟซฯ เราก็ส่งไปให้ชิม เขาก็สั่งไปขาย” ร้ า นตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยกระจายอยู ่ หลายจั ง หวั ด ทั้ ง ในนครฯ และจั ง หวั ด ใกล้เคียง เช่น แต่เตี้ยมตังเกี๋ย เมืองทอง นครฯ, Amazon ปตท.สามแยกนาพรุ นครฯ, Amazon ปตท. อ้อมค่าย นครฯ, ร้ า นเพลิ น จิ ต สามแยกโฮมโปร นครฯ, ครัวคุณหญิง (ใกล้โรบินสัน นครฯ), ร้าน กาแฟปั๊มเชลล์ ใกล้โฮมโปรนครฯ, Amazon สามแยกวชิรา สงขลา, ร้านอาหาร ปู ด� ำ กระบี่ , ร้ า นโกเบนซ์ ภู เ ก็ ต , ร้ า น เริงจิต (ใกล้หอนาฬิกา) ภูเก็ต และร้าน Take care นครปฐม เป็นต้น “เราก็มองความเป็นไปได้ของกลุ่ม นักท่องเที่ยว ที่มักมองหาของอร่อยคู่เมือง เสมอ ก็ตัดสินใจส่งขายให้ร้านที่เหมาะกับ การออกตัวของขนมอย่างรวดเร็วเป็นหลัก ต่ า งจั ง หวั ด เราส่ ง โดยรถตู ้ ที่ บขส. ค่ะ แพ็คลังฝากรถนัดรับที่คิวรถปลายทาง ร้านอาหารที่สั่งไปขายจังหวัดใกล้เคียงเขา โอนเงินมาก่อนพร้อมค่าส่งเลยค่ะ น่ารัก มาก โดยรวมแล้วเราพอใจกับก้าวแรกของ ขนมชิ้นนี้ค่ะ” ขนมเปี๊ยะวันมอร์ หรือ one more ขอเพิ่มอีกลูก—ได้รับการต้อนรับเพราะ ตั ว สิ น ค้ า มี ‘จุ ด ต่ า ง’ จากตั ว อื่ น ๆ ใน ท้ อ งตลาด กระนั้ น คุ ณ นายบอกว่ า ยั ง ต้ อ งพั ฒ นาเพื่ อ หา ‘จุ ด แข็ ง ’ ให้ เ ติ บ โต ต่อไป “ก็อย่างที่กล่าวมาข้างต้นเราคิด ต่าง มองต่าง เราท�ำขนมแบบงานศิลปะ อย่างใส่ใจ ขนมจึงออกมาเหมือนเราท�ำให้ ครอบครัวเราทานเอง ดังนั้นคนชิมจึงลิ้ม รสได้ตั้งแต่เข้าปากค�ำแรก เพื่อนชาวต่าง ชาติทานแล้วบอกว่า มันคืออะไร เปี๊ยะจีน ก็ไม่ใช่ เต้าซ้อก็ไม่เชิง แต่ก็... One more please. เราจึงคิดว่าค�ำนี้แหละมันใช่เลย ชิ้นเดียวไม่พอ...ขออีกจริงๆ” วั น มอร์ one more ถามหาขนม เปี๊ยะ...ถามชื่อนี้ คุณนายณุช - จิรายุณัฐ สุวรรณรัตน์ อัจฉริยะขจร ย�้ำฝากมา


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

วั

นนี้ สิ่ ง ที่ พ ่ อ ค้ า นั ก ธุ ร กิ จ ต่ า งจั ง หวั ด คุ ย กั น ก็ ห นี ไ ม่ พ ้ น เรื่ อ งของธุ ร กิ จ ที่ มี แนวโน้มไม่สดใสเหมือนกับที่ผ่านมา ก็ได้ แต่ ห วั ง ว่ า จะดี ขึ้ น ผมเดิ น ทางไปหลาย จั ง หวั ด ที่ ห าดใหญ่ ก็ บ อกว่ า ปี นี้ เ ริ่ ม ต้ น ก็ ยั ง ไม่ ค ่ อ ยดี มากระบี่ แ ละภู เ ก็ ต เมื อ ง ท่องเที่ยว ซึ่งอยู่ในช่วงหน้าท่องเที่ยว ซึ่ง น่าจะดีแต่ก็ไม่ดีดังคาด กลุ่มนักท่องเที่ยว ชาวจี น เข้ า มามาก แต่ ที่ ข าดหายไปคื อ กลุ่มชาวรัสเซียและยุโรป ท�ำให้รายได้ไม่ ค่อยดีเท่าที่ควร มาดูชุมพร สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช ในวงการค้าปลีกก็ ยั ง อยู ่ ใ นแนวลบมากกว่ า แนวบวกจากปี ที่แล้ว พูดภาษาชาวบ้านคือขายได้น้อย ลง ยอดซื้อต่อคนก็ลดลง ส่วนร้านอาหาร ที่ เ ปิ ด กั น มากมาย แข่ ง กั น เปิ ด และแข่ ง กันปิด สิ่งที่ผมพบเห็นและคิดว่าประเด็น ส�ำคัญมาจากผู้ประกอบการทั้งรุ่นเก่าและ ใหม่ในวงการค้าต่างก็ยังขาดทักษะในการ ลงทุ น และการบริ ห ารกิ จ การให้ อ ยู ่ ไ ด้ ภายใต้สถานการณ์ที่แปรเปลี่ยนแบบพลิก ฝ่ามือ แต่ผมก็อดสงสัยไม่ได้ก็คือยังคงมี การเปิดโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่องไม่ว่าจะเป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ เช่น เซ็นทรัล เปิดโครงการขนาดใหญ่ทั้ง ภูเก็ต-นครศรีธรรมราช ในปี ๕๙-๖๐ และ มี ก ารเปิ ด ตั ว ร้ า นค้ า สิ น ค้ า เฟอร์ นิ เ จอร์ วัสดุก่อสร้าง- ปตท.Park โครงการบ้าน จัดสรรและอาคารพาณิชย์ และธุรกิจร้าน สะดวกซื้อก็เปิดกันจนแทบจะเดินถึงกัน แล้ว ร้านอาหารชื่อดังก็ขยายลงตามหัว เมืองในต่างจังหวัดมากขึ้น โรงแรมขนาด เล็ก-กลาง-ใหญ่และอพาร์ทเมนท์-หอพัก

ห้ อ งเช่ า ฯ แม้ แ ต่ ค อนโดมิ เ นี ย มก็ เ ปิ ด หลายโครงการ เป็นไปตามการคาดการณ์ หั ว เมื อ งใหญ่ ใ นภู มิ ภ าคจะเติ บ โตอย่ า ง ต่อเนื่อง แต่ในอีกด้านหนึ่งของเหรียญ ก็ มี ภ าพที่ ห ลายธุ ร กิ จ แห่ กั น เปิ ด แบบ มาเร็ว และไปเร็วจนแทบไม่น่าเชื่อ ยก ตั ว อย่ า งการเปิ ด สร้ า งโครงการ Community Mall ที่ เ ป็ น กระแสอยู ่ ใครมี ที่ดินก็เปิดพื้นที่ลงทุน เพื่อหวังจะดึงร้าน เช่ า เข้ า มาเปิ ด บริ ก าร แต่ ก็ ไ ม่ ส ามารถ ยื น ระยะได้ น าน บางพื้ น ที่ ก็ ยั ง สร้ า งไม่ เสร็จไปต่อไม่ได้ ในต่างจังหวัดก็จะมีรูป แบบสร้างศูนย์การค้าที่มีอาคารพาณิชย์ ที่ อ อกแบบไว้ ส วยงามจ� ำ นวนมาก ด้ ว ย ความคิดจะมีผู้ประกอบการหน้าใหม่ หน้า เก่า มาเปิดกิจการธุรกิจต่างๆ ตามความ ถนัดของแต่ละคนโดยไม่มีการออกแบบ สร้างจุดเด่นว่าแต่ละโครงการจะให้ความ ส�ำคัญกับกลุ่มธุรกิจอะไรที่โดดเด่น เราจึง พบเห็นมีผู้ซื้ออาคารพาณิชย์เพื่อหวังเป็น สินทรัพย์แล้วขายต่อหรือหาผู้เช่ามาเปิด

เดือนเมษายน ๒๕๕๘ วันศุกร์ที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นวันพระขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๕ วันเสาร์ที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นวันพระแรม 8 ค�่ำ เดือน ๕ วันศุกร์ที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นวันพระแรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๕ วันเสาร์ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นวันพระขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๖

ธุ ร กิ จ เก็ บ รายได้ เ ช่ า มาเป็ น รายรั บ ผ่ อ น ธนาคาร แนวคิ ด แบบนี้ ยั ง มี อ ยู ่ ม ากจน ท�ำให้เราเห็นภาพขายหรือให้เช่าติดเต็ม ไปหมด กับโครงการต่างๆ ทั้งใหม่และเก่า จริงอยู่หลายโครงการอาจขายได้มากกว่า ๘๐-๙๐% หรือหมดแล้วแต่สิ่งที่ตามมาก็ คือผู้ซื้อที่หวังเก็งก�ำไร และหาผู้เช่าช่วงต่อ ถ้าท�ำไม่ได้ก็จะกลายเป็นภาระในอนาคต สิ่งที่น่าเป็นห่วงก็คือ การขยายตัวของการ ก่อสร้างศูนย์การค้าขนาดใหญ่-หมู่บ้าน จัดสรร- อาคารพาณิชย์-โรงแรม-ห้องพัก ฯลฯ จ�ำนวนมากมายเท่ากับเป็นการเพิ่ม ขึ้นของประชากรเมืองที่นับวันจะเพิ่มมาก ขึ้น ปัญหาที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก�ำลังปวดหัวก็คือ ปัญหามลพิษ- ปัญหา ขยะล้นเมือง -รถติด –น�้ำประปา-ไฟฟ้าไม่ พอให้บริการ รวมถึงโรงพยาบาลของรัฐเอกชน การเพิ่มขึ้นของอุบัติเหตุ-อุบัติภัย ไม่ ร วมถึ ง แหล่ ง เสื่ อ มโทรมปั ญ หาคนจน เมือง ยาเสพติด-การพนัน และอื่นๆ อีก ที่มาคู่กับความเจริญของเมือง

หน้า ๗

บนความจริ ง สองด้ า นนี้ จึ ง ต้ อ ง กลั บ มานั่ ง ทบทวนกั น อย่ า งจริ ง จั ง เสี ย ใหม่ แผนการพัฒนาของเมืองต่างๆ ใน ภูมิภาคนั้นได้มีการวางผังเมืองไว้อย่าง ไร? จะให้เมืองเติบโตในทิศทางใด ถนน แต่ ล ะสาย แม่ น�้ ำ ล� ำ คลอง แนวเสา ไฟฟ้า แนวทางการแบ่งพื้นที่สาธารณะ กั บ พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยประกอบธุ ร กิ จ จะออกแบบอย่างไร? วันนี้บ้านเราก็คือใครคิด ท�ำก็ท�ำได้ ต่างคนต่างท�ำ ต่างคนต่างไป เอกชนก็ ไ ปทาง-รั ฐ ก็ ไ ปทาง ท้ อ งถิ่ น ส่วนกลางก็ไม่สอดคล้องกัน สิ่ ง ที่ ผ มอยากเห็ น คื อ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคพลเมือง ในเขตเทศ บาลนครฯและ เทศบาลเมื อ งฯได้ ม านั่ ง พูดคุยแลกเปลี่ยนด้วยประเด็นที่ส�ำคัญก็ คื อ “เราจะให้ เ มื อ งเติ บ โตแบบไหน?” ส� ำ คั ญ เวลานี้ ก็ คื อ จะมี ใ ครที่ จ ะลุ ก ขึ้ น มาสร้างกระแสในนามภาคี สามฝ่าย คือ ภาคเอกชน-รัฐท้องถิ่น-พลเมือง ร่วมกับ น�ำเสนอรูปแบบและโมเดลต่างๆ ที่อยาก ให้ เ มื อ งที่ ต นอยู ่ อ าศั ย เติ บ โตในทิ ศ ทาง ใดบ้าง ด้วยวิธีการง่ายๆ ก็คือ รวมกลุ่มกัน แสดงออกเชิงความเห็น ลงขันกันหาผู้มี ความรู้ด้านสถาปนิกและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง ผังเมืองมาร่วมกันคิดแล้วน�ำเสนอในนาม กลุ่มภาคพลเมืองในแต่ละเมืองสู่สายตา คนทั่ ว ไป ผ่ า นสื่ อ ออนไลน์ เ วที สั ม มนา สื่ อ ต่ า งๆ เพื่ อ จุ ด ประเด็ น ร่ ว มในการหา ผู้ที่มีความคิดที่จะสร้างเมืองให้น่าอยู่ใน อนาคต ผมก็ ไ ด้ แ ต่ ฝ ั น ว่ า จะมี เ ทศบาล เมืองฯที่ลุกขึ้นมาเป็นต้นแบบ เพราะวันนี้ การขยายชุมชนเมืองได้เริ่มไปสู่เทศบาล เมื อ งมากขึ้ น และหลายพื้ น ที่ ยั ง ใหม่ อ ยู ่ ถ้าคิดท�ำตอนนี้ก็จะไม่สายเกินแก้นะครับ ไพโรจน์ เพชรคง ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๘


หน้า ๘

เรือ่ งจากปก

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

<< ต่อจากหน้า ๑

พลต� ำ รวจตรี เกี ย รติ พ งศ์ ขาวส� ำ อางค์ ผู ้ บั ง คั บ การ ต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช และผศ.เชาวน์วัศ เสนพงศ์ นายกเทศมนตรี เป็นประธานร่วมเปิดโครงการ ‘นครปลอดภัย ทุกวัน ทุกวัย สวมหมวกนิรภัย ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์’ ทั้งผู้ขับขี่และผู้โดยสาร หรือผู้ซ้อนท้ายรถ จักรยานยนต์ เพื่อรณรงค์ให้ผู้ใช้รถจักรยานยนต์สวม หมวกนิรภัยทุกครั้งที่มีการขับขี่ และซ้อนท้าย ปัจจัยหรือ เหตุที่ต้องเร่งรณรงค์อ้างเอาสถิติการเกิดอุบัติเหตุทาง ถนนมาแสดง พบว่าจังหวัดนครศรีธรรมราชมีอุบัติเหตุ จากการขั บ ขี่ ร ถจั ก รยานยนต์ และความสู ญ เสี ย ที่ เ กิ ด จากการไม่สวมหมวกนิรภัยเป็นอันดับ ๑ ของภาคใต้ และอันอันดับ ๕ ของประเทศ ในชั้นต้นกองบังคับการ ต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับภาคีความ

ร่วมมือในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งได้รับความ ร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ และชมรมรถบิ๊คไบค์ จังหวัด นครศรีธรรมราช น�ำสมาชิกร่วมขับรถสวมหมวกนิรภัย เป็นตัวอย่างแห่ไปตามถนนสายต่างๆ ในตัวเมืองนคร เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่ประชาชนให้เห็นความส�ำคัญ ของการสวมหมวกนิรภัยเพื่อลดอุบัติเหตุและความสูญ เสีย การประชาสัมพันธ์จะจัดอย่างต่อเนื่องไปจนถึงเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๘ จากนั้นจะบังคับใช้กฎหมายจราจร อย่า งจริ งจั ง และมี การลงโทษทางกฎหมายที่เ ข้ม งวด มากยิ่งขึ้น จนกว่าจะมีการสวมหมวกนิรภัยครบ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมครั้งนี้มีการลงนามบันทึกความร่วม

มือระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กับผู้ บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช หัวหน้า ส่วนราชการ ผู้แทนหน่วยงาน และภาคส่วนต่างๆ กว่า ๑๐๐ องค์กร ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชกล่าว กับหัวหน้าส่วนราชการ และตัวแทนภาคส่วนที่เข้าร่วม กิจกรรมว่า ต้องช่วยกันรณรงค์และท�ำความเข้าใจกับผู้ใต้ บังคับบัญชาทุกคนเพื่อให้มีความเข้าใจที่ตรงกัน เพราะ หากผู้ใต้บังคับบัญชากระท�ำผิดกฎหมายจราจร หัวหน้า ส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาจะต้องร่วมรับผิดชอบ และมีการลงโทษอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งให้รายงาน ผลการลงโทษมายังจังหวัดเพื่อให้ได้รับทราบด้วย


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๙

บ้ า นปลายทราย ต.แหลมตะลุ ม พุ ก อ.ปากพนั ง โดยได้ เ ตรี ย มต้ น กล้ า จาก ๒๕๐ ต้น ไปปลูกในป่าชายเลนบริเวณที่ เสื่อมโทรม นายเทวกฤต เข็ ม ขาว สหกรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเผยว่า เนื่อง ด้วยปีนี้เป็นปีแห่งการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี ทรงเจริ ญ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ทางสหกรณ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และองค์กรภาคีจึงร่วมจัดกิจกรรมการ ปลู ก ป่ า เฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ เนื่ อ งในวั น วั น ที่ ๒๖ กุ ม ภาพั น ธ์ เ ป็ น วั น สหกรณ์ แ ห่ ง ชาติ ส� ำ นั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช น� ำ โดยนาย เทวกฤต เข็ ม ขาว สหกรณ์ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช, สหกรณ์การเกษตร ศุ ภ นิ มิ ติ ป ากพนั ง จ� ำ กั ด , สหกรณ์ เครื อ ข่ า ยศุ ภ นิ มิ ต ภาคใต้ , ขบวนการ สหกรณ์, กลุ่มเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช และเขตห้ า มล่ า สั ต ว์ ป ่ า แหลมตะลุ ม พุ ก ร่ ว มกั น จั ด กิ จ กรรม ปลู ก ป่ า เฉลิ ม พระเกี ย รติ เมื่ อ วั น ที่ ๒๐ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๘ ณ หมู ่ ที่ ๑

คล้ า ยวั น พระราชสมภพครบรอบ ๖๐ พรรษา เพื่อเป็นการส�ำนึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่สมเด็จพระเทพฯ ทรงมีต่อ สหกรณ์ฯ เพื่อกระตุ้นให้คณะกรรมการ สมาชิกสหกรณ์ นักเรียน ประชาชนใน พื้ น ที่ แ หลมตะลุ ม พุ ก และผู ้ เ ข้ า ร่ ว มได้ เรียนรู้ระบบนิเวศและเห็นความส�ำคัญ ของป่ า ชายเลน และเพิ่ ม พื้ น ที่ ป ่ า ชาย เลนให้ ม ากขึ้ น ทั้ ง เน้ น การสร้ า งความ รั ก ความสามั ค คี สื บ สานอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้อมต่อไปอย่างยั่งยืน

รายงาน ยุทธศาสตร์เชื่อมโยงการพัฒนาโครงข่าย ด้านโครงสร้างพื้นฐานระบบการขนส่ง คมนาคมและพลั ง งาน ตามโครงการ พั ฒ นาศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า ทุ ่ ง สง และ การพั ฒ นาท่ า เรื อ จั ง หวั ด ภายใต้ แ ผน งานการพั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จ ๓ ฝ่ า ย อิ น โดนี เ ซี ย มาเลเซี ย และไทย (IMTGT : Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle) ตามค� ำ สั่ ง ของ กระทรวงมหาดไทย ณ โรงแรมแกรนด์ เซาเทิร์น อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ การขับเคลื่อนและเชื่อมโยงการพัฒนา ตามแนวระเบียบเศรษฐกิจ ภาคใต้ ภาย ใต้แผน IMT-GT จากการประชุมระดับ รั ฐ มนตรี ครั้ ง ที่ ๒๐ เมื่ อ วั น ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๗ ณ เมืองบันดาอาเจะห์ ประเทศอินโดนีเซีย โดยหัวหน้าผู้แทน ๓ ฝ่าย ซึ่งไทยมีนายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการประทรวงคมนาคม และเลขาธิ ก ารคณะกรรมการพั ฒ นา

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นหัวหน้า คณะ ฝ่ายไทยได้เสนอให้เร่งรัดโครงการ ที่เสริมสร้างความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาค ในทุ ก รู ป แบบการขนส่ ง รวมทั้ ง พั ฒ นา โครงข่ า ยโลจิ ส ติ ก ส์ ใ นอนุ ภู มิ ภ าคตาม แนวระเบียบเศรษฐกิจ และปรับปรุงด้าน การประสานกฎระเบี ย บด้ า นการขนส่ ง ข้ามแดนในทุกรูปแบบให้เป็นมาตรฐาน

เดียวกัน และต้องไม่ให้เกิดความเหลื่อมล�้ำ ในอนุภูมิภาค นายสมเกียรติ จันหนู กล่าวว่า การ สั ม มนาครั้ ง นี้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มจะเดิ น ทางไปยั ง ท่าเรือกันตังและท่าเรือนาเกลือในจังหวัด ตรั ง และลงพื้ น ที่ บ ริ เ วณศู น ย์ ก ระจาย สินค้าทุ่งสง เพื่อรับรู้ข้อมูลน�ำมาใช้แสดง ความคิดเห็นในที่ประชุมสัมมนา เรื่องการ ขนส่งสินค้าและผู้โดยสารระหว่างภาคใต้ ของไทย ทางธนาคารพัฒนาแห่งเอเชียได้ ศึกษาทางวิชาการพบว่าความเหมาะสม ด้านการขนส่งที่สุดคือการใช้เรือเฟอร์รี่ (RoRo Ferry Service) ระหว่างเส้นทาง เบลาวัน-ปีนัง-ตรัง “การประชุ ม คราวนี้ เ พื่ อ แก้ ป ั ญ หา เพราะตรังมีท่าเรืออยู่ ๒ ท่า คือท่าเรือ กันตังกับท่าเรือนาเกลือ ของเราอยู่ทุ่งสง ถ้าภาครัฐที่ไปร่วมเห็นว่าอะไรมันขาด ทั้ง ท้องถิ่นทั้งส่วนกลาง ทั้งสองจังหวัดมาคิด ร่วมกันเพิื่อให้การขนส่งระดับรางเดินไป ได้ในอนาคต ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย

(ADB) ได้ศึกษาให้แล้วเรื่องการขนส่ง โดยเรือเฟอร์รี่ ก็ท�ำให้การรับส่งสินค้า หรื อ ผู ้ โ ดยสารสามารถตรงไปอิ น โดฯ ไปสุมาตราตอนใต้ได้โดยไม่ต้องผ่านปีนัง ท�ำให้ลดต้นต้นลดการใช้พลังงาน ซึ่งเป็น อี ก ช่ อ งทางหนึ่ ง ซึ่ ง ตอนนี้ มั น แออั ด ที่ ปาดังเบซาร์ การประชุมวันที่ ๓๑ จะไป ดูท่าเรือที่ตรัง ดูว่าปัญหาคืออะไร แล้ว มาประชุม บ่ายก็มาที่ทุ่งสงดูพื้นที่จริง วันที่ ๑ เมษายน ผู้ว่าฯเปิดและสัมมนา กันเป็นประเด็นๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน ระบบ CIQ เพื่อหาให้พบว่าจะต้องท�ำ อะไรต่อตามมติ ครม. อย่างที่ทุ่งสง ครม. สั ญ จรที่ เ กาะสมุ ย เห็ น ชอบในหลั ก การ ให้ด�ำเนินการว่าจะท�ำอย่างไร เราจะให้ เทศบาลด�ำเนินการ ติดเรื่องอะไรก็จะ จัดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ” นาย สมเกียรติกล่าว ผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาประกอบ ด้วยผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องทั้ง ภาครัฐและเอกชนประมาณ ๕๐ คน


หน้า ๑๐

นครศรีธรรมราช

ต รั ก ก ม

า ธิ

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ข้

อมูลของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติระบุ จ�ำนวนผู้เดินทางมาเยี่ยมเยือนเมือง นคร แตะหลักล้านคนมานานหลายปีแล้ว ครับ สถิติปี ๒๕๕๔ มีจ�ำนวนผู้เยี่ยมเยือน ถึง ๒,๓๗๗,๗๘๗ คน สร้างรายได้ให้กับ เมืองนคร ๘,๓๖๘ ล้านบาท นับว่าเป็น สถิติที่น่าสนใจกับรายได้ก้อนนี้เมื่อเปรียบ เที ย บกั บ สิ บ ปี ที่ ผ ่ า นมา รายได้ ดั ง กล่ า ว มาจากการจับจ่ายของผู้เยี่ยมเยือน เฉลี่ย ๑,๕๙๖ บาท ต่ อ คน ต่ อ วั น ซึ่ ง มี อั ต รา เฉลี่ ย ของการพ� ำ นั ก อยู ่ ใ นเมื อ งนครอยู ่ ที่ ๒.๖๗ วัน รายได้เหล่านี้กระจายไปสู่ผู้ประกอบ การท่ อ งเที่ ย วโดยตรงอั น ได้ แ ก่ โรงแรม ที่ พั ก ร้ า นอาหาร บริ ษั ท น� ำ เที่ ย ว-ขนส่ ง ร้านขายของที่ระลึก ฯลฯ และผู้ประกอบ การอื่นๆ โดยอ้อม ได้แก่ศูนย์การค้า ปั้ม น�้ำมัน ตลาดสด ฯลฯ มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น

มีเม็ดเงินหมุนเวียนอยู่หลายรอบก่อนที่จะ หมุนออกไปนอกจังหวัด ผมคิดว่าจ�ำนวนผู้เยี่ยมเยือนที่เข้ามา ในเมืองนครอยู่ในเกณฑ์สูงมากพอสมควร เมื่อเปรียบเทียบกับศักยภาพทางด้านการ ท่องเที่ยวของเมืองนครในปัจจุบัน ในมุม มองของผมคิ ด ว่ า เราควรจะลดบทบาท และความส�ำคัญของการคิดเพิ่มจ�ำนวน ผู ้ เ ยี่ ย มเยื อ น หั น มาให้ ค วามสนใจกั บ

การบริ ห ารจั ด การ การบริ ก าร และ คุ ณ ภาพของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ฯลฯ ให้ มากกกว่านี้ เพื่อจะเพิ่มอัตราการจับจ่าย และอัตราการพ�ำนัก ท�ำให้รายได้จากการ ท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยไม่ต้องเพิ่มจ�ำนวน ผู ้ เ ยี่ ย มเยื อ น ซึ่ ง ถ้ า จ� ำ นวนผู ้ เ ยี่ ย มเยื อ น มากเกิ น ไปอาจจะไปส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มด้ า นอื่ น ๆ เช่ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ค่ า ครองชี พ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง ความแออั ด

ของระบบการคมนาคมขนส่ ง ไปจนถึ ง สนามบินเป็นต้น จะเห็ น ว่ า จ� ำ นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เข้ า มาเยี่ ย มเยื อ นเมื อ งนครกั บ จั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี และจังหวัดกระบี่ แตกต่าง กันไม่มากนัก แต่รายได้จากการท่องเที่ยว แตกต่ า งกั น ค่ อ นข้ า งสู ง เกื อ บ ๓-๔ เท่ า ตัว เนื่องจากอัตราการจับจ่ายของผู้เยี่ยม เยือนที่สูงกว่า และอัตราการพ�ำนักเฉลี่ย ยาวนานกว่า โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวเป็น ชาวต่างชาติเกือบ ๕๐% ท�ำให้รายได้จาก การท่ อ งเที่ ย วของเมื อ งดั ง กล่ า วสู ง กว่ า เมืองเราอย่างเห็นได้ชัด ถึงแม้ผู้เยี่ยมเยือนเมืองนครจะเป็น ชาวไทยเกื อ บ ๑๐๐% แต่ ถ ้ า ทุ ก ฝ่ า ยที่ เกี่ยวข้องได้มีโอกาสนั่งพูดคุยปรึกษาหารือ ค้นหาทางออกแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยใช้ หลั ก การ ความรู ้ ความสามั ค คี และใช้ ความจริ ง ใจเข้ า หากั น แทนที่ จ ะเดิ น ไป ข้างหน้าแบบตัวใครตัวมันและไร้ทิศทาง บางที เ ราอาจจะเจอทางรอดในยุ ค แห่ ง ความผันผวนนี้ไปได้ โดยใช้อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวมาเป็นเครื่องมือ ในการรักษา “มรดกเมืองนคร” อันล�้ ำค่าที่บรรพชน ได้สานสร้างไว้และสืบทอดมาจนถึงคน รุ่นเรา

กลุ่มแพทย์ฉุกเฉินสาธารณสุขนครฯ คว้า ๑๓ รางวัลจากการประชุมวิชาการการ แพทย์ ฉุ ก เฉิ น ระดั บ ชาติ ป ระจ� ำ ปี ๒๕๕๘ ครั้งที่ ๙ สืบเนื่องมาจากสถาบันการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติ (สพฉ.) จั ด ประชุ ม วิ ช า การระดั บ ชาติ ป ระจ� ำ ปี ๒๕๕๘ ครั้ ง ที่ ๙ เชื่อมห่วงโซ่คุณภาพการแพทย์ฉุกเฉินไทย (National EMS Forum & Expo 2015 : Coalition for Thai EMS Quality) และมอบ

เข็มเชิดชูเกียรติประเภทสรรเสริญ ชั้น ๕ แก่ หน่ ว ยงานและบุ ค คลที่ มี จิ ต อาสาเสี ย สละ อุ ทิ ศ ตน และมี คุ ณู ป การต่ อ งานด้ า นการ แพทย์ฉุกเฉิน ณ ห้องประชุมศูนย์ประชุม ไบเทคบางนา โดย สพฉ. คั ด เลื อ กบุ ค คล และหน่วยงานผลงานดีเด่นเข้ารับเข็มเชิดชู เกียรติ เกียรติบัตรและใบประกาศเกียรติคุณ โดยมี นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ รมช.การกระ ทรวงสาธารณสุข เป็นประธาน กลุ่มงานการแพทย์ฉุกเฉิน ส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดนครฯ ได้เข้ารับรางวัลผล งานดีเด่น ๑๓ คน ได้แก่ ๑.นพ.วินัย ตันติพร รักษาการ นพ.เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม ป้ อ งกั น / ส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด ) ๒.นพ.ธีรพันธ์ ดิสเสถียรแพทย์ (รพ.ทุ่งสง) ๓.นายสุทธิพงค์ วงคล่อง พยาบาลวิชาชีพ (รพ.จุ ฬ าภรณ์ ) ๔.นางจิ ร ภั ท ร อิ น ทรสาร พยาบาลวิ ช าชี พ (ศู น ย์ อ นามั ย เขต ๑๑) ๕. นายเทพพิทักษ์ คงสังข์ เวชกรฉุกเฉินระดับ กลาง (EMT-I รพ.ชะอวด) ๖. น.ส.ประกาย-

เพชร ช�ำนาญกิจ เวชกรฉุกเฉินระดับกลาง (EMT-I รพ.ทุ่งสง) ๗.น.ส.อรุณี ใจเย็น เวชกรฉุกเฉินระดับกลาง (EMT-I รพ.ปากพนัง) ๘.นายอั น นั ศ ร์ สวั ส ดิ ภ าพ เวชกรฉุ ก เฉิ น ระดับต้น (EMT-B/มูลนิธิใต้เต็กเซี่ยงตึ้ง) นาย สิทธิพล ดีหลีเวชกรฉุกเฉินระดับต้น (EMT-B / มูลนิธิประชาร่วมใจ) ๑๐.นายเจียม ทองชู ผู้ปฎิบัติการฉุกเฉินเบื่องต้น ( FR/อบต.นาหมอบุญ) ๑๑.นายศกลวัฒน์ ยศกรธีรโชติกุล ผู้ปฏิบัติการสนับสนุนระบบ EMS (งานการ แพทย์ฉุกเฉิน สาธารณสุขจังหวัด) ๑๒. นาย อาคม ภู มิ เ วทย์ พ งค์ ผู ้ ป ฎิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น เบื้ อ งต้ น ( FR/ เทศบาลเมื อ งทุ ่ ง สง) และ ดร.สมพร ทองสมัคร์ จากโรงเรียนท่าศาลา ประสิ ท ธิ์ ศึ ก ษา อ.ท่ า ศาลา ได้ รั บ รางวั ล ชมเชย ‘นวัตกรรมหุ่น CPR สมพร’ หุ่นฝึก ช่วยฟื้นคืนชีพโดยการปั้มหัวใจ ซึ่งผลิตจาก วัสดุเหลือใช้ (ขอบคุณ ข่าว/ภาพ : ไพฑูรย์ อินทศิลา /กัญญาณัฐ เพ็ญสวัสดิ์)


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

ายในวั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร (วั ด พระธาตุ ) โดยเฉพาะในบริ เ วณ วิ ห ารคด (หรื อ วิ ห ารพระด้ า น) นอกจาก จะมีพระบรมธาตุเจดีย์องค์ใหญ่ ซึ่งเป็นที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุพระสัมมา สั ม พุ ท ธเจ้ า ตั้ ง ตระหง่ า นอยู ่ โ ดดเด่ น แล้ ว ยังมีเจดีย์รายหรือเจดีย์บริวารอยู่รอบองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ถึง ๑๕๘ องค์ และหนึ่ง ในจ�ำนวนนี้มีเจดีย์อยู่องค์หนึ่งซึ่งเรียกกันว่า “เจดีย์พระปัญญา” หรือ “พระปัญญา” รวมอยู่ด้วย “เจดีย์พระปัญญา” เป็นเจดีย์ขนาด ย่อม เป็นทรงเรือนยอด ลักษณะคล้ายเจดีย์ ศิ ล ปะศรี วิ ชั ย ตั้ ง อยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก เฉียงเหนือของพระบรมธาตุเจดีย์ ฐานด้าน ทิศตะวันออกเจาะเป็นช่องประตูเล็ก ขนาด พอให้คนเดินเรียงหนึ่งเข้าออกได้ ภายใน องค์เจดีย์ท�ำเป็นคูหา ส�ำหรับประดิษฐาน พระพุทธรูปปูนปั้นองค์หนึ่ง ปางมารวิชัยขัด สมาธิราบ ขนาดหนักตัก ๕๙ นิ้ว ลงรักปิด ทองทั้งองค์ คนทั่วไปมักเรียกกันว่า “พระ ปัญญา” หรือ “พระออกเสื้อ” ชาวนครแต่ โ บราณมี ค วามเชื่ อ ต่ อ ๆ กันมาว่า พระปัญญาองค์นี้มีความศักดิ์สิทธิ์ ในด้านเสริมปัญญา ผู้ใดใคร่จะมีปัญญาให้ มาบนบานขอพร โดยเอามือไปแตะที่พระ

หน้า ๑๑

มา ผิดจากค�ำบอกนี้แล้วจะได้รับอันตราย เรื่ อ งนี้ พ ระครู สิ ริ ธ รรมาภิ รั ต แห่ ง วั ด พระ มหาธาตุวรมหาวิหาร และผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราชได้เล่าว่า เมื่อ ๘๐ ปีที่ ผ่านมา มีนักเลงมือดีคิดแก้ปริศนาได้ โดย กลั บ ปริ ศ นาเสี ย ใหม่ ว ่ า “ถอยหลั ง เข้ า ไป เหล็ ก ไม่ แ ทงตา หั น หน้ า ออกมา น�้ ำ ตา พระร่วง” หรือสากทองค�ำ ต�ำแล้วพาไป” ปริศนาลายแทงเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า ชาวบ้านมี ความเชื่อว่าภายในซุ้มพระปัญญาบนเพดาน มีไหเป็นที่เก็บทรัพย์สมบัติ ที่คนโบราณซ่อน ไว้ เ หนื อ ซุ ้ ม ประตู ถ้ า ถอยหลั ง เข้ า ไปแล้ ว เดินหันหน้าออก แหงนดูเพดานก็จะเห็นไห ซ่อนทรัพย์อยู่ ซึ่งยังมีร่องรอยปรากฏอยู่จน ปัจจุบันนี้ แต่อันที่จริงแล้วอาจเป็นปริศนาที่ ชี้ให้เห็นว่า “ผู้ใดที่ไม่เชื่อตามผู้อื่น แต่มีวิธี อุระแล้วกลับมาแตะที่อกตน ค้นหาความจริงด้วยตนเอง เอง เป็นท�ำนองว่าได้ปัญญา ผู ้ นั้ น ก็ จ ะได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น ผู ้ จากพระแล้ว ปัจจุบันผู้ที่มา ที่ มี ป ั ญ ญาอย่ า งแท้ จ ริ ง ” บนบานส่ ว นใหญ่ มั ก เป็ น นั่นเอง นักเรียนนักศึกษา เพราะเชื่อ ฟั ง เรื่ อ งนี้ แ ล้ ว ท� ำ ให้ กั น ว่ า บนบานท� ำ ให้ มี ค วาม เราท่ า นมองเห็ น ได้ อี ก มุ ม จ� ำ ในการเรี ย นหนั ง สื อ มาก หนึ่ ง ว่ า วั ด พระมหาธาตุ ขึ้น หรือฉลาดทันคนขึ้น ส่วน วรมหาวิ ห าร นอกจากจะ ผู ้ ห ญิ ง ที่ ตั้ ง ครรภ์ มั ก บนบาน เป็นปูชนียสถานที่มีอายุร่วม กราบไหว้ ข อให้ บุ ต รที่ จ ะ พันปีแล้ว ยังเป็นศูนย์เรียนรู้ คลอดมีสุขภาพ สมบูรณ์ มีสติ ภูมิปัญญา ที่ผู้สนใจสามารถ ปัญญาเฉลียวฉลาด สุขุมรอบคอบ ว่า “ถอยหลังเข้าไป เหล็กในแทงตา หัน เรียนรู้ด้วยตนเองได้ตลอดเวลา ทุกครั้งที่มา อีกเรืองหนึ่งที่มีผู้กล่าวถึงอยู่เสมอก็คือ หน้าออกมา กาขี้รดหัว” แปลว่าเวลาเข้าไป นมัสการพระบรมธาตุเจดีย์ “ปริศนาลายแทงพระปัญญา” มีข้อความ ให้ หั น หน้ า เข้ า เวลาออกให้ เ ดิ น ถอยออก

มื่ อ ต้ น เดื อ นมี น าคมนี้ ผมมี โ อกาสได้ ไ ป เที่ยวเกาะ ‘ฮอกไกโด’ เป็นหนึ่งในสี่เกาะ ใหญ่ของญี่ป่น อยู่เหนือสุดใกล้ๆ กับประเทศ รัสเซีย ก�ำลังอยู่ในช่วงปลายฤดูหนาวของ เขาพอดี หิ ม ะก� ำ ลั ง จะลดลง ภู มิ ป ระเทศ ของเกาะฮอกไกโดเต็มไปด้วยภูเขาน้อยใหญ่ แทบหาพื้นที่ราบไม่ได้ มีภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่น อยู่หลายลูก รอวันที่จะระเบิดขึ้นในอนาคต ผมไปพักอยู่ในเมือง ‘ซับโปโร’ เป็น เมืองใหญ่เมืองหนึ่งของเกาะนี้ เป็นเมืองที่ ตั้งขึ้นใหม่เมื่อ ๒๐๐ กว่าปีมานี้เอง พื้นที่เดิม เป็นของชนเผ่า ‘ไอนุ’ เป็นชนเผ่าที่อาศัยมา ก่อนนับพันปี บ้านเรือนที่อยู่อาศัยท�ำด้วย ไม้ มุงด้วยใบหญ้าใบไม้ จึงมีการผุพังไปตาม กาลเวลา ไม่ มี อ าคารก่ อ อิ ฐ ก่ อ หิ น เหมื อ น อย่ า งในแถบยุ โ รป ก็ ค งคล้ า ยๆ กั บ เมื อ ง นครเรา การก่อสร้างบ้านเรือนท�ำด้วยไม้ เป็นส่วนใหญ่ อายุไม่กี่ร้อยปีก็ผุพังสร้างใหม่ ขึ้นมาทดแทนเรื่อยๆ จะมีก็แต่สิ่งก่อสร้าง ของศาสนสถาน ป้อมเมืองก�ำแพงเมืองซึ่ง ก็มีอายุไม่เกิน ๑,๐๐๐ ปี จะมีเหลือก็แต่ เทวรูปต่างๆ ศิลาจารึกที่หลงเหลือให้เราได้ ศึกษาค้นคว้าหาเรื่องราวกันต่อไป ชนเผ่า ไอนุ ยั ง ต้ อ งผจญกั บ แผ่ น ดิ น ไหว ภู เ ขาไฟ

นครศรีธรรมราช

ระเบิดอยู่เป็นระยะๆ คงสร้ า งถาวรวั ต ถุ ขนาดใหญ่ได้ยาก หมู ่ บ ้ า นของ ชนเผ่ า ไอนุ เ หลื อ ให้ เ ห็ น น้ อ ยมาก คงเหลื อ อยู ่ เ ฉพาะทางราชการอนุ รั ก ษ์ เ อา ไว้ ซึ่งถูกท�ำลายมาก่อนหน้านี้จากสิ่งที่เรียก ว่า ‘ความเจริญ’ ปัจจุบันชาวชนเผ่าเหลือ อยู ่ เ พี ย งหมื่ น กว่ า คน ที่ ยั ง รั ก ษาวั ฒ นธรรม ประเพณีบางอย่างเอาไว้บ้าง แต่ทางเมืองซับ โปโรก�ำลังจะขอยื่นจดทะเบียนเป็นมรดกโลก อย่างพระบรมธาตุของเราอยู่ด้วย หมู่บ้านที่ เขาท�ำขึ้นมาหลายปีแล้วเพื่อเป็นแหล่งท่อง เที่ยว ท�ำรายได้ให้เมืองอย่างมหาศาล จัด ให้ มี ก ารแสดงวิ ถี ชี วิ ต ประเพณี บ างอย่ า ง วัฒนธรรมการแต่งกายซึ่งล้วนแต่เป็นจุดขาย ท�ำรายได้ให้กับคนท้องถิ่นที่เป็นชนเผ่าได้ มีสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจคือ เขาก� ำหนดให้ ผู ้ ป ระกอบการเรื่ อ งการท่ อ งเที่ ย วไม่ ว ่ า จะ

สิบของเรา ไม่มีผลิต ในถิ่ น อื่ น น� ำ มาขาย พื ช ผั ก ผลไม้ ป ระจ� ำ ถิ่ น มี ใ นบางฤดู ช ่ ว ง หิ ม ะตกหลายเดื อ น ก็ผลิตไม่ได้ ชาวบ้าน จึงใช้การหมักดองเอา ไว้ ก็เป็นสินค้าให้นัก ท่องเที่ยวซื้อหาได้อีก เครดิตรูป chill.co.th อาหารประเภทเนื้ อ เป็นการแสดง แหล่งท่องเที่ยว สินค้า สัตว์ส่วนมากจะเป็นอาหารทะเล กุ้งมังกร โอท็ อ ป มั ค คุ เ ทศก์ ล้ ว นเป็ น คนท้ อ ง- ปู ข น ปลาแซลม่ อ น แต่ ร สชาติ สู ้ บ ้ า นเรา ถิ่ น ไม่ ใ ห้ มี ป ั ญ หาอย่ า งไก้ ด ์ เ ถื่ อ นของ ไม่ได้ ชาวต่ า งถิ่ น มาสร้ า งปั ญ หาในบ้ า นเราอยู ่ พูดถึงขนมต่างๆ ของคนญี่ปุ่นไม่ว่า ขณะนี้ สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจอี ก อย่ า งของเขาคื อ เมืองไหน รสชาติจะไม่ค่อยถูกปากคนไทย ‘พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น’ น�ำเอาเครื่องมือเครื่อง และไม่หลากหลาย ที่คนมักพูดว่าขนมญี่ปุ่น ใช้ของชนเผ่ามาจัดแสดงอย่างมีชีวิตชีวา ก็ มีแต่แป้งห่อถั่วและถั่วห่อแป้งก็เห็นจะจริง ใกล้ เ คี ย งกั บ ‘พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ มื อ ง’ ของนคร แต่ เ รื่ อ งการตลาดการค้ า ต้ อ งยอมรั บ เขา เรา แต่ของเขามีผู้เข้ามาชมมากกว่า เก็บเงิน เป็นนักค้าขายจริงๆ อย่างขนมที่คนไทยเห่อ ได้เป็นกอบเป็นก�ำจากนักท่องเที่ยวต่างแดน ไปซื้อมาฝากกันคือ ‘เค้กกล้วยหอม’ กล้วย พ่อค้าแม่ขายเขาก็จัดสถานที่ขายให้อยู่ หอมที่ญี่ปุ่นไม่มี ต้องน�ำเข้าจากฟิลิปปินส์ ในต�ำแหน่งทางเข้าทางออกของนักท่องเที่ยว และไทย ท� ำ เป็ น ขนมแพ็ ค กล่ อ งสวย ชื่ อ เป็นระเบียบ ไม่มีคนแหกกฎออกมาแย่งกัน เพราะๆ คนไทยที่ฉลาดก็ไปซื้อกลับมาบ้าน ขาย สินค้าโอท็อปเขาน่าสนใจ เป็นของคน เราอีกครั้งในราคาที่แพงกว่าเดิมสิบเท่า ท้องถิ่นผลิตเองจริงๆ ทั้งงานฝีมือแบบชนเผ่า หากพระบรมธาตุได้เป็นมรดกโลก ให้เป็นของที่ระลึก เป็นงานฝีมือเสียส่วนใหญ่ คนทั้งโลกจะเดินทางมานคร เราจะขาย ขนมของฝากก็มีเฉพาะถิ่นเหมือนขนมเดือน อะไรดีเอ่ย ?


หน้า ๑๒

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.อรรถกร วุฒิมานพ

อายุ ร แพทย์ โ รคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด

ช่

วงนี้ เป็นช่วงหน้าร้อนที่อากาศนั้น แสนจะร้ อ นอบอ้ า ว อุ ณ หภู มิ เ กื อ บ ทะลุ ๔๐ องศาเซลเซียส หลายๆ คนก็มี วิธีคลายร้อนที่แตกต่างกันไป บางคนก็ไป เที่ยวทะเล เล่นน�้ำ หรือหลบอยู่ในบ้าน เพราะไม่อยากไปสู้แดดภายนอก เหล่านี้ ล้วนเป็นการท� ำให้ร่างกายภายนอกเย็น สบายขึ้น แต่ยังมีอีกหนึ่งวิธีที่คุณสามารถ คลายร้อนได้จากภายใน นั่นคือการรู้จัก เลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม ใน หน้าร้อน ร่างกายของเราจะมีการขับเหงื่อ มากกว่าปกติ ท�ำให้ร่างกายอ่อนเพลียหรือ อาจเกิดอาการภาวะขาดน�้ ำและเกลือแร่ เพราะน�้ำในร่างกายจะสูญเสียไปกับเหงื่อ แต่มีสมุนไพรไทยหลายชนิดที่มีฤทธิ์ช่วย ลดคลายร้อน ช่วยลดอุณหภูมิในร่างกาย ได้และในวันนี้ เรามีสมุนไพร คลายร้อน ฝากกัน

มะตูม เป็นพืชสมุนไพรไทยที่คนไทย คุ้นเคยกันดี ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น ผลอ่อน สีเขียว และผลแก่มีสีเหลือง เปลือกจะแข็ง เอกลักษณ์ของพืชชนิดนี้คือกลิ่น ซึ่งเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัว เรียกได้ว่าหอมมากๆ หมอยาไทยจะน� ำ มะตู ม มาใช้ ป ระโยชน์ มากมาย อาทิ ผลอ่อนเล็กๆ ใช้แก้ลมได้, ลู ก มะตู ม อ่ อ น ใช้ บ� ำ รุ ง ธาตุ ขั บ ลมช่ ว ย เจริญอาหาร แก้เสมหะและขับลม, ลูก มะตูมแก่ ใช้แก้เสมหะ บ�ำรุงธาตุไฟ ช่วย ย่อยอาหาร แก้เสลด นอกจากนี้มีการน�ำ

ไปแปรรูปหลากหลาย หลักๆ เป็นในรูป ผลแห้งพร้อมชงได้ทันที เรียกได้ว่าสะดวก ดี เมื่อได้ดื่มต้องประทับใจกับกลิ่นหอม ชุ่มชื่นและรสชาติกลมกล่อม ถือว่าเป็น น�้ำสมุนไพรที่คลาสสิกที่สุด แก้กระหายน�้ำ และยังแก้อาการร้อนในได้ดีอีกด้วย

ใบเตย ส�ำหรับพืชชนิดนี้ สรรพคุณ ของน�้ ำ ใบเตย นอกจากจะท� ำ ให้ ล ด อาการกระหาย คลายร้ อ น ชุ ่ ม คอและ แก้ อ ่ อ นเพลี ย แล้ ว นั้ น สรรพคุ ณ ทางยา โดยย่ อ คื อ เป็ น ยาบ� ำ รุ ง หั ว ใจ ช่ ว ยลด อาการกระหายน�้ ำ แก้ โ รคเบาหวาน (ช่วยลดระดับน�้ำตาลในเลือด) ชุ่มคอ ใบ เตยยั ง อุ ด มไปด้ ว ยสารอาหารที่ มี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการมากมาย ไม่ว่าจะเป็น น�้ำ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน กาก แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก เบต้า-แคโรทีน วิตามิ นบี ไนอะซีน ใช้ในในรูปของใบชาชงกับ น�้ำร้อนหรือใช้ใบสดต้มกับน�้ำจนเดือดเติม น�้ ำ ตาลเล็ ก น้ อ ยก็ ไ ด้ ดื่ ม เป็ น ประจ� ำ ช่ ว ย บ�ำรุงหัวใจ ใบบัวบก เมื่อพูดถึง บัวบก สมุนไพร ชนิดนี้ขึ้นมาทีไร หลายๆ คนคงนึกไปว่า มันแค่ช่วยแก้อาการช�้ำในเฉยๆ แต่นอก เหนือจากนั้นใบบัวบก บ�ำรุงก�ำลัง บ�ำรุง

หัวใจ แก้อ่อนเพลีย เมื่อยล้า ขับปัสสาวะ แก้อาการเริ่มโรคบิด แก้ท้องร่วง รักษา โรคผิวหนัง (ผดผื่นคันที่มากับหน้าร้อน) ลดความเครียด บ�ำรุงสมอง นอกจากนี้ยัง รักษาแผลเปื่อย และแผลไฟไหม้ น�้ำร้อน ลวก ปัจจุบันใบบัวบก ถือว่าเป็นสมุนไพร ยอดนิ ย มของชาวตะวั น ตก ในเรื่ อ งของ ประสิทธิภาพการผ่อนคลาย และช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของความทรงจ�ำได้เป็นอย่าง ดี เนื่องจาก ใบบัวบกจะให้สารไกลโคโซด์ (Glucosides) หลายชนิดที่ให้ผลต้านการ เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (Antioxidotion) ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ก ารลดความเสื่ อ มของเซลล์ และ ยังส่งผลในการช่วยเรื่องการสร้างสาร คลอลาเจน (Collagen) ที่เป็นโครงสร้าง ของผิวอีกด้วย ฝาง พืชชนิดต่อมาคือฝาง ฝางเป็น ไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม มีหนามแข็งๆ ทั่วทั้งล�ำต้นเปลือกนอกสีเทาออกเหลือง มีปมใหญ่ขนาดปลายนิ้วชี้ทั่วทั้งเถา ส่วน ปลายกิ่งจะมีหนามแหลมสีด�ำ ถ้าปมหนาม หลุดจะเป็นรอยแผลเป็น พืชชนิดนี้หายาก หน่อยมักพบได้ทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ป่า เต็งรัง ป่าเขาหินปูนแห้งแล้ง และตามชาย ป่าดงดิบทั่วประเทศไทย สรรพคุณเป็นยา บ�ำรุงโลหิตสตรี ขับเสมหะ แก้อาการท้อง ร่วง ธาตุพิการ (หมายถึงภาวะผิดปรกติ จากภาวะของระบบย่อยอาหาร) และที่ ส�ำคัญคือแก้ร้อนใน ดอกเก๊กฮวย อาจไม่เชิงเป็นสมุนไพร ไทยเท่ า ไหร่ แต่ ถื อ ว่ า หาทานได้ ง ่ า ยถึ ง ง่ายมากในเมืองไทย ซึ่งเก๊กฮวยเป็นพืช

พื้นเมืองของประเทศจีน เป็นพืชล้มลุกอยู่ ในตระกูลเดียวกับเบญจมาศ ส�ำหรับชื่อ แบบไทยๆ บางคนก็เรียกว่า เบญจมาศ สวน หรือเบญจมาศหนู เก๊กฮวยจะมีดอก สีขาว และสีเหลือง ส่วนของดอกเก็กฮวย มีสารพวกฟลาโวนอยด์ (Flavonoid) กร ดอมิโน และสารไครแซนทีมิน (Chrysan - Themin) สารอดีนีน (Adenine) โคลีน (Choline) สตาไคดวีน (Stachy-drine และน�้ำมันหอมระเหยที่ช่วยขยายหลอด เลือด ลดการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว และ โรคความดันโลหิตสูง เก็กฮวยมีฤทธิ์เย็นจึง ช่วยขับพิษร้อน ขับเหงื่อ ขับลมแก้ร้อนใน กระหายน�้ำได้

ตรี ผ ลา อั น นี้ ไ ม่ ใ ช่ พื ช ตั ว เดี ย ว แต่ หมายถึง ผลไม้ 3 ชนิด อันได้แก่ ลูกสมอ ไทย ลูกสมอพิเภก และมะขามป้อม ว่ากัน ว่าเป็นสูตรยาที่มีสรรพคุณช่วยรักษาความ สมดุลธาตุ สรรพคุณคือเป็นยาระบาย ช่วย ล้างพิษออกจากร่างกาย แก้ลมจุกเสียด เป็นยาบ�ำรุงธาตุ แก้กระหายน�้ำ แก้ไอ แก้ เสมหะ แก้เจ็บคอ ท�ำให้ชุ่มคอ นอกจาก นี้ยังแก้เลือดออกตามไรฟัน (เนื่องจากมี วิตามินซีสูง) ช่วยสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเพิ่มคอลลาเจน ท�ำให้ผิวพรรณผ่องใส ตรี ผ ลาประโยชน์ ช ่ ว ยท� ำ ให้ ห ลั บ สบาย หลับลึก และตื่นมาอย่างสดชื่นมีชีวิตชีวา ไม่ง่วงนอน อย่าลืมถ้าจะครบองค์ประกอบของ ตรี ผ ลา ต้ อ งมี ส มุ น ไพรครบทั้ ง สามชนิ ด โดยตั ว ยาทั้ ง สามจะช่ ว ยควบคุ ม พิ ษ ข้ า ง เคียงของกันและกัน เช่น รสเปรี้ยวของลูก สมอพิเภกมีฤทธิ์เป็นยาระบาย จึงต้องใช้ ลูกสมอไทยและลูกมะขามป้อมซึ่งมีรสฝาด และขมที่ ไ ปช่ ว ยแก้ อ าการจุ ก เสี ย ดแน่ น ท้องและลดอาการท้องมวน แบบนี้เป็นต้น ตรี ผ ลาสามารถหาซื้ อ มาใช้ ไ ด้ ง ่ า ยในรู ป ของเครื่องดื่ม แต่ถ้าจะท�ำเองก็ได้โดยใช้ สมอไทย สมอพิเภก มะขามป้อม อย่างละ ๑ ส่วนเท่าๆ กัน แล้วใส่น�้ำพอประมาณ ใช้ รับประทานก่อนอาหารครั้งละ๑ แก้วเช้า และเย็น อย่างไรก็ตาม… “ไม่ว่าสภาพอากาศ จะร้อนระอุเพียงใด ขอเพียงอย่าร้อนไป ตามสภาพอากาศก็พอครับ” ตรีผลา ภาพประกอบ : สุดารัตน์ หอมหวล


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

มื่อหลายสิบปีที่ผมไปท�ำงานออกแบบ ที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ต้ อ งนอนในตั ว เมื อ ง ที่ แ วดล้ อ มด้ ว ยอาคารเก่ า รู ป ทรงแบบ ฝรั่งก็ไม่ใช่ แบบจีนก็ไม่เชิงที่ผสมผสาน กัน แต่มีรายละเอียดที่แตกต่างกันแต่ละ อาคาร แม้ ว ่ า ผมเรี ย นมาทางวิ ช าชี พ สถาปั ต ยกรรมก็ ไ ม่ ไ ด้ รู ้ อ ะไรมากไปกว่ า คนท้องถิ่นที่เรียกต่อๆ กันมาว่า เป็นแบบ “ชิโน-โปรตุกีส” (Sino-Portuguese) ซึ่ง คนภูเก็ตเล่าให้ฟังว่าเศรษฐีชาวจีนที่เคย อยู ่ เ กาะหมาก (เกาะปี นั ง ของประเทศ มาเลเซีย) ได้ขยายธุรกิจมาที่เกาะภูเก็ต ส่วนใหญ่ก็ท�ำเหมืองกับฝรั่งที่นั่นจนตั้งตัว มีฐานะดี ได้ว่าจ้างช่างจีนมาสร้างอาคาร เลียนแบบบ้านเรือนและร้านค้าจากเกาะ หมาก ลักษณะเด่นของอาคารจะตั้งเสา ลอยตั ว มี หั ว เสาตกแต่ ง และบั ว ปู น ปั ้ น แบบกรีกหรือโรมัน ถ้าเป็นร้านค้าก็จะ คลุมทางเดินด้านหน้าทะลุถึงกันตลอดทุก คู ห า แต่ ป ระตู ห น้ า ต่ า งจะมี ล วดลายฉลุ แบบจีนทาสีแดงหรือสีฉูดฉาดตามความ ชอบ นั ย ว่ า รู ป แบบนี้ ฝ รั่ ง ชาติ โ ปรตุ เ กส เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม ในยุ ค โบราณที่ เ ข้ า มาครอบ ครองแหลมมาลายู ซึ่งถ้าไปดูเมืองต่างๆ เช่น เกาะสิงคโปร์ เมืองเก่ามะละกาเรื่อย มาจนถึงเกาะปีนังก็จะมีอาคารลักษณะนี้ คล้ายกันหมด แต่ครั้นไปศึกษาประวัติศาสตร์ ก ารเดิ น ทางของโปรตุ เ กสที่ เ ป็ น ชาวตะวั น ตกชาติ แ รกที่ ไ ด้ เ ดิ น เรื อ มา ค้ า ขายกั บ ดิ น แดนเอเชี ย ตะวั น ออกไกล จะอยู ่ ใ นยุ ค สมั ย อยุ ธ ยาตอนต้ น หรื อ เมื่ อ ๕๐๐ ปี ที่ แ ล้ ว แต่ ยุ ค นั้ น ก็ มี ฝ รั่ ง ชาติ อื่นๆ ที่เดินเรือแผ่อิทธิพลมายังแถบนี้เช่น กันได้แก่ อังกฤษ สเปน ฮอลันดา และ ฝรั่ ง เศส ซึ่ ง ได้ มี อ� ำ นาจเหนื อ โปรตุ เ กส ในยุ ค นั้ น ที่ มี อิ ท ธิ พ ลในภู มิ ภ าคนี้ แ ค่ ร ้ อ ย กว่าปีเท่านั้น ส่วนในเกาะภูเก็ตในยุครัช สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ก็เคยมี เจ้าเมืองเป็นชาวฝรั่งเศสมาก่อน แต่งาน สถาปั ต ยกรรมชิ โ น-โปรตุ กี ส มี ค วามเก่ า แก่ อ ยู ่ ร าวต้ น รั ต นโกสิ น ทร์ จ นถึ ง ปลาย รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว และยังใช้เรียกสถาปัตยกรรม ลั ก ษณะนี้ ที่ มี ทั่ ว ไปในเขตเมื อ งเก่ า ของ กรุงเทพฯ ในยุคนั้น ซึ่งเป็นช่วงที่อังกฤษ ได้ ข ยายอ� ำ นาจมาปกครองแหลมมลายู

แสดงว่ า ในช่ ว งนี้ ไ ม่ ไ ด้ มี อิ ท ธิ พ ลของฝรั่ ง โปรตุเกสหลงเหลืออยู่เลย ดังนั้นชื่อของ สถาปัตยกรรม ”ชิโน-โปรตุกีส” ยังดูไม่ สอดคล้องกับประวัติศาสตร์ แต่ผมมีข้อ สั ง เกตว่ า ลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมแบบนี้ มี ใ นเกื อ บทุ ก จั ง หวั ด ในภาคใต้ รวมทั้ ง นครศรีธรรมราชบ้านเราด้วย จึงไม่ทราบ ว่ามีการเริ่มต้นจากที่ใดก่อน อาจมาจาก ฝั ่ ง อ่ า วไทยแล้ ว ไปยั ง ฝั ่ ง อั น ดามั น ก็ เ ป็ น ได้ เนื่องจากยุคนั้นโปรตุเกสยังมีอิทธิพล เหนื อ เกาะมาเก๊ า ในทะเลจี น ใต้ ซึ่ ง อยู ่ ฝั ่ ง ตะวั น ออกของไทย เรื่ อ งนี้ ต ้ อ งให้ นั ก วิชาการไปศึกษาค้นคว้ากันต่อไป (ผมไม่ ได้อยู่ในแวดวงการศึกษาประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม อาจจะมีการศึกษาแล้ว ก็ได้ครับ) ประเด็ น ของผมไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ที่ เ รื่ อ งยุ ค สมัยหรอก ให้เป็นหน้าที่ของนักประวัติศาสตร์เถอะครับ เมื่อกว่า ๒๕ ปีที่แล้ว ผมเคยคุยกับเพื่อนสถาปนิกที่ท�ำงานอยู่ เทศบาลนครภู เ ก็ ต ได้ มี ค วามกั ง วลใจใน เรื่ อ งที่ เ จ้ า ของอาคารเก่ า บางท่ า นได้ ข อ

อนุ ญ าตรื้ อ อาคารเพื่ อ สร้ า งขึ้ น เป็ น แบบ สมัยใหม่ และบางหลังก็ได้ดัดแปลงหุ้ม ภายนอกให้ดูเป็นแบบสมัยใหม่ (ของยุค นั้ น ) โดยไม่ ไ ด้ มี ข ้ อ ห้ า มเทศบั ญ ญั ติ ใ น การรื้ออาคารเก่าถ้าไม่มีการขึ้นทะเบียน อนุรักษ์จากกรมศิลปากร ช่วงนั้นจ�ำได้ว่า ผมได้มีโอกาสพูดคุยกับผู้ใหญ่หลายท่าน ของภูเก็ตในลักษณะ ที่จะส่งเสริมให้เป็น เมืองท่องเที่ยวแบบเมืองเก่าของยุโรป ที่ สามารถท�ำรายได้ให้ท้องถิ่นโดยอาศัยทุน เดิมที่มีอยู่ นั่นคือ อาคารชิโน-โปรตุกีสที่ มี ลั ก ษณะเด่ น และเก่ า แก่ ดั้ ง เดิ ม อยู ่ ม าก นับเป็นความโชคดีที่ส่วนใหญ่ท่านเหล่า นั้ น เคยศึ ก ษาจากเมื อ งในยุ โ รปที่ เ ข้ า ใจ แนวคิดนี้ ประจวบกับเป็นขาลงของธุรกิจ เหมื อ งแร่ ดี บุ ก และเป็ น ขาขึ้ น ของการ ท่องเที่ยวของภูเก็ตที่ชาวตะวันตกเข้ามา พักผ่อนในหน้าหนาวมากขึ้น ตอนนั้นผม เข้าใจว่ามีกรมสิ่งแวดล้อมของกระทรวง วิทยาศาสตร์ได้เข้ามามีบทบาทให้มีการ อนุรักษ์รูปแบบสถาปัตยกรรมนี้ทั้งเมือง โดยมี แ บบอย่ า งมาจากต่ า งประเทศที่

หน้า ๑๓

สามารถสร้ า งต่ อ เติ ม ด้ า นหลั ง อาคารได้ แต่ให้คงสภาพด้านหน้าอาคารไว้ ส่วน อาคารที่ถูกรื้อลงหากสร้างใหม่ก็คงเป็น การขอร้ อ ง (เนื่ อ งจากไม่ มี เ ทศบั ญ ญั ติ บั ง คั บ รู ป แบบ) ให้ ส ถาปนิ ก ออกแบบ ใหม่มีความกลมกลืนเป็นสถาปัตยกรรม เก่า ยุคนั้นห้องแถวสร้างใหม่ก็จะมีหัวเสา ลอยตัวแบบโรมันและกรีก ต้องหล่อปูน ส�ำเร็จรูปขายกันทั่วไป (รูปแบบมาตรฐาน มี ๓ แบบ คือ Doric Ionic และ Corinthian) ที่ ก รุ ง เทพฯ ก็ เ ป็ น ยุ ค ที่ เ ห่ อ งาน ออกแบบอาคารลักษณะประยุกต์ที่ต้องมี หัวเสาดังกล่าวนี้ด้วย ความส�ำเร็จในการ รั ก ษาลั ก ษณะเด่ น ของเมื อ งไว้ ไ ด้ นี้ เป็ น เหตุ จู ง ใจให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งถิ่ น เข้ า มา เมืองภูเก็ตมากขึ้นทั้งการพักผ่อนริมหาด และการมาท่องเที่ยวในตัวเมืองที่มีเสน่ห์ แบบย้อนยุค ส� ำ หรั บ อาคารเก่ า ชิ โ น-โปรตุ กี ส (อายุ ค งนั บ ร้ อ ยปี ) ในเมื อ งนครมี ห ลาย แห่ ง แต่ ที่ เ กาะกั น เป็ น กลุ ่ ม ใหญ่ ไ ด้ แ ก่ อาคารร้านค้าริมถนนราชด�ำเนิน ซึ่งเจ้า ของปัจจุบันเป็นรุ่นลูกหรือรุ่นหลานหลาย ตระกูลใหญ่ที่ยังพอสืบสาวราวเรื่องได้ น่า ที่จะขอให้สถาบันการศึกษามาเก็บบันทึก ในแง่มุมต่างๆ ได้ เช่น ประวัติการสร้าง ลักษณะโครงสร้างและวัสดุ ลักษณะรูป แบบทางสถาปั ต ยกรรม ฯลฯ จะมี ก าร ขอให้เจ้าของช่วยอนุรักษ์หรือไม่ก็ช่วยๆ กั น คิ ด นะครั บ เพราะมี บ างตึ ก ที่ อ ยู ่ ใ น ความดูแลของหน่วยงานราชการก็ถูกรื้อ ไปบ้างแล้ว (ผมมีภาพร่างอาคารเก่าหลัง หนึ่ ง ที่ ถู ก รื้ อ ไปแล้ ว ในบทความนี้ ค รั บ ) แม้ ว ่ า อาคารเก่ า ของนครบ้ า นเราจะไม่ โดดเด่นเท่าเมืองภูเก็ต แต่มันก็เป็นหน้า หนึ่งของเรื่องราวประวัติศาสตร์เมืองเก่า ที่ควรพยายามเก็บไว้ และยังมีความหวัง ว่ า เจ้ า ของอาคารคงเห็ น ด้ ว ยกั บ คุ ณ ค่ า เหล่านี้ ในมุมมองของผมเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผมต้องการสื่อว่าอาณาเขต (Zone) ของ เมืองที่ต้องมีความกลมกลืนเพื่อสร้างเรื่อง ราว จ�ำเป็นต้องมีข้อตกลงหรือข้อบังคับ กันทางใดทางหนึ่งเพื่อรักษาภาพรวมให้ ได้ แ ละเป็ น เรื่ อ งเร่ ง ด่ ว น ก่ อ นที่ จ ะสาย เกิ น แก้ ดั ง เช่ น ที่ ผ มได้ ก ล่ า วถึ ง บริ เ วณ รอบๆ วัดพระบรมธาตุบ่อยๆ เนื่องจากยัง ไม่มีข้อตกลงเป็นทางการใดๆ หน่วยงาน ราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดู แ ลหรื อ การ ขออนุญาตก่อสร้าง ควรจะมีการปรึกษา หารือก่อนที่จะออกข้อก�ำหนดหรือข้อบัง คั บ ใดๆ จะเป็ น ผลดี ต ่ อ การพั ฒ นาเมื อ ง อย่างมีส่วนร่วมกับทุกฝ่าย


หน้า ๑๔

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ช่

วงนี้ บ รรดาโรงเรี ย นต่ า งๆ ก็ ท ยอย กั น ปิ ด เทอมแล้ ว เป็ น ช่ ว งเวลาดี ดี ส� ำ หรั บ น้ อ งๆ หลายๆ คน ที่ อ ยากเก็ บ ประสบการณ์ น อกห้ อ งเรี ย นกั น ลอง พิจารณาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา นครศรี ธ รรมราชเป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ ก นะคะ ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษา นครศรีธรรมราช ได้ใช้ธรรมชาติของ เขา ขุนพนม เป็นห้องเรียนวิทยาศาสตร์ มา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ ได้พัฒนารูปแบบ วิธีการ มาจนถึงปัจจุบันได้สร้างความเชื่อมั่น และ ศรัทธา ให้แก่ผู้มาเยือนเป็นอย่างมาก โดย มีผู้เยี่ยมชมแต่ละปีไม่ต�่ำกว่า ๕๐,๐๐๐ คน กิ จ กรรมเน้ น ให้ มี ค วามสุ ข สนุ ก กั บ การเรียนรู้ พร้อมกับการเห็นคุณค่าของ วิทยาศาสตร์ นอกจากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการ ศึกษานครศรีธรรมราช จะให้บริการค่าย กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ บริ ก ารนิ ท รรศการถาวร เพื่ อ เป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยวเรียนรู้แก่ผู้ที่สนใจสามารถเข้า มาเยี่ยมชมนิทรรศการต่างๆ ภายในศูนย์ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครศรีธรรมราชแล้ว ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่ตั้งอยู่ ติดกับเชิงเขาขุนพนม ซึ่งเป็นเขาหินปูน ที่ยังคงความสมบูรณ์ของสภาพธรรมชาติ ป่าดิบชื้น และถ�้ำน�้ำลอดใต้ภูเขาที่มีสภาพ ทางธรณี วิ ท ยาภายในถ�้ ำ สวยงามแปลก ตา อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น แหล่ ง เรื่ อ งราวความ เชื่ อ ของชาวนครศรี ธ รรมราชเกี่ ย วกั บ

พระเจ้าตากสิน นอกจากนี้ยังอยู่ใกล้กับ ล� ำ คลองนอกท่ า แหล่ ง น�้ ำ ใสสะอาดอั น เปรี ย บเสมื อ นเส้ น เลื อ ดใหญ่ ข องชุ ม ชน เขาขุนพนม ซึ่งมีแหล่งต้นน�้ำมาจากน�้ำตก พรหมโลก อุทยานแห่งชาติเขาหลวง ไหล ลงสู่ทะเลอ่าวไทย ชุมชนเขาขุนพนม จึง ได้ชื่อว่าเป็นชุมชนวัฒนธรรม ผสมผสาน วิ ถี ชี วิ ต แบบเกษตรดั้ ง เดิ ม ธรรมชาติ ที่ แวดล้อมด้วยป่าเขาชุมชนวิถีเกษตร ทั้ง ความงามของชีวิตแบบพอเพียงของชุมชน ท�ำให้เป็นชุมชนท่องเที่ยวเล็กๆ ที่เหมาะ ต่ อ การจั ด กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วเรี ย นรู ้ ที่เชื่อมโยงกับธรรมชาติ และวิถีชีวิตอัน งดงาม จึงได้รับรางวัลอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว ครั้งที่ ๘ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ และ ครั้ ง ที่ ๙ ประจ� ำ ปี ๒๕๕๖รางวั ล ดี เ ด่ น ประเภทแหล่งท่องเที่ยวนันทนาการเพื่อ การเรียนรู้ ท�ำให้โรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ น� ำ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาในระบบและนอก

ระบบโรงเรี ย นเข้ า รั บ บริ ก าร จองเข้ า ร่วมกิจกรรมค่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เกื อ บตลอดทั้ ง ปี ยกเว้ น เฉพาะในช่ ว ง เวลาปิดภาคเรียน และส�ำหรับเยาวชนที่ ไม่ได้ศึกษาอยู่ในโรงเรียนหรือหน่วยงาน ที่น�ำกลุ่มเป้าหมายมาเข้าค่ายฯ ก็จะไม่มี โอกาสได้เข้าร่วมค่ายกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ด้วย ดังนั้นศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่ อ การศึ ก ษานครศรี ธ รรมราชจึ ง ได้ จั ด ค่าย Science Summer Camp ขึ้น เพื่อ เปิดโอกาสให้เยาวชนที่มาจากหลากหลาย แหล่ง ใช้เวลาวันหยุดในช่วงปิดภาคเรียน ให้เป็นประโยชน์โดยได้มาร่วมท�ำกิจกรรม เพื่ อ เพิ่ ม พู น ประสบการณ์ ใ หม่ กั บ เพื่ อ น ใหม่ในช่วงปิดภาคเรียน ได้มีโอกาสสัมผัส ตรงกับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ได้ทั้งความ สนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น พร้ อ มกั บ ซึ ม ซั บ ความรู้ไปในตัวในรูปแบบการเข้าร่วมค่าย กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นอกจาก นี้ยังได้เรียนรู้ทักษะชีวิตกับเพื่อนใหม่ๆ ที่

เสื้ อ ผ้ า ชุ ด ใหม่ ที่ ลู ก ๆ จั ด เตรี ย มให้ ม า แสดงถึงความกตัญญูรู็คุณ เคารพผู้หลัก ผู้ใหญ่ ดีกว่าส่งตายายพ่อเฒ่าแม่เฒ่าไป ยั ง ที่ จั ด งานสาธารณะให้ ช าวบ้ า นรดน�้ ำ กัน ของเรามักจัดกันในหมู่ครอบครัวหรือ เครือญาติ บ้านหนึ่งๆ มีผู้เฒ่ามาร่วมงาน นับร้อย หรือบางครอบครัวมีคนแก่ระดับ ทวด ก็จะมีญาติพี่น้องลูกหลานหลายร้อย คนทีเดียว เสร็จจากการท�ำบุญก็จะตระเวนไป

เยี่ ย มขอพรจากคนเฒ่ า คนแก่ ที่ เ คารพ นับถือ หรือเหล่าญาติพี่น้องในละแวกบ้าน น�ำเสื้อผ้าใหม่หรือขนมอร่อยๆ จากถิ่นอื่น ไปฝาก บรรยากาศในช่วงบุญเดือน ๕ จึง คึกคักที่สุด มีการละเล่นมากมาย บางแห่ง มีการเล่นสะบ้า เล่นชนไก่ ล้อมวงเล่น ‘อี ฝัด’ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งผิ ด กฎหมาย แต่ เ ฉพาะ ช่วงเล่นว่างเจ้าหน้าที่ก็ละเว้นให้ บางแห่ง ก็จัดเลี้ยงใหญ่ถึงขั้นมีมหรสพ หนังตะลุง มโนราห์ก็มี เพื่อนบ้านก็มีโอกาสได้ร่วมดู การละล่นมีความสุขด้วยกัน ประเพณี ‘บุญเดือน ๕’ หรือ ‘วัน มหาสงกรานต์’ ราชการมีวันหยุดยาว ลูก

<< ต่อจากหน้า ๔

หรื อ ‘ตายาย’ เชิ ญ ผู ้ เ ฒ่ า มานั่ ง บนตั่ ง หรือเก้าอี้ ผลัดเปลี่ยนผ้าเพื่ออาบน�้ำ นัด หมายลูกหลานมากันพร้อมอาบให้ท่าน ท่ า นก็ ตั ก น�้ ำ ที่ ลู ก หลานเตรี ย มมาให้ ร ด ด้วยตัวเอง หรือลูกหลานช่าวยอาบช่วย ถู ตั ว ให้ ด ้ ว ยสบู ่ ห อม เลื อ กเอาช่ ว งเวลา ที่อากาศร้อน ป้องกันการเจ็บไข้ได้ป่วย จากความหนาว เสร็จแล้วช่วยกันเช็ดตัว ประแป้ ง ประพรมน�้ ำ หอม ผลั ด เปลี่ ย น

ไม่ใช่ในห้องเรียนเดิมๆ ค่ายครั้งนี้เป็นครั้ง ที่ ๓ จะจัดในวันที่ ๖-๘ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ส�ำหรับเด็กอายุ ๙-๑๒ ปี โดยมีกิจกรรมที่ จัด ได้แก่ เส้ น สายลายเที ย น - เรี ย นวิ ท ยาศาสตร์จากศิลปะผ้าบาติก มัดเส้นเน้นลาย - เรียนวิทยาศาสตร์ จากผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ พาราพาเรียน - เรียนวิทยาศาสตร์ จากยางพารา โดยท�ำถุงมือยาง ของเล่นไทยคุณค่าใหม่วิทยาศาสตร์ -เรียนวิทยาศาสตร์จากของเล่นพื้นบ้าน นักสืบสายน�้ำ - ประเมินคุณภาพน�้ำ จากตัวอ่อนสัตว์เล็กน�้ำจืด เปิดเลนส์สอ่ งฟ้า - สังเกตวัตถุบนท้อง ฟ้าผ่านกล้องโทรทรรศน์และบรรยายดาว Walk rally - กิจกรรมเรียนรูเ้ ชือ่ มโยง องค์ความรูใ้ นพืน้ ทีต่ า่ งๆ รอบเขาขุนพนม จากดินสูด่ าว - ภาพประทับใจจากดิน เรียนรูเ้ รือ่ งกายภาพของดิน Nature game - กิจกรรมธรรมชาติ เพื่อสัมผัสตรงสิ่งแวดล้อมรอบตัว ค่าใช้จ่าย คนละ ๑,๐๐๐ บาท รับ สมัครน้องๆ ๔๐ คน สนใจสอบถามราย ละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ อ.ทานตะวัน เขียวน�้ำชุม โทร. ๐๘๑-๘๒๔-๘๘๘๐…แวะมา เที่ยวศูนย์วิทย์เมืองคอนกันก่อน จะได้น�ำ ความสุขแห่งการเรียนรู้ไปเป็นแรงใจในชั้น เรียนต่อไปค่ะ หลานญาติพี่น้องกลับมาเยี่ยมบ้านลอง รื้ อ ฟื ้ น งานบุ ญ แบบบ้ า นเราขึ้ น มาใหม่ เลือกเอาแบบอย่างที่เป็นเอกลักษณ์ของ บ้านเรา จะผสมผสานวัฒนธรรมเมืองอื่น เขาก็ควรเอาแต่ส่วนดี ส่วนที่สร้างสรรค์ นครเราเป็นเมืองเก่า มีรากเหง้า ไม่ต้อง ทิ้ ง ของเก่ า ไปตามอย่ า งเขาทั้ ง ดุ ้ น ให้ ภู มิ ใ จในวั ฒ นธรรมประเพณี ที่ ปู ่ ย ่ า ตา ยายของเราได้สั่งสมมานับร้อยปี ช่วยกัน สืบสานพัฒนาประเพณีอันดีงามนี้ ท�ำให้ สังคมครอบครัวมีความอบอุ่น บ้านเมือง ก็จะอยู่เย็นเป็นสุขสืบไป


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช หน้า

๑๕

อาจารย์แก้ว

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

ลักษณะการท�ำงานของ Bluetooth

อธิบายโดยย่อ คือ Bluetooth เป็น เทคโนโลยีของอินเตอร์เฟสทางคลื่นวิทยุ ใช้ ในการเชื่อมโยงสื่อสารไร้สายในแถบความถี่ 2.45GHz ท� ำ ให้ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ เ คลื่ อ นย้ า ยได้ ส ามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น แบบไร้สายระหว่างกันในระยะห่างสั้นๆ ได้ อุปกรณ์แต่ละตัวสามารถติดต่อสื่อสารกับ อุปกรณ์อื่นๆ ได้สูงสุดถึง ๗ ตัวพร้อมกัน เราเรียกเครือข่ายการติดต่อนี้ว่า Piconet ยิ่งไปกว่านั้น อุปกรณ์แต่ละตัวยังสามารถ สังกัดอยู่กับเครือข่าย Piconet ได้หลาย เครือข่ายพร้อมกันอีกด้วย เทคโนโลยีการส่งคลื่นวิทยุของ Bluetooth จะใช้ ก ารกระโดดเปลี่ ย นความถี่ (Frequency hop) เพราะว่าเทคโนโลยีนี้ เหมาะที่จะใช้กับการส่งคลื่นวิทยุที่มีก�ำลัง ส่ ง ต�่ ำ และราคาถู ก โดยจะแบ่ ง ออกเป็ น หลายช่องความถี่ขนาดเล็ก ในระหว่างที่มี การเปลี่ ย นช่ อ งความถี่ ที่ ไ ม่ แ น่ น อนท� ำ ให้ สามารถหลี ก หนี สั ญ ญาณรบกวนที่ เ ข้ า มา แทรกแซงได้ Bluetooth จะใช้คลื่นความถี่ในการ ติ ด ต่ อ ในย่ า น ISM (Industrial, Scientific, Medical) ที่มีความถี่ 2.4 GHz และ ใช้พลังงานต�่ำ โดยทางปฏิบัติแล้วอุปกรณ์ ของ Bluetooth นั้ น จะมี พื้ น ที่ ก ารใช้ งานไม่เกิน ๑๐ เมตร โดยการติดต่อผ่าน ทางช่ อ งสั ญ ญาณที่ ส นั บ สนุ น ทั้ ง ข้ อ มู ล (อะซิงโครนัส) และเสียง (ซิงโครไนซ์) ที่ ความเร็ว 741 Kbps Bluetooth สามารถจั ด การให้ อุ ป กรณ์ ห ลายชนิ ด สามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สารได้ พร้อมกัน โดยจะมีอุปกรณ์ตัวหนึ่งท�ำหน้าที่ เป็น master และอุปกรณ์อื่นๆ ท�ำหน้าที่ เป็ น slave ในการรวมกลุ ่ ม ของอุ ป กรณ์ เป็นเครือข่ายของ bluetooth เราเรียกว่า piconet โดยในแต่ละ piconet สามารถ มีอุปกรณ์ที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั้งหมด ๘ ชิ้น มีตัวหนึ่งเป็น master และมี slave อย่างน้อยหนึ่งตัว ซึ่งการติดต่อสื่อสารจะ เป็นแบบจุดต่อหลายจุด ช่องสัญญาณและ แบนด์ วิ ด ธ์ จ ะถู ก แบ่ ง ระหว่ า งอุ ป กรณ์ ใ น piconet

Bluetooth กับ Wi-Fi

(Peer-to-Peer ad-hoc network) แต่ส่วน ใหญ่แล้วจะเป็นการเชื่อมต่อผ่านเราท์เตอร์ เพราะฉะนั้น โดยสรุปก็คือ หากคุณ ต้ อ งการเชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ ส ายบน คอมพิ ว เตอร์ คุ ณ จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ อุ ป กรณ์ ที่ ส นั บ สนุ น เทคโนโลยี Wi-Fi แต่ ถ ้ า คุ ณ ต้องการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ด้วยกันใน ระยะใกล้ๆ เพื่อจะได้ไม่ต้องต่อสายเคเบิล กั บ WLAN ตรงที่ เ ป็ น เส้ น ทางส� ำ หรั บ รั บ ให้ยุ่งยาก เทคโนโลยีที่จ�ำเป็นส�ำหรับคุณก็ ส่งข้อมูลแบบไร้สายเหมือนกัน แต่อาจจะ คือ Bluetooth นั่นเอง คงไม่งงแล้วนะครับ แตกต่างกันบ้างเล็กน้อย เพราะ WLAN นั้น ออกแบบมาให้ใช้งานได้อย่างอเนกประสงค์ Bluetooth กับ GPRS มากกว่ า โดยเฉพาะการท� ำ งานในระบบ ถึงแม้โทรศัพท์รุ่นใหม่จะมีเทคโนโลยี เครือข่าย ที่มีคอมพิวเตอร์จ�ำนวนหลายๆ ที่ก้าวหน้า รวมทั้งรองรับ GPRS แต่ก็ไม่ได้ เครื่ อ ง ขณะที่ Bluetooth นั้ น เหมาะ เป็ นข้อ ยืนยัน ว่าโทรศัพ ท์มือถื อทุกเครื่อง ส� ำ หรั บ การต่ อ เชื่ อ มกั น ระหว่ า งอุ ป กรณ์ จะมี Bluetooth ทั้งนี้หากดูในแง่ของการ ต่างๆ เข้าด้วยกันเท่านั้นเอง ทั้งนี้ก็เพราะ ใช้ ง านทั่ ว ไปแล้ ว Bluetooth เป็ น เพี ย ง ขนาดของแบนด์วิดธ์หรือช่องทางของข้อมูล แค่เส้นทางในการเชื่อมต่อที่จะช่วยให้เรา ที่แตกต่างกันหลายเท่าตัว รวมทั้งระยะทาง สามารถเชื่อมเส้นทางการส่งข้อมูลระหว่าง ที่ Bluetooth มีรัศมีในการท�ำงานเพียง ๑๐ อุปกรณ์บางอย่างเข้าด้วยกันเท่านั้นเอง ซึ่ง เมตร ขณะที่ WLAN มีการท�ำการที่ไกลกว่า แตกต่างไปจาก GPRS ที่เป็นเส้นทางส�ำหรับ นั้นมากมาย การส่งข้อมูลบนคลื่นความถี่ของ GSM อีก ทีหนึ่ง ปัจจุบันมีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นบ ประโยชน์ของ BlueTooth นมื อ ถื อ ขึ้ น จ� ำ นวนมากเพื่ อ การท� ำ งานใน • รับส่งข้อมูลระหว่างโทรศัพท์มือถือ รูปแบบที่แตกต่างกัน เช่น การรับส่งภาพ ไม่ว่าจะเป็น ภาพ, เสียง หรือ video ผ่ า นทางมื อ ถื อ การค้ น หาข้ อ มู ล ของสิ่ ง ที่ • ใช้ ง านร่ ว มกั บ หู ฟ ั ง ของโทรศั พ ท์ ต้องการ การช็อปปิ้ง รวมทั้งการออนไลน์ ชนิดไร้สาย ดูภาพยนตร์ผ่านทางมือถือด้วย ด้วยเหตุนี้ • รับข้อมูลระหว่างมือถือกับ คอมพิวBluetoothจึงแตกต่างไปจาก GPRS ตรงที่ เตอร์ PC และ Notebook Bluetooth เป็นเพียงเส้นทางในการเชื่อม • รั บ ข้ อ มู ล ระหว่ า งมื อ ถื อ กั บ PDA, ต่อระหว่างอุปกรณ์เท่านั้น แต่ GPRS เป็น Palm เส้นทางส�ำหรับการรับส่งข้อมูล หน้าที่ใน • รับข้อมูลระหว่างมือถือกับ Printer การท�ำงานจึงไม่เหมือนกัน รับข้อมูลระหว่างมือถือกับ Digital Camera

ผู้ใช้มือใหม่มักจะสับสนกับเทคโนโลยี ๒ ตัวนี้เสมอ ทั้งๆ ที่ความเป็นจริงทั้งสอง เทคโนโลยีจะได้รับการออกแบบให้มีการใช้ งานที่ต่างกันมาก แม้ว่าทั้งคู่จะใช้ความถี่ใน แบนด์เดียวกันคือ 2.4GHz เอาเป็นว่า ตอน นี้ เรามาท�ำความรู้จักแต่ละเทคโนโลยีกัน ก่อนดีกว่า Wi-Fi (หรื อ 802.11 a/b/g) เป็ น มาตรฐานที่ ช ่ ว ยให้ คุ ณ สามารถเชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต แบบไร้ ส ายภายในบ้ า นหรื อ ส�ำนักงานได้ โดยใช้อุปกรณ์อย่างเช่น Wi-Fi router เป็นต้น (นอกจากนี้ ปัจจุบันมีการ เปิ ด ให้ บ ริ ก ารเชื่ อ มต่ อ ไร้ ส ายสาธารณะ หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า Hot Spot ตามสถานที่ ต่างๆ อย่างแพร่หลาย) การเชื่อมต่อไร้สาย ด้วยเทคโนโลยี Wi-Fi จะมีรัศมีการท�ำงาน ครอบคลุมสูงสุดถึง ๑๐๐ ฟุต (ประมาณ ๓๐ เมตร) จากตั ว อุ ป กรณ์ โดยในส่ ว น ของความเร็วที่ได้จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ มาตรฐานที่เลือกใช้ ซึ่งถ้าเป็น 802.11b จะได้ สู ง สุ ด 11Mbps ในขณะที่ ถ ้ า เป็ น มาตรฐาน 802.11g จะสามารถเชื่อมต่อ ที่ความเร็วได้สูงสุดถึง 125Mbps ซึ่งด้วย ความเร็วระดับนี้จะเทียบเท่ากับการเชื่อม ต่อด้วย Ethernet 100Mbps ที่ใช้กับเครือ ข่ายส�ำนักงานเลยทีเดียว Bluetooth จะเป็นเทคโนโลยีส�ำหรับ เครือข่ายส่วนบุคคล โดยจะมีรัศมีการท� ำ งานค่อนข้างใกล้ เช่นแค่ภายในห้องเดียวกัน อีกทั้งยังมีความเร็วในการเชื่อมต่อที่ต�่ำกว่า อีกด้วย (771 Kbps ส�ำหรับ Bluetooth 1.x และ 2.1Mbps ส�ำหรับ Bluetooth 2.0) มันได้รับการออกแบบมา เพื่อใช้เชื่อมต่อ การท�ำงานแบบไร้สายระหว่างอุปกรณ์อย่าง Bluetooth กับ WLAN เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ หูฟัง และเครื่องพิมพ์ หากจะเปรี ย บเที ย บให้ ไ ด้ ใ กล้ เ คี ย ง คอมพิวเตอร์ พ็อกเก็ตพีซี และมือถือ ดัง แล้ ว Bluetooth จะมี ค วามคล้ า ยคลึ ง นั้นการเชื่อมต่อด้วย Bluetooth จึงไม่มี ความจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ง านที่ ค วามเร็ ว ระดั บ บรอดแบนด์ นอกจากนี้มันไม่ต้องการเรา ท์เตอร์อีกด้วย เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์กับอุปกรณ์ โดยสนับสนุน การเชื่อมต่อพร้อมกันได้สูงสุด ๘ ตัวด้วยกัน อย่างไรก็ดี Wi-Fi จะสนับสนุนการเชื่อมต่อ ระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกันเองเหมือนกัน

ด้วยความปรารถนาดี อาจารย์แก้ว

Facebook : https://www.facebook.com/rakbaankerd.news


หน้า ๑๖

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

Tarzanboy

ริงๆ ไม่บ่อยครั้งที่ผมจะพูด หรือแสดงทัศนคติแบบนี้ โดยเฉพาะในรูปของตัวอักษร และอาจจะยากขึ้นไป อีกนิด ถ้าจะให้พูดในป่า แม้ขณะนั้นเราอยู่ในป่าด้วยกัน “ไม้ต้นหนึ่ง เชื่อมโยงทุกสิ่งไว้ด้วยกัน จากธุลีดิน เล็กๆ จนถึงสภาวะอะตอมในอากาศ” ถ้าจะสรุป ผมก็คง ต้องสรุปไว้ล่วงหน้าแบบนี้ แต่ถ้าจะย้อนไปบทอารัมภบท นั้น เหตุที่ไม่ได้พูดเลยเพราะว่า แม้อยู่ในป่า เราอาจจะไม่ ได้อยู่ หรือรับรู้สภาวะในป่า หรือพูดให้ง่ายคือ เราไม่ได้ พูดเรื่องป่ากันนั่นแหละ ...จึงเป็นเหตุหนึ่งที่ผมไม่เคยพูด สิ่งเหล่านี้เลย ...ยามเมื่อสัมผัสจับต้องต้นไม้สักต้น จ้อง มอง รับกลิ่นร่วมกัน แม้ช่วงเวลาจะแค่จักจั่นกระพือปีก แท้จริงเราสามารถรับรู้ “คัมภีร์แห่งความรู้” จากต้นไม้ เหล่านั้นได้เลยทีเดียว เช่นว่า เขายืนอยู่บนดินแบบไหน ใกล้ล�ำธาร ร่องลม หน้าผา หรือบนภูเขาสูง ทุกนาที ทุก วัน ตลอดที่เขาเติบโตเป็นไม้ใหญ่ เขาได้ผ่านอะไรมาบ้าง และอะไรท�ำให้ไม้ต้นนั้นยืนแข็งแรงมาจนบัดนี้ ที่ส�ำคัญ มาก เขากินอะไร เขาดูดซับ “ธาตุ” ชนิดไหน เขามีแก่น

และแต่ละต้น ท�ำไมถึงมีแก่นแข็งอ่อนต่างกัน ไม้ชนิดไหน สามารถดูดซับธาตุที่สร้างให้ตัวเองแกร่งได้ มันช่วยคิดต่อว่า แล้วธาตุเหล่านั้นมาจากไหน อยู่ ในดิน ในล�ำธาร ในร่องลม ในอณูอากาศ แล้วมันเดิน ทางอย่างไร ผนึกรวมหรือหลอมรวมกันเป็นต้นไม้ด้วย กลไกชนิดใด ส�ำหรับผม มันน่าตื่นเต้นและน่าค้นหามาก เพราะป่า มันรวมต้นไม้ไว้นับพันๆ หมื่นๆ ต้น ไม่มีต้นใด เหมือนกันเลย ...แต่ทว่า !! ไม้ชนิดเดียวกัน แก่นเหมือน กัน ออกดอกพร้อมกัน ใบร่วงพร้อมกัน อันนี้อัศจรรย์ ใจยิ่งกว่า ประสาทสัมผัสของต้นไม้อยู่ตรงไหน และมัน ละเอี ย ดอ่ อ นขนาดรั บ รู ้ ฤ ดู ก าลหรื อ การเปลี่ ย นแปลง

ภายนอกได้ พ ร้ อ มๆ กันเลยหรือ ...ยิ่งตื่นเต้ น เข้ า ไปใหญ่ เมื่ อ ชนิ ด นั้ น เคลื่ อ นไหว เปลี่ยนแปลง อีกหลาย ชนิ ด ก็ ท� ำ ท่ า ขยั บ ตั ว ขยั บ กาย รอจั ง หวะ ของตัวเอง หากไม่มอง เฉพาะต้ น ไม้ เราจะ เห็ น ว่ า ครานี้ ...ทั้ ง แมลง นก สัตว์ป่า สัตว์ น�้ำ ทุกอย่างขยับจังหวะชีวิตของตนเอง ราวกับว่าต่างอยู่ ในงานฟลอร์เต้นร�ำ ...มาถึงจุดนี้ บ่อยครั้งที่ผม มักเกิด ค�ำถามต่อตัวเองว่า อ้าว ..แล้วมนุษย์ที่ยืนอยู่ตรงนี้ล่ะ จะร่วมงานเต้นร�ำด้วยได้รึเปล่า ทว่า เมื่อไม้ใหญ่ต้นหนึ่ง ถูกล้มลงด้วยเหตุผลนานา ประการ ไม่ว่าขยายบ้าน ขยายถนน สร้างวัดวา หรือน�ำ ไปสร้างงานศิลปะชั้นเลิศ ความเศร้าลึกจู่โจม และมักก่อ เกิดค�ำถามมากมายที่แสนจะงุนงง ...ท�ำไมเราเผาคัมภีร์ มีชีวิตเล่มหนึ่ง ท�ำไมถึงคิดว่าสิ่งนั้นเกะกะไร้ค่า หรือท�ำไม ตีค่าราคาสิ่งที่อาจจะสร้างได้ชั่ววัน ทดแทนสิ่งที่ทั้งชีวิต คุณมิอาจสร้างได้ เราฉลาดล�้ำในการสร้าง หรือเราสามานย์ ในการท�ำลายล้าง จั ก จั่ น ขยั บ ปี ก กรี๊ ด เสี ย งลั่ น ป่ า ลมพั ด ล่ อ งล� ำ ธาร ...ขณะนั้นใบไม้ไหว แกว่งไกว ...ผมไม่เคยมีโอกาสพูดเรื่อง เหล่านี้เลยครับ แม้ขณะนั้นผมจะอยู่ในป่า เราจะอยู่ในป่า ด้วยกัน อาจไม่ใช่เพราะคุณไม่สนใจถาม แต่อาจเป็นได้ว่า ผมเลือกข้าง !


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นพ.รังสิต ทองสมัคร์

ทุกตรอกซอกซอยของเมืองสองธรรมแห่งนี้ มีวิถี มีมุมมอง ที่น่าสนใจ ขึ้นกับว่าเราจะมองด้านไหนของภาพที่เห็นตรงหน้า “สงบ เสน่ห์ ท่ามกลางความยุ่งเหยิง”

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๗


หน้า ๑๘

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นภสร มีบุญ

มี

คนบอกว่ า คนยิ่ ง อายุ ม ากขึ้ น ยิ่ ง ชอบร� ำ ลึ ก ถึ ง ความหลั ง โอ ลั่ ล ล้ า ฉบั บ นี้ จึ ง ขออนุ ญ าตท่ า นผู ้ อ ่ า น ร� ำ ลึ ก ถึงความผูกพัน และความทรงจ�ำที่แสนดี ในอดีต บนพื้นที่กว้างใหญ่ ริมถนนพัฒนาการคูขวาง .. ตึกสูงตระหง่านดูโดดเด่น และเห็นได้ชัดมาแต่ไกล “โรงแรม ทวิน โลตัส” โรงแรมใหญ่กลางใจเมืองจังหวัด นครศรีธรรมราช ด้วยเงินลงทุนกว่าพัน ล้าน ยี่สิบสองปีมาแล้ว ที่ห้องรับแขกห้อง ใหญ่ ห ้ อ งนี้ ไ ด้ มี โ อกาสต้ อ นรั บ แขกบ้ า น แขกเมื อ ง แขกผู ้ มี เ กี ย รติ ร ะดั บ จั ง หวั ด ระดับประเทศ และระดับชาติ รวมไปถึง เชื้อพระวงศ์ นับเป็นเกียรติประวัติอย่าง สูงสุด ส�ำหรับภาพความทรงจ�ำที่ยังตรา ตรึงตราบถึงปัจจุบัน .. โรงแรมทวินโลตัส

นครศรี ธ รรมราช จึ ง เป็ น เสมื อ นอี ก หนึ่ ง ของความภาคภู มิ ใ จ ของคนในจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ซึ่งเกิดจากความรักความ ผู ก พั น ของท่ า นประธาน ดร.บุ ญ กิ จ

ลีเลิศพันธ์ ผู้ประสงค์และมุ่งมั่นจะสร้าง ความเจริ ญ ให้ กั บ บ้ า นเกิ ด เมื อ งนอน เพียงเพื่อคิดทดแทนบุญคุณของบ้านเกิด โดยมีก�ำลังใจเคียงข้างเสมอจากคู่สมรส

ดร.สุนันทา ลีเลิศพันธ์ ..การสร้างตลาด แรงงานขนาดใหญ่เกือบห้าร้อยชีวิตจาก ยี่สิบกว่าปีที่ผ่านมาในอดีต ย่อมไม่ใช่เรื่อง ยาก ท่านประธานเคยบอกกับเราว่า รถ บรรทุกของดอกบัวคู่จะต้องขนผลิตภัณฑ์ มาทิ้งที่นครฯ หลายต่อหลายคันรถ แต่ไม่ เป็นไรนะ ท่านรับได้ .. ส่งผลให้ลูกหลาน ชาวนครศรี ธ รรมราช ไม่ มี ค วามจ� ำ เป็ น ต้องทิ้งครอบครัว พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย เพื่อ พากันหลั่งไหลไปสมัครงานหรือหางานท�ำ ถึงเมืองฟ้าเมืองอมร แต่ทุกคนสามารถที่ จะมี ง านท� ำ ที่ ถิ่ น ฐานบ้ า นเกิ ด ไปพร้ อ มๆ กับการดูแลผู้ให้ก�ำเนิด และปู่ย่าตายาย ถือเป็นการสร้างสายใยรักแห่งครอบครัว

ให้ยิ่งเหนียวแน่นขึ้นท่ามกลางความเจริญ ของวัตถุ และการขยายตัวของเมืองใหญ่ จากนี้ไป .. ปั จ จุ บั น โรงแรมทวิ น โลตั ส เป็ น โรงแรมที่ ไ ด้ รั บ ความไว้ ว างใจจากนั ก ท่ อ งเที่ ย ว และนั ก ธุร กิ จ มากมาย ที่เ ดิ น ทางมาเยื อ นจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช อดี ต ที่ เ คยโด่ ง ดั ง และมี ชื่ อ เสี ย ง รวม ไปถึงการท�ำกิจกรรมคืนก�ำไรมอบให้กับ สังคมอย่างสม�่ำเสมอ ล้วนเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร และยิ่งเพิ่ม ความมั่นใจให้กับผู้ใช้บริการ ถึงแนวทาง การบริ ห ารงานของ คุ ณ จั ก รพรรดิ์ ลี เลิศพันธ์ และศรีภรรยา คุณกอรปกมล ลี เ ลิ ศ พั น ธ์ ทายาทรุ่นใหม่ไฟแรง เพียง เพื่ อ จะสร้ า งฝั น และสื บ สานธุ ร กิ จ รั ก ของรุ่นบุพการีให้ยั่งยืนรุ่งเรืองสืบไป ดัง สั ญ ญาที่ ว ่ า “ทุ ก สิ่ ง ที่ พ ่ อ สร้ า ง เราจะ สืบสานให้ด�ำรงก้าวหน้าต่อไป” อ่านกัน มาถึงบรรทัดสุดท้ายแล้วหากเดินทางมา จังหวัดนครศรีธรรมราช อย่าลืมมานอน โรงแรม ทวินโลตัส นะคะ ส�ำรองห้องพัก โทร.๐๗๕-๓๒๓-๗๗๗ โทรสาร ๐๗๕-๓๒๓-๘๒๑


ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

นครศรีธรรมราช

หน้า ๑๙

นพ.บัญชา พงษ์พานิช

นครดอนพระ << ต่อจากหน้า ๒

กลับไปไว้ที่หน้าหอพระอิศวรตามเดิมด้วย ไหม? เรื่องนี้ถือเป็นหนึ่งในอัตลักษณ์หนึ่ง เดียวในเมืองไทยที่เหลืออยู่ กรุงเทพฯ แม้ มีเทวสถานกับเสาชิงช้าก็เลิกโล้กันมานาน แว่วว่า กทม.จะรื้อฟื้นแต่ยังไม่ได้ฤกษ์เสียที ส่วนด้านหอพระนารายณ์ไม่พบเห็นอะไร เป็นที่สังเกตพิเศษ

องค์พระบรมธาตุเจดีย์กับพระวิหารหลวง จากช่องของแผงบังร้านค้าที่สร้างใหม่

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ หอพระอิศวร และ เสาชิงช้าเดิม กับภาพขณะก�ำลังบูรณะในขณะนี้ที่เสาชิงช้าง ถูกย้ายจากหน้าหอพระอิศวรไปด้านข้าง

เลยไปที่ วั ด พระธาตุ ที่ ยั ง มองไม่ ออกว่าในที่สุดแล้วจะออกมาเป็นอย่างไร สะดุดตาแต่ที่ย่านร้านค้าของที่ระลึกซึ่งท�ำ เป็ น ผนั ง บั ง ตาผื น ใหญ่ ที่ ม องออกไปจาก

แผงบังร้านค้าจากถนนราชด�ำเนิน กับ ซุ้มประตูทิศใต้

หน้ า พระวิ ห ารหลวงก็ พ อไหว เข้ า ไปมอง ประดิษฐานคาถาเยธัมมาฯ หัวใจพระศาสนา ออกมาตามช่องว่างจากร้านค้า ก็เป็นกรอบ ภาพที่ดูสวยดี แต่พอออกไปมองจากหน้า ก� ำ แพงผื น ใหญ่ ที่ ม าบดบั ง อะไรๆ ไปเสี ย ถนนฝั ่ ง วั ด หน้ า พระบรมธาตุ ก็ ก ลายเป็ น ยั ง ไม่ รู ้ ว ่ า เมื่ อ เสร็ จ จะออกมาเป็ น อย่ า งไร สะดุดใจที่คาถาหัวใจพระพุทธศาสนาตรง ซุ้มประตู ที่พระอัสสชิ หนึ่งในปัญจวัคคีย์ แสดงแก่ อุ ป ติ ส สะจนดวงตาเห็ น ธรรมรี บ ไปชวนสหายโกลิตะพากันไปบวชกับพระพุ ท ธเจ้ า จนบรรลุ ธ รรมเป็ น พระสารี บุ ต ร ทั้ ง หมดนี้ เ ป็ น ๔ ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ และพระโมคคัลนะ ที่ว่า “เย ธัมมา เหตุป อนุ รั ก ษ์ ม รดกไทยในเมื อ งนครที่ ก รม ปะภะวา เตสัง เหตุ ตะถาคะโต เตสัญจะ ศิลปากรเอา “ภาษีของท่าน” มาท�ำการ โย นิโรโธจะ เอวัง วาที มะหาสะมะโณ” อยู่ขณะนี้บนสันดอนหาดทรายแก้วเมือง แปลว่ า “ธรรมทั้ ง หลายเกิ ด แต่ เ หตุ พระ นครที่ได้ชื่อว่า “นครดอนพระ” น่าที่จะ ตถาคตเจ้าตรัสบอกถึงเหตุแห่งธรรมเหล่า ได้เวียนแวะไปชื่นชม ชี้แนะและร่วมเรียน นั้ น พร้ อ มทั้ ง ความดั บ แห่ ง เหตุ ข องธรรม รู้ไปด้วยกัน ในวาระอันเป็นมิ่งมหามงคล เหล่านั้น พระมหาสมณเจ้ามีปกติตรัสสอน ยิ่ง ๒ เมษายน ๒๕๕๘ นี้. อย่ า งนี้ ” ซุ ้ ม นี้ ที่ เ ป็ น อย่ า งนี้ ก็ เ กิ ด แต่ เ หตุ เช่นกัน ๑๖ เมษายน ๒๕๕๘


หน้า ๒๐

นครศรีธรรมราช

ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.